แผนแผ่นดินไหว นครปฐม 2556

Page 1

แผนปฏิบัติการฉุกเฉินแก้ไขปัญหาจากภัยแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม

ของจังหวัดนครปฐม ประจาปี พ.ศ. 2556

โดย กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม โทรศัพท์ /โทรสาร 0 3434 0230


คำนำ ภัยแผ่นดินไหวเป็นภัยที่ยังไม่สามารถคาดการณ์หรือพยากรณ์ได้แม่นยา นอกจากนั้ นยังเป็น ภัยธรรมชาติที่ไม่เลือกเวลาเกิดและสามารถส่งผลกระทบข้ามประเทศได้ทางทั้งทางตรงและทางอ้อม วิธีการ ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการเผชิญภัยแผ่นดินไหว ได้แก่การมีระบบจัดการที่มีประสิทธิภาพ ก่อนการเกิด ขณะเกิด และหลังการเกิดแผ่นดินไหว ซึ่ งมีความเกี่ยวข้องกับด้านวิศวกรรมที่ต้องคานึงถึง การเตรียม ความพร้อมเพื่อรับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉินจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม ให้มีประสิทธิภาพ นั้น ต้องมีระบบ บริหารจัดการที่ดี เนื่องจากต้อง ประสานกาลังจากหลายหน่วยงาน เช่น หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ทหาร ตารวจ อาสาสมัครและประชาชน ทั้งนี้ต้องสร้างความเข้าใจขั้นตอน และรายละเอียดของ เหตุการณ์นั้น เป็น อย่างดี สามารถสั่งการเพื่อขอใช้ทรัพยากรที่จาเป็นต่อการเข้าช่วยเหลือ สามารถ ประสานงานขอคว ามช่วย เหลือประสานกาลังจากหน่วยงานต่าง ๆ สามารถตัดสินใจที่จะดาเนินการอย่าง ฉับไวเพื่อลดผลกระทบของเหตุการณ์นั้นๆ แผนเผชิญเหตุ แผ่นดินไหวและอาคารถล่ม จังหวัดนครปฐม ได้จัดทาขึ้นเพื่อ ให้มี การ เตรียมพร้อมรับสถานการณ์และเฝ้ าระวัง ประสานความร่วมมือและเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานของ จังหวัดนครปฐมและหน่วยงานภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม ชัดเจน การ เตรียมการเผชิญเหตุแก้ไขปัญหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัย เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ ดาเนินการได้อย่าง ฉับพลันทันที สามารถเป็นแนวทางในก ารปฏิบัติการเมื่อเกิด สถานการณ์ตั้งแต่ก่อนเกิดภัย ระหว่างเกิดภัย และหลังเกิดภัย ป้องกันอันตราย และลดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินให้มากที่สุด

(นายวันชาติ วงษ์ชัยชนะ ) ผู้ว่าราชการจั งหวัดนครปฐม ผู้อานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารภัย จังหวัดนครปฐม


สารบัญ หน้า คานา สารบัญ 1. สถานการณ์ 1.1 สถานการณ์ทั่วไป 1.2 สถานการณ์เฉพาะ 2. ข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดนครปฐม ก.ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ข.ลักษณะทางการปกครอง ค.ประชากร ง.พื้นที่เศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่สาคัญของจังหวัดนครปฐม 3. นิยามศัพท์ 4. องค์กรปฏิบัติ 4.1 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม 4.2 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตพื้นที่ 4.3 ระดับในการจัดการภัย 5. แนวความคิดในการปฏิบัติการ (Concept of Operation) 5.1 เจตนารมณ์ของผู้อานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม 5.2 กลยุทธ์ 5.3 ขั้นตอนการปฏิบัติ 5.3.1 ขั้นเตรียมความพร้อม (preparedness) 5.3.2 ขั้นการเผชิญเหตุ (Response) 5.3.3 ขั้นการฟื้นฟูขั้นต้น (Relief) 6. การให้ความช่วยเหลือระยะกลาง /ระยะยาว 7. การติดตามและประเมินผล

1 1 2 4 4 5 6 6 6 7 7 7 8 9 9 9 9 9 20 26 26 27


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 1 ของ 27 หน้า กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม ศาลากลางจังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000

แผนปฏิบัติการฉุกเฉินแก้ไขปัญหาภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม ของจังหวัดนครปฐม ประจาปี พ.ศ. 2556 อ้างถึง : 1. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ .ศ. 2550 2. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553-2557 3. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวั ดนครปฐม พ.ศ. 2553 – 2557 4. แผนที่ประเทศไทย L 7018 1:50000 ระวางจังหวัดนครปฐม 5. “ผลกระทบต่อพื้นที่ราบลุ่มภาคกลางหากเกิดแผ่นดินไหว ” กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม .............................................................................................................................................. ................

1. สถานการณ์ 1.1 สถานการณ์ ทั่วไป การทับถมและสะสมตัวของตะกอนในที่ราบลุ่มภาคกลาง เกิดจากการกระท้าของแม่น้าทั้งหมดที่ ไหลลงสู่อ่าวไทย ประกอบด้วยแม่น้าสายส้าคัญ คือ แม่น้าเจ้าพระยาและแม่น้าปิง วัง ยม น่าน ซึ่งเป็นแม่น้า สาขาที่ไหลจากภูเขาสูงทางภาคเหนือของประเทศ โดยพัดพาตะกอนมาสะสมตัวในพื้นที่ตอนล่างที่เคยอยู่ใต้ ระดับน้​้าทะเลมาก่อน จนกลายเป็นพื้นที่ราบกว้างใหญ่โผล่เหนือระดับน้​้าทะเล นอกจากนั้น ยังเกิดจากการ กระท้า ของแม่น้าที่ไหลจากที่สูงทางด้านตะวันตกและตะวันออกที่ล้อมรอบที่ราบภาคกลางด้วย

แม่น้า

ทางด้านตะวันตกที่ส้าคัญได้แก่ แม่น้าแม่กลอง แม่น้าสะแกกรัง เป็นต้น โดยมีแนวเนินเขาและเขาโดดๆ ปรากฏให้เห็นเป็นหย่อมๆ ในเขตจังหวัดนครสวรรค์ แนวเนินเขาและเขาโดดๆ เหล่านี้ใช้เป็

นในการแบ่งที่

ราบลุ่มภาคกลางออกเป็น 2 บริเวณ คือ ที่ราบลุ่มภาคกลางตอนบน และที่ราบลุ่มภาคกลางตอนล่าง ที่ราบลุ่มภาคกลางตอนบน มีลักษณะภูมิประเทศ เป็นพื้นที่ลอนลาด มีความสูงโดยเฉลี่ยระหว่าง 40-60 เมตร จากระดับน้​้าทะเลปานกลาง ประกอบด้วยตะกอนที่เกิดจากการกร่

อนและผุพังของหินเดิม

หลังจากนั้นถูกพัดพามาสะสมตัว โดยทางน้​้าเกิดเป็นพื้นที่ราบน้​้าท่วมถึงตะพักลุ่มน้​้า และที่ลุ่มน้​้าขัง โดยทั่วไป ที่ราบลุ่มภาคกลางตอนล่าง ระดับความสูงของบริเวณนี้ต่้ากว่าที่ราบลุ่มภาคกลางตอนบน ตั้งแต่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลงมาจนถึงกรุงเทพมหานค

ร ซึ่งอยู่ห่างจากปากแม่น้าเจ้าพระยาประมาณ

21 กิโลเมตร มีระดับความสูงโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5 เมตร จากระดับน้​้าทะเลปานกลาง


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 2 ของ 27 หน้า การส้ารวจพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล โดยการแปลความหมายข้อมูลธรณีฟิสิกส์ทั้งทางอากาศ และพื้นดิน และเจาะส้ารวจเก็บตัวอย่างตะกอนทั้งระดับตื้ นและระดับลึก พบว่าชั้นตะกอนแบ่งได้เป็น 2 ชั้น ชั้นบนเป็นชั้นดินอ่อน มีความหนาตั้งแต่5-25 เมตร ส่วนชั้นล่างเป็นชั้นตะกอนแข็ง มีความหนาเฉลี1,000 ่ย เมตร ธรณีวิทยาโครงสร้างพบว่า แนวรอยเลื่อนพาดผ่านฝั่งทิศตะวันตกของที่ราบลุ่มภาคกลางใกล้แนว ล้าน้​้าแม่กลอง นอกจ ากนี้รอยเลื่อนองครักษ์ที่ต่อเนื่องจากรอยเลื่อนแม่ปิงในจังหวัดตากพาดผ่านมาด้าน ตะวันออกของแอ่งเจ้าพระยาบริเวณจังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี และรอยเลื่อนที่จีนวางตัวแนวเหนือ พาดผ่านตั้งแต่จังหวัดชัยนาท สุพรรณบุรี ถึงสมุทรสาคร

ใต้


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 3 ของ 27 หน้า

1.2 สถานการณ์เฉพาะ จังหวัดนครปฐมตั้งอยู่บริเวณ พื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง มีโบราณสถานส้าคัญทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ องค์พระปฐมเจดีย์ ซึ่งเป็นพระเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ส้าคัญทางเศรษฐกิจ รวมถึงอาคารสูงและ

มีแหล่งท่องเที่ยว เขตอุตสาหกรรมที่

สิ่งก่อสร้างเป็นจ้านวนมาก ซึ่งสิ่ง ก่อสร้าง ส่วนใหญ่ ไม่ได้ถูก

ออกแบบมาเพื่อต้านทานแผ่นดินไหว หากเกิดแผ่นดินไหว บ้านเรือนและอาคารเตี้ยบริเวณใกล้ศูนย์เกิด แผ่นดินไหวจะได้รับความเสียหายมากที่สุด จากการส้ารวจรอยเลื่อนมีพลัง “รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ” ใน จังหวัดกาญจนบุรี พบว่า การเลื่อนตัวของรอยเลื่อนนี้อาจท้าให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดสูงสุดได้ถึง 6.9 ริกเตอร์ ซึ่งสามารถสร้างความเสียหายใหญ่หลวงต่อพื้นที่ราบลุ่มภาคกลาง รวม 147 อ้าเภอ ใน 20 จังหวัด ซึ่งรวมถึง จังหวัดนครปฐม ด้วย เนื่องจากคลื่นแผ่นดินไหวส่วนใหญ่เป็นคลื่นความถี่สูง ส่วนบริเวณที่ราบภาคกลาง โดยเฉพาะอาคารสูง จะได้รับความเสียหายมากที่สุด เนื่องจากคลื่นแผ่นดินไหวส่วนใหญ่เป็นคลื่นความถี่ต่้า ยิ่งไปกว่านั้น อาคารสูงที่มีความความถี่ธรรมชาติตรงกับความถี่ของคลื่นแผ่นดินไหว จะเกิดการสั่นไหวอย่าง รุนแรงเนื่องจากชั้นดินอ่อนของที่ราบภาคกลางจะขยายความรุนแรงขึ้นอีก 3 ถึง 4 เท่าตัวจากระดับปรกติ


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 4 ของ 27 หน้า

2. ข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดนครปฐม ก. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ จังหวัดนครปฐม ตั้งอยู่ภาคกลางด้านตะวันตก อยู่เหนือระดับน้​้าทะเลปานกลาง 4-7 เมตร มีเนื้อที่ ประมาณ 2,168,327 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 1,355 ,204 ไร่ ห่างจากกรุงเทพมหานครไปทาง ถนนเพชรเกษม 56 กิโลเมตร หรือตามเส้นทางถนนบรมราชชนนี (ถนนปิ่นเกล้า- นครชัยศรี ) 51 กิโลเมตร และไปตามทางรถไฟ 62 กิโลเมตร มีลักษณะสภาพพื้นที่เป็นพื้นที่ราบถึงค่อนข้างราบเรียบ ไม่มีภูเขาและ ป่าไม้ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง คือ ทิศเหนือ ติดต่อกับ อ้าเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรีและอ้าเภอลาดบัวหลวง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ ติดต่อกับ อ้าเภอกระทุ่มแบน อ้าเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร และอ้าเภอด้าเนิน สะดวก จังหวัดราชบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ้าเภอบ้านโป่ง อ้าเภอโพ ธาราม จังหวัดราชบุรี และอ้าเภอท่ามะกา อ้าเภอ พนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ้าเภอไทรน้อย อ้าเภอบางใหญ่ อ้าเภอบ างกรวย จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร อ้าเภอบางใหญ่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 5 ของ 27 หน้า ข. ลักษณะทางการปกครอง จังหวัดนครปฐม แบ่งตามเขตลักษณะการปกครองท้องที่ จ้านวน 7 อ้าเภอ แบ่งเป็นต้าบล จ้านวน 106 ต้าบล แบ่งเป็นหมู่บ้าน จ้านวน 930 หมู่บ้าน ดังนี้ อาเภอ

หมู่บ้าน

เทศบาล นคร

เทศบาล เมือง

เทศบาล ตาบล

(แห่ง)

(แห่ง)

(แห่ง)

อบต. (แห่ง)

เมืองนครปฐม

25

214

1

1

5

21

ก้าแพงแสน

15

204

-

-

1

15

ดอนตูม

8

69

-

-

1

6

นครชัยศรี

24

108

-

-

3

22

บางเลน

15

180

-

-

4

15

สามพราน

16

137

-

3

2

12

พุทธมณฑล

3

18

-

-

2

2

106

930

1

4

18

93

รวม

-

ตาบล

การปกครองท้องถิ่น มีหน่วยการปกครอง รวม 117 แห่ง ดังนี้

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

1

แห่ง

เทศบาลนคร

1

แห่ง

เทศบาลเมือง

4

แห่ง

เทศบาลต้าบล

18

แห่ง

องค์การบริหารส่วนต้าบล

93

แห่ง

รวม

117

แห่ง


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 6 ของ 27 หน้า ค. ประชากร (จานวนแยกตามเพศ จานวนครัวเรือน) จังหวัดนครปฐม มีจ้านวนครัวเรือน รวมทั้งสิ้น มีประชากรรวมทั้งสิ้น จ้านวน เป็นเพศชาย จ้านวน เป็นเพศหญิง จ้านวน

304,313 843,599 406,431 437,168

ครัวเรือน คน คน คน

ประชาชนร้อยละ 23.43 ของจังหวัดนครปฐม ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีพื้นที่เกษตรกรรม ทั้งสิ้น 760,337.75 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 56.1 ของพื้นที่ทั้งหมด ทั้งนี้ เนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมกับ มีระบบ ชลประทานที่ดี โดยอาศัยแหล่งน้​้าจากลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา ท่าจีน และแม่กลอง ประกอบกับเกษตรกรจังหวัด นครปฐมมีศักยภาพสูงสามารถเรียนรู้วิทยาการแบบใหม่ ๆ และมีการใช้เทคโนโลยีในภาคการเกษตรที่พัฒนา มากขึ้นระดับหนึ่ง พืชเศรษฐกิจที่ท้ารายได้ใ ห้จังหวัด ได้แก่ ข้าว อ้อย ไม้ผล พืชผักต่าง ๆ และไม้ดอกไม้ ประดับ การเกษตรกรรมของจังหวัดนครปฐม

มีความเป็นไปได้สูงต่อการวางแผนจัดระบบการผลิต

เพื่อเชื่อมโยงการส่งออก เฉลี่ยรายได้ประชากรต่อหัว/ต่อปี 140,883 บาท ง. พื้นที่เศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่สาคัญของจังหวัดนครปฐม 1) ตลาดบางหลวงร.ศ. 122 อ.บางเลน

6) วัดไร่ขิง อ.สามพราน

2)ตลาดน้​้าล้าพญา อ.บางเลน

7) ตลาดริมน้​้าวัดดอนหวาย อ.สามพราน

3)พระปฐมเจดีย์ อ.เมืองนครปฐม

8) เขตอุตสาหกรรมอ้อมใหญ่ อ.สามพราน

4)พระราชวังสนามจันทร์

9) พุทธมณฑล

5) ตลาดท่านา อ.นครชัยศรี

3. นิยามศัพท์ -แผ่นดินไหว คือ การสั่นสะเทือนของพื้นดิน อันมีสาเหตุหลักมาจากการขยับเคลื่อนตัวของเปลือก โลก การสั่นสะเทือนนี้อาจมีระดับความรุนแรงขั้นต่้าที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายใดๆ แต่บางครั้งก็อาจมีระดับ ความรุนแรงในขั้นที่เป็นอันตรายจนก่อให้เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวงได้ -อาคารถล่ม คือ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ได้แก่ ตึก บ้าน โรง เรือน ร้าน แพ คลังสินค้า ส้านักงาน ที่ ได้รับความเสียหายจากการโยกไหวตัวรุนแรง ซึ่งเป็นผลมาจากแผ่นดินไหวและอาจท้าให้เกิดความเสียหาย หรือพังทลายลงมาได้


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 7 ของ 27 หน้า -การป้องกัน (Prevention) หมายถึง มาตรการและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ก้าหนดขึ้นล่วงหน้า ทั้งทางด้าน โครงสร้าง (Structural Approach) และที่มิใช่ด้านโครงสร้าง (Non Structural) เพื่อลดหรือควบคุมผลกระทบ ในทางลบจากสาธารณภัย -การลดผลกระทบ (Mitigation) หมายถึง กิจกรรมหรือวิธีการต่าง ๆ เพื่อ หลีกเลี่ยงและลดผลกระทบ จากสาธารณภัย และยังหมายถึงการลดและป้องกันมิให้เกิดเหตุหรือลดโอกาสที่อาจก่อให้เกิดสาธารณภัย -การเตรียมความพร้อม (Preparedness) หมายถึง มาตรการและกิจกรรมที่ด้าเนินการล่วงหน้าก่อน เกิดสาธารณภัย เพื่อเตรียมพร้อมการจัดการในสถานการณ์ฉุกเฉิน

ให้สามารถ รับมือกับผลกระทบจาก

สาธารณภัยได้อย่างทันการณ์ และมีประสิทธิภาพ -

การจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management) หมายถึง การจัดตั้งองค์กรและการ

บริหารจัดการด้านต่าง ๆ เพื่อรับผิดชอบในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินทุกรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ เตรียมความพร้อมรับมือและการฟื้นฟูบูรณะ -กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพื้นที่ หมายถึง กองอ้านวยการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด กองอ้านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอ้าเภอ กองอ้านวยการ กอง อ้านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล กองอ้านวยการป้องกันและบร รเทาสาธารณภัยองค์การ บริหารส่วนต้าบล -ผู้อานวยการในเขตพื้นที่ หมายถึง ผู้อ้านวยการจังหวัด รองผู้อ้านวยการจังหวัด ผู้อ้านวยการ อ้าเภอ ผู้อ้านวยการท้องถิ่น ผู้ช่วยผู้อ้านวยการท้องถิ่น

4. องค์กรปฏิบัติ 4.1 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม เป็นองค์กรปฏิบัติหลักที่รับผิดชอบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพื้นที่จังหวัด นครปฐม รับผิดชอบการอ้านวยการ ควบคุม ก้ากับ ดูแล สั่งการ แ ละด้าเนินการต่างๆ ในการป้องกัน และ บรรเทาสาธารณภัยทุกขั้นตอน 4.2 กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตพื้นที่ -กองอ้านวยการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอ้าเภอ มีนายอ้าเภอ เป็นผู้อ้านวยการอ้าเภอ รับผิดชอบและปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตอ้าเภอของตนและมีหน้าที่ เหตุภัย สาธารณภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่

เผชิญ


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 8 ของ 27 หน้า -กองอ้านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล มีนายกเทศมนต

รีเป็นผู้อ้านวยการ

ท้องถิ่น มีหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตเทศบาลของตน และมีหน้าที่ สนับสนุน ผู้อ้านวยการ อ้าเภอตามที่ได้รับมอบหมาย -กองอ้านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์การบริหารส่วนต้าบล มีนายกองค์การบริหาร ส่วนต้าบลเป็นผู้อ้านวยการท้องถิ่น มีหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตองค์การบริหาร ส่ว นต้าบล ของตน และมีหน้าที่สนับสนุนผู้อ้านวยการอ้าเภอตามที่ได้รับมอบหมาย 4.3 ระดับในการจัดการ ภัย ระดับความรุนแรงของสาธารณภัยตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ

.ศ.

2553 - 2557 แบ่งเป็น 4 ระดับ โดยมีผู้รับผิดชอบตามระดับความรุนแรง ดังนี้ ระดับในการ ลักษณะภัยและความรุนแรง จัดการ ภัยพิบัติ

1

2

การจัดการสาธารณภัย

สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือ ผู้อ้านวยการท้องถิ่น ผู้อ้านวยการอ้าเภอ สามารถควบคุม มีขนาดเล็ก

สถานการณ์และจัดการระงับภัยได้โดยล้าพัง

สาธารณภัยขนาดกลาง

ผู้อ้านวยการท้องถิ่น ผู้อ้านวยการอ้าเภอ ไม่สามารถควบคุม สถานการณ์ได้ ผู้อ้านวยการจังหวัด เข้าควบคุมสถานการณ์

3

สาธารณภัยขนาดใหญ่ที่มี

ผู้อ้านวยการจังหวัด ไม่

สามารถควบคุมสถ านการณ์ได้

ผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง

ผู้อ้านวย การกลาง และ /หรือผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทา

หรือสาธารณภัยที่จ้าเป็น ต้อง สาธารณภัยแห่งชาติ เข้าควบคุมสถานการณ์ อาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์ พิเศษ 4

สาธารณภัยขนาดใหญ่ที่มี

นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย

ผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่ง

ควบคุมสถานการณ์


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 9 ของ 27 หน้า

5. แนวความคิดในการปฏิบัติการ (Concept of Operation) 5.1. เจตนารมณ์ของ ผู้อานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม ก) การปฏิบัติงานต้องค้านึงถึงความปลอดภัย ทั้งของผู้ประสบภัยและเจ้าหน้าที่ เป็นล้าดับแรก ข) การปฏิบัติงานมุ่งหวังให้ลดขั้นตอนในการประสานงานระหว่างหน่วยงาน เพื่อ ให้การควบคุม สถานการณ์เป็นไปอย่างรวดเร็ว ค) การปฏิบัติงานต้องใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด 5.2 กลยุทธ์ ก) การปฏิบัติงานของทุกหน่วยที่เข้าร่วม ต้องปฏิบัติภายใต้การบังคับบัญชา ของผู้อ้านวยการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม และหัวหน้า หน่วยงาน ตามล้า ดับชั้น ที่ก้าหนดในโครงสร้าง องค์กรปฏิบัติจังหวัดนครปฐม ข) ต้องมีการก้าหนดวัตถุประสงค์ในการปฏิบัติงาน และรับมอบหมายภารกิจ ก่อนเข้าพื้นที่ ปฏิบัติงานทุกครั้ง ค) ต้องให้ความส้าคัญกับการสื่อสารทั้งภายใน และระหว่างหน่วยงานที่เข้าร่วม ปฏิบัติงาน ตลอดเวลา 5.3 ขั้นตอนการปฏิบัติ 5.3.1 ขั้นเตรียมความพร้อม (Preparedness) ก. การเตรียมความพร้อมด้านฐานข้อมูล  ทรัพยากร ประกอบด้วย ทรัพยากรคน,เครือ่ งจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์  โครงสร้างกองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม ระดับการ จัดการ

โครงสร้าง

ภารกิจ

ภาวะปกติ

กอ.ปภ.จ.นฐ

เฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์ เตรียมความพร้อม

1

ศอฉ.ปภ.จ.นฐ

ประสาน สนับสนุน อ้าเภอและท้องถิ่น

2

ศอฉ.ปภ.จ.นฐ

ควบคุม สั่งการ ก้าหนดแนวทางการเผชิญเหตุ

3

ศ.บช.สน.

น้าแนวทาง วัตถุประสงค์ การจัดการเหตุการณ์จาก บก .ปภ.ช.มา

4

ศ.บช.สน.


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 10 ของ 27 หน้า กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด (กอ.ปภ.จ.นฐ.)

ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกั นและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด (ศอฉ.ปภ.จ.นฐ.)

หลักการของระบบบัญชาการเหตุการณ์ สามารถเพิ่มเติมโครงสร้างได้ตามภารกิจและควา มจ้าเป็น


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 11 ของ 27 หน้า

ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้าจังหวัด (ศ.บช.สน.จ.นฐ.)

หลักการของระบบบัญชาการเหตุการณ์ สามารถเพิ่มเติมโครงสร้างได้ตามภารกิจและความจ้าเป็น


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 12 ของ 27 หน้า  พื้นที่เสี่ยงภัย

แผนที่การประเมินความเสี่ยงของอาคารสูงในพื้นที่ ราบลุ่มภาคกลางกรณีเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ระยะใกล้ ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การประเมินความเสียหายของ จังหวัดนครปฐมหากเกิดแผ่นดินไหวระยะใกล้ โซน จังหวัด อาเภอ อาคารสูง 6-9 ชั้น

ก้าแพงแสน

สีฟ้า อาคารสูง 10-12 ชั้น สีเหลือง

ก้าแพงแสน บางเลน ดอนตูม นครปฐม

สามพราน เมืองนครปฐม นครชัยศรี พุทธมณฑล

อาคารสูง 13-30 ชั้น สีแดง

ก้าแพงแสน บางเลน


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 13 ของ 27 หน้า

แผนที่การประเมินความเสียหายของพื้นที่ราบลุ่มภาคกลางหากเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.9 ริกเตอร์ จากการเคลื่อนตัวของรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 14 ของ 27 หน้า พื้นที่จังหวัดนครปฐมที่ได้รับความเสียหายหากเกิดแผ่นดินไหว 6.9 ริกเตอร์ จากการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ โซน จังหวัด อาเภอ/เขต A

นครปฐม

บางเลน ดอนตูม ก้าแพงแสน เมืองนครปฐม

นครปฐม

บางเลน นครชัยศรี ดอนตูม ก้าแพงแสน

สีแดง B สีเหลือง

เมืองนครปฐม พุทธมณฑล สามพราน

C

-

-

-

-

สีเขียว D สีฟ้า ข้อมูลอาคารสูง (ตั้งแต่ 23 ม.ขึ้นไป) ลาดับ ที่ 1 2

เจ้าของอาคาร

ชื่ออาคาร

บ.น้​้ามันพืชไทย จก . บ.น้​้ามันพืชไทย จก

ที่อยู่

ลักษณะอาคารพื้นที่ ความสูง/จานวนชัน้

. หมู่ 1 ต.ขุนแก้ว อ.นครชัยศรี

(มหาชน)

(มหาชน)

จ.นครปฐม

นายสมภพ ตรีศริพิศาล

สมภพพลาซ่า

หมู่ 8 ต.อ้อมใหญ่ อ.สามพราน

3,007,71 ตร.ม.

จ.นครปฐม 3

นายนิเวศน์ องศ์วุฒิธรรม

นทีอพาร์ตเม้นท์

หมู่ 1 ต.อ้อมใหญ่ อ.สามพราน

12,341 ตร.ม.

จ.นครปฐม 4

บ. เจบีเอฟ จก.

หอพัก

หมู่ 11 ต.ก้าแพงแสน

สูง 34.50 ม.

อ.ก้าแพงแสน จ.นครปฐม 5

บ. ไทยแอลกอฮอล์

อาคารหอกลั่นอะซิติก

จก. (มหาชน) 6

บ. ไทยแอลกอฮอล์

2 ถ.สุชาติพัฒนา ต.บางไทรป่า

6 ชั้น

อ.บางเลน จ.นครปฐม อาคารหอกลั่น (Prad)

7 ชั้น

อาคารหอกลั่น

6 ชั้น

จก. (มหาชน) 7

บ. ไทยแอลกอฮอล์ จก. (มหาชน)


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 15 ของ 27 หน้า ลาดับ เจ้าของอาคาร ชื่ออาคาร ที่ 8 เดอะรอยัลเจมส์ลอร์จ เดอะรอยัลเจมส์ลอร์จ

9

2000

2000

เดอะรอยัลเจมส์

เดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ

กอล์ฟ แอนด์ สปอร์ต

แอนด์ สปอร์ตคลับ

ที่อยู่

ลักษณะอาคารพื้นที่ ความสูง/จานวนชั้น

หมู่ 3 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล

10 ชั้น

จ.นครปฐม

9,9996.88 ตร.ม. 8 ชั้น 9,500.5 ตร.ม.

คลับ 10

เดอะรอยัลเจมส์

เดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ

กอล์ฟ คอนโด

คอนโด

8 ชั้น 8,500.5 ตร.ม.

แหล่งที่มา : ส้านักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดนครปฐม  การสื่อสาร ให้จัดระบบสื่อสารหลัก ระบบสื่อสารรอง และระบบสื่อสาร อื่นๆ ที่จ้าเป็นให้ใช้งานได้ ตลอด 24 ชั่วโมง ให้สามารถเชื่อมโยงระบบสื่อสารดังกล่าวกับหน่วยงานอื่นได้ปกติ โดยเร็ว ทั่วถึงทุก พื้นที่ 1) ใช้โครงข่ายสื่อสารทางโทรศัพท์ โทรสาร และวิทยุสื่อสารเป็นหลัก หน่วยงานหลักที่วางระบบสื่อสารในภาวะฉุกเฉิน ได้แก่ ส้านักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม โทรศัพท์หมายเลข 0-3434-0230, 0-3434-0241 โทรสารหมายเลข 0-3434-0230, 0-3434-0241 2) หน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ ผู้จัดการส่วนบริการลูกค้าจังหวัด บมจ.ทีโอที โทรศัพท์หมายเลข 0-3425-1070 โทรสารหมายเลข 0-3425-4185 3) คลื่นวิทยุสื่อสารในภาวะฉุกเฉิน ความถี่หลัก 161.475 MHz นามเรียกขาน ปภ.นครปฐม ความถี่รอง 166.475 MHz นามเรียกขาน ปภ.นครปฐม ความถี่ส้ารอง 1 142.425 MHz นามเรียกขาน ปภ.นครปฐม ความถี่ส้ารอง 2 147425 MHz นามเรียกขาน ปภ.นครปฐม


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 16 ของ 27 หน้า แผนผังการใช้คลื่นความถี่กลางกรณีเกิดสาธารณภัยความรุนแรงระดับ 1 (ขนาดภัยเล็ก ) สาธารณภัยขนาดเล็ก : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล / อบต./ ) สามารถควบคุมสถานการณ์ ระงับ ภัยได้โดยล้าพังตามขีดความสามารถไม่ต้องการก้าลังสนับสนุนจากภายนอก ผู้อ้านวยการ ท้องถิ่น/ ผู้อ้านวยการอ้าเภอเป็นผู้ควบคุมสถานการณ์ /บัญชาการเหตุการณ์

เรียกขาน/แจ้ง เหตุ ประชาชน

๒๔๕.๕๐๐ Mhz.

กอ.ปภ.อ้าเภอ

เรียกขาน/แจ้ง เหตุ

(๗ แห่ง) นายอ้าเภอ

๑๔๕.๕๐๐ Mhz.

หลัก : 161 .475 Mhz. รอง : 166.475 Mhz. หลัก : 161 .475 Mhz. รอง : 166.475 Mhz. นายกเทศมนตรี เทศบาล (23 แห่ง)

วิทยุสมัครเล่น

หลัก : 161 .475 Mhz. รอง : 166.475 Mhz. อาสาสมัคร/มูลนิธิ หลัก : 161.475 Mhz. รอง : 166.475 Mhz.

นายก อบต. อบต. ( 93 แห่ง)

พื้นที่ประสบ

พื้นที่ประสบ

ภัย

ภัย

เส้นทางการสื่อสาร เส้นทางการบังคับบัญชา


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 17 ของ 27 หน้า แผนผังการใช้คลื่นความถี่กลางกรณีเกิดสาธารณภัยความรุนแรงระดับ 2 (สาธารณภัย ขนาดกลาง) สาธารณภัยขนาดกลาง : เกินขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (เทศบาล/อบต.) อ้าเภอ (นายอ้าเภอ) ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์และบริหารจัดการระงับภัยได้โดยล้าพัง ผู้อ้านวยการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด ) เข้าควบคุมสถานการณ์ /บัญชาเหตุการณ์ เรียกขาน/แจ้ง เหตุ ประชาชน

ศูนย์บัญชาการณ์ส่วนหน้าจังหวัด

๒๔๕.๕๐๐ Mhz.

กอ.ปภ.จังหวัดนครปฐม

เรียกขาน/แจ้ง เหตุ

ผู้ว่าราชการจังหวัด

๑๔๕.๕๐๐ Mhz.

หลัก : 161 .475 Mhz. รอง : 166.475 Mhz.

วิทยุสมัครเล่น

หลัก : 161 .475 Mhz. รอง : 166.475 Mhz. อาสาสมัคร/มูลนิธิ

กอ.ปภ.อ้าเภอ นายอ้าเภอ หลัก : 161 .475 Mhz. รอง : 166.475 Mhz. หลัก : 166 .475 Mhz. รอง : 166.475 Mhz.

หลัก : 161 .475 Mhz. รอง : 166.475 Mhz.

เทศบาล

อบต.

พื้นที่ประสบ พื้นที่ประสบ

ภัย

ภัย

เส้นทางการสื่อสาร เส้นทางการบังคับบัญชา


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 18 ของ 27 หน้า ข. การเตรียมความพร้อมของชุมชน  การแจ้งเหตุ ตรวจสอบข้อมูลและรายงานสถานการณภัยไปยังศูนย์อ้านวยการเฉพาะกิจป้องกัน และ แก้ไขปัญหาแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม

จังหวัด นครปฐมทาง โทรศัพท์หมายเลข 0-3434- 0230 ,

0-3434-0233 โทรสารหมายเลข 0-3434- 0230, 0-3434- 0241 วิทยุสื่อสาร ความถี่หลัก 161.475 MHz นามเรียกขาน ปภ.นครปฐม ความถี่รอง 166.475 MHz นามเรียกขาน ปภ.นครปฐ ม ความถี่ส้ารองหนึ่ง 142.425 MHz นามเรียกขาน ปภ.นครปฐม ความถี่ส้ารองสอง 147.425 MHz นามเรียกขาน ปภ.นครปฐ ม พร้อมรายงานผู้อ้านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดทราบทันที  พื้นที่ปลอดภัย จังหวัดนครปฐมได้ก้าหนดพื้นที่ปลอดภัย โดยเบื้องต้นให้อ้าเภอเป็นผู้ก้าหนด จุดอพยพผู้ประสบภัย ส่วนพื้นที่ปลอดภัยระดับจังหวัดก้าหนดไว้ 7 แห่ง ได้แก่

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ที่พักพิงชั่วคราว มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม มหาวิทยาลัยศิลปากร พระปฐมเจดีย์ วัดอ้อน้อย อ.กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขต กาแพงแสน โรงเรียนการบินกาแพงแสน ค่ายลูกเสือกาแพงแสน รวม

รองรับผู้อพยพได้ (คน) 1,000 400 10,000 1,000 3,000

รองรับการจอดรถได้ (คัน) 800 100 800 500 3,000

1,000 200

500 3,000

16,600

8,700


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 19 ของ 27 หน้า


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 20 ของ 27 หน้า  สีสัญลักษณ์ ท้าความเข้าใจ ซักซ้อมแนวทาง เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกับ ในทุกอ้าเภอ ต้าบล หมู่บ้าน ในการใช้สีสัญลักษณ์ ดังนี้ ก) สีเขียว ข) สีเหลือง

หมายถึงสถานการณ์อยู่ในภาวะปกติ หมายถึง สถานการณ์อยู่ในระดับเตรียมความพร้อม ให้ติดต าม

สถานการณ์จากส่วนราชการ อาสาสมัคร สื่อมวลชนทั้งส่วนกลางและในพื้นที่ อย่างใกล้ชิด ให้เตรียม ความพร้อม ด้านอาหาร ยารักษาโรค และอพยพได้ทันทีเมื่อสั่ง ค) สีส้ม

หมายถึง การสั่งการอพยพ ให้เดินทางออกจากพื้นที่ทันที โดยใช้

เส้นทางที่ได้ก้าหนด ซัก ซ้อม ของแต่ละต้าบล หมู่บ้าน ไปยังศูนย์พักพิงชั่วคราว ที่ทางราชการจัดไว้ ที่ใกล้ ที่สุด ง) สีแดง

หมายถึง สถานการณ์อยู่ในระดับอันตราย ห้ามเข้าไปในพื้นที่ ที่มี

จ) สีขาว

หมายถึง ต้องการความช่วยเหลือ มีผู้ต้องการการดูแลพิเศษ

สัญลักษณ์สีแดง

5.3.2 ขั้นการเผชิญเหตุ (Response)  การเข้าควบคุมสถานการณ์ ระยะ 24 ชั่วโมงแรก ให้ปฏิบัติ ดังนี้ ก) การก้าหนดเขตและกันเขตพื้นที่ประสบภัย 1) ให้ผู้อ้านวยกา ร ปภ .เขตพื้นที่ ทุกระดับ ใช้อ้าน าจตาม พรบ .ปภ.พ.ศ.2550 ก้าหนดเขตอันตราย และปิดกั้นพื้นที่ ห้ามไม่ให้ผู้ไม่มีหน้าที่และความรับผิดชอบ เข้าพื้นที่ประสบภัย ทั้งนี้ให้ ค้านึงถึงความปลอดภัยในชีวิตเป็นความส้าคัญอันดับสูงสุด 2) ให้ผู้อ้านวยการ ปภ .เขตพื้นที่ ทุกระดับ สถาปนาระบบ การสื่อสารฉุกเฉิน ให้ สามารถ ติดต่อสื่อสาร เพื่อประสานข้อมูล โดยเฉพาะการประเมินความเสียหาย และความต้ องการ สนับสนุน ทรัพยากรเพื่อการกู้ภัย เป็นล้าดับแรก 3) ให้ ผู้อ้านวยการ ปภ.จังหวัด ประกาศเขตพื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ให้ ครอบคลุมพื้นที่ประสบภัย เพื่อให้ส่วนราชการามารถระดมสรรพก้าลัง ทรัพยากร และงบประมาณฉุกเฉิน เข้า ช่วยเหลือผู้ประสบภัย


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 21 ของ 27 หน้า ข) การกู้ชีพ และกู้ภัย 1) ให้หน่วยงานในทุกระดับ จัดก้าลังเจ้าหน้าที่เข้าให้การช่วยเหลือด้านการกู้ชีพ และการกู้ภัยแก่ผู้ประสบภัยในพื้นที่รับผิดชอบทันที โดยให้รายงานตัวเพื่อรับมอบภารกิจจาก ผู้อ้านวยการ ปภ.เขตพื้นที่ ก่อนเข้าปฏิบัติงานทุกครั้ง เพื่อป้องกันความซ้​้าซ้อนในการปฏิบัติงาน 2) ให้ผู้อ้านวยการ ปภ.เขตพื้นที่ พิจารณาสนธิก้าลังจากหน่วยงานต่างๆ ที่มีความ สามารถ ศักยภาพ และทรัพยากรการกู้ภัย เช่น รถไฟฟ้าส่องสว่าง รถยก รถแทรกเตอร์ รถตัก เครื่องมือตัด รถกู้ภัยขนาดใหญ่ ฯลฯ เข้าด้าเนินการค้นหา กู้ภัยและเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย ออกจา กพื้นที่เกิดเหตุ ไปยัง สถานที่ปลอดภัย 3) ให้ผู้อ้านวยการ ปภ .เขตพื้นที่ พิจารณา สนธิก้าลัง จากหน่วยงานต่างๆ โดยเฉพาะหน่วยทหารในพื้นที่ เพื่อจัดระบบการกู้ชีพ ตามแผนปฏิบัติการ ด้านการกู้ชีพ ของหน่วยงาน ด้าน การแพทย์และการ สาธารณสุข และจัดระบบการกู้ภัย ตามแผนเข้าปฏิบัติการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย โดยเร็ว 4) พิจารณาด้าเนินการ อพยพประชาชน ปศุ สัตว์ สัตว์เลี้ยง ไปยังพื้นที่ปลอดภัย ตาม ล้าดับความจ้าเป็นของสถานการณ์ภัย 5) กรณีพื้นที่ใดเป็นพื้นที่วิกฤต ไม่สามารถเข้าพื้นที่โดยทางรถยนต์ หรือทางเรือได้ ให้ประสานขอรับการสนั บสนุนเฮลิ คอปเตอร์จากหน่วยทหาร หรือต้ารวจ ในพื้นที่ หรือพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างเร่งด่วน ทั้งนี้ต้อง ได้รับความเห็นชอบจากผู้อ้านวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย จังหวัดนครปฐม ก่อนทุกครั้ง ระยะ 24 – 48 ชั่วโมง ให้ปฏิบัติ ดังนี้ ก) การประเมินความต้องการ และความจ้าเป็นเบื้องต้นของผู้ประสบภัย 1) ให้ผู้อ้านวยการ ปภ .เขตพื้นที่ ทุกระดับ จัดเจ้าหน้าที่ท้าการประเมินความ เสียหาย ความต้องการ และทรัพยากรที่จ้าเป็นต่อการเผชิญเหตุของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และการให้ ความ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย 2) ให้รายงานข้อมูล การประเมินความ เสียหาย ความต้องการ และทรัพยากร ที่ จ้าเป็นต่อการเผชิญเหตุ ไปยัง ศูนย์อ้านวยการเฉพาะกิจฯ จังหวัด เพื่อประสาน สนับสนุนทรัพยากร ไปยัง หน่วยงาน ในการขอรับการสนับสนุนทรัพยากร ให้ระบุ ประเภท ชนิด ขนาด จ้านวน ให้ชัดเจน และในการ สนับสนุนทรัพยากร ให้หน่วยงานจัดส่งทรัพยากร แจ้งระยะเวลาการจัดส่งให้หน่วยงานรับทรัพยากรทราบ เพื่อเตรียมการใช้ทรัพยากรได้ทันที่ เมื่อไปถึงที่หมาย ข) การจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว และพื้นที่ปลอดภัย 1) ให้ที่ท้าการปกครองจังหวัดนครปฐม ประสานการจัดสถานที่ “ศูนย์พักพิง ชั่วคราว” แก่ผู้ประสบภัย ตามจุดศูนย์พักพิงชั่วคราวที่ก้าหนดอย่าง เร่ งด่วนเป็นล้าดับแรก โดยจัดระเบียบ สถานที่พร้อมทั้งลงทะเบียน ก่อนเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยเข้าสู่ศูนย์พักพิงชั่วคราว


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 22 ของ 27 หน้า 2) ให้พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครปฐม จัดเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบ 1 คน เป็น “ผู้จัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว” เพื่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และด้าเนินการ ตาม ข้อสั่งการของผู้อ้านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม 3) ให้สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ระดมก้าลังแพทย์ พยาบาล ยา เวชภัณฑ์ จาก โรงพยาบาล ในพื้นที่ปลอดภัยใกล้เคียง เข้าช่วยปฏิบัติงานในพื้นที่ประสบภัย และศูนย์พักพิงชั่วคราว ตามที่ เห็นสมควร 4) ให้ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม และพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ จัดเตรียมเครื่อ งอุปโภค บริโภค พื้นฐาน ตลอดจนจัดหาอาหารปรุงส้าเร็จ น้​้าดื่ม เครื่องยังชีพที่จ้าเป็นให้แก่ประชาชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ประสบภัยให้เพียงพอและทั่วถึง ค) การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยขั้นต้น 1) ให้ ศูนย์อ้านวยการเฉพาะกิจฯ จังหวัด ติดต่อประสานงานกับ ภาคเอกชน มูลนิธิ องค์กรการกุศล ทั้งในและนอกพื้นที่ เพื่อให้การสนับสนุน ช่วยเหลือผู้ประสบภัย เกิดเอกภาพ ไม่ ซ้าซ้อน 2) กรณีที่โครงสร้างพื้นฐานได้รับความเสียหาย ให้ หน่วยงานที่รับผิดชอบ เร่ง ซ่อมแซม เส้นทางคมนาคม ระบบสื่อสาร ไฟฟ้า และประปา แล้วแต่กรณี ให้สามารถใช้การได้ หรือจัดท้า ระบบส้ารองเพื่อให้ชุดปฏิบัติการสามารถปฏิบัติงานในพื้นที่ได้ 3) ให้ต้ารวจภูธรจังหวัดนครปฐม รัก ษาความสงบเรียบร้อย และจัดการจราจร ใน พื้นที่ประสบภัยและพื้นที่อพยพ ตามแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัย 4) หน่วยงานด้านคมนาคม แขวงการทางนครปฐม แขวงการทางสมุทรสาคร ส้านักงานทางหลวงชนบทจังหวัดนครปฐม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตรวจสอบเส้นทางคมนาคม ใน พื้นที่รับผิดชอบ ที่ช้าเกิดความรุด เสียหาย ให้ด้าเนินการซ่อมแซมให้สามารถใช้การได้ ในเบื้องต้น พร้อมทั้ง ติดป้ายเตือนหรือวางแผงปิดกั้นช่องทางการจราจรเพื่อความปลอดภัยในการจราจร ขนส่ง 5) ให้ ต้ารวจ ภูธรจังหวัดนครปฐม จัดเจ้าหน้าที่ต้ารวจ หรืออาสาสมัคร อ้านวย ความสะดวกการจราจรในจุดอันตราย ง) การประชาสัมพันธ์ในภาวะฉุกเฉิน 1) ให้ ประชาสัมพันธ์จังหวัด จัด ตั้งศูนย์ข้อมูลผู้ประสบภัยจากแผ่นดินไหวและ อาคารถล่มขึ้น (Joint Information Center ) โดยใช้ช่องทาง การประชาสัมพันธ์ที่มีอยู่ทุกแขนง โดยเฉพาะ ช่องทางของสื่อ Social Media Online หรือ website เป็นช่องทางส้าคัญ ในการ ประสาน ข้อมูลผู้ ประสบภัย รวมถึง การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย กับ หน่วยงาน ภาคเอกชน องค์กรการกุศลทั้ง ในประเทศและ ระหว่าง ประเทศ 2) การให้ข้อมูล ข่าวสาร ที่มีความละเอียดอ่อน และเกี่ยวข้องกับชั้นความลับ ต้อง ได้รับการอนุมัติจาก ผู้อ้านวยการ ปภ.จ.ก่อนเผยแพร่เสมอ


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 23 ของ 27 หน้า จ) วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์และรายงานผลการด้าเนินงานทุกระยะ เพื่อวาง แผนการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่อไป ระยะ 72 ชั่วโมง ให้ปฏิบัติ ดังนี้ ศูนย์อ้านวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยจากแผ่นดินไหว และอา คารถล่ม จังหวัดนครปฐม ติดตามประเมินสถานการณ์แผ่นดินไหวและอาคารถล่ม อย่างใกล้ชิด ตลอดจนประสานการ ช่วยเหลือ รับเรื่องราวร้องทุกข์ ประสานรับข้อมูลความเสียหายเบื้องต้ความต้ น องการเบื้องต้น การปฏิบัติงานต่อเนื่องจนกว่าสถานการณ์จะคลี่คลายให้สนับสนุนปฏิบัติงานตั้ งแต่ ในระยะ 24-72 ชั่วโมง อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการช่วยเหลือชีวิตคนก่อน ตามด้วยทรัพย์สิน พร้อมทั้ง สนับสนุนการปฏิบัติงานให้ครอบคลุมและทั่วถึง ตลอดจนสับเปลี่ยนก้าลังพล เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานอย่าง ต่อเนื่อง ประเมินติดตามวิเคราะห์สถานการณ์และรายงานผลทุกระยะ จ นกว่าสถานการณ์จะกลับสู่ภาวะ ปกติ  การอพยพและการจัดตั้งพื้นที่พักพิงชั่วคราว เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดภัยในพื้นที่ใดและในพื้นที่นั้นมีผู้อยู่อาศัยจะก่อให้เกิดอันตรายหรือ กีดขวางต่อการปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้ผู้อ้านวยการจังหวัด ผู้

อ้านวยการ

อ้าเภอ ผู้อ้านวยการท้องถิ่น และเจ้าพนักงานที่ได้รับมอบหมายมีอ้านาจสั่งอพยพผู้อยู่ในพื้นที่นั้นออกไป เฉพาะเท่าที่จ้าเป็น และเมื่อได้รับแจ้งเตือนภัยจ้าเป็นต้องอพยพ ให้อ้าเภอ/ท้องถิ่น เป็นหน่วยงานหลักในการ อพยพประชาชนออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย ให้หน่วยทหารในเข

ตพื้นที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นหน่วย

สนับสนุนการอพยพ ภายใต้การสั่งการของผู้อ้านวยการจังหวัด ผู้อ้านวยการอ้าเภอ ผู้อ้านวยการท้องถิ่น และ เจ้าพนักงานที่ได้รับมอบหมาย ตามล้าดับ แล้วแต่กรณี และปฏิบัติหน้าที่ตามแผนอพยพ ดังนี้ 1) จัดให้มีสถานที่ปลอดภัยและที่อยู่อาศัยชั่วคราวแก่ผู้ประสบภัย ปร ะชาชนและเจ้าหน้าที่ โดย จัดระเบียบพื้นที่อพยพให้เป็นสัดส่วนแต่ละครอบครัว หรือแต่ละชุมชน 2) จัดกลุ่มผู้ประสบภัยโดยแบ่งประเภทของบุคคลตามล้าดับเร่งด่วน เช่น ผู้ป่วยทุพลภาพ คนพิการ คนชรา เด็ก และสตรีตามล้าดับ และด้าเนินกา รปฏิบัติตามขั้นตอนการอพยพที่ก้าหนดไว้แผนการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม พ.ศ.2553-2557 3) อพยพประชาชนและสัตว์เลี้ยงไปสู่พื้นที่ปลอดภัยการอพยพประชาชนออกจากพื้นที่ อันตรายให้ด้าเนินการเท่าที่จ้าเป็นและไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ทั้งนี้ให้พึงระมัดระวังมิให้เ กิดผลเสียหายทางด้าน จิตวิทยามวลชนด้วย


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 24 ของ 27 หน้า 4) จัดระเบียบสถานที่อพยพและอ้านวยความปลอดภัยและจัดเวรยามรักษาความปลอดภัย ในสถานที่อพยพ อาจขอก้าลังอาสาสมัครจากผู้อพยพ หรือ อาสาสมัคร อื่นๆ 5) จัดให้มีสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น ข้าวสาร อาหารแห้ง เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค 6) จัดให้มีการลงทะเบียนผู้อพยพ เพื่อเป็นการตรวจสอบจ้านวนผู้ที่ยังติดค้างอยู่ในพื้นที่ เสี่ยงภัย 7) จัดให้การรักษาพยาบาลและบริการการแพทย์ฉุกเฉินแก่ผู้ประสบภัยในพื้นที่อพยพ 8) อ้านวยความสะดวกแก่ผู้อพยพ เช่น อ้านวยความสะดวกด้านเครื่องอุปโภคบริโภค ที่จ้าเป็น การปฐมพยาบาล ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ บริการอาหารน้​้าดื่ม การดูแลรักษาความสะอาดให้ถูก สุขลักษณะจัดสัดส่วนบริเวณปรุงอาหาร จัดระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน จัดระบบการรับของบริจาคให้ทั่วถึง และเป็นธรรม 9) ป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมโรคที่อาจจะเกิดขึ้นทั้ง

ร่างกายและจิตใจของประชาชน

ผู้ประสบภัย 10) แจ้งความเคลื่อนไหวของสถานการณ์การเกิดแผ่นดินไหวและอาคารถล่มให้ผู้อพยพทราบ เป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้อพยพคลายความวิตกกังวล การอพยพกลับ เมื่อมีข่าวสารยืนยันอย่างชัดเจนจากผู้อ้านวยการจังหวัดหรือผู้ที่ได้รั

มอบหมายประกาศยุติสถานการณ์ภัยให้รีบแจ้งผู้อพยพเพื่อเตรียมพร้อมในการอพยพกลับสู่ที่ตั้งต่อไป  การรับบริจาค 1) ให้คลังจังหวัดนครปฐม จัดตั้งศูนย์รับบริจาค และประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ ก้าหนดสถานที่เก็บรักษาสิ่งของบริจาค และวิธีการแจกจ่ายสิ่งของและเงินบริจาค 2) ให้คลังจังหวัดนครปฐมจัดท้าบัญชีการรับ- แจกจ่าย สิ่งของรับบริจาคไว้เป็นหลักฐาน และมีระบบควบคุมการรับและใช้จ่ายเงินบริจาคเพื่อให้เป็นไปตามระเบียบและตามความประสงค์ของผู้ บริจาค 3) ให้คลังจังหวัดนครปฐม รายงานผลการปฏิบัติให้ผู้อ้านวยการศูนย์ อ้านวยการเฉพาะกิจ ป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่มจังหวัดนครปฐมทราบ  การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในภาวะฉุกเฉิน 1) ให้ส้านักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม สรุปสถานการณ์ฯ รายงาน ผู้อ้านวยการ จังหวัดนครปฐม ทราบ และสรุปสถานการณ์ไปยังผู้ อ้านวยการกลาง (อธิบดีกรม ปภ .) เป็นระยะๆ จนกว่าภัยจะยุติ


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 25 ของ 27 หน้า 2) ให้ประชาสัมพันธ์จังหวัดนครปฐมประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ข้อเท็จจริงด้านสาธารณภัยและ การให้ความช่วยเหลือ ผ่านสื่อต่างๆ ให้ประชาชนได้รับทราบ อย่างถูกต้องทันเหตุการณ์และต่อเนื่องทุกวัน เพื่อมิให้เกิดความสับสนและตื่นตระหนกจนกว่าสถานการณ์ภัยจะคลี่คลาย 3) กรณีที่มีข่าวเชิงลบ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบข้อมูลข่าวสารพร้อมชี้แจง ข้อเท็จจริงให้สาธารณชนทราบ  การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสถานการณ์วิกฤตภัยจากแผ่นดินไหวและ อาคารถล่ม ในกรณีเกิดความขัดแย้งขึ้ นท่ามกลางวิกฤตสถานการณ์ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็น ระดับนโยบายหรือ ในระดับท้องถิ่น รวมทั้งในชุมชน หรือแม้กระทั่งในครอบครัวและระหว่างเพื่อนฝูง

ให้

หน่วยงานผู้มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ได้แก่ ต้ารวจ ภูธรจังหวัดนครปฐม ปกครองจังหวัดนครปฐม อ้าเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้าควบคุมสถานการณ์ เพื่อลดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น  การป้องกันและบรรเทาสถานการณ์ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม ร่วมกับหน่วยทหาร ศูนย์บริหารสถานการณ์ในภาวะวิกฤต ภายใต้กองอ้านวยการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัด ประสานการปฏิบัติในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ของตน ร่วมกับหน่วยทหารซึ่งหน่วยทหารที่รับผิดชอบพื้นที่จังหวัด นครปฐม คือ กองบัญชาการมณฑลทหารบก ที่ 11 , กอ.รมน . จังหวัดนครปฐม ,กรมการสัตว์ทหารบก , โรงเรียนการบินกาแพงแสน ,กรม ยุทธศึกษาทหารเรือ เป็นหน่วยประสาน  การป้องกันและบรรเทาส ถานการณ์ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่มใน พื้นที่เขตอุตสาหกรรม ในกรณีที่สถานการณ์เข้าสู่ภาวะวิกฤต ให้ ส้านักงาน อุตสาหรรมจังหวัด นครปฐม เป็นหน่วยประสานการปฏิบัติในการเตรียมการป้องกันและบรรเทาสถานการณ์ร่วมกับศูนย์บริหาร สถานการณ์ในภาวะวิกฤต ภายใต้กองอ้านวยการป้องกันแ ละบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด อ้าเภอ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่อุตสาหกรรม


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 26 ของ 27 หน้า 5.3.3 ขั้นการฟื้นฟูขั้นต้น (Relief) ก. การฟื้นฟูผู้ประสบภัย 1) ให้ศูนย์อ้านวยการเฉพาะกิจฯ ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ ส้ารวจความเสียหายและ จัดท้าบัญชีรายชื่อผู้ประสบภัยและทรั พย์สินที่เสียหายไว้เป็นหลักฐาน พร้อมทั้งออกหนังสือรับรองให้ ผู้ประสบภัยไว้เป็นหลักฐานในการรับการสงเคราะห์และฟื้นฟู 2) จัดสถานที่พักอาศัยชั่วคราว และให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัยด้านสุขภาพอนามัย สภาพจิตใจ 3) ประสานความช่วยเหลือจากหน่วยช่วยเหลือต่างๆ เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัย ได้อย่างทั่วถึง 4) ป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคระบาดทั้งคนและสัตว์ ข. การประเมินความเสียหายและความต้องการในเบื้องต้น 1) จังหวัดจัด ตั้งคณะกรรมการเพื่อ ตรวจสอบรายละเอียดความเสี ยหาย การให้ความ ช่วยเหลือ และความต้องการเบื้องต้นโดยประสานกับอ้าเภอและท้องถิ่น เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย 2) ประสานการปฏิบัติกับคณะกรรมการการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติอ้าเภอ (ก.ช.ภ.อ.) เร่งส้ารวจความเสียหายจากภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินโดยเร็ว เพื่อพิจารณาช่วยเหลือผู้ประสบภัยตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กระทรวงการคลังก้าหนด และรายงานผลการส้ารวจความเสียหาย ต่อคณะกรรมการช่ว ยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัด (ก.ช.ภ.จ.) เพื่อรายงานให้กร มป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทราบ

หรือเพื่อ

พิจารณาด้าเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่อไป 3) รายงานสรุปการประเมินความเสียหายและความต้องการในเบื้องต้น ให้ผู้อ้า นวยการ จังหวัด ผู้อ้านวยการกลาง และผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติทราบตามล้าดับ

6. การให้ความช่วยเหลือระยะกลาง/ระยะยาว การฟื้นฟูโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งสาธารณูปโภคที่ได้รับความเสียหายให้กลับสู่สภาพเดิมและ สามารถใช้งานได้โดยเร็ว 6.1)ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกิดเหตุ

ส้ารวจความเสียหายระบบสาธารณู

ปโภคและสิ่ง

สาธารณประโยชน์ต่างๆ จนถึงระดับครัวเรือน รวมทั้งจัดท้าฐานข้อมูลการส้ารวจความเสียหาย 6.2) ท้าความสะอาดบ้านเรือน ชุมชน และสิ่งสาธารณประโยชน์ในพื้นที่ประสบภัย แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและมลภาวะเป็นพิษ

ขนย้ายขยะมูลฝอย


ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 27 ของ 27 หน้า 6.3) ปรับสภาพภูมิทัศน์ สถานที่ท่องเที่ยว ซ่อมแซมส่วนที่เสียหาย ตามที่พิจารณาเห็นว่าเป็นสิ่งที่สามารถ ซ่อมแซมได้โดยเร็ว เพื่อให้สามารถใช้การได้ตามปกติ ในกรณีที่ไม่สามารถซ่อมแซมได้ให้จัดการรื้อถอน ออกไปเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น 6.4) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกิดเหตุ ด้าเนินการฟื้นฟูบูรณะโครงสร้างพื้นฐานที่เสียหายใน เบื้องต้นโดยงบประมาณที่อยู่ในความรับผิดชอบ ด้าเนินการเก็บซากปรักหักพั ง การตรวจสอบความแข็งแรง ของอาคาร การออกแบบวางผังเมือง การจัดหาแหล่งน้​้าอุปโภคบริโภค การ

จัดท้าภูมิทัศน์ กรณีที่เกินขีด

ความสามารถ ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงสร้างพื้นฐานนั้น ๆ ด้าเนินการฟื้นฟู ซ่อมแซม และบูรณะ โครงการที่ได้รับ ความเสียหาย และขอรับการสนับสนุนจากหน่วยเหนือขึ้นไปตามล้าดับ ได้แก่ งบประมาณ ของจังหวัด งบประมาณของกรม กระทรวง งบประมาณของหน่ วยงานนอก ภาครัฐ องค์การระหว่างประเทศ หรือ งบกลาง 6.5) ทุกส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง

จิตอาสา ,องค์กรมูลนิธิต่างๆ ซ่อมแซมสถานที่ราชการ โรงเรียน

สถานศึกษา วัด โบราณสถาน สถานที่ราชการ และสถานที่ท่องเที่ยว และสาธารณูปโภคต่างๆ ให้ใช้งานได้ ดังเดิม

7. การติดตามและประเมินผล 7.1 เมื่อภัยยุติแล้ว ให้กองอ้านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ด้าเนินการ ติดตาม และประเมินผลการด้าเนินการป้องกันและ แก้ไขปัญหาสาธารณภัยที่เกิดขึ้น ทั้งด้านสถานการณ์ สาธารณภัย ด้านการปฏิบัติการระงับบรรเทาภัย ด้านการให้

ความช่วยเหลือ และด้านอื่นๆ เพื่อให้ ทราบ

ข้อบกพร่องที่ต้องปรับปรุง 7.2 จัดให้มีการศึกษาผลกระทบจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม ที่มีต่อชีวิต ทรัพย์สินของประชาชน เพื่อ น้าไปเป็นข้อมูลในการบริหารจัดการภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่มในอนาคต


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.