คําอวยพร * * *
ดวยอานุภาพแหงพระพุทธมนตนี้ อํานวยพรใหทานมีความสุขดวย การรักเพื่อนมนุษยอยางไมมีที่สิ้นสุด ไมมีประมาณ ขอความปรารถนาที่ทาน ตั้งใจไวแลว จงพลันสําเร็จทุกประการเทอญ คุณประชัย – คุณอรพิน เลี่ยวไพรัตน
คําอวยพร * * * ดวยอานุภาพแหงพระพุทธมนตนี้ อํานวยพรใหทานมี ความสุข ดวยการรักเพื่อนมนุษยอยางไมมีที่สิ้นสุด ไมมี ประมาณ ขอความปรารถนาที่ทานตั้งใจไวแลว จงพลัน สําเร็จทุกประการเทอญ ดร.ประศาสน - คุณเฉิดโฉม จันทราทิพย
รายชื่อเจาภาพหนังสือสวดมนต ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒. ๒๓. ๒๔. ๒๕. ๒๖. ๒๗.
คุณนิภา เปลงศรีงาม คุณสุณิธิ เปลงศรีงาม คุณนิมิตร-คุณนุชนารถ เปลงศรีงาม คุณปรัชญ เปลงศรีงาม คุณเบญญา เปลงศรีงาม คุณกานดิท เปลงศรีงาม คุณนฤมล เปลงศรีงาม คุณปรัชญา-คุณพิมลพรรณ จันทราทิพย คุณกฤษฏิ์ จันทราทิพย คุณกันต จันทราทิพย คุณพิเศษ เปลงศรีงาม คุณจุฑามาศ คูตระกูล และครอบครัว คุณอมรศรี บุญศรี คุณสุดจิต คงสินทรัพย คุณสมพงษ คงสินทรัพย คุณอุไรวรรณ คงสินทรัพย คุณกันต พินธุโสภณ คุณแมสงา สาริโส คุณพอสุเทพ องควงศสกุล เด็กหญิงหนึ่งหนึ่ง ฟลอเรนทีน คุณสมัชญา มะโนมัย และครอบครัว คุณวิจิตรา-คุณวสันต ธรรมกุล และครอบครัว คุณสุวัฒนา โภคสวัสดิ์ คุณอาทิชา-คุณปยะมาศ เปาอินทร เด็กชายถิรวิทย เปาอินทร เด็กหญิงอุชุภา เปาอินทร คุณเอกทัย-คุณณัฐวรรณ ชันซื่อ
๒๘. ๒๙. ๓๐. ๓๑. ๓๒. ๓๓. ๓๔. ๓๕. ๓๖. ๓๗. ๓๘. ๓๙. ๔๐. ๔๑. ๔๒. ๔๓. ๔๔. ๔๕. ๔๖. ๔๗. ๔๘. ๔๙. ๕๐. ๕๑. ๕๒.
๕๓.
เด็กหญิงอรณิชา ชันซื่อ เด็กชายนรภัทร ชันซื่อ คุณโชคชัย พณิชยอํานวย คุณสุภาภรณ ขันธสุวรรณ และครอบครัว คุณจุฑามาศ เที่ยงธรรม คุณจุฑารัตน สมพันธ คุณเพลินจิต นิจกรรม คุณสุดารัตน คําปวน คุณบุญชวย ขําเหม คุณประศาสน-คุณเฉิดโฉม จันทราทิพย คุณกันตกนิษฐ ศรีเจริญสุข คุณอารีย วงศรักษ คุณชลารัก ขอสกุล และครอบครัว คุณฐกร อุชุพงศอมร คุณยายพิน วงศรักษ คุณชัยวัฒน เกตุปรีชาสวัสดิ์ และครอบครัว คุณกนกพร ปุระณะพัฒน คุณวิฑูร เจียมจิตตตรง และครอบครัว คุณมาลัย ชมภูกา และครอบครัว คุณพรทิพย กาญจนานนท และครอบครัว คุณกฤตกร กัลยารัตน คุณกชกร สินชัยพานิช และครอบครัว คุณแมสมใจ มุงรักชน คุณแมสมจิตต-คุณณัฐพงศ จันทราทิพย คุณอภิศกั ดิ-์ คุณธนปติ สายบัว และครอบครัว คุณพอกิตติสนิ -คุณแมธนั ยา นิมมานเกียรติกลุ
๕๔. คุณพอสายศักดิ์-คุณแมอุษา อังควะนิช
๕๕. ๕๖. ๕๗. ๕๘. ๕๙. ๖๐. ๖๑. ๖๒. ๖๓. ๖๔. ๖๕. ๖๖. ๖๗. ๖๘. ๖๙. ๗๐. ๗๑. ๗๒. ๗๓. ๗๔. ๗๕. ๗๖. ๗๗. ๗๘. ๗๙. ๘๐. ๘๑. ๘๒. ๘๓. ๘๔. ๘๕. ๘๖.
คุณเกษมสุข-คุณอริญญา นิมมานเกียรติกุล บริษัทสองหนึ่งดีไซนแอนดบิลท จํากัด คุณนีออน นิมมานเกียรติกุล เด็กชายพริษฐ นิมมานเกียรติกุล คุณอรวรรณ ไมงาม คุณประชัย-คุณมนัสนันท เศรษฐาปยานนท คุณวสุวัฒน-คุณพัณณชิตา สุขขี เด็กหญิงพิมนภัทร สุขขี เด็กหญิงนันทนภัส สุขขี คุณสิทธิโชค-คุณพรศรี เชฐบัณฑิตย คุณไพฑูรย-คุณเจียรนัย สมัครการ คุณลภัสรดา เลิศศุภมาส คุณพูลศรี สุภาวรรณ คุณธิดารัตน ตีทอง คุณสมพร ตีทอง คุณมณี ตีทอง คุณเนย ชุณหสุวรรณกุล คุณเรวัต ชุณหสุวรรณกุล ครอบครัวสติมานนท บานโยคะครูโหนงและลูกศิษย คุณวรรณา สินธุชัย คุณอัจฉรีย ยิ่งกมล คุณภิญญลักษณ อัครพิริยวณิช คุณชาติชาย อุปพงศ คุณลักษณศรี อุปพงศ คุณติกยุก แซยับ คุณภัทรียา เบญจพลชัย คุณสุธีชัย สันติวราคม คุณนุชนาฎ สันติวราคม คุณอนุสิทธิ์ สันติวราคม คุณพิตนิตสันติ์ สันติวราคม คุณสมเจตน อุปพงศ
๘๗. ๘๘. ๘๙. ๙๐. ๙๑. ๙๒. ๙๓. ๙๔. ๙๕. ๙๖. ๙๗. ๙๘. ๙๙. ๑๐๐. ๑๐๑. ๑๐๒. ๑๐๓. ๑๐๔. ๑๐๕. ๑๐๖. ๑๐๗. ๑๐๘. ๑๐๙. ๑๑๐. ๑๑๑. ๑๑๒. ๑๑๓. ๑๑๔. ๑๑๕. ๑๑๖. ๑๑๗. ๑๑๘.
คุณโกเมศ อุปพงศ คุณวรพัฒน อุปพงศ คุณพนารัตน อุปพงศ เด็กชายคชาพล อุปพงศ คุณคุณาวุฒิ อุปพงศ คุณวไลพร นอยอินทรศรี เด็กชายใจเพชร จิตรแสวง คุณสุริยะ จิตรแสวง คุณประเทือง จิตรแสวง คุณธาริณี เศรษฐพานิช คุณภนิดา เศรษฐพานิช คุณวีรศักดิ์ ธิอัมพร คุณชนิสา ชุติภัทร คุณสุดารัตน ตั้งสุนทรกิจ คุณพัชรา ธณัติไตร คุณลดาวัลย กันทวงศ คุณทวิดา พลสิทธิ์ คุณจีระภา กอนใส คุณพงษพันธ พูลเพิ่ม คุณอลิศรา ฮัววานิช คุณสุปราณี ทรงพานิช คุณอุไรพร ยศทะเสน คุณสุธิดา จันทรัตน คุณฟูรอ แสงไพจิตต คุณภิญโย ทวีการ คุณภานุพงษ ประจวบเหมาะ คุณเนาวรัตน อาชีวะภิญโญ คุณพรทิพย มูลศาสตร คุณพัชนี เจนวัฒนานนท คุณวรนุช วิจิตรภิญโญ คุณไพรัช ลิ้มเดชาพันธ คุณฐิตินันท มั่งคั่ง
๑๑๙. ๑๒๐. ๑๒๑. ๑๒๒. ๑๒๓. ๑๒๔. ๑๒๕. ๑๒๖. ๑๒๗. ๑๒๘. ๑๒๙. ๑๓๐. ๑๓๑. ๑๓๒.
คุณสุรเดช แกวศรีนวม คุณบุษยา ธนากรรฐ คุณจีราวรรณ เสถียรวงศ คุณดิลก ญาณะพันธ คุณวิโรจน คุณาอนุวิทย คุณวรรณี หงสอิง คุณวิไล เชิดรําไพ คุณพรรณี เชิดรําไพ คุณกุลปราณี เชิดรําไพ คุณปริศนา ชีพัฒน และครอบครัว คุณวรกมล สารโชค คุณเสาวนีย-คุณมานิต มัสยวาณิช เด็กหญิงณัฐนันท โยธา คุณธัญชนิต ปรางบาง
๑๓๓. ๑๓๔. ๑๓๕. ๑๓๖. ๑๓๗. ๑๓๘. ๑๓๙. ๑๔๐. ๑๔๑. ๑๔๒. ๑๔๓. ๑๔๔. ๑๔๕. ๑๔๖.
คุณชุมพล อนุโยธา คุณสุมนา วงษสุวรรณ แมชีพรลภัทร นรารัตนวันชัย คุณปรัศนีย บูรณะโสภณ และครอบครัว คุณสมร สัตตวงศ คุณอรนุช สวนศิลปพงศ คุณรังสรรค แซโคว คุณฐิติรัตน ริมผดี คุณฐิตินันท บัณดิต คุณวินัย ทองคลาย คุณจําลอง พูลสิน คุณบุญสม เมืองนก คุณอัจฉรา จําเนียร ครอบครัวอุนละมาย
รายชือ่ ผูส มทบทุนบริจาคทําหนังสือสวดมนต ***** ๑. คุณแมวรรณา ใจเย็น และครอบครัว อุทิศใหเจากรรมนายเวรและอุทิศให เรืออากาศตรี ทิชพล ใจเย็น ๒๕ เลม ๒. เรืออากาศตรีหญิง วิรดา สุดใจ และนายพีรพล ใจเย็น อุทิศใหเจากรรม นายเวรและอุทิศให เรืออากาศตรี ทิชพล ใจเย็น ๒๕ เลม ๓. คุณแมสวาสดิ์ และเรืออากาศโท ไพรัช สุดใจ ด.ญ.พัชราภรณ สุดใจ และเด็กชาย ฉัตรชัย สุดใจ ๒๕ เลม ๔. พลอากาศตรี ปติ และนาวาอากาศโท หญิง สมบัติ ลักษิตานนท ๒๕ เลม ๕. คุณวิโรจน และนาวาอากาศตรี หญิง สุดา วรรณศิวพร และครอบครัว ๕๐ เลม ๖. นาวาอากาศตรี หญิง จันทรณา ศุภนคร และครอบครัว อุทศิ ใหเจากรรม นายเวรและนายประเสริฐ-นายประสิทธิ์ ใจไหมคราม ๕๐ เลม ๗. นาวาอากาศตรี หญิง รุงนภา คําภา และครอบครัว อุทิศให คุณยายสําราญ กรี มั่นคง ๒๐ เลม ๘. นาวาอากาศตรี หญิง มัลสิกา ชมบุญ และครอบครัว และบรรพบุรุษผู ลวงลับไปแลว ๒๕ เลม ๙. เรืออากาศเอก หญิง ทัศดาว จันทรธานี อุทิศใหแก น.ส. นิศารัตน คุณเรือง ๕ เลม ๑๐. นายยุทธพร-นางชญาภา จันทรธานี ๕ เลม ๑๑. น.ส. จานินท จันทรธานี ๕ เลม ๑๒. นายศราวุธ และนายสถิตพงษ จันทรธานี ๕ เลม ๑๓. เรืออากาศเอก หญิง ณัฐกฤตา บํารุงกิจ ๑๐ เลม ๑๔. ดาบตํารวจศตรี สมชาย และ นางพรชนก บํารุงกิจ ๑๐ เลม ๑๕. นาย สกล บํารุงกิจ ๑๐ เลม
๑๖. นาย สมฤกษ บํารุงกิจ ๑๐ เลม ๑๗. เรืออากาศโท หญิง อภิญญา เกียรตินิยมดี และครอบครัว ๒๕ เลม ๑๘. จาอากาศเอก จักรวาล เนื่องสุข และรอยตํารวจตรี หญิง ประกายมาศ เนตรจันทร ๑๐ เลม ๑๙. คุณศิริพร มากศิริ อุทิศใหเจากรรมนายเวร และอุทิศใหแม สมคิด มากศิริ ๕ เลม ๒๐. คุณ นันทนา บัวศรี อุ ทิศใหเจากรรมนายเวร และปู วรรณ-ยายเขื่อน บัวศรี ๕ เลม ๒๑. คุณภาณุเดช ประทุมมา และครอบครัว อุทิศใหเจากรรมนายเวร และ อุทิศให พอชม ประทุมมา ๒๕ เลม ๒๒. คุณสุภัทรา คําบันเทิง และครอบครัว ๒๐ เลม
คําปรารภ *****
การจัดพิมพหนังสือคูมือพุทธบริษัทสวดมนตแปลพระสูตรที่สําคัญจากพระไตรปฎกบท พิเศษตาง ๆ ในหนังสือเลมนี้ เกิดจากการสาธยายพระไตรปฎกของพุทธบริษัท ณ อุโบสถวัด ปญญานันทาราม ทําใหพบวามีพระสูตรที่สําคัญ ๆ อีกมากที่ควรแกการนํามาสวด หรือสาธยาย จนจําไดขึ้นใจ แลวนําไปปฏิบัติ จนเกิดผล คือ บรรลุธรรมหรือความหลุดพนดังที่พระพุทธเจา ตรัสไวในวิมุตตายตนสูตรวา การบรรลุธรรมมีได ๕ ประการ ๑. การฟงธรรม ๒. การแสดงธรรม ๓. การสาธยายธรรม ๔. พิ จ ารณาธรรม ๕. การภาวนาหรือเจริญกรรมฐาน การสวดหรือการสาธยายพระสูตรตาง ๆ ในเลมนี้ เทากับวาไดศึกษาธรรม ไดปฏิบัติ ธรรม และไดพบปฏิเวธธรรม คือบรรลุธรรม สมที่ไดเกิดมาเปนมนุษยและพบพระพุทธศาสนา ทําใหตนไดพบสันติสุขและสังคมจะไดมีสันติภาพ หนังสือสวดมนตแปลพระสูตรที่สําคัญจากพระไตรปฎก เลม ๒ อยูในมือของทานนี้ ตอง ขอขอบคุณ พระมหาจรวย อุชุจาโร รวบรวมจัดทําตนฉบับ อาจารยคํานวน ชานันนโท เอื้อเฟอ ภาพ พระมหาเฉลิม ปยทสฺสี พิสูจนอักษร พระมหาสุริยันต ธมฺมทสฺสี และ อาจารย ลัดดาวัลย แกวสวาง นําชาวพุทธสาธยายพระไตรปฎก คุณดวงทรรศ หาญสุภานุสรณ จัดทําอารตเวิรค คุณพิมลพรรณ คุณปรัชญา จันทราทิพย ผูที่ดําเนินการรวมรับผิดชอบการพิมพ พระครูสังฆ กิ จ พิ ม ล คุ ณ เมตตา อิ ส ราภรณ ร ว มเป น ธุ ร ะสร า งสรรค ง าน และทุ ก ท า นที่ ไ ด ส วดหรื อ สาธยายทุกโอกาสถือวาไดรวมกันสืบอายุพระพุทธศาสนา โสตฺถิ เต โหตุ สพฺพทา ขอความสวัสดี จงมีแกทานทุกเมื่อเทอญ (พระปญญานันทมุนี) เจาอาวาสวัดปญญานันทาราม
คําแนะนํา ******
ทั้งฆราวาสและบรรพชิต ผูที่สนใจปฏิบัติตน เพื่อความพนทุกขโดยตนเอง ควร จะไดพากเพียร เรียนคําแปลของบทสวดมนตในหนังสือเลมนี้ใหขึ้นใจ จะชวยใหทาน สามารถระลึกเอาพระคุณของพระรัตนตรัย มาเปนขวัญและกําลังใจ เพื่อใชในการดับ ทุกขทางใจ อันเปนเหตุใหหลุดพน (วิ มุตตายตนะ) โดยทางใดทางหนึ่ง ในบรรดา ๕ ประการ คือ ฟงธรรม ๑ แสดงธรรม ๑ สังวัธยายธรรม ๑ ตรึกตรองเพงธรรม ๑ เจริญธรรมกรรมฐาน ๑ เห็นอรรถเห็นธรรม เกิดปติปราโมทย มีกายสงบ เสวยสุข มี จิตตั้งมั่น ในบทแหงธรรม คําบูชาพระรัตนตรัย นิยมใชเปนบทนําแหงปคคัณหวจนปูชา ติดตามมาดวยบท ปุพพภาคนมการ อันเปนการนอบนอมพระผูมีพระภาคเจา คําขอ ขมาพระรั ต นตรั ย เป น การแสดงนิ ว าตธรรมต อ พระรั ต นตรั ย ให ง ดโทษล ว งเกิ น เล็กนอย เพื่อเจริญอัปปมาทธรรม ไมใชการลางบาป ในบท อานาปานสติปาฐะ เปน การเจริญสติใหมากทุกลมหายใจ เขา-ออกที่กาย เวทนา จิต ธรรม ตามปรากฏที่เปน จริง เปนการเจริญสติปฎฐานที่ยิ่งใหญและลัดสั้น งายที่สุดเพราะไมตองอาศัยบัญญัติ ใด ๆ ในบทแหง อิทัปปจจยตาปฏิจจสมุปปาทปาฐะ แสดงถึงกฎอันยิ่งใหญของพระ ธรรมที่เปนผูสราง ผูรักษา ผูทําลาย ตามหลักที่วา เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ ในบท ธัมมนิยามสุตตปาฐะ แสดงถึงความเปนกฎตายตัวของพระธรรมวา สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไมเที่ยง เปนทุกข ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เปนอนัตตา พระ ตถาคตเปนผูรูพรอมเฉพาะ ยอมบอก แสดง บัญญัติ เปดเผย จําแนกแจกแจงใหงาย ดุ จ การหงายของที่ ค ว่ํ า ในบท โยคฐานาริ ย สั จ จธั ม มปาฐะ แสดงอริ ย สั จ ๔ อั น ประกอบอยูในฐานะอันตายตัววา ความทุกข เหตุใหเกิดทุกข ความดับไมเหลือแหง ทุกข ขอปฏิบัติอันทําใหลุถึงความดับไมเหลือแหงทุกข เปนธรรมชาติที่มีความเปน อยางนั้น (ตถตา) เปนธรรมชาติที่ไมผิดไปจากความเปนอยางนั้น (อวิตถตา) และเปน ธรรมชาติไมเปนไปโดยประการอื่น (อนัญญถตา) ในบท ธัมมปหังสนปาฐะ ชวยให เกิดความแกลวกลา ราเริงในการประพฤติธรรม กระทําความเพียรถึงพรอมดวยความ ไมประมาท ในบท มหาพุทธโถมนาการปาฐะ หรือพระพุทธคุณรอยบท จะชวยใหทาน มีกําลังใจ นอมระลึกเอาพระพุทธคุณบรรดามี มาปรับปรุงตัวเองไปตามทุก ๆ ขอ ในบท ขุททกปาฐมังคลสุตตะ ชวยใหทานรูจักมงคลแท อันเปนมงคลธรรม ที่ เกิดจากการกระทําของตน อันเปนเหตุจักนํามาซึ่งความสุข ความเจริญกาวหนาแล ประโยชนโสตถิผล ในบท กสิสุตตปาฐะ ชวยใหทานไดรูจักหวานปลูกพระธรรมบน
เนื้อนาแหงพุทธเกษตร เปนเหตุใหไดเก็บเกี่ยวมรรค ผล นิพพาน อันเกษมจากโยคะ ในบท อภิณหปจจเวกขณปาฐะ ชวยใหทานไดพิจารณาเนือง ๆ จักไมประมาทในวัย และชีวิต รีบสั่งสมอบรมกรรมดี ในบท สีลุทเทสปาฐะ ชวยใหทานไดเปนผูมีกาย วาจา ที่ปกติ เห็นโทษภัยใหญนอย คอยสํารวมศึกษา สมาทานสิกขาบทในพระปาติโมกข ถึง พรอมดวยอาจาระคือมารยาทและโคจรที่เที่ยวไปอันงาม ในบท ตายนคาถา ชวยให ทานไดตั้งใจตัดกระแสแหงตัณหา ถอดถอนกามา ตั้งหนาบากบั่นประพฤติพรหมจรรย เพื่อคุณอันยิ่งใหญมีผลมาก ในบท สังวราสังวรคาถา ชวยทานพนจากการรังควาน ของมารเสียได เปนพระปดทวารที่แท ในบท พุทธอุทานคาถา ชวยทานคลายความ สงสัยในธรรม ในบท อุปฑฒสุตตปาฐะ ชวยใหทานไดอาศัยพระพุทธเจาเปนยอด กัลยาณมิตร ที่ทําใหพนทุกข ในบท เทวทูตสุตตปาฐะ ชวยใหทานไดอาศัยเทวทูต เปน ผูสื่อแสงสวาง นําสารอันประเสริฐมาแจงเตือนทานมิใหประมาท รีบยกตนใหพนจาก ทุกข ในบท กรณียเมตตสุตตปาฐะ ชวยใหทานเปนผูอยูในพรหมวิหารในศาสนานี้ อยางแทจริง ในบท โมรปริตตัง เปนมนตยูงทองคุมครองกาย ใหทานรุงเรืองสวางดวย ประทีปแหงธรรม ในบท ขันธปริตตัง เปนมนตแผเมตตาจิตในพญางู นาค สัตวทวิบท จตุบาท และสัตวเลื้อยคลานทั้งหลาย ปองกันอันตรายใหปลาสนาการหายไป ในบท ธารณปริตตปาฐะ ชวยปกปกและรักษาภัยนานา ในบท โพชฌังคปริตตัง ชวยใหทาน ไดพิจารณาองคธรรมเครื่องตรัสรู ๗ ประการ ทัดทานรักษาโรคาพยาธิ ในบท อนุโมทนารัมภคาถา สามัญญานุโมทนาคาถา มงคลจักรวาล เปนบทให พรอนุโมทนาทั่วไป ในบท กาลทานสุตตคาถา เปนบทใหพรตามอภิลักขิตกาล เชน กฐินทาน ในบท ติโรกุฑฑกัณฑปจฉิมภาค ใชเปนบทอนุโมทนาในงานอวมงคล อุทิศ ทักษิณานุประทานแดผูลวงลับ ในบท อัคคัปปสาทสูตตคาถา โภชนทานานุโมทนา คาถา ใชเปนบทอนุโมทนาอันเลิศแหงทานมัย ในบท เทวตาทิสสทักขิณานุโมทนา คาถา เทวตาภิสัมมันตนคาถา ใชอุทิศบุญบูชาแกเทวดา สงเคราะหรักษาแกกันและกัน ในบท อาทิยสุตตคาถา ใหทานไดรูจักทําพลีกรรม ทําทรัพยใหเปนประโยชน ในบท พาหุงมหากา ใชเปนบทชัยมงคลคาถา ในการพิชิตชัยอยางพระพุทธเจา ในบท บารมี ๓๐ ทัศ คาถาหวานทราย คาถาโพธิบาท คาถามงคลจักรวาลแปดทิศ คําแผสวนบุญ แผเมตตา เปนบทชวยเตือนสติกันภัย รักษาตน คน งาน แผบุญกุศล อยูสุขสําราญเปนนิจ ฯ
สารบัญ
****** คําปรารภ คําแนะนํา
ภาค ๑ :- พระสูตร
๑. คําบูชาพระรัตนตรัย ๒. คําบูชาพระรัตนตรัย(แบบยอ) ๓. ปุพพภาคนมการ ๔. คําขอขมาพระรัตนตรัย ๕. อานาปานสติปาฐะ ๖. อิทัปปจจยตาปฏิจจสมุปปาทปาฐะ ๗. ธัมมนิยามสุตตปาฐะ ๘. โยคฐานาริยสัจจธัมมปาฐะ ๙. ธัมมปหังสนปาฐะ ๑๐. มหาพุทธโถมนาการปาฐะ
หนา
๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๗ ๑๑ ๑๓ ๑๕ ๑๗
ภาค ๒ :- พระสูตร พระคาถา พระปริตร ๑. ขุททกปาฐมังคลสุตตปาฐะ ๒. กสิสุตตปาฐะ ๓. อภิณหปจจเวกขณปาฐะ ๔. สีลุทเทสปาฐะ ๕. ตายนคาถา ๖. สังวราสังวรคาถา ๗. พุทธอุทานคาถา ๘. อุปฑฒสุตตปาฐะ ๙. เทวทูตสุตตปาฐะ ๑๐. กรณียเมตตสุตตปาฐะ
๒๓ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๕ ๓๖
๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔.
โมรปริตตัง ขันธปริตตัง ธารณปริตตัง โพชฌังคปริตตัง
๓๘ ๓๙ ๔๑ ๔๕
ภาค ๓ :- อนุโมทนาทานคาถา
๑. อนุโมทนารัมภคาถาแปล ๒. สามัญญานุโมทนาคาถาแปล ๓. มงคลจักรวาลนอยแปล ๔. กาลทานสุตตคาถาแปล ๕. ติโรกุฑฑกัณฑปจฉิมภาคแปล ๖. อัคคัปปสาทสุตตคาถาแปล ๗. โภชนทานานุโมทนาคาถาแปล ๘. เทวตาทิสสทักขิณานุโมทนาคาถาแปล ๙. เทวตาภิสัมมันตนคาถาแปล ๑๐. อาทิยสุตตคาถาแปล ๑๑. วิหารทานคาถาแปล
๔๗ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๓
ภาค ๔ :- ปกิณณกะ ๑. อัฏฐพุทธชัยมังคลคาถา ๒. บารมี ๓๐ ทัศ (พระบูรพาจารยประกอบขึน้ เปนบทเกา) ๓. คาถาหวานทราย ๔. คาถาโพธิบาท ๕. คาถามงคลจักรวาลแปดทิศ ๖. คําแผสวนบุญ ๗. คําแผเมตตาใหตนเอง ๘. คําแผเมตตาใหผูอื่น ที่มาของคําบาลี
*****
๕๕ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๓ ๖๕
๑
ภาค ๑ ๑. คําบูชาพระรัตนตรัย ****** โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, พระผูมพี ระภาคเจานัน้ พระองคใด, เปนพระอรหันต, ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกขสนิ้ เชิง, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง; ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เปนธรรมอันพระผูมพี ระภาคเจา พระองคใด, ตรัสไวดีแลว; สุปะฏิปนโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา พระองคใด, ปฏิบตั ิดีแลว; ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปูชะยามะ, ขาพเจาทั้งหลาย, ขอบูชาอยางยิ่ง ซึ่งพระผูมพี ระภาคเจา พระองคนั้น, พรอมทั้งพระธรรมและพระสงฆ, ดวยเครื่องสักการะทั้งหลาย เหลานี้, อันยกขึ้นตามสมควรแลว อยางไร; สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตป, ขาแตพระองคผูเจริญ, พระผูมพี ระภาคเจา, แมปรินพิ พานนานแลว, ทรงสรางพระคุณอันสําเร็จประโยชนไว แกขาพเจาทั้งหลาย; ปจฉิมา ชะนะตานุกัมปะมานะสา, ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะหแกพวกขาพเจา อันเปนชนรุนหลัง; อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, ขอพระผูมพี ระภาคเจา, จงรับเครื่องสักการะ อันเปนบรรณาการของคน ยากทั้งหลายเหลานี;้ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ. เพื่อประโยชนและความสุขแกขาพเจาทั้งหลาย ตลอดกาลนานเทอญ.
๒ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผูมพี ระภาคเจา, เปนพระอรหันต, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสิ้นเชิง, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง; พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา, ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน. (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว; ธัมมัง นะมัสสามิ. ขาพเจานมัสการพระธรรม. (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัตดิ ีแลว; สังฆัง นะมามิ. ขาพเจานอบนอมพระสงฆ. (กราบ)
๒. คําบูชาพระรัตนตรัย (แบบยอ) ****** อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามิ. ขาพเจาขอบูชาอยางยิ่ง ซึ่งพระพุทธเจา, ดวยเครื่องสักการะนี.้ (กราบ) อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ. ขาพเจาขอบูชาอยางยิ่ง ซึ่งพระธรรม, ดวยเครื่องสักการะนี.้ (กราบ) อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิ. ขาพเจาขอบูชาอยางยิ่ง ซึ่งพระสงฆ, ดวยเครื่องสักการะนี.้ (กราบ)
๓ ๓. ปุพพภาคนมการ (หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.) ****** นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ.
ขอนอบนอมแดพระผูมพี ระภาคเจา พระองคนั้น; ซึ่งเปนผูไ กลจากกิเลส; ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง. (๓ ครั้ง)
๔. คําขอขมาพระรัตนตรัย ****** วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, ขาแตพระองคผูเจริญ, ขาพเจาขอกราบไหวพระพุทธเจา, เพื่อขอขมาซึ่ง โทษทั้งปวง, ขอพระองคจงงดซึ่งโทษทั้งปวง แกขาพเจาเถิด; วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, ขาแตพระองคผูเจริญ, ขาพเจาขอกราบไหวพระธรรม, เพือ่ ขอขมาซึ่งโทษ ทั้งปวง, ขอพระองคจงงดซึ่งโทษทั้งปวง แกขาพเจาเถิด; วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต. ขาแตพระองคผูเจริญ, ขาพเจาขอกราบไหวพระสงฆ, เพือ่ ขอขมาซึ่งโทษ ทั้งปวง, ขอพระองคจงงดซึ่งโทษทั้งปวง แกขาพเจาเถิด.
๔ ๕. อานาปานสติปาฐะ (หันทะ มะยัง อานาปานะสะติปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** อานาปานะสะติ ภิกขะเว ภาวิตา พะหุลีกะตา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อานาปานสติ อันบุคคลเจริญ ทําใหมากแลว, มะหัปผะลา โหติ มะหานิสังสา, ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ. อานาปานะสะติ ภิกขะเว ภาวิตา พะหุลีกะตา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อานาปานสติ อันบุคคลเจริญ ทําใหมากแลว, จัตตาโร สะติปฏฐาเน ปะริปูเรติ, ยอมทําสติปฏ ฐานทั้งสีใ่ หบริบูรณ; จัตตาโร สะติปฏฐานา ภาวิตา พะหุลีกะตา, สติปฏฐานทัง้ สี่ อันบุคคลเจริญ ทําใหมากแลว, สัตตะ โพชฌังเค ปะริปูเรนติ, ยอมทําโพชฌงคทั้งเจ็ดใหบริบูรณ; สัตตะ โพชฌังคา ภาวิตา พะหุลีกะตา, โพชฌงคทั้งเจ็ด อันบุคคลเจริญ ทําใหมากแลว, วิชชาวิมตุ ติง ปะริปูเรนติ, ยอมทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ. กะถัง ภาวิตา จะ ภิกขะเว อานาปานะสะติ, กะถัง พะหุลีกะตา ? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ก็อานาปานสติ อันบุคคลเจริญ ทําใหมากแลว อยางไรเลา ? มะหัปผะลา โหติ มะหานิสังสา, จึงมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ. อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ภิกษุในธรรมวินัยนี้, อะรัญญะคะโต วา, ไปแลวสูป าก็ตาม; รุกขะมูละคะโต วา, ไปแลว สูโคนไมก็ตาม; สุญญาคาระคะโต วา, ไปแลวสูเรือนวางก็ตาม; นิสีทะติ ปลลังกัง อาภุชติ ๎วา, นั่งคูขาเขามาโดยรอบแลว; อุชงุ กายัง ปะณิธายะ, ปะริมุขัง สะติง อุปฏ ฐะเปต๎วา, ตั้งกายตรง ดํารงสติมั่น; โส สะโต วะ อัสสะสะติ, สะโต ปสสะสะติ, ภิกษุนั้น เปนผูมีสติอยูน ั่นเทียว หายใจออก, มีสติอยู หายใจเขา. (๑) ทีฆัง วา อัสสะสันโต, ทีฆัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ, ภิกษุนั้น เมื่อหายใจออกยาว, ก็รูสึกตัวทั่วถึงวาเราหายใจออกยาว ดังนี้; ทีฆัง วา ปสสะสันโต, ทีฆัง ปสสะสามีติ ปะชานาติ, เมื่อหายใจเขายาว, ก็รูสึกตัว ทั่วถึงวาเราหายใจเขายาว ดังนี้.
๕ (๒) รัสสัง วา อัสสะสันโต, รัสสัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ, ภิกษุนั้น เมื่อหายใจออกสั้น, ก็รูสึกตัวทั่วถึงวาเราหายใจออกสั้น ดังนี้; รัสสัง วา ปสสะสันโต, รัสสัง ปสสะสามีติ ปะชานาติ, เมื่อหายใจเขาสั้น, ก็รูสึกตัว ทั่วถึงวาเราหายใจเขาสัน้ ดังนี้. (๓) สัพพะกายะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนั้น ยอม ทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจออก ดังนี;้ สัพพะกายะปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เรา เปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง จักหายใจเขา ดังนี้. (๔) ปสสัมภะยัง กายะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนนั้ ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทํากายสังขารใหระงับอยู จักหายใจออก ดังนี;้ ปสสัมภะยัง กายะสังขารัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทํากายสังขารใหระงับอยู จักหายใจเขา ดังนี้. (จบ จตุกกะที่หนึ่ง) (๕) ปติปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนั้น ยอมทําในบท ศึกษาวา เราเปนผูรพู รอมเฉพาะซึ่งปติ จักหายใจออก ดังนี้; ปตปิ ะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ จักหายใจเขา ดังนี้. (๖) สุขะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนนั้ ยอมทําใน บทศึกษาวา เราเปนผูรพู รอมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจออก ดังนี;้ สุขะปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข จักหายใจเขา ดังนี้. (๗) จิตตะสังขาระปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนั้น ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรพู รอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจออก ดังนี้; จิตตะสังขาระปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรพู รอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร จักหายใจเขา ดังนี้. (๘) ปสสัมภะยัง จิตตะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนนั้ ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตตสังขารใหระงับอยู จักหายใจออก ดังนี้;
๖ ปสสัมภะยัง จิตตะสังขารัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตตสังขารใหระงับอยู จักหายใจเขา ดังนี้. (จบ จตุกกะที่สอง) (๙) จิตตะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนั้น ยอมทําใน บทศึกษาวา เราเปนผูรพู รอมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจออก ดังนี้; จิตตะปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต จักหายใจเขา ดังนี้. (๑๐) อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนนั้ ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู จักหายใจออก ดังนี้; อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู จักหายใจเขา ดังนี้. (๑๑) สะมาทะหัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนั้น ยอม ทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู จักหายใจออก ดังนี้; สะมาทะหัง จิตตัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตให ตั้งมั่นอยู จักหายใจเขา ดังนี้. (๑๒) วิโมจะยัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนั้น ยอมทํา ในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู จักหายใจออก ดังนี้; วิโมจะยัง จิตตัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูทําจิตให ปลอยอยู จักหายใจเขา ดังนี้. (จบ จตุกกะที่สาม) (๑๓) อะนิจจานุปสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนนั้ ยอมทําใน บทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความไมเที่ยงอยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้; อะนิจจานุปส สี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผู ตามเห็นซึ่งความไมเที่ยงอยูเปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้. (๑๔) วิราคานุปสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนั้น ยอมทําในบท ศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความจางคลายอยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้;
๗ วิราคานุปสสี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตาม เห็นซึ่งความจางคลายอยูเ ปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้. (๑๕) นิโรธานุปสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนนั้ ยอมทําในบท ศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความดับไมเหลืออยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้; นิโรธานุปสสี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตาม เห็นซึ่งความดับไมเหลืออยูเปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้. (๑๖) ปะฏินิสสัคคานุปสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ภิกษุนั้น ยอม ทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยูเปนประจํา จักหายใจออก ดังนี้; ปะฏินิสสัคคานุปสสี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ, ยอมทําในบทศึกษาวา เราเปนผูตามเห็นซึ่งความสลัดคืนอยูเปนประจํา จักหายใจเขา ดังนี้. (จบ จตุกกะที่สี่) เอวัง ภาวิตา โข ภิกขะเว อานาปานะสะติ, เอวัง พะหุลีกะตา, ดูกอน ภิกษุทั้งหลาย, อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว อยางนี้แล; มะหัปผะลา โหติ มะหานิสังสา, ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ, อิติ, ดวย ประการฉะนีแ้ ล.
๖. อิทัปปจจยตาปฏิจจสมุปปาทปาฐะ (หันทะ มะยัง ปะฏิจจะสะมุปปาทะธัมเมสุ อิทัปปจจะยะตาทิธัมมะปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** กะตะโม จะ ภิกขะเว ปะฏิจจะสะมุปปาโท, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ก็ปฏิจจสมุปบาท เปนอยางไรเลา ? (๑) ชาติปจจะยา ภิกขะเว ชะรามะระณัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะชาติเปนปจจัย, ชรามรณะยอมมี, อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง, อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะเหตุทพี่ ระตถาคต ทั้งหลาย, จะบังเกิดขึน้ ก็ตาม, จะไมบังเกิดขึน้ ก็ตาม, ฐิตา วะ สา ธาตุ,
๘ ธรรมธาตุนั้น ยอมตั้งอยูแลว นั่นเทียว, ธัมมัฏฐิตะตา, คือความตั้งอยูแหงธรรมดา, ธัมมะนิยามะตา, คือความเปนกฎตายตัวแหงธรรมดา, อิทัปปจจะยะตา, คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้ เปนปจจัย, สิ่งนี้สิ่งนี้ จึงเกิดขึ้น, ตัง ตะถาคะโต อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ, ตถาคตยอมรูพรอม เฉพาะ ยอมถึงพรอมเฉพาะ ซึ่งธรรมธาตุนนั้ , อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสะเมต๎วา, ครั้นรูพรอมเฉพาะแลว ถึงพรอมเฉพาะแลว, อาจิกขะติ เทเสติ, ยอมบอก ยอมแสดง, ปญญะเปติ ปฏฐะเปติ, ยอมบัญญัติ ยอมตั้งขึ้นไว, วิวะระติ วิภะชะติ, ยอมเปดเผย ยอมจําแนกแจกแจง, อุตตานีกะโรติ, ยอมทําใหเปน เหมือนการหงายของที่คว่ํา, ปสสะถาติ จาหะ, ชาติปจจะยา ภิกขะเว ชะรา มะระณัง, และไดตรัสแลวในบัดนีว้ า, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ทานทั้งหลายจงมาดู, เพราะชาติเปนปจจัย, ชรามรณะยอมมี. อิติ โข ภิกขะเว, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะเหตุดังนี้แล, ยา ตัต๎ระ ตะถะตา, ธรรมธาตุใด ในกรณีนั้น, อันเปน ตถตา, คือความเปนอยางนั้น, อะวิตะถะตา, เปน อวิตถตา, คือความไมผิดไปจากความเปนอยางนั้น, อะนัญญะถะตา, เปน อนัญญถตา, คือความไมเปนไปโดยประการอื่น, อิทัปปจจะยะตา, เปน อิทปั ปจจยตา, คือความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้ เปนปจจัย, สิ่งนี้สิ่งนี้ จึงเกิดขึ้น. อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว ปะฏิจจะสะมุปปาโท, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท, (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลว เกิดขึ้น). (๒) ภะวะปจจะยา ภิกขะเว ชาติ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะภพ เปนปจจัย, ชาติยอมมี. ......... ปสสะถาติ จาหะ, ภะวะปจจะยา ภิกขะเว ชาติ, และไดตรัสแลวในบัดนี้วา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ทานทั้งหลายจงมาดู, เพราะภพเปนปจจัย ชาติยอมมี. ......... (๓) อุปาทานะปจจะยา ภิกขะเว ภะโว, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะอุปาทานเปนปจจัย, ภพยอมมี. ......... ปสสะถาติ จาหะ, อุปาทานะ ปจจะยา ภิกขะเว ภะโว, และไดตรัสแลวในบัดนี้วา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ทานทั้งหลายจงมาดู, เพราะอุปาทานเปนปจจัย, ภพยอมมี. .........
๙ (๔) ตัณหาปจจะยา ภิกขะเว อุปาทานัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะตัณหาเปนปจจัย, อุปาทานยอมมี. ......... ปสสะถาติ จาหะ, ตัณหา ปจจะยา ภิกขะเว อุปาทานัง, และไดตรัสแลวในบัดนี้วา, ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย, ทานทั้งหลายจงมาดู, เพราะตัณหาเปนปจจัย, อุปาทานยอมมี. ...... (๕) เวทะนาปจจะยา ภิกขะเว ตัณหา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะ เวทนาเปนปจจัย, ตัณหายอมมี. ......... ปสสะถาติ จาหะ, เวทะนาปจจะยา ภิกขะเว ตัณหา, และไดตรัสแลวในบัดนีว้ า, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ทาน ทั้งหลายจงมาดู, เพราะเวทนาเปนปจจัย ตัณหายอมมี. ......... (๖) ผัสสะปจจะยา ภิกขะเว เวทะนา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะ ผัสสะเปนปจจัย, เวทนายอมมี. ....... ปสสะถาติ จาหะ, ผัสสะปจจะยา ภิกขะเว เวทะนา, และไดตรัสแลวในบัดนีว้ า, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ทาน ทั้งหลายจงมาดู, เพราะผัสสะเปนปจจัย, เวทนายอมมี. ....... (๗) สะฬายะตะนะปจจะยา ภิกขะเว ผัสโส, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะสฬายตนะเปนปจจัย, ผัสสะยอมมี. .... ปสสะถาติ จาหะ, สะฬายะตะนะ ปจจะยา ภิกขะเว ผัสโส, และไดตรัสแลวในบัดนี้วา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ทานทั้งหลายจงมาดู, เพราะสฬายตนะเปนปจจัย, ผัสสะยอมมี. ....... (๘) นามะรูปะปจจะยา ภิกขะเว สะฬายะตะนัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะนามรูปเปนปจจัย, สฬายตนะยอมมี. ........... ปสสะถาติ จาหะ, นามะรูปะปจจะยา ภิกขะเว สะฬายะตะนัง, และไดตรัสแลวในบัดนี้วา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ทานทั้งหลายจงมาดู, เพราะนามรูปเปนปจจัย, สฬายตนะ ยอมมี. ........ (๙) วิญญาณะปจจะยา ภิกขะเว นามะรูปง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะวิญญาณเปนปจจัย, นามรูปยอมมี. ...... ปสสะถาติ จาหะ, วิญญาณะ ปจจะยา ภิกขะเว นามะรูปง, และไดตรัสแลวในบัดนี้วา , ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ทานทั้งหลายจงมาดู, เพราะวิญญาณเปนปจจัย, นามรูปยอมมี. ...... (๑๐) สังขาระปจจะยา ภิกขะเว วิญญาณัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะสังขารเปนปจจัย, วิญญาณยอมมี. ...... ปสสะถาติ จาหะ, สังขาระ
๑๐ ปจจะยา ภิกขะเว วิญญาณัง, และไดตรัสแลวในบัดนี้วา, ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย, ทานทั้งหลายจงมาดู, เพราะสังขารเปนปจจัย, วิญญาณยอมมี. ...... (๑๑) อะวิชชาปจจะยา ภิกขะเว สังขารา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะอวิชชาเปนปจจัย, สังขารยอมมี. อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง, อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะเหตุทพี่ ระตถาคต ทั้งหลาย, จะบังเกิดขึน้ ก็ตาม, จะไมบังเกิดขึ้น ก็ตาม, ฐิตา วะ สา ธาตุ, ธรรมธาตุนนั้ ยอมตั้งอยูแ ลวนัน่ เทียว, ธัมมัฏฐิตะตา, คือความตัง้ อยูแหงธรรมดา, ธัมมะนิยามะตา, คือความเปนกฎตายตัวแหงธรรมดา, อิทปั ปจจะยะตา, คือ ความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้ เปนปจจัย, สิ่งนี้สิ่งนี้ จึงเกิดขึ้น. ตัง ตะถาคะโต อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ, ตถาคตยอมรูพรอม เฉพาะ ยอมถึงพรอมเฉพาะ ซึ่งธรรมธาตุนนั้ , อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสเมต๎วา, ครั้นรูพรอมเฉพาะแลว ถึงพรอมเฉพาะแลว, อาจิกขะติ เทเสติ, ยอมบอก ยอมแสดง, ปญญะเปติ ปฏฐะเปติ, ยอมบัญญัติ ยอมตั้งขึ้นไว, วิวะระติ วิภะชะติ, ยอมเปดเผย ยอมจําแนกแจกแจง, อุตตานีกะโรติ, ยอมทําใหเปน เหมือนการหงายของที่คว่ํา, ปสสะถาติ จาหะ, อะวิชชาปจจะยา ภิกขะเว สังขารา, และไดตรัสแลวในบัดนี้วา , ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ทานทั้งหลายจงมาดู, เพราะอวิชชาเปนปจจัย, สังขารยอมมี. อิติ โข ภิกขะเว, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะเหตุดังนี้แล, ยา ตัต๎ระ ตะถะตา, ธรรมธาตุใด ในกรณีนั้น, อันเปน ตถตา, คือความเปนอยางนั้น, อะวิตะถะตา, เปน อวิตถตา, คือความไมผิดไปจากความเปนอยางนั้น, อะนัญญะถะตา, เปน อนัญญถตา, คือความไมเปนไปโดยประการอื่น, อิทัปปจจะยะตา, เปน อิทัปปจจยตา, คือความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้ เปนปจจัย, สิ่งนี้สิ่งนี้ จึงเกิดขึ้น. อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว ปะฏิจจะสะมุปปาโท, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ธรรมนี้ เราเรียกวา ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอันเปนธรรมชาติ อาศัยกันแลว เกิดขึ้น) อิติ. ดังนี้แล.
๑๑ ๗. ธัมมนิยามสุตตปาฐะ (หันทะ มะยัง ธัมมะนิยามะสุตตะปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** เอวัมเม สุตัง, ขาพเจา (คือพระอานนทเถระ) ไดสดับมาแลวอยางนี,้ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะ ปณฑิกัสสะ อาราเม, สมัยหนึ่ง พระผูม ีพระภาคเจา เสด็จประทับอยูที่ เชตวันมหาวิหาร, ซึ่งเปนอารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกลเมืองสาวัตถี. ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ, ณ ที่นั้นแล พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปจจัสโสสุง, ภิกษุทั้งหลายเหลานั้น ทูลรับพระผูมพี ระ ภาคเจาแลววา พระองคผูเจริญ, ภะคะวา เอตะทะโวจะ, พระผูมพี ระภาคเจา ไดตรัสพระดํารัสนี้วา :อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง, อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะเหตุทพี่ ระตถาคตทั้งหลาย, จะบังเกิดขึน้ ก็ตาม, จะไมบังเกิดขึน้ ก็ตาม, ฐิตา วะ สา ธาตุ, ธรรมธาตุนนั้ ยอมตั้งอยูแลวนัน่ เทียว, ธัมมัฏฐิตะตา, คือความตั้งอยูแหงธรรมดา, ธัมมะ นิยามะตา, คือความเปนกฎตายตัวแหงธรรมดา, สัพเพ สังขารา อะนิจจา ติ. วา สังขารทัง้ หลายทั้งปวง ไมเที่ยง ดังนี้. ตัง ตะถาคะโต อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ, ตถาคตยอมรูพรอม เฉพาะ ยอมถึงพรอมเฉพาะ ซึ่งธรรมธาตุนนั้ , อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสะเมต๎วา ครั้นรูพรอมเฉพาะแลว ถึงพรอมเฉพาะแลว, อาจิกขะติ เทเสติ, ยอมบอก ยอมแสดง, ปญญะเปติ ปฏฐะเปติ, ยอมบัญญัติ ยอมตั้งขึ้นไว, วิวะระติ วิภะชะติ, ยอมเปดเผย ยอมจําแนกแจกแจง, อุตตานีกะโรติ, ยอมทําใหเปน เหมือนการหงายของที่คว่ํา, สัพเพ สังขารา อะนิจจา ติ. วา สังขารทั้งหลาย ทั้งปวง ไมเที่ยง ดังนี้.
๑๒ อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง, อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะเหตุที่พระตถาคตทั้งหลาย, จะบังเกิดขึน้ ก็ตาม, จะไมบังเกิดขึน้ ก็ตาม, ฐิตา วะ สา ธาตุ, ธรรมธาตุนนั้ ยอมตั้งอยูแลวนัน่ เทียว, ธัมมัฏฐิตะตา, คือความตั้งอยูแหงธรรมดา, ธัมมะ นิยามะตา, คือความเปนกฎตายตัวแหงธรรมดา, สัพเพ สังขารา ทุกขา ติ. วา สังขารทัง้ หลายทั้งปวง เปนทุกข ดังนี้. ตัง ตะถาคะโต อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ, ตถาคตยอมรูพรอม เฉพาะ ยอมถึงพรอมเฉพาะ ซึ่งธรรมธาตุนนั้ , อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสะเมต๎วา ครั้นรูพรอมเฉพาะแลว ถึงพรอมเฉพาะแลว, อาจิกขะติ เทเสติ, ยอมบอก ยอมแสดง, ปญญะเปติ ปฏฐะเปติ, ยอมบัญญัติ ยอมตั้งขึ้นไว, วิวะระติ วิภะชะติ, ยอมเปดเผย ยอมจําแนกแจกแจง, อุตตานีกะโรติ, ยอมทําใหเปน เหมือนการหงายของที่คว่ํา, สัพเพ สังขารา ทุกขา ติ. วา สังขารทั้งหลาย ทั้งปวง เปนทุกข ดังนี.้ อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง, อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะเหตุที่พระตถาคตทั้งหลาย, จะบังเกิดขึน้ ก็ตาม, จะไมบังเกิดขึน้ ก็ตาม, ฐิตา วะ สา ธาตุ, ธรรมธาตุนนั้ ยอมตั้งอยูแลวนัน่ เทียว, ธัมมัฏฐิตะตา, คือความตั้งอยูแหงธรรมดา, ธัมมะ นิยามะตา, คือความเปนกฎตายตัวแหงธรรมดา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตา ติ. วา ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เปนอนัตตา ดังนี้. ตัง ตะถาคะโต อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ, ตถาคตยอมรูพรอม เฉพาะ ยอมถึงพรอมเฉพาะ ซึ่งธรรมธาตุนนั้ , อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสะเมต๎วา ครั้นรูพรอมเฉพาะแลว ถึงพรอมเฉพาะแลว, อาจิกขะติ เทเสติ, ยอมบอก ยอมแสดง, ปญญะเปติ ปฏฐะเปติ, ยอมบัญญัติ ยอมตั้งขึ้นไว, วิวะระติ วิภะชะติ, ยอมเปดเผย ยอมจําแนกแจกแจง, อุตตานีกะโรติ, ยอมทําใหเปน เหมือนการหงายของที่คว่ํา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตา ติ. วา ธรรมทั้งหลาย ทั้งปวง เปนอนัตตา ดังนี้.
๑๓ อิทะมะโวจะ ภะคะวา, พระผูมพี ระภาคเจา ไดตรัสธรรมปริยายอันนี้ แลว, อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต, ภิกษุทั้งหลายเหลานัน้ ก็มีใจยินดี, ภาสิตัง อะภินันทุนติ. พอใจพระภาษิตของพระผูมพี ระภาคเจา พระองคนั้น, ดังนี้แล.
๘. โยคฐานาริยสัจจธัมมปาฐะ (หันทะ มะยัง อะริยะสัจเจสุ โยคะฐานะธัมมะปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** จัตตารีมานิ ภิกขะเว, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ธรรมชาติทั้งหลาย ๔ อยางเหลานี,้ ตะถานิ, อันเปน ตถา, คือธรรมชาติที่มีความเปนอยางนัน้ , อะวิตะถานิ, อันเปน อวิตถา, คือธรรมชาติที่มีความไมผิดไปจากความเปน อยางนั้น, อะนัญญะถานิ, อันเปน อนัญญถา, คือธรรมชาติที่มีความไมเปนไป โดยประการอื่น, มีอยู. กะตะมานิ จัตตาริ ? ธรรมชาติทั้งหลาย ๔ อยางเหลานี้ เปนอยางไรเลา ? อิทัง ทุกขัน-ติ ภิกขะเว ตะถะเมตัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, สี่อยาง เหลานั้น คือ :- ธรรมชาติอันมีอยูอยางตายตัววา, ความทุกขตองเปนอยางนี้ อยางนี้ ดังนี;้ นั่นแหละไดแกธรรมชาติอันเปน ตถา, คือธรรมชาติทมี่ ีความเปน อยางนั้น; อะวิตะถะเมตัง, หรือวา ไดแกธรรมชาติอันเปน อวิตถา, คือธรรมชาติ ที่มีความไมผิดไปจากความเปนอยางนั้น; อะนัญญะถะเมตัง, หรือวา ไดแก ธรรมชาติอนั เปน อนัญญถา, คือธรรมชาติที่มีความไมเปนไปโดยประการอื่น. อะยัง ทุกขะสะมุทะโย-ติ ตะถะเมตัง, อนึ่ง ธรรมชาติอันมีอยูอยาง ตายตัววา, เหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข ตองเปนอยางนี้ อยางนี้ ดังนี้; นั้นแหละ ไดแกธรรมชาติอันเปน ตถา, คือธรรมชาติที่มีความเปนอยางนัน้ ; อะวิตะถะเมตัง, หรือวา ไดแกธรรมชาติอนั เปน อวิตถา, คือธรรมชาติที่มีความไมผิดไปจากความ เปนอยางนัน้ ; อะนัญญะถะเมตัง, หรือวา ไดแกธรรมชาติอันเปน อนัญญถา, คือธรรมชาติที่มีความไมเปนไปโดยประการอื่น.
๑๔ อะยัง ทุกขะนิโรโธ-ติ ตะถะเมตัง, อนึ่ง ธรรมชาติอันมีอยูอยางตายตัว วา, ความดับไมเหลือแหงทุกข, ตองเปนอยางนี้ อยางนี้ ดังนี;้ นั่นแหละ ไดแก ธรรมชาติอนั เปน ตถา, คือธรรมชาติที่มีความเปนอยางนั้น; อะวิตะถะเมตัง, หรือวา ไดแกธรรมชาติอนั เปน อวิตถา, คือธรรมชาติที่มีความไมผิดไปจากความ เปนอยางนัน้ ; อะนัญญะถะเมตัง, หรือวา ไดแก ธรรมชาติอันเปน อนัญญถา, คือธรรมชาติที่มีความไมเปนไปโดยประการอื่น. อะยัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา-ติ ตะถะเมตัง, อนึ่ง ธรรมชาติ อันมีอยูอยางตายตัววา, ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตวใหลุถึงความดับไมเหลือแหงทุกข, ตองเปนอยางนี้ อยางนี้ ดังนี้; นั่นแหละ ไดแกธรรมชาติอันเปน ตถา, คือ ธรรมชาติทมี่ ีความเปนอยางนั้น; อะวิตะถะเมตัง, หรือวา ไดแกธรรมชาติอันเปน อวิตถา, คือธรรมชาติที่มีความไมผิดไปจากความเปนอยางนั้น; อะนัญญะถะ เมตัง, หรือวา ไดแกธรรมชาติอันเปน อนัญญถา, คือธรรมชาติที่มีความไมเปนไป โดยประการอื่น. อิทานิ โข ภิกขะเว จัตตาริ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เหลานี้แล คือ ธรรมชาติทั้งหลาย ๔ อยาง, ตะถานิ, อันเปน ตถา, คือธรรมชาติที่มีความ เปนอยางนัน้ , อะวิตะถานิ, เปน อวิตถา, คือธรรมชาติที่มีความไมผิดไปจาก ความเปนอยางนั้น, อะนัญญะถานิ, เปน อนัญญถา, คือธรรมชาติที่มีความไม เปนไปโดยประการอื่น. ตัส๎มา ติหะ ภิกขะเว, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี:้ อิทัง ทุกขัน-ติ โยโค กะระณีโย; โยคะปฏิบัติ อันเธอทั้งหลาย พึงกระทํา, เพื่อความรูแจงวา ความทุกข ตองเปนอยางนี้ อยางนี้ ดังนี้. อะยัง ทุกขะสะมุทะโย-ติ โยโค กะระณีโย; โยคะปฏิบัติ อันเธอ ทั้งหลายพึงกระทํา, เพือ่ ความรูแจงวา เหตุใหเกิดขึ้นแหงทุกข ตองเปนอยางนี้ อยางนี้ ดังนี้. อะยัง ทุกขะนิโรโธ-ติ โยโค กะระณีโย; โยคะปฏิบัติ อันเธอ ทั้งหลายพึงกระทํา, เพื่อความรูแจงวา ความดับไมเหลือแหงทุกข ตองเปน อยางนี้อยางนี้ ดังนี้.
๑๕ อะยัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา-ติ โยโค กะระณีโย; โยคะ ปฏิบัติ อันเธอทั้งหลายพึงกระทํา, เพื่อความรูแจงวา ขอปฏิบัติเครื่องทําสัตว ใหลุถึงความดับไมเหลือแหงทุกข ตองเปนอยางนี้ อยางนี้ ดังนี้. อิติ, ดวยประการฉะนี้แล.
๙. ธัมมปหังสนปาฐะ (หันทะ มะยัง ธัมมะปะหังสะนะสะมาทะปะนาทิวะจะนะปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** เอวัง ส๎วากขาโต ภิกขะเว มะยา ธัมโม, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ธรรม เปนธรรมอันเรากลาวดีแลว, อยางนี้, อุตตาโน, เปนธรรมอันทําใหเปน ดุจของคว่ํา ที่หงายแลว, วิวะโฏ, เปนธรรมอันทําใหเปนดุจของปด ที่เปดแลว, ปะกาสิโต, เปนธรรมอันเราตถาคต ประกาศกองแลว, ฉินนะปโลติโก, เปน ธรรมมีสวนขี้ริ้ว อันเราตถาคตเฉือนออกหมดสิ้นแลว, เอวัง ส๎วากขาเต โข ภิกขะเว มะยา ธัมเม, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เมื่อธรรมนี้ เปนธรรมอันเรา กลาวดีแลว อยางนี้, ฯลฯ อะลัง เอวะ, ยอมเปนการสมควรแลว นั่นเทียว, สัทธาปพพะชิเตนะ กุละปุตเตนะ วิริยัง อาระภิตุง, ที่กุลบุตรผูบวชแลว ดวยศรัทธา จะพึงปรารภการกระทําความเพียร, กามัง ตะโจ จะ นะหารุ จะ อัฏฐิ จะ อะวะสิสสะตุ, ดวยการอธิษฐานจิตวา, แมหนัง เอ็น กระดูก เทานัน้ จักเหลืออยู, สะรีเร อุปะสุสสะตุ มังสะโลหิตงั , เนื้อและเลือดใน สรีระนี้ จะเหือดแหงไป ก็ตามที, ยันตัง ปุริสะถาเมนะ ปุริสะวิริเยนะ ปุริสะปะรักกะเมนะ ปตตัพพัง, ประโยชนใด, อันบุคคลจะพึงลุถงึ ไดดวย กําลัง ดวยความเพียรความบากบั่นของบุรุษ, นะ ตัง อะปาปุณิต๎วา ปุริสัสสะ วิริยัสสะ สัณฐานัง ภะวิสสะตีต.ิ ถายังไมบรรลุประโยชนนนั้ แลว, จักหยุดความเพียรของบุรุษเสีย, เปนไมมี ดังนี้.
๑๖ ทุกขัง ภิกขะเว กุสีโต วิหะระติ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, คนผูเกียจ คราน ยอมอยูเปนทุกข, โวกิณโณ ปาปะเกหิ อะกุสะเลหิ ธัมเมหิ, ระคนอยู ดวยอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย ดวย, มะหันตัญจะ สะทัตถัง ปะริหาเปติ, ยอมทําประโยชนอันใหญหลวงของตนใหเสื่อม ดวย, อารัทธะวิริโย จะ โข ภิกขะเว สุขัง วิหะระติ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, บุคคลผูม ีความเพียรอันปรารภ แลว ยอมอยูเปนสุข, ปะวิวิตโต ปาปะเกหิ อะกุสะเลหิ ธัมเมหิ, สงัดแลว จากอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย ดวย, มะหันตัญจะ สะทัตถัง ปะริปูเรติ, ยอมทําประโยชนอันใหญหลวงของตนใหบริบูรณ ดวย, นะ ภิกขะเว หีเนนะ อัคคัสสะ ปตติ โหติ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, การบรรลุธรรมอันเลิศ ดวยการ กระทําอันเลว ยอมมีไมไดเลย; อัคเคนะ จะ โข อัคคัสสะ ปตติ โหติ, แตการบรรลุธรรมอันเลิศ ดวยการกระทําอันเลิศ ยอมมีไดแล. มัณฑะเปยยะมิทัง ภิกขะเว พ๎รห๎มะจะริยัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, พรหมจรรยนี้ นาดื่ม เหมือนมัณฑะยอดโอชาแหงโครส, สัตถา สัมมุขีภโู ต, ทั้งพระศาสดา ก็อยู ณ ที่เฉพาะหนานี้แลว, ตัส๎มาติหะ ภิกขะเว วิริยัง อาระภะถะ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เพราะฉะนัน้ เธอทั้งหลาย, จงปรารภความ เพียรเถิด, อัปปตตัสสะ ปตติยา, เพื่อการบรรลุถึงซึ่งธรรม อันยังไมบรรลุ, อะนะธิคะตัสสะ อะธิคะมายะ, เพื่อการถึงทับซึ่งธรรม อันยังไมถึงทับ, อะสัจฉิกะตัสสะ สัจฉิกิริยายะ, เพื่อการทําใหแจงซึ่งธรรม ที่ยังไมไดทาํ ใหแจง, เอวัง โน อะยัง อัมหากัง ปพพัชชา, เมือ่ เปนอยางนี้, บรรพชานี้ ของเรา ทั้งหลาย, อะวังกะตา อะวัญฌา ภะวิสสะติ, จักเปนบรรพชาไมต่ําทราม จัก ไมเปนหมันเปลา, สะผะลา สะอุท๎ระยา, แตจักเปนบรรพชาที่มผี ล เปน บรรพชาที่มกี ําไร, เยสัง มะยัง ปะริภุญชามะ, จีวะระปณฑะปาตะเสนาสะนะ คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขารัง, พวกเราทั้งหลาย บริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช, ของชนทั้งหลายเหลาใด; เตสัง เต การา อัมเหสุ, การ กระทํานัน้ ๆ ของชนทัง้ หลายเหลานั้น ในเราทัง้ หลาย, มะหัปผะลา ภะวิสสันติ มะหานิสังสา-ติ, จักเปนการกระทํามีผลใหญ มีอานิสงสใหญ, ดังนี้. เอวัง หิ โว ภิกขะเว สิกขิตัพพัง, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เธอทั้งหลาย พึงทําความ สําเหนียก อยางนี้แล.
๑๗ อัตตัตถัง วา หิ ภิกขะเว สัมปสสะมาเนนะ, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, เมื่อบุคคลมองเห็นอยู ซึ่งประโยชนแหงตน ก็ตาม, อะละเมวะ อัปปะมาเทนะ สัมปาเทตุง, ก็ควรแลวนัน่ เทียว, เพื่อยังประโยชนแหงตนใหถึงพรอม ดวย ความไมประมาท; ปะรัตถัง วา หิ ภิกขะเว สัมปสสะมาเนนะ, ดูกอนภิกษุ ทั้งหลาย, เมื่อบุคคลมองเห็นอยู ซึ่งประโยชนแหงชนเหลาอืน่ ก็ตาม, อะละเมวะ อัปปะมาเทนะ สัมปาเทตุง, ก็ควรแลวนัน่ เทียว, เพือ่ ยังประโยชนแหงชน เหลาอื่นใหถงึ พรอม ดวยความไมประมาท, อุภะยัตถัง วา หิ ภิกขะเว สัมปสสะมาเนนะ, ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย, หรือวา เมื่อบุคคลมองเห็นอยู ซึ่ง ประโยชนของทั้งสองฝาย ก็ตาม, อะละเมวะ อัปปะมาเทนะ สัมปาเทตุง, ก็ควรแลวนัน่ เทียว, เพื่อยังประโยชนของทั้งสองฝายนั้นใหถึงพรอม ดวยความ ไมประมาท, อิติ, ดังนีแ้ ล.
๑๐. มหาพุทธโถมนาการปาฐะ (พุทธคุณรอยบท) (หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต โถมะนาการะปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** เตนะหิ ภันเต สุโณหิ, ดูกอนทานผูเ จริญ ! ขอทานจงฟงซึ่งคําของ ขาพเจาเถิด; ยัสสาหัง สาวะโก, ขาพเจานั้น เปนสาวกของพระผูมพี ระภาคเจา พระองคใด, ธีรัสสะ, พระผูมพี ระภาค พระองคนั้น, เปนนักปราชญผู ทรงไวซึ่งปญญา, วิคะตะโมหัสสะ, เปนผูปราศจากแลว จากโมหะ, ปะภินนะขีลัสสะ, เปนผูมีเสาเขื่อนเครื่องตรึงจิต อันหักแลว, วิชิตะวิชะยัสสะ, เปนผูมีชัยชนะ อันวิชิตแลว, อะนีฆัสสะ, เปนผูปราศจากแลว จากสิ่งคับแคนสะเทือนใจ,
๑๘ สุสะมะจิตตัสสะ, เปนผูมีจิตสม่ําเสมอดวยดี, พุทธะสีลัสสะ, เปนผูมีปกติภาวะ แหงบุคคลผูเปนพุทธะ, สาธุปญญัสสะ, เปนผูมีปญ ญา เครื่องยังประโยชนใหสําเร็จ, เวสะมันตารัสสะ, เปนผูขามไปไดแลว ซึ่งวัฏฏะสงสารอันขรุขระ, วิมะลัสสะ, เปนผูปราศจากแลว จากมลทินทั้งปวง, ภะคะวะโต ตัสสะ สาวะโกหะมัส๎มิ, ขาพเจา เปนสาวกของพระผูม ีพระภาค พระองคนั้น; อะกะถังกะถิสสะ, พระผูมพี ระภาค พระองคนั้น, เปนผูไมมีการถาม ใครวาอะไร เปนอะไร, ตุสิตัสสะ, เปนผูอิ่มแลว ดวยความอิ่มในธรรม อยูเสมอ, วันตะโลกามิสัสสะ, เปนผูมีเหยือ่ ในโลก อันทรงคายทิ้งแลว, มุทิตัสสะ, เปนผูมีมุทิตาจิต ในสัตวทั้งหลายทัง้ ปวง, กะตะสะมะณัสสะ, เปนผูมีสมณภาวะ อันทรงกระทําสําเร็จแลว, มะนุชัสสะ, เปนผูถือกําเนิดแลว แตกําเนิดแหงมนู โดยแท, อันติมะสะรีรัสสะ, เปนผูมีสรีระ อันมีในครั้งสุดทาย, นะรัสสะ, เปนผูเปนนรชน คือเปนคนแท, อะโนปะมัสสะ, เปนผูอันใครๆ กระทําอุปมามิได, วิระชัสสะ, เปนผูปราศจากกิเลส อันพึงเปรียบไดดวยธุลี, ภะคะวะโต ตัสสะ สาวะโกหะมัส๎มิ, ขาพเจา เปนสาวกของพระผูม ีพระภาค พระองคนั้น; อะสังสะยัสสะ, พระผูมพี ระภาค พระองคนั้น, เปนผูหมดสิน้ แลว จากความสงสัยทั้งปวง, กุสะลัสสะ, เปนผูมีปญ ญา เครื่องตัดกิเลสดุจหญาคาเสียได, เวนะยิกัสสะ, เปนผูนาํ สัตว สูสภาพอันวิเศษ, สาระถิวะรัสสะ, เปนสารถีอันประเสริฐ กวาสารถีทั้งหลาย, อะนุตตะรัสสะ, เปนผูไมมีใครยิ่งกวา โดยคุณธรรมทัง้ ปวง, รุจิระธัมมัสสะ, เปนผูมีธรรม เปนที่ตั้งแหงความชอบใจ ของสัตว ทั้งปวง,
๑๙ นิกกังขัสสะ, เปนผูมีกังขาเครื่องของใจ อันทรงนําออกแลวหมดสิ้น, ปะภาสะกะรัสสะ, เปนผูกระทํา ซึ่งความสวางแกปวงสัตว, มานัจฉิทัสสะ, เปนผูต ัดแลวซึ่งมานะ เครื่องทําความสําคัญ มั่นหมาย, วีรัสสะ, เปนผูมีวีรธรรม เครื่องกระทําความแกลวกลา, ภะคะวะโต ตัสสะ สาวะโกหะมัส๎มิ, ขาพเจา เปนสาวกของพระผูม ีพระภาค พระองคนั้น; นิสะภัสสะ, พระผูมพี ระภาค พระองคนั้น, เปนผูเ ปนยอดมนุษย แหงมนุษยทั้งหลาย, อัปปะเมยยัสสะ, เปนผูมีคุณอันใคร ๆ กําหนดประมาณใหมิได, คัมภีรัสสะ, เปนผูมีธรรมะสภาวะอันลึกซึ้ง ไมมีใครหยั่งได, โมนัปปตตัสสะ, เปนผูถึงซึ่งปญญา เครือ่ งทําความเปนแหงมุนี, เขมังกะรัสสะ, เปนผูกระทําความเกษม แกสรรพสัตว, เวทัสสะ, เปนผูมีเวท คือญาณเครื่องเจาะแทงซึ่งโมหะ, ธัมมัฏฐัสสะ, เปนผูประดิษฐานอยูในธรรม, สุสังวุตัตตัสสะ, เปนผูมีพระองค อันทรงจัดสรรดีแลว, สังคาติคัสสะ, เปนผูลวงกิเลส อันเปนเครื่องของเสียได, มุตตัสสะ, เปนผูหลุดรอดแลว จากบวงทั้งปวง, ภะคะวะโต ตัสสะ สาวะโกหะมัส๎มิ, ขาพเจา เปนสาวกของพระผูม ีพระภาค พระองคนั้น; นาคัสสะ, พระผูมพี ระภาค พระองคนั้น, เปนผูเปนดังพระยา ชางตัวประเสริฐ, ปนตะเสนัสสะ, เปนผูมีการนอนอันสงัด จากการรบกวนแหงกิเลส, ขีณะสัญโญชะนัสสะ, เปนผูมีกิเลสเครื่องประกอบไวในภพ สิ้นสุดแลว, วิมุตตัสสะ, เปนผูหลดพนแลว จากทุกขทั้งปวง, ปะฏิมันตะกัสสะ, เปนผูมีความคิด เหมาะเจาะเฉพาะเรื่อง, โมนัสสะ, เปนผูมีปญ ญา เครื่องทําความเปนแหงมุนี, ปนนะธะชัสสะ, เปนผูมีมานะเปนดุจธงอันพระองคทรงลดลงไดแลว,
๒๐ วีตะราคัสสะ, ทันตัสสะ, นิปปะปญจัสสะ,
เปนผูปราศจากแลว จากราคะ, เปนผูมีการฝกตน อันฝกแลว, เปนผูหมดสิน้ แลว จากกิเลสเครื่องเหนี่ยวหนวงให เนิ่นชา, ภะคะวะโต ตัสสะ สาวะโกหะมัส๎มิ, ขาพเจา เปนสาวกของพระผูม ีพระภาค พระองคนั้น; อิสิสัตตะมัสสะ, พระผูมพี ระภาค พระองคนั้น, เปนผูแสวงหาพบ คุณอันใหญหลวง องคที่ ๗, อะกุหัสสะ, เปนผูปราศจากแลว จากความคดโกง, เตวิชชัสสะ, เปนผูทรงไว ซึ่งวิชชาทั้ง ๓, พ๎รห๎มะสัตตัสสะ, เปนผูเปนพรหม แหงปวงสัตว, นะหาตะกัสสะ, เปนผูเสร็จ จากการอาบการลางแลว, ปะทะกัสสะ, เปนผูมีหลักมีเกณฑ ในการกระทําทัง้ ปวง, ปสสัทธัสสะ, เปนผูมีกมลสันดาน อันระงับแลว, วิทิตะเวทัสสะ, เปนผูมีญาณเวท อันวิทิตแลว, ปุรินทะทัสสะ, เปนผูทําลาย ซึ่งธานีนคร แหงกิเลสทั้งหลาย, สักกัสสะ, เปนผูเปนจอม แหงสัตวทั้งปวง, ภะคะวะโต ตัสสะ สาวะโกหะมัส๎มิ, ขาพเจา เปนสาวกของพระผูม ีพระภาค พระองคนั้น; อะริยัสสะ, พระผูมพี ระภาค พระองคนั้น, เปนผูไปพนแลวจาก ขาศึกคือกิเลส, ภาวิตัตตัสสะ, เปนผูมีตน อันอบรมถึงที่สุดแลว, ปตติปต ตัสสะ, เปนผูมีธรรมที่ควรบรรลุ อันบรรลุแลว, เวยยากะระณัสสะ, เปนผูกระทํา ซึ่งอรรถะทั้งหลาย ใหแจมแจง, สะติมะโต, เปนผูมีสติสมบูรณอยูเอง ในทุกกรณี, วิปสสิสสะ, เปนผูมีความรูแจงเห็นแจง เปนปรกติ, อะนะภิณะตัสสะ, เปนผูมีจิตไมแฟบลง ดวยอํานาจแหงกิเลส, โน อะปะณะตัสสะ, เปนผูม ีจิตไมฟขู ึ้น ดวยอํานาจแหงกิเลส,
๒๑ อาเนชัสสะ, เปนผูมีจิตไมหวั่นไหว ดวยอํานาจแหงกิเลส, วะสิปปตตัสสะ, เปนผูบรรลุถึง ซึ่งความมีอํานาจเหนือกิเลส, ภะคะวะโต ตัสสะ สาวะโกหะมัส๎มิ, ขาพเจา เปนสาวกของพระผูม ีพระภาค พระองคนั้น; สัมมัคคะตัสสะ, พระผูมพี ระภาค พระองคนั้น, เปนผูไปแลว โดยชอบ, ฌายิสสะ, เปนผูมีการเพงพินิจ ทั้งในสมาธิและปญญา, อะนะนุคะตันตะรัสสะ, เปนผูมีสันดาน อันกิเลสตามถึงไมไดแลว, สุทธัสสะ, เปนผูหมดจดแลว จากสิ่งเศราหมองทั้งปวง, อะสิตัสสะ, เปนผูอันตัณหาและทิฏฐิ อาศัยไมไดแลว, อัปปะภีตัสสะ, เปนผูไมมีความหวาดกลัว ในสิ่งเปนที่ตั้งแหง ความกลัว, ปะวิวิตตัสสะ, เปนผูสงัดแลว จากการรบกวนแหงกิเลสทั้งปวง, อัคคัปปตตัสสะ, เปนผูบรรลุแลว ซึ่งธรรมอันเลิศ, ติณณัสสะ, เปนผูขามแลว ซึ่งโอฆกันดาร, ตาระยันตัสสะ, เปนผูยังบุคคลอื่นใหขา มแลว ซึ่งโอฆะนั้น, ภะคะวะโต ตัสสะ สาวะโกหะมัส๎มิ, ขาพเจา เปนสาวกของพระผูม ีพระภาค พระองคนั้น; สันตัสสะ, พระผูมพี ระภาค พระองคนั้น, เปนผูมีสันดาน สงบรํางับแลว, ภูริปญญัสสะ, เปนผูมีปญ ญา อันหนาแนน, มะหาปญญัสสะ, เปนผูมีปญ ญา อันใหญหลวง, วีตะโลภัสสะ, เปนผูปราศจากแลว จากโลภะ, ตะถาคะตัสสะ, เปนผูมีการไปและการมา เหมือนอยางพระพุทธเจา ทั้งหลาย, สุคะตัสสะ, เปนผูไปแลวดวยดี, อัปปะฏิปุคคะลัสสะ, เปนบุคคล ผูไมมบี ุคคลใดเปรียบ, อะสะมัสสะ, เปนบุคคล ผูไมมบี ุคคลใดเสมอ,
๒๒ วิสาระทัสสะ, เปนบุคคล ผูมีญาณอันแกลวกลา, นิปุณัสสะ, เปนผูมีปญ ญาละเอียดออน, ภะคะวะโต ตัสสะ สาวะโกหะมัส๎มิ, ขาพเจา เปนสาวกของพระผูม ีพระภาค พระองคนั้น; ตัณหัจฉิทัสสะ, พระผูมพี ระภาค พระองคนั้น, เปนผูเจาะทะลุขาย คือตัณหาเครื่องดักสัตว, พุทธัสสะ, เปนผูรู ผูตนื่ ผูเบิกบาน เปนปรกติ, วีตะธูมัสสะ, เปนผูมีกิเลสดุจควันไฟ ไปปราศแลว, อะนุปะลิตตัสสะ, เปนผูอันตัณหาและทิฏฐิ ไมฉาบทาไดอีกตอไป, อาหุเนยยัสสะ, เปนผูเปนอาหุเนยยบุคคล ควรแกของที่เขานําไปบูชา, ยักขัสสะ, เปนผูที่โลกทั้งปวง ตองบูชา, อุตตะมะปุคคะลัสสะ, เปนบุคคลผูสูงสุด แหงบุคคลทั้งหลาย, อะตุลัสสะ, เปนผูมีคุณ อันไมมใี ครวัดได, มะหะโต, เปนผูเปนมหาบุรุษ, ยะสัคคัปปตตัสสะ, เปนผูถึงแลว ซึ่งความเลิศดวยเกียรติคุณ, ภะคะวะโต ตัสสะ สาวะโกหะมัส๎มิ, ขาพเจา เปนสาวกของพระผูม ีพระภาค พระองคนั้น; อิต,ิ ดังนี้แล.
๒๓
ภาค ๒ ๑. ขุททกปาฐมังคลสุตตะ (หันทะ มะยัง ขุททะกะปาเฐ มังคะละสุตตัง ภะณามะ เส.) ****** เอวัมเม สุตัง, ขาพเจา (คือพระอานนทเถระ) ไดสดับมาแลวอยางนี้, เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปณฑิกัสสะ อาราเม, สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจา ประทับอยูในพระเชตวัน ซึ่งเปนอารามของ อนาถปณฑิกเศรษฐี ใกลเมืองสาวัตถี, อะถะโข อัญญะตะรา เทวะตา อะภิกกันตายะ รัตติยา อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกัปปง เชตะวะนัง โอภาเสต๎วา, ครั้งนั้นแล เทพยดาองคหนึ่ง, เมื่อราตรีลวงแลว, มีวรรณะอัน งดงาม ทําพระเชตวันใหสวางทั่วถึงแลว, เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิ, อุปะสังกะมิต๎วา ภะคะวันตัง อะภิวาเทต๎วา เอกะมันตัง อัฏฐาสิ, เขาไป เฝาพระผูมพี ระภาคเจาถึงที่ประทับ, ครั้นเขาไปเฝาแลว ไดยืนถวายบังคมพระผูมี พระภาคเจา ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง. เอกะมันตัง ฐิตา โข สา เทวะตา ภะคะวันตัง คาถายะ อัชฌะภาสิ, เทพยดานัน้ ครั้นยืน ณ ที่สมควรแลว ไดทูลพระผูมีพระภาคเจา ดวยคาถาวา :พะหู เทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง, อากังขะมานา โสตถานัง พ๎รูหิ มังคะละมุตตะมัง. เทพยดาและมนุษยเปนอันมาก ผูป รารถนาความสวัสดี, ไดพากันคิดถึงมงคล ทั้งหลาย, ขอพระองคจงตรัสบอกมงคลอันสูงสุดเถิด. (ภะคะวา อิมา อัฏฐัตติงสะมังคะละคาถาโย อะภาสิ, พระผูมีพระ ภาคเจา ไดตรัสมงคลคาถา ๓๘ ประการ เหลานี้ วา :-) อะเสวะนา จะ พาลานัง ปณฑิตานัญจะ เสวะนา, ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
๒๔ การไมคบคนพาล, การคบแตพวกบัณฑิต, และการบูชาบุคคลที่ควรบูชาทั้งหลาย, สามอยางนี้ เปนมงคลอันสูงสุด. ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา, อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. การอยูในประเทศอันสมควร, ความเปนผูมบี ญ ุ อันไดกระทําไวแลว ในกาลกอน, และการตั้งตนไวชอบ, สามอยางนี้ เปนมงคลอันสูงสุด. พาหุสัจจัญจะ สิปปญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต, สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ความเปนพหูสูต คือไดสดับมามาก, ความเปนผูมีศิลปะ, วินัยที่ตนศึกษาดีแลว, และวาจาอันเปนสุภาษิต, สี่อยางนี้ เปนมงคลอันสูงสุด. มาตาปตุอุปฏ ฐานัง ปุตตะทารัสสะ๑ สังคะโห, อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง. การบํารุงมารดาบิดา, การสงเคราะหบุตรและภรรยา, และการทํางานไมใหคั่งคาง, สี่อยางนี้ เปนมงคลอันสูงสุด. ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห, อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. การใหทาน, การประพฤติธรรม, การสงเคราะหหมูญาติ, และการทํางาน ที่ปราศจากโทษ, สี่อยางนี้ เปนมงคลอันสูงสุด. อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม, อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. การงดเวนเสียจากบาป, การสํารวมจากการดืม่ น้ําเมา, และความไมประมาท ในธรรมทั้งหลาย, สามอยางนี้ เปนมงคลอันสูงสุด. คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญุตา, กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ความเคารพ, ความออนนอมถอมตน, ความสันโดษ, ความเปนผูรูคณ ุ ที่ผูอื่น กระทําแลว, และการฟงธรรมตามกาล, หาอยางนี้ เปนมงคลอันสูงสุด. หมายเหตุ : ๑. มงคลขอนี้ทานแยกออกเปน ๒ ขอ คือ สงเคราะหบุตร ๑, และสงเคราะห ภรรยา ๑. สวดวา “สี่อยางนี้” จึงครบ ๓๘ ประการ
๒๕ ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง, กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ความอดทน, ความเปนคนวางายสอนงาย, การไดเห็นสมณะทั้งหลาย, และการ สนทนาธรรมตามกาล, สี่อยางนี้ เปนมงคลอันสูงสุด. ตะโป จะ พ๎รห๎มะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะทัสสะนัง, นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ตบะคือความเพียรเครื่องเผากิเลสใหเรารอน, การประพฤติพรหมจรรย, การเห็น อริยสัจทั้งหลาย, และการทําใหแจงซึ่งพระนิพพาน, สี่อยางนี้ เปนมงคลอันสูงสุด. ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ, อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง. จิตของบุคคลผูถูกโลกธรรม ๘ กระทบแลว ไมหวั่นไหว, จิตไมเศราโศก, จิตปลอด จากกิเลสดุจธุลี, และจิตเกษมจากโยคะ, สี่อยางนี้ เปนมงคลอันสูงสุด. เอตาทิสานิ กัต๎วานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา, สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ. สัตวทั้งหลาย ทํามงคลดังกลาวมานี้แลว, เปนผูไ มพา ยแพในขาศึกทัง้ ปวง, ถึง ความสวัสดีในที่ทุกสถาน, ขอนั้นจัดเปนมงคลอันสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย เหลานั้น, ดังนี้แล.
๒๖ ๒. กสิสุตตปาฐะ (พุทธเกษตร) (หันทะ มะยัง กะสิสุตตะปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบนอมแดพระผูมพี ระภาคเจา พระองคนั้น, สุนิพพุตัสสะ ตาทิโน สัมมาวิรุฬ๎หะธัมมัสสะ สาวะกานัง ปะรัมปะรา, ผูเสด็จนิพพานดีแลว ยังมีพระคุณคงที่ มีพระธรรมงอกงามโดยชอบแลว, เพราะการสืบตอของพระสาวกทั้งหลาย, ตัสสะ ปาระมิเตเชนะ, ดวยเดชแหงบารมี ของพระผูมพี ระภาคเจานั้น, สัทธัมโม อะมะตัปผะโล กิเลสะสันตาปจจุณเหปโลเก รูหะติ ฐานะโส, พระสัทธรรมมีอมตะเปนผล, ยอมเจริญขึน้ ในโลกแมทามกลางความแผด เผาแหงกิเลส ตามฐานะ, ตัง โข พุทธัง ภะคะวันตัง สะสัทธัมมัง สะสาวะกัง อะภิวันทิยะ ปูเชต๎วา, เราทั้งหลาย อภิวาทบูชาแลว ซึ่งพระผูมพี ระภาคเจา ผูตรัสรูแ ลว พระองคนั้น, พรอมทั้งพระสัทธรรม พรอมทั้งพระสาวก, เขตเต ระตะนัตตะเย โรเปมะ ปุญญะพีชานิ, จะหวานพืชคือบุญทั้งหลาย ในพระรัตนตรัยอันเปนเขตบุญ, ญาณัสสะ สาธะกานิ โน โลเก ทุกขัสสะ โลกัมหา สัมมา นิสสะระณัสสะ จะ, พืชคือบุญนัน้ เปนเครือ่ งยังญาณของเราทั้งหลายใหสําเร็จดวย, ยังความ ทุกขในโลกใหสิ้นดวย, ยังความหลีกออกจากโลกโดยชอบ ใหสําเร็จดวย, ภาสิตัง พุทธะเสฏเฐนะ สัจจัง โลกัคคะวาทินา, คําสัจจอนั พระพุทธเจาผูป ระเสริฐสุด เปนอัครวาทีในโลก ไดตรัสไวแลววา, สัทธา พีชัง ตะโป วุฏฐิ ปญญา เม ยุคะนังคะลัง, ศรัทธาเปนพืช, ตบะคือความเพียรเครื่องเผากิเลสเปนฝน, ปญญาของเรา เปนแอกและไถ, หิริ อีสา มะโน โยตตัง สะติ เม ผาละปาจะนัง, หิริเปนงอนไถ, ใจเปนเชือกชัก, สติของเราเปนผาลและปฏัก,
๒๗ กายะคุตโต วะจีคุตโต อาหาเร อุทะเร ยะโต, สัจจัง กะโรมิ นิททานัง โสรัจจัง เม ปะโมจะนัง, เรามีกายอันคุมครองแลว, มีวาจาอันคุมครองแลว, สํารวมแลวในการ บริโภคอาหาร, เราทําการดายหญา (คือวาจาสับปลับ) ดวยคําสัตย, ความ สงบเสงี่ยมของเรา เปนเครื่องทําใหเสร็จงาน; วิริยัง เม ธุระโธรัยหัง โยคักเขมาธิวาหะนัง, ความเพียรของเรา เปนเครื่องนําธุระไปใหสมหวัง, นําไปใหถึงพระนิพพาน อันเปนแดนเกษมจากโยคะ, คัจฉะติ อะนิวัตตันตัง ยัตถะ คันต๎วา นะ โสจะติ, ไปอยางไมถอยหลัง ยังที่ซึ่งบุคคลไปถึงแลว ไมเศราโศก, เอวะเมสา กะสี กัฏฐา สา โหติ อะมะตัปผะลา, เราทํานาอยางนี้, นาที่เราทํานัน้ ยอมมีอมตะเปนผล, เอตัง กะสิง กะสิต๎วานะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะตี ติ. บุคคลทํานาอยางนี้แลว ยอมพนจากทุกขทั้งปวงได ดังนี้แล.
๓. อภิณหปจจเวกขณปาฐะ (หันทะ มะยัง อะภิณ๎หะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** ชะราธัมโมม๎หิ ชะรัง อะนะตีโต (ตา), เรามีความแกเปนธรรมดา, จะลวงพนความแกไปไมได, พ๎ยาธิธัมโมม๎หิ พ๎ยาธิง อะนะตีโต (ตา), เรามีความเจ็บไขเปนธรรมดา, จะลวงพนความเจ็บไขไปไมได, มะระณะธัมโมม๎หิ มะระณัง อะนะตีโต (ตา), เรามีความตายเปนธรรมดา, จะลวงพนความตายไปไมได, สัพเพหิ เม ปเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว, เรามีความเปนตางๆ คือวาจะตองพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจทั้งสิ้น,
๒๘ กัมมัสสะโกม๎หิ, เรามีกรรมเปนของของตน, กัมมะทายาโท (ทา), เปนผูมีกรรมที่ตองรับผลเปนมรดกตกทอด, กัมมะโยนิ, เปนผูมีกรรมเปนกําเนิด, กัมมะพันธุ, เปนผูมีกรรมเปนเผาพันธุ, กัมมะปะฏิสะระโณ (ณา), เปนผูมีกรรมเปนทีพ่ ึ่งอาศัย, ยัง กัมมัง กะริสสามิ, เราจักกระทํากรรมอันใดไว, กัล๎ยาณัง วา ปาปะกัง วา, จะเปนกรรมดีก็ตาม จะเปนกรรมชั่วก็ตาม, ตัสสะ ทายาโท (ทา) ภะวิสสามิ, เราจักเปนผูร ับผลตกทอดแหงกรรมนั้น, เอวัง อัมเหหิ อะภิณ๎หัง ปจจะเวกขิตพั พัง, เราทั้งหลาย พึงพิจารณาอยางนี้ ทุกวัน ๆ แล. หมายเหตุ : ในวงเล็บ ( ) สําหรับผูหญิงสวด
๔. สีลุทเทสปาฐะ (หันทะ มะยัง สีลุทเทสะปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** ภาสิตะมิทัง เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ, พระผูมีพระภาคเจา ผูรผู ูเห็น ผูเปนพระอรหันตสัมมาสัม พุทธเจา พระองคนั้น, ไดทรงภาษิตไว ดังนีว้ า :- สัมปนนะสีลา ภิกขะเว วิหะระถะ สัมปนนะปาฏิโมกขา, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ทานทั้งหลาย จงเปนผู ถึงพรอมดวยศีล, มีปาฏิโมกขถึงพรอมแลวอยูเถิด, ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุตา วิหะระถะ อาจาระโคจะระสัมปนนา, ทานทั้งหลาย จงเปนผูสาํ รวมแลว ดวยการสํารวมในพระปาฏิโมกข, มีอาจาระคือมารยาท และโคจรคือที่เที่ยวไป ถึงพรอมแลวอยูเถิด, อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี สะมาทายะ สิกขะถะ สิกขาปะเทสูต,ิ ทานทั้งหลาย จงเปนผูมปี กติเห็นภัยในโทษ
๒๙ ทั้งหลาย มาตรวาเล็กนอย, สมาทานศึกษาในสิกขาบททั้งหลายเถิด, ดังนี้, ตัส๎มาติหัมเหหิ สิกขิตัพพัง, เพราะเหตุนนั้ อันเราทั้งหลาย ควรศึกษา สําเหนียก ในสิกขาบทเหลานี้ ดังนี้วา :- สัมปนนะสีลา วิหะริสสามะ สัมปนนะปาฏิโมกขา, เราทั้งหลาย จักเปนผูถ ึงพรอมดวยศีลอยู, ปาฏิโมกขะ สังวะระสังวุตา วิหะริสสามะ อาจาระโคจะระสัมปนนา, จักมีอาจาระคือ มารยาทและโคจรคือที่เที่ยวไปถึงพรอมอยู, อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี สะมาทายะ สิกขิสสามะ สิกขาปะเทสูติ, เราทั้งหลาย จักเปนผูม ีปกติเห็น ภัยในโทษทัง้ หลาย มาตรวาเล็กนอย, สมาทานศึกษาในสิกขาบททั้งหลาย ดังนี้, เอวัญหิ โน สิกขิตัพพัง. อันเราทั้งหลาย ควรศึกษาสําเหนียก อยางนี้แล.
๕. ตายนคาถา (หันทะ มะยัง ตายะนะคาถาโย ภะณามะ เส.) ****** ฉินทะ โสตัง ปะรักกัมมะ กาเม ปะนูทะ พ๎ราห๎มะณะ, ทานจงพยายามตัดตัณหาเพียงดังกระแสน้าํ เสีย จงถอดถอนกามทั้งหลาย เสียเถิด นะพราหมณ, นัปปะหายะ มุนิ กาเม เนกัตตะมุปะปชชะติ, เพราะพระมุนี ไมละกามทั้งหลายแลว จะเขาถึงความเปนผูเดียวไมได, กะยิรา เจ กะยิราเถนัง ทัฬ๎หะเมนัง ปะรักกะเม, ถาจะทํา ก็พึงทํากิจนัน้ เถิด, แตพึงบากบัน่ ทํากิจนัน้ ใหจริง, สิถิโล หิ ปะริพพาโช ภิยโย อากิระเต ระชัง, เพราะวา สมณธรรมทีป่ ระพฤติยอหยอน ยิ่งโปรยโทษดุจธุลี, อะกะตัง ทุกกะฏัง เสยโย ปจฉา ตัปปะติ ทุกกะฏัง, ความชั่วไมทาํ เสียเลยดีกวา, เพราะทําแลวยอมเดือดรอนในภายหลัง, กะตัญจะ สุกะตัง เสยโย ยัง กัต๎วา นานุตัปปะติ, ทําความดีนนั่ แหละดีกวา, เพราะทําแลวยอมไมเดือดรอนในภายหลัง,
๓๐ กุโส ยะถา ทุคคะหิโต หัตถะเมวานุกันตะติ, หญาคาที่บุคคลจับไมดี ยอมบาดมือตนเองได ฉันใด, สามัญญัง ทุปปะรามัฏฐัง นิระยายูปะกัฑฒะติ, คุณเครื่องความเปนสมณะ ทีบ่ รรพชิตรักษาไวไมดี, ยอมฉุดไปนรก ฉันนัน้ , ยังกิญจิ สิถิลัง กัมมัง สังกิลิฏฐัญจะ ยัง วะตัง สังกัสสะรัง พ๎รห๎มะจะริยัง นะ ตัง โหติ มะหัปผะลันติ. การงานอันใดอันหนึ่ง ที่ยอหยอนดวย, ความประพฤติอันใดที่เศราหมอง แลวดวย, และพรหมจรรยอันใดทีต่ นระลึกดวยความรังเกียจดวย, กิจสามอยางนั้น ยอมเปนของไมมผี ลมาก ดังนี.้
๖. สังวราสังวรคาถา (หันทะ มะยัง สังวะราสังวะระคาถาโย ภะณามะ เส.) ****** สุภานุปสสิง วิหะรันตัง อินท๎ริเยสุ อะสังวุตัง โภชะนัมหิ อะมัตตัญุง กุสีตัง หีนะวีริยัง ตัง เว ปะสะหะติ มาโร, มารยอม รังควานคนที่ตามเห็นอารมณวา งาม, ไมสํารวมแลวในอินทรียทั้งหลาย, ไมรู ประมาณในการบริโภค เกียจครานแลว มีความเพียรอันเลวนั้นแล, วาโต รุกขังวะ ทุพพะลัง, เหมือนลมรังควานตนไมที่ทุพพลภาพได ฉะนัน้ , อะสุภานุปสสิง วิหะรันตัง อินท๎ริเยสุ สุสังวุตัง โภชะนัมหิ จะ มัตตัญุง สัทธัง อารัทธะวีริยัง ตัง เว นัปปะสะหะติ มาโร, มารยอมไมรังควานคนที่ตาม เห็นอารมณวา ไมงาม, สํารวมดีแลวในอินทรียทั้งหลาย, รูจักประมาณในการ บริโภค มีศรัทธาและความเพียรอันปรารภแลวนั้นแล, สาธุ สัพพัตถะ สังวะโร, ความสํารวมในทวาร คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจทั้งสิน้ , เปนคุณเครื่องให สําเร็จประโยชน, สัพพัตถะ สังวุโต ภิกขุ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ, เพราะ ภิกษุผูสํารวมดีแลว ในทวารทั้งสิ้น, ยอมพนจากทุกขทั้งปวงได ดังนี้แล.
๓๑ ๗. พุทธอุทานคาถา (หันทะ มะยัง พุทธะอุทานะคาถาโย ภะณามะ เส.) ****** ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา อาตาปโน ฌายะโต พ๎ราห๎มะณัสสะ, เมื่อใด ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแกพราหมณ ผูม ีสติปญญาเพียรเพงอยู, อะถัสสะ กังขา วะปะยันติ สัพพา, เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวง ของพราหมณนั้น ยอมสิ้นไป, ยะโต ปะชานาติ สะเหตุธัมมัง. เพราะรูแ จงชัด ซึ่งธรรมพรอมทั้งเหตุ. ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา อาตาปโน ฌายะโต พ๎ราห๎มะณัสสะ, เมื่อใด ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแกพราหมณ ผูม ีสติปญญาเพียรเพงอยู, อะถัสสะ กังขา วะปะยันติ สัพพา, เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวง ของพราหมณนั้น ยอมสิ้นไป, ยะโต ขะยัง ปจจะยานัง อะเวทิ. เพราะไดรูความสิ้นไป แหงปจจัยทัง้ หลาย. ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา อาตาปโน ฌายะโต พ๎ราห๎มะณัสสะ, เมื่อใด ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแกพราหมณ ผูม ีสติปญญาเพียรเพงอยู, วิธูปะยัง ติฏฐะติ มาระเสนัง, พราหมณนนั้ ยอมกําจัดมารและเสนามาร ดํารงอยูได, สูโรวะ โอภาสะยะมันตะลิกขันติ. ดุจพระอาทิตยกําจัดความมืด สองสวางอยู ฉะนั้น, ดังนี้.
๓๒ ๘. อุปฑฒสูตร (หันทะ มะยัง อุปฑฒะสุตตะปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** อานันโท ภะคะวันตัง เอตะทะโวจะ, พระอานนทไดกราบทูลคํานี้ กะพระผูมีพระภาคเจา วา ;อุปฑฒะมิทงั ภันเต พ๎รห๎มะจะริยัสสะ, ยะทิทัง กัล๎ยาณะมิตตะตา กัล๎ยาณะสะหายะตา กัล๎ยาณะสัมปะวังกะตาติ. ขาแตพระองคผูเจริญ ! ความเปนผูมีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนผูแวดลอมดี, นี้เปนครึ่งหนึ่งของพรหมจรรย, ดังนี้. เอวัง อานันทัง ภิกขุง เอตะทะโวจะ, เมื่อพระอานนทกราบทูลอยางนี้แลว, พระผูม ีพระภาคเจา ไดทรงตรัส ปริยายนี้กะพระอานนทวา :มา เหวัง อานันทะ อะวะจะ, ดูกอนอานนท ! เธออยาไดกลาว อยางนั้นเลย, สะกะละเมวะ หิทัง อานันทะ พ๎รห๎มะจะริยัง, ยะทิทัง กัล๎ยาณะมิตตะตา กัล๎ยาณะสะหายะตา กัล๎ยาณะสัมปะวังกะตา, ดูกอนอานนท ! ก็ความเปนผูมีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนผูแวดลอมดี, นี้เปนพรหมจรรยทั้งหมดทีเดียว; กัล๎ยาณะมิตตัสเสตัง อานันทะ ภิกขุโน ปาฏิกังขัง, กัล๎ยาณะสะหายะกัสสะ กัล๎ยาณะสัมปะวังกัสสะ, อะริยัง อัฏฐังคิกงั มัคคัง ภาเวสสะติ, อะริยัง อัฏฐังคิกัง มัคคัง พะหุลีกะริสสะตีต.ิ ดูกอนอานนท ! อันภิกษุผูมีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนผูแวดลอมดี, พึงหวังขอนีไ้ ดวา:- จักเจริญอริยมรรคอันประกอบดวยองค ๘, จักกระทํา ใหมากซึ่งอริยมรรคอันประกอบดวยองค ๘ ประการ ไดอยางนี้. กะถัญจานันทะ ภิกขุ กัล๎ยาณะมิตโต กัล๎ยาณะสะหาโย กัล๎ยาณะ สัมปะวังโก, อะริยัง อัฏฐังคิกัง มัคคัง ภาเวติ, อะริยัง อัฏฐังคิกงั มัคคัง พะหุลกี ะโรติ.
๓๓ ดูกอนอานนท ! ก็ภิกษุผูมีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนผูแวดลอมดี, เจริญ อริยมรรคอันประกอบดวยองค ๘ ประการอยู, กระทําใหมากซึ่งอริยมรรค อันประกอบดวยองค ๘ ประการอยู เปนอยางไรเลา ? อิธานันทะ ภิกขุ สัมมาทิฏฐิง ภาเวติ, วิเวกะนิสสิตัง วิราคะนิสสิตัง นิโรธะนิสสิตัง โวสสัคคะปะริณามิง, ดูกอนอานนท ! ภิกษุในธรรมวินัยนี้, ยอมเจริญสัมมาทิฏฐิ อันอาศัย วิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ นอมไปในการสละลง, สัมมาสังกัปปง ภาเวติ. ....... สัมมาวาจัง ภาเวติ. ...... สัมมากัมมันตัง ภาเวติ. ....... สัมมาอาชีวัง ภาเวติ. ....... สัมมาวายามัง ภาเวติ. ...... สัมมาสะติง ภาเวติ. ....... สัมมาสะมาธิง ภาเวติ, วิเวกะนิสสิตัง วิราคะ นิสสิตัง นิโรธะนิสสิตัง โวสสัคคะปะริณามิง, ยอมเจริญสัมมาสังกัปปะ. ......... ยอมเจริญสัมมาวาจา. ......... ยอมเจริญ สัมมากัมมันตะ. ......... ยอมเจริญสัมมาอาชีวะ. ......... ยอมเจริญสัมมา วายามะ. ......... ยอมเจริญสัมมาสติ. ......... ยอมเจริญสัมมาสมาธิ อัน อาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ นอมไปในการสละลงแลว, เอวัง โข อานันทะ ภิกขุ, กัล๎ยาณะมิตโต กัล๎ยาณะสะหาโย กัล๎ยาณะ สัมปะวังโก, อะริยัง อัฏฐังคิกัง มัคคัง ภาเวติ, อะริยัง อัฏฐังคิกงั มัคคัง พะหุลีกะโรติ. ดูกอนอานนท ! ภิกษุผูมีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนผูแ วดลอมดี, ยอม เจริญอริยมรรคอันประกอบดวยองค ๘ ประการอยู, ยอมกระทําใหมากซึ่ง อริยมรรคอันประกอบดวยองค ๘ ประการอยู อยางนี้แล. ตะทิมินาเปตัง อานันทะ ปะริยาเยนะ เวทิตพั พัง, ยะถา สะกะละเมวิทัง พ๎รห๎มะจะริยัง, ยะทิทงั กัล๎ยาณะมิตตะตา กัล๎ยาณะสะหายะตา กัล๎ยาณะ สัมปะวังกะตาติ. ดูกอนอานนท ! ขอวา ความเปนผูมมี ิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนผูแวดลอมดี, เปนพรหมจรรยทั้งหมดนั้น, พึงทราบโดยปริยายแมนี้. มะมัญหิ อานันทะ กัล๎ยาณะมิตตัง อาคัมมะ, ดูกอนอานนท ! ดวยวา สัตวทั้งหลาย ไดอาศัยเราเปนกัลยาณมิตรแลว,
๓๔ ชาติธัมมา สัตตา ชาติยา ปะริมุจจันติ, ผูมีความเกิดเปนธรรมดา ยอมลวงพนจากความเกิดไปได, ชะราธัมมา สัตตา ชะรายะ ปะริมุจจันติ, ผูมีความแกเปนธรรมดา ยอมลวงพนจากความแกไปได, มะระณะธัมมา สัตตา มะระเณนะ ปะริมุจจันติ, ผูมีความตายเปนธรรมดา ยอมลวงพนจากความตายไปได, โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสะธัมมา สัตตา โสกะปะริเทวะทุกขะ โทมะนัสสุปายาเสหิ ปะริมุจจันติ, ผูมีความโศก ความร่ําไรรําพัน ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ ความคับแคนใจเปนธรรมดา, ยอมลวงพนจากความโศก ความร่ําไรรําพัน ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ ความคับแคนใจเสียได, อิมินา โข เอตัง อานันทะ ปะริยาเยนะ เวทิตัพพัง, ยะถา สะกะละเมวิทัง พ๎รห๎มะจะริยัง, ยะทิทงั กัล๎ยาณะมิตตะตา กัล๎ยาณะสะหายะตา กัล๎ยาณะ สัมปะวังกะตาติ. ดูกอนอานนท ! ขอวา ความเปนผูมีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนผูแวดลอมดี, เปนพรหมจรรยทั้งหมดทีเดียวนั้น, พึงทราบโดยปริยายนี้, ดวยประการ ฉะนีแ้ ล.
๓๕ ๙. เทวทูตสุตตปาฐะ (หันทะ มะยัง เทวะทูตะสุตตะปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** โจทิตา เทวะทูเตหิ เย ปะมัชชันติ มาณะวา, เต ทีฆะรัตตัง โสจันติ หีนะกายูปะคา นะรา, บุคคลเหลาใด ถูกเทวทูตทั้งหลายตักเตือนแลว ยังประมาทอยู, บุคคลเหลานั้น จะเขาถึงกําเนิดชัน้ เลวคือเกิดในนรก ประสบทุกขโศกอยู สิ้นกาลนาน, เย จะ โข เทวะทูเตหิ สันโต สัปปุริสา อิธะ, โจทิตา นัปปะมัชชันติ อะริยะธัมเม กุทาจะนัง, สวนบุคคลเหลาใด เปนสัตบุรษุ ผูสงบ ถูกเทวทูตทั้งหลายตักเตือนแลว, ยอมไมประมาทในอริยธรรม กําหนดรูอยูเปนนิจ, อุปาทาเน ภะยัง ทิส๎วา ชาติมะระณะสัมภะเว, อะนุปาทา วิมุจจันติ ชาติมะระณะสังขะเย, บุคคลเหลาใด เห็นภัยในความยึดมัน่ ถือมั่น อันเปนปจจัยกอใหเกิดชาติ ชราและมรณะ, บุคคลเหลานัน้ ยอมหลุดพนจากอุปาทาน เพราะความ พยายามกระทําใหสนิ้ ซึง่ ชาติชราและมรณะ, เต เขมัปปตตา สุขิโน ทิฏฐะธัมมาภินิพพุตา, สัพพะเวระภะยาตีตา สัพพะทุกขัง อุปจจะคุนติ. บุคคลเหลานั้น ชื่อวา เปนผูมีความเกษมสุข เปนผูบ รรลุพระนิพพาน ในปจจุบันชาติ เปนผูไมมีเวรภัย ลวงพนซึ่งทุกขทั้งปวงได, ดังนี้แล.
๓๖ ๑๐. กรณียเมตตสุตตปาฐะ (หันทะ มะยัง กะระณียะเมตตะสุตตะปาฐัง ภะณามะ เส.) ****** กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ, สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี, กิจใด ซึ่งพระอริยเจาเคยกระทําแลว, กุลบุตรผูฉลาดก็พึงกระทํากิจนัน้ , กุลบุตรนั้น พึงเปนผูอาจหาญ และซื่อตรงดวยดี, เปนผูวางาย ละมุนละไม ไมมีอติมานะ (คือถือตัว); สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ, สันตินท๎ริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ, เปนผูสันโดษ เปนผูเลี้ยงงาย, เปนผูมีกิจธุระนอย และประพฤติเบา กายเบาใจ, มีอินทรียอันสงบระงับแลว มีปญญาเครือ่ งรักษาไวซึ่งตน, เปนผูไมคะนอง ไมพวั พันในตระกูลทั้งหลาย; นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญู ปะเร อุปะวะเทยยุง, สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตตั ตา, อนึ่ง! วิญูชนพึงติเตียนชนทั้งหลายอื่น ดวยกรรมอันใด ไมพึงประพฤติ กรรมอันนัน้ เลย, ขอสัตวทั้งปวง จงเปนผูม ีความสุข มีความเกษม มีตนถึงซึ่งความสุขเถิด”; เย เกจิ ปาณะภูตตั ถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา, ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา, สัตวมีชีวิตเหลาใดเหลาหนึ่งที่มีอยู ทั้งที่เปนผูสะดุง หรือเปนผูมนั่ คง ทั้งหมดไมเหลือ, สัตวเหลาใด ทีม่ ีรางกายยาวก็ตาม ใหญก็ตาม, ปาน กลางก็ตาม ต่ําเตี้ยก็ตาม, หรือผอมพีก็ตาม; ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เย จ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร, ภูตา วา สัมภะเวสี วา สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตตั ตา,
๓๗ สัตวเหลาใด ที่เราเห็นแลว หรือมิไดเห็นก็ตาม, ที่อยูใกลก็ตาม หรือที่ อยูไกลออกไปก็ตาม, ที่เกิดแลวก็ตาม หรือยังแสวงหาที่เกิดอยูก็ตาม, ขอสรรพสัตวทั้งหลายเหลานัน้ , จงเปนผูมีตนถึงซึ่งความสุขเถิด; นะ ปะโร ปะรัง นิกพุ เพถะ นาติมญ ั เญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ, พ๎ยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ, สัตวอื่น ไมพึงขมเหงสัตวอื่น, และไมพึงดูหมิ่นอะไร ๆ เขา ในทีใ่ ด ๆ ใหอีกฝายหนึ่งเปนทุกข, ดวยความกริ้วโกรธ และดวยขัดเคืองใจ; มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข, เอวัมป สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง, มารดา ถนอมบุตรคนเดียวของตน, ขนาดยอมสละชีวิตแทนได ฉันใด, บุคคลก็พึงเจริญเมตตานี้ในใจ, แลวแผไปในสรรพสัตวทั้งหลาย โดยไมมี ประมาณ ฉันนัน้ ; เมตตัญจะ สัพพะโลกัส๎มิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง, อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปตตัง, บุคคลพึงเจริญเมตตา ซึ่งเปนธรรมอันไมคบั แคบ ไมมีเวร ไมมีศัตรู ไปในโลกทั้งสิ้น อยางไมมีประมาณ, ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ํา และเบื้องขวาง; ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ, เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พ๎รห๎มะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ, ผูเจริญเมตตาจิตนั้น ยอมยืนก็ดี เที่ยวไปก็ดี นั่งแลวก็ดี นอนแลวก็ดี, ถายังไมงวงเพียงใด ก็พงึ ตั้งสติระลึกถึงเมตตาเพียงนัน้ , บัณฑิตทั้งหลาย กลาวกิริยาอันนี้วา เปนพรหมวิหาร ในศาสนานี;้ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปนโน, กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ. บุคคลที่มีเมตตาพรหมวิหาร, ไมมที ิฏฐิ เปนผูมีศีล, ถึงพรอมแลวดวย ญาณทัสสนะ, นําความกําหนัดในกามทั้งหลายออกเสียได, ยอมไมกลับ มาเกิดอีกโดยแททีเดียว, ดังนี้.
๓๘ ๑๑. โมรปริตตัง (หันทะ มะยัง โมระปะริตตัง ภะณามะ เส.) ****** อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส, พระอาทิตย อันเปรียบประดุจดวงตาของโลก มีสีเพียงดังทอง คอยสอง แสงใหความสวางแกโลก, ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง, ขาพเจาขอระลึกถึงคุณแหงพระอาทิตยนั้น ทีค่ อยใหแสงสวางแกขาพเจา ขอใหขาพเจาพึงอยูเปนสุขตลอดทั้งวัน, เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ, ผูลอยบาปออกจากใจเหลาใด ซึ่งเปนผูเขาถึงธรรมทั้งปวง, ขอใหผูลอย บาปออกจากใจเหลานั้น จงรับความนอบนอมของขาพเจา และขอให ทานทั้งหลาย จงแผบารมีมารักษาขาพเจาดวย, นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา, ขาพเจาขอนอบนอมแดพระพุทธเจาทั้งหลาย, ขอนอบนอมแดพระโพธิญาณ, นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา, ขาพเจาขอนอบนอมแดทานผูพ น จากกิเลสแลวทั้งหลาย, ขอนอบนอมแด วิมุตติธรรม (คือธรรมเครื่องพนทุกข), อิมัง โส ปะริตตัง กัต๎วา โมโร จะระติ เอสะนา. นกยูงทองนัน้ เมื่อไดสวดพระปริตรนี้แลว จึงไดเที่ยวบินไปเพื่อหาอาหาร. (เมื่อกลับมาจากหาอาหารในเวลาเย็น ก็ไดกลาวสวดนอบนอมอีกวา) อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส, พระอาทิตย อันเปรียบประดุจดวงตาของโลก มีสีเพียงดังทองคอยสอง แสงใหความสวางแกโลกและกําลังจะลับขอบฟาไปในบัดนี้,
๓๙ ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง, ขาพเจาขอระลึกถึงคุณแหงพระอาทิตยนั้น ที่คอยใหแสงสวาง แกขาพเจา ขอใหขาพเจาพึงอยูเปนสุขตลอดทั้งคืน, เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ, ผูลอบบาปออกจากใจเหลาใด ซึ่งเปนผูเขาถึงธรรมทั้งหลาย, ขอใหผูลอย บาปออกจากใจเหลานั้น จงรับความนอมนอมของขาพเจา และขอใหทาน จงแผบารมีมารักษาขาพเจาดวย, นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา, ขาพเจาขอนอบนอมแดพระพุทธเจาทัง้ หลาย, ขอนอบนอมแดพระโพธิญาณ, ขาพเจาขอนอบนอม แดทานผูพ น จากกิเลสทั้งหลาย, ขอนอบนอมแด วิมุตติธรรม (คือธรรมเครื่องพนทุกข), อิมัง โส ปะริตตัง กัต๎วา โมโร วาสะมะกัปปะยีติ. นกยูงทองนัน้ ไดสวดพระปริตรอันนี้แลว จึงไดอยูอยางสุขสบาย แล.
๑๒. ขันธปริตตัง (หันทะ มะยัง ขันธะปะริตตัง ภะณามะ เส.) ****** วิรูปกเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม, ฉัพ๎ยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ เม, เราขอเปนมิตรและขอแผเมตตาจิตไปถึงพญางู พญานาคทั้ง ๔ ตระกูล, อันไดแกพญางูพญานาคในสกุลวิรปู กข ในสกุลเอราบถ ในสกุลฉัพยา บุตร และในสกุลกัณหาโคตมกะ, อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม, จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม, ตลอดทั้งสัตวที่ไมมีเทา สัตว ๒ เทา สัตว ๔ เทา และสัตวมากเทา ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น,
๔๐ มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก, มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท, สัตวไมมีเทา ขออยาไดเบียดเบียนเรา, สัตว ๒ เทา ขออยาไดเบียดเบียน เรา, สัตว ๔ เทา ขออยาไดเบียดเบียนเรา, สัตวมีเทามาก ขออยาได เบียดเบียนเรา, สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา, สัพเพ ภัทร๎ านิ ปสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา, ขอใหสรรพสัตวทั้งหลาย ที่เกิดมาทุกหมูเหลา จงประสบแตความสุข ความเจริญ, อยาไดถึงความชั่วชาใด ๆ เลย, อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ, พระพุทธเจาทรงพระคุณมากมาย อันหาประมาณมิได, พระธรรมมีคุณ มากมายอันหาประมาณมิได, พระสงฆมีคุณมากมายอันหาประมาณมิได, ปะมาณะวันตานิ สิรงิ สะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี, สะระพู มูสิกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา, สัตวเลื้อยคลานทั้งหลาย อาทิเชน งู แมลงปอง ตะเข็บตะขาบ แมงมุม ตุกแกและหนู ถึงแมวาจะมีอยูจาํ นวนมาก, ขาพเจาไดทําการอารักขา คุมครอง ปองกันแลว, ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ, ขอหมูสัตวทั้งหลาย จงหลีกไปเสียเถิด, โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง. ขาพเจานั้น จะทําความนอบนอมพระผูมีพระภาคเจา, และทําความนอบ นอมพระสัมมาสัมพุทธเจาทั้ง ๗ พระองค๑,
๑. พระพุทธเจา ๗ องค คือ: ๑ วิปสสีพระพุทธเจา, ๒ สิขีพระพุทธเจา, ๓ เวสสภู พระพุทธเจา, ๔ กกุสันธพระพุทธเจา, ๕ โกนาคมนพระพุทธเจา, ๖ กัสสปพระพุทธเจา, ๗ อังคีรสพระพุทธเจา,
๔๑ ๑๓. ธารณปริตตัง (หันทะ มะยัง ธาระณะปะริตตัง ภะณามะ เส.) ****** พุทธานัง ชีวิตัสสะ นะ สักกา เกนะจิ อันตะราโย กาตุง ตะถา เม โหตุ, ชีวิตของพระพุทธเจาทั้งหลาย อันใครๆ ไมอาจกระทําอันตรายได ฉันใด, ขอชีวิตความเปนอยูแหงขาพเจา จงเปนเหมือนอยางนั้นเถิด, อะตีตัง เส อะนาคะตัง เส ปจจุปปนนัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต อัปปะฏิหะตะญาณัง, อันวาญาณทีไ่ มมีเครื่องกระทบ ของพระพุทธเจาผูมีโชค ยอมมี ในอดีต ในอนาคต และในปจจุบัน, อิเมหิ ตีหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต, สัพพัง กายะกัมมัง สัพพัง วะจีกัมมัง สัพพัง มะโนกัมมัง ญาณะปุพพังคะมัง ญาณานุปะริวัตตัง, อันกายกรรมทั้งปวง วจีกรรมทั้งปวง มโนกรรมทั้งปวง ของพระพุทธเจา ผูมีโชค ผูป ระกอบแลวดวยธรรมทั้ง ๓ เหลานี้ มีญาณเปนประธาน เปนไปตามญาณ, อิเมหิ ฉะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต, นัตถิ ฉันทัสสะ หานิ, นัตถิ ธัมมะเทสะนายะ หานิ, นัตถิ วิริยัสสะ หานิ, นัตถิ วิปสสะนายะ หานิ, นัตถิ สะมาธิสสะ หานิ, นัตถิ วิมุตติยา หานิ, ความเสื่อมถอยนอยลง ของประโยชนทปี่ ระสงค, ความเสื่อมถอยนอยลง แหงการแสดงธรรม, ความเสื่อมถอยนอยลง แหงความเพียร, ความเสื่อม ถอยนอยลง แหงวิปสสนาญาณ, ความเสื่อมถอยนอยลง แหงสมาธิ, ความเสื่อมถอยนอยลง แหงความหลุดพน, ยอมไมมีแกพระพุทธเจา ผูมีบุญ ผูประกอบแลวดวยธรรม ๖ ประการเหลานี้, อิเมหิ ท๎วาทะสะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต, นัตถิ ทะวา, นัตถิ ระวา, นัตถิ อัปผุฏฏัง, นัตถิ เวคายิตัตตัง, นัตถิ พะยาวะฏะมะโน, นัตถิ อัปปะฏิสังขารุเปกขา,
๔๒ การพูดเลน, การพูดพลั้งเผลอโดยขาดสติ, ความไมแพรหลายใน เญยธรรมหาประการ, การกระทําใด ๆ อยางผลุนผลัน โดยไมมีการ พิจารณาเสียกอน, ความมีใจวุน วายดวยกิเลส, การกระทําที่ไมมีอุเบกขา ในเตภูมิสังขาร, ยอมไมมีแกพระพุทธเจา ผูมโี ชค ผูประกอบแลวดวย ธรรม ๑๒ ประการเหลานี้, อิเมหิ อัฏฐาระสะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต, นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง, ความนอบนอม จงมีแดพระผูมพี ระภาคเจา ผูต รัสรูแลว ผูประกอบดวย ธรรม ๑๘ ประการเหลานี้ และพระสัมมาสัมพุทธเจาอีก ๗ พระองค, นัตถิ ตะถาคะตัสสะ กายะทุจจะริตัง, นัตถิ ตะถาคะตัสสะ วะจีทุจจะริตัง, นัตถิ ตะถาคะตัสสะ มะโนทุจจะริตัง, กายทุจริต ยอมไมมีแกพระตถาคต, วจีทุจริต ยอมไมมีแกพระตถาคต, มโนทุจริต ยอมไมมีแกพระตถาคต, นัตถิ อะตีตัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปะฏิหะตะญาณัง, นัตถิ อะนาคะตัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปะฏิหะตะญาณัง, นัตถิ ปจจุปปนนัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปะฏิหะตะญาณัง, ญาณอันมีเครื่องกระทบ ของพระพุทธเจาผูมีบญ ุ ในอดีต ยอมไมมี, ญาณอันมีเครื่องกระทบ ของพระพุทธเจาผูมีบญ ุ ในอนาคต ยอมไมมี, ญาณอันมีเครื่องกระทบ ของพระพุทธเจาผูมีบญ ุ ในปจจุบนั ยอมไมม,ี นัตถิ สัพพัง กายะกัมมัง ญาณานุปุพพัง คะมัง ญาณัง นานุปะริวัตตัง, นัตถิ สัพพัง วะจีกัมมัง ญาณานุปุพพัง คะมัง ญาณัง นานุปะริวัตตัง, นัตถิ สัพพัง มะโนกัมมัง ญาณานุปุพพัง คะมัง ญาณัง นานุปะริวัตตัง, กายกรรมทั้งปวง ไมมีญาณเปนประธาน ไมเปนไปตามญาณ, วจีกรรม ทั้งปวง ไมมญ ี าณเปนประธาน ไมเปนไปตามญาณ, มโนกรรมทั้งปวง ไม มีญาณเปนประธาน ไมเปนไปตามญาณ, ยอมไมมีแกพระพุทธเจาผูม ีบุญ, อิมัง ธาระณัง อะมิตัง อะสะมัง สัพพะสัตตานัง ตะณัง เลณัง สังสาระ ภะยะภีตานัง อัคคัง มะหาเตชัง,
๔๓ ธารณปริตรนี้ ไมมีเครื่องเทียบ ไมมีเครื่องเสมอเหมือน เปนที่ตานทาน เปนที่หลบซอน ของสัตวผูกลัวในสังสารวัฏทั้งหลาย, ประเสริฐมีเดชมาก, อิมัง อานันทะ ธาระณะปะริตตัง ธาเรหิ วาเรหิ ปะริปุจฉาหิ, ดูกอนอานนท ทานจงทองจดจํา สอบถามซึ่งธารณปริตรนี้, ตัสสะ กาเย วิสัง นะ กะเมยยะ, อุทะเกนะ ลัคเคยยะ, อัคคิ นะ ทะเหยยะ, นานาภะยะวิโก, นะ เอกาหาระโก, นะ ทะวิหาระโก, นะ ติหาระโก, นะ จะตุหาระโก, ยาพิษ จะพึงกล้ํากรายทีก่ ายของผูสวดธารณปริตรนั้นไมได, ผูสวดธารณ ปริตรนัน้ ไมพึงตายดวยน้ํา, ไฟไมพึงไหม เปนผูพน ภัยตางๆ, ใครคิดราย ในวันเดียวก็ไมสําเร็จ, คิดทําลายในสองวัน สามวัน สี่วัน.... ก็ไมสําเร็จ, นะ อุมมัตตะกัง นะ มุฬ๎หะกัง มะนุสเสหิ อะมะนุสเสหิ นะ หิงสะกา, ไมพึงเปนบาใบ ไมพึงเปนคนหลงลืม, อันมนุษยและอมนุษยทั้งหลาย ไมสามารถเบียดเบียนได, ตัง ธาระณัง ปะริตตัง ยะถา กะตะเม, ชาโล มะหาชาโล ชาลิตเต มะหาชาลิตเต, ปุคเค มะหาปุคเค, สัมปตเต มะหาสัมปตเต, ภูตัง คะมะหิ ตะมังคะลัง, ธารณปริตรนี้ มีความศักดิ์สิทธิ์ คือ ชาโล มีอานุภาพเหมือนพระอาทิตย ประชุมกัน ๗ ดวง ที่ขึ้นมาในเวลาโลกาวินาศ, มหาชาโล มีอานุภาพ เหมือนมุงเหล็กที่สามารถปองกันภัยจากเทวดา อินทร นาค ครุฑ ยักษ เปนตน, ชาลิตเต มีอานุภาพประหารศัตรูทงั้ หลาย, มหาชาลิตเต มีอานุภาพใหพนจากกัปทั้ง ๓ คือโรคันตรกัป สัตถันตรกัป และทุพภิก ขันตรกัป, มีอานุภาพใหพนจากโรคตาง ๆ ในเวลาปฏิสนธิ คือ การเปนใบ เปนคนพิการ เปนคนหูหนวก, อีกทั้งไมพึงตกตนไม ตกเหว ตกเขา ตาย, สามารถไดสมบัติที่ยังไมได, ทรัพยสมบัติที่ไดมาแลว ก็เจริญขึ้น โดยความเปนจริง, สามารถประหารความมืด แลวไดความสวาง, อิเม โข ปะนานันทะ ธาระณะปะริตตัง สัตตะสะตาหิ สัมมาสัมพุทธะ โกฏีหิ ภาสิตัง,
๔๔ ดูกอนอานนท ! ก็ธารณปริตรนีแ้ ล อันพระสัมมาสัมพุทธเจา ๗ รอยโกฏิ พระองค ไดตรัสไวแลว, วัตเต อะวัตเต, คันธะเว อะคันธะเว, โนเม อะโนเม, เสเว อะเสเว, กาเย อะกาเย, ธาระเณ อะธาระเณ, อิลลิ มิลลิ ติลลิ อะติลลิ, โยรุกเข มะหาโยรุกเข, ภูตัง คะมะหิ ตะมังคะลัง, พึงสมาคมคนดี ไมพงึ สมาคมคนชั่ว, พึงนํามาซึ่งกลิน่ และรสอันเปน ธรรม, พึงนอมนํามาซึง่ น้ําใจดี ไมพึงนอมนํามาซึ่งน้ําใจราย, พึงทํากาย ใหเปนกายดี, พึงนํามาแตสิ่งอันเปนกุศล ไมพึงนํามาซึ่งสิ่งอันเปนอกุศล, พึงฟงแตสิ่งที่ดี ไมพึงฟงสิ่งที่ไมดี, พึงเห็นแตนมิ ิตดี ไมพึงเห็นนิมิตราย, โยรุกเข ตนไมที่ตายแลว สามารถฟนคืนมาได, มหาโยรุกเข ตนไมที่ยงั เปนอยู ก็ทําใหเจริญงอกงามโดยความเปนจริง, สามารถประหารความ มืดแลวไดความสวาง, อิเม โข ปะนานันทะ ธาระณะปะริตตัง, นะวะ นะ วุฒิยา สัมมา สัมพุทธะโกฏีหิ ภาสิตัง, ทิฏฐิลา ฑัณทิลา มันติลา โรคิลา ขะระลา ทุพพิลา, ดูกอนอานนท ! ก็ธารณปริตรนี้แล พระสัมมาสัมพุทธเจา ตรัสไวแลว, สามารถรูความคิดรายของผูอื่น, อาวุธตางๆ มีเครื่องประหาร เชน มีด หอก ปน ไฟ เปนตน ไมสามารถทําอันตรายได, มันติลา สามารถทํา มนตคาถาใหมีความศักดิ์สิทธิ์ขึ้น, สามารถประหารโรคตาง ๆ ได, และ โรครายแรงตาง ๆ ไมอาจทําอันตรายได, ทุพพิลา สามารถหลุดพนจาก เครื่องผูกมัด, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา. ดวยอํานาจแหงสัจจะวาจานี้ ขอความสวัสดี จงมีแกขาพเจาทุกเมื่อ.
๔๕ ๑๔. โพชฌังคปริตรตัง (หันทะ มะยัง โพชฌังคะปะริตตัง ภะณามะ เส.) ****** โพชฌังโค สะติสังขาโต ธัมมานัง วิจะโย ตะถา, วิริยัมปติปสสัทธิโพชฌังคา จะ ตะถาปะเร, สะมาธุเปกขะโพชฌังคา สัตเตเต สัพพะทัสสินา, มุนินา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลีกะตา, สังวัตตันติ อะภิญญายะ นิพพานายะ จะ โพธิยา, โพชฌงค ๗ ประการเหลานี้คือ : สติสัมโพชฌงค ธรรมวิจยะสัมโพชฌงค วิริยะสัมโพชฌงค ปติสัมโพชฌงค ปสสัทธิสัมโพชฌงค สมาธิสัม โพชฌงค อุเบกขาสัมโพชฌงค; อันพระมุนีเจาผูเห็นธรรมทั้งสิ้น ตรัสไว ชอบแลว, ที่บุคคลมาเจริญ ทําใหมากแลว, ยอมเปนไปเพื่อความรูย ิ่ง เพื่อพระนิพพาน และเพื่อความตรัสรู; เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต๑ โหตุ สัพพะทา. ดวยการกลาวคําสัตยนี้ ขอความสวัสดี จงมีแกทานทุกเมื่อ. เอกัส๎มิง สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปง, คิลาเน ทุกขิเต ทิส๎วา โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ, เต จะ ตัง อะภินันทิต๎วา โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ, สมัยหนึ่ง พระโลกนาถเจา ทอดพระเนตรพระมหาโมคคัลลานะ และ พระมหากัสสปะ ผูอาพาธ ไดรับทุกขเวทนาแลว, ทรงแสดงโพชฌงค ๗ ประการ, ทานทั้ง ๒ ชื่นชมภาษิตนั้น หายจากโรคในขณะนั้นเอง; เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต๑ โหตุ สัพพะทา. ดวยการกลาวคําสัตยนี้ ขอความสวัสดี จงมีแกทานทุกเมื่อ. เอกะทา ธัมมะราชาป เคลัญเญนาภิปฬิโต, จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปต๎วานะ สาทะรัง, สัมโมทิต๎วา จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส,
๔๖ ครั้งหนึ่ง แมพระผูมีพระภาคเจา ผูเปนธรรมราชา อันความประชวร เบียดเบียนเอาแลว, รับสั่งใหพระจุนทเถระ แสดงโพชฌงคนนั้ โดย เอื้อเฟอ, ก็ทรงบันเทิงพระหฤทัย หายจากพระประชวรนัน้ โดยพลัน; เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต๑ โหตุ สัพพะทา. ดวยการกลาวคําสัตยนี้ ขอความสวัสดี จงมีแกทานทุกเมื่อ. ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมป มะเหสินัง, มัคคาหะตะกิเลสา วะ ปตตานุปปตติธัมมะตัง, ก็อาพาธทั้งหลายนั้น, อันพระมหาฤาษีทั้ง ๓ องค ละไดแลว, ถึงความ ไมบังเกิดเปนธรรมดา ดุจกิเลสอันมรรคกําจัดเสียแลว ฉะนั้น; เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต๑ โหตุ สัพพะทา. ดวยการกลาวคําสัตยนี้ ขอความสวัสดี จงมีแกทานทุกเมื่อ.
หมายเหตุ : ๑. ถาสวดใหตัวเอง เปลี่ยน เต ใหเปน เม, คําแปล เปลี่ยน แกทาน ใหเปน แกขาพเจา.
๔๗
ภาค ๓ ๑. อนุโมทนารัมภคาถาแปล ****** ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรัง, หวงน้ําที่เต็มยอมยังสมุทร สาครใหบริบรู ณได ฉันใด, เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ, ทานที่ทานอุทิศใหแลว แตในโลกนี้ ยอมสําเร็จประโยชนแกผูที่ละโลกนี้ไปแลว ได ฉันนั้น, อิจฉิตัง ปตถิตงั ตุมหัง, ขออิฏฐผลที่ทานปรารถนาแลว ตั้งใจ แลว, ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ, จงสําเร็จโดยฉับพลัน, สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา, ขอความดําริทั้งปวงจงเต็มที่, จันโท ปณณะระโส ยะถา, เหมือน พระจันทรในวันเพ็ญ, มะณิ โชติระโส ยะถา, เหมือนแกวมณีอันสวางไสว ควรยินดี.
๒. สามัญญานุโมทนาคาถาแปล ****** สัพพีติโย วิวัชชันตุ, ความจัญไรทั้งปวง จงบําราศไป, สัพพะโรโค วินัสสะตุ โรคทั้งปวงของทานจงหาย, มา เต ภะวัตวันตะราโย, อันตราย อยามีแกทาน, สุขี ทีฆายุโก ภะวะ, ทานจงเปนผูมคี วามสุข มีอายุยืน, อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน, จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง, ธรรมสี่ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พะละ, ยอมเจริญแกบุคคลผูมปี กติไหวกราบ, มีปกติออ นนอมตอผูใหญเปนนิจ.
๔๘ ๓. มงคลจักรวาลนอยแปล ****** สัพพะพุทธานุภาเวนะ, ดวยอานุภาพแหงพระพุทธเจาทั้งปวง, สัพพะธัม มานุภาเวนะ, ดวยอานุภาพแหงพระธรรมทัง้ ปวง, สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ดวยอานุภาพแหงพระสงฆทั้งปวง, พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะ ระตะนัง ติณณัง ระตะนานัง อานุภาเวนะ, ดวยอานุภาพแหงรัตนะ ๓ คือ พุทธรัตนะ ธัมมรัตนะ สังฆรัตนะ, จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ, ดวยอานุภาพแหงพระธรรมขันธแปดหมื่นสี่พนั , ปฏะกัตตะยานุภาเวนะ, ดวย อานุภาพแหงพระไตรปฎก, ชินะสาวะกานุภาเวนะ, ดวยอานุภาพแหงพระสาวก ของพระชินเจา, สัพเพ เต โรคา, สรรพโรคทั้งปวงของทาน, สัพเพ เต ภะยา, สรรพภัยทั้งปวงของทาน, สัพเพ เต อันตะรายา, สรรพอันตรายทั้ง ปวงของทาน, สัพเพ เต อุปท ทะวา, สรรพอุปทวะทัง้ ปวงของทาน, สัพเพ เต ทุนนิมติ ตา, สรรพนิมิตรายทัง้ ปวงของทาน, สัพเพ เต อะวะมังคะลา, สรรพอวมงคลทั้งปวงของทาน, วินัสสันตุ, จงพินาศไป, อายุวัฑฒะโก, ความ เจริญอายุ, ธะนะวัฑฒะโก, ความเจริญทรัพย, สิริวัฑฒะโก, ความเจริญศิริ, ยะสะวัฑฒะโก, ความเจริญยศ, พะละวัฑฒะโก, ความเจริญกําลัง, วัณณะ วัฑฒะโก, ความเจริญวรรณะ, สุขะวัฑฒะโก, ความเจริญสุข, โหตุ สัพพะทา, จงมีแกทาน ในกาลทุกเมื่อ, ทุกขะโรคะภะยา เวรา, ทุกขโรคภัย และเวรทั้งหลาย, โสกา สัตตุจุปททะวา, ความโศก ศัตรูแลอุปทวะทัง้ หลาย, อะเนกา อันตะรายาป, ทั้งอันตรายทั้งหลายเปนอเนก, วินัสสันตุ จะ เตชะสา, จงพินาศไปดวยเดช, ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง, ความชํานะ ความสําเร็จ ทรัพย ลาภ, โสตถิ ภาค๎ยัง สุขัง พะลัง, ความสวัสดี ความ โชคดี ความสุข กําลัง, สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ, ศิริอายุแลวรรณะ, โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา, โภคะความเจริญแลความเปนผูมียศ, สะตะวัสสา จะ อายู จะ, แลอายุยืนรอยป, ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต, แลความสําเร็จกิจ ในความเปนอยู จงมีแกทาน.
๔๙ ๔. กาลทานสุตตคาถาแปล ****** กาเล ทะทันติ สะปญญา วะทัญู วีตะมัจฉะรา, กาเลนะ ทินนัง อะริเยสุ อุชุภูเตสุ ตาทิสุ, วิปปะสันนะมะนา ตัสสะ วิปุลา โหติ ทักขิณา, ทายกทั้งหลายเหลาใด, เปนผูมปี ญญา มีปกติรจู ักคําพูด ปราศจาก ความตระหนี่, มีใจเลือ่ มใสแลว ในพระอริยเจาทั้งหลาย ซึ่งเปนผูตรงคงที่, บริจาคทาน ทําใหเปนของที่ตนถวายโดยกาลนิยมในกาลสมัย, ทักษิณาของ ทายกนั้น เปนคุณสมบัติมีผลไพบูลย, เย ตัตถะ อะนุโมทันติ เวยยาวัจจัง กะโรนติ วา, ชนทั้งหลายเหลาใด อนุโมทนาหรือชวยกระทําการขวนขวายใน ทานนัน้ , นะ เตนะ ทักขิณา โอนา, ทักษิณาทานของเขามิไดบกพรองไป ดวยเหตุนั้น, เตป ปุญญัสสะ ภาคิโน, ชนทัง้ หลายแมเหลานั้น ยอมเปนผูมี สวนแหงบุญนั้นดวย, ตัส๎มา ทะเท อัปปะติวานะจิตโต ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง, เหตุนนั้ ทายกควรเปนผูมจี ิตไมทอถอย, ใหในที่ใดมีผลมาก ควรใหในที่นนั้ , ปุญญานิ ปะระโลกัส๎มิง ปะติฏฐา โหนติ ปาณินันติ, บุญยอมเปนที่พึ่งอาศัยของสัตวทั้งหลายในโลกหนา ฉะนี้แล.
๕. ติโรกุฑฑกัณฑปจฉิมภาคแปล ****** อะทาสิ เม อะกาสิ เม ญาติมิตตา สะขา จะ เม, บุคคลมา ระลึกถึงอุปการะที่ทานไดทําแกตนในกาลกอนวา ผูนี้ไดใหสิ่งนี้แกเรา, ผูนี้ไดทํา กิจนี้ของเรา, ผูนี้เปนญาติ เปนมิตร เปนเพื่อนของเรา, ดังนี้, เปตานัง ทักขิณงั ทัชชา ปุพเพ กะตะมะนุสสะรัง, ก็ควรใหทักษิณาทาน เพื่อผูที่ละโลกนี้ไป แลว, นะ หิ รุณณัง วา โสโก วา ยาวัญญา ปะริเทวะนา, การรองไห ก็ดี การเศราโศกก็ดี หรือการร่ําไรรําพันอยางอื่นก็ดี, บุคคลไมควรทําทีเดียว, นะ ตัง เปตานะมัตถายะ, เพราะวาการรองไหเปนตนนั้น, ไมสําเร็จประโยชน แกญาติทั้งหลาย ผูละโลกนีไ้ ปแลว, เอวัง ติฏฐันติ ญาตะโย, ญาติทั้งหลาย
๕๐ ยอมตั้งอยูอยางนั้น, อะยัญจะ โข ทักขิณา ทินนา, ก็ทักษิณานุปทานนี้แล อันทานใหแลว, สังฆัมหิ สุปะติฏฐิตา, ประดิษฐานไวดีแลวในสงฆ, ทีฆะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส อุปะกัปปะติ, ยอมสําเร็จประโยชนเกื้อกูลแกผูที่ละโลกนี้ ไปแลวนัน้ , ตลอดกาลนานตามฐานะ, โส ญาติธัมโม จะ อะยัง นิทัสสิโต, ญาติธรรมนีน้ ั้น ทานไดแสดงใหปรากฏแลว, เปตานะ ปูชา จะ กะตา อุฬารา, แลบูชาอันยิง่ ทานก็ไดทําแลว แกญาติทั้งหลายผูล ะโลกนี้ไปแลว, พะลัญจะ ภิกขูนะมะนุปปะทินนัง, กําลังแหงภิกษุทั้งหลาย ชื่อวาทานไดเพิ่ม ใหแลวดวย, ตุมเหหิ ปุญญัง ปะสุตัง อะนัปปะกันติ, บุญไมนอ ย ทาน ไดขวนขวายแลว ดังนี้แล.
๖. อัคคัปปสาทสุตตคาถาแปล ****** อัคคะโต เว ปะสันนานัง อัคคัง ธัมมัง วิชานะตัง, เมื่อบุคคลรูจกั ธรรมอันเลิศ เลื่อมใสแลวโดยความเปนของเลิศ, อัคเค พุทเธ ปะสันนานัง, เลื่อมใสแลวในพระพุทธเจาผูเลิศ, ทักขิเณยเย อะนุตตะเร, ซึ่งเปนทักขิไนย บุคคลอันเยีย่ มยอด, อัคเค ธัมเม ปะสันนานัง, เลือ่ มใสแลวในพระธรรม อันเลิศ, วิราคูปะสะเม สุเข, ซึ่งเปนธรรมปราศจากราคะ สงบระงับเปนสุข, อัคเค สังเฆ ปะสันนานัง, เลือ่ มใสแลวในพระสงฆผเู ลิศ, ปุญญักเขตเต อะนุตตะเร, ซึ่งเปนบุญเขตอยางยอด, อัคคัส๎มิง ทานัง ทะทะตัง, ถวาย ทานในทานผูเลิศนัน้ , อัคคัง ปุญญัง ปะวัฑฒะติ, บุญที่เลิศก็ยอมเจริญ, อัคคัง อายุ จะ วัณโณ จะ, อายุ วรรณะที่เลิศ, ยะโส กิตติ สุขงั พะลัง, แลยศเกียรติคุณ สุขะ พละ ที่เลิศยอมเจริญ, อัคคัสสะ ทาตา เมธาวี อัคคะธัมมะสะมาหิโต, ผูม ีปญญาตั้งมั่นในธรรมอันเลิศแลว, ใหทาน แกทานผูเปนบุญเขตอันเลิศ, เทวะภูโต มะนุสโส วา, จะไปเกิดเปนเทวดา หรือไปเกิดเปนมนุษยกต็ าม, อัคคัปปตโต ปะโมทะตีต,ิ ยอมถึงความเปนผู เลิศบันเทิงอยู ดังนี้แล.
๕๑ ๗. โภชนทานานุโมทนาคาถาแปล ****** อายุโท พะละโท ธีโร, ผูมปี ญ ญา ใหอายุ ใหกําลัง, วัณณะโท ปะฏิภาณะโท, ใหวรรณะ ใหปฏิภาณ, สุขัสสะ ทาตา เมธาวี, ผูมีปญญาให ความสุข, สุขัง โส อะธิคัจฉะติ, ยอมไดประสพสุข, อายุง ทัต๎วา พะลัง วัณณัง สุขัญจะ ปะฏิภาณะโท, บุคคลผูใหอายุ พละ วรรณะ สุขะ แล ปฏิภาณ, ทีฆายุ ยะสะวา โหติ ยัตถะ ยัตถูปะปชชะตีติ, บังเกิดในที่ใด ๆ, ยอมเปนผูม อี ายุยืน มียศ ในที่นนั้ ๆ, ดังนี้.
๘. เทวตาทิสสทักขิณานุโมทนาคาถาแปล ****** ยัส๎มิง ปะเทเส กัปเปติ วาสัง ปณฑิตะชาติโย, บัณฑิตชาติสําเร็จ การอยูในประเทศสถานที่ใด, สีละวันเตตถะ โภเชต๎วา สัญญะเต พ๎รห๎มะ จาริโน, พึงเชิญเหลาทานที่มีศีลสํารวมระวังประพฤติพรหมจรรย เลี้ยงดูกนั ในทีน่ ั้น, ยา ตัตถะ เทวะตา อาสุง, เทวดาเหลาใด มีในที่นนั้ , ตาสัง ทักขิณะมาทิเส, ควรอุทิศทักษิณาทานเพื่อเทวดาเหลานั้นดวย, ตา ปูชิตา ปูชะยันติ, เทวดาที่ไดบูชาแลว ทานยอมบูชาบาง, มานิตา มานะยันติ นัง, ที่ไดนับถือแลว ยอมนับถือบาง, ตะโต นัง อะนุกัมปนติ, แตนนั้ ทานยอม อนุเคราะหเขา, มาตา ปุตตังวะ โอระสัง, ประหนึ่งมารดาอนุเคราะหบุตรอัน เปนโอรส ฉะนั้น, เทวะตานุกัมปโต โปโส, บุรุษไดอาศัยเทวดาอนุเคราะหแลว, สะทา ภัท๎รานิ ปสสะติ, ยอมเห็นกิจการอันเจริญทุกเมื่อ.
๕๒ ๙. เทวตาภิสัมมันตนคาถาแปล ****** ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข, หมูภูตเหลาใดเปนภูมเทวดาก็ดี, เหลาใดสถิตยแลวในอากาศก็ดี, ซึ่งมาประชุม กันแลวในทีน่ ี้, สัพเพวะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ, ขอหมูภูตเหลานัน้ ทั้งหมด เทียว จงเปนผูมจี ิตโสมนัส, อะโถป สักกัจจะ สุณันตุ ภาสิตัง, อนึ่ง จงฟง ภาษิตโดยเคารพ, สุภาสิตัง กิญจิป โว ภะเณมุ, เราจะกลาวสุภาษิตแมบาง ประการแกทานทั้งหลาย, ปุญเญ สะตุปปาทะกะรัง อะปาปง, ไมเปนบาป เปนเครื่องทําความเตือนสติในบุญ, ธัมมูปะเทสัง อะนุการะกานัง, เปนอุบาย เครื่องแนะนําอันชอบธรรมของบุคคลผูกระทําตามทั้งหลาย, ตัส๎มา หิ ภูตานิ สะเมนตุ สัพเพ, เพราะเหตุนนั้ แล หมูภูตทั้งปวงจงฟงเถิด, เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ, ทานทั้งหลายจงกระทําไมตรีจิตในหมูสตั วมนุษยชาติ, ภูเตสุ พาฬ๎หัง กะตะภิตติกายะ, ผูมีภักดีอันทําแลวมั่นในหมูภูต, ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง, มนุษยทั้งหลายเหลาใด ยอมกระทําพลีกรรม ใน กลางวันหรือกลางคืน, ปจโจปะการัง อะภิกังขะมานา, มุงหวังอยูซึ่งความ อุดหนุนตอบแทน, เต โข มะนุสสา ตะนุกานุภาวา, มนุษยทั้งหลาย เหลานั้นแล เปนผูมีอานุภาพนอย, ภูตา วิเสเสนะ มะหิทธิกา จะ, สวนภูต ทั้งหลายเปนผูมีฤทธิ์มากโดยแปลกกัน, อะทิสสะมานา มะนุเชหิ ญาตา, เปนพวกอทิสสมานกาย ที่มนุษยทั้งหลายรูจกั , ตัส๎มา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา, เพราะเหตุนั้นแล ทานทั้งหลายจงเปนผูไ มประมาท รักษามนุษย เหลานั้นเถิด.
๕๓ ๑๐. อาติยสุตตคาถาแปล ****** ภุตตา โภคา ภะตา ภัจจา, โภคะทั้งหลาย เราไดบริโภคแลว บุคคล ทั้งหลายที่ควรเลี้ยง เราไดเลี้ยงแลว, วิติณณา อาปะทาสุ เม, อันตราย ทั้งหลาย เราไดขามพนไปแลว, อุทธัคคา ทักขิณา ทินนา, ทักษิณาที่เจริญ ผล เราไดใหแลว, อะโถ ปญจะ พะลี กะตา, อนึ่ง พลีทั้งหา เราไดทําแลว, อุปฏฐิตา สีละวันโต สัญญะตา พ๎รห๎มะจาริโน, ทานผูมีศลี สํารวมแลว ประพฤติพรหมจรรย เราไดบาํ รุงแลว, ยะทัตถัง โภคะมิจเฉยยะ ปณฑิโต ฆะระมาวะสัง, บัณฑิตผูครองเรือน ปรารถนาโภคะเพื่อประโยชนอันใด, โส เม อัตโถ อะนุปปตโต, ประโยชนนั้น เราไดบรรลุแลว, กะตัง อะนะนุตาปยัง, กรรมไมเปนที่ตั้งแหงความเดือดรอนภายหลัง เราไดทําแลว, เอตัง อะนุสสะรัง มัจโจ อะริยะธัมเม ฐิโต นะโร, นรชนผูจะตองตาย เมื่อตามระลึกถึงคุณขอ นี้อยู ยอมเปนผูตั้งอยูในอริยธรรม, อิเธวะ นัง ปะสังสันติ, เทวดาและ มนุษยทั้งหลาย ยอมสรรเสริญนรชนนั้น ในโลกนี,้ เปจจะ สัคเค ปะโมทะตีติ, นรชนนัน้ ละโลกนีไ้ ปแลว ยอมบังเทิงในสวรรค ดังนี้.
๑๑. วิหารทานคาถาแปล ****** สีตัง อุณห๎ ัง ปะฏิหันติ, เสนาสนะยอมปองกันเย็นและรอน, ตะโต วาฬะมิคานิ จะ, แลสัตวราย, สิริงสะเป จะ มะกะเส, งูและยุง, สิสิเร จาป วุฏฐิโย, ฝนที่ตงั้ ขึ้นในสิสิระฤดู, ตะโต วาตาตะโป โฆโร, ลมและ แดดอันกลา, สัญชาโต ปะฏิหัญญะติ, เกิดขึ้นแลว ยอมบรรเทาไป, เลณัตถัญจะ สุขัตถัญจะ ฌายิตุง จะ วิปสสิตุง วิหาระทานัง สังฆัสสะ อัคคัง พุทเธหิ วัณณิตัง, การถวายวิหารแกสงฆ, เพื่อเรนอยู เพื่อความสุข เพื่อเพงพิจารณา และเพื่อเห็นแจง พระพุทธเจาทรงสรรเสริญวาเปนทานอันเลิศ,
๕๔ ตัส๎มา หิ ปณฑิโต โปโส, เพราะเหตุนนั้ แล บุรษุ ผูเปนบัณฑิต, สัมปสสัง อัตถะมัตตะโน, เมื่อเล็งเห็นประโยชนตน, วิหาเร การะเย รัมเม, พึงสราง วิหารอันรื่นรมย, วาสะเยตถะ พะหุสสุเต, ใหภิกษุทงั้ หลายผูเ ปนพหูสูตอยูใ น วิหารนัน้ เถิด, เตสัง อันนัญจะ ปานัญจะ วัตถะเสนาสะนานิ จะ ทะเทยยะ อุชุภูเตสุ วิปปะสันเนนะ เจตะสา, อนึ่ง พึงถวายขาวน้ําผาเสนาสนะแกทาน เหลานั้น ดวยน้ําใจอันเลื่อมใสในทานผูซื่อตรง, เต ตัสสะ ธัมมัง เทเสนติ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง, ยัง โส ธัมมะมิธัญญายะ ปะรินิพพาต๎ยะนาสะโวติ, เขารูธรรมอันใดในโลกนีแ้ ลว จะเปนผูไมมีอาสวะปรินพิ พาน ทานยอมแสดง ธรรมนัน้ อันเปนเครื่องบรรเทาทุกขทงั้ ปวงแกเขา ดังนี้. ****** ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, ขอสรรพมงคลจงมีแกทาน, รักขันตุ สัพพะ เทวะตา, ขอเหลาเทวดาทั้งปวงจงรักษาทาน, สัพพะพุทธานุภาเวนะ, ดวย อานุภาพแหงพระพุทธเจาทั้งปวง, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต, ขอความสวัสดี ทั้งหลาย จงมีแกทานทุกเมื่อ. ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, ขอสรรพมงคลจงมีแกทาน, รักขันตุ สัพพะ เทวะตา, ขอเหลาเทวดาทั้งปวงจงรักษาทาน, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, ดวย อานุภาพแหงพระธรรมทัง้ ปวง, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต, ขอความสวัสดี ทั้งหลาย จงมีแกทานทุกเมื่อ. ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, ขอสรรพมงคลจงมีแกทาน, รักขันตุ สัพพะ เทวะตา, ขอเหลาเทวดาทั้งปวงจงรักษาทาน, สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ดวย อานุภาพแหงพระสงฆทงั้ ปวง, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต, ขอความสวัสดี ทั้งหลาย จงมีแกทานทุกเมื่อเทอญ.
๕๕
ภาค ๔ ๑. พุทธอัฏฐชัยมงคลคาถาแปล ****** พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม๑ ชะยะมังคะลานิ. ดวยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูเปนจอมมุนี, ไดทรงชํานะ พญามาร ซึ่งไดเนรมิตแขนตั้งพัน, ถืออาวุธครบมือ ขี่ชางพลายคีรีเมขล พรอมดวยเสนามารโหรอ งกึกกอง, ดวยธรรมวิธีมีทานบารมีเปนตนนัน้ , ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแกขาพเจา. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสทุ ันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม๑ ชะยะมังคะลานิ. ดวยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูเปนจอมมุนี, ไดทรงชํานะ อาฬวกยักษผูดุราย, ผูมีจิตกระดางลําพอง หยาบชายิง่ กวาพญามาร, เขามารุกรานราวี ตลอดราตรีทั้งสิ้น, ดวยวิธีทรมานเปนอันดีดวยธรรมคือ ขันตินนั้ , ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแกขาพเจา. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม๑ ชะยะมังคะลานิ.
๕๖ ดวยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูเปนจอมมุนี, ไดทรงชํานะ พญาชางนาฬาคิรี ซึ่งกําลังเมามัน รายแรงเหมือนไฟปาที่ลุกลาม, รอง โกญจนาทเหมือนฟาฟาด, ดวยวิธีรดลงดวยน้ําคือพระเมตตานัน้ , ขอชัย มงคลทั้งหลาย จงมีแกขาพเจา. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม๑ ชะยะมังคะลานิ. ดวยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูเปนจอมมุนี, ไดทรงชํานะ องคุลิมาลโจรผูทารุณรายกาจนัก ทัง้ ฝมือเยี่ยม, ควงดาบไลตามพระองค ไปตลอดทาง ๓ โยชน, ดวยอิทธิปาฏิหาริยน ั้น, ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแกขา พเจา. กัต๎วานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม๑ ชะยะมังคะลานิ. ดวยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูเปนจอมมุนี, ไดทรงชํานะ นางจิญจมาณวิกา ที่ทํามารยาเสแสรงกลาวโทษพระองค, โดยผูกทอนไม กลมแนบเขากับทอง ทําเปนทองมีครรภแก, ดวยสมาธิวิธีคือความสงบ ในทามกลางประชุมชนนัน้ , ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแกขา พเจา. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปตะมะนัง อะติอนั ธะภูตัง ปญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม๑ ชะยะมังคะลานิ. ดวยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูเปนจอมมุนี, ผูรุงเรืองดวย ดวงประทีปคือพระปญญา, ไดทรงชํานะสัจจกนิครนถ ผูมนี ิสัยตลบตะแลง มีสันดานโออวดมืดมน, ดวยพระปญญาดุจประทีปอันโชติชวงนั้น, ขอ ชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแกขาพเจา.
๕๗ นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม๑ ชะยะมังคะลานิ. ดวยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูเปนจอมมุนี, โปรดใหพระ โมคคัลลานเถระ พุทธชิโนรส, เนรมิตกายเปนนาคราช ไปทรมาน พญานาคราช ชื่อนันโทปนันทะ ผูมีฤทธิ์มาก แตมีความรูผิด, ดวยวิธี ทรงแนะนําการแสดงฤทธิ์นั้น, ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงมีแกขาพเจา. ทุคคาหะทิฏฐิภชุ ะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พ๎รห๎มัง วิสุทธิชตุ ิมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม๑ ชะยะมังคะลานิ. ดวยเดชานุภาพของพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูเปนจอมมุนี, ไดทรงชํานะ พรหมผูม ีฤทธิ์ มีความสําคัญผิดวาเปนผูมีฤทธิ์ รุงเรืองดวยวิสุทธิคุณ ถือมั่นดวยมิจฉาทิฏฐิ เหมือนดังถูกงูรายกําลังรึงรัดไวแนนแฟน, ดวยวิธี ประทานยาพิเศษคือเทศนาญาณนัน้ , ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกขา พเจา. เอตาป พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิต๎วานะเนกะวิวิธานิ จุปททะวานิ โมกขัง สุขงั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญโญ. นรชนใด ไมเกียจคราน สวดก็ดี ระลึกถึงก็ดี ซึ่งพระพุทธชัยมงคล ๘ คาถาแมเหลานี้ ทุก ๆ วัน, นรชนนั้น จะพึงละเสียไดซึ่งอุปทวันตราย ทั้งหลายมีประการตาง ๆ เปนอเนก, ถึงซึ่งวิโมกข (คือพระนิพพาน) อัน เปนบรมสุขแล.
หมายเหตุ : ๑. ถาสวดใหผูอื่น เปลี่ยน เม ใหเปน เต, คําแปล เปลี่ยน แกขาพเจา ใหเปน แกทาน.
๕๘ มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินงั , ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา ปตโต สัมโพธิมุตตะมัง, พระพุทธเจา ผูเปนทีพ่ ึ่งของสัตวทั้งหลาย, ประกอบแลวดวยพระมหา กรุณาคุณ, ยังบารมีทั้งหลายทั้งปวงใหเต็มแลว, เพื่อประโยชนแกสรรพ สัตวทั้งหลาย, บรรลุถึงแลวซึ่งพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด; เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต๑ ชะยะมังคะลัง, ดวยการกลาวคําสัตยนี้, ขอชัยมงคล จงมีแกทา น; ชะยันโต โพธิยา มูเล สัก๎ยานัง นันทิวัฑฒะโน, เอวัง ต๎วัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล, อะปะราชิตะปลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร, อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปตโต ปะโมทะติ, ขอทานจงมีชัยชนะในมงคลพิธี, เหมือนพระจอมมุนีทรงชนะมารทีโ่ คน โพธิพฤกษ, ถึงความเปนผูเลิศในสรรพพุทธาภิเษก ทรงปราโมทยอยูบน อปราชิตบัลลังกอันสูง เปนจอมมหาปฐพี, ทรงเพิ่มพูนความยินดีแก เหลาประยูรญาติศากยวงศ ฉะนั้น; สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตงั , สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พ๎รห๎มะจาริสุ, เวลาที่สัตวประพฤติชอบ ชื่อวา ฤกษดี มงคลดี, สวางดี รุงเรืองดี, และขณะดี ครูดี, บูชาดีแลว ในพรหมจารีบุคคลทั้งหลาย; ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง, ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา, กายกรรม เปนประทักษิณ สวนเบื้องขวา, วจีกรรม เปนประทักษิณ สวน เบื้องขวา, มโนกรรม เปนประทักษิณ สวนเบื้องขวา, ความปรารถนาของ ทาน เปนประทักษิณ สวนเบื้องขวา; ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ. สัตวทั้งหลาย ทํากรรมอันเปนประทักษิณ สวนเบื้องขวาแลว, ยอมได ประโยชนทั้งหลาย อันเปนประทักษิณ สวนเบื้องขวา. หมายเหตุ : ๑. ถาสวดใหตัวเอง เปลี่ยน เต ใหเปน เม, คําแปล เปลี่ยน แกทาน ใหเปน แกขาพเจา.
๕๙ ๒. บารมี ๓๐ ทัศ (พระบูรพาจารยประกอบขึ้น เปนบทเกา) ****** ทานะปาระมี สัมปนโน ทานะอุปะปาระมี สัมปนโน ทานะ ปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน อิตปิ โส ภะคะวา. สีละปาระมี สัมปนโน สีละอุปะปาระมี สัมปนโน สีละปะระมัตถะ ปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา. เนกขัมมะปาระมี สัมปนโน เนกขัมมะอุปะปาระมี สัมปนโน เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา. ปญญาปาระมี สัมปนโน ปญญาอุปะปาระมี สัมปนโน ปญญา ปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน อิตปิ โส ภะคะวา. วิริยะปาระมี สัมปนโน วิริยะอุปะปาระมี สัมปนโน วิริยะ ปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน อิตปิ โส ภะคะวา. ขันติปาระมี สัมปนโน ขันติอุปะปาระมี สัมปนโน ขันติปะระมัตถะ ปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา. สัจจะปาระมี สัมปนโน สัจจะอุปะปาระมี สัมปนโน สัจจะปะระมัตถะ ปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา. อะธิฏฐานะปาระมี สัมปนโน อะธิฏฐานะอุปะปาระมี สัมปนโน อะธิฏฐานะปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมี สัมปนโน อิติป โส ภะคะวา.
๖๐ เมตตาปาระมี สัมปนโน เมตตาอุปะปาระมี สัมปนโน ปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา ปาระมี สัมปนโน อิตปิ โส ภะคะวา. อุเปกขาปาระมี สัมปนโน อุเปกขาอุปะปาระมี สัมปนโน ปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา ปาระมี สัมปนโน อิตปิ โส ภะคะวา. พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, นะมามิหัง.
เมตตา อุเปกขา อุเปกขา อุเปกขา
๓. คาถาหวานทราย ****** อิมัส๎มิง ราชะเสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะ สะหัสสานิ พุทธะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ, อิมัส๎มิง ราชะเสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะ สะหัสสานิ ธัมมะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ, อิมัส๎มิง ราชะเสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะ สะหัสสานิ ปจเจกะพุทธะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ. อิมัส๎มิง ราชะเสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะ สะหัสสานิ สังฆะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ.
๖๑ ๔. คาถาโพธิบาท ****** บู ร ะพารั ส๎ มิ ง พระพุ ท ธะคุ ณั ง บู ร ะพารั ส๎ มิ ง พระธั ม เมตั ง บู ร ะพารั ส๎ มิ ง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ สุรักขันตุ ฯ หมายเหตุ : เที่ยวตอ ๆ ไปใหเปลี่ยน บูระพารัส๎มิง เปน อาคเนยรัส๎มิง– ทั ก ษิ ณ รั ส๎ มิ ง –หรดี รั ส๎ มิ ง –ป จ จิ ม รั ส๎ มิ ง –พายั พ รั ส๎ มิ ง –อุ ด รรั ส๎ มิ ง –อิ ส านรั ส๎ มิ ง นอกนั้นเหมือนกันหมด.
๕. คาถามงคลจักรวาลแปดทิศ ****** อิมัส๎มิงมงคลจักรวาลทั้งแปดทิศ ประสิทธิจงมาเปนกําแพงแกว ทั้งเจ็ดชั้น มาปองกันหอมลอมรอบครอบทั่วอนัตตา ราชะเสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ พุทธะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ ฯ หมายเหตุ : เที่ยวตอ ๆ ไปใหเปลีย่ น พุทธะชาละปะริกเขตเต เปน ธัมมะชาละปะริกเขตเต–ปจเจกะพุทธะชาละปะริกเขตเต–สังฆะชาละปะริกเขตเต นอกนั้นเหมือนกันหมด.
๖๒ ๖. คําแผสวนบุญ ****** อิทัง เม มาตาปตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปตะโร. ขอสวนบุญนี้ จงสําเร็จแกมารดาบิดาของขาพเจา, ขอใหมารดาบิดาของ ขาพเจา จงมีความสุขเถิด. อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย. ขอสวนบุญนี้ จงสําเร็จแกญาติทั้งหลายของขาพเจา, ขอใหญาติทั้งหลาย ของขาพเจา จงมีความสุขเถิด. อิทัง เม อาจะริยุปชฌายานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ อาจะริยุปชฌายา. ขอสวนบุญนี้ จงสําเร็จแกครูอาจารยและอุปช ฌายของขาพเจา, ขอใหครู อาจารยและอุปชฌายของขาพเจา จงมีความสุขเถิด. อิทัง สัพพะเทวานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา. ขอสวนบุญนี้ จงสําเร็จแกเทวดาทัง้ หลายทั้งปวง, ขอใหเทวดาทั้งหลาย ทั้งปวง จงมีความสุขเถิด. อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขติ า โหนตุ สัพเพ เปตา. ขอสวนบุญนี้ จงสําเร็จแกเปรตทั้งหลายทั้งปวง, ขอใหเปรตทั้งหลายทัง้ ปวง จงมีความสุขเถิด. อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เวรี. ขอสวนบุญนี้ จงสําเร็จแกเจากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง, ขอใหเจากรรม นายเวรทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุขเถิด. อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขติ า โหนตุ สัพเพ สัตตา. ขอสวนบุญนี้ จงสําเร็จแกสัตวทั้งหลายทั้งปวง, ขอใหสัตวทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุขเถิด.
๖๓ ๗. คําแผเมตตาใหตนเอง ****** อะหัง อะหัง อะหัง อะหัง อะหัง
สุขิโต (ตา) โหมิ, นิททุกโข (ขา) โหมิ, อะเวโร (รา) โหมิ, อัพย๎ าปชโฌ (ฌา) โหมิ, อะนีโฆ (ฆา) โหมิ,
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ,
ขอใหขาพเจา ขอใหขาพเจา ขอใหขาพเจา ขอใหขาพเจา ขอใหขาพเจา ลําบากใจเลย, ขอใหขาพเจา
มีความสุข, ปราศจากความทุกข, ปราศจากเวร, อยามีความพยาบาท, อยามีความลําบากกาย รักษาตนใหเปนสุขเถิด.
หมายเหตุ : ในวงเล็บทั้งหมด ( ) สําหรับผูหญิงสวด
๘. คําแผเมตตาใหผูอื่น ****** สัพเพ สัพเพ สัพเพ สัพเพ สัพเพ สัพพา สัพเพ
สัตตา, ปาณา, ภูตา, ปุคคะลา, อัตตะภาวะปะริยาปนนา, อิตถิโย, ปุริสา,
สัตวทั้งหลายทั้งปวง, สัตวมีลมปราณทั้งหลายทั้งปวง, ภูตทั้งหลายทั้งปวง, บุคคลทั้งหลายทั้งปวง, ผูที่นบั เนื่องดวยอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง, สตรีทั้งหลายทั้งปวง, บุรุษทั้งหลายทั้งปวง,
๖๔ สัพเพ อะริยา, สัพเพ อะนะริยา, สัพเพ เทวา, สัพเพ มะนุสสา, สัพเพ วินิปาติกา, อะเวรา โหนตุ, อัพ๎ยาปชฌา โหนตุ, อะนีฆา โหนตุ, สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ,
พระอริยเจาทั้งหลายทั้งปวง, ปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง, เทวดาทั้งหลายทั้งปวง, มนุษยทั้งหลายทั้งปวง, สัตววินิบาตทั้งหลายทั้งปวง, จงเปนสุข ๆ เถิด อยาไดมีเวรซึ่งกัน และกันเลย, จงเปนสุข ๆ เถิด อยาไดมีความพยาบาท เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย, จงเปนสุข ๆ เถิด อยาไดมีความทุกขกาย ทุกขใจเลย, จงมีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนใหพน จากทุกขภัยทั้งสิ้นเถิด.
๖๕
ที่มาของคําบาลี ******
อานาปานสติปาฐะ อิทัปปจจยตาปฏิจจสมุปปาทปาฐะ ธัมมนิยามสุตตปาฐะ โยคฐานาริยสัจจธัมมปาฐะ มหาพุทธโถมนาการปาฐะ ธัมมปาหังสนปาฐะ คําแปลภาษาไทย
ไตร. ล. ๑๔/๑๙๓/๒๘๗,และ ฯลฯ. ไตร. ล. ๑๖/๓๐/๖๑. ไตร. ล. ๒๐/๓๖๘/๕๗๖. ไตร. ล. ๑๙/๕๓๙/๑๖๙๗. ไตร. ล. ๑๓/๗๗/๘๒. ไตร. ล. ๑๖/๓๔/๖๖. แปลโดยกองตําราของคณะธรรมทาน.
ขุททกปาฐมังคลสุตตะ กสิสุตตปาฐะ อภิณหปจจเวกขณปาฐะ สีลุทเทสปาฐะ ตายนคาถา สังวราสังวรคาถา พุทธอุทานคาถา อุปฑฒสุตตปาฐะ เทวทูตสุตตปาฐะ กรณียเมตตสุตตปาฐะ โมรปริตตัง ขันธปริตตัง ธารณปริตตปาฐะ โพชฌังคปริตตัง
ไตร. ล. ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ไตร. ล. ๗ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค ไตร. ล. ๑๔ อังคุตตรนิกาย ปญจกนิบาต ไตร. ล. ๑๙/๒๖๗ สัง.มหา. ปาติโมกขสังวรสูตร พระสุตตันตปฎก ธรรมบทคาถา นิรยวรรค ไตร. ล. ๒๕ ธรรมบทคาถา ปฐมยมกวรรค ไตร. ล. มหาขันธกะ ไตร. ล. ๑๙/๗ สํ.มหา. ไตร. ล. ๑๕/๓๕๖ ม.อุป. ไตร. ล. ๒๕ ขุททกนิกาย เมตตสูตร ไตร. ล. ๒๓ ขุททกนิกาย ทัฬหวรรค โมรชาตก ไตร. ล. ๗/๒๗/๑๑ วินัย. จุลวรรค, จากคัมภีรพมา (คัดจากหนังสือ ๙ ยอดคาถา ของนิตยสารโลกทิพย) ไตร. ล. ๒๔ อังคุตตรนิกาย โพชฌังคสูตร
อนุโมทนารัมภคาถา กาลทานสุตตคาถา ติโรกุฑฑกัณฑปจฉิมภาค อัคคัปปสาทสุตตคาถา โภชนทานานุโมทนาคาถา
ไตร. ล. ๒๕ ไตร. ล. ๒๒ ไตร. ล. ๒๕ ไตร. ล. ๒๑ ไตร. ล. ๒๒
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ ภาค ๑ อังคุตตรนิกาย ปญจกนิบาต ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ อังคุตตรนิกาย จตุกกขันธกะ อังคุตตรนิกาย ปญจกนิบาต โภชนทานสูตร
*****
๖๖
คูม อื พุทธบริษทั เลม ๒ (สวดมนตแปลพระสูตรที่สาํ คัญจากพระไตรปฎก) ฉบับวัดปญญานันทาราม พิมพครั้งที่ ๑ พิมพครั้งที่ ๒
เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
จํานวน จํานวน
๕,๐๐๐ เลม ๑๐,๐๐๐ เลม