MSU x Urban Action
MSU x Urban Action
CONTENT ANALYSIS PART
DESIGN PART
A. DATA AND ANALYSIS • SETTLEMENT AND HISTORY • IMAGE OF THE CITY (VIDEO) • URBAN FORM • โครงข่ายการสัญจร ระบบถนน ระบบขนส่งสาธารณะ • เส้นทางเดินและการใช้พื้นที่ทางเท้า • URBAN/OPEN SPACE • USERS AND ACTIVITIES • LOCAL CULTURE
B. PROBLEM AREAS SWOT / TOWS C. VISION AND CONCEPTS , CONCEPTUAL PLAN
A. MASTER PLAN • DETAIL PLAN • โครงการออกแบบปรับปรุงเพื่อรองรับจุดเปลีย ่ นถ่าย การสัญจร • โครงการออกแบบฟื้ นฟู พื้นที่ทางวัฒนธรรม • โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และจุดเปลี่ยนถ่ายริมคลอง
B. DESIGN GUIDELINE
2
ANALYSIS PART
MSU x Urban Action
ป้ อ มปราบศั ต รู พ่ าย แขวงวัดโสมนัส แขวงบ้านบาตร แขวงคลองมหานาค แขวงวัดเทพศิรินทร์
เขต "ป้อมปราบศัตรูพ่าย" ตั้งขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ป้อมป้องกันข้าศึก ที่ตั้งอยู่ใต้ตลาดนางเลิง ้ บ้านญวน ใกล้สะพานนพวงศ์ ซึ่งเป็นหนึ่งใน เจ็ดป้อมทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ขึ้นตลอดฝั่งคลองผดุงกรุงเกษม (คูพระนครใหม่ในสมัยนั้น) ต่อมาเมื่อ ตัวเมืองขยายออกไปมากขึ้นและความจาเป็นในการป้องกันศัตรูด้วย ป้อมปราการก็หมดไป ป้อมนี้จึงถูกรื้อลงพร้อมกับป้อมอื่น ๆ
4
MSU x Urban Action
SITE LOCATION
5
บทบาทของพื้ นที่โครงการ
สนามม้านางเลิง ้
เขตป้ อ มปราบศั ต รู พ่ า ย เป็ น เขตชั้ น ในของกรุ ง เทพมหานคร(เป็ น ชั้นนอกของเกาะรัตนโกสิ นทร์ ) ที่มีความสาคัญทั้งในด้านเศรษฐกิจและ การ ปกครอง นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งโบราณสถาน โบราณวัตถุและศิลปวัฒนธรรม ที่สาคัญ ซึ่งสร้างอย่างประณีต บรรจง บ่งบอกเอกลักษณ์ศิลปะของชาติไทย เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งร้อยละ 80 ของเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ประกอบ อาชีพทาง ธุรกิจ พื้ นที่ส่วนใหญ่เป็นย่านการค้า สถานประกอบการธุรกิจ เช่น ตลาดโบ๊เบ๊ ตลาดคลองถม ตล าดวรจั ก ร ตลาดมหานาค รวมทั้ ง เป็ น ที่ ตั้ ง สถาน ประกอบการและอาคารพาณิชย์ค่อนข้างหนาแน่น
เกาะรัตนโกสินทร์ ชั้นกลาง
ที่ตั้งและอาณาเขต
(เขตพระนคร)
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของฝั่งพระนคร มีอาณาบริเวณติดต่อกับเขตข้างเคียง ดังนี้ •
ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตดุสิต มีคลองผดุงกรุงเกษมเป็นเส้นแบ่งเขต
•
ทิศ ตะวั น ออก ติ ดต่ อ กั บ เขตปทุ ม วัน มี ค ลองผดุ ง กรุง เกษมเป็ น เส้ น แบ่งเขต
•
ทิศใต้ ติ ดต่ อกั บเขตสั ม พั น ธวงศ์ มีถ นนพระรามที่ 4 และถนนเจริ ญ กรุงเป็นเส้นแบ่งเขต
เยาวราช
แขวงวัด โสมนัส
แขวงคลอง มหานาค
•
หัวลาโพง
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตพระนคร มีคลองรอบกรุง (คลองโอ่งอ่าง) และถนนราชดาเนินนอกเป็นเส้นแบ่งเขต
แขวงบ้าน บาตร
แขวงวัด เทพศิรินทร
MSU x Urban Action
ROAD NETWORK
BUS STOP PUBLIC TRANSPORT CIRCULATION PROPOSED PEDESTRIAN CIRCULATION EXISITING CYCLING CIRCULATION
PORT
CANAL
SHIPPING SYSTEM CIRCULATION EXISITING PEDESTRIAN CIRCULATION PROPOSED PEDESTRIAN CIRCULATION
DISTRICT
BUILDING
LANDMARK
SITE
10 MINUTES WALK
20 MINUTES WALK
5 MINUTES WALK
20 MINUTES WALK
EXISITING PEDESTRIAN CIRCULATION PROPOSED PEDESTRIAN CIRCULATION EXISITING CYCLING CIRCULATION
6
MSU x Urban Action
7
DISTRICTS
ย่านกล้วยทอดเก่าแก่ และสนามมวยถนนราชดาเนิน ที่มีการเชื่อมต่อไปยังสนามม้าและย่านราชการต่าง ๆ
ย่านการค้าไม้ใกล้ถนนวัดสระเกศ การทาวัสดุไม้ ประตูหน้าต่าง และวัสดุต่าง ๆ ที่ทาด้วยไม้
LANDMARK
แขวงคลองมหานาค
แขวงวัดโสมนัส 1
สนามมวยราชดาเนิน
5
บ้านนราศิลป์
1
พิพิธภัณฑ์วังวรดิศ
2
วัดโสมนัสราชวรวิหาร
6
ตรอกละครชาตรี
2
ตลาดโบ๊เบ๊
3
ตลาดนางเลิง ้
7
วัดสุนทรธรรมทาน (วัดแค
3
โรงพยาบาลหัวเฉียว
4
โรงหนังเฉลิมธานี
นางเลิ้ง)
แขวงวัดเทพศิรินทร 1 วัดเทพศิรินทรา
วาสราชวรวิหาร
ย่านบ้านบาตรที่ยังมีการทาบาตรและเหลือที่ เดียวในแขวงบ้านบ้าน
ย่านยศเสเป็นการค้าของชา และร้านอาหารดัง เช่น ร้านไอติมหม้อไฟ เอลวิสสุก้ี และซีฟูด ้
แขวงบ้านบาตร 1
ป้อมมหากาฬ
2
ถนนกล้วยทอด
3
วัดภูเขาทอง
4
ชุมชนบ้านบาตร
5 6
ผัดไทยประตูผี ร้านเจ๊ใฝ
MSU x Urban Action
8
SOCIETY AND CULTURE แขวงวัดโสมนัส
ชุมชนแออัด อยู่แบบเครือ ญาติมีใช้ประโยชน์ร่วมกัน เป็นชุมชนเขมรคริสต์ตัง ใหญ่ปนเปกับผู้มีเชื้อสาย โปรตุเกส และมีชาวมอญ และพ่ อค้าชาวจีน
ECONOMY การค้าย่านตลาดนางเลิง ้
https://www.bkkmenu.com/eat/stories/nanglueang.html
การค้าย่านตลาดนางเลิ้งเป็นย่านที่ ขายของสด อาหารขึ้นชื่อ และขนมที่ อร่อยและเป็นตลาดเก่าที่ผู้คนในสมัย นั้นนิยม
แขวงบ้านบาตร์แขวงคลองมหานาค
เทศกาลงานสมโภชองค์ พระบรมสารีริกธาตุ และ ลอยกระทงที่ภูเขาทอง
การค้าย่านตลาดโบ้เบ้เซ็น การค้าย่านตลาดโบ้เบ้ เป็นตลาดที่ ขายของส่ง และขายปลีก เป็นย่าน ที่ขายเสื้อผ้าและอุปกรณ์เครื่องใช้ รวมทั้งอาหารสดตลาดปลา ตลาด ผักสด และผลไม้
แขวงวัดเทพศิรินทร
พิ พิธภัณฑ์พระพุ ทธศาสนา วัดเทพศิรินทราวาสราชวร วิหารวิถีชีวิต, วัฒนธรรม, ประเพณี, ภูมิปัญญา และ ศาสนา
ย่าน์MRT สายสีส้ม ถนนหลานหลวง
ย่าน MRT สายสีส้มถนนหลาน หลวง เป็นย่านเศรษฐกิจใหม่ท่จ ี ะ เกิดขึ้นในอนาคต ทั้งจุดเปลี่ยน ถ่ายของระบบคมนาคม ย่านที่ พั กอาศัย และคอนโดมีเนียม
MSU x Urban Action
9
DISTRICTS
ย่านกล้วยทอดเก่าแก่ และสนามมวยถนนราชดาเนิน ที่มีการเชื่อมต่อไปยังสนามม้าและย่านราชการต่าง ๆ
ย่านการค้าไม้ใกล้ถนนวัดสระเกศ การทาวัสดุไม้ ประตูหน้าต่าง และวัสดุต่าง ๆ ที่ทาด้วยไม้
LANDMARK
แขวงคลองมหานาค
แขวงวัดโสมนัส 1
สนามมวยราชดาเนิน
5
บ้านนราศิลป์
1
พิพิธภัณฑ์วังวรดิศ
2
วัดโสมนัสราชวรวิหาร
6
ตรอกละครชาตรี
2
ตลาดโบ๊เบ๊
3
ตลาดนางเลิง ้
7
วัดสุนทรธรรมทาน (วัดแค
3
โรงพยาบาลหัวเฉียว
4
โรงหนังเฉลิมธานี
นางเลิ้ง)
แขวงวัดเทพศิรินทร 1 วัดเทพศิรินทรา
วาสราชวรวิหาร
ย่านบ้านบาตรที่ยังมีการทาบาตรและเหลือที่ เดียวในแขวงบ้านบ้าน
ย่านยศเสเป็นการค้าของชา และร้านอาหารดัง เช่น ร้านไอติมหม้อไฟ เอลวิสสุก้ี และซีฟูด ้
แขวงบ้านบาตร 1
ป้อมมหากาฬ
2
ถนนกล้วยทอด
3
วัดภูเขาทอง
4
ชุมชนบ้านบาตร
5 6
ผัดไทยประตูผี ร้านเจ๊ใฝ
MSU x Urban Action
10
LANDMARK
สนามมวยราชดาเนิน
ตรอกละครชาตรี
ชุมชนบ้านบาตร
วัดโสมนัสราชวรวิหาร
ตลาดนางเลิ้ง
โรงหนังเฉลิมธานี
บ้านนราศิลป์
วัดสุนทรธรรมทาน
ป้อมมหากาฬ
ถนนกล้วยทอด
วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร
พิ พิธภัณฑ์วังวรดิศ
ตลาดโบ๊เบ๊
โรงพยาบาลหัวเฉียว
วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร
MSU x Urban Action
11
BEHAVIOR แขวงวัดโสมนัส์, แขวงบ้านบาตร
USER
นักท่องเที่ยว
ประชาชนทั่วไป
20.00-21.00
15.00-16.00
10.00-11.00
WHEN
พ่อค้าแม่ค้า
18.00-19.00
13.00-15.00 09.00-10.00
16.00-17.00
12.00-13.00
06.00-08.00
แขวงคลองมหานาค์, แขวงวัดเทพศิรินทร
USER พื้ นที่ย่านตลาดเก่า และย่านการค้าไม้ในอดีต ในเขตวัดโสมนัส และเส้นถนนหน้าวัดสระ
นักท่องเที่ยว
ประชาชนทั่วไป
พ่อค้าแม่ค้า
เกศ มีกิจกรรมการค้าขาย และสถานที่ท่องเที่ยวทางศาสนา และยังเป็นย่านราชการ การใช้ งานทั่วไปมีทั้งคนในพื้ นที่ และคนภายนอกที่เข้ามาจับจ่ายซื้อของ และผ่านไปยังสถานที่ราชการ พื้ นที่ย่านตลาดโบ้เบ้ และย่านวัดเทพศิ รินทร์ในเขตถนนหลานหลวง และเส้นถนนหน้า คลองผดุงกรุงเกษรม มีกิจกรรมการค้าขาย และสถานที่ท่องเที่ยวทางศาสนา และยังเป็นย่าน
WHEN 13.00-15.00
ราชการ โรงเรียน การใช้งานทั่วไปมีทั้งคนในพื้ นที่ และคนภายนอกที่เข้ามาจับจ่ายซื้อของ และ มีกิจกรรมฌาปนกิจศพสาหรับคนในระดับชั้นสูงเป็นประจา
09.00-10.00 06.00-08.00
20.00-21.00
15.00-16.00
10.00-11.00
12.00-13.00
18.00-19.00
16.00-17.00
MSU x Urban Action
นางเลิ้ง เป็นย่านเก่าแก่ท่ม ี ีบทบาทสาคัญของเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ย่านนางเลิ้ง ในอดีต ตลาดนางเลิ้งก่อตั้งมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 แต่เดิมเรียกว่าบ้านสนามควาย ก่อนจะเรียกว่า “อีเลิ้ง” คือตุ่มชนิดหนึ่งของชาวมอญ จนในยุคจอมพล ป. พิ บูลสงคราม ได้มีการเปลี่ยนชื่อ อีกครั้งเป็น “นางเลิ้ง” จนถึงปัจจุบัน ที่ย่านนางเลิ้งมีเสน่ห์ของความเป็นเครือญาติท่อ ี ยู่ในวิถีชีวิตประจาวัน ยังคงทาให้ชุมชนนางเลิ้งเป็น เสมือนกับ “ชนบทกลางเมือง”
ชนบทกลางเมือง
12
MSU x Urban Action
ACCESS & LINKAGE
สนามม้า นางเลิ้ง กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
การเดินทางเข้าสู่ย่านนางเลิ้ง วัดโสมนัสวรวิหาร
รถประจาทาง์
ตลาดนางเลิง ้ วัดสุนทรธรรมทาน
ท่าเรือผ่านฟ้าลีลาศ
•
สาย 171 ผ่าน ถ.นครสวรรค์
•
สาย 53 ผ่าน ถ.กรุงเกษม
•
สาย 2,8,44,59,60,79,183,511,A4,S1 ผ่าน ถ.หลานหลวง
•
สาย 49 ผ่าน ถ.จักรพรรดิพงษ์
ทางน้า์ ท่าเรือโบ้เบ้
•
มีเรือคลองแสนแสบ ท่าเรือโบ้เบ้ เดิน 14 นาที
•
ท่าเรือผ่านฟ้าลีลาศ เดิน 11 นาที
ที่จอดรถ์ •
ริมถนนนครสวรรค์ รถเดินทางเดียวระหว่าง 9.00-15.00 น. เดิน 3 นาที
วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร
สถานี รถไฟหัว ลาโพง
13
•
ริมถนนกรุงเกษม เดิน 4 นาที
•
ในวัดสุนทรธรรมทาน ( วัดแคนางเลิ้ง) เดิน 5 ทาน
•
ในวัดโสมนัสวรวิหาร เดิน 5 นาที
•
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เดิน 5 นาที
อนาคต •
รถไฟฟ้า MRT สายสีส้ม (สถานีหลานหลวง)
MSU x Urban Action
14
TIMELINE
2325 สมัยรัชกาลที่ 1 มี ชุมชนชาวเขมรมีฝีมือ ในการปั้นโอ่ง ตุ่ม ไห หม้อดินเผา ในภาษา เขมรหม้อใหญ่เรียกว่า “ชนังเลิง”ทาให้ผู้คน เรียกชาวเขมรว่า บ้านชนังเลิง และเรียก ต่อๆกันมาจน กลายเป็นชื่อ “นางเลิง ้ ”
2394 สมัยรัชกาลที่ 4 การ สร้างเส้นทาง คมนาคมทางบกและ ทางน้า มีการขุดคลอง ผดุงกรุงเกษมเชื่อมไป ยังแม่น้าเจ้าพระยาทิศ เหนือและทิศใต้ เพื่ อให้ เรือบรรทุกสินค้า เกษตรมาขึ้นที่ตลาด มหานาค
2440 ตลาดนางเลิ้งเป็น ตลาดบกแห่งใหม่ท่เี ป็น อาคารตึกของหลวง ตลาดสดของพระนคร เรียกว่า “ซิงตั๊กลัก” หรือ “ตลาดใหม่” คู่กับ ตลาดเก่าเยาวราช ชาว พระนครเรียกโดยทั่ว กันว่า”ตลาดนางเลิง ้ ”
2443 วันที่29 มีนาคม ร. ศ.118 (พ.ศ.2443) เปิดตลาดนางเลิ้ง อย่างเป็นทางการ ครั้งแรก
2461 โรงภาพยนตร์ นางเลิ้งของบริษัท พั ฒนาการ เปิด ฉายครั้งแรก ต่อมา จึงเปลี่ยนชื่อเป็น “เฉลิมธานี” ในสมัย รัชกาลที่ 7
2473 มกราคม เวลา 15.25 น. เกิด เหตุการณ์ไฟไหม้ เสียหายเกือบร้อย หลังคาเรือน
2516 เกิดไฟไหม้ครั้ง ใหญ่ชุมชนตรอก สะพานขาว และปี ถัดมา เริ่มมีการ สร้างตึกแถว แฟลต ริมถนน พระเนียง
25202540 ชุมชนเมืองเริ่ม ขยายออกไปชาน เมือง ตลาด บรรยากาศเริม ่ ซบ เซาถดถอย
MSU x Urban Action
15
HISTORY พื้ นที่ย่านนางเลิ้งนั้นแต่ดั้งเดิมนั้นเรียกกันว่า บ้านสนามควาย เป็นถิ่นพานักชาว มอญ(รามัญ) ริมคลองผดุงกรุงเกษมฝั่งทิศใต้ ซึ่งส่วนใหญ่มีอาชีพค้าขายตุ่ม ที่ เรียกกันตามศัพท์พ้ื นเมืองว่า อีเลิ้ง เมื่อมีการขุด คลองผดุงกรุงเกษม เพื่ อขยายอาณาเขตของราชธานี ในระหว่าง สมัยรัชกาลที่ 4 ก่อนจะมีการตัดถนนเลียบคลองที่เรียกกันว่า ถนนกรุงเกษม ใน เวลาต่อมา ก็ได้นาความเจริญมาสู่พ้ื นที่ริมสองฝั่งคลองขุดใหม่อย่างมากมาย โดยเฉพาะพื้ นที่แถบ อีเลิ้ง ซึ่งในยุคที่บ้านเมืองปกครองด้วยนายกชื่อ จอมพล ป. พิ บูลสงคราม ได้มีการปรับชื่อเรียกให้ฟง ั สุภาพขึ้นเป็น นางเลิ้ง อย่างที่รู้จักกัน มาจวบจนวันนี้
สะพานเทวกรรมรังรักษ -สะพานนางเลิ้ง https://www.silpa-mag.com/history/article_10629
ในปี พ.ศ. 2404 ได้เริ่มตัดถนนบารุงเมือง และชักชวนให้ผู้มีทรัพย์สร้างสะพานข้ามคลองที่มี ชุมชนชาวต่างชาติ และมีผู้คนตั้งบ้านเรือนอยู่มากกว่าพื้ นที่อ่ืน นับเป็นการขยายเมืองเพิ่ มเติมจากการขุดคลองเดิม ในปี พ.ศ. 2426 ได้เริ่มมีการตัดถนนสนามควาย หรือถนนนครสวรรค์ในปัจจุบันเป็นถนนที่ ตัดผ่านย่าน นางเลิง ้ โดยชาวบ้านมักจะเรียกว่าถนนหน้าตลาด รูปแบบเป็นตึกแถวแบบฝรั่งริมถนน นครสวรรค์ สูงสอง ชั้น หลังคาทรงปั้นหยามุงกระเบื้องว่าว ชั้นบนเจาะหน้าต่างชนิดบานคู่ เป็นไม้แบบลูกฟักกระดานดุน กรอบ หน้าต่างเป็นกรอบปูนปั้นลวดลายสวยงาม http://www.reurnthai.com/index.php?topic=3462.285
การพั ฒนาครั้งสาคัญของย่านนางเลิ้งเกิดขึ้นในระหว่างสมัยรัชกาลที่ 5 หลังจาก มีการตัดถนนเข้ามาผ่านย่านนางเลิง ้ เพิ่ มขึ้นอีกหลายสาย พร้อมกับการบูรณะ ถนนกรุงเกษมเดิมให้มีสภาพดีขึ้น ทาให้การเดินทางมานางเลิ้งสะดวกขึ้นเยอะ จน ดึงดูดให้เหล่าบรรดาเจ้านายและข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ นิยมมาสร้างวังและสร้างที่ อยู่อาศัยตามแนวคลองผดุงกรุงเกษมกันเพิ่ มขึ้น ขณะเดียวกันก็ทาให้ชุมชนและ การค้าขายในลาน้าทยอยย้ายขึ้นมาปักหลักทากินกันบนบกตามไปด้วย ครั้น กรุงเทพฯ เริ่มมีรถราใช้กันอย่างแพร่หลายยิ่งขึ้น
คลองผดุงกรุงเกษม์ขุดสมัย์ร.4์ เชื่อมแม่น้าเจ้าพระยาด้านเหนือ
คลองแสนแสบ
http://xn--12cr0fscb.com/?fbclid=IwAR2C2WJFHCJzs91hpYZecSv-fGmwAXSNSje5fwve5YvDOe3y14b4HTvMGHM
MSU x Urban Action
16
สถานที่สาคัญ ตลาดนางเลิ้ง ตลาดนางเลิง ้ เป็นตลาดบกแห่งใหม่ท่เี ป็นอาคารตึกของหลวงให้เช่า ริมถนนนครสวรรค์และเป็นตลาดสดของพระนคร เรียกว่า “ซิงตั๊ก ลัก” หรือ “ตลาดใหม่” คู่กับตลาดเก่าเยาวราช ชาวพระนครเรียกโดย ทั่วกันว่า”ตลาดนางเลิ้ง”
ศาลาเฉลิมธานี ช่วงแรกในย่านนางเลิ้งมีสถานบันเทิงประเภทโรงลิเกเกิดขึ้นก่อน พ.ศ.2438 โรงลิเกถูกซื้อกิจการและปรับเปลี่ยนเป็นโรงหนังแทน เปิดฉายครั้งแรก 18 ธันวาคม 2461 ศาลาเฉลิมธานี เป็นโรงหนังไม้ขนาดใหญ่ เป็นที่นั่งม้ายาว ถัดไปมี โรงยาฝิ่นในตรอกตลาดนางเลิง ้ และท่องราตรีไปตามตรอกสะพาน ยาว แหล่งรวมหญิงโสเภณี และแหล่งพนัน ศาลาเฉลิมธานี
วัดแคนางเลิ้ง
ตึกสีชมพู
บ้านนราศิลป์
สถาปัตยกรรมตึกแถวย่าน นางเลิ้ง สร้างราว พ.ศ. 2440 ในช่วงยุคล่าอาณานิคมของยุโรป เป็นลักษณะอาคารแบบ Neoclassic เพื่ อแสดงถึงความ ทันสมัยให้ชาวต่างชาติได้เห็น เพื่ อ ลดกระแสที่ว่าประเทศไทยยัง ล้าสมัย
บริษัทสร้างภาพยนตร์ไทยใน ยุคแรกๆ และได้จัดงานแสดง โขนในสมัยรัชกาลที่ 6 จน กลายเป็นแหล่งขึ้นชื่อในการ เช่าชุดราปักชุกละครโขน ปัจจุบันเป็นแหล่งเรียนรู้ทาง วัฒนธรรมชองชุมชน
อาคารริมถนนใหญ่จะเป็นตึกแถว 2 ชั้น แต่ด้านหลังจะเป็นชั้นเดียว อาจปรับเป็น 2 ชั้นครึ่ง จึงมีท่ี ระบายอากาศแบบช่องลม เดิม เป็นโกดังเก็บของ แต่มีการต่อ เติมชั้นสองเข้าไปให้เป็นที่อยู่ อาศัย
บ้านเต้นรา
ตรอกละครชาตรี
บ้านไม้สุดคลาสสิคในยุค 6070 อดีตเป็นแหล่งพบปะเข้า สังคมและจังหวะการเต้นลีลาศ ให้กับคนรักเสียงดนตรี ปัจจุบันเป็นพิ พิธภัณฑ์ท่ส ี อด เต้นและจัดแสดงงานศิลปะให้ คนรุ่นใหม่
บ้านของศิลปิน นักดนตรีปี พาทย์ และนักแสดงละครชาตรี ตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้น ปัจจุบันตรอกนี้โดนไฟ ไหม้และเหลือเพี ยงแค่ป้าย
วัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยรัชกาล ที่ 3 เมื่อครั้ง พ.ศ.2500 เคยเป็นโบสถ์ท่ส ี ูงที่สุดใน ประเทศไทย และเป็นที่รู้จัก กันดีในนามของที่เก็บอัฐิ ของประเอกหนังไทย มิตร ชัยบัญชา
MSU x Urban Action
17
คลองผดุงกรุงเกษม์ เป็นคลองที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯมีพระราชดาริให้ขุดขึ้นในปีแรกที่ครองราชย์ เพื่ อขยายเมืองให้กว้างออกไป ซึ่งก็ได้ พื้ นที่เพิ่ มขึ้นมาอีกเท่าตัว คลองนี้เป็นย่านการค้าที่สาคัญของกรุงเทพฯตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน มีเรือขนสินค้ามาส่งตามย่าน ของสินค้าริมฝั่งคลอง เช่น ปากคลองด้านเทเวศร์เป็นตลาดข้าวและวัสดุก่อสร้าง รวมทั้ง อิฐ กรวด หิน กระเบื้อง ไม้เสา และ ไม้กระดาน ย่านสะพานเทวกรรมมีชาวมอญนาโอ่งดินจากสามโคก ปทุมธานี มาวางขาย จนเรียกย่านนี้ว่า “อีเลิ้ง” ซึ่งเป็น ภาษามอญแปลว่า “โอ่ง” ต่อมาคนไทยเห็นว่าไม่สุภาพ เลยเรียกกันใหม่ว่า “นางเลิ้ง” ส่วนย่านสี่แยกมหานาคเป็นแหล่ง ผลิตผลทางการเกษตร ทั้งผักและผลไม้ ที่หัวลาโพงก็มีโกดังสินค้าที่ขนมาทางรถไฟ ปากคลองมีโรงน้าแข็งของบริษัทนาย เลิศ ทั้งยังมีโรงสี โรงเลื่อยอยู่หลายแห่งริมคลอง ซึ่งทั้งคนอยู่และคนผ่านต่างก็นิยมใช้คลองเป็นถังขยะด้วยกันทั้งนั้น คลอง ผดุงกรุงเกษมจึงเป็นคลองที่ต้ืนเขินเร็ว ต้องขุดลอกอยู่เป็นประจา ปัจจุบันไม่มีการคมนาคม ใช้เพี ยงเป็นที่ระบายน้า และถูก ตกแต่งอย่างสวยงาม มีเขื่อนคอนกรีตตลอดคลอง และมีถนนขนาบทั้ง 2 ข้าง
สาวงามและการถ่ายแบบกับตุ่ม “อีเลิ้ง
ตุ่ ม สามโคก” หรื อ “ตุ่ ม อี เ ลิ้ ง ” ลั ก ษณะปากและก้ น แคบ ป่ อ ง กลาง เนื้อดินสีแดงใบไม่ใหญ่นักและมีขนาดเล็กใหญ่ ต่างๆ กัน เพราะเคยปรากฏข้อความถึง การทาอาหารพวกน้ายาเลี้ยงคน จานวนมากก็ใส่อีเลิ้งหลายใบด้วยกัน เป็นของรุ่นเก่าที่เล่ากัน ว่าผลิตแถวสามโคกซึ่งยังหาร่องรอยไม่ได้ว่าผลิตขึ้นที่ใดและ เลิกทากันไปตั้งแต่เมื่อไหร่และแม้แต่เตาสามโคกที่วัดสิงห์ ก็ยัง ไม่พบร่องรอยการผลิตนั้น รือมอญบ้านศาลาแดงเหนือรุ่นที่ ๓ ไปซื้อโอ่งราชบุรีที่โรงงาน บ้านท่าเสา จังหวัดราชบุรี ถ่ายภาพโดย : มาณพ แก้วหยก พ.ศ. ๒๕๓๘
MSU x Urban Action
Strengths
18
Weaknesses
• • •
มีอาคารเก่าที่สวยงามและยังคงเอกลักษณ์อยู่จานวนมาก มีการเข้าถึงทั้งทางบกและทางน้า พื้ นที่ติดคลองผดุงกรุงเกษมและคลองมหานาคทาให้มีช่องทางการสัญจรเพิ่ มมากขึ้น
• • •
เป็นย่านที่ขายอาหารและขนมโบราณ ที่หารับประทานได้ยาก เป็นย่านการค้าปลีกและค้าส่งที่สาคัญของกรุงเทพมหานคร การท่องเที่ยวแบบ One day trip
• • •
มีวัดที่เก่าแก่และสาคัญของพื้ นที่ มีพิพิธภัณฑ์เพื่ อการเรียนรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ เป็นพื้ นที่ประวัติศาสตร์ท่เี ก่าแก่และแรกเริ่มของ กรุงเทพมหานคร
•
•
มีความแออัดของพื้ นที่และการจราจรบนท้องถนน • มีความเสื่อมโทรมทางด้านภูมิทัศน์และอาคาร
• ขาดแรงจูงใจในการเข้ามาใช้งานในบางพื้ นที่ Business Model มีความล้าสมัยขาดการปรับตัวให้เข้ากับ ปัจจุบัน
•
• ชุมชนกาลังจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ แนวโน้มประชากรในพื้ นที่ลดลงเรื่อย ๆ
SWOT • • • • •
•
มีโครงสร้างพื้ นฐานระบบราง MRT สายสีส้มเข้ามาใน พื้ นที่ มีโอกาสที่จะได้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ต่าง ๆในพื้ นที่ ชุมชนมีความพร้อมที่จะร่วมกันพั ฒนาทางด้านการค้าและบริการ คนในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการที่จะต่อยอดสินค้าและ บริการ การเข้ามาของระบบรางทาให้เข้าถึงพื้ นที่ได้ง่าย สามารถกระตุ้น เศรษฐกิจ ศาสนสถานมีพ้ื นที่จานวนมากทาให้สามารถจะพั ฒนาทางด้านสังคมและคนในชุมชนได้
Opportunities
•
• ขาดแคลนพื้ นที่จอดรถ • ช่องทางสัญจรมีความคับแคบ • ทางเดินเท้าถูกรุกล้าโดยร้านค้าต่าง ๆ มีข้อกฎหมายควบคุมความสูงของอาคารอยู่ในพื้ นที่ • ปัญหาการเข้ามาของ MRT • •
ทางภาครัฐมีการแก้ไขปัญหาได้ไม่ตรงจุด ขาดการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจของชุมชน
• ขาดกลุ่มคนรุ่นใหม่ท่จ ี ะเป็นแรงผลักดันในการพั ฒนา • ไม่มีการโฆษณาประกาศเชิญชวนหรือส่งเสริมชุมชน
Threats
MSU x Urban Action
ย่านของกิน วัดดัง
สรุปบทบาทพื้ นที่
สถานที่สาคัญ เส้นทาง MRT
ที่ย่านนางเลิ้งนี้มีความสาคัญไม่ใช่เฉพาะเป็นย่านวิถีชีวิตที่ยังคงมี เอกลักษณ์หรือเป็นย่านเก่าแก่ของพื้ นที่ แต่ตลาดนางเลิ้งเป็นศูนย์ รวมผู้คนต่าง ๆที่เข้ามาใช้งาน ย่านนางเลิ้งมีศักยภาพสามารถ รองรับผู้คนที่เข้ามาใช้งานในตัวตลาดนางเลิ้งเองและรองรับการ ใช้งานของสถานที่โดยรอบที่เชื่อมต่อกันกับตลาดนางเลิ้งได้ดี ทั้ง มีอาหารคาวหวานที่อร่อย และยังมีศักยภาพด้านวิถีชีวิต ที่กล่าวได้ ว่าเป็นเสมือนกับชนบทกลางเมือง และยังมีการอนุรักษ์อาคารเก่า และยังมีการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรม ด้วยศิลปะการแสดง ทางด้านโขนและละครชาตี รวมถึงการเข้ามาของรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สายสีส้ม ซึ่งในอนาคตจะทาให้มูลค่าที่ดินเพิ่ มขึ้นอีกด้วย
เกาะรัตนโกสินทร ชั้นกลาง (เขตพระนคร)
19
MSU x Urban Action
ย้อนความหลัง ่ ่ง วัฒนธรรมทีย ิ ใหญ่ในศตวรรษที่ 20
MSU x Urban Action
20
MSU x Urban Action
21
CONCEPTUAL PLAN
โครงการออกแบบปรับปรุงเพื่ อรองรับจุด เปลี่ยนถ่ายการสัญจร
(MRT สถานีหลานหลวง)
โครงการออกแบบฟื้ นฟู พื้นที่ทางวัฒนธรรม ตลาดนางเลิ้ง โรงหนังเฉลิมธานี อาคารสีชมพู
โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและจุด เปลี่ยนถ่ายริมคลอง คลองแสนแสบ์,์คลองผดุงกรุงเกษม
01 02
03
MSU x Urban Action
ZONING
ZONE A
่ นถ่ายการสัญจร โครงการออกแบบปรับปรุงเพื่ อรองรับจุดเปลีย •
โครงการออกแบบ MRT ถนนหลานหลวง
•
โครงการออกแบบทางเดินเท้าเพื่ อเชือ ่ มโยงแหล่งท่องเทีย ่ ว และพื้ นทีพ ่ าณิชยกรรม
ZONE B
โครงการออกแบบฟื้ นฟู พื้นที่ทางวัฒนธรรม ถนนหลานหลวง
•
โครงการออกแบบปรับปรุงตลาดนางเลิง ้
•
โครงการออกแบบปรับปรุงศาลาเฉลิมธานี
•
โครงการฟื้ นฟู อนุรักษ์อาคารสีชมพู
•
โครงการออกแบบปรับปรุงสวนสาธารณะชุมชนและลานจอดรถ
•
โครงการออกแบบทางเดินเท้าเพื่ อเชือ ่ มโยงแหล่งท่องเทีย ่ วและ พื้ นทีท ่ างวัฒนธรรม
ZONE C
22
โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและจุดเปลี่ยนถ่ายริมคลอง •
โครงการออกแบบปรับปรุงภูมท ิ ัศนคลองแสนแสบ
•
่ มโยงแหล่งท่องเที่ยว โครงการออกแบบทางเดินเท้าเพื่ อเชือ และพื้ นที่ตลาดโบ้เบ้์ถนนกรุงเกษม
DESIGN PART
MSU x Urban Action
MASTER PLAN โครงการออกแบบปรับปรุงเพื่ อรองรับจุด เปลี่ยนถ่ายการสัญจร โครงการออกแบบฟื้ นฟู พื้นที่ทางวัฒนธรรม โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและจุดเปลี่ยนถ่าย ริมคลอง
24
MSU x Urban Action
่ นถ่ายการสัญจร โครงการออกแบบปรับปรุงเพื่ อรองรับจุดเปลีย
(MRT สถานีหลานหลวง)
01
25
MSU x Urban Action
MRT สถานีหลานหลวง
26
ZONE A แนวคิดโครงการ
พั ฒนาพื้ นที่บริเวณโดยรอบสถานีรถไฟด้วยการนาพื้ นที่บางส่วนมาสร้างให้เป็นโครงการแบบ ผสมผสาน ซึ่งจะมีการเพิ่ มพื้ นที่เชื่อมต่อระหว่างโครงการแบบผสมผสานและสถานีรถไฟฟ้ากับ พื้ นที่อยู่อาศัยให้เกิดความต่อเนื่องกัน เพิ่ มการจับจ่ายใช้สอยในชุมชนโดยรอบได้ผ่านการเดิน หรือขี่จักรยาน และสร้างโอกาสแก่ผู้ค้ารายย่อยในการร่วมพั ฒนาเศรษฐกิจ และเป็นการส่งเสริม ธุรกิจรายย่อยไปด้วยในตัว
ปรับปรุงและฟื้ นฟู ทางเท้าให้มีเอกลักษณ์และสอดคล้องกับเมือง เพิ่ มสตรีทเฟอร์นิเจอร์ที่นั่งพักเพื่อให้เมืองเป็นเมืองที่น่าเดินมากยิง ่ ขึ้น อาคารรกร้างที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์นามาปรับปรุงให้เป็นสถานี MRT แห่งใหม่ (Transit Oriented Development)
TOD หลานหลวง์
ทีด ่ น ิ โดยรอบสถานีจะถูกนามาใช้ประโยชน์แบบผสมผสาน (Mixed Use Development) จะ ถูกพัฒนาอย่างกระชับ ซึ่งเป็นการพัฒนาให้พื้นที่นั้นมีความหนาแน่นสูง ผู้คนสามารถเดิน สัญจรได้อย่างสะดวก งมีบรรยากาศที่น่าเดิน ประชาชนมีทางเลือกในการเดินทางที่ หลากหลาย เช่นมีทั้งรถไฟฟ้า รถเมล์ ทางเดินเท้า ทางจักรยาน
OBJECTIVE พัฒนาพื้นที่รองรับการเข้ามาของรถไฟฟ้า MRT ที่จะเกิดขึ้นที่ บริเวณถนนหลานหลวง ปรับปรุงพื้นที่บริเวณจุดขึ้น-ลงชอง สถานี เพื่อให้เกิดกิจกรรมที่หลากหลาย ออกแบบปรับปรุง โครงข่ายการสัญจรให้เชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวและพื้นที่ ทางวัฒนธรรม
TOD URBAN CORE
TOD URBAN CENTER
TOD URBAN GENERAL
TOD EDGE
MSU x Urban Action
NECESSARY ACTIVITIES
หลานหลวง
27
ZONE A
COMMERCIAL
1 สถานี MRT หลานหลวง
Commerce space
สถานี MRT หลานหลวง
MIX USE
GREEN SPACE
BIKELEN BUS STOP
FESTIVAL ESSENTIAL EVENTS
• สนับสนุนการใช้ที่ดินแบบผสมผสานมีกิจกรรมการใช้งาน พื้นที่ที่หลากหลาย • สนับสนุนระบบขนส่งมวลชน โดยจากัดพื้นที่สาหรับรถ ประจาทาง เพื่อความปลอดภัยและสะดวกต่อผู้ใช้งาน • ส่งเสริมการปั่นจักรยาน โดยมีการจัดเส้นทางปั่นที่ ปลอดภัยและใช้ร่วมกับถนน • ออกแบบทางเท้าให้เป็นพื้นที่รองรับการเดิน • สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเดินเท้า
MSU x Urban Action
28
SECTION
MIX USE
MIX USE
สถานี์MRT หลานหลวง
GREEN SPACE
MIX USE
ทางขึ้น-ลง์MRT
MIX USE
GREEN SPACE
ทางขึ้น-ลง์MRT
MSU x Urban Action
29
SECTION
MIX USE
MIX USE BUS LANE BIKE LANE
อาคารพาณิชยกรรม
3.00
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
1.00
3.00
BUILDING
SIDEWALK
BUS LANE
SIDEWALK
BUILDING
ถนนหลานหลวง
อาคารพาณิชยกรรม
MSU x Urban Action
30
MSU x Urban Action
31
MSU x Urban Action
32
MSU x Urban Action
33
MSU x Urban Action
34
MSU x Urban Action
35
MSU x Urban Action
36
MSU x Urban Action
โครงการออกแบบฟื้ นฟู พื้นที่ทางวัฒนธรรม
37
ZONE B
INNOVATION HUB PEDESTRIAN CIRCULATION
NANG LOENG CIRCULATION
CHALERM THANI OLD PAVILION CIRCULATION
1
2
3 PEDESTRIAN PROMENADE
MSU x Urban Action
โครงการออกแบบฟื้นฟู พื้นที่ทางวัฒนธรรม
ตลาดนางเลิ้ง
38
02
MSU x Urban Action
ตลาดนางเลิ้ง
39
ZONE B
แนวคิด์“ตลาดชุมชน”
ตลาดชุมชนเป็นกระจกสะท้อนคุณภาพชีวิตและประตูต้อนรับผู้มาเยือน ตลาดแต่ละที่ล้วนซ่อนปรากฏการณ์ทางสังคมที่บอกเล่าเรื่องราวของเมืองนั้น ๆ เป็น แม้กระทั่งตัวชี้วัดการพัฒนาของเมืองได้ในหลายมิติ ตลาดยังเป็นพื้นที่ที่เข้าถึงได้และ ต้อนรับคนต่างถิน ่ เสมอ มันคือความรู้สึกไม่แปลกแยกและความเป็นกันเอง บทบาทพื้นที่ สาธารณะของตลาดมีส่วนสาคัญในการร่างลักษณะพฤติกรรมและกฎหมู่ของผู้คนในสังคม นัน ้ ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจิตสานึกสาธารณะของผู้คนในพื้นที่ที่จะกาหนดแนวทางว่ากฎหมู่นั้นจะ ออกมาในแง่ใด
“Fusion Food” คือการผสมผสานกันจนเกิดสิ่งใหม่ๆ สาหรับในอาหารแล้วย่อมหมายถึงการผสมผสานอาหาร หลากหลายวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน เช่น อาหารตะวันออกผสมผสานกับอาหารตะวันตก โดย คานึงถึงความเข้ากันได้ รสชาติดี หน้าตาน่ารับประทาน
OBJECTIVE ฟื้ นฟู สถาปัตยกรรมและพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่ยังหลงเหลืออยู่ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตและ คุณค่าทางประวัติศาสตร์ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ปรับปรุงพื้นที่เหล่านี้ให้เกิดความร่วมสมัย และ สอดคล้องกับการเติบโตของเมือง
MSU x Urban Action
NECESSARY ACTIVITIES
ตลาดนางเลิ้ง
40
ZONE B
ตลาดนางเลิง ้ เป็นตลาดบกแห่งใหม่ที่เป็นอาคารตึกของหลวง ให้เช่าริมถนนนครสวรรค์และเป็นตลาดสดของพระนคร เรียกว่า “ซิงตั๊กลัก” หรือ “ตลาดใหม่” คู่กับตลาดเก่าเยาวราช ชาวพระ นครเรียกโดยทั่วกันว่า”ตลาดนางเลิ้ง” ปรับปรุงตลาดนางเลิ้งให้น่าใช้งานมากขึ้น แต่ยังคง รักษาอาคารเดิมไว้เกือบทุกหมด เพื่อคงเอกลักษณ์ ของพื้นที่
FOOTPATH CIRCULATION
เพิ่มร้านอาหารหรือคาเฟ่สลับกับร้านเจ้าเก่า เพื่อดึงดูด คนกลุ่มใหม่เข้ามาใช้งานมากยิ่งขึ้นและยังคงรักษากลุ่ม ผู้ใช้งานเดิม
1 NANG LOENG MARKET CIRCULATION BIKELEN CIRCULATION FRESH MARKET STREET FOOD MARKET
FESTIVAL ESSENTIAL EVENTS
เพิ่มการใช้งานทั้งกลางและกลางคืนเพื่อปลุกความ ครึกครื้นของตลาด และเชื่อมต่อกับพื้นทีโ่ ดยรอบตลาด จัดระเบียบตลาดให้ดูสะอาดและดูน่าใช่งานมากขึ้น
CAFE
โคมไฟตุ่ม
ศาลกรมหลวงชุมพร
URBAN CANTEEN
FUSION FOOD ZONE
MSU x Urban Action 41
SECTION
MSU x Urban Action
42
MSU x Urban Action
43
MSU x Urban Action
44
MSU x Urban Action
45
MSU x Urban Action
46
พื้ น ที่ เ ชื่ อ ม ต่ อ ศ า ล า เ ฉ ลิ ม ธ า นี
MSU x Urban Action
GREEN SPACE
PARKING
47
MSU x Urban Action
โครงการออกแบบฟื้นฟู พื้นที่ทางวัฒนธรรม
โรงหนังเฉลิมธานี
02
48
MSU x Urban Action
49
อาคารโรงภาพยนตรเฉลิมธานี อาคารโรงภาพยนตร์ เ ฉลิ มธานี เป็ น อาคารที่ มี ความสาคัญในเชิงสถาปัต ยกรรมโครงสร้ างไม้ ที่ มี โครงหลังคาไม้ที่เป็นเอกลักษณ์เด่นที่สุดในประเทศ ไทย มี ค วามส าคั ญ ในเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ เ ป็ น บท บั น ทึ ก ของอุ ต สาหกรรมภาพยนตร์ ไ ทยตลอดเวลา กว่า 100 ปี
แนวคิดและทฤษฎีที่นามาใช้ แนวคิดการฟื้ นฟู สภาพ (rehabilitation) การผสมผสานระหว่างการบูรณะ กับการ เพิ่ มเติมพื้นที่อาคาร ทั้งนี้ การเพิ่มเติมจะต้องไม่ทาลายคุณค่าความสาคัญของอาคารเก่า แนวคิดการจัดการทีว ่ า่ งระหว่างสถาปัตยกรรม นามาซึ่งแนวคิดในการ ออกแบบพื้นที่ ว่างระหว่างอาคาร เช่น ระยะร่น การบอกขอบเขตพื้นที่ หรือพื้นที่ว่างระหว่างที่เกิดจากงาน สถาปัตยกรรมที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ การป้องกันอัคคีภัยและความปลอดภัยของอาคาร เนื่องจากเพลิงไหม้เป็นสิ่งอันตรายสาหรับอาคารไม้ อีกทั้งในย่านนางเลิ้งนั้นก็เคยเกิด เพลิง ไหม้ครั้งใหญ่ๆมาถึงสองครั้งด้วยกัน ดังนั้นการป้องกันอัคคีภัยและการติดตั้งระบบดับเพลิง จึงเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง
กิจกรรมใหม่
OBJECTIVE ฟื้ นฟู สถาปัตยกรรมและพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่ยังหลงเหลืออยู่ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตและคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในอดีต จนถึงปัจจุบัน ปรับปรุงพื้นที่เหล่านี้ให้เกิดความร่วมสมัย และ สอดคล้องกับการเติบโตของเมือง
ฉาย ภาพยนต
่ น ปรับเปลีย พื้ นที่ กิจกรรม
นิทรรศการ์ แกลอรี่
โครงสร้าง อาคารเดิม
MSU x Urban Action
NECESSARY ACTIVITIES
ศาลาเฉลิมธานี
50
ZONE B
DESIGN GUIDLINE Concept conservation การอนุรักษ์ เช่น การอนุรักษ์
CONCERT NIGHT MARKET
สถาปัตยกรรมเก่า อาคาร บ้านเรือน โดยรอบโรงหนัง ให้ INNOVATION HUB PEDESTRIAN CIRCULATION
2
มีสีและชนิดของวัสดุเข้ากับตัวอาคารศาลาเฉลิมธานี
DANCE STAGE DREAMS
• เป็นอาคารโครงสร้างไม้ขนาดใหญ่ทั้งหลังที่เป็น
STREET FOOD MARKET
เอกลักษณ์เด่นและมีคุณค่าเชิงประวัติศาสตร์ CINEMA
• การควบคุมสีของอาคาร • การควบคุมอาคารให้คงลักษณะเดิมทั้งสีและวัสดุ
FESTIVAL ESSENTIAL EVENTS
MSU x Urban Action
51
SECTION
STAGE
GREEN SPACE BACK STAGE WAREHOUSE
MSU x Urban Action
BEFORE
ปัญหา
• ภายนอกอาคารมีสภาพที่เก่าทรุดโทรม • เส้นทางการเชื่อมโยงตัวอาคารกับพื้ นที่โดยรอบยังไม่ชัดเจน์ พื้ นที่โล่งโดยรอบ์ยังมีการใช้งานที่ไม่เต็มประสิทธิภาพ • ทัศนียภาพด้านหน้าอาคาร์ยังขาดแรงดึงดูด
52
MSU x Urban Action
AFTER
เสนอแนะ
• ฟื้ นฟู สภาพภายนอกให้คงเดิม์มีโครงสร้างที่แข็งแรง • กาหนัดสี์วัสดุ์อาคารโดยรอบให้เข้ากับตัวอาคาร • สร้างเส้นทางเชื่อมโยงระหว่างตัวอาคารกับพื้ นที่โดยรอบให้ชัดเจน์ โดยการสร้างทางเดินเท้าให้เชื่อมกันตลอดทั้งย่าน • ปรับปรุงพื้ นที่โล่งด้านหน้าอาคาร์ให้เป็นลานที่สามารถจัดกิจกรรมได้ หลายรูปแบบ์ทั้งการ์พบปะ์ขายของ์งานแสดงย้อนยุคต่างๆ เป็นต้น
53
MSU x Urban Action
54
MSU x Urban Action
55
MSU x Urban Action
ปัญหา
• ภายในอาคารดูเก่าทรุดโทรม • และอาคารอยู่ในขัน ้ ตอนการปรับปรุงให้เป็นพิ พิธภัณฑ
เสนอแนะ
• ปรับปรุงโครงสร้างอาคารให้แข็งแรง์แต่ไม่ทาลายภาพเดิม • ปรับปรุงภายในให้ดท ู ันสมัย์และโชวโครงสร้างไม้ให้เห็นความเก่าในความใหม่ • เพิ่ มพื้ นที่จัดแสดงภาพยนตรตรงกลาง์และโดยรอบจัดเป็นนิทรรศการ
56
MSU x Urban Action
57
MSU x Urban Action
58
MSU x Urban Action
โครงการออกแบบฟื้นฟู พื้นที่ทางวัฒนธรรม อาคารสีชมพู
02
59
MSU x Urban Action
60
แนวคิดโครงการ ปรับปรุงพื้นที่ทางเดินเท้า ให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้งานทุกช่วงวัย และปรับปรุงให้เป็นย่าน Entertain ขึ้นมาใหม่อีกครั้ง เชื่อมกับตลาดเก่านางเลิ้ง ที่เป็นพื้ นที่ใช้งานหลักในการ จับจ่ายซื้อขาย มีปัญหาการจราจรติดขัด และขาดพื้นที่จอดรถ พื้นที่ทางเดินเท้าแคบและไม่ปลดภัยต่อ การเดิน อาคารสีชมพู เป็นย่านอาคารพาณิชยกรรมเก่า ที่ปัจจุบันมีการใช้งาน คือชั้นบนเป็นที่อยู่ อาศัย ชั้นล่างขายของ ร้านอาหารดัง และขนมขึ้นชื่อ เนื่องจากบางอาคารไม่มีการใช้งาน จึงทาให้เศรษฐกิจซบเซาลง
สินค้า์ตลาดเปิดวินเทจ์ยุค์60์– 90
OBJECTIVE ฟื้ นฟู สถาปัตยกรรมและพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่ยังหลงเหลืออยู่ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตและคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในอดีต จนถึงปัจจุบัน ปรับปรุงพื้นที่เหล่านี้ให้เกิดความร่วมสมัย และ สอดคล้องกับการเติบโตของเมือง
MSU x Urban Action
NECESSARY ACTIVITIES
อาคารสีชมพู
ZONE B
DESIGN GUIDELINE
3
THANACHART BANK NANG LOENG ART
Concept conservation การอนุรักษ์ เช่น การอนุรักษ์ สถาปัตยกรรมเก่า อาคาร บ้านเรือน อาคารพาณิชย กรรมเก่า โรงหนัง ร้านอาหาร
STREET FOOD
สถาปัตยกรรม Triangular pediment (สามเหลี่ยมจั่วด้านหน้าอาคาร) การควบคุมสีของอาคาร • การควบคุม Façade แบบยุค Neo- classic • การฟื้ นฟู ภูมิทัศน์ ถนน ทางเดิน ให้เป็นถนนคนเดิน
NANG LOENG NIGHT CIRCULATION
PEDESTRIAN SPACE
อาคารริมถนนจะเป็นตึกแถว 2 ชั้นเต็ม แต่ด้นหลังเป็นชั้น เดียว และอาจจะปรับเป็น 2 ชั้นครึ่ง จึงมีที่ระบายอากาศ อาคารพาณิชยกรรมแบบใหม่
อาคารพาณิชยกรรมเก่า
อาคารพาณิชยกรรมเก่า ชั้นบนเป็นที่อยู่อาศัย
แบบช่องลมลักษณะรูให้เห็น
61
MSU x Urban Action
62
SECTION
อาคารสีชมพู
2.00
1.50
3.00
3.00
3.00
3.00
1.50
SIDEWALK
BUILDING
SIDEWALK
ถนนนครสวรรค
BUILDING
2.00
อาคารสีชมพู
MSU x Urban Action
นางเลิ้งรักษาสัตว ขางเข้าด้นข้าง ตลาดนางเลิ้ง
ร้านทากรอบรูป กรุงเทพโภชนา
ถนนคนเดิน นครสวรรค
โรงรับจานา์จีนง้วน KANVILA HOUSE
ตลาดนางเลิ้ง
ธนาคารธนชาติ
63
MSU x Urban Action
64
แนวคิดการใช้อารคารเก่าปรับเปลี่ยนเป็นโฮสเทล บ้าน ๕ แผ่นดิน อาคารเก่าที่ มีเอกลักษณ์ และปรับเปลีย ่ นเป็นโฮสเทลจะมีส่วนกลางให้ได้นั่งเล่น นั่งทางาน ทานอาหารว่าง บางโฮสเทลมีห้องครัว อุปกรณ์ทาครัว เช่น ไมโครเวฟ กาน้าร้อน ฯลฯ ไว้ให้ทาอาหารด้วย ให้บรรยากาศเป็นกันเอง และชื่นชมบรรยากาศเก่าๆย่านนางเลิง ้
MSU x Urban Action
BEFORE
65
MSU x Urban Action
AFTER
66
MSU x Urban Action
67
นางเลิง ่ าศัย ้ อ๊าร์ต เป็นอาคารพาณิชยกรรมเก่า ที่ปัจจุบันมีการใช้งาน คือชั้นบนเป็นที่อยูอ ชั้นล่างขายของ ร้านอัดกรอบรูปเก่าที่มีชอ ื่ เสียงและเก่าแก่ในพระนคร
MSU x Urban Action
68
ช่วงเช้า – กลางวัน ย่านตลาดนางเลิง ้ เป็นอาคารพาณิชยกรรมเก่า ที่ปัจจุบันมีการใช้งาน ทั้งร้านของชา ร้านอาหาร และธนาคาร
MSU x Urban Action
ย่านนางเลิง ้ อาคารสีชมพู ถนนนครสวรรค์ แนวคิด การฟื้ นฟู ย่านเพื่อเพิ่มเศรฐกิจให้กับพื้นที่ และอนุรักอาคารเก่าทีม่ ีการควบคุมสีของอาคาร ฟาสาด ที่มีสถาปัตยกรรมทีง ่ ดงาม และยังฟื้ นฟู ให้เป็นย่าน Entertainment ย้อนรอยอดีตนางเลิง ้
และมีการจัดงานการเปิดตลาด Night Vintage บริเวณย่านอาคารสีชมพู ตลอดเส้นถนน ในทุกวัน อังคารและวันอาทิตย์ พร้อมทัง ้ ทุกครั้งที่มง ี านประจาปี
69
MSU x Urban Action
70
ร้านเด็ดอร่อยระดับตานาน์ ย่านตลาดนางเลิ้ง
นางเลิง ้ อ๊าร์ต เอกลักษณ์ร้านอัดกรอบรูป เก่าของพระนคร ถนนนครสวรรค์
ย่านตลาดนางเลิง ้ ตลาดที่ขายอาหาร ขนมหวานขึ้นชื่อ 1 . จิ๊บกี่
2.ส.รุ่งโรจน์
3. อิ๋วเย็นตาโฟ
4. ข้าวแกงรัตนา
5. เนื้อตุ๋นนางเลิ้ง
6. ไส้กรอกปลาแนม
7. รุ่งเรืองบะหมี่เกี๊ยว 8. ขนมเบื้องญวณย่าแช่ม
ร้านกล้วยทอดขึ้นชื่อ ถนนหลานหลวง และเอกลักษณ์ร้านขายไม้ ถนนบริพัตร
9.. ขนมเบื้องไทยโบราณลุงน้อย
MSU x Urban Action
GUIDLINE ถนนคนเดิน ตลาดนางเลิง้ ศาลาเฉลิมธานี อาคารสีชมพู และถนนพระเนียง ส่วนใหญ่จะจัด คอนเสิร์จ โฟลค์ซอง ในศาลาเฉลิมธานี และช่วงงานเทศกาลประจาปีของย่านตลาดนางเลิง ้ เช่น งานฉลอง ราลึกมิตรชัยบัญชา
71
MSU x Urban Action
02
ถนนพะเนียง์
โครงการออกแบบทางเดินเท้าเพื่ อเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวและ พื้ นที่ทางวัฒนธรรม
72
MSU x Urban Action
ถนนพะเนียง
NECESSARY ACTIVITIES
73
ZONE B
แนวคิดโครงการ เป็นถนนที่มีทั้งทางเดินเท้าและพื้ นที่สาธารณะ มีการสร้างทาง จอดรถเพื่ อให้รถที่ขับเข้ามาในถนนพะเนียง ได้มีที่จอด และมี พื้ นที่ริมฟุ ตบาทไว้พบปะหรือจับจ่ายซื้อของ และสามารถเดิน เท้าได้ด้วยความปลอดภัย ร่มรื่น สะอาดดูแล้วไม่แออัด INNOVATION HUB PEDESTRIAN CIRCULATION
5
RESIDENTIAL AREA CIRCULATION
ออกแบบทางเดินและทางเท้า ให้เหมาะสมกับสัดส่วนคนเดิน ให้มีความสัมพั นธ์กับสภาพด้านหน้าอาคาร และบล๊อก ที่ดิน โดยการเลือกใช้วัสดุพื้นที่โดดเด่นและงดงาม โซนวางสาธารณูปโภค • โซนไว้เดินอย่างเดียว โซนหน้าอาคารเพื่ อปรับเปลี่ยนกิจกรรมใช้ ประโยชน์และตกแต่งหน้าอาคาร •
• PHRA NIANG RODE CENTRPAVILION CIRCULATION
Phra Niang Road
FESTIVAL ESSENTIAL EVENTS
MSU x Urban Action
74
SECTION
3.00
1.00
3.50
3.50
1.00
BUILDING
SIDEWALK
อาคารพาณิช ยกรรม
SIDEWALK
BUILDING
ถนนพะเนียง
3.00
อาคารพาณิช ยกรรม
MSU x Urban Action
75
MSU x Urban Action
76
MSU x Urban Action
77
MSU x Urban Action
78
MSU x Urban Action
79
MSU x Urban Action
80
MSU x Urban Action
โครงการปรับ ปรุ ง ภู มิ ทัศ น์ ริ ม คลอง คลองแสนแสบ , คลองผดุ ง กรุ ง เกษม
81
MSU x Urban Action
82
โครงการปรับปรุงภูมิทัศนริมคลอง คลองผดุงกรุงเกษม , คลองแสนแสบ์ คลองผดุงกรุงเกษม ปัจจุบัน ไม่มีการใช้งานการคมนาคมทางน้า ใช้เป็นเพียงที่ระบายน้า มี คอนกรีตตลอดคลอง มีถนนขนาบทั้ง 2 ข้าง อีกทั้งคลองผดุงกรุงเกษมเป็นคลองที่ตื้นเขินเร็ว จึงต้องมีการขุดลอกคลองอยู่เป็นประจา
แนวคิดโครงการ ใช้พื้นผิวแยกเฉพาะสาหรับจักรยาน เหมาะกับพื้นที่บนเส้นทางสายหลักของเมือง มีการ ใช้งานบนถนนจานวนมาก และมีความเร็วในระดับที่ไม่เป็นมิตรกับทางเดินเท้า จัดให้พื้นผิวการสัญจรที่อานวยต่อทางเท้าและทางจักรยานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยมีพื้นที่กันชนกับพื้นที่สาหรับยานพาหนะแบบเครื่องยนต์ แยกพื้นที่ทางเท้าแออกจากทางจักรยาน มีทางเข้าออกเฉพาะ และเชื่อมโยงกิจกรรม รวมถึงระบบขนส่งมวลชน ปรับปรุงภูมิทัศน์อาคารและพื้นที่ริมคลอง ให้เกิดการใช้งานและปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้ มีความหลากหลายเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
OBJECTIVE ฟื้ นฟู สถาปั ต ยกรรมและพื้ น ที่ ท างวั ฒ นธรรมให้ เ กิ ด ความร่ ว ม สมั ย รวมถึ ง การปรั บ ปรุ ง พื้ น ที ท างเดิ น ทางจั ก รยาน พื้ น ที่ ริ ม คลอง ให้เกิดการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก ปลอดภัย และเหมาะสม อีกทั้งยังมีประโยชน์ด้านการใช้งานเพื่ อนันทนาการ และการออกกาลังกาย
การใช้พื้นผิวแยกเฉพาะสาหรับจักรยานและทางเท้า ที่มารูป : คู่มือการออกแบบระบบกายภาพเพื่อสนับสนุนการใช้จักรยาน (ฉบับร่าง)
MSU x Urban Action
ZONE C
NECESSARY ACTIVITIES
คลองผดุงกรุงเกษม์์,์คลองแสนแสบ
INNOVATION HUB PEDESTRIAN CIRCULATION
1 SAEN SAEB CANAL CIRCULATION
BOEBE CENTRPAVILION CIRCULATION
FESTIVAL ESSENTIAL EVENTS
83
2
การขี่จักรยานไม่เพียงแต่จะช่วยในเรื่องของการรักษา สิ่งแวดล้อมเท่านั้นยังส่งผลดีต่อ สุขภาพกายและ สุขภาพจิต เพราะการขี่จักรยานเป็นการออกกาลังกายซึ่ง เอื้อต่อการปรับจิตใจให้รับ รายละเอียดและสุนทรียภาพ รอบตัว อีกทั้งจานวนการใช้จักรยานในเมืองยังบ่งบอกถึง คุณภาพของ สังคมที่เคารพสิทธิทางเลือกที่หลากหลายให้ คนเดินเท้า จักรยาน ขนส่งมวลชนและรถยนต์สามารถ แบ่งปัน พื้นที่อยู่ร่วมกันได้
MSU x Urban Action
อาคารพาณิชยกรรม
2.00
SIDEWALK
BUILDING
SIDEWALK
ถนนกรุงเกษม
SECTION
3.50
3.50
3.50
3.50
2.00
3.00
2.00
คลองดุงกรุงเกษม
84
MSU x Urban Action
85
SECTION พิ พิธภันทร ร.7
วัดสระเกศ
ท่าเรือผ่านฟ้าลีลาศ ถนนบริพัตร
ซอยดารงรักษ คลองแสนแสบ
MSU x Urban Action
BEFORE
86
MSU x Urban Action
AFTER
87
MSU x Urban Action
88
MSU x Urban Action
89
MSU x Urban Action
ค ล อ ง ผ ดุ ง ก รุ ง เ ก ษ ม
90
MSU x Urban Action
คลองแสนแสบ
91
MSU x Urban Action
คลองแสนแสบ
92
MSU x Urban Action
93
DESIGN GUIDELINE
MSU x Urban Action
94
DESIGN GUIDELINE
ถนนกรุงเกษม – คลองผดุงกรุงเกษม
PERVIOUS PAVING การปูพื้นแบบโปร่งช่วยให้น้า ไหลผ่านพื้นผิวแข็งในแนวตั้ง ได้เนื่องจากใช้ทดแทนการปู พื้นผิวที่ไม่ผ่านการรั่วซึมจึง รองรับทั้งการสัญจรทางเท้า และยานพาหนะ • transit stop • public art •
café
•
back-in parking
• Planned streetcar extension
MSU x Urban Action
95
DESIGN GUIDELINE
อาคารสีชมพู – ย่านตลาดนางเลิ้ง
MSU x Urban Action
96
97
NATPHAKAN WONGPATHUM PATCHARAPON JITBANJONG PEERAWICH PICHAI ORAYA PHANRAT PORNCHANOK WISEDSUD BARAMEE SAKPHUKHIEO PAYUT POLKEAD
MSU x Urban Action
MSU x Urban Action