เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Page 1

รายงาน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ

เสนอโดย อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย

จัดทาโดย นางสาวอิงอร สุวรรณบล รหัส 554186028 นางสาวอัมพวัน ทรงอ้วน รหัส 554186033 นางสาวจิตตรา คาสีเทา รหัส 554186036 นางสาวปาหนัน ศิริบุตร รหัส 554186049 นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยหมู่ 1

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารสาหรับครู (PC54504) ภาคการเรียน 1/2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง


คานา รายงานเรื่องนีจ้ ัดทาขึ้นเนื่องจาก อาจารย์ สุจิตตรา จันทร์ลอย ซึ่งเป็นอาจารย์ประจาวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารสาหรับครู รหัสวิชา PC54504 ซึ่งอาจารย์ได้มอบหมายให้ไปศึกษาถึงเรือ่ ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ประวัติความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายของเทคโนโลยี สารสนเทศ รวมไปถึงบทบาทความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ประโยชน์และโทษที่ได้รับ เพื่อให้ผู้ที่ สนใจจะศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนีไ้ ด้รับทราบถึงข้อมูลต่าง ๆ อย่างครบถ้วน หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเรือ่ งเทคโนโลยีสารสนเทศ จะให้ประโยชน์และความรู้ต่างๆ ต่อผู้ที่ สนใจเป็นอย่างยิ่ง และหากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นดี้ ้วย

คณะผู้จัดทา


สารบัญ หน้า

เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ ประวัติโดยย่อของเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1-8 9-13

บทบาทความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

13-15

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจาวัน

15-16

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีต่อสังคม

16-17

กระแสโลกาภิวัตน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

17-18

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน

18-19

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต

19-20

ประโยชน์และโทษของเทคโนโลยีสารสนเทศ

20

สรุป

21

บรรณานุกรม

22


1

เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ ประวัติโดยย่อของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเกิดการจากการรวมกันของเทคโนโลยี 2 ด้าน คือเทคโนโลยีโทรคมนาคมกับ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึ่งแต่ละด้านมีประวัติหรือพัฒนาการ ดังนี้ เทคโนโลยีโทรคมนาคม เทคโนโลยีโทรคมนาคม เริ่มจากการประดิษฐ์โทรเลขของ แซมวล มอร์ส(Samual Morse) ในปี พ.ศ. 2380 นับว่าเป็นครั้งแรกที่ข่าวสารถูกแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปตามสายเป็นระยะทาง ไกลๆได้ โดยอาศัยวิธีการเข้ารหัสตัวอักษร เป็นรหัสอื่นที่ประกอบด้วยจุด (.) และขีด (-) เช่น สัญญาณขอความ ช่วยเหลือฉุกเฉิน SOS จะเข้ารหัสเป็น... - - - ... การรับส่งโทรเลขได้ถูกนามาใช้งานในเชิงการค้าตัง้ แต่ พ.ศ. 2387 เป็นต้นมา และในปี พ.ศ. 2401 ได้มีการวางสายเคเบิลใต้มหาสมุทรแอตแลนติก ทาให้เกิดการสื่อสาร ข้ามทวีประหว่างทวีปอเมริกากับทวีปยุโรปขึ้นเป็นครั้ง แรก เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นผลมาจากการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือในการคานวณซึ่งมี วิวัฒนาการนานมาแล้ว เริ่มจากเครื่องมือในการคานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สร้างขึ้นใน ประเทศจีน เมือ่ ประมาณ 2,000-3,000 ปีมาแล้ว จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage) ได้ ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) สามารถคานวณค่าของตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่นต่างๆ ทาง คณิตศาสตร์ การทางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนคานวณ และส่วนควบคุม ใช้ ระบบพลังเครื่องยนต์ไอน้าหมุนฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรู คานวณได้โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูล ในหน่วยความจา ก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ หลักการของแบบเบจได้ถูกนามาพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เราจึงยกย่องให้แบบเบจ เป็นบิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์ หลังจากนั้นเป็นต้นมาได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมากมายหลาย ขนาด ทาให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริง โดยสามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค


2 ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501 เป็นการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิใช่เครื่องคานวณ โดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert)ได้ นาแนวความคิดนั้นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ทมี่ ีประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่งเรียกว่า ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Calculator) ซึ่งต่อมาได้ทาการปรับปรุงการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่อง UNIVAC (Universal Automatic Computer) ขึ้นเพื่อใช้ในการสารวจสามะโนประชากรประจาปี

จึงนับได้ว่า UNIVAC เป็น เครือ่ งคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ถูกใช้งานในเชิงธุรกิจ จึง นับเป็นการเริม่ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกอย่างแท้จริง เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศ ในการควบคุมการทางานของเครื่อง ซึ่งทางานได้อย่างรวดเร็ว แต่มีขนาดใหญ่มากและราคาแพง ยุคแรกของ คอมพิวเตอร์สิ้นสุดเมื่อมีผู้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์มาใช้แทนหลอด สุญญากาศ ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทาให้ ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และเกิดความร้อนสูงทางานด้วยภาษาเครื่อง (Machine Language) เท่านั้นเริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ (Assembly / Symbolic Language) ขึ้นใช้งาน


3 ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506 มีการนาทรานซิสเตอร์ มาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงทาให้เครื่องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางานให้มีความรวดเร็วและแม่นยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ยังได้มกี ารคิดภาษา เพื่อใช้กับเครือ่ งคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) จึงทาให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรมสาหรับ ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์

ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 ใช้อุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ซึ่งสร้างจากสารกึ่งตัวนา (Semi-Conductor) เป็นอุปกรณ์ หลัก แทนหลอดสุญญากาศ เนื่องจากทรานซิสเตอร์เพียงตัวเดียว มีประสิทธิภาพในการทางานเทียบเท่า หลอดสุญญากาศได้นับร้อยหลอด ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มขี นาดเล็ก ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อย ความ ร้อนต่า ทางานเร็ว และได้รบั ความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น เก็บข้อมูลได้ โดยใช้ส่วนความจาวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core) มีความเร็วในการประมวลผล ในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (Millisecond : mS) สั่งงานได้สะดวกมากขึ้น เนื่องจากทางาน ด้วยภาษาสัญลักษณ์ (Assembly Language) เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง (High Level Language) ขึ้นใช้งานใน ยุคนี้


4 ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512 คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ได้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มีการประดิษฐ์ คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือเรียกกันย่อๆ ว่า "ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีนี้ทาให้ส่วนประกอบ และวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (chip) เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนาเอาแผ่นชิปมาใช้แทน ทรานซิสเตอร์ทาให้ประหยัดเนื้อที่ได้มาก

นอกจากนี้ยังเริ่มมีการใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล (Data Base Management Systems : DBMS) และ มีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทางานร่วมกันได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกัน และมีระบบที่ ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับเครื่องได้หลายๆ คน พร้อมๆ กัน (Time Sharing) ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 ใช้ อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) เป็นอุปกรณ์หลัก ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้าน ของวินาที (Microsecond : mS) (สูงกว่าเครือ่ งคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เท่า) ทางานได้ด้วยภาษาระดับสูงทั่วไป


5 ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532 เป็นยุคที่นาสารกึ่งตัวนามาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโคร โพรเซสเซอร์(Microprocessor) ขึ้น ทาให้เครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทางานสูง และรวดเร็วมาก จึงทาให้มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) ถือกาเนิดขึน้ มาในยุคนี้

ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 ใช้ อุปกรณ์ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) และ วงจรรวมสเกลขนาด ใหญ่มาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เป็นอุปกรณ์หลัก มีความเร็วในการประมวลผลแต่ละ คาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันล้านวินาที (Nanosecond : nS) และพัฒนาต่อมาจนมีความเร็วในการประมวลผล แต่ละคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านล้านของวินาที (Picosecond : pS)


6 ยุคที่ห้า (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน ในยุคนี้มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และความ สะดวกสบายในการใช้งานอย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้ โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI(Very Large Scale Integration) ให้ใช้งานง่ายและมีความสามารถ สูงขึ้น รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนาเกีย่ วกับปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็นหัวใจของ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดยหวังให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นเหตุ เป็นผล ตามลักษณะของโปรแกรม

ลักษณะของระบบปัญญาประดิษฐ์ ระบบปัญญาประดิษฐ์มี 4 ลักษณะ ได้แก่ 1) ระบบหุน่ ยนต์ หรือแขนกล (Robotics or Robot arm System) คือหุ่นจาลองร่างกายมนุษย์ที่ ควบคุมการทางานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ มีจุดประสงค์เพื่อให้ทางานแทนมนุษย์ในงานที่ต้องการความเร็ว หรือเสี่ยงอันตราย เช่น แขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม หรือหุ่นยนต์กู้ระเบิด เป็นต้น 2) ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System) คือ การพัฒนาให้ระบบ คอมพิวเตอร์สามารถสังเคราะห์เสียงทีม่ ีอยูใ่ นธรรมชาติ (Synthesize) เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ เช่น เครื่องคิดเลขพูดได้ (Talking Calculator) หรือนาฬิกาปลุกพูดได้ (Talking Clock) เป็นต้น 3) ระบบการรู้จาเสียงพูด (Speech Recognition System) คือการพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้า ใจ ภาษามนุษย์ และสามารถจดจาคาพูดของมนุษย์ได้อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือเป็นการพัฒนาให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทางานได้ด้วยภาษาพูด เช่น งานระบบรักษาความปลอดภัย งานพิมพ์เอกสารสาหรับผู้พิการ เป็นต้น 4) ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ รู้จักใช้เหตุผล ในการวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ความรู้ที่มีหรือจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหนึ่ง ไปแก้ไขปัญหาอื่น อย่างมีเหตุผล ระบบนี้จาเป็นต้องอาศัยฐานข้อมูล (Database) ซึ่งมนุษย์ผู้มีความรู้ความสามารถเป็นผู้กาหนด


7 องค์ความรู้ไว้ในฐานข้อมูลดังกล่าว เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆได้จาก ฐานความรู้นนั้ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์วิเคราะห์โรค หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ทานายโชคชะตา เป็นต้น ในปี พ.ศ.2390 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ จอร์ช บูล (George Boole) ได้เผยแพร่คณิตศาสตร์ แนวใหม่ที่เรียกว่า พีชคณิตแบบบูลีน (Boolean Algebra) ซึ่งต่อมากลายเป็นเครื่องมือสคัญที่ใช้ในการ ออกแบบ วงจรตรรกะ (Logic Circuit) ซึ่งวงตรรกะนี้เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ระบบอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลกที่สามารถบรรจุโปรแกรมให้คานวณข้ออมูล ได้หลากหลาย ถูกสร้างขึ้นที่สหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2489 เพื่อใช้ในการคานวณวิถีกระสุนปืนใหญ่ใน ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 มีชื่อเรียกว่า อินิแอ็ก (Electronic Numerical Integrator and Calculator :ENIAC) คอมพิวเตอร์เครื่องนี้มีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้หลอดสูญญากาศประมาณ 18,000 หลอด ว่ากันว่า เครื่องนี้สามารถคานซณโจทย์ยากๆ ทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์โดยใช้เวลาเพียง 2 ชั่วโมง แทนที่จะใช้วศิ วกร 100 คน คานวณด้วยมือเป็นเวลา 1 ปี อีกสองต่อมาฟอน นอยมัน (Von Nerman) นักคณิตศาสตร์ซึ่งอยู่ใน ทีมงาน ที่สร้างอินแิ อ็ก มีแนวคิดใหม่ว่าคอมพิวเตอร์ควรมีหน่วยความจาสาหรับเก็บโปรแกรมด้วยแทนที่ จะเก็บเฉพาะข้อมูลเหมือนเครื่องอินิแอ็ก เขาจึงสร้างเครื่องใหม่ขึ้นและมีชื่อว่า เอ็ดแว็ก (Edvac) ผู้นี้จึงได้ ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์แบบที่ใช้กันมาจนทุกวันนี้ หลังจากที่ได้มกี ารประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ในปี พ.ศ.2490 คอมพิวเตอร์ยุคต่อมาซึ่งใช้ทรานซิสเตอร์ แทนหลอดสุญญากาศจึงมีขนาดเล็กลง สิ้นเปลืองพลังงานน้อยลง อีกทั้งโอกาสเสียน้อยลงเพราะไม่ร้อนจัด แต่พลังงานทีถือว่าเป็นจุดหักเหของเทคโนโลยีคือ การประดิษฐ์วงจรรวมหรือไอซีพิเศษที่เรียกว่า ไมโคร โพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ้นในปี พ.ศ. 2513 โดย เทด ฮอฟฟ์ (Ted Hoft) แห่งบริษัท อินเทล (Intel) ไมโครโพรเซลเซอร์คือ ไอซีที่ใช้ทาหน้าที่เป็นหน่วยประมวลผลกลางของคอมพิวเตอร์และของ เครื่องควบคุมอัตโนมัติต่างๆ นั่นเอง ในปัจจุบันบริษัทผู้ผลิตไมโมครโพรเซลเซอร์จะผลิตไมโครโพรเซล เซอร์รุ่นใหม่ทมี่ ีสรรถนะสูงขึ้นเรื่อยๆ ออกมาทุก 6 เดือน จึงทาให้คอมพิวเตอร์พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ที่เราใช้กันในปัจจุบนั จัดอยู่ในประเภทคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) หรือพีซี บริษัทแรกที่ใช้คานี้คอื บริษัท ไอบีเอ็ม (IBM) ใช้เรียกคอมพิวเตอร์ขนาดตั้งโต๊ะที่ วางตลาดในปี พ.ศ. 2524 แต่อันที่จริงคอมพิวเตอร์ขนาดตั้งโต๊ะเครื่องแรกที่ใช้งานได้จริงมีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 คือ แอปเปิลทู (Apple II) ซึ่งออกแบบและผลิตจาหน่ายด้วย สตีป จอบส์ (Steve Wozniak and Steve Jobs)


8 การที่แอปปเปิลทูโด่งดังและขายดีติดตลาดอยู่หลายปี เพราะมีผู้เขียนโปรแกรมสนับสนุนเริ่มตั้งแต่ โปรแกรมแปลภาษาเบสิก (Basic Interpreter) ซึ่งผู้ใช้สามารถเขียนโปรแกรมใช้งานง่ายขึ้น นอกจากนั้นยัง มีโปรแกรมวิสิคาล(VisiCalc) ซึ่งเป็นโปรแกรมตารางคานวณอัตโนมัติโปรแกรมแรกของโลก ทาให้ สามารถใช้คอมพิวเตอร์ทาบัญชีได้อย่างง่ายดาย นี่เป็นเครื่องมือพิสูจน์ว่าโปรแกรม หรือ ซอฟต์แวร์ เป็น สิ่งจาเป็นอย่างมากที่จะทาให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ ในช่วงแรกของยุคคอมพิวเตอร์บุคคลนั้น คอมพิวเตอร์ยงั มีขีดความสามารถไม่สูงนัก การใช้งาน ส่วนใหญ่จะใช้ในการคานวณ หรือเก็บข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text) ต่อมาจึงได้มกี ารพัฒนาให้ความพิว เตอร์มีความสามารถจัดการเก็มบข้อมูลที่เป็นรูปภาพสี ทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ และเสียง คอมพิวเตอร์จงึ มีความพร้อมอย่างสมบูรณ์สาหรับงานสารสนเทศที่ประกอบด้วยสื่อชนิดต่างๆ เราเรียก ระบบนี้ว่า ระบบมัลติมีเดีย(Multimedia) นอกจากคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์แล้ว ยังมีการพัฒนาเรื่องการนาคอมพิวเตอร์มาต่อเชื่อมกัน เครือข่าย เพื่อสามารถรับส่งข้อมูลและทางานประสานกันระหว่างเครือ่ ง การเชื่อมต่อเครือข่ายที่เล็กที่สุด เครือข่ายภายในสานักงานเดียวกัน เรียกเครือข่ายบริเวณเฉพาะที่ หรือ แลน (Local Area Network:LAN) ส่วนเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุดครอบคลุมไปทั่วโลก คือ อินเทอร์เน็ต (Internet) ซึ่งเป็นสิ่งที่นาความ เปลี่ยนแปลงทาให้เทคโนโลยีสารสนเทศมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว


9

ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology หรือ IT คือ การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในระบบ สารสนเทศ ตั้งแต่กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วยให้ได้สารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วย 1. เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สานักงาน อุปกรณ์สื่อสาร โทรคมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟท์แวร์ทั้งแบบสาเร็จรูปและแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะด้าน ซึ่ง เครื่องมือเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือทันสมัย และใช้เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) 2. กระบวนการในการนาอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป เช่น การจัดเก็บ ข้อมูลในลักษณะของฐานข้อมูล เป็นต้น คาว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบคา 2 คา ได้แก่ เทคโนโลยี และ สารสนเทศ ซึ่งแต่ละคามี ความหมายดังนี้ เทคโนโลยี (Technology) เป็นคาที่มาจากรากศัพท์ภาษาละตินว่า TEXERE มีความหมายตรงกับ ภาษาอังกฤษว่า to weave แปลว่า สาน เรียบเรียง ถักทอ ปะติดปะต่อ และ construct แปลว่า สร้าง ผูกเรื่อง ความรู้สึกนึกคิดที่ก่อให้เกิด ส่วนเทคโนโลยี ในรากศัพท์ภาษากรีกมาจากคาว่า technologia แปลว่า การ ทางานอย่างเป็นระบบ (systematic treatment) (วิทย์ เทีย่ งบูรณธรรม, 2539) คาร์เตอร์ วี กู๊ด (Good, 1973) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยีว่า หมายถึง การนาเอาวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในวงการต่าง ๆ โดยทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น เอดการ์ เดล (Dale, 1965) กล่าวว่า เทคโนโลยีไม่ใช่เครื่องมือแต่เป็นแผนการ วิธีการทางานอย่าง เป็นระบบที่ให้ผลบรรลุตามแผนการ ไฮนิช และ คนอืน่ ๆ (Heinech and Others, 1989) ได้อธิบายว่าเทคโนโลยีจาแนกออกเป็น 3 ลักษณะ คือ


10 1) เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ(process) เป็นการใช้วิทยาศาสตร์และความรู้ต่าง ๆ ที่ รวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่ผลในทางปฏิบัติ โดยเชื่อว่าเป็นกระบวนการทีเ่ ชื่อและนาไปสู่การ แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ 2) เทคโนโลยีลักษณะของผลผลิต (product and product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์ที่เป็นผลมาจาก การใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี เช่น ฟิล์มภาพยนตร์เป็นผลผลิตของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่นเดียวกับเครื่องฉาย ภาพยนตร์ หรือหนังสือเป็นผลผลิตของเทคโนโลยีเช่นเดียวกับแท่นพิมพ์ หนังสือ เป็นต้น 3) เทคโนโลยีลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product) ซึ่งใช้ร่วมกันสอง ลักษณะ เช่น เทคโนโลยีช่วยให้ระบบการรับส่งข้อมูลเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้เป็นผลจาก ความก้าวหน้าของการประดิษฐ์วัสดุอุปกรณ์เพื่อการรับส่ง ข้อมูล ตลอดจนเทคนิควิธกี ารต่าง ๆ เพื่อให้ ระบบส่งข้อมูลเป็นไปได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็วและในลักษณะ ของกระบวนการซึ่งไม่สามารถแยก ออกจากผลผลิตได้ เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการทางานเป็นปฏิสัมพันธ์กันระหว่างตัวเครื่องกับ โปรแกรม เป็นต้น ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2520) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยีไว้ว่าตามรูปศัพท์ภาษาอังกฤษคา ว่า Technology ซึ่งหมายถึงการปฏิบัติการ และสิ่งประดิษฐ์ที่อยูใ่ นรูปแบบของการจัดระบบงานอัน ประกอบด้วยองค์สาม คือ 1) ข้อมูล ที่ใส่เข้าไป ได้แก่ การกาหนดปัญหาหรือความต้องการ การตั้งวัตถุประสงค์ การรวบรวม ข้อมูลหรือวัตถุดิบทีเ่ กี่ยวข้องทุกแง่ทุกมุม 2) กระบวน การ ได้แก่ การลงมือปฏิบัติการ การแก้ปัญหา การจาแนกแจกแจง การวิเคราะห์และ การสังเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้การดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ 3) ผลลัพธ์ คือ ผลที่ได้จากการแก้ปัญหาหรือการดาเนินงาน สามารถวัดและประเมินผลได้ นอกจากนี้ยังสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ทุกขั้นตอน


11 ทัศนะเกี่ยวกับเทคโนโลยี จากความหมายของเทคโนโลยีดังกล่าวมาแล้วทาให้นกั การศึกษามีทัศนะหรือความคิด เห็น เกี่ยวกับเทคโนโลยีแตกต่างกัน โดยแบ่งออกเป็น 2 ทัศนะคือ 1.

ทัศนะด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ (science technology) มุ่งเน้นการพัฒนาวัสดุอปุ กรณ์ให้

เจริญก้าวหน้าด้วยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เพื่อสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการ ดาเนินงานสาขาต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยทั่วไปวัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยีมีองค์ประกอบสาคัญคือ เครื่องยนต์ กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตามเครื่องมือหรือวัสดุอุปกรณ์เหล่านี้นักการศึกษาให้ ความเห็นว่า เป็นเทคโนโลยีประเภทเครื่องมือ (tools technology) 2.

ทัศนะด้านพฤติกรรมศาสตร์ (behavioral technology) เป็น เทคโนโลยีที่มุ่งเน้นกระบวนการ

คิดและการทางานอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยการผสมผสานความรู้จากศาสตร์หลาย ๆ ด้านเข้าด้วยกัน เช่น มนุษยศาสตร์ จิตวิทยาสังคม จิตวิทยาการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ฯลฯ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ลักษณะสาคัญของแต่ละงาน ในบางสถานการณ์อาจนาวัสดุอุปกรณ์เข้ามาใช้เพื่ออานวยความสะดวกในการ ดาเนิน งาน แต่เป็นเพียงเครือ่ งมือสนับสนุนเท่านั้น จากความหมายและลักษณะของเทคโนโลยีดังกล่ามาแล้วพอสรุปได้ว่า เทคโนโลยี หมายถึง วิธีการหรือกระบวนการในการนาความรู้สาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานมาประยุกต์ใช้อย่างเป็น ระบบ เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการดาเนินงานที่มีระบบและวิธีการที่ ก้าวหน้าจึงนิยมใช้คาว่า เทคโนโลยีนาหน้าเสมอ เช่น เทคโนโลยีการสื่อสาร เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น สารสนเทศ (Information) ปัจจุบันคาว่าสารสนเทศได้นามามีบทบาทกับวงการต่าง ๆ ในสังคมกวางขวางและมักนิยมใช้ควบคู่ กับเทคโนโลยีและเรียกเป็นคาว่าเดียวกันว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ (2543) ได้นิยามของสารสนเทศว่า หมายถึง ข้อมูล ข่าวสารและความรู้ ไม่ว่าขะปรากฏในรูปแบบของตัวอักษร ตัวเลข เสียงและภาพ หรือในรูปแบบอื่นใดที่ สื่อความหมายได้ และยังหึความเห็นว่า สารสนเทศ เป็นปัจจัยที่มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการก่อให้เกิด สังคมแห่งปัญญา และช่วยเกือ้ หนุนการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน


12 สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ได้รับการตีความ จาแนกแจกแจง จัดหมวดหมู่ หรือประมวลผลจน มีสาระอยู่ในตัวมันเอง สามารถสื่อความหมายให้เกิดความเข้าใจกับผู้ทตี่ ้องการใช้ข้อมูลนั้น และสามารถที่ จะนาไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ โดยข้อมูลที่จะนามาใช้ประมวลนั้นอาจจะมาจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและ ภายนอกองค์การ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Informatin Technology) คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศว่า หมายถึง ความรู้ในผลิตภัณฑ์หรือในกระบวนการดาเนินงานใดๆ ที่อาศัยเทคโนโลยีซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ การติดต่อสื่อสาร การรวบรวมและการนาข้อมูลมาใช้ทันการเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพทั้งทางด้านการ ผลิต การบริการ การบริหาร และการดาเนินการ รวมทั้งเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ ซึ่งจะส่งผลต่อความ ได้เปรียบทางด้านเศรษฐกิจ การค้า และการพัฒนาคุณภาพชีวิตและคุณภาพของประชาชนในสังคม ดังนั้น เทคโนโลยีสารสนเทศ จึงเป็นการนาวิทยาการที่ก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์ผสมผสานกับการสื่อสาร ทาให้สารสนเทศมีประโยชน์ในการใช้งานได้อย่างกว้างขวางมากขึ้น ลักษณะสารสนเทศที่ดี สารสนเทศที่ดีและมีประโยชน์ในการใช้งานควรมีลักษณะดังนี้ เนื้อหา (Content) - ความสมบูรณ์ครอบคลุม (completeness) - ความสัมพันธ์กับเรื่อง (relevance) - ความถูกต้อง (accuracy) - ความเชื่อถือได้ (reliability) - การตรวจสอบได้ (verifiability) รูปแบบ (Format) - ชัดเจน (clarity) - ระดับรายละเอียด (level of detail) - รูปแบบการนาเสนอ (presentation)


13 - สื่อการนาเสนอ (media) - ความยืดหยุ่น (flexibility) - ประหยัด (economy) เวลา (Time) - ความรวดเร็วและทันใช้ (timely) - การปรับปรุงให้ทันสมัย (up-to-date) - มีระยะเวลา (time period) กระบวนการ (Process) - ความสามารถในการเข้าถึง (accessibility) - การมีส่วนร่วม (participation) - การเชื่อมโยง (connectivity)

บทบาทความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ การเปลี่ยนแปลงสังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์เป็นไปอย่างรวดเร็วกล่าวกันว่าได้เกิดการเปลีย่ นแปลง ในลักษณะที่เรียกว่าการปฏิวัติมาแล้วสองครั้งที่มนุษย์รจู้ ักใช้ระบบชลประทานเพื่อการเพาะปลูกสังคมความ เป็นอยู่ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจากการเร่ร่อนมาเป็นการตั้งหลักแหล่งเพื่อทาการเกษตร ต่อมาเมือ่ ประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากที่เจมส์วัตต์ประดิษฐ์เครื่องจักร ไอน้า มนุษย์รจู้ ักนาเอาเครื่องจักรมาช่วยในอุตสาหกรรมการผลิต และช่วยในการสร้างยานพาหนะเพื่องาน คมนาคมขนส่ง ผลที่ตามมาทาให้เกิดการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม สังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์จึงเปลี่ยนจาก สังคมเกษตรมาเป็นสังคมเมือง และเกิดรวมกันเป็นเมืองอุตสาหกรรมต่างๆ ในช่วง พ.ศ. 2523 เป็นต้นมา ความเจริญก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูลเป็นไป อย่างรวดเร็ว การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลข้อมูลเป็นไปอย่างกว้างขวาง มีการส่งถ่ายข้อมูลระหว่างกัน เป็นจานวนมาก เกิดการประยุกต์งานด้านต่าง ๆ เช่น ระบบการโอนถ่ายเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต การจองตั๋ว การซือ้ สินค้า การติดต่อส่งข้อมูล เช่น โทรสาร (facsimile) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail )


14 ชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเป็นอย่างมากโดยเฉพาะเทคโนโลยีทาง คอมพิวเตอร์ทมี่ ีบทบาทเพิ่มขึ้น ใน พ.ศ. 2528 กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอน ปลายให้วิชาคอมพิวเตอร์เป็นวิชาเลือกของหมวดวิชาคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย 2 รายวิชาคือ ความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรมภาษาเบสิก ต่อมาพ.ศ. 2532 และพ.ศ. 2541 ก็เปลี่ยนแปลงและเพิ่มเติมหลักสูตรทางด้านคอมพิวเตอร์อีกหลาย วิชา และจัดกลุ่มอยู่ในวิชาอาชีพสาขาคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันมีโรงเรียนมัธยมศึกษาหลายแห่งทั่วประเทศเปิดการเรียนการสอนทางด้านคอมพิวเตอร์ขึ้น มี ความจาเป็นเพียงไรที่จะต้องให้เยาวชนไทยเรียนรู้คอมพิวเตอร์ เมื่อมีวชิ าพื้นฐานอื่น ๆ มากมายที่ตอ้ งจะ เรียน เหตุผลสาคัญสาหรับตอบคาถามนี้คือปัจจุบันความเป็นอยู่ของมนุษย์ในสังคมมีความเกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีข้อมูลมากขึ้น กิจวัตรในชีวิตประจาวันของมนุษย์เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีมากขึ้นจนดูเหมือนว่าเทคโนโลยีเป็นปัจจัย ที่สาคัญอย่างหนึ่งของมนุษย์ ซึ่งทาให้มนุษย์ได้รับความสะดวกสบายและประสบความสาเร็จในงานด้านต่าง ๆ เช่น เทคโนโลยีทางด้านอวกาศ ทางด้านการผลิตทางด้านอุตสาหกรรม และทางด้านพาณิชยกรรม การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคแรก เริ่มจากการใช้เครื่องจักรกลแทนการทางานด้วยมือ พลังงานที่ ขับเคลื่อนเครื่องจักรก็มาจากพลังงานน้า พลังงานไอน้า และเปลี่ยนมาเป็นพลังงานจากน้ามันขับเคลื่อน เครื่องยนต์และมอเตอร์ไฟฟ้าแทน ต่อมาการปฏิวัติอุตสาหกรรมได้เกิดขึ้นอีกโดยเปลีย่ นแปลงระบบการ ทางานทีละขัน้ ตอนมาเป็นการทางานระบบอัตโนมัติ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้กลไกการควบคุมอัตโนมัติทางาน เช่น การดาเนินงานผลิต การตรวจสอบ การควบคุม ฯลฯ การทางานเหล่านี้อาศัยระบบการควบคุมด้วย คอมพิวเตอร์ อุตสาหกรรมทางด้านคอมพิวเตอร์เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และมีการเปลีย่ น แปลงตลอดเวลา ใน ระยะปีหรือสองปีข้างหน้ายากที่จะคาดเดาว่าจะมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์อะไรใหม่ขึ้นมาอีกบ้าง ทั้งนี้เพราะขีด ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสูงมาก โดยเฉพาะส่วนทีเ่ กี่ยวกับไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer ) มีผู้กล่าวว่าการปฏิวัตคิ รั้งที่สามกาลังจะเกิดขึ้น โดยสิ่งที่เกิดใหม่นี้ได้แก่การพัฒนาการทางด้าน ความคิด การตัดสินใจ โดยอาศัยหลักการของคอมพิวเตอร์ ในอนาคตอันใกล้ผู้จัดการเพียงคนเดียวอาจ ทางานทั้งหมดโดยอาศัยระบบคอมพิวเตอร์ควบคุม ทาการควบคุมหุน่ ยนต์คอมพิวเตอร์ และให้หนุ่ ยนต์ ควบคุมการทางานของเครื่องจักรอีกต่อหนึง่ ในระดับประเทศ ประเทศไทยสั่งเข้าสินค้าเทคโนโลยีระดับสูงปริมาณมากจึงต้องซื้อเทคนิควิธีการ ตลอดจนเครื่องมือเครื่องจักรเข้ามามากตามไปด้วย ขณะเดียวกันเรายังขาดบุคลากรที่จะใช้เครื่องจักร เครื่องมือเหล่านั้นให้มีประสิทธิภาพ การสูญเสียเงินตราเนื่องจากสาเหตุนี้จึงเกิดขึ้นมิใช่น้อย หลายโรงงาน


15 ยังไม่กล้าใช้เครื่องจักรที่ใช้เทคโนโลยี ใหม่ เพราะหาบุคลากรในการดาเนินการได้ยาก แต่ในระยะหลัง ค่าจ้างแรงงานสูงขึ้น และการแข่งขันทางธุรกิจมีมากขึ้น จึงตกอยู่ในสภาวะจายอมที่จะเอาเครื่องมือเหล่านั้น เข้ามา เนื่องจากเครื่องมือดังกล่าวให้ผลผลิตที่ดีกว่าของเดิม และมีราคาต้นทุนต่าลงอีกด้วย ในหลักการเป็นที่ยอมรับว่า ความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมเกือบทุกแขนงมีคอมพิวเตอร์เข้ามา เกี่ยวข้องด้วยเสมอ ระบบการผลิตส่วนใหญ่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์แทรกเข้ามาเกือบทุก กระบวนการ ตั้งแต่การควบคุม การขนส่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การวัดและการ บรรจุหีบห่อ ตลอดถึงการใช้เครื่องทุ่นแรงบางอย่างเครื่องมือที่ใช้วัดเกือบทุกประเภทมักมีไมโคร โพรเซสเซอร์ (microprocessor) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์เกี่ยวข้องด้วยเสมอ เช่น การวัด อุณหภูมิ วัดความดัน วัดความเร็วการไหล วัดระดับของเหลว วัดปริมาณค่าที่จาเป็นสาหรับการควบคุม คุณภาพ ในยุควิกฤตการณ์พลังงาน หลายประเทศพยายามลดการใช้พลังงาน โรงงานพยายามหาทางควบคุม พลังงานให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุดเพื่อจะลดค่าใช้จ่ายลง จึงนาเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุม เช่น ควบคุม การเดินเครื่องให้เหมาะสม ควบคุมปริมาณการใช้พลังงานควบคุม การจัดภาระงานให้เหมาะสม รวมถึงการควบคุมสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ด้วยในยุควิกฤตการณ์พลังงาน หลายประเทศพยายามลดการใช้ พลังงาน โรงงานพยายามหาทางควบคุมพลังงานให้มี ประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อจะลดค่าใช้จ่ายลง จึงนาเอาคอมพิวเตอร์ มาช่วยควบคุม เช่น ควบคุมการเดินเครื่องให้เหมาะสม ควบคุม ปริมาณการใช้พลังงานควบคุมการจัดภาระงานให้เหมาะสม รวมถึงการควบคุมสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ด้วย

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ในสังคมปัจจุบันไม่ว่าใครจะอยู่ที่ใด แม้ในเมืองหรือชนบทก็ตาม ย่อมมีการติดต่อสื่อสารกับบุคคล หรือสังคมอื่นอยู่เสมอไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เพื่อแลกเปลีย่ นความรู้ความคิดเห็นหรือการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ในชีวิตประจา วันด้วยสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร ล้วน เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังใช้เทคโนโลยีเครื่องมือหรือกลไกเพื่ออานวยความ สะดวก เช่น การถอนเงินจากเครื่องจ่ายเงินอัตโนมัติ (ATM : Automatic Teller/Technology Machine) การ


16 สแกนลายนิ้วมือการเข้าปฏิบัติงานในสานักงาน การจ่ายค่าโดยสารรถไฟฟ้าผ่านบัตรแถบแม่เหล็ก เป็น ต้น เหล่านี้เป็นตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจาวัน ยิ่งไปกว่านั้น ความเจริญก้าวหน้าของ วิทยาการใหม่ ๆ ก่อให้เกิด เครื่องมือหรือวิธีการในการอานวยความสะดวกในการใช้บริการอย่างรวดเร็ว เช่น การทาบัตรประจาตัวประชาชน สามารถให้บริการโดยเชื่อมต่อ ระบบออนไลน์ (online system) ซึ่งเป็น ระบบสายตรงที่มีประโยชน์มาก และเป็นตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่จาเป็น กรณีตัวอย่าง เช่น การรับบริการรักษาพยาบาลตามโรงพยาบาล ปัจจุบนั ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาบริหารจัดการ โดย ผู้ป่วยสามารถบอกชื่อนามสกุลที่ถูกต้อง เจ้าหน้าที่ก็สามารถเรียกเวชระเบียนออกมาได้อย่างรวดเร็ว เพราะ โรงพยาบาลมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงกันอย่างทั่วถึง ทาให้เวชระเบียนที่อยู่ในรูปแบบของ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ถูกส่งจาก คอมพิวเตอร์แม่ข่ายไปปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ในห้องตรวจของแพทย์ได้ ทันที เมื่อแพทย์ทาการตรวจวินิจฉัยโรค สามารถสั่งการรักษาหรือสั่งยา จากห้องแพทย์ไปสู่แผนกเอ็กซเรย์ แผนกจ่ายยา ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีต่อสังคม ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีบทบาททีก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ การพัฒนา สังคมในหลายด้าน ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ - ช่วยให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขนึ้ จากการสื่อสารที่รวดเร็ว และกว้างไกล - ช่วยทาให้วิทยาการต่าง ๆ เจริญก้าวหน้าและทันสมัยอย่าง รวดเร็ว - การรับรู้และแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารของโลกเป็นไปอย่าง สะดวกและรวดเร็ว - สามารถเข้าถึงคลังข้อมูลข่าวสารจานวนมาก ซึ่งสามารถนามาประยุกต์ในการพัฒนาอาชีพและคุณภาพ ชีวิต - สนับสนุนการทางานและกระบวนการผลิต เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ในการวางแผน การออกแบบและ การควบคุมระบบการทางาน


17 - ส่งเสริมระบบบริหารจัดการในรูปแบบใหม่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการหน่วยงานหรือ องค์กร - กระจายโอกาสด้านการศึกษา ให้ผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล สามารถเรียนรู้ผ่านระบบการสอนทางไกลหรือผ่าน ดาวเทียมได้ - สามารถเผยแพร่สารสนเทศและภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สังคมโลกได้โดยง่าย เช่น การเผยแพร่งานใน อินเตอร์เน็ตตาบล เป็นต้น - ช่วยให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง

กระแสโลกาภิวัตน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระแสโลกาภิวัตน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปัจจุบันช่วยให้ความ เป็นอยู่ใน ชีวิตประจาวันของเราสะดวกสบายมากขึน้ เมื่อเปรียบเทียบกับยุคก่อน การเดินทางและติดต่อสื่อสาร ระหว่างกันสามารถทาได้ง่ายขึ้น มีการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานในทุกสาขา อาชีพ เช่น

การสื่อสาร การธนาคาร การบิน วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การแพทย์ การศึกษาหรือการ

เรียนการสอน ซึ่งส่งผลให้วิทยาการต่าง ๆ เจริญก้าวหน้าและทันสมัยอย่างรวดเร็ว การติดตามข่าวสารที่ เกิดขึ้นในส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ทันเหตุการณ์ สามารถรับรู้ข่าวสารข้อมูลในเวลาเดียวกันได้ทั้งที่อยู่ ห่างไกลกันคนละสถาน ที่ เช่น การถ่ายทอดสด การเสนอข่าวเหตุการณ์สาคัญ รายการแข่งขันกีฬา การ ถ่ายทอดสัญญาณผ่านระบบดาวเทียมจากประเทศต่าง ๆ การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์พมิ พ์รายงาน สร้าง ภาพกราฟิก เก็บข้อมูล สืบค้นข้อมูล ฟังเพลง รวมถึงการประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน จึงนับได้ว่า คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สาคัญต่อการดารงชีวิต การศึกษาและการเรียนรู้เรื่องเทคโนโลยี สารสนเทศจะช่วยให้สามารถใช้งาน คอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาในทุก ๆ ด้าน ช่วยส่งเสริม ทักษะและสร้างความสนุกสนานเพลิดเพลินไปพร้อม ๆ กัน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆ มากมาย เช่น การใช้ โทรศัพท์ต้องอาศัยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เปลี่ยนคลื่นเสียงให้เป็น คลืน่ สัญญาณไฟฟ้า และจะถูกเปลี่ยนให้ เป็นสัญญาณเสียงที่เครื่องโทรศัพท์ปลายทาง ส่วนการใช้โทรศัพท์มือถือในการสื่อสารคลื่นเสียงจะถูก เปลี่ยนเป็นคลืน่ สัญญาณไฟฟ้าวิ่งผ่านอากาศไปยังสถานีแม่ข่ายหรือดาวเทียมเพื่อส่งต่อคลื่นสัญณาณไฟฟ้า ไปยังเครื่องรับโทรศัพท์ปลายทาง ดังนั้นเครื่องโทรศัพท์มือถือทั่วไปจะต้องมีเครื่องรับและส่งสัญญาณคลื่น


18 เสียงที่เราพูดคุยกัน และในปัจจุบันเราสามารถสื่อสารระหว่างกันโดยการใช้โทรศัพท์มือถือรุ่นที่สาม หรือ 3G ส่งสัญญาณเสียงและภาพพร้อมกัน โดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสารและคอมพิวเตอร์ ทาให้เรา สามารถเห็นภาพของคู่สนทนาไปพร้อม ๆ กัน

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน แนวโน้มวิธกี ารเรียนรู้ของนักเรียนนักศึกษาในอนาคตดูแล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก คือ จะเน้นตัวผู้เรียนเป็นหลัก แทนการเน้นตัวผูส้ อนที่สอนนักศึกษาจานวนมากพร้อมกันทั้งห้อง ซึ่งเป็นวิธีที่ เกิดขึ้นมาพร้อมกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมเมื่อประมาณสองศตวรรษก่อน วิธีการเรียนในคริสต์ศตวรรษ ที่ 21 นี้จะเป็นการเรียนรู้แบบสร้างประสบการณ์โดยเน้นให้นักศึกษาค้นพบด้วยตัวเอง (Learning by Discovery) เป็นการศึกษาทีน่ ักศึกษาจะเรียนรู้ว่าจะเรียนรู้เองต่อไปได้อย่างไร (Learning How to Learn) ที่ เป็นดังนี้ได้ เพราะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ทางานมัลติมีเดียจะทาให้เราสามารถกลับไปใช้ระบบที่อาจารย์ ทาหน้าที่สาคัญในการสอน และชี้นานักศึกษาเป็นรายบุคคล คอมพิวเตอร์จะช่วยให้อาจารย์ไม่ต้องทางาน ซ้าๆกันในการสอนกิจกรรม อย่างง่าย และสามารถใช้เวลามากขึ้นกับนักศึกษาที่ต้องการความเอาใจใส่มาก เป็นพิเศษ การศึกษาที่ใช้เทคโนโลยี (Technology Aided Education) มีข้อได้เปรียบหลายประการคือ - การเรียนรู้เป็นแบบโต้ตอบกัน - นักศึกษาจะเรียนรู้ได้ในอัตราความเร็วที่เหมาะสมกับตนเอง - การเรียนรู้จะเกิดขึ้นทีใ่ ดก็ได้ โดยผ่านระบบการเรียนทางไกล (Distance Learning) ทีต่ อ่ โยงผูเ้ รียน ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์มลั ติมีเดียไปยังศูนย์การศึกษา - อุปกรณ์ประกอบการเรียนจะช่วยให้เข้าใจเนื้อหาได้ดีขึ้น เพราะจะมีทั้งอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง และการต่อโยงของเนื้อหาในแบบไฮเปอร์มเี ดีย (Hypermedia) ซึ่งช่วยให้นักศึกษา สามารถถามถึงสิ่งที่ตนสนใจต่อโยงกันไปได้เรื่อยๆโดยไม่ถูกจากัดให้เห็นเฉพาะส่วนที่กาหนดไว้ วิธีการเรียนรู้เช่นนี้จะมีใช้ในทุกระดับการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงระดับอุดมศึกษา รวมทั้งระดับการฝึกอบรมวิชาชีพต่างๆอีกด้วย นอกจากนี้ วิธีการสอนเช่นนี้ก็ทาให้สามารถรวมเนื้อหาของ วิชาที่เกี่ยวเนื่องกัน (Content Integration) ให้สามารถสอนไปพร้อมกันเช่น สามารถสอนเนื้อหาวิชา คอมพิวเตอร์ วิชาการเงิน และวิชาจริยธรรม ในส่วนที่เกี่ยวข้องกันไปพร้อมกัน แทนที่จะต้องสอนแยกกัน เป็น 3 วิชา ซึ่งจะทาให้เข้าใจยาก เช่น การประยุกต์ใช้งานเนื้อหาส่วนที่เป็นเรื่องของจริยธรรมในการใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อทางานด้านการเงิน เป็นต้นนอกจากนี้ ยังมีหลายกรณีที่สามารถทาการทดสอบผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ไปยังศูนย์การศึกษา ซึ่งสะดวกต่อการวัดผลการเรียน และการกาหนดมาตรฐานคุณภาพของ การศึกษาในระบบการสอบด้วยคอมพิวเตอร์แบบมาตรฐาน (Computerbased Uniform Testing) นักศึกษาที่ เรียนรู้ได้ช้าก็สามารถเรียนต่อเนื่องไปได้โดยใช้เวลามากขึ้นขณะที่นกั เรียนที่เรียนรูไ้ ด้เร็ว ก็สามารถก้าวหน้า


19 ไปได้เร็วขึ้น แทนที่จะต้องรอขึ้นชั้นใหม่พร้อมกันทุกคน การสอบก็สามารถทาได้เมื่อนักศึกษาพร้อมที่จะ สอบ โดยตัวข้อสอบจะถูกสร้างขึ้นใหม่สาหรับนักศึกษาแต่ละคน เป็นการตัดปัญหาการทุจริตหลายอย่างที่ อาจจะเกิดขึ้นได้ในห้องสอบ สาหรับปัจจุบันตามสถาบันการศึกษาต่างก็มีนโยบายที่จะนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ใน การเรียนการสอน เพื่อเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา ช่วยให้นกั ศึกษาสามารถเข้ามาเรียนรูไ้ ด้ด้วย ตนเอง โดยทาในรูปแบบของ E-Learning ซึ่งมีการนาเอาโปรแกรมต่าง ๆ เข้ามาช่วยพัฒนา เช่น Moodle หรือ Scorm เป็นต้น และการเรียนรู้แบบนี้ยังช่วยในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน คือ 1. ทาให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นอยากจะเรียนมากขึ้นเพราะใช้สี่อที่ทันสมัย 2. ทาให้ผู้เรียนมีความกล้าที่จะแสดงคิดเห็น กล้าที่จะพูดมากยิ่งขึ้น 3. ทาให้ผู้เรียนสามารถก้าวทันเทคโนโลยี และสามารถใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ได้

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต 1.ด้านการติดต่อสื่อสาร มนุษย์จะสามารถรับรู้ข่าวสารกันได้อย่างไม่มีอุปสรรคดังคาที่ว่าโลกไร้ พรมแดนไม่วา่ จะอยู่ที่ไหนในโลกนี้ก็จะสามารถที่ จะติดต่อกับผู้อื่นได้โดยเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนัน่ เอง 2.ด้านการศึกษา นักเรียนนักศึกษาในอนาคตมีแนวโน้มที่จะสามารถเรียนจากที่บา้ นได้โดยไม่ตอ้ ง ไปโรงเรียนเหมือนปัจจุบันโดยการเรียนการสอนทางไกลผ่านอินเตอร์เน็ตไม่ว่าจะเป็นในประเทศหรือ ต่างประเทศและความรู้ที่อยูบ่ นอินเตอร์เน็ตนั้นก็มีไม่จากัด สาขาวิชา สามารถที่จะค้นคว้าจากห้องสมุด ต่างๆได้ทั่วโลก 3.ด้านการดาเนินชีวิต มนุษย์จะมีชีวิตทีส่ ุขสบายมากยิ่งขึ้น เพราะคอมพิวเตอร์จะมีการพัฒนาใน รูปแบบของหุ่นยนต์เพื่อทางานแทนมนุษย์ งานที่ต้องใช้แรงงานและความละเอียดสูงก็จะใช้หุ่นยนต์ทาแทน อุปกรณ์ต่างๆภายในบ้านก็จะควบคุมโดยคอมพิวเตอร์มนุษย์ ไม่ ต้องคอยดูแลความปลอดภัยหรือความ เรียบร้อยภายในบ้านเอง แต่จะมีโปรแกรมคอยตรวจสอบทั้งหมดเป็นต้น 4.ด้านสุขภาพ วงการแพทย์จะมีความก้าวหน้าในการรักษาโรคมากขึ้น เพราะจะมีระบบแพทย์ ออนไลน์ข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ ก็จะเผยแพร่ให้ทุกคนได้รับรู้ผ่านทางอินเตอร์เน็ต แพทย์ทั่วโลกสามารถที่ จะร่วมมือกันในการปฏิบัติงานได้


20 5.ด้านการท่องเที่ยวและความบันเทิง สามารถทาผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ตทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น การจองตั๋ว การตรวจสอบสถานที่ การสอบถามข้อมูล การดูหนังฟังเพลงต่างๆตลอดจนการซื้อของโดยที่เรา ไม่ต้องเดินซื้อของตามห้างสรรพ สินค้าเอง

ประโยชน์และโทษของเทคโนโลยีสารสนเทศ ประโยชน์ของเทคโนโลยีทั่วไป - ลดแรงงานคนในการทางานต่าง ๆ เช่น ควบคุมการผลิต และช่วยในการคานวน - เพิ่มความสะดวกสะบายตั้งแต่ส่วนบุคคล จนถึงการคมนาคมและสือ่ สารทั่วโลก - เป็นแหล่งความบันเทิง - ได้ผลผลิตที่มีมาตรฐาน เหมือนกันหมดทุดชิ้น ซึ่งอิเฎลเห็นว่าเป็นการลดคุณค่าของชิ้นงาน เพราะ Handmade คืองานชิ้นเดียวในโลก - ลดต้นทุนการผลิต - ทาให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดขี ึ้น - ทาให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม และ เกิดการกระจายโอกาศ - ทาให้เกิดสือ่ การเรียนการสอนต่างๆมากขึ้น - ทาให้เกิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติได้ดยี ิ่งขึ้น - ทาให้เกิดระบบการป้องกันประเทศที่มปี ระสิทธิภามมากยิ่งขึ้น - ในกรณีของอินเตอร์เน็ต ผูใ้ ช้สามารถเลือกการผ่อนคลายได้ตามอิสระ โทษของเทคโนโลยีทั่วไป - สิ้นเปลืองทรัพยากร เช่น น้ามัน แก็ส และถ่านหิน จนกระทั้งน้า - เปลี่ยนสังคมชาวบ้าน ให้กลายเป็นวัตถุนิยม (อิเฎลไม่ชอบมาก ๆ) - ทาให้มนุษย์ขาดการออกกาลังกาย - ทาให้เกิดปัญหาการว่างงาน เพราะใช้แรงงานเครื่องจักรแทนแรงงานคน - ทาให้เสียเวลา ทั้งจากรายการไร้สาระในโทรทัศน์ จนกระทั่งนัก chat - หากใช้เว็ปไซด์จาพวก Social Network จะทาให้ผู้ใช้มโี ลกเป็นของตนเอง ขาดการติดต่อกับผู้อื่น โดย เฉพาะที่เห็นชัดเจนเกิดช่องว่างระหว่างผู้สูงอายุกับเด็ก


21

สรุป เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในระบบสารสนเทศ ตั้งแต่กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วยให้ได้สารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วย เครื่องมือและ อุปกรณ์ต่างๆ กระบวนการในการนาอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป เป็นที่ยอมรับว่า ความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมเกือบทุกแขนงมีคอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้อง ด้วยเสมอ ระบบการผลิตส่วนใหญ่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์แทรกเข้ามาเกือบทุกกระบวนการ ตั้งแต่การควบคุม การขนส่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การวัดและการบรรจุหีบห่อ ตลอดถึงการใช้เครื่องทุ่นแรงบางอย่างเครื่องมือที่ใช้วัดเกือบทุกประเภทมักมีไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์เกี่ยวข้องด้วยเสมอ เช่น การวัดอุณหภูมิ วัดความ ดัน วัดความเร็วการไหล วัดระดับของเหลว วัดปริมาณค่าที่จาเป็นสาหรับการควบคุมคุณภาพ นอกจากนี้เทคโนโลยีสารสนเทศยังให้ทั้งประโยชน์และก็โทษอีกด้วยเราควรใช้เทคโนโลยีใน ชีวิตประจาวันของเราอย่างมีสติอยู่ตลอดเวลา


22

บรรณานุกรม เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับครู โดยอาจารย์สจุ ิตตรา จันทร์ลอย http://www.gangza-yui01.blogspot.com/p/blog-page.html http://www.gangza-yui01.blogspot.com/p/blog-page_01.html http://www.gangza-yui01.blogspot.com/p/blog-page_2734.html http://www.gangza-yui01.blogspot.com/p/blog-page_6843.html http://www.gotoknow.org/blogs/posts/291315 http://www.sw-eden.net/2010/08/09/bipolar-technology/ http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04093009_2204/isweb/Lesson%2022.htm สืบค้นเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2555


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.