20120523 duangjitt presentation

Page 1

DuangJitt RESORT & SPA

20120523

บริษัท เอเบิ้ลอาร์คิเทค www.ablearchitects.com


C o n t e n t : ส า ร บั ญ

Introduction ลั ก ษ ณ ะ ทั่ ว ไ ป ข อ ง โ ร ง แ ร ม

Element อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ สา คั ญ

๔-๕

The Story of Thai Style ก.เรื่องเล่า แบบไทย

๑๖-๑๗

Thailand…The Charming of Asia ข.เมืองไทย เสน่ห์วิถีแห่งเอเซีย

Design Concept แ น ว ค ว า ม คิ ด ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ

๑๘

Design Concept แ น ว ค ว า ม คิ ด ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ

๗-๑๕

Design Guideline แนวทางการออกแบบ

๑๙-๒๗

Design Guideline แนวทางการออกแบบ

1.Thai Contemporary Style 2. Thai Culture Style

3. Oriental Thai Style 4. Tropical Thai Style

๒๘-๓๒

The Colors Effect สี กั บ ค ว า ม รู้ สึ ก

๓๓-๔๙

Furniture Lay-out Plan ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์


I n t r o d u c t i o n : ก ล่ า ว ถึ ง ลั ก ษ ณ ะ ทั่ ว ไ ป ข อ ง โ ร ง แ ร ม

โ ร ง แ ร ม ด ว ง จิ ต แวดล้อมไปด้วยพืชพรรณนานาชนิด ดอกไม้หลากสีหลายพันธุ์ ยังคงความสมบูรณ์ทางธรรมชาติไว้ได้อย่างสมบูรณ์ มีการสอดแทรกเรื่องราวเกี่ยวข้องกับธรรมชาติไว้กับชื่อเรียกอาคารห้องพัก โดยใช้ชื่อดอกไม้ไทยโบราณ อาคารสารภี | อาคารพิกุลแก้ว | อาคารกาซาลอง | อาคารมะลิฉัตร | อาคารมหาหงส์ | อาคารลีลาวดี | อาคารราชาวดี | วิมานสปา


E l e m e n t : อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ สา คั ญ

“สารภี” ชื่ออาคารห้องพักแขก (อาคารปรับปรุงใหม่) จุดเริ่มต้นของเรื่องราวใหม่ บริบทเดิม สร้างเรื่องราวให้งานออกแบบทั้งภายในและนอกอาคาร มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน เพื่อให้ผู้เข้าพักรู้สึกมีอารมณ์ร่วมกับสถานที่ สื่อสารออกมาในรูปแบบของที่พักอาศัยที่สวยงาม มีหน้าที่สร้างความประทับใจให้กับผู้เข้าพัก


The Story of Thai Style : เ รื่ อ ง เ ล่ า แ บ บ ไ ท ย

The Story of Thai Style เรื่องเล่า แบบไทย

ก ดวงจิต รีสอร์ท


The Story of Thai Style : เ รื่ อ ง เ ล่ า แ บ บ ไ ท ย

บ้านไทย มีลกั ษณะเด่น คือ รูปทรงบ้านมีระเบียบเรียบง่ายไม่ซบั ซ้อน จะแลเห็นได้ตั้งแต่ชานหน้าเรือนเป็นพื้นที่เปิดโล่งรับลม คนนั่งจากชานเรือนจะมองเห็นมุมกว้าง ทาให้รู้สึกโล่งโปร่งตา ถัดจากชานเข้ามาเป็นระเบียงทีใ่ ช้รับรองแขก จัดงานตามประเพณีนิยม หรือคติทางศาสนา เช่น ทาบุญเลี้ยงพระ โกนจุก แต่งงาน ตากอาหารแห้ง ที่นอกชานมักใช้ปลูกไม้กระถาง วางอ่างน้า ปลูกตะโกดัดและบอนไซ ซึ่งคนแต่ก่อนนิยมปลูกต้นไม้ใส่กระถางไว้เชยชม และอาจจัดมุมใดมุมหนึง่ ของนอกชานในทีล่ ับตาคนเป็นที่อาบน้าก็ได้

ชานเรือน หากมีพื้นที่รอบ ๆ ก็นิยมปลูกไม้ใหญ่หลายชนิดไว้ให้ร่มเงา เรือนบางหลังยังเปิดช่องตรงกลางชานไว้ปลูกไม้ยืนต้น เพื่อให้ร่มเงาบริเวณชานเรือน ฝีมือช่างไทยที่เด่นชัดอีกที่ปรากฎในเรือนไทยคือ การไม่ใช้ตะปู แต่จะตรึงติดด้วยลิ้นไม้เข้าเดือย ตั้งแต่การตรึงติดของจัว่ และคาน จนถึงการทาบันไดบ้าน ในการปลูกบ้านไทยยังแฝงคติความเชื่อของเรื่องการวางทิศทาง การให้ความสาคัญของไม้แต่ละชิน้ ที่ใช้ ซึ่งแสดงถึงการให้เกียรติและให้ความสาคัญต่อทุกสรรพสิ่งรอบ ๆ ตัว


D e s i g n C o n c e p t : แ น ว ค ว า ม คิ ด ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ

East meets West ผ ส ม ผ ส า น ศิ ล ป ะ ข อ ง ไ ท ย กั บ แ น ว คิ ด ใ น แ บ บ ต ะ วั น ต ก


Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

Thai Contemporary Style แบบไทยร่วมสมัย ผสมผสานระหว่างวิถีชีวิต วัฒนธรรมแบบไทย และการดารงชีวิตแบบชาวตะวันตก

1

Thai Culture Style 2

แบบไทยดั้งเดิม ศิลปะวัฒนธรรมแบบไทยดั้งเดิม ผนวกกับรูปแบบวิถีชีวิตแบบคนเมือง


Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

Thai Contemporary Style แบบไทยร่วมสมัย คือ การดึงเอาลักษณะเด่นต่างๆ ที่ประกอบตัวเรือนไทย เช่น ฝาปะกน ช่องแสง หรือกระทั่งประตูลนั่ ดาน ซึ่งรายละเอียดเหล่านีไ้ ด้นามาประยุกต์ใช้กับการตกแต่งแบบไทยร่วมสมัย ลดทอนรายละเอียดเพื่อตอบสนองต่อชีวิตความเป็นอยู่ในแบบสมัยใหม่

๑ ดวงจิต รีสอร์ท


Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

บริบท : ดอกสารภี ดอกไม้สีขาวมีกลิน่ หอม / เส้นสาย ลวดลาย / วัฒนธรรมความเชื่อ / วิถีชีวิต และ อิทธิพลการดารงชิวิตแบบตะวันตก

แนวความคิดในการออกแบบ :

(แบบไทยร่วมสมัย) ดึงสีสัน เส้นสาย รูปทรงของศิลปะแบบไทยภาคกลาง อาทิเช่น การตกแต่งเรือนไทย,ลวดลายแกะสลักช่องลม, วิถชี ีวิตแบบไทย ซึ่งเชื่อว่าในปัจจุบันมีความคล้ายคลึงกันนี้แฝงอยูใ่ นรูปแบบการใช้ชีวิตแบบชาวไทยพื้นบ้าน ลดทอนความเป็นไทยให้เข้ากับรูปแบบในปัจุบัน ผสมผสานกับวิถชี ีวิตแบบตะวันตก Thai Contemporary Style

Thai Contemporary Style

: การผสมผสานระหว่างวิถีชีวติ วัฒนธรรมแบบไทย และการดารงชีวิตแบบชาวตะวันตก


๑๐

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

บริบท : ดอกสารภี ดอกไม้สีขาวมีกลิน่ หอม / เส้นสาย ลวดลาย / วัฒนธรรมความเชื่อ / วิถีชีวิต และ อิทธิพลการดารงชิวิตแบบตะวันตก

ลักษณะห้องนอนแบบไทยร่วมสมัย เครื่องเรือนส่วนใหญ่ถูกนามาประยุกต์ใช้ ผสมผสานวัฒนธธรมไทยเข้ากับวัฒนธรรมตะวันตก ด้วยลวดลายแบบไทยอันวิจติ ร นาไปใช้กับตู้ โต๊ะ เตียง และของประดับตกแต่งอื่นๆ รูปแบบไทยประยุกต์เกิดขึ้นจากกระบวนการคิดที่แฝงไว้ถึงความเป็นไทย มากกว่าการเอาชิ้นส่วนของความเป็นไทยไปปะหรือติดไว้

Thai Contemporary Style

: การผสมผสานระหว่างวิถีชีวติ วัฒนธรรมแบบไทย และการดารงชีวิตแบบชาวตะวันตก


๑๑

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

1

2

3

5

4

6

8

7

1

เฟอร์นิเจอร์ไม้ลดทอนเส้นโค้งลง ผสมผสานกับในรูปแบบการใช้งานที่ตอบสนองวิถีชีวิต

5

ผ้าพิมพ์ลวดลายดอกดอกสารภี สีสด ตกแต่งหมอนอิงใช้ร่วมกับผ้าสีพื้น

2

ผนังลายฝาประกนแบบไทยโบราณ ทาสีเพื่อให้ดูรว่ มสมัย

6

ไม้แกะสลักลายไทย ลายดอกไม้ ใช้ประดับหัวเตียงหรือกั้นพื้นที่

3

สลักลายบนผิวกระจกเงาเพื่อให้ความรู้สึกของห้องดูกว้างขวางมากขึ้น

7

หมอนขวาน ลวดลายดอกไม้ใช้ร่วมกับโซฟารับแขก หรือเก้าอี้ปลายเตียง

4

ตกแต่งห้องด้วยงานเซรามิคสีเขียวแบบโบราณ และดอกไม้สดไทย

8

โคมตั้งพื้นใช้ประดับหน้าห้อง เปลีย่ นวัสดุเพื่อให้ดแู ขงแรงขึน้

วัสดุที่เลือกใช้ตกแต่งภายใน


๑๒

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

Thai Culture Style แบบไทยดั้งเดิม แนวทางการตกแต่งที่ดึงรากฐานของวัฒนธรรม ประเพณีหรือวิถีของความเป็นชาตินั้นๆ นาเอารายละเอียดที่บ่งบอกหรือแสดงความเป็นมาของวัฒนธรรม ศาสนา ซึ่งเราสามารถศึกษาได้จากสถาปัตยกรรม ภาพเขียน ลวดลายต่างๆ บางครั้งมีการนาคติความเชื่อ มาเป็นแนวทางในการตกแต่ง

๒ ดวงจิต รีสอร์ท


๑๓

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

บริบท : ดอกสารภี ดอกไม้สีขาวมีกลิน่ หอม / เส้นสาย ลวดลาย / วัฒนธรรมความเชื่อ / ศิลปะแบบไทยดั้งเดิม

แนวความคิดในการออกแบบ :

Thai Culture Style (แบบไทยดั้งเดิม)

ดึงจุดเด่นของศิลปะชั้นสูง ของโบสถ์ วัด วัง อาทิเช่น ดาวเพดานรูปใบไม้ พุดจีบ, ภาพวาดฝาผนัง,ซุ้มทางเดิน มาปรับประยุกตร์ให้เข้ากับรูปแบบการวิถีชีวิตในปัจุบัน ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นรูปแบบการใช้ชีวิตแบบชาวตะวันตกทั้งสิ้น

Thai Culture Style :

ศิลปะวัฒนธรรมแบบไทยดั้งเดิม ผนวกกับรูปแบบวิถีชีวิตแบบคนเมือง


๑๔

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

บริบท : ดอกสารภี ดอกไม้สีขาวมีกลิน่ หอม / เส้นสาย ลวดลาย / วัฒนธรรมความเชื่อ / ศิลปะแบบไทยดั้งเดิม

ลักษณะห้องนอนแบบไทย ฝ้าเพดาน ไม้ ผนังฝาปะกน พื้นไม้ เตียงเหมือนตัง่ ขนาดใหญ่ ขาสิงห์ ตู้เตี้ย เตียงวางชิดผนังฝาปะกน ม่านสีเขียวรูปแบบตะวันตก ภาพเขียนสีสด ไม่มีหัวเตียงเหมือนทั่วไป ผ้าคลุมเตียงสีขาวครีม เพิ่มความน่าสนใจด้วยฝ้าทอลายสีสด และหมอนขวาน แสงจากโคมผนังหัวเตียงช่วยให้ดูอบอุ่น ผ่อนคลายด้วยสีเขียวของต้นไม้ภายนอก

Thai Culture Style :

ศิลปะวัฒนธรรมแบบไทยดั้งเดิม ผนวกกับรูปแบบวิถีชีวิตแบบคนเมือง


๑๕

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

1

2

4

6

3

5

7

1

เฟอร์นิเจอร์ม้สีเข้มและผ้าบุเฟอร์นิเจอร์สีอ่อน

5

เฟอร์นิเจอร์ไม้ทรงสอบ ขาสิงห์

2

ของประดับตกแต่งไม้และโลหะ

6

งานประดับตกแต่งมีลักษณะอ่อนช้อย และเงาวาว

3

มือจับประตู และเฟอร์นิเจอร์ โลหะ

7

หมอนขวาน ผ้าขิด เอกลักษณ์การพักผ่อนแบบไทย

4

หน้าต่างแบบโปร่ง ช่องแสงและช่องระบายอากาศ

8

งานไม้แกะสลัก ประดับหัวเตียง

8

วัสดุที่เลือกใช้ตกแต่งภายใน


๑๖

“THAILAND” The Charming of Asia : เ มื อ ง ไ ท ย เ ส น่ ห์ วิ ถี แ ห่ ง เ อ เ ชี ย

“THAILAND” The Charming of Asia เมืองไทย เสน่ห์วิถแี ห่งเอเชีย

ข ดวงจิต รีสอร์ท


๑๗

“THAILAND” The Charming of Asia : เ มื อ ง ไ ท ย เ ส น่ ห์ วิ ถี แ ห่ ง เ อ เ ชี ย

เมื่อเอ่ยถึงมนต์เสน่ห์หรือกลิ่นอายความเป็น เอเชีย ผูค้ นไม่น้อยอาจนึกถึงสีสันและรูปทรงสดใสหลากหลาย ไม่ต่างจากวิถีชวี ิตของผู้คนที่อยู่รว่ มกันท่ามกลางวัฒนธรรมอันมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เป็นอัตลักษณ์เฉพาะถิ่นที่ไม่อาจลอกเลียนหรือหาพบได้จากที่แห่งใดในโลก เมืองไทย มีอัตลักษณ์เฉพาะตัว ด้วยรากฐานของประเทศแถบเอเชีย มีเรื่องราวที่เกี่ยวกับชาวตะวันออก เป็นประเทศในเขตที่มีความลงตัว สอดคล้องกับหลายๆอย่างเข้าด้วยกัน ด้วยสภาพภูมิอากาศ และวิถีชวี ิตความเป็นอยู่ อันมีมนต์เสน่ห์ทางวัฒนธรรมและเป็นวิถีชีวิตแห่งความเรียบง่ายที่ใครๆ ก็อยากสัมผัส อีกทั้งยังมีความสะดวกสบาย ช่วยสร้างความรู้สึกที่ผ่อนคลายให้อบอวล ชวนหลงใหล


๑๘

D e s i g n C o n c e p t : แ น ว ค ว า ม คิ ด ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ

The Charming of Asia เ ส น่ ห์ เ อ เ ชี ย ผ ส ม ผ ส า น ก ลิ่ น อ า ย ค ว า ม เ ป็ น ไ ท ย


๑๙

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

Oriental Thai Style แบบไทยผสมผสานความเป็นตะวันออก หล่อหลอมศิลปะวัฒนธรรม วิถีชวี ิตตะวันออก ผสมผสานความเป็นไทย

3

Tropical Thai Style 4

แบบไทยผสมผสานกับธรรมชาติของเขตร้อนชื้น ผสมผสานความเป็นไทย ด้วยแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ ชีวิตความเป็นอยู่พื้นถิ่น ของประเทศแถบร้อนชื้น


๒๐

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

Oriental Thai Style แบบไทยผสมผสานความเป็นตะวันออก คือ รูปแบบที่รวมลักษณะ หรือเรื่องราวที่เกี่ยวกับชาวตะวันออก ที่มีความลงตัว สอดคล้องกับหลายๆอย่างเข้าด้วยกัน ผสมผสานศิลปะวิถีชวี ิต ความเป็นอยู่ ของไทย อีกทัง้ คติความเชื่อในเรื่องราวของศาสนา และวัฒนธรรมที่หล่อหลอมจนมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และสื่อออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม และสัมผัสได้

๓ ดวงจิต รีสอร์ท


๒๑

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

บริบท : ความเป็นตะวันออก - ความเชื่อวิถีชีวิตไทย / เส้นสาย ลวดลาย / การผสนผสานระหว่างศิลปะ และ วัฒนธรรมแบบตะวันออก

แนวความคิดในการออกแบบ :

Oriental Thai Style (แบบไทยผสมผสานความเป็นตะวันออก)

รูปแบบของสถาปัตยกรรมของภูมิภาคแถบเอเชีย จะมีความสอดคล้องกับผู้อยูอ่ าศัย รูปแบบของ เครื่องเรือนที่สื่อออกมาตอบสนองการใช้แล้ว ยังแสดงถึงวัฒนธรรมของชาติ โดยผ่านลวดลายที่ ปรากฎลงบนเฟอร์นิเจอร์ คติทางด้านการจัดวางตามศาสตร์ความเชื่อ

Oriental Thai Style

:หล่อหลอมศิลปะวัฒนธรรม วิถีชีวิตตะวันออก ผสมผสานความเป็นไทย


๒๒

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

บริบท : ความเป็นตะวันออก - ความเชื่อวิถีชีวิตไทย / เส้นสาย ลวดลาย / การผสนผสานระหว่างศิลปะ และ วัฒนธรรมแบบตะวันออก

การเลือกใช้เครื่องเรือนและวัสดุประดับตกแต่ง ควรเลือก เครื่องเรือนสีทึบ หรือเป็นแบบธรรมชาติ และไม่มีลวดลายมาก เลือกการบุเฟอร์นิเจอร์ด้วยผ้าสี หรือผ้า ท้องถิ่นแบบเรียบ โดยอาจมีเครื่องเรือนที่ทาจากไผ่ หรือหวายในรูปทรงแบบคลาสสิก และเสริมด้วยของประดับตกแต่ง ที่ผสมหลายวัสดุ เช่น เซรามิคส์ ทองเหลือง ผ้าไหมไทย ก็จะช่วยเสริมความเป็น Oriental Thai ได้อย่างมาก

Oriental Thai Style :หล่อหลอมศิลปะวัฒนธรรม

วิถีชีวิตตะวันออก ผสมผสานความเป็นไทย


๒๓

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

1

2

4

3

5

6

7

6

8

8

3 1

เฟอร์นิเจอร์ไม้สีทึบหรือสีธรรมชาติ

5

มือจับเฟอร์นิเจอร์เหล็กหล่อหรือทองเหลือง

2

ประดับตกแต่งด้วยโคมไฟฐานเซรามิก และโปะผ้าไหม ช่วยเสริมความเป็น Oriental ได้

6

เฟอร์นิเจอร์ที่ทาจากไผ่ หรือหวายในรูปทรงแบบคลาสสิก ประดับด้วยดอกไม้แบบไทยๆ

3

ของประดับตกแต่งสีเข้ม ตัดกับลวดลายสีทองแบบตะวันออก

7

ตกแต่งห้องด้วยงานเขียนผ้า บ่งบอกถึงศิลปวัฒนธรรมไทย

4

หมอนตกแต่งบุผา้ ไหมสีเรียบ

8

สร้างจุดเด่นโดยการใช้ลวดลาย และสีสัน ประกอบกับการใช้แสง สร้างบรรยากาศอันอบอุ่น

วัสดุที่เลือกใช้ตกแต่งภายใน


๒๔

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

Tropical Thai Style แบบไทยผสมผสานกับธรรมชาติของเขตร้อนชืน้ แนวทางการตกแต่งที่เกิดขึ้นในประเทศแถบเอเชีย ประเทศที่มภี ูมิอากาศแบบร้อนขึ้น และมีฝนตก ประยุกต์วิธีการตกแต่งให้เข้ากับประเทศที่มีภูมิอากาศร้อนชื้น ด้วยรูปแบบที่ให้ความรู้สึกของการพักร้อน ไม่ว่าจะเป็นการเลือกใช้เครื่องเรือน ของประดับ โทนสี หรือวัสดุที่มาจากธรรมชาติ

๔ ดวงจิต รีสอร์ท


๒๕

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

บริบท : ธรรมชาติ-ประเทศแถบร้อนชื้น / เส้นสาย ลวดลาย สีสัน / การผสนผสานความ เป็นอยู่ ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาพื้นถิ่น

แนวความคิดในการออกแบบ :

Tropical Thai Style(แบบไทยผสมผสานกับธรรมชาติของเขตร้อนชื้น) การตกแต่งโดยเลือกใช้สีที่มีความสว่างสดใส ใช้รูปแบบที่ได้แรงบันดาลใจจาก ธรรมชาติ เพื่อเป็นการเพิ่มความมีชีวิตชีวาและสร้างพื้นที่สาหรับผ่อนคลาย การออกแบบจะมี องค์ประกอบของธรรมชาติเข้ามามีส่วนร่วม ผสมผสานความเป็นไทยและการนาเอาวัสดุท้องถิ่น ตามธรรมชาติเข้ามาตกแต่ง เครื่องเรือนทาจากไม้ผสมผิวไผ่และหวายเน้นสัจจะของวัสดุ ไม้ หิน และผ้าที่ทอจากเส้นใยธรรมชาติ

Tropical Thai Style :ผสมผสานความเป็นไทย ด้วยแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ ชีวิตความเป็นอยู่พื้นถิน ่ ของประเทศแถบร้อนชื้น


๒๖

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

บริบท : ธรรมชาติ-ประเทศแถบร้อนชื้น / เส้นสาย ลวดลาย สีสัน / การผสนผสานความ เป็นอยู่ ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาพื้นถิ่น

ลักษณะห้องนอนแบบไทย ฝ้าเพดาน ไม้ ผนังฝาปะกน พื้นไม้ เตียงเหมือนตัง่ ขนาดใหญ่ ขาสิงห์ ตู้เตี้ย เตียงวางชิดผนังฝาปะกน ม่านสีเขียวรูปแบบตะวันตก ภาพเขียนสีสด ไม่มีหัวเตียงเหมือนทั่วไป ผ้าคลุมเตียงสีขาวครีม เพิ่มความน่าสนใจด้วยฝ้าทอลายสีสด และหมอนขวาน แสงจากโคมผนังหัวเตียงช่วยให้ดูอบอุ่น ผ่อนคลายด้วยสีเขียวของต้นไม้ภายนอก

Tropical Thai Style :ผสมผสานความเป็นไทย ด้วยแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ ชีวิตความเป็นอยู่พื้นถิน ่ ของประเทศแถบร้อนชื้น


๒๗

Design Guideline : แนวทางในการออกแบบ

1

2

24

6

3

35

7

8

7

8

1

งานไม้แกะสลัก เฟอร์นิเจอร์ม้ขาสิงห์สเี ข้มและผ้าบุเฟอร์นิเจอร์สีอ่อน

5

มือจับเฟอร์นิเจอร์เหล็กหล่อหรือทองเหลือง

2

เฟอร์นิเจอร์วัสดุสานจากธรรมชาติ ทาจากไม้ผสมผิวไผ่และหวาย

6

งานโคมไฟเหล็กหล่อหรือทองเหลือง ผ้าบุใยธรรมชาติ

3

เฟอร์นิเจอร์ งานจักรสานสีเข้ม ผ้าบุเฟอร์นิเจอร์สีอ่อน

7

ตกแต่งห้องด้วยดอกไม้สีสันสดใส เสริมความเป็น Tropical ยิ่งขึ้น

4

หมอนประดับสีสันสดใส สะท้อนแรงบันดาลใจ จากพืชพรรณธรรมชาติ

8

การนาแสงธรรมชาติมาใช้โดยการดึงบรรยากาศภายนอกเข้ามาสู่ภายใน

วัสดุที่เลือกใช้ตกแต่งภายใน


๒๘

The Color Effect สี กับ ความรู้สึก สร้างความรู้สึก / สร้างความน่าสนใจ / สีบอกสัญลักษณ์ของวัตถุ / สีช่วยให้เกิดการรรับรู้ และจดจา

ค ดวงจิต รีสอร์ท


๒๙

T h e C o l o r E f f e c t : สี กั บ ค ว า ม รู้ สึ ก

สี มีอิทธิพลต่อการแสดงอารมณ์ของงานออกแบบ สร้างความรู้สึก สีให้ความรู้สึกต่อผู้พบเห็นแตกต่างกันไป การใช้สีภายใน และภายนอกอาคาร มีผลต่อการรับรู้ และสร้างบรรยากาศได้ สร้างความน่าสนใจ สีมีอิทธิพลต่องานศิลปะการออกแบบ ช่วยสร้างความประทับใจ และความน่าสนใจเป็นอันดับแรกที่พบเห็น สีบอกสัญลักษณ์ของวัตถุ เช่น สีแดงสัญลักษณ์ของไฟ หรืออันตราย สีเขียวสัญลักษณ์แทนพืช หรือความปลอดภัย เป็นต้น สีช่วยให้เกิดการรรับรู้ และจดจา เมื่อต้องการให้ผู้พบเห็นเกิดการจดจา ในรูปแบบ หรือเกิดความประทับใจ การใช้สีจะต้องสะดุดตา


๓๐

T h e C o l o r E f f e c t : สี กั บ ค ว า ม รู้ สึ ก

สี ท อ ง แสดงถึง คุณค่า ราคา สิ่งของหายาก ความสาคัญ ความสูงส่ง สูงศักดิ์ ความศรัทธาสูงสุด ในศาสนาพุทธ หรือ เป็นสีกายของพระพุทธรูป ในงานจิตรกรรมเป็นสีกายของพระพุทธเจ้า พระมหากษัติรย์ หรือเป็นส่วนประกอบของเครื่องทรง เจดีย์ต่าง ๆ มักเป็นสีทอง หรือ ขาว และเป็นเครื่องประกอบยศศักดิ์ ของกษัตริย์และขุนนาง ความหมายสากล ความสาเร็จ, คุณภาพดี, เงิน ความหมายจีน หยาง, เหล็ก-โลหะ

สี ส่วนประกอบที่แสดงออกถึงความเป็นไทย


๓๑ สีเขียวกลาง

สีเขียวตังแซ

สี ขาวฝุ่น

สีโอรส

Chartreuse4

DarkOliveGreen

White

SaddleBrown

Red Brown

Brown

สี หงดินกลาง 1

สี หงดินกลาง 2

สี ดินแดงปนเขม่าดา

38% 10

20

2% 30

(พลอยทับทิม)

สี ดินแดง

สีส้มแสด

LightSalmon

Scarlet

Dark Brick Red

Bright Red, Orange

Dark Brown, Sepia

Light Yellow

Golden

DarkGoldenrod

สี เลื่อมประภัสสร

สี ทอง (เหลืองทอง)

สี เหลืองผสมส้มแดง

สี สัมฤทธิ์

คราม + เหลือง + ดา + ขาว

8% 40

สี ดอกชบา มณีแดง

ขาว + คราม + เหลือง

28% 50

60

5% 70

80

15% 90

4% 100

สัดส่วนสีที่ปรากฎในงานออกแบบตกแต่ง

สี ส่วนประกอบที่แสดงออกถึงความเป็นไทย


๓๒ สีเขียวกลาง

สีเขียวตังแซ

สี ขาวฝุ่น

สีโอรส

Chartreuse4

DarkOliveGreen

White

SaddleBrown

Red Brown

Brown

สี หงดินกลาง 1

สี หงดินกลาง 2

สี ดินแดงปนเขม่าดา

35% 10

20

5%2% 30

(พลอยทับทิม)

สี ดินแดง

สีส้มแสด

LightSalmon

Scarlet

Dark Brick Red

Bright Red, Orange

Dark Brown, Sepia

Light Yellow

Golden

DarkGoldenrod

สี เลื่อมประภัสสร

สี ทอง (เหลืองทอง)

สี เหลืองผสมส้มแดง

สี สัมฤทธิ์

คราม + เหลือง + ดา + ขาว

8% 40

สี ดอกชบา มณีแดง

ขาว + คราม + เหลือง

28% 50

60

5% 70

80

10%

9% 90

100

สัดส่วนสีที่ปรากฎในงานออกแบบตกแต่ง

สี ส่วนประกอบที่แสดงออกถึงความเป็นไทย


๓๓

Furniture Lay-out Plan ผังเฟอร์นิเจอร์

๕ ดวงจิต รีสอร์ท


๓๔

Furniture Lay-out Plan Building 1 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 1

BUILDING 1 (อาคารที่ 1) แบบห้องพักเดี่ยว อาคารที่ 1 :

ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 1 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 2 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 3

แบบห้องพักเชื่อมต่อกัน อาคารที่ 1: ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 1 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 2 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 3


๓๕

Furniture Lay-out Plan Building 1 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 1 ระเบียงหลังห้อง

F-8 เก้าอี้ใช้ภายนอก F-7 โต๊ะกลางใช้ภายนอก F-5 ตู้วางทีวี

F-6 โต๊ะกลาง

F-4A ตั่ง+หมอนขวาน F-3A เตียงนอน

F-2A โต๊ะข้างเตียง+โต๊ะทางาน F-1 เก้าอี้เตี้ย

B-2 เคาน์เตอร์บาร์ B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง ผนังตกแต่ง ระเบียงหน้าห้อง

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเดี่ยว แบบที่ 1


๓๖

Furniture Lay-out Plan Building 1 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 1 ระเบียงหลังห้อง

ระเบียงหลังห้อง

F-8 เก้าอี้ใช้ภายนอก F-7 โต๊ะกลางใช้ภายนอก F-5 ตู้วางทีวี

F-5 ตู้วางทีวี

F-2B โต๊ะข้างเตียง

F-3B เตียงนอน

F-3A เตียงนอน

F-9 โต๊ะทางาน

F-1 เก้าอี้เตี้ย

F-2B โต๊ะข้างเตียง

F-6 โต๊ะกลาง

F-4B ตั่ง+หมอนขวาน

F-4 ตั่ง+หมอนขวาน

B-2 เคาน์เตอร์บาร์

B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง

ผนังตกแต่ง

ผนังตกแต่ง ระเบียงหน้าห้อง

ระเบียงหน้าห้อง

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเดี่ยว แบบที่ 2


๓๗

Furniture Lay-out Plan Building 1 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 1 ระเบียงหลังห้อง

ระเบียงหลังห้อง

F-8 เก้าอี้ใช้ภายนอก F-7 โต๊ะกลางใช้ภายนอก

F-4C ตั่ง+เบาะรองนั่ง

F-6 โต๊ะกลาง F-2B โต๊ะข้างเตียง F-3A เตียงนอน

F-5 ตู้วางทีวี

F-3B เตียงนอน F-1 เก้าอี้เตี้ย

F-9 โต๊ะทางาน

B-2 เคาน์เตอร์บาร์ B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง

ผนังตกแต่ง

ผนังตกแต่ง ระเบียงหน้าห้อง

ระเบียงหน้าห้อง

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเดี่ยว แบบที่ 3


๓๘

Furniture Lay-out Plan Building 1 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 1

BUILDING 1 (อาคารที่ 1) แบบห้องพักเดี่ยว อาคารที่ 1 :

ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 1 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 2 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 3

แบบห้องพักเชื่อมต่อกัน อาคารที่ 1: ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 1 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 2 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 3


๓๙

Furniture Lay-out Plan Building 1 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 1 ระเบียงหลังห้อง

F-8 เก้าอี้ใช้ภายนอก F-7 โต๊ะกลางใช้ภายนอก

F-5 ตู้วางทีวี

F-9 โต๊ะทางาน

F-6 โต๊ะกลาง

F-3B เตียงนอน

F-4A ตั่ง+ หมอนขวาน

F-2B โต๊ะข้างเตียง

F-3A เตียงนอน

F-5 ตู้วางทีวี F-4A ตั่ง+ หมอนขวาน

F-2A โต๊ะข้างเตียง+โต๊ะทางาน F-1 เก้าอี้เตี้ย

B-2 เคาน์เตอร์บาร์

B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง ผนังตกแต่ง ระเบียงหน้าห้อง

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเชื่อมต่อกัน แบบที่ 1


๔๐

Furniture Lay-out Plan Building 1 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 1 ระเบียงหลังห้อง

F-7 โต๊ะกลางใช้ภายนอก

F-8 เก้าอี้ใช้ภายนอก

F-12A โต๊ะข้างเหลีย่ ม

F-10 เก้าอี้มีพนักพิง

F-4B ตั่ง+เบาะรองนัง่

F-11 โต๊ะเครื่องแป้ง

F-13 โต๊ะกลาง

F-3A เตียงนอน

F-5 ตู้วางทีวี

F-9 โต๊ะทางาน

F-4C ตั่ง+เบาะรองนั่ง

F-1 เก้าอี้เตี้ย

F-12B โต๊ะข้างกลม

F-6 โต๊ะกลาง F-4A ตั่ง+ หมอนขวาน

B-4 เคาน์เตอร์ครัว B-3 โต๊ะเครื่องแป้ง+ตู้เสื้อผ้า

ผนังตกแต่ง ระเบียงหน้าห้อง

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเชื่อมต่อกัน แบบที่ 2


๔๑

Furniture Lay-out Plan Building 1 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 1 ระเบียงหลังห้อง

F-8 เก้าอี้ใช้ภายนอก F-7 โต๊ะกลางใช้ภายนอก F-5 ตู้วางทีวี

F-5 ตู้วางทีวี

F-3B เตียงนอน

F-10 เก้าอี้มีพนักพิง

F-2B โต๊ะข้างเตียง

F-3A เตียงนอน

F-9 โต๊ะทางาน

F-1 เก้าอี้เตี้ย

F-4A ตั่ง+ หมอนขวาน

F-6 โต๊ะกลาง

B-2 เคาน์เตอร์บาร์

B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง ผนังตกแต่ง ระเบียงหน้าห้อง

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเชื่อมต่อกัน แบบที่ 3


๔๒

Furniture Lay-out Plan Building 2 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 2

BUILDING 2 (อาคารที่ 2) แบบห้องพักเดี่ยว อาคารที่ 2 :

ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 1 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 2 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 3

แบบห้องพักเชื่อมต่อกัน อาคารที่ 2: ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 1 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 2 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 3


๔๓

Furniture Lay-out Plan Building 2 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 2

B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง

F-6 โต๊ะกลาง

F-1 เก้าอี้เตี้ย

F-2A โต๊ะข้างเตียง+โต๊ะทางาน

F-3A เตียงนอน F-4A ตั่ง+หมอนขวาน

F-5 ตู้วางทีวี

F-6 โต๊ะกลาง F-8 เก้าอี้ใช้ภายนอก F-7 โต๊ะกลางใช้ภายนอก ราวระเบียงด้านหน้า

ระเบียงหน้าห้อง

ราวระเบียงกันตก

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเดี่ยว แบบที่ 1


๔๔

Furniture Lay-out Plan Building 2 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 2

F-2B โต๊ะข้างเตียง

B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง

F-3A เตียงนอน

F-5 ตู้วางทีวี F-9 โต๊ะทางาน

F-1 เก้าอี้เตี้ย F-4C ตั่ง+เบาะรองนั่ง F-6 โต๊ะกลาง F-4A ตั่ง+หมอนขวาน ราวระเบียงด้านหน้า

ระเบียงหน้าห้อง

ราวระเบียงกันตก

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเดี่ยว แบบที่ 2


๔๕

Furniture Lay-out Plan Building 2 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 2

B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง

F-3A เตียงนอน

F-5 ตู้วางทีวี

F-2B โต๊ะข้างเตียง

F-9 โต๊ะทางาน F-1 เก้าอี้เตี้ย F-4C ตั่ง+เบาะรองนั่ง F-6 โต๊ะกลาง F-4A ตั่ง+หมอนขวาน ราวระเบียงด้านหน้า

ระเบียงหน้าห้อง

ราวระเบียงกันตก

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเดี่ยว แบบที่ 3


๔๖

Furniture Lay-out Plan Building 2 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 2

BUILDING 2 (อาคารที่ 2) แบบห้องพักเดี่ยว อาคารที่ 2 :

ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 1 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 2 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 3

แบบห้องพักเชื่อมต่อกัน อาคารที่ 2: ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 1 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 2 ผังเฟอร์นิเจอร์ แบบที่ 3


๔๗

Furniture Lay-out Plan Building 2 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 2

B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง

B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง

F-1 เก้าอี้เตี้ย F-3B เตียงนอน

F-2A โต๊ะข้างเตียง+โต๊ะทางาน

F-2B โต๊ะข้างเตียง

F-3A เตียงนอน F-4A ตั่ง+หมอนขวาน

F-9 โต๊ะทางาน F-4A ตั่ง+ หมอนขวาน

F-5 ตู้วางทีวี

F-8 เก้าอี้ใช้ภายนอก

F-6 โต๊ะกลาง

F-7 โต๊ะกลางใช้ภายนอก

ราวระเบียงด้านหน้า

ราวระเบียงด้านหน้า

ระเบียงหน้าห้อง

ราวระเบียงกันตก

ราวระเบียงกันตก

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเชื่อมต่อกัน แบบที่ 1


๔๘

Furniture Lay-out Plan Building 2 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 2

B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง

B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง

F-2B โต๊ะข้างเตียง F-3B เตียงนอน

F-5 ตู้วางทีวี

F-2B โต๊ะข้างเตียง

F-3A เตียงนอน F-1 เก้าอี้เตี้ย + F-9 โต๊ะทางาน

F-9 โต๊ะทางาน

F-6 โต๊ะกลาง

F-4A ตั่ง+ หมอนขวาน

F-4A ตั่ง+ หมอนขวาน

F-8 เก้าอี้ใช้ภายนอก

F-7 โต๊ะกลางใช้ภายนอก ราวระเบียงด้านหน้า

ราวระเบียงด้านหน้า

ระเบียงหน้าห้อง

ราวระเบียงกันตก

ราวระเบียงกันตก

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเชื่อมต่อกัน แบบที่ 2


๔๙

Furniture Lay-out Plan Building 2 : ผั ง เ ฟ อ ร์ นิ เ จ อ ร์ อ า ค า ร ที่ 2

B-1 ตู้เสื้อผ้าติดผนัง

F-5 ตู้วางทีวี

F-2B โต๊ะข้างเตียง

F-12B โต๊ะข้างกลม

F-1 เก้าอี้เตี้ย

F-4C ตั่ง+เบาะรองนั่ง

F-3A เตียงนอน

F-13 โต๊ะกลาง

F-9 โต๊ะทางาน

F-12A โต๊ะข้างเหลีย่ ม

F-6 โต๊ะกลาง

F-4B ตั่ง+เบาะรองนัง่

F-4A ตั่ง+ หมอนขวาน

F-8 เก้าอี้ใช้ภายนอก

F-7 โต๊ะกลางใช้ภายนอก ราวระเบียงด้านหน้า

ราวระเบียงด้านหน้า

ระเบียงหน้าห้อง

ราวระเบียงกันตก

ราวระเบียงกันตก

ผังเฟอร์นิเจอร์ห้องพักเชื่อมต่อกัน แบบที่ 3


Able Architects Co., Ltd 38/5 moo 5, bang-yai, t.vichit a.muang phuket 83000 Thailamd Tel. +66 076 248 135 Fax. +66 076 304 172 www.ablearchItects.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.