Photo Book Phase II Progress Report

Page 1


2

สารบัญ หนา 1. ความเปนมาของโครงการ ……………………………………………………………………………….…………………. 2 2. ขั้นตอนการดําเนินโครงการ ………………………………………………………………………………………………. 2 3. ผลการดําเนินโครงการ 3.1 การวิจัยและรวบรวมขอมูลดานการทองเที่ยวของภาครัฐ………….……………………………. 4 3.2 การลงพื้นที่ถายภาพ ……………………………………………..……………………………………………… 22 3.3 การออกแบบหนังสือภาพ ………………………………………………………………..……………… 35 3.4 การจัดทําสื่อออนไลนประชาสัมพันธโครงการและเผยแพรภาพถาย …………………..…39 4. ขอเสนอแนะจากการดําเนินโครงการ ………………………………………..……………………………………. 43 5. เบื้องหลังการถายภาพ ……………..…………………………………………………..……………………………………. 44 6. ภาคผนวก ……………..……………………………………………………………………..…………………………………….. 47 7. รายชื่อองคกรและบุคลากรดําเนินโครงการ ……………………………..…………………………………….. 49


3

รายงานความกาวหนา โครงงานหนังสือภาพ 8 กลุมทองเที่ยวที่มีศักยภาพของประเทศไทย เฟส 2 “กลุมทองเที่ยววิถีชวี ิตลุมแมน้ําภาคกลาง” 1. ความเปนมาของโครงการ อุตสาหกรรมการทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมสําคัญของทุกประเทศในโลกเกี่ยวของกับการบริโภค ประสบการณทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ (การบริโภคเชิงสัญญะ) ที่สรางประสบการณการเรียนรู คุณคาความแตกตาง ความแปลกใหม ดังนั้นทุกประเทศในโลกจึงจําเปนตองกําหนดตําแหนงทางการ ตลาดที่ชัดเจน เพื่อเพิ่มขีดศักยภาพการแขงขันเปนการตลาดเชิงสถานที่ (Place Marketing) เพื่อสราง ภาพลักษณของแหลงทองเที่ยวตางๆ ใหมีความโดดเดน และนาเชื่อถือ ผานวัฒนธรรมทางสายตา (Visual Culture) เช น สื่ อ ภาพถ า ย ภาพเคลื่ อ นไหว หนั ง สื อ วารสาร เชิ ง การท องเที่ ย ว ตลอดจนถึ ง สื่ อ อิเลคทรอนิกสตางๆ กรมการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ไดเห็น ความสําคัญในการสง เสริมและ ประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวอยางเปนระบบ ในป พ.ศ.2556 จึงไดใหการสนับสนุนการดําเนินโครงการ หนังสือภาพ 8 กลุมทองเที่ยวที่มีศักยภาพของประเทศไทย เฟส 1: กลุมทองเที่ยวอารยธรรมลานนา และ จากนั้นในป พ.ศ.2557 ไดใหการสนับสนุนการดําเนินโครงการอยางตอเนื่องในเฟส 2: กลุมทองเที่ยววิถี ชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง ลานนา เพื่อการแปลงแนวคิดเชิงยุทธศาสตรการทองเที่ยวของชาติสูวัฒนธรรม ทางสายตา การสื่อสารการตลาดเชิงภาพ โดยเลือกสื่อภาพถายใหทําหนาที่ สะทอนความโดดเดนของ แหลงทองเที่ยวเอกลักษณของแหลงทองเที่ยวและภูมิภาค โดยมีขอบเขตการถายภาพตามกลุมทองเที่ยว ที่มีศักยภาพ ที่เกี่ยวของกับแหลงทองเที่ยวลุมแมน้ําภาคกลาง ประกอบดวย 14 จังหวัด คือ จังหวัดชัยนาท สิงห บุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา ลพบุ รี สุพรรณบุ รี นครปฐม นนทบุ รี ปทุมธานี สมุ ทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี และกรุงเทพมหานคร โดยกรมการทองเที่ยว ได มอบหมายใหส ภาอุต สาหกรรมทอ งเที่ย วจัง หวัด สุพ รรณบุ รี เป น ผูดําเนินการโครงการดังกลาว และทางสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวจังหวัด สุพรรณบุรี จึงไดประสานกับ มูลนิธิสถาบันการถายภาพเชียงใหม สมาคมสงเสริมไทยแหงเชียงใหม และสาขาวิชาสื่อ ศิลปะ และการ ออกแบบสื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม เพื่อดําเนินการโครงการดังกลาวใหสําเร็จลุลวง

2. ขั้นตอนการดําเนินโครงการ ขั้นตอนการดําเนินงานในโครงการหนังสือภาพฯ มีดงั นี้ 1) การทบทวนนโยบาย และยุทธศาสตรดานการทองเที่ยวของประเทศ และวิจัยเพื่อคนหาตําแหนง ทางการตลาดของสถานที่ทองเที่ยวตางๆ ของกลุมทองเที่ยววิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง


4

2) การรวบรวมสื่อภาพถายเพื่อการทองเที่ยวที่ผานมา 3) วิเคราะหขอมูลดานการทองเทีย่ วและภาพถาย แปลงแผนยุทธศาสตรการทองเทีย่ วสูก ารวางแผน ปฏิบัติงานโครงการ 4) การผลิตสื่อภาพถายโดยทีมงาน In-House Production โดยลงพืน้ ทีถ่ ายภาพตามแหลงทองเที่ยวที่ มีศักยภาพทั้ง 14 จังหวัดขางตน 5) การจัดทําหนังสือภาพถายเลาเรื่องเชิงทองเที่ยว 6) การจัดทําหนังสือภาพสงเสริมการทองเทีย่ วเนื้อหาเชิงวิชาการ 7) เผยแพรหนังสือภาพถาย โดยกรมการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 8) นําภาพถายที่ผานการคัดสรรเผยแพรลงในสื่อออนไลน ใน Wiki Commons และเว็บไซต www.thailandphotobook.com เพื่อใหการดําเนินงานทั้ง 8 ขอขางตนสําเร็จลุลวงทีมดําเนินงานจึง จัดทําแผนการดําเนินงาน ดังตอไปนี้ รายละเอียด A. Data Review 1. ทบทวนนโยบายดานการทองเที่ยว 2. รวบรวมสื่อภาพถายเพื่อการทองเที่ยวที่ผานมา B. Operation Plan 1. แปลงแผนยุทธศาสตรการทองเที่ยวสูแผนปฏิบัติงาน C. Photo Production 1) ลงพื้นที่ถายภาพจังหวัดชัยนาท สิงหบุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา 2) ลงพื้นที่ถายภาพจังหวัดลพบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี กรุงเทพฯ 3) ลงพื้นที่ถายภาพจังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี 4) รวบรวมภาพถายและจัดทํา post production D. Media Production 1. เขียนบทความประกอบหนังสือภาพ 1) บทความประกอบหนังสือภาพเชิงทองเที่ยว 2) บทความประกอบหนังสือภาพเชิงวิชาการ 2. แปลบทความประกอบหนังสือภาพ 3. ออกแบบจัดวาง Layout ทํา Artwork และตรวจสอบ 4. ผลิตหนังสือภาพทองเที่ยววิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง 5. รวบรวมภาพเผยแพรในสื่อออนไลน (Website และ Wiki Commons)

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.


5

3. ผลการดําเนินโครงการ 3.1 การวิจัยและสํารวจขอมูลสถานที่ทองเที่ยว การสํารวจขอมูลและทําการวิจัยประกอบโครงการหนังสือภาพ 8 กลุมทองเที่ยวที่มีศักยภาพของ ประเทศไทย เฟส 2 กลุมทองเที่ยววิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง มีวัตถุประสงคเพื่อใหสามารถนําขอมูลดาน การทอ งเที่ยวมาบูร ณาการกั บศาสตรดานการถา ยภาพ รวมถึง ศาสตรดานการออกแบบสื่อ (การ ออกแบบหนังสือและสื่อออนไลน) เพื่อสามารถตอบสนองความตองการความรูเพื่อพัฒนาการทองเที่ยว ของประเทศตอไปไดอยางมีประสิทธิภาพ และคนควาหาขอมูลกอนดําเนินการโครงการ เพื่อใหไดทิศ ทางการดําเนินการที่ชัดเจน มีความเหมาะสมตอบริบทที่เปลี่ยนไป และดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ สูงสุด ในที่นี้ สภาอุต สาหกรรมทองเที่ยวจัง หวัด สุพรรณบุรี ซึ่ง มีองคก รรวมคือ มูล นิธิ ส ถาบัน การ ถายภาพเชียงใหม สมาคมสง เสริมไทยแหง เชียงใหม และสาขาวิชาสื่อ ศิล ปะ และการออกแบบสื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดดําเนินการคัดสรรสถานที่ทองเที่ยวภายในกลุมทองเที่ยววิถีชีวิตลุมแมน้ําภาค กลาง 14 จังหวัด ซึ่งประกอบดวย จังหวัดชัยนาท สิงหบุรี อางทอง พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ราชบุรี และกรุงเทพมหานคร โดยใช หลักเกณฑความโดดเดน 5 ประเด็น ประกอบดวย (1) ความโดดเดนของแหลงทองเที่ยว (2) สอดคลองกับความตองการของตลาดทองเที่ยวทั้งภายในประเทศและตางประเทศ (3) มีความพรอมของโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวก (4) มีการบริหารจัดการแหลงทีด่ ี และ (5) สะทอนถึงเอกลักษณของภูมิภาค จากการคนควาและรวบรวมขอมูล สามารถสรุปผลการสํารวจขอมูล สถานที่ทองเที่ยวในกลุม ทองเที่ยววิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง จากระบบฐานขอมูล แหลงทองเที่ยวของกรมการทองเที่ยว (ที่มา http://61.19.236.136:8090/dotr/) รวมทั้งภาพถายของสถานที่ทองเที่ยวดําเนินการแลว 9 จังหวัด ไดดังนี้ 3.1.1 จังหวัดชัยนาท ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 3 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 23 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 11 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 3 แหง รวมทั้งสิ้น 40 แหง แตจากการลงพื้นที่สํารวจสถานที่จริงแลว พบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมสามารถเดินทางเขาไป ได หรือมีการเดินทางที่ยากลําบาก และยังขาดความพรอมในการรองรับนักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรร เหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้


6

1) วัดปากคลองมะขามเฒา

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก tatsuphan.net และ tiewpakklang.com)

2) วัดอินทาราม

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก touronthai.com)

3) สวนนกชัยนาท

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thetrippackker.com และ tiewpakklang.com)


7

4) เขื่อนเจาพระยา

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก reviewthaitravel.com และ pixpros.net)

3.1.2 จังหวัดสิงหบุรี ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 4 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 24 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 7 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 1 แหง รวมทั้งสิ้น 36 แหง แตพบวาแหลง ทองเที่ยวหลายแหงไมส ามารถเดิน ทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการรองรับ นักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้ 1) วัดพระนอนจักรสีหวรวิหาร

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก barnburi.com และ thailovetrip.com)


8

2) ศูนยอนุรักษควายไทยเขางาม

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thaitravelguide.info และ tnamcot.com)

3) อนุสาวรียวีรชนและอุทยานคายบางระจัน

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก hotelsguidethailand.com และ zabzaa.com )

4) แหลงเตาเผาแมน้ํานอย

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก singburi.cad.go.th และweekendhobby.com)


9

3.1.3 จังหวัดอางทอง ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 46 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 11 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรมวัฒนธรรม 4 แหง รวมทั้งสิ้น 61 แหง แตพบวาแหลง ทองเที่ยวหลายแหง ไมส ามารถเดิน ทางเขาไปได และยัง ขาดความพรอมในการรองรับนัก ทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้ 1) วัดไชโยวรวิหาร

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก touronthai.com)

2) วัดมวง

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thetrippacker.com)

3) ตลาดวิเศษชัยชาญ (ตลาดศาลเจาโรงทอง)

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก sadoodta.com)


10

4) บานบางเสด็จ (ตุกตาชาววัง)

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก tatsuphan.net)

3.1.4 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 1 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 50 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 8 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 4 แหง รวมทั้งสิ้น 63 แหงแตพบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมสามารถเดินทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการรองรับ นักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 16 แหง ดังนี้ 1) พระที่นั่งเพนียดและหมูบานชางเพนียดหลวง

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก manager.co.th และdog-hall.com)

2) พระบรมราชานุสาวรียส มเด็จพระนเรศวรมหาราช

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก unseentravel.com และ chillinayuthaya.com)


11

3) พระราชวังบางปะอิน

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก painaidii.com และ tinyzone.tv)

4) พระราชานุสาวรียสมเด็จพระศรีสรุ ิโยทัย

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก chillpainai.com และamazingthaitour.com)

5) วัดกษัตราธิราชวรวิหาร

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก travel.mthai.com และ hotelsguidethailand.com)


12

6) วัดไชยวัฒนาราม

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก baanmaha.com)

7) วัดนิเวศธรรมประวัติ

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thaiza.com และ web-pra.com)

8) วัดพนัญเชิงวรวิหาร

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก touronthai.com และdhammathai.org)


13

9) วัดใหญชัยมงคล(วัดปาแกว)

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก zthailand.com และ travel.sanook.com)

10) วิหารพระมงคลบพิตร

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก comingthailand.com และ travel.edtguide.com)

11) อุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก tiewpakklang.com, chomthai.com และ tour.co.th)


14

12) โรงเรียนสํานักดาบพุทไธสวรรย

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก folktravel.com และ facebook.com/pages/โรงเรียนสํานักดาบพุทไธสวรรย)

13) ศูนยศลิ ปาชีพบางไทร

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก weddinghitz.com และ tiewpakklang.com)

14) ศูนยทองเทีย่ วทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น สถาบันอยุธยาศึกษา

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thaiza.com และ goisgo.net)


15

15) หมูบานญี่ปุน

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก holidaythai.com และ tourismthailand.org)

16) หมูบานอรัญญิก

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก tamdoo.com และ hotelsguidethailand.com)

3.1.5 จังหวัดลพบุรี ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 11 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 38 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 10 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 7 แหง รวมทั้งสิ้น 66 แหง แตพบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมสามารถเดินทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการ รองรับนักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้ 1) เขื่อนปาสักชลสิทธิ์

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก photoontour.com และ cuppattana.org)


16

2) พระนารายณราชนิเวศน

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก paiduaykan.com)

3) พระปรางคสามยอด

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก teentao.com และ pixpros.net)

4) ศูนยผาไทยทอมือ อําเภอโคกเจริญ (กลุมไดยกเลิกไปแลว) 5) บานหลวงรับราชทูต

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก hotelsguidethailand.com และ unseentravel.com)


17

3.1.6 จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 6 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 50 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 18 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 10 แหง รวมทั้งสิ้น 84 แหง แตพบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมสามารถเดินทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการ รองรับนักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้ 1) พระบรมราชานุสรณดอนเจดีย

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก ruenthaidonchedi.com และ wikalenda.com)

2) ตลาดรอยปสามชุก

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก suphan.biz, blogging.com และ wikalenda.com)


18

3) พิพิธภัณฑสถานแหงชาติชาวนาไทย

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก suphan.biz)

4) หมูบานอนุรกั ษควายไทย

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก weekendhobby.com และ suphan.biz)


19

3.1.7 จังหวัดนครปฐม ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 4 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 33 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 18 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 3 แหง รวมทั้งสิ้น 58 แหง แต พบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมสามารถเดินทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการรองรับ นักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 5 แหง ดังนี้ 1) พระราชวังสนามจันทร

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก thailandexhibition.com และ weekendhobby.com)

2) พระปฐมเจดีย

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก paiduaykan.com และ travel.thaiza.com)

3) พิพิธภัณฑหุนขี้ผึ้งไทย

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก tourismthailand.org และ painaidii.com)


20

4) พุทธมณฑล

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก web-pra.com และ weekendhobby.com)

5) ตลาดน้ําวัดดอนหวาย

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก siamfreestyle.com)

3.1.8 จังหวัดนนทบุรี ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 2 แหง แหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 29 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 7 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 3 แหง รวมทั้งสิ้น 41 แหง แต พบวาแหลงทองเที่ยวหลายแหงไมส ามารถเดินทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการรองรับ นักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 4 แหง ดังนี้ 1) เกาะเกร็ด

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก paiduaykan.com และ thaitelecenter.com)


21

2) วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก zeekway.com และ edtguide.com)

3) กวานอามาน พิพิธภัณฑเครื่องปนดินเผาเกาะเกร็ด

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก paiduaykan.com)

4) พิพิธภัณฑและศูนยฝกอบรมการแพทยแผนไทย (ตัวอยางภาพสถานที่จาก chanpixs.com และ student.nu.ac.th)


22

3.1.9 จังหวัดปทุมธานี ประกอบดวยแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร 39 แหง แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น 6 แหง และแหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม 2 แหง รวมทั้งสิ้น 47 แหง แต พบวาแหลงทองเที่ยวหลาย แหงไมสามารถเดินทางเขาไปได และยังขาดความพรอมในการรองรับนักทองเที่ยว นักวิจัยจึงคัดสรรเหลือ แหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพและมีความโดดเดนทั้งสิ้น 2 แหง ดังนี้ 1) พิพิธภัณฑการเกษตรเฉลิมพระเกียรติ

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก panoramio.com, chaoprayanews.com และ hrdi.or.th)

2) หอจดหมายเหตุแหงชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช

(ตัวอยางภาพสถานที่จาก edtguide.com และ unseentravel.com)


3.2 การลงพืน้ ที่ถายภาพ 1) หลังจากไดรับอนุมัติโครงการฯ คณะทํางานจึงไดทําการสํารวจพื้นที่ถายภาพ และวางแผนการดําเนินงานถายภาพโดยละเอียดดังนี้


24


25


26


2) หลังจากวางแผนการดําเนินงานโดยละเอียดแลว จึงไดมีการมอบหมายหนาที่ใหแกชางภาพ โดยแบงเปน 4 เสนทาง ดังนี้ - กรุงเทพมหานคร ถายภาพโดย คุณสยมภูว เสตะพรามณ - นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี อางทอง สิงหบุรี ชัยนาท ลพบุรี สุพรรณบุรีและอยุธยา ถายภาพโดย คุณพีระพงค ประสูตร - ราชบุรีและสมุทรปราการ ถายภาพโดย คุณศิวกฤษณ ศราวิช - สมุทรสงครามและสมุทรสาคร ถายภาพโดย ดร.นิวัตร ตันตยานุสรณ โดยไดชี้แจงกําหนดการในการถายภาพใหชางภาพทุกคนและใหจัดสงภาพถายทั้งหมดมายัง ทีมออกแบบหนังสือ ผานทาง DROPBOX และใหมีการเปดกลุม LINE เพื่อใชในการติดตอสื่อสารกันโดย ตลอด ตัวอยางภาพถายบางสวนที่ไดรับจากชางภาพแลว ดังนี้ ตัวอยางภาพ พระนครศริอยุธยา


28


29

ตัวอยางภาพ สุพรรณบุรี


30

ตัวอยางภาพ นนทบุรี


31

ตัวอยางภาพ นครปฐม


32

ตัวอยางภาพ สมุทรสงคราม


33

ตัวอยางภาพ กรุงเทพมหานคร


34

3) หลัง จากไดล งพื้น ที่ถ ายภาพไปแล วสวนหนึ่ง คณะทํา งานจึง ไดมีก ารประชุมในวัน ที่ 24 พฤศจิกายน 2557 เพื่อชี้แ จงความคืบหนาในการดําเนิน โครงการและปญหาที่พบในการเดิน ทาง ถายภาพ รวมถึ งความคืบหนาในการออกแบบหนัง สือภาพทั้ง เชิง ทองเที่ยวและเชิง วิชาการ สรุป รายงานการประชุม ดังนี้ 3.1) ความคืบหนาการถายภาพ และปญหาที่พบ - คุณสยมภูว ถายภาพกรุงเทพฯ แจงวาไดถายภาพครบทุกแหงแลวตามแผน ทั้งนี้อยู ในชวงตกแตงภาพและจะทยอยถายภาพเพิ่มเติมในชวงเวลาที่ยัง เหลืออยู และรอเก็บภาพ ในชวงเทศกาลเพิ่มเติม - คุณ พีร ะพงศ รับผิด ชอบถายภาพจัง หวัด นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี อางทอง สิงหบุรี ชัยนาท ลพบุรี สุพรรณบุรี อยุธยา โดยลงพื้นที่ถายภาพสวนใหญแลว และพบปญหา ดังนี้  นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สิงหบุรี ชัยนาท สุพรรณบุรี ดําเนินการถายภาพ ไดราบรืน่ ไมมีปญหา  อางทอง วัดไชโยวรวิหาร ปดปรับปรุง สวนที่อื่นๆ ถายไดไมมีปญหา

ภาพวัดไชโยวรวิหาร ณ เดือนพฤศจิกายน 2557

 ลพบุรี ศูนยผาไทยทอมือไดปดตัวไปแลว จึงตองยกเลิก และไดเพิ่มบาน หลวงรับราชทูต เนื่องจากเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญและมีความสวยงามอีก แหงหนึ่ง สวนที่อนื่ ๆ ถายไดไมมีปญหา  อยุธยา วิหารพระมงคลบพิตร ปดปรับปรุง และ โรงเรียนสํานักดาบฯ อยู ในชวงปดเทอมจึงไมสามารถถายภาพได และไดเพิ่มวัดหนาพระเมรุและ ตลาดลาดชะโด เนื่องจากเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญและมีความสวยงามอีก แหงหนึ่ง สวนที่อนื่ ๆ ถายไดไมมีปญหา


35

- ดร.นิวตั ร รับผิดชอบถายภาพจังหวัดสมุทรสงคราม และสมุทรสาคร  สมุทรสงคราม ทีด่ อนหอยหลอด ชวงเดือนพ.ย.นี้ยงั ไมสามารถถายภาพได เพราะอยูในชวงน้ําขึ้น แตจะกลับไปถายใหมในชวงเดือนธันวาคม สวนที่อื่นๆ ถายไดไมมีปญหา และเพิ่มภาพปาชายเลนคลองโคน  สมุทรสาคร นากุง มีการทํานากุงนอยลงแตยังคงเปนแหลงสําคัญในการซื้อ ขายกุง จึงไดถายภาพและจะเปลี่ยนการนําเสนอเปนตลาดกุงขนาดใหญ สวน นาเกลือ ชวงนี้ไมอยูในฤดูกาล แตจะหาภาพที่เคยถายไวมานําเสนอ - คุณศิวกฤษณ รับผิดชอบจังหวัดราชบุรแี ละสมุทรปราการ จะเริ่มถายภาพในชวงสิ้นเดือน พ.ย.-กลางเดือนธ.ค.57 3.2) ความคืบหนาการออกแบบหนังสือ ออกแบบ Layout หนังสือภาพเชิงทองเที่ยวเสร็จแลว รอนําภาพและ text จริงมาใส และกําลัง จะเริ่มออกแบบหนังสือภาพเชิงวิชาการตอไป ทั้งนี้จะมีการปรับ design ใหแตกตางจากเลมหนังสือภาพ ลานนา เพื่อใหผูอานไมเบื่อ แตยังคงเอกลักษณเพื่อใหรูวาเปนหนังสือภาพชุดเดียวกันไปตลอดทั้ง 8 คลัส เตอร และภาพหลักที่ใชเปนปกควรเปนภาพโบราณสถานและวิถีชีวิตลุมแมน้ํา เพื่อใหสอดคลองกับอัต ลักษณของวิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง และไดมีขอเสนอแนะจาอที่ประชุม ดังนี้ - เสนอใหมกี ารทบทวนสถานที่ทองเที่ยวให update เปนปจจุบันวาสถานที่ใดยังมีอยู และ ยกเลิกไปแลว - สถานที่ทองเที่ยวบางแหงควรมีการใหความหมายใหมเพื่อใหเขากับบริบทที่เปลี่ยนไป - สําหรับสถานทีท่ องเที่ยวทีด่ ีอยูแลว ควรสนับสนุนใหชัดเจนขึ้น การประชุมคณะทํางานในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2557


36

3.3 การออกแบบหนังสือภาพเชิงทองเที่ยวและเชิงวิชาการ ทีมออกแบบได ทําการออกแบบหนัง สือภาพ โดยใชแ นวทางการออกแบบและการจัด วางภาพใน รูปแบบเดียวกับหนังสือภาพอารยธรรมลานนาเพื่อใหไปในทิศทางเดียวกัน มีการออกแบบหนังสือภาพให มีความสวยงาม สามารถตอบสนองการรับรูของผูอานทั่วโลกไดอยางเหมาะสม

หนังสือภาพอายธรรมลานนา - เชิงทองเที่ยว


37

หนังสือภาพอายธรรมลานนา – เชิงวิชาการ


38

หนังสืออางอิงเพื่อการออกแบบหนังสือภาพเชิงทองเที่ยว

หนังสืออางอิงเพื่อการออกแบบหนังสือภาพเชิงวิชาการ

โดยทีมงานไดออกแบบ Layout สําหรับ หนังสือภาพเชิง ทองเที่ยวแลว และจะไดดําเนิน การ ออกแบบ Layout สําหรับหนังสือภาพเชิงวิชาการตอไป รวมทั้งจะไดนําภาพถายจริงที่ไดจากชางภาพมา จัดวางลงในเลมเพื่อเตรียมการจัดพิมพตอไป


39 การออกแบบ Layout หนังสือภาพเชิงทองเที่ยว


40

3.4 การจัดทําสื่อออนไลนประชาสัมพันธโครงการและเผยแพรภาพถาย 1) เว็บไซต www.thailandphotobook.com ที ม งานได อ อกแบบและจั ด ทํ า เว็ บ ไซต thailandphotobook.com โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ประชาสัมพันธโครงการหนังสือภาพกลุมทองเที่ยวที่มีศักยภาพของประเทศไทย เฟส 1 อารยธรรมลานนา และเฟส 2 วิถีชีวิตลุมแมน้ําภาคกลาง รวมไปถึง งานหนังสือภาพในอนาคต และเผยแพรภาพถายที่ รวบรวมไดจากทุกโครงการดังกลาวที่ไดดําเนินการถายทําโดยทีมงานของโครงการ โดยไดเริ่มจดทะเบียน Domain (ชื่อเว็บไซต) และ Hosting (เชาพื้นที่เว็บไซต) เปน ระยะเวลา 2 ปนับตั้ง แตเริ่มโครงการ (1 พฤศจิกายน 2557 – 31 ตุลาคม 2559) โดยมีรายละเอียดแตละหนา ดังนั้น HOME


41

GALLERY


42

ABOUT US

CONTACT


43

2) Facebook (www.facebook.com/THPhotoBook) ทีมงานไดจดั ทํา Facebook Page เพื่อการประชาสัมพันธโครงการ และเผยแพรภาพถายที่ทีมงาน ไดดําเนินการถายทํา หนา Facebook


44

4. ขอเสนอแนะจากการดําเนินโครงการ ตามที่ทีมงานไดดําเนินโครงการไปไดสวนหนึ่งแลว และพบปญหา และอุปสรรคในการภาพถายยัง แหลงทองเที่ยวบางแหง เชน แหลงทองเที่ยวที่เปนการรวมกลุมของชุมชน/กลุมชาวบานมีการปดตัวลง แหลงทองเที่ยวทางน้ํา และดานการประมง มีวิถีชีวิตในการทําประมงที่ลดลงและแปรเปลี่ยนเปนแหลง คาขายสินคาทางทะเลแทน เปนตน ดังนั้น ทีมงานจึงมีขอเสนอแนะดังนี้ 1) ขอใหทางกรมหรือหนวยงานที่เกี่ยวของมีการทบทวนสถานที่ทองเที่ยวใหเปนปจจุบัน สถานที่ แหงใดยังคงมีอยู หรือแหงใดปดตัวไปแลว เพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตองแกนักทองเที่ยว 2) สถานที่ทองเที่ยวบางแหงควรมีการใหความหมายใหมเพื่อใหเขากับบริบทที่เปลี่ยนไป เชน นา กุง ในจังหวัดสมุทรสาคร ที่ชาวบานมีการทํานากุงนอยลง แตแปรเปลี่ยนเปนตลาดคาขายกุง และอาหารทะเล ที่มีขนาดใหญ จึงควรมีการนําเสนอใหเขากับรูปแบบชุมชนที่เปลี่ยนไป 3) สํา หรับ สถานที่ ทอ งเที่ ย วยัง คงอยู และมีค วามสวยงาม มี ก ารดํ า เนิ น การที่ เอื้ อ ตอ การ ท อ งเที่ ย ว ควรมี ก ารสนั บ สนุ น ให ชั ด เจนขึ้ น มี ป ระชาสั ม พั น ธ ที่ ม ากขึ้ น เพื่ อ ให เ ข า ถึ ง นักทองเที่ยว และเพื่อเปนการกระตุนการทองเที่ยวของประเทศตอไป


45

5. เบื้องหลังการถายภาพ


46


47


48

ภาคผนวก หนังสือตอบรับสนับสนุนโครงการฯ จากกรมการทองเที่ยว


49

หนังสือขอความอนุเคราะหถายภาพ


50

รายชื่อองคกรและบุคลากรดําเนินโครงการ 1. ผูสนับสนุน กรมการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 2. องคกรดําเนินการ 1) สภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี 2) มูลนิธิสถาบันการถายภาพเชียงใหม 3) สมาคมสงเสริมไทยแหงเชียงใหม 4) สาขาวิชาสื่อ ศิลปะ และการออกแบบสื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม 3. ทีมดําเนินการและประสานงานโครงการ 1) ดร.นิวตั ร ตันตยานุสรณ 2) อ.อุทิศ อติมานะ 3) ดร.เพ็ญ สุขะตะ ใจอินทร 4) คุณปรัศนีย สินพิมลบูรณ 5) คุณอเสกข เพ็ชรเฟอง 6) คุณนุชนภางค ตันตยานุสรณ 7) คุณสิริภา เกียรติศิริอนันต 4. ที่ปรึกษาโครงการ 1) คุณโอฬาร จํานงค 2) คุณสุพจน พลบุตร 5. ทีมถายภาพ 1) ดร.นิวตั ร 2) คุณพีรพงศ 3) คุณสยมภูว 4) คุณศิวกฤษณ

ตันตยานุสรณ ประสูติ เสตะพรามณ ศราวิช

หัวหนาโครงการ รองหัวหนาโครงการ ผูเขียนบทความ เลขานุการโครงการ นักออกแบบสื่อสิ่งพิมพ ผูประสานงานโครงการ ผูประสานงานโครงการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.