Dhammatalk 3

Page 1

บทธรรมนำทำง ๓

สพฺ พทำน ธมฺ มทำน ชินำติ



บทธรรมนำทำง ๓

ผูจ้ ดั ทำ พระอาจารย์สมหมาย พูนศักดิ ์-สุชาดา ประถมบุตร พิเชษฐ-เกษสุดา โพธิบญ ุ อิสรา วรรณสวาทและครอบครัว สุรเดช-นิภา รัตนสัค สุรศักย์-สุกญ ั ญา ราพึงกิจและครอบครัว อภิชาต-ประภาพรรณ ประถมบุตรและครอบครัว ภาสกร-ชลธิชา-ณิชา ประถมบุตร ยุทธพงษ์-อรนุ ช ขวัญชืน้ และครอบครัว สุรฤทธิ-มานิ ์ กา-กนกนาถ-ธันยวัฒน์ รัตนสัค ฉัตรชัย-นิภาพรรณ-ปณาลี-สฐาปก ธีระวงษ์ไพโรจน์ Masayoshi-Ann Komori สุนทร-สุนนั ทา-ภัทร-เอมมี-่ อมิตา มุง่ ทวีพงษา อังคณา วงษ์ประเสริฐ

1


2

บทธรรมนำทำง ๓

คำนำ บทธรรมเหล่านี้เป็ นหลักธรรมคาสอนทีพ่ ระพุทธองค์ทรงแสดง เอาไว้แล้ว คณะผูจ้ ดั ทาได้ชว่ ยกันจัดเป็ นรูปเล่มเพือ่ ให้ผอู้ า่ นเข้าถึงได้ ง่ายขึน้ ตามจริตนิสยั บทธรรมนาทางเล่ม ๓ นี้เปลีย่ นรูปเล่มจากบทธรรมบรรยาย มาเป็ นบทธรรมสัน้ ๆ เพือ่ ให้ผอู้ า่ นมองเห็นแง่คดิ ต่างๆ ของหลักธรรม และนาไปพิจารณาทบทวน ทาความเข้าใจ ปรับใช้ในการปฏิบตั ธิ รรม และการดาเนินชีวติ นอกจากนี้ยงั ได้เพิม่ เติมสถานปฏิบตั ธิ รรมทัว่ ประเทศเพือ่ ความสะดวกในการค้นหาแก่ผอู้ า่ น คณะผูจ้ ดั ทาขออนุ โมทนาบุญกับทุกท่านทีไ่ ด้อา่ นและร่วม เผยแพร่บทธรรมนาทางเล่มนี้ และขอให้ผลบุญในครัง้ นี้เป็ นปั จจัย เกือ้ หนุ นให้ทา่ นได้บรรลุธรรมด้วยเทอญ คณะผูจ้ ดั ทา


บทธรรมนำทำง ๓

3

สำรบัญ ทุกข์ .....................................................................5 สุข........................................................................9 หนทางธรรม .......................................................15 เข้าใจธรรม .........................................................27 สถานปฏิบตั ธิ รรม ...............................................33


4

บทธรรมนำทำง ๓


บทธรรมนำทำง ๓

5

ทุกข์ อยู่กับทุกข์ แรกเกิดเราก็รอ้ งไห้จนแก่ตายในทีส่ ุด เราได้สมั ผัสทุกข์ตลอดเวลา เพราะอวิชชา ตัณหา อุปาทานนันเอง ่ เมื่อรู้ เข้าใจในทุกข์แล้ว ก็เป็ นสุข อยูก่ บั ทุกข์ได้สบาย

กำมคุณวุ่นวำย กามคุณ เป็ นสิง่ น่าใคร่ เมื่อสัมผัสแล้ว ย่อมเกิดความติดใจ หลงใหล พอใจ ยินดี เกิดความปรารถนา หวงแหน แย่งชิงกัน มีพยาบาทเบียดเบียนกันในทีส่ ุด

หลงทำง ห่ำงธรรม เห็นผิด เข้าใจผิด ปฏิบตั ผิ ดิ มรรค๘ จะไม่ได้ผลอะไร มีแต่หา่ งไกลออกไปจากสัจธรรมความจริง มีผลเป็ นทุกข์เดือดร้อนภายหลัง


6

บทธรรมนำทำง ๓

อวิชชำ ควำมไม่รจู้ ริง อวิชชาพาใจ ให้เป็ นทุกข์ เพราะหลงสุข โลกียก์ าม นามรูปขันธ์ ขาดสติ ปั ญญา พารูท้ นั หลงยึดมัน่ ขันธ์หา้ ว่าเป็ นตน

หลงใหลในภพ อยากได้ อยากมี อยากเป็ น อยากเด่น อยากดัง นังทุ ่ กข์ หลงสุข ปรุงแต่ง แข่งขัน ยึดติด ยึดมัน่ สาคัญ ว่าขันธ์ นี้เป็ น ของตน

โทษของกำม กามาพาสัตว์เดือดร้อน ยืนเดินนังนอนที ่ ไ่ หน อาฆาตพยาบาทผลาญใจ สุดท้ายพากเพียรเบียดเบียนกัน เพราะความอยากมากในกาม จึงทาเหตุ ตามกิเลส เช่นโลภ โกรธ และหลง เพราะกามาพาให้ใจมืดลง วิญญาณคงนาไปในผลกรรม


บทธรรมนำทำง ๓

อวิช ชา หมายถึงความไม่รู้ใ นอริย สัจ ได้แ ก่ o ไม่ รู้ใ นทุ ก ข์ ได้แ ก่ ไ ม่ รู้ว่ า อะไรบ้า งที่เ ป็ น ตัว ทุ ก ข์ เช่ น ไม่ รู้ค วามเกิด ความแก่ ความตาย ความ ผิด หวัง เป็ น ตัว ทุ ก ข์ o ไม่ รู้ใ นเหตุ เ กิด ทุ ก ข์ ได้แ ก่ ไ ม่ รู้ว่ า ทุ ก ข์นั น้ เกิด มา จากตัณ หาในจิต ของตนเอง มิใ ช่ เ กิด จากผี สาง เทวดา มิใ ช่ เ กิด จากการบัน ดาล o ไม่ รู้ใ นความดับ ทุ ก ข์ ได้แ ก่ ค วามไม่ รู้ว่ า ทุ ก ข์นั น้ เมื่อ เกิด แล้ว สามารถดับ ได้ โดยการกาจัด ตัณ หา ให้ห มดไป o ไม่ รู้ใ นข้อ ปฏิบ ัติสาหรับ ดับ ทุ ก ข์ ได้แ ก่ ไ ม่ รู้ว่ า ทุ ก ข์นั น้ จะดับ สนิ ท ได้ด้ว ยมรรค 8 มีส ัม มาทิฐิ เป็ น ต้น มิใ ช่ ด ับ ได้ด้ว ยการวิง วอนขอร้อ งให้ค น อื่น ช่ ว ย

7


8

บทธรรมนำทำง ๓


บทธรรมนำทำง ๓

9

สุข เมื่อสงบ จึงพบสุข ถ้าหากจิตใจไม่สงบจากกิเลสทัง้ หลาย ร้อนรุม่ ด้วยไฟ ราคะ ตัณหา อุปาทาน อยูเ่ ช่นนี้ ก็ไม่อาจจะพบสุขทีแ่ ท้จริงได้

สุขโลก สุขธรรม สุขโลก เป็ นสุขในกามคุณเป็ นหลัก มีกาม พยาบาท เบียดเบียนกันในทีส่ ุด ผลเป็ นทุกข์ (โลกสุขกาม) สุขธรรมเป็ นสุขอันเกิดจากจิตทีว่ า่ งจากกิเลสเหตุทกุ ข์ มีฌาน ความสงบ (เพ่ง) ฌานรูแ้ จ้งในธรรม เป็ นเครื่องอยู(่ ธรรมสุขว่าง) มีผลเป็ นสุข


10

บทธรรมนำทำง ๓

สุขใจในธรรม ผูม้ ธี รรม เข้าใจในธรรม ปฏิบตั ติ ามธรรม สร้างกุศลอยูเ่ สมอ ย่อมอยูเ่ ป็ นสุขทุกเมื่อ เพราะผลของการปฏิบตั ติ ามธรรมอันเป็ นกุศล

สุขในควำมสงบ สงบจากการไม่เบียดเบียนตนและผูอ้ ่นื สงบจากการทาใจสงบนิ่งมีสมาธิ สงบจากการเจริญวิปัสสนา ภาวนา ละกิเลส เหล่านี้เป็ นความสุขทีส่ มั ผัสได้ในปั จจุบนั เป็ นความสุขทีม่ คี า่ มากกว่าทรัพย์ภายนอก สงบเย็น เบากายเบาใจ เกิดจากใจทีส่ งบนันเอง ่

ควำมสุข สุขอื่นยิง่ กว่าความสงบไม่มี นิพพานเป็ นสุขอย่างยิง่


บทธรรมนำทำง ๓

11

ขันธ์หำ้ พำสุข ธาตุขนั ธ์ทงั ้ หลายเสื่อมไปตามกาลเวลา เป็ นธรรมชาติอยูอ่ ย่างนี้ เมื่อรูแ้ จ้ง เข้าใจในความจริงก็จะปลง ปล่อยวางได้ จะเป็ นสุขขึน้ มา พระอริยบุคคลหลุดพ้นด้วยการ พิจารณาขันธ์หา้ นี้เอง


12

บทธรรมนำทำง ๓


บทธรรมนำทำง ๓

ขันธ์ ๕ หมายถึงกองแห่งรูปธรรมและนามธรรมห้าหมวดที่ ประชุ ม กัน เข้า เป็ นชีวิต ประกอบด้ ว ย 1) รู ป ส่ ว นที่ เ ป็ นรู ป ร่ า งกาย พฤติ ก รรม และคุ ณ สมบัติ ต่ า งๆ ของส่ ว นที่เ ป็ นร่ า งกาย ส่ ว นประกอบฝ่ ายรู ป ธรรมทัง้ หมด 2) เวทนา ส่ ว นที่เ ป็ นการเสวยรสอารมณ์ ความรู้ ส ึก สุ ข ทุ ก ข์ หรือ เฉยๆ เมื่อ รับ รู้ เ กิด ความพอใจ มนุ ษ ย์ เ รีย กว่ า สุ ข เมื่อ รับ รู้ เ กิ ด ความไม่ พ อใจ มนุ ษ ย์ เ รีย กว่ า ทุ ก ข์ เมื่อ รับ รู้ แ ล้ ว ไม่ ทุ ก ข์ไ ม่ สุ ข เรีย กว่ า อุ เ บกขา 3) สัญ ญา ส่ ว นที่ เ ป็ นความกาหนดหมายให้ จาอารมณ์ นั น้ ๆ ได้ ความกาหนดได้ ห มายรู้ ใ นอารมณ์ 6 เช่ น เสีย งดัง รู ป สวย กลิ่น หอม รสหวาน ร้ อ น และดีใ จ 4) สัง ขาร ส่ ว นที่เ ป็ นความปรุ ง แต่ ง สภาพที่ป รุ ง แต่ ง จิต ให้ ดี หรือ ชัว่ หรือ เป็ นกลางๆ คุ ณ สมบัติ ต่ า งๆ ของจิต มีเ จตนา เป็ นตัว นา ที่ป รุ ง แต่ ง คุ ณ ภาพของจิต ให้ เ ป็ นกุ ศ ล อกุ ศ ล อัพ ยากฤต 5) วิญ ญาณ ส่ ว นที่เ ป็ นความรู้ แ จ้ ง อารมณ์ ความรู้ อ ารมณ์ ท าง อายตนะทัง้ 6 อายตนะแปลว่ า บ่ อ เกิ ด หรือ สื่อ สัม พัน ธ์ บ่ อ เกิ ด หรือ สื่อ สัม พัน ธ์ ของอายตนะทัง้ สองแล้ ว เกิด อารมณ์ ข้ึน อายตนะ มีต าเป็ นต้ น เมื่อ สัม ผัส กับ รู ป แล้ ว ก็ติ ด ต่ อ สัม พัน ธ์ เกี่ย วเนื่ อ งถึ ง ประสาทเข้า มาหาใจ แล้ ว ใจก็ร ับ เอามาเป็ น อารมณ์ ถ้ า ดีก็ช อบใจ สนุ ก เพลิด เพลิ น ถ้ า ไม่ ดีก็ไ ม่ ช อบ ใจ คับ แค้ น เป็ นทุ ก ข์โ ทมนั ส

http://winslow-dharma.blogspot.com/2013/04/5.html

13


14

บทธรรมนำทำง ๓


บทธรรมนำทำง ๓

15

หนทำงธรรม รักษำจิต จิตดับทุกข์ดบั จิตเกิดทุกข์เกิด จิตหลง กายไม่หลงจิต เห็นละรูว้ าง ฟั งปล่อยวางขันธ์หา้ ละอารมณ์ ปล่อยใจให้อสิ ระ(จากกิเลส) มีสติปัญญาพิจารณาบ่อยๆ ทีส่ ุดจิตจะสงบ สะอาด พ้นทุกข์

หนทำงนักบวช เป็ นพระภิกษุในพระพุทธศาสนานัน้ มีจุดหมายทีแ่ ท้จริงคือการดับทุกข์ พ้นทุกข์ในทีส่ ุด ไม่ได้มงุ่ หวังอย่างอื่นเช่น ลาภยศ เป็ นต้น การประพฤติพรหมจรรย์ไม่ใช่เพือ่ เป็ นใหญ่ หรือเจ้าลัทธิ แต่เพือ่ ออกจากทุกข์


16

บทธรรมนำทำง ๓

เข้ำใจในควำมจริง ธาตุขนั ธ์ไม่มนคง ั ่ ให้ปลงซึง่ ธาตุขนั ธ์ สังขารไม่จรี งั จงปล่อยวางซึง่ สังขาร รูแ้ จ้ง แห่งเหตุทุกข์ ย่อมเป็ นสุข เพราะทุกข์ดบั พิจารณาหาเหตุผล ใคร่ครวญดู ก็จะเห็นความจริง คลายความยึดมันถื ่ อมันในที ่ ส่ ดุ

เข้ำใจในขันธ์ ปล่อยวางทีใ่ จ สังขารทัง้ หลายก็ทาหน้าทีอ่ ยูอ่ ย่างนัน้ เพราะหลงยึดมันจึ ่ งทุกข์ เข้าใจยอมรับในธรรมชาติอนั นี้ ก็จะเป็ นสุข สงบ สบายใจ ไม่ทุกข์รอ้ นใดๆเลย

เข้ำใจโลก เข้ำใจธรรม โลกเร่าร้อนด้วยกามคุณ มีอวิชชา ตัณหา อุปาทาน พาทุกข์ ธรรมสงบเย็น ปล่อยวาง ว่างจากกิเลส สุขสบายกายใจ


บทธรรมนำทำง ๓

17

ควำมพอดี ในการปฏิบตั นิ นั ้ หาความพอดีพอเหมาะ กับอารมณ์กรรมฐานและสิง่ แวดล้อม เช่น บุคคล สถานที่ อาหารธรรม เรียกว่าสัปปายะ สิง่ ทีเ่ หมาะแก่การปฏิบตั ิ ในทางโลกก็เช่นกัน มีความพอดี รูจ้ กั พอใจ ในสิง่ ทีต่ นมี เป็ นอยูแ่ ล้ว จะมีความสุขเช่นกัน (พอเพียง พอประมาณ)

ดับไฟในจิต ไฟภายนอกคือเปลวไฟ แสงแดดแผดร้อนเผากาย แต่ไฟภายในคือราคะ โทสะ โมหะ เผาใจให้รอ้ นรน ทุกข์ทรมาน ดับด้วยการหาอารมณ์มาแก้ (ราคะ-อสุภะ โทสะ-เมตตา โมหะ-อบรมภาวนา) ให้ถูกและทันท่วงที


18

บทธรรมนำทำง ๓

ปล่อยวำง ห่ำงทุกข์ รูแ้ จ้งเห็นจริงตามความเป็ นจริงในธาตุขนั ธ์ และความเป็ นไปในวิบากกรรมของชีวติ ยอมรับและเข้าใจในสิง่ เหล่านี้กจ็ ะเป็ นสุข เพราะปลงและปล่อยวางนันเอง ่ ในชีวติ ประจาวัน วันหนึ่งๆ ให้ปล่อยวางบ้าง เพราะบางเรื่องอาจจะดีขน้ึ คือสบายใจ เบาใจ ปลอดโปร่งโล่งเบาได้

ที่สดุ ของกำรปฏิบัติ การปฏิบตั ขิ องพุทธศาสนานัน้ มีมรรคแปดเป็ นทางเดิน ทางอันเอก มุง่ สูค่ วามหลุดพ้น เป็ นเป้ าหมาย การเจริญฌานวิปัสสนา ก็เพือ่ ความหลุดพ้นจากทุกข์ทงั ้ ปวง

หนทำงสร้ำงสุข หลักศีล สมาธิ ปั ญญา เป็ นหลักนามารักษาและพัฒนาจิต ให้สงบ สะอาด สว่างในทีส่ ุด ทางอื่นไม่มี


บทธรรมนำทำง ๓

19

ใช้ธรรมดับทุกข์ พุทธศาสนาให้เราใช้เหตุผลในการดาเนินชีวติ เชื่อในกฎแห่งกรรม มีสติ ปั ญญา รักษาใจอยูใ่ นหลักมรรคแปด ไม่พง่ึ พิธกี รรมใดๆ เลย ธรรมมีมากมายควรเลือกใช้ให้ถูกจริต และความสามารถของตน จึงจะได้ผลและเป็ นสุข เพราะการปฏิบตั ธิ รรมมีหลายระดับ ต้องเข้าใจเอาไว้ดว้ ย จะได้ไม่หลงทาง

มองตนพ้นทุกข์ โดยธรรมชาติคนเราชอบมองเพ่งโทษ หาความผิดคนอื่น มากกว่าทีจ่ ะมองเข้ามาหาตน ผลทาให้เกิดโทษตามมาและเป็ นทุกข์ในทีส่ ุด ในการปฏิบตั นิ นั ้ ท่านเน้นการพิจารณา ดูกาย ดูใจตนเป็ นหลัก


20

บทธรรมนำทำง ๓

ละทุกข์ได้สขุ หลงสุขได้ทกุ ข์ เบื่อหน่ายในตน พ้นทุกข์ได้ หลงใหลในตน พ้นทุกข์ไม่ได้ เห็นผิดได้ทุกข์ เห็นถูกได้สุข อยากยึดมันเป็ ่ นทุกข์ เป็ นสุขปล่อยวาง พิจารณาเป็ นอารมณ์กรรมฐานบ่อยๆ จะพบสุข เพราะรูแ้ จ้งนันเอง ่

พรอันประเสริฐ ธรรมย่อมรักษาผูป้ ระพฤติธรรม สร้างกุศล บาเพ็ญบุญ อุทศิ บุญกุศล แผ่เมตตาจิตอยูเ่ สมอ ไม่ตอ้ งขอพรอ้อนวอนจากสิง่ ใด

รูเ้ ห็นเป็ นจริง รูแ้ จ้งในอริยสัจ เห็นจริงตามความเป็ นจริง เป็ นธรรมชาติอยูอ่ ย่างนัน้ จริงใจ ตัง้ ใจปฏิบตั ติ ามธรรม


บทธรรมนำทำง ๓

21

คุณธรรม ระดับจิต การเจริญพรหมวิหารมาก การละกิเลสได้มาก จิตสะอาดบริสุทธิ ์ เข้าใจรูแ้ จ้งธรรมได้ลกึ ซึง้ ละเอียด เหล่านี้แตกต่างกันทีค่ ุณธรรม ความละเอียด สะอาดของจิต ทีอ่ บรมสังสมมา ่ และทาให้เกิดขึน้ ในปั จจุบนั จะรูเ้ ห็นไม่เท่ากัน

ธรรม เวลำ คุณค่ำของชีวิต เข้าใจในความเป็ นไปของธรรมชาติของชีวติ มีไตรลักษณ์เป็ นต้น ตัง้ อยูใ่ นความไม่ประมาท ใช้ชวี ติ ให้มปี ระโยชน์ คุม้ ค่า และอย่าเสียโอกาสในการเกิดเป็ นมนุ ษย์

กรรมใด ทาแล้วเราสุข เขาทุกข์ อย่าทา ทาแล้วเราทุกข์ เขาสุข อย่าทา ทาแล้วเราทุกข์ เขาทุกข์ อย่าทา ทาแล้วเราสุข เขาสุข จงทากรรมนัน้


22

บทธรรมนำทำง ๓

สิ่งที่สร้ำงสมอบรมมำ การบรรลุธรรมได้นนั ้ มีเหตุปัจจัยประกอบหลายอย่าง การอบรมสังสมบารมี ่ ในทางธรรมมาก่อน มีธรรมดา กลาง สูง เช่นเคยอบรมสมถกรรมฐาน วิปัสสนา กรรมฐาน หรือเจริญเมตตา พรหมวิหาร ต่างๆเหล่านี้จะเกือ้ หนุ นให้เรามีโอกาสบรรลุธรรมได้

หลงโลก ลืมธรรม เมื่อใดก็ตามทีต่ กอยูใ่ ต้อานาจของความโลภ โกรธ หลง ย่อมขาดสติ ไหลไปตามกามคุณ ๕ คือปรุงแต่งไปตามอารมณ์ อวิชชาครอบงา เมื่อนัน้ จะเป็ นทุกข์ลมื หลักธรรมทีจ่ ะมาป้ องกันและอบรมจิต ควรเจริญสติ เจริญกรรมฐานอยูบ่ อ่ ยๆ เพือ่ ป้ องกันเหตุน้ีนนเอง ั่

ขัน้ ตอนธรรมะปฏิบัติ ที่ตอ้ งรูเ้ มื่อต่อสูก้ ับกิเลส ขัน้ ที่ 1 เตรียมความพร้อม รูจ้ กั จริตของตน ขัน้ ที่ 2 หาอารมณ์กรรมฐานทีถ่ ูกจริตมาแก้ ขัน้ ที่ 3 ลงมือปฎิบตั ิ อันประกอบด้วย สติ สมาธิ ปั ญญา ขัน้ ที่ 4 ประเมินผลพิจารณาดูวา่ เราเบา เราปล่อยวางไหม สุข ทุกข์


บทธรรมนำทำง ๓

ไหม ถ้าเจริญสมถะก็จะเบากายเบาจิตสดชื่น ถ้าเจริญวิปัสสนาก็จะ เข้าใจ ปล่อยวาง ขัน้ นี้เป็ นปั จจัตตัง ขัน้ ที่ 5 คือสรุปผล เป็ นผูร้ ู้ ผูต้ ่นื เบิกบานขึน้ มา (พุทธะ)

23


24

บทธรรมนำทำง ๓

มรรค ๘ ๑. สัมมาทิฏฐิ คือความเข้าใจถูกต้อง ๒. สัมมาสังกัปปะ คือความใฝ่ ใจถูกต้อง ปั ญญา ๓. สัมมาวาจา คือการพูดจาถูกต้อง ๔. สัมมากัมมันตะ คือการกระทาถูกต้อง ๕. สัมมาอาชีวะ คือการดารงชีพถูกต้อง ศีล ๖. สัมมาวายามะ คือความพากเพียรถูกต้อง ๗. สัมมาสติ คือการระลึกประจาใจถูกต้อง ๘. สัมมาสมาธิ คือการตัง้ ใจมันถู ่ กต้อง สมาธิ


บทธรรมนำทำง ๓

25


26

บทธรรมนำทำง ๓


บทธรรมนำทำง ๓

27

เข้ำใจธรรม อยู่ที่ใจ ใจดี ใจงาม ใจมีธรรม ตัง้ ใจ รักษาใจ ให้เป็ นปกติ เป็ นสุขทุกเวลา เพราะเจตนาเป็ นตัวกรรม ธรรมทัง้ หลายสาเร็จแล้ว อยูท่ ใ่ี จนันเอง ่

ควำมจริงกับสิ่งลวง ความจริงเห็นว่า ขันธ์น้ีไม่งาม ไม่เทีย่ ง เป็ นทุกข์ ไม่ใช่ตน(อนัตตา-สุญญตา) สิง่ ลวงเห็นว่าขันธ์น้ีงาม เทีย่ ง เป็ นสุข เป็ นตัวตน (อัตตา) สุข ทุกข์ อยูท่ ค่ี วามเห็นสองอย่างนี้เป็ นหลัก


28

บทธรรมนำทำง ๓

ที่สดุ ของคุณธรรม ความกตัญญูรคู้ ุณของผูท้ ท่ี าคุณประโยชน์ เกือ้ กูลตนก่อน แล้วตอบแทนนัน้ ประเสริฐสุด มีบดิ า มารดา เป็ นต้น จะพบกับความรุง่ เรือง ชีวติ เป็ นสุข

ธรรมะคือธรรมชำติ พระพุทธเจ้าตรัสรูธ้ รรมชาติของธรรมชาติทงั ้ หลาย ตรัสรูท้ างจิต ไม่ใช่กาย หมายเอาการ ไม่ยดึ มันถื ่ อมันในรู ่ ปนามขันธ์หา้ นี้ มีอริยสัจสี่ ไตรลักษณ์ เป็ นต้น พูดให้งา่ ยก็เข้าใจในกิเลส เหตุแห่งทุกข์ และทางพ้นทุกข์ คือสุขนันเอง ่

ธรรมอยู่ที่ไหน อยูท่ ก่ี าย ใจ รูปนาม ธาตุส่ี ขันธ์หา้ ของเรานี้เอง เห็นตามความเป็ นจริง เป็ นไปตามธรรมชาติ ก็เห็นธรรมไม่ยากเลย เห็นในอริยสัจสี่ ไตรลักษณ์ ธรรมอยูต่ รงนี้


บทธรรมนำทำง ๓

29

ที่สดุ ก็ตำย สุดท้ำยก็หยุด เมื่อจิตวิญญาณออกจากร่างแล้วก็เหมือนท่อนไม้ ไร้ประโยชน์ ใช้การไม่ได้ เรียกง่ายๆก็คอื ตาย เป็ นเช่นนี้ทุกตัวสัตว์ หนีไม่พน้ พิจารณาบ่อยๆ ให้จติ คุน้ เคยแล้วจะไม่เป็ นทุกข์

โลกสมมติ เราอยูใ่ นโลกสมมติ แต่ไม่หลง ในโลกธรรมนี้ แม้แต่รปู กายของเราก็แตก สลายไปในทีส่ ุด จะมีจะเป็ นอะไรก็ตาม ก็ทาใจและเข้าใจสภาวะธรรมคือความจริงไว้บา้ ง จะไม่เป็ นทุกข์มากเพราะมีสมหวัง ผิดหวังในชีวติ เรา

ควำมจริงสิ่งที่ควรรู้ สิง่ ทีค่ วรรูค้ อื ทุกข์ สิง่ ทีค่ วรละคือตัณหา สิง่ ทีค่ วรทาให้แจ้งคือนิโรธ(ดับทุกข์) สิง่ ทีค่ วรเจริญคือมรรคแปด(ทางพ้นทุกข์)


30

บทธรรมนำทำง ๓

ภพภูมิมนุษย์ การได้เกิดเป็ นมนุ ษย์ถอื ว่าโชคดี เพราะมีผล แห่งความดีนามา และมีโอกาสมากกว่าภพภูมอิ ่นื ในการให้ทาน รักษาศีล ภาวนา แต่ในเมื่อมีโอกาสแล้วไม่ใช้ความเป็ นมนุ ษย์ สร้างสิง่ ดีๆเอาไว้ ถือว่าโชคร้าย น่าเสียดาย

สิ่งที่มีอยู่แล้ว คือ สติ สมาธิ ปั ญญา มีอยูใ่ นตัวเราทุกคน แต่มใี นแบบชาวโลกคือดับทุกข์ไม่ได้ ส่วนคุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรมนัน้ ต้องพัฒนาขึน้ อีกต่างหาก ส่วนสติปัญญาแบบโลกุตรนัน้ พ้นทุกข์ได้ มีเฉพาะในพระพุทธศาสนาเท่านัน้ เรียกว่าสัมมาทิฏฐิ กับมิจฉาทิฏฐินนเอง ั่


บทธรรมนำทำง ๓

31

เท่ำกัน ธำตุขนั ธ์ กองทุกข์ กายเราเป็ นอย่างไร คนอื่นก็เช่นเดียวกัน กายนี้สกปรกเน่าเหม็นเป็ นรังของโรค จิตใจมีอวิชชา ตัณหา อุปาทาน คือกิเลสเหตุทุกข์เหมือนกัน แตกต่างกันทีใ่ ครจะมีมากน้อย และดับทุกข์ได้นนเอง ั่

เดินทำงต่ำงกัน มืดมา สว่างไป มืดมา มืดไป สว่างมา มืดไป สว่างมา สว่างไป ดวงจิตของมนุ ษย์เป็ นอย่างนี้ มีความแตกต่างกันทีก่ ารอบรมสังสมบุ ่ ญบารมี


32

บทธรรมนำทำง ๓


บทธรรมนำทำง ๓

33

สถำนปฏิบัตธิ รรม กรุงเทพและปริมณฑล วัดธรรมมงคล

132 ถ.สุขม ุ วิท ซอย 101 ตรอกปุณณ วิถ ี 20 แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10260 02-311-1387, 02-332-4145, 02741-7822

พระเทพเจติยาจารย์ (หลวง พ่อวิรย ิ ังค์ สิรน ิ ฺ ธโร) แนวการ ปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ"

ยุวพุทธิกสมาคม แห่งประเทศไทยฯ

58/8 ถ.เพชรเกษม 54 เขตภาษี เจริญ กรุงเทพฯ 10160 02-413-1706, 02-805-0790-4

คุณแม่สริ ิ กรินชัย แนวการ ปฏิบัต ิ แนวสติปัฏฐาน 4 เจริญสติอย่างต่อเนือ ่ ง

เสถียรธรรมสถาน

24/5 หมูท ่ ี่ 8 ซ.วัชรพล (ถ.ราม อินทรา 55) แขวงท่าแร ้ง เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10230 02-510-6697, 02- 510-4756 โทรสาร o2-519-4633

ี ันสนีย ์ เสถียรสุต แนว แม่ชศ การปฏิบัต ิ สติปัฏฐาน 4 และ อานาปานสติภาวนา

บ ้านซอยสายลม

9 ถ.พหลโยธิน ซอย 8 ซอยสายลม (ระหว่างตึกชินวัตร 1 และตึก พหลโยธินเพส) แขวงสามเสนใน เขต พญาไท กรุงเทพฯ 10400 02-616-7177, 02-272-6759

พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อ ฤาษี ลงิ ดา) แนวการปฏิบัต ิ มโนมยิทธิ บริกรรม "นะ มะ พะ ธะ" และสอนอนุสติ บริกรรม "พุทโธ"

วัดพิชยญาติกา ราม

685 ถ.ประชาธิปก แขวงสมเด็จ เจ ้าพระยา เขตคลองสาน กทม. 10600 02-861-4319, 02-438-4442

พระธรรมโมลี (สมศักดิ์ ี ศพร เท อุปสโม) และแม่ชท วาพิทักษ์ ธรรม แนวการ ปฏิบัต ิ สติปัฏฐาน 4 อานา ปานสติภาวนา มีการปฏิบัต ิ ธรรม อบรมกรรมฐาน และดู กฎแห่งกรรม


34

บทธรรมนำทำง ๓

กรุงเทพและปริมณฑล ศูนย์วป ิ ั สสนาธรรม ธานี

42/660 หมูบ ่ ้านเค.ซี. การ์เด ้นโฮม ถ. นิมต ิ ใหม่ แขวงสามวาตะวันออก เขต คลองสามวา กรุงเทพฯ 10510 02-993-2711, 02-993-2700, 081843-6467

ท่านอาจารย์สัตยา นารายัน โกเอ็นก ้า (S.N. Goenka) แนวการปฏิบัต ิ สติปัฏฐาน 4 และอานาปานสติภาวนา

มูลนิธพ ิ ระอาจารย์ มั่น ภูรท ิ ต ั โต

549/94 ซ.ยิง่ อานวย (จรัญสนิทวงศ์ 37) ถ.จรัญสนิทวงศ์ แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน ้อย กรุงเทพฯ 10700 02-412-2752 100/1 หมูท ่ ี่ 3 บ ้านบางไผ่น ้อย ต.บาง ไผ่ อ.เมือง จ.นนทบุร ี 11000 02-447-0799, 02-447-0800

หลวงปู่ มั่น ภูรท ิ ัตโต แนวการ ปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ"

78/8 หมูท ่ ี่ 1 ก.ม.14 ถ.ติวานนท์ ต. บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุร ี 11120 02-538-8845, 02-584-3074

พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปั ญญานันท ภิกขุ) แนวการปฏิบัต ิ แนวอา นาปานสติภาวนา

ศูนย์วป ิ ั สสนาธรรม กาญจนา

20/6 หมูท ่ ี่ 2 บ ้านวังขยาย ต.ปรังเผล อ.สังขละบุร ี จ.กาญจนบุร ี 71240 (034) 531-209, 081-811-6447, 081-811-6196

ตามแนวทางของท่าน อาจารย์โกเอ็นก ้า

สานั กปฏิบัตธิ รรม แดนมหามงคล (เกาะมหามงคล)

149 หมูท ่ ี่ 1 บ ้านช่องแคบ ก่อนถึง น้ าตกไทรโยคน ้อย ต.วังกระแจะ อ. ไทรโยค จ.กาญจนบุร ี 71150 081-862-1757

อุบาสิกาบงกช สิทธิผล แนว การปฏิบัต ิ สติปัฏฐาน 4 และ อานาปานสติภาวนา

วัดสังฆทาน

วัดชลประทาน รังสฤษฎ์

หลวงพ่อสังวาลย์ เขมโก และหลวงพ่อสนอง กตปุญ โญ แนวการปฏิบัต ิ สติปัฏ ฐาน 4 อานาปานสติภาวนา

ภำคกลำง


บทธรรมนำทำง ๓

35

ภำคกลำง สานั กปฏิบัตแ ิ สง ธรรมส่องชีวต ิ

่ ยกหินกอง บนเขาเทพ หมูท ่ ี่ 1 สีแ พนมยงค์ ต.โคกแย ้ อ.หนองแค จ. สระบุร ี 18230 (036) 379-428, (036) 305-239

พระสุนทรธรรมภาณ (พระ อาจารย์สมชาติ ธมฺมโชโต) แนว การปฏิบัต ิ เน ้นให ้ผู ้ฝึ กมีสติรู ้ใน อิรย ิ าบท ภาวนาเจริญสติกาหนด ในกายตน-จิตตน

วัดเขาวง (ถ้า นารายณ์)

62/1 หมูท ่ ี่ 5 บ ้านเขาวง ต.เขาวง อ. พระพุทธบาท จ.สระบุร ี 18120 (036) 236-500-5, 086-133-6889, 084-310-9442

วัดอัมพวัน

53 หมูท ่ ี่ 4 ถ.เอเชีย กม. 130 บ ้าน อัมพวัน ต.พรหมบุร ี อ.พรหมบุร ี จ. สิงห์บรุ ี 16160 (036) 599-381, (036) 599-175

พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อ ฤาษี ลงิ ดา) แนวการปฏิบัต ิ มโนมยิทธิ บริกรรม "นะ มะ พะ ธะ" และสอนอนุสติ บริกรรม "พุทโธ" พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวง พ่อจรัญ ฐิตธมฺโม) แนวการ ปฏิบัต ิ สติปัฏฐาน 4 บริกรรม "ยุบหนอ พองหนอ"

วัดมเหยงคณ์

ต.หันตรา อ.พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา 13000 (035) 881-601-2, 081-853-5669 โทรสาร (035) 881-603

พระครูเกษมธรรมทัต (สุรศักดิ์ เขมรสี) แนวการปฏิบัต ิ เดิน จงกรม นั่งสมาธิ กาหนดรู ้รูปนาม – บวชเนกขัมมภาวนา

วัดจันทาราม (วัดท่าซุง)

60 หมูท ่ ี่ 1 บ ้านท่าซุง ต.น้ าซึม อ. เมือง จ.อุทัยธานี 61000 (056) 511-366, (056) 511-391

ศูนย์วป ิ ั สสนา ธรรมอาภา

กม. 49+400 ทางหลวงหมายเลข 12 (พิษณุโลก-หล่มสัก) 138 แยก เข ้าบ ้านห ้วยพลู ต.แก่งโสภา อ.วัง ทอง จ.พิษณุโลก 65220 (055) 268-049, 081-605-5576, 086-440-3463

พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อ ฤาษี ลงิ ดา) แนวการปฏิบัต ิ มโนมยิทธิ บริกรรม "นะ มะ พะ ธะ" และสอนอนุสติ บริกรรม "พุทโธ" ตามแนวทางอาจารย์โกเอ็นก ้า


36

บทธรรมนำทำง ๓

ภำคตะวันออก วัดเขาสุกม ิ

12 ต.เขาบายศรี อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุร ี 22120 089-931-5544, 081-456-8384

หลวงพ่อสมชาย ฐิตวิร ิ โย แนวการปฏิบัต ิ แนวหลวง ปู่ เสาร์-หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ"

วัดผาณิตาราม

ศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติ วัด ผาณิตาราม อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 (038) 502-000, (038) 502-087-8

วัดญาณสังวราราม วรมหาวิหาร

บ ้านห ้วยใหญ่ ต.ห ้วยใหญ่ อ.บางละ มุง จ.ชลบุร ี 20150 (038) 237-506, (038) 237-642, (038) 237-912

คุณแม่สริ ิ กรินชัย แนวการ ปฏิบัต ิ แนวสติปัฏฐาน 4 เจริญสติอย่างต่อเนือ ่ ง ตาม แนวพระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธ)ิ วัด มหาธาตุยวุ ราชรังสฤษดิ์ พระจุลนายก (พระอาจารย์สุ ชาติ อภิชาโต)

สานั กวิปัสสนา กรรมฐานวิเวก อาศรม

ซ.ประชานุกล ู 7 ถ.ชลบุร-ี บ ้านบึง ต. บ ้านสวน อ.เมือง จ.ชลบุร ี 20000 (038) 283-766, (038) 283-340, 081-861-3544

พระอาจารย์ภัททันตะ อาสภ มหาเถระ แนวการปฏิบัต ิ สติ ปั ฏฐาน 4 ใช ้คาบริกรรม "ยุบ หนอ พองหนอ"

วัดภัททันตะอา สภาราม สานั ก วิปัสสนาสมมิตรปราณี

118/1 หมูท ่ ี่ 1 บ ้านหนองปรือ ต. หนองไผ่แก ้ว อ.บ ้านบึง จ.ชลบุร ี 20220 (038) 292-361, 081-713-0764, 081-921-1101 ศาลาธรรมสันติ 42/2 หมูท ่ ี่ 4 ต.สุร ศักดิ์ อ.ศรีราชา จ.ชลบุร ี 20110 (038) 772-132, (038) 772-944, (038) 312-608

พระอาจารย์ภัททันตะ อาสภ มหาเถระ แนวการปฏิบัต ิ สติ ปั ฏฐาน 4 ใช ้คาบริกรรม "ยุบ หนอ พองหนอ"

ึ ษาปฏิบต ศูนย์ศก ั ิ ธรรม

สวนสันติธรรม บ ้านโค ้งดารา ต.หนอง ขาม อ.ศรีราชา จ.ชลบุร ี 20110

พระอาจารย์ปราโมทย์ ปา โมชฺโช แนวการปฏิบัต ิ แนวดู จิต ตามหลักสติปัฎฐาน 4

ศูนย์วป ิ ั สสนาธรรม กมลา

กม. 166+900 ทางหลวงหมายเลข 33 (สุวรรณศร) 200 บ ้านเนินผาสุก ต. ดงขีเ้ หล็ก อ.เมือง จ.ปราจีนบุร ี 25000 (037) 403-185, 089-782-9180

ตามแนวทางอาจารย์โก เอ็นก ้า

วัดเขาพุทธโคดม

คุณแม่สริ ิ กรินชัย แนวการ ปฏิบัต ิ แนวสติปัฏฐาน 4 เจริญสติอย่างต่อเนือ ่ ง


บทธรรมนำทำง ๓

37

ภำคเหนือ วัดถ้าผาปล่อง

ต.บ ้านถ้า อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ 50170

พระญาณสิทธาจารย์ (หลวง ปู่ สิม พุทธาจาโร) แนวการ ปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ"

ศูนย์ปฏิบัต ิ วิปัสสนากรรมฐาน วัดถ้าพระผาคอก

หมู่ ๙ บ ้านผางาม ตาบลผางาม อาเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย 081-756-7034

พระอาจารย์ทองสุข ฐิตสีโล ตามแนวสติปัฏฐาน ๔ (หลวงพ่อจรัญ)

ศูนย์ฯ ธรรมสีมัน ตะ

200 หมู่ 1 บ ้านหนองสร ้อย ต.มะกอก อ.ป่ าซาง จ.ลาพูน 51120 โทร. 08-6431-0417 , 08-64234938

ตามแนวทางของท่าน อาจารย์โกเอ็นก ้า

สานั กวิปัสนา กรรมฐานประจา จังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 2

วัดร่าเปิ ง (ตโปทาราม) ต.สุเทพ อ. เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 053-810-180 กด 0, 053-278-620 กด 0, โทรสาร. 053-810-186

วิปัสสนากรรมฐานตามแนว สติปัฏฐาน 4 ในมหาสติปัฏ ฐานสูตรโดยพระธรรมมังคลา จารย์ (พระอาจารย์ทอง สิ ริมงฺคโล)

ภำคตะวันตกและภำคใต้ สานั กปฏิบัตธิ รรมศิ ริธรรม (ถ้าชี)

เขากิว่ ต.ไร ้ส ้ม อ.เมือง จ.เพชรบุร ี 76000 (032) 428-522

หลวงพ่อกนฺ ตสิร ิ (กนฺ ตสิร ิ ภิกฺข)ุ แนวการปฏิบัต ิ สติปัฏ ฐาน 4 และอานาปานสติ

สวนโมกขพลาราม (วัดธารน้ าไหล)

68 หมูท ่ ี่ 1 ต.เลเม็ด อ ไชยา จ.สุ ราษฎร์ธานี 84110 (077) 431-596-7, (077)431-661-2

ท่านอาจารย์พท ุ ธทาส ภิกขุ แนวการปฏิบัต ิ อานา ปานสติภาวนา


38

บทธรรมนำทำง ๓

ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ศูนย์ปฏิบัตธิ รรม สวนเวฬุวน ั

6 หมูท ่ ี่ 25 บ ้านเนินทาง ต.บ ้านค ้อ อ. เมือง จ.ขอนแก่น 40000 (043) 237-786, (043) 127-790

ปฏิบัตวิ ป ิ ั สสนากรรมฐานสาขา ของหลวงพ่อจรัญ วัดอัมพวัน แนวสติปัฏฐาน 4 บริกรรม "ยุบ หนอ พองหนอ"

วัดป่ าวิเวกธรรม วิทยาราม (วัดป่ า เหล่างา)

ซ.ศรีจันทร์ 13 ถ.ศรีจันทร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 (043) 222-042

วัดป่ าสุคะ โต สถาบันสติ ปั ฏฐาน

หมูท ่ ี่ 8 บ ้านใหม่ไทยเจริญ ต.ท่ามะไฟ หวาน อ.แก ้งคร ้อ จ.ชัยภูม ิ 36150 085-492-7709, 087-957-1684

วัดป่ าสาลวัน

ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 (044) 254-402, 081-967-1435

วัดแดนสงบอา สภาราม

99 ซอย 19 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ. เมือง จ.นครราชสีมา 30000 (044) 214-134, (044) 214-869-70

วัดป่ าวะภูแก ้ว

หมูท ่ ี่ 11 บ ้านวะภูแก ้ว ต.มะเกลือใหม่ อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา 30170 (044) 249-045

วัดถ้าผาบิง้

บ ้านนาแก ต.ผาบิง้ อ.วังสะพุง จ.เลย 42130

วัดถ้าขาม

บ ้านคาข่า หมูท ่ ี่ 4 ต.ไร่ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร 47130

หลวงปู่ สิงห์ ขันตยาคโม และ หลวงปู่ บุญเพ็ง กปฺปโก แนว การปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ" หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ และ หลวงพ่อคาเขียน สุวณฺ โณ แนวการปฏิบัต ิ เน ้นการ เจริญสติรู ้การเคลือ ่ นไหวของ กาย ตามหลักสติปัฏฐาน 4 พระราชสังวรญาณ (หลวงพ่อ พุธ ฐานิโย) แนวการปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์-หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ" ิ (ศรีสวิ รรณ พระครูภาวนาวิสฐ สิรส ิ วุ ณฺ โณ) แนวการปฏิบัต ิ สติปัฏฐาน 4 ใช ้คาบริกรรม "ยุบหนอ พองหนอ" พระราชสังวรญาณ (หลวงพ่อ พุธ ฐานิโย) แนวการปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์-หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ" หลวงปู่ หลุย จันทสาโร แนว การปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ" หลวงปู่ ฝั ้น อาจาโร แนวการ ปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์-หลวง ปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ"

วัดภูหล่น

9 บ ้านภูหล่น ต.สงยาง อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี 34250

หลวงปู่ เสาร์ กนฺ ตสีโล และ หลวงปู่ มั่น ภูรท ิ ัตโต (วัดภู หล่น เป็ นสถานทีห ่ ลวงปู่ มั่น ออกธุดงค์ครัง้ แรกกับหลวงปู่ เสาร์) แนวการปฏิบัต ิ แนว หลวงปู่ เสาร์-หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ"


บทธรรมนำทำง ๓

39

ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดดอยธรรม เจดีย ์

หมูท ่ ี่ 3 บ ้านนาสีนวล ต.ตองโขบ อ. ศรีสพ ุ รรณ จ.สกลนคร 47280

หลวงปู่ กงมา จิรปุญโญ และพระ อาจารย์แบน ธนากโร แนวการ ปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์-หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ

วัดถ้าอภัยดารง ธรรม (วัดถ้า พวง)

ถนนรพช. หมูท ่ ี่ 1 ต.ปทุมวาปี อ. ส่องดาว จ.สกลนคร 47190 (042) 722-002

พระอุดมสังวรวิสท ุ ธิเถร (พระ อาจารย์วัน อุตฺตโม) แนวการ ปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์-หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ"

วัดป่ าสุทธาวาส

1396 หมูท ่ ี่ 10 บ ้านคาสะอาด ต. ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร 47000 (042) 733-041, (042) 711-573 ถ.กรุงศรีใน ต.ในเมือง อ.เมือง จ. สุรน ิ ทร์ 32000 (044) 514-234

หลวงปู่ มั่น ภูรท ิ ัตโต แนวการ ปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์-หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ"

วัดหินหมากเป้ ง

หมูท ่ ี่ 4 บ ้านไทยเจริญ ต.พระพุทธ บาท อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย 43130 (042) 421-409

พระราชนิโรธรังสีคัมภีรปั ญญา ิ ฏ์ (หลวงปู่ เทสก์ เทส วิศษ รังสี) แนวการปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์-หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ

วัดถ้ากองเพล

ต.โนนทัน อ.เมือง จ.หนองบัวลาภู 39000 (042) 312-377

หลวงปู่ ขาว อนาลโย แนวการ ปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์-หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ"

วัดเจติยาคิรี วิหาร (วัดภู ทอก) วัดป่ าบ ้านตาด

บ ้านนาคาแคน ต.นาสะแบง อ.ศรี วิไล จ.หนองคาย 43210

พระอาจารย์จวน

บ ้านตาด ต.บ ้านตาด อ.เมือง จ. อุดรธานี 41000

หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปั น โน แนวการปฏิบัต ิ แนวหลวงปู่ เสาร์-หลวงปู่ มั่น ภาวนา "พุทโธ"

วัดหนองป่ าพง

46 หมู่ 10 บ ้านพงสว่าง ต.โนนผึง้ อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี 34190 (045) 322-729

พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท)แนวการปฏิบัต ิ เน ้นให ้มี สติสม่าเสมอ ฝึ กสมาธิแบบอานา ปานสติ

วัดบูรพาราม

พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ ดูลย์ อตุโล) แนวการปฏิบัต ิ แนวดูจต ิ ตามหลักสติปัฎฐาน 4


40

บทธรรมนำทำง ๓



สติรทู้ นั ปั ญญำรูแ้ จ้ง อุเบกขำละวำง

http://facebook.com/DhammaTalkMonday


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.