THE FRIENDLY GIANT by
CONTENT
THAILAND POST HISTORY VISION MISSION SERVICE DESIGN MAIN SERVICE OTHER SERVICE RESEARCHING PROBLEM SHADOWING INTERVIEWING STAKEHOLDER MAP JOURNEY MAP สรุปปัญหาเดิมของไปรษณีย์ไทย SEVICE DESIGN BY SOMEHOW INTERIOR DESIGN APM DESIGN AND DEVELOPMENT PACKAGING DESIGN THE FRIENDLY GIANT ที่มาและความสำาคัญของโครงการ SKETCH DESIGN DIMENION AND SCALE USAGE JOURNEY MAP WHERE? APPLICATION SKETCH APPLICATION DESIGN BIBLOGRAPHY
1-2 3 3 4 5 6 7 8-10 11 12 13-14 15 16 17-20 21-25 26-28 29-30 31-32 33-35 36 37-40 41-42 43-46 47 48 49-50
1
HISTORY กว่า 130 ปีที่กิจการไปรษณีย์ไทยได้ถือกำาเนิดขึ้น ตามพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ผู้ทรงมีสายพระเนตรยาวไกล ทรงมองเห็นความ สำาคัญของการสื่อสารว่าคือหนึ่งในสิ่งที่นำาพาความเจริญ มาสู่ประเทศชาติและสร้างคุณประโยชน์แก่ประชาชน กรม ไปรษณีย์สยามจึงได้รับการก่อตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2426 โดยสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษี สว่างวงศ์ กรมหลวงภาณุพันธุวงศ์วรเดช ทรงเป็นผู้สำาเร็จ ราชการกรมไปรษณีย์และกรมโทรเลขพระองค์แรก จาก “กรมไปรษณี ย ์ ” ในยุ ค เริ ่ ม แรก กิ จ การ ไปรษณีย ์ ของไทยมีการเปลี่ยนแปลงบทบาทและสถานภาพ หลายครั้ง เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพบ้านเมือง และสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไป และจุดเปลี่ยนที่สำาคัญช่วงหนึ่งคือการ แปลงสภาพเป็น “บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำากัด” โดยเป็น องค์กรรัฐวิสาหกิจภายใต้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2546
2
การปฏิ ร ู ป กิ จ การไปรษณี ย ์ ใ นครั ้ ง นั้น คือความพยายามที่จะปรับปรุงกิจการให้ มีความคล่องตัวในระบบการบริหาร เพื่อให้มี ประสิทธิภาพ ตอบสนองทุกความต้องการของ ประชาชน เพื่อการเติบโตอย่างมั่นคง และมีราย ได้ที่เลี้ยงตัวเองได้อย่างยั่งยืนภายใต้วิสัยทัศน์ “เป็นผู้นำาในธุรกิจไปรษณีย์ด้วยเครือข่ายที่มี คุณภาพ กว้างไกลใกล้ชิดคนไทยและเชื่อถือได้ มากที่สุด”
3
VISION เป็นผู้นำาในธุรกิจไปรษณีย ์ ด้วยเครือข่ายที่มีคุณภาพ กว้างไกล ใกล้ชิดคนไทย และเชื่อถือได้มากที่สุด
MISSION - ให้บริการไปรษณีย์และบริการการเงินที่มีคุณภาพ และ ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศเพื่อเป็นสื่อกลางในการติดต่อ สื่อสารและตำาเนินการทางธุรกิจ - ขยายขอบเขตของบริการไปสู่กลุ่มลูกค้าที่กว้างขวางขึ้น และนำาเครือข่ายไปรษณีย์มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด - แสวงหาโอกาสในการดำาเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องต่อเนื่อง กับธุรกิจไปรษณีย์ทั้งการขยายขอบเขตการให้บริการ และสร้างศักยภาพในการพัฒนากิจการ - พัฒนาระบบการให้บริการและระบบข้อมุลเพื่อการ บริหารงานโดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดค่าใช้จ่ายในการให้บริการ และการบริหารงาน
4
SERVICE DESIGN
5
MAIN SERVICE
ไปรษณีย์ภัณฑ์ บริการส่งจดหมาย ทั้งแบบปกติ แบบ ลงทะเบียน และแบบด่วนพิเศษ
พัสดุไปรษณีย์ บริการส่งพัสดุ ทั้งแบบปกติ แบบลง ทะเบียน และแบบด่วนพิเศษ
6
OTHER SERVICE
บริการไปรษณีย์รับรอง บริการไปรษณีย์ลงทะเบียน บริการไปรษณีย์รับประกัน บริการไปรษณีย์ตอบรับ บริการนำาจ่ายด่วน บริการธุรกิจตอบรับ บริการหนังสือพิมพ์ตราสิน บริการรับฝากนอกที่ทาำ การ บริการหุ้มห่อ บริการไปรษณียภัณฑ์ไม่มีจ่าหน้า
บริการจัดส่งงบดุลและบัญชีกาำ ไรขาดทุนประจำาปีทางไปรษณีย์ บริการประทับตราเพื่อการเผยแพร่และโฆษณา บริการอนุญาตให้ใช้เครื่องประทับไปรษณียากร บริการชำาระค่าบริการเป็นเงินสด บริการชำาระค่าบริการเป็นเงินเชื่อ บริการไปรษณีย์รอจ่าย บริการตู้ไปรษณีย์เช่า บริการขอถอนคืนแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงจ่าหน้า บริการเพื่อธุรกิจ ได้แก่ บริการไปรษณีย์ด่วนพิเศษ บริการจัดส่งหนังสือเดินทางทางไปรษณีย์
7
RESEARCHING PROBLEM
8
SHADOWING 1
2
3
4
9
SHADOWING 5
6
7
8
10
SHADOWING 9
10
11
12
11
INTERVIEWING
CUSTOMER คนในร้านจำานวนหนาแน่น แถวคิวทับซ้อนกันไม่เป็นระบบ ไม่เข้าใจวิธีการห่อพัสดุ เก้าอี้น้อย เวลาในการทำาการ
(9/15) (11/15) (6/15) (3/15) (10/15)
PERSONNEL คนมาใช้บริการจำานวนมากเกิน มีจำานวนเค้าท์เตอร์น้อย ทำางานไม่ทันต่อความต้องการลูกค้า
(2/2) (2/2) (1/2)
12
STAKEHOLDER MAP
EXTERNAL
INTERNAL
13
JOURNEY MAP
ACTIVITIES POINT
ข่าวสารและแฟนเพจ ไม่มีการอัพเดต
หน้าร้าน ไม่มีจุดสนใจ
-1
0
ชั่งน้าำ หนัก และชำาระค่าบริการ
เข้าแถวเพื่อชั่งน้ำาหนักและจัดส่ง การต่อแถวซ้าำ ซ้อน
1
-2
ประตูบานสวิง เปิดชนคนข้างในร้าน
-1
แอพพลิเคชันเช็คพัสดุปลายทาง แอพไม่มีการแจ้งสถานะพัสดุอัตโนมัติ
2
14
ตู้ขายของที่ระลึก ถูกป้ายโฆษณาบัง
ประตูบานสวิง เปิดชนคนข้างในร้าน
-2
-1
ตู้ขายบรรจุภัณฑ์และสแตมป์ สแตมป์ไม่มีการอัพเดต
1
เขียนที่อยู่ที่ต้องการจัดส่ง ลายมืออ่านยาก
บรรจุหีบห่อ ขั้นตอนการพับกล่องยุ่งยาก
เข้าแถวเพื่อซื้อบรรจุภัณฑ์ การทำางานไม่เป็นระบบ
0
0
-1
PRE-SERVICE SERVICES POST-SERVICE
15
สรุปปัญหาการบริการเดิมของไปรษณีย์
มีคนมาใช้บริการเป็นจำานวนมาก
การแบ่งพื้นที่ภายในไปรษณีย์ไม่เหมาะสม
บรรจุภัณฑ์ไม่มีความทันสมัย
ป้ายประชาสัมพันธ์ไม่น่าสนใจ
ของที่ระลึกไม่น่าสนใจ
ชื่อและที่อยู่ผู้รับเขียนด้วยลายมือ ทำาให้อ่านยาก
แฟนเพจเฟสบุ๊คไม่อัพเดต
16
SERVICE DESIGN by
17
INTERIOR DESIGN
4
3
5 2 7
1
6
18
1
ประตูทางเข้าบานเลื่อนอัตโนมัติ เพื่อลดพื้นที่การเปิด-ประตู
2
ป้ายโฆษณาและตู้จำาหน่ายของที่ระลึกอัตโนมัติ
3
จุดจำาหน่ายบรรจุภัณฑ์
4
จุดบรรจุบรรจุภัณฑ์ และพิมพ์ชื่อและที่อยู่ลงบนแผ่นสติกเกอร์
5
จุดชั่งน้ำาหนัก
6
จุดแยกประเภทของพัสดุ (สำาหรับพนักงาน)
7
จุดชำาระค่าบริการ
19
INTERIOR DESIGN
20
INTERIOR DESIGN
21
APM DESIGN AND DEVELOPMENT
APM คืออะไร ? APM คือ เครื่องบริการไปรษณีย์อัตโนมัติ ชื่อเต็มของ APM ก็คือ Automated Postal Machine เครื่อง APM แต่เดิมสามารถชั่งน้ำาหนักพัสดุที่บรรจุหีบห่อเรียบร้อยแล้ว โดย ชั้นตอนก็คือนำาพัสดุไปชั่งน้ำาหนัก เครื่องก็จะคำานวนนำาหนักและคำานวนค่าบริการที่เรา ต้องชำาระ ซึ่งสามารถชำาระได้เพียงเงินสดและชำาระได้เฉพาะเหรียญเท่านั้น เมื่อชำาระเงิน เรียบร้อยแล้วก็นาำ พัสดุไปวางที่ช่องเก็บด้านล่างของเครื่อง ให้บุรุษไปรษณีย์นำาจ่ายในขั้น ตอนต่อไป
ปัญหาของเครื่อง APM 1. ต้องห่อพัสดุมาเอง 2.การชำาระเงินมีความยุ่งยาก 3.ต้องนำาพัสดุไปไว้ในช่องเก็บเอง และช่องเก็บไม่มีความปลอดภัย อาจเกิดการสูญหาย
22
APM DESIGN AND DEVELOPMENT
แนวทางการแก้ไขและพัฒนา 1.ออกแบบให้สามารถบรรจุบรรจุภัณฑ์แบบอัตโนมัติได้ 2.ออกแบบให้สามารถพิมพ์ชื่อและที่อยู่ผู้รับ เพื่อป้องกันพัสดุสูญหายระหว่างทาง 3.ออกแบบให้สามารถชำาระค่าบริการด้วยเงินสด (ธนบัตร) และบัตรเครดิต 4.ออกแบบให้สามารชำาระค่าบริการอื่นๆ เช่น ค่าน้าำ ประปา ค่าไฟฟ้า หรือค่าโทรศัพท์ได้ ตามบริการเดิมที่มีอยู่แล้วของไปรษณีย์ไทย 5.ออกแบบช่องเก็บของอัตโนมัติ เมื่อชำาระค่าบริการแล้ว เครื่องก็จะนำาพัสดุเข้าไปยังที่เก็บ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับพัสดุ ป้องกันการสูญหาย
23
APM DESIGN AND DEVELOPMENT
วางพัสดุลงบนเครื่อง APM
เลือกประเภทพัสดุ และคำานวณน้ำาหนัก
24
APM DESIGN AND DEVELOPMENT
สรุปราคา และพิมพ์ชื่อ - ที่อยู่
ตรวจสอบชื่อ - ที่อยู ่ และเลือกประเภทการชำาระค่าบริการ
25
APM DESIGN AND DEVELOPMENT
ชำาระค่าบริการ
ชำาระค่าบริการตามช่องที่กาำ หนด
26
PACKAGING DESIGN
27
PACKAGING DESIGN
28
29
THE FRIENDLY GIANT by
30
“เพราะสังคมไทย
คือสังคมแห่งการให้”
31
โครงการยักษ์ใจดี เพราะสังคมไทยนั้นคือสังคมแห่งการให้ ไปรษณีย์ไทยร่วมกับบริษัท somehow ขอ เป็นสื่อกลางแห่งการให้น ี้ ผ่านโครงการยักษ์ใจดี โดยมีแอปพลิเคชั่นออนไลน์ the gaint friendly และตู้อิเลคทรอนิคเคลื่อนที่ ซึ่งจะติดตั้งตามจุดต่างๆของกรุงเทพมหานคร และบนสถานีรถไฟฟ้า ยกตัวอย่างเช่น รถไฟฟ้าสถานีสยาม ,รถไฟฟ้าสถานีขิดลม ซึ่ง สามารถให้คุณสั่งสิ้นค้าโอทอปต่างๆของแต่ละภูมิภาคในประเทศไทยไปยังผู้ที่ต้องการ ความช่วยเหลือ และนอกจากนี้ยังมีมูลนิธิรักษ์เด็ก ช่วยเหลือเด็กและเยาวชน , มูลนิธิ ดวงประทีบ, มูลนิธิวัดพระบาทน้ำาพุ และอื่นๆหลากหลาย มูลนิธิ ที่จะเข้ามาร่วมเป็น ส่วนหนึ่งในการรองรับน้ำาใจ จากคนไทยถึงคนไทยด้วยกัน ม าร่วมเป็นส่วนหนึ่งแห่ง การให้ร่วมกับเรา
32
กว่าจะมาเป็นยักษ์ใจดี...
33
SKETCH DESIGN
34
SKETCH DESIGN
35
SKETCH DESIGN
36
1000.00
1850.00
300.00
850.00
370.00
180.00
DIMENSION AND SCALE
560.00 340.00
690.00
350.00
280.00
690.00
UNIT OF mm
37
USAGE
ผู้คนสนให้ความสนใจกับตู้อิเล็กทรอนิกส์ กับโครงการยักษ์ใจดีเป็นจำานวนมาก
ต่อแถวเพื่อสนับสนุนการให้ กับโครงการยักษ์ใจดี
38
USAGE
เข้าร่วมโครงการยักษ์ใจดี และชำาระเงิน เพื่อมอบหัวใจส่งไปถึงมือผู้รับ
39
USAGE
ไปรษณีย์ไทยเป็นสื่อกลางในการส่งของให้ กับมูลนิธิเพื่อสังคมต่างๆ
40
USAGE
“เพราะสังคมไทย
คือสังคมแห่งการให้”
เมื่อผู้รับมีความสุข คนให้ก็สุขใจ
41
JOURNEY MAP
ACTIVITIES POINT
ข่าวสารทางแอพพลิเคชั่น และแฟนเพจ
โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ โครงการยักษ์ใจดี
2
1
แอพพลิเคชันเช็คข่าวสารกับทางมูลนิธิ หรือในกรณีที่ด้องการบริจาคเพิ่มเติม
นำาใบเสร็จที่ได้มาแสกน QR code เพื่อ ปริ้นภาพถ่ายเป็นของที่ระลึก
1
2
42
ส่วนจัดแสดง โครงการยักษ์ใจดี
คนต่อคิวเพื่อเข้าร่วม โครงการยักษ์ใจดี
มีการแบ่งโซนถ่ายรูป เพื่อลดความหนาแน่น
2
1
2
ถ่ายภาพคู่กับตู้ยักษ์ใจดี
ชำาระเงินเป็นเงินสด หรือผ่าน ทางบัตรเครดิต บัตรแรบบิท etc.
ใช้แอพพลิเคชั่นจาก ตู้ยักษ์ใจดีเพื่อสมทบทุนการให้
1
1
2
PRE-SERVICE SERVICES POST-SERVICE
43
WHERE? @ BTS CHIDLOM
44
Central world
BTS CHIDLOM
m here
45
WHERE? @ BTS SIAM
Siam Center
m here
Paragon
46
BTS SIAM
47
APPLICATION SKETCH
48
APPLICATION DESIGN
49
BIBLIOGRAPHY
50
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2550). วิวัฒนาการไปรษณีย์ไทย. เข้าถึงได้จาก: http://postact.mict.go.th (วันที่ค้นข้อมูล : 15 มีนาคม 2559). บ้านฟังธรรม. (2552). รวมแหล่งทำาบุญ มูลนิธิ บริจาค. เข้าถึงได้จาก: http://www.fungdham.com/foundation.html (วันที่ค้นข้อมูล : 15 มีนาคม 2559). ซื้อของออนไลน์. (2559). ซื้อของออนไลน์ ขายของออนไลน์ เว็บช้อปปิ้ง. เข้าถึงได้จาก: http://www.shopat7.com (วันที่ค้นข้อมูล : 19 เมษายน 2559). โอทอปทูเดย์. (2555). ผลิตภัณฑ์โอทอปและภูมิปัญญาไทย. เข้าถึงได้จาก: http://www.otoptoday.com/news/121130205958 (วันที่ค้นข้อมูล : 19 เมษายน 2559). Herbalshopthailand. (2556). ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย. เข้าถึงได้จาก: http://www.herbalshopthailand.com (วันที่ค้นข้อมูล : 19 เมษายน 2559). บุญรักษา. (2554). ชุดสงฆภัณฑ์รูปแบบทันสมัย. เข้าถึงได้จาก: http://www.adswow.net/137493-บุญรักษา-ชุดสังฆภัณฑ์รูปแบบทันสมัย คัดสินค้า คุณภาพ-ของใช้ที่จำาเป็นสำาหร.html (วันที่ค้นข้อมูล : 19 เมษายน 2559). บุญรักษา. (2556). บุญรักษา สินค้าของเรา. เข้าถึงได้จาก: http://www.boonruksashop.com/html/product_detail.php?pro_id=MTU= (วันที่ค้นข้อมูล : 19 เมษายน 2559). ไอซีซีมาร์ท. (2554). ผลิตภัณฑ์ซักผ้าเด็กอ่อน. เข้าถึงได้จาก: http://www.icc.co.th/icc/?q=th/content/ผลิตภัณฑ์ซักผ้าสำาหรับเด็กแรกเกิดและถนอม ผิวบอบบาง-สูตรผสม-gold-silk-protein (วันที่ค้นข้อมูล : 19 เมษายน 2559).