คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
1
งานควบคุมและป้องกันภาวะมลพิษทางทะเล กลุ่มสิ่งแวดล้อม สํานักความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมทางน้ํา กรมเจ้าท่า
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
2
คํานํา การรั่ ว ไหลของน้ํ า มั น ลงสู่ แ หล่ ง น้ํ า จื ดเป็ ด เป็ น สาเหตุ สํ า คั ญ ประการหนึ่งที่ทําให้สิ่งแวดล้อมทางน้ําและบริเวณใกล้เ คียงเกิ ง ด ความเสื่อมโทรมและเสียหาย ซึ่งส่วนใหญ่การรั่วไหลในปริมาณ มากเกิดจากอุบัติเหตุทางเรือหรือท่อขนส่งน้ํามันชํารุดและปริมาณ น้อยเกิดจากการลักลอบทิ้ง การจัดทําคู่มือฉบับ นี้มีจุดประสงค์เ พื่อให้ภาคประชาชน หรื อ อาสาสมั ค รมีมี ศั ก ยภาพในการเฝ้ า ระวั ง การแจ้ ง เหตุ และ สามารถป้อ งกัน และขจั ดคราบน้ํามั น ได้ เ องในกรณี ที่พ บมลสาร ดั ง กล่ า วในปริ ม าณเล็ ก น้ อ ยหรื อ ระงั บ เหตุ น้ํ า มั น รั่ ว ไหลได้ ใ น เบื้องต้น อย่ างถูก ต้องและปลอดภัย ก่อนเจ้ าหน้าที่เ ฉพาะด้านจะ เดินทางไปถึงพื้นที่เกิดเหตุและเข้าดําเนินการจนแล้ จนแล้วเสร็จ รวมทั้งใช้ เพื่อสนับสนุนกิจกรรมด้ด้านการเสริมสร้างความปลอดภัยและรักษา สิ่งแวดล้อมทางน้ําของกรมเจ้าท่าอีกด้วย ท้ายนี้ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือ “การป้ การป้องกันและขจั และ ด มลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน นี้ จะมีส่วนช่วยให้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามันของประเทศไทยมี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น อันจะส่งผลดีต่ตอ่ สิ่งแวดล้อมโดยรวม นายศุภกิตต์ เจียรสุวรรณ์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชํานาญการ กันยายน 2557
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
3
สารบัญ คํานํา บทที่ 1 กรมเจ้าท่ากับภารกิจด้านการป้องกันและ ขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน บทที่ 2 ความหมายและแหล่งที่มาของคราบน้ํามัน บทที่ 3 ผลกระทบของคราบน้ํามันที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ทางน้ํา บทที่ 4 กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน และขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน บทที่ 5 ชนิดและสีของคราบน้ํามันกับความจําเป็น ในการป้องกันและขจัด บทที่ 6 วิธีการแจ้งเหตุเมือ่ พบคราบน้ํามัน บทที่ 7 อันตรายจากคราบน้ํามันและหลักการ ป้องกันเบื้องต้น บทที่ 8 วิธีการป้องกันและขจัดคราบน้ํามันอย่างง่าย บทที่ 9 วิธีการจัดการกับคราบน้ํามันที่หลงเหลือ จากการป้องกันและขจัด เอกสารอ้างอิง
2 5 8 13 18 24 28 33 38 48 53
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
4
สารบัญ (ต่อ) ภาคผนวก ก. เงื่อนไขการใช้สารเคมีขจัดคราบน้ํามันใน แหล่งน้ําของประเทศไทย ข. รายชื่อ ที่อยู่ พร้อมหมายเลขโทรศัพท์และ โทรสารของหน่วยปฏิบัติการป้องกันและ ขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน ค. ตัวอย่างแบบฟอร์มแจ้งเหตุเมื่อพบน้ํามัน รั่วไหลลงสู่แหล่งน้ํา ง. ยุทธวิธีที่นิยมใช้ในการป้องกันและ ขจัดคราบน้ํามัน จ. แผนผังขั้นตอนการปฏิบัติงานป้องกันและ ขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามันของกรมเจ้าท่า รายชื่อคณะที่ปรึกษา ผู้จัดทํา และคําขอบคุณ ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบกลุ่มสิ่งแวดล้อม แผนที่ตั้งกรมเจ้าท่า
55 55 58
66 68 71 72 73 75
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
5
บทที่ 1 กรมเจ้าท่ากับภารกิจด้านการป้องกันและ ขจัดมลพิษทางน้าํ เนือ่ งจากน้าํ มัน กรมเจ้าท่าเป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภารกิจด้านการการส่ การส่งเสริมการพัฒนาระบบการขนส่งทางน้ําและ การพาณิชยนาวีให้มีการเชื่อมต่อกับระบบการขนส่งอื่นๆ ทั้งการ ขนส่งผู้โดยสาร และสินค้า ท่าเรือ อู่เรือ กองเรือไทย และกิจการ เกี่ย วเนื่อง เพื่อให้ป ระชาชนได้รับ ความสะดวก รวดเร็ว ทั่ว ถึ ง และปลอดภัย ตลอดจนการสนับสนุนภาคการส่งออกให้มีค วาม เข้ม แข็ง รวมถึงการช่ว ยรัก ษาสภาพทางชลศาสตร์ที่ช่วยบรรเทา ปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง นอกจากกรมเจ้าท่าจะมีภารกิจดังกล่าวข้างต้นแล้ว กรมเจ้าท่า ยั ง เป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ด้ า นการป้ การป้ อ งกั น และขจั ด มลพิ ษ ทางน้ํ า เนื่ อ งจากน้ํ า มั น ตามระเบี ย บสํ า นั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยการ ป้องกัน ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและขจัด มลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน พ.ศ. 2547 และแผนป้ แผนป้องกันและขจัด มลพิ ษ ทางน้ํ า เนื่อ งจากน้ํ ามั น แห่ ง ชาติ พ.ศ. 2545 254 โดยได้ เ ริ่ ม ดําเนินการตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2538 – ปัจจุบัน ปัจจุบัน กรมเจ้าท่า มีค วามพร้อมในเรื่ องของ ขององค์ ค วามรู้ เรือ อุปกรณ์ และบุคลากรเพื่อการขจัดคราบน้ํามันในแหล่งน้ําเป็น อย่างดี โดยมีเรือขจัดคราบน้ํามันทั้งหมด 4 ลํา อันได้แก่
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
6
1.1 เรือ เด่น สุท ธิ เป็นเรือขจัดคราบน้ํามัน มีข นาดกว้าง ๗.๘๐ เมตร ยาว 30.80 เมตร ลึก 3.20 เมตร กินน้ําลึก 2.25 เมตร เข้ า ประจํ า การปี พ.ศ. ๒๕๓๙ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ พระราชทานชื่อเรือว่า “เด่นสุทธิ” และเสด็จพระราชดําเนินทรงเจิม เรือเด่นสุทธิ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2540
เรือเด่นสุทธิ
1.2 เรื อ ชลธารานุ รั ก ษ์ เป็ น เรื อ ขจั ด คราบน้ํ า มั น /เรื อ อเนกประสงค์ในทะเล มีขนาดกว้าง 8.00 เมตร ยาว 41.85 เมตร ลึ ก 3.90 เมตร กิ น น้ํ า ลึ ก 2.20 เมตร เข้ า ประจํ า การปี พ.ศ. ๒๕๔๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานชื่อเรือว่า “ชลธารานุรักษ์” และเสด็จพระราชดําเนินทรงเจิมเรือชลธารานุรักษ์ เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2545
เรือชลธารานุรักษ์
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
7
1.3 เรือรักษ์ธารา เป็นเรือขจัดคราบน้ํามันในแม่น้ํา มีขนาด กว้าง 5.40 เมตร ยาว 15.50 เมตร ลึก 2.15 เมตร เข้าประจําการ ปี พ.ศ. 2539
เรือรักษ์ธารา
1.4 เรือรักเจ้าพระยา เป็นเรือขจัดคราบน้ํามันในแม่น้ํา มี ข นาดกว้ า ง 4.80 เมตร ยาว 9.40 เมตร ลึ ก 1.30 เมตร เข้าประจําการปี พ.ศ. 2539
เรือรักเจ้าพระยา
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
8
บทที่ 2 ความหมายและแหล่งที่มาของมลพิ งมลพิษน้าํ มัน 2.1 มลพิษน้ํามัน หมายถึ ง มลพิ ษ ที่ เ กิ ด จากน้ํ า มั น ปิ โ ตรเลี ย มในรู ป แบบใดๆ รวมถึ งน้ํา มัน ดิบ ตะกอน ขยะปนน้ํ ามัน และผลิต ภั ณ ฑ์น้ํ ามัน ที่ กลั่นแล้ว หรือมลพิษที่เกิดจากการเททิ ากการเททิ้งหรือการรั่วไหลของน้ํามัน หรือการทิ้งสิ่งปนเปื้อนน้ํามันลงสู่ทะเลหรือแหล่งน้ํา ในการผลิต การขุดเจาะ การขนส่ง การขนถ่าย หรือการเก็ ารเก็บรักษาน้ํามัน 1
มลพิษน้ํามันลักษณะต่างๆ 2
3
4
5 ภาพที่ 1 คราบน้ํามันในแหล่งน้ํา ภาพที่ 2 น้ําปนน้ํามัน ภาพที่ 3-4 คราบน้ํามันที่ปนเปื้อนกับวัตถุในแหล่งน้ํา ภาพที่ 5-6 คราบน้ํามันเปรอะเปื้อนบนชายฝั่ง
6
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
9
2.2 แหล่งที่มาของมลพิษน้ํามันในแหล่งน้ํา 2.2.1 จากกิจกรรมการขนส่งทางน้ํา เช่น เรือโดนกัน เรือเกยตื้น เรือจม การลักลอบทิ้งน้ําปนน้ํามันหรือน้ํามันใช้แล้วจากเรือ การขน ถ่ายผลิตภัณฑ์น้ํามันระหว่างเรือกับท่าเทียบเรือหรือระหว่างเรือกับเรือ อุปกรณ์บนเรือชํารุด เป็นต้น
เรือเกยตื้น
เรือโดนกัน
เรือจม
ท่อขนถ่ายน้ํามันบนเรือชํารุด
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
10
จากสถิติน้ํามันรั่วไหลที่ได้เก็บรวบรวมไว้โดยกลุ่มสิ่งแวดล้อม สํานักความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมทางน้ํา กรมเจ้าท่า ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 – ปัจจุบัน พบว่าสาเหตุหลักนั้นมาจากการรั่วไหลจากเรือ (การหกรั่วไหลในปริมาณมากเกิดจากอุบัติเหตุเรือโดนกัน เรือเกยตื้น ความบกพร่อง/ชํารุดของเรือหรืออุปกรณ์บ นเรือ ขณะที่ก ารหก รั่วไหลในปริมาณน้อยเกิดจากการลักลอบทิ้งจากเรือ) รองลงมาคือ ท่อหรือเครื่องจักรกลที่เกี่ยวข้องกับการขนถ่ายน้ํามันบกพร่อง และ ภาชนะบรรจุน้ํามันชํารุด ตามลําดับ ส่วนจํานวนครั้งของการเกิด เหตุน้ํามันรั่วไหลรายพื้นที่นั้นพบว่าในแม่น้ําเจ้าพระยา (กรุงเทพฯ และจังหวัดสมุทรปราการ) และทะเลฝั่งอ่าวไทย (จังหวัดชลบุรี และระยอง) มี ค่ า สู ง กว่ า พื้ น ที่ อื่ น ๆ เนื่ อ งจากพื้ น ที่ ทั้ ง 2 แห่ ง ดั ง กล่ า วเป็ น ที่ ตั้ ง ของแหล่ ง กํ า เนิ ด มลพิ ษ น้ํ า มั น อั น ได้ แ ก่ เรื อ ท่าเทียบเรือ อู่ต่อและซ่อมเรือ ท่าเทียบเรือขนถ่ายน้ํามัน โรงกลั่นและ คลังเก็บน้ํามันอยู่เป็นจํานวนมาก
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
11
2.2.2 จากกิจกรรมบนฝั่ง เช่น น้ําทิ้งจากชุมชนหรือโรงงาน อุตสาหกรรม การรั่วไหลจากคลังหรือโรงกลั่นน้ํามัน อุบัติเหตุจาก รถบรรทุกน้ํามัน เป็นต้น
ที่มา : http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=954000005209 (2014)
ภาพเหตุการณ์รถบรรทุกน้ํามันพลิกคว่ําบริเวณถนนมิตรภาพ จ.นครราชสีมา
1
2
ที่มา : http://www.weekendhobby.com/board/photo/Question.asp ?ID=26315 (2014)
ที่มา : http://www.thailandindustry.com/news/view.php?id=15423 &section=28 (2014)
3 ภาพที่ 1 โรงกลั่นน้ํามัน ภาพที่ 2 คลังเก็บน้ํามัน ภาพที่ 3 การถ่ายน้ํามันเครื่องในปั้มน้ํามัน/อู่เรือ ที่มา : http://phithan-toyota.com/th/article/detail/207/3 (2014)
ภาพสถานที/่ กิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดคราบน้ํามันในแหล่งน้ําได้หากการจัดการไม่ดีพอ
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
12
2.2.3 จากกิจกรรมนอกชายฝั่ง เช่น การสํารวจและผลิตปิโตรเลียม ในทะเล เป็นต้น
ภาพก่อนการระเบิด
ภาพขณะเกิดการระเบิด
ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Deepwater_Horizon (2014)
ภาพเหตุการณ์แท่นขุดเจาะน้ํามัน Deepwater Horizon บริเวณอ่าวเม็กซิโก ประเทศ สหรัฐอเมริกา ทําให้มีน้ํามันรั่วไหลออกมาทั้งหมดประมาณเกือบ 5 ล้านบาร์เรล
อย่างไรก็ตามแม้ว่าเหตุการณ์น้ํามันรั่วไหลที่เกิดจากแท่น ขุดเจาะน้ํามันยังไม่เ คยเกิดขึ้น ในประเทศไทย แต่ปัจจุบัน ในอ่าว ไทยที่อยู่ ใ นเขตอธิป ไตยของประเทศไทย มี แท่ น ขุด เจาะสํา รวจ ปิโตรเลียมของบริษัทเอกชนอยู่จํานวนไม่น้อย ดังนั้นกรมเจ้าท่าจึง กํ า หนดให้ แ ท่ น ขุ ด เจาะดั ง กล่ า วต้ อ งเตรี ย มความพร้ อ มต่ อ เหตุการณ์น้ํามันรั่วไหลผ่านทางรายงานการประเมินผลกระทบทาง สิ่ ง แวดล้ อ ม (EIA) ประจํ า แท่ น นั้ น ๆ พร้ อ มนี้ ท างกรมฯ ยั ง ได้ กําหนดการเดินทางไปเฝ้าระวัง/ฝึกซ้อมขจัดคราบน้ํามันบริเ วณ ดังกล่าวของเรือขจัดคราบน้ํามันไว้ในแผนปฏิบัติงานประจําปีด้วย
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
13
บทที่ 3 ผลกระทบของคราบน้ํามันที่มีตอ่ สิ่งแวดล้อมทางน้ํา น้ํามั น ดิบ หรือ ปิโ ตรเลี ย มเป็น น้ํามั น ที่นํ าขึ้น มาจากใต้ดิ น เป็ น เชื้ อ เพลิ ง จากซากดึ ก ดํ า บรรพ์ ซึ่ ง เกิ ด จากการสลายตั ว ของ อินทรียวัตถุ น้ํามันดิบเมื่อนํามากลั่นจะได้ผลิตภัณฑ์น้ํามันหลาย ชนิด ยกตัวอย่างเช่น น้ํามันเบนซิน น้ํามันดีเซล และน้ํามันเตา เป็นต้น โดยปกติแล้ว น้ํามันดิบและผลิต ภัณ ฑ์น้นํ้ามันดังกล่าวมีค่า ความหนาแน่นน้อยกว่าน้ําโดยมีค่าอยู่ในช่วง 0.75 – 0.98 98 กรัม/มิลลิลิตร ตามลําดับ ซึ่งเบากว่าน้ํา (น้น้ําจืดและน้ําทะเลมีค่าความหนาแน่นเท่ากับ 1.0 และ 1.03 กรัม/มิลลิลิตร ตามลําดับ) ดังนั้น เมื่อน้ํามันรั่วไหลลง สู่แหล่งน้ําจะแผ่กระจายปกคลุมพื้นทีผ่ ิวน้ําด้านบนและทําให้เกิดผล เสียต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในด้านต่ต่างๆ ดังนี้ 3.1 ด้านกายภาพ ได้แก่ 3.1.1 ปริมาณออกซิเจนละลายและแสงในน้ําลดลง เนื่องจาก คราบน้ํามันจะทําหน้าที่เสมือนกําแพงกั้นไม่ไห้ออกซิเจนที่ปะปนมา กั บ อากาศสั ม ผั ส และละลายเพิ่ ม เติ ม ลงไปในแหล่ ง น้ํ า ได้ ทํ า ให้ คุณภาพน้ําเลวลงซึ่งส่งผลเสียต่อการหายใจรวมถึงการดํารงชีพของ สิ่งมีชีวิตในน้ํา นอกจากนี้ปริมาณแสงในน้ําที่น้อยลงจะทําให้อัตรา การสังเคราะห์ของพืชน้ํา/แพลงก์ แพลงก์ตอนพืชในน้ําลดลง 3.1.2 อุณหภูมิของน้ําเพิ่มสูงขึ้น น้ํามันดิบสามารถดูดซับ ความร้อนจากแสงอาทิตย์ได้ดี มีผลทําให้อุณหภูมิของน้ําเพิ่มขึ้น
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
14
3.1.3 ทําลายแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต 3.2 ด้านชีวภาพ ได้แก่ 3.2.1 การสังเคราะห์แสงของพืชน้ํา/แพลงก์ แพลงก์ตอนพืชลดลง ส่งผลให้ความอุดมสมบูรณ์ในแหล่างน้ําน้อยลง 3.2.2 ขัดขวางการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตในน้ํา เช่น ตัวอ่อน หรือไข่สัตว์น้ํา แพลงตอนพื พืชและสัตว์ เนื่องจากคราบน้ํามันทําให้ ค่าความหนืดของน้ําเพิ่มสูงขึ้น 3.2.3 สัตว์น้ําได้รับสารพิษเพิ่มขึ้น เนื่องจากในคราบน้ํามันมี สารก่อมะเร็ง (เบนซีน, PAH) สารทําลายระบบประสาท (โทลูอีน, ไซลีน ) รวมทั้งสารพิษ ชนิดอื่น ๆ เป็นองค์ป ระกอบ ซึ่งอาจทําให้ สัตว์น้ํามึนเมา ตาย หรือการพัฒนาการของไข่ /ตัตัวอ่อนของสัตว์น้ํา ผิดปกติ รวมทั้งอาจส่งผลให้ในระบบห่วงโซ่อาหารมีการสะสมของ สารพิษดังกล่าวเพิ่มสูงขึ้นด้วย
ภาพสัตว์น้ําต่างๆ ที่เปรอะเปื้อนและตายเนื่องมาจากมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
15
3.2.4 สร้างความเสียหายต่อระบบนิเวศทางน้ํา เช่น ป่าชายเลน แหล่งหญ้าทะเล เป็นต้น กล่าวคือ เมื่อมีคราบน้ํามันไหลเข้าไปใน บริเวณดังกล่าว นอกจากจะทําให้เกิดการเปรอะเปื้อนและยากต่อ การเข้าไปทําความสะอาด รวมถึงทําให้เกิดการตกค้างของสารพิษ แล้ ว ยั ง ทํ า ให้ เ กิ ด ผลเสี ย ต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต ในบริ เ วณนั้ น ๆ ด้ ว ย ยกตัว อย่างเช่น ขัดขวางการหายใจ การสังเคราะห์แสง และการ ดํารงชีวิตของพืชในป่าชายเลน/หญ้ หญ้าทะเลเนื่องจากคราบน้ํามันไป เคลือบอยู่ ต ามรากและใบจนอาจทําให้พืช ดังกล่าวตายได้ ความ หลากหลายและความอุ กหลายและความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น้ําลดลงเนื่องมาจาก การเสียชีวิตหรือการอพยพย้ายถิ่น เป็นต้น นอกจากนี้การปล่อยให้คราบน้ํามันปะปนอยู่ในแหล่งน้ํา เป็นเวลานานเกินไป จะทําให้คราบน้ํามันมีความหนืดมากขึ้นและ เปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็ เป็นก้อนน้ํามันเพราะโมเลกุลของน้ําเข้า ไปแทนทีอ่ งค์ประกอบในน้น้ํามันที่ระเหยออกไป และเมื่อก้อนน้ํามัน นั้นรวมตัวกับอนุภาคดิน/ทรายในแหล่ ทรายในแหล่งน้ําจะส่งผลให้มลพิษน้ํามัน มีน้ําหนักมากขึ้นจนมีบางส่วนสามารถตกลงสู ตกลงสู่พื้นท้องน้ําและสร้าง ผลเสียต่อระบบนิเวศพื้นท้องน้ํา เช่น แหล่งปะการัง ต่อไป
ภาพป่ ป่าแสมทะเลและแหล่งปะการังน้ําตื้นที่เปรอะเปื้อนคราบน้ํามัน
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
16
3.3 เศรษฐกิจและสังคม ได้แก่ 3.3.1 ทําลายแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา คราบน้ํามันที่ปนเปื้อน ในบริเวณที่มีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา และแหล่งประมงนั ประมง ้นหากได้รับ คราบน้ํามันในปริมาณมากจะทําให้สัตว์น้ําเสียชีวิต แต่ถ้าปริมาณที่ ได้รับไม่เพียงพอที่จะทําให้สัตว์น้ําเสียชีวิต ผลกระทบที่เกิดขึ้นจะ ทํา ให้ เ กิด กลิ่ น น้ํา มั น ในสั ต ว์ น้ํ า หรื อ มี ก ารสะสมของสารพิ ษ จาก คราบน้ํามันในสัตว์น้ําได้
ภาพฟาร์ ฟาร์มเลี้ยงหอยที่เปรอะเปื้อนคราบน้ํามัน
3.3.2 สร้างความเดือดร้อนรําคาญ เนื่องจากคราบน้ํามันทํา ให้ เ กิ ด กลิ่ น คราบสกปรกในบริ เ วณ/ทรั ทรั พ ย์ สิ น ต่ า งๆ และต้ อ ง สูญเสียค่าใช้จ่ายในการทําความสะอาด พร้อมทั้งอาจเป็นอันตราย ต่อสุขภาพของผู้ที่อาศัยอยู่ใกล้เคียง นอกจากนี้การที่แหล่งน้ําหล่อ เย็นของโรงงานอุตสาหกรรมมีคราบน้ํามันปนเปื้อนอยู่และหากมี การนําน้ําจากแหล่งดังกล่าวไปใช้ จะส่งผลให้เครื่องจักรของโรงงาน ฯได้รับความเสียหายได้
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
17
ภาพเรือประมงและบ้านเรือนของประชาชนที่เปรอะเปื้อนคราบน้ํามัน
3.3.3 ทําลายสุนทรียภาพและความงดงามทางธรรมชาติ กล่ า วคื อ หากมี ค ราบน้ํ า มั น เปรอะเปื้ อ นในแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว นอกจากจะทํ า ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายโดยตรงกั บ ทรั พ ยากรการ ท่องเที่ยวแล้ว ยังทําให้ท้องถิ่นและประชาชนสูญเสียรายได้อีกด้วย
ภาพบริเวณอ่าวพร้าว จ.ระยอง และชายหาดบางแสน จ.ชลบุรี ที่เปรอะเปื้อนคราบน้ํามัน
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
18
บทที่ 4 กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน และขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้าํ มัน 4.1 พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ําไทย พุทธศักราช 2456 (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535 มาตรา 119 ทวิ “ห้ห้ามมิให้ผู้ใดเท ทิ้ง หรือทําด้วยประการ ใดๆ ให้น้ํามันและเคมีภัณฑ์หรือสิ่งใดๆ ลงในแม่น้ํา ลําคลอง บึง อ่างเก็บ น้ํา หรือทะเลสาบอันเป็นทางสัญจรของประชาชนหรือที่ ประชาชนใช้ ป ระโยชน์ ร่ ว มกั น หรื อ ทะเลภายในน่ า นน้ํ า ไทยอั น อาจจะเป็นเหตุให้เกิดเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตหรือต่อสิ่งแวดล้อมหรือ เป็นอันตรายต่อการเดินเรือในแม่น้ํา ลําคลอง บึง อ่างเก็บน้ํา หรือ ทะเลสาบดัง กล่า ว ผู้ ใ ดฝ่ าฝืน ต้องระวางโทษจํ าคุก ไม่เ กิน สามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และต้องชดใช้เงิน ค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียไปในการแก้ไขสิ่งเป็นพิษหรือชดใช้ค่าเสียหาย เหล่านั้นด้วย” มาตรา 204 “ผูผู้ใดเท ทิ้ง หรือปล่อยให้น้ํามันปิโตรเลียมหรือ น้ํ า มั น ที่ ป นกั บ น้ํ า รั่ ว ไหลด้ ว ยประการใด ๆ ลงในเขตท่ า แม่ น้ํ า ลําคลอง ทะเลสาบ หรือทะเลภายในน่านน้ําไทย ต้องระวางโทษ งระว จําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับ ตั้งแต่ส องพันบาทถึงสองหมื่น บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
19
4.2 พระราชบัญญัติเรือไทย พ.ศ. 2481 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 มาตรา 53/1 [14] “ห้ามมิให้ผู้ควบคุมเรือหรือเจ้าของเรือ ไทยปล่อยทิ้งหรือทําให้สารที่เป็นอันตรายหรือสิ่งใด ๆ ที่มีสารที่ เป็นอันตรายปนอยู่พ้นจากเรือลงสู่ทะเลไม่ว่าบริเวณใดๆ เกินกว่า มาตรฐานที่กําหนดในมาตรา ๕๓/๒ ทั้งนี้ ไม่ว่าด้วยเหตุใด เว้นแต่ เป็นการปล่อยทิ้งจากการสํารวจการแสวงหาประโยชน์ หรือจาก กระบวนการเกี่ย วกั บ ทรั พ ยากรแร่บ นพื้น ท้องทะเลนอกชายฝั่ ง หรื อ เ ป็ นก ารป ล่ อ ยทิ้ งเ พื่ อ วั ตถุ ป ระ ส งค์ ใ นก ารวิ จั ย ทา ง วิทยาศาสตร์อันชอบด้วยกฎหมายเกี่ยวกับการลดหรือการควบคุม มลพิษ” การปล่อยทิ้งตามวรรคหนึ่งให้รวมถึงการรั่ว การกําจัด การ หก การซึ ม การสู บ การแพร่ ก ระจายหรื อ การเท สารที่ เ ป็ น อันตรายหรือสิ่งใด ๆ ที่มีสารที่เป็นอันตรายปนอยู่ด้วย บทบัญญัติตามวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับแก่ผู้ควบคุมหรือเจ้าของ สิ่ ง ก่ อ สร้ า งในทะเลทั้ ง ที่ ติ ด ตรึ ง อยู่ กั บ ที่ ห รื อ ที่ ล อยน้ํ า ได้ ซึ่ ง ก่อสร้างขึ้นเพื่อการสํารวจหรือผลิตปิโตรเลียม หรือสนับสนุนการ สํารวจหรือผลิตปิโตรเลียม หรือการสํารวจและแสวงหาประโยชน์ จากทรัพยากรในทะเลด้วย 4.3 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 411/2543 เรื่อง มาตรการความ ปลอดภัยในการขนถ่ายน้ํามันและเคมีภัณฑ์ สาระสํ า คั ญ คื อ ให้ เ จ้ า ของหรื อ ผู้ ค รอบครองท่ า เรื อ ขนถ่ า ย น้ํามันหรือเคมีภัณฑ์
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
20
4.3.1 จัดทําแผนปฏิบัติก ารเพื่อการป้องกันและขจัดมลพิษ ทางน้ํ า เนื่ อ งจากน้ํ า มั น และเคมี ภั ณ ฑ์ ตามแนวทางที่ ก รมเจ้ า ท่ า กําหนด และแผนดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมเจ้าท่าก่อน 4.3.2 จัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์สําหรับการใช้งานเมื่อเกิด เหตุฉุกเฉิน ซึ่งอย่างน้อยต้องมีอุปกรณ์ดังต่อไปนี้ 1) ทุ่นกักคราบน้ํามัน (Oil Containment Boom) ใช้ เพื่อล้อมกักคราบน้ํามันไม่ให้กระจายตัวเป็นวงกว้างพร้อมทั้งทํา มลสารดังกล่าวมีความหนาเหมาะสมกับชุดเครื่องเก็บคราบน้ํามัน เบี่ย งเบนทิศ ทางการเคลื่อนตัว ของคราบน้ํามัน ให้ ไปยังพื้น ที่ที่มี ความสําคัญน้อยกว่า และป้องกันก่อนเกิดเหตุการณ์น้ํามันรั่วไหล เช่น ใช้ล้อมรอบแหล่งที่มาของมลพิษน้ํามัน เป็นต้น
ทุ่นกักคราบน้ํามันแบบม่าน (Curtain Boom)
ทุ่นป้องกันคราบน้ํามันบริเวณชายฝั่ง (Beach Boom)
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
21
2) เครื่องเก็บคราบน้ํามัน (Oil Recovery Skimmer) ใช้ เพื่อดูดหรือเก็บคราบน้ํามันขึ้นจากผิวน้ํา พร้อมถังรวบรวม
เครื่องเก็บคราบน้ํามันแบบทํานบ (Weir Skimmer) เหมาะแก่การใช้ เก็บน้าํ มันดิบ และน้ํามันเตา
เก็บคราบน้ํามันแบบเส้นเชือก (Rope Mop Skimmer) และแบบแผ่นจาน (Disc Skimmer) เหมาะแก่การใช้เก็บน้ํามันดีเซล และน้ํามันเบนซิน
ถังรวบรวมคราบน้ํามัน (Flask Tank) ที่เก็บได้จากแหล่งน้ํา
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
22
3) วัสดุดูดซับคราบน้ํามัน (Absorbent Materials) ใช้เพื่อดูดซับหรือขจัดคราบน้ํามันในแหล่งน้ํา
ทุ่นดูดซับคราบน้ํามัน (Absorbent Boom)
ม้วนแผ่นดูดซับคราบน้ํามัน (Absorbent Sheet)
4) สารเคมีขจัดคราบน้ํามัน (Oil Dispersant) พร้อม ชุดฉีดพ่น ใช้ฉีดพ่นลงบนคราบน้ํามันเพื่อทําให้คราบน้ํามันเกิดการ แตกตัวเป็นแผ่นฟิล์มบางๆ และสลายตัวตามธรรมชาติต่อไป ทั้งนี้ การใช้สารเคมีขจัดคราบน้ํามันให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขการใช้สารเคมีฯ ในแหล่งน้ําของประเทศไทย (ภาคผนวก ก.)
ชุดฉีดพ่น Oil Dispersant ซึ่งประกอบด้วย เครื่องปั้ม หัวฉีด และสารเคมี
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
23
4.3.3 ก่อนการขนถ่ายน้ํามันหรือเคมีภัณฑ์ทุกชนิด ให้นายท่า และนายเรือร่วมกันตรวจสอบความปลอดภัยระหว่างท่าและเรือ 4.4 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 412/2543 เรื่อง แนวทางการจัดทํา แผนปฏิบัติการและขจัดมลพิษประจําท่าเรือสําหรับการขนถ่าย สินค้าอันตราย สาระสําคัญคือ แผนปฏิบัติการป้องกันและขจัดมลพิษประจํา ท่าเรือนั้นต้อง 4.4.1เป็ นแผนปฏิ บั ติ การที่ จั ดทํ าขึ้ นโดยเจ้ าของหรื อ ผู้ครอบครองท่า 4.4.2 ภายในแผนปฏิบัติการฯ อย่างน้อยต้องประกอบด้วย บทนํ า การกํ า หนดองค์ ก รและหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ การ ปฏิบัติการ การรายงานและการสื่อสาร งานธุรการและสนับสนุน และภาคผนวก
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
24
บทที่ 5 ชนิดและสีของคราบน้ํามัน กับความจําเป็นในการป้องกันและขจัด การเกิดเหตุการณ์น้ํามันรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ํานั้น การเข้าไป ดําเนินการป้องกันและขจัดอาจไม่จําเป็นในทุกกรณี เนื่องจากใน บางสถานการณ์คราบน้ํามันที่รั่วไหลออกมาอาจสามารถสลายตัว ได้ เ องตาม ธรรม ชาติ หรื อ อาจไม่ ส ร้ า งความ เสี ย หายต่ อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มทางน้ํ า หรื อ การเข้ า ไป ดําเนินการฯ อาจไม่คุ้มค่าเนื่องจากมีปริมาณน้ํามันเพียงเล็กน้อย ดังนั้นในบทนี้จะกล่าวถึงปัจจัยสําคัญที่ใช้เพื่อประกอบการ พิจารณาว่าเมื่อเกิดเหตุก ารณน้ํามันรั่ว ไหลขึ้นผู้พบเห็น ควรแจ้ง หน่น่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือเข้าดําเนินการป้องกันและขจัดในระดับ เบื้องต้น ก่อนเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเข้าดําเนิน การในลําดับ ต่อไป หรือไม่ ซึ่งปัจจัยดังกล่าวมีดังต่อไปนี้ 5.1ชนิดของคราบน้ํามัน เราสามารถแบ่งน้ํามันได้ 2 ประเภท ได้แก่ 5.1.1น้ํามันที่สลายตัวยาก (Persistence stence Oil) เช่น น้ํามันดิบ (Crude Oil) น้ํามันเตา (Bunker Oil) น้ํามันเครื่องใช้แล้ว (Used Engine Oil) เป็นต้น
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
25
5.1.2 น้ํามันที่สลายตัวง่าย (Non-Persistence Oil) เช่น น้ํ า มั น ก๊ า ด (Kerosene) น้ํ า มั น เบนซิ น (Gasoline) น้ํ า มั น ดี เ ซล (Diesel Oil) เป็นต้น ในการขจัดคราบน้ํามันเราต้องป้องกันและขจัดน้ํามันที่ สลายตัวยากก่อนเพราะเป็นประเภทน้ํามันที่สามารถคงตัวอยู่ใน สิ่ ง แวดล้ อ มได้ น านซึ่ ง เท่ า กั บ ว่ า มี โ อกาสสร้ า งความเสี ย หายต่ อ ทรัพยากรธรรมชาติได้นานเช่นกัน ในขณะที่น้ํามันที่สลายตัวง่าย นั้นจําเป็นต้องดําเนินการขจัดเฉพาะเมื่อพบในปริมาณมากๆ ส่วน ถ้ า พบในปริ ม าณน้ อ ยอาจปล่ อ ยให้ ส ลายตั ว ตามธรรมชาติ โ ดย คุณสมบัติการระเหยของตัวมันเอง 5.2 สีของคราบน้ํามัน โดยปกติน้ํามันทุกชนิดเมื่อรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ํามลสารดังกล่าว จะก่อให้เกิดคราบน้ํามันสีต่างๆ ทั้งหมด 4 สี ได้แก่ ดํา (Black Oil) น้ําตาล (Brown Oil) รุ้งเงา (Rainbow Sheen) และเงินเงา (Silver Sheen) ซึ่งในการขจัดคราบน้ํามัน เราต้องป้องกันและขจัดคราบ น้ํามันสีดําหรือน้ําตาลก่อนเพราะเป็นคราบน้ํามันที่มีความหนาและ ปริ ม าณของน้ํ า มั น มากซึ่ ง ไม่ ส ามารถปล่ อ ยให้ ส ลายตั ว ตาม ธรรมชาติได้เนื่องจากใช้เวลานาน ส่วนคราบน้ํามันสีรุ้งเงาและเงิน เงานั้นเราสามารถปล่อยให้สลายตัวตามธรรมชาติโดยเลยเพราะ เป็นคราบน้ํามันที่มีความบางและปริมาณของน้ํามันน้อย นอกจากนี้เ ราสามารถประเมิน ปริมาณของคราบน้ํามัน ที่พ บ เห็นได้โดยเทียบจากตารางต่อไปนี้
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
สี เงินเงา รุ้งเงา ดํา/น้ําตาล
ลักษณะคราบน้ํามัน ความหนา (มม.) ฟิล์มน้ํามัน 0.0001 ฟิล์มน้ํามัน 0.0003 น้ํามันดิบ/น้ํามันเตา 0.1
หมายเหตุ : มม. = มิลลิเมตร,
ลบ.ม = ลูกบาศ์กเมตร,
26
ปริมาณ (ลบ.ม./ตร.กม.) 0.1 0.3 100 ตร.กม. = ตารางกิโลเมตร
5.3 ลักษณะของกลุ่มคราบน้ํามัน กล่าวคือ ลัก ษณะของคราบ น้ํามันที่พบได้บ่อยมักมี 2 แบบ คือ รวมตัวเกาะกันเป็นแผ่นน้ํามัน กับ ริ้วหรือหยดน้ํามันขนาดเล็กและกระจายตัวเป็นหย่อมๆ อยู่ใน แหล่งน้ํา ซึ่งในการขจัดคราบน้ํามัน เราต้องป้องกัน และขจัดกลุ่ม น้ํามันที่รวมตัวเกาะกันเป็นแผ่นน้ํามันก่อนเพราะปริมาณน้ํามันมี มากกว่าจึงมีโอกาสสร้างความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่าตาม ไปด้วย จากปัจจัยสําคัญดังกล่าวสามารถสรุปเป็นตารางพิจารณา ดําเนินการกับเหตุการณ์น้ํามันรั่วไหลได้ดังนี้ กรณีที่ 1 2 3 4 5 6 7 8
คุณสมบัติของคราบน้ํามัน สี ลักษณะ ดํา แผ่นน้ํามัน ดํา ริ้วหรือหยดน้ํามันขนาดเล็ก น้ําตาล แผ่นน้ํามัน น้ําตาล ริ้วหรือหยดน้ํามันขนาดเล็ก รุ้งเงา แผ่นน้ํามัน รุ้งเงา ริ้วหรือหยดน้ํามันขนาดเล็ก เงินเงา แผ่นน้ํามัน เงินเงา ริ้วหรือหยดน้ํามันขนาดเล็ก
ความจําเป็นในการ แจ้งเหตุ การขจัด √ √ * / ** √ √ √ * / ** √ * / *** √ X X * / *** √ X X
หมายเหตุ : √ = จําเป็นต้องดําเนินการ X = ไม่จําเป็นต้องดําเนินการ * = อยู่ในดุลพินิจของเจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญด้านการขจัดคราบน้ํามัน
** = หากพบในปริมาณน้อยมากไม่จําเป็นต้องขจัด *** = หากพบในปริมาณน้อยสามารถปล่อยให้สลายตัวตามธรรมชาติได้
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
คราบน้ํามันสีดํา/น้ําตาล ที่มีลักษณะรวมตัวเกาะกันเป็นแผ่นน้ํามัน
คราบน้ํามันสีรุ้งเงา/เงินเงา ที่มีลักษณะรวมตัวเกาะกันเป็นแผ่นน้ํามัน
คราบน้ํามันที่มีลักษณะเป็นริ้วหรือหยดน้ํามันขนาดเล็ก
27
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
28
บทที่ 6 วิธีการแจ้งเหตุเมื่อพบคราบน้าํ มัน เมื่อเราพิจารณาโดยอาศัยองค์ความรู้จากบทที จากบทที่ 5 แล้วเห็น ว่าเหตุการณ์น้ํามันรั่วไหลที่เราพบ ณ ขณะนั้นมีความจําเป็นต้อง รีบดําเนินการป้องกันและขจัดเพื่อลดความเสียหายที หาย ่จะเกิดขึ้นกับ ทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เ หลือน้อยที่สุด ในฐานะ ประชาชนสิ่งที่ควรดําเนินการเป็นอันดับแรกคือการแจ้งเหตุให้กับ กรมเจ้ า ท่ า หรื อ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งทราบ เพื่ อ ให้ ห น่ ว ยงาน ดังกล่าวจัดส่งเจ้าหน้าที่พร้อมอุปกรณ์ป้องกันและขจั ขจัดคราบน้ํามัน เข้าสู่พนื้ ที่เกิดเหตุเพื่อปฏิบัติงานโดยด่วนต่อไป ซึ่งรายละเอียดการ ติดต่อหน่วยงานฯ ปรากฏตามภาคผนวก ข. ยกตัวอย่างเช่น กรมเจ้ กรม าท่า มีช่องทางการติดต่อ ดังนี้ • ศูนย์ปลอดภัยทางน้ํา หมายเลขโทรศัพท์ 1199 (ตลอด ตลอด 24 ชั่วโมง) • ส่วนตรวจการเดินเรือ หมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร 02-233-0437 02 • กลุ่มสิ่งแวดล้อม หมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร 0--2234-3832 • ศูนย์ควบคุมการจราจรและความปลอดภัยทางทะเล (จ.ชลบุร)ี หมายเลขโทรศัพท์ 0-3840-0270 ถึง1, 0-3849 849-5161ถึง 3 • เว็บไซต์กรมเจ้าท่า http://www.md.go.th/md/ “เมนู ร้องเรียน/ร้องทุกข์” • เฟสบุ๊ก (Facebook) กรมเจ้าท่า https://thประชาสัมพันธ์เจ้าท่า-กรมเจ้าท่า th.facebook.com/people/ประชาสั
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
29
ทั้ ง นี้ ก ารแจ้ ง เหตุ เ มื่ อ พบน้ํ า มั น รั่ ว ไหลลงสู่ แ หล่ ง น้ํ า ใน เบื้องต้นผู้แจ้งควรมีข้อมูลดังต่อไปนี้ 6.1 ชื่อและหมายเลขโทรศัพท์ผู้แจ้งเหตุ 6.2 วัน เวลา และสถานที่เกิดเหตุ 6.3 ชนิดของแหล่งกําเนิดคราบน้ํามัน เช่น คลังน้ํามัน เรือ บรรทุกน้ํามัน เรือบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ เรือบรรทุกสินค้าแบบ เทกอง เรือประมง เรือลําเลียง เรือข้ามฟาก เรือภัตตาคาร เป็นต้น 1
ที่มา : http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/2010/07 /X9527564/X9527564.html (2014)
3
ที่มา : http://www.siamfishing.com/board/view.php?tid=85487 (2014)
2
ที่มา : http://www.manager.co.th/IndoChina/ViewNews.aspx?NewsI D=9530000091622 (2014)
4
ที่มา : http://serithaitour.blogspot.com/2012/06/blogpost.html (2014)
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
6
5
ที่มา : http://www.kitiwat.co.th/th/index.php (2014)
30
ที่มา : http://www.painaidii.com/business/143821/ruakhun-mae-by-siam-river-cruise-10110/lang/th/ (2014)
ภาพที่ 1 เรือบรรทุกน้ํามัน (Oil Tanker) ภาพที่ 2 เรือบรรทุกสินค้า (Cargo Ship) ภาพที่ 3 เรือบรรทุกสินค้าแบบเทกอง (Bulk carrier) ภาพที่ 4 เรือข้ามฟาก (ferry) ภาพที่ 5 เรือลําเลียง (Blast) ภาพที่ 4 เรือภัตตาคาร (River Boat)
ภาพเรือชนิดต่างๆ ที่อาจแหล่งกําเนิดคราบน้ํามัน
6.4 ชนิด ปริมาณ และลักษณะของคราบน้ํามันที่พบ เช่น 6.4.1 เป็ น น้ํา มัน ดิ บ /น้ํามั น เตา/น้ํามั น เบนซิ น /น้ํ ามั น ดีเ ซล/ น้ํามันเครื่อง เป็นต้น 6.4.2 คราบน้ํามันมีสีดํา/น้ําตาล/รุ้ง/เงิน เป็นต้น 6.4.3 คราบน้ํามัน มีลัก ษณะเป็น แผ่น หนา/แผ่น ฟิ ล์ม บางๆ/ กระจายเป็นหย่อมๆ/ปะปนกับขยะ เป็นต้น พร้อมความกว้าง-ยาว ของแผ่นน้ํามัน
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
31
6.4.5 คราบน้ํามันที่รั่วไหลออกมามีปริมาณกี่ลิตร/แกลลอน/ ถัง/ตัน/ลูกบาศก์เมตร เป็นต้น 6.5 สภาพแวดล้อมของพื้นที่เกิดเหตุ เช่น ทิศทางและความเร็ว ของกระแสน้ํา กระแสลม สภาพอากาศ พื้นที่ที่มีความสําคัญทาง เศรษฐกิจ ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น 6.6 ภาพนิ่ง /ภาพเคลื่อ นไหวแหล่ งต้อ งสงสัย /แหล่ งกํา เนิ ด มลพิษน้ํามัน และบริเวณที่เกิดเหตุ ข้อมูลดังกล่าวข้างต้น มีประโยชน์ต่อเจ้าหน้าที่ฯ ในเรื่องของ การนําไปใช้เพื่อติดต่อกลับไปยังผู้แจ้งเหตุและสามารถสอบถาม ข้อมูลอื่นๆ เพิ่มเติม ทราบสถานที่เ กิดเหตุ ประเมินปริม าณของ คราบน้ํามันที่รั่วไหลออกมา คาดการณ์การเคลื่อนที่ของคราบ น้ํ า มั น เลื อ กใช้ ยุ ท ธวิ ธี ใ นการขจั ด คราบน้ํ า มั น ที่ เ หมาะสม และ สามารถนํ า ภาพนิ่ ง /ภาพเคลื่ อ นไหวที่ ไ ด้ รั บ มาใช้ เ ป็ น หลั ก ฐาน ประกอบการดํ า เนิ น คดี กั บ ผู้ ก่ อ ให้ เ กิ ด มลพิ ษ น้ํ า มั น ได้ ซึ่ ง การ บัน ทึก ภาพนิ่ง/เคลื่อนไหวนั้นควรเลือกกิจกรรม ตําแหน่ง หรือ บริเ วณที่เ หมาะสม เช่น ขณะที่ผู้ก ระทําผิด/แหล่งกํา เนิดมลพิ ษ กําลังเท ทิ้ง หรือปล่อยคราบน้ํามัน ตําแหน่งที่ระบุชื่อ หมายเลข ประจํ า ตั ว และพื้ น ที่ ๆ เปรอะเปื้ อ นคราบน้ํ า มั น ของแหล่ ง ต้ อ ง สงสัย/แหล่งกําเนิดมลพิษน้ํามัน บริเวณต้นน้ํา-จุดเกิดเหตุ-ท้ายน้ํา เพื่ อ สะดวกต่ อ การนํ า มาเปรี ย บเที ย บ เป็ น ต้ น อย่ า งไรก็ ต าม แบบฟอร์ม แจ้ ง เหตุ เ มื่ อพบน้ํ า มัน รั่ ว ไหลลงสู่ แหล่ ง น้ํ าฉบั บ เต็ ม ปรากฏตามภาคผนวก ค.
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
32
ภาพเรือที่ต้องสงสัยว่าเป็นแหล่งกําเนิดมลพิษ น้ํามัน ซึ่งต้องปรากฏชื่อเรือ หมายเลขประจําเรือ และลักษณะของเรือ รวมถึงภาพทั้งแบบมุมกว้าง และมุมแคบเพื่อใช้พื้นที่ข้างเคียงเป็นแหล่งอ้างอิง
ภาพความผิดซึ่งหน้า (เรือรั่วแล้วมีน้ํามันรั่วไหล ออกมา การฉีดล้างเรือที่เลอะคราบน้ํามัน) และ คราบน้ํามันที่เปรอะเฉพาะที่ (บนตัวเรือหรือบน ผิวน้ําข้างเรือลํานั้นๆ โดยไม่พบเพิ่มเติมใน บริเวณอื่นๆ) ซึ่งสามารถนํามาใช้เป็นหลักฐานฯ ได้เป็นอย่างดี ต้นน้ํา
บริเวณจุดเกิดเหตุ
ท้ายน้ํา
แบบจําลองที่แสดงว่าเรือใน ภาพอาจเป็นแหล่งกําเนิด มลพิษ เพราะพบคราบน้ํามัน เฉพาะบริเวณท้ายน้ํา
ทิศทางของกระแสน้ํา
ตัวอย่างการบันทึกภาพแหล่งต้องสงสัย/แหล่งกําเนิดคราบน้ํามัน และบริเวณที่เกิดเหตุ เพื่อใช้เป็นหลักฐานประกอบการดําเนินคดีกับผู้ก่อให้เกิดมลพิษน้ํามัน
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
33
บทที่ 7 อันตรายจากคราบน้ํามัน และหลักการป้องกันเบื้องต้น หลังจากการแจ้งเหตุน้ํามันรั่วไหลที่พบเห็นกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องแล้ว หากประชาชนต้องการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน ป้ อ งกั น และขจั ด มลพิ ษ ทางน้ํ า เนื่ อ งจากน้ํ า มั น ในรู ป แบบของ อาสาสมัค ร ประชาชนจําเป็นต้องมีองค์ค วามรู้เกี่ย วกับอันตราย หรือผลกระทบจากมลพิษน้ํามันที่มีต่อมนุษย์และหลั และหลักการป้องกัน มลสารดั ง กล่ า วก่ อ นเพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านฯฯ เป็ น ไปด้ ว ยความ ยค เรี ย บร้ อ ยและปลอดภั ย โดยรายละเอี ย ดสํ า คั ญ ที่ ค วรทราบมี ดังต่อไปนี้ 7.1 อันตรายจากมลพิษน้ํามันที่มีต่อมนุษย์ น้ํ า มั น ดิ บ ประกอบด้ ว ยสารเคมี ห ลายชนิ ด ที่ อ าจส่ ง ผลต่ อ สุขภาพมนุษย์ ได้แก่ ละอองน้ํามัน (Oil Fumes) ฝุ่นละออง (Particulate Matter from Controlled Burns) สารอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile Organic Compounds : VOCs) สารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons ; PAHs)) และโลหะหนัก (Heavy Metals) เช่น สารปรอท (Mercury) สารหนู (Arsenic) และตะกั่ว (Lead) ซึ่งช่องทางการรับสัมผัส ได้แก่ การหายใจ การหายใ การ สั ม ผั ส โดยตรง และการรั บ ประทานอาหารที่ ป นเปื้ อ นน้ํ า มั น
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
34
(Accidental ingestion) อย่างไรก็ตามผลกระทบของมลพิษน้ํามัน ต่อสุขภาพมนุษย์ที่อาจเกิดขึ้นนั้น สามารถแบ่งออกเป็น 7.1.1 ผลกระทบแบบเฉียบพลัน 1) การหายใจเอาไอระเหยของน้ํ า มัน เข้ า ไปอาจทํ า ให้ หายใจลําบาก ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หรือโรค ระบบทางเดินหายใจ หากได้รับสัมผัสในปริมาณมากอาจทําให้เกิด อาการปอดอักเสบจากสารเคมี (Chemical pneumonia) หมดสติ หรือเสียชีวิต 2) การสัมผัสทางผิวหนัง/ดวงตาโดยตรงอาจทําให้เกิด การระคายเคืองได้ 3) ปัญหาสุขภาพจิต เช่น ความเครียด วิตกกังวล รู้สึก สับสน นอนไม่หลับ ความจําเสื่อม เป็นต้น 7.1.2 ผลกระทบแบบเรื้อรัง/ระยะยาว 1) ลดการทํา งานของอวัย วะ/ทํ าลายระบบต่ างๆ ของ ร่างกาย เช่น ไต ตับ ระบบทางเดินหายใจ ระบบสืบพันธุ์ ระบบ ไหลเวียนเลือด ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบประสาท เป็นต้น 2) เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง เช่นมะเร็งสมอง มะเร็งเม็ด เลือดขาว มะเร็งปอด และอื่นๆ จากการรับประทานอาหารทะเลที่มี การปนเปื้อนโลหะหนัก เช่น สารปรอท เป็นต้น 3) ส่งผลกระทบต่อทารกในครรภ์ เนื่องจากน้ํามันดิบ จะมีสารที่เรียกว่า teratogens ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการ ของทารกและอาจส่งผลให้ทารกเสียชีวิตได้
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
35
7.2 หลักการของความปลอดภัยที่ผู้ปฏิบัติงานขจัดคราบน้ํามันที่ ต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ได้แก่ 7.2.1 ปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวังโดยต้องคํานึงถึงหลัก ความปลอดภัย 7.2.2 ไม่ทํางานลําพังคนเดียวโดยไม่มีเพื่อนร่วมงาน 7.2.3 สวมใส่เสื้อผ้าและอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลอย่าง ถูกต้องและเหมาะสม 7.2.4 ต้องมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีการป้องกันและขจัด คราบน้ํามัน 7.2.5 พึ ง ระลึ ก ไว้ เ สมอว่ า คราบน้ํ า มั น สามารถก่ อ ให้ เ กิ ด อันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยได้ 7.2.6 ปิดกั้นแหล่งกําเนิดไฟออกให้พ้นจากคราบน้ํามัน 7.2.7 ห้ า มผู้ ป ฏิ บั ติ ง านใช้ ย าเสพติ ด หรื อ ดื่ ม เครื่ อ งดื่ ม ที่ มี แอลกอฮอล์ หรือสูบบุหรี่ระหว่างการปฏิบัติงาน 7.2.8 ปฏิบัติงานอยู่ทางด้านเหนือลม 7.2.9 หากส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายสัมผัสน้ํามัน ต้องเช็ด ออก หรือล้ างทํ าความสะอาดด้ ว ยน้ํา สะอาด สบู่ น้ํา ยาทํา ความ สะอาดโดยเร็วที่สุด 7.2.10 หากกลืนน้ํามันเข้าสู่ร่างกายให้รีบนําส่งแพทย์ทันทีห้าม ทํ า ให้ อ าเจี ย น เพราะจะทํ า ให้ เ กิ ด การสํ า ลั ก และน้ํ า มั น อาจ แพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ เพิ่มเติมได้ 7.2.11 การปฏิบัติงานต้องมีเจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญด้านการ ขจัดคราบน้ํามันอยู่ในพื้นที่เกิดเหตุด้วยเสมอ
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
36
7.3 อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล (Personal Protection Equipment: PPE) อาสาสมัครที่ต้องการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานฯอย่างน้อย ต้องมีแ ละสวมใส่เ สื้อผ้า และอุ ป กรณ์ ป้องกั น ภัย ส่ ว นบุค คลเพื่ อ ความปลอดภัย/ลดการสัมผัสน้ํามัน ดังต่อไปนี้ 7.3.1 แว่ น ตานิ ร ภั ย /แว่ น สายตา เพื่ อ ป้ อ งกั น คราบน้ํ า มั น กระเด็นเข้าดวงตา 7.3.2 หน้ากากชนิดที่สามารถป้องกันละอองและไอระเหยจาก น้ํามันได้ 7.3.3 สวมใส่เสื้อผ้าที่ปกคลุมร่างกายได้มิดชิด 7.3.4 ถุงมือยาง และรองเท้าผ้าใบ/รองเท้าบูธ 7.3.5 หากมีความจําเป็นต้องทํางานใน/ใกล้กับแหล่งน้ํา ต้อง สวมใส่ชูชีพทุกครั้ง นอกจากนี้ถ้าเป็น ไปได้อาสาสมัคร/ผู้ป ฏิบัติงานขจัด คราบน้ํ า มั น ควรทาโลชั่ น หรื อ ครี ม ทาผิ ว ให้ ทั่ ว ร่ า งกายก่ อ นการ ปฏิบัติงานทุก ครั้ง เพราะจะช่ว ยป้องกัน หรือลดการซึม ผ่านของ น้ํามันเข้าสู่ร่างกายได้อีกทางหนึ่ง
ภาพผู้ปฏิบัติงานฯ ที่แต่งกายไม่เหมาะสม กล่าวคือ สวมใส่เสื้อผ้าไม่ มิดชิด รวมทั้งไม่มีการใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
37
ภาพอุปกรณ์ปอ้ งกันภัยส่วนบุคคลที่ควรสวมใส่ อันประกอบด้วย แว่นตานิรภัย หน้ากากป้องกันกลิ่น/สารพิษไอระเหยจากน้ํามัน ถุงมือ และร้องเท้าผ้าใบ
ภาพผูป ้ ฏิบัติงานฯ ที่แต่ง กายเหมาะสม ทั้งบนบก และในน้ํา
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
38
บทที่ 8 วิธีการป้องกันและขจัดคราบน้าํ มันอย่างง่าย การปฏิ บั ติ ง านขจั ด คราบน้ํ า มั น ในเหตุ ก ารณ์ จ ริ ง ให้ ประสบผลสําเร็จนั้น นอกจากผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับ คุ ณ สมบั ติ เ บื้ อ งต้ น ของคราบน้ํ า มั น วิ ธี ก ารแจ้ ง เหตุ รวมถึ ง อั น ตรายจากมลพิ ษ น้ํ า มั น และหลั ก การป้ อ งกั น แล้ ว ยั ง ต้ อ งมี ความรู้ในเรื่องของวิธีการปฏิ ปฏิบัติงานที่ถูกต้องและความพร้อมของ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น และขจั ด คราบน้ํ า มั น ด้ ว ยเพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ ง านฯ มี ประสิทธิภาพและส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อมโดยรวม ดั ง นั้ น ในบทนี้ จ ะกล่ า วถึ ง วิ ธี ก ารปฏิ ปฏิ บั ติ ง านฯ พร้ อ มทั้ ง นําเสนออุปกรณ์ฯ ที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่นเป็นสําคัญ เพื่อให้ ประชาชนทั่วไปสามารถขจั วไปสามารถขจัดคราบน้ํามันได้เองในกรณีที่พบมลสาร ดั ง กล่ า วในปริ ม าณเล็ ก น้ อ ยหรื อ อาสาสมั ค รสามารถระงั บ เหตุ น้ํ า มั น รั่ ว ไหลได้ ใ นระดั บ เบื้ อ งต้ น ก่ อ นเจ้ า หน้ า ที่ เ ฉพาะด้ า นจะ เดินทางไปถึงที่เกิดเหตุและเข้าดําเนินการตามยุยุทธวิธีและขั้นตอน การปฏิบัติงานตามภาคผนวก ง. และ จ. ตามลําดับต่อไป ซึ่งวิธีการ ปฏิบัติงานรวมทั้งอุปกรณ์ดังกล่าว สามารถสรุปได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 8.1 หยุดการรั่วไหล (Limitation) เพื่อทําให้มีคราบน้ํามันรั่วไหล ออกมาจากแหล่งกําเนิดให้น้อยที่สุดหรือไม่รั่วไหลออกมาเพิ่มเติม ยกตัวอย่างเช่น
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
39
8.1.1 การปิดวาล์วท่อขนส่งน้ํามันที่รั่วไหล 8.1.2 การหยุดการทํางานของปั้มหรือเครื่องยนต์ที่ทําหน้าที่ สูบถ่ายน้ํามันที่รั่วไหล 8.1.3 การถ่ายเทน้ํามันจากภาชนะหรือยานพาหนะที่มีรอยรั่ว ไปเก็บไว้ยังภาชนะหรือยานพาหนะที่มีสภาพดี เป็นต้น 8.2 ล้อมกัก (Containment) และเก็บขึ้นจากน้ํา (Removal) เพื่อกัก เก็บ/ดูดซับ/รวบรวมคราบน้ํามัน เบี่ยงเบนการเคลื่อนตัวของคราบ น้ํ า มั น และการป้ อ งกั น พื้ น ที่ ห รื อ ทรั พ ยากรที่ มี ค วามสํ า คั ญ ยกตัวอย่างเช่น 8.2.1 การใช้ลําไม้ไผ่ ต้นกล้วย หรือวัสดุอื่นที่มีลักษณะยาว และลอยน้ําได้ โดยการมัดเป็นกอแทนทุ่นกักคราบน้ํามันแล้ววาง ขวางทางน้ําที่มีคราบน้ํามันไหลผ่าน
ที่มา : http://www.quinl.com/th/สินค้า/ไม้ไผ่+ไม้ไผ่+ 15300.html (2014)
ที่มา : http://ksmart6364.blogspot.com/ (2014)
ท้ายน้ํา
ต้นน้ํา
ทิศทางของกระแสน้ํา
ภาพมัดลําไม้ไผ่ ต้นกล้วย และวิธีการใช้เพื่อการกักคราบน้ํามันในน้ํา
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
40
8.2.2 การนํ าวั สดุ อิ นทรี ย์ (ฟางข้ าว ขนไก่ หญ้ าแห้ ง ซั ง ข้าวโพด ถุงกระสอบข้าวสาร เศษผ้า) หรือวัสดุในกลุ่มพลาสติก (ถุงพลาสติก เชือกฟาง) โดยนํามามัดเป็นกลุ่ม/ก้อนและนําไปผูก ติดให้แน่นกับเชื อกแทนทุ่นกักและเครื่องเก็บคราบน้ํ ามั นแล้ววาง ขวางทางน้ําเช่นเดียวกับข้อ 8.2.1 เพื่อกักและดูดซับคราบน้ํามันไป พร้ อมๆ กัน เนื่อ งจากวัส ดุดั งกล่า วมี ความสามารถในการดู ดซั บ คราบน้ํามันได้เช่นเดียวกับ Absorbent Materials
ที่มา : http://topicstock.pantip.com/jatujak/topi cstock/2010/02/J8865907/J8865907.html
ที่มา : http://www.rakbankerd.com/agriculture/wb/s how.php?Category=agriculture&No=13342
ภาพฟางข้าวที่มัดเป็นก้อน และ กระสอบข้าว เพื่อการกักและเก็บคราบน้ํามัน
ข้อควรระวัง การนําวัสดุที่มีขนาดเล็กมาก เช่น เส้นผม ขี้เลื่อย ผงถ่าน เป็นต้น มาใช้ดูดซับคราบน้ํามันนั้นไม่ควรกระทํา เป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากแม้ว่าวัสดุดังกล่าวจะสามารถดูดซับคราบ น้ํามันได้ แต่หากภายหลังการใช้งานวัสดุดังกล่าวหรือสิ่งที่ใช้ห่อหุ้ม เช่น ถุงตาข่าย ผลิตภัณฑ์ใยสังเคราะห์ ถุงผ้า เป็นต้น เกิดการชํารุด หรื อ ฉี ก ขาด อาจทํ า ให้ ม ลพิ ษ น้ํ า มั น ที่ ถู ก ดู ด ซั บ ไว้ เ กิ ด การ
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
41
แพร่กระจายออกสู่สิ่งแวดล้อมอีกครั้งและยากต่อการจัดเก็บ ซึ่งจะ ส่งผลให้มมี ลพิษน้ํามันตกค้างในสิ่งแวดล้อมยาวนานยิ่งขึ้น 8.2.3 การใช้ประโยชน์จากกอผักตบชวา รวมทั้งพืชน้ําอื่นๆ เพื่อ ทําหน้าที่ในการป้องกันและขจัดคราบน้ํามันเช่นเดียวกับข้อ 8.2.2
ภาพกอผักตบชวาที่ทําหน้าที่ กักและเก็บคราบน้ํามัน
8.2.4 การใช้รถดูดสิ่งปฏิกูล เพื่อดูดเก็บคราบน้ํามันเหลวขึ้น จากผิวน้ํา ภาพรถดูดสิ่งปฏิกูลซึ่ง สามารถใช้แทน Oil Recovery Skimmer ได้ ที่มา : http://pantip.com/topic/31324880 (2014)
8.2.5 การใช้ตาข่ายขึงขวางทางน้ํา เพื่อดักจับก้อนน้ํามันที่มี ขนาดใหญ่หรือขยะเปื้อนคราบน้ํามัน ภาพการวางตาข่ายเพื่อ ดักจับก้อนน้ํามันหรือ ขยะเปื้อนคราบน้ํามัน
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
42
8.3 ทําความสะอาด (Final clean-up) เพื่อขจัดคราบน้ํามันหรือ ก้อนน้ํามันทีพ ่ บเห็น ตามข้อ 8.2 ยกตัวอย่างเช่น 8.3.1 การใช้น้ํายาล้างจานผสมกับน้ําแล้วทําการฉีดพ่นลง บนคราบน้ํามัน เพื่อทําให้คราบน้ํามันสีดํา/สีน้ําตาลเกิดการแตก ตัวเป็นแผ่นฟิล์มบางๆ และสลายตัวตามธรรมชาติต่อไป ผ่านทาง ชุดอุป กรณ์ฉีด พ่น (เครื่อ งฉีดพ่น สารเคมี ชุดฉีดพ่ น ย่าฆ่าแมลง แบบสะพายหลัง) หรือตักสาดสารละลายดังกล่าวด้วยอุปกรณ์กัก เก็บน้ําทั่วไป (ถังน้ํา กระป๋อง ขันน้ํา ฯลฯ) เนื่องจากในน้ํายาล้างจาน มีสารลดแรงตึงผิว (Surfactant) เช่นเดียวกับ Oil Dispersant แต่ มีความเป็นพิษน้อยกว่า Oil Dispersant และสามารถปล่อยลงสู่ แหล่งน้ําได้เพราะจัดเป็นสารเคมีที่ใช้กันตามครัวเรือน/ชุมชนอยูแ่ ล้ว จากประสบการณ์การขจัดคราบน้ํามันพบว่าโดยทั่วไป อัต ราส่ ว นระหว่ า งน้ํ า ยาล้ า งจานกั บ น้ํ า ที่ ใ ช้ ผ สมกั น เพื่ อ การขจั ด คราบน้ํามันนั้นมีค่าอยู่ในช่วง 1:5-1:10 ซึ่งขึ้นอยู่กับความหนืดของ คราบน้ํามัน ดังนั้นก่อนการฉีดพ่นสารละลายดังกล่าวทุกครั้งควร มีก ารตัก คราบน้ํามันที่พบขึ้น มาจํานวนหนึ่งเพื่อนํามาทดสอบหา อัตราส่วนระหว่างน้ํายาล้างจานกับน้ําที่เหมาะสม ในกรณีที่ประเมิน สถานการณ์แล้ว เห็น ว่าการฉีดพ่น สารละลายฯ ยังสามารถขจัดคราบน้ํามันได้แต่ความแรง/ศักยภาพ ของชุดอุปกรณ์ฉีดพ่นแบบทั่วไปที่กล่าวไปไม่เพียงพอ สามารถใช้ วิธีการเทน้ํายาล้างจานที่ผสมน้ําแล้วลงไปในบริเวณที่มีคราบน้ํามัน โดยตรงแล้ ว ใช้ หั ว ฉี ด น้ํ า ของรถดั บ เพลิ ง ฉี ด ตามลงในบริ เ วณ ดังกล่าวทันที
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
43
ภาพชุดอุปกรณ์ฉีดพ่นน้ํายาล้างจานผสม น้ําทั้งแบบใช้แรงงานคนและเครื่องยนต์
ภาพการตัดสาดน้ํายาล้างจาน ผสมน้ําด้วยอุปกรณ์ทั่วไป
ภาพการฉีดพ่นน้ํายาล้างจาน ผสมน้ําด้วยชุดอุปกรณ์ฯ
ฉีดพ่นน้ํายาล้างจานผสมน้ําด้วยหัวฉีดน้ําของรถดับเพลิง
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
44
ภาพการแตกตัวของคราบน้ํามันหลังจากฉีดพ่นน้ํายาล้างจานผสมน้ํา โดยเปลี่ยนจากสีดํา/น้ําตาลเป็นสีรุ้งเงา/เงินเงา
ข้อควรระวัง การใช้หัวฉีดน้ําของรถดับเพลิงฉีดลงไป ในบริเวณที่มีคราบน้ํามันนั้นควรกระทําเฉพาะบริเวณที่มีพื้นผิว แข็ง (เช่น ก้อนหิน เสาปูน หาดหิน เป็นต้น) และไม่มีสิ่งมีชีวิตอาศัย อยู่เท่านั้น อย่างไรก็ตามเราอาจเลือกใช้วิธีการขจัดคราบน้ํามันใน แหล่งน้ําโดยการฉีดพ่นน้ํายาล้างจานผสมกับน้ําแทนวิธีการตามข้อ 8.2 ได้ เนื่องจากเป็นวิธีการขจัดคราบน้ํามันที่ง่ายและรวดเร็วที่สุด รวมทั้งไม่ต้องจัดเก็บ รวบรวม และขนส่งคราบน้ํามัน หรือวัต ถุ เปื้อนน้ํามันไปกําจัดที่หลงเหลืออยู่ตามวิธีการที่จะนําเสนอต่อไปใน บทที่ 9 แต่ ใ ห้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านพึ ง ตระหนั ก ไว้ เ สมอว่ า การฉี ด พ่ น สารละลายดังกล่าวควรกระทํา ในปริม าณที่เ หมาะสมและได้รั บ คําแนะนํา/ความเห็นชอบจากเจ้าหน้าที่เฉพาะด้านการขจัดคราบ น้ํามันด้วย
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
45
8.3.2 การตั ก เก็ บวั ต ถุ / ตั ด แต่ ง กิ่ ง ไม้ เฉพาะที่ เ ปื้ อ นคราบ น้ํามันออกจากสิ่งแวดล้อม
ภาพก่อน-หลังการตักเก็บผักตบชวาเปื้อนคราบน้ํามันด้วยตะแกรงเหล็ก
ภาพก่อน-หลังการตักเก็บขยะเปื้อนคราบน้ํามันด้วยตะแกรงเหล็ก
ภาพการตัดแต่งกิ่งไม้เฉพาะ ส่วนที่เปื้อนคราบน้ํามัน
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
46
8.3.4 การทําความสะอาดบริเวณชายฝั่งที่พบมลพิษน้ํามัน บ่อยครั้งที่เรามักจะพบเห็นคราบน้ํามัน/ก้อนน้ํามันตาม ชายหาดซึ่ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า แหล่ ง ที่ ม าของมลสารนั้ น เกิ ด จากการ ลักลอบทิ้งของเรือประมงหรือเรือเดินสมุทร ซึ่งวิธีการจัดการกับ มลพิษน้ํามันในบริเวณดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นไปในรูปแบบของงาน ที่ต้องใช้กําลังคนและอุปกรณ์เพื่อทําความสะอาดจํานวนมาก ซึ่ง หลักในการปฏิบัติงานฯ มีดังนี้ 1) หากเป็นคราบน้ํามันเหลว ให้ใช้วัสดุอินทรีย์ หรือวัสดุ ในกลุ่มพลาสติกดูดซับไว้ 2) หากเป็นก้อนน้ํามัน (Tar ball) ทั้งในน้ํา/บนบก หรือ น้ํามันปนขยะ/วัสดุธรรมชาติ ให้ขจัดโดยการตักเก็บและรวมกองไว้ เป็นกลุ่มย่อยๆ ด้วยพลั่ว จอบ เสียม คราด หรือตะแกรงเหล็ก โดย ให้อยู่เหนือแนวน้ํา 3) ขณะปฏิบัติงานขจัดคราบน้ํามันบริเวณชายฝั่งต้อง จํากัดเส้นทางการเข้า-ออก/สัญจรระหว่างพื้นที่ๆ พบคราบน้ํามัน กับ พื้ น ที่ ส ะอาดให้ น้อ ยที่สุ ด เท่ า ที่จํ า เป็ น เพื่ อป้ อ งกั น มิใ ห้ ค ราบ น้ํามันเข้าไปเปรอะเปื้อนบริเวณพื้นที่สะอาดเพิ่มเติม 4) พึงระลึกไว้เสมอว่าการขจัดคราบน้ํามันนั้นต้องนําวัตถุ ทางธรรมชาติต่างๆ เช่น กรวด หิน ดิน ทราย เป็น ต้น ออกจาก บริ เ วณพื้ น ที่ เ กิ ด เหตุ ใ ห้ น้ อ ยที่ สุ ด เพื่ อ ให้ บ ริ เ วณดั ง กล่ า วมี สภาพแวดล้อมเหมือนเดิม/ใกล้เคียงของเดิมให้มากที่สุด
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
47
5) การจัดเก็บขยะบริเวณชายฝั่งที่พบคราบน้ํามันนั้นต้อง คัดแยกขยะทั่วไปออกจากขยะเปื้อนคราบน้ํามัน/พยายามให้มีขยะ เปื้อนคราบน้ํามันจํานวนน้อยที่สุด เนื่องจากขยะเปื้อนคราบน้ํามัน นั้นมีวิธีการกําจัดที่ยุ่งยากและต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการกําจัดแพง กว่าขยะทั่วไปหลายเท่าตัว 6) ถ้าบริเวณที่เกิดเหตุเป็นชายหาดควรลงมือทําความ สะอาดชายฝั่งในขณะน้ําลงต่ําสุดหากเป็นได้ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานฯ มี เวลาทํางานนานขึ้น อย่างไรก็ต ามทุก ครั้งของการปฏิบัติงานขจัดคราบ น้ํามันหากมีข้อสงสัยประการใดควรสอบถามโดยตรงจากเจ้าหน้าที่ เฉพาะด้ านการขจั ดคราบน้ํ ามั นในพื้ นที่ เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านฯ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งต้องมีการ จัดเตรียมชุดปฐมพยาบาลไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉินด้วย
ภาพมลพิษน้ํามันที่มักพบบริเวณชายหาด และวิธีการขจัดคราบน้ํามัน โดยการใช้พลั่ว ตะแกรงเหล็ก คราด และวัสดุดูดซับคราบน้ํามัน
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
48
บทที่ 9 วิธีการจัดการกับคราบน้าํ มัน ที่หลงเหลือจากการป้องกันและขจัด เมื่อประชาชนหรืออาสาสมัครได้ปฏิบัติงานขจัดคราบน้ํามัน ตามวิธีการในบทที่ 8 ร่วมกับเจ้าหน้าที่ๆ เกี่ยวข้องจนปริมาณมลสาร าณมล ดั ง กล่ า วในพื้ น ที่ ที่ มี ค วามสํ า คั ญ อยู่ ใ นระดั บ ที่ ย อมรั บ ได้ แ ล้ ว (ปริ ปริมาณมลพิษน้ํามันในระดับที่ยอมรับได้ หมายถึง มลพิษน้ํามันที่ ตกค้างอยู่ในสิ่งแวดล้อมแต่ไม่สามารถเคลื่อนย้าย//แพร่กระจายไป สร้างความเสียหายยังบริเวณอื่นๆ หรือสามารถปล่อยให้มลสารฯ ลสาร สลายตัวไปตามธรรมชาติได้ เพราะการขจัดคราบน้ํามันแต่ละครั้ง ไม่สามารถขจัดออกได้ทั้งหมด) ขั้นตอนสุดท้ายของการปฏิบัติงาน ป้ อ งกั น และขจั ด มลพิ ษ ทางน้ํ า เนื่ อ งจากน้ํ า มั น คื อ การจั ดการกั บ มลพิษน้ํามันที่หลงเหลือจากการปฏิบัติงานฯ อันได้แก่ บรรจุภัณฑ์ที่ ใช้ ร วบรวม/จั ด เก็ บ ยานพาหนะที่ ใ ช้ ข นส่ ง รวมทั้ ง สถานที่ แ ละ วิธีการกําจัด/บําบัดมลสารดังกล่าวออกจากบริเวณที่เกิดเหตุเพื่อ ฟื้นฟูใ ห้สภาพแวดล้อมกลับมาเหมือนเดิมหรือใกล้เคีย งของเดิม มากที่สุด ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 9.1 บรรจุภัณฑ์ที่ใช้รวบรวม/จัดเก็บ รวบรวม/จัดเก็บโดย 9.1.1 กรณีเป็นคราบน้ํามันเหลว ควรรวบรวม ใช้ถังน้ํามันเปล่าที่ไม่ใช้แล้ว หรือภาชนะอื่นๆ ที่สามารถป้องกันการ รั่วซึมของคราบน้ํามันเหลวได้ โดยหากเลือกใช้ถังน้ํามันเปล่าควร
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
49
บรรจุคราบน้ํามันเพียง 2/3 ของปริมาตรถัง ส่วนปริมาตรที่เหลือ ของถังควรเว้นว่างไว้เพื่อป้องกันคราบน้ํามันหกล้นขณะเคลื่อนย้าย ถังพร้อมทั้งควรเจาะรูใกล้ๆ กับขอบปากถังเพื่อร้อยเส้นเชือก/สลิงอัน เป็นการเพิ่มความสะดวกในการขนย้ายด้วยเครนต่อไป ภาพถังน้ํามันเปล่าที่ พร้อมใช้รวบรวม คราบน้ํามันเหลว และวิธีการขนย้ายถัง น้ํามันเปล่าด้วยเครน
9.1.2 กรณี เ ป็น ก้อ นน้ํา มัน รวมทั้ ง วัต ถุดู ด ซับ /เปื้ อนคราบ น้ํามัน เช่น วัสดุอินทรีย์ ทรายเปื้อนน้ํามัน เป็นต้น นิยมใช้ถังน้ํามัน เปล่าหรือถุงดําชนิดหนาในการรวบรวม โดยหากเลือกใช้ถุงดําชนิดหนา ควรบรรจุมลพิษน้ํามันประมาณ 1/2 ของปริมาตรถุง เนื่องจากการ ใส่เต็มถุงจะทําให้มีน้ําหนักมากเกินไปจนถุงดําอาจเกิดการฉีกขาด หรือยากต่อการขนย้ายด้วยแรงงานคน
ภาพการใช้ถงั น้ํามันเปล่า/ถุงดําชนิดหนาเพื่อเก็บรวบรวมวัตถุเปื้อนคราบน้ํามัน
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
50
9.2 ยานพาหนะที่ใช้ขนส่ง 9.2.1 กรณีเป็นคราบน้ํามันเหลว ควรเลือกใช้รถแท็งก์หรือรถ ดูด สิ่ง ปฏิกู ล เพื่ อ ใช้ ดู ดเก็ บ และขนส่ ง มลสารดั งกล่ าว แต่ ถ้ าเป็ น คราบน้ํ ามั น เหลวที่ถู ก เก็บ รวบรวมไว้ใ นถัง น้ํา มัน เปล่ าไว้แ ล้ว ก็ สามารถขนส่งโดยใช้รถบรรทุกที่มีผ้าใบปิดคลุมมิดชิดเพื่อป้องกัน ไม่ให้คราบน้ํามันหกล้นระหว่างการขนส่ง
ที่มา : http://pantip.com/topic/31324880 (2014)
ภาพรถแท็งก์/รถดูดสิ่งปฏิกูล/รถบรรทุกที่มีผ้าใบปิดคลุม เพื่อใช้บรรทุก/ขนส่งคราบน้ํามันเหลว
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
51
9.2.2 กรณีเป็นก้อนน้ํามัน รวมทั้งวัตถุดูดซับ/เปื้อนคราบ น้ํามันในถุงดําชนิดหนา หากที่เกิดเหตุเป็นหาดทรายสามารถใช้ รถบรรทุกทั่วไป/ยานพาหนะอื่นๆ ในการขนส่งได้ตามปกติ
ภาพการทําความสะอาดชายฝั่ง และยานพาหนะที่ใช้ในการบรรทุก และขนส่งวัสดุดูดซับ/เปื้อนคราบน้ํามัน
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
52
9.3 สถานที่และวิธีการกําจัด/บําบัดมลพิษน้ํามัน 9.3.1 กรณีเป็นคราบน้ํามันเหลว สามารถนําส่งไปกําจัด/ บํ า บั ด ยั ง โรงงานลํ า ดั บ ที่ 101 (ประกอบกิ จ การปรั บ คุ ณ ภาพ บํ า บั ด หรื อ กํ า จั ด ของเสี ย รวม) หรื อ โรงงานลํ า ดั บ ที่ 106 (ประกอบกิ จ การเกี่ ย วกั บ การนํ า ของเสี ย จากเรื อ (น้ํ า มั น หรื อ เคมีภัณฑ์) ที่ผ่านการใช้งานแล้วเพื่อนํากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่) ที่ ได้ รั บ อนุ ญ าตจากกรมโรงงานอุ ต สาหกรรมเรี ย บร้ อ ยแล้ ว ซึ่ ง สามารถหาข้อมูลของโรงงานทั้ง 2 ประเภทดังกล่าวได้ที่เว็บไซต์ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (www.diw.go.th) หรือเว็บไซต์ของ กรมเจ้าท่า (www.md.go.th > ข้อมูลกรม > ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม > สิ่งแวดล้อมทางน้ํา > การจัดเก็บและบําบัดของเสีย จากเรือ) 9.3.2 กรณีเป็นก้อนน้ํามัน รวมทั้งวัตถุดูดซับ/เปื้อนคราบ น้ํ า มั น สามารถนํ า ส่ ง ไปกํ า จั ด /บํ า บั ด ยั ง โรงงานลํ า ดั บ ที่ 101 (ประกอบกิจการปรับคุณภาพ บําบัดหรือกําจัดของเสียรวม) หรือ สถานที่ที่สามารถกําจัดมลสารดังกล่าวโดยใช้ระบบฝังกลบอย่าง ปลอดภัย (Secured Landfill System)
ภาพมลพิษน้ํามันที่ไม่นําไปกําจัด/ บําบัดอย่างถูกวิธี ซึ่งจะสร้าง ผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
53
เอกสารอ้างอิง กระทรวงคมนาคม. แผนป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน แห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร, 2545. กรมเจ้าท่า. ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 411/2543 เรื่อง มาตรการ ความปลอดภัยในการขนถ่ายน้ํามันและเคมีภัณฑ์. ใน ราชกิจจานุเบกษา : เล่ม 118 ตอนพิเศษ 30 ง ลงวันที่ 30 มีนาคม 2544.กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราช กิจจานุเบกษา. กรมเจ้าท่า. ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 412/2543 เรื่อง แนวทางการ จัดทําแผนปฏิบัติการและขจัดมลพิษประจําท่าเรือสําหรับการ ขนถ่ายสินค้าอันตราย. ใน ราชกิจจานุเบกษา : เล่ม 118 ตอน พิเศษ 30 ง ลงวันที่ 30 มีนาคม 2544. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. บกษา กรมเจ้าท่า. พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ําไทย พ.ศ. พ 2456. กรุงเทพมหานคร, 2535. กรมเจ้าท่า. พระราชบัญญัติเรือไทย พ.ศ. 2481. กรุงเทพมหานคร, เทพมหานคร 2550. กรมเจ้าท่า. เรือเด่นสุทธิ. กรุงเทพมหานคร, มปป.
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
54
เอกสารอ้างอิง (ต่อ) กลุ่ ม สิ่ ง แวดล้ อ ม สํ า นั ก ความปลอดภั ย และสิ่ ง แวดล้ อ มทางน้ํ า กรมการขนส่ งทางน้ําและพาณิ ช ยนาวี. เรือชลธารานุรัก ษ์ . กรุงเทพมหานคร, มปป. ดลหทัย โตธนะคุณ. วิธีการปฏิบัติงานกระบวนการป้องกันและ ขจัดมลพิษน้ํามันรั่วไหล. กรุงเทพมหานคร : กลุ่มสิ่งแวดล้อม กรมเจ้าท่า, 2554 สุชาดา กรเพชรปราณี และคณะ. คู่มือสําหรับประชาชน ความรู้ และวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ต นเมื่ อ พบเหตุ ก ารณ์ น้ํ า มั น รั่ ว ไหล. ไหล กรุงเทพมหานคร : Get Good Creation Co.Ltd, Co.Ltd 2557 สํานั ก นายกรัฐ มนตรี. ระเบีย บสํ านัก นายกรั ฐ มนตรี ว่า ด้ว ยการ ป้องกันและขจัดมลพิษทางนํ้าเนื่องจากนํ้ามัน พ.ศ. พ ๒๕๔๗, 2547. องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ. เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตร “ผูผู้ปฏิบัติงานขจัดคราบน้ํามันเบื้องต้น”. แปลโดย กรมเจ้าท่า. กรุงเทพมหานคร, มปป. องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ. เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตร “หัหัวหน้าชุดปฏิบัติงานขจัดคราบน้ํามัน”. แปลโดย กรมเจ้าท่า. กรุงเทพมหานคร, มปป.
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
55
ภาคผนวก ก. เงื่อนไขการใช้สารเคมีขจัดคราบน้ํามันในแหล่งน้ําของประเทศไทย สารเคมีขจัดคราบน้ํามันที่ใช้ในประเทศไทยได้ จะต้องเป็นชนิดที่ได้รับ อนุ ญ าตจากหน่ ว ยงานราชการในประเทศหรื อ ต่ า งประเทศ และการใช้ สารเคมีขจัดคราบน้ํามันในพื้นที่ดังต่อไปนี้ต้องขออนุญาตกรมควบคุมมลพิษ เป็นลายลักษณ์อักษร เมื่อ 1. ทะเลที่มีความลึกน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 เมตร 2. ทะเลในบริเวณที่มีทรัพยากรที่อ่อนไหวต่ หวต่อการได้รับผลกระทบจาก น้ํามัน ซึ่งหากในกรณีที่ไม่สามารถพิจารณาได้ หรือในกรณี อในกรณีที่มีความจําเป็น เร่งด่วน ให้อยู่ในดุลยพินิจของเจ้ เจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญด้านการขจัดคราบ น้ํ า มั น โดยคํ า นึ ง ถึ ง ผลกระทบโดยรวมต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม (overall net environmental benefit) และต้องแจ้งให้กรมควบคุมมลพิษทราบด้วย 3. บริเวณแหล่งน้ําจืดและน้ํากร่อย ชนิดของสารเคมีขจัดคราบน้ํามันที่อนุญาตให้ใช้ในประเทศไทย ชื่อ Agma DR 379 Agma OSD 569 Ardrox 6120 Arrow Emulsol LW SEA BRAT # 4 BP-AB
บริเวณที่อนุญาต ให้ใช้ได้ S B RS S B RS * S B RS * *
หน่วยงานที่อนุญาต MAFF MAFF AMSA MAFF * AMSA
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
ชื่อ Arrow Emulsol Super Concentrate LE2/3 Castrol Techniclean OSD 23 Caflon OSD Compound W-2096 Corexit 9500 Corexit 9527 Corexit 9550 Dasic Slickgone LTS Dasic Slickgone LTSW Dasic Slickgone NS Dispersit SPC 1000TM Finalsol OSR 51 Finasol OSR 52 Gamlen OD 4000 Gamlen OSR 4000 Inipol IP 80 Inipol IP 90 JD-109 MARE CLEAN 200 Maxi-Clean 2 NEOS AB 3000 NU CRU Seacare Ecosperse
56
บริเวณที่อนุญาต ให้ใช้ได้ S B RS
หน่วยงานที่อนุญาต
S B RS
MAFF
S B RS S B RS * * * S B RS S B RS
MAFF MAFF U.S. EPA, AMSA U.S. EPA, AMSA AMSA MAFF MAFF, AMSA*
S B RS *
MAFF, AMSA U.S. EPA
S B RS S B RS S B RS S B RS S B RS S B RS * * S B RS * S B RS S B RS
MAFF MAFF1, US.EPA* MAFF MAFF MAFF MAFF U.S. EPA U.S. EPA MAFF U.S. EPA MAFF MAFF
MAFF
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
ชื่อ OSD/LT Oil Spill Dispersant Seacare OSD Shell VDC Shell VDC+ Superdispersant 25 Tergo R-40 Veclean Oil Dispersant JD – 2000TM NOKOMIS 3-F4 PETROBIODISPERS
57
บริเวณที่อนุญาต ให้ใช้ได้ S B RS
หน่วยงานที่อนุญาต
S B RS * * S B RS * S B RS
MAFF AMSA AMSA MAFF AMSA MAFF
* * *
U.S. EPA U.S. EPA U.S. EPA
MAFF
หมายเหตุ : S = ทะเล, B = หาด, RS = หาดหิน, * = ไม่ได้กําหนดไว้ MAFF = Ministry of Agriculture, Fisheries and Food (ประเทศสหราชอาณาจักร) U.S. EPA = U.S. Environmental Protection Agency (ประเทศสหรัฐอเมริกา) AMSA = Australian Maritime Safety Authority (ประเทศออสเตรเลีย)
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
58
ข. รายชื่อ ที่อยู่ พร้อมหมายเลขโทรศัพท์และโทรสารของหน่วย ปฏิบัติการป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน หน่วยงาน
1. กรมเจ้าท่า
ที่อยู่
1278 ถนนโยธา แขวงตลาด น้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ 10100 (marine@md.go.th)
1.1 ส่วนกลาง ศูนย์ปลอดภัยทางน้ํา (ตลอด 24 ชั่วโมง) กลุ่มสิ่งแวดล้อม (envi@md.go.th) ส่วนตรวจการเดินเรือ ศูนย์ควบคุม (traffic@md.go.th) การจราจรและความ ปลอดภัยทางทะเล (จ.ชลบุร)ี 1.2 สํานักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 1 สํานักงานเจ้าท่า 189 ม.3 ซ.สงเคราะห์ทหาร ภูมิภาค ผ่านศึก ต.ช้างเผือก อ.เมือง สาขาเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50300 (chiangmai@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 67/22 ต.นครสวรรค์ออก ภูมิภาค อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000 สาขานครสวรรค์ (nakhonsawan@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 817 หมู่ 3 ต.เวียง อ.เชียงแสน ภูมิภาค จังหวัดเชียงราย 57150 สาขาเชียงราย (chiangrai@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 222 หมู่ 3 ต.วังพิกุล อ.วังทอง ภูมิภาค จ.พิษณุโลก 65130 สาขาพิษณุโลก (phitsanulok@md.go.th)
โทรศัพท์ โทรสาร
0-22331311-8
1199 0-22343832 02-2330437 0-38400270-1, 0-38495161-3
0-22383017
0-22343832 0-38495161
0-53357437
0-53357439
0-56256582,
0-56256583
0-53777460-1,
0-53777460,-1
0-55304327, 0-55241807
0-55304327
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขาแพร่
161 หมู่ 1 ต.ป่าแมต อ.เมือง แพร่ จังหวัดแพร่ 54000 (phrae@md.go.th)
1.3 สํานักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 2 สํานักงานเจ้าท่า ถ.อู่ทอง ต.หอรัตนชัย ภูมิภาค อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา สาขาอยุธยา 13000 (ayutthaya@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 349/63 ม.3 ต.โพธิ์พระยา ภูมิภาค อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี 72000 สาขาสุพรรณบุรี (suphanburi@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 7/9 ซ.เทพสตรี 2 ต.ทะเลชุบศร ภูมิภาค อ.เมือง จ.ลพบุรี 15000 สาขาลพบุรี (lopburi@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 100/6 ม.2 ถ.นครอินทร์ ต. ภูมิภาค บางไผ่ อ.เมือง จ.นนทบุรี สาขานนทบุรี 11000 (nonthaburi@md.go.th) 1.4 สํานักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 3 สํานักงานเจ้าท่า 703 ถนนประสิทธิ์พัฒนา ภูมิภาค ต.แม่กลอง อ.เมือง สาขาสมุทรสงคราม จ.สมุทรสงคราม 75000 (samutsongkhram @md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 275/1 ถ.สวนสน ภูมิภาค ต.เกาะหลัก อ.เมือง สาขาประจวบคีรีขันธ์ จ.ประจวบคีรีขันธ์ 77000 (prachuap@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 30 ม.12 ต.ปากแพรก อ.เมือง ภูมิภาค จ.กาญจนบุรี 71000 สาขากาญจนบุรี (kanchanaburi@md.go.th)
59
0-54530958
0-54534642, 0-54534643
0-35241733
0-35241733
0-35536294
0-35536294
0-36414423
0-34614423
0-24471526, 0-24471731
0-24471526
0-34711270, 0-34715424
0-34711270, 0-34715613
0-32603929
0-32550889
0-34564345, 0-34563464
0-34564365
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขาสมุทรสาคร สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขาเพชรบุรี
930/48ค ซ.เจียมอนุสรณ์ ต.มหาชัย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000 (samutsakhon@md.go.th) 315 ม.2 ต.ธงชัย อ.เมือง เพชรบุรี จ.เพชรบุรี 76000 (phetchaburi@md.go.th)
สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขานครปฐม
อาคารที่ทําการองค์การบริหาร ส่วนตําบลไร่ขิง อ.เมืองสาม พราน จ.นครปฐม 73210 (nakhonpathom@md.go.th) 1.5 สํานักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 4 สํานักงานเจ้าท่า 1/7 - 35 ถ.แหลมสนอ่อน ภูมิภาค ต.บ่อยาง อ.เมือง จ.สงขลา สาขาสงขลา 90000 (songkhla@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 360 ม.6 ถ.ปากน้าํ ต.รูสะมิแล ภูมิภาค อ.เมือง จ.ปัตตานี 94000 สาขาปัตตานี (pattani@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 28 ถ.หน้าเมือง อ.เมือง ภูมิภาค จ.สุราษฎร์ธานี 84000 สาขาสุราษฎร์ธานี (suratthani@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขาชุมพร สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาคสาขา นครศรีธรรมราช
218 หมู่ 10 ถ.ปากน้ําชุมพร สายเก่า ต.ท่ายาง อ.เมือง จ.ชุมพร 86000 (chumphon@md.go.th) 214 ถ.ชายน้ํา ต.ปากพนัง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช 80140 (nakhonsi@md.go.th)
60
0-34412688
0-34412688
0-32424107, 0-32428942 0-34327669
0-32424107
0-74311323, 0-74311615 0-73460167
0-74324937
0-34327669
0-73460167
0-77272587, 0-77285657 0-77553255
0-77553255
0-75356654
0-75348007
0-77272587
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขานราธิวาส
ม.9 ถ.ศูนย์ราชการ ต.โคกเคียน 0-7353อ.เมือง จ.นราธิวาส 96000 2074, (narathiwat@md.go.th) 0-73532076 สํานักงานเจ้าท่า ท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ท้อง 0-7737ภูมิภาค ศาลา ต.เกาะพะงัน อ.เกาะพะงัน 7783 สาขาเกาะพะงัน จ.สุราษฎร์ธานี 84280 (phangan@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า อาคารท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ 0-7742ภูมิภาค แห่งที่ 2 บ้านท่าดอน 6157 สาขาเกาะสมุย ต.อ่างทอง อ.เกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี 84140 (samui@md.go.th) 1.6 สํานักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 5 สํานักงานเจ้าท่า ถ.ศักดิเดช ต.วิชิต อ.เมือง 0-7639ภูมิภาค จ.ภูเก็ต 83000 1174 สาขาภูเก็ต (phuket@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 109 ถ.รัชดา ต.กันตัง อ.กันตัง 0-7525ภูมิภาค จ.ตรัง 92110 1536 สาขาตรัง (trang@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 248 ม.7 ถ.ท่าเรือ ต.ไสไทย 0-7561ภูมิภาค อ.เมือง จ.กระบี่ 81000 2669 สาขากระบี่ (krabi@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 60/2 ม.5 ต.ปากน้ํา อ.เมือง 0-7787ภูมิภาค จ.ระนอง 85000 3966-7 สาขาระนอง (ranong@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 73/10 ถ.เทศบาลบํารุง ต.ถ้ํา 0-7646ภูมิภาค น้ําผุด อ.เมือง จ.พังงา 0639, สาขาพังงา 82000 0-7641(phangnga@md.go.th) 1066 สํานักงานเจ้าท่า ท่าเทียบเรือตํามะลัง ต.ตํามะลัง 0-7471ภูมิภาค อ.เมือง จ.สตูล 91000 0655 สาขาสตูล (satun@md.go.th)
61
0-73532075 0-77377783 0-77426157
0-76391174 0-75251995 0-75612669 0-77873968 0-76460639, 0-76411066 0-74710655
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน 1.7 สํานักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 6 สํานักงานเจ้าท่า 57/6 ถ.พาสเภตรา ต.บางปลา ภูมิภาค สร้อย อ.เมือง จ.ชลบุรี สาขาชลบุรี 20000 (chonburi@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 25 ถ.สุขเกษม ต.หน้าเมือง อ. ภูมิภาค เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 สาขาฉะเชิงเทรา (chachoengsao@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 7/1 ถ.เมืองใหม่-มาบตาพุด ภูมิภาค สาย 7 ต.มาบตาพุด อ.เมือง สาขาระยอง จ.ระยอง 21150 (rayong@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า 18 ถนนแผ่นดินทอง3 ต.ตลาด ภูมิภาค อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 สาขาจันทบุรี (chanthaburi@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขาตราด สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขาสมุทรปราการ
99/10 ม.10 ต.แหลมงอบ อ.แหลมงอบ จ.ตราด 23120 (trat@md.go.th) 170 ถ.ด่านเก่า ต.ปากน้ํา อ.เมือง จ.สมุทรปราการ 10270 (samutprakan@md.go.th) สํานักงานเจ้าท่า (อาคารกู้ภัยทางทะเล) หัวเขา ภูมิภาค แหลมบาลิ ฮ าล ม.9 ต.หนอง สาขาพัทยา ปรื อ อ .บางละมุ ง จ.ชลบุ รี 20150 (pattaya@md.go.th) 1.8 สํานักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 7 7 สํานักงานเจ้าท่า 526 ถ.มีชัย ต.ในเมือง ภูมิภาค อ.เมือง จ.หนองคาย 43000 สาขาหนองคาย (nongkhai@md.go.th)
0-38278346 0-38511101 0-38514358 0-38687455-8
62
0-38278346, 0-38278349 0-38513861 0-38687457
0-39311755, 0-39313689 0-39597595-6
0-39313689, 0-39311755 0-39597596
0-23894884, 0-23952566-7 0-38411441, 0-38411478
0-23894884, 0-23952566-7 0-38411478
0-42422757, 0-42460835
0-42460835, 0-42411723
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขาอุบลราชธานี สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขานครราชสีมา สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขานครพนม สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขาขอนแก่น
สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขาหนองบัวลําภู สํานักงานเจ้าท่า ภูมิภาค สาขายโสธร 2. กองทัพเรือ 2.1 ส่วนกลาง สายด่วน ศูนย์ปฏิบัติการ กองทัพเรือ
195/1 ถ.พรหมราช ต.ในเมือง 0-4525อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 6270, (ubon@md.go.th) 0-45256269 69 ม.8 ต.ท่าช้าง อ.เฉลิมพระ 0-4475เกียรติ จ.นครราชสีมา 30230 0269, (nakhonrat@md.go.th) 0-44750270 93 ม.1 ต.เงินพระบาท อ.ท่าอุเทน 0-4259จ.นครพนม 48120 3233 (nakhonphanom@md.go.th) 744 ม.2 ถนนมิตรภาพ ต.ศิลา 0-4347อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 0002, 0-43234640, 0-4323(khonkaen@md.go.th) 4579 231 ม.6 ต.ลําพู อ.เมือง 0-4246จ.หนองบัวลําภู 39000 0835 (nongbualamphu@md.go.th) 468/4-5 ถ.เลี่ยงเมือง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ยโสธร 35000 (yasothon@md.go.th) พระราชวังเดิม ถ.วังเดิม แขวง 0 2475 วัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ 5184 กรุงเทพฯ 10600
63
0-45256270 0-44750270 0-42593233 0-43470002, 0-43234640 0-42411723
1696 0 2475 0 2418 4521 0413 (24 ชั่วโมง) 0 2465 5356
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน 2.2 ทัพเรือภาคที่ 1 ศูนย์ประสานการ ปฏิบัติในการรักษา ผลประโยชน์ของชาติ ทางทะเลเขต ๑ (ศรชล.เขต ๑) 2.3 ทัพเรือภาคที่ 2 ศูนย์ประสานการ ปฏิบัติในการรักษา ผลประโยชน์ของชาติ ทางทะเลเขต 2 (ศรชล.เขต 2) 2.4 ทัพเรือภาคที่ 3 ศูนย์ประสานการ ปฏิบัติในการรักษา ผลประโยชน์ของชาติ ทางทะเลเขต 3 (ศรชล.เขต 3) 3. กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย
ต.สัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ๒๐๑๘๐
0 3843 8532
0 3873 8008
3 ถนนริมทะเล ตําบลบ่อยาง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000
0 7432 5804
0 7432 5804
83 ถ.ศักดิเดช ต.วิชิต อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83000
0 7693 1590
3/12 ถ.อู่ทองนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
สายด่วน ส่วนกลาง
4. สมาคมอนุรักษ์ สภาพแวดล้อมของ กลุ่มอุตสาหกรรม น้ํามัน
64
555 สํานักงาน ปตท.พระโขนง ชั้น 10 ถ.อาจณรงค์ แขวง คลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10260
1784 0 2243 0020 ถึง 27 0 2241 7470 ถึง 74 0 2239 7955 ถึง 6
0 2241 7466 0 2241 7499 0 2239 7917
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน 5. กองบังคับการ ตํารวจน้ํา 6. กรมควบคุม มลพิษ สายด่วน สํานักจัดการ คุณภาพน้ํา (ส่วน แหล่งน้ําทะเล) 7. กรมทรัพยากร ทางทะเลและ ชายฝั่ง
สํานักอนุรักษ์ ทรัพยากรทาง ทะเลและ ชายฝั่ง 8. การท่าเรือแห่ง ประเทศไทย แผนกสื่อสาร
65
0 2384 2342
0 2394 1962 0 2384 5905 92 ซอยพหลโยธิ น 7 ถนน 0-2298- 0-2298พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขต 2000 2002 พญาไท กทม. 10400 1650 0-2298- 0-22982215 5381 ที่อยู่ 120 หมู่ที่ 3 อาคารรวม หน่วยราชการ ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ถ. แจ้ง วัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขต หลักสี่ กทม. 10210
444 ถ.ท่าเรือ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กทม. 10110
02-2982591
02-2982591
0-21411341 ถึง 2
0-2143 9263
0-22693000 0 2269 3481, 0 2672 7132
0-26727156 0 2249 0885
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
ค. ตัวอย่างแบบฟอร์มแจ้งเหตุเมื่อพบน้ํามันรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ํา 1. ชื่อผู้แจ้งเหตุ……………………………………………………….... หมายเลขโทรศัพท์…………………………………………………. 2. วันที่พบเห็นคราบน้าํ มัน………………............... เวลา……………… ระยะเวลาที่รั่วไหล……….…….................................ชั่วโมง 3. สถานที่ที่พบคราบน้ํามัน…………………................................................... ซอย…................................................ ถนน……………………………….. ตําบล………………………… อําเภอ…………….…………….… จังหวัด……………………………..…………….………………… สิ่งสังเกตที่อยู่ใกล้ที่สุด……………………………….……………. 4. แหล่งกําเนิดมลพิษน้ํามัน [ ] เรือบรรทุกน้ํามัน [ ] เรือสินค้า [ ] เรือประมง [ ] คลังน้ํามัน [ ] ท่อส่งน้ํามัน [ ] แท่นขุดเจาะน้ํามัน [ ] ไม่ทราบสาเหตุ [ ] สาเหตุอื่น ๆ (ระบุ)……………...…..... 5. สาเหตุของการรั่วไหล [ ] เรือโดนกัน [ ] เรือรั่ว [ ] ท่อส่งน้ํามันรั่ว/แตก [ ] คลังน้ํามันชํารุด [ ] เรือจม [ ] ไม่ทราบสาเหตุ [ ] สาเหตุอื่น ๆ (ระบุ)……………...…....................................................... วันที่เกิดเหตุ………………………………….. เวลา……………... 6. รายละเอียดเรือ (กรณีแหล่งกําเนิดมลพิษน้ํามันเป็นเรือ) ชื่อเรือ.………………….………………………………………….. หมายเลขประจําเรือเรือ……………………….…………………… ชื่อเจ้าของเรือ หรือตัวแทนเรือ ………………...………….……… ความเสียหายของเรือ………………………………………...…… ……………………………………………………………………..
66
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
67
7. ชนิดและปริมาณของคราบน้ํามัน [ ] น้ํามันดิบ [ ] น้ํามันเตา [ ] น้ํามันเครื่อง [ ] น้ํามันอื่นๆ (ระบุ) ……….....……...................................................... ปริมาณ……………………………………............................................ 8. ลักษณะของคราบน้ํามัน [ ] แผ่นหนา [ ] แผ่นฟิล์มบางๆ [ ] กระจายเป็นหย่อมๆ [ ] สีดํา [ ] สีน้ําตาล [ ] สีรุ้ง [ ] สีเงิน 9. คราบน้ํามันครอบคลุมพื้นที่ กว้าง ……………………..…เมตร ยาว……….….…….…..….....เมตร 10. กระแสน้าํ ทิศทาง…………………………………………….…... ความเร็ว……………..………………………………… กระแสลม ทิศทาง …………………………………………….….. ความเร็ว………………..…………………........................... สภาพแวดล้อมอื่นๆ ................………………………………………. …………………………………………………………………….... 11. มีการดําเนินการเพือ่ แก้ไขสถานการณ์แล้วอย่างไรบ้าง .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ .........................................................................................................................................................
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
68
ง. ยุทธวิธที ี่นิยมใช้ในการป้องกันและขจัดคราบน้ํามัน 1. กักและเก็บคราบน้ํามัน (Containment and recovery of oil) ด้วยทุ่น กักคราบน้ํามัน (Boom) และเครื่องเก็บคราบน้ํามัน (Skimmer) เพื่อลดการ แพร่กระจายของคราบน้ํามันออกเป็นบริเวณกว้าง
2. ปกป้องพื้นที่ (Protection of area) ที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจหรือ สิ่งแวดล้ อมด้ วยทุ่นกั กน้ํา มัน เพื่ อป้อ งกัน มิใ ห้คราบน้ํ ามัน เข้ าไปทําความ เสียหายต่อบริเวณดังกล่าว
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
69
3. ใช้สารเคมีขจัดคราบน้ํามัน (Application of chemical dispersant) เพื่อทําให้คราบน้ํามันในน้ําแตกเป็นหยดเล็กๆ และย่อยสลายไปโดยเร็วด้วย กระบวนการทางธรรมชาติ การใช้สารเคมีนี้ควรกระทําในกรณีที่ปฏิบัติการ โดยใช้ ทุ่ น กั ก คราบน้ํ า มั น ไม่ ไ ด้ ผ ล หรื อ ไม่ ทั น การ หรื อ จะเป็ น ผลดี ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มโดยรวม ทั้ งนี้ ก ารใช้ ส ารเคมี ข จั ด คราบน้ํ า มั น ให้ ป ฏิ บั ติ ต าม เงื่อนไขตามกฎหมาย
4. ทําความสะอาดชายฝั่ง (Shoreline clean-up) โดยการใช้กําลังคน หรือ เครื่องกล หรือวิธีการอื่นที่เหมาะสม เมื่อคราบน้ํามันเข้าไปทําความเปรอะ เปื้อนตามบริเวณชายฝั่ง
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
70
5. ติดตามการเคลื่อนตัวของคราบน้ํามัน (Monitoring the oil slick movement) โดยการใช้ เ รื อ หรือ อากาศยาน หากทิ ศทางการเคลื่ อ นที่ ข อง คราบน้ํามันมีแนวโน้มว่าจะไม่เคลื่อนตัวเข้าสู่ฝั่งหรือบริเวณที่มีความสําคัญ ทางเศรษฐกิ จ หรื อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ แ น่ ใ จว่ า คราบน้ํ า มั น จะถู ก ขบวนการทางธรรมชาติย่อยสลายไปในกลางทะเล
ในการตัดสินใจว่าจะใช้วิธีการใดในการขจัดคราบน้ํามัน จะต้องมีการ รวบรวมและพิจารณาข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เช่น ชนิดของน้ํามัน ปริมาณ การรั่ว ไหล ทิ ศทางและความเร็วของกระแสน้ํา กระแสลม สภาพอากาศ พื้นที่ที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้เพื่อที่จะได้เลือก วิธีการที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการที่จะลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากคราบ น้ํามัน สําหรับผู้ที่จะเป็นผู้พิจารณาข้อมูลดังกล่าวและตัดสินใจเลือกวิธีการ ขจัดคราบน้ํามันได้นั้น ต้องเป็นผูท้ ี่มีพื้นฐานความรู้ด้านมลพิษจากน้ํามันและ ได้รับการฝึกอบรมทางด้านนี้มาโดยเฉพาะ
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
71
จ. แผนผังขั้นตอนการปฏิบัติงานป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจาก น้ํามันของกรมเจ้าท่า
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
72
คณะที่ปรึกษา 1. นายปกรณ์ ประเสริฐวงษ์ 2. นางสาวดลหทัย โตธนะคุณ
หัวหน้ากลุ่มสิ่งแวดล้อม หัวหน้างานควบคุมและป้องกันภาวะ มลพิษทางทะเล 3. จ่าเอกปรีชา ทองสุข ผู้บังคับการเรือเด่นสุทธิ 4. นางสาวสุนทรี ภิรมย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชํานาญการ 5. พันจ่าเอกสมเกียรติ ไพรศรี เจ้าพนักงานสื่อสารชํานาญงาน 6. เจ้าหน้าที่ประจําเรือขจัดคราบน้ํามัน กลุ่มสิ่งแวดล้อม
ผู้จัดทํา นายศุภกิตต์ เจียรสุวรรณ์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชํานาญการ งานควบคุมและป้องกันภาวะมลพิษทางทะเล กลุ่มสิ่งแวดล้อม สํานักความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมทางน้ํา กรมเจ้าท่า
คําขอบคุณ ขอขอบคุณรูปภาพป้ายข้อความสวยๆ จาก “บล็ บล็อกเนยสีฟ้า” http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=bluebutter&month= 9 http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=bluebutter&month=0 2012&date=10&group=32&gblog=24
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
73
กลุ่มสิ่งแวดล้อม สํานักความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมทางน้ํา กรมเจ้าท่า มีภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ • สํารวจและศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมทางน้ํา • เสนอแนะเพื่อออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับหรือมาตรการป้องกัน มลภาวะทางน้ํา • ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางน้ํา • ให้ความเห็นและเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการที่มีผลกระทบต่อ สภาวะสิ่งแวดล้อมทางน้ํา ใบอนุญาตในส่วนของการรักษาคุ ษา ณภาพ • พิจารณากําหนดเงื่อนไขท้ายใบอนุ สิ่งแวดล้อม สําหรับขออนุญาตก่อสร้าง ขยายต่อเติม หรือต่อเติม หลังต่ออายุใบอนุญาตใช้ท่าเทียบเรือและสิ่งล่วงล้ําลําน้ําอื่นๆ • ติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมทางน้ํา อากาศและเสียง และ ประเมินผลการปฏิบัติตามเงื่อนไขท้ายใบอนุญาตของโครงการต่ าตของโครงการ างๆ • ขจัดมลพิษทางน้ําที่เกิดจากน้ํามัน สารเคมีและของเสียอื่นๆ • พิจารณาอนุสัญญาและกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับ การป้องกันภาวะมลพิษทางทะเลเนื่องจากการขนส่งทางน้ํา • เผยแพร่ความรู้ในการป้องกันและขจัดภาวะมลพิษ
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
74
จากภาระหน้ า ที่ ดั ง กล่ า ว กลุ่ ม สิ่ ง แวดล้ อ มได้ แ บ่ ง หน้ า ที่ ความรับผิดชอบในส่วนงานต่างๆ ดังนี้ 1. งานควบคุมและป้องกันภาวะมลพิษทางทะเล 1.1 รับแจ้งเหตุน้ํามัน/สารเคมีและอื่นๆ รั่วไหล รวมทั้งจัดเก็บ และวิเคราะห์ข้อมูล 1.2 ปฏิบัติการป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ํา 1.3 จัดฝึกอบรมและฝึกซ้อมการป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ํา เนื่องจากน้ํามัน 1.4 พิจารณาประกาศรายชื่อผู้ให้บริการจัดเก็บและบําบัดของ เสียจากเรือ 2. งานตรวจสอบและประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2.1 กําหนดเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมท้ายใบอนุญาตก่อสร้างสิ่ง ล่วงล้ําลําน้ํา 2.2 พิจารณาตรวจสอบและประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการ ท่าเทียบเรือ 2.3 ติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมของโครงการท่าเรือ และสิ่งล่วงล้ําลําน้ํา 3. งานวิเคราะห์ (ห้องปฏิบัติการ) 3.1 พิจารณาอนุญาตระบายน้ําสู่แหล่งน้ําสาธารณะ 3.2 ติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําในแหล่งน้ําสาธารณะ 3.3 ติดตามตรวจสอบน้ําทิ้งจากโครงการต่างๆ สู่แหล่งน้ําสาธารณะ
คู่มือ“การป้ การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
แผนที่ตั้งกรมเจ้าท่า
75
คู่มือ“การป้องกันและขจัดมลพิษทางน้ําเนื่องจากน้ํามัน” ฉบับประชาชน
งานควบคุมและป้องกันภาวะมลพิษทางทะเล อาคาร 6 ชั้น 4 กลุ่มสิ่งแวดล้อม สํานักความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมทางน้ํา กรมเจ้าท่า โทรศัพท์/โทรสาร 0 2234 3832 (ศูนย์ปลอดภัยทางน้ํา โทร. 1199 ตลอด 24 ชั่วโมง)
76