2
สารบัญ หนา 1. ความเปนมาของโครงการ ……………………………………………………………………………….…………………. 2 2. ขั้นตอนการดําเนินโครงการ ………………………………………………………………………………………………. 2 3. ผลการดําเนินโครงการ 3.1 การวิจัยและสํารวจขอมูลสถานที่ทองเที่ยว ………………..………….……………………………. 4 3.2 การลงพื้นที่ถายภาพ ……………………………………………..……………………………………………… 22 3.3 การออกแบบหนังสือภาพ ………………………………………………………………..……………… 33 3.4 การจัดทําสื่อออนไลนประชาสัมพันธโครงการและเผยแพรภาพถาย …………………..…37 4. ขอเสนอแนะจากการดําเนินโครงการ ………………………………………..……………………………………. 41 5. เบื้องหลังการถายภาพ ……………..…………………………………………………..……………………………………. 42 6. รายชื่อองคกรและบุคลากรดําเนินโครงการ ……………………………..…………………………………….. 45
3
รายงานความกาวหนา โครงงานหนังสือภาพ 8 กลุมทองเที่ยวทีม่ ีศักยภาพของประเทศไทย เฟส 2 “กลุมทองเที่ยววิถีชวี ิตลุมแมน้ําภาคกลาง” 1. ความเปนมาของโครงการ อุตสาหกรรมการทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมสําคัญของทุกประเทศในโลกเกี่ยวของกับการบริโภค ประสบการณทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ (การบริโภคเชิงสัญญะ) ที่สรางประสบการณการเรียนรู คุณคาความแตกตาง ความแปลกใหม ดังนั้นทุกประเทศในโลกจึงจําเปนตองกําหนดตําแหนงทางการ ตลาดที่ชัดเจน เพื่อเพิ่มขีดศักยภาพการแขงขันเปนการตลาดเชิงสถานที่ (Place Marketing) เพื่อสราง ภาพลักษณของแหลงทองเที่ยวตางๆ ใหมีความโดดเดน และนาเชื่อถือ ผานวัฒนธรรมทางสายตา (Visual Culture) เช น สื่ อ ภาพถ า ย ภาพเคลื่ อ นไหว หนั ง สื อ วารสาร เชิ ง การท องเที่ ย ว ตลอดจนถึ ง สื่ อ อิเลคทรอนิกสตางๆ กรมการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ไดเห็น ความสําคัญในการสง เสริมและ ประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวอยางเปนระบบ ในป พ.ศ.2556 จึงไดใหการสนับสนุนการดําเนินโครงการ หนังสือภาพ 8 กลุมทองเที่ยวที่มีศักยภาพของประเทศไทย เฟส 1: กลุมทองเที่ยวอารยธรรมลานนา และ จากนั้นในป พ.ศ.2557 ไดใหการสนับสนุนการดําเนินโครงการอยางตอเนื่องในเฟส 2: กลุมทองเที่ยววิถี ชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง ลานนา เพื่อการแปลงแนวคิดเชิงยุทธศาสตรการทองเที่ยวของชาติสูวัฒนธรรม ทางสายตา การสื่อสารการตลาดเชิงภาพ โดยเลือกสื่อภาพถายใหทําหนาที่ สะทอนความโดดเดนของ แหลงทองเที่ยวเอกลักษณของแหลงทองเที่ยวและภูมิภาค โดยมีขอบเขตการถายภาพตามกลุมทองเที่ยว ที่มีศักยภาพ ที่เกี่ยวของกับแหลงทองเที่ยวลุมแมน้ําภาคกลาง ประกอบดวย 14 จังหวัด คือ จังหวัดชัยนาท สิงห บุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา ลพบุ รี สุพรรณบุ รี นครปฐม นนทบุ รี ปทุมธานี สมุ ทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี และกรุงเทพมหานคร โดยกรมการทองเที่ยว ได มอบหมายใหส ภาอุต สาหกรรมทอ งเที่ย วจัง หวัด สุพ รรณบุ รี เป น ผูดําเนินการโครงการดังกลาว และทางสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวจังหวัด สุพรรณบุรี จึงไดประสานกับ มูลนิธิสถาบันการถายภาพเชียงใหม สมาคมสงเสริมไทยแหงเชียงใหม และสาขาวิชาสื่อ ศิลปะ และการ ออกแบบสื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม เพื่อดําเนินการโครงการดังกลาวใหสําเร็จลุลวง
2. ขั้นตอนการดําเนินโครงการ ขั้นตอนการดําเนินงานในโครงการหนังสือภาพฯ มีดงั นี้ 1) การทบทวนนโยบาย และยุทธศาสตรดานการทองเที่ยวของประเทศ และวิจัยเพื่อคนหาตําแหนง ทางการตลาดของสถานที่ทองเที่ยวตางๆ ของกลุมทองเทีย่ ววิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง
4
2) การรวบรวมสื่อภาพถายเพื่อการทองเที่ยวที่ผานมา 3) วิเคราะหขอมูลดานการทองเทีย่ วและภาพถาย แปลงแผนยุทธศาสตรการทองเทีย่ วสูก ารวางแผน ปฏิบัติงานโครงการ 4) การผลิตสื่อภาพถายโดยทีมงาน In-House Production โดยลงพืน้ ทีถ่ ายภาพตามแหลงทองเที่ยวที่ มีศักยภาพทั้ง 14 จังหวัดขางตน 5) การจัดทําหนังสือภาพถายเลาเรื่องเชิงทองเที่ยว 6) การจัดทําหนังสือภาพสงเสริมการทองเทีย่ วเนื้อหาเชิงวิชาการ 7) เผยแพรหนังสือภาพถาย โดยกรมการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 8) นําภาพถายที่ผานการคัดสรรเผยแพรลงในสื่อออนไลน ใน Wiki Commons และเว็บไซต www.thailandphotobook.com เพื่อใหการดําเนินงานทั้ง 8 ขอขางตนสําเร็จลุลวงทีมดําเนินงานจึง จัดทําแผนการดําเนินงาน ดังตอไปนี้ รายละเอียด A. Data Review 1. ทบทวนนโยบายดานการทองเที่ยว 2. รวบรวมสื่อภาพถายเพื่อการทองเที่ยวที่ผานมา B. Operation Plan 1. แปลงแผนยุทธศาสตรการทองเที่ยวสูแผนปฏิบัติงาน C. Photo Production 1) ลงพื้นที่ถายภาพจังหวัดชัยนาท สิงหบุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา 2) ลงพื้นที่ถายภาพจังหวัดลพบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี กรุงเทพฯ 3) ลงพื้นที่ถายภาพจังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี 4) รวบรวมภาพถายและจัดทํา post production D. Media Production 1. เขียนบทความประกอบหนังสือภาพ 1) บทความประกอบหนังสือภาพเชิงทองเที่ยว 2) บทความประกอบหนังสือภาพเชิงวิชาการ 2. แปลบทความประกอบหนังสือภาพ 3. ออกแบบจัดวาง Layout ทํา Artwork และตรวจสอบ 4. ผลิตหนังสือภาพทองเที่ยววิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง 5. รวบรวมภาพเผยแพรในสื่อออนไลน (Website และ Wiki Commons)
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
5
3. ผลการดําเนินโครงการ 3.1 การวิจัยและสํารวจขอมูลสถานที่ทองเทีย่ ว การสํารวจขอมูลและทําการวิจัยประกอบโครงการหนังสือภาพ 8 กลุมทองเที่ยวที่มีศักยภาพของ ประเทศไทย เฟส 2 กลุมทองเที่ยววิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง มีวัตถุประสงคเพื่อใหสามารถนําขอมูลดาน การทอ งเที่ยวมาบูร ณาการกั บศาสตรดานการถา ยภาพ รวมถึง ศาสตรดานการออกแบบสื่อ (การ ออกแบบหนังสือและสื่อออนไลน) เพื่อสามารถตอบสนองความตองการความรูเพื่อพัฒนาการทองเที่ยว ของประเทศตอไปไดอยางมีประสิทธิภาพ และคนควาหาขอมูลกอนดําเนินการโครงการ เพื่อใหไดทิศ ทางการดําเนินการที่ชัดเจน มีความเหมาะสมตอบริบทที่เปลี่ยนไป และดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ สูงสุด ในที่นี้ สภาอุต สาหกรรมทองเที่ยวจัง หวัด สุพรรณบุรี ซึ่ง มีองคก รรวมคือ มูล นิธิ ส ถาบัน การ ถายภาพเชียงใหม สมาคมสง เสริมไทยแหง เชียงใหม และสาขาวิชาสื่อ ศิล ปะ และการออกแบบสื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดดําเนินการคัดสรรสถานที่ทองเที่ยวภายในกลุมทองเที่ยววิถีชีวิตลุมแมน้ําภาค กลาง 14 จังหวัด ซึ่งประกอบดวย จังหวัดชัยนาท สิงหบุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี และกรุงเทพมหานคร โดยใช หลักเกณฑความโดดเดน 5 ประเด็น ประกอบดวย (1) ความโดดเดนของแหลงทองเที่ยว (2) สอดคลองกับความตองการของตลาดทองเที่ยวทั้งภายในประเทศและตางประเทศ (3) มีความพรอมของโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวก (4) มีการบริหารจัดการแหลงทีด่ ี และ (5) สะทอนถึงเอกลักษณของภูมิภาค จากการคนควาและรวบรวมขอมูล สามารถสรุปผลการสํารวจขอมูล สถานที่ทองเที่ยวในกลุม ทองเที่ยววิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง จากระบบฐานขอมูล แหลงทองเที่ยวของกรมการทองเที่ยว (ที่มา http://61.19.236.136:8090/dotr/) รวมทั้งภาพถายของสถานที่ทองเที่ยวดําเนินการแลว 9 จังหวัด ไดดังนี้ 3.1.1 จังหวัดชัยนาท ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 3 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 23 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 11 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 3 แหง รวมทั้งสิ้น 40 แหง แตจากการลงพื้นที่สํารวจสถานที่จริงแลว พบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมสามารถเดินทางเขาไป ได หรือมีการเดินทางที่ยากลําบาก และยังขาดความพรอมในการรองรับนักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรร เหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้
6
1) วัดปากคลองมะขามเฒา
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก tatsuphan.net และ tiewpakklang.com)
2) วัดอินทาราม
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก touronthai.com)
3) สวนนกชัยนาท
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thetrippackker.com และ tiewpakklang.com)
7
4) เขื่อนเจาพระยา
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก reviewthaitravel.com และ pixpros.net)
3.1.2 จังหวัดสิงหบุรี ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 4 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 24 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 7 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 1 แหง รวมทั้งสิ้น 36 แหง แตพบวาแหลง ทองเที่ยวหลายแหงไมส ามารถเดิน ทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการรองรับ นักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้ 1) วัดพระนอนจักรสีหวรวิหาร
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก barnburi.com และ thailovetrip.com)
8
2) ศูนยอนุรักษควายไทยเขางาม
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thaitravelguide.info และ tnamcot.com)
3) อนุสาวรียวีรชนและอุทยานคายบางระจัน
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก hotelsguidethailand.com และ zabzaa.com )
4) แหลงเตาเผาแมน้ํานอย
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก singburi.cad.go.th และweekendhobby.com)
9
3.1.3 จังหวัดอางทอง ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 46 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 11 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรมวัฒนธรรม 4 แหง รวมทั้งสิ้น 61 แหง แตพบวาแหลง ทองเที่ยวหลายแหง ไมส ามารถเดิน ทางเขาไปได และยัง ขาดความพรอมในการรองรับนัก ทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้ 1) วัดไชโยวรวิหาร
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก touronthai.com)
2) วัดมวง
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thetrippacker.com)
3) ตลาดวิเศษชัยชาญ (ตลาดศาลเจาโรงทอง)
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก sadoodta.com)
10
4) บานบางเสด็จ (ตุกตาชาววัง)
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก tatsuphan.net)
3.1.4 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 1 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 50 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 8 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 4 แหง รวมทั้งสิ้น 63 แหงแตพบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมสามารถเดินทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการรองรับ นักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 16 แหง ดังนี้ 1) พระที่นั่งเพนียดและหมูบานชางเพนียดหลวง
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก manager.co.th และdog-hall.com)
2) พระบรมราชานุสาวรียส มเด็จพระนเรศวรมหาราช
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก unseentravel.com และ chillinayuthaya.com)
11
3) พระราชวังบางปะอิน
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก painaidii.com และ tinyzone.tv)
4) พระราชานุสาวรียสมเด็จพระศรีสรุ ิโยทัย
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก chillpainai.com และamazingthaitour.com)
5) วัดกษัตราธิราชวรวิหาร
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก travel.mthai.com และ hotelsguidethailand.com)
12
6) วัดไชยวัฒนาราม
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก baanmaha.com)
7) วัดนิเวศธรรมประวัติ
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thaiza.com และ web-pra.com)
8) วัดพนัญเชิงวรวิหาร
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก touronthai.com และdhammathai.org)
13
9) วัดใหญชัยมงคล(วัดปาแกว)
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก zthailand.com และ travel.sanook.com)
10) วิหารพระมงคลบพิตร
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก comingthailand.com และ travel.edtguide.com)
11) อุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก tiewpakklang.com, chomthai.com และ tour.co.th)
14
12) โรงเรียนสํานักดาบพุทไธสวรรย
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก folktravel.com และ facebook.com/pages/โรงเรียนสํานักดาบพุทไธสวรรย)
13) ศูนยศลิ ปาชีพบางไทร
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก weddinghitz.com และ tiewpakklang.com)
14) ศูนยทองเทีย่ วทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น สถาบันอยุธยาศึกษา
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thaiza.com และ goisgo.net)
15
15) หมูบานญี่ปุน
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก holidaythai.com และ tourismthailand.org)
16) หมูบานอรัญญิก
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก tamdoo.com และ hotelsguidethailand.com)
3.1.5 จังหวัดลพบุรี ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 11 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 38 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 10 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 7 แหง รวมทั้งสิ้น 66 แหง แตพบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมสามารถเดินทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการ รองรับนักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้ 1) เขื่อนปาสักชลสิทธิ์
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก photoontour.com และ cuppattana.org)
16
2) พระนารายณราชนิเวศน
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก paiduaykan.com)
3) พระปรางคสามยอด
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก teentao.com และ pixpros.net)
4) ศูนยผาไทยทอมือ อําเภอโคกเจริญ (กลุมไดยกเลิกไปแลว) 5) บานหลวงรับราชทูต
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก hotelsguidethailand.com และ unseentravel.com)
17
3.1.6 จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 6 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 50 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 18 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 10 แหง รวมทั้งสิ้น 84 แหง แตพบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมสามารถเดินทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการ รองรับนักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้ 1) พระบรมราชานุสรณดอนเจดีย
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก ruenthaidonchedi.com และ wikalenda.com)
2) ตลาดรอยปสามชุก
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก suphan.biz, blogging.com และ wikalenda.com)
18
3) พิพิธภัณฑสถานแหงชาติชาวนาไทย
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก suphan.biz)
4) หมูบานอนุรกั ษควายไทย
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก weekendhobby.com และ suphan.biz)
19
3.1.7 จังหวัดนครปฐม ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 4 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 33 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 18 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 3 แหง รวมทั้งสิ้น 58 แหง แต พบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมสามารถเดินทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการรองรับ นักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 5 แหง ดังนี้ 1) พระราชวังสนามจันทร
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thailandexhibition.com และ weekendhobby.com)
2) พระปฐมเจดีย
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก paiduaykan.com และ travel.thaiza.com)
3) พิพิธภัณฑหุนขี้ผึ้งไทย
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก tourismthailand.org และ painaidii.com)
20
4) พุทธมณฑล
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก web-pra.com และ weekendhobby.com)
5) ตลาดน้ําวัดดอนหวาย
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก siamfreestyle.com)
3.1.8 จังหวัดนนทบุรี ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 2 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 29 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 7 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 3 แหง รวมทั้งสิ้น 41 แหง แต พบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมส ามารถเดินทางเขาไปได และยั งขาดความพรอมในการรองรับ นักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้ 1) เกาะเกร็ด
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก paiduaykan.com และ thaitelecenter.com)
21
2) วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก zeekway.com และ edtguide.com)
3) กวานอามาน พิพิธภัณฑเครื่องปนดินเผาเกาะเกร็ด
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก paiduaykan.com)
4) พิพิธภัณฑและศูนยฝกอบรมการแพทยแผนไทย (ตัวอยางภาพสถานที่จาก chanpixs.com และ student.nu.ac.th)
22
3.1.9 จังหวัดปทุมธานี ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 39 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 6 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 2 แหง รวมทั้งสิ้น 47 แหง แต พบวาแหลงทองเที่ยวหลาย แหงไมสามารถเดินทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการรองรับนักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือ แหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 2 แหง ดังนี้ 1) พิพิธภัณฑการเกษตรเฉลิมพระเกียรติ
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก panoramio.com, chaoprayanews.com และ hrdi.or.th)
2) หอจดหมายเหตุแหงชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช
(ตัวอยางภาพสถานที่จาก edtguide.com และ unseentravel.com)
3.2 การลงพืน้ ที่ถายภาพ 1) หลังจากไดรับอนุมัติโครงการฯ คณะทํางานจึงไดทําการสํารวจพื้นที่ถายภาพ และวางแผนการดําเนินงานถายภาพโดยละเอียดดังนี้
24
25
26
2) หลังจากวางแผนการดําเนินงานโดยละเอียดแลว จึงไดมีการมอบหมายหนาที่ใหแกชางภาพ โดยแบงเปน 4 เสนทาง ดังนี้ - กรุงเทพมหานคร ถายภาพโดย คุณสยมภูว เสตะพรามณ - นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี อางทอง สิงหบุรี ชัยนาท ลพบุรี สุพรรณบุรีและอยุธยา ถายภาพโดย คุณพีระพงค ประสูตร - ราชบุรีและสมุทรปราการ ถายภาพโดย คุณศิวกฤษณ ศราวิช - สมุทรสงครามและสมุทรสาคร ถายภาพโดย ดร.นิวัตร ตันตยานุสรณ โดยไดชี้แจงกําหนดการในการถายภาพใหชางภาพทุกคนและใหจัดสงภาพถายทั้งหมดมายัง ทีมออกแบบหนังสือ ผานทาง DROPBOX และใหมีการเปดกลุม LINE เพื่อใชในการติดตอสื่อสารกันโดย ตลอด ตัวอยางภาพถายบางสวนที่ไดรับจากชางภาพแลว ดังนี้ ตัวอยางภาพ พระนครศริอยุธยา
28
29
ตัวอยางภาพ สุพรรณบุรี
ตัวอยางภาพ นนทบุรี
30
ตัวอยางภาพ ลพบุรี
31
ตัวอยางภาพ สมุทรสงคราม
32
3) หลัง จากไดล งพื้น ที่ถ ายภาพไปแล วสวนหนึ่ง คณะทํา งานจึง ไดมีก ารประชุมในวัน ที่ 24 พฤศจิกายน 2557 เพื่อชี้แ จงความคืบหนาในการดําเนิน โครงการและปญหาที่พบในการเดิน ทาง ถายภาพ รวมถึ งความคืบหนาในการออกแบบหนัง สือภาพทั้ง เชิง ทองเที่ยวและเชิง วิชาการ สรุป รายงานการประชุม ดังนี้ 3.1) ความคืบหนาการถายภาพ และปญหาที่พบ - คุณสยมภูว ถายภาพกรุงเทพฯ แจงวาไดถายภาพครบทุกแหงแลวตามแผน ทั้งนี้อยู ในชวงตกแตงภาพและจะทยอยถายภาพเพิ่มเติมในชวงเวลาที่ยัง เหลืออยู และรอเก็บภาพ ในชวงเทศกาลเพิ่มเติม - คุณพีระพงศ ถายภาพจังหวัดนครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี อางทอง สิงหบุรี ชัยนาท ลพบุรี สุพรรณบุรี อยุธยา โดยลงพื้นที่ถายภาพสวนใหญแลว และพบปญหาดังนี้ นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สิงหบุรี ชัยนาท สุพรรณบุรี ดําเนินการถายภาพ ไดราบรืน่ ไมมีปญหา อางทอง วัดไชโยวรวิหาร ปดปรับปรุง สวนที่อื่นๆ ถายไดไมมีปญหา
ภาพวัดไชโยวรวิหาร ณ เดือนพฤศจิกายน 2557
ลพบุรี ศูนยผาไทยทอมือไดปดตัวไปแลว จึงตองยกเลิก และไดเพิ่มบาน หลวงรับราชทูต เนื่องจากเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญและมีความสวยงาม อีกแหงหนึง่ สวนที่อื่นๆ ถายไดไมมีปญหา
33
อยุธยา วิหารพระมงคลบพิตร ปดปรับปรุง และ โรงเรียนสํานักดาบฯ อยู ในชวงปดเทอมจึงไมสามารถถายภาพได และไดเพิ่มวัดหนาพระเมรุและ ตลาดลาดชะโด เนื่องจากเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญและมีความสวยงาม อีกแหงหนึง่ สวนที่อื่นๆ ถายไดไมมีปญหา - ดร.นิวตั ร รับผิดชอบถายภาพจังหวัดสมุทรสงคราม และสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ทีด่ อนหอยหลอด ชวงเดือนพ.ย.นี้ยงั ไมสามารถถายภาพได เพราะอยูในชวงน้ําขึ้น แตจะกลับไปถายใหมในชวงเดือนธันวาคม สวนที่อื่นๆ ถายไดไมมีปญหา และเพิ่มภาพปาชายเลนคลองโคน สมุทรสาคร นากุง มีการทํานากุงนอยลงแตยังคงเปนแหลงสําคัญในการซื้อ ขายกุง จึงไดถายภาพและจะเปลี่ยนการนําเสนอเปนตลาดกุงขนาดใหญ สวน นาเกลือ ชวงนี้ไมอยูในฤดูกาล แตจะหาภาพที่เคยถายไวมานําเสนอ - คุณศิวกฤษณ รับผิดชอบจังหวัดราชบุรแี ละสมุทรปราการ จะเริ่มถายภาพในชวงสิ้นเดือน พ.ย.-กลางเดือนธ.ค.57 3.2) ความคืบหนาการออกแบบหนังสือ ออกแบบ Layout หนังสือภาพเชิงทองเที่ยวเสร็จแลว รอนําภาพและ text จริงมาใส และกําลัง จะเริ่มออกแบบหนังสือภาพเชิงวิชาการตอไป ทั้งนี้จะมีการปรับ design ใหแตกตางจากเลมหนังสือภาพ ลานนา เพื่อใหผูอานไมเบื่อ แตยังคงเอกลักษณเพื่อใหรูวาเปนหนังสือภาพชุดเดียวกันไปตลอดทั้ง 8 คลัส เตอร และภาพหลักที่ใชเปนปกควรเปนภาพโบราณสถานและวิถีชีวิตลุมแมน้ํา เพื่อใหสอดคลองกับอัต ลักษณของวิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง และไดมีขอเสนอแนะจาอที่ประชุม ดังนี้ - เสนอใหมกี ารทบทวนสถานที่ทองเที่ยวให update เปนปจจุบันวาสถานที่ใดยังมีอยู และ ยกเลิกไปแลว - สถานที่ทองเที่ยวบางแหงควรมีการใหความหมายใหมเพื่อใหเขากับบริบทที่เปลี่ยนไป - สําหรับสถานทีท่ องเที่ยวทีด่ ีอยูแลว ควรสนับสนุนใหชัดเจนขึ้น การประชุมคณะทํางานในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2557
34
3.3 การออกแบบหนังสือภาพเชิงทองเที่ยวและเชิงวิชาการ ทีมออกแบบได ทําการออกแบบหนัง สือภาพ โดยใชแ นวทางการออกแบบและการจัด วางภาพใน รูปแบบเดียวกับหนังสือภาพอารยธรรมลานนาเพื่อใหไปในทิศทางเดียวกัน มีการออกแบบหนังสือภาพให มีความสวยงาม สามารถตอบสนองการรับรูของผูอานทั่วโลกไดอยางเหมาะสม
หนังสือภาพอายธรรมลานนา - เชิงทองเที่ยว
35
หนังสือภาพอายธรรมลานนา – เชิงวิชาการ
36
หนังสืออางอิงเพื่อการออกแบบหนังสือภาพเชิงทองเที่ยว
หนังสืออางอิงเพื่อการออกแบบหนังสือภาพเชิงวิชาการ
โดยทีมงานไดออกแบบ Layout สําหรับ หนังสือภาพเชิง ทองเที่ยวแลว และจะไดดําเนิน การ ออกแบบ Layout สําหรับหนังสือภาพเชิงวิชาการตอไป รวมทั้งจะไดนําภาพถายจริงที่ไดจากชางภาพมา จัดวางลงในเลมเพื่อเตรียมการจัดพิมพตอไป
37 การออกแบบ Layout หนังสือภาพเชิงทองเที่ยว
38
3.4 การจัดทําสื่อออนไลนประชาสัมพันธโครงการและเผยแพรภาพถาย 1) เว็บไซต www.thailandphotobook.com ที ม งานได อ อกแบบและจั ด ทํ า เว็ บ ไซต thailandphotobook.com โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ประชาสัมพันธโครงการหนังสือภาพกลุมทองเที่ยวที่มีศักยภาพของประเทศไทย เฟส 1 อารยธรรมลานนา และเฟส 2 วิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง รวมไปถึง งานหนังสือภาพในอนาคต และเผยแพรภาพถายที่ รวบรวมไดจากทุกโครงการดังกลาวที่ไดดําเนินการถายทําโดยทีมงานของโครงการ โดยไดเริ่มจดทะเบียน Domain (ชื่อเว็บไซต) และ Hosting (เชาพื้นที่เว็บไซต) เปน ระยะเวลา 2 ปนับตั้ง แตเริ่มโครงการ (1 พฤศจิกายน 2557 – 31 ตุลาคม 2559) โดยมีรายละเอียดแตละหนา ดังนั้น HOME
39
GALLERY
40
ABOUT US
CONTACT
41
2) Facebook (www.facebook.com/THPhotoBook) ทีมงานไดจดั ทํา Facebook Page เพื่อการประชาสัมพันธโครงการ และเผยแพรภาพถายที่ทีมงาน ไดดําเนินการถายทํา หนา Facebook
42
4. ขอเสนอแนะจากการดําเนินโครงการ ตามที่ทีมงานไดดําเนินโครงการไปไดสวนหนึ่งแลว และพบปญหา และอุปสรรคในการภาพถายยัง แหลงทองเที่ยวบางแหง เชน แหลงทองเที่ยวที่เปนการรวมกลุมของชุมชน/กลุมชาวบานมีการปดตัวลง แหลงทองเที่ยวทางน้ํา และดานการประมง มีวิถีชีวิตในการทําประมงที่ลดลงและแปรเปลี่ยนเปนแหลง คาขายสินคาทางทะเลแทน เปนตน ดังนั้น ทีมงานจึงมีขอเสนอแนะดังนี้ 1) ขอใหทางกรมหรือหนวยงานที่เกี่ยวของมีการทบทวนสถานที่ทองเที่ยวใหเปนปจจุบัน สถานที่ แหงใดยังคงมีอยู หรือแหงใดปดตัวไปแลว เพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตองแกนักทองเที่ยว 2) สถานที่ทองเที่ยวบางแหงควรมีการใหความหมายใหมเพื่อใหเขากับบริบทที่เปลี่ยนไป เชน นา กุง ในจังหวัดสมุทรสาคร ที่ชาวบานมีการทํานากุงนอยลง แตแปรเปลี่ยนเปนตลาดคาขายกุง และอาหารทะเล ที่มีขนาดใหญ จึงควรมีการนําเสนอใหเขากับรูปแบบชุมชนที่เปลี่ยนไป 3) สํา หรับ สถานที่ ทอ งเที่ ย วยัง คงอยู และมีค วามสวยงาม มี ก ารดํ า เนิ น การที่ เอื้ อ ตอ การ ท อ งเที่ ย ว ควรมี ก ารสนั บ สนุ น ให ชั ด เจนขึ้ น มี ป ระชาสั ม พั น ธ ที่ ม ากขึ้ น เพื่ อ ให เ ข า ถึ ง นักทองเที่ยว และเพื่อเปนการกระตุนการทองเที่ยวของประเทศตอไป
43
5. เบื้องหลังการถายภาพ
44
45
46
6. รายชื่อองคกรและบุคลากรดําเนินโครงการ 1. ผูสนับสนุน กรมการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 2. องคกรดําเนินการ 1) สภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี 2) มูลนิธิสถาบันการถายภาพเชียงใหม 3) สมาคมสงเสริมไทยแหงเชียงใหม 4) สาขาวิชาสื่อ ศิลปะ และการออกแบบสื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม 3. ทีมดําเนินการและประสานงานโครงการ 1) ดร.นิวตั ร ตันตยานุสรณ 2) อ.อุทิศ อติมานะ 3) ดร.เพ็ญ สุขะตะ ใจอินทร 4) คุณปรัศนีย สินพิมลบูรณ 5) คุณอเสกข เพ็ชรเฟอง 6) คุณนุชนภางค ตันตยานุสรณ 7) คุณสิริภา เกียรติศิริอนันต 4. ที่ปรึกษาโครงการ 1) คุณโอฬาร จํานงค 2) คุณสุพจน พลบุตร 5. ทีมถายภาพ 1) ดร.นิวตั ร 2) คุณพีรพงศ 3) คุณสยมภูว 4) คุณศิวกฤษณ
ตันตยานุสรณ ประสูติ เสตะพรามณ ศราวิช
หัวหนาโครงการ รองหัวหนาโครงการ ผูเขียนบทความ เลขานุการโครงการ นักออกแบบสื่อสิ่งพิมพ ผูประสานงานโครงการ ผูประสานงานโครงการ