ภาพเก่าเล่าเรือ ่ ง "ภูมพ ิ โลภิกขุ" ...เมือ ่ ในหลวงทรงผนวช พระราชฉายาบ ัฏ ที่ 1582 ั มาสม ั พุทธเจ ้า ล่วงไปแล ้ว เมือ ่ ปี 2499 แต่ปรินพ ิ พานแห่งพระผู ้มีพระภาคอรหันตสม ในปี ปัจจุบันที่ 2500 เมือ ่ ณ วันจันทร์ สุรทินที่ 22 ตุลาคมมาส วัสสานฤดู ิ 23 นาที แต่เทีย ล่วงเวลา 4 นาฬกา ่ ง ี าแห่งวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ภิกษุ พระนามว่า ภูมพ ิ ละ อุปสมบทแล ้วในพัทธสม ิ ครัน ้ ล่วงเวลา 5 นาฬกา 43 นาที แต่เทีย ่ ง ี าแห่งพระพุทธรัตนสถาน ทาทัฬหิกรรม ณ พัทธสม มีทา่ นสุจต ิ ตะ เป็ นพระอุปัชฌายะ ท่านอุฏฐายี เป็ นพระกรรมวาจาจารย์ ฯ ขอภูมพ ิ ลภิกษุ นัน ้ จงทรงถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ในพระธรรมวินัย ทีพ ่ ระตถาคตเจ ้าทรงประกาศแล ้ว อนึง่ ขอภูมพ ิ ลภิกษุ นัน ้ ทรงดารงอยูใ่ นความเป็ นอัครพุทธศาสนูปถัมภก์ จงทรงอุปถัมภ์จัดแจงทะนุบารุงเพือ ่ ความงอกงามไพบูลน์แห่งพระพุทธศาสนา เทอญ ฯ
สมเด็จพระราชชนนี ทรงจรดพระกรรไกร หลังพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499
่ ระอุโบสถ ทรงเครือ ่ งตามแบบผู ้แสวงอุปสมบท เสด็จฯ เข ้าสูพ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499
หลังจากทรงจุดธูปเทียน เครือ ่ งนมัสการบูชาพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ั พุทธพรรณี พระพุทธรูปฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก พระสม พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล ้านภาลัย เป็ นการสว่ นพระองค์ตามราชประเพณีแล ้ว สมเด็จพระราชชนนีฯ ถวายผ ้าไตรเพือ ่ ทรงขอบรรพชา
พระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห ่ ัว ทรงถือไตรเข ้าไปขอบรรพชา ในท่ามกลางสงฆ์ตอ ่ สมเด็จพระสงั ฆราช
สมเด็จพระสงั ฆราชถวายโอวาทสาหรับบรรพชาและถวายผ ้ากาสายะเพือ ่ ได ้ทรงครองอุปสมบท ิ พระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห ่ ัวเสด็จฯกลับเข ้าในพระฉาก ทรงครองกาสาวพัสตร์ตาเพศบรรพชต ี ต่อสมเด็จพระสงั ฆราช สาเร็จบรรพชากิจเป็ นสามเณรแล ้ว ทรง เสด็จเข ้าไปรับสรณคมน์ และศล ั สมเด็จพระสงั ฆราชเป็ นพระอุปัธยาจารย์ถวายพระสมณนามว่า ภูมพ ขอนิสย ิ โลทรงขออุปสมบท
สมเด็จพระราชชนนีฯ ถวายบาตรสาหรับพระราชพิธอ ี ป ุ สมบทกรรม
พระสงฆ์ถวายการอุปสมบท โดยมีสมเด็จพระสงั ฆราช ์ น ื่ นพวงศ ์ ฉายา สุจต (หม่อมราชวงศช ิ ฺโต ป.7)เป็ นพระราชอุปัธยาจารย์
พระศาสนโศภน (จวน อุฏฐายี ป.9) วัดมกุฏกษั ตริยาราม ั ถามอันตรายิกธรรม เป็ นพระราชกรรมวาจาจารย์ ทูลซก
เมือ ่ ทรงรับอุปสมบทเสร็จเป็ นอันทรงดารงภิกขุภาวะโดยสมบูรณ์แล ้ว สมเด็จพระวันรัต (ปลด กิตฺตโิ สภโณ ป.9) วัดเบญมบพิตร พระอนุศาสนาจารย์ ถวายอนุศาสน์
ิ น สมเด็จพระนางเจ ้าฯ พระบรมราชน ี าถ ผู ้สาเร็จราชการแทนพระองค์ ถวายเครือ ่ งบริขาร
พระภิกษุ พระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห ่ วั พร ้อมด ้วยพระโศภนคณาภรณ์ (เจริญ สุวฑฺฒโน ป.9) วัดบวรนิเวศวิหาร เสด็จทางหลังวัดพระศรีรต ั นศาสดาราม ่ ระพุทธรัตนสถาน ทรงประกอบพิธต ทรงรถยนต์พระทีน ่ ั่งเข ้าไปสูพ ี ามราชประเพณี มีพระเถระฝ่ ายธรรมยุตนั่งหัตถบาส 15 รูป เมือ ่ เสร็จอุปสมบทกรรมเวลา 17:43 น. แล ้ว เสด็จทรงรถยนต์พระทีน ่ ังพร ้อมด ้วยสมเด็จพระสงั ฆราช พระราชอุปัธยาจารย์ สูว่ ัดบวรนิเวศวิหาร
ิ น สมเด็จพระนางเจ ้าฯ พระบรมราชน ี าถ ผู ้สาเร็จราชการแทนพระองค์ เสด็จฯ พระราชทานกฐินในพระอุโบสถ วัดบวรนิเวศวิหาร วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2499
ิ วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. ทรงรับบิณฑบาตรในพระราชวังดุสต
2499
ิ วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2499 สมเด็จพระเจ ้าลูกยาเธอ เจ ้าฟ้ าวชริ าลงกรณ์ เฝ้ าในพระราชวังดุสต
เสด็จฯ ไปถวายดอกไม ้ธูปเทียนพระศาสนโศภน (จวน อุฏฐายี ป.9) พระกรรมวาจาจารย์ ฯ ถวาย ื พระวินัยมุนฯ หนังสอ ี ถวายพระสวี ลีทไี่ ด ้จากพม่าพร ้อมด ้วยตะลุม ่ มุกเล็ก ๆ ทีว่ ด ั มกุฎกษั ตริยาราม วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2499
เสด็จฯ ไปถวายดอกไม ้ธูปเทียน สมเด็จพระวันรัต (ปลด กิตฺตโิ สภโณ ป.9) พระอนุศาสนาจารย์ ที่ ื วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2499 วัดเบญจมบพิตร สมเด็จฯ ถวายหนั งสอ
ทรงรับอัฏฐบริขารของ พณฯ ประธานาธิบดีแห่งประเทศพม่า ทีต ่ าหนักเพชร วัดบวรนิเวศวิหาร วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2499
ทรงฉายพระรูปพร ้อมด ้วยพระเถรานุเถระทุกคณะ ทีต ่ าหนักเพชร วัดบวรนิเวศวิหาร วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2499
เสด็จฯ ทรงอุทศ ิ พระราชกุศลถวายสมเด็จพระราชบิดา ณ อนุสสรณี รังษีวฒ ั นา วัดราชบพิธ วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2499
จอมพล ป. พิบล ู สงคราม นายกรัฐมนตรีและภรรยา เฝ้ าฯ ถวายดอกไม ้ธูปเทียนทีต ่ าหนั กเพชร วัดบวรนิเวศวิหาร วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2499
ชาวอินเดียเฝ้ าทีว่ ด ั บวรนิเวศวิหาร
ั การะพระปฐมเจดีย ์ จังหวัดนครปฐมเสด็จสก ั การะพระร่วงโรจน เสด็จพระราชดาเนินไปถวายสก ั การะพระบรมสารีรก ฤทธิแ ์ ล ้ว เสด็จฯ เข ้าพระวิหารถวายสก ิ ธาตุ ทาวัตรแล ้ว เสด็จฯ กระทา ประทักษิณพระเจดียร์ อบบน (รอบละ 300 เมตร) 1 รอบ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
ทรงสดับพระปาฏิโมกข์ ในพระอุโบสถ วัดบวรนิเวศวิหาร วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
ทรงทูลลาสมเด็จพระราชอุปัธยาจารย์ บนตาหนักบัญจบเบญจมา วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
ทรงเฝ้ าสมเด็จพระราชอุปัธยาจารย์ บนตาหนักบัญจบเบญจมา วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
เสด็จฯ ออกบิณฑบาตรในถนนหลวง โดยไม่มห ี มายกาหนดการ วันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
อาหารทีท ่ รงรับบิณฑบาตรวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 มีเครือ ่ งในไก่ผัดขิง 1 ห่อ ผัดถั่วฝั กยาว ี งผัดหอมใหญ่กับหมู เนือ 1 ห่อ กุนเชย ้ ทอด ปลาสลิดเค็มทอด ปลาทูทอด รวมอาหารคาว 7 ห่อ ้ ยวหวาน กล ้วยหอม กล ้วยไข่ โรตี เค็ก ขนมปั งปิ้ ง ของหวาน ขนมครก ถั่วแปบ ขนมบ ้าบิน ่ สมเขี ทาเนย รวม 9 อย่าง
ประทับในพระตาหนักปั ้นหยา วัดบวรนิเวศวิหาร โปรดเกล ้าฯ ให ้ฉายพระบรมฉายาลักษณ์ พร ้อม ด ้วยเครือ ่ งบริขาร วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
บนพระปั ้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
ั ข ้างพระปั น ทรงปลูกต ้นสก ้ หยา วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
ในการทรงลาผนวช วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
ทรงแถลงการลาผนวช ตาหนักเพชร วัดบวรนิเวศวิหาร วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
พระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยู หัวเสด็จพระราชดาเนินไปยังตาหนักบัญจบเบญจมา ทูลลาสมเด็จฯ พระราชอุปัธยาจารย์ สมเด็จฯ ถวายสรงน้ าพระพุทธมนต์ ถวายพระพร
บนทีป ่ ระทับตาหนั กทรงพรต วัดบวรนิเวศวิหาร ภายหลังทรงลาผนวชแล ้ว วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
พระทีน ่ ั่งอัมพรสถาน วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499
ก่อนหน ้าพระราชพิธท ี รง ผนวชเพียงวันเดียว คือวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2499 อาการ ประชวรของสมเด็จพระสงั ฆราชเจ ้าทรุดหนักลงอย่างน่าวิตก มีพระอาการไข ้สูงจนถึง ึ พระองค์ ปรอทขึน ี สเศษ เป็ นทีก ไม่รู ้สก ้ ถึง 40 องศาเซลเซย ่ งั วลห่วงใยกันทัว่ ไปว่าจะ ไม่สามารถเสด็จไปทรง ปฏิบต ั ห ิ น ้าทีพ ่ ระราชอุปัธยาจารย์ในวันรุง่ ขึน ้ ครัน ้ ถึงวันทรง ผนวช สมเด็จพระสงั ฆราชเจ ้ากลับทรงฟื้ นขึน ้ เป็ นปรกติอย่างน่าอัศจรรย์ และเสด็จไป ทรงปฏิบต ั ห ิ น ้าทีพ ่ ระราชอุปัธยาจารย์ได ้ครบถ ้วน แม ้ว่าพระองค์จะต ้องประทับอยูใ่ น พระราชพิธ ี ตัง้ แต่เวลา 14:30 น. จนกระทั่งถึงเวลา 19:30 น. จึงเสด็จกลับถึงวัดบวร นิเวศวิหารพร ้อมด ้วยพระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห ่ วั ฝ่ ามหาชนซงึ่ แวดล ้อมแน่นขนัด มาได ้โดยเรียบร ้อย รวมเป็ นเวลาถึงห ้าชวั่ โมงก็ ตาม ก็มไิ ด ้ทรงมีพระอาการผิดปรกติ แต่อย่างใด แสดงให ้เห็นถึงพระทัยอันเด็ดเดีย ่ วเข ้มแข็งของพระองค์ในอันทีจ ่ ะทรง ปฏิบต ั ิ พระกรณียะอันสาคัญนีใ้ ห ้สาเร็จลุลว่ งไปให ้จงได ้ ทัง้ นับได ้ว่า เป็ นพระ บุญญาภินห ิ ารในพระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห ่ วั โดยแท ้ ขณะประทับรถ ยนต์พระที่ นั่งกับพระภิกษุ พระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห ่ วั จาก พระบรมมหาราชวังถึงวัดบวร นิเวศวิหาร ได ้มีการจัดรถหมอให ้แล่นตามหลังรถพระที่ ี รฟุบก็ให ้รีบเข ้าไป นั่งและให ้คอยสงั เกตองค์สมเด็จพระ สงั ฆราชเจ ้า ถ ้าเห็นพระเศย ี รฟุบลง รถหมอจะแทรกเข ้าไปอยูแ แก ้ไขทันที และครัง้ หนึง่ ได ้เห็นพระเศย ่ ล ้ว ก็พอดี ี รขึน เห็นเงยพระเศย ้ เป็ นปกติเลยไม่เกิดอลหม่าน ทราบกันภายหลังว่า ทรงก ้มลง หยิบอะไรบางอย่างทีต ่ กลงไป
เนือ ่ งในการทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยู่ หัวเสด็จ ออกทรงผนวชครัง้ นี้ ได ้ทรงพระ อนุสรณ์คานึงถึงพระคุณูปการอันอเนกของสมเด็จพระวชริ ญาณวงศ ์ พระสงั ฆราช ผู ้ ได ้ทรงปฏิบต ั ห ิ น ้าทีพ ่ ระราชอุปัธยาจารย์ ทัง้ ๆ ทีม ่ พ ี ระอาการประชวรทุพพลภาพ ได ้ เอาพระทัยใสใ่ นอันทีจ ่ ะถวายความรู ้ทางพุทธศาสนาและถวายโอกาสให ้ได ้ทรง ปฏิบต ั ส ิ มณกิจให ้ได ้ผลเต็มตามภิกขุภาวะเป็ นนานับปการ จึงได ้มีพระบรมราช โองการดารัสเหนือเกล ้าฯ ให ้ตัง้ การพระราชพิธส ี ถาปนาพระอิสริยศ ขึน ้ เป็ นสมเด็จ พระสงั ฆราชเจ ้า กรมหลวงวชริ ญาณวงศ ์ ขึน ้ ณ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร เมือ ่ วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2499 ในโอกาสเดียวกันนี้ ยังมีพระเถรานุเถระทีไ่ ด ้ปฏิบต ั ก ิ ารสนองพระเดชพระคุณเป็ น ั ดิใ์ นพระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษา คือ พิเศษ ได ้รับพระราชทานเลือ ่ นสมณศก สมเด็จ พระวันรัต (ปลด กิตฺตโิ สภโณ) สงั ฆนายก เจ ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตร พระ ั ดิส อนุศาสนาจารย์ ดารงสมณศก ์ ด ุ ขีดอยูแ ่ ล ้ว ต่อมาเมือ ่ วันพระราชพิธฉ ี ั ตรมงคล 4 ั ดิข พฤษภาคม พ.ศ. 2503 ได ้รับพระราชทานสถาปนาสมณศก ์ น ึ้ ดารงตาแหน่งสมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก เป็ นสมเด็จ ิ ทร์ พระสงั ฆราชพระองค์ท ี่ 14 แห่งกรุงรัตนโกสน
พระศาสนโศภน (จวน อุฏฐายี) เจ ้าอาวาสวัดมกุฏกษั ตริยาราม พระกรรมวาจาจารย์ โปรดให ้เป็ น สมเด็จพระมหาวีรวงศ ์ ต่อมาในวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 ได ้รับ ั ดิข พระราชทานสถาปนาสมณศก ์ น ึ้ ดารงตาแหน่งสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก เป็ นสมเด็จพระสงั ฆราชพระองค์ท ี่ 16 ิ ทร์ แห่งกรุงรัตนโกสน
พระพรหมมุนี วัดบวรนิเวศวิหาร ทาหน ้าทีร่ บ ั เสด็จดูแลแทนเจ ้าอาวาสเป็ นครัง้ คราว ั ดิส ทีเ่ จ ้าอาวาสประชวร แต่ดารงสมณศก ์ งู อยูแ ่ ล ้ว
พระโศภณคณาภรณ์ (เจริญ สุวฑฺฒโน ป.9) วัดบวรนิเวศวิหาร พระพีเ่ ลีย ้ งฉลองพระ ิ ตลอดเวลา เป็ นพระธรรมวราภรณ์ พระราชาคณะชน ั ้ ธรรม ต่อมา เดชพระคุณใกล ้ชด ในปี พ.ศ. 2515 ได ้รับพระราชทานสถาปนาเป็ นสมเด็จพระราชาคณะที่ สมเด็จพระ ญาณสงั วร และในวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2532 ทรงได ้รับพระมหากรุณาธิคณ ุ โปรด เกล ้าฯ สถาปนาเป็ น สมเด็จพระญาณสงั วร สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปริณา ยก คือสมเด็จพระสงั ฆราชพระองค์ปัจจุบน ั นับเป็ นพระองค์ท ี่ 19 แห่งกรุง ิ ทร์ รัตนโกสน สว่ นพระราชาคณะในวัดบวรนิเวศวิหารรูปอืน ่ ๆ ก็ได ้มีหน ้าทีถ ่ วายการสงั่ สอนหรือ ิ อย่างอืน ั ดิไ์ ด ้ก็โปรด สนองพระเดชพระคุณใกล ้ชด ่ ๆ อีก ทุกรูปทีม ่ ท ี างเลือ ่ นสมณศก พระราชทานเลือ ่ นขึน ้ เป็ นพิเศษในพระ ราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษาศก 2499 แล ้ว เหมือนกัน
อ ้างอิง พระราชพิธแ ี ละพระราชกรณียกิจในการทรงพระผนวช 22 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน 2499 คณะกรรมการโครงการบูรณปฏิสงั ขรณ์วัดบวรนิเวศวิหารในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดพิมพ์เนือ ่ งในมหามงคลทรงครองสริ ริ าชสมบัตค ิ รบ 60 ปี credit: http://thaprajan.blogspot.com