Lampang Luang Journal : Academic Journal of Humanities and Social Sciences, Vol.1, No.1

Page 1


ปที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2556

ISSN 2350-9473

วารสารวิ ช าการ ราย 6 เดื อน ของคณะมนุษ ยศาสตร แ ละ ที่ปรึกษา ผศ.ศิริ พรมดี สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ผศ.ดร.ธนวิทย บุตรอุดม วัตถุประสงค อ.อํานาจ สงวนกลาง 1. เพื่อสงเสริมการเผยแพรผลงานวิชาการและงานวิจัยดาน มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ของคณาจารยและนักศึกษา ตลอดจน ผูทรงคุณวุฒิภายใน รศ.ชุติมา เวทการ บุคคลทั่วไป รศ.ดร.วิลาศ พุมพิมล 2. เพื่อ เปน สื่อ กลางในการแลกเปลี่ย นความคิด เห็น ทาง รศ.ดร.บุณฑวรรณ วิงวอน วิช าการที่ มี เนื้ อหาลั กษณะสหวิ ท ยาการด า นภาษา - ภาษาศาสตร , ผูทรงคุณวุฒิภายนอก วรรณกรรม - วรรณคดี , ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม, สั ง คมวิ ท ยาและ รศ.ดร.สนม ครุฑเมือง มานุษยวิทยา ฯลฯ อันจะนําไปสูการสรางเครือขายทางวิชาการดาน รศ.ดร.ประจักษ สายแสง มนุษยศาสตรและสังคมศาสตรที่เขมแข็ง รศ.วนิดา บํารุงไทย กําหนดเผยแพร ปละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม สถานที่ติดตอ กองบรรณาธิการวารสารลําปางหลวง คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ต.ชมพู อ.เมืองลําปาง จ.ลําปาง 52100 E-mail: Lampangluang@gmail.com โทรศัพท - โทรสาร 0 5431 6154 การตีพิมพซ้ํา บทความใดๆ ที่ตีพิมพในวารสาร ถือเปนลิขสิทธิ์ของ ผูเขียน หากตองการตีพิมพซ้ําตองไดรับอนุญาตจาก ผูเขียนกอน * ขอมูล ความรูตลอดจนขอคิดเห็นใดๆ เปนของผูเขียนโดยเฉพาะ คณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง และกองบรรณาธิการวารสารลําปางหลวง ไมจําเปนตองเห็นพองดวย

รศ.ดร.สุภาพร คงศิรริ ัตน รศ.ดร.สุพัตรา จิรนันทนาภรณ รศ.ดร.วัฒนา พัดเกตุ รศ.ประทีป นักป บรรณาธิการ ผศ.ประหยัด ชวยงาน กองบรรณาธิการ อ.ภาณุวัฒน สกุลสืบ อ.ตุลาภรณ แสนปรน ผศ.วิไลลักษณ พรมเสน อ.ภิญญพันธุ พจนะลาวัณย อ.ดร.สุริยจรัส เตชะตันมีนสกุล ผศ.วาที่ ร.ต. ดร.นิรันดร ภักดี อ.เอื้อมพร ฟูเต็มวงศ อ.จาตุรนต วรรณนวล อ.ชลาพันธุ อุปกิจ พิมพที่ กิจเจริญการพิมพ โทร 0 5422 1576

1


บทบรรณาธิการ วารสารลําปางหลวง ไดเวลาเปดตัวปฐมบรรพ ดวยความมุงมั่นและตั้งใจจะใหคณะมนุษยศาสตรและ สั ง คมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ลํ า ปาง มี ว ารสารวิ ช าการเพื่ อ เผยแพร ผ ลงานวิ ช าการ งานวิ จั ย ด า น มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ของคณาจารยและนักศึกษา ตลอดจนบุคคลทั่วไป อีกทั้งเพื่อเปนสื่อกลางการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการที่มีเนื้อหาในลักษณะสหวิทยาการ ดานภาษา - ภาษาศาสตร, วรรณกรรม วรรณคดี, ศิลปะและวัฒนธรรม, สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ฯลฯ อันจะนําไปสูการสรางเครือขายทางวิชาการ ดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรที่เขมแข็ง วารสารลําปางหลวง ปฐมบรรพนี้ไดนําเสนอบทความถึง 8 บทความดวยกัน ประกอบดวยบทความ วิชาการ ประชาธิปไตย ที่ไกลเกินเอื้อม บทความรับเชิญ เงื่อนประวัติศาสตรศึกษาอั้วเชียงแสนคลีโอพัตรา ราชินิกุลอียิปต - เชียงแสน มิติคิดใหมในประวัติศาสตรไทย บทความวิจัย จริยธรรมตามหลักพระพุทธศาสนา ในเพลงของสลา คุณวุฒิ, ประเมินการมีสวนรวมของประชาชนในการจัด ทํา แผนแมบ ทชุ ม ชนกับ การ พัฒ นา : กรณีศึก ษาบา นทุง อํา เภอเมือ งปาน จัง หวัด ลํา ปาง, การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตนทุนต่ํา, การวิเคราะหตัวละครผูหญิงเหนือและภาพสะทอนทางสังคม จากตัวละครผูหญิงเหนือในนวนิยายไทย และ การเปรียบเทียบองคประกอบและภาพสะทอนทางสังคมเพื่อศึกษาการแปลงนวนิยาย เรื่องมาลัยสามชายสู ละครโทรทัศน บทความปริทัศน น้ําเพียงดิน : มุมมองความงามและปรัชญาคุณคา กวาจะเปดตัวปฐมบรรพออกมาไดก็ลวงเลยเวลามามากพอสมควร ในนามบรรณาธิการตองขอเรียนวา การคิดเริ่มตนสรางสรรคเปนสิ่งที่สวยงาม โดยเฉพาะการสรางสรรคสนามวิชาการใหขอมูลความรูตางๆ ที่ผาน การกลั่นกรองเปนตัวอักษรอยางดีแลว มาโลดแลนสูสายตาผูอานในสังคมวงกวาง แตการเริ่มจากความวางเปลา ไมใชเรื่องที่งาย อยางไรก็ตาม ลําปางหลวง ไดอวดโฉมออกมาแลว สิ่งที่ทาทายตอไปคือทําอยางไรจะใหลําปาง หลวงคงอยูตลอดไป ขอขอบคุณทาน ผศ.ศิริ พรมดี คณบดีคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะที่ปรึกษา ผูทรงคุณวุฒิ ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและผูทรงคุณวุฒิภายนอก นักเขียน กองบรรณาธิการ อาจารยชลาพันธุ อุปกิจ ออกแบบ ปกอยางสวยงาม ตลอดจนทีมงานสาขาภาษาไทย สาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ทุกทานที่มีสวนชวย ใหวารสารลําปางหลวงไดถือกําเนิดเปนปฐมบรรพ ผศ. ประหยัด ชวยงาน บรรณาธิการ

2


สารบัญ

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2556

ประชาธิปไตย ทีไ่ กลเกินเอื้อม พัชรสฤษดิ์ กนิษฐเสน

1

เงื่อนประวัติศาสตรศึกษาอั้วเชียงแสนคลีโอพัตรา ราชินิกุลอียิปต-เชียงแสน มิติคิดใหม ในประวัติศาสตรไทย ศักดิ์ ส.รัตนชัย

15

จริยธรรมตามหลักพระพุทธศาสนาในเพลงของสลา คุณวุฒิ พระมหาเจียง ชวยสุมาน, ดร. พรธาดา สุวัธนวนิช พระครูปลัดสุวัฒนธีรคุณ

25

ประเมินการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทําแผนแมบทชุมชนกับการพัฒนา : กรณีศึกษาบานทุง อําเภอเมืองปาน จังหวัดลําปาง ชัยนันทธรณ ขาวงาม

37

การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตนทุนต่ํา จิตรกร แตมคลอง

47

การวิเคราะหตัวละครผูหญิงเหนือและภาพสะทอนทางสังคม จากตัวละครผูหญิงเหนือในนวนิยายไทย ขวัญฤทัย นันทธนะวานิช, ดร. พรธาดา สุวัธนวนิช ผูชวยศาสตราจารยสมเกียรติ คูทวีกุล

55

การเปรียบเทียบองคประกอบและภาพสะทอนทางสังคมเพื่อศึกษาการแปลงนวนิยาย เรื่องมาลัยสามชายสูละครโทรทัศน นิตยา มูลปนใจ

69

น้ําเพียงดิน : มุมมองความงามและปรัชญาคุณคา ชัยเนตร ชนกคุณ

81

การสงบทความลงตีพิมพ

91

3


4


ประชาธิปไตย ที่ไกลเกินเอื้อม 'OUT OF REACH' DEMOCRACY

พัชรสฤษดิ์ กนิษฐเสน1

Patcharasalid Kanittasen บทคัดยอ บทความนี้ นํ า เสนอการเปลี่ ย นแปลงการปกครองของประเทศไทย ไปสู ก ารปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอยางสมบูรณ วายังมีกลุมพลังตางๆ มากมาย กอใหเกิดความแตกแยกทางความคิด ผูเขียนได กลาวถึงประเด็นตางๆ ไดแก การไดมาของผูแทนราษฎร นโยบายของรัฐบาล การมีสวนรวมของประชาชน การ ลงประชามติ การชุมนุมประทวง การคอรัปชั่น และปญหาจากการบริหารงานผิดพลาด ตลอดจนการไมสามารถ เขาถึงนักการเมืองซึ่งเปนผูแทนของตนเอง ประชาธิปไตยของไทย จึงไมไดเปนระบอบการปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน ดังอมตพจนของอับราฮัม ลินคอลน แตเปนระบอบการปกครองของผูมีอํานาจ โดย ผู มี อํ า นาจ เพื่ อ ผู มี อํ า นาจ หรื อ การปกครองของกลุ ม ผลประโยชน โดยกลุ ม ผลประโยชน และเพื่ อ กลุ ม ผลประโยชน ปญหาในลักษณะเดียวกันนี้ เกิดขึ้นในสังคมประชาธิปไตยทั่วโลก คําสําคัญ : ประชาธิปไตย, กลุมผลประโยชน, อํานาจ, การเมือง

Abstract This article presents that a change of Thai government to complete democracy upon to power groups that causes disharmony of thought. The author talks to representative derivation, governmental policy, people participation, referendum, protest, corruption, problems of mistaken administration, and inaccessible to representatives of people. Thai democracy is not the same to Abraham quote ‘democracy is the government of the people, by the people, for the people’ but it is a government for benefit that occurs with worldwide democracy. Keywords: democracy, benefit group, power, politics.

1

อาจารยสาขารัฐประศาสนศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

1


บทนํา การพัฒนาประชาธิปไตยของไทยตลอดเวลา 78 ปที่ผานมาหากจะเปรียบเปนชีวิตคน ก็เปนถนน แหง ชีวิ ตที่ เต็ม ไปดว ยอุป สรรคขวากหนาม บางครั้ ง เดินไปได 2 กาวก็ตองสะดุดกอนหิน บางครั้งเดินไปได ระยะอีกสักหนอยก็พลาดตกลงไปในหลุมลึก กระทั่ง บางครั้ง มองเห็นแสงสวางที่ปลายอุโมงครําไร แตกลับ ตองเผชิญกับกําแพงใหญที่ขวางหนา จนตองถอยหลัง กลั บ เสี ย ก อ น ความขั ด แย ง กั น ของพลั ง กลุ ม ต า งๆ นับตั้งแตปแรกของการเปลี่ยนแปลงการปกครองไม เคยลดนอยถอยลง มีแตความพยายามจะเขามามีสวน รวมในการปะทะที่ไมสังสรรคของกลุมพลังตางๆ มาก ขึ้น นับตั้งแตพลังของกลุมศักดินาและขาราชบริพาร พลัง ของกลุม รัฐ ธรรมนูญ นิยม พลัง ของกลุม อํา นาจ นิยม พลังของกลุมอนุรักษนิยม พลังของกลุมฝายขวา พลัง ของกลุม ฝา ยซ าย พลัง ของกลุม ธุรกิจ พลัง ของ กลุ ม การเมื อ ง พลั ง ของกลุ ม อิ ท ธิ พ ล พลั ง ของกลุ ม ขาราชการ พลังของกลุมนักวิชาการ พลังของสื่อ พลัง ของทหาร พลั ง ของท องถิ่น พลั ง ของรากหญ า การ เติบโตพลังในกลุมตางๆเหลานี้ เปนธรรมชาติที่ตอง เกิ ด ขึ้ น ภายใต ส ภาพสั ง คมเศรษฐกิ จ การเมื องที่ ท วี ความซับซอน การพัฒนาที่ขาดดุลยภาพจนทําใหเกิด ปญ หาทั้ งทางด า นเศรษฐกิจ การเมืองและสัง คม ยิ่ ง เพิ่ ม พู น ความขั ด แย ง ของพลั ง กลุ ม ต า งๆ ทวี ค วาม รุ น แ ร ง ม า ก ขึ้ น จ น ดู ป ร ะ ห นึ่ ง ว า เ ร า พั ฒ น า ประชาธิปไตยไปสูความขัดแยงโดยแท กระทั่ ง การเมื อ งอเมริ กั น ที่ เ รามองจาก ภายนอกดูเหมือนมีประสิทธิภาพ เพราะเต็มไปดวย กลุมอันเปนตัวแทนของผลประโยชนอยูมาก และกลุม เหลา นี้ ตา งมี ส วนรว มในการผลั กดั น นโยบาย ตั้ง แต ในชวงการเลือกตั้งระดับตางๆ ไปจนกระทั่งในเวลา

2

บริหารงาน ซึ่งเปนไปตามแนวคิดของเจมส เมดิสัน ซึ่ ง มุ ง หวั ง ว า การแข ง ขั น ของกลุ ม ผลประโยชน ให ผลประโยชนของกลุมควบคุมผลประโยชนสวนตัว การ แขงขันของกลุมตางๆ จะนํามาซึ่งการคานอํานาจซึ่ง กันและกัน การแขงขันของกลุมผลประโยชนตางๆ นั้น จะผลั ก ดั น ให รั ฐ บาลพยายามหาจุ ด สมดุ ล และมี นโยบายที่เปนผลดีตอส วนรวมมากที่สุด โดยเชื่อว า การแขงขันเปนเรื่องที่ดี เพราะสิ่งที่ดีที่สุดมีแนวโนมจะ ประสบความสําเร็จ ตามหลักเศรษฐศาสตรของอดัม สมิธ ซึ่งสงผลกระทบอยางสูงตอทฤษฎีประชาธิปไตย เมดิ สั น คงคาดไม ถึ ง ว า เวลาผ า นไปร อ ยป กลุ ม ผลประโยชนเหลานี้เองที่ใชการล็อบบี้ในการผูกขาด การมี ส ว นร ว มในทางนโยบายของประเทศ และ กลายเป น ตั ว ผลั ก ดั น ประชาชนอเมริ กั น ส ว นใหญ ที่ไมไดสังกัดอยูในกลุมผลประโยชนกลุมใดกลุมหนึ่ง ใหหางเหินกระทั่งหลุดออกจากวงจรการเมือง ปญหาในลักษณะเดียวกันนี้ เกิดขึ้นในสังคม ประชาธิ ป ไตยทั่ ว โลก ไม เ ว น แม แ ต ก ารเมื อ งไทย ประชาชนถู ก ทํ า ให ก ลายเป น เพี ย งผู บ ริ โ ภคทาง การเมือง ดวยฝมือของกลุมผูมีบทบาททางการเมือง อาทิ กลุมผลประโยชน นักการเมือง ขาราชการ และ ทหาร พรรคการเมื อ งไทยในป จ จุ บั น เกิ ด การจาก รวมตัวของกลุมผลประโยชนของชนชั้นสูง และกลุม อิ ท ธิ พ ลในท อ งถิ่ น เป น การรวมตั ว กั น โดยผ า น เครือขายอํานาจนิยมและระบบอุปถัมภ ไมไดเปนการ รวมตัวของกลุมอุดมการณ นักการเมืองถูกมองวาเปน เพียงนักเลือกตั้ง ประชาชนจะเขาถึงนักการเมืองไดก็ ในชวงเลือกตั้งเทานั้น พรรคการเมืองไทยจึงกลายเปน เพี ยงตัว แทนกลุม อิท ธิพ ลและกลุ มธุ รกิ จที่ หนุ นหลั ง เทานั้น ไมไดเปนตัวแทนของประชาชน


ชนชั้นกลางคือฐานนโยบาย...? ในงานชิ้นสําคัญของ อเนก เหลาธรรมทัศน คือสองนคราประชาธิปไตย พยายามอธิบายวาปญหา มูลฐานของประชาธิปไตยไทย มีรากเหงามาจากความ ตองการทางเศรษฐกิจและสังคมที่แตกตางกัน ระหวาง คนชั้ น กลางหรื อคนในเขตเมื อ ง กั บ ชาวชนบทหรื อ ชาวไรชาวนา กอใหเกิดความแตกแยกทางความคิด ความตองการและพฤติกรรม ชาวไร ช าวนาเป น “ฐานเสี ย ง” ของพรรค การเมือง คือเปนผูทําใหพรรคการเมืองไดรับเลือกเขา มาบริ ห ารประเทศ จึ ง เรี ย กว า เป น “ผู ตั้ ง รั ฐ บาล” ในขณะที่คนชั้นกลางเปน “ฐานนโยบาย” และมักจะ เปน “ผูลมรัฐบาล” โดยการวิพากษวิจารณและกอ กระแสกดดัน ประทวง ขับไลรัฐบาล อันมีสาเหตุมาก จาก “ฐานเสียง” กับ “ฐานนโยบาย” มีแนวคิด ไมตรงกัน นิยมชมชอบนักการเมืองและรัฐบาลตางกัน ผูตั้งรัฐบาลมักจะกําหนดความอยู รอดและ การสิ้นสุดของรัฐบาลไมได สวนผูลมรัฐบาลเมื่อลม รัฐบาลเกาไปแลว ก็มักตั้งรัฐบาลใหมที่มีผูนําและ นโยบายอยางที่ตนเองตองการ อาจารยอเนกเชื่อวา ชนชั้ น กลางนิ ย มใช ม าตรฐานตะวั น ตกในการมอง ประชาธิปไตย ใหความสําคัญกับนโยบาย อุดมการณ คุณธรรม ความสามารถของพรรค และนักการเมือง ในการนําพาประเทศชาติ นอกจากนั้น ยังถือวาการ ลงคะแนนเสี ย งของประชาชนต อ งกระทํ า ในฐานะ ป จ เจกชนผู ใ ช วิ จ ารณญาณทางการเมื อ ง โดยไม คํ า นึ ง ถึ ง ความผู ก พั น หรื อ หนี้ บุ ญ คุ ณ ที่ มี ผู ส มั ค รรั บ เลือกตั้ง และไมคํานึงถึงอามิสสินจาง หากเราพิ จ ารณาให ดี แ ล ว จะพบว า ชนชั้ น กลางในเมืองไมไดเปนฐานนโยบาย นั่นเพราะชนชั้น กลางในเมืองโดยทั่วไป ไมไดเปนผูริเริ่มนโยบายเลย

ผูที่สรางนโยบายจริงๆ คือ นักการเมือง ขาราชการ ระดับสูง และกลุมผลประโยชนตางหาก ชนชั้นกลาง ในเมืองเปนเพียงผูที่วิพากษวิจารณ ที่เสียงดังกวาคน ในชนบนเทานั้น และเมื่ออยูใกลมากพอ มีเสียงดังพอ จนเกิดกระแสกดดัน ทําใหนักการเมืองตองพยายาม ปรับเปลี่ยนทาทีเสียกอนที่จะไมสามารถครองอํานาจ อยูได เชน ทบทวนนโยบาย ใหมีการตรวจสอบ หรือ ปรับคณะรัฐมนตรี การกระทําดังกลาวเปนไปเพื่อลด ความกดดัน กลาวไดวาเปนการกระทําโดยมีเหตุจูงใจ ในการรั กษาอํ า นาจเท า นั้ น ไม ไ ดต อบสนองในด า น นโยบายใดๆ ดังนั้นชนชั้นกลางในเมือง จึงไมไดเปน “ฐานนโยบาย” อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี ได เคยแสดงความคิดเห็นไววา โดยสวนตัวแลวเขาเชื่อวา การเลื อ กตั้ ง เขตใหญ แ บบเรี ย งเบอร ซึ่ ง จะมี ผู ที่ มี โอกาสได รั บ เลื อ กหลายคนในหนึ่ ง เขตนั้ น มี ค วาม เหมาะสมกวาการเลือกตั้งแบบหนึ่งคนหนึ่งเสียง โดยมี เขตเลื อ กตั้ ง เล็ ก ประการหนึ่ ง เพราะการแข ง ขั น ระหวางผูสมัครจะเปนไปแบบถอยทีถอยอาศัย และจะ ไม รุน แรงเท า การแข งขั น แบบเขตเดีย วคนเดี ย ว อี ก ประการหนึ่ ง คื อ การที่ เ ขตใหญ ทํ า ให ผู ส มั ค รรั บ เลือกตั้งกับผูใชสิทธิ์มีความหางเหินกัน ดังนั้นผูใชสิทธิ์ จึ ง มี แ นวโน ม จะเลื อ กตามนโยบาย ตามอุ ด มการณ มากกวาจะเลือกผูแทนจากความสัมพันธใกลชิด สิ่งที่ควรพิจารณาในคํากลาวนี้ก็คือ เปนเรื่อง เหมาะสมแลว หรื อไม ที่เราพยายามจะทํ าให ผูแ ทน หางเหินกับประชาชนมากขึ้น ในเมื่อปญหาสําคัญของ เราก็ คื อ การที่ ป ระชาชนขาดการมี ส ว นร ว มกั บ การเมื อ ง การมุ ง หวั ง ให ป ระชาชนตั ด สิ น ใจ เพี ย ง เพราะเชื่อในนโยบายที่แถลง ไมตางกับการบังคับให เชื่อในสิ่งที่ผูสมัครพูดโดยขาดการไตรตรอง เพราะเปน การยากยิ่งที่ผูใชสิทธิ์จะวัดไดวาขอเสนอเชิงนโยบาย

3


ของนักการเมือง จะไดรับการปฏิบัติจริงหรือไม หรือ ผูส มัค รที่ไ ดรับ เลื อกจะเปน ผู ความสามารถ มี ความ ตั้ ง ใ จใ นก ารทํ าห น า ที่ แ ละ ทํ า งาน ไ ด อย าง มี ประสิทธิภาพมากนอยเพียงใด การตัดสินใจในภาวะ ห า งเหิ น ก็ ไ ม ต า งจากการตั้ ง ความหวั ง ในความมื ด เพราะผู ใ ช สิ ท ธิ ไ ม มี ข อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ ใ นการใช วิจารณญาณ และตัดสินใจแมแตนอย ทั ศ น ค ติ ที่ ม อ ง เ พี ย ง ห ลั ก ก า ร ที่ ว า ผูแทนราษฎรเปนฝายนิติบัญญัติทําหนาที่กลั่นกรอง กฎหมายเพียงอยางเดียว จึ งเปนทั ศนคติที่ แบงแยก ประชาชนกับรัฐ มองประชาชนเปนเพียงผูรับผลของ นโยบาย ขวางกั้ น ประชาชนในการมี ส ว นในการ ตัดสินใจเชิงนโยบาย ไมเห็นความสําคัญของผูแทนใน ฐานะที่ เป น ตั ว แทนผลประโยชน และผู ส งต อความ คิดเห็นของประชาชน ดวยเหตุนี้มุมมองดังกลาวจึงไม นาเหมาะสมนัก สําหรับการพัฒนาการเมืองไทย มองในอีกดานหนึ่ง คนในสังคมเมืองดําเนิน ชีวิตอยูภายใตสภาพเศรษฐกิจ และสังคมตองเรงรีบทํา มาหากิน อยูกันแบบตัวใครตัวมัน ทําใหคนในเมืองมี ระยะหางจากผูแทนของตนสูง ความที่ไมรูจักผูสมัคร รั บ เลื อ กตั้ ง อย า งใกล ชิ ด ทํ า ให ค นในเมื อ งจํ า ต อ ง พิ จ ารณาผู ส มั ค รจากเปลื อ กนอก อาทิ ความนิ ย ม การศึกษา พูดจาดี ดูทาทางเปนคนดี หรือภาพลักษณ ดี โดยผานทางสื่อมวลชน ซึ่งไมไดหมายความวาจะ เปน จริง ตามที่ค าดหวัง การพิจ ารณาไปตามกระแส สังคมนั้น เปนขอจํากัดในการใชวิจารณญาณ มากกวา ขอไดเปรียบ จะเห็นไดวา แมชนชั้นกลางจะตั้งรัฐบาล ใหมขึ้นมาได ก็ยังไมไดนักการเมืองหรือพรรคการเมือง ที่ดีดังที่หวัง ยังคงมีการคอรัปชั่น และปญหาจากการ บริ ห ารงานผิ ด พลาดอยู ต ลอดมา หากชนชั้ น กลาง สามารถตั้ ง รั ฐ บาล โดยพิ จ ารณาจากหลั ก การ ประชาธิ ป ไตย หลั กคุ ณ ธรรม หลั ก การความรู หรื อ

4

ความสามารถไดจริง การพัฒนาประชาธิปไตยไทยใน ปจจุบันคงจะกาวหนาไปมากกวาที่เปนอยู จากการศึกษาของ ศาสตราจารย โรเบริต บี อัลบริททัน และ ดร. ถวิลวดี บุรีกุล เกี่ยวกับประชา สั ง คมในช ว งป พ.ศ. 2544 กล า วว า ที่ ผ า นมามั ก มี แนวคิดของนักวิชาการหลายทาน ซึ่งเชื่อวาควรพัฒนา ภาคประชาสังคมดวยการนําของชนชั้นนํา หรือบาง แนวคิดก็เชื่อวาภาคประชาสัง คมของไทยควรจะนํ า โดยชนชั้นกลาง ดังนั้นคําถามสําคัญประการหนึ่งของ งานชิ้ น นี้ ก็คื อ “คนชั้ น กลางมี ส ว นร ว มทางสั ง คมใน ระดับสูง มากกวาคนที่อยูในสถานะทางสังคมที่ต่ํากวา หรือไม” ซึ่งผลออกมาสอดคลองกับแนวคิดของผูเขียน คือ ระดับการมีสวนรวมกับภาคประชาสังคมของไทย นั้นมีอยูสูงในเขตชนบท และคอยๆ ลดลงในพื้นที่ซึ่ง สภาพสังคมมีความเปนเมืองมากขึ้น ดังตารางที่แสดง ไวดานลาง ตาราง 1 การมีสวนรวมในภาคประชาสังคม แยกตามตําแหนงที่ตั้งในชนบทหรือในเมือง

ระดั บ การมี ส ว นร ว ม 0 หมายถึ ง ไม มี ส ว น รวมเลย และ 5 หมายถึง การมีส วนรว มมาก เราจะ เห็ น ได ว า คนชนบทที่ ไ ม มี ส ว นร ว มเลย มี 48.4 เปอร เ ซ็ น ต และคนในเมื อ ง 75.7 เปอร เ ซ็ น ต ปริ ม ณฑล 82.7 เปอรเซ็ น ต ขณะที่ กลุ มตั ว อยา งใน กรุ ง เทพ ที่ ไ ม มี ส ว นร ว มเลยมี ม ากที่ สุ ด คื อ 94.0 เปอรเซ็นต นอกจากนี้ในงานวิจัยดังกลาวนี้ยังพบวา


การมีสวนรวมกับภาคประชาสังคม มีผลตอการมีสวน รวมทางการเมือง และผูสูงวัยมีสวนรวมมากกวาคน อายุนอย ขณะที่ผูมีสถานภาพทางสังคมสูงกวาจะมี สวนรวมกับภาคประชาสังคมนอยกวาผูมีสถานะทาง สังคมต่ํากวา ซึ่งตรงขามกับแนวคิดดานพัฒนาการทาง การเมืองของตะวัน ตกที่เคยเชื่อถือกัน มา อยา งไรก็ ตามงานชิ้นนี้เปนการศึกษาในชวงกอนเกิดวิกฤตการณ ความแตกแยกในสั ง คมในป จ จุ บั น ดั ง นั้ น แนวโน ม ต า งๆ อาจมี ค วามเปลี่ ย นแปลงไปอย า งมี นั ย สํ า คั ญ หากไดทําการศึกษาวิจัยอีกครั้งในขณะนี้ งานอีกชิ้นหนึ่งคือ “การมีสวนรวมทางการ เมืองของนิสิตนักศึกษา ในวิกฤตการณทางการเมือง ชวงปลายรัฐบาลทักษิณ” ของ กฤติยา ยั่งยืน ซึ่งแสดง ให เ ห็ น ถึ ง ข อเท็ จ จริ ง ในด า นการมี ส ว นร ว มทางการ เมื อ งของผู มี ก ารศึ ก ษาอย า งน า สนใจคื อ พบว า นักศึกษามีการติดตามขาวสารทางการเมืองในระดับ ปานกลาง รวมทั้ ง มี จิ ต สํ า นึ ก ประชาธิ ป ไตยอยู ใ น ระดับสูง ซึ่งตามทฤษฎีพัฒนาการทางการเมือง ควร เป น ผู มี ส ว นร ว มทางการเมื อ งในระดั บ กลางหรื อ คอนขางสูง แตผลการศึกษากลับบงชี้ไปในทางตรงกัน ขาม คือแม นักศึ กษาจะมีค วามรู ความเขา ใจในเรื่อง ประชาธิปไตยเปนอยางดี แตกลับมีสวนรวมทางการ เมืองในอัตราที่ต่ํามาก นี่ ไ ม ไ ด ห มายความว า ชนชั้ น กลางไม มี วิจารณญาณ หรือไมมีจิตสาธารณะ มีชนชั้นกลางทั้ง รุนใหม รุนเกา กระทั่งรุนเกาจํานวนมาก ที่เปนพลัง สําคัญในการทํางานเพื่อสาธารณะ ดําเนินธุรกิจเพื่อ ส ว นรวม ร ว มเป น พลั ง ในการผลั ก ดั น การเมื อ ง สาธารณะ หากสําหรับคนเมืองจํานวนมากแลว สภาพ เศรษฐกิ จ และสั ง คมที่ ร อ ยรั ด ชี วิ ต ที่ เ ปลี่ ย นแปลง รวดเร็ ว การแข ง ขั น ที่ รุ น แรง ไม เ อื้ อ ต อ เป า หมาย เช น นั้ น มากนั ก ทํ า ให ค นเมื อ งส ว นใหญ ที่ มี ค วาม

ตองการในใจลึกๆ ที่จะทําประโยชนเพื่อสวนรวม มอง ไม เห็ น ทางออก ยั ง ไม ต อ งกล า วถึ ง หลุ ม ดํ า ของโลก ออนไลน ที่ดึงดูดผูคนจากความสัมพันธแบบตอหนา ไปสูความสัมพันธที่กาวราวมากขึ้นในโลกไซเบอร กอน จะถู กผลั กให รว งหล น ลงไปในกระแสปรากฏการณ Snob (การดูแคลนคนบานนอก หรือคนฐานะต่ํา) ซึ่ง เพิ่มพูนการตัดสินใจโดยไรเหตุผล ขาดการใครครวญ สุดโตง และสงผลเปนความขัดแยงรุนแรงในที่สุด อาจกล า วได ว า มุ ม มองในทฤษฎี ต ะวั น ตก โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมนักรัฐศาสตรสายการพัฒนา ทางการเมื อ ง ไม ไ ด ส อดคล อ งกั บ ความเป น จริ ง ที่ เกิดขึ้นในสังคมไทยไปเสียทั้งหมด แนนอนวาพลังของ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social mobilization) มี ส ว นในการพั ฒ นาการทางการเมื อ ง หากวิ ถีดั้ ง เดิ ม วัฒนธรรมสังคมแบบประเพณีของไทย และผลกระทบ ที่ประชาชนได รับโดยตรงจากปญหา ก็มีสว นสําคั ญ เชน กัน หรืออาจเปน ปจจั ยสํา คัญยิ่ งกว าเสี ยดว ยซ้ํ า ในดานการพัฒนาความเปนพลเมือง หรือการสวนรวม ของภาคประชาสังคมไทย ใชวาปญหาของชนชั้นกลางในเมืองจะไรทาง แก โ ดยสิ้ น เชิ ง โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง สั ง คมเมื อ ง เป น สัง คมที่ป ระชากรมี ค วามหลากหลาย มี แ นวโน ม จะ รวมกลุมตามวิถีชีวิตและความสนใจเฉพาะตัว มีความ เชื่อมโยงกับขอมูลขาวสารและโลกาภิวัตนสูง ดังนั้นจึง เป น สั ง คมที่ เ ต็ ม ไปด ว ยคนที่ มี ศั ก ยภาพ หากเรา สามารถชั ก นํ า ศั ก ยภาพนั้ น มุ ง ไปสู เ ป า หมายที่ เหมาะสม ก็ จ ะเป น ประโยชน ต อสั ง คมไทยอย า งยิ่ ง เปาหมายที่ว านั้นก็คื อ การขยายพลังทางสัง คมของ กลุมกอนเล็กๆ ใหมีจํานวนมากขึ้น ผสานรวมวิธีชีวิต แบบทุนนิยม และกิจการเพื่อสังคม กลายเปนทุนนิยม แบบสรางสรรคที่จะนําไปสูการแบงปน การเอื้ออาทร และการพัฒนาทุนนิยมที่ยั่งยืนไดในที่สุด

5


คนชนบทคือตัวการของปญหา...? สํ า หรั บ คนในชนบทซึ่ ง ถู ก กล า วหาว า เป น ปญหาของประชาธิปไตยตลอดมา แมผูเขียนจะเห็น ดวยกับแนวคิดบางสวนของอาจารยอเนก ที่วา “การ ที่ชาวไรชาวนาจะสนับสนุนนักการเมืองคนใด จึง ขึ้ น อยู กั บ บุ ญ คุ ณ ของผู ส มั ค รที่ มี ต อ ตนเองและ ครอบครัว หรือพวกพองในอดีตเปนสําคัญ รวมทั้ง ความคาดหวังจะไดรับความชวยเหลือและคุมครองใน อนาคตจากผูสมัครและบริวาร” และ “คนชนบทเปน ฐานเสียง ไมไดเปนฐานนโยบาย” ซึ่งหากเราพิจารณา จากข อเท็ จจริ งแล ว ในอดี ตประชาชนไทยโดยส วนใหญ ไมวากลุมใด ก็แทบไมเคยเปนฐานนโยบายเลย เพราะ นโยบายของไทยในอดีตลวนกอกําเนิดขึ้นมาจากภาค ราชการและชนชั้นนําเปนสวนใหญ จนกระทั่งในชวง สิบปที่ผานมานี้เอง ที่เพิ่งจะมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อ พรรคการเมืองเริ่มมีการแขงขันทางนโยบายมากขึ้น จําต องพยายามคนหาความสํ าเร็จจากนโยบายของ ภาคประชาชนมาเป น ต น แบบ หรื อ ค น หาความ ต อ งการที่ แ ท จ ริ ง ของภาคประชาชน มาจั ด ทํ า เป น นโยบายเพื่อเอาชนะในการแขงขันทางการเมือง กระนั้ น ก็ ต าม ผู เขี ย นยั ง มองเห็ น โอกาสใน ความสั ม พั น ธ ท างการเมื อ งของชาวชนบทยิ่ ง กว า แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ภายใตการนํา ของชนชั้นนําหรือชนชั้นกลาง เนื่องจากคนในชนบทมี ความใกล ชิ ด กั บ การเมื อ งยิ่ ง กว า ที่ ห ลายคนคิ ด มี งานวิจัยที่ทําการศึกษาการเลือกตั้งทองถิ่นในอําเภอ หนึ่ ง ของจั ง หวั ด เชี ย งใหม บ ง ชั ด ว า การที่ ผู มี สิ ท ธิ์ ตัดสินใจเลือกใครนั้น ไมใชเลือกเพียงเพราะรับเงินซื้อ เสี ย งมาเท า นั้ น หากยั ง ขึ้ น อยู กั บ ป จ จั ย และ ความสัมพันธอื่นๆที่หลากหลาย เชน ความเชื่อใจใน หัวคะแนน การที่ผูสมัครเปนคนทองถิ่น ความใจกวาง

6

การพึ่งพาได ความสามารถในการชักนํางบประมาณ และความใกล ชิ ด กั บ พื้ น ที่ เป น ต น สิ่ ง ต า งๆ เหล า นี้ ลวนเปนขอพิจารณาสําคัญในการตัดสินใจลงคะแนน ใหผูสมัคร ป ญ ห า สํ า คั ญ คื อ ร ะ บ บ ก า ร เ มื อ ง ประชาธิปไตยแบบตัวแทน ทําใหคนชนบทมีอํานาจ ตอรองอยูในชวงเวลาเลือกตั้งเทานั้น แมจะเขาใจดีวา ผูสมัครที่ซื้อเสียงยอมเขาไปกอบโกยผลประโยชน แต ดวยการพัฒนาประเทศที่ขาดความสมดุล ชาวชนบท ซึ่งเปนผูดอยโอกาสในการเขาถึงทรัพยากรอยูแลว จึง ไม ใ ช เ รื่ อ งน า แปลกใจนั ก หากจะมี ผู คํ า นึ ง ถึ ง ผลประโยชน เฉพาะหนา เลือกผูส มัครที่เข าถึง พื้น ที่ ผูสมัครที่ไววางใจได และสามารถชักนํางบประมาณสู ทองถิ่นไดไวกอนที่จะไมไดอะไรเลย โดยเฉพาะอยาง ยิ่ง ในสถานการณที่ผูสมัครทั้ง 2 ฝาย ตางก็ซื้อเสียง เช น เดี ย วกั น ดั ง นั้ น เราจึ ง เห็ น นั ก การเมื อ งผู ก ขาด หลายป หรือผูกขาดตระกูลจนกลายเปนผูมีอิทธิพล ทางการเมือง อยางไรก็ดี นี่ไมใชความภักดีโดยไรขอบเขต ที่จะสามารถอธิบายดวยมุมมองงายๆ เชนวาคนชนบท โง ซื่อ ไรการศึกษา จึงเห็นแกเงินไมกี่รอยหรือไมกี่พัน ก็ยอมขายสิทธิ์ขายเสียงของตน อั น ที่ จ ริ ง คนชนบทสามารถเปลี่ ย นแปลง การตัดสินใจของตนไดตลอดเวลา ขึ้นอยูกับผลกระทบ ของปญหาที่มีตอตนเองโดยตรงเปนสําคัญ เราจะเห็น ได ชั ด ยิ่ ง ขึ้ น จากการเมื อ งท อ งถิ่ น เช น การเลื อ กตั้ ง อบต.หรื อ ผู ใ หญ บ า น ซึ่ ง หากการบริ ห ารงานและ โครงการของ อบต. ส ง ผลกระทบในด า นลบต อ ชาวบ า นอย า งรุ น แรง เขาก็ พ ร อ มจะเทคะแนนให นักการเมืองกลุมอื่นไดในทันที นอกจากนั้ น ความแตกต า งในด า นระดั บ ความทันสมัยในกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม


ระหว า งคนต า งจั ง หวั ด กั บ คนกรุ ง เทพ ไม ไ ด ทํ า ให วิจารณญาณทางการเมืองของประชาชนในแตละพื้นที่ อยูในระดับที่แตกตางกัน หรือพิจารณาทุกสิ่งอยางไป ในทางตรงขามดังที่คิด หากแตมีความเห็นสอดคลอง เปนไปในทางเดียวกัน และมีอัตราสวนที่ใกลเคียงกัน อยางยิ่ง จะเห็นไดจากการผลสํารวจความคิดเห็นที่มี ตอการแกไขรัฐธรรมนูญ จากกรรมการชุดของ สมบัติ ธํารงธัญวงศ ดังตารางทั้งสองซึ่งยกมาพอสังเขป ตาราง 2 รอยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการแกไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ ควรจะมีการจัดตั้งสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ (สสร.) ทํานองเดียวกับ สสร. ป 2540 และภาค

ตาราง 3 รอยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องการทําหนังสือสัญญาที่ตอง ไดรับความเห็นชอบของสภา (มาตรา 190) และภาค

จะเห็ น ได ว า ประชาชนในทุ ก พื้ น ที่ ล ว นมี ความคิดเห็นไปในทางที่สอดคลองกัน ความแตกตาง ของวิ จารณญาณระหว างชาวเมื องกับ ชาวชนบทจึ ง ไมไดพลิกเปนคนละขั้วดังที่คิด แมวาแนวทางในการ ตัดสินใจเลือกผูสมัครของชาวชนบทบางสวน ไมใชวิธี ที่เหมาะสมตอการพัฒนาประชาธิป ไตย แตหากเรา มองอี ก แง ห นึ่ ง จะพบว า ชาวชนบทคุ น เคยกั บ การ ตอรองกับความสัมพันธเชิงอํานาจอันหลากหลายใน การเมืองทองถิ่น นั่นหมายถึงคนชนบทมีประสบการณ ทางการเมืองโดยตรงยิ่งกวาชาวเมือง เทากับวาเขา เหลานั้นมีสิ่งเราอันจะนําไปสูการมีสวนรวมทางการ

เมื อ ง สู ง ซึ่ งมี โ อ กาส จะที่ จ ะปรั บ เปลี่ ย นไ ป สู แนวทางการตัดสินใจในการคัดเลือกนักการเมืองที่มี คุ ณ ภาพดี ขึ้ น ได หากชาวชนบทเข า ใจถึ ง ความเป น พลเมือง มีวิจารณญาณที่ เหมาะสม และมี วิสัยทัศ น กว า งขวาง ก า วพ น ขอบเขตของพื้ น ที่ สู ป ญ หา ระดับประเทศ โดยเฉพาะวิถีชีวิตแบบสังคมประเพณี ดั้งเดิมของไทยนั้น เอื้อตอการพัฒนาไปสูค วามเป น “ฐานนโยบาย” ไดงายยิ่งกวาวิถีชีวิตแบบตัวใครตัวมัน ของคนในเมือง จากที่กลาวมาขางตน แสดงใหเห็นวาปญหา ประการสําคัญ ไมวาจะเปนชนชั้นกลางในเมืองหรือ คนชนบทในตางจังหวัด ตางก็ตองเผชิญ เชนเดียวกันก็ คือ การไมสามารถเขาถึงนักการเมืองอันเปนตัวแทน ของพวกเขาได โดยเฉพาะอยางยิ่ง นักการเมืองผูมี อิทธิพลในการกําหนดนโยบาย ประชาชนไมมีโอกาส ในการแบ ง ป น ความคิ ด หรื อ เสนอแนะนโยบายให ผู แ ทนของตนรั บ รู ม ากนั ก โดยเฉพาะนั ก การเมื อ ง ระดับชาติ มักถีบตัวออกหางประชาชนทันทีที่ไดรับ ตําแหนง และตองรอคอยกระทั่งใกลจะมีการเลือกตั้ง ครั้งใหม สายลมจึงจะหวนกลับมาอีกครั้ง นอกจากนั กการเมื องแลว กลุม ผูมี บทบาท ทางการเมื อ ง และผู มี ส ว นในทางนโยบาย (Policy stakeholders) อื่ น ๆ ก็ มี ส ว นสํ า คั ญ ในการผลั ก ประชาชนออกจากการเมืองเชนกัน สําหรับขาราชการ ผูซึ่งมีสวนสําคัญที่สุดใน การกําหนดนโยบายของประเทศตลอดกึ่งศตวรรษที่ ผานมา มีปญหาสําคัญซึ่งทุกคนทราบกันดีก็คือ ระบบ ราชการอั น ใหญ โ ต เทอะทะ กฎระเบี ย บที่ ก ลาย อุปสรรคในการทํ างาน มากกวา จะเปน เครื่ องมื อใน การทํางาน ขาราชการระดับสูงผูซึ่งทําหนาที่วางแผน นโยบาย โดยมากเปนขาราชการระดับ 8 ขึ้นไป แมจะ ผ า นประสบการณ ใ นการทํ า งานมายาวนาน หาก

7


ความคุนเคยกับวัฒนธรรมการทํางาน เพื่อตอบสนอง ความต อ งการของเจ า นายและหน ว ยงาน ทํ า ให เปาหมาย วิธีคิด รวมไปแนวคิดเชิงนโยบายหางไกล จากสภาพความตองการที่แทจริงในชุมชน กอใหเกิด ความคับของใจ ความขัดแยงระหวางรัฐกับชาวบาน ยั ง มิ ต อ งกล า วถึ ง การทุ จ ริ ต ประพฤตมิ ช อบในวง ราชการ ซึ่ ง บางกรณี เ ป น การทํ า ร า ยชาวบ า นและ ทําลายวิถีชีวิ ตชุ มชนโดยตรง เช นความขั ดแยง ดา น ที่ดินในจังหวัดลําพูน หรือความรุนแรงใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต ปญหาเหลานี้ยิ่งทําชาวใหบานขาด ความไวเนื้อเชื่อใจตอขาราชการ นโยบายตางๆ จึงมัก ถู ก ตั้ ง ข อ สงสั ย และไม ไ ด รั บ ความร ว มมื อ จาก ประชาชน ขณะเดี ย วกั น ในสายตาของข า ราชการ บางสวน ก็เห็นประชาชนเปนตัวปญหา นอกจากจะ เปนภาระที่ตองคอยดูแลแลว ยังมักจะมีขอเรียกรอง สร า งความวุ น วายอย า งไม มี เหตุ ผ ล คอยจั บ ผิ ด การ ทํา งาน รวมทั้ ง ขัด ขวางการผลั กดัน นโยบายของรั ฐ มุ ม มองด า นลบของทั้ ง 2 ฝ า ยนี้ เ อง นํ า ไปสู ค วาม ขั ด แย ง และป ญ หานานั ป การที่ ติ ด ตามมาระหว า ง เจาหนาที่รัฐ กับประชาชน แมวามีความพยายามใน การปรั บ วิ สั ย ทั ศ น ข องข า ราชการให เ ป น ผู รั บ ใช ประชาชน และมีขาราชการทั้งสวนกลาง สวนทองถิ่น จํ า นวนมาก ที่ ทํ า งานด ว ยความทุ ม เท ทํ า งานด ว ย ความเข า ใจประชาชน หากก็ ต อ งยอมรั บ ว า ยั ง มี ขาราชการอีกสวนหนึ่ง ที่ยังคงเปนผูรับใชประโยชน ของตั ว เอง ผู รั บ ใช ป ระโยชน ข องนาย และผู รั บ ใช ระบบราชการมากกวาผูรับใชประชาชนอยูนั่นเอง ในดานผูนํากองทัพ การศึกษาเรื่องความคิด ทางการเมื อ งของพลเอกสุ จิ น ดา คราประยู ร ของ วาสนา นาน ว ม เป น ตั ว อย า งอั น ดี ใ นการอธิ บ าย ความคิดของผูนําทางทหารของไทยวา ความคิดทาง

8

การเมืองของผูนําทหารนั้น เปนผลจากสาเหตุสําคัญ สองประการคือ 1. กระบวนการกลอมเกลาทางสั งคม จาก สถาบันการศึกษาของทหาร และสังคมทหารที่มีการ ถายทอดปลูกฝงความคิดความเชื่อแบบทหาร 2. ประสบการณทางการเมืองของผูนําทหาร คนนั้นเอง ผูนําทหารถูกสรางใหมีความเชื่อมั่นในตนเอง สูง กระทั่งบางคนสูงจนเกินขอบเขตถึงระดับสุดโตง จนเชื่อวาสิ่ง ที่ตนเลือกคือสิ่งที่ดีที่สุด เปนประโยชน มากที่สุ ด เป นสิ่ ง ที่ป ระชาชนต องพอใจยอมรับ และ ควรปฏิบัติ ตาม การยึดอํานาจของฝายทหารในการ เมืองไทยตลอดมา บงชัดถึงวัฒนธรรมทางการเมืองขอ นี้ ไ ด เ ป น อย า งดี การปฏิ วั ติ นั้ น ไม ไ ด เ ป น ไปเพราะ ผลประโยชนของผูนําและกองทัพขัดแยงกับรัฐบาลใน ขณะนั้ นเท า นั้ น หากปจ จั ย สํา คั ญ อี กส ว นหนึ่ง ก็ คื อ อุดมการณ และวัฒนธรรมทางการเมืองที่ถูกบมเพาะ ขึ้ น จนมี ค วามภาคภู มิ ใ จในสถาบั น ทหาร มอง นั ก การเมื อ งในแง ไ ม ดี นั ก รวมไปถึ ง ความเชื่ อ และ แนวคิดทางการเมืองของทหาร ที่เปนไปในแนวทาง Praetorian soldier คื อ เ ชื่ อ ว า ท ห า ร มี ห น า ที่ รับผิดชอบอนาคต และความมั่นคงของประเทศ ตอง คลี่คลายความวุนวายทางการเมือง เพื่อรักษาความ สงบเรียบรอย และความเขมแข็งของสถาบัน กระทั่ง เข า ควบคุ ม ให เ ป น ไปตามแนวทางในอุ ด มคติ และ ความเชื่ อ อย า งที่ ต นคิ ด ว า ควรเป น ไม ว า จะต อ งใช วิธีการทางกฎหมาย เลหกลทางการเมือง การโฆษณา ชวนเชื่ อ ยึ ด อํ า นาจ ปราบปรามด ว ยกํ า ลั ง อาวุ ธ กระทั่งการลอบสังหาร สถาบันทางทหารและสังคม ทหารมีอิท ธิพลในการหล อหลอมความคิด ของเหล า ผู นํ า ทางทหารเป น อย า งยิ่ ง เห็ น ได จ ากแนวคิ ด ของ บรรดาผูนําทหาร ซึ่งทําการปฏิวัติรัฐประหาร แมจะ


ตางรุนหลากสมัยกระทั่งคนละยุค แตกลับเปนไปใน แนวทางเดียวกันราวกับนักเรียนลอกขอสอบ ดังนั้น หลั ก การความเป น ทหารอาชี พ หรื อ ทหารภายใต การเมือง อันเปนสิ่งที่หลายคนหวังจะไดเห็น และคิด วาเคยมีอยูในชวงหลังเหตุการณพฤษภาทมิฬ จึงเปน เพี ย งเปลื อ กนอกที่ ห อ หุ ม เนื้ อ ในของอํ า นาจนิ ย ม ปตาธิปไตยเอาไว เพื่อรอวันหวนคืน จึงไมใชเรื่องนา แปลกใจนั ก ที่ ภ ายหลั ง จากเหตุ การณ พ ฤษภาทมิ ฬ ความเปนทหารอาชีพ จะจางหายไปอยางรวดเร็วราว กับหยดน้ําในเม็ดทราย และไมไดเปนสิ่งที่ดํารงอยูเลย ในความคิดของผูนําทหารปจจุบัน ดานกลุมผลประโยชนของไทยก็เปนปญหา สําคัญประการหนึ่ง นั่นเพราะกลุมผลประโยชนของ ไทย ถู ก แบ ง เป น ระดั บ ชั้ น กลุ ม ผลประโยชน ภ าค ประชาชน เชน สหภาพแรงงาน กลุม สมาคม ยังขาด ความเขมแข็ง และขาดเอกภาพในการเคลื่อนไหว และ สวนใหญเปนกลุมผลประโยชนที่มีเจตนารมณเฉพาะ เรื่อง มักถูกละเลยจากนักการเมืองและเจาหนาที่รัฐ ถูกมองวาไมมีความสําคัญ เปนกลุมระดับลางที่มุงตั้ง ขอเรี ยกร อง จึ ง ถู กกี ด กั นออกหา งจากกระบวนการ นโยบาย ในขณะที่ กลุ ม ผลประโยชน ท างธุ รกิ จ ของ นักธุรกิจ นักการเมือง ทั้งในระดับสูงและระดับทองถิ่น เป น กลุ ม ผลประโยชน ชั้น สู ง ที่ จ ะได รับความสํ า คั ญ สามารถเข า ถึ ง นั ก การเมื อ ง และผู มี อิ ท ธิ พ ลใน กระบวนการนโยบาย และโครงการตางๆ อยางใกลชิด รวมทั้ ง เป น ฐานการเงิ น ให กั บ พรรคการเมื อ ง และ นักการเมือง จึงมีบทบาทสําคัญในการชี้นําแนวทาง นโยบาย รวมทั้งแบงปนผลประโยชนในโครงการของ รัฐ ดวยเหตุนี้นโยบายสาธารณะจํานวนมาก จึง ไม ไ ด เ ป น ไปเพื่ อ ตอบสนองความต อ งการของ ประชาชน เสียงของประชาชนไมไดเปนเสียงสวรรค

แต เ ป น เสี ย งกระซิ บ ของนั ก ธุ ร กิ จ หรื อพวกพ อ งผู มี อิ ท ธิ พ ล อั น จะสามารถแบ ง ป น ผลประโยชน ใ ห ตางหากเลา ที่นักการเมืองยินดีที่จะเงี่ยหูรับฟง สิ่งที่ เกิดขึ้นทําใหเสียงของประชาชน ถูกลดระดับใหดอย คากวาเงินทองและผลประโยชน นักการเมืองในระบบ ประชาธิ ป ไตยแบบตั ว แทน จึ ง ไม ไ ด ทํ า หน า ที่ เ ป น ผูแทนของประชาชนผูใชสิทธิอยางแทจริงตามที่ควร จนมี คํ า กล า วว า ประชาธิ ป ไตยของไทย ไม ไ ด เ ป น ระบอบการปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน ดังอมตพจนของอับราฮัม ลินคอลน แต เปนระบอบการปกครองของผูมีอํานาจ โดยผูมีอํานาจ เพื่ อ ผู มี อํ า นาจ หรื อ อี ก อย า งคื อ เป น ระบอบการ ปกครองของกลุมผลประโยชน โดยกลุมผลประโยชน และเพื่อกลุมผลประโยชนเสียมากกวา กลไกการมีสวนรวม = เครื่องจักรที่ไรประสิทธิภาพ เครื่องมือของประชาชน อันเปนชองทางใน การมี ส ว นร ว มของประชาชนเท า ที่ มี อ ยู ก็ ยั ง ไม มี ประสิทธิภาพมากนัก นอกจากกระบวนการเลือกตั้ง ผูแทน ดังที่กลาวไปแลวขางตนและกลไกอื่นๆ ก็ยังมี ปญหาเชนกัน เชน อํ า นาจในการเสนอกฎหมาย หรื อ แก ไ ข รั ฐ ธรรมนู ญ ของประชาชน แม จ ะเป น สิ ท ธิ ต าม กฎหมาย แตก็ไมใชเรื่องงายที่จะผานการพิจารณาของ สภา หรือคณะรัฐมนตรี นั่ นเพราะความขัดแยงทาง การเมื อ ง และน้ํ า หนั ก ของกลุ ม ผลประโยชน อื่ น มี อิทธิพลตอการตัดสินใจของรัฐสูงกวา ดังจะเห็นไดจาก การเสนอพระราชบัญญัติสับปะรดแหงชาติสมัยรัฐบาล ทั กษิ ณ ซึ่ ง แม จ ะผ า นคณะรั ฐ มนตรี แต ก็ ต องตกไป ภายหลังกลุมโรงงานรวมตัวกันล็อบบี้ หรือกรณีการ ยื่นแกไขรัฐธรรมนูญ ฉบับ นพ. เหวง โตจิราการ ที่ถูก

9


ดองไวกวา 3 ป และตองตกไปโดยที่แทบไมมีการ พิจารณาเนื้อหาสาระ ดังนั้นชองทางการมีสวนรวม ใน การเสนอกฎหมายนี้ จึ ง เป น เหมื อ นกั บ ดั ก หนู ที่ สามารถ เสนอเข า ไปได แ ต อ อกมาไม ไ ด เพราะผู มี อํานาจในขณะนั้นไมเปดชองทางออกให การทํ า โพล หรื อ การสํ า รวจความคิ ด เห็ น สาธารณะก็ มี ป ญ หาเช น กัน นอกจากป ญ หาในด า น กระบวนการวิ จั ย แล ว ป ญ หาประการสํ า คั ญ ก็ คื อ ความเห็ น ของสาธารณะมั ก เป น ความเห็ น ที่ ไ ด รั บ อิทธิพลจากความรูสึก กระแสสังคม และขาวสารจาก สื่อมวลชนในขณะนั้น มากกวา ที่เปน ความเห็ นจาก การไดรับขอมูลขอเท็จจริงครบถวนทุกดาน ผานการ ขบคิดโดยใชวิจารณญาณชั่งน้ําหนักทางเลือกโดยรอบ คอบแล วจึ ง ตัด สิ นใจ ดั ง จะเห็น ไดจ ากโพลที่ ทํ าการ สํารวจในเรื่องเดียวกัน ดังจะไดอธิบายจากตารางที่ยก มาขางลางนี้ ตารางแรก เปนผลการสํารวจความคิดเห็น ของประชาชน เกี่ ย วกั บ การแก ไ ขรั ฐ ธรรมนู ญ จาก คณะอนุกรรมการชุดของ สมบัติ ธํารงธัญวงศ โดยเก็บ ขอมูลในชวงระหวางวันที่ 1 - 12 ตุลาคม 2553 จาก กลุมตัวอยางทุกจังหวัดทั่วประเทศ ตาราง 4 รอยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการแบงเขตเลือกตั้ง และภาค

ตารางถัดมาเปนผลการสํารวจความคิดเห็น ของประชาชนในกลุม 6 จั งหวัด ภาคเหนื อตอนลา ง ของนเรศวรโพล จากมหาวิทยาลัยนเรศวร ในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2553

10

ตาราง 5 รอยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกตั้งแบบเขตเดียวเบอร เดียว

แมวาขอบเขตในการศึกษา และชวงเวลาของ การสํ า รวจความคิ ด เห็ น ทั้ ง 2 ฉบั บ จะไม ไ ด เป น ชวงเวลาเดียวกัน กลาวคือ ชุดของสมบัติ ธํารงธัญวงศ ทํ า การสํ า รวจจากทั่ ว ประเทศ ขณะที่ น เรศวรโพล เปนการสํารวจเฉพาะกลุมภาคเหนือตอนลางอันเปน ขอจํากัดในการวิเคราะห อยางไรก็ดีการสํารวจความ คิดเห็นทั้ง 2 นี้ก็ยังสามารถแสดงใหเห็นถึงแนวโนม สําคัญๆ บางประการได ในที่ นี้ จ ะนํ า ผลการสํ า รวจฉบั บ ของสมบั ติ ธํา รงธัญ วงศ โดยนํา ผลการสํา รวจในเขตภาคเหนื อ ทั้งหมด กับผลการสํารวจของนเรศวรโพลซึ่งทําการสํา รวจากกลุมตัวอยางในกลุมภาคเหนือตอนลางมาใชใน การวิเคราะหเปรียบเทียบกัน ผลการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนใน เขตภาคเหนือ จากชุดของสมบัติ ธํารงธัญวงศ พบวา เห็ น ด ว ยกั บ การแก ไ ขรั ฐ ธรรมนู ญ เรื่ อ งการแบ ง เขต เลือกตั้งรอยละ 44.3 และเห็นดวยกับสาระเดิม คือไม เห็นดวยกับการแกไขรอยละ 31.9 โดยมีประชาชนที่ ไม แ สดงความคิด เห็ นร อยละ 23 ขณะที่ ผลนเรศวร โพลซึ่งทําการสํารวจในชวงที่มีการประชุมรวม 2 สภา เพื่อพิจารณาแกไขรั ฐธรรมนูญ พอดี ใหผ ลไปในทาง


ตรงกันขามอยางสิ้นเชิง คือ มีประชาชนเห็นดวยกับ การแกไขรัฐธรรมนูญเรื่องการแบงเขตเลือกตั้งรอยละ 36.2 และไมเห็นดวยรอยละ 44.3 โดยมีประชาชนที่ ไมแสดงความคิดเห็น รอยละ 19.3 คําถามคือ เพราะ เหตุใดความคิดเห็นของประชาชน จึงแตกตางเปนคน ละดานของเหรียญไดเชนนั้น ทั้งที่ระยะเวลาของการ สํารวจหางกันเพียงไมถึง 2 เดือนเทานั้น เหตุผลประการแรกก็คือ สภาพแวดลอมทาง การเมื อ งในห ว งเวลาที่ สํ า รวจนั้ น แตกต า งกั น การ สํารวจของสมบัติ ธํารงธัญวงศ เปนการสํารวจในหวง เวลาปกติ คือยังไมไดมีสื่อมวลชน หรือมีกระแสสังคม ในการคัดคานการแกไขรัฐธรรมนูญเกิดขึ้น ขณะที่การ สํารวจของนเรศวรโพล เปนการดําเนินการในชวงเวลา ที่กําลังมีการอภิปรายการแกไขรัฐธรรมนูญวาระแรก ในสภา ซึ่ ง ถู ก โจมตี จ ากสื่ อ ฝ า ยค า น วุ ฒิ ส มาชิ ก บางสวน จากมวลชนหลายฝาย รวมทั้งมีการชุมนุม ประทวงที่หนารัฐสภาอีกดวย เสียงของความไมเห็น ดวยนี้เอง สงผลใหการสํารวจของนเรศวรโพล เปนไป ใ น ทิ ศ ท า ง ต ร ง กั น ข า ม กั บ ผ ล ก า ร สํ า ร ว จ ข อ ง คณะอนุกรรมการชุดสมบัติ ธํารงธัญวงศ นั่นบงชี้วา ความคิดเห็นของประชาชน ในการสํารวจความคิดเห็น มีแนวโนมที่จะคลอยตามกระแสขาว และกระแสสังคม ในชวงเวลานั้นๆ สูง ที่เปนเชนนั้นก็เพราะ เหตุผลประการที่สอง คือ ประชาชนไดรับขอมูลในการตัดสินใจไมครบถวน หรื อ แสดงความคิ ด เห็ น โดยไม ไ ด มี ก ารพิ จ ารณาที่ รอบคอบเพียงพอ ดังจะเห็นไดจากการใหเหตุผลบาง ขอของประชาชนจากนเรศวรโพล อาทิ ผูที่ไมเห็นดวย ซึ่งใหเหตุผลวา จะเกิดการผูกขาดและซื้อเสียงไดงาย อาจไมทราบขอมูลวา ในการแกไขมีการลดจํานวนส.ส. เขตลง และจะมีการแบง เขตเลือกตั้ งใหมใ หมีขนาด ใหญขึ้น เพื่อลดปญหาการซื้อเสียงของเขตเล็ก ขณะที่

ก็ ยั ง มี ค วามเป น ธรรมคื อ ทุ ก คนมี สิ ท ธิ ใ นการเลื อ ก ผูสมัครเพียงคนเดียวเทา กันทุกคน อีกดานหนึ่ง ผู ที่ เห็นดวยกับการแกไข ซึ่งแสดงความเห็นวา เปนการ ลดความขัดแยง ทั้งที่ในขอเท็จจริงแลว การเลือกตั้ง แบบเขตเดีย วเบอร เดี ย ว จะทํา ให เกิ ด การแขง ขั น ที่ รุนแรงกวา เพราะผูสมัครที่จะไดรับเลือกในแตละเขต มีไดเพียงคนเดียวเดียวเทานั้น นี่เปนเพียงตัวอยางในประเด็นที่ประชาชนมี ความคุนเคยอยูแลว คือในเรื่องระบบการเลือกตั้ง ยัง แสดงใหเห็นถึงความสับสน และปญหาของการใชโพล ไดเปนอยางดี ซึ่งถาหากเราพิจารณาเปรียบเทียบการ ใหเหตุผลในอีกประเด็นหนึ่ง ซึ่งเปนเรื่องไกลตัวจาก ประชาชน คือ ประเด็นการแกไขรัฐธรรมนูญเรื่องการ ทําสัญญากับตางประเทศของรัฐบาลที่ตองผานสภา แลว ความสับสนในการใหเหตุผล จะมีมากขึ้นกวาใน กรณีนี้ เพราะประชาชนมีขอมูลในการตัดสินใจนอย กวา นอกจากนั้น ผลการสํารวจจากชุดของสมบัติ ธํารงธัญวงศ เกี่ยวกับความรูความเขาใจของประชาชน ในเรื่ องรั ฐ ธรรมนู ญ ยั ง พบว า ประชาชนส ว นใหญ มี ความรูความเขาใจเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญป 50 นอย ซึ่ง เปนขอยืนยันไดดีวา ประชาชนซึ่งใหความเห็นในโพล ยั ง ขาดข อ มู ล ในการตั ด สิ น ใจที่ เ พี ย งพอขณะให ความเห็น ตาราง 6 ร อ ยละของประชาชน จํ า แนกตามความรู ความเข า ใจเกี่ ย วกั บรัฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และภาค

11


ดั ว ยเหตุ ที่ โ พลจะมี ค วามโน ม เอี ย งไปตาม กระแสสังคม รวมทั้งเปนการแสดงความคิดเห็นโดย ไม ไ ด ชั่ ง น้ํ า หนั ก ผลดี ผ ลเสี ย อย า งเพี ย งพอนี้ เ อง โพลหรือความเห็นสาธารณะ จึงเปนไดเพียงเครื่องมือ วัดกระแสสังคมในชวงเวลาหนึ่งๆ เทานั้น ซึ่งไมเพียง พอที่ จ ะใช เ ป น ข อ มู ล ประกอบในการตั ด สิ น ใจเชิ ง นโยบาย โดยเหมารวมเอาวาประชาชนเห็นดวยหรือ คั ด ค า น เพราะข อ มู ล จากภาคประชาชน ที่ จ ะใช ประกอบในการตัดสินใจเชิงนโยบายไดนั้น ตองเปน ความเห็ น ที่ ม าจากวิ จ ารณญาณที่ แ ท จ ริ ง คื อ เป น ความเห็ น จากการได รับ ข อมู ล ที่ เ พี ย งพอในทุ กด า น ผานการกลั่นกรองอยางมีเหตุมีผล ชั่งน้ําหนักถึงผลได ผลเสีย กระทั่งตกผลึกเปนขอคิดเห็นของสังคม หรือ ขอเสนอของสังคมในที่สุด การลงประชามติ แม จ ะเป น วิ ถี ท างที่ มี ประโยชน ในฐานะที่เปนชองทางเพื่อใหประชาชนมี สวนรวมในการตัดสินใจ หรืออยางนอยก็เปนการสง เสียงสะทอนที่มีผลตอการตัดสินใจในเชิงนโยบายได โดยตรง อย า งไรก็ ต ามการลงประชามติ ก็ ไ ม เ กิ ด ประโยชนอยางเต็มที่ตามหลักการที่ควรจะเปน เพราะ การลงประชามติก็มีปญหาในลักษณะเดียวกันกับการ ทําโพลคือ เปนการตัดสินใจเพื่อเลือกตามทางเลือกที่ ถูกกํา หมดมา โดยประชาชนสว นใหญ ยัง ขาดขอมู ล และการใชวิจารณญาณที่เพียงพอ รวมทั้งอาจถูกโนม นาว และกดดันใหเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งได ซึ่งปญหานี้เปนที่ทราบดีของกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ทางการเมือง ดังจะเห็นไดจากการทําประชามติครั้ง แรกและครั้ ง เดี ย วที่ ผ า นมาของไทย คื อ การทํ า ประชามติเพื่อรับหรือไมรับรางรัฐธรรมนูญป 50 ซึ่งไม เพียงแตจ ะมีการโน มนา ว การโฆษณาชวนเชื่อ เช น การเผยแพรขอมูลที่มีแตดานดีของรัฐธรรมนูญฉบับ ใหม การส งทหารเขา ไปตามชุม ชนตา งๆ เพื่อชักจู ง

12

พยายามใชการเลือกตั้งเพื่อกดดันประชาชน ดวยการ บอกใหยอมรับไปกอนคอยมาแกไขทีหลัง หรือกระทั่ง ใช ก ารข ม ขู เช น กล า วว า หากประชาชนไม รั บ รัฐธรรมนูญฉบับป 50 จะนํารัฐธรรมนูญฉบับใดๆ ก็ได ที่ผานมา มาใชแทน ทั้งหมดนี้เองทําใหประชามติของ ประชาชน ที่ควรจะเปนเสียงซึ่งเกิดจากการตัดสินใจ ด ว ยเหตุ ด ว ยผล แปรเปลี่ ย นไปเป น เพี ย งเครื่ องมื อ สร า งความชอบธรรมทางการเมื อ งให กั บ กลุ ม ผู มี อํานาจทางการเมืองเทานั้น การชุม นุ มประท วง เปน ข อบ ง ชี้สํ า คัญ ถึ ง ความไรประสิทธิภาพทางการเมือง และการบริหาร ราชการแผ น ดิน ของไทย เพราะการชุ ม นุม ประท ว ง ยอมแสดงให เห็ นว า รั ฐ ไม ส ามารถตอบสนองความ ตองการของประชาชนได กระทั่งประชาชนไมเหลือ ทางออก และไม เห็ น ช องทางอื่ น อั น จะนํ า ไปสู การ แกปญหา ดังนั้นจึ งคิดวาทางเดียวที่รัฐจะรั บฟง คื อ ตองทําเสียงของตนเองใหดังที่สุดเทาที่จะทําได รวมไป ถึ ง การกดดั น รั ฐ ให ยิ น ยอมทํ า ตาม อี ก นั ย หนึ่ ง การ ชุ ม นุ ม ประท ว งแสดงให เ ห็ น ถึ ง ความสิ้ น หวั ง ของ ประชาชนที่มีตอระบบการเมือง และระบบราชการ การรวมศูนยอํานาจบริหาร การพัฒนาที่ไรดุลยภาพ ตลอดเวลาที่ผานมา เพราะหากไมมีความจําเปนถึ ง ที่ สุ ด แล ว คงไม มี ใ ครอยากมานอนกลางถนนร อนๆ กลางกรุง หรือหนาสภาเปนแน ประชาชนที่สิ้นหวัง ภายใตระบบการเมืองที่มีปญหาดังกลาว ได ผลักดันการเมืองไปอยูในจุดที่ประชาชนคนธรรมดา เอื้อมไมถึง ผลที่เกิดขึ้นก็คือ ประชาชนรูสึกวาสิทธิแ์ ละ เสียงของตนไมมีคุณคา ไมสามารถเปลี่ยนแปลงอะไร ใหดีขึ้นได ไมวาจะพยายามมาเพียงไหนก็ตาม นําไปสู


ความเบื่ อ หน า ยการเมื อ ง กระทั่ ง สิ้ น หวั ง ต อ ระบบ การเมืองไปในที่สุด บางคนระบายอารมณดวยการกน ดานักการเมือง แตการกนดาไมใชทางออก เพราะไม วาจะเสียน้ํ าลายเทาไหร ป ญหาของระบบการเมือง ก็ ยั ง เป น เช น เดิ ม ไม เ ปลี่ ย นแปลง บางคนรู ว า เปลี่ยนแปลงอะไรไมไดก็กระโจนเขาไปมีสวนรวมกับ การคอรัปชั่น การติดสินบน การใชเสนสาย การซื้อ สิทธิขายเสียงกระทั่งสนับสนุนอํานาจอันไมชอบธรรม เสียเอง โดยคิดวาอยางนอยก็ไดผลประโยชนกลับคืน มาบางสวน หรือบางก็คิดกวาการกลายเปนสวนหนึ่ง ของเจามือทางการเมือง ยังดีเสียกวาเปนแคผูเลน ที่ จุดจบมีอยูอยางเดียวคือ...เสียจนหมดตัว...ไมวันใดก็ วันหนึ่ง บางคนก็ หาทางออกของตนด ว ยการหัน เห เข า ร ว มชุ ม นุ ม หรื อ ใช ค วามรุ น แรงต อ ต า นรั ฐ นักวิชาการบางทานกลาววาวิกฤตการเมืองที่ผานมา นั้นมีขอดีอยูอยางหนึ่ง คือทําใหคนมีความตื่นตัวที่จะมี สวนรวมทางการเมืองมากขึ้น นั่นอาจเปนคํากลาวที่ เปนจริงเพียงครึ่งเดียว เพราะการมีสวนรวมดวยการ “ตื่นตัว” เพียงอยางเดียวนั้นไมเพียงพอ การตื่นตัว และเข า ไปมี ส ว นร ว มทางการเมื อ งโดยขาดการ พิ จ ารณาถึ ง ความเป น เหตุ เ ป น ผล และชั่ ง น้ํ า หนั ก ข อ เท็ จ จริ ง อย า งถ อ งแท นั้ น ย อ มนํ า มาซึ่ ง ความไร เสถียรภาพและความปนปวนทางการเมือง ดังที่ ฮันติง ตัน นักรัฐศาสตรสายพัฒนาการเมืองไดกลาวไว จะ เห็นไดวากลุมผูชุมนุมทั้งหลากสีและไมมีสีทั้งหลาย มี แนวโน ม ที่ จะกระทํ า การต า งๆ ไปตามคํา ชั กจูง ของ ผูนําการชุม นุม ซึ่ งบางครั้งไมไดเปนไปโดยมี เหตุผ ล รองรับ หรือมีมุมมองที่หลากเพียงพอแกการพิจาณา จนนํา ไปสู ค วามวุ น วาย กระทั่ งผู ค นที่ ไม ไ ดรว มการ ชุมนุมก็มีแนวโนมจะเอนเอียงไปตามสื่อที่ตนเสพ ไม วาจะเชื่อตามสื่อฝายผูชุมนุม หรือเชื่อคําโฆษณาของ

รัฐบาลจนออกใบอนุญาตฆาคนใหฝายใดฝายหนึ่งโดย ไมตั้งใจก็ตามที ลวนเปนการมอบอํานาจนอกกรอบ ของความชอบธรรมใหต กอยู ในเมื องของสิ่ งมี ชีวิ ต ผู เสพอํานาจทั้งหลาย อันจะนําไปสูความไรเสถียรภาพ ของบานเมืองทั้งสิ้น หากจะมีขอดีอยูบางในเหตุวิกฤต การเมืองที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ ก็คงเปนเพราะมันทําใหเรา ไดเห็นวา สิ่งมีชีวิตที่ดํารงอยูไดดวยอํานาจทัง้ หลายนัน้ อํามหิตโหดเหี้ยมไดมากเพียงใด การมีสวนรวมทางการเมืองในรูปแบบที่จะ นําไปสูการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยนั้น ลําพังแค เพียงความตื่นตัวยังไมเพียงพอ หากยังตองตื่นรู รูวา การวิพากษวิจารณประชดประชัน ขัดแยงกันไมชวย อะไร รู ว า เรามี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ต อ ครอบครั ว ต อ ชุ ม ชน ต อ เมื อ งของเรา และต อ ประเทศของเรา เราต อ งตั ด สิ น ใจอย า งมี วิ จ ารณญาณเพื่ อ คุ ณ ค า โดยรวมของสังคม รูวาปญหาเกิดจากพวกเราเอง ที่ ปลอยปละละเลยใหทุกอยางมันเป นไป ปล อยให นักการเมือง ทหาร ชนชั้นนํา ขาราชบริพารทั้งหลาย ฉอฉล แกงแยงชวงชิงอํานาจโดยใชเลือด ชีวิต และ น้ํ า ตาของประชาชนเป น เครื่ อ งสั ง เวย รู ว า คนที่ จ ะ แกปญหาของเราได คือพวกเราเอง และรูวาเราทุกคน มี ศั ก ยภาพ ที่ จ ะสร า งอํ า นาจสาธารณะในการ แกปญหาที่เปนอยูได นั่ น คื อ คนไทยจะเป น เพี ย งประชาชน คนธรรมดาไมไดอีกตอไป หากยังตองเปนพลเมือง คือ ผูเปนกําลังของเมือง เปนคนที่มีศักดิ์ศรีแหงความเปน มนุษย มีอิสระ มีความรู มีเหตุผล และมีสวนรวมใน กระบวนการสาธารณะ แนวคิด เรื่ องพลเมื องนี้มี ม า ตั้งแตยุคแรกเริ่มของระบอบประชาธิปไตย และไมใช เรื่องไกลตัว เพราะมันแทรกอยูในประชาธิปไตยแบบ ชุ ม ชนดั้ ง เดิ ม แทบทุ ก วั ฒ นธรรมในโลกรวมทั้ ง วัฒนธรรมไทยดวย ความเปนพลเมืองเปนสิ่งที่คนไทย

13


คุนเคยอยูแลว เพียงแตเราถูกความเปลี่ยนแปลงของ สัง คม ถูกอํ า นาจรั ฐ ที่ กดทับ เอาไวต ลอดเวลาลาอั น ยาวนานนับรอยป จนอาจจะหลงลืมไป กระนั้นเราก็ ยั ง สามารถฟ น ฟู จิ ต วิ ญ ญาณนั้ น ขึ้ น มาใหม ไ ด ดั ง ที่ หลายๆ ชุมชนในประเทศไทยเปนอยูในขณะนี้ คือเปน ชุมชนที่สามารถทวงคืนอํานาจของตน กลับมาจากรัฐ ได สํ า เร็ จ และมี อํ า นาจในการกํ า หนดวิ ถี ชี วิ ต ของ ตนเองอยางแทจริง วิธีการนั้นเรียกวา “กระบวนการ วิ จ ารณญาณสาธารณะ” ซึ่ ง คงต อ งยกไปกล า วใน บทความถัดไป บรรณานุกรม กฤติยา ยั่งยืน. (2549). การมีสวนรวมทางการเมือง ของนิสิตนักศึกษา ในวิกฤตการณทาง การเมืองยุคปลายรัฐบาลทักษิณ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. คณะกรรมการอํานวยการเพื่อจัดการศึกษาประเด็น การแกไขรัฐธรรมนูญ. (2549). ประมวล ขอคิดเห็นเกี่ยวกับการแกไขเพิ่มเติม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ : สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา. มานพ ถนอมศรี. (2542). สารคดีชุดบุคคลและ เหตุการณสําคัญในประวัติศาสตรโลก เงาอดีต. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ตนออ แกรมมี่. วาสนา นานวม. (2555). บันทึกคําใหการ สุจินดา คราประยูร กําเนิดและอวสาน รสช. กรุงเทพฯ : มติชน. สมบัติ ธํารงธัญวงศ. (2553). รายงานผลการสํารวจ ความคิดเห็นของประชาชน เกี่ยวกับการ

14

แกไขรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการพิจารณาแนวทางการแกไข รัฐธรรมนูญ. อเนก เหลาธรรมทัศน. (2550). สองนครา ประชาธิปไตย =Two Democracies in Thailand. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : คบไฟ. อัลบริททัน, โรเบริต บี และถวิลวดี บุรีกุล. (2553). “บทบาทของประชาสังคมที่มีตอ การเมืองใน ดานการเลือกตั้งของประเทศไทย” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www.kpi. ac.th/kpith/ index.php?option=com _content&task=view&id=708&Itemid =254. สืบคนเมื่อ 10 ธันวาคม


เงื่อนประวัติศาสตรศึกษาอั้วเชียงแสนคลีโอพัตรา ราชินิกุลอียิปต-เชียงแสน มิติคิดใหมในประวัติศาสตรไทย

บทคัดยอ

ศักดิ์ ส.รัตนชัย*

Sakdi (S) Rattanachai

บทความนี้เปนมิติคิดของ ศักดิ์ ส. รัตนชัย ไดนําเสนอเงื่อนประวัติศาสตรราชนิกูลอียิป คลิโอพัตรา กับ อั้วเชียงแสน ในประวัติศาสตรไทยยุคโยนกเชียงแสน โดยอางถึงพงศาวดาร ภาค 61 พระยารวงเปนชูกับนางอั้ว เชียงแสน ซึ่งเปนเมียของพระยางําเมือง เทียบกับคลิโอพัตรา ยุคอียิปเปนเมืองขึ้นโรมัน ที่ขุนพลมารค แอนโทนี่ เปนชูกับคลิโอพัตรา คําสําคัญ : อั้วเชียงแสน, คลีโอพัตรา Abstract This is an opinion of Sakdi (S) Rattanachai who presents historical clues of Cleopatra and Auo Chiangsaen, Yonok of Thai. Refer to annals 61, Praya Ruang commits adultery with Auo Chiangsaen who is a wife of Praya Ngammuang comparing to Cleopatra and Mark Anthony in a period of Egypt belongs to Roman. Keywords: Auo Chiangsaen, Cleopatra

*

ครูภูมิปญญาไทย 2549 จตุตถดิเรกคุณาภรณ 2548 เบญจมดิเรกคุณาภรณ 2540

15


วารสารลําปางหลวง

16

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2556

คลีโอภัตรา ซีซาแอนโทนี่ในบทหนัง บทจริงพะเยาของใคร ? ระหวางเชียงราย-เชียงแสน-พระรวง? เนื่องในการประชุมลองเรือเหนือเขื่อนกิ่วลม ของคณะนายกสมาคม สมาพั น ธ ท อ งเที่ ย ว 16 จั ง หวั ด ภาคเหนื อ ในรอบ 12 วั น ก อนหน า เดื อ น เดี ย วกั น ผู เ ขี ย นได มี โอกาส นํ า เรื่ อ งพร อ ม ภาพประกอบมาฉายในวาระบรรยายสรุปของจังหวัด ลําปาง แด คณาจารยและนักศึกษา วิทยาลัยปองกัน ราชอาณาจักร (วปรอ.)รุน52 และ ปรอ.รุน 22 ฟง บรรยายสรุป ณ วันที่ 25 มีนาคม 2553 ณ หอง

มิติคิดใหมในประวัติศาสตรไทย จากผลศึกษาอารยธรรมประวัติศาสตรยุคโยนก เชียงแสน งานสํารวจของสแคนดิเนเวียน แหงเด็น มาร ค โดยแผนที่ มิ ติ ท างอากาศ และการศึ ก ษา ภาคพื้นดินของนักโบรารณคดีประวัติศาสตรไทยเปน ขอมู ล สั่ ง สม ร องน้ํ า แม วั ง ในเขตจัง หวั ด ลํ า ปางตอน เหนือเขื่อนกิ่วลมขึ้นไป คืออาณาจักรโยนกเชียงแสน โบราณ โดยภูมิพงศาวดารยุคกษัตริยไทยโยนกเชียง แสน แบงเปน 2 ราชวงศ คือราชวงศสิริชัยเชียงแสน วง ศ เ ชี ยง ร า ย อ พ ย พ ลง ไ ป ตั้ งจั ก ร ว งศ ไ ท ย ที่ กํ า แพงเพชร ครั้ น ต อมาอาณาเขตพื้ น ที่ ตั้ ง จั กรวงศ โยนกนาคพันธเชียงแสนฝายเหนือเกิดถลมจมน้ํา สิ้น ราชวงศาเหลือแตวงศเสนามาตยเกาตั้งเวียงปรึกษา สู

16

ประชุ ม กฟผ. แม เ มาะลํ า ปางมี เ รื่ อ ง เงื่ อ น ประวั ติ ศ าสตร ศึ ก ษา อั้ ว เชี ย งแสนคลี โ อพั ต รา ราชิ นิ กุ ล อี ยิ ป ต เ ชี ย ง แ ส น เ ป น ปฐมเหตุ

ยุคขุนนางอามาตยาธิปไตยไทย ฝายเหนือ แทนจักรวงศสิงหนวติกุมาร ก ษั ต ริ ย ที่ จ ม น้ํ า ต า ม ค ว า ม ใ น พงศาวดารภาคที่ 61 (ศรีศักดิ์ วัลลิโภด ม. : 2532) ศิ ล า จ า รึ ก มี ห ลั ก ฐ า น ใ ห ม โดยเฉพาะ พ.ศ.1710 และพระนามกษัตริยศรีธรรมา โศกราช ซึ่งเปนนามที่ไมปรากฏในนามกษัตริยขอม ณ เมืองพระนคร พระมหากษัตริยองคนี้ นาจะทรงครอง อยู ณ เมื อ งลพบุ รี หรื อ ไม ก็ ห ริ ภุ ญ ชั ย หรื อ ลํ า พู น ชี้ใหเห็นวาดง (แมนางเมือง) เปนอิสระทางการเมือง ของขอม... การเมืองของรัฐทั้ งสี่ กลา วคือ รัฐ สุพรรณภู มิ สามารถผนวกนครศรีธรรมราชเขาไวได คือตอมาก็ได ร ว มกั น กั บ รั ฐ ละโว อั น เนื่ อ งมาจากอภิ เ ษกสมรส ระหวางสมเด็จพระรามาธิบดี (พระเจาอูทอง) ของรัฐ ละโวกับราชธิดาของผูปกครองกษัตริยสุวรรณภูมิ “ขุนเจื่อง ความสํานึกรวมทางวัฒนธรรมของ คนลุ ม โขงตอนบน ของท า นศรี ศั ก ร วั ล ลิ โ ภดม เปรียบเทียบพระนางจามเทวีปฐมกษัตริยหริภุญไชย กับ ขุน เจื่ อง “ภาพการเปน ผูนํ า ของขุ นเจื่ อง จึ งมิ ใ ช ผูนําในการสรางบานแปงเมืองเชนพระเจาสิงหนวติ


กุมาร หากเปนผู นําในการรวบรวมบานเมื องใหเป น ปกแผน...โดยมีศูนยกลางอํานาจอยูที่ตัวผูนําเอง ซึ่งใน ลั ก ษณะเช น นี้ บุ ค คลที่ เ ป น ผู นํ า จะต องมี ค วามเป น กลางในเรื่องของเชื้อชาติและเผาพันธุ ..การรับรูเรื่อง ของขุนเจื่องนั้น กลาวไดวาอยูในสํานึกรวมของชนชาติ หลายเผาในลุมน้ําโขงตอนบนทีเดียว” เอกสารจีนใหชื่อจักรวงศฝายเหนือวา “ปาไปสี ฟู” หมายถึงสะไภ 800 ก็คือการสืบขัตติยวงศาทาง ราชินิกูล ในราชวงศลาวจกหรือลวจักรราชมีกษัตริย เปนใหญโดยพระราชอํานาจจัดตั้งหนองแส ดวยเรื่อง ยุทธหัตถีชิงพระราชธิดาโอคา แปง และราชธิดาจันผง ของกษั ต ริ ย ขุ น ชิ น รั ช กาลนี้ คื อ ตั ว อย า งศึ ก ษา พงศาวดารสืบโอรสาธิวงศที่จีนจะยอมรับ ใหเปนหัว สวยขึ้นพระราชอํานาจตรงตอวองหลวง คือเงื่อนไขที่ ประดาลูกสวยเมืองในเขตอิทธิพลของจีนจะตองมาชิง สองนางในยุทธหัตถีหนาพระที่นั่ง กษัตริยขุนชิน นี่ คื อ เ งื่ อ น ไ ข ที่ ก ษั ต ริ ย ป ร ะ เ ท ศ ท ร ง แสนยานุภาพแหงแหลมอินโดจีนชาติหนึ่งคือญวนหรือ อันหนําที่พงศาวดารภาค 61 เรียก วาแกว จําตองยก ขบวนพยุหยาตรามาเพื่อกระทําสงครามยุทธหัตถีชิง ตําแหนงเขยกษัตริยเงินยาง ดวยตนเอง เปนยุทธหัตถี ชิงตําแหนงกษัตริยหัวเมืองบรรณาการของฮองเต แตแลวผูชนะชิงตําแหนงสองธิดาคือพระนาง อามแพง และพระนางจันผง ไดทั้งคูคือ “ขุนเจื่อง” แหงพะเยา ขณะที่ มี ผู เข า ใจว า ขุ น เจื่ อ งเก ง กาจในฐานะ ขุนพลชาญสนามรบสนามรัก แบบนิยาย ผูชนะสิบทิศ แตหลักฐานขุนเจื่องในพงศาวดารภาค 61 กษัตริย 10 ทิศลุมโขงอินโดจีน ก็มาประจันหนา และปราชัยแถม ตองยกธิดากษัตริยตางๆ ใหขุนเจื่อง ประเด็นศึกษา ระบบกลุมประเทศบริวารของอาณาจักรวองหลวงใน ฐานะบุ ค คลที่ 1 ดู จ ะพร อ งต อ ความสนใจ แม เ รื่ อ ง

หนองแสมี สองแหง คือความรูใหมยัง กระจายกันไม ทั่วถึง หลั ง การสั ม มนานานาชาติ เรื่ องไทยศึ กษาที่ นครคุนหมิง พ.ศ.2533 เอกสารชิ้นแรกที่เผยแพรในวง แคบๆ คือ หนองแสมีสองแหง แมน้ําลานชางไมมี ขอมูล ใหมจากการสัมมนาไทยศึกษา คุนหมิง 11-13 พ.ค. 2533 กรุงเทพฯ (สถาบัน ราชภัฏสวนดุ สิต) 19 มิย . 2540 โดยมี ศาสตราจารย เ จี ย แยนจอง ศู น ย จี น ศึกษาสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Mr.Guo Huszhong และProf.Cal Juaqi แหง สถาบันชนกลุมนอยยูนนาน หัวเรื่อง การศึกษาและ วั ฒ นธรรมชนกลุ ม น อยมณฑปยู น นาน บั น ทึ กพิ ม พ รูปเลมโดยศักดิ์ ส.รัตนชัย ผอ.สถาบันศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยโยนก และคะทํางานเอกสารนิทรรศการ ยุคฮองเตทรงพระราชอํานาจจัดตั้งตําแหน ง กษั ต ริ ยหัว ส ว ยเมื อง แทนกษัต ริ ย ขุนชิ น ประดาลู ก สวยเมืองตั้งแต เวียตนาม ลาว พมา นาน แพร เชียง รุง ยอมมีสิทธิสืบตําแหนงหัวสวยเมืองดวยประเพณี ยุทธหัตถี พงศาวดารภาค 61 ใหความชัดเจนถึงตอน ขุนเจื่องชนะตําแหนงชิงสองธิดาขุนชิน เมืองที่แพ ก็ ตางยกลูกสาวมาถวาย เพื่อสืบบําเหน็จตําแหนงความ เปนลูกเมืองรัชทายาท ภาษาประวัติศาสตรจีนเรียก ตํ า แหน ง ป า ไปสี ฟู หรื อ สะไภ 800 คื อ ยุ ค พระราช อํานาจจั ดตั้งฮองเตเพื่อใหหัวเมืองสวยปฏิ บัติตอลู ก สวยเมืองทั้งหลายสอบพงศาวดารทางอาณาจักรนาน เจาถึงยุทธศาสตรปกครองราชวงศตางๆ ตออํานาจคุม หั ว ส ว ยเมื องอั น หนั ม หรื อแกวหลวง มี อุ ป สรรคถู ก ปล น ทํ า ลาย ปลอมราชสาส น ฯ คื อ ความสู ญ เสี ย มากกวาการยกทัพไปตีเมืองแกวอันหนัมแตแรกๆ จึง หันมาใหความสําคัญลูกสวยเมืองที่มีระบบขนสงใกล กวาปลอดภัยกวา

17


โ ค ร ง ส ร า ง พ ง ศ า ว ด า ร น า น เ จ า ที่ นั ก ประวัติศาสตรไทยยุคหลังขาดการใหความสําคัญตอ ราชวงศ สิ ง หนวติ เป น รั ช ทายาทอั น ชอบธรรมนอก อํ า นาจ 6 เจ า ในยู น นานที่ มี ค วามบอกชั ด เจนใน พงศาวดารน า นเจ า แต แ รก โอรสที่ ส องแห ง กษั ต ริ ย หนองแสลงไปตั้ ง อาณาจั ก รโยนกเชี ย งแสนลุ ม โขง เจาพระยาเชียงราย และกําแพงเพชร ศาสตราจารย ห ม อ มเจ า สุ ภั ท รดิ ศ ดิ ศ กุ ล ใน พระนิ พ นธ ประวั ติ ช นชาติ ไ ทยในทั ศ นคติ ช าว ต า งประเทศ สมั ย มองโคลแผ อํ า นาจในยู น นาน หลังจากยึดเมืองตาลี คือเมืองหลวงของแควนยูนนาน

ได เมื่ อวั นที่ 7 มกราคม พ.ศ.1779 และปราบปราม แควนยูนนานราบคาบ พ.ศ.1800 (ค.ศ.1257) ก็คงจะ เห็ น วา การตั้ ง แคว น เล็ กๆ น อยๆ ไทยขึ้ นแทนอารย ธรรมอินเดียมากอน คงงายกวาการที่จะควบคุมของ ประเทศจีน สถานการณเชนนี้ จึงทําใหหัวหนาชนชาติ ไทยเขายึดอํานาจได ยิ่ง กว านั้ น คื อความป นป ว นของประชาชนใน แหลมอินโดจีนในขณะนั้น ในประเทศพมา การที่ กองทัพมองโคลเขายึดพุกามไวไดใน พ.ศ.1830 (คศ. 1287) ก็ทําใหอํานาจพมาเสื่อมสูญลงไปชั่วคราว และ ทําใหพมาตองแบงแยกออกไปหลายแควน

โครงสร า งประวั ติ ศ าสตร ใต อํา นาจมองโคล พ.ศ.1800 คือจุดเริ่มตนรัฐไทย กษัตริยไทยสุโขทัยเผา ภาษานับเลขยี่สิบวาซาว มีคําร่ําเปงที่หมายถึง รําพึงใช มีคําวาแพที่หมายถึงไชยชนะ ขณะที่วงศเสนา มาตย เชียงแสน ทําไดแคผลแหงการสถาปนาตระกูล ลาวจกครองพงศาวดาร ก็ เ หมื อนมองโคลสร า ง ป ก กิ่ ง สุ ด ท า ยด ว ยวั ฒ นธรรมที่ ก ลายเป น จี น ก็ เ ช น เดียวกันกับราชวงศโยนกเชียงแสนมีราชวงศลาวจกมา มีอํานาจชั่วคราว พ.ศ.1830 กองทัพมองโคลยึดพุกาม พม า จึ ง ไม แ ปลกอะไรที่ ก ษั ต ริ ย เมงรายจะมี โ อกาส กวาดตอนทรัพยสินไพรบริวารตระกูลชาง และพระ

นางปายโค สู ร ม ฉั ต รเชี ย งใหม พระยาเม็ ง รายแห ง ตระกูล ลาวจก ก็ อิง ราชิ นี กุลเชี ยงรุ ง ขณะที่ พญางํ า เมืองอิงราชิกุลเชียงแสนพะเยา หลักฐานขุนเจื่องราชวงศลาวจก ยกกองทัพไป ตีเมืองแกวหรืออันหนัม คือเวียตนาม แมดวยเรื่องได ครองเมืองแพร และเมืองนาน ก็เพียงขณะ ขุนเจื่อง จะตองยกพลไปเยี่ยมเมืองบริวารลูกสวย หลังชัยชนะ ตําแหนงเขยกษัตริยเมืองหลวงเงินยาง ไปตรวจเยี่ยม เมื อ งลู ก ส ว ย เช น แพร เช น น า นก็ ถ วายราชธิ ด า เปนไปตามกติ กา ไมมี ความจําเปนหรือปฏิกิริยาก อ ขบถรบทั พ จั บ ศึ กที่ ขุน เจื่ องจั กต องไปปราบ โดยผั ง วิเคราะหระบบบริหารจัดการแบบกินเมืองดังนี้

18


1. ผังวิเคราะหตํานานระบบเศรษฐกิจนานเจาแบบกินเมือง

 บัลลังกหนองแสหลวง  ประเทศบริวารหางสวยเมือง

ประเทศบริวารหัวสวยเมือง

 ประเทศบริวารหางสวยเมือง

1. สิงหนวติกุมาร โอรสที่ 2 บัลลังกหนองแสหลวง ผูตกทอดตําแหนงเสนามาตยเวียงปรึกษา เหตุเวียง กษัตริยถลมจมหาย 2. เสนามาตยเวียงปรึกษา ตั้งเวียงได 93 ป รวมอํานาจไทยแบบไรกษัตริยไมติดจึงรวมสถาปนาวงศลาวจก เปนกษัตริย 3. หัวเมืองบริวารขึ้นอํานาจจัดตั้งจากกษัตริยหนองแสหลวงเปนตําแหนงประเทศบริวารตองสงสวยราช บรรณาการเมือง

เอกสาร *11 Sakdi (S) Rattanachai Some Observation about Yonok Yunnan Proceeding th the 4 International Conference on Thai Studies.Volume III.Khunming 11-13 May.1990 ไดเสนอทฤษฎีแบงราชวงศอาณาจักรนานเจา ตามความในพระราชพงศาวดารภาค ๖๑ กษัตริยมีโอรสธิดา 60 พระองคเสกสมรสกันเอง ตองมีมเหสีมาก พระองค โอรสที่ 2 คือสิงหนวติกุมาร มีพระราชชนนีเปนวงศาไทยเมือง แสดงเชื้อชาติขางมารดา ปฐมขัติยวงศาไทยเมืองสืบสายราชินีกุลอาณาจักร สู สายแหรกราชวงศาไทยเมือง สิงหนวติตั้งเมืองโยนกนาคพันธุ.เชียงแสนชางแสง ***

19


ขอหาพระรวงเปนชูพระนางอั้วเชียงแสน ตํา นานพื้น เมื องเชี ย งใหม ของคณะกรรมการ จั ด พิ ม พ เ อกสารทางประวั ติ ศ าสตร สํ า นั กพิ ม พ ทําเนียบรัฐบาล พ.ศ.2514 ศั ก ดิ์ ส.รั ต นชั ย บั ญ ชรศิ ล ปะฯ ไทยลานนา ฉบับวันที่ 15 วันที่ 20 และวันที่ 25 มิถุนายน 2514 1.1 พระยามังรายยกทัพเพื่อชิงพะเยา พ.ศ. 1829 “เจาพระยามังรายคะนิงใจวา ... ในระหวางอัน นี้ เราควรไปปลนเอาเมืองพูยาวชา วาอั้น แล ว ก็ ย กพลโยธาไปถึ ง ที่ ห นึ่ ง แดนเมื อ ง เชียงรายกับแดนพูยาวตอกัน ที่นั้นชื่อวาบานดาย พระยางําเมืองก็ยกริพลออกมา...ตางยกริพ ล เขาจูกัน...ปอยบรบกัน...พระยางําเมือง...จึงฝากแควน แกพระยามังรายโพนปากนาหนึ่ง มีคน 500 หลังคา เรือนแกพระยามังราย 1.2 ประวัติพระยารวงกับการเกี่ยวพันนางเทวี อั้วเชียงแสน อปปรภาเค แตนั้นมายังมีพระยาตนหนึ่ง ชื่ อ พระยารวงเปนเจาเมืองสุโขทัย....เปนลูกนางผีเสื้อชื่อ กังลี นางหันนายพรานปามีรูปอันงาม จึงกุมเอาเปนผัว จึงไดลูกชายผูหนึ่งไดมาเปนพระยารวงกับ พระยางําเมืองก็เปนมิตรรักกัน ไปมาหาสูกัน ไวเนื้อเชื่อใจกัน พระยารวงเทียรยอมไปดําหัวยังแมน้ํา ของ เอาช า งมาเป น หมู เ ป น ฝู ง ผ า นเมื อ งภู ย าวไป หนทางอันพระยารวงเอาริพลและหมูชางมาทั้งหลาย มานั้น เลยลึ กเป น แม น้ํ า ไป เมื่ อภายลุน คนทั้ง หลาย เรียกวา แมรองชางตอบัดนี้

20

เมื่ อนั้น ยั งมี น างเทวีพ ระยางํ าเมื องผู หนึ่ง ชื่ อ นาง อั้วเชียงแสน มีรูปโฉมงามนัก นางผั้ น มี ใ จเคี ย ดแก พ ระยางํ า เมื อง ด ว ยเหตุ ดังนี้ ยังมีอยูวันหนึ่ง นางอั้วเชียงแสน กระทําสูขวัญ พระยางําเมือง พระยาทักวา นางพระยามาสูขวัญกู ปางนี้ แกงออมลําดี เทาวาถวยปากกวางน้ําแกงนักไป นอยหนึ่งวาอั้น นางพระยาเขาใจวาพระยางําเมืองวามายาแก ตน เลยเคียดบมักมาหา พระยาตีเมืองเชียงสุม นางจึง มีความยินดีใครมักพระยารวง อันเทียวมาดําหัวและ จอดยั้งอยูนอกเวียง พระรวงรูวานางอั้วเชียงแสนมีใจ มักตน ก็หยองไปนอนกับนางอั้วเชียงแสนหลายทีนัก ภายลุนพระยางําเมืองรูวา พระรวงมาสูเมียตน จึงพอง เอาพระยา รวงดวยดี จึงอุบายหื้อพระยารวงมากินแกลม พระยารวงรูคิงบมา จําคําตอบวา พระยางําเมืองเปน ผูนอยกวา กู ปอยจักหากูไปฉันนี้บไปละ วาอั้น ...” ความสํ า คั ญ ตอนหนึ่ ง ปรารภพระยามั ง ราย “อันหนึ่งพระยาศรีธรรมราชนครหลวง กับพระยาศรอ ยุ ธิ ย าอั น เป น ญาติ พ ระยาร ว ง” เรื่ อ งกรณี 3 เส า กษัตริย 3 แควเจาพระยา ยุค 3 กษัตริย และ 3 เมือง หลวง เทียบเหตุการณพุทธศตวรรษที่ 18 รัฐใหมๆเริ่ม เกิดขึ้น อันเนื่องมาจากการเสื้อมของรัฐพุกาม กัมพูชา รัฐแรกๆ กลุมพูดภาษาไทย คือรัฐโยนก และรัฐสุโขทัย โดยเฉพาะรัฐโยนกนั้น สมัยตอมาไดรวมกับรวมกับหริ ภุญชัยเปนรัฐลานนาไทย (ศรีศักร) ภูมิหลัง 3 กษัตริย ยุคพระนางอั้วเชียงแสน


21

วารสารลําปางหลวง

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2556

3. ผังวิเคราะหภาพนําเรื่องสูผังภูมิราชินีกูลเปรียบเทียบ อียิปต  กรีก

โรมัน 

กรีกสืบราชวงศปโตเลมีที่อียิปตสิ้นโอรสาธิวงศสืบราชินิกุลสูค ลี โอภัตรา ขัติยวงศาราชินิกุลของคลีโอพัตราตองยอมเสกสมรส สวามีชั้น“อนุชา” ระบบปกครองประเทศโดยพระสวามีอียิปต ตองตกเปนเมืองขึ้นโรมัน

ยุคอียิปตเปนนครอิสระคูบัลลังกซีซารอาณาจักรโรมัน โดยพระราชพิธีสมรส กษัตริยโรมัน กับ ราชินิกุลอียิปต ภาพ 1-2 ปริศนาบริเวณเหนือแกงกิ่วลมภาย บน ใหเปนที่เขาใจแตเบื้ องตนวา ลําปางมีกิ่วสําคั ญ ระหวางมนุษยและธรรมชาติ กอนเขาสูตัวเมืองโดย ถนนสายเดนชัย-ลําปาง คือตองผานกิ่วพระเจาเขาสู ตัวเมือง อีกกิ่วหนึ่งคือระหวางชะโงกเขาชองลมแมน้ํา วังที่แบงอาณาจักรโยนกเชียงแสนสูยุคพะเยาโบราณ ทั้งหมดนี้เรายังขาดขอมูลยุทธศาสตรจัดตั้งอํานาจรัฐ กลุมเมืองกษัตริยหญิง แหงหนองแส เพียงพอ เชน มัง ราย (เมงราย) งําเมืองแหงวงศลาวจกลวน คือสายเขยราชินุ กุลโยนกนาคพันธุเชียงแสนเชนราชินิกุลสายจามเทวี วงศ (ปาไปสีฟู-หนี่หวังกวอ) แตเมื่อสถาปนาเมงรายลาวจก เขยเชียงรุง นั่ง เชียงราย งําเมืองลาวจก เขยพะเยาแหงราชินีกุลอั้ว เชียงแสน เมงรายเริ่มไมซื่อหวังฮุบบัลลังกสหายยกทัพ

ไปพะเยา งําเมือง ยอมยกพื้นที่สวนหนึ่งของแผนดิน พรอมชีวิตลูกพะเยาเปนสวยเมืองเชียงราย 500 ครัว ยุค นี้ พ ะเยาก็ คือหั ว เมื องส วยเชี ย งราย หากเพี ย งงํ า เมื องตอกรเมงรายจนเหลือแต ชื่ อ เมงรายเขา ครอง พะเยาแลว อั้วเชียงแสนจะหายไปไหน ? แต ยุ ท ธศึ ก ษาการเมื อ งตอนนี้ “กษั ต ริ ย าอั้ ว เชียงแสนพะเยาก็รวมสุวรรณบัลลังกลับกับพระรวง แลว?!” พระรวงคือใคร? พระรวงคือมหาจักรพรรดิ ที่ แผนที่ประวัติศาสตรไทยยุคสุโขทัยรามคําแหง แผคลุม มะลายูและบางสวนของพุกาม จะถือเปนชูเยื่องสามัญ ชนไดอยางไร คลีโอพัตรา ยุคอียิปตเปนเมืองขึ้นโรมัน ไดเปนตําแหนงเมืองหลวงคูบังลังกกษัตริยโรมันจูเลียส ซีซา คลีโอพัตราจากราชินิกุลสูตําแหนงกษัตริยาเพื่อ อียิป ต แมครั้ งสุด ทายมารคแอนโทนีซึ่ งก็เปนขุ นพล

21


เอกผูสําเร็จราชการโรมันตองมายอมตายคูคลีโอภัตรา เพื่ อเทิ ด ความเป น กษั ต ริ ย าสุ ด ท า ยราชวงศ ป โตเรมี นครอเล็คซานเดรีย แหงอียิปต จะถือวากษัตริยจูเลียส

ซีซา โรมัน และขุนพลมารค แอนโทนี่เปนชูคลีโอพัตรา เยี่ยงสามัญชนไดกระนั้นหรือ?

กษัตริยโรมันจูเลียตซีซา วัย 54 กับพระนางคลีโอพัตรา ขณะทหารไพรซอนพระนางในมวนพรมลาดทองพลับพลาพระ ราชอาคันตุกะโรมัน ขณะยึดครองอียิปต ดวยลีลานางระบํา สมั ย ท า วเธอเจริ ญ วั ย เพี ย ง 21 ป โดยฉากนี้ นี่เ อง ที่ ทํา ให อี ยิ ป ต พ น สภาพเมื อ งขึ้ น ในตํ า แหน ง ราชิ นี โ รมั น กษั ต รี ย า สุดท ายแหงราชวงปโตเลมีอียิ ปต จวบมีพ ระราชโอรสสรอ ย พระนามซีซาร สายโรมัน-อียิปต.

มุมผัง คลีโอพัตรา-อั้วเชียงแสน สังคราะห 2 ขณะที่ทาวเธอคลีโอพัตรา ทรงพระชันษาเพียง 21 ป พระนาง ตองเสกสมรสกับอนุชขา ตําแหนงสวามีถึง 2 พระองคทรงมีโอรสรวมสายเลือดอียิปตมาแลว แตตองตกใต ตําแหนงเมืองขึ้นโรมัน มุมผังสังเคราะห เปรียบเทียบ ยุคสวามีพระนางอั้วเชียงแสน ตองปลอยใหพะเยาเปนเมืองสวยเชียงรายของ กษัตริยเมงราย แตขณะเดียวที่พระรวงคือจักรพรรดิสุโขทัยที่มีดินแดนคลุมบางสวนมลายูและพมามอญ โดย ความในตํานานกลาวถึง พระรวงรูวานางอั้วเชียงแสนมีใจมักตน ก็หยองไปนอนกับนางอั้วเชียงแสนหลายทีนัก คือ พฤติกรรมระหวางนางพระยากับพระราชอาคันตุกะ ซีซาร พบพระนางคลีโอพัตรา เพียงหากพระยางําเมือง หาญยุทธหัตถีกับพระยาเมงราย พระรวงก็คือพระสวามีแหงพระนางอั้วเชียงแสน แหงบัลลังกราชวงศา ไทย ดวยกัน ประโยคสําคัญ ของตํานานพื้นเชียงใหม พระยารวงเปนเจาเมืองสุโขทัย....เปนลูกนางผีเสื้อชื่อกังลี นาง หันนายพรานปามีรูปอันงาม จึงกุมเอาเปนผัว จึงไดลูกชายผูหนึ่งไดมาเปนพระยารวง แสดงวา ทั้งพระยาเมงราย และพระยางําเมือง ตางเผาพงศพันธุกับ พระรวงซึ่งเปนคนไทย สืบบรรพบุรุษราชวงศสิงหนวติกุมารโยนกเชียง แสน (ดูสายแหรกวงศา ภายไทยภายลัวะประกอบการสังเคราะห ***ยุคสมัย คลีโอพัตราราว พศว.ที่ 5 อั้ว เชียงแสน ราว พศว.ที่ 20

22


วารสารลําปางหลวง

23

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2556

ผู เ ขี ย น กั บ ห น า ต า นักแสดงชาวอี ยิ ปต กั บลั กษณะ การแต ง กายแบบชาวดิ น แดน “คลี โ อพั ต รา” ในงานมหกรรม ก า ร แ ส ด ง ศิ ล ป ะ พื้ น บ า น นานาชาติในไตหวัน ภาพจาก Google

คลายเครียดทายบท ☺ตํานานไฝคลีโอภัตรา - อั้วเชียงเชียงแสน รู ป 4-5 ผิ แ ม น ว า กษั ต ริ ย าแห ง พะเยาจะส อ ง กระจกเปรียบเทียบกษัตริยาอียิปต หนังคลีโอพัตรา โดยอะลีซาเบทเทยเลอรก็ฝงเสนหงามที่เม็ดไฝ ขณะที่ อุ ป รากรณ เรื่ อ ง 4 กษั ต ริ ย าปตานี ยุ ค นครป ต ตานี กําลังดังดวยความงามแบบหนึ่ง งามแบบอั้วเชียงแสน คลีโอภัตรา ก็นาจะแฝงเสนหอยูที่เม็ดไฝ ?! บรรณานุกรม ถวิล อยูเย็น. (ม.ป.ป.). เอกสารประวัติศาสตร ในแฟม สมาคมเพื่อการรักษาสมบัติและ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สาขาลําปาง. ประชากิจกรจักร, พระยา. (2507). พงศาวดาร โยนก. กรุงเทพฯ : คลังวิทยา. ประเสริฐ ณ นคร และปวงคํา ตุย เขียว. (2537). ตํานานมูลศาสนา เชียงใหม เชียงตุง สมาคมประวัติศาสตร. ยอรช เซเดส. (2507). ตํานานอักษรไทย. กรุงเทพฯ : องคการคาของคุรุสภา.

ศรีศักร วัลลิโภดม. (2532). เมืองโบราณใน อาณาจักรสุโขทัย. กรุงเทพฯ : สถาบันไทย คดีศึกษา ศักดิ์ (ส) รัตนชัย. (2530). ลานนา ลานนา เปนของ ใคร. ลําปาง : สมาคมเพื่อการรักษาสมบัติ วัฒนธรรม (สรสว.) ______. (2535). “สวนหักหายจากจารึก สท.นว.2,” ศิลปากร. 35(4) : ______. (2535). “ขอสังเกตุบางประการโยนก ยูน นาน,” ศิลปากร. 35(5) : ______. (2550). “ลําปางลุมโขงโยนกเชียงแสน ศึกษา,” มนุษยสังคมสาร. 1(1) : 72-79 ; ______. (2552). “เขลางค-สองแคว-เขาพระวิหาร เงื่อนพงศาวดารคนพบใหม,” มนุษยสังคม สาร. 1(1) : ศิลปากร, กรม. ประชุมศาวดาร ฉบับหอสมุด แหงชาติ เลม 1-44. กรุงเทพฯ :กาวหนา พ.ศ. 2506-2517. ______. (2526). หนังสือจารึกสมัยสุโขทัย ฉลอง 700 ป.

23


______. (2550). พระธาตุเจาดอยตุง:บันทึกวาดวย การอนุรักษและพัฒนา พิเศษ เจียจันทร พงษ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, มจ. ประวัติชนชาติไทยในทัศนคติ ชาวตางประเทศ. กรุงเทพฯ : กรม ศิลปากร. Sakdi (S) Rattanachai. (1990). “Some Observation about Yonok Yunnan Proceeding of the 4th International Conference on Thai Studies,” Khunming. (3) : 11-13 May.

24


จริยธรรมตามหลักพระพุทธศาสนาในเพลงของสลา คุณวุฒิ BUDDHIST ETHICS IN SALA KHUNNAWUT’S SONGS

พระมหาเจียง ชวยสุมาน1, ดร. พรธาดา สุวัธนวนิช2, พระครูปลัดสุวัฒนธีรคุณ3 บทคัดยอ

ปริญญานิพนธฉบับนี้มีจุดมุงหมายที่จะวิเคราะหจริยธรรมและกลวิธีการนําเสนอจริยธรรมตามหลัก พระพุทธศาสนาในเพลงของสลา คุณวุฒิ จากการศึกษา พบวา มีจริยธรรมตามหลักพระพุทธศาสนา 4 ระดับ ไดแก จริยธรรมขั้นพื้นฐาน เปนหลักปฏิบัติเบื้องตนของพุทธศาสนิกชน เรียกวาไตรสิกขา มี 3 ประการ คือ ทาน ศีล ภาวนา จริยธรรมสวนบุคคล เปนหลักปฏิบัติเพื่อพัฒนาตนเอง เพื่อความสุขของตนและผูอื่น มี 17 ประการ คือ ความไมประมาท ศรัทธา สัจจะ จาคะ สติสัมปชัญญะ หิริโอตตัปปะ ขันติโสรัจจะ กตัญูกตเวที ปพพัชชา อิทธิบาท 4 พรหมวิหาร 4 ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน คารวะ 6 อบายมุข 6 ทิศ 6 โลกธรรม 8 มงคล 38 จริยธรรม สวนรวม เปนหลักปฏิบัติในการอยูรวมกันในสังคม มี 2 ประการ คือ ความสามัคคี และความยุติธรรม จริยธรรม วิชาชีพ เปนหลักปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ มี 2 ประการ คือ จริยธรรมวิชาชีพครู และจริยธรรมวิชาชีพ พยาบาล ปรมัตถธรรม เปนหลักธรรมขั้นสูง คือ สภาวธรรม พบ 2 ประการ คือ ไตรลักษณ และอริยสัจ 4 โดยจริยธรรมที่ปรากฏมากที่สุดคือ สัจจะ จริยธรรมที่สลา คุณวุฒิ ไดเนนไวในเพลงคือ ศีล ความกตัญูกตเวที ความอดทน ความขยัน ความสันโดษ อันเปนหลักปฏิบัติที่เกี่ยวกับการพัฒนาตนเองสูความสําเร็จ และดํารงไวซึ่ง จิตสํานึกแหงสถาบันครอบครัว สลา คุณวุฒิ ไดใชกลวิธีอันหลากหลายเพื่อนําเสนอจริยธรรมตามหลักพระพุทธศาสนา โดยใชทั้งกลวิธี การนําเสนอจริยธรรมโดยตรงและกลวิธีการนําเสนอจริยธรรมโดยออม ดวยกลวิธีทางวรรณศิลปที่หลากหลาย ทําใหเพลงของสลา คุณวุฒิ มีความไพเราะและมีเนื้อหาสงเสริมจริยธรรมอันดีงามของสังคม คําสําคัญ: จริยธรรม, เพลงลูกทุง, สลา คุณวุฒิ, กลวิธีการนําเสนอ.

1

นิสิตปริญญาโท ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ .โทร. 0858002961 E-mail. Ciaeng_1@hotmail.com 2 อ.ด. (วรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ). อาจารยประจําภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. 3 พธ.ม. (พระพุทธศาสนา). อาจารยพิเศษ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

25


Abstract This thesis is aiming at the analysis of ethicity and strategy of presentation of ethic according to the Buddhist principle as appeared in the songs of Sala Khunnawut, it is found that there are 4 stages of ethicity according to the Buddhist principle, they are basic ethicity as the primary practice principle of all Buddhists known as threefold training: Charity, precepts, and meditation. Personal ethicity is the practice for self development for the happiness of oneself and other consisting of 17 of them, they are: Carefulness, faith, truthfulness, charity, mindfulness and awareness, moral shame and moral fear, patience and refinement, gratefulness, ordination, the Four Paths of Accomplishment, the four sentiments, present benefit, six appreciative actions, six directions, the eight worldly conditions, and thirty eight blessings. The ethicity for common good is the practice principle for living together in the society consisting of unity and justice. The occupational ethicity is the practice principle for conducting occupation consisting of teacher occupational ethicity and Nursing occupational ethicity. The ultimate Reality is the highest dhamma principle, that is the principle of nature consisting of the Three Signs of Being and the Four Noble Truths. The most appeared ethicity is truthfulness. The ethicity emphasized in Sala Khunnawut’s songs are patience, diligence and contentment which are the practice principle relating to the self-development towards the success and the maintenance of consciousness of family institute. Sala Khunnawut applied diversified strategies in presenting the ethicity according to the Buddhist principle by using the direct and indirect presentation of ethicity. With multiple strategies, Sala Khunnawut’s songs are admired for their sweet-sounding and contents that promote the good morality for the society.

Keyword: Ethicity, Folk Song, Sala Khunnawut. คํานํา สังคมไทยไดยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา มาชานานตั้งแตสมัยกอนกรุงสุโขทัยเปนราชธานี ดังปรากฏขอความในหลักศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง มหาราช (2514, หนา 4) วา “คนในเมืองสุโขทัยนี้มัก ทาน มักทรงศีล มักโอยทาน พอขุ นรามคําแหง เจ า เมืองสุโขทัยนี้ ทังชาวแมชาวเจา ทวยปวทวยทุกนาง ลูกเจาลูกขุนทังสิ้นทังหลาย ทังผูชายผูหญิง ฝูงทวย

26

มีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน หลักฐานดังกลาวแสดงใหเห็นความศรัทธาอันมั่นคงใน พระพุ ทธศาสนาของบรรพบุ รุษไทย ซึ่ งนิ ยมบํ าเพ็ ญ ทาน ศีล ภาวนาอยูเปนนิตย ดวยเหตุที่ประชาชนตั้งมัน่ ในศี ล ธรรมขององค ส มเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า ดังกลาว จึงทําใหชาวสุโขทัยลวนมีอัชฌาสัยจิตใจงาม มีชีวิตที่รมเย็นเปนสุข สามารถสรางสรรคคุณประโยชน นานัปการ กลายเปนมรดกตกทอดปรากฏเปนประจักษ พยานตราบจนปจจุบัน เชน ความงดงามทางดานพุทธ


ศิลป เปนตน นับไดวาลักษณะสังคมสมัยสุโขทัยเปน ต น แบบ เป น สั งคมในอุ ด มคติ ของชาวไทยตลอดมา แมในยุคปจจุบันพระพุทธศาสนาก็ยังคงเปนสถาบัน หลั ก ทางสั ง คม ประชาชนส ว นใหญ ไ ด น อ มนํ า ห ลั ก ธ ร ร ม ท า ง พุ ท ธ ศ า ส น า ม า ป ร ะ พ ฤ ติ ต า ม กําลังสติปญญาของตน พระพุทธศาสนาจึงมีอิทธิพล ต อ การดํ า เนิ น ชี วิ ต ของคนในสั ง คมทั้ ง ทางตรงและ ทางออม ถือเปนรากฐานทางสังคม วัฒนธรรม จารีต และประเพณีอันดีงามของไทย วรรณกรรมเพลงเปนศิ ลปวั ฒนธรรมแขนงหนึ่ ง ยอมไดรับอิ ท ธิพ ลของพระพุท ธศาสนาเชน เดี ยวกั น อนึ่ ง ครู เพลงส วนมากเป นผู นั บ ถือพระพุ ท ธศาสนา ยอมตองการถายทอดเพลงที่มีทั้งความบันเทิง ทัศนะ ตลอดจนอุทาหรณสอนใจตางๆ อันจะกระตุนผูฟงให เกิ ดความคล อยตามและปฏิ บั ติ ในสิ่ งที่ ดี งาม ดั งคํ ากล าว ของพระมหาสมชัย สิริวฑฺฒโน (2537, หนา 3) วา ครู เพลงมองเห็นจุดประสงคอันลึกซึ้งของพระพุทธศาสนา และบทบาทของบทเพลงวามีจุดหมายปลายทางอัน เดียวกัน ในแงของการสงเสริมคุณธรรม จึงประพันธ เพลงให มี ค วามหมายสอดคล องกั น ด วยศรั ท ธาและ ความเชื่อในหลักคําสอน วัตถุประสงคของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดตั้งความมุงหมายไวดังนี้ 1. เพื่อศึกษาหลักจริยธรรมที่ปรากฏในบทเพลง ของสลา คุณวุฒิ 2. เพื่ อ ศึ ก ษากลวิ ธี ก ารนํ า เสนอจริ ย ธรรมที่ ปรากฏในเพลงของสลา คุณวุฒิ วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาหลักจริยธรรมและ กลวิธีการนําเสนอจริยธรรม ในเพลงของสลา คุณวุฒิ

ที่ไดรับการเผยแพรตั้งแต พ.ศ. 2527 – 2552 โดย คั ด เลื อ กเฉพาะเพลงที่ ป รากฏจริ ย ธรรมตามหลั ก พระพุทธศาสนา จํานวน 200 เพลง ดวยวิธีการวิจัย เอกสาร (Documentary Research) และเสนอ ก า ร ศึ ก ษ า ค น ค ว า แ บ บ พ ร ร ณ น า วิ เ ค ร า ะ ห (Analytical Description) ตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. รวบรวมบทเพลงและผลงานของสลา คุณวุฒิ 2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับเพลง ของสลา คุณวุฒิ 3. ศึ ก ษาเอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ กลวิธีการนําเสนอจริยธรรมในวรรณกรรม 4. วิเคราะหจริย ธรรมที่ปรากฏในบทเพลงของ สลา คุณวุฒิ 5. วิเคราะหกลวิธีการนําเสนอจริยธรรมที่ปรากฏ ในเพลงของสลา คุณวุฒิ 6. เสนอผลการศึกษาโดยการพรรณนาวิเคราะห เพลงลูกทุ งเปน เพลงอี กแนวหนึ่ ง ที่ไ ด รับ ความ นิยมจากผูฟงอยางแพรหลายมานับศตวรรษ เพลง ประเภทนี้มีการสืบทอดมาจากเพลงพื้นบานในแตละ ภูมิภาค ผสมกับเครื่องดนตรีสากล มีลักษณะเดนคือ ในการขั บ ร อ ง นั ก ร อ งจะร อ งเต็ ม เสี ย ง ใช สํ า เนี ย ง พื้นบาน นิยมเลนลูกคอ และมีการเอื้อนเสียงเพื่อสื่อ อารมณ มี เ นื้ อ หาที่ ห ลากหลาย แต โ ดยมากมั ก บรรยายวิ ถีชี วิ ต ของชาวชนบท หรื อมี กลิ่ น อายแห ง ความเป น ท องทุ ง เน น สื่ อความหมายกั บ ผู ฟ ง อย า ง ตรงไปตรงมา แสดงให เ ห็ น ความจริ ง ใจต อ กั น ของ สังคมชนบท ปจจุบันมีครูเพลงทานหนึ่งที่ไดรับการยกยองวา เป น ครู เพลงมื อทอง เพราะสามารถป น นั กร องให มี ชื่อเสียงโดงดังได เพลงที่เขาประพันธขึ้นมานั้นมีความ ไพเราะโดดเด น และน าสนใจ ครู เพลงผูนั้ น คื อ สลา คุ ณ วุ ฒิ เป น ผู ที่ มี ค วามชํ า นาญในการใช ภ าษาไทย

27


สามารถใชถอยคําที่นํามาจากภาษาถิ่นอีสานและคํา ที่ ม าจากภาษาอั ง กฤษ ใช คํ า อุ ป มา คํ า ร ว มสมั ย คํ า ซ อน ทํ า ให เ กิ ด ความหมายชั ด เจน มี ก ารเล น คํ า สัมผัสสระและสัมผัสอักษร เพื่อชวยในการถายทอด เสียงใหไพเราะ ทําใหเกิดจินตนาการ บทเพลงที่สลา คุณวุฒิประพันธขึ้นนั้น ไดสรางชื่อเสียงใหกับนักรอง ทั้งชายและหญิงจํานวนมาก อาทิ มนตสิทธิ์ คําสรอย เพลงจดหมายผิดซอง, ไชยา มิตรชัย เพลงกระทงหลง ทาง, แมน มณีวรรณ เพลงพี่เมาวันเขาหมั้น, แดง จิตร กร เพลงมนต รักตจว. หั ว ใจคิ ด ฮอด น้ํ า ตาผ า เหล า เอกราช สุวรรณภูมิ เพลงกระเปาแบนแฟนทิ้ง สัญญา 5 บาท, ลูกแพร ไหมไทย อุไรพร เพลงแพรบสนามรัก ลารักกลับแนวรบ ลางแคนดวยน้ําตา ศร สินชัย เพลง กระทอมทํา ใจ ตา ย อรทั ย เพลงดอกหญา ในป าปู น โทรหาแนเดอ, ไมค ภิรมยพร เพลงยาใจคนจน นักสู ม. 3 เหนื่อยไหมคนดี , ศิ ริพร อํา ไพพงษ เพลงลา ง จานในงานแต ง ปริ ญ ญาใจ, จั กรพรรณ อาบครบุ รี เพลงตองมีสักวัน ใจสารภาพ, ไหมไทย ใจตะวัน เพลง น อ งมากั บ คํ า ว า ใช ถู ก ทิ้ ง ที่ พั ท ยา, ตั๊ ก แตน ชลดา ไม ใ ช แ ฟนทํ า แทนไม ไ ด คนเหงาที่ เ ข า ใจเธอ ฯลฯ นอกเหนือจากผลงานเพลงที่สรางชื่อเสียงใหนักรอง โดงดังเปนดาวประดับวงการเพลงลูกทุงแลว เพลงของ สลายังเปนเพลงที่ทรงคุณคาและเปยมความหมายตอ สังคม จนทําใหไดรับรางวัลจากสถาบันตางๆ ดังนี้ รางวัลพระพิฆเนศทองพระราชทาน จากเพลง กระทงหลงทาง ใน พ.ศ. 2541 เพลงยาใจคนจน ใน พ.ศ. 2541 และ พ.ศ. 2542 เพลงนักสู ม. 3, กระเปา แบนแฟนทิ้ง, นางฟาบานไพร ใน พ.ศ. 2545 รางวัลมาลัยทอง จากเพลง เหนื่อยไหมคนดี ใน พ.ศ. 2541, เพลงรองเทาหนาหอง, กระเปาแบนแฟน ทิ้ง, ปริญญาใจ ใน พ.ศ. 2543, เพลงดวยแรงแหงรัก ใน พ.ศ. 2545, เพลงโทรหาแนเดอ, ใจสารภาพ, มนต

28

รัก ตจว. อยากใหเธอเขาใจ ใน พ.ศ. 2546, เพลง อยากใหเธอเขาใจ, กินขาวหรือยัง ใน พ.ศ.2547, เพลงกําลังใจในแววตา ใน พ.ศ. 2548 เปนตน รางวัลทั้งหลายขางตนเปนสิ่งยืนยันวา เพลงของ สลา คุณวุฒิ เปนเพลงที่ไพเราะ มีความหลากหลาย ทางด า นเนื้ อ หาสาระ นอกจากตอบสนองอารมณ ความรู สึ ก ของผู ฟ ง แล ว ยั ง สอดแทรกจริ ย ธรรมใน เนื้อหาแนบเนียนอแยบยล ทําใหบุคคลตระหนักถึง คุ ณ งามความดี แ ละความสุ ข ของการอยู ร ว มกั น ใน สังคม มีขอมูลที่นาสนใจ แคน สาริกา (บก.2550, 5) ไดใหความเห็นวา เพลงลูกทุงจํานวนมาก นับจาก พ.ศ. 2540 ฟองสบูแตก เปนตนมา เปนเพลงคุณภาพที่มี การคัดสรรพอสมควร เพราะเงินทุกบาททุกสตางคนั้น มีคายิ่งนักในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา ถาอัลบั้มไหนไมมี เพลงที่ฟงไดจริง ก็อยาหวังวาจะไดเงินจากแฟนเพลง ตอใหลงทุนโปรโมต 5 - 10 ลานบาทก็ตามที มีใหเห็น กัน บอยๆ ในตลาดเพลงลูกทุง ในนั้นก็มีเพลงของสลา จํานวนหนึ่ ง ที่ มี ส วนเสริ มสร างภู มิ ต านทานให เพลง ลูกทุงมีความเขมแข็งสูกับมลพิษเพลงขยะได ขอนี้ ยอมแสดงใหเห็นวา กลุมผูฟงเพลงรุนใหมไดเลือกฟง เพลงที่ ให ทั้ งความบั นเทิ งและเนื้ อหาตอบโจทย การ ดําเนินชีวิตมากขึ้น จริยธรรมพื้นฐาน จริยธรรม คือ หลักธรรมที่เปนแนวทางแหงการ ประพฤติ ปฏิ บั ติ เพื่ อความเจริ ญรุ งเรื องแห งชี วิ ต อั น ถู ก ต อ งตามหลั ก เกณฑ ข องพระพุ ท ธศาสนา และ วัฒนธรรม เพื่อรักษาระเบียบและสงเสริมความดีของ บุคคลตลอดจนสังคมใหผาสุก กลาวโดยงาย คือการ นํ าเอาหลั กธรรมที่ พระพุ ทธองค สั่ งสอนไว ม าปฏิ บั ติ เพื่อใหเกิดรูปธรรมนั่นเอง โดยทั่วไปแลวคนไทยนิยม แบ ง จริ ย ธรรม 3 ระดั บ คื อ ทาน ศี ล และภาวนา


จริ ย ธรรมทั้ ง 3 อย า งนี้ รวมเรี ย กว า หลั กไตรสิ กขา นับเปนหลักจริยธรรมเบื้องตน คือเปนสิ่งที่ถือปฏิบัติ กั นเป นประ จํ า เป นที่ รั บรู จั กกั น ทั่ วไ ป ในห มู พุทธศาสนิ กชน โดยเฉพาะการให ทาน เมื่ อใดก็ ตาม ที่ ช าวพุ ท ธได ทํ า ความดี ทั้ ง 3 อย า งนี้ เ พี ย งอย า งใด อยางหนึ่ง หรือทั้งหมด เรามักเรียกสิ่งนั้นวาเปนการ ทําบุญ ทั้งนี้ก็ดวยหวังอานิสงสผลบุญจะเกื้อหนุนให โชคดี มีความสุขพบแตความสมหวังในการดําเนินชีวิต ดังเพลงวา เจาสาวคนโกไดเจาบาวรูปหลอ เฮ็ดบุญหยังนอจึงหากันพออยากฮูเหลือเกิน บไดอิจฉา แตปรารถนาอยากพอคือเพิ่น สงตัวถึงประตูเงินฟอนเซิ้งสอยเพิ่นเผื่อบุญนําพา ฟอนเซิ้งสอยเพิ่นเผื่อบุญนําพา (เพลงออนซอนเจาบาว. 2547. ขับรองโดย ศิริพร อําไพพงษ) เมื่อประสบกับความผิดหวังในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือ แมแตเรื่องความรักก็มักจะมองโลกในแงดีวา บุญนองบหลาย...ดึงอายบอยู บไดเปนคูขออยูอยางผูทําใจ ไดเฮ็ดดีนําไดทําบุญตอนองก็พอใจ แอบฮักขางเดียวเรื่อยไป บหวังดึงอายคืนดี เกิดมาชาตินี้ไดทําดีกับอายก็พอ กะซางมันเถาะนองสิขอหอบใจหลบลี้ บรั้งฮักอายมีแฟนใหมขอใหโชคดี ไดฮักอายเสี้ยวชีวีแคนี้ก็ดีใจแลว (เพลงแค นี้ ก็ ดี ใ จแล ว . 2550. ขั บ ร อ งโดย ศิริพร อําไพพงษ)

จะเห็นไดวาการสรางบุญหรือความดีนั้น เปนสิ่งที่ พุ ท ธ ศ า ส นิ ก ช น พ ย า ย า ม บํ า เ พ็ ญ ต า ม กํ า ลั ง ความสามารถของตน เพราะเชื่อมั่นในความดีและกฎ แห ง กรรมที่ ว า ทํ า ดี ไ ด ดี ทํ า ชั่ ว ได ชั่ ว สลา คุ ณ วุ ฒิ ไ ด นํ า เสนอประเด็ น เรื่ อ งบุ ญ ไว ใ นเพลงเพื่ อ ให ผู ฟ ง ตระหนักในผลของกรรมดี ใหมุ มมองตอปญหาและ วิธี การแก ไข หรื อมี ท าที ตอสถานการณ ตา งๆ อย า ง ถูกตอง ไมหลงผิดจนประพฤติผิดหลักจริยธรรมอันดี งาม แมในบางครั้ง คนเราอาจมีความรัก เมตตาหวังดี ตอกัน แตก็ไมอาจจะประพฤติกาวล้ําเกินเลยเสนแบง ของศีลธรรมได เชน คนที่ไมใชแฟนทําแทนทุกเรื่องไมได เหนื่อยก็รูเหงาก็เขาใจแตไมอาจใหยืมออมแขน คนที่ไมใชแฟนทําแทนทุกเรื่องไมได หนาที่ตามฐานะใจหามเดินกาวล้ําเสนแฟน ภาระในเขตออมแขน ไมใชแฟนทําแทนไมได ยอมอยูขางใจแตไมขอเปนสํารอง ขออยาไดมองความซื่อแลวแปลวางาย เมื่อเราเจอกันขางพรหมลิขิต ก็อยาใกลชิดมากเกินหามใจ ตองเจียมตัววาเราคือใคร แคแอบรูใจ ไมใชแฟน (เพลงไมใชแฟนทําแทนไมได. 2550. ขับรอง โดย ตั๊กแตน ชลดา) การพยายามหักหามใจ ไมปลอยอารมณไปตาม อํานาจกิเลสตั ณหา ไมป ระพฤติลว งเกิน คูครองของ ผูอื่น แมจะมีความรักปรารถนาสักปานใดก็ตาม ยอม แสดงใหเห็นถึงความหนักแนนในศีลขอสาม คือ การ ไมประพฤติผิดในกาม หากคนในสังคมประพฤติตาม หลักศีลธรรมเชนนี้ ปญหาสังคมตางๆ เชน การชูสาว

29


การมีภรรยานอย เปนตน ก็จะไมเกิดขึ้น สังคมของ เราก็จ ะเปน สัง คมที่ มีแ ตค วามสงบสุ ข เพราะทุ กคน ประพฤติตามหลักจริยธรรมขั้นพื้นฐานได ดังนั้น ทาน ศี ล ภ า ว น า จึ ง เ ป น ห ลั ก ป ฏิ บั ติ เ บื้ อ ง ต น ที่ พุทธศาสนิกชนควรใสใจปฏิบัติ เพราะยิ่งปฏิบัติตาม ทาน ศีล ภาวนาไดเครงครัดมากเทาใด ยิ่งสงผลดีตอ ตนเองและสังคมโดยรวมมากเทานั้น จริยธรรมสวนบุคคล จริยธรรมสวนบุคคล คือหลักธรรมที่ปจเจกชนพึง ปฏิ บั ติ เ พื่ อ พั ฒ นาชี วิ ต ของตนเองให ดี ยิ่ ง ๆ ขึ้ น ไป ปรากฏในเพลงของสลา คุณวุฒิ 17 ประการ คือ อัป มาท ความไม ประมาท ศรั ท ธา ความเชื่ อมั่ น สั จจะ ความสัตย จาคะ ความเสียสละ สติสัมปชัญญะ ความ ระลึกไดและรูตัว หิริโอตตัปปะ ความละอายและเกรง กลัวตอบาป ขันติโสรัจจะ ความอดทนและความสงบ เสงี่ยม กตัญูกตเวที การรูบุญคุณที่ผูอื่นทําแลวและ ตอบแทน ปพพัชชา การบวช อิทธิบาท 4 คุณเครื่อง แหงความสําเร็จ 4 ประการ พรหมวิหาร 4 คุณเครื่อง ความเปนอยูอยางผูประเสริฐ ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน สิ่ ง ที่ ทํ าให สํ าเร็ จ ประโยชน ใ นภพป จ จุ บั น คารวะ 6 ความเคารพในที่ 6 สถาน อบายมุข 6 สิ่งที่เปนทาง แหงความฉิบหาย 6 ประการ ทิศ 6 วิธีปฏิบัติตอบุคคล ผูแวดลอมตน 6 จําพวก โลกธรรม 8 ธรรมที่ครอบงํา โลก 8 ประการ มงคล 38 ขอปฏิบัติที่ทําใหเกิดโชคดี 38 ประการ โดยจริยธรรมที่ปรากฏมากที่สุดคือสัจจะ ความซื่อสัตยตอกัน จริยธรรมสวนบุคคลนี้จึงเปนหลัก จริยธรรมที่ชวยสงเสริมใหบุคคลแตละคนเปนคนดี ให สามารถพัฒนาศักยภาพของชีวิตตามครรลองคลอง ธรรมได ซึ่ง จริ ยธรรมที่เปน เครื่ องชี้วั ด ลักษณะคนดี ประการแรกคื อ การรู บุญ คุ ณ ที่ผู อื่น ทํา แล วทํ า ตอบ แทน ดั ง พระพุ ท ธพจน ว า กตั ญ ู ก ตเวที เ ป น

30

เครื่องหมายแหงคนดี ดังนั้นผูใดก็ตามที่รูจักตอบแทน บุญคุณบิดามารดาหรือผูมีพระคุณ ยอมเรียกไดวาเปน คนดีได สลา คุณวุฒิถายทอดความกตัญูกตเวทีผาน เพลงวา ลูกทํางานหนักเพราะอยากเห็นแมพักผอน จิตใจอาวรณถึงตอนแมนั้นลําเค็ญ ซิ่นสวยสักผืนเสื้อตัวงามบเคยไดเห็น เลี้ยงลูกบนทางลําเค็ญลูกเห็นแมเหนื่อยมาพอ อยู กทม. สานกอเพื่อแมทุกอยาง ทํางานรับจางหาทางสรางฝนวันรอ ไดเงินบาทใดอยารอใหแมตองเอยขอ สงรายเดือนมารอคงพอใหแมสบาย (เพลงหยาดเหงื่อเพื่อแม. 2545. ขับรองโดย เอกพล มนตตระการ) ในบางครั้งคนเราก็มั กจะวัดความเปนคนดีกันที่ คานิยมเรื่องวัตถุเงินทอง ใหความสําคัญกับผูที่มีฐานะดี มากกวาผูที่ทําดี จนละเลยหรือมองขาม ไมเห็นคุณคา หรือใหความสําคัญกับคนดี สลา คุณวุฒิ จึงไดประพันธ เพลงเพื่อเตือนสติวา โปรดชวยรักษาคนดี เชิดชูคนที่เสียสละ ไมถูกใจบางบางเวลา อยาดวนกลาวหาจนถอดใจ โปรดชวยดูแลคนดี ใหมีศักดิ์ศรีและยิ่งใหญ ปกปองคนดีใหมีชัย เพื่อใหใครใครอยากทําความดี อยากใหมีคนที่ทําดีมากมาย ยืนหยัดสูไหวแรงใจมากมี กวาจะเจอก็อยากนักหนาควรรักษาใหดี


วารสารลําปางหลวง

ใชเพชรที่เรามีอยางรูคา (เพลงโปรดชว ยรักษาคนดี. 2550. ขับรอง โดย ตั๊กแตน ชลดา) เพลงนี้ไดสะทอนใหเห็นอุปนิสัยมักงายหนายเร็ว ของคนไทยที่ มั กเอาแตใจตั วเอง เมื่อใดก็ ตามที่ คนดี หรื อ ผลแห ง ความดี ไ ม ป รากฏผล ไม เ ป น ไปตามที่ คาดหวัง ก็มักจะมีทัศนคติที่ไมดีตอการทําดีนั้น การ เรียกรองใหชวยกันรักษาคนดี จึงเปนการสงเสริมใหคน ในสังคมมีแรงใจในการทําดีกันตอไป จริยธรรมสวนรวม จริยธรรมสวนรวม คือ จริยธรรมที่บุคคลในสังคม ควรประพฤติตอกันเพื่อความสงบสุขสวัสดีของสังคม ปรากฏในเพลงของสลา คุณวุฒิ 2 ประการ คือ ความ สามัคคี และความยุติธรรม เพลงลูกทุงจํานวนมาก กลาวถึงการอพยพของแรงงานตางจังหวัดเขาสูเมือง ใหญ ผูประพันธไดแสดงภาพชนชั้นแรงงานที่ถูกเอารัด เอาเปรียบไววา เงินเบางานหนัก คือสัญลักษณของคนขายแรง เหงื่อเม็ดถูกๆ สรางสิ่งแพงๆ แลกกับขาวแกงกินตามยถา เหลือจายเก็บไวสงคืนไปใหคนอยูนา ในยามที่ฝนลืมฟาเปลี่ยนโชคชะตาของคนอีสาน (ทางเดิ นชาวดิน . 2548. ขับ รองโดย ไมค ภิรมยพร) การดอยโอกาสทางการศึกษาก็เปนอีกปจจัยหนึ่ง ที่ทําใหแรงงานหนุมสาวไหลทะลักเขามาสูเมืองหลวง เพื่อแสวงหาโอกาสและสรางฐานะใหดีขึ้น

31

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2556

เอาแรงเปนทุนสูงานเงินเดือนต่ําต่ํา เก็บเงินเขาเรียนภาคค่ํากอความหวังบนทางเปอนฝุน สังคมเมืองใหญขาดแคลนน้ําใจเจือจุน ใชความอดทนเติมทุนใหยืนสูไหวทุกวัน (เพลงดอกหญาในปาปูน. 2545. ขับรองโดย ตาย อรทัย ) การขวนขวายแสวงหาความสําเร็จในชีวิตของหนุม สาว สะท อ นให เ ห็ น การเรี ย กร อ งความยุ ติ ธ รรม ให เกิดขึ้ นในสังคม สลา คุณวุ ฒิ ไดนํ าเสนอประเด็ น เหล านี้ ด วยความนุ มนวล กลมกลื นกั บ ความบั น เทิ ง ทํ า ให ผู ฟ ง เพลิ ด เพลิ น แต ซ าบซึ้ ง ในความรู สึ ก ทาง จริยธรรมเรื่องความยุติธรรมนั้น กลวิธีการนําเสนอจริยธรรม จริยธรรมเปนเรื่องของการนําเอาคําสั่งสอนของ พระพุทธศาสนามาปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ผูประพันธ เพลงจะตองใชกลวิธีการนําเสนอเพื่อใหผูฟงไดรับความ บั น เทิ ง และเนื้ อ หาทางจริ ย ธรรมควบคู กั น ไป สลา คุณวุฒิ ไดใชกลวิธีนําเสนอจริยธรรมโดยตรงและการ นําเสนอจริยธรรมโดยออม ในการนําเสนอจริยธรรม โดยตรงนั้ น มี ทั้ ง การตั้ ง ชื่ อ เพลงที่ สื่ อ ให เ ห็ น ความ ประพฤติทางจริยธรรม เช น เพลงทําบาปบลง เพลง ไมใชแฟนทําแทนไมได เพลงหยาดเหงื่อเพื่อแม เปนตน มีทั้งการนําเสนอในตอนตน ตอนกลาง และตอนทาย เพลง เชน ถึงเปนคนเชยๆ แตอายบเคยซื้อซีดีปลอม ชีวิตเทียวพังเทียวซอมแตก็บยอมทําสิ่งบดี เรียนต่ํางานทําลําบาก แตอายก็ฮักศักดิ์ศรี ภูมิใจไดเปนคนดี ถึงบคอยมีเงินใชก็ตาม

31


(เพลงบาวพันธุพื้นเมือง. 2550. ขับรองโดย ไหมไทย ใจตะวัน) นอกจากจะมีการแสดงจริยธรรมในตอนตนเพลง เพื่ อปรารภหรื อบอกความเป น คนดี มี จ ริ ย ธรรมเป น เบื้ องแรกแล ว หรื อในบางครั้ งผู ป ระพั น ธ ไ ด อธิ บ าย ความประพฤติทางจริยธรรมไวในทอนกลางเชน ...ลูกไรเดียงสาภรรยาก็นาฮัก นองบอยากเปนผูทําใหรางลา อายฮักแทรูแกใจตลอดเวลาเรา เจอะกันชาจึงไดแตหาทางปลง ทําบลง นองทําบาปบลง เฮ็ดบลง นองเฮ็ดบาปบลง หยุดเถิดหนา อายอยามาพะวง ชาตินี้คงไดเปนแคชูทางใจ (เพลงทํ า บาปบ ล ง. 2544. ขั บ รั อ งโดย ศิริพร อําไพพงษ) หรื อ สรุ ป จบด ว ยการให ข อคิ ด ทางจริ ย ธรรมใน ตอนท า ยเพลง เช น เพลงเหล า กลมสุ ด ท า ยที่ ผูประพันธสรางตัวละครใหเมาสุราทั้งเรื่องแตกลับใหมี สติเห็นโทษของอบายมุขในตอนทายเพลงดังความวา ... เอาจั่งซี่นอเสี่ยวจักกลมกลมสั่งลาสาวลวง ใหหวงหายเบิดเมี้ยน ลาความเพี้ยนความเมาบาปวง ถึกแอนลวงแอน ตม กลมนี้สั่งลา มายกแกวขึ้นเสี่ยวตํากัน เมาใหมันสุดๆ สิสั่งลา กลมสุดทาย (เพลงลางแคนดวยน้ําตา. 2551. ขับรอง โดย ลูกแพร ไหมไทย อุไรพร)

32

การนํา เสนอจริ ย ธรรมโดยตรงนี้ เมื่ อมองอย า ง ผิวเผินแลวอาจเห็นวาทําเปนสิ่งที่ทําไดงาย เพระเปน การสื่อสารกันโดยตรง อันเปนลักษณะเดนของเพลง ลูกทุงอยูแลว แตในความเปนจริง เพลงที่มุงเนื้อหาเชิง สั่งสอนจริยธรรมมากเกินไป หากขาดการนําเสนอที่ดี ไม ถู ก ที่ ถู ก จุ ด แล ว มั ก ไม ไ ด รั บ ความนิ ย มจากผู ฟ ง เพราะจุดประสงคหลักของการฟงเพลงนั้นคือตองการ ความเพลิดเพลินผอนคลายอารมณมากกวาอยางอื่น กลวิ ธี การนํ าเสนอทางอ อมจึ ง เป น สิ่ ง ที่ ส ลา คุ ณ วุ ฒิ นิยมใชในเพลงมากที่สุด เพราะตองการใหผูฟงไดเสพ งานศิ ล ปะอย า งเพลิ ด เพลิ น คื อ ได อ รรถรสความ ไพเราะของเพลงและไดแนวคิดทางจริยธรรมไปพรอม กัน โดยที่เขาไมรูสึกตัววากําลังถูกอบรมหรือขัดเกลา ดวยจริยธรรมอยู การนําเสนอจริยธรรมโดยออมจึงมี ทั้งการตั้งชื่ อเพลง ด วยการแจ งใหท ราบ บอกใหทํ า และถามให ตอบ การยกตั วอยางเป นอุท าหรณ การ สร า งเรื่ อ งเล า มี ทั้ ง การสร า งโครงเรื่ อ ง พฤติ ก รรม ตัวละคร ฉาก บทสนทนา เปนตน ผลงานเพลงของ สลา คุณวุฒิ จึงเปนการจําลองเหตุการณในชีวิตจริง ผูคนในสังคมทั่วไป เชน เหนื่อยไหมคนดีมีพี่เปนแฟน ครองรักบนความขาดแคลน ยากแคนพี่กลัวเธอทอ เราเริ่มจากศูนยลงทุนดวยความไมพอ ความหวังเทียวพังเทียวกอ ประคองกันสูเรื่อยมา บนเสนทางเดิน ขาดเขินประจํา คลื่นลมชีวิตกระหน่ําอาจทําใหใจพี่ลา บางครั้งบางทีที่พี่ก็สรางปญหา ทําใหเธอมีน้ําตาตองทนพี่มาเสมอ เกงไมมีขับปคอัพก็ไมมีขี่ เห็นแฟนคนอื่นไดดีพี่นี้ยิ่งสงสารเธอ จมอยูกับพี่ทั้งที่ไรสิ่งปรนเปรอ


วารสารลําปางหลวง

รูไหมวารอยยิ้มเธอชวยใหใจพี่มีหวัง พี่ขอขอบคุณที่นองมีใจ กอนนี้ถาพี่ผิดไปตองขออภัยใจนาง ยิ้มเถิดคนดีวันนี้เริ่มมองเห็นทาง จับมือลุกเดินเคียงขางเราจะสรางพรุงนี้ดวยกัน (เพลงเหนื่อยไหมคนดี. 2543. ขับรองโดย ไมค ภิรมยพร) เพลงข า งต น จะเห็ น ได ว า เป น การหยิ บ ยก สภาพการดําเนินชีวิตในสังคมทั่วไปมาเปนโครงเรื่องใน การนําเสนอจริยธรรมที่คูรักควรประพฤติตอกัน เมื่อ ผู ฟ งได ยิ นเพลงนี้ แล วย อมเกิ ดความซาบซึ้ งในความ ไพเราะ และไดรับแนวคิดทางจริยธรรมในการครองรัก เช น ความอดทนอดกลั้ น ความเสมอต นเสมอปลาย และซื่อสัตยตอกันไปในตัว โดยไมรูสึกฝนวาผูประพันธ กํ า ลั ง ยั ด เยี ยดหรื อพยายามสั่ ง สอนจริ ย ธรรมแก ต น แต ป ระการใด เพราะเพลงนี้ มี ทั้ ง ความกลมกลื น สมเหตุ ส มผล เมื่ อ ฟ ง แล ว รู สึ ก ว า เป น เพลงแสดง ความรู สึ ก แทนผู ฟ ง ได จ ริ ง ๆ เพลงของสลา คุ ณ วุ ฒิ จึ ง เป น เพลงที่ มี เสน ห น า ฟ ง มาก ที่ เป นเช น นี้ เพราะ ผู แ ต ง มี เ คล็ ด ลั บ ในการนํ า เสนอในแต ล ะเพลงดั ง ที่ ชูเกียรติ ฉาไธสง (2550. หน า 69 - 70 ) กล าวไว ว า สลามีเคล็ดลับในการแตงเพลงดังนี้ ขึ้นตนตองโดนใจ เนื้ อในต องคมชั ด ประหยั ดคํ า ไม ว กวน ทํ า ให ค นฟ ง นึกวาเปนเพลงของเขา จบเรื่องราวประทับใจ ผลการวิจัย จากการศึกษาวิเคราะหจ ริยธรรมตามหลั ก พระพุ ท ธศาสนาในเพลงของสลา คุ ณ วุ ฒิ พบว า มี จริ ย ธรรมตามหลั ก พระพุ ท ธศาสนา 4 ระดั บ คื อ จริ ย ธรรมขั้ น พื้ น ฐาน ได แ ก ไตรสิ กขา อั น เป น หลั ก

33

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2556

ปฏิบัติที่ชาวพุทธปฏิบตั ิโดยทัว่ ไป คือ ทาน ศีล ภาวนา จริยธรรมสวนบุคคล คือหลักปฏิบัติเพื่อพัฒนาตนเอง ของบุ ค คลเพื่ อความสุ ขของตนและผู อื่น มี ดั ง นี้ คื อ อัปมาท ความไมประมาท ศรัทธา ความเชื่ อ สั จจะ ความจริง จาคะ การเสียสละ สติสัมปชัญญะ ความ ระลึกไดและความรูตัว หิริโอตตัปปะ ความละอายและ ความเกรงกลั วบาป ขั นติ โสรัจจะ ความอดทนและ ความสงบเสงี่ยม กตัญูกตเวที ความรูบุญคุณที่ทาน ทําแล วและทํ าตอบแทน ป พพั ชชา การบวช อิ ทธิ บาท 4 คุณเครื่องใหบรรลุความสําเร็จ พรหมวิหาร 4 เครื่องเปนอยูอยางประเสริฐ ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน ประโยชนในภพนี้ คารวะ 6 การทําความเคารพใน 6 สถาน อบายมุข 6 ทางแหงความเสื่อม 6 ประการ ทิศ 6 หลั กปฏิ บั ติ ต อบุ คคลคลผู แวดล อมตน 6 ประการ โลกธรรม หลั ก ปฏิ บั ติ ต อ ธรรมที่ ค รอบงํ า โลก 8 ประการ มงคล 38 ประการ จริยธรรมสวนรวม เปน จริ ยธรรมสําหรั บประพฤติ ในการอยู รวมกันในสังคม พบ 2 ประการ ไดแก สามัคคี ความพรอมเพรียงกั น แหงหมูคณะ และยุติธรรม ความยึดมั่นในความถูกตอง จริ ยธรรมวิ ชาชี พ เป น จริ ยธรรมสํ าหรั บกํ ากั บ ความ ประพฤติในการประกอบวิชาชีพ พบ 2 ประการ ไดแก จริยธรรมวิ ชาชีพครู และจริยธรรมวิชาชีพพยาบาล ปรมัตถธรรม เปนหลักธรรมขั้นสูง คือสภาวธรรม พบ 2 หมวด คือ ไตรลักษณ และอริยสัจ 4 จริยธรรมที่สลา คุณวุฒิ ไดเนนไวในเพลงคือ ความกตัญูกตเวที ความ อดทน ความขยัน ศีลหา ขอ 3 ความสันโดษ อันเปน เปนหลักจริยธรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาตนเองเพื่อไปสู ความสํ า เร็ จ และดํ า รงไว ซึ่ ง จิ ต สํ า นึ ก แห ง สถาบั น ครอบครัว ในดานกลวิธีการนําเสนอจริยธรรมนั้น สลา คุ ณ วุ ฒิ ได ใ ช ก ลวิ ธี อั น หลากหลายเพื่ อ นํ า เสนอ จริยธรรมตามหลักพระพุท ธศาสนา โดยใชทั้ง กลวิ ธี

33


การนําเสนอจริยธรรมโดยตรง และกลวิธีการนําเสนอ จริ ย ธรรมโดยอ อ ม กลวิ ธี ก ารนํ า เสนอจริ ย ธรรม โดยตรงนั้น มีการตั้ง ชื่อเพลง ดว ยการแจง ให ทราบ การบอกใหทํา มีการนําเสนอแนวคิดทางจริยธรรมใน เนื้ อเพลงตอนต น ตอนกลาง และตอนท า ย มี การ นําเสนอจริยธรรมผานผูขับรอง เพื่อบอกบทบาทและ หน า ที่ ต ามสถานภาพทางสั ง คม ส ว นกลวิ ธี ก าร นําเสนอจริยธรรมโดยออมนั้น มีการตั้งชื่อเพลง การ แจงใหทราบ การถามใหตอบ การบอกให ทํา มีการ ยกตัวอยางเปนอุทาหรณ มีการสรางเรื่องเลา นําเสนอ จริยธรรมผานโครงเรื่อง พฤติกรรมตัวละคร ฉาก และ บทสนทนา นอกจากนี้สลา คุณวุฒิ ยังใชลีลาภาษาใน การนํ า เสนอจริ ย ธรรม มี ก ารใช น้ํ า เสี ย ง การใช ภาพพจน และการใช ภ าษาระดั บ ปาก คื อคํ า แสลง ภาษาถิ่ น และภาษาต า งประเทศ ด ว ยกลวิ ธี ที่ หลากหลาย ทําใหผูฟงไดทั้งความไพเราะและเกิดความ เขาใจในจริยธรรมที่ผูประพันธนําเสนอนั้นอยางชัดเจน อภิปรายผล จากการศึ กษาวิ เคราะห จริ ยธรรมตามหลั ก พระพุ ทธศาสนาในเพลงของสลา คุ ณวุ ฒิ ทําให เห็ น ความสัมพันธของวรรณกรรมเพลงกับสังคมไดชัดเจน เพลงลูกทุงเปนดัชนีชี้วัดสภาพสังคมไดอยางเที่ยงตรง และมี ค วามลึ ก ซึ้ ง ถ อ งแท ด ว ยการนํ า เสนอที่ ตรงไปตรงมาของเพลงลูกทุงอันเปนเอกลักษณสําคัญ ของเพลงประเภทนี้ กลายเปนกระบอกเสียงสําคัญที่จะ เรี ย กร อ งให ค นในสั ง คมได ใ ส ใ จตระหนั ก ถึ ง หลั ก จริยธรรมที่สั งคมควรรั กษาหรื อส งเสริ มให มีขึ้น เพื่ อ ความความสุขความเจริญของสวนรวม เพลงของสลา คุ ณ วุ ฒิ เปรี ย บเหมื อ นครู จ ริ ย ธรรมในวงการเพลง เพราะไดแสดงใหเห็นถึงการอนุรักษมรดกทางจริยธรรม

34

และคอยสงเสริมกระตุนเตือนใหสังคมไดตระหนักถึง คุณคาของจริยธรรมมากยิ่งขึ้น สลา คุ ณวุฒิ คื อครูเพลงคนสํ าคัญที่ไดใสใจ ตระหนักถึงคุณคาของกัลยาณมิตรธรรม คือ ความเปน มิ ตรที่ ดี ของผู ฟ ง เป นผู มี จิ ตวิ ญญาณของครู โดยเต็ ม เปยม ที่คอยสั่งสอน ประคับประคอง ใหกําลังใจ ชี้นํา จริยธรรมอันถูกตอง แกลูกศิษยคือผูฟงเพลงทั้งหลาย แทบจะทุ กเพลงที่ ส ลา คุ ณ วุ ฒิ ประพั น ธ เผยแพร สู สาธารณะนั้น ลวนแตมีความไพเราะและหนักแนนไป ดวยจริยธรรม และดวยความสามารถอันโดดเดนของ ครูเพลงทานนี้ ทําใหผูฟงเกิดการยอมรับในผลงานและ ชื่ น ชมในแนวทางการสร า งเพลงนั้ น จนกลายเป น ตนแบบของนักแตงเพลงรุนใหมทั้งหลาย นอกเหนื อจากจริ ยธรรมอั น ดี ง ามที่ ปรากฏ เป นจํ านวนมากในเพลงต างๆ แล ว สิ่งหนึ่ งที่ ปรากฏ เดนชัดในเพลงของสลา คุณวุฒิ คือ การศึกษา สังเกต จากการใช คํ า ศั พ ท ห รื อ วลี ต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การศึ ก ษา เช น นั ก เรี ย นหลั ง ห อ ง, ปากกาหั ว ใจ, ปริญญาใจ, ติด ร. หัวใจ, นักสู ม.3 ลงทะเบียนใจ, บกลาบอกครูแตหนูกลาบอกอาย, จ.ม. ป. 6 ฯลฯ การ ปรากฏของสิ่ ง ที่ เกี่ ยวข องกั บ การศึ กษาเหล านี้ ย อม แสดงใหเห็นวา สลา คุณวุฒิ เปนคนที่สนับสนุนใหทุก คนไดมีการศึกษาไมวาจะเปนการศึกษาในระบบหรือ การศึ ก ษานอกระบบอั น เกิ ด จากการเรี ย นรู ใ น ประสบการณชีวิตจริงก็ตาม ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวา เพลงของสลา คุณวุฒิ เปนเพลงสรางสรรค สงเสริมให คนมีพัฒนาการในการดําเนินชีวิตอยางถูกตองศีลธรรม อันดีงาม กิตติกรรมประกาศ ปริ ญ ญานิ พ นธ ฉ บั บ นี้ สํ า เร็ จ ลงได ด ว ยดี เ พราะ ผู วิ จั ย ได รั บ ความกรุ ณ าอย า งยิ่ ง จากอาจารย ดร.


พรธาดา สุวัธนวนิช ประธานกรรมการควบคุมปริญญา นิพนธ ทานพระครูปลัดสุวัฒนธีรคุณ กรรมการควบคุม ปริ ญญานิ พ นธ ท า นทั้ งสองได เสี ย สละเวลาอั นมี ค า เพื่ อ ให คํ า ปรึ กษาแนะนํ า การจั ด ทํ า วิ จั ย ทุ กขั้ น ตอน ผูวิจัยยังไดรับความกรุณาจากรองศาสตราจารยอัครา บุ ญ ทิ พ ย และรองศาสตราจารย วั น ดี ศรี ส วั ส ดิ์ กรรมการพิจารณาปริญญานิพนธ ที่กรุณาใหคําแนะนํา และใหขอเสนอแนะอันเปนประโยชน ผูวิจัยขอขอบคุณ เปนอยางสูงไว ณ ที่นี้ ขอขอบคุ ณ คณาจารย ทั้ ง หลาย ได ป ระสิ ท ธิ์ ประสาทวิชาความรูดานภาษาไทยแกผูวิจัยตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบัน ขอขอบคุ ณ พระวรพล ยะพลหา ที่ ไ ด ร วบรวม ขอมูลเพลง เพื่อใชในงานวิจัย ตลอดจนกัลยาณมิตร ทุกทาน ที่คอยชวยเหลือและเปนกําลังใจดวยดีเสมอ มา ผู วิ จั ย ขอกราบขอบพระคุ ณ เจ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระพุฒาจารย เจาอาวาสวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร ที่ประทานความเมตตานุเคราะหมอบทุนการศึกษาแก ผูวิจัยโดยตลอด คุ ณ ค า และประโยชน ข องปริ ญ ญานิ พ นธ เ ล ม นี้ ผูวิจัยขอมอบเปนเครื่องบูชาคุณโยมบิดามารดา ผูให กํ า เนิ ด และโอกาสทางการศึ ก ษา ท า นทั้ ง สองได เสียสละเวลา คอยเปนพลังใจมาตลอดชีวิต บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (2514). คําอานศิลาจารึกพอขุน รามคําแหงมหาราช ศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ 1. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ชูเกียรติ ฉาไธสง และคม ทัพแสง. (2550). เพลงชีวิต ศิลปนครูบานปา สลา คุณวุฒิ. พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : มิ่งมิตร. ตาย อรทัย. (2545). วัสดุบันทึกเสียง ชุดที่ 1 ดอก หญาในปาปูน. กรุงเทพฯ : บริษัท จี เอ็ม เอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน). ตั๊กแตน ชลดา. (2550). วัสดุบันทึกเสียง ชุดที่ 2 ถนนคนฝน. กรุงเทพฯ : บริษัท จี เอ็ม เอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน). พระมหาสมชัย สิริวฑฺฒโน. (2537). หลักธรรมทาง ศาสนาที่ปรากฏอยูในเพลงลูกทุงไทย. วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิต วิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ไมค ภิรมยพร. (2543). วัสดุบันทึกเสียง ชุดที่ 8 เหนื่อยไหมคนดี. กรุงเทพฯ : บริษัท จี เอ็ม เอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน). -----------. (2548). วัสดุบันทึกเสียง ชุดที่ 13 กําลังใจในแววตา. กรุงเทพฯ : บริษัท จี เอ็ม เอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน). ลูกแพร ไหมไทย อุไรพร. (2551). วัสดุบันทึกเสียง. กรุงเทพฯ : บริษัท ทอปไลนมิวสิค จํากัด. ศิริพร อําไพพงษ.( 2544). วัสดุบันทึกเสียง ชุดที่ 3 แรงใจรายวัน.กรุงเทพฯ : บริษัท จี เอ็ม เอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน). -----------. (2547). วัสดุบันทึกเสียง ชุดที่ 8 กรุณา อยาเผลอใจ กรุงเทพฯ : บริษัท จี เอ็ม เอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน). -----------. (2550). วัสดุบันทึกเสียง ชุดพิเศษ ดอกไม จากผองศิษย ดวยรักแดครูสลา. กรุงเทพฯ : บริษัท จี เอ็ม เอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน).

35


ไหมไทย ใจตะวัน. (2550). วัสดุบันทึกเสียง ชุดที่ 1 บาวพันธุพื้นเมือง.กรุงเทพฯ : บริษัท จี เอ็ม เอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน). เอกพล มนตตระการ.(2545). วัสดุบันทึกเสียง. ชุดที่1 หยาดเหงื่อเพื่อแม 2 กรุงเทพฯ : บริษัท จี เอ็ม เอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน).

36


ประเมินการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทําแผนแมบทชุมชนกับการพัฒนา : กรณีศึกษาบานทุง อําเภอเมืองปาน จังหวัดลําปาง PEOPLE’S PARTICIPATIONS EVALUATION IN MODEL SCHEME OF COMMUNITY FOR DEVELOPMENT A CASE STUDY OF BAANTUNG AMPER MUENGPAN LAMPANG PROVINCE. ชัยนันทธรณ ขาวงาม* Chainanthorn Khawngarm. บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาบริบทของชุมชน ภาวะหนี้สินและรายจายครัวเรือน ประเมินการมี สวนรวมการจัดทําแผนแมบทชุมชนและศึกษาปญหา อุปสรรค แนวทางการมีสวนรวม ผูใหขอมูล จํานวน 77 คน เครื่องมือที่ใชคือ การจัดเวทีประชุม ระดมสมองแบบมีสวนรวม ใชแบบสัมภาษณ แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใชคาเฉลี่ย ( x ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) พบวา เดิมหมูบานที่อุดมสมบูรณ มีน้ํากินน้ําใชมากมาย พื้นที่โดยรอบหมูบานมีตนไม มีสัตวปานานาชนิด ผูคนมีความรัก สามัคคีกันอยางดี ซึ่งปจจุบันพบปญหาเด็กติด ยาเสพติด ทะเลาะวิวาท และการลักขโมย มีการตัดไมทําลายปา ควรหาทางแกไขโดยใหเด็กไดมีความรู มีความ อบอุนในครอบครัว และพยายามสนับสนุนใหเด็กมีการเขาคายพัฒนาเยาวชน วันพระก็ควรชวนลูกหลานใหรวม ทํากิจกรรมทางศาสนา ผลการประเมิน พบวา การสํารวจและทําบัญชีครัวเรือน เปนขอมูลการทําแผนแมบทชุมชน มีความ จําเปน ความสําคัญในการทําบัญชีครัวเรือน การทําแผนแมบทชุมชน และไดแผนงานโครงการตางๆ ที่จะชวย แกปญหาของประชาชน ประชาชนสามารถดําเนินการไดเอง เพื่อใหเกิดความสามัคคี และพัฒนาศักยภาพแกนนํา ชุมชนใหเขมแข็งไดเขาใจปญหาของชุมชนและรวมดําเนินการอยางตอเนื่องตอไป คําสําคัญ : แผนแมบทชุมชน

*

ปร.ด. (บริหารศาสตร) อาจารยประจําหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตรการพัฒนา คณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

37


Abstract The purposes of this research were to Study confiscate of the community base data. Evaluate the community participation and the Model Scheme for Development. Study problems barriers and participating of people. The informants were 77 persons. The methods used were that meeting and questionnaire the statistic were mean and standard division the findings of the research were. The problems of drugs addition alcohol making a quarrel slitting or thief the forest destroys to attack. The participant to realize the need of the household account, the arrangement of model scheme of development. Keyword : People’s Participations in Model Scheme of Community

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในการพัฒนาประเทศทุกวันนี้ อาจกลาวได ว า ประสบความสํ า เร็ จ ในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ที่ ขยายตัวอย างรวดเร็ ว ซึ่ งทําใหขาดความสมดุ ลของ การพัฒนา ทําใหเกิดปญหาความเหลื่อมล้ําของการ กระจายรายได แ ละผลประโยชน จ ากการพั ฒ นา ระหวางภาคชนบทกับเมือง และระหวางกลุมคนใน สังคม ยังเปนปญหาสําคัญที่สงผลตอคุณภาพชีวิตคน ไทยทั้งกอใหเกิดปญหาสังคมอื่นๆ ตามมา เชน ปญหา ยาเสพติด ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ปญหา ทรั พ ยากรธรรมชาติ ถู ก ใช ไ ปเพื่ อ ตอบสนองความ ตองการของคนบางกลุม จนเกิดวิกฤติทางธรรมชาติ นั่ น ก็ คื อ การพั ฒ นาตามกระแสโลกที่ ไ ร พ รมแดน ทางการสื่อสารและ เศรษฐกิจ ขยายตัว เติ บโตอยา ง เต็มที่แตสังคมมีปญหากับการพัฒนาไมสมดุล นั บ ตั้ ง แต แผนพั ฒ นาฯ ฉบั บ ที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) ไดมุง เนน ในการพัฒ นาธุรกิจ ชุมชน โดยมีแนวเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและสังคม คือ การสราง

38

ความเข ม แข็ ง ของเศรษฐกิ จ ฐานราก พั ฒ นาธุ ร กิ จ ชุมชนวิสาหกิจชุมชนขนาดกลางและขนาดยอม โดย สงเสริมการระดมทุนในลักษณะกองทุนหมุนเวียน เพื่อ การดําเนินธุรกิจควบคูไปกับการขยายโครงการสินเชื่อ รายย อย เพื่ อบรรเทาป ญ หาสภาพคล อ ง การสร า ง ผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละบริ ก ารที่ มี ก ารพั ฒ นารู ป แบบและ คุณภาพใหไดมาตรฐาน รวมทั้งพัฒนาขอมูลขาวสาร ใหเขากับชุมชน เสริมสรางประสิทธิภาพดานการตลาด และการกระจายผลผลิ ต จากตลาดท อ งถิ่ น สู ต ลาด ภูมิภาค ระดับประเทศและนานาประเทศ ในสว นของการแกป ญหาความยากจน นั้ น ได กํ า หนดแนวทางในพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ฐานรากให เขมแข็ง เพื่อสรางศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถ ใหคนยากจนสามารถกอรางสรางตัวและพึ่งตนเองได มากขึ้น โดยสงเสริมการรวมกลุมของคนยากจนเปน องค กรชุม ชน และเครื อข ายองคกรชุม ชนที่เขม แข็ ง ผานกระบวนการเรียนรู ที่เสริมสรางใหเกิดการรวมคิด รวมตัดสินใจ รวมดําเนินการแกไขปญหาของตน และ


รวมรับผลประโยชน ควบคูไปกับการเสริมสรางความ มั่นคงดานอาชีพและเพิ่มรายได รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย พุทธศักราช 2550 ไดเห็นความสําคัญอยางยิ่งของการ มีสวนรวมของประชาชน และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) กําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายในการดําเนินงาน ตามยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของชุมชนและ สังคม ใหเปนรากฐานที่มั่นคงของประเทศ พรอมกับ รัฐบาลได กําหนดยุท ธศาสตรอยูดีมี สุขระดับจั งหวั ด เป น กรอบใหญ ของการพั ฒ นาหมู บ า น/ชุ ม ชน/การ พัฒนาสวัสดิการสังคม รวมทั้งการแกไขปญหาความ ย า ก จ น เ ช น แ ผ น ง า น ส ร า ง ก า ร เ รี ย น รู แ ล ะ ความสามารถในการจัดการชุมชน แผนงานสนับสนุน ใหมีบทบาทรองรับความออนแอของระบบครอบครัว ไทย และแผนงานดู แ ลความอุ ด มสมบู ร ณ ข อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งนโยบาย การพั ฒ นาจั ง หวั ด ลํ า ปาง ตามยุ ท ธศาสตร 4 การ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และสรางสังคม ใหมี ความเข มแข็ง เป นสั งคมแห งภู มิป ญญาและการ เรียนรู ใหเปนสังคมผาสุก ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี บนฐานความรู ภู มิ ป ญ ญาท องถิ่ น ผสานองค ค วามรู สมัยใหม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยใช แนวทางการจัดการแบบชุมชนเปนฐาน โดยกําหนดให “หมูบาน/ชุมชน” เปนพื้นที่เปาหมายในการพัฒนา อยางบูรณาการจากทุกภาคสวน การสงเสริมใหชุมชน เขมแข็งตองใหความสําคัญ ยอมรับ และยกยองชุมชน ในการพัฒนาตนเองสรา งอัต ลักษณแ ละจัดการองค ความรูของชุมชนโดยใชกระบวนการจัดทําแผนชุมชน เปนเครื่องมืออันมีประสิทธิภาพไดตองใหประชาชนมี สวนรวม ในการบริหารจัดการ

มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ลํ า ปาง เป น สถาบั น อุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ไดมีหลักสูตรดาน ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ทั้ ง ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี แ ล ะ บัณฑิตศึกษา เปดสอนในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับการ พัฒนาทองถิ่น การวิจัยและบริการวิชาการแกชุมชน การผลิ ต นั ก ศึ ก ษาที่ ทํ า งานไ ด ทุ ก ส ว น ดั ง นั้ น มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง มีศักยภาพ และมีความ พรอมที่ จะเปน หน วยงานประสานความร วมมือ กั บ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ ง ร ว มกั บ การบู ร ณาการแผน งบประมาณการบริ หารจั ดการ พัฒ นาขององค การ ปกครองสวนทองถิ่น ในระดับตําบล ระดับอําเภอและ ระดับจังหวัด เพื่อเสริมสรางความแข็งแข็งใหกับชุมชน ที่เปน กลไกที่เชื่อมตอระดับล าง ในการแกไขปญหา ความยากจน และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชนชน อยางตอเนื่อง สําหรับการพัฒนาทองถิ่นเปนสวนหนึ่ง ที่ สํ า คั ญ โดยมุ ง เน น ให ป ระชาชนได อ ยู ดี กิ น ดี ต าม ปจจั ย 4 ประการ ไดแ ก อาหาร เครื่องนุ งห ม ที่อยู อาศัยและยารักษาโรค อยางเพียงพอ ในการพัฒนา ทองถิ่น นั้น จะใชแผนแมบทของชุมชนเปนเครื่องมือ การพัฒนา จุดมุงหมาย ยุทธศาสตรและแนวทางใน การพั ฒ นาชุ ม ชนของท อ งถิ่ น รวมทั้ ง การกํ า หนด โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัดความสําเร็จของการพัฒนา ในระยะยาวอยางต อเนื่อง เพื่อตอบสนองตอปญหา ความตองการของประชาชนในพื้นที่ ในกรณีชุมชนบานทุง ตําบลแจซอน อําเภอ เมื อ งปาน จั ง หวั ด ลํ า ปาง อยู ห า งจากอํ า เภอเมื อ ง ลําปาง ประมาณ 10 กิโลเมตร หางจากอําเภอเมือง ลํา ปาง ประมาณ 87 ตารางกิ โ ลเมตร มี จํา นวน ครัวเรือน 220 ครัวเรือน และมีจํานวนประชากร 740 คน เปนชุมชนที่มีสภาพแวดลอมเปนภูเขาสูงปาไมทยี่ งั อุดมสมบูรณและมีทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ คือ แร ธาตุ ไดแก ดินขาว และถานหิน ประชากรที่อาศัยอยู

39


หมูบาน สวนใหญมีอาชีพเกษตรกรรม พืชที่ปลูกไดแก ขาว ซึ่งเพาะปลูกไดในชวงฤดูฝนเทานั้น และปลูกพืช ไร ไดแก ถั่วลิสง ออย ในพื้นที่ที่เปนที่สูง ผลผลิตทาง การเกษตรจึงเก็บไวเพื่อบริโภคภายในครอบครัว เมื่อมี การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในชวง 30 - 40 ปที่ ผานมามีการตัดถนนเขาไปในหมูบาน มีการนําไมออก นอกชุ ม ชนอย า งมากทํ า ให ป า ไม ห มดไป ชาวบ า น เปลี่ยนวิถีการผลิตมาเปนการปลูกพืชเชิงเดี่ยว วิถีชีวิต ของชุมชนเริ่มเปลี่ยนแปลง ชาวบานเริ่มกูเงินมาขยาย ผลผลิ ต โดยนํ า เงิ น ที่ ไ ด ม าซื้ อ ปุ ย และยาฆ า แมลง ผลผลิตในระยะแรกๆ ไดผลผลิตดีแตในปตอๆ มากลับ พบวา ดินเริ่มมี ปญหาจึง ตองเพิ่ม ปุยและยาฆา แมลง ทํ า ให ต อ งลงทุ น เพิ่ ม ขึ้ น และบางป มี ค วามแห ง แล ง เพราะระบบนิเวศนเปลี่ยนไป จึงทําใหชาวบานตอง เปนหนี้เพิ่มมากขึ้นและหวังวาการลงทุนจะไดผลกําไร เพิ่มขึ้น แตไมไดเปนไปตามที่คาดหวัง เพราะตองมา พบกั บ กลไกการตลาดที่ ช าวบ า นไม มี อํา นาจในการ ตอรองราคา ส ง ผลให ช าวบ า นมี ฐ านะความเป น อยู คอนขางยากจน รายไดหลักของประชากรไดจากการ ใชแรงงานเพื่อรับจาง ทั้งภายในชุมชนและนอกชุมชน การดิ้นรนการตอสูของสวนบุคคลเปนหลัก แตบางครั้ง รายรับไมพอกับรายจาย เพราะคาครองชีพสูงขึ้น เมื่อ ไมมีกินหรือจําเปนตองใชเงิน เนื่องจากเจ็บปวย คือ การกูยืมเงินจากญาติพี่นอง และทํางานหาเงินมาใชคนื ภายหลัง แตก็ทําไดในกรณีฉุกเฉินจริงๆ เพราะคนอื่น ก็จนเหมือนกันไมไดมีเงินเก็บ หากเปนผูสูงอายุก็ขอให ญาติ พี่ น อ ง หรื อบางคนก็ ไ ด รั บ เบี้ ย ยั ง ชี พ เดื อ นละ 500 บาท จากองค ก ารบริ ห ารส ว นตํา บล ซึ่ ง ไม เพียงพอกับคาใชจาย และเปนความลําบากของคนใน ชุมชนบานทุง จากการประสบกับปญหาดังกลาว ผูวิจัยจึงมี ความสนใจที่จะประเมินการมีสวนรวมของประชาชน

40

ในการจัดทําแผนแมบทชุมชน เพื่อการพัฒนา โดยการ เป ด โอกาสใหป ระชาชน เข า มามี สว นรว มในการให ขอมูลดวยตนเอง ทั้งนี้มี ความจําเปนที่จะตองทําแผน แม บ ทที่ ชุ ม ชน มี ส ว นร ว มคิ ด ร ว มตั ด สิ น ใจ ร ว ม ดํ า เนิ น การ ร ว มติ ด ตามประเมิ น ผลและร ว มรั บ ผลประโยชน เพื่อนําไปสูการปฏิบัติในการสรางความ เชื่ อ มั่ น และความมั่ น ใจให กั บ คนในชุ ม ชน ในการ แก ป ญ หาความยากจน นั้ น มี แ นวทางในพั ฒ นา เศรษฐกิจฐานรากใหเขมแข็ง เปนการสรางศักยภาพ และเพิ่มขีดความสามารถใหคนยากจนสามารถกอราง สร า งตั ว และพึ่ ง ตนเองได ม ากขึ้ น สนั บ สนุ น การ รวมกลุมอาชีพใชภูมิปญญาทองถิ่น และเทคโนโลยีที่ เหมาะสม สรางผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ การเชื่อมโยง ไปสูระบบการตลาดได โดยมีคําถามการวิจัย ตอไปนี้

วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อศึกษาบริบทของชุมชน ขอมูลพื้นฐาน ด า นศั ก ยภาพ ภู มิ ป ญ ญาท องถิ่ น ภาวะหนี้ สิ น และ รายจายครัวเรือนของประชาชนในชุมชน 2. เพื่อประเมินการมีสวนรวมของประชาชน ในชุมชนกับการจัดทําแผนแมบทชุมชน 3. เพื่อศึกษาปญหา อุปสรรค และแนวทาง การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทําแผนแมบท ชุมชน

ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรที่ศึกษา ไดแก ประชาชนที่เปน กลุมตัวอยางบานทุง จํานวน 77 คน จากประชากร 654 คน


2. ขอบเขตที่ศึกษา ประเมินการมีสวนรวม ของประชาชนในการจัดทําแผนแมบทชุมชนกับการ พัฒนา กรณีศึกษาบานทุง 3. ขอบเขตระยะเวลา ระหว า งเดื อ น กรกฏาคม 2554 ถึ ง มิ ถุ น ายน 2555 สถานที่ ดํา เนิ นการ ณ ชุมชนบ านทุ ง อํา เภอเมื องปาน จั งหวั ด ลําปาง

วิธีดําเนินการวิจัย การศึ ก ษาวิ จั ย ในครั้ ง นี้ เป น การวิ จั ย เชิ ง คุณภาพ (Qualitative research) กลุมตัวอยาง กลุมแกนนําชาวบานทุง จํานวน 77 คน เครื่องมือที่ใช การจัดประชุมแบบกลุม (Focus group) และกระบวนการ AIC 1) ประชุ ม กลุ ม เพื่ อ สร า งความรู ความเข า ใจให ไ ด แ นวคิ ด ที่ ส อดคล อ งกั น ในชุ ม ชนที่ เกี่ยวของกับกระบวนการจัดทําแผนแมบทชุมชน 2) ประชุมเพื่อระดมสมอง เพื่อรวมกันหาแนวทางและ กระบวนการจัดทําแผนแมบทชุมชน 3) เปดโอกาสให ผูเขารวมประชุมทุกคนไดตรวจสอบความถูกตองของ ขอมูลที่ไดเก็บรวบรวม 4) ประชุมรวมวิเคราะหขอมูล ถึงจุดเดนและจุดดอยของชุมชนและแนวทางแกไข 5) ประชุม เสนอขอมูล เพื่อดํ าเนินการจัด ทําแผนแมบ ท ชุมชน 3 ป พรอมจัดเรียงลําดับความสําคัญกอนหลัง ของโครงการ ทําใหประชาชนในชุมชนบานทุง มีแผน แมบทชุมชนเปนของตนเอง 6)ประชุมเพื่อเปดเวที ประชาคม เพื่ อ ให ป ระชาชนในชุ ม ชนบ า นทุ ง ได ตรวจสอบแผนชุมชนที่ไดจัดทําขึ้นและขอมติที่ประชุม จัดทําเปนแผนแมบทชุมชน 3 ป

การเก็บรวบรวมขอมูล โดยการสังเกต การบั น ทึ กข อมู ล จาการสนทนา และการสั ม ภาษณ เก็บขอมูลเชิงลึก การวิเคราะหขอมูล นําขอมูลจากการ สนทนากลุมใชมาวิเคราะหเชิงคุณภาพ เพื่อแปลความ ตีความ และสรุปความจากขอมูลการสนทนากลุม

ผลการวิจัย 1. ผลการการศึกษาบริบทของชุมชน พบวา ในชุมชนนั้นที่มีขาวไมพอกินตลอดป ไมมีที่ดินเปนของ ตนเอง หรือมีที่ดินนอย เปนผูสูงอายุที่ไมมีคนเลี้ยงดู หรือดูแ ล ขาดแรงงานชว ยทํ างาน มีครอบครัว มีค น พิการรวมอยูดวย และชาวบานสวนใหญมีภาวะหนี้สิน ในจํ า นวนที่ ค อนข า งสู ง ชี วิ ต ของคนจนและวิ ธี การ แก ป ญ หา จึ ง มี การพึ่ ง การเกษตรเป น หลั ก เกื อบทุ ก ครัวเรือนจะทํานาปลูกขาวสําหรับบริโภค รายไดเสริม คื อ การรั บ จ า งทั้ ง ในและนอกหมู บ า น ค า แรงจะ ประมาณ 80 – 170 บาทตอวัน 2. ประเมินการมีสวนรวมของประชาชนใน ชุมชนกับการจัดทําแผนแมบทชุมชน พบวารวมกันหา แนวทางและกระบวนการจัดทําแผนแมบทชุมชนของ ชุมชนบานทุง โดยมีชาวบานในชุมชนซึ่งเปนตัวแทน ของแตละครัวเรือนของผูมีอายุ 15 ปขึ้นไปอาศัยอยู จริงในชุมชนบานทุง เขารวมประชุม จํานวน 191 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 70 โดยมี ส ว นร ว มดํ า เนิ น การตาม ขั้นตอนเพื่อระดมสมองเพื่ อสํารวจและเก็บรวบรวม ขอมูลพื้นฐานในชุมชนเพื่อคนหาศักยภาพและสภาพ ปญหาในดานตางๆ ที่เกิดขึ้นทั้งทางดานเศรษฐกิจและ ดานสังคม แลวเปดโอกาสใหผูเขารวมประชุมทุกคนได ตรวจสอบความถู กต องของข อมู ล ที่ ไ ด เก็ บ รวบรวม

41


รวมวิเคราะหขอมูลถึงจุดเดนและจุดดอยของชุมชน และแนวทางแกไข 3. ศึ ก ษาป ญ หา อุ ป สรรคและแนวทางใน กระบวนการจัดทําแผนแมบทชุมชน พบวา การจัดทํา แผนแม บ ทชุ ม ชนบ า นทุ ง เป น กระบวนทั ศ น ใ หม ที่ ชุ ม ชนใช ใ นการพั ฒ นาชุ ม ชนการดํ า เนิ น การในช ว ง ระยะเวลาแรกจึงเปนการเริ่มการเรียนรูทั้งของแกนนํา และสมาชิกในชุมชนสิ่งที่เปนปญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ประชาชนสวนใหญยังไมเขาใจและไมคอยใหความ รวมมือในการจัดทําแผนแมบทชุมชนเกิดการแกงแยง งบประมาณที่จะขอรับการสนับสนุนโครงการที่บรรจุ ในแผนที่มีการจัดลําดับความสําคัญแลวชวงเวลาใน การนัดประชุมแผนแมบทชุมชนประชาชนมีเวลาไม ตรงกั นเนื่องจากมีการประกอบอาชีพ ที่หลากหลาย เกิดความขัดแยงในการเสนอโคตรงการเขาบรรจุใน แผนแมบทชุมชนระหวางกลุมเยาวชนกับกลุมแกนนํา และไดเสนอแนวทางในการจัดทํ าแผนแม บทชุ มชน ควรใหความสําคัญกับการ มีสวนรวมของสมาชิกใน ชุมชนมากขึ้น ใชเวทีประชาคมเปนเครื่องมือในการ ตัดสินใจของชุมชนและใชทุนหรือศักยภาพที่ชุมชนมี มาแกไขปญหา ใชเปนแนวทางในการพัฒนาเพื่อให ชุ ม ชนเกิ ด กระบวนการเรี ย นรู โ ดยการกํ า หนด ยุทธศาสตร การสรางกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวม ของชุ ม ชนและยุ ท ธศาสตร การเสริ ม สร า งความ เขมแข็งของชุมชน

สรุปผลการวิจัย จากผลการวิจัยดังกลาว มีประเด็นที่นา สนใจ บางประการควรนํามาอภิปราย ดังนี้ 1. ดานกระบวนการ พบวา การมีสวน รวมของประชาชนในการจัดทําแผนแมบทชุมชนกับ

42

การพั ฒ นา นั้ น มี ค วามเหมาะสมดี เริ่ ม เห็ น ความ จําเปนและความสําคัญในการทําบัญชีครัวเรือน ที่เปน ข อ มู ล พื้ น ฐานในการจั ด ทํ า แผนแม บ ทชุ ม ชนให ไ ด สอดคลองกับ หลัก การและเหตุผ ล เปา หมายและ วั ต ถุ ป ระสงค ส ว นกิ จ กรรมต า งๆ หลั ง จากได แ ผน แม บ ทเรี ย บร อ ยแล ว ซึ่ ง ประชาชนได โ ครงการที่ ประชาชนจัดทําเองโดยชุมชนเอง ไดในระดับหนึ่งโดย ไมตองพึ่งพา หนวยงานอื่นไดในระดับหนึ่ง อันเกิดจาก การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทําแผนแมบทชุมชน ซึ่งเปน การฝก ปฏิบัติจ ริง และมีการนิเ ทศติด ตาม ความกาวหนาในการดําเนินงาน รวมทั้งมีการอบรม ศักยภาพแกนนําชุมชนและไปศึกษาดูงาน แตชวงเวลา การจั ด กิ จ กรรมในแต ล ะขั้ น ตอนตา งๆ ควรยื ด หยุ น ระยะเวลา เพื่อให ส มาชิ กได ใช เวลา ในการเรี ย นรู ร ว มกั น อย า งต อ เนื่ อ ง เนื่ อ งจากบางช ว งเวลาเป น ฤดูกาลในการประกอบอาชีพ ทําให ไมสามารถเข า ร ว มโครงการทุ ก ขั้ น ตอนได สิ่ ง ที่ จ ะปรั บ ปรุ ง แก ไ ข เพิ่ม เติม คือ การพัฒ นาจิต ใจของคนในชุม ชนใหมี จิตสํานึกในการอยูรวมกันเปนสังคมเดียวกัน เพื่อให เกิ ด ความสามัค คี แ ละความเสมอภาคในชุ มชนก อน และพัฒนาศักยภาพแกนนําชุมชนใหเขมแข็งมากขึ้น ควรมีตองประชาสัมพันธใหชุมชนไดเขาใจถึงปญหา ของชุมชนไดอยางตอเนื่อง 2. ด า นผลผลิ ต และผลลั พ ธ ข อง กระบวนการการมีสวนรวม จากการดําเนินโครงการ กระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชน ทุง ไดบังเกิดผลผลิตและผลลัพธกับชุมชน การเรียนรู ของชุมชนในการแกปญหาและกําหนดแนวทางในการ พัฒนาของชุมชนดวยตนเอง ซึ่งการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อประชาชนในชุมชน ทุกเพศทุกวัย ทุกสถานะไดมี โอกาสเข า มามี ส ว นร ว มในกระบวนการจั ด ทํ า แผน แมบทชุมชนตั้งแตแรกเริ่มกระบวนการ นั่นคือ การ


เตรี ย มที ม งานต อ งทํ า ให ป ระชาชนเป น ที ม งานหรื อ แกนนํ า ดว ย กระบวนการจั ด ทํ า แผนแม บทชุ ม ชนมี ความจําเปนและสําคัญที่การมีสวนรวมของประชาชน เพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกันและกลาววา แผนแมบท ชุมชนคือแผนของชุมชน จัดทําโดยชุมชนและทําเพื่อ ชุมชน คือ 2.1 แผนของชุมชน คือ ชุมชนตอง เปนหลักโดยการจัดทําแผนตองมาจากการสังเคราะห ป ญ หาของชุ ม ชนด ว ยการร ว มคิ ด ร ว มทํ า ร ว ม ตรวจสอบโดยชุมชน 2.2 จัดทําโดยชุมชนโดยการมีสวน รวมของชุมชนในการคิด วางแผน การพูด การทําการ ตรวจสอบและประเมิ น ผล ประกอบด ว ย แกนนํ า พระสงฆ ครูอาจารย ผูแทนกลุมตาง ๆ 2.3 ไดวิทยากรกระบวนการของ ชุมชนทุง ที่มีทักษะ ความรู ความเขาใจพอสมควรใน เรื่องการจัดทําแผนแมบทชุมชน 2.4 ไดแผนแมบทชุมชนทุงและ แผนปฏิบัติการที่ไดบรรจุเขาสูแผน 3 ป ขององคการ บริหารสวนตําบล และพัฒนาโครงการเปน 3 กลุมคือ โครงการที่ชุมชนทําดวยตนเอง โครงการที่ทํารวมกัน กับองคการบริหารสวนตําบลและโครงการที่หนวยงาน อื่นเปนผูทําให 2.5 เกิดการเรียนรูแบบมีสวนรวม ในการทํ า งานร ว มกั น เป น ที ม ของคณะทํ า งาน คณะผูวิจัยและประชาชนในชุมชน 3. เพื่ อ ชุ ม ชน โดยแผนแม บ ทชุ ม ชน มุงเนนผลสัมฤทธิ์ที่เปนประโยชนตอชุมชนโครงการ ต า ง ๆ ในแผนต อ งสร า งความมั่ น คงให กั บ ชุ ม ชน ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสามารถแกไขปญหา ความ ยากจนภายในชุมชนได ซึ่งการพัฒนาการมีสวนรวม ของชุมชนเปนกระบวนการที่ตองพัฒนาอยางตอเนื่อง

ภายใตความตองการและความรว มมือ ของชุม ชน อยางแทจริง เพื่อใหชุมชนมีความเขมแข็งและเกิดการ พัฒนาอยางยั่งยืน สอดคลองกับศิริพร พันธุลี (2552: 78) พบวา ชาวบา นหว ยหมา ยมีทัศ นคติที่ดีสําหรับ การจัดกระบวนการเรียนรูของชุมชนสูการจัดทําแผน แมบทชุมชน อีกทั้งยังไดรวมสรางกระบวนการในการ ติดตาม ประเมินผล อยางมีสวนรวมกับผูมีสวนไดสวน เสี ย ในชุ ม ชน ดั ง นี้ 1) จั ด ตั้ ง คณะกรรมการติ ด ตาม ประเมิน ผล 2) สรา งกฎชุม ชนรว มกัน (เชน ขาด ประชุมประจําเดือนปรับ 200 บาท) เพื่อเปนกลยุทธ สูกระบวนการเรียนรูรวมกันอยางตอเนื่อง จากทุกภาค สวนในชุมชน และชุมชนบานทุง ไดมีการพัฒนาการ เรียนรูการทํางานแบบชุมชนมีสวนรวมมากขึ้น มีการ ทํางานเปนขั้นตอนอยางตอเนื่อง โดยมีคณะกรรมการ ติดตามผลโครงการเปนแกนนําในการติดตาม กระตุน กลุ ม ต า ง ๆ ในชุ ม ชนรวมทั้ ง เป น ผู ป ระสานความ รวมมือจากองคกรทั้งในและนอกชุมชน นอกจากนั้น จากการดํ า เนิ น งานได มี ก ารระดมความร ว มมื อ งบประมาณและทรั พ ยากรอื่น ๆ เพื่ อให โครงการที่ ชุ ม ชนร ว มคิ ด ขึ้ น มี ค วามก า วหน า และบรรลุ ต าม วั ต ถุ ป ระสงค ข องโครงการและความต อ งการของ ชุมชนอยางแทจริง สามารถจะบูรณาการไปสูชุมชน ปกติ ได และยัง เป นการใหป ระชาชนเกิ ดการเรี ยนรู จากกระบวนการจั ด ทํ า แผนแม บ ทชุ ม ชนจึ ง ต องใช ระยะเวลาและมิควรถูกจํากัดดวยกรอบระยะเวลาของ การใชจายงบประมาณและไมใชการจัดเวที 1-2 ครั้ง แลวการจัดทําแผนแมบทชุมชนเปนเครื่องมือของการ เรียนรูของคนในชุมชนไมใชเพียงไดแต “แผน” ที่เปน รูปเลมเทานั้น หนวยงานภายนอกชุมชนไมวาจะเปน หนวยงานภาครัฐหรือองคกรพัฒนาเอกชน ควรจะเปน ผูเอื้ออํานวยหรืออํานวยความสะดวกในการเรียนรูของ ชุมชน ไมควรมาชี้นํา ตองเปดโอกาสใหคนในชุมชนมี

43


สวนรวมมากที่สุดทั้งรวมคิด ตัดสินใจดําเนินการ รับ ผลประโยชน รวมกันและติดตามประเมินผลรว มกั น ดวย แลวชุมชนจะเกิดความรูสึกเปนเจาของ รูสึกวา ตนเองมี ศักดิ์ ศรีแ ละจะเกิ ดความภาคภู มิใจในความ รวมมือกันเพื่อชุมชนของตนเอง ดังนั้น ผลสําเร็จของกระบวนการจัดทําแผน แมบทชุมชน คือ ชุมชนตระหนักและเรียนรูที่จะชวย ตนเองและพึ่ ง พาตนเองก อ น ด ว ยการใช ทุ น หรื อ ศักยภาพของชุมชนที่มีมาแกไขปญหาหรือกําหนดแนว ทางการพั ฒ นาด ว ยตนเอง ซึ่ ง ประเด็ นนี้ เองที่ ทํ า ให กระบวนการจั ด ทํ า แผนแม บ ทชุ ม ชนต า งจาก แผนพั ฒ นาขององค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น หรื อ หนวยงานของรัฐ แผนแมบทชุมชนพึ่งตนเองไมซ้ํากับ แผนพั ฒ นาขององค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บล เพราะ กิจกรรมไหนที่ชุม ชนสนใจ ก็ นําไปบรรจุแ ผนชุ มชน พึ่งตนเอง

ขอเสนอแนะในการนําผลวิจัยไปใช 1. หนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นใน พื้นที่ควรสงเสริม สนับสนุนใหความรูและกระตุนให ชุมชนมีการจัดทําแผนแมบทชุมชนเพื่อใชกระบวนการ จัดทําแผนแมบทชุมชนเปนเครื่องมือในการเรียนรูของ ชุม ชนให ส ามารถใช ทุ น และศั กยภาพที่ ม าใช ใ นการ แกปญหาและกําหนดแนวทางในการพัฒนาชุมชนดวย ชุมชนเอง 2. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรสงเสริม ใหชุมชนที่มีการจัดทําแผนแมบทชุมชนอยูแลวมีการ ปรั บ แผนให ทั น เหตุ การณ เหมาะสมกั บ สถานการณ และนําแผนไปสูการปฏิบัติใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม เพื่อการพึ่งตนเองและความเขมแข็งของชุมชน

44

กิตติกรรมประกาศ ประเมินการมีสวนรวมของประชาชนในการ จัดทําแผนแมบทชุมชนกับการพัฒนา : กรณีศึกษาบาน ทุง อําเภอเมืองปาน จังหวัดลําปาง คงเกิดขึ้นไมไดหาก ไมไดหากไมไดรับความรวมมือจากประชาชนในชุมชน บ า นทุ ง อํา เภอเมื อ งปาน จั ง หวั ด ลํา ปาง โดยการ ประสานจากอาจารย ดร.สุวรัฐ แลสันกลาง และไดรับ ความที่ เ อื้ อ เฟ อ จากครอบครั ว อาจารย ป ราโมทย รุง เรือง คุณ เพี ยงฟ า สุ ท ธิพ รมณีวั ฒ น คุ ณ ประสิ ท ธิ์ อิ่มปญญา คุณจรัล สิทธิจู และคุณสะอาด ขาวสะอาด ซึ่งเปนผูประสานแกนนําในพื้นที่ และประชาชนใน ชุมชนทุกคน จนทําใหการมีสวนรวมในการจัดทําแผน แมบทชุมชนกับ การพัฒนาสําเร็จลุลวงไดเปนอยางดี

บรรณานุกรม กระทรวงมหาดไทย. (2547). คูมือการปฏิบัติงาน เรื่อง การจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น. กรุงเทพฯ : สํานักบริหารราชการสวน ทองถิ่น กรมฯ. ขนิษฐา กาญจนรังสีนนท. (2551). กระบวนการ ชุมชนสูความเขมแข็งของชุมชน. กรุงเทพฯ : กรมการพัฒนาชุมชน. ดุษฎี อายุวัฒน. (2550). กระบวนการวาง แผนพัฒนาชุมชนแบบมีสวนรวม : ศึกษา เฉพาะกรณีชุมชนบานหวยมวง, ขอนแกน : โครงการวิจัยวนศาสตรชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแกน.


วารสารลําปางหลวง

ทศพล ทองเที่ยง. (2546). การเรียนรูสูการทํา แผนงานและสรางเครือขายเพื่อเสริมสราง ความเขมแข็งใหกับชุมชน. กรุงเทพฯ : เบส กราฟฟค. ธนากร สังเขป, อรรณพ วงศวิชยั , วิไลลักษณ พรม เสน, เกษริน วะนะวิเชียร และสุรพงษ ภักดี. (2550). โครงการวิจัยการพัฒนาศักยภาพ ของชุมชนในทองถิ่นในดานการจัดทําแผน ชุมชนและการบูรณาการแผนชุมชนใหมี ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนา จังหวัดลําปาง. ลําปาง : มหาวิทยาลัยราช ภัฏลําปาง พวงทอง โยธาใหญ. (2545). การมีสวนรวมของ ประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณี องคการบริหารสวน ตําบลในจังหวัดเชียงใหม. การคนควาอิสระ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมือง และการปกครอง บัณฑิตมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เชียงใหม. ไพบูลย โพธิส์ ุวรรณ. (2550). นโยบายและแผน. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาบุคลากรกรม สงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย. ไพบูลย วัฒนศิริธรรม. (2547). แลหนาเศรษฐกิจ สังคมไทย. [ออนไลน]. แหลงที่มา : http://www.thailabour.org/thai/news/ 47120601.html. สืบคนเมื่อ 25 มกราคม. เยาวนิจ กลัน่ นุรักษ. (2546). กระบวนการเรียนรูของ ประชาชนในการจัดทําแผนแมบทชุมชน : ศึกษาเฉพาะกรณีภาคเหนือ 3 จังหวัด ตาก กําแพงเพชรและพิจิตร. ภาคนิพนธศิลปะ

45

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2556

ศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร วาสนา ถิ่นขาม. (2548). การมีสวนรวมของ ประชาชนในกระบวนการวางแผนพัฒนา ตําบล : ศึกษาเฉพาะกรณีองคการบริหาร สวนตําบลทาขาม อําเภอน้ํายืน จังหวัด อุบลราชธานี. การศึกษาคนควาอิสระ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิทยาลัยการจัดการทางสังคม. (2549). การจัดทํา แผนแมบทชุมชน. [ออนไลน]. แหลงที่มา : http:///www.thaiknowledge. org/board. สืบคนเมื่อ 20 ธันวาคม. ศิริพร พันธุลี. (2552). การพัฒนาแผนแมบทชุมชน โดยใชกระบวนการการจัดการความรู ในการ เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน หวยหมาย วิทยานิพนธ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแมโจ-แพรเฉลิมพระเกียรติ. จังหวัดแพร สนธยา พลศรี. (2547). ทฤษฎีและหลักการพัฒนา ชุมชน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี. (2548). คูมือการ มีสวนรวมของประชาชนกรุงเทพฯ: [ม. ป.ท.]. สุวัฒน นิลาวงศ. (2547). แผนแมบทชุมชน : ศึกษา เฉพาะกรณีบานบานใหม หมู 18 ตําบลกู ทอง อําเภอเชียงแสน จังหวัดมหาสารคาม. สารนิพนธบัณฑิตอาสาพัฒนาชุมชน. ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน

45


สุรินทร สุมาพันธ. (2547). ระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวาดวยการจัดทําแผนกล ยุทธของสวนราชการและการตรวจสอบ สัมฤทธิ์ผลของงาน. [ออนไลน]. แหลงที่มา : http;//www.sobrodo.com/e-4htm. สืบคนเมื่อ 26 กันยายน. อคิน รพีพัฒน. (2547). การมีสวนรวมของประชาชน ในงานพัฒนา. กรุงเทพฯ : ศูนยการศึกษา นโยบายสาธารณสุข. อรทัย กกผล. (2548). คูมือการมีสวนรวมของ ประชาชน. มูลนิธปิ ริญญาโทนักบริหาร รัฐ กิจ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร. Cohen, J.M. and Uphoff, N.T. (1981). Rural Development Participation :

46

Concept and Measures for Project Design Implementation and Evaluation. Rural Development Committee Center for International Studies, Cornell University. Oakley, P. (1984). Approaches To Participation In Rural Development. Geneva : Internation Office. United Nation, Department of Internation Economic and Social Affair. (1981). Popular Participation as a Strategy for Promoting Community Level Action and Nation Development. Report of The Meeting for The Adhoc Group of Expert. New York : United Nation.


การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตนทุนต่ํา LOW COST DEVELOPMENT COMMUNITY ECONOMICS จิตรกร แตมคลอง1 Jitragorn Taemklong บทคัดยอ บทความการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตนทุนต่ํา นี้ผูเขียนไดถายทอดความเปนมาของอาชีพผลิตเครื่องดิน เผาบานมอนเขาแกว หมู 3 ตําบลพิชัย อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง ที่ผลิตเครื่องปนแบบพื้นบานประเภทหมอน้ํา หมอแกง และกระถางปลูกตนไม ซึ่งมี ราคาค อนข างต่ํา ผู เขี ยนไดนํ ากระบวนการวิ จัย เขา ไปพั ฒนารูป แบบ ผลิตภัณฑเครื่องปนดินเผาใหมีรูปแบบที่โดดเดน ผสานกับภูมิปญญาทองถิ่นความเชื่อทําใหเปนที่ยอมรับของ ชุมชน เปนแนวทางแกปญหาเศรษฐกิจชุมชนตนทุนต่ํา

คําสําคัญ : เศรษฐกิจชุมชนตนทุนต่ํา, เครื่องดินเผา Abstract This article transfers the background of pottery at Mon Khaw Kaew, moo 3, Pichai, Muang, Lampang. The pottery such as water jar, pot, and flowerpot are low cost. The researcher takes research process to develop the patterns of pottery for outstanding integrated local wisdom for acceptance of community and this is a solution for low cost economics. Keywords: Low cost Community Economics, pottery

1

อาจารยประจําสาขาการศึกษาทั่วไป คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

47


ความเปนมา บานมอนเขาแกว หมู 3 ตําบลพิชัย อําเภอ เมือง จังหวัดลําปาง ชาวบานประกอบอาชีพผลิต เครื่องดินเผาแบบพื้นบานประเภทหมอน้ํา หมอแกง และกระถางปลูกตนไม จากที่เคยทํากันมานานและทํา กันทั้งหมูบาน แตปจจุบันเหลือผูประกอบการเพียง1 ใน 4 จาก 400 รอยครัวเรือน เนื่องจากมีรายไดไมพอ กับคาใชจาย เพราะเปนสินคาสนองสังคมชนบทจึงมี ราคาถู ก และลู ก ค า ที่ มี ฐ านะดี หั น ไปนิ ย มสิ น ค า ประเภทเดียวกันที่ผลิตจากโลหะและพลาสติก อางใน จิตรกร แตมคลอง (2547) แตทุกชีวิตจําเปนตองกิน ตองใชจึงตองทํางานพรอมกันหลายดาน หนาฝนทํานา ปลูกขาว ตนหนาวปลูกหอม กระเทียม ฯลฯ ภายใน แปลงปลูกพืชมีการหวานผักกินไดแซมลงไปเพื่อสราง ความมั่นใจดานปากทองขณะรอเก็บเกี่ยวผลผลิต การ ทํางานเกษตรแตละวันจะสลับเวลามาทําเครื่องดินเผา เปนชวงๆ วิถีดังกลาวไมนาจะมีปญหาดานรายได แต ชาวบานเรียกวา “คาหาย” หมายถึง ขายสินคาหมด แตเงินสดไมมีเหลือ เพราะเงินสดที่ไดจากสินคาชนิด หนึ่งจะถูกนําไปลงทุนและจมหายไปกับสินคาอีกชนิด ที่เปนความหวังใหม และรายไดสวนใหญจะหมดไปกับ คาคาเครื่องอุปโภค คาการศึกษาลูกที่ตองจายวันละ เกือบรอยบาท ยิ่งเรียนสูงก็ยิ่งจายทวีคูณ และคาความ คาดหวังทางสังคมในกิจกรรมพุทธพราหมณผีปนกัน เปนฐานทุนทางสังคม (Social capital) ชีวิตยุควัตถุนิยม หากไมมีงานรางวัลที่ไดเปน เงิ น ก็ ไ ม มี การเป น ทั้ ง เกษตรกร กรรมกร ผู จั ด การ ธุรกิจเครื่องดินเผาในคราวเดียวกัน สะทอนใหเห็นวา ความยากจนไมไดเกิดจากความขี้เกียจ แตเปนเพราะ โครงสรางสังคมที่เขามาปะทะกันหลายแงมุม ที่สําคัญ

48

ราคะแหงวัตถุไดครอบงําจิตใจใหยอมรับราคาวัตถุวา เป น คุ ณ ค า แสดงความมั่ ง คั่ ง ที่ ไ ม ส มดุ ล รายได จึ ง มี ความสัมพันธกับปญหาหนี้สินที่ไมมีแนวโนมจะลดลง จากความจนรายไดหากจําเปนจะตองใชเงินแมเพียง เล็ ก ๆ น อ ยๆ ผู ผ ลิ ต เครื่ อ งดิ น เผาจะไปยื ม เงิ น จาก พอค าและใช หนี้ ด วยเครื่ องดิน เผาภายหลัง โดยไม มี ดอกเบี้ย ไมใชหลักประกัน การเรงรัดหนี้สินจากเงิน ดวนที่ไดเขาใจวาทันใจและเปนความเกื้อกูลของพอคา ไดกลายเปนวิธีผูกขาดการซื้อขาย จากการทํางานที่ อิสระกลายมาเปนลูกจางไมมีเงินเดือน ไมมีสวัสดิการ ใดๆ ทําใหเกี่ยวเนื่องมาถึงอํานาจการตอรองราคา ความสําคัญ ของเครื่องดินเผา เปนรายได หมุนเวียนระยะสั้น การลดจํานวนผูผลิตมีผลกระทบ ตอเศรษฐกิจชุมชน ทางภาครัฐไดเขามาชวยเหลือผาน หน ว ยงานต างๆ ภายใต โครงการแก ไขป ญ หาความ ยากจนอยางตอเนื่อง พบผูประกอบการกระหายใคร เรียนรูและเชื่อฟงวิทยากร แตผลการพัฒนาไมประสบ ผลสําเร็จเทาที่ควร สาเหตุหลักเพราะจิตใจหมกมุนอยู กับ ความต องการรายได เพื่ อให มี กิน มี ใช รายวั นและ ครอบครั ว จึ ง ไม ย อมผลิ ต รู ป แบบใหม ด ว ยความรู ระดับชั้นประถมศึกษา เคยชินกับการเลียนแบบซึ่งกัน และกันในลักษณะ “ความรูลอดรั้ว” หมายถึง “จอง จําแลวทําเลียนแบบ” กลาวคือ การพัฒนาผลิตภัณฑ เกิดจากพอคานําตัวอยางมาวาจางใหผลิต พอรูขาววา สิ น ค า ผู ใ ดขายดี ก็แ อบศึ กษาแล ว ทํ า ตาม โดยมี การ ตกแตงเพิ่มเติมใหแปลกตาเล็กนอยเพื่อทึกทักวาคิด เอง พฤติกรรมดัง กลา วขายงา ยและลดความเสี่ย ง จากการชวงชิงรายไดเปนผลดีดา นการเพิ่ม ปริม าณ ที่รวดเร็ว แตไมเกิดการเรียนรูการวางแผนผลิต เพื่อ สนองรสนิ ย มผู บ ริ โ ภค อ า งในจิ ต รกร แต ม คล อ ง (2546)


ที่ ก ล า วมาเป น วงจรความจนรายได การ วางแผนแกไขปญ หาไดเริ่มจากการศึกษาผลิตภัณ ฑ

ภาพที่ 1 เปรียบเทียบรูปแบบเดิมราคาใบละ 5 บาทกับรูปแบบ ใหมที่เจาะรูใบละ 15 บาท ที่มา : ผลการศึกษาวิจัย

ภาพที่ 2 แสดงการประยุกตมาจากหมอน้ํา ที่มา : ผลการศึกษาวิจัย

ภายในหมู บานและแหลงอื่นๆ พบรูปทรงผลิตภัณฑ เครื่ อ งดิ น เผาในลํ า ปางและจั ง หวั ด ใกล เ คี ย ง ทั้ ง

ประเภทพื้ นบ า นและอุ ตสาหกรรม มี องค ประ กอบ สัมพันธ กัน 3 ดานหรือ 3F ไดแก 1 ความเชื่อ (Faith) หมายถึง ความหวัง (Hope) เปนสิ่งซึ่งกําหนด จิ ต ใจกดดั น ผู บ ริ โ ภคให ตั ด สิ น ใจซื้ อ เพื่ อ การ ครอบครองสัญ ลักษณ (Symbolic) ที่อยูใ นช วงของ กระแสสังคม ไดแก ชื่อผลิตภัณฑ ภาพลักษณที่แสดง ความเป น สิ ริ ม งคล การเสริ ม ราศี การขจั ด ป ด เป า เคราะหเพื่อใหมีโชค จากความเชื่อมีความสัมพันธกับ 2 ความงาม (Fine) ของรูปทรง การตกแตงลวดลาย เขียนสีบนพื้นผิว ที่สอดคลองกับ 3 ประโยชนการใช งาน (Function) ซึ่ ง เกี่ ย วข องกั บ ไม ด อกไม ป ระดั บ การตกแตงภายในและนอกอาคาร ธุรกิจเครื่องดินเผา บุญทาง อินหนู อาชีพ ขายไม ด อกไม ป ระดั บ และจั ด ตกแต ง สวน กล า ว สอดคลองกับเจาของรานในกลุมเดียวกัน วา “เครื่อง ดินเผาแมจะขายไดกําไรไมมาก แตทางรานตองมีไว จําหนาย หากไมมีลูกคาจะไมเดินเขาราน” และเขต เทศบาลเมืองมีรานคาดังกลาวไมต่ํากวา 50 ราน แต ละรานมีรายไดเฉลี่ย 3,500 บาทตอวัน หากคิดเพียง 30 ราน จะมีเงินหมุนเวียนในตลาดวันละ 105,000 บาท และยังพบตออีกวาเครื่องดินเผาที่วางจําหนาย ส ว นใหญ ส ง มาจากต า งจั ง หวั ด เช น นครสวรรค สุโขทัย เชียงใหม และราชบุรี จากความสั ม พั น ธ ที่ แ นบแน น กั บ ธุ ร กิ จ ไม ดอกไมป ระดับดัง กลาว ไดนํามาเปนแนวทางคนหา จุดออนจุดแข็งเครื่องดินเผาบานมอนเขาแกว ผลการ เปรียบเทียบพบวา เครื่องดินเผาที่ชาวบานมอนเขา แกวผลิตกันมากและราคาถูก ไดแก หมอน้ํา หมอแกง มีจุดแข็ งที่ผลิ ตดวยมื อซึ่งเครื่องจักรไม สามารถผลิ ต เลียนแบบได และมีลักษณะเฉพาะ จึงนํามาเปนแนว ทางการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ร ว มกั บ หลั ก การตลาด

49


สมัยใหมที่เรียกวา 4Cs ไดแก Consumer, Cost, Convenience, Communications ซึ่งเปนวิธีการ ตลาดที่ใหค วามสํ าคัญต อผูบริ โภค และใชเครื่ องมื อ STP marketing คื อ การกํ า หนดเป า หมาย ( Segmentation) ก า ร ส น อ ง ก ลุ ม เ ป า ห ม า ย (Targeting) และเพื่ อ กลุ ม เป า หมาย (Positioning) การพัฒนาคือเปลี่ยนประโยชนหมอน้ํา หมอแกง ทํา เปนเครื่องปลูกตนไมชนิดแขวนและตั้งโตะเนนการใช ประดับตกแตง ดวยวิธีบริหารกระบวนการ (Process Management) เพื่อใหผูประกอบการทุกคนไดรับ ประโยชนรวม จากภาพที่ 3 เปนแผนการดําเนินงาน ดวยการนําความรูจากภายนอกมาผสานกับภูมิปญญา แบบมีสวนรวม ตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดระหวางนักวิจัย กับชาวบาน ซึ่งวิฑูรย สิมะโชคดี (2543) กลาววาผูที่รู ปญหาดีที่สุดคือผูปฏิบัติงาน ผูที่จะปรับปรุงไดดีที่สุด คื อ ผู ที่ รู ป ญ ห า จ ริ ง แ ล ะ วิ ธี ก า ร แ ก ป ญ ห า ที่ มี ประสิทธิภาพคือการใชเทคนิคแกปญหาแบบ QC (QC Problem Solving Technique) หรือ “วงจรเดมมิ่ง” (Deming Cycle) ที่รูจักกันในรูปของ “วงจร PDCA”

า ช ปจจัยนําเขา

บ

ภูมิปญญาทองถิ่น การมีสวนรวม (PDCA) ความรู

การวางแผนพัฒนา ไดทบทวนประสบการณ เดิมจากความสําเร็จป 2540 คือขณะนั้นสังคมไทยตก อยูในสภาวะฟองสบูแตก ผูวิจัยได เขาไปในหมูบา น และพัฒนาผูผลิตเครื่องดินเผากลุมเล็กกลุมหนึ่งดวย การใหผลิตชุดน้ําตกเพื่อใชประดับตกแตง วิธีพัฒนา นําผูมีประสบการณ พื้นฐานความรูที่แตกตางกันของ แต ล ะคนให ม าทํ า งานร ว มกั น ลั ก ษณะต อ ยอดภู มิ ป ญ ญา (Cluster) พบว า การเรี ย นรู เ กิ ด จากการที่ ผู เ รี ย นสร า งความสั ม พั น ธ ร ะหว า งสิ่ ง ที่ พ บใหม กั บ ความรูเดิม แลวนํามาสรางเปนความหมายใหม ผล การพัฒนาสมาชิกกลุมนี้มีรายไดมากที่สุดในหมูบาน ทําใหการคาขายเครื่องดินเผาในหมูบานคึกคักขึ้นมา อีก และเกิดอาชีพรับจางนวดดินตามมา แตอยางไร ก็ ต ามชุ ด น้ํ า ตกมี ก ารแพร ก ระจายไม ม าก คื อ มี ผู เลียนแบบไมกี่ราย ทั้งนี้เนื่องจากตองใชทักษะพิเศษ และชาวบ า นส ว นใหญ ไ ม ถ นั ด จากประสบการณ ดังกลาวไดนํามาวางแผนใหม โดยออกแบบดวยการ ตอยอดจากของเดิมเนน ใหผูผลิตในหมูบานพบเห็น แลวสามารถทําตามไดทุกคน

รายได การตลาด4Cs และ STP marketing สินคา

นักพัฒนา เศรษฐกิจชุมชน ผลที่เกิดขึ้น ภาพที่ 3 แสดงแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน

50

การจัดการความรู (KM)


การพัฒนาไดเริ่มจากจุดเล็กๆ เลือกชาวบาน 2 คน มีนายเอ (นามสมมุติ) ซึ่งกลาแสดงออก ชอบ สงสั ย และ ติ ด ต า ม ข า ว ส า ร บ า นเมื อ ง มี แ นวคิ ด ต อ ง ก า ร พั ฒ นาคน ม า ก ก ว า พั ฒ น า โครงสร า ง พื้ น ฐ า น ภาพที่ 4 แสดงการใชงานแบบแขวน ที่มา : ผลการศึกษาวิจัย ได ล าออก จากการ เป น ผู ช ว ย ผูใหญบาน เ พื่ อ ผ ลิ ต ดินชีวภาพ บ ร ร จุ ถุ ง ข า ย ซึ่ ง สามารถ ข า ย ไ ด เ ฉ ลี่ ย วั น ละ 100 ภาพที่ 5 แสดงการใชงานแบบตั้งโตะ ที่มา : ผลการศึกษาวิจัย ถุ ง ราคา ถุ ง ละ 14 บาท อาชี พนี้เกิดจากกระบวนการวิจั ยเมื่ อป 2549 เพื่อใหหมูบานมีสินคาที่ใชประโยชนรวมกับกระถาง ดิ น เผา (Value chain) และนางบี (นามสมมุ ติ ) ภรรยาของนายเอ มี นิ สั ย อดทนมุ ม านะมุ ง มั่ น ที่ จ ะ

เปลี่ยนแปลงตนเอง ขณะกําลังเตรียมการนางซี (นาม สมมุติ) ผูอาวุโสและมีฝมือเปนที่ยอมรับของชาวบาน ซึ่งเคยรวมงานกับกลุมผลิตชุดน้ําตกเขามาพบจึงรวม กลุมดวยอีกคน รวมเปน 3 คน การเริ่มพัฒนาเพื่อสราง รูปแบบใหม ผูวิจัยเริ่มตนดวยการอธิบายถึงทิศทาง เครื่ องดิ นเผาที่ สั ง คมป จ จุ บั น นิย มใช ป ลู กไม ด อกไม ประดับ และใหความ สําคัญตอผูบริโภค ดวยคําถาม วา “ทําอยางไรจึงจะทําใหลูกคายอมจายเงินซื้อสินคา ของเรา” ขณะอธิ บ ายได ร า งภาพให ดู แ ละมี ก าร ซักถามความเขาใจเปนระยะ เมื่อชาวบานพบคําถาม คิดเชิงระบบสังเกตพบวา มีอาการมึนกับการตอบ จึง ยุติการสอนวิธีคิดและใหนางบีนําดินเหนียวมาปนขึ้น รูปตามแบบ โดยปนขนาดเล็กกอนเพื่อใชเปนแมแบบ (Modal) 1 ใบ ขณะนางบีกําลังปน นางซีจะคอยชี้แนะ วิ ธี ก ารป น และสาธิ ต การเจาะรู ใ ห เ ป น ไปตามที่ ออกแบบ หลั ง จากได ต น แบบแล ว จึ ง ร ว มกั น วิ พ ากษ ความเหมาะสม พรอมกับอธิบายเหตุผลทําไมตองทํา รู ป ลั ก ษณ แ บบนี้ เ พื่ อ อะไร ต อ มานางบี ไ ด ตั้ ง ชื่ อ ว า “หมอฉลุ” และรวมกันกําหนดราคาขาย ทุกคนเสนอ ราคาอิงกับหมอที่มีลักษณะและขนาดเดียวกันที่มีวาง จําหนายภายในหมูบานคือใบละ 5 บาท (หมอขนาด เดียวกันนี้ป 2526 ขายใบละ 2 บาท) บวกคาเจาะรู เพิ่มใบละ 1 บาท รวมแลวหมอฉลุใบเล็กถูกเสนอขาย ใบละ 6 บาท ผูวิจัยเห็นวาหากขายราคานี้ไมคุมทุน อธิบายใหเห็นถึงตนทุนการผลิตที่ตองซื้อทุกอยาง ซึ่ง มีตนทุน 3 ใน4 สวนของราคาขายตอชิ้น โดยไมรวม คาแรงขั้นต่ําวันละ 160 บาท จึงไดแนะนําใหขายใบ เล็กราคาใบละ 15 บาท ขนาดกลางใบละ 20 บาท และขนาดใหญใบละ 30 บาท โดยใหขอคิดวา “สิ่งใด ก็ ต ามหากมี น อ ยหรื อ ไม เคยมี ข ายมาก อ น มั ก จะมี

51


ราคาแพง” พรอมกับไดยกตัวอยางสิ่งที่พบเห็นจนชิน ว า ผั ก หวาน หน อ ไม ไข ม ดแดง และเห็ ด ต า งๆ ที่ ชาวบานเก็บจากปามักมีราคาแพงชวงตนฤดูพอปลาย ฤดู ร าคาก็ จ ะถู ก ลง...นางซี ไ ม พ อใจราคาที่ เสนอจึ ง โตแยงวา “จะขายไดหรือ ราคานี้ไมมีใครซื้อหรอก” พูดเสร็จนางก็ลุกเดินออกจากกลุม จากคําพูดของนาง ซีสังเกตพบวาทั้ง 2 คนมีอาการคลอยตาม จึงไดสราง ความมั่นใจดวยการรับซื้องานที่ผลิตไดทั้งหมด เพื่อใช ศึกษาพฤติกรรมผูผลิตภายในหมูบาน ขณะนั่งดูนางบีกําลังปน ไดคํานวณเวลาที่ใช ปนแตละใบ หากทํางานทั้งวันจะสามารถปนหมอที่ยัง หมาดๆ ไมต่ํากวาสองรอยใบ แตความเปนจริงจะทํา ไม ไ ด เพราะนางบี ต อ งแบ ง เวลาไปผลิ ต สิ น ค า รู ป แบบเดิมเนื่องจากเปนรายไดที่แนนอน และกลัวการ ถูกแยงลูกคา นอกจากนี้กระบวนการผลิตตองใชพื้นที่ เพื่อจัดเก็บสินคาชิ้นใหมสมทบกับของเดิมขณะผึ่งตาก รอใหแหงกอนจะทยอยนําออกไปเผา ซึ่งตองใชเวลา ไมต่ํากวา 7 ถึง 10 วัน นับตั้งแตการเตรียมดิน เตรียม ทราย เตรียมฟน การปนขึ้นรูป และการผึ่งตากใหแหง ยังเกี่ยวของกับขนาดและสัมพันธกับอุณหภูมิในแตละ วัน เชน หากมีฝนตกจะแหงชา ถาอากาศรอนจะแหง ไวแตจะมีปญหาการแตกราวขณะเผา จากระยะเวลาการผลิตที่ถูกธรรมชาติกํากับ กอปรกับชวงดังกลาวใกล ฤดูเก็บเกี่ยว พวกเขาจึงเรง ใหนางบีปนสะสมไวมากที่สดุ เทาทีจ่ ะทําได โดยใหนาย เอชวยเจาะรู และทําสีหลังการเผา ในระยะเริ่มตนนี้ได ควบคุ ม ทุ ก ขั้ น ตอน เพราะมี บ ทเรี ย นจากการสั่ ง ชาวบานผลิตรูปแบบใหมดวยวิธีอธิบายประกอบภาพ สเกตซ ผลงานที่ไดจะตรงกับขอกําหนดไมเกิน 60% ทั้งนี้ชาวบานจะนํารสนิยมของตนเองแตงเติม เพราะ ประสบการณตางกันจินตนาการจึงตางกัน

52

การสะสมหม อ ฉลุ ใ ช เ วลาร ว มเดื อ นจึ ง ได สิน คา จํา นวนหนึ่ ง ไดท ยอยนํา ออกไปจํา หนา ยและ จายแจก แบงออกเปน 3 สวนหลักๆ ไดแก สวนที่1) ใช ป ลู กไม ด อกแขวนประดั บ ที่ บ า นนางบี แ ละนํ า ไป แจกจายพรรคพวกปลูกตนไม เพื่อใหชาวบานมองเห็น ประโยชน สวนที่ 2) ขายใหรานคาในหมูบาน 1 ราน พรอมกับแถมตัวอยางสินคาที่แสดงการใชงาน และ สวนที่ 3) ขายใหรานคา ที่ตั้งอยูรอบเมือง พรอมกั บ แถมตัวอยางสินคาที่แสดงการใชงาน แนวคิดขายนอก เมืองนี้เกิดจากรถติดไฟแดงในชวงเวลาเรงดวน พบวา ผูเดินทางเขามาทํางานในเมืองสวนใหญมีบานอยูนอก เมือง ดังนั้นยอมจะมีโอกาสพบเห็นสินคาใหมมากกวา ผู ที่ อ าศั ย อยู ใ นเมื อ ง การขายในตอนแรกมี ป ญ หา รานคากลุมเปาหมายไมกลารับซื้อ จึงตองตื๊อขายใน ราคาตนทุน หนึ่งสัปดาหตอมาไดออกสํารวจ พบวา หมอ ฉลุใบใหญขายไมได แตใบเล็กขายหมดลงอยางรวดเร็ว ทางร า นค า จึ ง ให นํ า มาขายอี ก แต เ พื่ อ รั ก ษาระบบ ตลาดภายในหมูบานจึงปฏิเสธและแจงที่อยูใหเขาไป ติดตอในหมูบาน ขณะเดียวกันนี้ภายในหมูบานไดเกิด การเลี ยนแบบสินคา เกิดขึ้ นหลายราย และทราบว า เจา ของรา นคา ที่นํ าไปฝากขายได นํา ตัวอยา งไปจา ง ชาวบานผลิตขายใบละ 10บาท โดยการแอบอางวาได นํามาจากเชียงใหมและกําลังเปนที่นิยม สวนนางซีพอ รูขาววา หมอฉลุ ของนางบีขายดี จึงเรงผลิต ขายแข ง นางซี ใ นราคาใบละ 10 บาท และต อ มาพบว า ใน ละแวกบานใกลเรือนเคียงมีการเลียนแบบตามมาอีก 3 ราย ทุกคนจะผลิตสงขายพอคาเครือขายตนเอง หนึ่งเดือนตอมาไดสํารวจซ้ํา พบชาวบานปน หมอฉลุกันทั้งหมูบานจนพอคาภายในตองบอกใหหยุด บาง จากสิ่งหนึ่งที่ใหประโยชนกับสิ่งหนึ่งที่เชื่อมกันได


นางบี ท นแรงเสี ย ดทานไม ไ หวเพราะราคาของผู เลียนแบบเปนกําแพงกั้นยอดขายตนเอง จึงยอมลด ราคาขายเทากับผูผลิตรายอื่นๆ การแขงขันดานราคา ที่ไมไดเกิดจากระบบตลาด จึงเสียดายโอกาสเพราะ ความตองการที่หวังผลรวดเร็ว หากขายตามราคาที่ตั้ง ไว แ ต แ รก หมู บ า นจะมี เงิ น เข า มาหมุ น เวี ย นเพิ่ ม ถึ ง 30% จากพฤติกรรมการเลียนแบบ นางลัดดา กาคํา อดี ต ประธานกลุ ม ผู ผ ลิ ต เครื่ อ งดิ น เผาหลายสมั ย ปจจุบันเปนผูชวยผูใหญบานแทนนายเอ แสดงความ ภาคภูมิใจวา “ขอใหทําออกมาใหเห็น ชาวบานที่นี่ทํา ไดหมด” จากเหตุการณดังกลาว ตอมาไดนําขอมูลไป ขยายผลคืนกลับมายังผูมีสวนเกี่ยวของ เสนอใหเห็น ความสําคัญของการออกแบบที่เนนลูกคาเปนสําคัญ และการรวมกลุมเล็กๆ ทํางานแบบตอยอดภูมิปญญา วาสามารถแกปญหาเศรษฐกิจชุมชนไดรวดเร็ว โดย แสดงตัวเลขจากการคํานวณรายไดจากผูประกอบการ เพี ย ง 20 ราย แต ล ะรายผลิ ต ได 10 ใบต อวั น ขาย ราคาใบละ 10 บาท ระยะเวลา 3 เดือน (มีนาคม พฤษภาคม 2551) หมูบานมีเงินหมุนเวียนไมต่ํากวา 180, 000 บาท ซึ่งไมรวมรายไดจากพอคาคนกลาง ที่นําไปขายสงนอกหมูบาน และวงเงินซื้อขายวัตถุดิบ ที่เกี่ ยวของอื่น ๆ สิ่ง ที่เกิดขึ้ นคื อการสรา งเศรษฐกิ จ ชุมชน ที่ เกิด จากความเขา ใจศั กยภาพชาวบานและ ผูบริโภคขณะนั้น ผูพัฒนาตองมีจิตใจสาธารณะและ อ ด ท น ต อ คํ า ค ร ห า ว า “ลํ า เ อี ย ง ” เ นื่ อ ง จ า ก ผูประกอบการสวนใหญ ไมมีโ อกาสเข ารว มกิจ กรรม แตคงปฏิเสธไมไ ดวามนุษย พัฒนาตนเองจนมี ชีวิต ที่ แตกต า งจากสั ต ว ล ว นเกิ ด จาก “การจํ า และทํ า เลี ย นแบบ” อาศั ย การมี ป ฏิ สั ม พั น ธ ท างสั ง คม (associations) ที่ ใ ห อิ ท ธิ พ ลต อ กั น และกั น ทั้ ง นี้ ธรรมชาติของมนุษยมีลักษณะนิสัยพื้นฐานเดียวกันคือ

เลือกจดจําหรือเลียนแบบพฤติกรรมจากสิ่งรอบขาง หากสิ่งหนึ่ง มีคาตอสิ่งหนึ่งแสดงวามีคาตอกัน จึงเปน เหตุอยากทําตาม สรุป ทามกลางกระแสต างๆ ในสั งคมเมือง เปนเหตุการณที่เกี่ยวของตอปากทองชาวชนบท การ พั ฒ นาสิ น ค า ที่ ใ ช ฐ านจากภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น ต อ ง เปลี่ย นจากการทํางานอิส ระมาเปน รวมกลุมทํ างาน แบบมี ส ว นร ว ม โดยไม จํ า เป น ต อ งร ว มมื อ กั น ทุ ก ขั้นตอน แตใหเขาใจรวมกันวาเปนกระบวนการจัดการ ความรู (Knowledge Management: KM) มี ประโยชนชวยใหคนที่รูและเขาใจเฉพาะดาน สามารถ สืบทอดสูคนที่ตองการที่จะรูเพื่อวันนี้และวันขางหนา แตที่สําคัญหนวยงานภาครัฐในทองถิ่นตองกําหนดเปน แผนระยะยาว แสดงความชั ด เจนด า นงบประมาณ พรอมกับการคัดเลือกบุคลากรที่มีความรูความชํานาญ คือ 1) ทฤษฎีวิเคราะหสถานการณ (SWOT analysis) 2) ทฤษฎี ก ารตลาดสมั ย ใหม (4Cs) 3) ทฤษฎี ก าร ทํ า งานแบบมี ส ว นร ว มหรื อ วงจรเดมมิ ง (Deming Cycle) 4 ) ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ ลี ย น แ บ บ (Social Modeling Theory) 5) ทฤษฎีการตอยอด (Cluster) 6) ทฤษฎีการออกแบบเครื่องดินเผา 3F โดยการพัฒนาผสานกับภูมิปญญาทองถิ่นกับชาวบาน กลุ ม เล็ ก (Micro group) เป น แนวทางแก ป ญ หา เศรษฐกิจชุมชนตนทุนต่ํา ใชเวลาสั้น ไดผลรวดเร็ว

บรรณานุกรม จิตรกร แตมคลอง. (2550). การพัฒนาแหลง ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบมีสวนรวม บานมอนเขาแกว ตําบลพิชัย อําเภอเมือง

53


จังหวัดลําปาง. คณะกรรมการสนับสนุน การวิจัยแหงชาติ. (งานวิจัยระยะที่ 1) . (2549). การพัฒนาศักยภาพกลุม ผูประกอบการเครื่องดินเผาพื้นบาน บาน มอนเขาแกว ตําบลพิชัย อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง. คณะกรรมการสนับสนุนการ วิจัยแหงชาติ. . (2547). พลวัตเครื่องดินเผาลําปาง. สํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏลําปาง . (2546). อาชีพการทําเครื่องดินเผา พื้นบาน : กรณีศึกษาปจจัยที่มผี ลตอรายได ผูประกอบอาชีพผลิตเครื่องดินเผาพื้นบาน บานมอนเขาแกว หมูที่ 3 ตําบลพิชัย อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง. ลําปาง : สํานักงานวิจัยสถาบันราชภัฏลําปาง สถาบัน ราชภัฏลําปาง. ณรงค เพ็ชรประเสริฐ. (2542). ธุรกิจชุมชน: เสนทางที่เปนไปได. กรุงเทพฯ: สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). ดนัย เทียนพุฒ. (2540). ผูบริหารยุคโลกาภิวัฒน. กรุงเทพฯ : ก.พลพิมพ. ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. (2543). กระบวนการและเทคนิคการทํางานของ นักพัฒนา. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย. พยอม วงศสารศรี. (2538). องคการและการ จัดการ. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏ สวนดุสติ .

54

เรนัส เสริมบุญสราง และเอก บุญเจือ. (2544). การ จัดการตลาดเพื่อชุมชน. เชียงใหม : คณะ บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วิฑูรย สิมะโชคดี. (2543). คุณภาพคือการเรียนรู. กรุงเทพฯ : สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย ญี่ปุน). ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. (2542). การบริหาร เชิงกลยุทธและกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ : ธีระฟลมและไซเท็กซ, ศุภร เสรีรัตน. (2544). พฤติกรรมผูบริโภค. พิมพ ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เอ.อาร.บิชิเนสเพรส. สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). การศึกษา รูปแบบและปจจัยที่ชุมชนประสบ ความสําเร็จในการใชวัฒนธรรมเสริมสราง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, อํานาจ ธีระวนิช. (2544). การจัดการธุรกิจขนาด ยอม. กรุงเทพฯ : หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.


การวิเคราะหตัวละครผูหญิงเหนือและภาพสะทอนทางสังคม จากตัวละครผูหญิงเหนือในนวนิยายไทย THE ANALYSIS OF NORTHERN THAI WOMEN CHARACTERS AND SOCIAL REFLECTION THAI NOVELS

ขวัญฤทัย นันทธนะวานิช1, ดร. พรธาดา สุวัธนวนิช2, ผูชวยศาสตราจารยสมเกียรติ คูทวีกุล3 บทคัดยอ

การศึกษาวิเคราะหตัวละครผูหญิงเหนือและภาพสะทอนทางสังคมจากตัวละครผูหญิงเหนือในนวนิยาย ไทย มีจุดมุงหมายเพื่อวิเคราะหตัวละครเอกหญิงในดานลักษณะทางกายภาพและลักษณะนิสัยและพฤติกรรม และวิเคราะหภาพสะทอนทางสังคมจากตัวละครผูหญิงเหนือในนวนิยายไทย ในดานสถานภาพและบทบาทของ ผูหญิงเหนือ และคานิยม ซึ่งผลการศึกษาจะทําใหเห็นถึงลักษณะทางกายภาพและลักษณะนิสัยและพฤติกรรม ของตัวละครผูหญิงเหนือที่ผูแตงสรางขึ้นจากจินตนาการ และเห็นถึงภาพสะทอนทางสังคมจากตัวละครผูหญิง เหนือ โดยศึกษาจากนวนิยายที่กลาวเกี่ยวกับผูหญิงเหนือ ตั้งแต พ.ศ. 2493 – พ.ศ. 2551 จํานวน 12 เรื่อง 17 ตัวละคร และนําเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห จากการศึกษาลักษณะทางกายภาพพบวา ผูแตงแสดงทัศนะผานตัวละครผูหญิงเหนือในชวงแรกคือชวง พ.ศ. 2493 - พ.ศ. 2516 ลักษณะทางกายภาพของผูหญิงเหนือจะเปนภาพของผูหญิงที่สวยงามตามธรรมชาติ ในชวง พ.ศ. 2517- พ.ศ. 2525 ผูแตงไดแสดงทัศนะเกี่ยวกับลักษณะเดนและดอยของโครงหนาตามลักษณะ เผาพันธุ ซึ่งเปนการบรรยายในลักษณะความเปนจริงของมนุษยมากขึ้น และกลาวถึงลักษณะปรุงแตงของผูหญิง เหนือ เพื่อทําใหผูหญิงเหนือสวยยิ่งขึ้นกวาเดิม ในชวง พ.ศ. 2525 - 2551 ผูแตงเริ่มบรรยายความงามของผูหญิง เหนือ โดยเปรียบเทียบกับธรรมชาติเหมือนกับในยุคแรก ลักษณะทางกายภาพของตัวละครทั้ง 3 ชวง ผูแตงมัก เนนย้ําดานผิวพรรณที่สวยงามมากที่สุด อยางไรก็ตาม ผูแตงในแตละเรื่องก็ยังคงสรางใหตัวละครเอกหญิงที่เปน ผูหญิงเหนือมีความงามอันเปนเอกลักษณเฉพาะตน ดานลักษณะนิสัยและพฤติกรรมพบวา ในชวงแรกผูหญิงเหนือจะเปนผูหญิงที่ใสซื่อ บริสุทธิ์ ไมมีจริต มารยา มองโลกในแงดี แตในยุคตอมา ผูแตงเริ่มกลาวถึงการใชจริตมารยาของผูหญิงเหนือมากขึ้น เนื่องจากตอง 1

นิสิตปริญญาโท ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อ.ด. (วรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ) อาจารยประจํา ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ 3 ค.ม. (การสอนภาษาไทย) ผูชวยศาสตราจารยประจํา ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ 2

55


เผชิญชะตากรรมตามลําพัง จึงตองมีการปรับเปลี่ยนลักษณะนิสัยและพฤติกรรมของตนเพื่อความอยูรอด หรือ เพื่อใหตนเองไดในสิ่งที่ตองการ ดานภาพสะทอนทางสังคมจากตัวละครผูหญิงเหนือในนวนิยาย สามารถแบงประเด็นตางๆ ไดแก 1. สถานภาพและบทบาทของผูหญิงเหนือ ในดานหญิงโสด ดานบุตรสาว ดานภรรยา ดานมารดา ดาน พี่สาว-นองสาว และดานสะใภ 2. คานิยมสามารถแบงออกเปนประเด็นตางๆ ไดแก คานิยมดานอาชีพ คานิยมเกี่ยวกับการสืบทอด ขนบธรรมเนียมประเพณี คานิยมในการเลือกคูครองและการสมรส และคานิยมดานภาษา การศึกษาลักษณะทางกายภาพ ลักษณะนิสัยและพฤติกรรมของตัวละครผูหญิงเหนือยอมสะทอนทัศนะ ของผูแตงที่มีตอผูหญิงเหนือและสะทอนสภาพสังคมภาคเหนือจากนวนิยายไดเปนอยางดี คําสําคัญ: ผูหญิงเหนือ, นวนิยาย, ตัวละคร

Abstract The study and analysis of the northern female performers and the social reflecting image of same in the Thai novels are aiming at the analysis of the leading female performers in terms of physical, personal and behavioral characteristics and also the analysis of social reflecting image of the northern female performers in the Thai novels in terms of their status, roles of northern women and social value. The result of the study shall reflect the physical, personal and behavioral characteristics of the northern female performers created by the authors written through their imagination and the social reflecting image of the northern female performers can be seen from the study of twelve novels relating to the northern women from 1950 to 2008 of seventeen performers and the result of the analysis is presented in the form of analytical narration. From the study of physical characteristic, the authors expressed their views through the northern female performers in the early stage, that was from 1950 to 1973 when the physical image of the northern women would be expressed in the form of natural beauties. During 1974 to 1982 the northern women were expressed by the authors related to the advantages and disadvantages of their facial structures according to their races and lineage when their characters were described closer to the reality of humans and the northern women’s dress up was mentioned to make them to be seen more beautiful. During 1982-2008

56


the authors began to describe about the beauty of the northern women by comparing to the nature in the similar ways as in the early stage. The authors often emphasized mostly on the beautiful complexion for the physical characters of the performers in all three stages. However, the author of each story still created the leading female performers to be looked as the northern women with their own uniqueness of beauty. On their behaviors and circumstances, during the early stage the northern women would be described as the innocent, naïve and sincere women and optimistic. In the later stage the author began to mention more about the women’s disingenuousness since they had to confront with their fates all alone, so they had to adapt themselves to go well together with the social environment for their own survival or to give themselves the opportunities to get for what they needed for. On the social reflecting image of the northern female performers in the novel can be classified into different issues as follows : 1. Status and roles of the northern women in terms of single women, daughters, wives, mothers, sisters and sisters-in-law. 2. Social value can be divided into different issues as follows : on the occupations, perpetuation of traditions and culture, selection of their mates, marriage and languages. The study of the physical, personal and behavioral characteristics of the northern female performers can reflect the authors’ viewpoints for the northern woman and the northern social conditions can also be very well reflected through the novels. Keywords : Northern women, novel, performers.

บทนํา นวนิยายเปนวรรณกรรมบันเทิงคดีประเภท ร อ ยแก ว ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใหม ใ นช ว งเวลาใดเวลาหนึ่ ง ที่ ผู ป ระพั น ธ ไ ด ส ะท อ น และจํ า ลองภาพชี วิ ต มนุ ษ ย แงมุมตางๆ ในยุคสมัย และสภาพสังคมในชวงเวลานั้น โดยสรางตัวละครใหมีพฤติกรรมที่ใกลเคียงพฤติกรรม จริงของมนุษย นวนิยายจึงเปนความแปลกใหมในยุคที่

วรรณกรรมไทยกาวสูความสมจริง นอกจากนั้นการรับ อิทธิพลจากวัฒนธรรมตะวันตก ทั้งในดานเทคโนโลยี และการศึกษา มีผลกระทบตอสั งคมไทยใหเกิดการ เปลี่ยนแปลง เพื่อรองรับแนวคิดที่ถือวาเปนแนวคิด อารยประเทศ ในเรื่องสถานภาพของผูหญิง สิทธิของ ผูหญิงไดรับการรับรองมากขึ้น ผูหญิงมีโอกาสไดรับ การศึกษาเทาเทียมกับผูชาย และการศึกษานี้ไดมีสวน สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให ส ถานภาพและบทบาทของผู ห ญิ ง

57


เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น จากเดิมที่ถือกําเนิดมา เพื่อมีสถานภาพเปนบุตรสาว ภรรยาและมารดา ก็มี บทบาทในทางสั ง คมมากขึ้ น กว า เดิ ม นวนิ ย ายได สะท อนถึ ง ความเปลี่ ย นแปลงสถานภาพของผู หญิ ง ดั ง งานวิ จั ย ของตรี ศิ ล ป บุ ญ ขจร ได เ สนองานวิ จั ย ที่ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สถานภาพและบทบาทของผู ห ญิ ง ในชวงของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม จากนวนิยาย ของ ศรีบูรพา อันสะทอนใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลง บทบาทของผูหญิงไววา “ศรีบูรพาไดจําลองภาพของผู หญิงไทยกอนป ค.ศ.1932 ในการปฏิรูปทางการเมือง ทํา ให ผู หญิ ง ไทยตกเป น เหยื่ อของค า นิ ย มทางสั ง คม และจารีตประเพณี ไมวาจะเปนผูหญิงชนชั้นสูง ชนชั้น กลาง ชนชั้นต่ํา ผูหญิงชนชั้นสูงจากตระกูลที่สูงศักดิ์ ไดตกลงมาเปนเหยื่อของคานิยมและจารีตประเพณี อยางรายแรงกวาผูหญิงในตระกูลต่ําศักดิ์ ทั้งนี้ก็เพื่อ เปนการแสดงความกตัญูและความออนนอมถอมตน ผูหญิงชั้นกลางซึ่งดิ้นรนในการทํามาหาเลี้ยงชีพ ก็จะ ตกเปนเหยื่อของผูชาย ผูซึ่งมองผูหญิงเหมือนเปนของ เลน สําหรับผูหญิงชั้นต่ํา ศรีบูรพาสามารถนําอุปนิสัย เหลานี้มาสรางสรรคตัวละคร ความยากลําบาก และ ความนา หวาดกลั ว เหลา นี้ เป นสาเหตุใ หผู หญิ งต อง กลายมาเป น คนอดทน ดื้ อ รั้ น และแม แ ต มี ค วาม ทะเยอทะยาน สภาพสัง คมบัง คับใหผูหญิ งตัด สินใจ แตงงานเพื่อนที่จะยกฐานะทางเศรษฐกิจ ภาพของผู ห ญิ ง ชั้ น สู ง ถู ก บรรยายให เ ป น เหมือนคนขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง ขณะที่เปนเด็ก พวกเธอก็จะตองอยูภายใตคําสั่งของบิดามารดา และ ตอนที่แตงงานแลว ก็ตองอยูภายใตคําสั่งของสามีใน ทุกกรณี พวกผูหญิงจะตกเปนเหยื่อของจารีตประเพณี ของการแตงงานแบบคลุมถุงชน จารีตประเพณีนี้นํา ผูหญิงไปสูชีวิต การแต งงานที่ เลวรา ย ผูหญิ งตกเป น

58

เหยื่อของสังคมมากเสียจนทําใหตองเปนผูหญิงที่ตอง เชื่อฟงเทานั้น ในกรณีนี้พวกเขาทําตามหัวใจปรารถนา และเลิ กทํ า ตั ว เปน โสเภณี แม แ ตผู หญิ ง ชนชั้ น กลาง ก็ พ ยายามอย า งแข็ ง ขั น เพื่ อ จะปลดปล อ ยตั ว เอง พวกเธอไมสามารถจะหนีได และกลายเปนเหยื่อของ คานิยมที่มองผูหญิงเปนเหมือนของเลน การหนีจาก กรงขังของระบบเกาและจารีตประเพณี ก็อาจตกเปน เหยื่ อ ของระบบทุ น นิ ย มอี ก อย า งหนึ่ ง ซึ่ ง บี บ บั ง คั บ ผูหญิงอีกเชนเดียวกัน นี่คือสิ่งที่ศรีบูรพาตองการจะ แสดงใหเห็นอยางชัดแจงวาผูหญิงนั้นผูกพัน และถูก บีบคั้นโดยระบบเกาและจารีตประเพณีมากเพียงใด อยางไรก็ดีการนําเสนอปญหาเกี่ยวกับลักษณะอุปนิสัย ใจคอของผูหญิง ก็ไมไดนําเสนอทางออกอยางชัดเจน ทางออกที่วางเปนเงื่อนไขดูเหมือนจะมีพื้นฐานอุดมคติ เนื้ อเรื่ อ งส ว นใหญ จ ะจบลงด ว ยความสุ ขและความ ปลอบประโลมใจ และลักษณะอุปนิสัยใจคอของผูหญิง ก็จ ะแกป ญหาตามแนวอุ ดมคติ โดยเริ่ มต นชี วิต ใหม ดวยความรักและความเห็นอกเห็นใจ” งานวิจัยของตรีศิลป บุญขจร (2550 : 85 86) ไดขอสรุปอันเปนผลมาจากการวิเคราะหตัวละคร ผู ห ญิ ง ในนวนิ ย ายของผู แ ต ง เพี ย งคนเดี ย ว การ วิ เคราะห ตั ว ละครผู หญิ ง ในนวนิ ย ายยั ง มี ป ระเด็ น ที่ น า สนใจอี ก มากมาย ที่ ส ามารถวิ เ คราะห ตั ว ละคร ผู ห ญิ ง ในนวนิ ย าย โดยสะท อ นให เ ห็ น บทบาทของ ผู ห ญิ ง ในสั ง คมที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปจากเดิ ม ในแง มุ ม ที่หลากหลายไดอีก เชน บทบาทดานใดดานหนึ่ง หรือ วิเคราะหจากมุม มองของผูแตงนวนิยายหลายๆ คน ในช ว งระยะเวลาเดี ย วกั น หรื อ วิ เ คราะห ค วาม เปลี่ยนแปลงทามกลางบริบทของสังคม เปนตน ผูวิจัยสนใจศึกษาตัวละครที่เปนผูหญิงเหนือ ที่ผูกติดกับภาพของ “สาวเครือฟา” อันเปนบทละคร


ร อ ง พระนิ พ นธ ใ นพระเจ า บรมวงศ เ ธอ กรมพระ นราธิประพันธพงศ ซึ่งดัดแปลงมากจาก “มาดามบัต เตอรฟลาย” (Madame Butterfly) นวนิยายของ จอหน ลูเธอร ลอง (John Luther Long) วรรณกรรม เรื่องนี้เปนที่รูจักกันอยางแพรหลาย และทําใหผูอาน คิดวาเปนภาพที่แทจริงของผูหญิงเหนือ หรือเปนเรื่อง ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง โดย ภั ค ดี กุล รั ต นา (2543 : 83) ได กลาวถึงบทละครรองเรื่องสาวเครือฟาวา “สวนหนึ่งที่ ทํ า ให ล ะครร อ งเรื่ อ งสาวเครื อ ฟ า เป น ที่ นิ ย มคื อ ลักษณะนางเอกของเรื่องที่มั่นคงในความรัก จนยอม สละชีวิต ซึ่งคงสรางอารมณสะเทือนใจใหแกผูชมใน ระหวางที่ชมละคร และการที่พระเจาบรมวงศเธอกรม พระนราธิ ป ประพัน ธ พงศ ทรงสรา งภาพของผูหญิ ง “ลาว” ในลักษณะดังกลาว นาจะเปนการเสนอภาพ ผู ห ญิ ง “ลาว” ในอี ก ลั ก ษณะหนึ่ ง ที่ ต รงกั น ข า มกั บ ทัศนคติของชนชั้นสูงกรุงเทพฯ ที่มองลานนาดอยกวา ดังที่สะทอนใหเห็นจากความคิดของแมและคูหมั้นของ รอยตรีพรอม ซึ่งนาจะเปนภาพตัวแทนแทนทัศนคติ ของคนกรุงเทพฯ ตอลานนา โดยเฉพาะการใหภาพ ผู ห ญิ ง เหนื อใจง า ย ไม รั ก นวลสงวนตั ว เกี ย จคร า น เปนตน ดังนั้นการสรางภาพของสาวเครือฟา จึงนาจะ เปนเพียงการสรางภาพผูหญิงเหนือขึ้นในอีกลักษณะ หนึ่ง อยางซอนทับกับภาพ “ลาว” ที่มีอยูเดิม” จ า ก ข อ ค ว า ม ข า ง ต น ส า ว เ ค รื อ ฟ า เปนวรรณกรรมที่เปนตนแบบในการสรางภาพผูหญิง เหนือ ภาพดังกลาวจึงนาจะมีกระบวนการสรางและ ผลิตซ้ําในนวนิยายยุคตอมา และมีความเปลี่ยนแปลง ไปตามกระแสสังคมอีกดวย งานวิจัยนี้จะวิเคราะหตัวละครผูหญิงเหนือ จากตั ว ละครเอกหญิ ง ที่ ผู แ ต ง สร า งขึ้ น ที่ ไ ด ส ะท อ น สถานภาพและบทบาททางสังคมของผูหญิงเหนือ และ

สภาพทางสังคมในดานตางๆ เชน วิถีชีวิตความเปนอยู การศึกษา ศาสนา ความเชื่อ เปนตน ผานทัศนะของ ผูแตง ทามกลางความเปลี่ยนแปลงทางสังคม อันจะ ทําใหเห็นถึงความสัมพันธของการสรางตัวละครเอก หญิ ง กั บ ผู หญิ ง เหนื อในสั ง คมไทยที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ตามยุคสมัยและบริบททางสังคม

กรอบแนวคิดในการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาวิ เ คราะห ผู ห ญิ ง เหนื อ จาก ตัวละครเอกหญิง ในด านลั กษณะทางกายภาพและ ลักษณะนิสัยและพฤติกรรม 2. เพื่ อ ศึ ก ษาภาพสะท อ นทางสั ง คม จาก ตัวละครผูหญิงเหนือในนวนิยายไทย

ความสําคัญของการวิจัย การศึกษาวิเคราะหตัวละครผูหญิงเหนือจาก ตั ว ละครเอกหญิ ง และภาพสะท อ นทางสั ง คมจาก ตัวละครผูหญิงเหนือในนวนิยายไทย ทําใหทราบถึง ภาพของผู หญิ ง เหนื อที่ มี ค วามเปลี่ ย นแปลงไปตาม สังคมในทัศนะของผูแตง ซึ่งเปนสวนหนึ่งของสังคม อันจะทําใหเห็นถึงพัฒนาการของการสรางตัวละคร ผูหญิ งเหนือที่ ผลิ ต ซ้ํ าปรั บเปลี่ย น และสืบ ทอดต อๆ กันมา

วิธีดําเนินการวิจัย ผูวิจัยดําเนินการศึกษาคนควา ตามขั้นตอน ดังนี้

59


1. คัดเลือกนวนิยายที่นําเสนอเรื่องราวชีวิต ของผูหญิงเหนือ และมีตัวละครเอกเปนผูหญิงเหนือ ตั้งแต พ.ศ. 2493 – 2551 จํานวน 12 เรื่อง 17 ตัวละคร 2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ ตัวละครและผูหญิงในงานวรรณกรรม 3. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ สถานภาพและบทบาทของผูหญิง 4. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ ภาพสะทอนทางสังคมในนวนิยาย 5. วิ เคราะห ตั ว ละครเอกหญิง ที่ เปน ผู หญิ ง เหนือในเรื่องตางๆ ดังนี้ 5.1 ลักษณะทางกายภาพ 5.2 ลักษณะนิสัยและพฤติกรรม 6. วิ เ คราะห ภ าพสะท อ นทางสั ง คมจาก ตัวละครผูหญิงเหนือในนวนิยาย 6.1 สถานภาพและบทบาทของผูหญิ ง เหนือ 6.2 คานิยม 7. เสนอผลการศึกษาคนควาแบบพรรณนา วิเคราะห

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย งานวิ จั ย นี้ ผู วิ จั ย เลื อ กศึ ก ษานวนิ ย ายไทย ที่ นํ า เสนอเรื่ อ งราวชี วิ ต ของผู ห ญิ ง เหนื อ และมี ตั ว ละครเอกเปนผูหญิงเหนือ จํานวน 12 เรื่อง ดังนี้ 1. แมสายสะอื้น ผูแตง อ.ไชยวรศิลป (พ.ศ. 2493) 2. แหวนทองเหลือง ผูแตงพระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาอนุสรมงคลการ (พ.ศ. 2516) 3. คุณนาย ผูแตง อ.ไชยวรศิลป (พ.ศ.2516)

60

4. เดือนดับที่สบทา ผูแตง สุวรรณี สุคนธา (พ.ศ. 2516) 5. อิตถีเพศ ผูแตง สุวรรณี สุคนธา (พ.ศ. 2517) 6. ไอคอม ผูแตง มาลา คําจันทร (พ.ศ. 2525) 7. รากนครา ผูแตง ปยะพร ศักดิ์เกษม (พ.ศ. 2540) 8. ดอกรักบานทีส่ ันกําแพง ผูแตง อรชร (พ.ศ. 2542) 9. ปมปา ผูแตง ชัญวลี ศรีสุโข (พ.ศ. 2543) 10. สะพานแสงคํา ผูแตง ปยะพร ศักดิ์เกษม (พ.ศ. 2550) 11. แตปางบรรพ ผูแตง บุญวรรณี (พ.ศ. 2550) 12. กลิ่นกาสะลอง ผูแตง เนียรปาตี (พ.ศ. 2551)

สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาวิเคราะหตัวละครเอกหญิงที่ เปนผูหญิงเหนือในนวนิยายจํานวน 12 เรื่อง 17 ตัว ละคร พบว า ผู แ ต ง สร า งลั ก ษณะทางกายภาพของ ผู ห ญิ ง เหนื อ จากความงามในอุ ด มคติ แ ละตาม จินตนาการของผูแตง ตัวละครเอกหญิงในชวงแรกคือ พ.ศ. 2493 - 2516 ผู แ ต ง จะเน น ความงามตาม ธรรมชาติ โดยนํ า ความสวยและลั ก ษณะเด น ของ ผูหญิงเหนือเหลานั้นมาบรรยายควบคูกับความงามที่ บริ สุ ทธิ์ ของธรรมชาติ ซึ่ งแสดงให เห็ น ถึ งทั ศ นะของ ผู แ ต ง ว า ผู ห ญิ ง เหนื อ มี ค วามงามและความบริ สุ ท ธิ์ เหมือนธรรมชาติ เปนความงามที่ไมตองปรุงแตง และ


เปนความงามแบบอุดมคติของผูแตงเอง และในนวนิยาย บางเรื่อง ผูแตงตองการใหผูอานจินตนาการความงาม ของผู ห ญิ ง เหนื อ ในความคิ ด ของตนเอง จึ ง ไม ไ ด ล ง รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะทางกายภาพของตั ว ละครมากนั ก ในช ว ง พ.ศ. 2517 - 2525 ผู แ ต ง ได บรรยายความงามของผูหญิงในลักษณะตามความเปน จริ ง ของมนุ ษ ย ม ากขึ้ น กล า วคื อ ความงามของตั ว ละครจะมีจุดเดนและจุดดอยบนใบหนา ซึ่งไมใชความ งามแบบอุ ด มคติ เ หมื อ นในยุ ค ก อ น อี ก ทั้ ง ผู แ ต ง ได กลาวถึงลักษณะปรุงแตงใบหนาของผูหญิงเหนือ เพื่อ ทําใหสวยยิ่งขึ้นกวาเดิม ในชวง พ.ศ. 2525 - 2551 ผู แ ต ง เริ่ ม บรรยายความงามของผู ห ญิ ง เหนื อ โดย เปรียบเทียบกับความงามของธรรมชาติเหมือนกับใน ยุคแรก แตจ ะเปรีย บเที ยบความงามของผู หญิง งาม เหนือกวาความงามของธรรมชาติ ซึ่งเปนความงามใน อุ ด มคติ ม ากกว า จากการวิ เ คราะห ลั ก ษณะทาง กายภาพโดยรวมทั้งสามชวง ผูแตงไดใหความสําคัญ กับตัวละครเอกในดานผิวพรรณมากที่สุด และผูแตง บางท า นมี ท รรศนะว า ผู ห ญิ ง เหนื อ ทุ ก คนจะต อ งมี ผิวพรรณที่ขาวผุดผอง ในด า นลั ก ษณะนิ สั ย และพฤติ ก รรมพบว า ในชวงแรกผูแตงแสดงทัศนะวาผูหญิงเหนือเปนผูหญิง ที่ใสซื่อ บริสุทธิ์ ไมมีจริตมารยา มองโลกในแงดี แตพอ มาในยุคตอมา ผูแตงเริ่มกลาวถึงการใชจริตมารยาของ ผูหญิงเหนือมากขึ้น เนื่องจากตองเผชิ ญชะตากรรม ตามลําพัง จึงตองมีการปรับเปลี่ยนลักษณะนิสัยและ พฤติกรรมของตนเพื่อความอยูรอด หรือเพื่อใหตนเอง ไดในสิ่งที่ตองการ ผูแตงไดสรางตัวละครเอกใหมีทั้ง ดานที่ ดีและดานที่ ไมดี เพื่อใหผูอา นไดเปรียบเทีย บ ลักษณะนิสัยและพฤติกรรมของตัวละคร โดยตัวละคร เอกที่ผู แ ตง สร างใหเป น คนดี จะมีลั กษณะนิ สัย และ

พฤติ ก รรมในรู ป แบบที่ ดี ทั้ ง หมด เช น กตั ญ ู รั ก ครอบครั ว ยึ ด มั่ น ในศี ล ธรรม ยึ ด มั่ น ในความรั ก เสียสละ เปนตน สวนตัวละครที่ไมดีนั้นจะมีลักษณะ ตรงกันขามหรือมีลักษณะในทางที่ไมดี เชน เห็นแกตัว ดื้ อรั้ น เอาแต ใ จ ไม เ สี ย สละ ผู ก ใจเจ็ บ เป น ต น ซึ่ ง ผูแตงสวนใหญมักจะสรางตัวละครผูหญิงเหนือที่เปน ตัวละครที่ดีมากกวาตัวละครที่ไมดี ซึ่งเปนทรรศนะ แฝงของผู แ ต ง ที่ ต อ งการสื่ อ ให ผู อ า นเห็ น ถึ ง การ ประพฤติปฏิบัติตัวในแบบอยางที่ดี และการทําดีของ ตัวละคร นวนิยายบางเรื่องที่มีตัวละครเอกสองตัว ผู แตงจะเสนอใหตัวละครฝายดีเสียสละหรือไมคิดจะสู ตัวละครที่ไมดี แตในตอนสุดทายตัวละครที่ไมดีก็จะมี การสํานึกในความผิดของตน และไดกลับตัวเปนคนดี ในที่สุด นอกจากนั้นผูแตงไดแสดงทัศนะดานความรัก ของผู ห ญิ ง เหนื อ ไว ว า ผู ห ญิ ง เหนื อ ส ว นหนึ่ ง ให ความสําคัญกับความรัก คือรักเดียวใจเดียว เมื่อตอง ผิดหวังก็ไมคิดสั้นโดยการฆาตัวตายอยางตัวละครเอก ในสมั ย ก อน เช น ในบทละครร องเรื่ องสาวเครื อฟ า ที่เครือฟา และบัวบานสาวเหนือที่ผิดหวังจากผูชาย กรุ ง เทพฯ ได ตั ด สิน ใจจบชี วิ ตเพราะผิ ด หวั ง ในเรื่ อง ความรัก แตในนวนิยายทั้งสามชวงจะเห็นไดวา ผูแตง ตองการสื่อใหเห็นวา แมผูหญิงเหนือจะผิดหวังในเรื่อง ความรัก แตการฆาตัวตายก็ไมไดเปนทางออกที่ดี และ ผูชายกรุงเทพฯ ก็ไมไดเปนผูชายที่เลวทรามหรือเปน ผู ช ายที่ หลอกลวงแต อย า งใด ผู แ ต ง ได สื่ อให เห็ น ว า เมื่อผูหญิงเหนือตองการฆาตัวตาย ผูที่คอยชวยเหลือ และคอยใหกําลังใจจนกระทั่งพวกเธอเหลานั้นเปลี่ยน ใจหันกลับมาตอสูกับชะตากรรม คือผูชายทั้งสิ้น ใน ทายที่สุดแสดงใหเห็นวาผูชายกรุงเทพฯ เปนผูชายที่ รักเดียวใจเดียว และยึดมั่นในความรักเชนเดียวกัน

61


จากการศึ ก ษาวิ เ คราะห ภ าพสะท อ นทาง สังคมจากตัวละครผูหญิงเหนือในนวนิยาย สามารถ แบงประเด็นตางๆ ไดดังนี้ 1. สถานภาพและบทบาทของผูหญิงเหนื อ แบงออกเปน 6 ประเด็น คือ 1.1 สถานภาพและบทบาทของหญิงโสด จากการศึ ก ษาพบว า ผู ห ญิ ง โสดควรวางตั ว อย า ง เหมาะสมกับเพศตรงขาม เพราะการวางตัวไดอยาง เหมาะสมก็ เ ป น อี กหนทางหนึ่ ง ที่ มี อิท ธิ พ ลต อความ เปนไปในอนาคตของผู หญิงในดานการเลือกคู ครอง ผูหญิงโสดไมควรไปกับผูชายแปลกหนาเพียงสองตอ สอง ถึงแมจะมีผูใหญรับรูแตก็เปนการไมสมควรและ ไมปลอดภัย ผูหญิงโสดไมควรมีเพศสัมพันธกอนสมรส เพราะอาจทํ า ให ตั้ ง ครรภ ก อ นสมรส หรื อ ทํ า ให ครอบครัวเสื่อมเสียชื่อเสียง และผูหญิงโสดไมควรบอก ความในใจแกผูชาย ไมวาจะรักหรือพอใจในผูชายคน นั้นแคไหนก็ตาม เพราะเปนสิ่งที่ไมสมควร ผูหญิงโสด ควรวางตัวใหเหมาะสมกับสถานภาพและบทบาทของ ตน เพราะถาปลอยตัวในเรื่องการคบเพศตรงขามก็จะ เปนที่ครหานินทาจากคนในสังคมได 1.2 สถานภาพและบทบาทของบุตรสาว จากการศึกษาพบวา ผูหญิงที่เปนบุตรสาวจะไดรับการ เลี้ยงดูจากบิดา มารดา หรือญาติ เรื่องการบานการ เรื อ น เมื่ อ มี ส ามี จ ะได เ ป น ภรรยาที่ ดี และยั ง ได รั บ การศึ ก ษาที่ เ หมาะสม ให มี ค วามรู ใ นการประกอบ อาชี พ ต อไปในภายหน า และเป น ที่ ย อมรับ ในสั ง คม อยางไรก็ดี ผูเปนบุตรสาวจะตองมีความกตัญูรูคุณ และเชื่ อ ฟ ง ผู เ ป น บิ ด ามารดา แม จ ะมี ค วามพอใจ หรือไมพอใจก็ตาม 1.3 สถานภาพและบทบาทของภรรยา จากการศึ กษาพบวา ผู หญิ งเมื่อไดเขา พิธี สมรสแล ว

62

สถานภาพและบทบาทของการเปนภรรยาจะเริ่มตน ขึ้น ไมวาจะยินยอมพรอมใจกับการสมรสนั้นหรือไมก็ ตาม เปนที่ยอมรับกันวาสถานภาพและบทบาทของ ภรรยาเปนสวนหนึ่งในหนาที่ที่ผูหญิงทุกคนพึ่งทํา ซึ่ง เป น โอกาสพั ฒ นาเปลี่ ย นผ า นสู ค วามเป น ผู ห ญิ ง ที่ สมบู ร ณ ผู ห ญิ ง ที่ อยู ใ นสถานภาพและบทบาทของ ภรรยาควรยกยองและปกป องเกี ย รติ ของสามี ดู แ ล งานบานงานเรือน เชน การทํา อาหาร การทํา บัญ ชี รายรับรายจายประจําวัน การดูแลเครื่องแตงกายของ สามีใหสะอาดเรียบรอย เปนตน นอกจากนี้ผูหญิงใน สถานภาพและบทบาทของภรรยาตองรักและซื่อสัตย ตอสามี ถึงแมการกระทําของสามีจะทําใหไมพอใจก็ ตาม ควรอดทนและให อภั ย เมื่ อสามี น อกใจ เพราะ ผูชายบางคนนิยมมีภรรยาหลายคน ผู ชายบางคนมี ภรรยานอยแบบเปดเผยใหภรรยาหลวงรับรู แตบาง คนไม เป ดเผย ผูเปน ภรรยาหลวงจึง ต องวางตั วและ ปฏิบัติตัวใหเหมาะสมเพื่อใหอีกฝายเกรงใจ และควร จะเอื้อเฟอแกภรรยานอยและบุตรดวย 1.4 สถานภาพและบทบาทของมารดา จากการศึ ก ษาพบว า สถานภาพและบทบาทของ มารดาเปนสถานภาพและบทบาทที่สําคัญในการเลี้ยงดู และอบรมบุตรหรือธิดาใหเติบโตขึ้นมาเปนคนดีของ สังคม คอยใหคําปรึกษา สงเสริม สนับสนุนชวยเหลือ และเป น แบบอย า งที่ ดี ใ ห กับ บุ ต รและธิ ด า ซึ่ ง ผู เป น มารดาจะต อ งดู แ ลบุ ต รตั้ ง แต อ ยู ใ นครรภ ซึ่ ง การ ตั้ ง ครรภ นั้ น มี ทั้ ง การตั้ ง ครรภ ด ว ยความพึ ง ประสงค และไม พึ ง ประสงค จากการศึ ก ษาพบว า ผู ห ญิ ง ที่ ตั้งครรภแบบพึงประสงคมี 2 กรณีคือ ตั้งครรภเพราะ ตองการเลี้ยงดูบุตรอยางแทจริง และตั้งครรภเพราะ ตองการใชประโยชนในตัวบุตร สวนการตั้งครรภไมพึง ประสงค ผูเปนมารดาสวนหนึ่งจะเก็บบุตรในครรภไว


โดยไมทําแทง เพราะคิดวาบุตรเกิดมาดวยความรัก แต มารดาอี ก ส ว นหนึ่ ง จะทํ า แท ง เพราะคิ ด ว า ถ า บุ ต ร คลอดออกมาจะเปนอุปสรรคในการดําเนินชีวิต 1.5 สถานภาพและบทบาทของพี่สาว นองสาว จากการศึกษาพบวา ผูที่อยูในสถานภาพและ บทบาทของพี่ ส าว ควรใหค วามรักแกผู เป น นอง ให อภัยเมื่อนองทําผิด คอยดูแลสั่งสอนและประพฤติตน เปนแบบอยางที่ดีใหแกนอง สวนผูที่อยูในสถานภาพ และบทบาทของนองสาว ควรใหความรักและเคารพ และเชื่อฟงผูเปนพี่ในเรื่องที่ดีงาม 1.6 สถานภาพและบทบาทของสะใภ จากการศึกษาพบวา ผูหญิงเหนือที่อยูในสถานภาพ และบทบาทของสะใภ จ ะตองรักและเคารพตอบิ ด า มารดา และญาติพี่นองของสามีเสมือน บิดา มารดา และญาติ ข องตนเอง และต อ งปรั บ ตั ว ให เ ข า กั บ ครอบครัวของสามีใหได 2. คานิยม 2.1 ค า นิ ย มเกี่ ย วกั บ การประกวด นางงาม จากการศึกษาพบวา ผูแตงไดแสดงทัศนะผาน ตั ว ละครผู ห ญิ ง เหนื อ ว า ผู ห ญิ ง เหนื อ บางคนเข า ประกวดนางงามเพราะความไมรู ดวยความไมเต็มใจ เพราะถู กผู ใ หญ ที่ นั บ ถื อ ทาบทามให ป ระกวด และ ประกวดเพราะตองการหนีไปจากชี วิตความเปนอยู แบบเดิ ม ผู ห ญิ ง เหนื อ เริ่ ม มี ค วามคิ ด ที่ จ ะประกวด นางงามมากขึ้น นอกจากนี้ผูแตงยังแสดงทัศนะผูหญิง เหนื อที่ป ระกวดนอกจากเพื่ อประชั นความสวยแล ว ตําแหนงนางงามยังเปนสิ่งที่ทําใหพวกเธอเหลานั้นมี ชื่อเสียงและมีหนามีตาในสังคม ซึ่งทําใหเธอมีรายได จากการประกวดและการโชวตัว อีกทั้งยังเปนโอกาสที่ จะไดเปนนักแสดง หรือมีโอกาสไดสมรสกับผูชายที่มี

ตําแหนงที่ดีในสังคม การประกวดนางงามจึงเหมือน เปนการยกระดับของตัวเองอีกทางหนึ่งดวย 2.2 คานิยมเกี่ยวกับอาชีพ อาชีพของผูหญิง เหนือที่ปรากฏในนวนิยายมี 3 อาชีพ ไดแก 2.2.1 อาชี พ ขายบริ การทางเพศ จาก การศึกษาพบวา ผูแตงไดแสดงทัศนะเกี่ยวกับคานิยม ในการประกอบอาชี พ ขายบริ ก ารทางเพศว า เป น อาชีพที่ผูหญิงเหนือสวนใหญกระทําเพราะความไมรู หรือไมเต็มใจ เพราะถูกบิดามารดาขายใหกับนายหนา เพราะบิ ด ามารดาต อ งการให บุ ต รสาวมี ชี วิ ต ความ เปน อยู ที่สุ ขสบาย และเห็ นว าการขายบุต รสาวเป น ทางหนึ่ ง ที่ ทํา ใหรายได ในครอบครั ว เพิ่ ม ขึ้น ผูหญิ ง เหนือที่ถูกขายจึงตองเดินทางมาขายบริการทางเพศ ดวยความไมเต็มใจ เพื่อเปนการใชหนี้แกผูที่ซื้อตัวเธอ มา เ มื่ อ เ ห็ น ว า อ า ชี พ ขา ย บ ริ ก า ร ท า ง เ พ ศ ใ ห ผลตอบแทนในราคาที่ดี ไดแตงกายงดงาม และมีเงิน สง กลับ ไปให บิ ดาและมารดาไดใ ช จา ย ทํา ใหผู หญิ ง เหนือหลายคนไมคิดที่จะเลิกทําอาชีพนี้ จึงกลายเปน คานิยมอยางหนึ่งของผูหญิงเหนือไปโดยปริยาย ผูหญิง เหนืออีกสวนหนึ่งตอตานการขายบริการทางเพศ ดวย เห็นวาเปนอาชีพที่นารังเกียจ เพราะตองนําตัวเขาแลก เพื่อที่จะไดเงินมา จึงเกิดการตอตานและสั่งสอนไมให บุตรหลานทําอาชีพขายบริการทางเพศ ถึงแมอาชีพ ขายบริ การทางเพศจะเป น อาชี พ ที่ น า รั ง เกี ย จ และ ภาคเหนื อถู กมองว า ผู หญิ ง ขายบริ การทางเพศมาก ที่สุด เพราะเห็นวาเปนผูหญิงที่สวย ซื่อ หัวออน จึงถูก ล อ ลวงได ง า ย ซึ่ ง ในป จ จุ บั น คนสั ง คมชนบททาง ภาคเหนื อ ได รั บ การศึ ก ษามากขึ้ น ทํ า ให ก ารขาย บุตรสาวลดนอยลงหรืออาจจะไมมีหลงเหลืออยู และมี อาชีพใหมๆ เขามาในภาคเหนือมากกวาแตกอนซึ่งมี แต อ าชี พ เกษตรกรรม เลี้ ย งสั ต ว และทอผ า ทํ า ให

63


ผู ห ญิ ง เหนื อ หั น มาประกอบอาชี พ ที่ ดี ก ว า การขาย บริการทางเพศอยางในสมัยกอนดวย 2.2.2 อาชีพหมอตําแย จากการศึกษา พบว า ผู แต ง ไ ด ส ะท อนให เห็ น ถึ งค า นิ ยมแล ะ ความสําคัญของอาชีพหมอตําแยในชนบทภาคเหนือวา ในสมั ย ก อ นยั ง มี ก ารทํ า คลอดโดยหมอตํ า แย ซึ่ ง สะท อ นให เห็ น ถึ ง ภู มิ ป ญ ญาชาวบ า นที่ ผู ห ญิ ง เหนื อ บางคนไดรับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษฝายหญิง โดยเฉพาะ อาชีพหมอตําแยจึงเปนอาชีพที่ไดรับการ ยกยองอาชีพหนึ่ง เพราะชาวเหนือถือวาเปนอาชีพที่ ไดชวยชีวิตมารดาและเด็กจากการคลอดใหปลอดภัย แต ใ นป จ จุ บั น นี้ อ าชี พ หมอตํ า แยได สู ญ หายไปจาก สังคมชนบท เพราะโรงพยาบาลเปนศูนยกลางในการ รักษาพยาบาล ประชาชนจึงนิยมไปคลอดบุตรที่นั่น อี ก ทั้ ง โรงพยาบาลยั ง มี ย าและเครื่ อ งมื อ ที่ ทั น สมั ย มารดาและเด็ ก จึ ง มี ค วามปลอดภั ย มากกว า การทํ า คลอดโดยหมอตําแย 2.2.3 อาชีพทอผา จากการศึกษาพบวา ผูแตง ไดส ะทอนคานิ ยมเกี่ยวกั บการประกอบอาชี พ ทอผ า ว า อาชี พ ทอผ า เป น อาชี พ ที่ เ กี่ ย วกั บ งาน อุตสาหกรรมในครัวเรือน เพราะจะตองทอไวใสเอง และสวนหนึ่งจะนําออกขาย ผาทอของชาวเหนือในแต ละชุ ม ชน อาจมี ล วดลายและการใช สี ที่ เ หมื อ นกั น คล า ยคลึ ง กั น และแตกต า งกั น ซึ่ ง เป น เอกลั ก ษณ ประจํ า ชุ ม ชน และการทอผ า ผู หญิ ง เหนื อได รับ การ ถายทอดจากบรรพบุรุษผูหญิงใหแกบุตรหลานที่เปน ผู ห ญิ ง เท า นั้ น แต ใ นป จ จุ บั น นี้ ผู ห ญิ ง สาวส ว นใหญ ในชนบทจะนิยมประกอบอาชีพอื่นมากกวาการทอผา เพราะการทอผาจะตองใชระยะเวลาทอนาน และตอง มีค วามอดทน ผู หญิง เหนื อบางคนเห็น ว าการทอผ า แตละผืนใชเวลานาน และการจําหนายก็เปนไปไดยาก

64

ถึ ง แม จ ะได ร าคาสู ง ก็ ต าม ผู ห ญิ ง เหนื อ จึ ง หั น ไป ประกอบอาชี พ อย า งอื่ น ที่ ป ระหยั ด เวลาและได รั บ คาตอบแทนที่ดีกวารายไดจากการทอผาซึ่งมีความไม แนนอน และในปจจุบันนี้การแตงกายของผูหญิงเหนือ เปลี่ ย นแปลงไป โดยผู หญิ ง เหนื อหั น มานิ ย มสวมใส เสื้ อผ าสํ าเร็จ รูป กัน มากขึ้ น เพราะหาซื้ อไดง ายและ ราคาถูกกวาผาทอหนึ่งผืนที่ตองนําไปตัดเย็บเอง 3. ค า นิ ย มเกี่ ย วกั บ การสื บ ทอดขนบธรรม เนียมประเพณี 3.1 คานิยมเกี่ยวกับการจัดการตอนรับ แขกโดยเมี่ยง บุหรี่ และหมาก จากการศึกษาพบวา ผูหญิ งเหนือนิ ยมทําเมี่ยง บุ หรี่ และหมากเก็บไวติ ด บานเสมอ สวนหนึ่งเก็บเอาไวใชและบริโภคเอง และ อีกสวนหนึ่งจะนําออกมารับแขกที่มาเยี่ยมเยียน สวน ใหญชาวเหนือจะนิยมบริโภคเมี่ยงเค็ม คือ การนําใบ เมี่ยงคลุกเคลากับน้ําสมสายชู ใหมีรสชาติกลมกลอม ตามใจชอบ เวลากินก็หยิบเกลือเม็ดผสมเขาไปเพื่อให มีรสเค็มปะแลมๆ และเมี่ยงหวาน คือการนําใบเมี่ยง มาคลุ ก เคล า กั บ น้ํ า ส ม สายชู ผ สมน้ํ า ตาลทรายขาว มะพร า วคั่ ว และถั่ ว ลิ ส ง เพื่ อ ให อ อกรสหวาน จึ ง กลายเปนคานิยมอยางหนึ่งที่ผูหญิงเหนือนิยมปฏิบัติ สืบตอกันมา 3.2 คานิยมการนับถือผีของผูหญิงเหนือ ผี ที่ เ กี่ ย วข อ งอยู ใ นวิ ถี ชี วิ ต ของชาวเหนื อ มี จํ า นวน คอนขางมาก และมีผีจํานวนหนึ่งเชนผีบรรพบุรุษหรือ ที่ เรี ย กกั น ว า ผี ปู ย า ซึ่ ง เป น ผี หรื อวิ ญ ญาณของบรรพ บุรุษที่ลวงลับไปแลว เปนผีประจําตระกูลที่มีการนับ ถืออยูในวงศญาติเดียวกัน โดยจะมีบทบาทและหนาที่ เปนตัวเชื่ อมความสั มพันธในกลุมเครือญาติ ทําให มี การแกไขปญหาหรือยุติขอขัดแยงในหมูเครือญาติได การนับถือผีปูยาจะมีความสัมพันธอยางยิ่งกับการสืบ


เชื้ อสายและการนับ ถือเครือญาติเรีย กว าเปน กลุ ม ผี เดียวกัน ซึ่งเปนการสืบทอดทางสายมารดาสูบุตรสาว ดังนั้นการนับถือผีปูยาจะมีการถายทอดผานทางผูหญิง เทานั้น และเปนคานิยมที่ผูหญิงเหนือปฏิบัติสืบทอด ตอกันมา เปนแบบแผนทางวัฒนธรรมของชาวเหนือ โดยเฉพาะอยางยิ่งเปนการควบคุมทางจริยธรรมและ พฤติกรรมทางเพศของผูหญิงอีกอยางหนึ่งดวย 3.3 การผิดผี จากการศึกษาพบวา ผูแตง ได แ สดงทั ศ นะเรื่ อ งค า นิ ย มเรื่ อ งการผิ ด ผี ว า ผู ห ญิ ง เหนือใหความเคารพนับถือตอผีบรรพบุรุษ เพราะเชื่อ วาผีบรรพบุรุษคอยดูแล ปกปองคุมครองบุตรหลาน เมื่อบุตรหลานทําผิดผีบรรพบุรุษจะไมพอใจ และดล บันดาลใหคนในบานเจ็บปวยและพบเจอแตเรื่องที่ไมดี ทําใหผูหญิงเหนือระวังเรื่องการถูกเนื้อตองตัวผูชาย เปนพิเศษ เมื่อมีการถูกเนื้อตองตัว ผู ชายจะตองขอ ขมาตอผีบรรพบุรุษของผูหญิง โดยการเลี้ยงผีบรรพ บุรุษของผูหญิง จึงทําใหครอบครัวของผูหญิงกลับมา เปนปกติในที่สุด 4. คานิยมเกี่ยวกับการเลือกคูครองและการ สมรส จากการศึกษาพบวา ผูแตงไดสะทอนแนวคิด เกี่ยวกับการเลือกคูครองผานตัวละครเอกหญิงเหนือ วา สวนหนึ่งจะเลือกคูครองที่ฐานะทางเศรษฐกิจและ ตําแหนงหนาที่ของผูชาย เลือกเพราะวัยที่สมควรจะ สมรส เลื อกคู ครองเพราะหลงในหนา ตา และเลื อก สมรสเพราะตามใจบิ ด ามารดาและตอบแทนผู มี พระคุณมากกวาเลือกคูครองเพราะความรัก 5. คานิยมเกี่ยวกับดานภาษา จากการศึกษา พบว า ผู แ ต ง ต อ งการสะท อ นให เ ห็ น ว า ภาษาถิ่ น มี ความสํ า คั ญ ต อ คนในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ และผู แ ต ง ยั ง แสดงทัศนะผานตัวละครเอกหญิงที่เปนผูหญิงเหนือวา ภาษาถิ่นยังเปนภาษาที่ผูหญิงเหนือยังนิยมใชกันอยู

ทั่วไป แตเมื่อนํามาใชพูดที่กรุงเทพฯ ไดรับการดูถูกวา เปนภาษาลาว ผูแตงจึงตองการสะทอนใหเห็นถึงความ ภาคภู มิ ใ จและต องการแก ไ ขความเข า ใจผิ ด ผู หญิ ง เหนือมีภาษาพูดและภาษาเขียนเปนของตัวเอง แตยัง ได รั บ การดู ถู ก จากคนกรุ ง เทพฯ ว า เป น ภาษาลาว เนื่ อ งจากความเข า ใจผิ ด จากหลายสาเหตุ เช น ใน วรรณคดีเรื่องขุนชางขุนแผน ซึ่งมีการกลาวถึงเจาเมือง ลานนาและเจาเมืองลานชางวาเปนลาว เมื่อคนที่ได อานจึงเกิดความเขาใจผิดวาลานนาและลานชางเปน คนลาวเหมื อนคนในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อของ ประเทศไทย หรือคนลาวที่อยูในเวียงจันทน เปนตน ภาษาพู ด ของชาวเหนื อ มี ห ลายสํ า เนี ย ง เพราะใน ภาคเหนือมีหลายชนเผา ดังนั้นการออกเสียงของแต ละชนเผายอมแตกตางกัน นอกจากนั้นชาวเหนือยัง สามารถพูดภาษากลางไดดีเหมือนที่คนภาคกลางพูด กันดวย

อภิปรายผล จากการศึกษาวิเคราะหตัวละครเอกหญิงที่ เป น ผู ห ญิ ง เหนื อ ทํ า ให เ ห็ น ลั ก ษณะเฉพาะในด า น ลักษณะทางกายภาพและลักษณะนิสัยและพฤติกรรม ของตัวละครผูหญิงเหนือ ซึ่งสามารถอภิปรายไดวา ผูแตงเนนในดานลักษณะทางกายภาพของ ตัวละครเอกในเรื่องเกี่ยวความสวย โดยเฉพาะเรื่อง ผิวพรรณของผูหญิงเหนือที่ผูแตงมีความเห็นตรงกันวา มีความสวยงามผุดผอง สวนในดานลักษณะนิสัยและ พฤติกรรม ผูแตงจะเนนใหเห็นถึงความใสซื่อบริสุทธิ์ ไมมีเลหเหลี่ยม ไมทันคน มองโลกในแงดี หัวออน โดย เฉพาะนวนิยายในชวงป พ.ศ. 2493 – 2516 สวนนวนิยาย ในยุคตอมาผูแตงจะเนนถึงความรูสึกทางดานอารมณ

65


ของตัวละครมากขึ้น คือตัวละครมีความตองการทาง เพศ ไมรักนวลสงวนตัว ไมยึดมั่นในความรัก ซึ่งเปน ความรู สึ กทางด า นอารมณ ที่ แ ฝงอยู ใ นชี วิ ต จริ ง ของ มนุษย และมีอยูจริงในสภาพสังคม เพราะไมเพียงแต ผู ช ายเท า นั้ น ที่ ต อ งการมี ภ รรยาน อ ย ผู ห ญิ ง ก็ มี ความรูสึกเชนเดียวกับผูชายที่มีความรูสึกและความพึง พอใจต อ เพศตรงข า ม แต ผู ห ญิ ง ไม ส ามารถแสดง ออกมาได อ ย า งที่ ผู ช ายกระทํ า เพราะค า นิ ย มและ กรอบประเพณี ที่ เป น เสมื อนข อห า มที่ ผู หญิ ง ไม ค วร ปฏิบัติ จากการวิเคราะหภาพสะทอนทางสังคมจาก ตัว ละครผู หญิ ง เหนื อ ทํ า ให เห็ น ลั กษณะเฉพาะของ สภาพสังคมในดานตางๆ ที่แสดงใหเห็นถึงคานิยมใน ดานตางๆ คือ คานิยมดานการประกวดนางงามอาชีพ คานิยมดานอาชีพ คานิยมที่เกี่ยวของกับประเพณีคือ การนั บถือผีและการผิดผี คานิ ยมเกี่ ยวกั บการเลือก คูครองและการสมรส และคานิยมดานภาษา สวนใน ด า นส ถาน ภาพแ ละบ ทบาท ของ ผู ห ญิ ง เหนื อ โดยเฉพาะสถานภาพและบทบาทของภรรยาที่ผูแตง ตองการนําเสนอถึงหนาที่ของภรรยาที่ดีที่พึงปฏิบัติตอ สามี การนําเสนอถึงสิทธิที่ภรรยาหลวงควรไดรับใน กรณี ที่ ส ามี มี ภ รรยาน อ ย หรื อ แม แ ต ก ารลุ ก ขึ้ น สู เพื่อปกปองสิทธิของตนเองที่ตองตกเปนภรรยาทาส ของสามี หรือเปนเพียงชางเทาหลังที่ตองคอยกาวตาม สามี อยู ตลอดเวลา ผู แ ต งยั ง แฝงทัศ นะเกี่ ยวกั บ การ ยึดมั่นในศักดิ์ศรีของผูหญิง เพราะผูหญิงเริ่มแสดงออก ในการคบหาหรือตองการเปนภรรยานอยเพียงเพราะ ตองการมี หน า มี ตาในสั ง คม ผู หญิง จึ ง ยอมแลกด ว ย รางกาย เงินทอง ใหแกผูชายที่คิดวาจะสามารถใหสิ่ง เหลานั้นได อีกทั้งผูแตงยังแฝงทัศนะเกี่ยวกับการรัก ถิ่นกําเนิด และสื่อใหเห็นวาคนเหนือถูกดูถูกวาเปนคน

66

ลาวเพราะกินปลารา พูดภาษาลาว และผูหญิงเหนือ เปนผูหญิงใจงาย ไมรักนวลสงวนตัว ผูแตงจึงพยายาม เขี ย นเพื่ อ แก ไ ขความเข า ใจผิ ด โดยเฉพาะกั บ คน กรุงเทพฯ ใหเขาใจเกี่ยวกับผูหญิงเหนือเสียใหม

ขอเสนอแนะ จากการศึ กษาวิ เ คราะห ตั ว ละครเอกหญิ ง ที่ เ ป น ผู หญิ ง เหนื อ และภาพสะท อนทางสั ง คมจาก ตัวละครผูหญิงเหนือในนวนิยายไทย ผูวิจัยพบวาการ วิเคราะหตัวละครเอกหญิงและภาพสะทอนทางสังคม จากตัวละครผูหญิงเหนือ ยังมีประเด็นที่นาสนใจศึกษา ตอไปคือ 1. ศึกษาวิเคราะหตัวละครเอกชายที่เปนชาว เหนือ ในดานลักษณะทางกายภาพและลักษณะนิสัย และพฤติกรรม 2. ศึกษาสถานภาพและบทบาทของผูชายใน ดานตางๆ 3. ศึ ก ษาแนวคิ ด ของผู แ ต ง ที่ แ ฝงอยู ใ น นวนิยาย 4. ศึกษาวิเคราะหตัวละครเอกหญิงที่เปนคน ภาคกลาง เพื่อเปรียบเทียบวาผูหญิงภาคกลางมีความ เหมื อ นหรื อ แตกต า งจากผู ห ญิ ง เหนื อ อย า งไร โดย การศึกษาจากลักษณะทางกายภาพ ลักษณะนิสัย และ พฤติกรรมของตัวละคร

บรรณานุกรม ภักดีกุล รัตนา. (2543). ภาพลักษณ “ผูหญิงเหนือ” ตั้งแตปลายพุทธศตวรรษที่ 25 ถึงตนพุทธ ศตวรรษที่ 26. ปริญญานิพนธ ศิลปะศาสตร


มหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร). เชียงใหม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. Trisilpa Boonkhachorn . (2007, January June). Sriburapha’s Angels: The Development of Female Images in Sriburapha’s Novels. Thai – Thi Literature. 1(3) : 85 – 86. Bangkok: Chulalongkorn University.

67


68


การเปรียบเทียบองคประกอบและภาพสะทอนทางสังคม เพื่อศึกษาการแปลงนวนิยายเรื่องมาลัยสามชายสูละครโทรทัศน THE COMPARISON OF STRUCTURE AND SOCIAL REFLECTION FOR STUDYING THE TRANSFORMATION “MALISAMCHAI” TO TELEVISION DRAMA นิตยา มูลปนใจ1

Nittaya Munpinchai

บทคัดยอ การวิ จั ยครั้ งนี้ มี วั ตถุ ประสงค เพื่ อเปรี ยบเที ยบองค ประกอบของนวนิ ยายเรื่ องมาลั ยสามชายกั บละคร โทรทัศนทางสถานีโทรทัศนกองทัพบกชอง 5 กับบทสังเคราะหที่ไดจากการรับชมละครโทรทัศน เปรียบเทียบภาพ สะทอนสังคมจากนวนิยาย และเพื่อศึกษากลวิธีการแปลงนวนิยายสูละครโทรทัศน จากการศึกษาพบวา 1) ละคร โทรทัศนที่ดัดแปลงจากนวนิยาย มีความแตกตางจากนวนิยาย ในดานตางๆ ดังนี้ ดานโครงเรื่อง พบวา กลวิธีในการ นําเสนอยังยึดโครงเรื่องตามนวนิยายตนฉบับ และเพิ่มเติม ตัดตอนเนื้อหาในบางสวน เพื่อใหเนื้อเรื่องมีความยาว เหมาะสมกับการนําเสนอละคร ดานตัวละคร และลักษณะนิสัยตัวละคร พบวา ละครโทรทัศนมีกลวิธีในการนําเสนอให ตัวละครนาสนใจ โดยการเพิ่มเติมบทพูดของตัวละครเพื่อใหสื่อถึงลักษณะนิสัยของตัวละครแตละตัวไดอยางชัดเจน และเขาใจไดโดยงาย ดานฉาก พบวา ในการนําเสนอฉากที่ดัดแปลงจากนวนิยายตนฉบับ ผูสรางละครเลือกใชสถานที่ที่ คลายเคียงในการเสนอเนื้อหาของเรื่องโดยไมทําใหบทประพันธเปลี่ยน ดานบทสนทนา พบวา ความแตกตางระหวาง บทสนทนาในนวนิยายกับละครโทรทัศนที่ตางกันคือ มีการเพิ่มบทสนทนาของตัวละคร เพื่อใชสื่อถึงบุคลิก ลักษณะ นิสัยของตัวละครใหชัดเจนมากที่สุด ดานกลวิธี พบวา กลวิธีในการดําเนินเรื่องจะมีบทสนทนาเขามาชวยในการดําเนิน เรื่อง เพราะการเลาเรื่องผานบทสนทนาของตัวละครทําใหเนื้อเรื่องสนใจนาติดตาม 2) ความแตกตางของละคร โทรทัศนกับนวนิยาย อาจเนื่องมาจากระยะเวลาในการนําเสนอ ทําใหละครโทรทัศนถูกดัดแปลงเพื่อใหเนื้อเรื่องและตัว ละครบางตัวอาจตองตัดออกไปเพื่อใหเหมาะสมกับระยะเวลาในการนําเสนอ 3) การนําเสนอภาพสะทอนสังคมจาก นวนิยาย ละครโทรทัศนมิไดดัดแปลงใดใด ยังคงนําเสนอภาพสะทอนสังคม ตามนวนิยายตนฉบับ แตละครโทรทัศน สามารถเขาถึงผูชมไดงายกวานวนิยายโดยสื่อผานบทสนทนาของตัวละคร ภาพสะทอนสังคมที่ปรากฏ คือ สภาพสังคม ไดแก ลักษณะครอบครัว การเลือกคูครอง การแตงกาย ความเชื่อ ไดแก ความเชื่อเรื่องเวรกรรม ความเชื่อเรื่องการ คลอดบุตร ความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ความเชื่อเรื่องเนื้อคู คานิยม ไดแก การศึกษา การมีภรรยานอย คําสําคัญ : การเปรียบเทียบองคประกอบ, ภาพสะทอนสังคม, การแปลงนวนิยายสูล ะครโทรทัศน 1

อาจารยประจําสาขาภาษาไทยและการสื่อสารทางธุรกิจ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

69


Abstract This research aimed to compare the composition of novel, Ma Lai Sam Chai, to television drama broadcasting on Channel 5 and synthetic dialogue including the reflection for understanding the transforming method of novel to television drama. Finding found that 1) Television drama transforming from novel differentiated from novel like following Plot found that presenting techniques is followed to novel but expand and delete some content for the appropriation. Character and habit found that television drama has an interesting method for presenting characters by adding the dialogue. Setting found that setting was adapted to a proper location in Television drama nothing affected the novel. Dialogue found that the difference of novel and television drama was added dialogue for presenting personality and habit of characters. Method found that the developing method had a dialogue and conversation for interesting and suspense. 2) The difference of television drama and novel would come from period of showing characters because of character adaptation so some character was added or deleted for appropriation. 3) The novel reflection was not changed and the television drama can be accessed easier than novel. Reflections appeared were family, lover selection, beliefs. Beliefs were good-bad behaviors, giving birth, supernatural, soul mate. Values were education, second wife. Keyword: The Comparison of structure, social reflection, the transformation to television drama

บทนํา คอนสแตนดิน สตานิสลาฟสกี้ ผูกํากับชาว รัสเซีย กลาววา ละคร คือศิลปะของการสะทอนชีวิต การละครสรางขึ้นโดยพลังมนุษยและสะทอนใหเห็น พลังของมนุษยโดยผานละครนั้น (ถกสังคมผานฉาก ละคร. 2539 : 5) เนื้ อ หาของละครโทรทั ศ น ในป จ จุ บั น ผู ส ร า งได ดั ด แปลงจากบทประพั น ธ ที่ มี ผูเขียนไว อรุโณทัย ภาณุพันธ (แวนขาว 2539 : 48) กรรมการบริ ษั ท บรอดคาสน ไทยเทเลวิ ชั่ น จํ า กั ด

70

ในฐานะผูจัดละครทานหนึ่ง ไดแสดงทรรศนะเกี่ยวกับ ปญหาและขอจํากัดในการผลิตละครวา “ในการจัดทํา ละครนั้น ความถูกตองกับความถูกใจมักจะไปดวยกัน ไมได สาระมากไปคนก็ไมชอบ ปญหาตางๆ ก็มีมาก ผูจัดเยอะ การแขงขันมีสูงมีทั้งการแบงบทประพันธ แบงตัวแสดงและผูกํากับการแสดง ที่มีคุณภาพก็มักจะ เป น ผู กํา กั บ ละครหน า เดิ ม ๆ ผู กํา กั บ รุ น ใหม กลั บ ไม คอยมี และผูจัดเองก็ไมกลาเสี่ยงจางผูกํากับละครหนา ใหมสักเทาไหรกลัวเขาไมไดอยางที่เราตองการ” ดวย เหตุนี้ผูจัดละครสวนใหญจึงมักแกปญหาโดยการเลือก


เรื่องที่ตรงกับความตองการของตลาดคนดู ซึ่งเรื่องที่ ไดรับความสนใจจากคนดูสวนใหญก็มักจะเปนเรื่องที่ นํามาจากนวนิยายทั้งสิ้น ทั้งนี้ในนวนิยายนอกจากจะใหความบันเทิงใจ แกผูอานแลวยังสะทอนสภาพสังคม วัฒนธรรม หรือ ชีวิตความเปนอยูของแตละยุคแตละสมัยผานการเลา เรื่องราว เหตุการณตางๆ ในนวนิยาย การที่นวนิยาย จะไดถูกหยิบยกมาเปนละครโทรทัศนนั้นไมใชวาละคร ทุกเรื่องสามารถนํามาทําเปนละครโทรทัศนได และนว นิย ายเรื่องมาลัย สามชายเป น นวนิ ยายเรื่ องหนึ่ง ที่ มี ผูนํามาสรางเปนละครโทรทัศน อันเปนประพันธของ ว.วินิจฉัยกุล เคยตีพิมพในนิตยสารพลอยแกมเพชร ได ถู ก นํ า มาแปลงเป น บทละครโทรทั ศ น โ ดย ปราณ ประมูล เพื่อออกอากาศทางสถานีโทรทัศนกองทัพบก ชอง 5 จากคําโปรยปกหลังของนวนิยายมาลัยสามชาย วา ในเนื้ อหาสะท อนถึ ง สั ง คม ถ าพิ จ ารณาตามเนื้ อ เรื่องมาลัยสามชายเปน นวนิยายของสตรีที่มีชีวิตยืน ยาวถึง 5 แผนดิน ผูมีความดี และความงาม บริสุทธิ์ ดุจมาลัย แตโชคชะตานําพาใหตองผานการมีคูครอง ถึงสามครั้ง กับชายที่มีคุณลักษณะแตกตางกันถึงสาม ชาย ตลอดเวลา ถึงแมจะผานมาถึงสามชาย อันเปน พฤติกรรมที่ไมยอมรับ ในสังคมยุคนั้น แตผูประพันธ ได นํ า เสนอมุ ม มองใหม ว า คุ ณ ค า ของสตรี อ ยู ที่ ก าร ครองตน แมจะแตงงานหลายครั้งก็ไมลดทอนคุณคา ทางความคิ ด และอารมณ ไ ปตามเงื่ อนไขที่ ป ระสบ สาระของเนื้อเรื่องชี้ใหเห็ นวาความไม ระมัดระวังใน การดําเนินชีวิตใหถูกตองตามทํานองคลองธรรม จะทํา ใหบุคคลนั้นมีแตความตกต่ํา ตรงกันขามกับผูที่ดํารง ตนอยูในกรอบของศีลธรรม มีความซื่อตรง ก็จะพบ ความสุข และผานพนอุปสรรคไดในที่สุด ผูประพันธมี ศิ ล ปะในการสอดแทรกรายละเอี ย ดของสั ง คม วัฒนธรรมในอดีต เขากับเรื่องราวของตัวละครไดอยา

แนบเนียน และชวนติดตาม มาลัยสามชายจึงเปนบท ประพันธที่ทรงคุณคา มีลีลาภาษาที่งดงาม มีศิลปะใน การใช ภาษา ตลอดจนคุ ณ ค า สาระของเรื่ อ ง ผูประพันธสามารถสรางบทสนทนาระหวางตัวละครได เหมาะสมกั บ บุ ค ลิ ก กาลเทศะ และสถานภาพทาง สังคม ทําให นวนิยายเรื่องนี้ไดรับรางวัลดีเดนหนังสือ นวนิยาย ในการประกวดหนังสือดีเดนประจําป พ.ศ. 2551 นั้นยอมแสดงใหเห็นวานวนิยายเรื่องนี้มีความ เดนดานองคประกอบของ นวนิยายอีกทั้งในเนื้อเรื่อง ยั ง สะท อ นภาพสั ง คม ในช ว งระยะเวลาที่ ตั ว ละคร มีชีวิตอยูถึง 5 แผนดิน ด ว ย เ ห ตุ นี้ จึ ง ไ ด ศึ ก ษ า เ ป รี ย บ เ ที ย บ องคประกอบ และภาพสะทอนทางสัง คมเพื่ อศึกษา การแปลง นวนิ ย ายเรื่ อ งมาลั ย สามชายสู ล ะคร โทรทัศน โดยเปรียบเทียบนวนิยายเรื่องมาลัยสามชาย บทประพั น ธ ข อง ว.วิ นิ จ ฉั ย กุ ล กั บ ละครโทรทั ศ น ที่นําเสนอทางสถานีโทรทัศนกองทัพบกชอง 5 จะทํา ให ท ราบถึง องคป ระกอบของนวนิ ยาย และสะท อน ภาพสั ง คม ที่ สื่ อให ผู อ า นและผู ช ม เห็ น ภาพใดบ า ง นอกจากนั้น ยั งได ทราบกลวิธี ใ นการแปลงบทละคร โทรทัศนจากวรรณกรรม วามีความแตกตางกันอยางไร บาง เพื่ อเป นแนวทางในการศึกษาสํา หรับ ครูผู สอน ในการนํ า ไปใช ป ระกอบการเรี ย นการสอนว า ด ว ย วรรณคดี และวรรณกรรม

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เปรียบเทียบองคประกอบของนวนิยาย เ รื่ อ ง ม า ลั ย ส า ม ช า ย กั บ ล ะ ค ร โ ท ร ทั ศ น ท า ง สถานีโทรทัศนกองทัพบกชอง 5 กับบทสังเคราะหที่ได จากการรับชมละครโทรทัศน

71


2. เปรี ย บเที ย บภาพสะท อ นสั ง คมจาก นวนิยาย 3. ศึกษากลวิธีในการแปลงนวนิยายสูละคร โทรทัศน

งานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาผลงานของ ว.วินิจฉัยกุล วิจัยครั้ง นี้ผูวิจัยไดศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ การวิเคราะหภ าพสะทอนสั งคมในนวนิ ยาย รวมถึ ง การวิ เคราะห ในส วนขององคประกอบของนวนิยาย ดังนี้ เพาวิ ภ า ภมรสถิ ต (2528) ได ศึ ก ษาเรื่ อ ง “ความสัมพันธระหวางละครโทรทัศนกับสังคมไทย” จากผลการวิ จั ย พบว า ตลอดช ว งระยะเวลา 19 ป ละครโทรทั ศ น มี ค วามสั ม พั น ธ แ ละมี บ ทบาทกั บ สั ง คมไทย ในด า นการเมื อ ง เศรษฐกิ จ และสั ง คม ละครโทรทั ศ น เป น เครื่ องมื อของผู ป กครอง ในการ สรางความมั่นคง ในการปกครองประเทศ และสราง สั ง คมให ดี ขึ้ น ละครโทรทั ศ น ถู ก ใช เ ป น สื่ อ ระหว า ง ประชาชนกับ รัฐ บาล เนื่ องจากคุ ณ สมบัติ ของละคร ประสิ ท ธิ ภ าพของละครโทรทั ศ น และความนิ ย ม ที่ประชาชนมีใหกับละคร รัฐบาลจึงเห็นความสําคัญ ของละครโทรทัศนวา สามารถเปนตัวแทนในการสื่อ เรื่องราวตางๆ ใหประชาชนรั บรูโ ดยไมรูตั ว ในดา น เศรษฐกิจและสังคม ผูอุปถัมภรายการและผูชมมีสวน กําหนดรูปแบบ และเนื้อหาของละครโทรทัศน ภาวะ ทางเศรษฐกิจมีสวนกําหนดทิศทาง ในการจัดทําละคร ของคณะละคร และรสนิยมของคนดู แตไมวาละคร โทรทัศนจะมีเนื้อหา และรูปแบบใด จะตองไมขัดกับ หลั กเกณฑ และข อบั งคั บ ของสถานี ละครโทรทั ศ น ในชวง 19 ปนี้ จึงอยูภายใตการควบคุมของผูปกครอง

72

ประเทศ ซึ่งใชละครโทรทัศนชวยชี้แนะสังคม ในดาน ศี ล ธรรมจรรยา ความรั ก ชาติ ความจงรั ก ภั ก ดี ต อ พระมหากษั ต ริ ย เพื่ อ ให สั ง คมเกิ ด ความสงบ เรี ย บร อ ยมากกว า จะช ว ยชี้ แ นะสั ง คมให เ กิ ด การ เปลี่ยนแปลง ยุรฉัตร บุญสนิท (2539 : 13) ไดกลาวถึง นวนิยายเมื่อกลายเปนละครโทรทัศน ไววา นวนิยาย นั้นสื่อสารดวย “ตัวอักษร” และโทรทัศนนั้นสื่อสาร ด ว ย “ภาพ” กล า วคื อ ตั ว อั ก ษรนั้ น สามารถสร า ง จินตนาการใหคนอานไดหลากหลาย แตภาพนั้นจํากัด คนดู ให เห็น เปน อย างเดีย วกัน เรื่ องของการตีค วาม ตามตั ว อั กษร ที่ เป น แก น เรื่ อง ใหกลายมาเป น ภาพ จึง เป น สิ่ ง สํ าคั ญ ที่ จ ะไม ทํ าให เนื้ อเรื่ องกลายเป น อื่ น ดั ง เช น ผลงานของกฤษณา อโศกสิ น ที่ จั ด เป น นักเขียนฝมือเยี่ยม ในเรื่องของการอธิบาย “เนื้อแท” ของมนุษย แลวก็จะพยายามอยางยิ่งที่จะใหคนอาน รู จั ก “เล ห ” ของตั ว ละครของตั ว เองให ม ากที่ สุ ด เขาถึงความหยาบ และความละเอียดของมนุษยดวย ตัวอักษรที่บรรจงเลือกเฟนถอยคําใหเห็นภาพตัวละคร ในจิ น ตนาการของคนอ า น ซึ่ ง ผลงาน ของกฤษณา อโศกสิ น ที่ เ ขี ย นลงเป น ตอนๆ ตามนิ ต ยสารต า งๆ ขณะนี้ ถาผูอานติดตามทุกๆ ตอน จะพบวาหลายๆ ตอนที่ ผู เ ขี ย นหน ว งเรื่ อ งไ ว ไ ม มี ค วามคื บ หน า แตพยายามเพิ่มสีสัน บรรยากาศ และความคุนเคยกับ ตัว ละครให ม ากขึ้น บางครั้ ง ก็ แ ทรกเป น บทสนทนา ดวยน้ําเสียงที่แสดงอุปนิสัยของตัวละครผูพูดชัดเจน คมคาย และนาฟง ถอยคําเหลานี้คือ สไตลเฉพาะตัว ของผู เขี ย น และกฤษณา อโศกสิ น ก็ รูจั ก “เสน ห ” ตรงนี้ ของเธอดี เพราะฉะนั้น นวนิย ายของเธอเรื่อง ไหนๆ ก็เหมือนกัน ตัดเสนหที่วาทิ้งไปก็กลายเปนเรื่อง น้ําเนาเรื่องหนึ่ง เพราะโครงเรื่อง (Plot) ของผูเขียน นั้นไปเรื่อยๆ ไมมีจุดเดน ไมวางปมปญหาใหซับซอน


ไมตองการคลี่คลาย คนอานจะรูสึกรื่นรมยตรงถอยคํา บรรยายของผูเขียนเปนสําคัญ นันทา พฤกษพงษ (2541) ไดศึกษาวิเคราะห ตั ว ละครเอกฝ า ยชายในนวนิ ย าย ว. วิ นิ จ ฉั ย กุ ล ผลการศึกษาพบว า เน นการศึกษาในดา นกลวิ ธีการ แนะนําตัวละคร และการสรางตัวละครเอกฝายชาย กลวิ ธี การแนะนํ า ตั ว ละครของผู แ ต ง จะแนะนํ า จาก พฤติ ก รรมของตั ว ละครอื่ น มากที่ สุ ด รองลงมาคื อ การแนะนํ า โดยผู ป ระพั น ธ เ ป น ผู บ รรยาย และวิ ธี แนะนําดวยพฤติกรรมของตัวละครเอง การสรางตัว ละคร ว. วินิ จ ฉั ย กุ ล ใหค วามสํ า คั ญ กับ ภู มิ หลั ง ของ ตั ว ละครในด า นชาติ ต ระกู ล และการอบรมเลี้ ย งดู เปนหลัก เพื่อแสดงวาภูมิหลังเปนสวนสําคัญในการ หล อหลอมบุ ค คล ซึ่ ง จะมี ผ ลต อ บุ ค ลิ กภายใน และ บุคลิกภายนอก นอกจากนี้ผูแตงใหความสําคัญของ การศึ กษาเพราะจะทํ า ให ชี วิ ต ของตั ว ละครประสบ ความสํ า เร็ จ หรื อลม เหลว และมีผ ลตอสั งคมของตั ว ละครดวย ป ย พิ ม พ สมิ ต ดิ ล ก (2541) ศึ กษาลั กษณะ การเชื่อมโยงเนื้อหาระหวางนวนิยายในสือ่ สิ่งพิมพและ ละครโทรทั ศ น เพื่ อ วิ เ คราะห ป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ การ เชื่อมโยง ดัดแปลงเนื้อหาระหวางสื่อนวนิยาย และสื่อ ละครโทรทั ศ น ไ ทยพบว า มี ก ารเชื่ อ มโยงเนื้ อ หา ระหวางนวนิยาย และละครโทรทัศน เชน การสราง แนวคิดและภาพ การเลาเรื่อง ตัวละคร และการสราง ตั ว ละคร และรู ป แบบโครงสร า งของนวนิ ย ายและ ละครโทรทั ศ น มี ลั ก ษณะที่ เ ป น จุ ด ร ว ม และจุ ด แตกต า ง โดยมี ป จ จั ย ที่ มี ผลต อการเชื่ อมโยงเนื้ อหา ได แ ก ธรรมชาติ ของสื่ อ ระบบการสร า งดารา และ ความแตกตางของประเภทรายการ เพ็ ญ จั น ทร มาประชา (2541) ศึ ก ษา วิเคราะหภาพสะทอนสังคมในนวนิย ายของ นิเวศน

กันไทยราษฎร พบวา ภาพสะทอนสังคมในแตละดาน คือ ดานครอบครั วสะทอนภาพครอบครั วที่มี ปญหา ขัดแยงตางๆ และครอบครัว ที่มีความรักความเขาใจ กัน ดานอาชีพสะทอนภาพบุคคลในอาชีพตางๆ เชน ครู ตํารวจ บุคคลในแวดวงบันเทิง ผูชายขายบริการ ดานความประพฤติของคนในสังคม เชน พฤติกรรม ของคนในสังคม เชน พฤติกรรมทางเพศ การดําเนิน ชีวิตแบบนักธุรกิจ ดานปญหาสังคม เชน ปญหาดาน การศึกษา ปญหาการลวงละเมิดทางเพศ ปญหาความ ยากจน โดย นิเวศน กันไทยราษฎร ยังไดแสดงทัศนะ เกี่ยวกับภาพสะทอนในสังคมแตละดาน ผานความคิด ของตัวละคร และน้ําเสียงของผูเขียนไวดวย ผลจาก การศึ ก ษาพบว า ผู เ ขี ย นให ค วามสํ า คั ญ กั บ เรื่ อ ง ครอบครั ว อย า งมาก โดยสะท อ นประเด็ น ของ ครอบครั ว ที่ ก อ ให เ กิ ด ป ญ หาต า งๆ ได ทุ ก รู ป แบบ นอกจากนี้ภาพสะทอนสังคมในนวนิยายที่นํามาศึกษา สว นมากเป นการสะทอนภาพสะทอนในเมืองหลวง และผู เขี ย นมั กจะให ค วามสํ า คั ญ กั บ ผู ห ญิ ง มากกว า ผูชาย สุ รี ย ทองสมาน (2542) ได วิ เ คราะห เปรียบเทียบบทละครโทรทัศนกับนวนิยาย พบวา บท ละครโทรทัศนที่ดัดแปลจากนวนิยาย มีความแตกตาง จากนวนิยาย ในสวนแรก คือ โครงเรื่อง มีกลวิธีในการ นําเสนอโดยยึ ดโครงเรื่ องตามบทประพั นธเปน หลั ก และเพิ่มเติมเนื้อหาในบางสวน เพื่อใหเนื้อเรื่องมีความ ยาวเหมาะสมกับการแสดง โดยเปดเรื่อง และปดเรื่อง ตามที่บ ทประพัน ธกําหนด สว นที่ สอง คือ ตั วละคร และลั ก ษณะนิ สั ย ตั ว ละคร มี ก ลวิ ธี ใ นการนํ า เสนอ โดยการเพิ่มเติมตัวละครประกอบใหเนื้อเรื่องมีความ สนุ ก สนาน และเพิ่ ม เติ ม บทบาทให ตั ว ละครนํ า ดวยการเนนใหเห็นถึงลักษณะนิสัยของตัวละครนั้นๆ ใหชัด เจน และเข าใจไดโ ดยง าย สวนที่สาม คื อฉาก

73


มีกลวิธีในการนําเสนอดวยการดัดแปลงสถานที่ตามที่ บทประพันธกําหนดใหเปนสถานที่ที่สามารถสื่อใหเห็น ถึงเนื้อหาที่นําเสนอไดโดยไมทําใหบทประพันธเปลี่ยน สวนสาเหตุที่ทําใหบทละครโทรทัศนมีความแตกตาง จากนวนิยาย อาจเนื่องมาจากสาเหตุหลัก 3 ประการ ไดแก ผูแสดง ผูชม และระยะในการนําเสนอ ทั้งนี้บท ละครโทรทัศนบางเรื่องถูกดัดแปลงเพื่อใหเหมาะสม กับตัวนักแสดงเปนหลัก ซึ่งอาจมีเหตุผลมาจากเปน นักแสดงที่ไดรับความนิยม โดยมีผูชมใหความสนใจ และติดตาม ผูเขียนบทละครโทรทัศนจึงจําเปนอยาง ยิ่งที่จะตองดัดแปลงเนื้อหาใหเหมาะสมกับการแสดง ของนั ก แสดง และเหมาะสมกั บ ระยะเวลาในการ นําเสนอ โดยไมสั้นหรือยาวจนเกินไป และบทละครที่ ดั ด แปลงจากนวนิ ย ายส ว นใหญ มี แ นวคิ ด เดี ย วกั บ นวนิยาย แตบทละครโทรทัศนสามารถนําเสนอและ สะทอนสภาพสังคมปจจุบันไดชัดเจน และเขาถึงผูชม ไดงายกวานวนิยาย ภัทริยา กัลยานาม (2543) ไดศึกษา ตํานาน และศาสนาใน วอต ดรี ม ส เมย คั ม : การศึ กษา เปรียบเทียบนวนิยายกับภาพยนตร โดยมีจุดประสงค เพื่อศึกษาการดัดแปลงนวนิยายเรื่อง วอต ดรีมส เมย คัม เป นภาพยนตร โดยวิ เคราะห จ ากองค ประกอบ ตางๆ ภายในโครงสรางการเลาเรื่องของนวนิยายกับ ภาพยนตร และศึกษาตํานานและศาสนาที่มีอิทธิพล ตอนวนิ ยายกั บ ภาพยนตร เรื่ องดั งกล าว พบวา การ ดัด แปลงนวนิ ย ายเรื่ อง วอต ดรี ม เมย คั ม เป น บท ภาพยนตร ทํา ให เนื้ อเรื่องและแนวคิ ด หลักของเรื่ อง เปลี่ยนไป ยิ่งไปกวานั้น ตํานานและศาสนาที่ปรากฏ ในนวนิยายกับภาพยนตรมีอิทธิพลตอแนวคิดหลักของ เรื่ อ งที่ แ ตกต า งกั น นวนิ ย ายนํ า เสนอแนวคิ ด หลั ก เกี่ยวกับชีวิตหลังความตายสัมพันธกับความเชื่อทาง

74

ศาสนา สวนภาพยนตรนําเสนอแนวคิดหลักเรื่องความ รักหลังความตายที่สัมพันธกับตํานาน พรพิ ไ ล ธรรมชู โ ชติ (2543) ได ศึ ก ษา วิเคราะหนวนิยายของ ว.วินิจฉัยกุล เรื่องรัตนโกสินทร และสองฝงคลอง ผลการวิจัยไดพบวา ว.วินิจฉัยกุล มี การสรางโครงเรื่องเปนนวนิยายที่ใชฉากประวัติศาสตร โดยสรางตัวละครอิงอยูกับยุคสมัย และเหตุการณตาม ประวัติศาสตรทั้งสองยุค ไดแก เรื่องรัตนโกสินทรเปน ประวัติศาสตรชวงตนรัตนโกสินทร และเรื่องสองฝง คลอง เปนประวัติศาสตรยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย ให ตั ว ละครได รับผลกระทบจากเหตุ การณ ที่ เกิ ด ขึ้ น ในยุ ค สมั ย นั้ นๆ ส ว นในด านแก น เรื่ องทั้ง สองเรื่ องมี แกนเรื่องเดียวกันคือ การตอสูชีวิตเพื่อใหไดสิ่งที่ดีกวา ในการดําเนินเรื่อง มีการสรางโครงเรื่องยอย ตัวละคร ฉาก บรรยากาศ และบทสนทนาเพื่ อแก ปญหาหรื อ คลี่ ค ลายปมข อ ขั ด แย ง ตามกฎเกณฑ หรื อ วิ ธี ก าร ที่ กํ า หนดมาแล ว จากแก น เรื่ อ งโดยใช ข อ มู ล ทาง ประวั ติ ศ าสตร ม าประกอบ ส ว นการวิ เคราะห ภ าพ สะท อนสั ง คม และวั ฒ นธรรม ว. วิ นิ จ ฉั ย กุ ล ได นํ า ความรู และเหตุ ก ารณ ใ นประวั ติ ศ าสตร ม าแสดง ใหผูอานไดเห็นสภาพชีวิต และความเปนอยูของไทย ในด า นต า งๆ ด า นกลวิ ธี การใช ภ าษา ว. วิ นิ จ ฉั ย กุ ล เขี ย นนวนิ ย ายทั้ ง สองเรื่ อง โดยใช โ วหารต า งๆ เช น บรรยาย พรรณนา เทศนา สาธก อุปมา ปณณวรรณ วาจางาม (2548) ไดศึกษาลีลา ภาษาในนวนิ ยายของ ว. วินิ จฉัย กุล จากการศึกษา พบว า ลี ล าภาษาในนวนิ ย ายของ ว. วิ นิ จ ฉั ย กุ ล มีลักษณะเดน คือ การใชคําไดเหมาะสมแกเนื้อเรื่อง และตัวละคร โดยใชคําที่สื่อสารในชีวิตประจําวันของ สามัญชนทั่วไป การเลนเสียง การเลนคํา การซ้ําคํา การซอนคํา การใชคําเลีย นเสียงพูด การใชคําเลีย น เสี ย งธรรมชาติ และการใช คํ า ติ ด ปาก ด า นการใช


วารสารลําปางหลวง

สํานวนโวหารพบวา นิยมใชสํานวนไทย สุภาษิต คํา พั ง เพย การใช บ ทเพลงหรื อ บทกวี การใช โ วหาร อุป ลั กษณ โ วหาร โวหารอติ พ จน โวหารปฏิ รูป พจน และโวหารบุคลาธิษฐาน ดานการใชประโยค พบวา นิยมใชประโยคสั้นที่เปนประโยคความเดียว และการ ใชประโยคยาวที่เปนประโยคความรวม หรือประโยค ความซ อ น ประโยคที่ ใ ช มี ลั ก ษณะเด น คื อ การตั ด บางส ว นของคํ า ในประโยค การเรี ย บเรี ย งคํ า ใน ประโยคสั้ น การละบางส ว นของประโยค ด า นการ บรรยาย และพรรณนา พบวา นิ ยมใช การบรรยาย ความ ในการเลาเรื่องราวของสถานที่ และแสดงภาพ วิถีของตัวละครที่ปรากฏในเรื่อง และการเลาเรื่องราว ของตั ว ละคร ด า นการพรรณนาความ พบว า นิ ย ม พรรณนาโดยใช รายละเอี ย ดในด า นบุ ค คล สถานที่ และสิ่งตางๆ พรรณนาโดยใหรายละเอียดในดานกิริยา อาการของตั ว ละคร และการพรรณนาโดยให รายละเอียดในดานความรูสึก และสภาพอารมณของ ตัวละคร วรางคณา ทวีวรรณ (2552) ไดศึกษาความ ขัดแยงทางสังคมในนวนิยายของ ว. วินิจฉัยกุล เพื่อ วิเคราะหค วามขั ดแยง ทางสั งคม และเพื่อวิเคราะห กลวิ ธี ก ารนํ า เสนอความขั ด แย ง ในนวนิ ย ายของ ว. วิ นิ จ ฉั ย กุ ล พบว า ความขั ด แย ง ทางครอบครั ว เกิดขึ้นเพราะสมาชิกในครอบครัวมีความแตกตางทาง ความคิด เพศ วัย เปนความขัดแยงที่แสดงผานปญหา ชองวางระหวางวัย ทัศนคติ บทบาทหนาที่ การดําเนิน ชีวิตที่แตกตางกัน และการถือตัวเปนใหญของผูชาย ทํ า ให มี ผ ลกระทบต อ ความสั ม พั น ธ ใ นครอบครั ว ความขัดแยงดานศาสนา เกิดขึ้นจากความรูสึกภายใน ระหว า งคนที่ มี ค วามเชื่ อ ทางศาสนาที่ ต า งกั น จึงแสดงออกโดยการคัดคานความเชื่อของศาสนาอื่น ผานการแสดงความคิด และพฤติกรรเพื่อตอตานความ

75

ปที่

1

ฉบับที่

1

มกราคม – มิถุนายน

2556

เชื่ อ และพิ ธี กรรมของศาสนาอื่ น รวมถึ ง การทํ า ผิ ด หลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนา ความขั ด แย ง ด า น ขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี เกิ ด จากการฝ า ฝ น ธรรม เนี ย มประเพณี ข องสั ง คม จากคนที่ อ ยู ภ ายใต วั ฒ นธรรมของตนเอง ซึ่ ง เป น ความขั ด แย ง ใน ขนบธรรมเนีย ม ประเพณีที่เกี่ยวกับ การดํา เนินชีวิ ต คื อ ประเพณี ก ารแต ง งาน และการเลื อ กคู ค รอง ธรรมเนียมการปฏิบัติตัวของผูหญิง และความขัดแยง ของคนต า งเชื้อชาติ ที่ ตองดํ า เนิ นชี วิต อยูใ นสั งคมที่ ไมคุน ความขัดแยงดานการเมืองการปกครอง เกิดจาก การตอสูของคนตางฝายที่มีอุดมการณ หรือลัทธินิยม ทางการเมื อ งที่ ต า งกั น เพื่ อ แย ง ชิ ง อํ า นาจในการ ปกครอง ความขัดแยงดา นเศรษฐกิจ เกิดจากความ ตองการปจจัยทางการเงินของมนุษยเพื่อความอยูรอด เพราะมีผลกระทบตอคุณภาพชีวิต ความขัดแยงดาน ชนชั้น มีสาเหตุจากการถูกกําหนดระดับชั้นทางสังคม ให บุ ค คลมี ส ถานะทางสั ง คมที่ สู ง ต่ํ า ต า งกั น ความ ขั ด แย ง ด า นเชื้ อ ชาติ เกิ ด จากความรู สึ ก แปลกแยก ระหวางคนตางชาติเชื้อเมื่อเห็นความแตกตางทางดาน รางกาย และเกิดจากความแตกตางระหวางภาษา

วิธีการศึกษา การดํ า เนิ น การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป น การวิ จั ย เชิ ง คุณภาพ โดยศึกษาวิเคราะหจากนวนิยาย และจาก ละครโทรทั ศ น ที่ อ อกอากาศทางสถานี โ ทรทั ศ น กองทัพบกชอง 5 นําเสนอผลการวิจัยดวยวิธีพรรณนา วิเคราะห มีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้ 1. ขั้นรวบรวมขอมูล 1.1 ศึกษานวนิยายเรื่องมาลัยสามชาย ของ ว.วินิจฉัยกุล

75


1.2 บทสั ง เคราะห ที่ ไ ด จ ากการรั บ ชม ละครโทรทั ศ น ที่ ป ระกอบด ว ยฉาก ตั ว ละคร บท สนทนา และการบรรยายพฤติกรรมของตัวละคร 1.3 ศึ ก ษาแนวคิ ด ในการวิ เ คราะห วรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการวิเคราะห วรรณกรรม เพื่อนํา มาเป นแนวทางในการวิเคราะห ขอมูล 1.4 ศึ กษาเอกสารที่ เกี่ ย วข องกั บ ภาพ สะทอนสังคมในวรรณกรรม เพื่อนํามาเปนแนวทางใน การวิเคราะหขอมูล 1.5 ศึ กษางานวิ จั ย ที่ เกี่ ย วข องกั บ การ วิเคราะหนวนิยายกับการแปลงสูละครโทรทัศน และ งานวิจัยที่เกี่ยวของกับภาพสะทอนสังคมที่ปรากฏใน วรรณกรรม 2. ขั้นวิเคราะหขอมูล ขั้นตอนในการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดแบง ขั้นตอนในการศึกษาวิเคราะห ดังนี้ 2.1 ศึ ก ษานวนิ ย ายในเชิ ง ปริ ท รรศน เพื่อใหทราบเนื้อหา และรายละเอียดตาง ๆ 2.2 ศึ ก ษาวิ เ คราะห เ ปรี ย บเที ย บ องคประกอบของนวนิยายกับละครโทรทัศน ดังนี้ 2.1.1 โครงเรื่อง 2.1.1.1 โครงเรื่องหลัก/โครง เรื่องรอง 2.1.1.2 การลําดับโครงเรื่อง 2.1.1.3 แนวคิด 2.1.2 ตัวละคร 2.1.2.1 ตัวละครเอก 2.1.2.2 ตัวละครประกอบ 2.1.3 ฉาก 2.1.3.1 สถานที่ แ ละยุ ค สมั ย ทางประวัติศาสตร

76

2.1.3.2 สถานที่ตามเหตุการณ ในเรื่อง 2.1.4 บทสนทนา 2.1.4.1 บทสนทนาที่ ช ว ยใน การดําเนินเรื่อง 2.1.4.2 บทสนทนาที่ แ สดง ลักษณะนิสัยตัวละคร 2.1.5 กลวิธี 2.1.5.1 กลวิธีการเลาเรื่อง 2.1.5.2 กลวิธีการดําเนินเรื่อง 2.1.5.3 กลวิธีการปดเรื่อง 2.3 ศึกษาเปรียบเทียบภาพสะทอน สังคมที่ปรากฏในนวนิยายกับละครโทรทัศน ดังนี้ 2.3.1 สภาพสังคม 2.3.2 ความเชื่อ 2.3.3 คานิยม

ผลการศึกษา จากการศึกษาเปรียบเทียบ สรุปผลไดวา เมื่อ นํามาทําเปนละครโทรทัศน เปนกระบวนการถายทอด เรื่องราวจากหนังสือนวนิยายสูละครโทรทัศนออกมา เป น รู ป ธรรม โดยผ า นตั ว ละครในเรื่ อ ง เพื่ อ ให เหมาะสมกับการนําเสนอละคร สรุปไดดังนี้ การเปรี ย บเที ย บองค ป ระกอบนวนิ ย าย แบงออกไดดังนี้ 1. โครงเรื่อง สวนใหญนําเสนอโดยยึดโครง เรื่องตามบทนวนิยายเปนหลัก แตมีการดัดแปลงดวย การเพิ่มเติมเนื้อหาในบางสวนและรวบรัดตัดเนื้อหา บางสวน เพื่อใหเหมาะสมกับระยะเวลาในการนําเสนอ ละครโทรทัศ น แล ว เรี ย งลํ า ดั บเหตุการณใ ห มีค วาม สอดคลองกันอยางชัดเจน มีความกระชับชัดเจน


2. ตั ว ละคร บุ ค ลิ ก และลั ก ษณะนิ สั ย ตั ว ละคร เห็ น ได ว า การนํ า เสนอบุ ค ลิ ก ลั ก ษณะนิ สั ย ตัวละคร นอกจากจะถายทอดตามที่ผูแตงกําหนดไว ผูจั ดทํ าละครโทรทั ศน ได เพิ่ มเติม เนื้อหาให ตัว ละคร จากบทบาทและพฤติกรรมหรือบทสนทนาที่จะสื่อให ผูชมไดเห็นอุปนิสัยใจคอ อารมณ ความรูสึกที่ซับซอน ผ า น ตั ว ล ะ ค ร ห รื อ ก า ร เ พิ่ ม เ ติ ม ดั ด แ ป ล ง บุคลิกลักษณะนิสัยตัวละครบางตัว โดยการเพิ่มบทพูด ที่ แ สดงถึ ง ตั ว ตนของตั ว ละครนั้ น ๆ นอกเหนื อ จาก ในนวนิ ย าย หรื อ การตั ด ทอนพฤติ ก รรมบางส ว น ผูจัด ทํา ละครถา ยทอดให ผูชมเข าใจด วยบทสนทนา ของตัวละครนั้นๆ หรือผานตัวละครอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เปนผูชวยพูด สามารถสื่อใหผูชมเขาใจตัวละครนั้นๆ ไดเชนกัน 3. ฉาก การทํา ละครโทรทั ศ น เ ป น การ ถายทอดจินตนาการจากนวนิยาย ใหเห็นภาพสถานที่ ที่มองเห็นไดดวยตา และตองสื่อตามที่นวนิยายวางไว พบวา ผูจัดทําละครไดเลือกสถานที่ใหมีความเหมือน ฉากในนวนิ ย ายให ม ากที่ สุ ด แต ก็ มี ก ารดั ด แปลง สถานที่ใหมีความใกลเคียง และสอดคลองกับที่ผูแตง กําหนดไว 4. บทสนทนา ในละครโทรทั ศ น ผู ส ร า ง ละครโทรทั ศ น ไ ด มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น และเพิ่ ม บท สนทนาโดยดัดแปลงจากการบรรยายฉาก การดําเนิน เรื่อง และลักษณะของตัวละคร ผานการสนทนาของ ตัวละคร อาจจะเนื่องดวยละครโทรทัศนการบรรยาย เรื่องราวในเรื่องจะผานบทสนทนาไดงายกวาการเขียน บรรยายในนวนิยาย 5. กลวิ ธี การสร า งละครโทรทั ศ น พบว า เมื่อดัดแปลงเปนละครโทรทัศนการดําเนินเรื่อง เรื่อง ในละครโทรทัศ น กลวิ ธี ในการเลา เรื่ องโดยบุ รุษ ที่ 1 โดยผูเลาเรื่อง คือ ตัวละครเอก และตัวละครประกอบ

เปนผูเลาเรื่อง สรรพนามที่ใชในการเลาเปนบุรุษที่ 1 เชน กระผม ดิฉัน อิฉัน หรือชื่อของตัวละคร ซึ่งในการ เลาเรื่องจะจํากัดอยูในขอบเขตการรูเห็นของคนเลา และมี บ างช ว งที่ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงเหตุ ก ารณ ที่ สําคัญใชวิธีการบรรยายโดยเหตุการณที่เกิดขึ้น หากเปรี ย บเที ย บในภาพรวมของการ ดัดแปลงนวนิยายสูละครโทรทัศน สรุปขอแตกตางได ดังนี้ 1. ความแตกตางที่เ กิด จากการสรา งตั ว ละคร การสรางตัวละครในละครโทรทัศนที่ดัดแปลง มาจากนวนิยาย พบวา ตัวละครในนวนิยาย มีความ แตกตางกัน คือ 1.1 ความแตกตา งดานอุ ปนิสัย พบว า ผูสรางละครโทรทัศนไมมีการดัดแปลงใหแตกตางไป จากนวนิยายมากเทาไหร เพียงแตเพิ่มเติมใหตัวละคร แสดงลั ก ษณะนิ สั ย ให ชั ด เจนขึ้ น ด ว ยการแสดง ความรูสึกนึกคิดผานบทสนทนาของตัวละคร 1.2 ค ว า ม แ ต ก ต า ง ท า ง ด า น บุคลิกลักษณะ พบวา บุคลิกตัวละครในละครโทรทัศน ไม มี ค วามแตกต า งไปจากนวนิ ย าย การสร า ง บุ ค ลิ ก ลั กษณะของตั ว ละครในละครโทรทั ศ น ผ า น บุคลิกของนักแสดง และการแตงกายของตัวละครที่ บ ง บอก ถึ ง ลั ก ษณะตั ว ละครแต ล ะตั ว ได ต รงตาม ลักษณะของตัวละครในนวนิยาย 2. ความแตกตางที่เกิดจากการสรางฉาก การสรางฉากในนวนิยายเปนการสรางฉากที่บรรยาย ดวยตัวหนังสือ แตในฉากละครโทรทัศนเปนฉากที่เกิด จากสถานที่จริง ดังนั้นอาจจะมีการดัดแปลงสถานที่ เพื่อสรางใหเหมือนกับในนวนิยายมากที่สุด เชน ฉาก ซองยี่สุนเหลือง ผูสรางก็พยายามสรางใหเหมือนหรือ คลายเคียงกับนวนิยายมากที่สุด

77


วารสารลําปางหลวง

3. ความแตกตางที่เกิดจากการสรางบท สนทนา การสรางบทสนทนาในละครโทรทัศนจะมี การปรับเปลี่ยน และเพิ่มบทสนทนาโดยดัดแปลงจาก การบรรยายฉาก การดํ า เนิ น เรื่ องและลั กษณะของ ตัวละคร ผานการสนทนาของตัวละคร อาจจะเนื่อง ดวยละครโทรทัศนการบรรยายเรื่องราวในเรื่องจะผาน บทสนทนาไดงายกวาการเขียนบรรยายในนวนิยาย ส ว นการศึ ก ษาวิ เ คราะห ภ าพสะท อ นทาง สังคมที่ปรากฏในนวนิยายและละครโทรทัศน พบวา ละครโทรทัศนไดสะทอนภาพทางสังคม ดังนี้ 1. สภาพสั งคม ได แก ลั กษณะครอบครั ว การเลือกคูครอง การแตงกาย การครองเรือน 2. ความเชื่อ ไดแก ความเชื่อเรื่องเวรกรรม ความเชื่ อ เรื่ อ งการคลอดบุ ต ร ความเชื่ อ เรื่ อ งสิ่ ง ศักดิ์สิทธิ์ ความเชื่อเรื่องเนื้อคู 3. คานิยม ไดแก การศึกษา การมีภรรยา นอย จากภาพสะท อนสั ง คมข า งต น ที่ ป รากฏทั้ ง ในนวนิยายและละครโทรทัศน แสดงใหเห็นวาผูสราง ละครโทรทัศนยังคงยึดการนําเสนอเนื้อหาตามโครง เรื่ อ งของนวนิ ย าย เพื่ อ มิ ใ ห เ จตนาของผู เ ขี ย น ที่ตองการสอดแทรกสภาพสังคมที่เกิดขึ้นในเนื้อเรื่อง บิดเบือนไป และสามารถนําเสนอไดชัดเจน นาสนใจ มากกว า นวนิ ย าย เพราะการสื่ อสารด ว ยภาพ และ เสียง สามารถเขาใจไดงายโดยไมตองตีความ

อภิปรายผล จากการเปรียบเทียบองคประกอบและภาพ สะทอนสังคมของนวนิยายเรื่อง มาลัยสามชาย สูละคร โทรทัศน ในเรื่องขององคประกอบ ไมวาจะเปนโครง เรื่ อง ตั ว ละคร บทสนทนา ฉาก กลวิ ธีการนํา เสนอ

78

78

ปที่

1

ฉบับที่

1

มกราคม – มิถุนายน

2556

ละครโทรทัศนจะมีการดัดแปลง เพิ่ม ลดทอนเนื้อเรื่อง จากนวนิยายใหกระชับลง เพื่อใหเหมาะสมกับเวลา และการนําเสนอ แตการนําเสนอก็ยังคงยึดตามโครง เรื่ อ งของนวนิ ย ายต น ฉบั บ แม ว า จะมี ก ารตั ด ตอน เนื้อหาบางตอนออก แมกระทั่งการลดจํานวนตัวละคร ให น อยลง แต ผู สร า งละครก็ยั ง ถ ายทอดเนื้ อหาของ นวนิยาย ไมไดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากนัก ทั้งนี้ กลวิธีในการเปลี่ยนแปลงนวนิยายสูบทละครโทรทัศน นั้ น จะต องมี การดั ด แปลงไปจากต น ฉบั บ บ า ง ดั ง ที่ รื่นฤทัย สัจจพันธุ. (2538) การนํานวนิยายซึ่งเปน วรรณกรรมเพื่ อ การอ า นมาดั ด แปลงเป น บทละคร โทรทัศ น ซึ่ งเป น วรรณกรรมเพื่ อการแสดง และเป น สวนประกอบสําคัญที่มีบทบาทอยางมากตอการผลิต โทรทัศ นเพื่ อถ ายทอดสารออกสู สายตาสาธารณชน ในทุ ก ระดั บ การศึ ก ษา และสามารถรั บ ชมได อ ย า ง แพร ห ลายในเวลาเดี ย วกั น รวมทั้ ง การเป น สื่ อ ที่ ส ามารถเร า ความรู สึ ก ของผู รั บ สารให เ กิ ด ความ ประทั บ ใจ เห็ น ภาพที่ ชั ด เจนมากขึ้ น นั บ ได ว า เป น กระบวนการผลิ ต ซ้ํ า (Reproduction) ที่ ก อ ให เ กิ ด การพึ่งพาซึ่งกัน และเกิดประโยชนตอบสนองกลับมา แกนวนิยาย จากการนําไปผลิตซ้ํา ถือไดวามีผลตอการ ช ว ยถ า ยทอดสารที่ ผู ป ระพั น ธ น วนิ ย ายต อ งการ ถายทอดใหเกิ ด ทั้ง นี้การนํ านวนิย ายมาผลิต ซ้ํา โดย การแปรรู ป ผ า นสื่ อ ละครโทรทั ศ น ก็ ไ ม ส ามารถ หลีกเลี่ย งการดั ดแปลง ปรั บเปลี่ยนเนื้ อหา รูป แบบ การนําเสนอ ใหเหมาะสม และเขากันไดกับธรรมชาติ ของสื่อละครโทรทัศนที่เปนรูปแบบการแสดงใหเกิด ภาพ (Visual) มากขึ้ น หรื อ ใช ห ลั ก การของกลุ ม หลั ง สมั ย ใหม (Postmodemism) โดยมี ก ารรื้ อ (Deconstruction) และทํ า การปรั บ เปลี่ ย นเนื้ อ หา แ ล ะ ค ว า ม ห ม า ย ใ ห ม ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ยุ ค ส มั ย


ที่เปลี่ยนแปลงไป และเกิดความสอดคลองกลมกลืน กับเนื้อหาที่มีอยูในนวนิยาย ดังนั้นถาหากวากลวิธีการดัดแปลงนวนิยาย สูบทละครโทรทัศน อาจจะตองมีการดั ดแปลง เพิ่ ม หรือลดทอนดานตาง ไมวาจะเปนเรื่องของฉาก การ เพิ่ ม ลด บทสนทนาเพื่ อให สื่อถึ งลั กษณะ และนิ สั ย ของตั ว ละคร รวมทั้ ง เหตุ ก ารณ ข องเรื่ อ งในละคร โทรทั ศ น ใ ห กระชั บ ขึ้ น หรื ออาจจะตั ด ตั ว ละครที่ ไ ม สําคัญออก และเพิ่มตัวละครเขามาบางเพื่อใหมีสวน ในการดํ าเนิ นเรื่อง ดั งเชน การเพิ่ มตั วละคร คื อเน ย เขามาในบางชวงบางตอนของเรื่อง มาเลารายละเอียด เรื่ อ งราวของทองไพรํ า ซึ่ ง ในนวนิ ย ายจะเล า รายละเอียดของทองไพรํา ดวยการบรรยาย แตดวย ความแตกตางของการนําเสนอระหวางนวนิยายที่สื่อ ดวยตัวอักษรสามารถที่จะเขียนบรรยายยาวแคไหน ก็ไดตามที่ผูเขียนตองการ ตางกับละครโทรทัศนที่ตอง สื่อเรื่องราวดวยภาพ จึงไมสามรถที่จะใชบทบรรยาย โดยมีผูเลาเรื่องมาบรรยายไดตลอดเวลา จึงใชตัวละคร ในการเลาเรื่องราวที่เกิดขึ้นแทนการบรรยายเหมือน นวนิยาย กล าวได ว า กลวิ ธี ในการเปลี่ ยนแปลงนวนิ ยาย สูละครโทรทัศนนั้น จะมีการดัดแปลง เพิ่มลดทอนเนื้อ เรื่องจากนวนิยายใหกระชับลง อาจจะทําใหเกิดความ แตกต า งระหว า งบทสนทนา ฉาก และตั ว ละคร บางเล็กนอย

ขอเสนอแนะ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ เพื่ อ เป นแนว ทางใ นการทํ าวิ จั ย เกี่ ย ว กั บ กา ร เปรียบเทียบนวนิยายกับละครโทรทัศน ดังนี้

1. ควรมรการศึกษานวนิยายที่นํามาสราง ละครโทรทัศนซ้ําๆ หลายครั้ง 2. ควรศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บภาษาที่ ใ ช ใ น นวนิยายกับละครโทรทัศน เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยน ของภาษาระหวางนวนิยายกับละครโทรทัศน

บรรณานุกรม กิจจา บุรานนท. (2554). พลอยแกมเพชร. 19(449) : 197 – 204 ; ตุลาคม กุหลาบ มัลลิกะมาส. (2548). วรรณคดีวิจารณ. พิมพครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย รามคําแหง. นันทา พฤกษพงษ. (2541). การวิเคราะหตัวละคร เอกฝายชายในนวนิยาย ว.วินิจฉัยกุล. วิทยานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยทักษิณ. ปณณวรรณ วาจางาม. (2548). ลีลาภาษาในนว นิยายของ ว.วินิจฉัยกุล. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) บัณฑิต วิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ปยะพิมพ สมิตดิลก. (2541). การลักษณะการ เชื่อมโยงเนื้อหาระหวางนวนิยายในสื่อ สิ่งพิมพและในละครโทรทัศน. วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการ สื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เพ็ญจันทร มาประชา. (2541). การวิเคราะหภาพ สะทอนสังคมในนวนิยายของนิเวศน กัน ไทยราษฎร. ปริญญานิพนธการศึกษา มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

79


พรพิไล ธรรมชูโชติ. (2543). วิเคราะห นวนิยาย ของ ว. วินิจฉัยกุล เรื่องรัตนโกสินทรและ สองฝงคลอง. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหา บัณฑิต (ไทยศึกษา). มหาวิทยาลัย รามคําแหง. เพาวิภา ภมรสถิต. (2528). การศึกษากระบวนการ ในการผลิตละครโทรทัศนไทย. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคม วิทยาและมานุษยวิทยา). บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. ไพรถ เลิศพิริยกมล. (2542). วรรณกรรมปจจุบัน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช. ภัทริยา กัลยานาม. (2543). ตํานานและศาสนาใน วอต ดรีมส เมยคัม : การเปรียบเทียบ นวนิยายกับภาพยนตร. ปริญญาอักษร ศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ยุรฉัตร บุญสนิท (2539). วรรณวิจารณ. สงขลา : โครงการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ภาคใต. ยุวพาส (ประทีปะเสน) ชัยศิลปวัฒนา. (2544). ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวรรณคดี. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : นานมีบุคส พับลิเคชั่นส. รื่นฤทัย สัจจพันธุ. (2531). อิทธิพลวรรณกรรม ตางประเทศที่มีตอวรรณกรรมไทย. พิมพ ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัย รามคําแหง.

80

. (2531). วรรณกรรมปจจุบัน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช. ว. วินิจฉัยกุล. (2552). มาลัยสามชาย เลม 1. พิมพ ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ทรีบีส. . (2552). มาลัยสามชาย เลม 2. พิมพครั้ง ที่ 4. กรุงเทพฯ : ทรีบีส. . (2548). วรรณคดีศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทธารปญญา. วนิดา บํารุงไทย. (2543). ศาสตรและศิลปแหง นวนิยาย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. วรางคณา ทวีวรรณ. (2552). ความขัดแยงทาง สังคมในนวนิยายของ ว.วินิจฉัยกุล. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย). บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุจิตรา จงจิตร. (2547). มนุษยกับวรรณกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. สุรพงษ ยิ้มละไม. (2545). วรรณกรรมศึกษา. ภาควิชาสารัตถศึกษา. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. สุรีย ทองสมาน. (2542 ). การวิเคราะห เปรียบเทียบบทละครโทรทัศนกับนวนิยาย. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ไทย ศึกษา). มหาวิทยาลัยรามคําแหง. อิงอร สุพันธุวณิช. (2552). วรรณกรรมวิจารณ. กรุงเทพฯ : แอคทีฟ พริ้นท.


น้ําเพียงดิน : มุมมองความงามและปรัชญาคุณคา NAMPIANG DIN : PERSPECTIVE OF AESTHETICS AND PHILOSOPHY OF VALUE

ชัยเนตร ชนกคุณ1 Chainet Chanogkun

บทคัดยอ บทความนี้ คือผลจากการศึกษาบทรอยกรองที่มีชื่อวา น้ําเพียงดิน ของ เนาวรัตน พงษไพบูลย ในรวม ผลงานที่มีชื่อวา เขียนแผนดิน โดยใชวิธีการวิจารณแนวสุนทรียศาสตรและเชิงสังคมศาสตรเปนเครื่องมือ ตาม แนวสุนทรียศาสตรนั้นพบวาผลงานนี้ ปรากฏคุณคาทางดานความงามหลายประการ โดยอาศัยความเปรียบและ กลวิธีการสรางสรรคตางๆจนสามารถหยิบยกปรัชญาความงามของธรรมชาติที่ซอนในสถานที่แหงนั้นออกมาให ผูอานไดสัมผัสไดชัดเจน และการสรางสรรคนั้นไดมีการจัดวางลําดับการนําเสนอคลายกับเรื่องสั้น โดยมีจุด ขัดแยงและจุดสุดยอดเขามารวมประกอบสราง ทําใหบทกวีชิ้นนี้มีความพิเศษมากยิ่งขึ้น ในเชิงสังคมศาสตร ปรากฏวามุมมองของผูเขียนนั้น ยังคงอาศัยวิธีการสรุปความตามความเขาใจของตนเองเปนหลักเกี่ยวกับทองถิ่น โดยผูเขียนละเลยรายละเอียดของชีวิต และใชมุมมองแบบชนชั้นกลางมาตัดสินมากจนเกินไป จนเสมือนวางาน เขียนดังกลาวไดแฝงลักษณะของความเปนอื่นในเนื้องานของตน และตอกย้ําคุณคาของที่แทจริงของสังคมชนบท คําสําคัญ : น้ําเพียงดิน; เนาวรัตน พงษไพบูลย Abstract This article is derived from the comprehensive study of a poem called “Nam Piang Din” composed by Naowarat Phongpaiboon, which is altogether collected in a piece of work called “Kien Pan Din”. This article applied cretinism methods of aesthetics and social sciences as a tool. According to the aesthetic principle, it found that this piece of work appears various aesthetic values and creative mechanism where thenatural aesthetics hidden in such place can be drawn out for the readers. For the creativity techniques, the presentation of the poem is put in order like a short story of which the rising action and climax point are perfectly composed. It makes the poem more exclusive. In light of social sciences principle, it appears that the writer’s perspective remains the techniques of self-conclusion according to own 1

อาจารยสาขาวิชาภาษาไทยและการสื่อสารทางธุรกิจ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง

81


understanding regarding the locality. The writer ignores the details of life and overuses the hierarchy perspective to the extent that this poem reflects the features of otherness, and it also emphasizes on the actual value of rural society. Keyword : Nam Piang Din; Naowarat Phongpaiboon รินรินใสไหลเซาะไพเราะร่าํ มาตกลําแมปายรวมไหลลอง ครึ้มภูผาปาปกเสียงนกรอง กลอมประคองอยูเคียงจําเรียงริน อยูลึกล้ําน้าํ มุดมาผุดพุง เสมอคุงขอบบอน้ําหลอหิน จึงไดชื่อลือร่ําน้ําเพียงดิน อยูสุดถิ่นแดนไทยทีช่ ายแดน ที่ชายชลดลประเทศเขตพมา ที่น้ําปาเปนรอยดอยเปนแสน ที่ฟาใสภูสูงยูงรําแพน ที่ผูคนยากแคนยังเคียงคง คนเพียงภูสูเพียงสิน้ ถิ่นเพียงที่ ฟาเพียงสีไมเพียงหินดินเพียงผง รุงเพียงเรืองเมืองเพียงเหยาเผาเพียงพงศ ยืนเพียงยงคงเพียงคําน้าํ เพียงดิน น้ําเพียงดิน ศ. ๒๑ ธ.ค. ๒๕๒๒ ๑๒.๕๔ – ๑๓.๔๐ น. อ.น้ําเพียงดิน จ. แมฮองสอน เขียนแผนดิน เนาวรัตน พงษไพบูลย

82


ผมชอบบทกวีชิ้นนี้ เมื่อตองคนหาบทกวีสักชิ้นที่จะพิจารณาถึง ความงามของชิ้ น งาน โดยไม ต องไปคํ า นึ ง ถึ ง บริ บ ท ตางๆ ของงานหรือเกี่ยวกับผูเขียน แตใหเลือกเฉพาะ ชิ้นงานที่ตนเองสามารถนําความรูเรื่องการวิจารณแนว สุนทรียศาสตรมาวิเคราะห และมีความหมายที่จรรโลง จิตใจตอผูอาน ผมจึงไดมุงไปที่ผลงานของกวี ทานนี้ ในทันที แลวเฟนหางานที่คิดวาจะสามารถตอบสนอง ความตองการของตนเองได มีความงามที่เพียบพรอม มีความหมายที่สื่อความไดจับใจ และที่สําคัญ ตองไม ยาวจนเกินไป ความโดดเดนของบทกวีชื่อ น้ําเพียงดินนี้ มี เรื่องที่ตองกลาวถึงหลายเรื่องดวยกัน ตามแบบฉบับ ของการศึ ก ษาเชิ ง สุ น ทรี ย ศาสตร หรื อ ความงามที่ ปรากฏ แต ส ามารถแบ ง รายละเอี ย ดการพิ จ ารณา หลักๆ ได 3 กรณีดวยกันดังนี้ 1. รูปแบบ 1.1 ฉันทลักษณ บทกวีชิ้นนี้มีลักษณะการแตงแบบกลอนแปด หรือกลอนสุภาพทั่วไป ที่มีจังหวะของเสียงที่ชัดเจน บทที่ 1 - 3 ใช จั ง หวะการอ า นแบบ 3 – 2 - 3 ตอเนื่องไมขาดเกินไปตลอด และในบทสุดทาย ก็เปน แบบ 3 – 3 - 3 ทั้งบท เรียกไดวา กวีมีความสามารถ ที่จะสรางสรรคงานใหเปนรูปแบบที่ตายตัว โดยการ รักษาจังหวะของกลอนไดเปนอยางดี แมบทสุดทายจะ มี จั ง หวะที่ ต า งออกไป (แต เ ป น ความจงใจที่ ก วี จ ะ กล า วถึ ง ความหมายของชิ้ น งาน ที่ จํ า เป น ต องใช คุณสมบัติแบบ 3 – 3 - 3) การพิจารณาถึงฉันทลักษณนั้น แมจะมีความ เปนรูปแบบที่เฉพาะตัวของกวีแตละทาน แตเรื่องของ ความเปนเฉพาะตัว (style) นั้นกับกวีบางทานเปน

เรื่ อ งที่ ไ ม อ าจมองข า ม เพราะความงามที่ เ รากํ า ลั ง ศึกษาอยูนั้น เปนที่สงผานมาทางแบบลักษณไดดวย ขนบบางประการของกวี เสถียร จันทิมาธร เคยกลาวไววา เนาวรัตน พงษไพบูลย เปนนักกลอนแนวอคาเดมิก (Academic) หรือกวี ที่นิ ยมรูป แบบเกา มี การศึ กษาของเก าอยา ง เครงครัด แลวเดินตามแบบแผน เรียกวา “เสนทาง แรกของการตอสูดานแบบแผน” ดวยยุคสมั ยที่มีการโหยหารูปแบบใหมเพื่ อ ตอบสนองนักกลอนหนุมสาว ที่เบื่อของเกา กลอน ฉันทลักษณแบบเดิมๆ ที่นิยมกันมานาน เชน กาพย กลอน โคลง ฉันท จึงไดถูกมองขาม ทําใหยุค สมั ย ดั ง กล า ว มี ก ารเผยแพร ข องกลอนเปล า หรื อ world bank กันมาก เพราะเปนงานเขียนที่ผอน คลายและมี ค วามอิ ส ระในการนํ า เสนอ ชุ ด คํ า ที่ สั้ น กระชับ ไพเราะ บวกกับสารที่ชัดเจน ก็สามารถสราง บทกวีขึ้นมาได โดยไมตองไปคํานึงถึงรูปแบบ (Form) ที่จะเอามาบรรจุ สัมผัสทั้งหมด อิสระจากกัน ดังนั้น ชวงเวลาดังกลาว กลอนเปลาจึงไดมีความนิยมอยาง แพร ห ลาย แต นั ก กลอนที่ มี ค วามสามารถในการ ถ า ยทอดงานตามแบบฉั น ทลั กษณ อย า ง เนาวรั ต น ก็ ยั ง คงรั กษาทิ ศ ทางของตนเองได อย า งมั่ น คง และ ทยอยสร า งสรรค ผ ลงานที่ โ ดดเด น ออกมาอยู เ สมอ ภายใตรูปแบบฉันทลักษณดั้งเดิมเหลานี้ ดวยความเปนนักกลอนที่สามารถถายทอด ความงามออกมาจากสิ่งรอบขาง จากธรรมชาติ สายลม และแสงแดด จึงไมแปลกที่เนาวรัตน พงษไพบูลย จะมี ความเห็นเกี่ยวกับฉันทลักษณ โดยแปลวา ...เป น แบบอย า งที่ น า พึ ง พอใจ หมายถึงการใชภาษาโดยวิธีที่ทําใหนาพอใจ หรือประเทืองใจ ซึ่งเปนความหมายที่กวาง

83


กว า ความหมายที่ เ ข า ใจกั น โดยทั่ ว ไป อั น หมายเพี ย งการใช ภ าษาประเภทกาพย กลอน โคลง ฉันท แตสวนเดียวเทานั้น ฉันท ลักษณ จั ด อยู ในวรรณศิ ล ป (กรรมวิ ธี หนึ่ ง ของวิ จิ ต รศิ ล ป ) เพราะเป น การถ า ยทอด ความดีงามแหงความรูสึกนึกคิดออกมาทาง ภาษาหนังสือที่ดีงาม เนาวรั ต น ถื อ ว า ฉั น ทลั ก ษณ เ ป น กระบวนการศิ ล ปะแห ง การถ า ยทอด ความรู สึ กนึ กคิ ด ของคน ศิ ล ป น ต อ งยึ ด ถื อ ความดีงามเปนองคประกอบศิลป อันที่จริง คํา วา ศิ ลปะก็ คื อความดีง าม ฉะนั้น ความดี งามก็ เ ป น องค ป ระกอบของศิ ล ปะ แปล ในทางตรรกะได ว า ความดี ง าม ประกอบ ความดี ง าม ความหมายที่ ชั ด เจนก็ คื อ การ ปรากฏขึ้นของความดีงามนั่นเอง... ดังนั้นการที่กวีใชรูปแบบฉันทลักษณในการ นําเสนอเรื่องราวตางๆ จึงเปนการสืบตอความดีงาม จากรุนสูรุนนั่นเอง 1.2 สัมผัส ความงามอยางหนึ่งที่ปรากฏในงานแบบฉันท ลักษณก็คือกลวิธีการสรรคําที่ผูกรอยเขาดวยกันเปน บทกลอน จะเห็นไดวาในบทกวีชิ้นนีม้ ีความงามที่เกิด จากการร อยคํ า มากมาย จนเกิ ด เป น สั มผั ส ที่ งดงาม แยบยลไปจนจบชิ้นงาน โดยแบงไดดังนี้ 1.2.1 สัมผัสใน 1) สัมผัสสระ ทุกบาทกวีรจนาภาษาไดอยาง กลมกลืน ไมขาดเกิน สรางจังหวะของการเชื่อมคําของ กลอน แบบ 3 – 2 - 3 หรือ 3 – 3 - 3 ไมมีสัมผัสกัน ทั้งหมด เชน

84

รินรินใสไหลเซาะไพเราะร่าํ … ...ครึ้มภูผาปาปกเสียงนกรอง… ...อยูลึกล้ําน้ํามุดมาผุดพุง เสมอคุงขอบบอน้ําหลอหิน… 2) สัมผัสอักษร ในบางวรรคที่ไมสัมผัสสระ กวีเลือกใชสัมผัสอักษรแทน เชน ...เสมอคุงขอบบอน้ําหลอหิน… ...ที่น้ําปาเปนรอยดอยเปนแสน ที่ฟาใสภูสูงยูงรําแพน ที่ผูคนยากแคนยังเคียงคง และในขณะเดี ย วกั น กวี ที่ เ คร ง ครั ด เรื่ อ ง ฉันทลักษณ ยอมตองเดินไปใหถึงจุดหมายในเรื่องของ สัมผั ส และรั กษาความหมายในขณะเดี ยวกัน จึ งได พยายามรักษาจังหวะของตนเองไว จึงจะเห็นสัมผัส กรายมาประกอบ เชน ในวรรคที่ 4 ของบทที่ 2 ...อยูสุดถิ่นแดนไทยทีช่ ายแดน… สังเกตเห็นไดวาสระนั้นรูปรางไมเหมือน แต เมื่ อ อ า นออกเสี ย งแล ว สามารถเป น สั ม ผั ส ที่ ต รงตั ว เชนกัน นับวาเปนชั้นเชิงทางกวีอีกประการหนึ่ง การรับชวงตอของสัมผัสนอกของวรรคกอน ก็มีการแปลงมาเปนสัมผัสใน โดยการใชสัมผัสอักษร เปนตัวแปร เชน วรรคที่ 3 กับ 4 ของบทที่ 1 ...ครึ้มภูผาปาปกเสียงนกรอง กลอมประคองอยูเคียงจําเรียงริน วรรคที่ 3 กับ 4 ของบทที่ 2 ...จึงไดชื่อลือร่ําน้าํ เพียงดิน อยูสุดถิ่นแดนไทยทีช่ ายแดน


วรรคที่ 3 กับ 4 ของบทที่ 3 ...ที่ฟาใสภูสูงยูงรําแพน ที่ผูคนยากแคนยังเคียงคง 1.2.2 สัมผัสนอก สัมผัสทีส่ งจากแตละวรรค มีความงดงามเปน อยางยิ่ง กวีมีการเลือกคําอยางตั้งใจ เพื่อถายทอด น้ําเสียงที่ไพเราะสงถายถึงกัน ตัวอยางของคําสุดทายในทุกวรรค ของบทที่ 1 กวีตองการเลนกับเสียง ร- ล ดังนี้ รินรินใสไหลเซาะไพเราะร่าํ มาตกลําแมปายรวมไหลลอง ครึ้มภูผาปาปกเสียงนกรอง กลอมประคองอยูเคียงจําเรียงริน นับเปนอีกเจตนาของกวี ที่จะขับเนนเสียง ร – ล ใหเปนที่โดดเดนในบท เพราะวาจะประกอบไป ดวย ตัวอักษร ร กับ ล เปนหลัก แมกระทั่งคําสุดทาย ก็ยังใช ร – ล เปนอักษรนําอีกเชนกัน ความไพเราะ จึงไดเพิ่มมากขึ้น 2. จังหวะและน้ําหนักเสียง 2.1 จังหวะและน้ําเสียง

๐๐ส๐ซ๐๐๐ ๐๐ค๐ค๐๐๐ ๐๐ถ๐ทท๐๐ ๐๐ส๐ส๐๐๐ ๐๐ค๐ค๐คค

– – – – –

นักกลอนที่โดดเดนดานรูปแบบ รูดีวาขนบ ของ กลอนแปดมีเสียงของวรรณยุกตมากํากับประจํา จุดตางๆ เพื่อขับเนนเสียงใหเกิดความไพเราะ บทกวี ชิ้นนี้มีการวางเสียงวรรณยุกตไดตรงตามจังหวะและ น้ําเสียง โดยเฉพาะคําสุดทายของวรรคที่ 2 ในทุกๆ บท จะเป น เสี ย ง จั ต วา เพื่ อ ให เ กิ ด ความไพเราะ โดยเฉพาะอย า งยิ่ งในการอา นออกเสี ยง คํา สุ ดท า ย ตองการพื้ น ที่ ใ นการเอื้อนเสี ยงยาวเพื่ อส ง ตอลู กคอ หรือจังหวะไปยังทอนตอไป แตยกเวนคําสุดทายของ วรรคที่ 2 ในบทที่ 1 ...มาตกลําแมปายรวมไหลลอง… กวีไมสามารถกํากับเสียงเอก หรือ จัตวาได จึงตองใชเสียง ตรี (ลอง) ซึ่งตามปกติ มักพบตําแหนง อื่น แตอาจเปนเพราะการตองการโยงคําใหเขากับคํา วา ไหล และชุดดังกลาวยังเปนการสรางชุดสัมผัสคํา ของเสียง ร –ล ดังที่อธิบายขางตน กวีจึงไมอาจเลี่ยง ใชเสียงนี้ไปได การสร า งชุ ด คํ า สั ม ผั ส เพื่ อ ให เ กิ ด ความ ไพเราะของบทกวี ไมไดเกิดเฉพาะบทที่ 1 เทานั้น ยัง ปรากฏในตอนอื่นๆดวยเชนกัน เนื่องจากบทกวีบทนี้ ต อ งการสร า งความงามให ป รากฏ และเกิ ด ความ ไพเราะในการอ า น ชุ ด สั ม ผั ส จึ ง ได เกิ ดขึ้ น มากมาย เพื่อเนนน้ําเสียงของกวีใหเดนมากขึ้นตามจังหวะ เชน

รินรินใสไหลเซาะไพเราะร่าํ กลอมประคองอยูเคียงจําเรียงริน อยูสุดถิ่นแดนไทยทีช่ ายแดน ที่ฟาใสภูสูงยูงรําแพน ที่ผูคนยากแคนยังเคียงคง

เนนเสียง ส เนนเสียง ค เนนเสียง ท เนนเสียง ส เนนเสียง ค

85


2.2 การเลนคํา มีการเลนคําอยูหลายแบบ การซ้ําคํา หรือ การขึ้นตนลงทายดวยอักษรเดียวกัน เปนตน จะเห็น ไดวามีการใชเทคนิคแบบนี้ในหลายๆ แหง เชน รินรินใสไหลเซาะไพเราะร่าํ มีการซ้ําคําวา ริน ซ้ํายังเปนการขึ้นตนดวย อักษร ร เหมือนกัน อีก ทั้งบทนี้ทั้งบท ยังจบดวยคําเดิม ในวรรคสุดทายของ บทอีกดวย กอนเขาสูจุดจบของเรื่อง ในบทที่ 3 กวีใชคํา วา ที่ ขึ้นตนทุกวรรค เพื่อเพิ่มรสชาติ อารมณ และ ความหมายที่ตองการสื่อสาร ในบทที่ 2 วรรคแรก ...อยูลึกล้ําน้ํามุดมาผุด พุง... มีการเลนคําที่มีความเปนปฏิทรรศน (paradox) หรือความหมายที่ขัดแยงกัน โดยคําวา มุด กับ ผุด มี ความหมายที่แตกตางกันอยางชัดเจน แตกวีก็เอามา เรียงรอยอยูในทอนเดียวกัน เพื่อขยายลักษณะของน้ํา ที่ พ บเห็ น ว า คล า ยกั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ส ามารถขึ้ น ลงได อยางมีชีวิตชีวา ในบทสุดทาย กวีไดใชคําวา เพียง อันเปนคํา ที่มาจากสถานที่ที่กําลังกลาวถึงเปนตัวสื่อภาษา เพื่อ นําผูอานเขาสูจุดไคลแมกซ (Climax) ของเรื่อง ซึ่งคํา นี้ เป น คํ า ที่ มี ค วามหมายคลุ ม เครื อ และกว า งขวาง เพื่อใหผูอานไดตีคา และเดินตามคุณคาที่กวีนําทางไว แลว ดังนั้นจึงอาจหมายถึงคําเปรียบเทียบ ความหมาย ที่นอยนิดและยิ่งใหญ คําที่เป นทั้ง paradox และ irony โดยจับคํ าตางๆ เข าคูกัน มีความงดงามทั้ ง จังหวะ ภาษา เสียง และความหมาย

3. ความงามและปรัชญาคุณคา บทกวีชิ้นนี้ เพียบพรอมไปดวยความงามตาม แบบอยางทุกประการ เชน ความเปรียบ อุปมา อุปไม โดยนัยและโดยตรง แตความงามเหลานี้เปนเพียงสวนประกอบ ของความอลังการที่อยูเบื้องหลังของทุกอารมณ และ ทุกเฉดสี ที่ปรากฏ ทําใหความยิ่งใหญที่มองเห็น เปนเพียงคุณคาที่เล็กนอย บทกวี ชิ้ น นี้ มี ส ว นประกอบหลายอย า ง คลายๆ กับเรื่องสั้น หากนํา ทฤษฎีแบบไพรทากซมา เปรียบเทียบ ตั้งแตการดําเนินเรื่อง ฉาก บรรยากาศ การเร า ความสนใจ ไปจนถึ ง จุ ด สุ ด ยอดของเรื่ อ ง (Climax) นับวาสวนตางๆ เหลานี้ ไดปรากฏขึ้นในบท กวี เกิดความนาสนใจ นาติดตาม และมีความหมาย มากกวาบทกวีธรรมดาที่จะถายทอดอารมณความรูสึก ตอธรรมชาติ “น้ําเพียงดิน” แบงสวนของตัวเองออกมา 4 ส ว น อั น หมายถึ ง กลอน 1 บทได แ สดงตั ว ได เป น 1 สวน ไลเรียง กันไป ซึ่งบทกวีชิ้นนี้ไดถูกผูกเรื่องเอาไว เพื่อนําเสนออยางแนบเนียน บทที่ 1 เป น การบรรยายลั ก ษณะโดยรวม ของภูมิประเทศ เขต สถานที่ของจุดทองเที่ยวที่นี่ มีลํา น้ําแมปาย อยูทามกลางธรรมชาติของขุนเขา รายลอม ดวยเสียงนกรอง ทัศนียภาพที่เจนตาของปาเขา อัน เปนภูมิทัศนตามสายตาของกวี ...มาตกลําแมปายรวมไหลลอง ครึ้มภูผาปาปกเสียงนกรอง… บทที่ 2 กวี เ ริ่ ม ที่ จ ะแสดงความจํ า เพาะ เจาะจงถึงสถานที่ทองเที่ยวแหงนี้ชัดเจนยิ่งขึ้น นั่นก็ คือ ตรงจุดที่ชื่อวา “น้ําเพียงดิน” ตัวเอกของเรื่อง ที่

86


ตองกลาวถึง เรื่องราวของตัวละคร ลักษณะของตั ว ละคร เปนสถานที่ที่มีน้ําผุดขึ้นมาจากดิน จากบอ ... อยู ลึ ก ล้ํ า น้ํ า มุ ด มาผุ ด พุ ง ...เป น ลั ก ษณะของตาน้ํ า ที่ เกิ ด ขึ้ น ตามธรรมชาติ ต น กํ า เนิ ด ของสายน้ํ า เอ อ ออกมาจากขอบบอท ว มลานหิ น อั นเป น เสมื อนฉาก ของน้ําเพียงดินแหงนี้ ...เสมอคุงขอบบอน้ําหลอหิน... ลักษณะเชนนี้เอง ที่เปนการขนานนามใหกับผูคนได เรี ย กขาน ...จึ ง ได ชื่ อ ลื อ ร่ํ า น้ํ า เพี ย งดิ น ... และเป น สถานที่อยูในชัยภูมิที่รูจักกันดีวาเปนเขตชายแดนของ ประเทศไทยและพม า ...อยู สุ ด ถิ่ น แดนไทยที่ ชายแดน… บทที่ 3 การผู ก เรื่ องที่ ผ า นมาดู จ ะไ ร ความหมาย หากขาดเรื่องราวในตอนที่ 3 ไป เพราะ เปนการใหนิยาม ความหมายของสถานที่แหงนี้ใหมี ความชั ดเจนมากยิ่ งขึ้ น โดยเฉพาะอารมณของคํา ที่ เนนย้ําคําวา “ที่” ที่ปรากฏนําในแตละวรรค ที่ชายชลดลประเทศเขตพมา ที่น้ําปาเปนรอยดอยเปนแสน ที่ฟาใสภูสูงยูงรําแพน ที่ผูคนยากแคนยังเคียงคง… ใหเห็นวาสถานที่แหงนั้นเปนที่ใด เปนความ เฉพาะของสถานที่ แ ห ง นี้ เ พี ย งแห ง เดี ย ว ความงาม ความอลังการ และความหมายที่จะเกิดนับแตนี้ ก็คือ สถานที่แหงนี้เพียงเทานั้น สถานที่ที่เปนชายแดนเขต พมา ณ ดินแดนที่มีภูเขานับรอยๆ ลูกสลับทับซอนกัน ในปาลึก ที่มีความอุดมสมบูรณ ทั้งสัตวปา และตนไม สูงใหญ (กวีใชนกยูงเปนตัวแทนความอุดมสมบูรณของ ผืนปา จะเห็นวามีความเหมาะสมอยูมากทีเดียวในการ เลื อ กชนิ ด ของสั ต ว เพื่ อ สื่ อ ถึ ง ความอุ ด มสมบู ร ณ เพราะนกยูงตองอาศัยอยูในปาลึกเทานั้น ตนไมที่จะ เลือกเปนอาณาเขตประกอบกิจกรรมของตนเองก็ตอง

เป น ต น ไม ที่ มี ข นาดสู ง ใหญ ด ว ย) ณ ดิ น แดนที่ ผู ค น ชาวบาน อาศัยกันตามแบบอยางของชาวปาชาวเขา ตามวิถีชีวิตดั้งเดิม บทที่ 4 สวนสําคัญที่เปนเสมือนการนําไปสู จุดสุดยอด (Climax) ของเรื่อง เมื่อกวีตองการขยาย ความหมายของคําวา น้ําเพียงดิน ปรากฏเปนหัวใจ หลั ก ของงานทั้ ง หมด กวี จึ ง เลื อ กที่ จ ะใช คํ า ที่ มี ความหมายเปนไปในเชิงเปรียบ มาผูกเรื่อง โดยนําคํา วา “เพียง” เปนตัวเชื่อมคําที่มีความหมายตางกัน เชน น้ํากับดิน ความหมายใกลเคียงกัน เชน เผากับพงศ รุง กั บ เรื อ ง ถิ่ น กั บ ที่ ยื น กั บ ยง เป น ต น และใช คํ า ที่ มี ความหมายสัมพันธกัน เชน คนกับภู ดินกับผง เปนตน มาลอเขาดวยกันในบทนี้ แลวจบดวยคําวา ...ยืนเพียง ยงคงเพียงคําน้ําเพียงดิน เปนบทสรุปที่สะทอนถึงปรัชญาการมองโลก และชีวิต ความลึกล้ําเชนนี้เกิดจากอารมณที่ละเมียด ละไมเป น อย า งยิ่ ง และที่ สํ า คั ญ เป น ภู มิ ที่ ก วี ส ะสม ตั ว เองจากธรรมชาติ ที่ ยิ่ ง ใหญ นั่ น เอง เพราะบทกวี “น้ําเพียงดิน” เปนการสะทอนคุณคาและความหมาย ของทุกสรรพสิ่งเขาไวดวยกัน ความยิ่งใหญ หรือความหมายใดๆ ที่นับเปน คุณคาเกินกวาจะเปรียบเทียบแลว สุดทายความสูงสง เหลานั้นก็ตองโนมตัวลงมาคารวะตอผูที่นอบนอมที่สุด ละลายรางเพื่อกลับเปนสามัญใหกับทุกสรรพสิ่ง ความงดงามของบทกวีชิ้นนี้ มีการพรรณนา เกี่ ย วกั บ น้ํ า มาโดยตลอดตั้ ง แต เ ริ่ ม ต น บทที่ 1 ได กลาวถึงความงามของสายน้ําที่ไมเพียงงดงามตามสีสัน ที่สะทอนจากแสงแหงธรรมชาติเทานั้น แตยังงดงาม ดวยเสียงที่เคลาเอาปาทั้งปา เขาทั้งเขา และนกรองที่ กองไพร เปนเสียงเพลงเหกลอมกองประคองไปทั้งปา เขา

87


ในบทที่ 2 นั้นยังเนนย้ําคุณคาของสายน้ํา เสมือนเปนสิ่งมีชีวิต ที่สามารถขับพุงพนตนเองออกมา จากตาน้ํา อันเปนแหลงเริ่มตนของทุกชีวิตใหไดดื่มกิน และเปนจุดกําเนิดของทุกสิ่งทุกอยาง ในบทที่ 3 ก็พรรณนาถึงสายน้ําอันลดเลี้ยว ตามหุบเขา เปนรอยเปนแสน น้ําเปนเสมือนลมหายใจ ของทุ กสิ่ ง ขุ น เขาที่ เป น แหล ง รวมของอาหาร นั้ น ก็ ได รั บ การหล อเลี้ ย งจากสายน้ํ า เหล า นี้ เหมื อนเป น ความจริงเชิงสัมบูรณที่มิอาจปฏิเสธคุณคาที่มากมาย ของสายน้ํา และการยกยองตอสายน้ํา จนกลายเปน แม ใ นที่ สุ ด เป น สิ่ ง ที่ ไ ด รั บ ความเคารพบู ช า มี ประเพณีมากมายเกี่ยวกับน้ํา การรําลึกถึงพระคุณของ สายน้ําที่มีตอผูคน ตอโลกใบนี้ ...คนเพียงภูสูเพียงสิ้นถิ่นเพียงที่… แตทามกลางการยกยองเชิดชู น้ําเองก็มิได แสดงตนเองใหลึกซึ้งเกินไปกวาความเปนจริงของชีวิต คนบนภูเขามีการตอสูกันมานานเรื่องแผนดินและที่ทํา กิน วัฏจักรของมนุษยเมื่อเกิดแลวตองดับสูญ ทิ้งรางไว บนพื้นดิน วันแลววันเลา รางแลวรางเลา แตมีสิ่งหนึ่ง ที่ยั ง คงอยู ไมเคยเปลี่ย นไปไหนก็ ยั งคงเป น ผืน ดิ น ที่ สิ่งมีชีวิตไดเหยียบย่ําอยูใตฝาเทา ...ฟาเพียงสีไมเพียงหินดินเพียงผง… ฟาที่เปลี่ยนสี ก็มิใชเพราะคุณคาของฟากฟา ที่จะเนรมิตสีสันไดดวยตนเอง แตเปนเพราะกาลเวลา ที่ ทํ า ให สี สั น อั น อุ ป โลกน นั้ น เปลี่ ย นแปลงไ ป เหมือนกับบทกวีของ พจนาถ พจนาพิทักษ ชื่อ สีสัน – สีสรรพ ทองทะเล (3) ที่ กลา วถึ งสี สัน แหง ทองฟ าว า ใครเปนผูแตงแตมสีสันบนทองฟา แสงเหลืองที่เรืองรอง ราวแสงทองที่เรืองกาล สัมพันธเปนสายพาน ยึดโยงยานเปนสายใย

88

สายใยซึ่งใสซอน อยูบางตอนเมื่อเพงไป สายเกินไปหรือไม หากเพิ่งรูตั้งตําถาม วาฟามีกี่สี นามแหงสีมีกี่นาม เปลี่ยนแปรแตละยาม ไดอยางไร ใครเลือกสี เหมือนกับไรคําตอบ แตหากตอบกลับเหมือนมี คําถามก็เชนนี้ ยั่วชีวีอยูเชนนั้น แทฟาอาจไรสี และปวงสีใชนิรันดร เพียงแสงที่แปลงผัน ผานมิติแหงเวลา สัมพันธอันถูกซอน ละเอียดออนทุกตอนมา สีสัน ทะเล ฟา ผูคนหา ยอมคนพบ ฯ (พจนาถ พจนาพิทักษ. 2547 : 3)

เมื่อกาลเวลาผานไป ทุกสิ่งทุกอยางก็ กลายเปนเพียงเศษธุลี ...รุงเพียงเรืองเมืองเพียงเหยาเผาเพียงพงศ… ความเจริ ญ รุ ง เรื องของเผ า พั น ธุ ม นุ ษ ย ที่ มี การสะสมอารยะธรรมกันมานาน เปนประวัติศาสตรที่ ภาคภู มิ ใ จก็ ถึ ง คราวสู ญ สิ้ น สุ ด ท า ยมนุ ษ ย ก็ มิ ไ ด คํา นึ ง ถึ ง สิ่ ง อื่น คงคิ ด ถึ ง แต ผ ลประโยชน ของตนเอง ชีวิตตนเอง และเผาพันธุของตนเปนสําคัญ ...ยืนเพียงยงคงเพียงคําน้าํ เพียงดิน… และคุณคาเหลานี้ ทั้งหมดก็สามารถสรุปได เพียงคําวา “น้ําเพียงดิน” เพราะสุดทาย ผืนดินที่สงบ และไมเคยเผยคุณคาของตนเองมากอน แตสํานึกของ คุณคานั้น เปนไปอยางเงียบเชียบ รอคอยใหสีสันและ คุ ณ ค า ได แ สดงตั ว ให ถึง ที่ สุ ด อวดโฉมได เต็ ม ที่ เพื่ อ สะทอนวามายาที่แทจริงยอมจํากัดอยูในตัวเอง แตสัจ ธรรมที่แทจริง ยอมมิอาจหาญแสดงตนแตอยางใด บทดังกลาว จึงเปนเสมือนวรรคทองของบท กวีชิ้นนี้อยางมิตองสงสัย


ขอสังเกต ถึงอยางไรก็ตาม บทกวีชนิ้ นี้ก็ยังตองคํานึงถึง ความสมจริงของชีวิต แมจะเลือกวิเคราะหบทกวีชิ้นนีแ้ นว สุนทรียศาสตร แตก็ไมอาจมองขามสังคมที่ปรากฏอยู ในบทกวีชนิ้ นี้ เพราะสภาพความเปนอยูของชาวบานที่ ผูแตงกลาวถึง ดูจะขัดแยงกับความเปนจริง โดยเฉพาะ บทที่ 3 วรรคที่ 4 กลาววา ...ที่ผูคนยากแคนยังเคียงคง วรรคดัง กล าวพูด ถึง ชี วิต ของผู คนที่ป รากฏ ตามสายตาของกวี ที่ไดพบเห็น เปนการกลาวถึงผูคน เพียงทอนเดียวเทานั้น ในบทกวีชิ้นนี้ทั้งหมด การตีความหมายของคําวา ผูคนยากแคน ยัง เคียงคง ทําใหสามารถนึกภาพของชีวิตผูคนที่ปรากฏ ตามชนบท อยู ต ามป า เขา ที่ มี ค วามยากแค น แสน สาหัส ความยากจนที่ปรากฏตามสื่อที่เคยไดพบเห็น เปนภาพของผูคนที่ยากไรแมกระทั่งอาหาร แหลงน้ํา อดอยาก แต ง ตั ว สกปรก เสื้ อ ผ า ขาดวิ่ น และต อ ง ทํางานหนักเพื่อแลกเปลี่ยนกับอาหาร หรือที่อยูอาศัย ดวยสภาพของชุมชนปาเขา และสังคมที่เปน ชายขอบของประเทศ จึงไมแปลกใจที่กวีจะสรุปภาพที่ พบเห็ น ว า เป น สั ง คมที่ ย ากแค น เป น แผ น ดิ น ที่ ค น เหลานี้ยังสูอดทน ปากกัดตีนถีบตามยถากรรม แต ก ารนิ ย าม และกล า วถึ ง ของกวี อาจมี ความสมจริงเพียงบางประการเทานั้น ข อ เท็ จ จริ ง ของชุ ม ชนที่ นี่ มี ค วามเป น อยู อย า งไร ต อ งอาศั ย การสํ า รวจข อ เท็ จ จริ ง ข อ มู ล ที่ สามารถอ า งอิ ง ได เพราะความยากแค น นั้ น เป น คุณสมบัติของชาวบาน ที่ปรากฏในสื่อวาทกรรมของ สวนกลางมานาน ความยากจนที่แทจริง เปนเพียงอัต ลักษณของชายขอบ ที่นิยามโดยสวนกลาง

ในหนังสือเลมที่ชื่อวา เขียนแผนดินนั้น เปน การรวบรวมการเดิ น ทางของกวี ที่ ชื่ อว า เนาวรั ต น พงษ ไ พบู ล ย เดิ น ทางไปทั่ ว ประเทศ เพื่ อ เก็ บ เกี่ ย ว เรื่องราวการเดินทาง ตั้ง แตเหนือจรดใต ตะวันออก จรดตะวั น ตก บั น ทึ ก ภาพที่ เ ห็ น วิ ถี ชี วิ ต สั ง คม ประเพณี การละเล น วั ฒ นธรรม สิ่ ง แวดล อ ม ธรรมชาติ และภาษาถิ่นของชุมชนที่ไดพบพานบันทึก เปนบทกวีตามฉันทลักษณตางๆ กันไป ดังนั้นบทกวีสวนใหญจึงมีการกลาวถึงผูคนที่ พบเห็น และสิ่งตางๆ ที่เกี่ยวกับผูคน แตในบทกวี ที่ ชื่อวา น้ํา เพีย งดิ น นั้น เป นบทกวี ที่ ตองการกล าวถึ ง สถานที่แหงหนึ่ง ที่มีชื่อเดียวกันกับชื่อเรื่อง แตขนบ ของการเดิ น ทาง ต อ งกล า วถึ ง เจ า ของพื้ น ที่ อ ย า ง หลี กเลี่ย งไม ได กวีจึ ง ได แทรกเรื่ องราวของผู ค นที่ นี่ เอาไวด วย แตเพียงสั้นๆ ตามความคิดแบบกวี ตาม ระเบี ย บของรั ฐ ตามแบบอย า งกวี ร าชสํ า นั ก ว า ชาวบ า นที่ อ าศั ย ตามชนบทจะต อ งมี ค วามเป น อยู อย า งไร มี ชี วิ ต เป น อย า งไร ความสะดวกสบายที่ แตกต า งจากกวี ต อ งเป น ความทุ ก ข ท นประการใด สุดทายจึงไดสรุปวาเปน...ที่ผูคนยากแคนยังเคียงคง คํ า กล า วเช น นี้ เ ป น การตี ค วามตามความ เขาใจของผูเขียนเอง เพราะความสนใจที่มีตอสถานที่ มากกวาที่จะสนใจวิถีชีวิตของผูคน อาจทําใหเกิดมิติที่ แบนราบ และการเดินทางเพียงเพื่อผานทางของกวี ก็ อาจเปนลักษณะการมองและกลาวถึงอยางผิวเผิน สังคมชนบท โดยเฉพาะตามปาเขานั้น เปน สั ง คมที่ มี ค วามเป น อยู ที่ ใ กล เ คี ย งกั บ สั ง คมไทยใน สมัยกอนการพัฒนาของสังคมแบบอุตสาหกรรมมาก ที่สุด เนื่องจากชีวิตความเปนอยูที่นี่ ไมไดใชเงิน สิ่ง อํ า นวยความสะดวกมาเป น ตั ว วั ด แต เ ป น สั ง คมที่ คํานึงถึงความสงบสุขของชีวิตเปนหลัก วิถีชีวิตที่นี่ อยู อาศัย แบบพึ่งพาอาศัยกั น ข าวและผั กที่ป ลูกกั นเอง

89


ตามไรนา อาหารก็มาจากปาเขา ที่มีความเพียบพรอม ไปทุ ก อย า ง สั ต ว ป า หน อ ไม เห็ ด และผลไม ต าม ฤดู กาล เสื้ อผ าที่ ถักทอกัน เอง และแลกเปลี่ ย นตาม หมูบานเพื่อสลับสายลายผา การเดินทางที่นิยมเดิน มากกวารถโดยสาร ยานพาหนะที่นิยมใชมากที่สุด ก็ คือวัวตาง เพราะความสะดวกสบายในการขึ้นเขาลง หวย อันเปนธรรมชาติของที่นี่ การซื้อขายแลกเปลี่ยน เพียงประการเดียวที่เกิดขึ้น ก็คือเกลือ กะป น้ําปลา ที่ ไมสามารถผลิตขึ้นมาไดเอง แตชาวบานก็ใชจายอยาง ประหยั ด เพราะความจํ า เป นที่ ต องสะสมทรั พ ย นั้ น แทบไมมีความหมาย ในสมั ย ที่ พ.ต.ท.ทั ก ษิ ณ ชิ น วั ต ร เป น นายกรั ฐมนตรี ความคิด เรื่ องของการจั ดแบ งคนจน และคนรวยเกิดขึ้นอยางแพรหลาย ในเมืองไทยก็มีการ สํารวจเกิดขึ้น โดยวัดจากมูลคาการจับจายใชสอยของ ชุมชนชาวบาน ตัวเลขที่ปรากฏคือสถานะของหมูบาน วาอยูในระดับใด (มูลคาการเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือ GDP เป น ค า มาตรฐานสากลที่ ใ ช เป น เกณฑ การ ประเมินของทั่วโลก) ปรากฏวาหมูบานที่มีมูลคาเติบโต ทางเศรษฐกิจนอยที่สุด หรือยากจนที่สุดก็คือหมูบาน แหงหนึ่ง ในจังหวัดนาน (จําไมไดแลววาชื่อหมูบาน อะไร) หลั ง จากนั้ น นั ก วิ ช าการที่ ไ ม เ ห็ น ด ว ยกั บ แนวความคิดที่เอาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมไปครอบงํา ชาวบานก็ไปพิสูจนความจริงดวยตนเอง โดยใหเหตุผล วากองทุนหมูบานที่เปนนโยบายของรัฐบาลจะทําลาย ระบบเศรษฐกิจแบบชาวบานได หากรัฐยังสนับสนุน การใช จ า ยเงิ น ที่ เ กิ น ตั ว ของชุ ม ชน ผลการสํ า รวจ ปรากฏวา หมูบานดังกลาว เปนหมูบานที่ยากจนใน ความหมายของรัฐชัดเจน เพราะวากองทุนหมูบานที่ รั ฐ ให ไ ป ไม มี ใ ครเอาไปใช แ ม แ ต ค นเดี ย ว เพราะว า ชุมชนที่นี่มีการผลิต และบริโภคที่จํากัดอยูแตในชุมชน การซื้อขายดวยเงิน ไมจําเปนในหมูบานแหงนี้ ความ

90

เปนอยูที่เรียบงายเหลานี้ ไมไดทําใหชาวบานเปนกลุม คนที่จนที่สุดในประเทศ แตในทางกลับกัน ชาวบาน ที่นี่กลับเปนคนที่รวยที่สุดในประเทศเสียอีก ป 2533 กับปที่ นายกคนเดิมอยูหางกันถึง เกื อบ 17 ป เชื่ อแน ว าสภาพของผูค นที่ หมู บ านน้ํ า เพีย งดิน จัง หวั ดแม ฮองสอน กั บชาวบ านในจัง หวั ด นาน คงไมตางกัน มีสังคมที่อยูอาศัยกับปาเหมือนกัน แตกลับถูกคนจากสวนกลางขนานนามเหมือนกันวา เปนคนที่ยากแคน และจนดักดาน การตี ค วามในบริ บ ทดั ง กล า ว จึ ง อาจเป น เพียงมุมมองที่ไมรับผิดชอบตอสังคมมากนัก เพราะกวี ที่ มี ค วามโดดเด น และเป น ต น แบบของสั ง คม ควร ละเอียดออนตอชาวบานที่ตนพบเห็นเชนกัน คุณคา ของชิ้นงาน จึงจะสามารถสื่อความหมายของคุณคา ผูคนไดอยางแทจริง และเปนน้ําเพียงดินที่งดงามดวย ธรรมชาติ และผูคนอยางแทจริง บรรณานุกรม เนาวรัตน พงษไพบูลย. (2536). เขียนแผนดิน. กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งแอนด พลับลิชชิง่ . พจนาถ พจนาพิทักษ. (2547). “สีสัน – สีสรรพทอง ทะเล (3),” สารคดี. 20(231) : 3 ; พฤษภาคม


ใบสมัครขอสงบทความลงตีพิมพ (การกรอกใบสมัครโปรดใชวิธีการพิมพ) เรียน

บรรณาธิการวารสารลําปางหลวง

ขาพเจา  นาย  นาง  นางสาว  อื่นๆ (โปรดระบุ) ….……………….……….….…… ชื่อ – สกุล................................................................................................................................................... ตําแหนงทางวิชาการ (โปรดระบุ)  ศาสตราจารย  รองศาสตราจารย  ผูชวยศาสตราจารย  อาจารย  อื่นๆ ระบุ................................................................................................................ สถานที่ทํางาน ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... โทรศัพทที่ทํางาน......................................................โทรศัพทมือถือ............................................................ โทรสาร.....................................................................E-mail........................................................................ มีความประสงคขอสงบทความ เรื่อง : ชื่อบทความ.............................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. เพื่อลงตีพิมพในวารสารลําปางหลวง กองบรรณาธิการสามารถติดตอขาพเจาไดที่  สถานที่ทํางานที่ระบุขางตน  ที่อยูดังตอไปนี้ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... โทรศัพท...................................................................โทรศัพทมือถือ............................................................ โทรสาร.....................................................................E-mail........................................................................ กรณีที่ไมสามารถติดตอขาพเจาได กองบรรณาธิการสามารถติดตอบุคคลดังตอไปนี้ ชื่อ – สกุล..................................................................................................................................................... โทรศัพท....................................................................................................................................................... โทรสาร.....................................................................E-mail.......................................................................... มีความเกี่ยวของเปน...................................................................................................................................... .........................................................ลายมือชื่อ (................................................) เจาของบทความ

91


รายละเอียดการเตรียมบทความเพื่อสงตีพิมพ วัตถุประสงคของการจัดพิมพวารสาร ดวยคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ไดมีนโยบายสนับสนุนการเผยแพร ผลงานวิชาการในรูปแบบของวารสาร เพราะเห็นวาจะเปนประโยชนตอการพัฒนาความรูทางวิชาการแกสังคม และ ประเทศชาติ โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ 1. เพื่ อ ส ง เสริ ม การเผยแพร ผ ลงานวิ ช าการและงานวิ จั ย ด า นมนุ ษ ยศาสตร แ ละสั ง คมศาสตร ของคณาจารยและนักศึกษา ตลอดจนบุคคลทั่วไป 2. เพื่อเปนสื่อกลางการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการที่มีเนื้อหาในลักษณะสหวิทยาการ ดานภาษา - ภาษาศาสตร, วรรณกรรม - วรรณคดี, ศิลปะและวัฒนธรรม, สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ฯลฯ อันจะ นําไปสูการสรางเครือขายทางวิชาการดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรที่เขมแข็ง คําแนะนําการเตรียมตนฉบับ บทความที่รับตีพิมพในวารสารไดแก 1) นิพนธตนฉบับที่เปนบทความวิจัย 2) นิพนธปริทัศน 3) บทความ วิชาการ 4) บทวิจารณเชิงวิชาการ โดยใหพิมพผลงานดวยกระดาษ เอ 4 พิมพหนาเดียว จํานวนไมเกิน 15 หนา สว นประกอบของบทความวิ จั ย ประกอบด ว ย บทคั ด ย อ บทนํ า วั ต ถุ ป ระสงค ข องการวิ จัย อุ ป กรณ แ ละ วิธีดําเนินการวิจัย ผลการวิจัย สรุปและอภิปรายผล และเอกสารอางอิง หมายเหตุ: ทุก บทความตอ งมีบ ทคัด ยอ เปน ภาษาไทยและภาษาอัง กฤษ ในกรณีที่ตีพิมพบ ทความเปน ภาษาตางประเทศ ตองมีบทคัดยอเปนภาษาไทยดวย ขอกําหนดในการเตรียมตนฉบับ  ขนาดกระดาษ เอ 4  กรอบของขอความ ในแตละหนาใหมีขอบเขตดังนี้ จากขอบบนของกระดาษ 1.8 นิ้ว ขอบลาง 1.0 นิ้ว ขอบซาย 1.25 นิ้ว ขอบขวา 1.0 นิ้ว  ระยะหางระหวางบรรทัด หนึ่งชวงบรรทัดของเครื่องคอมพิวเตอร  ตัวอักษร ใชไทยสารบรรณ (TH SarabunPSK) และพิมพตามที่กําหนดดังนี้ o ชื่อเรื่อง (Title) - ภาษาไทย ขนาด 18 point, กําหนดชิดซาย, ตัวหนา - ภาษาอังกฤษ (ตัวอักษรพิมพใหญ) ขนาด 18 point, กําหนดชิดซาย, ตัวหนา o ชื่อผูเขียน (ทุกคน) - ชื่อผูเขียน ภาษาไทย – อังกฤษ ขนาด 14 point, กําหนดชิดซาย, ตัวหนา - ที่อยูผูเขียน ขนาด 14 point, กําหนดชิดซาย, ตัวหนา o บทคัดยอ - ชื่อ “บทคัดยอ” และ “Abstract” ขนาด 16 point, กําหนดกึ่งกลาง, ตัวหนา

92


- ขอความบทคัดยอภาษาไทย ขนาด 14 point, กําหนดชิดขอบ, ตัวธรรมดา - ขอความบทคัดยอภาษาอังกฤษ ขนาด 14 point, กําหนดชิดขอบ, ตัวธรรมดา - ยอหนา 0.5 นิ้ว o คําสําคัญ (Keyword) ใหพิมพตอจากสวนบทคัดยอ (Abstract) กอนขึ้นสวนของเนื้อหา ควรเลือก คําสําคัญที่เกี่ยวของกับบทความ ประมาณ 4-5 คํา ใชตัวอักษรภาษาไทย หรือ ภาษาอังกฤษ ขนาด 14 point o รายละเอียดบทความ - หัวขอใหญ ขนาด 16 point, กําหนดชิดซาย, ตัวหนา - หัวขอรอง ขนาด 14 point, กําหนดชิดซาย, ตัวหนา - ตัวอักษร ขนาด 14 point, กําหนดชิดขอบ, ตัวธรรมดา - ยอหนา 0.5 นิ้ว  คําศัพท ใหใชศัพทบัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน  ภาพและตาราง กรณีมีภาพและตารางประกอบ ชื่อภาพใหระบุคําวา ภาพที่ ไวใตภาพประกอบ และจัดขอความบรรยายภาพใหอยูกึ่งกลางหนากระดาษ ชื่อตารางใหระบุคําวา ตารางที่ หัวตารางใหจัดชิดซายของ หนากระดาษ และใตภาพประกอบหรือตารางใหบอกแหลงที่มาโดยพิมพหางจากชื่อภาพประกอบหรือเสนคั่นใตตาราง 1 บรรทัด ใชตัวอักษรขนาด 14 point ตัวปกติ ตัวอยาง ภาพประกอบที่นํามาอางและการบอกแหลงอางอิง

ภาพที่ 1 ศาลาพระเจาพันองค วัดปงสนุก ที่มา: http://www.teeneelanna.com/moojoomhao/home/space.php?uid=1&do=blog&id=1017

93


ตัวอยาง ตารางที่นํามาอางและการบอกแหลงอางอิง ตาราง 1 แสดงคาแคลอรี่ในอาหารประเภทอาหารจานเดียว ชนิดอาหาร ขาวมันไก ขาวหมูแดง ขาวผัดปูใสไข ราดหนา ผัดซีอิ๊ว ผัดไทย บะหมี่หมูแดง เสนหมีล่ ูกชิ้นเนื้อสด สุกี้ยากี้น้ํา กระเพาะปลา

แคลอรี่

หมายเหตุ

459 254 377 214 425 411 231 187 221 138

ที่มา: http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=blossoms&month=15-082010&group=5&gblog=4

 กิตติกรรมประกาศ ใหประกาศเฉพาะการไดรับทุนสนับสนุนการวิจัย  การเขียนเอกสารอางอิง 1) เอกสารอางอิงทุกฉบับตองมีการอางอิงหรือกลาวถึงในบทความ 2) หัวขอ เอกสารอางอิงไมตองใสหมายเลขกํากับหนาหัวขอ 3) การเรียงลําดับเลขการอางอิงตามเอกสารอางอิงทายบทความให อางอิงโดยการเรียงลําดับหมายเลขอางอิงเริ่มจากหมายเลข 1,2,3 ไปตามลําดับที่อางกอน-หลัง โดยใชเลขอารบิคภายใต วงเล็บใหญตอจากบทความที่อางอิง เชน ลักษณะการเจริญเติบโต [1]……… และทุกครั้งที่มีการอางซ้ําจะตองใช หมายเลขเดิมในการอางอิง 4) การอางอิงในตารางหรือในคําอธิบายตารางใหใชเลขที่สอดคลองกับที่ไดเคยอางอิงมากอน แลวในเนื้อเรื่อง o การอางอิงจากเอกสารมากกวา 1 ฉบับตอเนื่องกันจะใชเครื่องหมายยติภังค (hyphen หรือ -) เชื่อม ระหวางฉบับแรกถึงฉบับสุดทาย เชน [1-3] แตถาอางถึงเอกสารที่มีลําดับไมตอเนื่องกัน จะใชเครื่องหมายจุลภาค (comma หรือ ,) โดยไมมีการเวนชวงตัวอักษร เชน [4,6,10] o รายละเอียดของเอกสารอางอิงทายเลม ประกอบดวย ชื่อผูเขียน ชื่อบทความ ชื่อเอกสารที่ตีพิมพ ผูพิมพ สถานที่พิมพ ปที่พิมพ ฉบับที่พิมพ และเลขหนาของบทความ หรือเปนไปตามรูปแบบของชนิดการอางอิง เชน อางอิงจากหนังสือ อางอิงจากวารสาร เปนตน

94


รูปแบบการอางอิงและบรรณานุกรม การอางอิง ใหใชรูปแบบการอางอิง แบบ APA (ชื่อผูแตง. ปที่พิมพ : เลขหนาที่อางอิง) เชน (รัถพร ซังธาดา. 2549 : 23) สําหรับรายการบรรณานุกรมใหเรียงไวทายบทความตามลําดับ ตัวอักษรบรรณานุกรมจะมีรูปแบบการพิมพแตกตางกันตามชนิดของแหลงสารสนเทศ ดังนี้ 

1. บรรณานุกรมหนังสือ ใชรูปแบบดังนี้ ชื่อผูแตง.//(ปที่พิมพ).//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ.(ถามี)//เมืองที่พิมพ:/สํานักพิมพ. 2. บรรณานุกรมจากวารสาร ใชรูปแบบดังนี้ ชื่อผูแตง.//(ปที่พิมพ).//“ชื่อบทความ,”//ชื่อวารสาร.//ปที่(ฉบับที่)/:/หนาที่อาง/;/วันที่ เดือน. 3. บรรณานุกรมรายงานการประชุม ใชรูปแบบดังนี้ ชื่อผูแตง.//(ปที่พิมพ).//ชื่อบทความ//ชื่อรายงานการประชุม//หนาที่อาง. 4. บรรณานุกรมปริญญานิพนธหรือวิทยานิพนธหรือสารนิพนธ ใชรูปแบบดังนี้ ชื่อผูแตง.//(ปที่พิมพ).//ชื่อเรื่อง.//ชื่อปริญญา (ชื่อเต็ม).//หนวยงาน. 5. บรรณานุกรมสื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ ใชรูปแบบดังนี้ ชื่อผูแตง.//(ปที่เผยแพร). ชื่อเรื่อง.//[CD-ROM].//สถานที่ผลิต://ผูผลิต. ชื่อผูแตง.//(ปที่สืบคน). ชื่อเรื่อง.//[Online].//เขาถึงไดจาก://วิธีการเขาถึงและสถานที่ของขอมูล. การสงบทความ เจาของบทความตองสง 1. ใบสมัครขอสงบทความลงตีพิมพ 2. ไฟลตนฉบับบทความที่จัดพิมพดวยโปรแกรม Microsoft Word for Windows บันทึกลงแผน CD-ROM จํานวน 1 แผน 3. เอกสารบทความจํานวน 1 ชุด โดยเอกสารชุดที่ 1 ตองมีรายละเอียดครบตามแบบฟอรมวารสารลําปาง หลวง สงถึงกองบรรณาธิการวารสารลําปางหลวง คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง 119 ถนนลําปาง-แมทะ ต.ชมพู อ.เมือง จ.ลําปาง 52100 E-mail: Lampangluang@gmail.com โทรศัพท – โทรสาร 0-5431-6154 ทั้งนี้เมื่อบทความไดรับการตีพิมพ ผูเขียนบทความจะไดรับวารสารฉบับที่บทความนั้นตีพิมพ จํานวน 2 ฉบั บ โดยจะให ผู เ ขี ย นที่ เ ปนชื่อแรก -------------------------------------------------

95


ตัวอยางแบบฟอรมวารสาร

การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตนทุนต่ํา (18) LOW COST DEVELOPMENT COMMUNITY ECONOMICS (ตัวอักษรพิมพใหญ) (18) 1

จิตรกร แตมคลอง (14) 1

อาจารยประจําสาขาวิชาศึกษาทั่วไป คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง (14)

บทคัดยอ (16)

เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด

เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด (14)……………………………………………………………………………………………………………. เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด คําสําคัญ: (14)……………………………………………………………………………………

Abstract (16)

เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด

(14)................................................................................................................................... เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด Keyword: (14)…………………………………………………………………………….……… เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด

บทนํา/Introduction (16)

(14)......................................................................................................................................................

วัตถุประสงคของการวิจัย/Aims (16)

เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด

(14)...................................................................................................................................................... เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด

อุปกรณและวิธีดําเนินการวิจัย/Materials and methods (16)

(14)......................................................................................................................................................

ผลการวิจัย/Results (16)

เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด

(14)......................................................................................................................................................

สรุปและอภิปรายผล/Conclusions and Discussion (16) (14)...................................................................................................................................................... เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด

96


กิตติกรรมประกาศ/Acknowledgements (16) (14)....................................................................................................................................................... เว้นห่างลงไป 1 บรรทัด

บรรณานุกรม/Bibliography (16)

(14)......................................................................................................................................................

97



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.