Health Insurance without Boundaries :
InsurTech Connect
พลิกโฉมประกันสุขภาพ
ด้วยเทคโนโลยี
ประกันภัย
2
3
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
CONTENTS สารนายกรัฐมนตรี
6
สารรองนายกรัฐมนตรี
7
สารรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
8
สารปลัดกระทรวงการคลัง
9
สารเลขาธิการ คปภ.
10 - 11
คณะผู้บริหารส�ำนักงาน คปภ.
12 - 31
ผลการด�ำเนินงาน รอบ 12 เดือน ปี 2562 ส�ำนักงาน คปภ.
32 - 77
บทสัมภาษณ์เลขาธิการ คปภ.
80 - 85
ประกันสุขภาพ กุญแจไขการเปลี่ยนผ่านและรองรับสังคมผู้สูงอายุในยุคดิจิทัล
86 - 93
รายงานวิเคราะห์ความเสี่ยงระดับมหภาคปี 2562
96 - 99
อินชัวร์เทค: อนาคตของการประกันภัยและการก�ำกับดูแล
100 - 109
การนอนเกี่ยวข้องกับการประกันภัยอย่างไร
112 - 117
การก�ำกับดูแลการประกอบธุรกิจประกันภัย ในบริบทที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายปกครอง
118 - 123
กติกาใหม่ภายใต้ธุรกิจประกันภัยที่ไร้พรมแดน
126 - 131
จับตาอนาคตประกันภัยในยุคดิจิทัล
132 - 137
Insurance and Liability Frameworks for Driverless Cars
140 - 151
ภาพรวมของธุรกิจประกันชีวิตในประเทศญี่ปุ่น
154 - 163
สถานที่ตั้งส�ำนักงาน คปภ. ภาค/จังหวัด
166 - 171
ที่ตั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บริษัทประกันชีวิต บริษัทประกันวินาศภัย
174 - 181
4
5
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
สาร
สาร
นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี ในโอกาสครบรอบ 12 ปี สํานักงานคณะกรรมการกํากับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (ส�ำนักงาน คปภ.) พุ ทธศักราช 2562
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในโอกาสครบรอบ 12 ปี สํานักงานคณะกรรมการกํากับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (ส�ำนักงาน คปภ.) พุ ทธศักราช 2562
การบริหารงานในศตวรรษที่ 21 ต้องอาศัยความรู้ และปัจจัยต่างๆ เป็นองค์ประกอบ เพือ่ ให้สามารถดําเนิน กิจการได้อย่างเท่าทันความเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล รัฐบาลได้เล็งเห็นถึงความสําคัญในการสร้างศักยภาพ ให้แก่ผู้ประกอบการในทุกระดับเพื่อให้สามารถดํารงอยู่ ท่ามกลางกระแสความเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเน้น ‘การเติบโตเชิงคุณภาพ’ รวมทั้งสร้างหลักประกันทาง ธุรกิจเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งผมต้อง ขอชื่นชมสํานักงานคณะกรรมการกํากับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัยที่เป็นส่วนสําคัญในการ ขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลด้วยการนําระบบประกันภัย เข้ามาเป็นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง รวมทั้ง เป็นการสร้างหลักประกันในการสร้างความมัน่ คงในชีวติ และครอบครัวให้แก่ประชาชนทุกระดับ
ในโอกาสครบรอบ 12 ปี ของสํานักงานคณะกรรมการ กํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ผมขอ อาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัยและสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิใ์ นสากล อีกทัง้ เดชะพระบารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี โปรดดลบันดาล ประทานพรให้ผบู้ ริหาร คณะกรรมการ และเจ้าหน้าทีท่ กุ คน จงประสบแต่ความสุข ความเจริญ สมบูรณ์พร้อมด้วย กําลังกาย กําลังใจ และกําลังสติปัญญา เพื่อร่วมกัน พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมประกั น ภั ย ไทยให้ มี ค วามเจริ ญ ก้าวหน้าอย่างมัน่ คงและทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ สืบไป
(พลเอกประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา) นายกรั ฐ มนตรี
ท่ามกลางความท้าทายในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ในบริบททีป่ ระเทศไทยต้องเผชิญกับการเปลีย่ นแปลงทาง ด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และความผันผวนของ เศรษฐกิ จ โลก รั ฐ บาลมี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะเสริ ม สร้ า ง ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคการเงิน เพื่อพัฒนา ประเทศไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน ซึ่งระบบประกันภัย มีบทบาทสําคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ระบบ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเป็นแหล่งระดม เงินออมระยะยาวที่มีส่วนสําคัญในการพัฒนาตลาดเงิน และตลาดทุน รวมทัง้ เป็นเครือ่ งมือในการบริหารความเสีย่ ง ที่ ช ่ ว ยสร้ า งหลั ก ประกั น ความมั่ น คงให้ แ ก่ ชี วิ ต และ ทรัพย์สินของประชาชนในทุกระดับ ทุกกิจกรรม และมี ส่วนช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐด้านสวัสดิการและการ สงเคราะห์ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ผมขอชื่นชมสํานักงานคณะกรรมการกํากับและ ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (ส�ำนักงาน คปภ.) ทีผ่ ลักดันระบบประกันภัยเพือ่ เป็นเครือ่ งมือในการบริหาร ความเสี่ ย งที่ มี ค วามมั่ น คงและน่ า เชื่ อ ถื อ ตลอดจน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของประชาชนทุ ก กลุ ่ ม ทําให้ประชาชนกลุ่มเศรษฐกิจฐานรากสามารถเข้าถึง
ด้านราคาและการใช้ประโยชน์ อีกทั้งยังได้รับมาตรฐาน และคุณภาพด้านการบริการจากระบบประกันภัย ควบคู่ กั บ การได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ จ ากการประกั น ภั ย อย่ า ง ครบถ้ ว น สอดคล้ อ งกั บ มาตรฐานสากล ทํ า ให้ ก าร ประเมินภาคการเงิน Financial Sector Assessment Program (FSAP) สาขาประกั น ภั ย ของประเทศไทย ผ่านการประเมินและได้มาตรฐานสากล ส่งผลให้ระบบ ประกันภัยของประเทศไทยติดอันดับ 2 ของภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และติดอันดับ 4 ของโลก ในโอกาสครบรอบ 12 ปี สํานักงาน คปภ. ผมขอ อาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัยและอํานาจสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ งั้ หลาย อีกทัง้ เดชะพระบารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี โปรดดลบันดาล ประทานพรให้คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และผูท้ มี่ ี ส่วนเกี่ยวข้องทุกคน จงประสบแต่ความสุข ความเจริญ และสัมฤทธิ์ผลในสิ่งที่ปรารถนาโดยทั่วกัน
(นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์) รองนายกรัฐมนตรี
6
7
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
สาร
สาร
นายอุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในโอกาสครบรอบ 12 ปี สํานักงานคณะกรรมการ กํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (สํานักงาน คปภ.) พุ ทธศักราช 2562
นายประสงค์ พู นธเนศ ปลัดกระทรวงการคลัง ในโอกาสครบรอบ 12 ปี สํานักงานคณะกรรมการกํากับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (สํานักงาน คปภ.) พุ ทธศักราช 2562
ในโอกาสครบรอบ 12 ปี ของสํานักงาน คปภ. ผมขอ แสดงความยินดีและขอบคุณคณะกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานทุกท่าน ทีป่ ฏิบตั ภิ ารกิจในการขับเคลือ่ อุตสาหกรรม ประกันภัยอย่างมุง่ มัน่ ทุม่ เท โดยมีเป้าหมายเพือ่ ท�ำประโยชน์ สูงสุดด้านประกันภัยให้กับประชาชนและประเทศชาติอย่าง เต็มกําลังความสามารถจนเป็นทีป่ ระจักษ์ในทุก ภาคส่วนของ สังคมไทย ผมขอชื่นชมสํานักงาน คปภ. ในการทําหน้าที่เป็น หน่วยงานหลักในการขับเคลือ่ นภาคการประกันภัยมาอย่าง ต่อเนือ่ ง โดยอุตสาหกรรมประกันภัยไทยในช่วง 12 ปีทผี่ า่ นมา ได้มีพัฒนาการด้านการกํากับดูแลระบบ การประกันภัย อย่างมีนยั สําคัญในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการยกระดับ การกํากับดูแลธุรกิจประกันภัย โดยผ่านการปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัตปิ ระกันชีวติ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติ ประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ซึง่ เป็นกฎหมายหลักทีใ่ ช้ในการ กํากับดูแลธุรกิจประกันภัยให้มคี วามมัน่ คง เข้มแข็ง น่าเชือ่ ถือ และมุง่ เน้นการคุม้ ครองประชาชนเป็นสําคัญ โดยได้ยกระดับ กฎหมายให้สอดคล้องกับบริบทของประเทศไทยและเป็น ไปตามมาตรฐานสากล นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ระบบการ ประกั น ภั ย เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการเพิ่ ม ขี ด ความสามารถ ในการบริหารความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติและช่วยสร้าง ความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร โดยผ่านโครงการประกันภัย ข้าวนาปี และโครงการประกันภัยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งช่วย ให้เกษตรกรสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงจากธรรมชาติ ได้เอง รวมถึงการริเริ่มโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ดิจิทัลของธุรกิจประกันภัย โดยผ่านโครงการ OIC Gateway ที่เป็นการสร้าง Ecosystem ของระบบประกันภัยที่เชื่อมโยง ข้อมูลระหว่างสํานักงาน คปภ. กับบริษทั ประกันภัยกว่า 80 แห่ง และประชาชนเข้าไว้ดว้ ยกัน ซึง่ จะช่วยให้การเชือ่ มโยงข้อมูล และการบริการข้อมูลมีความสะดวกและปลอดภัยมากขึ้น ตลอดจนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างช่องทางในการ
คณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกั น ภั ย มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะส่ ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกันภัยในประเทศไทยให้มีเสถียรภาพที่มั่นคง ควบคู่ ไปกั บ การคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ด ้ า นประกั น ภั ย ให้ กั บ ภาคประชาชนจึงได้กําหนดนโยบายต่างๆ ผ่านสํานักงาน คณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (สํานักงาน คปภ.) เพือ่ ส่งเสริมธุรกิจประกันภัยให้เติบโตอย่าง เข้มแข็งและสามารถตอบสนองต่อความต้องการของสังคม ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันก็สนับสนุน ให้ประชาชนทุกภาคส่วนใช้ระบบประกันภัยเป็นเครื่องมือ ในการบริหารความเสีย่ งเพือ่ สร้างความมัน่ คงให้กบั ชีวติ และ ทรัพย์สนิ ตลอดจนเตรียมความพร้อมอุตสาหกรรมประกันภัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การปรับตัวของภาคธุรกิจประกันภัยเพื่อนําเทคโนโลยี มาใช้ ต้องอาศัยเงินลงทุนในการพัฒนาเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลง ไป การที่สํานักงาน คปภ. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน เทคโนโลยีที่จําเป็น หรือแพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง เพื่อให้ บริษัทประกันภัยทุกบริษัทสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้อย่าง ทัว่ ถึงมากขึน้ เช่น แอปพลิเคชัน Me Claim ถือเป็นการจัดทํา แพลตฟอร์มดิจทิ ลั กลาง ทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ อุตสาหกรรมประกันภัย และประชาชน รวมถึงการริเริ่มจัดทําระบบฐานข้อมูลกลาง ด้านการประกันภัย ก็นับเป็นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ จําเป็นสําหรับการพัฒนาธุรกิจประกันภัย เพื่อช่วยเชื่อมโยง ข้อมูลของอุตสาหกรรมประกันภัย ซึง่ จะช่วยลดต้นทุนในการ บริหารจัดการได้มาก ส่งผลให้ประชาชนสามารถซือ้ กรมธรรม์ ประกันภัยได้ในราคาที่เหมาะสม ผมขอชืน่ ชมสํานักงานคณะกรรมการกํากับและส่งเสริม การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ที่ เ ตรี ย มความพร้ อ มให้ กั บ อุตสาหกรรมประกันภัยได้อย่างเป็นระบบ โดยมีการสนับสนุน ให้นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน การทําธุรกรรมผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ การชดใช้ค่า สินไหมทดแทนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนให้
เข้าถึงผูเ้ อาประกันภัยในชุมชน โดยผ่าน ‘โครงการ คปภ. เพือ่ ชุมชน’ ในรูปแบบ Mobile Insurance Unit เพื่อรับฟังสภาพ ปัญหาและความต้องการของประชาชนในชุมชนที่เกี่ยวข้อง กับการประกันภัย โดยนําข้อมูลมาวิเคราะห์และพัฒนา ผลิตภัณฑ์ประกันภัยใหม่ๆ เพือ่ ตอบโจทย์ความต้องการของ ประชาชนอย่างแท้จริง ในโอกาสสําคัญยิง่ นี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัย ได้โปรดดลบันดาลให้ผเู้ กีย่ วข้องทุกท่าน มีสขุ ภาพกายแข็งแรง มีสุขภาพใจแข็งแกร่ง พร้อมที่จะเป็นกําลังสําคัญในการ ขับเคลือ่ นระบบประกันภัยให้มคี วามเจริญก้าวหน้า และเป็น กลไกทีส่ าํ คัญในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทยให้มคี วามมัน่ คง ยั่งยืน สืบไป
(นายอุตตม สาวนายน) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ความสําคัญกับการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี โดยมีแผนงานที่ จะยกระดับการกํากับดูแลโดยนําเทคโนโลยีมาใช้เป็นเครือ่ งมือ กํากับดูแล รวมทั้งส่งเสริมให้ภาคธุรกิจนําเทคโนโลยีมาใช้ เพื่อช่วยในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและกฎหมายด้วย เช่นกัน ในโอกาสครบรอบ 12 ปีของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ผมขออาราธนา อํานาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย โปรด อํานวยพรให้ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของสํานักงาน คปภ. ทุกท่าน จงประสบแต่ความสุข ความเจริญ ในทุกๆ ด้าน มีสขุ ภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง เพือ่ เป็นกําลังสําคัญใน การพัฒนาอุตสาหกรรมประกันภัยไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน สืบไป
(นายประสงค์ พู นธเนศ) ปลัดกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการกํากับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
8
9
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
สาร
ดร. สุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการ คปภ. ในโอกาสครบรอบ 12 ปี ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (ส�ำนักงาน คปภ.) พุ ทธศักราช 2562
สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ และส่ ง เสริ ม การ ประกอบธุรกิจประกันภัย (สํานักงาน คปภ.) ในฐานะ หน่วยงานของรัฐ มีหน้าทีก่ าํ กับและส่งเสริมธุรกิจประกันภัย ให้เติบโตอย่างมัน่ คง ยัง่ ยืน ควบคูไ่ ปกับการคุม้ ครองสิทธิ ประโยชน์ด้านประกันภัยให้กบั ประชาชน มาจนครบรอบ 12 ปี ในปี 2562 และได้กาํ หนดให้เป็นปีแห่ง ‘การพัฒนา’ และส่งเสริมอุตสาหกรรมประกันภัยให้ก้าวทันต่อ ‘การ เปลีย่ นแปลง’ เพือ่ เสริมสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ประชาชน ในระยะยาว ด้วยการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมประกันภัย ให้มมี าตรฐาน ก้าวทันต่อการเปลีย่ นแปลงของนวัตกรรม ประกันภัย ผ่าน 3 พันธกิจทีส่ าํ คัญคือ พันธกิจแรก พัฒนา ธุรกิจประกันภัยให้มีความเข้มแข็งมั่นคง พันธกิจที่สอง ส่งเสริมและสนับสนุนให้ธรุ กิจประกันภัยมีบทบาทสร้างเสริม ความเข้มแข็งมัน่ คงให้กบั ระบบเศรษฐกิจสังคมของประเทศ และพันธกิจที่สาม คุ้มครองสิทธิประโยชน์ของประชาชน ผูเ้ อาประกันภัยให้ได้รบั ความเป็นธรรมจากระบบประกันภัย ตลอดปี 2562 ที่ผ่านมา สํานักงาน คปภ. ได้ทุ่มเท สรรพกําลังบุคลากรเพือ่ ขับเคลือ่ นอุตสาหกรรมประกันภัย จนออกมาเป็นผลงานต่างๆ มากมาย โดยแบ่งเป็น 3 กลุม่ หลักๆ กลุ่มแรกคือ การส่งเสริมอุตสาหกรรมประกันภัย เช่น ปรับปรุงกระบวนการให้ความเห็นชอบผลิตภัณฑ์ ประกั น ภั ย เพื่ อ ลดระยะเวลาการให้ ค วามเห็ น ชอบ ผลิตภัณฑ์ประกันภัย โดยเน้นการผ่อนคลายกระบวนการ ให้ความเห็นชอบอัตราเบี้ยประกันภัยมากขึ้น ส่งเสริม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบใหม่ๆ เพื่อรองรับ สังคมผู้สูงอายุ อาทิ ผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบบํานาญ แบบเงินรายงวดตลอดชีพ และแบบประกันภัยการดูแล ระยะยาว (Long Term Care Insurance) พัฒนาผลิตภัณฑ์ พืชผลทางการเกษตร ให้ครอบคลุมพืชผลหลากหลาย ประเภทมากขึน้ ตลอดจนพัฒนากรมธรรม์ประกันภัยเพือ่ ชาวประมง กรมธรรม์ประกันภัยรายย่อยประเภทอืน่ ๆ เช่น การประกันภัยเคหะไมโคร กรมธรรม์ประกันภัยสําหรับ
การทําเหมืองแร่ซึ่งเป็นฉบับแรกของประเทศไทย เป็นต้น กลุ่มที่สอง เพิ่มศักยภาพอุตสาหกรรมประกันภัย ด้วยการนําเทคโนโลยีเข้ามาใช้ โดยเร่งพัฒนาระบบฐาน ข้อมูลกลางด้านการประกันภัย (IBS) และนําฐานข้อมูล ไปใช้ประโยชน์ ขยายขอบเขต Insurance Regulatory Sandbox เปิดโอกาสให้ Startup หรือ TechFirm ทํางาน ร่วมกับสํานักงาน คปภ. เพื่อเป็นการเพิ่มจํานวนผู้เล่น ให้มากขึ้น และสนับสนุนให้บริษัทประกันภัยมี Sandbox ของตนเอง หรือเรียกว่า Own Sandbox เพื่อต่อยอด แอปพลิเคชัน ‘Me Claim’ พัฒนาระบบ OIC Gateway พัฒนาระบบสารสนเทศสนับสนุนงานด้านคุ้มครองสิทธิ ประโยชน์ด้านการประกันภัย (Insured Right Protection Management System) ขับเคลือ่ นศูนย์ Center of InsurTech Thailand (CIT) เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนานวัตกรรมด้าน เทคโนโลยีประกันภัยใหม่ๆ กลุ่มที่สาม เป็นการยกระดับพฤติกรรมทางตลาด และคุม้ ครองสิทธิประโยชน์ โดยได้จดั ทําฐานข้อมูลเกีย่ วกับ การฉ้อฉลประกันภัย หรือ Fraud Database และยกระดับ มาตรฐานคนกลางประกันภัยให้มคี วามโปร่งใสและปฏิบตั ิ ตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดยออกแนวปฏิบตั กิ ารกํากับ ตัวแทนนายหน้าประกันชีวติ ตามประกาศเสนอขายทีม่ ผี ล บังคับใช้ตั้งแต่ต้นปี 2502 ได้แก่ ประกาศ คปภ. เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการออกการเสนอขายกรมธรรม์ ประกันภัยของบริษทั ประกันชีวติ /วินาศภัย และการปฏิบตั ิ หน้าที่ของตัวแทนประกันชีวิต/วินาศภัย นายหน้าประกัน
ชีวิต/วินาศภัย และธนาคาร พ.ศ. 2561 และประกาศ คณะกรรมการกํ า กั บ และส่ ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย เรื่ อ งการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท ประกันภัย พ.ศ. 2562 หรือ ‘ประกาศ CG (Corporate Governance)’ สําหรับผลงานชิ้นโบแดงในรอบปี 2562 ที่ผ่านมา คื อ การผลั ก ดั น การปรั บ ปรุ ง กฎหมายแม่ บ ทด้ า นการ ประกันภัย ทั้ง 3 กลุ่ม ซึ่งกลุ่มแรกที่มุ่งเน้นให้ความ คุ้มครองประชาชนโดยตรง ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2562 และมีผลใช้บงั คับ เป็นที่เรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2562 โดย ขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างยกร่างกฎหมายลําดับรองเพือ่ ประกาศ ใช้บงั คับต่อไป ส่วนร่างกฎหมายแม่บทอีกสองกลุม่ ก็ผา่ น ความเห็นชอบในหลักการจากทีป่ ระชุมคณะรัฐมนตรีแล้ว และขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาในชั้นของสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา อีกเรือ่ งหนึง่ ทีเ่ ป็นความภาคภูมใิ จ ของสํานักงาน คปภ. คือการได้รับรางวัลเลิศรัฐ สาขา บริการภาครัฐ ประจําปี 2562 ประเภทพัฒนาการบริการ ซึ่งรางวัลเลิศรัฐถือเป็นรางวัลอันทรงเกียรติที่มอบให้กับ หน่วยงานของรัฐทีม่ ผี ลการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยการนํานวัตกรรม มาปรับใช้ในการดําเนินงาน ดังนัน้ การทีส่ าํ นักงาน คปภ. ได้รบั รางวัลเลิศรัฐ จึงถือเป็นความสําเร็จในระดับหน่วยงาน ในด้านการพัฒนาการบริการ นอกจากนี้ ในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment: ITA) ประจําปี 2562 จัดโดย สํานักงาน ป.ป.ช. ซึง่ สํานักงาน คปภ. เข้ารับการประเมิน เป็นปีแรก และมีหน่วยงานของรัฐ องค์กรส่วนท้องถิ่น เข้าร่วมการประเมินทั้งสิ้น 1,299 หน่วยงาน ผลปรากฏ ว่าสํานักงาน คปภ. ได้รับผลการประเมินอยู่ในระดับ A หรือคิดเป็นผลการประเมินเฉลี่ยอยู่ท่รี ้อยละ 87.45 อีกหนึง่ ความภาคภูมใิ จคือ ผลการเข้ารับการประเมิน ภาคการเงินสาขาประกันภัย FSAP จากทีมผู้ประเมิน ระหว่างประเทศของ World Bank และ IMF ตาม Insurance Core Principles (ICP) ในทุกมาตรฐาน จํานวน 21 ICPs โดยเข้ามาประเมิน Main Mission ระหว่างวันที่ 5-22 กุ ม ภาพั น ธ์ 2562 ซึ่ ง ผลการประเมิ น เป็ น ที่ น ่ า ยิ น ดี อย่างยิ่งที่ได้รับแจ้งอย่างเป็นทางการว่าผลการประเมิน เต็มรูปแบบสาขาประกันภัยของประเทศไทยในครั้งนี้
สํานักงาน คปภ. ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ ICP ทัง้ 26 ข้อ โดยได้คะแนนในระดับที่ดีมาก เมื่อเปรียบเทียบกับผล การประเมินของประเทศอื่นๆ ที่ได้รับการประเมินแล้ว ประเทศไทยอยู่ในลําดับที่ 4 ของโลก และเป็นลําดับที่ 2 ของภูมิภาคอาเซียน ในโอกาสที่สํานักงาน คปภ. ดําเนินงานเป็นปีท่ี 12 ผมขอขอบคุณประชาชนคนไทยทุกคน หน่วยงานภาครัฐ และทุกองคาพยพในภาคอุตสาหกรรมประกันภัย ทีก่ รุณา ให้ความร่วมมือและสนับสนุนภารกิจต่างๆ ทีผ่ า่ นมาของ สํานักงาน คปภ. จนทําให้อตุ สาหกรรมประกันภัยยืนหยัด อยู่ได้ แม้อยู่ในสภาวะเศรษฐกิจโลกที่มีความผันผวน ก็ตาม ซึง่ แสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งและความสามัคคี ของภาคอุตสาหกรรมประกันภัยทัง้ ระบบ นอกจากนี้ ต้อง ขอขอบคุณคณะกรรมการ คปภ. คณะผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของสํานักงาน คปภ. ทุกท่าน ทีม่ งุ่ มัน่ ทุ่มเท ทํางานอย่างเต็มความสามารถ และเป็นก�ำลังสําคัญ ในการผลักดันภารกิจในการขับเคลือ่ นงานด้านต่างๆ ของ สํานักงาน คปภ. ให้ประสบความสําเร็จจนสามารถสร้าง ความเชื่ อ มั่ น และไว้ ว างใจจากประชาชนในระดั บ ที่ น่าพอใจ ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ให้อตุ สาหกรรมประกันภัยไทยเติบโต ได้อย่างมั่นคง ยั่งยืน และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อเศรษฐกิจของประเทศ
(ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ) เลขาธิการคณะกรรมการกํากับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย
10
11
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
คณะผู้บริหาร ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (ส�ำนักงาน คปภ.)
12
13
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ดร.สุ ท ธิ พ ล ทวี ชั ย การ เลขาธิการ คณะกรรมการก�ำกับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
14
15
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
นางสาววราวรรณ เวชชสัสถ์
นายชู ฉั ต ร ประมู ล ผล
รองเลขาธิการ ด้านตรวจสอบ
รองเลขาธิการ ด้านก�ำกับ
16
17
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
นายชนะพล มหาวงษ์ รองเลขาธิการ ด้านกฎหมาย คดี และ คุ้มครองสิทธิประโยชน์
นายบันเทิง เพ็ชรไชย
ผู้ช่วยเลขาธิการ สายบริหาร
18
19
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
นายสุรินทร์ ตนะศุภผล
ผู้ช่วยเลขาธิการ สายส่งเสริมและประกันภัยภูมิภาค
นายสมประโชค ปิ ยะตานนท์
ผู้ช่วยเลขาธิการ สายก�ำกับธุรกิจและการลงทุน
20
21
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
นายอรรถพล พิบูลธนพัฒนา
ผู้ช่วยเลขาธิการ สายวิเคราะห์ธุรกิจประกันภัย
นางสาววสุมดี วสีนนท์
ผู้ช่วยเลขาธิการ สายตรวจสอบคนกลางประกันภัย
22
23
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
นายสมเกียรติ ปั ญหา
ผู้ช่วยเลขาธิการ สายตรวจสอบ
นายชัยยุทธ มังศรี
ผู้ช่วยเลขาธิการ สายคุ้มครองสิทธิประโยชน์
24
25
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
นางสาวชญานิน เกิดผลงาม
ผู้ช่วยเลขาธิการ สายพัฒนามาตรฐานการก�ำกับ
นางมยุรินทร์ สุทธิรัตนพันธ์
ผู้ช่วยเลขาธิการ สายกลยุทธ์องค์กร
26
27
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
นายอาภากร ปานเลิศ
ผู้ช่วยเลขาธิการ สายก�ำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย
นายอดิศร พิพัฒน์วรพงศ์
ผู้ช่วยเลขาธิการ สายกฎหมายและคดี
28
29
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
นายชัชวาลย์ วยัมหสุวรรณ
ผู้ทรงคุณวุฒิอาวุโส
30
31
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Overall Operation of Year 2019 ผลการด�ำเนินงาน รอบ 12 เดือน ปี 2562 ส�ำนักงาน คปภ.
32
33
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
จากการด�ำเนินการดังกล่าวส�ำนักงาน คปภ. ได้ให้ ความเห็นชอบร่างประกาศคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำรงเงินกองทุน ตามระดับความเสี่ยง จ�ำนวน 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ร่างประกาศคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่องก�ำหนดประเภทและชนิด ของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการค�ำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต พ.ศ. 25... ฉบับที่ 2 ร่างประกาศคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่องก�ำหนดประเภทและชนิด ของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใน การค�ำนวณเงินกองทุนของบริษทั ประกันวินาศภัย พ.ศ. 25... ส�ำนักงาน คปภ. ได้สอบทานร่างประกาศดังกล่าว ก่อนน�ำเสนอประธานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการ ประกอบธุรกิจประกันภัยเพื่อพิจารณาลงนาม และได้มี การให้ส�ำนักงาน คปภ. ประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จากการบังคับใช้เกณฑ์ดังกล่าว เพื่อพิจารณาอีกครั้งก่อน การบังคับใช้จริง
ในรอบปี ที่ ผ่ า นมาส� ำ นั ก งาน คปภ. ได้ ด� ำ เนิ น งานหลายภารกิ จ ส� ำ คั ญ เพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพและ ความแข็งแกร่งของธุรกิจประกันภัย ภายใต้แผนพั ฒนาการประกันภัย ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2559-2563) และภารกิจหลักในการก�ำกับดูแลและส่งเสริมพั ฒนาธุรกิจประกันภัย โดยยึดหลักความมีประสิทธิภาพ โปร่งใส น่าเชื่อถือ และคุ้มครองประชาชนให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากการประกันภัยอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ซึง ุ ธศาสตร์ใดทีน ่ บทความนีจ ้ ะพาคุณไปดูผลงานทีผ ่ า่ นมาในรอบปีของส�ำนักงาน คปภ. ว่ามียท ่ า่ สนใจ และสร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในด้านใดบ้าง Objective 1: เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพของ ผูป ้ ระกอบการเพื่อให้บริษท ั ประกันภัยมีความมัน ่ คง เข้มแข็งทางการเงิน และมีขด ี ความสามารถในการ รับประกันภัย
Strategy 1: เพิ่มศักยภาพ อุตสาหกรรมประกันภัย
Key Result 1 - ด�ำรงเงินกองทุนตามระดับความเสีย่ ง ระยะที่ 2 (RBC 2) ในการประชุมคณะกรรมการ คปภ. ครั้งที่ 10/2562 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2562 คณะกรรมการ คปภ. ได้ให้ ความเห็นชอบร่างประกาศ คปภ. ว่าด้วยการด�ำรงเงินกองทุน ตามระดับความเสี่ยงและการประเมินราคาทรัพย์สินและ หนี้สินของบริษัทประกันชีวติ /วินาศภัย โดยก�ำหนดให้บริษัท ประกันวินาศภัยทุกบริษัท เข้าร่วมการทดสอบผลกระทบเชิง ปริมาณตามกรอบการด�ำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง ระยะที่ 2 (RBC 2) โดยก�ำหนดให้ใช้ข้อมูล ณ สิ้นไตรมาส ที่ 2 ปี 2562 ในการทดสอบ และน�ำส่งผลการทดสอบ ให้ส�ำนักงาน คปภ. ภายในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาของส�ำนักงาน คปภ. และคณะอนุกรรมการกลั่นกรองการพัฒนากรอบการด�ำรง เงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง ระยะที่ 2 (RBC 2) ในการ ก�ำหนดอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการ ก�ำกับ (Supervisory CAR) โดยได้ให้ความเห็นชอบการก�ำหนด อัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการก�ำกับ (Supervisory CAR) อย่างค่อยเป็นค่อยไป ดังนี้
มีเป้าหมายในการเพิ่มศักยภาพของบริษัทประกันภัยให้มีความมั่นคง มีความเข้มแข็งทางการเงิน มี ก ารด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี คุ ณ ภาพ ซึ่ ง ผลลั พ ธ์ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท ประกั น ภั ย เป็ น ที่ เ ชื่ อ มั่ น และไว้วางใจของประชาชน โดยส�ำนักงาน คปภ. มีการด�ำเนินงานในหลากหลายด้าน ดังนี้
ระยะเวลา
Supervisory CAR
ตั้ ง แต่ วั น ที่ ป ระกาศนี้ ใ ช้ บั ง คั บ (วันที่ 31 ธันวาคม 2562) ถึงวัน ที่ 31 ธันวาคม 2564
120%
ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2565 เป็นต้นไป
140%
Key Result 2 - ประเมินความทนทานของระบบ ประกันภัยภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจมหภาคจ�ำลอง (Stress Test) ส�ำนักงาน คปภ. ก�ำหนดให้บริษัทประกันภัยทุกแห่ง จัดท�ำการทดสอบสถานะของบริษทั ภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจ มหภาคจ�ำลอง (Stress Test) โดยให้บริษทั ประมาณการข้อมูล ฐานะการเงิน ณ สิ้นปี 2562 ตามแผนธุรกิจของบริษัท โดยมีสถานการณ์ท่ใี ช้ในการทดสอบทั้งสิ้น 2 กรณี กรณีที่ 1 Common Risk Scenarios เป็นสถานการณ์ ความเสี่ยงร่วมกันระหว่างส�ำนักงาน คปภ. ธนาคารแห่ง ประเทศไทย และส�ำนักงาน ก.ล.ต. โดยก�ำหนดให้สถานการณ์ ทีใ่ ช้ในการทดสอบสถานะของบริษทั 2 สถานการณ์ แบ่งตาม ระดับความรุนแรง ได้แก่ Moderate Scenario และ Severe Scenario กรณีที่ 2 Spot Shock Scenario เป็นสถานการณ์ ความเสี่ยงส�ำหรับธุรกิจประกันชีวิตเท่านั้น ซึ่งสถานการณ์น้ี ก�ำหนดขึ้นจากการที่อัตราดอกเบี้ยในตลาดเงินปรับตัวขึ้น อย่างรวดเร็ว และส่งผลกระทบต่อสถานะของบริษัท โดย ก�ำหนดให้บริษทั ส่งรายงานการทดสอบกับส�ำนักงาน คปภ. และให้บริษัททุกแห่งน�ำเสนอผลการทดสอบต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท และน� ำส�ำเนารายงานการประชุม คณะกรรมการบริษัทดังกล่าว ส่งกลับมาให้สำ� นักงาน คปภ.
34
35
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Objective 2: ยกระดับมาตรฐานการด�ำเนินงาน ่ วข้องกับธุรกิจประกันภัย และพัฒนาบุคลากรทีเ่ กีย
ซึ่งผลการทดสอบสามารถสรุปได้ว่า ระบบประกันภัย มีความทนทานต่อสถานการณ์จ�ำลอง สะท้อนจากบริษัท ประกันภัยเกือบทุกแห่งที่ยังคงมีฐานะการเงินอยู่ในเกณฑ์ดี มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุน (Capital Adequacy Ratio: CAR) สูงกว่าระดับที่กฎหมายก�ำหนด (ร้อยละ 100) และไม่มีแนวโน้มที่ระบบประกันภัยจะเป็นสาเหตุหรือส่งผล กระทบต่อเสถียรภาพของภาคการเงินโดยรวม โดยส�ำนักงาน คปภ. จะยังคงติดตามความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อระบบ ประกันภัยอย่างใกล้ชดิ
Key Result 1 - ยกระดับการก�ำกับดูแลและการ บริหารความเสีย่ งด้านดิจทิ ลั (Digital Risk Management and Governance) ส�ำนักงาน คปภ. ได้จดั จ้างบริษัท เอซิส โปรเฟสชั่นนัล เซ็นเตอร์ จ�ำกัด เป็นที่ปรึกษาในโครงการยกระดับการก�ำกับ ดูแลและการบริหารความเสี่ยงด้านดิจิทัล (Digital Risk Management and Governance) โดยบริษัทที่ปรึกษาได้จัด อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแล เรื่อง IT Risk Management and Cybersecurity ให้กับเจ้าหน้าที่ของ บริษัทประกันชีวิต/วินาศภัย และเจ้าหน้าที่ของส�ำนักงาน คปภ. และในขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างติดตามให้บริษทั น�ำส่งข้อมูล เกีย่ วกับการก�ำกับดูแลและการบริหารจัดการเรือ่ งความมัน่ คง ปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และความมั่นคง ปลอดภัยทางไซเบอร์ในระบบ Web Survey
Key Result 3 - ปรับปรุงและจัดท�ำร่างประกาศ คปภ. เรื่ อ งการลงทุ น ประกอบธุ ร กิ จ อื่ น ของบริ ษั ท ประกันชีวิต/บริษัทประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 3) พ.ศ ... ส�ำนักงาน คปภ. ได้ปรับปรุงและจัดท�ำร่างประกาศ คปภ. เรื่ อ งการลงทุ น ประกอบธุ ร กิ จ อื่ น ของบริ ษั ท ประกั น ชี วิ ต / วินาศภัย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 เพื่อขยายขอบเขตให้บริษัท ประกันชีวิต/วินาศภัย สามารถเข้าไปถือตราสารทุนในการ ประกอบธุรกิจอืน่ ในบริษทั ประกันภัยต่างประเทศและภูมภิ าค อื่นทั่วโลก จากเดิมที่กำ� หนดเฉพาะในภูมิภาคอาเซียน โดย จะส่งผลดีทั้งในด้านผลตอบแทนจากการลงทุน และเปิด โอกาสให้ บ ริ ษั ท ประกั น ภั ย ที่ มี ศั ก ยภาพ สามารถน� ำ ประสบการณ์ของธุรกิจประกันภัยไทยไปพัฒนาต่อยอดธุรกิจ ประกันภัยในต่างประเทศอีกทางหนึ่ง
Key Result 2 - สัมมนากรรมการบริษทั ประกันภัย เพื่อยกระดับมาตรฐานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ส�ำนักงาน คปภ. ได้จัดงานสัมมนากรรมการบริษัท ประกันภัย ประจ�ำปี 2562 (Board Forum 2019) ต่อเนื่อง มาเป็นปีท่ี 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเวทีในการสื่อสาร ทิ ศ ทางและนโยบายในการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ไทย และสร้างความตระหนักถึงบทบาทและความส�ำคัญของ คณะกรรมการบริษทั ประกันภัยในการร่วมกันก�ำกับดูแลธุรกิจ ประกันภัย (Corporate Governance) รวมทัง้ แลกเปลีย่ นความรู้ ประสบการณ์ ข้อเสนอแนะ และข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ อันแสดงถึงศักยภาพและความร่วมมือในการพัฒนาธุรกิจ ประกันภัยร่วมกัน ซึ่งปีนี้จัดขึ้นในวันที่ 3 ธันวาคม 2562 เป็นเวทีสัมมนากรรมการบริษัทประกันชีวิต และวันที่ 17 ธันวาคม 2562 เป็นเวทีสัมมนากรรมการบริษัทประกัน วินาศภัย ภายใต้หัวข้อ ‘IFRS 17 and the Roles of Board of Directors’ ณ ห้อง Ballroom 3 ชัน้ 4 โรงแรม Conrad Bangkok
Key Result 4 - ศึกษาสภาพแวดล้อมที่ส่งผล กระทบต่อการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน คปภ. และธุรกิจ ประกันภัยไทย ส�ำนักงาน คปภ. ได้จ้างบริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ ที่ปรึกษา จ�ำกัด เป็นที่ปรึกษา เพื่อด�ำเนินการศึกษา สภาพแวดล้อมทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน คปภ. และธุรกิจประกันภัยไทย โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษา วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ต่างๆ ทั้งภายใน ประเทศและต่างประเทศ วิเคราะห์และประเมินโครงสร้าง ศักยภาพ และขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ ประกันภัยไทย รวมถึงจัดท�ำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทาง ในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของธุรกิจประกันภัยไทย ให้สามารถก้าวไปแข่งขันได้ในระดับสากล โดยน�ำผลการศึกษา ที่ได้รับมาใช้เป็นแนวทางในการจัดท�ำร่างกรอบแผนพัฒนา การประกันภัย ฉบับที่ 4
Objective 3: คุ้ ม ครองสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ผู้ เ อา ประกั น ภั ย และยกระดั บ พฤติ ก รรมทางตลาด ของระบบประกันภัย
3) ยกระดับมาตรฐานคนกลางประกันภัยให้มีความ โปร่งใสและปฏิบตั ติ ามกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดยออกแนว ปฏิบัติการก�ำกับตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิตตามประกาศ เสนอขายที่มีผลบังคับใช้เมื่อต้นปี ภายใต้กรอบเดิมที่เคย Key Result 1 - การก�ำกับตัวแทนประกันภัยและ เปิ ด รับ ฟั ง ความคิด เห็น และท�ำ ความเข้ า ใจกับ ภาคธุร กิจ นายหน้าประกันภัย โดยมีหลักการ 5 ด้าน ประกอบด้วย ส�ำนักงาน คปภ. ได้ให้ความส�ำคัญกับการท�ำหน้าทีข่ อง ตัวแทนประกันภัยและนายหน้าประกันภัยอย่างใกล้ชิด เพื่อ ดูแลให้ผเู้ อาประกันภัยได้รบั การบริการทีด่ ี รวมถึงสิทธิประโยชน์ แนวปฏิบัติการก�ำกับ ทีค่ รบถ้วน โดยจัดท�ำมาตรฐานแนวทางการควบคุมคุณภาพ ตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต การเสนอขายผลิตภัณฑ์ประกันภัย เพือ่ พัฒนาศักยภาพ สร้าง ความแข็งแกร่งให้กบั ตัวแทน/นายหน้า ให้มจี รรยาบรรณและ ด้านที่ 1 แนวปฏิบตั ใิ นการให้บริการอย่างเป็นธรรม ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายก�ำหนด โดยด�ำเนินงาน ดังนี้ และมีคุณภาพ 1) ในการประชุมคณะกรรมการ คปภ. ครั้งที่ 10/2562 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2562 คณะกรรมการ คปภ. ได้ให้ แนวปฏิบัติในการคัดเลือกผู้เสนอขาย ความเห็นชอบร่างประกาศ คปภ. เรื่องก�ำหนดหลักเกณฑ์ ด้านที่ 2 และช่องทางการเสนอขายกรมธรรม์ วิธกี าร เงือ่ นไข การขออนุญาต การอนุญาต และการต่ออายุ ประกันภัย ใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันชีวิต/วินาศภัย และนายหน้า แนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับมาตรฐานการเสนอ ประกันชีวติ /วินาศภัย พ.ศ. 2562 ด้ า นที ่ 3 ขายกรมธรรม์ประกันภัย 2) ในการประชุมคณะกรรมการ คปภ. ครั้งที่ 12/2562 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2562 คณะกรรมการ คปภ. ได้ให้ แนวปฏิบตั ขิ องธนาคารในการให้บริการ ความเห็นชอบร่างประกาศ คปภ. เรือ่ งหลักเกณฑ์และเงือ่ นไข ด้านที่ 4 นอกสถานที่ ในการออกใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาตให้นติ บิ คุ คลเป็น นายหน้าประกันชีวิต/วินาศภัย และการประกอบธุรกิจของ แนวปฏิบัติในการให้บริการภายหลัง นิตบิ คุ คลผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันชีวติ /วินาศภัย ด้านที่ 5 การขาย พ.ศ. 2562 โดยขณะนี้อยู่ระหว่างน�ำเสนอประธานกรรมการ ก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยเพื่อลงนาม ในประกาศดังกล่าวต่อไป
Objective 3: คุ้มครองสิทธิประโยชน์ผู้เอา 36
37
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 2 - ยกระดับมาตรฐานการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ประชาชนด้านการประกันภัย ด้วยความต้องการทีจ่ ะยกระดับมาตรฐาน การคุม้ ครองสิทธิประโยชน์ของประชาชนด้านการประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. ได้ออกนโยบายหลายอย่างเพื่อยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้น โดยมีการด�ำเนินงาน ดังนี้
อนุ ญ าโตตุ ล าการ และผู ้ แ ทนจากส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ส�ำนักงานศาลยุตธิ รรม กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ สมาคม ประกันวินาศภัยไทย สมาคมประกันชีวติ ไทย ตลอดจนผู้แทน จากบริษทั ประกันชีวติ และบริษทั ประกันวินาศภัย เข้าร่วมกว่า 300 คน เพือ่ เป็นการเผยแพร่การด�ำเนินงานของศูนย์ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทด้านการประกันภัย พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้ ด้านการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทด้านการประกันภัย 3) จัดสัมมนาตาม ‘โครงการสัมมนาอนุญาโตตุลาการ และผู้ไกล่เกลีย่ ส�ำนักงาน คปภ.’ เมือ่ วันที่ 20 มิถนุ ายน 2562 ให้กับผู้บริหาร พนักงานส�ำนักงาน คปภ. อนุญาโตตุลาการ และผู้ไกล่เกลี่ย เพื่อให้อนุญาโตตุลาการและผู้ไกล่เกลี่ย ส� ำ นั ก งาน คปภ. ได้ มี โ อกาสแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ถ่ ายทอดองค์ ค วามรู ้ รวมทั้งถอดบทเรีย นที่เ กิด จากการ ปฏิบัติงานการระงับข้อพิพาทร่วมกัน 4) ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรมและคณะกรรมการ สถาบันอนุญาโตตุลาการ (Thailand Arbitration Center: THAC) เข้าเยี่ยมชมการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการคดีของ อนุญาโตตุลาการ ส�ำนักงาน คปภ. เมือ่ วันที่ 7 มิถนุ ายน 2562 เพื่ อ แลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ก ารท� ำ งานระหว่ า งองค์ ก ร ประสานความร่วมมือในการด�ำเนินการด้านการระงับข้อพิพาท ด้ ว ยวิ ธีอ นุ ญ าโตตุ ล าการในอนาคต โดยมี ก ารบรรยาย สรุ ป การด� ำ เนิ น งาน และเข้ า สั ง เกตการณ์ ก ระบวนการ อนุญาโตตุลาการของส�ำนักงาน คปภ.
5) ส�ำนักงาน คปภ. ได้มีค�ำสั่งที่ 346/2562 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2562 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา ปรั บ ปรุ ง เงื่ อ นไขกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย และคู ่ มื อ ตี ค วาม กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ เพื่อทบทวนปรับปรุงกรมธรรม์ ประกันภัยรถยนต์ และคูม่ อื ตีความกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ ให้สอดคล้องกัน ให้การพิจารณาค่าสินไหมทดแทนเป็นไป อย่างถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน และเป็นธรรม ตลอดจนป้องกัน และลดปัญหาข้อโต้แย้งระหว่างบริษัทกับผู้เอาประกันภัย ผู้รับประโยชน์ หรือผู้มีสิทธิเรียกร้องตามสัญญาประกันภัย 6) ส�ำนักงาน คปภ. ได้มีค�ำสั่งที่ 347/2562 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2562 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุง และพัฒนากระบวนการพิจารณาเรือ่ งร้องเรียนและด�ำเนินการ ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทด้านการประกันภัย และการระงับข้อพิพาท ด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการ เพื่อให้กระบวนการพิจารณาเรื่อง ร้องเรียน การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และกระบวนการอนุญาโตตุ ล าการส� ำ นั ก งาน คปภ. มี ค วามชั ด เจน มี ขั้ น ตอน สอดคล้ อ งเชื่ อ มโยงกั น อย่ า งเป็ น ระบบ และทั น ต่ อ การ เปลี่ยนแปลงของธุรกิจประกันภัย ตอบสนองความต้องการ ของประชาชน และเพิ่มประสิทธิภาพการะบวนการคุ้มครอง สิทธิประโยชน์ของประชาชนด้านการประกันภัย
1) สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ประชาชนและระบบประกันภัย ในภาพรวม ส�ำนักงาน คปภ. ได้พฒ ั นาทักษะผูไ้ กล่เกลีย่ และ ผู้เกีย่ วข้อง โดยจัดอบรมสัมมนาถอดบทเรียนการไกล่เกลี่ย ข้อพิพาทด้านการประกันภัย เมือ่ วันที่ 1-3 กุมภาพันธ์ 2562 โดยผู้เข้าร่วมสัมมนาประกอบด้วยผู้ไกล่เกลี่ยที่ขึ้นทะเบียน รายชือ่ ของส�ำนักงาน คปภ. ผูบ้ ริหาร และพนักงานส�ำนักงาน คปภ. รวมทัง้ สิน้ 92 คน เพือ่ ให้มกี ารถอดบทเรียน การไกล่เกลีย่ ข้อพิพาททีผ่ า่ นมา โดยมีการแลกเปลีย่ นเรียนรูป้ ระสบการณ์ ในการปฏิบตั งิ าน ให้ทราบถึงปัญหาหรืออุปสรรค และเทคนิค การไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทในแต่ละประเด็นปัญหา รวมทัง้ พัฒนา ทักษะเพิ่มเติมองค์ความรู้เกี่ยวกับการไกล่เ กลี่ ย ข้ อ พิ พ าท ด้านการประกันภัย ปัญหาข้อร้องเรียนประกันภัย กฎหมาย เกี่ยวกับประกันภัย ลักษณะและประเภทของประกันภัย และ ประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2) จัดกิจกรรมครบรอบ 3 ปี เปิดศูนย์ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท ด้านการประกันภัย เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2562 โดยมีผบู้ ริหาร และพนักงานส�ำนักงาน คปภ. ผู้ไกล่เกลี่ยส�ำนักงาน คปภ.
38
39
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
7) เลขาธิการและคณะผู้บริหารของส�ำนักงาน คปภ. ให้การต้อนรับนายวิสทุ ธิ์ ศรีสพุ รรณ ประธานคณะกรรมาธิการ การเศรษฐกิจ การเงิน และการคลัง วุฒิสภา และคณะ กรรมาธิการฯ ที่ปรึกษา รวมถึงคณะอนุกรรมาธิการด้าน ตลาดทุ น และธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย เดิ น ทางมาศึ ก ษาดู ง าน และแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับทิศทางและนโยบายของ ส�ำนักงาน คปภ. ในการส่งเสริมอุตสาหกรรมประกันภัยไทย และการคุ้ ม ครองผู ้ บริโ ภค รวมทั้งเยี่ย มชมศู น ย์ รับเรื่อ ง ร้องเรียนด้านการประกันภัย เมือ่ วันอังคารที่ 29 ตุลาคม 2562 ณ ส�ำนักงาน คปภ.
8) คณะผู้บริหารของส�ำนักงาน คปภ. ให้การต้อนรับ คณะกรรมาธิ ก ารสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน สิ ท ธิ เ สรี ภ าพและการ คุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภา ที่เดินทางมาศึกษาดูงานและ แลกเปลีย่ นข้อคิดเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั งิ านกับหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องกับการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค รวมทัง้ รับฟังการด�ำเนินงาน สภาพปั ญ หา และอุ ป สรรคในการปฏิ บั ติ ง านด้ า นการ คุ้มครองผู้บริโภค เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน 2562 ณ ส�ำนักงาน คปภ.
40
41
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Strategy 2:
Objective 1: เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ด้านการประกันภัยให้กับประชาชน
เสริมสร้างความรู้ และ การเข้าถึงการประกันภัย
ส�ำนักงาน คปภ. มีความคาดหวังให้ประชาชนได้รับรู้ถึงความส�ำคัญของการท�ำประกันภัย และเข้าใจ สิทธิที่ควรจะได้รับ สามารถเข้าถึงการประกันภัยเพื่อเลือกใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง ได้อย่างเหมาะสม โดยมีการท�ำงานร่วมกันกับหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างเป็นระบบ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
เฉพาะกลุ่มนิสิต/นักศึกษาสามารถส่งผลงานเข้าประกวด สารคดีสั้น ได้ขยายไปถึงประชาชนทั่วไป โดยมีผู้สนใจ ส่งผลงานเข้าประกวด จ�ำนวน 71 ทีม จากทั่วประเทศ ซึ่งการประกวดครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก อาจารย์เชิดพงษ์ เหล่ า ยนตร์ และ อาจารย์ บั ณ ฑิ ต ทองดี สองผู ้ ก�ำ กั บ ภาพยนตร์ โฆษณา สารคดี รวมถึงละครทีวี ร่วมเป็น คณะกรรมการตัดสินผลงาน โดยหลักเกณฑ์การประกวด พิจารณาจากความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้ อ หา รู ป แบบ การน�ำเสนอ และความคิดสร้างสรรค์
Key Result 1 - การประกวดสารคดีสั้น ภายใต้ แนวคิด ‘พ.ร.บ. เคียงข้าง…ทุกการเดินทาง’ ส�ำนักงาน คปภ. ได้จดั โครงการประกวดสารคดีสนั้ ต่อเนือ่ ง เป็นปีที่ 9 ภายใต้แนวคิด ‘พ.ร.บ. เคียงข้าง…ทุกการเดินทาง’ โดยปีนี้ได้บูรณาการความร่วมมือกับ จส.100 เพื่อเป็นการ ยกระดับการประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับการประกันภัย พ.ร.บ. ให้สามารถเข้าถึงประชาชนในวงกว้างมากยิง่ ขึน้ และ สามารถสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นผู้ใช้รถใช้ถนน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้ปรับปรุงหลักเกณฑ์การประกวดจากเดิมทีก่ ำ� หนดให้
42
43
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 2 - โครงการอบรมความรู้ประกันภัย (Training for the Trainers) คปภ. ได้รว่ มมือหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน ขับเคลือ่ น โครงการอบรมความรู้ประกันภัย (Training for the Trainers) อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจด้านประกันภัย ให้แก่เจ้าหน้าทีข่ องหน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้สามารถ น�ำความรูท้ ไี่ ด้รบั จากการอบรมไปถ่ายทอดให้แก่เกษตรกรได้ อย่างถูกต้อง โดยมีคณะวิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับ หลักการประกันภัยข้าวนาปี การบริหารความเสี่ยงด้วยการ ประกันภัย โดยเฉพาะเงื่อนไขความคุ้มครองตามกรมธรรม์ ประกันภัยข้าวนาปี ขัน้ ตอนการขอรับค่าสินไหมทดแทนและ หลักการพิจารณาการประกาศเป็นเขตการให้ความช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบตั ิ ในปี 2562 ก�ำหนดจัดขึ้นใน 10 จังหวัด ครอบคลุม ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ โดยจะเป็นการลงพื้นที่และพบปะกับ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ เ พื่ อ ให้ รั บ ทราบสภาพทั่ ว ไปของพื้ น ที่ แ ละ สภาพปัญหาของการเพาะปลูกในแต่ละพื้นที่ ตลอดจน วิ ธีก ารที่ เ กษตรกรใช้ ใ นการแก้ ไ ขปั ญ หาเพื่ อ จะได้ น� ำ มา ปรับปรุงโครงการประกันภัยข้าวนาปีและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น ต่ อ ไป รวมทั้ ง ได้ มี ก ารจั ด ท� ำ แอปพลิเคชัน ‘กูร.ู ..ประกันข้าว’ เพือ่ ใช้ในการส่งเสริมความรู้ ที่เน้นการประกันภัยข้าวนาปีและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งจะ แสดงกระบวนการ ขั้นตอน วิธีการ และเงื่อนไขต่างๆ ของ การรับประกันภัยข้าวนาปีและข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้ ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูล และเข้าใจขั้นตอนการท�ำประกันภัยข้าวนาปีและข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ได้ง่ายขึ้น
Key Result 4 - จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านการ ประกันภัยแก่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ทั่วประเทศ 1) กลุม่ ประชาชนทัว่ ไป จัดอบรมความรูด้ า้ นการประกันภัย ให้กับประชาชนในกลุ่มสาขาอาชีพต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น กลุม่ อสม. กลุม่ ผูน้ ำ� ชุมชนท้องถิน่ อบต. อบจ. ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น เป็นต้น จ�ำนวน 71 ครั้ง 2) ด�ำเนินการประชุมสัมมนาสานสัมพันธ์เครือข่าย อาสาสมัครประกันภัย 4 ภาค จ�ำนวน 4 ครัง้ ประจ�ำปี พ.ศ. 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เครือข่ายอาสาสมัครประกันภัยที่ อยูใ่ นเขตพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบของส�ำนักงาน คปภ. รวมทัง้ อาสาสมัคร ประกันภัยที่อยู่ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ดา้ นการประกันภัยในการขับเคลือ่ นพลังเครือข่าย ของอาสาสมัคร เพือ่ น�ำระบบประกันภัยไปสูช่ มุ ชนของตนเอง ด้วยการถอดบทเรียนประสบการณ์ทำ� งานอาสาสมัครประกันภัย ทีไ่ ด้รับรางวัลดีเด่น หรืออาสาสมัครประกันภัย ที่มีศักยภาพ ช่วยเหลืองานของส�ำนักงาน คปภ. ภาค/จังหวัด 3) กลุ่มเยาวชน นิสิต นักศึกษา เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านการประกันภัยให้กับเยาวชนผ่านโครงการ ยุวชนประกันภัยปี 2562 ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่องจากปีที่ ผ่านมา โดยได้จัดอบรมให้แก่คณะครู อาจารย์ ในโรงเรียน และสถานศึกษา ในเขตพื้นที่ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เปิดโอกาสให้เยาวชนน�ำความรู้ด้านประกันภัยไปเผยแพร่ ให้ผู้ใกล้ชิดและบุคคลอื่นได้เข้าใจ โดยในปีนี้ได้จัดกิจกรรม ประกวดการแข่งขันโครงการยุวชนประกันภัย โรงเรียนส่ง ผลงานเข้าประกวด จ�ำนวน 452 โรงเรียน ส�ำหรับประเภท รางวัลแบ่งเป็น 2 ประเภท และได้เข้ารับรางวัลในงานสัปดาห์ ประกันภัย ประจ�ำปี 2562 ในวันที่ 27-29 กันยายน 2562 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี 4) กลุ่มหน่วยงานเครือข่าย ส�ำนักงาน คปภ. ได้ ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วยเรื่อง การบูรณาการส่งเสริมความรู้และสิทธิประโยชน์ด้านการ ประกัน ภัย ร่ วมกับหอการค้า จัง หวัดต่า งๆ ส�ำ หรับ กรอบ ความร่วมมือดังกล่าว จะมุ่งเน้นการส่งเสริมและผลักดัน ให้ผู้ประกอบการพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมในจังหวัด ได้รับความรู้ด้านการประกันภัย เพื่อใช้เป็นเครื่องมือใน การบริหารความเสี่ยงและเป็นหลักประกันความมั่นคงใน การด�ำเนินธุรกิจ ตลอดจนเป็นเครือข่ายในการถ่ายทอด องค์ความรู้ด้านประกันภัยไปสู่เกษตรกรและภาคส่วนต่างๆ อย่างครบวงจร จ�ำนวน 5 จังหวัด
Key Result 3 - โครงการ คปภ. เพื่อชุมชนสู่ ภูมิภาค ส�ำนักงาน คปภ. ร่วมกับภาคอุตสาหกรรมประกันภัยไทย กองทุนประกันชีวติ และกองทุนประกันวินาศภัย จัดโครงการ ‘คปภ. เพื่อชุมชนสู่ภูมิภาค’ ต่อเนื่องเป็นปีท่ี 3 โดยเป็นการ ลงพืน้ ทีเ่ พือ่ พบปะประชาชนในลักษณะ ‘Mobile Insurance Unit’ หรือ ‘ศูนย์บริการประชาชนด้านการประกันภัยเคลื่อนที่แบบ ครบวงจร’ โดยมี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ บ ทบาทหน้ า ที่ ข อง ส�ำนักงาน คปภ. ให้ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย ทีเ่ กีย่ วข้องกับชุมชน ให้ความช่วยเหลือและรับเรือ่ งร้องเรียน ที่เกี่ยวกับการประกันภัย รวมถึงมีการเข้าร่วมกิจกรรมฐาน ความรู้ประกันภัย สู่วิถีชุมชน ท�ำให้ได้รบั ข้อมูลมาใช้พัฒนา ผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้สอดคล้องและตอบโจทย์ความต้องการ ของผู้บริโภค โดยในปีน้ี ก�ำหนดจัดใน 5 จังหวัด 44
45
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
5) เข้าร่วมจัดนิทรรศการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ ด้านการประกันภัยในงานมหกรรมการเงิน ครั้งที่ 19 (Money Expo 2019) ภายใต้แนวคิด ‘Digital Orchestra’ ซึ่งเป็นงาน มหกรรมการเงินที่น�ำเสนอบริการทางการเงินและการลงทุน จากธนาคารของรั ฐ ธนาคารพาณิ ช ย์ บริ ษั ท การเงิ น (Non-Bank) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทประกัน ชี วิ ต บริ ษั ท ประกั น วิ น าศภั ย บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ รวมทั้ ง หน่วยงานของรัฐ เช่น ส�ำนักงาน ก.ล.ต. รวมถึงหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจอื่นๆ ระหว่างวันที่ 16-19 พฤษภาคม 2562 ณ ศูนย์การแสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัย เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ ประกันภัยมีความหลากหลาย สอดคล้องกับสภาพความเสีย่ ง และความต้ อ งการของประชาชนที่ ทั น ต่ อ สถานการณ์ ส�ำนักงาน คปภ. จึงมุ่งเน้นการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ประกันภัยส�ำหรับประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้มี รายได้นอ้ ย และผูด้ อ้ ยโอกาสทีม่ คี วามต้องการความคุม้ ครอง จากการประกันภัย ทั้งยังช่วยลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม อีกทางหนึ่ง จึงได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยต่างๆ ดังนี้ Key Result 1 - การประกันภัยส�ำหรับรายย่อย (Microinsurance) กรมธรรม์ประกันภัยส�ำหรับรายย่อย มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ประชาชนผูม้ รี ายได้นอ้ ยถึงปานกลาง สามารถเข้าถึงระบบ ประกันภัยได้อย่างทั่วถึง และช่วยบรรเทาความเดือดร้อน ให้กับครอบครัวหรือคนที่อยู่ข้างหลัง รวมทั้งส่งเสริมให้ การประกันภัยมีส่วนช่วยเหลือประชาชนและสังคมมากขึ้น ลักษณะส�ำคัญของกรมธรรม์ประกันภัยส�ำหรับรายย่อยคือ เบีย้ ประกันภัยไม่สงู เงือ่ นไขความคุม้ ครองเข้าใจง่าย ไม่ซบั ซ้อน และมีจ�ำนวนเงินคุ้มครองไม่สูงมาก 1) พัฒนาต่อยอดจากกรมธรรม์ประกันภัยส�ำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์) กรมธรรม์ประกันภัย 100 และกรมธรรม์ ประกันภัย 222 เป็นกรมธรรม์ประกันภัยอุบตั เิ หตุกลุม่ 7 บาท ซึง่ เป็นกรมธรรม์ประกันภัย 10 บาท ปรับลดเบีย้ เหลือ 7 บาท และกรมธรรม์ประกันภัยอุบัติเหตุกลุ่ม 10 บาทพลัส ซึ่งเป็น การต่อยอดกลยุทธ์ Connectivity เพือ่ เชือ่ มโยงระบบประกันภัย เข้ากับสินค้าอุปโภคบริโภคและบริการ และเป็นการเพิ่ม ทางเลือกให้แก่ผเู้ อาประกันภัย ให้ได้รบั ความคุม้ ครองทีต่ รงกับ ความต้องการด้วยเบี้ยประกันภัยที่เหมาะสมกับความเสี่ยง ของผู้เอาประกันภัยอย่างต่อเนื่อง โดยข้อมูล ณ วันที่ 31 มกราคม 2562 มีการจ�ำหน่ายกรมธรรม์ประกันภัยปีใหม่ อุ่นใจด้วยประกันภัย 7 บาท (ไมโครอินชัวรันส์) รวมทั้งสิ้น 568,682 ฉบับ 2) จั ด ท� ำ กรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย กลุ ่ ม สงกรานต์ ถู ก ใจ (ไมโครอินชัวรันส์) ซึ่งมีเบี้ยประกันภัย 7 บาท โดยเพิ่มเติม ความคุ้มครองในส่วนของค่ารักษาพยาบาล ระยะเวลา คุ้มครอง 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ท�ำประกันภัย โดยผู้ที่มี สิทธิเอาประกันภัยต้องมีอายุตั้งแต่ 20-70 ปีบริบูรณ์ โดย ข้อมูล ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2562 มีการจ�ำหน่ายกรมธรรม์ ประกันภัยกลุ่มสงกรานต์ถกู ใจ (ไมโครอินชัวรันส์) รวมทัง้ สิน้ 724,506 ฉบับ
Key Result 6 - จัดงาน Thailand Insurance Expo 2019 และ Prime Minister’s Insurance Awards 1) พิธีมอบรางวัลประกันภัยดีเด่นครบวงจร (Prime Minister’s Insurance Awards) จัดขึน้ ในวันที่ 27 กันยายน 2562 ณ ห้องฟีนิกซ์ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี โดยได้รับเกียรติจาก ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานเปิดงานและ มอบรางวัลประกันภัยดีเด่นครบวงจร เพื่อเป็นการประกาศ เกียรติคณ ุ และเชิดชูเกียรติองค์กร หน่วยงาน สถาบัน บุคคล หรือกลุ่มบุคคลตัวอย่างดีเด่นในด้านการเป็นผู้ประกอบการ การประกอบวิชาชีพการให้บริการด้านการประกันภัย โดยปีนี้ แบ่งรางวัลออกเป็น 13 ประเภท จ�ำนวน 68 รางวัล 2) สัปดาห์ประกันภัยประจ�ำปี 2562 (Thailand Insurance Expo 2019) จัดขึ้นในวันที่ 27-29 กันยายน 2562 ณ ฮอลล์ 5 ศูนย์การแสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี ภายในงานมีการจัดสัมมนาทางวิชาการด้านการประกันภัย การจัดนิทรรศการของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน การจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ประกันภัยและด้านการเงิน สินค้าเพือ่ ความปลอดภัยในการขับขี่ การออกบูธนิทรรศการความรูด้ า้ น การประกันภัย และนวัตกรรมการประกันภัยรูปแบบใหม่ๆ จากบริษัทประกันภัย ธนาคาร บริษัทนายหน้าประกันภัย และโรงพยาบาลชัน้ น�ำ เพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงการเข้าสู่ สังคมที่ผู้คนให้ความส�ำคัญและใส่ใจกับเรื่องของสุขภาพ ในเศรษฐกิจยุคดิจิทัล และเป็นการเชื่อมต่อธุรกิจประกันภัย ให้ทันกับยุคเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว คลินิก ประกันภัยเพือ่ ให้คำ� ปรึกษาและรับเรือ่ งร้องเรียนในกรณีตา่ งๆ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทด้านประกันภัย Objective 2: ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ประกันภัย ให้สอดคล้องกับความต้องการและความเสี่ยง
46
47
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เลขาธิการ คปภ. ได้ลงนามในค� ำสั่งนายทะเบียน ที่ 32/2562 เรือ่ งให้ใช้แบบ ข้อความ และอัตราเบีย้ ประกันภัย ของกรมธรรม์ประกันภัยเพื่อกลุ่มชาวประมงเรือพื้นบ้าน และกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย เพื่ อ ชาวประมง ภาคสมั ค รใจ (ไมโครอินชัวรันส์) เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2562 โดยแยก กรมธรรม์ประกันภัยออกเป็น 2 แบบ คือ 1) กรมธรรม์ประกันภัยเพื่อกลุ่มชาวประมงเรือพื้นบ้าน ซึง่ ถือเป็นแบบกรมธรรม์ประกันภัยฉบับแรกของประเทศไทย โดยรัฐบาลให้การสนับสนุนค่าเบีย้ ประกันภัย โดยจะต้องเป็น เรือทีท่ ำ� การประมงเรือพืน้ บ้าน ขนาดของเรือไม่ถงึ 10 ตันกรอส และได้มกี ารจดทะเบียนเรือ (ประเภทเรือประมง) กับกรมเจ้าท่า ซึ่งจะได้รับความคุ้มครองส�ำหรับความสูญเสียหรือเสียหาย ทั้งในขณะออกเรือและจอดฝั่ง อันเนื่องจากอุทกภัย วาตภัย พายุ คลืน่ ลมแรง คลืน่ ซัดชายฝัง่ แผ่นดินไหว และสึนามิ ให้แก่ ผู้เอาประกันภัยหรือทายาทโดยธรรมของผู้เอาประกันภัย และ/หรือ ลูกเรือประมง แล้วแต่กรณี 2) กรมธรรม์ประกันภัยเพื่อชาวประมง ภาคสมัครใจ (ไมโครอินชัวรันส์) เป็นกรมธรรม์ประกันภัยที่ชาวประมง สามารถเลื อ กซื้อ ได้ เ อง โดยที่รัฐ บาลไม่ ไ ด้ ส นับ สนุน ค่ า เบี้ยประกันภัย ให้ความคุ้มครองเรือ 2 ขนาด คือขนาดของ เรือไม่ถึง 10 ตันกรอส และขนาดของเรือ 10 ตันกรอสขึ้นไป ซึ่งเป็นเรือที่ใช้ส�ำหรับท�ำการประมงและได้มีการจดทะเบียน เรือ (ประเภทเรือประมง) กับกรมเจ้าท่า และส�ำหรับเรือประมง ที่มีขนาดของเรือ 10 ตันกรอสขึ้นไป จะต้องมีอาชญาบัตร จากกรมประมง โดยจะได้รบั ความคุม้ ครองส�ำหรับความสูญเสีย หรือเสียหายทั้งในขณะออกเรือและจอดฝั่ง อันเนื่องจาก อุทกภัย วาตภัย พายุ คลืน่ ลมแรง คลืน่ ซัดชายฝัง่ แผ่นดินไหว และสึนามิ ให้แก่ผู้เอาประกันภัย ผู้ได้รบั ความคุ้มครอง หรือ ทายาทโดยธรรมของบุคคลดังกล่าว แล้วแต่กรณี
Key Result 2 - การพัฒนากรมธรรม์ประกันภัยล�ำไย แบบกรมธรรม์ประกันภัยการประกันภัยพืชผลล�ำไย จากภัยแล้ง โดยใช้ดัชนีฝนแล้ง (ตรวจวัดด้วยดาวเทียม) ส�ำหรับรายย่อย (ไมโครอินชัวรันส์) และเบีย้ ประกันภัย ซึง่ มี ผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 29 มกราคม 2562 ถึง 29 มกราคม 2565 โดยบริษทั จะเริม่ รับประกันภัยใน 24 อ�ำเภอ ของจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพื้นที่เป้าหมาย 100,000 ไร่ (จากพื้นที่เพาะปลูกใน จังหวัดเชียงใหม่ทงั้ หมดประมาณ 300,000 ไร่) โดยระยะแรก จะเริม่ จ�ำหน่ายกรมธรรม์ตงั้ แต่เดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์ 2562 เพื่ อ ให้ ค วามคุ ้ ม ครองภั ย ภาวะฝนแล้ ง ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น กั บ เกษตรกรผูเ้ พาะปลูกพืชล�ำไยในช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน 2562 โดยเกษตรกรผู ้ เ พาะปลู ก ล� ำ ไยที่กู ้ เ งิน จากธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ที่มีวงเงินกู้ ทุกๆ 10,000 บาท สามารถขอเอาประกันภัยได้ 1 หน่วย โดยมีเบี้ยประกันภัย จ�ำนวน 299 บาท ต่อการให้ความ คุ้มครอง 1 หน่วย ให้ความคุม้ ครองสูงสุด 2,100 บาท แบ่ง ความคุม้ ครองออกเป็น 2 ส่วน คือกรณีการเกิดภาวะฝนแล้ง ต่อเนือ่ งเกินกว่าดัชนีฝนแล้ง ได้รบั เงินชดเชย จ�ำนวน 900 บาท และกรณีการเกิดภาวะฝนแล้งต่อเนือ่ งเกินกว่าค่าดัชนีฝนแล้ง ขั้นสูง ได้รับเงินชดเชย จ�ำนวน 1,200 บาท ซึ่งเงินชดเชยเมื่อ รวมกันไม่เกิน 2,100 บาท ทั้งนี้ หากพื้นที่เอาประกันภัยเกิด ภาวะฝนแล้งต่อเนือ่ ง (มีจำ� นวนวันทีฝ่ นไม่ตกหรือฝนตกน้อย กว่า 1 มิลลิเมตรต่อวันติดต่อกัน) มากกว่าจ�ำนวนวันทีก่ ำ� หนด เป็นดัชนีฝนแล้งหรือดัชนีฝนแล้งขั้นสูง บริษัทจะจ่ายเงิน ชดเชยให้แก่เกษตรกรผ่านบัญชี ธกส. Key Result 3 - กรมธรรม์ประกันภัยเพื่อกลุ่ม ชาวประมงเรือพื้นบ้าน และกรมธรรม์ประกันภัยเพื่อ ชาวประมง ภาคสมัครใจ (ไมโครอินชัวรันส์)
48
49
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 4 - การพัฒนากรมธรรม์ประกันภัย ความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก (ส�ำหรับ การท�ำเหมืองแร่) เลขาธิการ คปภ. ได้ลงนามในค�ำสั่งนายทะเบียนที่ 17/2562 เรื่องให้ใช้แบบและข้อความกรมธรรม์ประกันภัย ความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก (ส�ำหรับการท�ำ เหมืองแร่) และอัตราเบี้ยประกันภัย เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2562 ตามที่พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 มาตรา 68 (9) ได้กำ� หนดให้ผปู้ ระกอบการเหมืองแร่ประเภทที่ 2 และประเภท ที่ 3 จะต้องจัดท�ำประกันภัยความรับผิดต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สนิ ของบุคคลภายนอก ถือเป็นแบบกรมธรรม์ประกันภัย ส�ำหรับการท�ำเหมืองแร่ฉบับแรกของประเทศไทย โดยการท�ำ ประกันภัยเหมืองแร่ได้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 เนื้อที่ไม่เกิน 100 ไร่ และเป็นโครงการ เหมืองแร่ทไี่ ด้รบั การยกเว้นไม่ตอ้ งจัดทํารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ประเภทที่ 2 เนื้อที่ไม่เกิน 625 ไร่ ประเภทที่ 3 เป็นการท�ำเหมืองในทะเล เหมืองใต้ดิน หรือเหมืองที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมสูง ทั้งนี้ ผู้ถือประทานบัตรจะต้องจัดท�ำประกันภัยให้มีระยะเวลา ครอบคลุมต่อเนื่องตลอดอายุประทานบัตร Key Result 5 - กรมธรรม์ประกันภัยคุม้ ครองการเจ็บ ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เลขาธิการ คปภ. ได้ลงนามในค�ำสั่งนายทะเบียนที่ 41/2562 เรือ่ ง ให้ใช้แบบข้อความและอัตราเบีย้ ประกันภัยของ กรมธรรม์ประกันภัยคุม้ ครองการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2562 ซึ่งกรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองการเจ็บป่วยด้วยโรค ไข้เลือดออกถือเป็นแบบกรมธรรม์ประกันภัยมาตรฐานไข้ เลือดออกฉบับแรกของประเทศไทย ทีม่ กี ารน�ำระบบประกันภัย เข้าไปบริหารความเสีย่ งให้กบั ประชาชนจากภัยโรคไข้เลือดออก โดยเฉพาะ กรมธรรม์ดังกล่าวจะให้ความคุ้มครองแก่ผู้เอา ประกันภัยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเจ็บป่วยด้วยโรค ไข้เลือดออก เมื่อพ้นก�ำหนดระยะเวลาที่ไม่คุ้มครอง (Waiting Period) 30 วัน นับจากวันทีก่ รมธรรม์ประกันภัยเริม่ มีผลบังคับ เป็นครั้งแรก
Objective 3: ส่งเสริมการเข้าถึงการประกันภัย เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ
Key Result 1 - การปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพ มาตรฐานให้สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ ส�ำนักงาน คปภ. ได้จัดประชุมคณะท�ำงานพัฒนาและ ปรับปรุงสัญญาประกันภัยสุขภาพ จ�ำนวน 3 ครัง้ เพือ่ ร่วมกัน วางกรอบและปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพ โดยก�ำหนดเป็น 3 มิติ ประกอบด้วย 1) การปรั บ ปรุ ง สั ญ ญาประกั น สุ ข ภาพมาตรฐาน ให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายภาครั ฐ ให้ ภ าคธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย มีเงื่อนไขในสัญญาและแนวปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 2) การก�ำกับอัตราเบีย้ ประกันสุขภาพให้มคี วามเหมาะสม สอดคล้องกับสัญญาสุขภาพมาตรฐานที่มีการปรับปรุง 3) ปรับปรุงการจัดเก็บข้อมูล สถิติ ส�ำหรับการปรับปรุง อัตราเบีย้ ประกันสุขภาพให้มคี วามชัดเจนและมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น เพื่อให้สามารถน�ำมาใช้วิเคราะห์อัตราส่วนค่า สินไหมทดแทน (Loss Ratio) และต้นทุนในแต่ละความ คุ้มครองได้ Objective 4: ขยายช่ อ งทางการเข้ า ถึ ง การประกันภัยของประชาชน
Key Result 1 - ขึน้ ทะเบียนการด�ำเนินธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ช่ อ งทางการขายประกั น ภั ย ทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ ป็ น ช่องทางหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับประชาชนหรือผู้เอาประกันภัย ดังนั้น การท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวจะต้อง มี ลั ก ษณะที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยธุ ร กรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ และมีมาตรฐานการรักษาความมัน่ คงปลอดภัย ของระบบสารสนเทศในระดับเคร่งครัด จึงก�ำหนดให้บริษัท ประกั น ภั ย ต้ อ งมี ก ารขึ้ น ทะเบี ย นการด�ำ เนิ น ธุ ร กรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย 1) การเสนอขายกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย ผ่ า นทาง อิเล็กทรอนิกส์ (Online) 2) การใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ประกอบการเสนอ ขายกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย ของบริ ษั ท ประกั น ภั ย การออก กรมธรรม์ประกันภัย (e-Policy) 3) การชดใช้เงินหรือค่าสินไหมทดแทนตามสัญญา ประกันภัย (e-Claim)
50
51
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
52
53
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Strategy 3:
Objective 1: เสริมสร้างการแข่งขันผ่านการ ผ่อนคลายการก�ำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย
สร้างสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการแข่งขัน
ส�ำนักงาน คปภ. ตัง้ เป้าผ่อนคลายกรอบการก�ำกับราคา และผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้มคี วามยืดหยุน่ และอิงกลไกตลาด มากขึน้ (Detarifffiication) เพือ่ ให้ประชาชนได้รบั ประโยชน์จาก ราคาและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ประกันภัย และธุรกิจประกันภัย มีความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยได้ตาม ความเสี่ยงและความเชี่ยวชาญของตนเอง โดยด�ำเนินการ ดังนี้
ในยุคสมัยที่เทคโนโลยีเปลี่ยนผ่านอย่างรวดเร็ว ในทุกอุตสาหกรรมล้วนถูก disrupt ทักษะในการปรับตัวอย่างรวดเร็วจึงเป็นหัวใจส�ำคัญในการน�ำพาองค์กรและบริษัทก้าวไป ข้างหน้า ส�ำนักงาน คปภ. จึงมีเป้าหมายในการช่วยเหลือให้บริษท ั ประกันภัยมีขด ี ความสามารถ ในการแข่งขัน พร้อมรับสภาพแวดล้อมที่มีความเป็นพลวัตสูงในอนาคต
Key Result 2 - ด้านการประกันวินาศภัย 1) จัดท�ำค�ำสั่งนายทะเบียนที่ 3/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ การให้ความเห็นชอบแบบและข้อความเอกสารสรุปเงื่อนไข ข้อตกลงคุม้ ครอง ข้อยกเว้นตามกรมธรรม์ประกันภัย เพือ่ ลด กระบวนการขอรับความเห็นชอบ 2) ประชุมร่วมกับคณะกรรมการประกันภัยยานยนต์ เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2562 เพื่อพิจารณาปรับปรุงพิกัด อัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ 3) ปรับปรุงแบบและข้อความ และอัตราเบีย้ ประกันภัย ส�ำหรับกรมธรรม์ประกันภัยเดินทางแบบอัตโนมัติ (File and Use) ก่อนรับฟังความคิดเห็นจากภาคธุรกิจ 4) ปรับปรุงค�ำจ�ำกัดความและเงื่อนไขในกรมธรรม์ ประกันภัยสินเชื่อร่วมกับสายกฎหมายและคดี หารือร่าง กรมธรรม์ประกันภัยการปฏิบัติงานตามสัญญาการก่อสร้าง ฉบับภาษาไทยร่วมกับฝ่ายวิศวกรรมประกันภัย เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2562 5) จั ด ท� ำ ค� ำ สั่ ง นายทะเบี ย นที่ 19/2562 ลงวั น ที่ 5 มิถุนายน 2562 เรื่องให้ใช้แบบและข้อความหนังสือรับรอง การต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัยส�ำหรับการประกันวินาศภัย 6) หารือการจัดท�ำเอกสารแนบท้ายการขยายความ คุม้ ครองกรมธรรม์ประกันภัยความเสีย่ งภัยทรัพย์สนิ จ�ำนวน 12 แบบและอัตราเบี้ยประกันภัย
Key Result 1 - ด้านการประกันชีวิต 1) จัดตั้งคณะท�ำงานร่วมระหว่างส�ำนักงาน คปภ. และสมาคมประกันชีวิตไทย เช่น คณะท�ำงาน Proffiit Testing คณะท�ำงาน PAR Product คณะท�ำงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ และสัญญาประกันภัย เป็นต้น 2) จัดท�ำร่างหลักเกณฑ์การให้ความเห็นชอบอัตราเบีย้ ประกั น ภั ย และกรมธรรม์ ป ระกั น ชี วิ ต ประเภทกลุ ่ ม แบบ ชั่วระยะเวลา 1 ปี สัญญาเพิ่มเติมประกันภัยสุขภาพกลุ่ม สัญญาเพิ่มเติมประกันอุบัติเหตุกลุ่ม สัญญาเพิ่มเติมโรค ร้ายแรงกลุม่ และสัญญาเพิม่ เติมทุพพลภาพถาวรสิน้ เชิงกลุม่ แบบอัตโนมัติ โดยเปิดรับฟังความคิดเห็นจากภาคธุรกิจ เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2562 3) ออกหลักเกณฑ์การยืน่ ขอรับความเห็นชอบกรมธรรม์ ประกันชีวติ สะสมทรัพย์ทมี่ อี ายุรบั ประกันภัยตัง้ แต่ 66 ปีขนึ้ ไป แบบอัตโนมัติ เพื่อลดระยะเวลาในการให้ความเห็นชอบฯ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 4) จัดท�ำรายการตรวจสอบเอกสารส�ำหรับการยืน่ ขอรับ ความเห็นชอบแบบและข้อความกรมธรรม์ประกันภัยและ อัตราเบี้ยประกันภัย (Checklist) เพื่อให้บริษัทประกันชีวิตใช้ ในการตรวจสอบรายการเอกสารเบือ้ งต้นด้วยตนเอง ก่อนยืน่ ขอรับความเห็นชอบแบบและข้อความกรมธรรม์ประกันภัยและ อัตราเบี้ยประกันภัย เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2562 5) ก� ำ หนดกรอบการให้ ค วามเห็ น ชอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ประกันชีวติ ผ่านช่องทางธนาคารและช่องทางขายผ่านโทรศัพท์ และเวียนแจ้งให้ภาคธุรกิจทราบ 6) จัดท�ำร่างค�ำสัง่ นายทะเบียน เรือ่ งหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขการให้ความเห็นชอบอัตราเบีย้ ประกันภัยส�ำหรับ บริษัทประกันชีวิต 7) น�ำเสนอความคืบหน้าการปรับปรุงกระบวนการให้ ความเห็นชอบต่อคณะกรรมการ คปภ. เมือ่ วันที่ 28 มิถนุ ายน 2562
Key Result 3 - โครงการ ‘Insurance Regulatory Sandbox’ การด�ำเนินโครงการ ‘Insurance Regulatory Sandbox’ ต่อเนื่องจากปีท่ผี ่านมา โดยมีผู้ท่สี นใจเข้าร่วมโครงการและ ขอค�ำปรึกษาเกีย่ วกับโครงการทัง้ ก่อนการสมัครและระหว่าง อยู่ในโครงการ จ�ำนวนทั้งสิ้น 26 โครงการ และปัจจุบันมี โครงการเข้าทดสอบใน Insurance Regulatory Sandbox จ�ำนวน 7 โครงการ
54
55
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
รายชือ่ โครงการใน Insurance Regulatory Sandbox
Key Result 2 - จัดตัง้ คณะท�ำงานกลัน่ กรองเกีย่ วกับ การก�ำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย มีการจัดตั้งคณะท�ำงานจ�ำนวน 6 คณะ ประกอบด้วย 1) คณะท�ำงานพิจารณามาตรฐานผลิตภัณฑ์ประกันภัย สัญญาประกันภัย และเอกสารประกอบการเสนอขาย 2) คณะท� ำ งานพิ จ ารณาก� ำ หนดกรอบมาตรฐาน การก�ำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัยและก�ำหนดมาตรฐาน การท�ำ Proffiit Test 3) คณะท�ำ งานศึก ษาและพัฒ นาผลิต ภัณ ฑ์ แ บบมี ส่วนร่วมในเงินปันผล (PAR Product) 4) คณะท�ำงานย่อยพิจารณามาตรฐานรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 17 (IFRS 17) 5) คณะท�ำงานย่อยศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกัน สุขภาพ 6) คณะท�ำงานย่อยศึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ควบ การลงทุน Unit-Linked
1) โครงการที่ด�ำเนินการทดสอบแล้วเสร็จ จ�ำนวน 2 โครงการ ได้แก่ - โครงการ ‘Muang Thai iDrive’ โดย บมจ. เมืองไทยประกันภัย - โครงการ ‘ประกันรถยนต์แฟร์ด’ี โดย บจ. แฟร์ดี อินเซอเทค 2) โครงการที่อยู่ระหว่างการทดสอบ ใน Sandbox จ�ำนวน 5 โครงการ ได้แก่ - โครงการ ‘Milky Way’ โดย บมจ. เมืองไทยประกันชีวิต - โครงการ ‘Carpool ขับดีมเี งินคืน’ โดย บจ. คาร์พูล อินชัวรันส์ โบรกเกอร์ - โครงการ ‘Noon: Usage Based Insurance’ โดย บจ. ทีคิวแอลดี จ�ำกัด - โครงการ ‘SMK Drive Safe and Save 1 (แบบขับดี)’ โดย บมจ. สินมั่นคงประกันภัย - โครงการ ‘อบรมต่ออายุตัวแทน/นายหน้า Online’ โดย บมจ. น�ำสินประกันภัย
Key Result 3 - ปรับปรุงกระบวนการให้ความเห็นชอบ ผลิตภัณฑ์ประกันภัย โดยส�ำนักงาน คปภ. ได้ดาํ เนินการปรับปรุงกระบวนการ ให้ความเห็นชอบผลิตภัณฑ์ประกันภัย ด้วยการ 1) จัดทําปรับปรุงมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ประกันชีวติ / วินาศภัย สําหรับอ้างอิงในการพิจารณาให้ความเห็นชอบ แบบและข้อความกรมธรรม์ประกันภัย 2) จัดทํา Checklist ให้บริษทั ตรวจสอบรายการเอกสาร เบื้องต้นก่อนนําส่งมาขอรับความเห็นชอบ 3) จัดตั้งคณะท�ำงานร่วมกับสมาคมประกันชีวิตไทย เพื่อจัดท�ำมาตรฐานหรือแนวทางการขอรับความเห็นชอบ ผลิตภัณฑ์
O bj e c t i ve 2 : พั ฒ น า ก า ร ก� ำ กั บ แ ล ะ กระบวนการให้ ค วามเห็ น ชอบ/อนุ มั ติ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ประกันภัย
ด้วยจุดมุ่งหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพการก�ำกับ ผลิตภัณฑ์ประกันภัย และลดอุปสรรคและระยะเวลาใน การให้ความเห็นชอบและอนุมตั ผิ ลิตภัณฑ์ประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. ได้ดำ� เนินการในหลายรูปแบบในการพัฒนาการก�ำกับ และกระบวนการให้ความเห็นชอบ/อนุมตั ผิ ลิตภัณฑ์ประกันภัย ดังนี้
Key Result 4 - จัดประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความ เข้าใจเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของด้านก�ำกับ เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2562 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม ชัน้ 3 โรงแรมดิ เอมเมอรัลด์ ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพฯ โดยมี นายกสมาคมประกันชีวติ ไทย นายกสมาคมประกันวินาศภัยไทย นายกสมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย กรรมการผู้จัดการบริษัทประกันชีวิต ผู้จัดการสาขาบริษัท ประกันชีวิต กรรมการผู้จัดการบริษัทประกันวินาศภัย และ ผู้จัดการสาขาบริษัทประกันวินาศภัย เข้าร่วมประชุมกับ คณะผูบ้ ริหารของส�ำนักงาน คปภ. โดยมี 2 ประเด็นส�ำคัญคือ 1) ปรับปรุงกระบวนการให้ความเห็นชอบผลิตภัณฑ์ ประกันภัย เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อมและรองรับให้ภาค
Key Result 1 - พัฒนาระบบการขอรับความเห็น ชอบกรมธรรม์ประกันภัยผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (I-SERFF) ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ในระดับเคร่งครัด ซึ่งโครงการนี้ ส�ำนักงาน คปภ. ได้เริ่ม ด�ำเนินการตั้งแต่ปี 2560 ปัจจุบัน บริษัทประกันวินาศภัย ยื่นขอรับความเห็นชอบกรมธรรม์แบบเดิมคู่ขนานกับระบบ I-SERFF ซึง่ คาดว่า จะเริม่ ใช้ระบบจริงในเดือนพฤษภาคม 2562 ส�ำหรับส่วนของบริษทั ประกันชีวติ ส�ำนักงาน คปภ. อยูร่ ะหว่าง การหารือกับบริษทั ผูพ้ ฒ ั นาระบบ เพือ่ ขอทราบความต้องการ ปัญหาและอุปสรรค และก�ำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาต่อไป
Objective 3: ส่งเสริมการเชื่อมโยงตลาด ประกันภัยในภูมิภาคอาเซียน
ธุรกิจมีความสามารถในการแข่งขัน และส่งเสริมอุตสาหกรรม ประกันภัยไทยได้มีการจัดท�ำกระบวนการให้ความเห็นชอบ ผลิตภัณฑ์ประกันภัยรูปแบบใหม่ขึ้น โดยส�ำนักงาน คปภ. เน้นให้ความส�ำคัญในการส่งเสริมธรรมาภิบาลของบริษัท ในการพิ จ ารณาและกลั่ น กรองคุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ประกันภัยและความพร้อมในด้านต่างๆ ตลอดจนวางแผน รองรับการก�ำกับรูปแบบใหม่ ในส่วนของผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบอัตโนมัติ (File & Use) การให้ความเห็นชอบทีเ่ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ทนี่ ายทะเบียน ประกาศก�ำหนดเป็นแบบมาตรฐาน ให้ถือว่าบริษัทได้รับ ความเห็นชอบจากนายทะเบียนนับตัง้ แต่วนั ทีส่ ำ� นักงาน คปภ. ประทับตรารับเรื่องและมีการช�ำระค่าธรรมเนียม ส�ำหรั บ ผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบปกติ การให้ความเห็นชอบอัตรา เบีย้ ประกันภัยทีน่ อกเหนือไปจากหลักเกณฑ์ประกาศก�ำหนด ให้เป็นแบบอัตโนมัติ และบริษัทสามารถน�ำไปใช้ได้ต่อเมื่อ นายทะเบียนให้ความเห็นชอบแล้ว 2) การปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพมาตรฐาน เพื่อ ให้ ร องรั บ กั บ เทคโนโลยี แ ละวิ วั ฒ นาการทางการแพทย์ ที่เปลี่ยนแปลงไป มีแนวปฏิบัติที่เป็นแนวทางเดียวกันและ สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ โดยเฉพาะในเรื่องรายการ ความคุ้มครอง ต้องก�ำหนดเป็นไปตามประกาศกระทรวง สาธารณสุข เรื่องชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล ยาและเวชภัณฑ์ การบริการทางการแพทย์ฯ รวมทัง้ การปฏิบตั ิ ตามมติคณะรัฐมนตรีท่กี �ำหนดให้ยา เวชภัณฑ์ และบริการ ทางการแพทย์ เป็ น สิ น ค้ า ควบคุ ม จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก าร ปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพ โดยส�ำนักงาน คปภ. ได้รับความร่วมมือจากผู้มีส่วน เกีย่ วข้องร่วมเป็นคณะท�ำงานร่างสัญญามาตรฐาน ประกอบด้วย สมาคมประกันชีวิตไทย สมาคมประกันวินาศภัยไทย แพทย์ ทีป่ รึกษา นักวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีการเปิดรับ ฟั งความคิด เห็นต่ อร่างสัญญาประกัน สุข ภาพมาตรฐาน จากทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง และได้มกี ารน�ำเสนอต่อทีป่ ระชุม CEO Forum เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2562 ซึง่ ส�ำนักงาน คปภ. ได้นำ� ข้อสรุปและประเด็นข้อคิดเห็น มาปรับปรุงและด�ำเนินการต่อยอดเพื่อให้ร่างสัญญาประกัน สุขภาพมีความสมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ โดยมีการปรับปรุงหมวดรายการ ผลประโยชน์ความคุม้ ครองให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทัง้ ธุรกิจ ส�ำนักงาน คปภ.ได้เตรียมการในเรื่องจัดท�ำฐานข้อมูล ประกันสุขภาพที่เป็นมาตรฐาน เพื่อใช้ประโยชน์ในเรื่อง การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล สถิ ติ ก ารพั ฒ นาระบบการประกั น สุขภาพ และเพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เอาประกันภัย ในการเรียกร้องค่าสินไหมในอนาคต
เพื่อให้ธุรกิจประกันภัยไทยมีบทบาทต่อการรวมตัวเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีความสามารถพร้อมรองรับ การแข่งขันที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ และเป็นศูนย์กลางการ ประกันภัยทีส่ ำ� คัญในภูมภิ าคอาเซียน ส�ำนักงาน คปภ. ได้สง่ เสริม การเชือ่ มโยงตลาดประกันภัยในภูมภิ าคอาเซียนในหลากหลาย โครงการ ดังนี้
56
57
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 1 - การลงนามในบันทึก ความเข้าใจ (MOU) กับ The Monetary Authority of Singapore (MAS) ส�ำนักงาน คปภ. ได้ร่วมลงนามในบันทึก ความเข้าใจกับ The Monetary Authority of Singapore (MAS) ซึ่งเป็นหน่วยงานก�ำกับดูแล ภาคการเงิ น ของประเทศสิ ง คโปร์ เมื่ อ วั น ที่ 26 กันยายน 2562 ณ ส�ำนักงาน คปภ. การลงนาม ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความ ร่ ว มมื อ ด้ า นการก� ำ กั บ ดู แ ลธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย และแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ทางด้ า นประกั น ภั ย ที่เป็นประโยชน์ต่อกัน รวมถึงการให้ความช่วยเหลือ แลกเปลีย่ น ความรูค้ วามเชีย่ วชาญระหว่างกัน เพือ่ ยกระดับ บุคลากรประกันภัยให้มศี กั ยภาพและขีดความ สามารถในการปฏิบัติงานยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ทางด้านวิชาการและนวัตกรรมใหม่ๆ ทีท่ นั สมัย อาทิ การน�ำองค์ความรู้จากประเทศสิงคโปร์ ด้ า น InsurTech มาพั ฒ นาเพื่ อ ปรั บ ใช้ กั บ อุตสาหกรรมประกันภัยไทยให้เกิดประสิทธิภาพ ต่อไป
2) เข้าร่วมการอบรมหลักสูตร CLMVT Professional Development in Non-life Insurance ซึ่งจัดโดยสถาบัน Asian Institute of Technology ร่วมกับบริษัทไทยรับประกันภัยต่อ เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2562 ณ ส�ำนักงาน คปภ. โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น เวที แ ลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และ ประสบการณ์ หลักการพื้นฐานของประกันภัย เทคนิค และ ตลาดธุรกิจประกันภัยของกลุ่มประเทศ CLMVT ซึ่งผู้เข้ารับ การอบรมประกอบด้ ว ย ผู ้ แ ทนจากบริ ษั ท ประกั น ภั ย ใน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา เวียดนาม กัมพูชา และไทย และเข้ า ร่ ว มการประชุ ม Insurance and Financial Practitioners Association of Singapore (IFPAS) จัดโดยหน่วยงาน The Premier Association for Financial Practitioners เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม 2562 ณ ประเทศสิงคโปร์ 3) เข้าร่วมการประชุม the Joint Conference on Synergies between Insurance and Pensions ซึง่ จัดโดยสมาคมหน่วยงาน ก�ำกับธุรกิจประกันภัยนานาชาติ (The International Association of Insurance Supervisors: IAIS) องค์การระหว่างประเทศของ หน่วยงานก�ำกับดูแลกองทุนบ�ำนาญ (The International Organization of Pension Supervisors: IOPS) และองค์การเพื่อ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (The Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) โดยมี ธนาคารแห่งชาติสโลวาเกีย (The National Bank of Slovakia: NBS) เป็นเจ้าภาพในการประชุม ระหว่างวันที่ 10–12 เมษายน 2562 ณ กรุงบราติสลาวา สาธารณรัฐสโลวัก
Key Result 2 - การสร้างความร่วมมือ และพัฒนาการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย กับหน่วยงานก�ำกับดูแลในต่างประเทศ 1) เข้ า ศึ ก ษาดู ง านการชดใช้ เ ยี ย วยา ผูเ้ สียหายที่ประสบภัยจากรถ โดยคณะผู้แทน จากกรมสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน กระทรวงยุ ติ ธรรม สาธารณรัฐเกาหลี พร้อมคณะผู้บริหารและ เจ้ า หน้ า จากกรมคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ กระทรวงยุติธรรม พร้อมรับฟังการบรรยาย บทบาทภารกิจของส�ำนักงาน คปภ. การดูแล คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ และกระบวนการ คุ้มครองสิทธิประโยชน์ของประชาชนด้านการ ประกันภัย และเยี่ยมชมศูนย์บริการประชาชน ด้านการประกันภัย สายด่วน คปภ. 1186 ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนด้านการประกันภัย และ ศูนย์ไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทด้านการประกันภัย เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2562 ณ ส�ำนักงาน คปภ.
โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ระดมความคิดเห็นและแลกเปลีย่ น ประสบการณ์ในประเด็นที่หน่วยงานก�ำกับดูแลภาคการเงิน และองค์กรต่างๆ ทัว่ โลก ก�ำลังให้ความสนใจ อาทิ การลงทุน ในกิจการที่ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคม และมีธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) ความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี และความท้าทายในการก� ำกับดูแลธุรกิจ ภายใต้บริบทใหม่ นอกจากนี้ ยังได้หารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกี่ยวกับแนวโน้มธุรกิจประกันภัยในยุโรป แนวทางการก�ำกับ ดูแลธุรกิจประกันภัย ซึ่งประเทศมาซิโดเนียเหนือมีการจัดตั้ง หน่วยงานก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยทีเ่ ป็นอิสระ แยกออกจาก ภาคการเงินอืน่ รวมถึงได้หารือแนวทางยกระดับความร่วมมือ เพื่ อ แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ในการก�ำ กั บ ดู แ ลและการส่ ง เสริ ม การให้ความรู้ด้านการประกันภัย
58
59
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
4) จั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารระหว่ า งประเทศ เรื่ อ ง การประกันภัยรายย่อย (Microinsurance) โดยความร่วมมือ ระหว่างส�ำนักงาน คปภ. กับสถาบันวิจัยและการฝึกอบรม ด้านการประกันภัยแห่งอาเซียน (ASEAN Insurance Training and Research Institute หรือ AITRI) เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2562 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัลลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีผู้เข้าร่วมการอบรมประกอบด้วย ผูแ้ ทนหน่วยงานก�ำกับดูแลด้านประกันภัยจากหลายประเทศ ในเอเชียแปซิฟกิ อาทิ มาเลเซีย สปป. ลาว ฟิลปิ ปินส์ เนปาล ปาปัวนิวกินี สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต และไทย การอบรมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการก� ำกับดูแลการ ประกันภัยรายย่อยส�ำหรับผู้ที่มีรายได้น้อย ตลอดจนถอด บทเรียนจากตัวอย่างของการด�ำเนินการเรื่องนี้ที่ประสบ ความส� ำ เร็ จ ในประเทศต่ า งๆ โดยมุ ่ ง สร้ า งความรู ้ ใ ห้ กับเจ้าหน้าทีห่ น่วยงานก�ำกับดูแลในการส่งเสริมให้ประชาชน ตระหนักถึงความส�ำคัญของการประกันภัย การถ่ายทอด ความรู้ด้านประกันภัยให้กับประชาชนทุกระดับการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้เหมาะสมกับผูม้ รี ายได้นอ้ ย การพัฒนา ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายการประกันภัยเพือ่ ให้ผู้มรี ายได้น้อย เข้าถึงได้ง่ายขึ้น 5) เข้าร่วมการประชุม 14th AFIR Annual Meeting and
Conference และ Asia-Paciffiific High-level Meeting เมื่อ วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ณ เขตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน จัดโดย Monetary Authority of Macao (AMCM) มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมประชุมจากหน่วยงาน ก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยในอาเซียน ผูเ้ ชีย่ วชาญจากหน่วยงาน ก�ำกับดูแลภาคการเงิน บริษัทประกันภัย และหน่วยงาน/ องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และประสบการณ์ระหว่างกันในประเด็นต่างๆ ที่ส�ำคัญ
60
61
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
6) จัดประชุมสัมมนา The International Insurance Regulation and Supervision Seminar ซึ่งเป็นการร่วมมือกับ สมาคมนายทะเบียนประกันภัย (National Association of Insurance Commissioners: NAIC) ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 14-15 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรมเรเนซองส์ กรุงเทพฯ ซึ่งหน่วยงานก�ำกับดูแลด้านประกันภัยที่เข้าร่วม การสัมมนาครั้งนี้ ประกอบด้วย NAIC ประเทศสหรัฐอเมริกา และหน่วยงานก�ำกับดูแลด้านประกันภัยของประเทศต่างๆ ในเอเชีย ได้แก่ บรูไน สิงคโปร์ มาเลเซีย ญี่ปุ่น เขตบริหาร พิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน เขตบริหารพิเศษ มาเก๊าแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาชนจีน ภูฏาน ศรีลังกา ไต้หวัน รวมทั้งผู้แทนจากส�ำนักงาน คปภ. โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเติมเต็มองค์ความรู้ทางเทคนิค ให้กับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานก�ำกับดูแลธุรกิจ ประกันภัยจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย เกี่ยวกับ พัฒนาการใหม่ๆ และวิธีการแก้ไขปัญหาด้านประกันภัย ที่เกิดในเศรษฐกิจยุคดิจิทัลจากมุมมองประสบการณ์ของ หน่วยงานก�ำกับดูแลด้านประกันภัยและภาคธุรกิจประกันภัย ของประเทศสหรัฐอเมริกา อีกทั้งยังเป็นเวทีแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ แ ละความคิ ด เห็ น เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การก�ำกับดูแลประกันภัยในการรองรับการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมยุคดิจทิ ลั ซึง่ ต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยควบคูก่ บั การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการประกันภัย รวมทัง้ การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น Big Data, Artiffiificial Intelligence,
Blockchain และ IoT เป็นต้น 7) เข้ า ร่ ว มการประชุ ม กั บ Mr. Toshihide Endo, Commissioner และผู้บริหารระดับสูงของ The Financial Services Agency of Japan (FSA) หน่วยงานก�ำกับดูแลภาค การเงินของประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2562 เพื่อ หารือเกี่ยวกับภาพรวมและความท้าท้า ยส�ำคัญในธุร กิจ ประกันภัยในประเทศญี่ปุ่น รวมถึงแนวทางการก�ำกับดูแล ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น ภั ย และการส่ ง เสริ ม นวั ต กรรมและ เทคโนโลยีในภาคการเงิน โดยประเทศญีป่ นุ่ ได้จดั ตัง้ FinTech Innovation Hub และส่งเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่เพื่อให้ค�ำปรึกษา ด้านเทคโนโลยีการเงินแก่ Startups นอกจากนี้ ยังได้เข้าประชุมกับบริษทั Aioi Nissay Dowa Insurance Co., Ltd. บริษัทประกันภัยขนาดใหญ่อนั ดับที่ 4 ของประเทศญี่ปุ่น เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ประกันภัยใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การประกันภัยรถยนต์ประเภท Telematics ซึ่งเป็นการน�ำ เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพื่อลดโอกาสการเกิดอุบัติเหตุ บนท้องถนน สร้างเสริมพฤติกรรมการขับขี่ท่ปี ลอดภัย และ ท�ำให้บริษัทประกันภัยได้รับข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงของ ผูข้ บั ขี่ ท�ำให้สามารถพิจารณารับประกันภัยและก�ำหนดอัตรา เบี้ยประกันภัยได้อย่างเหมาะสมกับสภาพความเสี่ยงของ ผู้เอาประกันภัยแต่ละราย
ประกันภัย และทราบความคืบหน้าการด�ำเนินการต่างๆ ของ สมาคมฯ ซึ่งผลสรุปการประชุมที่ส�ำคัญคือการให้ความ เห็นชอบกรอบการก�ำกับกลุ่มธุรกิจประกันภัยที่มีบริษัทใน เครืออยู่ทั่วโลก (Internationally Active Insurance Groups: IAIGs) และการบรรเทาความเสี่ยงต่อระบบที่จะเกิดขึ้นใน ภาคธุรกิจประกันภัย กรอบการก�ำกับกลุ่มธุรกิจประกันภัย
8) เข้าร่วมการประชุมสมาคมผูก้ ำ� กับดูแลธุรกิจประกันภัย นานาชาติ ครั้งที่ 26 (26th IAIS Annual Conference 2019) และการประชุ ม อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ระหว่ า งวั น ที่ 13-15 พฤศจิกายน 2562 ณ เมืองอาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โดยมีสมาคมหน่วยงานก�ำกับธุรกิจประกันภัยนานาชาติ (International Association of Insurance Supervisors: IAIS) เป็นเจ้าภาพร่วมกับหน่วยงานก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยของ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE Insurance Authority) โดยการประชุมมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ประเทศสมาชิกได้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านมาตรฐานการก�ำกับดูแลธุรกิจ
62
63
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Objective 1: พัฒนาและยกระดับการก�ำกับ บุคลากรประกันภัยให้เป็นมืออาชีพ
Strategy 4:
ในการขอรับใบอนุญาต การอนุญาต การขึน้ ทะเบียนและ การขอต่ออายุใบอนุญาตเป็นผูป้ ระเมินวินาศภัย การตรวจสอบ และประเมินวินาศภัย พ.ศ. ... เรียบร้อยแล้ว ในการประชุม ครัง้ ที่ 11/ 2462 เมือ่ วันที่ 25 ตุลาคม 2562 ก่อนเสนอประธาน คปภ. ลงนามในประกาศดังกล่าวต่อไป
จากการด�ำเนินงานในหลากหลายโครงการ ได้สร้าง ให้ระบบประกันภัยมีบุคลากรที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอ ในการขับเคลื่อนธุรกิจประกันภัย และยกระดับการก�ำกับ บุคลากรประกันภัยอย่างมืออาชีพ โดยมีการด�ำเนินการ ดังนี้
การเสริมสร้างโครงสร้าง พื้นฐานด้านการประกันภัย
้ ฐาน ส�ำนักงาน คปภ. ได้เล็งเห็นความส�ำคัญในการเสริมสร้างระบบประกันภัย ให้มโี ครงสร้างพืน ที่แข็งแกร่ง และเอื้อต่อการพัฒนาธุรกิจประกันภัย เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดยผ่านหลากหลายโครงการ ดังนี้
Key Result 1 - การแก้ไขปรับปรุงประกาศ คปภ. ที่เกี่ยวข้องกับผู้ประเมินวินาศภัย คณะกรรมการ คปภ. ได้ให้ความเห็นชอบในหลักการ และร่างประกาศ คปภ. เรือ่ ง หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไข
Key Result 2 - พั ฒ นาความรู ้ ด ้ า นวิ ช าการ ประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. ได้ดำ� เนินการการปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตรส�ำหรับบุคลากรประกันภัยทั้งภายในและภายนอก เพื่อพัฒนาความรู้ด้านวิชาการประกันภัย ประกอบด้วย หลักสูตรต่างๆ ดังนี้
1) หลั ก สู ต รวิ ท ยาการประกั น ภั ย ระดั บ สู ง (วปส.) (Thailand Insurance Leadership Program) เพื่อพัฒนาผู้บริหารระดับสูงของภาคธุรกิจประกันภัย และผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในหน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชนมี วิสัยทัศน์ความรู้ความเข้าใจด้านการประกันภัย การบริหาร ความเสี่ยง การเป็นผู้น�ำที่มีคุณธรรมและเสริมสร้างความรู้ ด้านการบริหารจัดการเชิงสร้างสรรค์น�ำองค์กรไปสู่ความ ส� ำ เร็ จ โดยสอดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ ก ารเปลี่ ย นแปลง
ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของโลก รวมทั้งเป็น การสร้างเครือข่ายและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน ให้ประสานงาน ได้อย่างสอดคล้องและพัฒนาการประกันภัย ให้เข้มแข็งในระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยในปี 2562 ได้มีพิธีเปิดการอบรมหลักสูตร วปส. รุ่นที่ 9 ประจ�ำปี 2562 เมือ่ วันที่ 5 กรกฎาคม 2562 ณ ห้องประชุมสถาบันวิทยาการ ประกันภัยระดับสูง โดยได้รบั เกียรติจาก นายประสงค์ พูนธเนศ ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นประธาน
64
65
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
2) หลั ก สู ต รส� ำ หรั บ ผู ้ ก� ำ กั บ ดู แ ลธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย (Insurance Supervisory Curriculum: ISC) เพื่อเสริมสร้างความรู้ด้านการประกันภัย การบริหาร ความเสี่ยง และความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย รวมถึง จรรยาบรรณให้กบั บุคลากรของส�ำนักงาน คปภ. ให้สามารถ น�ำไปประยุกต์ใช้ในการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย ซึ่งได้มี การจัดอบรมหลักสูตรผูก้ ำ� กับดูแลธุรกิจประกันภัย (Insurance Supervisory Curriculum: ISC) รุ่นที่ 1 ให้กับพนักงานใหม่ ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม 2562 ณ โรงแรม สวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด กรุงเทพฯ 3) หลักสูตรการพัฒนาความรู้และศักยภาพส�ำหรับ พนักงานใหม่ จั ด อบรมหลั ก สู ต รการพั ฒ นาความรู ้ แ ละศั ก ยภาพ ส�ำหรับพนักงานใหม่ให้กับพนักงานใหม่จ�ำนวน 70 คน ระหว่างวันที่ 14-30 มกราคม 2562 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ด้านการประกันภัยและทักษะที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติงาน รวมทั้งแชร์ประสบการณ์การท�ำงานจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง โดย ได้รับเกียรติจากท่านศาสตราจารย์ ดร.วรภัทร โตธนะเกษม สถาบันวิจัยและพัฒนาองค์กรภาครัฐ (Institute of Research and Development for Public Enterprises: IRDP) เป็นวิทยากร บรรยาย ณ ห้องประชุมส�ำนักงาน คปภ. ถนนรัชดาภิเษก 4) การจั ด ท� ำ CPD Continuous Professional Development ของนักคณิตศาสตร์ประกันภัยร่วมกับสมาคม นักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย สมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย โดยการสนับสนุนของส�ำนักงาน คปภ. ได้ออกข้อก�ำหนดด้าน การพัฒนาทางวิชาชีพอย่างต่อเนือ่ ง (Continuous Professional Development Requirements: CPD) ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 15 มกราคม 2562 เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณสมบัติ (Qualififfiication Standards) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้แน่ใจว่า นั ก คณิ ต ศาสตร์ ป ระกั น ภั ย ในประเทศไทยมี ก ารพั ฒ นา ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องตามมาตรฐานสากล 5) การประชุมสัมมนาคณะกรรมการสมาคมตัวแทน ประกันชีวิตและที่ปรึกษาการเงินทั่วประเทศเพื่อรับมือธุรกิจ ประกันภัยยุคดิจิทัล ประจ�ำปี 2562 ส� ำ นั ก งาน คปภ. ได้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม สั ม มนาคณะ กรรมการสมาคมตัวแทนประกันชีวิตและที่ปรึกษาการเงิน ทั่วประเทศ ประจ�ำปี 2562 ระหว่างวันที่ 6-8 มีนาคม 2562 ณ โรงแรมราชศุภมิตร อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่ง ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาประกอบด้ ว ย คณะกรรมการสมาคม ตัวแทนฯ จากทั่วประเทศ ผู้บริหารส�ำนักงาน คปภ. และ ผู้เกี่ยวข้องประมาณ 500 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสามัคคี ยกระดับ
จรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ของตัวแทนประกันชีวิต แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ทางวิชาการ พัฒนาความสามารถ ในด้านต่างๆ รวมถึงส่งเสริมกิจกรรมเพือ่ สังคม ซึง่ เลขาธิการ คปภ. ได้มอบนโยบายในการยกระดับมาตรฐานพฤติกรรม ทางการตลาดของธุรกิจประกันภัย คือการพัฒนาช่องทาง การจ�ำหน่าย ส่งเสริม และก�ำกับดูแลให้ตวั แทนประกันชีวิต มีมาตรฐานจรรยาบรรณและแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ใี นการน�ำเสนอ ผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตต่อประชาชน ดูแลประชาชนผู้เอา ประกันภัยภายหลังที่มีการขาย เพื่อให้ประชาชนเกิดความ เชื่อมั่นในระบบประกันภัย เนื่องจากตัวแทนประกันชีวิต ถือเป็นหัวใจส�ำคัญในการส่งเสริมภาพลักษณ์และทัศนคติที่ ดีให้ประชาชนผู้เอาประกันภัย
6) การประชุมวิชาการด้านการประกันวินาศภัย ครัง้ ที่ 1 ประจ�ำปี 2562 ส�ำนักงาน คปภ. ได้เข้าร่วมงานประชุมวิชาการด้าน การประกันวินาศภัย ครั้งที่ 1 ประจ�ำปี 2562 เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2562 ณ ห้องบอลรูม โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพฯ ซึง่ จัดโดยสมาคมประกันวินาศภัยไทย ภายใต้การบูรณาการ ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของประเทศ ทั้งของรัฐและเอกชน จ�ำนวน 12 แห่ง ซึ่งเลขาธิการ คปภ. ได้ กล่าวปาฐกถาพิเศษ ภายใต้หวั ข้อ ‘Dealing with Uncertainty: The Future of Insurance’ โดยมีสาระส�ำคัญคือ การเข้ามาของเทคโนโลยีในธุรกิจ ประกันภัยอันส่งผลให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย จนก่ อ ให้ เ กิ ด ค� ำ ว่ า InsurTech ที่ เ ป็ น การน� ำ เทคโนโลยี มาผสานเข้ากับผลิตภัณฑ์และบริการด้านประกันภัย ซึ่ง ส�ำนักงาน คปภ. ในฐานะเป็นหน่วยงานก�ำกับดูแลด้าน ประกันภัยต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากปัจจัย ต่างๆ จึงต้องปรับวิธกี ารท�ำงานและน�ำเทคโนโลยีมาช่วย เช่น การน� ำ RegTech, SupTech มาใช้ ใ นการก� ำ กั บ ดู แ ล และส่งเสริมให้เกิดผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบใหม่ๆ การตั้ง ศูนย์ CIT เพื่อช่วยพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีประกันภัยและ ส่ ง เสริ ม ภาคธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ให้ น� ำ เทคโนโลยี ป ระกั น ภั ย มาใช้ ให้มากขึ้น
7) การมอบรางวัลการใช้ระบบสินไหมอัตโนมัติดีเด่น ประจ�ำปี 2561 (e-Claim Awards 2018) ส�ำนักงาน คปภ. ร่วมกับบริษทั กลางคุม้ ครองผูป้ ระสบภัย จากรถ จ�ำกัด และสมาคมประกันวินาศภัยไทย จัดให้มพี ธิ กี าร มอบรางวัลการใช้ระบบสินไหมอัตโนมัตดิ เี ด่น ครัง้ ที่ 9 ประจ�ำ ปี 2561 หรือ ‘e-Claim Awards 2018’ รวมทั้งสิ้น 229 รางวัล ให้แก่โรงพยาบาลและเครือข่ายมูลนิธิกู้ชีพ/กู้ภัย และบุคคล ผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วประเทศที่บันทึกข้อมูลในระบบดีเด่นทาง ด้านการจ่ายค่าสินไหมทดแทนผู้ประสบภัยจากรถอย่างมี ประสิทธิภาพด้วยระบบ e-Claim (ระบบสินไหมอัตโนมัติ) เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2562 ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ แกรนด์บอลรูม ชัน้ 4 Centra by Centara Government Complex Hotel & Convention Centre Chaeng Watthana Objective 2: ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา ่ สนับสนุนให้มร ในระบบประกันภัย เพือ ี ะบบประกันภัย ใหม่ๆ
เพือ่ ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมประกันภัยไทย ทั้งด้านองค์ความรู้การก�ำกับ ตรวจสอบ และคุ้มครองสิทธิ ประโยชน์ของผู้เอาประกันภัยในอนาคต ให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น ได้มกี ารด�ำเนินการ ดังนี้
66
67
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ถึงความส�ำคัญของการประกันภัย และเพือ่ พัฒนาเทคโนโลยี ด้านการประกันภัยมาเชื่อมโอกาสธุรกิจประกันภัยในยุค ดิจิทัล โดยมีผู้เข้าร่วมสัมมนากว่า 400 คน เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2562 ณ โรงแรมคอนราด กรุงเทพฯ
Key Result 1 - การจัดประชุมผู้บริหารระดับสูง ด้านการประกันภัย ประจ�ำปี 2562 (CEO Insurance Forum 2019) ส�ำนักงาน คปภ. ได้จัดประชุมผู้บริหารระดับสูงด้าน การประกันภัย ประจ�ำปี 2562 (CEO Insurance Forum 2019) ซึง่ เป็นการผนึกก�ำลังร่วมกันระหว่างส�ำนักงาน คปภ. กับภาค ธุรกิจประกันภัย เพื่อเป็นเวทีการสื่อสารนโยบายการพัฒนา ระบบประกั น ภั ย ไทย แลกเปลี่ ย นความรู ้ ความคิ ด เห็ น และประสบการณ์ ระหว่างผูบ้ ริหารระดับสูงของส�ำนักงาน คปภ. ภาคธุรกิจประกันภัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้ แนวคิด ‘การยกระดับประกันสุขภาพสูอ่ นาคตทีย่ งั่ ยืน’ ได้จดั ให้มีการประชุมกลุ่มย่อยเพื่อระดมความคิดเห็น 2 กลุ่ม คือกลุม่ ที่ 1 หัวข้อ ‘ยกระดับการก�ำกับการประกันภัยสุขภาพ สู่อนาคตที่ยั่งยืน’ และกลุ่มที่ 2 หัวข้อ ‘กรอบแนวทางการ ป้องกันและป้องปรามการฉ้อฉลในการประกันภัยสุขภาพ’ เมื่อวันศุกร์ที่ 29 มีนาคม 2562 ณ โรงแรมดิ แอทธินี โฮเทล กรุงเทพฯ
Objective 3: เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการประกันภัย
เพื่ อ ให้ ร ะบบประกั น ภั ย มี ฐ านข้ อ มู ล กลางด้ า นการ ประกันภัยที่สมบูรณ์ ครบถ้วน เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ธุรกิจประกันภัย และการเชื่อมโยงข้อมูลที่สามารถรองรับ การด�ำเนินงานของหน่วยงานก�ำกับบริษทั ประกันภัย หน่วยงาน เครือข่าย และประชาชนรวมถึงมีการสร้างระบบการบริหาร จัดการข้อมูล Big Data ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส�ำนักงาน คปภ. ได้มีการด�ำเนินการ ดังนี้ Key Result 1 - พัฒนาแอปพลิเคชันส� ำ หรั บ การแจ้งเคลมประกันรถยนต์ ภายใต้ชื่อ ‘Me Claim’ ส�ำนักงาน คปภ. ได้พัฒนาแอปพลิเคชันส�ำหรับการ แจ้งเคลมประกันรถยนต์ ภายใต้ช่ือ ‘Me Claim’ ซึ่งเป็น แอปพลิเคชันกลางให้ประชาชนสามารถแจ้งทัง้ บริษทั ประกันภัย และเจ้าหน้าที่ต�ำรวจเมื่อเกิดเหตุรถชนได้ โดยเป็นการน�ำ ระบบเทคโนโลยีประกันภัยเข้ามาช่วยลดปัญหาจราจรบน ท้องถนนและยังเป็นการต่อยอดโครงการ ‘รถชนแล้ว ถ่ายรูปไว้ แยกได้ ไม่ต้องรอ’ และยังเป็นการเพิ่มความสะดวกสบาย ให้กับประชาชนผู้เอาประกันภัยอีกด้วย
Key Result 2 - จัดประกวด InsurTech Ignite Hackathon ครั้งที่ 2 ส�ำนักงาน คปภ. โดยศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) ร่วมกับสมาคมประกันวินาศภัยไทย สมาคมฟินเทค ประเทศไทย และมีเดียพาร์ตเนอร์จาก Startup Thailand จัดโครงการประกวด InsurTech Ignite Hackathon ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 6-7 เมษายน 2562 ณ อาคาร Knowledge Exchange Center โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุน ให้วงการ InsurTech Startup พัฒนาและต่อยอดนวัตกรรมทาง เทคโนโลยีของกลุ่ม InsurTech นอกจากนี้ เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Startup ด้านเทคโนโลยี กลุ่มนักศึกษา และผู้สนใจได้คิดค้นและ น�ำเสนอแนวคิดด้านเทคโนโลยีที่สามารถพัฒนาและน�ำไปใช้ ได้ จ ริ ง ในอนาคต ที ม ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ ได้ น� ำ เสนอ การพัฒนา Mobile Application ที่มีระบบ Telemedicine เพื่อ มุ่งหวังให้ลดค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาล และส่งผลให้บริษัท ประกันภัยลดค่าใช้จ่ายการด�ำเนินงานลงได้ด้วย InsurTech
Key Result 2 – จัดประชุมสัมมนาวิชาการด้าน การประกันภัย (Thailand Insurance Symposium) ประจ�ำปี 2562 ส�ำนักงาน คปภ. ได้จดั ประชุมสัมมนาวิชาการด้านการ ประกันภัย (Thailand Insurance Symposium) ประจ�ำปี 2562 ภายใต้แนวคิด ‘Proactive InsurTech for National Sustainability’ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ ด ้ า นการประกั น ภั ย การพัฒนาเทคโนโลยีให้กับบุคลากรประกันภัย หน่วยงาน ภาครัฐ หน่วยงานภาคเอกชน และภาคประชาชนได้ตระหนัก
68
69
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 5 - จัดงานสัมมนา InsurTech 2019 ส�ำนักงาน คปภ. ได้จดั งานสัมมนา InsurTech 2019 เพื่อ แลกเปลีย่ นความรูด้ า้ นเทคโนโลยีประกันภัย ระหว่างหน่วยงาน ก�ำกับดูแลกลุ่มธุรกิจประกันภัย กลุ่มเทคโนโลยีประกันภัย และกลุม่ ผูบ้ ริหารธุรกิจด้านต่างๆ น�ำไปสูก่ ารพัฒนานวัตกรรม ด้านเทคโนโลยีประกันภัย และต่อยอดธุรกิจประกันภัยของไทย โดยมีวิทยากรทั้งในประเทศและต่างประเทศมาถ่ายทอด ประสบการณ์ในหัวข้อที่น่าสนใจ อาทิ Building an Effective Employee Beneffiifits and Healthcare Ecosystem, Recent Development in InsurTech, PasarPolis’s Mission to Democratize Microinsurance in SEA, How to Unicorns in Tech Business รวมถึงประเด็นที่ได้รับความสนใจอยู่ใน ขณะนี้คือ Facebook Libra’s Cryptocurrency Case Study: Any Opportunity or Threats to Insurance Market or InsurTech ณ โรงแรมทีเค พาเลซ แอนด์ คอนเวนชั่น จังหวัดนนทบุรี Key Result 6 - เข้าร่วมงาน Bangkok FinTech Fair 2019 ส�ำนักงาน คปภ. ได้เข้าร่วมงาน Bangkok FinTech Fair 2019 ภายใต้แนวคิด Collaboration for the Future of Finance ซึ่งจัดขึ้นโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ 18-19 กรกฎาคม 2562 ณ อาคารศูนย์การเรียนรู้ ธนาคาร แห่งประเทศไทย โดยมีหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน สถาบันการเงิน และบริษัทเทคโนโลยีเข้าร่วม เพื่อแสดง พัฒนาการและความคืบหน้าด้านเทคโนโลยีทางการเงิน และการพัฒนานวัตกรรมทางการเงินในอนาคต และการเสวนา จากผู้เชี่ยวชาญด้ า นต่ า งๆ เพื่ อ แลกเปลี่ ย นมุ ม มองและ ประสบการณ์ในการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในมิตติ ่างๆ รวมทั้งส�ำนักงาน คปภ. ได้ร่วมออกบูธนิทรรศการ เชิงวิชาการ โดยน�ำเสนอนวัตกรรม ‘OIC Gateway’ ซึ่งเป็น แพลตฟอร์มให้บริการเชือ่ มโยงข้อมูล ทัง้ อุตสาหกรรมประกันภัย เชื่อมต่อระหว่างส�ำนักงาน คปภ. บริษัทประกันภัย และ ประชาชน เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลและบริการถึงกันได้อย่าง สะดวกและปลอดภัย โดยเบือ้ งต้นได้พฒ ั นา Mobile Application ด้านคนกลางประกันภัยขึ้น เพื่อเพิ่มช่องทางการแจ้งข้อมูล ข่าวสารด้านประกันภัยให้กบั ประชาชนและคนกลางประกันภัย
ผลิตภัณฑ์ (Product Development) และกลุ่มนักพัฒนาเทคโนโลยี (Developer) ได้รบั ความรูค้ วามเข้าใจในเรือ่ งของการประกันภัยรถยนต์ เพือ่ ให้สามารถน�ำความรูไ้ ปสร้าง ‘ไอเดีย’ หรือ ‘นวัตกรรม’ ใหม่ๆ ด้านเทคโนโลยีการประกันภัยรถยนต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง น�ำเทคโนโลยีมาพัฒนาและต่อยอดอุตสาหกรรมการประกันภัย
Key Result 3 - จัดอบรมความรูพ ้ ื้นฐาน ส�ำหรับ Startup หลักสูตร Panorama Motor Insurance for Startup ที่มุ่งเน้นไปที่การ ประกันภัยรถยนต์ ส� ำ นั ก งาน คปภ. โดยศู น ย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) จัดอบรมความรู้ด้าน การประกันภัยพื้นฐานส�ำหรับ Startup หลักสูตร Panorama Motor Insurance for Startup ที่มุ่งเน้น การประกันภัยรถยนต์ ระหว่างวันที่ 20-21 มีนาคม 2562 ณ ห้องประชุม ชั้น 2 สถาบันวิทยาการ ประกั น ภั ย ระดั บ สู ง ส� ำ นั ก งาน คปภ. โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่ม Startup กลุ่มนักพัฒนา
Key Result 4 - พัฒนาระบบฐานข้อมูลการประกันภัย (Insurance Bureau System) ส�ำนักงาน คปภ. ได้ศกึ ษาและจัดท�ำโครงการพัฒนาระบบฐาน ข้อมูลการประกันภัย (Insurance Bureau System) เพื่อเป็นศูนย์กลาง ข้อมูลด้านการประกันภัย และสนับสนุนการก�ำกับดูแลและส่งเสริม ธุรกิจประกันภัย ด้านการด�ำเนินงานของบริษทั ประกันภัย เพือ่ รองรับ การผ่อนคลายการก�ำกับอัตราเบีย้ ประกันภัยในอนาคต โดยส�ำนักงาน คปภ. ได้มีค�ำสั่งที่ 455/2561 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน การบริหารจัดการฐานข้อมูลกลางด้านการประกันภัย โดยมีเลขาธิการ คปภ. เป็นประธาน เพือ่ ท�ำหน้าทีจ่ ดั ท�ำแนวทาง ในการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีประกันภัย โดยขณะนีส้ ำ� นักงาน คปภ. อยู่ระหว่างด�ำเนินการน�ำข้อมูลด้านการประกันวินาศภัย ปี 2556-2560 เข้าจัดเก็บบนฐานข้อมูล Insurance Bureau และท�ำ Data Cleansing เพื่อให้ฐานข้อมูลของ Insurance Bureau System ถูกต้องและสมบูรณ์ 70
71
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
นอกจากนี้ยังได้น�ำเสนอเกี่ยวกับ ‘Flood Risk’ ซึ่งเป็น แผนที่แสดงผลกระทบจากอุทกภัย โดยแสดงความเสี่ยง ความรุนแรง ผลกระทบต่อผู้เอาประกันในประเทศ และ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมประกันภัยที่เกิดขึ้นกับทรัพย์สิน ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศไทย Key Result 7 - จัดอบรมหลักสูตร ‘การสร้างความ ตระหนั ก ด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห าร ระดับสูง’ ส�ำนักงาน คปภ. ได้จัดอบรมหลักสูตร ‘ฝึกอบรม เพือ่ สร้างความตระหนักด้านความมัน่ คงปลอดภัย (Information Security Awareness Training for Management) ส�ำหรับ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ’ เพื่ อ ให้ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน คปภ. ได้ รู ้ เ ท่ า ทัน ภัย คุก คามทางไซเบอร์ โดยมี ท่ า นอาจารย์ ปริญญา หอมอเนก ให้เกียรติเป็นวิทยากร เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2562 ณ ห้องประชุมสถาบันวิทยาการประกันภัย ระดับสูง ส�ำนักงาน คปภ. Key Result 8 - จัดโครงการ InsurTech Boot Camp 2019 และ ‘OIC InsurTech Award 2019’ ส�ำนักงาน คปภ. โดยศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) ได้จัดโครงการ InsurTech Boot Camp 2019 พร้อมจัดกิจกรรม CIT Roadshow เดินสายให้ความรู้ ด้ า นเทคโนโลยี ก ารประกั น ภั ย ให้ กั บ นิ สิ ต และนั ก ศึ ก ษา ในมหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ห ลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนเกี่ ย วกั บ การประกันภัยโดยตรง จ�ำนวน 4 สถาบัน ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยมหิดล (วิทยาเขตพญาไท) และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมชวน ให้ เ ข้ า ประกวดนวั ต กรรมเทคโนโลยี ด ้ า นการประกั น ภั ย ‘OIC InsurTech Award 2019’ ภายใต้โจทย์ ‘การพัฒนา นวัตกรรมเพื่อการประกันสุขภาพ’ ชิงรางวัลมูลค่ารวมกว่า 400,000 บาท ในงานสัปดาห์ประกันภัย ประจ�ำปี 2562 ซึ่งได้จดั ขึ้นระหว่างวันที่ 27–29 กันยายน 2562 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
ได้งา่ ย สะดวก และรวดเร็วมากยิง่ ขึน้ ส�ำนักงาน คปภ. โดยศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) ร่วมกับสายตรวจสอบ คนกลางประกันภัย ได้พัฒนา Mobile Application เพื่อ สนับสนุนงานด้านการก�ำกับดูแลคนกลางประกันภัย ได้แก่ 1. การดูข้อมูลทะเบียนใบอนุญาตตัวแทน/นายหน้า ประกันภัยของตนเองได้ 2. มีระบบการแจ้งเตือนให้ต่ออายุใบอนุญาตส�ำหรับ ตัวแทน/นายหน้าประกันภัยล่วงหน้า 3. ดูข้อมูลเรื่องร้องเรียนที่ตนเองได้รับได้ 4. ดูข้อมูลชั่วโมงการฝึกอบรมของตนเองได้ 5. ประชาชนสามารถตรวจสอบสถานะของตัวแทน/ นายหน้าประกันภัยได้ Key Result 10 - พัฒนาระบบตอบค�ำถามอัตโนมัติ OIC Chatbot ส�ำนักงาน คปภ. โดยศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) ร่วมกับสายคุ้มครองสิทธิประโยชน์ จัดท�ำระบบตอบ ค�ำ ถามอัต โนมัติ (Chatbot) โดยมีวัต ถุป ระสงค์ เ พื่อ เพิ่ม ช่องทางในการตอบปัญหาด้านการประกันภัยให้แก่ประชาชน และแบ่งเบาภาระของสายด่วน 1186 พร้อมทัง้ มีการเชือ่ มโยง การท�ำงานเข้ากับแอปพลิเคชัน LINE เพื่อให้ประชาชน สามารถเข้าถึงได้ง่าย Key Result 11 - พัฒนาแอปพลิเคชันส�ำหรับ การค�ำนวณทุนประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. โดยศูนย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) ร่วมกับฝ่ายวิศวกรรมประกันภัย พัฒนาแอปพลิเคชัน ส�ำหรับการค�ำนวณทุนประกันภัย เพื่อให้บริษัทประกันภัย และผู ้ เ อาประกั น ภั ย มี แ อปพลิ เ คชั น ใช้ เ ป็ น แนวทางใน การสืบค้นข้อมูลและค�ำนวณทุนประกันภัยส�ำหรับอาคาร และเครื่องจักรในเบื้องต้นได้ ซึ่งแอปพลิเคชันดังกล่าว ได้มี การพัฒนา 2 ส่วน คือการค�ำนวณทุนประกันภัยส�ำหรับ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง และการค�ำนวณทุนประกันภัย ส�ำหรับเครื่องจักร
Key Result 9 - พัฒนา Mobile Application เพือ่ สนับสนุนงานด้านการก�ำกับดูแลคนกลางประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการน�ำ เทคโนโลยี เ ข้ า มาใช้ ป ระโยชน์ แ ละเป็ น เครื่ อ งมื อ ใน การปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นางานการบริ ก ารประชาชนและ คนกลางประกันภัยให้มีประสิทธิภาพและเป็นระบบมาก ยิง่ ขึน้ รวมถึงสามารถเข้าถึงข้อมูลเกีย่ วกับคนกลางประกันภัย
ความเชือ่ มัน่ ให้กบั นักท่องเทีย่ วชาวต่างประเทศทีจ่ ะเดินทาง เข้ามาในประเทศไทย ในการใช้ระบบประกันภัยเป็นเครือ่ งมือ ทีช่ ่วยลดความเสีย่ งภัยหรือบรรเทาความสูญเสียและความ เสียหาย หากเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด อีกทัง้ ยังช่วยส่งเสริม ภาพลักษณ์ทดี่ แี ละยกระดับการท่องเทีย่ วให้กบั ประเทศไทย ในสภาวะการแข่งขันกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก
Objective 4: ผลั ก ดั น ให้ ก ารประกั น ภั ย เป็นเครื่องมือบริหารความเสี่ยง
สร้างองค์ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับประกันภัยทีถ่ กู ต้อง เพือ่ ผลักดันสร้างความเข้าใจในการใช้ประกันภัยเป็นเครือ่ งมือ บริหารความเสี่ยงอย่างกว้างขวาง และให้ประชาชนได้รับ สิทธิประโยชน์จากการประกันภัยอย่างรวดเร็ว และสามารถ ออกแบบชีวิตที่เหมาะสมในแบบของตัวเองได้
Key Result 3 - การบูรณาการร่วมกับกระทรวง สาธารณสุข ใช้ ‘ประกันสุขภาพ’ บริหารความเสี่ยง นักท่องเทีย่ วต่างชาติแบบ Long Stay เลขาธิการ คปภ. ร่วมแถลงข่าวกับ ดร.สาธิต ปิตเุ ตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายนภินทร ศรีสรรพางค์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงการท่องเที่ยว และกี ฬ า พล.ต.ต.ณฐพล แสวงกิ จ รองผู ้ บั ญ ชาการ ส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง นพ.ธเรศ กรัษนัยวิวงค์ อธิบดี กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และ นายสรยุทธ ชาสมบัติ รองอธิบดีกรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ เกีย่ วกับ การท�ำประกันสุขภาพส�ำหรับคนต่างด้าวผู้ขอรับการตรวจ ลงตรา (วีซ่า) ประเภทคนอยู่ช่วั คราว Non-Immigrant Visa รหัส O-A (ระยะ 1 ปี) เมือ่ วันที่ 9 ตุลาคม 2562 ซึง่ ในส่วนความรับผิดชอบของ ส�ำนักงาน คปภ. นัน้ เลขาธิการ คปภ. ในฐานะนายทะเบียน ได้ให้ความเห็นชอบแบบและข้อความหลักฐานแสดงการ ประกันภัยส�ำหรับคนต่างด้าว ผูข้ อรับการตรวจลงตราประเภท คนอยูช่ วั่ คราว Non-Immigrant Visa รหัส O-A ระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี (Insurance Certififfiicate) โดยกรมธรรม์ประกันสุขภาพ ดังกล่าวจะต้องระบุความคุม้ ครองจ�ำนวนเงินเอาประกันภัย ส�ำหรับค่ารักษาพยาบาล ในกรณีผู้ป่วยนอก ไม่ต�่ำกว่า 40,000 บาทต่อปี และกรณีผปู้ ว่ ยในไม่ตำ�่ กว่า 400,000 บาท ต่อปี ส่วนกรณีผขู้ อรับการตรวจลงตราประเภทคนอยูช่ วั่ คราว ที่มีกรมธรรม์ประกันสุขภาพจากต่างประเทศอยู่แล้ว ความ คุ้มครองในกรมธรรม์ประกันภัยสุขภาพต้องมีจ�ำนวนเงิน เอาประกันภัยส�ำหรับกรณีผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในไม่น้อย กว่าเกณฑ์ท่กี �ำหนดไว้ข้างต้นเช่นเดียวกัน โดยเริ่มบังคับใช้ หลักเกณฑ์นตี้ งั้ แต่วนั ที่ 31 ตุลาคม 2562 เป็นต้นไป
Key Result 1 - โครงการประกันภัยข้าวนาปีและข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ ปีการผลิต 2562 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบโครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2562 โดยก�ำหนดเป้าหมายสูงสุด ไม่เกิน 30 ล้านไร่ และภาครัฐให้การสนับสนุนค่าเบีย้ ประกันภัย จ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 1,740.6 ล้านบาท และโครงการประกันภัยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปีการผลิต 2562 ซึ่งเป็นการด�ำเนินโครงการปีแรก ก�ำหนด พื้นที่เป้าหมายไม่เกิน 3 ล้านไร่ โดยภาครัฐให้การสนับสนุน ค่าเบีย้ ประกันภัย จ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 121.80 ล้านบาท เมือ่ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2562 นายทะเบียนได้ให้ความเห็นชอบแบบ และข้อความกรมธรรม์ประกันภัยและอัตราเบี้ยประกันภัย ข้าวนาปี ปีการผลิต 2562 และแบบและข้อความกรมธรรม์ ประกันภัยและอัตราเบีย้ ประกันภัยข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ปีการผลิต 2562 แล้ว Key Result 2 - โครงการประกันภัยการเดินทาง ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วชาวต่างชาติ (Thailand Travel Shield) ส�ำนักงาน คปภ. เข้าร่วมเป็นสักขีพยานลงนามบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือในโครงการประกันภัย การเดินทาง ส�ำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (Thailand Travel Shield) เมือ่ วันที่ 2 เมษายน 2562 ณ ส�ำนักงานส่งเสริมการท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทย (ททท.) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ กรุงเทพฯ โดยโครงการดังกล่าวได้เริ่มด�ำเนินงานตั้งแต่ปี 2557 ซึ่งนับ เป็นจุดเริ่มต้นส�ำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการน�ำนโยบาย ด้านความปลอดภัยทางการท่องเทีย่ วไปสูเ่ ชิงปฏิบตั เิ พือ่ สร้าง
Objective 5: เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพของ หน่วยงานก�ำกับ
ด้วยความต้องการเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรม ประกันภัยให้แข็งแกร่งมากขึน้ ส�ำนักงาน คปภ. มีการด�ำเนิน งานเสริมสร้างศักยภาพของหน่วยงานก�ำกับให้มากขึน้ เพือ่ ความพร้อมในการรองรับความท้าทายของอุตสาหกรรม ประกันภัยที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยด�ำเนินการ ดังนี้
72
73
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Key Result 1 - ผลักดันร่างกฎหมายแม่บทว่าด้วยการประกันภัย ส�ำนักงาน คปภ. ด�ำเนินการปรับปรุงกฎหมายแม่บทว่าด้วยการประกันภัย ซึง่ เป็นการยกร่างพระราชบัญญัตปิ ระกันชีวติ พ.ศ. ... และพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. ... ขึ้นทั้งฉบับ โดยมีวัตถุประสงค์สำ� คัญเพื่อแก้ไขปัญหาอันเกิดจากการ บังคับใช้กฎหมายในปัจจุบัน ปรับปรุงมาตรฐานการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และปรับปรุง มาตรฐานการก�ำกับดูแลให้เป็นไปในลักษณะเดียวกันกับหน่วยงานก�ำกับสถาบันการเงินอื่น ซึง่ ส�ำนักงานได้นำ� ร่างกฎหมาย ดังกล่าว เสนอต่อคณะกรรมการ คปภ. และได้รบั ความเห็นชอบในหลักการตามที่ส�ำนักงาน คปภ. เสนอ โดยการจัดหมวดหมู่ ของประเด็นการแก้ไขกฎหมาย และแยกเป็นการแก้ไขกฎหมายฉบับเพิ่มเติม เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในกระบวนการ ตรากฎหมาย โดยแบ่งกลุ่มตามเนื้อหาบทบัญญัติที่มีความเกี่ยวข้องกันออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1) กลุ่มบทบัญญัติท่มี ุ่งเน้นให้ความคุ้มครองประชาชนโดยตรง กลุ่มที่ 2) กลุ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการเสริมเสถียรภาพและความมั่นคงของบริษัท
สถานะความคืบหน้าของร่างกฎหมายในแต่ละกลุ่ม กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 2
กลุ่มที่ 3
ได้ ป ระกาศในราชกิ จ จานุ เบกษา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2562 ซึ่งพระราชบัญญัตินี้ จะมี ผลใช้บงั คับเมือ่ พ้นกําหนด 180 วัน นั บ แต่ ป ระกาศในราชกิ จ จานุเบกษาเป็นต้นไป ซึง่ จะตรงกับวัน ที่ 21 พฤศจิกายน 2562 ทั้งนี้ ใน ส่วนของกฎหมายลําดับรองที่ออก ตามพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับ สํานักงาน คปภ. อยู่ในระหว่าง ยกร่างเพื่อประกาศใช้บังคับต่อไป
อยู่ระหว่างการพิจารณาของ คณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงาน คปภ. ได้อยูใ่ นกระบวนการเข้าชีแ้ จง ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ทั้ ง 2 ฉบั บ ต่อคณะกรรมการกฤษฎีกา และได้ จั ด ทํ า ร่ า งหลั ก การของกฎหมาย ลําดับรองทีจ่ ะออกตามร่างพระราชบัญญัติทั้ง 2 ฉบับดังกล่าว เพื่อ ประกอบการชีแ้ จงกับคณะกรรมการ กฤษฎีกาเรียบร้อยแล้ว โดย ณ วันที่ 26 กันยายน 2562 ได้พิจารณาวาระ แรก ซึ่งเป็นการพิจารณาหลักการ และเหตุผลรายมาตราเสร็จสิ้นแล้ว ทัง้ นีฝ้ า่ ยเลขานุการของคณะกรรมการ กฤษฎีกาจะเป็นผู้ปรับแก้ไขถ้อยค�ำ ให้สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล เพื่ อ น� ำ เสนอต่ อ คณะกรรมการ กฤษฎีกาพิจารณาในวาระสองต่อไป
สํานักงาน คปภ. ได้เสนอไปที่ กระทรวงการคลั ง แล้ ว และอยู ่ ระหว่างการพิจารณาของกระทรวง การคลั ง เพื่ อ เสนอคณะรั ฐ มนตรี พิจารณาต่อไป
Key Result 2 - จัดท�ำพระราชบัญญัติประกันภัย ทางทะเล ส�ำนักงาน คปภ. ได้เสนอร่างพระราชบัญญัตปิ ระกันภัย ทางทะเล ซึ่งผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ คปภ. ในปี 2559 และได้แก้ไขปรับปรุงเอกสารประกอบร่างกฎหมาย ว่าด้วยการประกันภัยทางทะเล ตามความเห็นและข้อเสนอแนะ ของกระทรวงการคลัง กล่าวคือ แก้ไขปรับปรุงบันทึกวิเคราะห์ สรุปประกอบร่างกฎหมาย หลักเกณฑ์การตรวจสอบความ จ�ำเป็นในการตราพระราชบัญญัติ รวมทัง้ สรุปผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ ผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการตรากฎหมายฉบั บ ดั ง กล่ า ว โดยส�ำนักงาน คปภ. ได้เสนอร่างพระราชบัญญัติประกันภัย ทางทะเล ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบในหลักการ เป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว ขณะอยู ่ ร ะหว่ า งการพิ จ ารณาของ ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โดย ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2562 ได้พิจารณาวาระแรก ซึ่งเป็นการพิจารณาหลักการ และเหตุผลรายมาตราเสร็จสิ้นแล้ว ทั้งนี้ฝ่ายเลขานุการ ของคณะกรรมการกฤษฎี ก าจะเป็ น ผู ้ ป รั บ แก้ ไ ขถ้ อ ยค� ำ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก การและเหตุ ผ ลเพื่ อ น� ำ เสนอต่ อ คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาในวาระสองต่อไป
Key Result 4 - เข้ารับการประเมินภาคการเงิน สาขาการประกันภัย (Financial Sector Assessment Program: FSAP) ส�ำนักงาน คปภ. ได้ด�ำเนินการเตรียมความพร้อมมา อย่างต่อเนือ่ งในการเข้ารับการประเมิน โดยปรับปรุงกฎกติกา ต่ า งๆ ให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานสากล รวมทั้ ง ประชุ ม ท�ำความเข้าใจกับภาคธุรกิจประกันภัยไทย ซึง่ คณะผูป้ ระเมิน ภาคการเงินจาก World Bank และ IMF ได้เข้ามาประเมิน การก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยของประเทศไทยเปรียบเทียบ กับมาตรฐานการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย (Insurance Core Principles: ICPs) 26 ข้อ ระหว่างวันที่ 6-22 กุมภาพันธ์ 2562 ซึ่ ง ทางคณะผู ้ ป ระเมิ น ได้ มี ก ารประเมิ น กฎหมาย กฎระเบียบ การบังคับใช้กฎหมาย และการด�ำเนินงานของ ส�ำนักงาน คปภ. ในการก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย รวมทั้ง การประชุมหารือแลกเปลีย่ นความคิดเห็นร่วมกับผูม้ สี ว่ นได้เสีย เกีย่ วกับธรรมาภิบาล การบริหารความเสีย่ ง ตลาดประกันภัย ในประเทศไทย รวมถึงมุมมองกฎระเบียบและการก�ำกับดูแล ซึ่งมีผลการประเมินอย่างเป็นทางการปรากฏว่า ระบบการ ก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยของไทยผ่านการประเมินตาม ICPs ทุกข้อ ซึง่ มีจำ� นวนทัง้ หมด 26 ข้อ และได้คะแนนอยูใ่ นระดับดี เทียบชั้นประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึง่ เมือ่ เปรียบเทียบกับผลการประเมินของประเทศอืน่ ๆ ทีไ่ ด้รบั การประเมินแล้ว ประเทศไทยอยูใ่ นล�ำดับที่ 4 ของโลก และเป็นล�ำดับที่ 2 ของภูมภิ าคอาเซียน ในจ�ำนวนนีผ้ ่านการ ประเมินในระดับ Observed (O) ซึ่งเป็นระดับสูงสุด จ�ำนวน 10 ข้อ ผ่านการประเมินระดับ Largely Observed (LO) จ�ำนวน 12 ข้อ และผ่านการประเมินระดับ Partly Observed (PO) จ�ำนวน 4 ข้อ โดยไม่มขี ้อใดที่ประเมินไม่ผ่าน
Key Result 3 - จัดสัมมนาโครงการท�ำความเข้าใจ หลักการของร่างกฎหมายแม่บทด้านการประกันภัย (กลุ่ม 1) ส�ำนักงาน คปภ. ได้จดั สัมมนาโครงการท�ำความเข้าใจ หลักการของร่างกฎหมายแม่บทด้านการประกันภัย (กลุ่ม 1) ที่ผ่านการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2560 ณ โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด กรุงเทพฯ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมการสัมมนาประมาณ 370 คน โดยประกอบไปด้ ว ยผู ้ แ ทนจากสมาคมธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย บริษัทประกันภัย ตัวแทนและนายหน้าประกันภัย ผู้ประเมิน วินาศภัย และบริษัทที่ปรึกษากฎหมายและบัญชี
74
75
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
กลุ่มที่ 3) กลุ่มบทบัญญัตเิ กีย่ วกับการส่งเสริมการควบ โอนกิจการ Key Result 6 - ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ผ่านระบบ Integrity and Transparency Assessment (ITA) ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2564 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2561 เห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐทุกหน่วยงาน ให้ความร่วมมือ และเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ผ่านระบบ Integrity and Transparency Assessment (ITA) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2564 โดยใช้แนวทางและเครื่องมือการประเมินตาม ที่ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ (ป.ป.ช.) โดยปีนี้เป็นครั้งแรกที่ส�ำนักงาน คปภ. เข้าร่วมการ ประเมิน ITA และเป็นครั้งแรกที่ส�ำนักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มีการ ทบทวนการประเมิน ITA ในหลายด้านเพือ่ พัฒนาการประเมิน ITA ให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะการประเมินผ่านทาง ระบบออนไลน์เป็นปีแรก ซึ่งให้ความส�ำคัญในการพัฒนา เกณฑ์ ก ารประเมิ น ให้ เ กิ ด การสนั บ สนุ น ต่ อ การยกระดั บ ค่าคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรม และเมือ่ วันที่ 17 ตุลาคม 2562 ส�ำนักประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้ประกาศผลคะแนน การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ ITA ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยมีหน่วยงานภาครัฐและองค์กรส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมการ ประเมินทั้งสิ้น 8,299 หน่วยงาน ซึ่งส�ำนักงาน คปภ. ได้รบั ผลการประเมินเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 87.95 ซึ่งจัดอยู่ในระดับ เกรด A ตามเกณฑ์ประเมิน ITA
Key Result 5 - การเข้ารับรางวัลเลิศรัฐ สาขา บริการภาครัฐ ประจ�ำปี พ.ศ. 2562 ประเภทพัฒนาการ บริการ ส�ำนักงาน คปภ. ได้รบั รางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ ประจ� ำ ปี พ.ศ. 2562 ประเภทพั ฒ นาการบริ ก าร จาก นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ในงานสัมมนา วิชาการและมอบรางวัลเลิศรัฐ ประจ�ำปี 2562 ‘Shift to the Future: ภาครัฐปรับ อนาคตเปลี่ยน’ เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2562 ณ ห้องรอยัล จูบิลี่ บอลรูม อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี จัดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ (ก.พ.ร.) ซึ่งจัดให้มีการตรวจประเมินหน่วยงาน ของรัฐทีม่ ผี ลงานการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบตั ริ าชการ และการให้บริการประชาชนได้อย่างโดดเด่น เพื่อเข้ารับ การพิจารณามอบรางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ ประจ�ำปี พ.ศ. 2562 ซึง่ ส�ำนักงาน คปภ. ได้สง่ ผลงานในความรับผิดชอบ ของสายคุ้มครองสิทธิประโยชน์ และส�ำนักนายทะเบียน คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จ�ำนวน 4 ผลงาน โดยส�ำหรับปีนเี้ ป็นปีแรกทีส่ ำ� นักงาน คปภ. ร่วมส่งผลงาน และเป็นปีทมี่ หี น่วยงานภาครัฐส่งผลงานเข้ารับการพิจารณา เป็นจ�ำนวนมากกว่าทุกปี โดยมีคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ร่วมพิจารณาคัดเลือกตามหลักเกณฑ์การพิจารณารางวัลเลิศรัฐ อย่างเข้มข้น โดยส�ำนักงาน คปภ. สามารถคว้ารางวัลบริการ ภาครัฐระดับดี ประเภทพัฒนาการบริการ ผลงานงานไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทด้านการประกันภัยมาได้
76
77
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Learning in the Age of Disruption ใ น โ ล ก ที่ ค ว า ม เ ร็ ว ข อ ง เ ทคโนโลยี กลายเป็ นโจทย์ใหญ่ ที่ เ ข้ า มา disrupt สร้ า งความ เ ปลี่ ย นแปลงให้ กั บ ทุ ก วงการ ไ ม่ ว่ า จะเป็ นภาคธุ ร กิ จ บั น เทิ ง บริการ อุตสาหกรรม หรือแม้แต่ ประกันภัย การเปลีย ่ นแปลงของ เ ทคโนโลยี ก ลายเป็ น โจทย์ ใ หญ่ ที่ ทุ ก องค์ ก รต้ อ งน� ำ มาขบคิ ด เ พื่ อ ปรั บ ตั ว รั บ มื อ และสร้ า ง โอกาสกับความเร็วทีว ่ ่าให้ทัน บ ริ ษั ท ใหญ่ ๆ ที่ คุ้ น ชิ น กั บ จั ง หวะความส� ำ เร็ จ แบบเดิ ม ๆ ต้ อ งลุ ก ขึ้ น มาออกแบบวิ ธี ก าร ท� ำ งานใหม่ สร้ า งวั ฒ นธรรม ที่ พ ร้ อ มเปิ ด รั บ การเรี ย นรู้ และ เพิ่ มความคล่องตัวให้กับองค์กร เพื่อทีจ ่ ะสามารถก้าวน�ำเทคโนโลยี โลกแห่งความเปลี่ยนแปลง ที่ความส�ำเร็จและความล้มเหลว เกิดขึน ้ รายวินาที เป็นดังก�ำแพง ปัญหาใหญ่ทอ ่ี าจท�ำให้บางคนท้อใจ
แ ต่ ส� ำ ห รั บ ด ร . สุ ท ธิ พ ล ทวีชย ั การ เลขาธิการคณะกรรมการ ก� ำ กั บ และส่ ง เสริ ม การประกอบ ธุรกิจประกันภัย (คปภ.) กลับไม่คด ิ แบบนัน ้ โลกเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล กลั บ เ ป็ น ค ว า ม ท้ า ท า ย ที่ น่ า ตื่ น เ ต้ น ซึ่ ง เ ข า ม อ ง ว่ า ทุ ก ภ า ค ส่ ว น ใ น ธุ ร กิ จ ป ร ะ กั น ภั ย ส า ม า ร ถ ใ ช้ ประโยชน์จากสิ่งนี้เพื่ อก้าวต่อไป ในอนาคตได้ “จะเห็นว่าทีผ ่ า่ นมาผลิตภัณฑ์ ประกั น ภั ย จะเป็ น รู ป แบบ One -size-fits-all เหมื อ นการซื้ อ เ สื้ อ โ ห ล ใ น ข ณ ะ ที่ ปั จ จุ บั น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ร ะ กั น ภั ย ค ว ร จ ะ ต้องถูกคิดแบบ Tailor-made ทีอ ่ อกแบบให้เหมาะเฉพาะบุคคล” นีค ื บทสัมภาษณ์ทจ ี่ ะเปิดเผย ่ อ แนวคิดการท�ำงานของหัวเรือใหญ่ แห่งองค์กรที่ท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแล ธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย อย่ า ง คปภ.
ว่าเขามีวิธีการอย่างไร ทีจ ่ ะน�ำพา อ ง ค์ ก ร ข้ า ม ผ่ า น ก ร ะ แ ส ธ า ร การเปลี่ยนแปลงของโลกดิจิทัล ในวันนีแ ้ ละอนาคต
“ที่ ผ่ า นมาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ประกันภัยจะเป็นรูปแบบ One-size-fi ts -all เหมื อ นการซื้ อ เสื้ อ โหล ใ น ข ณ ะ ที่ ปั จ จุ บั น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ร ะ กั น ภั ย ควรจะต้ อ งถู ก คิ ด แบบ Tailor-made”
80
81
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Q: เทคโนโลยี เ ข้ า มามี ผ ลกระทบต่ อ ธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย อย่างไรบ้าง
ที่พึงปฏิบัติเท่าที่จ�ำเป็นและส่งต่อให้ผู้ด�ำเนินการน�ำไปใช้ ตามหลักทีเ่ ราก�ำหนดไว้ โดยเรามีหน้าทีค่ อยมอนิเตอร์ เพราะมีตวั อย่างจากหลายประเทศทีผ่ มู้ อี ำ� นาจก�ำกับดูแล เอากติกาทีต่ งึ เกินไปมาบังคับใช้ และพอออกมาแล้วไม่สามารถ รองรับการเปลีย่ นแปลงได้ แทนทีจ่ ะเป็นผลดีตอ่ ธุรกิจก็กลาย เป็นผลเสียแทน เราต้องออกกติกาอย่างไรให้มองเผือ่ ไปข้างหน้า อันนี้เป็นโจทย์ใหญ่
A: ประชาชนต้องได้รับการบริการที่ถูกต้องตรงจุด ค�ำถามส�ำคัญที่เราต้องถามคือบริการประกันภัยในปัจจุบัน จะรองรับความเปลี่ยนแปลงในอนาคตหรือไม่ จะเห็นว่าที่ ผ่านมาผลิตภัณฑ์ประกันภัยจะเป็นรูปแบบ One-size-ffiits-all เหมือนการซื้อเสื้อโหล ในขณะที่ปัจจุบัน ประกันภัยควรจะ ต้องถูกคิดแบบ Tailor-made ทีอ่ อกแบบให้เหมาะเฉพาะบุคคล แต่แนวคิดแบบนี้ ถ้าเป็นในอดีตเราไม่สามารถท�ำได้เลย เพราะ ไม่มีตัวช่วย การจะท�ำผลิตภัณฑ์แบบ Tailor-made ต้องมี ค่าใช้จา่ ยมหาศาล แต่ปจั จุบนั เทคโนโลยีเข้ามาแก้ไขตรงจุดนี้ เรามีข้อมูล Big Data ที่เก็บได้จาก Facebook, Google หรือ จากช่องทางอื่นๆ ที่สามารถเก็บรวบรวมได้แบบ Real Time จึงสามารถน�ำมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัย ที่เหมาะกับสมกับแต่ละบุคคลได้ง่ายขึ้น อันนี้เป็นที่มาของ การทีเ่ ทคโนโลยีเข้ามาเปลีย่ นแปลงการใช้ชวี ติ แนวความคิด และพฤติกรรมของคน ซึ่งจะส่งผลต่อธุรกิจประกันภัย ที่คน ก็จะถามมากขึ้นว่าผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่เขาซื้อรองรับกับ ความต้องการของเขาหรือยัง ท�ำให้บริษทั ประกันภัยเองก็ตอ้ ง คิดมากขึ้น
Q: แล้วมีเรื่องอื่นอีกไหม
A : เรื่องที่สองคือวิธีการในการก�ำกับดูแล อันนี้เรา ต้องเปลี่ยน ยกตัวอย่าง เมื่อก่อนเวลาเราไปตรวจบริษัท ประกัน เราก็ยกทีมกันเข้าไป แต่ในขณะนี้วิธีการขายบริษัท ต่างๆ เขาขายประกันในออนไลน์แล้ว เราเข้าไปตรวจก็จะเห็น แค่ระบบการท�ำงาน แต่ไม่ได้เห็นปัญหาอยู่ดี เราจึงต้องเริ่ม อ อกแบบซอฟต์แวร์ ใช้เทคโนโลยีพวก AI โดยมีระบบการ ตรวจสอบทีเ่ รียว่า IT Audit ซึง่ ต้องเพิม่ ตัวช่วยทางเทคโนโลยี เข้ามาในการท�ำงาน ประการที่สามก็คือเรื่องของ Data อย่างเมื่อก่อนเราจะ ดูข้อมูลจากสถิติ เพื่อน�ำมาประกอบการรายงานประจ�ำปี แต่ในขณะนีด้ แู ค่สถิตใิ นแต่ละปีไม่ได้แล้ว เพราะว่าจากความเร็ว ของเทคโนโลยีทเี่ กิดขึน้ ต้องวิเคราะห์ขอ้ มูลกันแบบ Real Time ต้องวิเคราะห์ตลอดเวลา ใช้ประโยชน์จากข้อมูลอย่างจริงจัง ปัญหาในการท�ำงานอย่างหนึ่งในประเทศเราคือขาดความรู้ ค วามเข้าใจในการใช้ขอ้ มูล ถ้าเราไม่มขี อ้ มูลมาใช้จะท�ำงาน ไม่ได้เลย จึงต้องมาดูวา่ เราจะใช้เทคโนโลยีเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การท�ำงานอย่างไร
Q: แล้ ว บริ ษั ท ประกั น ภั ย ในไทยเปลี่ ย นแปลงทั น เทคโนโลยีไหม
A: ธุรกิจประกันภัยเป็นธุรกิจเฉพาะที่มีความซับซ้อน ท�ำให้การเปลีย่ นแปลงระบบการท�ำงานต้องค�ำนึงถึงผลกระทบ ในเชิงปฏิบัติการอย่างมาก รวมทั้งบริษัทประกันภัยมีขนาด ที่แตกต่างกัน ทั้งขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก บริษัทขนาดใหญ่ต้องบอกว่าเขาเปลี่ยนแล้ว เทคโนโลยีหรือ ระบบบริการใหม่ๆ เขาสามารถวางแผนได้ดี ในขณะทีบ่ ริษทั ขนาดเล็กที่ทำ� ธุรกิจแบบครอบครัว การหาแหล่งเงินทุนเพื่อ ลงทุนในเทคโนโลยีนนั้ เป็นความท้าทายหลัก ส�ำนักงาน คปภ. จึงมีหน้าที่ช่วยส่งเสริมบริษัทประกันภัย เช่น ช่วยพัฒนา เทคโนโลยีกลางเพื่อช่วยให้เขาออกแบบผลิตภัณฑ์ได้ดีขึ้น หรือว่าสนับสนุนให้มีการแชร์เทคโนโลยีกัน
Q: เราควรจะมี attitude ต่อเทคโนโลยีอย่างไร
A: ต้องมองเทคโนโลยีในแง่บวก เราไม่สามารถปฏิเสธ เทคโนโลยีได้ แต่ต้องใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีให้มากทีส่ ดุ ไม่ใช่มองว่าเทคโนโลยีเป็นเรื่องไกลตัวหรือส่วนเกิน แต่ต้อง ม องว่าเทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจ�ำวัน ทุกคนใช้ เทคโนโลยีหมด เล่นไลน์ เล่นเกม ดูละครข่าวสาร แต่วันนี้ เ รายังใช้เทคโนโลยีได้ไม่เต็มที่ ในส่วนงานของ คปภ. เอง สิ่งที่ได้ผลกระทบจากเทคโนโลยีอีกอย่างคือการเกิดขึ้นของ สิง่ ทีเ่ รียกว่า Grey Area พืน้ ทีธ่ รุ กิจทีเ่ กิดขึน้ ใหม่ ซึง่ ไม่รวู้ า่ ใคร มีหน้าทีด่ แู ล แต่กอ่ นเราจะแบ่งหน้าทีก่ นั ชัดเจนว่า แบงก์ชาติ ดูเรือ่ งธนาคาร ก.ล.ต. ดูเรือ่ งของบริษทั ทีอ่ ยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์ ค ปภ. ดู เ รื่ อ งบริ ษั ท ประกั น ภั ย และคนกลางประกั น ภั ย เป็นสามองค์กรทีก่ ำ� กับดูแลระบบสถาบันการเงินในประเทศ แต่มาถึงวันนีเ้ กิด Grey Area ขึน้ มาใหม่เพราะเทคโนโลยี ธนาคารเริม่ มาขายประกันพ่วงการลงทุน คปภ. จึงต้องเข้าไป ก�ำกับดูแลธนาคาร ท�ำให้เริ่มมีพื้นที่การท�ำงานที่ทับซ้อนกัน
่ นทุกวินาทีแบบนี้ คปภ. Q: ในช่วงเวลาทีเ่ ทคโนโลยีเปลีย ในฐานะที่เป็ นผู้ออกแบบกรอบการท�ำงานของบริษัท ประกัน ต้องปรับตัวตามอย่างไร
A: ตอนนี้สิ่งที่เราต้องท�ำ คือเราต้องปรับรูปแบบใน การก�ำกับดูแลทั้งหมด เริ่มตั้งแต่กติกาที่ใช้ต้องเป็นกติกา ทีย่ ดื หยุน่ เพราะว่าเทคโนโลยีปรับเปลีย่ นตลอดเวลา เราต้อง ออกกติกาทีเ่ รียกว่าเป็น Soft Law ท�ำให้สามารถปรับเปลีย่ น ตามพัฒนาการของเทคโนโลยีได้ตลอดเวลา ควรวางแค่หลักการ
มากขึน้ ซึง่ ทัง้ หมดก็เกิดจากเทคโนโลยี แล้วลามไปถึงธุรกิจ ส่วนอื่นๆ อย่าง เช่น บริษัทโทรศัพท์มือถือ ก็เริ่มมาขาย ประกัน ถามว่าบริษทั มือถืออยูภ่ ายใต้การก�ำกับดูแลของใคร ค�ำตอบคือ กสทช. จะเห็นว่าเรามีข้อจ�ำกัดในการท�ำงาน เยอะมาก ในอนาคตอาจจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่ผู้กำ� กับดูแล ในแต่ละภาคส่วนต้องมาท�ำงานร่วมกัน เพื่อให้กติกาไม่มี ความลั ก ลั่ น ซึ่ ง ผมคิ ด ว่ า อาจจะต้ อ งมี ก ฎหมายอี ก ตั ว หรือมีผู้ก�ำกับดูแลอีกหน่วยงานหนึ่ง ที่ดูในเรื่องของดิจิทัล โดยเฉพาะ แล้วหน่วยงานที่เหลือมาอยู่ภายใต้หน่วยงานนี้ Q: แล้วกับบริษัทประกันภัยต่างๆ คปภ. มีการเข้าไป ท�ำงานร่วมกันอย่างไร
A: เรื่องของศักยภาพของผู้ประกอบการ เป็นสิ่งที่เรา ต้องเร่งให้ความช่วยเหลือ เขาต้องเอาเทคโนโลยีมาใช้ เราก็มหี น้าทีส่ ่งเสริมและเข้าไปช่วยเหลือ ทีผ่ ่านมาบทบาท ของ คปภ. จะเป็นเรื่องของการตั้งรับและเข้าไปตรวจสอบ ก�ำกับดูแล แต่หน้าทีอ่ กี ส่วนของ คปภ. คือเรือ่ งการส่งเสริม ให้บริษัทประกันภัยมีความเข้มแข็งมากขึ้น โดยเราเริ่มจาก การตัง้ ศูนย์ทเี่ ราเรียกว่า CIT (Center of InsurTech, Thailand) เปรียบเสมือน Startup Firm ของส�ำนักงาน คปภ. เพื่อเป็น ศู น ย์ ก ลางการแลกเปลี่ ย นความรู ้ และส่ ง เสริ ม การใช้ เทคโนโลยีให้กับกลุ่มธุรกิจประกันภัย อีกทั้งยังเป็นเวทีเพื่อ ให้กลุ่มธุรกิจประกันภัยและกลุ่ม InsurTech Startup ได้มา แลกเปลี่ ย นนวั ต กรรมใหม่ ๆ เพื่ อ พั ฒ นาและต่ อ ยอด อุตสาหกรรมการประกันภัยให้เติบโตยิ่งขึ้น ซึ่งเราไม่ได้ส่งเสริมแค่บริษัทประกันภัยอย่างเดียว แต่ส่งเสริมคนที่มีความคิด คนที่สามารถจะพัฒนาตัวเอง โดยใช้เทคโนโลยีต่างๆ มีความคิดในการพัฒนาอะไรใหม่ๆ มีการคิดนอกกรอบ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะท�ำให้เกิดนวัตกรรม ใหม่ๆ ขึ้น ถ้าคิดแบบเดิมๆ เราก็จะได้ผลลัพธ์เดิมๆ แล้ว ธุรกิจประกันภัยในประเทศไทยของเรามีความอนุรกั ษนิยม เพราะว่าเป็นธุรกิจเก่าแก่ท่มี ีมาหลายสิบปี และหน่วยงาน คปภ. ของเราเองก็มคี วามอนุรกั ษนิยม การสร้าง CIT ขึน้ มา ก็เพือ่ ท�ำให้เรามีผลิตภัณฑ์ประกันภัยทีแ่ ตกต่างหลากหลาย มากขึ้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชน
ยังไม่ได้น�ำมาใช้จริง ถ้าท�ำสิ่งนั้นก็ไม่ได้ ท�ำสิ่งนี้ก็ไม่ได้ สิ่งใหม่ๆ จะเกิดขึ้นได้อย่างไร เขาต้องการมีสนามทดสอบ ไอเดี ย เราแค่ ว างกรอบให้ ชั ด เจนและให้ เ ขาลองท�ำ ดู ถ้ า ทดสอบแล้ ว ไม่ ไ ด้ ผ ลก็ ย กเลิ ก ไป เพราะกว่ า จะได้ นวัตกรรมสักหนึ่งอย่าง มันต้องลงมือท�ำ ทดสอบ และล้ม เหลวมาสักเก้าสิบอย่าง แต่สิ่งส�ำคัญคือถ้าเราไปสกัดกั้น แนวคิดตัง้ แต่ตอนแรก หนึง่ อย่างทีใ่ ช้ได้จะไม่มวี นั เกิดขึน้ เลย สภาพแวดล้อมในปัจจุบนั ไม่เปิดโอกาสให้เรากระตุน้ ให้เกิดสิง่ ใหม่ๆ ผมจึงตัง้ ใจเปิด CIT ให้เป็นพืน้ ทีท่ ดลองขึน้ มา ซึง่ จะเป็นแหล่งรวมคนทีม่ ี attitude แบบนี้ และท�ำงานในด้าน ส่งเสริม ซึ่งคนท�ำงานในฝั่งการก�ำกับควบคุมดูแลก็ยังอยู่ แต่เราเพิ่มการส่งเสริมขึ้นมา จุดนี้จะดึงดูด Startup ใหม่ๆ ให้เขามีเวทีในการสร้างนวัตกรรม หรือเป็นเวทีทเี่ ขามีโอกาส ได้พบกับบริษัทประกันภัย และเป็นเวทีส�ำคัญให้ คปภ. สามารถไปเลือกเครื่องมือใหม่ๆ มาช่วยการท�ำงาน เราก็ ต้องฝึกคนของเราให้สามารถท�ำงานร่วมกับ Startup ต่างๆ
Q: หลักการท�ำงานในโลกธุรกิจทุกวันนี้ ต้องมีความ agile สามารถเปลี่ยนแปลงได้อย่างคล่องตัวใช่ไหม
A: ใช่ครับ ซึ่ง คปภ. ก็มีการปรับตัวภายในองค์กร ยกตัวอย่างการท�ำ Regulatory Sandbox ถ้าเป็นเมื่อก่อน กฎเกณฑ์จะเยอะมาก แต่ผมเปลี่ยน attitude ทีมงาน ในการทดสอบให้เปิดกว้างมากขึน้ ว่านีเ่ ป็นโครงการทดลอง
82
83
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เพื่อให้รู้ว่า Startup ในไทยเก่งเรื่องอะไร เขาขาดอะไร เราจะ ไปเสริมตรงจุดไหนได้บ้าง การท�ำงานของ CIT ในปีนี้ มีการด�ำเนินงานที่เข้มข้น ครอบคลุมในหลายมิติ ทัง้ การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีในการ ก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย การส่งเสริมความรู้ การศึกษาวิจยั และการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการประกันภัย ให้กบั Startup กลุม่ คนรุน่ ใหม่ และผูท้ สี่ นใจ มีการจัดเวิรก์ ช็อปแบบ Hackathon และ InsurTech Bootcamp เพื่อแนะแนวและให้ความรู้เกี่ยว กั บ เทคโนโลยี แ ละการประกั น ภั ย ให้ กั บ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ในหลายมหาวิทยาลัย มีการจัดประกวดสุดยอดนวัตกรรม ด้านเทคโนโลยีประกันภัย หรือ OIC InsurTech Award และ พัฒนา ‘Application คนกลาง ForSure’ ขึ้น เพื่อให้บริการ ข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ของใบอนุญาตบัตรตัวแทน ประกันภัยของตนเอง ที่ส�ำคัญคือเรามีการพัฒนา Chatbot @OICConnect ขึ้น ซึ่งเป็นระบบ AI ที่มีความสามารถในการ ประมวลภาษาไทย แยกแยะหาค�ำส�ำคัญทีส่ อบถามเข้ามายัง ส�ำนักงาน คปภ. และค้นหาค�ำตอบส่งกลับไปโดยอัตโนมัติ
่ า่ สนใจในปีนม ้ี เี รือ ่ งอะไรบ้าง Q: นวัตกรรมประกันภัยทีน
A: นับวันนวัตกรรมประกันภัยจะเข้ามาช่วยในการใช้ ชีวิตของผู้คนมากขึ้น และประกันภัยจะถูกออกแบบอย่าง เฉพาะเจาะจง (Tailor-made) แนวโน้มของประกันภัยจะเป็น เรือ่ งของการป้องกัน (Prevention) จะมีประกันภัยใหม่ๆ เกิดขึน้ โดยที่เรานึกไม่ถึง ยกตัวอย่างเช่น ประกันภัยที่รองรับเรื่อง เทีย่ วบินล่าช้า ซึง่ เมือ่ ก่อนไม่เคยมี หรือประกันภัยทีเ่ ราไม่ได้ เป็นเจ้าของรถยนต์ แต่ไปยืมหรือเช่ารถยนต์มาใช้ เพราะอีกหน่อย เทรนด์เรื่อง Sharing Economy จะเข้ามามีบทบาทกับชีวิตเรา มากขึ้น เราอาจจะไม่ได้อยากเป็นเจ้าของรถยนต์ แต่อยาก ได้รถมาสักสองสามวัน เราก็สามารถท�ำประกันภัยรถยนต์ได้ เดิมทีการท�ำประกันภัยรถยนต์ คนอาจไม่ได้คดิ อะไรมาก การออกแบบประกันก็ให้จ่ายรายเดือน แต่มาถึงวันนี้คนอยู่ ต่างจังหวัดกับอยูใ่ นเมืองก็มรี ปู แบบการใช้รถยนต์ตา่ งกัน มีการ ออกแบบประกันรถแบบเปิดปิด จ่ายเบี้ยประกันตามระยะ ทางทีใ่ ช้ ไปจนถึงการซือ้ ประกัน เดีย๋ วนีเ้ ราสามารถซือ้ ประกัน บนออนไลน์ได้แล้ว เหมือนซื้อของจาก Lazada ถ้าเป็น เมื่ อ ก่ อ นเราต้ อ งซื้ อ ประกั น ผ่ า นตั ว แทนของบริ ษั ท ต่ า งๆ เทคโนโลยีก็เข้ามาช่วยเพิ่มความสะดวกสบายตรงนี้ ท�ำให้ การตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประกันภัยง่ายขึ้น เพราะ มี ข ้ อ มู ล ทั้ ง หมดอยู ่ ใ นระบบ เขาสามารถเปรี ย บเที ย บ เบี้ยประกันได้ และเลือกซื้อได้ตรงตามความต้องการ
Q: ในวงการ Startup กับธุรกิจประกันภัยมีความ น่าสนใจอย่างไรบ้าง
A: เมื่อก่อนผมอาจจะจ�ำกัดความสนใจแค่ Startup ใน ประเทศ เป็น Local Startup เท่านั้น แต่ต่อมาพอเริ่มโครงการ CIT สักพักหนึง่ ผมเริม่ รูส้ กึ ว่าแค่นนั้ ไม่พอ เริม่ รูแ้ ล้วว่าท�ำไม สิงคโปร์ถงึ เป็นฮับของ Startup ในอาเซียน เพราะว่าเขาเปิด รับนวัตกรรมจาก Stratup ทั่วโลก ผมเริ่มมองว่าในอนาคต เป็นไปได้ไหมที่จะเอา Stratup ด้าน InsurTech จากทั่วโลก เข้ามาพัฒนาร่วมกัน แล้วก็จะมีการน�ำสตาร์ทอัพในประเทศของเราไปเปิดตัว ในต่างประเทศ อย่างปีน้ใี นงาน Singapore Fintech Festival คปภ. ก็จะไปออกบูธและคัดเลือก InsurTech Startups ของไทย สัก 4 แห่ง ไปเปิดตัวเพือ่ เรียนรู้ดเู ทคโนโลยีต่างๆ จากทัว่ โลก และเป็นการแนะน�ำว่า InsurTech ของไทยเป็นอย่างไร คปภ. คืออะไร ให้ต่างประเทศเขาเชือ่ มัน่ ผมว่าอันนีก้ ค็ อื จุดเริม่ ต้น ที่ดี และในอนาคตเราอาจจะจัดงาน InsurTech Festival ใน ประเทศไทย ซึง่ ยังไม่มใี ครจัด เราพยายามหาคลังสมองในการ ต่อยอดไปในอนาคต
Q: จากโจทย์ท่ีเห็นหลายๆ อย่าง นโยบายการท�ำงาน ของ คปภ. ในปี 2563 จะโฟกัสในเรื่องใดบ้าง
A: ส�ำหรับทิศทางและนโยบายการด�ำเนินงานในปี 2563 ส�ำนักงาน คปภ. ต้องเผชิญกับปัจจัยความท้าทายมากขึ้น อาทิ การสร้างความเข้าใจในกฎกติกาต่างๆ ที่ได้ประกาศใช้ ในปี 2562 การก�ำหนดบทลงโทษผู้กระท�ำผิดและป้องปราม ผู้ที่จะกระท�ำความผิดฉ้อฉลประกันภัย การเตรียมพร้อม รับมือการบังคับใช้ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวมทั้ง ความผันผวนทางเศรษฐกิจ การเงินของไทยและต่างประเทศ ความเสียหายทีเ่ กิดจากภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ และการรุกคืบ ของ Digital Insurance ตลอดจนมาตรฐานสากลต่างๆ ที่มี การเปลี่ยนแปลง ฯลฯ คปภ. ในฐานะหน่วยงานก�ำกับดูแลต้องก�ำหนดมาตรการ ขับเคลื่อนและทิศทางการส่งเสริมพัฒนา เพื่อบริหารจัดการ ให้อุตสาหกรรมประกันภัยทั้งระบบ พร้อมรับมือกับความ ท้าทาย และสามารถข้ามพ้นอุปสรรคต่างๆ ได้ แผนการด�ำเนินงานนอกจากจะมุ่งเน้นไปที่การพัฒนา ทางเทคโนโลยีแล้ว เรายังให้ความส�ำคัญเรื่องทรัพยากร บุคคล ซึ่งผลักดันให้ภารกิจของส�ำนักงาน คปภ. ลุล่วงอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยมีแผนโครงการและแผนงานที่ส�ำคัญ
Q: ฟังดูแล้วมีงานเยอะมากที่ต้องท�ำ
A: (หัวเราะ) งานของเราคือท�ำอย่างไรให้ประกันภัย เข้าไปอยูใ่ นใจของคนไทย เราอยากเห็นประกันภัยเข้าไปช่วย เศรษฐกิจของประเทศ ผมไม่อยากให้คนคิดถึงประกันภัยเมือ่ ภัยมา แต่อยากให้มองเป็นสิ่งจ�ำเป็น อยากให้คดิ ถึงประกัน ภัยก่อนภัยมา
หลายโครงการ อาทิ โครงการการบริหาร จั ด การและพั ฒ นา ทรัพยากรบุคคลให้ เป็นระบบและเป็น มาตรฐาน โดยจะ พั ฒ น า เ ส ้ น ท า ง ความก้ า วหน้ า ใน สายอาชีพ (Career Path) พัฒนาศักยภาพระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน และปรับปรุงสมรรถนะ การทบทวนโครงสร้างค่าตอบแทน (Pay Structure) และการทบทวนโครงสร้างการจ่ายค่าตอบแทน วิชาชีพให้ความเหมาะสม สามารถแข่งขันกับตลาดแรงงาน และสอดคล้องกับการผลักดันภารกิจตามแผนยุทธศาสตร์ ของส�ำนักงาน คปภ. และโครงการ OIC Organization Transformation โดยจะปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรสู่การ ท�ำงานในยุค ใช้หลัก People การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ (Mindset) และทักษะของพนักงาน (Reskill & Upskill) Policy & Process การเปลี่ยนแปลงวิธีคิด (Thinking Process) และ วิธีการท�ำงาน (Work Process) ผ่านกระบวนการท�ำ Design Thinking Process และ Tools & Technology สร้างสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานทีเ่ อือ้ ต่อการสร้างสรรค์ผลงานทีร่ วดเร็ว ผ่านการ ใช้ Digital Platform และสามารถน�ำมาใช้ในการปรับเปลี่ยน วัฒนธรรมองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
“ ผ ม ไ ม่ อ ย า ก ใ ห้ ค น คิ ด ถึ ง ประกั น ภั ย เมื่ อ ภัยมา แต่อยากให้มอง ป ร ะ กั น ภั ย เ ป็ น สิ่ ง จ�ำเป็น อยากให้คิดถึง ประกันภัยก่อนภัยมา”
Q: คาดหวังกับเป้าหมายในปีนี้อย่างไร
A: ผมคาดหวังการให้เราใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีได้ อย่างเต็มที่ คาดหวังในการเกิดขึน้ ของ CIT เพราะปีทผี่ า่ นมา อาจจะเป็นการท�ำงานน�ำร่อง แต่ปนี เี้ ราจะท�ำให้ CIT มีบทบาท มากขึน้ ในการส่งเสริมเทคโนโลยีประกันภัยใหม่ๆ อยากเห็น บริษัทประกันภัยมีการปรับตัวในเรื่องของการใช้เทคโนโลยี อย่างจริงจัง ที่ส�ำคัญคือผมไม่ได้มองแค่ในประเทศไทย แต่มองถึง ใน CLMV (กัมพูชา, ลาว, เมียนมา และเวียดนาม) เพราะ ผมมองว่าศักยภาพของประกันภัยของไทย ไม่ได้จำ� กัดอยูแ่ ค่ ในประเทศไทย คปภ. ได้เข้าไปวางระบบในลาว ในเมียนมา เพราะเราเห็นว่าถ้าประเทศเพือ่ นบ้านมีมาตรฐานการก�ำกับ ดูแลและการออกแบบระบบที่ใกล้เคียงกับเรา ก็จะเป็น โอกาสในการขยายธุรกิจประกันภัย แน่นอนว่าสิง่ นีย้ ากทีจ่ ะ เกิดขึน้ แต่ผมอยากเห็น และได้เสนอเรือ่ งการจะท�ำผลิตภัณฑ์ ประกั น ภั ย ของอาเซี ย น อั น นี้ คื อ ความฝั น สู ง สุ ด ของผม จึงเสนอเข้าไปในการประชุมที่กระทรวงการคลัง ซึ่งท่าน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังก็เห็นด้วย และได้ผลักดัน
เข้าเป็นวาระในการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ของอาเซียนเมื่อปีที่แล้ว ซึ่งไทยเป็นเจ้าภาพ แต่อันนี้ก็ เป็นโจทย์ที่หิน เพราะว่าพอเราเสนอเรื่องเข้าไปใน ASEAN Insurance Regulators ก็จะมีเสียงต้าน แต่สิ่งที่ผมจะท�ำคือ จะเริ่ ม จั บ คู ่ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นที่ เ ห็ น ด้ ว ยกั บ เราก่ อ น และค่อยๆ ขยายผลออกไป เรียกว่าเป็นความท้าทายที่ผม อยากให้เราไปให้ถงึ Q: ทุกวันนี้คุณสนุกกับการท�ำงานอย่างไร
A: ยั ง สนุ ก อยู ่ เพราะยั ง มี อ ะไรให้ ผ มท� ำ อี ก เยอะ และหน่วยงานทีผ่ มดูแลอยูก่ เ็ ป็นหน่วยงานขนาดกลาง เวลา คิดหรือลงมือท�ำอะไร สามารถเห็นผลได้เลยทันที และพอ เริม่ รูจ้ กั อุตสาหกรรมประกันภัยมากขึน้ ผมเห็นโอกาสในการ ทีจ่ ะท�ำให้สงิ่ ต่างๆ ดีขนึ้ เพือ่ ให้ระบบประกันภัยเป็นทีย่ อมรับ และเกิดประโยชน์แก่ประชาชน แต่ถ้าท�ำอะไรไปนานๆ แล้ว ไม่เห็นผล หรือผลักดันอะไรยากก็คงรู้สึกท้อ ในบทบาทที่ผมเป็นอยู่ ถ้าเป็นเรื่องที่เป็นปร ะโยชน์ และคนในอุตสาหกรรมประกันภัยเห็นด้วย ก็สามารถผลักดัน ได้ทันที และเรามีการปรับวิธีการท�ำงานของคน ค ปภ. ให้เร็วขึ้น ถ้ามีวิกฤตหรืออุบัติเหตุครั้งใหญ่ และ คปภ. สามารถท�ำงานได้รวดเร็ว ส่งคนเข้าไปช่วยได้ทันที หรือเมื่อ ผู้ซื้อประกันถูกเอารัดเอาเปรียบ และ คปภ. เข้า ไปแก้ไข ปัญหาให้เขาได้ จุดนี้ก็จะสามารถสร้างความเชื่อมั่นของคน ต่อระบบประกันภัยมากขึ้น ซึ่งเมื่อชื่อของ คปภ. เริ่มเป็นที่ นึกถึงในการเป็นทีพ่ งึ่ เวลาคนเดือดร้อนเรือ่ งประกันภัย อันนี้ ผมถือว่าการท�ำงานของผมส�ำเร็จแล้ว
84
85
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เรียบเรียงโดย
ดร. สุทธิพล ทวีชัยการ
Life Insurance for an Aging Society ่ นผ่าน ประกันสุขภาพ กุญแจไขการเปลีย และรองรับสังคมผู้สูงอายุในยุคดิจิทัล
86
87
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
จากสภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศไทยและโครงสร้างประชากรที่ก�ำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ท�ำให้ ความคาดหวังของประชาชนที่มีต่อการบริการด้านสุขภาพเพิ่ มมากขึ้น โดยเห็นได้จากตัวเลขค่าใช้จ่าย ด้านสุขภาพของรัฐบาล ประมาณ 4 แสนล้านบาทต่อปี หรือร้อยละ 13 ของรายจ่ายทั้งประเทศ และมี แนวโน้มเพิ่มขึน ่ ง ั คมผูส ้ ง ู อายุแล้วนัน ้ เรือ ่ ยๆ โดยมีการคาดการณ์วา่ การทีป ่ ระเทศไทยเข้าสูส ้ ในอีก 10-15 ปี ข้างหน้า ค่าใช้จ่ายดังกล่าวอาจเพิ่ มขึ้นถึง 1.4-1.8 ล้านล้านบาท1 ซึ่งด้วยสถานการณ์เช่นนี้ ท�ำให้ สวัสดิการที่ภาครัฐจัดหาให้อาจไม่เพี ยงพอและครอบคลุมถึงค่ารักษาพยาบาลที่ต้องจ่ายจริง ดังนั้น รัฐบาลจึงต้องแสวงหามาตรการในการควบคุมค่าใช้จ่ายดังกล่าว ในหลายๆ มาตรการ อาทิ แผนการปฏิรป ู ระบบสาธารณสุข โดยการจัดท�ำชุดสิทธิประโยชน์หลัก และชุดสิทธิประโยชน์เสริมด้านประกัน สุขภาพของ 3 ระบบหลักของประเทศ (ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ระบบประกันสังคม และระบบ สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ) เพื่อลดการทับซ้อนของสิทธิประโยชน์ และจัดท�ำมาตรฐานระบบประกัน สุขภาพของประเทศ รวมทั้งมาตรการของกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ในการก�ำหนดให้ยาและเวชภัณฑ์ บริการ รักษาพยาบาล บริการทางการแพทย์ และบริการอื่นของสถานพยาบาล เป็ นสินค้าควบคุม เพื่ อให้เกิด ความโปร่งใสในการให้บริการของโรงพยาบาล และประชาชนสามารถตรวจสอบค่าใช้จา่ ยได้ อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การก�ำหนดมาตรการต่างๆ มีความครอบคลุมและมีประสิทธิภาพยิง ้ ภาครัฐจึงให้ความส�ำคัญกับ ่ ขึน การหามาตรการในการน� ำ ระบบประกั น ภั ย เข้ า มาช่ ว ยลดภาระของรั ฐ บาลและบรรเทาภาระค่ า ใช้ จ่ า ย ด้านสุขภาพของประชาชนซึ่งคาดการณ์ว่าการประกันสุขภาพจะมีบทบาทส�ำคัญในการจัดการความเสี่ยง ทางการเงิน อีกทัง ่ ะเข้ามาในการเปลีย ่ นผ่านและรองรับโครงสร้างประชากรไทยเข้าสู่ ้ เป็นกุญแจส�ำคัญทีจ สังคมผู้สูงอายุได้อย่างสมบูรณ์แบบ
ประกันภัย (Pre-existing Condition)3 และระยะเวลาที่ไม่ คุ้มครอง (Waiting Period)4 ซึ่งเงื่อนไขโดยละเอียดจะระบุไว้ ในกรมธรรม์ การจ่ายเงินผลประโยชน์ของประกันสุขภาพ จะ จ่ายส�ำหรับการรักษาพยาบาลที่ตรงกับรายการข้อตกลง คุ ้ ม ครองที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นสั ญ ญาประกั น ภั ย โดยแบ่ ง ได้ เ ป็ น 3 ลักษณะ ได้แก่ แบบเหมาจ่าย คือบริษทั ประกันภัยจะให้ความคุม้ ครอง ตามรายการข้ อ ตกลงคุ ้ ม ครอง โดยจ� ำ กั ด เพี ย งวงเงิ น ผลประโยชน์รวมทุกรายการ ต่อปีกรมธรรม์ และ/หรือ ต่อครัง้ แบบรายการ คือบริษัทประกันภัยจะให้ความคุ้มครอง ตามรายการข้อตกลงคุ้มครอง โดยจ�ำกัดวงเงินผลประโยชน์ แยกตามแต่ละรายการไม่เท่ากัน แบบผสม คือบริษทั ประกันภัยจะให้ความคุม้ ครองตาม รายการข้อตกลงคุ้มครอง โดยจ�ำกัดวงเงินผลประโยชน์รวม บางรายการ และจ�ำกัดวงเงินผลประโยชน์แยกบางรายการ เช่น ค่าห้อง เป็นต้น ทั้งนี้จะมีการก�ำหนดวงเงินรวมทุกรายการ ต่อปีกรมธรรม์ และ/หรือ ต่อครั้งด้วย
ประกันสุขภาพคืออะไร ประกันสุขภาพคือแบบประกันชนิดหนึ่ง ที่ให้ความ คุ้มครองเกี่ยวกับการบาดเจ็บหรือการป่วย ไม่รวมถึงการ เสียชีวิต บริษัทประกันภัยจะเข้ามารับภาระค่าใช้จ่ายที่ เกิ ด ขึ้ น จากการรั ก ษาพยาบาลของผู ้ เ อาประกั น ภั ย ตาม ข้อตกลงในสัญญา ซึ่งการประกันสุขภาพในปัจจุบัน ผู้รับ ประกันภัยคือบริษัทประกันชีวิตและบริษัทประกันวินาศภัย โดยหากซือ้ ประกันสุขภาพจากบริษทั ประกันชีวติ ผูซ้ อื้ จะต้อง มีกรมธรรม์ประกันชีวิตเป็นกรมธรรม์หลักก่อนจึงสามารถ ซือ้ ประกันสุขภาพเป็นสัญญาเพิม่ เติมแนบท้ายได้ แต่หากซือ้ ประกันสุขภาพจากบริษัทประกันวินาศภัย ผู้เอาประกันภัย สามารถซือ้ ได้โดยทีไ่ ม่จำ� เป็นต้องมีกรมธรรม์หลักก่อน การประกันสุขภาพ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การประกันสุขภาพรายบุคคลและการประกันสุขภาพ กลุ ่ ม ซึ่ ง ทั้ ง 2 ประเภท ให้ ค วามคุ ้ ม ครองที่ เ หมื อ นกั น โดยทั่วไปแบ่งความคุ้มครองหลักที่ผู้เอาประกันภัยสามารถ เลือกซื้อได้ เป็น 7 หมวด2 ทั้งนี้ การประกันสุขภาพโดยทั่วไป จะมีข้อยกเว้นความคุ้มครองสภาพที่เป็นมาก่อนการเอา
เป็นการร่วมกันเฉลี่ยภัยที่เกิดขึ้น โดยบริษัทจะก�ำหนดผล ประโยชน์ความคุม้ ครองทีห่ ลากหลายให้สอดคล้องกับความ สามารถในการจ่ายเบี้ยประกันภัยของผู้เอาประกันภัย เช่น ตอนเด็กค่าเบีย้ ประกันจะสูงเพราะเด็กมีความเสีย่ งสูงในการ เกิดโรคต่างๆ ได้งา่ ยกว่าผูใ้ หญ่ หรือในวัยชราก็มโี อกาสป่วย จากทีร่ า่ งกายทรุดโทรมจากการใช้งานมาเป็นเวลานาน ดังนัน้ ระบบประกันสุขภาพจึงเป็นกุญแจส�ำคัญที่จะเปลี่ยนผ่าน และรองรับโครงสร้างประชากรไทยเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุได้อย่าง สมบูรณ์
การเติบโตของธุรกิจประกันสุขภาพในประเทศไทย เดิมทีประชาชนในประเทศไทยส่วนใหญ่นั้น มีระบบ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือบัตรทองทีเ่ ป็นสวัสดิการรัฐ อยู่แล้ว แต่ในปัจจุบนั คนไทยเริม่ หันมาสนใจสุขภาพมากขึน้ ทั้งการออกก�ำลังกายหรือควบคุมอาหาร ซึ่งประกันสุขภาพ ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยในการบริหารความเสี่ยงด้าน สุขภาพได้ ประชาชนจึงนิยมทีจ่ ะท�ำประกันสุขภาพภาคสมัครใจ กันมากขึน้ เพราะสวัสดิการภาครัฐและสวัสดิการของผูจ้ า้ งงาน ไม่สามารถครอบคลุมค่ารักษาพยาบาลในบางประเภทและ ประชาชนทุกกลุ่ม การประกันสุขภาพจึงเข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ในการช่วยแก้ปญ ั หาเหล่านี้ ส�ำหรับคนทีต่ อ้ งการความคุม้ ครอง ทีค่ รอบคลุมและยืดหยุน่ มากกว่าเดิม เนือ่ งจากประกันสุขภาพ เป็นการให้ความคุ้มครอง ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัยต้อง เข้ารับการรักษาพยาบาลจากการป่วยหรือการบาดเจ็บ บริษทั ประกันภัยจะเข้ า มารั บ ภาระค่ า ใช้ จ ่ า ยที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการ รักษาพยาบาลของผู้เอาประกันภัยตามข้อตกลงในสัญญา อีกทั้งการประกันสุขภาพยังเป็นเครื่องมือทางการเงิน ที่มีบทบาทส�ำคัญในการจัดการความเสี่ยงทางการเงินใน กรณีทปี่ ระชาชนมีปญ ั หาสุขภาพเพราะถ้าเกิดเหตุไม่คาดคิด เพียงครัง้ เดียว อาจท�ำให้เงินออมทีเ่ ก็บสะสมมาเป็นระยะเวลา นานหายไปทั้งหมด การท�ำประกันสุขภาพจึงเป็นเหมือน เครือ่ งมือทีจ่ ะช่วยลดภาระค่ารักษาพยาบาลทีด่ ที สี่ ดุ เพราะ
แผนภาพที่ 1 สถิติเบี้ยประกันสุขภาพของประเทศไทย ปี 2555–25615
88
89
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
บูรณาการผลประโยชน์รว่ มกันระหว่างการประกันภัยสุขภาพ ของเอกชนกับระบบประกันสุขภาพของภาครัฐเพื่อลดความ ทับซ้อนระหว่างกันและเพิ่มประสิทธิภาพให้มากขึ้น รวมทั้ง ก�ำหนดมาตรการที่จะท�ำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงระบบ ประกันสุขภาพและหารูปแบบผลิตภัณฑ์ประกันสุขภาพ รองรับสังคมผู้สูงอายุด้วย ดังนั้น จึงเป็นที่มาของการด�ำเนินการปรับปรุงระบบ การประกันภัยสุขภาพของไทยให้สอดคล้องกับนโยบายของ ภาครัฐ รวมทัง้ พัฒนาและปรับปรุงสัญญาประกันภัยสุขภาพ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่ อ ให้ ไ ด้ สั ญ ญาประกั น สุ ข ภาพ ที่สอดคล้องกับวิวัฒนาการทางการแพทย์ที่เปลี่ยนแปลงไป สามารถรองรับกับนโยบายภาครัฐ และแผนปฏิรูประบบ สาธารณสุขของประเทศ เพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่ผู้ที่ เกี่ยวข้องและเพื่อให้มีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับสัญญาประกัน สุขภาพ ทั้งในเรื่องการพิจารณารับประกันภัย การจ่าย ค่ า สิ น ไหมทดแทน และการตี ค วามตามเงื่ อ นไขความ คุ้มครองที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งระบบ หลังจากการ ปรับปรุงในครั้งนี้คาดว่าแนวทางการรับประกันภัยสุขภาพ ของทั้งสองธุรกิจจะมีความสอดคล้องกันมากขึ้น
สถิตเิ บีย้ ประกันภัยสุขภาพของประเทศไทย ปี 2555–2561 จากการที่ประชาชนนิยมท�ำประกันสุขภาพกันมากขึ้น จึงส่งผลให้ธุรกิจประกันสุขภาพในประเทศไทยมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เห็นได้จากจ�ำนวนเบี้ยประกันสุขภาพ ของประเทศไทย ปี 2555-2561 จ�ำแนกตามธุรกิจประกันชีวิต และธุรกิจประกันวินาศภัย ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปีอย่าง ต่อเนื่อง ดังแผนภาพ โดยในปี 2561 เบี้ยประกันสุขภาพของ ธุรกิจประกันชีวิตและธุรกิจประกันวินาศภัยอยู่ที่ประมาณ 8.3 หมื่นล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาถึง 11% จึงเป็น ข้อมูลสนับสนุนว่าธุรกิจประกันสุขภาพจะเข้ามามีบทบาท ม ากขึ้นในเรื่องการแบ่งเบาภาระของภาครัฐและมีความ ส�ำคัญต่อประชาชนเพิ่มมากขึ้น การด�ำเนินงานของส�ำนักงาน คปภ. การศึกษาวิจัย ถึ ง แม้ ว ่ า ระบบประกั น สุ ข ภาพในประเทศไทยจะมี หลากหลายและครอบคลุ ม ทุ ก ชนชั้ น ในสั ง คม แต่ ร ะบบ ดังกล่าวยังมีช่องว่างที่ควรปรับปรุงเพื่อให้รองรับกับสังคม ผูส้ งู อายุทจ่ี ะเกิดขึน้ โดยในปัจจุบนั ระบบประกันสุขภาพของ ประเทศไทย มี 3 ระบบหลัก คือ
การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง สั ญ ญาประกั น ภั ย สุ ข ภาพ ได้ก�ำหนดกรอบการด�ำเนินงานเป็น 3 มิติ คือ มิ ติ ที่ 1 การปรั บ ปรุ ง สั ญ ญาสุ ข ภาพมาตรฐานให้ สอดคล้ อ งกั บ นโยบายภาครั ฐ เพื่ อ ยกระดั บ ให้ ภ าคธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย มี เ งื่ อ นไขในสั ญ ญาและแนวปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น มาตรฐานเดียวกัน โดยเฉพาะในเรื่องรายการความคุ้มครอง ให้สอดคล้องกับประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ งชนิดหรือ ประเภทของการรักษาพยาบาล ยาและเวชภัณฑ์ การบริการ ทางการแพทย์ และเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีทกี่ �ำหนดให้ ยา เวชภัณฑ์ และบริการทางการแพทย์ เป็นสินค้าควบคุม ซึ่งการด�ำเนินการดังกล่าวจะช่วยลดการเบิกจ่ายค่ารักษา พยาบาลที่ซ้�ำซ้อน ก่อให้เกิดความโปร่งใสในเรื่องค่ารักษา พยาบาล ท�ำให้ประชาชนมีข้อมูลเปรียบเทียบและสามารถ เลือกให้บริการที่เหมาะสมตามความต้องการของตนเองได้ มิติที่ 2 การก�ำกับอัตราเบี้ยประกันภัยสุขภาพให้มี ความเหมาะสมสอดคล้องกับสัญญาสุขภาพมาตรฐานที่มี การปรับปรุง โดยปกติอตั ราเบีย้ ประกันภัยสุขภาพทีน่ ายทะเบียน ให้ความเห็นชอบเป็นช่วงระยะเวลา 3-5 ปี ดังนัน้ อัตราเบี้ย ประกันภัยสุขภาพ จะถูกปรับให้สอดคล้องกับต้นทุนค่า รักษาพยาบาลที่ปรับเปลี่ยนไปตามนโยบายที่รัฐบาลได้ ก�ำหนดให้ ยา เวชภัณฑ์ และบริการทางการแพทย์ เป็น สิ น ค้ า และบริ ก ารที่ ต ้ อ งควบคุ ม ทั้งนี้หากต้นทุนค่ารักษา พยาบาลได้รบั ผลกระทบไม่วา่ จะเพิม่ ขึน้ หรือลดลง นายทะเบียน
1. ระบบสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลข้าราชการและ ครอบครัว 2. ระบบประกันสังคม 3. ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เมือ่ เปรียบเทียบทัง้ 3 ระบบ จะพบว่ายังมีความทับซ้อน กันในเรื่องของสิทธิประโยชน์ การเบิกซ�ำ้ ซ้อนกัน เพื่อเตรียม รับมือกับค่าใช้จา่ ยด้านสุขภาพทีส่ งู ขึน้ รัฐบาลโดยหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง จึงควรพิจารณาหาแนวทางทีจ่ ะใช้ขอ้ มูลค่าใช้จา่ ย ด้านสุขภาพจากหน่วยงานต่างๆ ในการประมาณค่าใช้จ่าย ในอนาคตของทัง้ ประเทศ อีกทัง้ ควรมีนโยบายพร้อมมาตรการ ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุ เช่น มาตรการ ป้ องกัน และแผนการควบคุม โรคโดยเฉพาะ โรคในกลุ่ม ไม่ติดต่อเรื้อรัง6 เนื่องจากโรคเหล่านี้ ส่วนใหญ่มีสาเหตุ มาจากพฤติกรรมการใช้ชวี ติ ประจ�ำวันทีส่ ามารถป้องกันและ บรรเทาได้ ถ้าควบคุมโรคเหล่านี้ได้ก็จะช่วยลดค่าใช้จ่าย ด้านสุขภาพโดยรวมของประเทศทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ในระยะยาวลงได้ ส�ำนักงาน คปภ. จึงได้มอบหมายให้สำ� นักงานวิจยั เพือ่ การพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) กระทรวงสาธารณสุข ด�ำเนินการตามโครงการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบประกัน สุขภาพ โดยให้มกี ารศึกษาวิจยั เกีย่ วกับระบบประกันสุขภาพ ในประเทศไทยและต่างประเทศ และน�ำมาวิเคราะห์เพื่อ
มีอ�ำนาจตามกฎหมายที่สามารถสั่งให้บริษัทประกันภัยปรับ เปลีย่ นอัตราเบีย้ ประกันภัยให้มคี วามเหมาะสมได้ทันที มิติท่ี 3 การปรับปรุงการจัดเก็บข้อมูล สถิติ ส�ำหรับ ปรับปรุงอัตราเบี้ยประกันภัยสุขภาพให้มีความชัดเจน และ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น สามารถน� ำ มาใช้ วิ เ คราะห์ อัตราส่วนค่าสินไหมทดแทน (Loss Ratio) และต้นทุนใน แต่ละความคุ้มครองได้ โดยเก็บข้อมูลแบบแยกประเภท ความคุ้มครองที่ชัดเจน ส�ำหรับในส่วนของภาคธุรกิจประกัน วินาศภัยได้มีการจัดเก็บข้อมูลดังกล่าวในระบบฐานข้อมูล กลางด้านการประกันภัย (Insurance Bureau System: IBS) อยู่แล้ว ซึ่งก็จะมีการดึงเอาข้อมูลดังกล่าวมาจัดท�ำเป็นสถิติ ต่อไป และในส่วนของภาคธุรกิจประกันชีวิตที่ประชุมได้ ก�ำหนดแผนระยะสั้นไว้ คือการจัดท�ำแบบฟอร์มมาตรฐาน ให้บริษัทประกันชีวิตน�ำส่งข้อมูลที่จ�ำเป็นส�ำหรับการจัดท�ำ สถิติ และจะมีการขยายผลไปเป็นระบบ IBS ในระยะยาว ต่อไป ส�ำหรับการด�ำเนินการตามมาตรการนี้จ�ำเป็นต้องมี การปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพมาตรฐานควบคู่ไปด้วย เพือ่ ให้สอดคล้องและมีประสิทธิภาพสูงสุด เนือ่ งจากสัญญา ประกันสุขภาพมาตรฐานทีใ่ ช้อยู่ในปัจจุบนั ส�ำนักงาน คปภ. และภาคธุรกิจประกันภัยได้ร่วมกันจัดท�ำขึ้นตั้งแต่ปี 2549 ซึง่ ใช้มาเป็นระยะเวลานานกว่า 10 ปีแล้ว จึงต้องมีการปรับปรุง ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยี วิธีการรักษาทางการแพทย์ และ วิวฒ ั นาการทางการแพทย์ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป โดยสิง่ หนึง่ ทีจ่ ะ ต้องกล่าวถึงคือ สาเหตุส�ำคัญประการหนึ่งที่ท�ำให้ต้นทุน การประกันสุขภาพของไทยสูงมาก คือการเบิกค่าสินไหมทดแทน ของผู้เอาประกันภัยที่เกินความจ�ำเป็นหรือไม่มีความจ�ำเป็น ซึง่ น�ำไปสูก่ ารปรับเพิม่ เบีย้ ประกันสุขภาพของผูเ้ อาประกันภัย ทุกคน ซึ่งเดิมความผิดเกี่ยวกับการฉ้อฉลประกันภัยไม่มี ปรากฏอยู่ในพระราชบัญญัติประกันชีวิตฯ และพระราชบัญญัติประกันวินาศภัยฯ ส่งผลให้หากเกิดกรณีทเี่ ข้าข่ายเป็นการฉ้อฉลประกันภัย ทีก่ ระทบกับประชาชนทั่วไป ส�ำนักงาน คปภ. ไม่สามารถ เข้าไปด�ำเนินการใดๆ กับผู้ที่กระท�ำความผิดได้ นอกจากนี้ ยังเกิดการฉ้อฉลประกันภัยทัง้ จากบุคคลทีอ่ ยูภ่ ายนอกธุรกิจ หรือแม้แต่เกิดจากคนที่อยู่ในธุรกิจประกันภัยด้วยกันเอง ซึ่งหากไม่มีมาตรการเพื่อลงโทษผู้ที่กระท�ำความผิดหรือ ป้องปรามผูท้ จี่ ะกระท�ำความผิดดังกล่าวแล้ว อาจส่งผลกระทบ ต่อภาพลักษณ์ของธุรกิจประกันภัยโดยรวมได้ เพื่อเป็นการ เยียวยาปัญหาดังกล่าว ส�ำนักงาน คปภ. จึงได้เสนอแก้ไข กฎหมายประกันภัยให้มบี ทลงโทษทางอาญาส�ำหรับการฉ้อฉล ประกันภัย ซึ่งปัจจุบันกฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้แล้ว จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาและข้อมูลต่างๆ ของ
กรมธรรม์ประกันสุขภาพ พบว่า ทั้งธุรกิจประกันชีวิตและ ธุรกิจประกันวินาศภัย ต่างรับประกันสุขภาพ มีการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ให้ความคุม้ ครองค่ารักษาพยาบาลทีค่ ล้ายคลึงกัน แต่ในทางปฏิบัติ ทั้ง 2 ธุรกิจอาจมีการก�ำหนดแบบและ ข้อความของสัญญาในส่วนของความคุ้มครอง เงื่อนไขการ รับประกันภัย ข้อยกเว้นทีแ่ ตกต่างกัน หรือบางครัง้ ก�ำหนดแบบ และข้ อ ความที่ เ หมื อ นกั น แต่ มี ก ารตี ค วามที่ แ ตกต่ า งกั น จึงท�ำให้เกิดประเด็นข้อร้องเรียนของประชาชน อีกทั้งการ ก�ำหนดเงื่อนไขบางกรณีไม่ได้มีการปรับปรุงให้สอดคล้อง กับวิวฒ ั นาการทางการแพทย์ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป ท�ำให้สญ ั ญา ประกันสุขภาพไม่สอดรับกับสถานการณ์ในปัจจุบัน จึงเป็น ที่มาของการบูรณาการร่วมกันระหว่างส�ำนักงาน คปภ. กับ ภาคธุรกิจประกันภัยในการปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพ มาตรฐานของทั้ ง สองธุ ร กิ จ โดยมี แ พทย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญที่ มี ประสบการณ์ในเรื่องการรับประกันสุขภาพของทั้งสองธุรกิจ ร่วมเป็นคณะท�ำงาน นอกจากนี้ ส�ำนักงาน คปภ. ได้ใช้เวที CEO Insurance Forum 2019 เป็นเวทีระดมความคิดเห็นในการปรับปรุงระบบ ประกันสุขภาพ เพือ่ ยกระดับการประกันสุขภาพในประเทศไทย โดยมีการแบ่งกลุ่มย่อยออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มย่อยที่ 1 หัวข้อ ‘กระดับการก�ำกับประกันสุขภาพสู่อนาคตที่ยั่งยืน’ และกลุ่มที่ 2 หัวข้อ ‘กรอบแนวทางการด�ำเนินการในการ ป้องปรามการฉ้อฉลในการประกันภัยสุขภาพ’ ซึ่งได้น�ำ ข้อเสนอแนะไปใช้ในการปรับปรุงระบบประกันสุขภาพให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพมาตรฐานครั้งใหม่ ผลจากการประชุมหารือร่วมกันของภาคธุรกิจประกันภัย เกี่ ย วกั บ กรมธรรม์ ป ระกั น สุ ข ภาพ น�ำ ไปสู ่ ก ารปรั บ ปรุ ง กรมธรรม์ประกันสุขภาพมาตรฐานให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยมีสาระส�ำคัญ 5 ประเด็นหลัก คือ ประเด็นที่ 1 การต่ออายุกรณีครบรอบปีกรมธรรม์ ประกันภัย (Renewal) ปัจจุบัน: การต่ออายุสัญญาเมื่อครบรอบปีกรมธรรม์ ประกั น ภั ย จะขึ้ น กั บ การพิ จ ารณาของบริ ษั ท ประกั น ภั ย เนื่องจากในสัญญาก�ำหนดว่า ‘บริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการ ต่ออายุในรอบปีกรมธรรม์ถดั ไป’ ดังนัน้ เมือ่ ครบรอบปีกรมธรรม์ ประกันภัย ผูเ้ อาประกันภัยหลายรายถูกบริษทั ปฏิเสธการขอ ต่ออายุ เมือ่ พบว่าการป่วยนัน้ มีแนวโน้มว่าจะต้องมีคา่ รักษา พยาบาลที่สูงมาก ซึ่งการกระท�ำดังกล่าวท�ำให้เกิดความ ไม่เป็นธรรมต่อผูเ้ อาประกันภัย ดังนัน้ เพือ่ แก้ไขปัญหาการ ต่ออายุสัญญาให้เกิดความชัดเจนและเป็นธรรม ส�ำนักงาน คปภ. จึงได้ปรับปรุงเงือ่ นไขการต่ออายุสญ ั ญาใหม่ ดังนี้
90
91
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เงื่อนไขที่ปรับใหม่: ทุกบริษัท ต้องก�ำหนดให้ชัดเจนว่า สัญญาประกันสุขภาพนี้ จะไม่ตอ่ อายุเมือ่ ครบรอบปีกรมธรรม์ หากเข้ากรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ 1. บริ ษั ท มี ห ลั ก ฐานว่ า ผู ้ เ อาประกั น ภั ย ไม่ แ ถลง ข้อความจริงตามใบค�ำขอเอาประกันภัยหรือค�ำขอต่ออายุ (Reinstatement) ใบแถลงสุขภาพ และข้อแถลงเพิม่ เติมอืน่ ใด ทีเ่ กีย่ วข้องกับการท�ำสัญญาประกันสุขภาพ ซึง่ เป็นสาระส�ำคัญ ที่อ าจท�ำ ให้ บ ริษัท เรียกเบี้ยประกันภัยสูง ขึ้นหรือ บอกปัด ไม่รับท�ำสัญญา หรือรับประกันแบบมีเงื่อนไข 2. ผู้เอาประกันภัยเรียกร้องผลประโยชน์จากการที่ตน ให้มกี ารรักษาการบาดเจ็บหรือการป่วยโดยไม่มคี วามจ�ำเป็น ทางการแพทย์ 3. ผูเ้ อาประกันภัยเรียกร้องผลประโยชน์คา่ ชดเชยจาก การนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล รวมกันทุกบริษัทเกิน กว่ารายได้ที่แท้จริง ดังนั้น หากพิจารณาแล้ว ไม่เข้ากรณีใดกรณีหนึ่งใน 3 กรณีดงั กล่าวข้างต้น จะน�ำมาเป็นเหตุไม่ตอ่ อายุสญ ั ญาไม่ได้
ทีย่ งั มิได้รกั ษาให้หายก่อนวันทีส่ ญ ั ญาเริม่ มีผลบังคับเป็นครัง้ แรก เงื่อนไขที่ปรับใหม่: กรณีที่ผู้เอาประกันภัยป่วยเป็นโรค มาก่อนทีจ่ ะท�ำประกันภัยและต้องการความคุม้ ครองสุขภาพ มี 2 วิธี ที่บริษัทจะให้คุ้มครอง คือ 1. กรณีผเู้ อาประกันภัยแจ้งให้บริษทั ทราบตัง้ แต่เริม่ ท�ำ ประกันสุขภาพ และหากบริษัทยอมรับความเสี่ยงนั้น จะไม่ สามารถยกมาเป็นประเด็นในการปฏิเสธไม่รับประกันภัย 2. กรณีผเู้ อาประกันภัยไม่ได้แจ้ง (เพราะอาจเป็นโรคนัน้ มานานแล้วคิดว่าหายแล้ว/ลืมแจ้ง) บริษทั จึงได้ก�ำหนดกรอบ เวลาไว้ให้ชัดเจนว่าก่อนท�ำประกันสุขภาพ 5 ปี และหลังท�ำ ประกันสุขภาพ 3 ปี ต้องไม่มกี ารรักษาโรคทีเ่ ป็นมาก่อนนัน้ เลย บริษัทจะให้ความคุ้มครอง ทั้งนี้บริษัทจะต้องไม่ยกการป่วย ที่ไม่มีนัยส�ำคัญ (ส่งผลกระทบกับการขึ้นเบี้ยประกันภัย) มา เป็นเหตุในการปฏิเสธการรับประกันภัย เช่น เป็นหวัด อาหาร เป็นพิษ เป็นต้น ประเด็นที่ 4 ค่าการรักษาพยาบาลโดยการท�ำผ่าตัดและ หัตถการในห้องผ่าตัด ปัจจุบนั : บริษทั ประกันชีวติ และบริษทั ประกันวินาศภัย จะก�ำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการผ่าตัด โดยก�ำหนดเป็น ร้อยละตามตารางอัตราค่าธรรมเนียมการผ่าตัด/การวางยาสลบ เงือ่ นไขทีป่ รับใหม่: ปรับอัตราค่าธรรมเนียมแพทย์ผา่ ตัด โดยให้บริษัทจ่ายตามที่เรียกเก็บจริง แต่ไม่เกินอัตรา 90 เปอร์เซ็นไทล์ ตามที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือค่าธรรมเนียมแพทย์ ของแพทยสภาประเทศไทยที่มีผลใช้คุ้มครองขณะท�ำการ ผ่ า ตั ด ที่ ป ระกาศใช้ ใ นปั จ จุ บั น ข้ อ ดี ข องการปรั บ อั ต รา ค่าธรรมเนียมแพทย์ผ่าตัดดังกล่าว ท�ำให้การจ่ายค่ารักษา พยาบาลสมเหตุสมผล สอดคล้องกับการเรียกเก็บที่เกิด ขึ้นจริง ซึ่งการก�ำหนดอัตราค่าธรรมเนียมแพทย์ผ่าตัดจะมี การปรับปรุงตามประกาศของแพทยสภา ซึ่งเป็นข้อมูลที่ ต้องเปิดเผยให้ประชาชนและโรงพยาบาลทราบโดยทั่วไป และแพทย์ต้องเรียกเก็บค่าธรรมเนียมให้สอดคล้องตามที่ แพทยสภาก�ำหนด
ประเด็นที่ 2 การปรับเบี้ยประกันภัย ปัจจุบนั : บริษทั ประกันชีวติ และบริษทั ประกันวินาศภัย จะก�ำหนดเรื่องการปรับเบี้ยประกันภัย โดยพิจารณาตาม อายุเท่านั้น และพบว่าแนวทางปฏิบัติมีความแตกต่างกัน กล่าวคือมีบางบริษทั ทีป่ รับเบีย้ ประกันภัยเพิม่ เป็นรายบุคคล โดยหากมีการเรียกร้องค่าสินไหมทีส่ งู ก็จะพิจารณาเพิม่ เบีย้ ประกันภัยรายบุคคลเท่านั้น บางบริษัทพิจารณาปรับเบี้ย ประกันภัยแบบทั้ง Portfolio7 จากหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติ เรือ่ งการปรับเบีย้ ประกันภัยทีแ่ ตกต่างกันจึงสร้างความสับสน ให้กับผู้เอาประกันภัย เงื่อ นไขที่ป รับ ใหม่ : ได้ มีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ใน การพิจารณาปรับเบี้ยประกันภัยเพื่อให้เกิดความชัดเจนว่า ทุกบริษัทจะพิจารณาปรับเบี้ยประกันภัยจากปัจจัยต่อไปนี้ ได้แก่ อายุและอาชีพของแต่ละบุคคล ค่าใช้จา่ ยในการรักษา พยาบาลที่สูงขึ้นหรือจากประสบการณ์การจ่ายค่าสินไหม ทดแทนโดยรวมของ Portfolio และต้องได้รับความเห็นชอบ จากนายทะเบียน ดังนั้น บริษัทจะไม่สามารถพิจารณาปรับ เบี้ยประกันภัยเป็นรายบุคคลได้
ประเด็นที่ 5 การผ่าตัดใหญ่ที่ไม่ต้องเข้าพักรักษาตัว ในโรงพยาบาล (Day Surgery) ปัจจุบัน: ก�ำหนดการผ่าตัดใหญ่ที่ไม่ต้องพักรักษาตัว ในโรงพยาบาล (Day Case) โดยได้ ก� ำ หนดรายการที่ ตรวจรักษาโดยการผ่าตัด หรือหัตถการ 21 รายการ เงือ่ นไขทีป่ รับใหม่: โดยมีการปรับชือ่ ใหม่เป็นการผ่าตัด ใหญ่ที่ไม่ต้องเข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน (Day Surgery) โดยได้เพิม่ เติมจากการผ่าตัด หรือหัตถการ 21 รายการ (เดิม) ด้ ว ยการก� ำ หนดเป็ น ค� ำ นิ ย าม ซึ่ ง การผ่ า ตั ด หรื อ การท�ำ
ประเด็นที่ 3 สภาพที่เป็นมาก่อนการเอาประกันภัย (Pre-existing Condition) ปัจจุบนั : บริษทั ประกันชีวติ และบริษทั ประกันวินาศภัย จะก� ำ หนดเรื่ อ งสภาพที่ เ ป็ น มาก่ อ นการเอาประกั น ภั ย เพื่อแจ้งให้ผู้เอาประกันภัยทราบว่าบริษัทไม่คุ้มครองส�ำหรับ โรคเรือ้ รัง การบาดเจ็บ หรือการป่วย (รวมถึงภาวะแทรกซ้อน)
หัตถการทดแทนการผ่าตัดใหญ่ หรือการใช้เครื่องมือบ�ำบัด รักษาพิเศษที่สามารถทดแทนการผ่าตัดใหญ่ได้ เข้าเกณฑ์ ตามค�ำนิยามที่ก�ำหนดก็สามารถเบิกค่ารักษาแบบผู้ป่วยใน ได้โดยไม่ต้องนอนโรงพยาบาล
ตั้งแต่ต้น ผลที่ตามมาก็คือสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยง่าย ส่งผลให้ค่ าใช้จ่ายที่ต้องเสียไปในการรักษาพยาบาลลดลง และค่าใช้จ่ายของบริษทั ประกันภัยย่อมลดลงไปด้วย ดังพุทธพจน์ท่วี ่า ‘อโรคยา ปรมาลาภา’ ความไม่มโี รค เป็นลาภอันประเสริฐ
ข้อดีของการปรับปรุงสัญญาประกันสุขภาพมาตรฐาน คือท�ำให้เกิดความยืดหยุ่น และปรับเปลี่ยนไปตาม วิวัฒนาการทางการแพทย์ที่เปลี่ยนแปลงไป การปรั บ ปรุ ง เงื่ อ นไขใหม่ ข องสั ญ ญาสุ ข ภาพครั้ ง นี้ จะช่วยลดข้อขัดแย้งและการตีความต่างๆ ให้มีความชัดเจน ยิ่งขึ้น เพื่อท�ำให้ระบบประกันสุขภาพสามารถรองรับการ ก้าวสู่สังคมผู้สูงวัยของไทย การประกันสุขภาพในเชิงป้องกัน การแพทย์ปัจจุบันหันมาให้ความส�ำคัญกับการแพทย์ ในเชิงป้องกันโรค (Preventive Medicine) มากขึ้น ขณะที่ ประกันสุขภาพของไทยยังมุ่งไปที่การประกันภัยเพื่อเยียวยา เมื่อเกิดโรคภัยไข้เจ็บ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันเริ่มมีบริษัท ประกันภัยหันมาส่งเสริมและสนับสนุนผูเ้ อาประกันภัยในเชิง ป้ อ งกัน โรคมากขึ้น เพื่อ ให้ ผู้ เ อาประกัน ภัย มีสุข ภาพที่ดี เจ็บป่วยน้อยลง และกลายเป็นผู้สูงอายุที่แข็งแรงในอนาคต เช่น กระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจในการไปออกก�ำลังกายด้วย ส่วนลดพิเศษกับพันธมิตร ให้สิทธิพิเศษในการซื้อสินค้า อุปโภคบริโภค การร่วมกิจกรรมเพื่อสุขภาพแล้วได้คะแนน สะสมเพือ่ รับของรางวัลหรือให้สว่ นลดเบีย้ ประกันภัย เป็นต้น จึงเห็นว่าในอนาคตระบบประกันสุขภาพของไทยควร จะขับเคลือ่ นไปในแนวทางทีส่ อดคล้องกับการแพทย์ปจั จุบนั คือเป็นประกันสุขภาพในเชิงป้องกันหรือ Preventive-Health Insurance โดยมีรูปแบบผลิตภัณฑ์ประกันสุขภาพ เพื่อ ส่งเสริมสุขภาพของผู้เอาประกันภัยมากขึ้น บทสรุป ส�ำนักงาน คปภ. ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญและความ จ�ำเป็นใน การด�ำเนินการปรับปรุงระบบการประกันสุขภาพ ของไทยให้ เกิ ด ความสอดคล้ อ งกั บ นโยบายของภาครั ฐ ในฐานะหน่ วยงานก� ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย จึงได้บรู ณาการร่วมกับทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน เพื่ อ เตรี ยมความพร้ อ มและรองรั บ การส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ ดังกล่าว พัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยรูปแบบใหม่ๆ เพื่อ รองรับกับ ความต้องการและพฤติกรรมของผู้เอาประกันภัย โดยผลิตภั ณฑ์ประกันสุขภาพในอนาคตควรจะให้ความ ส�ำคัญกับแนวทาง Preventive เพือ่ ส่งเสริมให้ผเู้ อาประกันภัย มีสุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งถ้าผู้เอาประกันภัยดูแลสุขภาพตัวเอง
อ้างอิง: *ปรับปรุงจากการบรรยายของผู้เขียนหัวข้อ ‘ระบบประกันภัย จะช่วยส่งเสริมสุขภาพได้อย่างไร’ ณ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ วันที่ 31 ตุลาคม 2562 ผลการศึกษา ‘อีก 15 ปีข้างหน้า อนาคตค่าใช้จ่ายสาธารณะ ด้านสุขภาพของไทยจะเป็นอย่างไร?’ - ดร.ณัฐนันท์ วิจิตรอักษร สถาบันวิจัย TDRI
1
ได้แก่ 1) ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการพยาบาลประจ�ำวัน 2) ค่าแพทย์ตรวจรักษาในโรงพยาบาล 3) ค่าแพทย์ผ่าตัดและ หัตถการ 4) ค่าแพทย์วสิ ัญญี 5) ค่าห้องผ่าตัดและอุปกรณ์ในห้อง ผ่าตัด 6) ค่ารักษาพยาบาลฉุกเฉินขณะเป็นผู้ป่วยภายนอก (เนื่องจากอุบัติเหตุ) 7) ค่ารักษาพยาบาลอื่น ๆ ในโรงพยาบาล เช่น ค่าตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยาและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2
ข้อยกเว้นความคุ้มครอง ซึ่งจะไม่คุ้มครองโรคเรื้อรัง การป่วย (รวมถึงภาวะแทรกซ้อน) หรือการบาดเจ็บ ที่ผู้เอาประกันภัยเป็น มาก่อนท�ำประกัน หรือยังมิได้รักษาให้หายก่อนวันเริ่มมีผลคุ้มครอง หรือวันต่ออายุสัญญา
3
ระยะเวลาที่บริษัทประกันภัยจะไม่จ่ายผลประโยชน์ตามสัญญา ประกันสุขภาพส�ำหรับการป่วยใดๆ ที่เกิดขึ้นในระยะเวลา 30 วัน นับจากวันเริ่มมีผลคุ้มครอง หรือหากป่วยด้วยโรคเฉพาะบางโรค จะมีระยะเวลาที่ไม่คุ้มครอง 120 วัน นับจากวันเริ่มมีผลคุ้มครอง
4
ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย, สถิติการประกันสุขภาพในประเทศไทย ปี 2555-2561 5
ตัวอย่าง เช่น โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมองและ หัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วนลงพุง
6
การดูสถิตโิ ดยรวมของสัญญาประกันสุขภาพทั้งหมด
7
92
93
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เรียบเรียงโดย
ชัชวาลย์ วยัมหสุวรรณ
The Global Risk Report 2019 รายงานวิเคราะห์ความเสี่ยงระดับมหภาคปี 2562 96
97
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
รายงานเกี่ยวกับการวิเคราะห์ความเสี่ยงต่างๆ ในระดับมหภาคของ World Economic Forum ได้กล่าวไว้วา่ โลกของเราก�ำลังเผชิญกับความเสีย ่ งทีท ่ า้ ทายต่างๆ ซึง ่ มีความเชือ ่ มโยงกันและมีความซับซ้อน มากขึ้น เริ่มตั้งแต่เรื่องอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลง และความเหลื่อมล�้ำทางเศรษฐกิจที่ เรื้อรังมาเป็ นเวลานาน รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านภูมิอากาศและความตึงเครียดทางการเมืองในแต่ละ ภูมิภาค เฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ได้กล่าวถึงข้างต้นก็เป็ นความท้าทายอย่างมากอยู่แล้ว ถ้าพิจารณาว่า เราต้องเผชิญกับความท้าทายดังกล่าวพร้อมๆ กัน หากไม่รว ่ มมือร่วมใจต่อสูก ้ บ ั ความท้าทายดังกล่าวแล้ว เราคงจะต้องเกิดความล�ำบากอย่างแน่นอน Global Risks ก�ำลังมีความเข้มข้นขึน ้ เรือ ่ ยๆ แต่ความพยายามทีจ ่ ะร่วมมือกันในการแก้ไขดูเหมือนจะ มีจำ� นวนลดลง และโลกก�ำลังเคลือ ่ นตัวไปในทิศทางใหม่โดยมีการเมืองเป็นศูนย์กลาง (State-centered Politics) ในรายงาน The Global Risks Report 2018 ได้กล่าวไว้ว่า แนวทางความคิดที่จะน�ำ การควบคุมกลับมา (Taking Back Control) ไม่ว่าจะเป็นเรือ ่ งภายในประเทศหรือเรือ ่ งทีเ่ กีย ่ วข้องกับ ต่างประเทศก็ตาม ได้สะท้อนให้เห็นในหลายๆ ประเทศและในหลากหลายประเด็นด้วยกัน โลกของเราก�ำลัง เลือ ่ นลึกลงไปในปัญหาต่างๆ ทีเ่ ราพยายามจะคลีค ่ ลาย เช่น
ประเทศได้ก่อให้เกิดความเสี่ยงเชิงระบบ (Systemic Risks) ขึ้นมาแล้ว อาจจะเป็นไปได้ว่า ความตึงเครียดระหว่าง โลกาภิวตั น์ทางด้านเศรษฐกิจของโลกและการเพิ่มขึ้นของ ชาตินยิ มในทางการเมืองของโลกจะเป็นความเสีย่ งทีเ่ พิม่ ขึน้
ความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจมหภาค (Macroeconomic Risk) กองทุนการเงินระหว่างประเทศมีการคาดการณ์ว่า การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ของโลกจะมี แ นวโน้ ม ลดลง เล็กน้อยในอีก 2-3 ปีข้างหน้านี้ เป็นผลมาจากประเทศที่มี การพัฒนาทางเศรษฐกิจแล้ว รวมทั้งการประมาณการว่า การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศจีนจะลดลงจากปี 2018 ซึ่งเท่ากับร้อยละ 6.6 เป็นร้อยละ 6.2 ในปี 2019 และ ร้อยละ 5.8 ในปี 2020 ตามล�ำดับ ในขณะที่ภาระหนี้สินใน ระดับโลก (Global Debt) จะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 225 ของ GDP
ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Risk) ตามที่ไ ด้ ร วบรวมข้ อ มู ล จากการออกแบบสอบถาม Global Risks Perception Survey (GRPS) จะเห็นได้ว่า ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมอยู่ในอันดับสามส�ำหรับโอกาส ที่จะเกิดขึ้น (Likelihood) และอันดับสี่ส�ำหรับผลกระทบด้าน ความเสียหาย (Impact) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องภูมิอากาศ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง (Extreme Weather) เป็น ประเด็นที่ได้รับความกังวลอย่างมาก ตลอดจนการสูญเสีย ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Loss) มีการเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว ความอุดมสมบูรณ์ของสายพันธุ์ (Species Abundance) ลดลงร้อยละ 60 ตั้งแต่ปี 1970 หากพิจารณา ในแง่หว่ งโซ่อาหารของมนุษย์ การสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและการพัฒนาด้าน เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งอาจจะมีผลกระทบต่อการมี ความเป็นอยู่ที่ดี ผลผลิต และแม้กระทั่งความมั่นคงระดับ ภูมิภาค
ความตึ ง เครี ย ดทั้ ง ด้ า นเศรษฐกิ จ และการเมื อ ง (Geopolitical and Geo-economic Tensions) ความตึงเครียดดังกล่าวก�ำลังเพิ่มขึ้นส�ำหรับประเทศ ทีม่ ขี นาดเศรษฐกิจใหญ่ (Major Powers)โลกก�ำลังพัฒนาการ ไปสูร่ ะยะเวลาส�ำหรับความแตกต่าง (A Period of Difference) ต่อจากระยะเวลาของโลกาภิวัตน์ (A Period of Globalization) ซึ่ ง จะมี ผ ลกระทบต่ อ การเปลี่ ย นแปลงด้ า นเศรษฐกิ จ การเมืองระหว่างประเทศของโลก (Global Political Economy) การก�ำหนดระดับของความสัมพันธ์ในการร่วมมือระหว่าง ประเทศเต็มไปด้วยความเสี่ยง รวมทั้งความสัมพันธ์ทาง การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศเศรษฐกิจใหญ่ มีความ ยากมากขึ้น นอกจากนี้แล้วก็มีความเป็นไปได้ที่ยากมากขึ้น ส�ำหรับความก้าวหน้าในการพยายามแก้ปัญหาอื่นๆ ด้วย เช่น การที่จะปกป้องสิ่งแวดล้อมเนื่องจากการพัฒนาด้าน อุตสาหกรรมในยุค 4.0 จะเกี่ยวข้องกับความท้าทายด้าน จริยธรรม เป็นต้น ในการนี้ รอยแยกของระบบระหว่าง
ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี (Technology Risk) ยังคงมีบทบาทที่ส�ำคัญต่อแนวทางในการวางกรอบ การบริหารความเสี่ยง ความกังวลเกี่ยวกับการฉ้อฉลเรื่อง ข้อมูล และการโจมตีทางไซเบอร์ เป็นประเด็นที่หลายฝ่าย ได้ให้ความส�ำคัญ ส�ำหรับความอ่อนแอทางด้านเทคโนโลยี
(Technological Vulnerabilities) มี ผู ้ ต อบแบบสอบถาม Global Risks Perception Survey (GRPS) จ�ำนวนถึง 67% คาดว่าความเสี่ยงเรื่องข่าวปลอม (Fake News) การขโมย ข้อมูลประจ�ำตัว (Identity Theft) จะมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้นใน ปี 2019 ขณะที่ร้อยละ 60 ของผู้ตอบแบบสอบถามดังกล่าว คาดว่าจะสูญเสียความเป็นส่วนตัว (Loss of Privacy) ให้แก่บริษทั ต่างๆ และรัฐบาล รวมทั้งมีความเป็นไปได้ที่การโจมตีทาง ไซเบอร์โดยใช้ปัญญาประดิษฐ์จะมีเพิ่มมากขึ้น ความเสี่ยงภัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ (The Human Side of Global Risks) ส�ำหรับหลายคนมีการพูดถึงว่ามีความกังวล ไม่ค่อย มีความสุข และโดดเดี่ยวมากขึ้น ทั่วโลกมีประชากรที่มี ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพจิต (Mental Health) ประมาณ 700 ล้านคน การเปลีย่ นแปลงอย่างซับซ้อนของสังคม เทคโนโลยี และการประกอบอาชีพการงาน มีผลกระทบอย่างมากกับ การใช้ชีวิตและประสบการณ์ต่างๆ ของมนุษย์ในปัจจุบัน ประเด็นที่มีเหมือนๆ กัน ได้แก่ ความเครียดทางจิตใจ (Psychological Stress) ที่มนุษย์รู้สึกว่าไม่สามารถควบคุม การเผชิญกับความไม่แน่นอนต่างๆ ได้ ประเด็นดังกล่าว ควรได้รับความสนใจมากกว่านี้ เนื่องจากจิตใจและอารมณ์ เป็ น อยู ่ ที่ ดี ที่ ล ดลงเป็ น ความเสี่ ย งที่ จ ะส่ ง ผลกระทบต่ อ ภาพรวมของความเสี่ยงในระดับมหภาคกว้างขวางมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อการท�ำงานร่วมกันทางสังคมและ การเมือง (Social Cohesion and Politics) ภัยคุกคามทางชีวภาพ (Biological Threats) นอกจากนี้ ค วามเสี่ ย งอี ก ประการหนึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในระดับมหภาคเกี่ยวข้องกับ เชื้อโรคทางชีวภาพ (Biological Pathogens) กล่าวคือการใช้ ชีวติ ของมนุษย์ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป เช่น มีการเดินทางท่องเทีย่ ว มากขึ้น การมีสังคมเมืองที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ได้เพิ่ม ความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคอย่างรุนแรง (Devastating Outbreak) ซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติตลอดจนการพัฒนา เทคโนโลยีใหม่ๆ ท�ำให้เกิดภัยคุกคามทางชีวภาพใหม่ๆ (New Biological Threats) ไม่ว่าจะโดยความตั้งใจหรือความ บังเอิญ ขณะที่การเตรียมตัวเพื่อป้องกันเรื่องดังกล่าวก็มี ไม่เพียงพอ ท�ำให้การด�ำรงชีวิตของมนุษย์มีความอ่อนแอ ต่อผลกระทบที่จะเกิดอย่างมาก ทั้งนี้ การปฏิวัติเทคโนโลยี ชีวภาพใหม่ (Biotechnology) ได้ให้ความหวังถึงความก้าวหน้า ที่ ม หั ศ จรรย์ แต่ ก็ ม าพร้ อ มกั บ ความท้ า ทายที่ ย ากต่ อ การควบคุม เช่น มีการอ้างว่า ในปี 2018 โลกได้มที ารกคนแรก ที่เกิดจากการดัดแปลงพันธุกรรม (Gene-modified Babies)
การเพิ่มขึ้นของระดับน�้ำทะเล (Sea Level Rise) การเติ บ โตของสั ง คมเมื อ งที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว และผลกระทบอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจากการเปลี่ ย นแปลงของ ภูมิอากาศก�ำลังท�ำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการสูงขึ้น ของระดับน�้ำทะเล คาดว่าในปี 2050 หรืออีกประมาณ 30 ปีข้างหน้า ประมาณร้อยละ 67 ของประชากรโลกจะ อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ๆ และประมาณ 800 ล้านคนจะ อาศัยอยู่ใน 570 เมืองชายฝั่งทะเล (Coastal Cities) ซึ่งจะมี ความเสี่ยงเนื่องจากน�้ำทะเลจะสูงขึ้น 50 เซนติเมตร ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงได้รับผลกระทบจากการที่ระดับ น�ำ้ ทะเลสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง การเจริญเติบโตของสังคมเมือง (Urbanization) ไม่เพียงแต่จะท�ำให้มีประชากรและตึกอาคาร ทีห่ นาแน่นเท่านัน้ แต่จะก่อให้เกิดผลเสียต่อป่าชายเลนชายฝัง่ (Coastal Mangroves) และน�้ำใต้ดินส�ำรอง (Groundwater Reserves) ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้คือแหล่งธรรมชาติของความ ยืดหยุ่น รวมทั้งการเพิ่มขึ้นของผลกระทบจากจ�ำนวนพื้นที่ ที่ไม่สามารถอยู่อาศัยได้ (Uninhabitable) มีกลยุทธ์อยู่ 3 ประการเกี่ยวกับการปรับตัวเพื่อรองรับ การสูงขึ้นของระดับน�้ำทะเล ประการที่หนึ่ง คือการท� ำ โครงการที่จะผันน�้ำออกไป ประการที่สอง คือการป้องกัน โดยวิ ธี ก ารทางธรรมชาติ ประการที่ ส าม คื อ กลยุ ท ธ์ ที่ เกี่ยวข้องกับประชาชน เช่น การย้ายบ้านเรือนที่อยู่อาศัย และธุ ร กิ จ ไปยั ง พื้ น ที่ ที่ ป ลอดภั ย กว่ า หรื อ การลงทุ น ในทุนทางสังคม (Social Capital) เพื่อให้ชุมชนที่มีความเสี่ยง ต่อการเกิดน�้ำท่วมมีความยืดหยุ่นมากขึ้น เช่น การสร้าง มิตรภาพและการติดต่อสัมพันธ์ทางสังคม ให้คนบรรลุถึง ความต้ อ งการทางสั ง คม ชุ ม ชนจะได้ รั บ ประโยชน์ จ าก ความร่ ว มมื อ ของสมาชิ ก ทุ ก คน และสมาชิ ก ก็ จ ะได้ รั บ ประโยชน์ซึ่งกันและกัน
98
99
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เรียบเรียงโดย
สมควร วัฒนพิ ทยกุล
The Future of InsurTech อินชัวร์เทค: อนาคตของการประกันภัย และการก�ำกับดูแล
100
101
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ส่ ว นร่ ว มของนั ก ลงทุ น และบริ ษั ท เทคโนโลยี ในการใช้ เทคโนโลยี ใหม่ และการลงทุนในภาคการเงิน การเพิ่มทรัพยากรทางปัญญา และการขยายโอกาสทางธุ ร กิ จ ของ ผู้ ป ระกอบการ ผู้ ป ระกอบการใหม่ หลายรายในระบบนิเวศการประกันภัย ได้รบั เงินทุนสนับสนุนจากผูป้ ระกอบการ ทีห่ าโอกาสงามทางธุรกิจจากนวัตกรรม ของตนเอง เมือ่ การแข่งขันในอุตสาหกรรม ธนาคารเพิม่ ขึน้ ผูป้ ระกอบการบางคน มองการประกันภัยว่าเป็นเขตแดนใหม่ นอกจากนี้ ผูป้ ระกอบการจำ�นวนมาก ค้ น หาโอกาสจากจุ ด อ่ อ นในการ ดำ�เนินธุรกิจประกันภัย ปัจจัยชักจูง (Pull Factors) การเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คม กระทบต่ อ ประเภทผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ การซือ้ ผลิตภัณฑ์ประกันภัย: ตัวอย่าง เช่น การขายผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้ กลุ่มมิลเลนเนียลส์ (Millennials) ต้อง พิจารณาถึงการใช้อปุ กรณ์เคลือ่ นทีซ่ ึง่ เชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ต เศรษฐกิจแบ่งปัน (Sharing Economy) การบริหารงาน ด้วยตนเอง (Self-management) และ
Source: “InsurTech – the threat that inspires” by Tanguy Caitlin, Johannes-Tobias Lorenz, Björn Münstermann & Peter Braad Olesen at Mckinsey.com
การขับเคลื่อนนวัตกรรม สิ่งขับเคลื่อนนวัตกรรมเป็นผล มาจากส่วนประกอบของปัจจัยผลักดัน (Push Factors) เช่น สิ่งที่มีผลกระทบ ต่ออุปทาน (Supply) ของเทคโนโลยีใหม่ ที่นำ�มาประยุกต์ใช้กับผู้รับประกันภัย และผู้ถือ กรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย และ ปัจจัยชักจูง (Pull Factors) เช่น สิ่งที่ ส่งผลกระทบต่ออุปสงค์ (Demand) ของผู้ บ ริ โ ภคและผู้ รั บ ประกั น ภั ย สำ � หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใหม่ สิ่ ง ต่ อ ไปนี้ แสดงภาพรวมของปัจจัยผลักดันและ ปัจจัยชักจูงทีข่ บั เคลือ่ นนวัตกรรมของ อินชัวร์เทคในปัจจุบัน ปัจจัยผลักดัน (Push Factors) ก า ร เพิ่ ม ก า ร ล ง ทุ น โ ด ย ใ ช้ ประโยชน์ จ ากระบบนิ เ วศฟิ น เทค (FinTech Ecosystem) ในปั จ จุ บั น การลงทุ น ทางเทคโนโลยี มุ่ ง สู่ ภ าค การธนาคาร เช่น การช่วยเพิ่มหนทาง สนั บ สนุ น การให้ บ ริ ก ารชำ � ระเงิ น ในมุ ม มองของนวั ต กรรม มี ค วาม สั ม พั น ธ์ เ พี ย งเล็ ก น้ อ ยในการใช้ เทคโนโลยีนใี้ นอุตสาหกรรมประกันภัย อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้เพิ่มระดับการมี
Source: CB Insights, www.cbinsights.com/research/briefing/insurance-trends
เ ทคโนโลยี มี ศั ก ยภาพใน การแปรรูปอุตสาหกรรมประกันภัย ไม่เพียงเป็นการเปลี่ยนวิธีการซื้อ ผลิตภัณฑ์ประกันภัยของผูบ้ ริโภค เท่านัน้ แต่รวมถึงการเปลีย่ นประเภท การประกันภัย ผู้ขายประกันภัย การคัดเลือกลูกค้าของผูร้ บั ประกันภัย การประเมินความสูญเสีย และการ ชดใช้เงินหรือค่าสินไหมทดแทนตาม สัญญาประกันภัย ฟินเทค (FinTech: Financial Technology) ได้รับการกล่าวว่า เป็นนวัตกรรมทางการเงินที่เสริม ด้วยเทคโนโลยี ซึง่ ก่อให้เกิดตัวแบบ ธุรกิจ การใช้งาน กระบวนการ หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ๆ ที่ ส่ ง ผล กระทบอย่างมีนยั สำ�คัญต่อตลาด ประกันภัย สถาบันการเงิน และ การบริการทางการเงิน ฟินเทค ครอบคลุมนวัตกรรมทางเทคนิค ในวงกว้ า ง ซึ่ ง ค้ น หาหนทางใน การเข้ า ถึ ง อุ ต สาหกรรมการเงิ น ในขณะที่ อินชัวร์เทค (InsurTech: Insurance Technology) เป็นสาขา ของฟินเทคเฉพาะเรือ่ งการประกันภัย ซึ่ ง มี ค วามหลากหลายเกี่ ย วกั บ เทคโนโลยีใหม่และตัวแบบธุรกิจ ที่สร้างสรรค์ โดยมีศักยภาพใน การแปรรูปธุรกิจประกันภัย ในปี 2561 การลงทุ น ในอิ น ชั ว ร์ เ ทค ทั่ ว โลกมี จำ � นวนมากกว่ า 4.15 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพิ่มขึ้น จาก 348 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ใน ปี 2555
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น ภั ย ที่ ต อบสนอง ความต้องการเฉพาะบุคคล (On-demand Type Products) ซึ่งมักรวมกับการให้ บริการที่ผู้รับประกันภัยเสนอให้ ค วามได้ เปรี ย บในการแข่ ง ขั น (Competitive Advantage): ผู้บริหาร จำ � นวนมากมองเทคโนโลยี ว่ า เป็ น หนทางในการขยายการปฏิ สั ม พั นธ์ กับลูกค้า ในขอบเขตที่มากกว่าการ แจ้งเตือนต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัย ปีละหนึง่ ครัง้ ซึง่ เป็นการเพิม่ ความจงรัก ภักดีของลู กค้า นอกจากนี้ผู้บริหาร ยังค้นหาวิธีการใช้เทคโนโลยีใหม่เพื่อ ปรับปรุงการกำ�หนดราคาการคัดเลือก ความเสีย่ ง และการตรวจจับการฉ้อฉล ในการชดใช้เงินหรือค่าสินไหมทดแทน ตามสัญญาประกันภัย (3) ประสิทธิภาพของสำ�นักงาน ส่วนหลัง: ธุรกิจประกันภัยมีการแข่งขัน สู ง ในหลายตลาดทั่ ว โลก ผู้ บ ริ ห าร จึ ง มองหาหนทางในการปรั บ ปรุ ง ประสิทธิ ภ าพของการดำ � เนิ นงานใน สำ � นั ก งานส่ ว นหลั ง เพื่ อ ลดต้ น ทุ น เช่น การปรับปรุงระบบการดำ�เนินงาน
ให้เป็นดิจิทัลเพื่อลดจำ�นวนพนักงาน ปฏิบัติงานลง ธุ ร กิ จ เกิ ด ใหม่ (Startup) ด้ า น อินชัวร์เทค: มีเป้าหมายการทำ�ธุรกิจ ในห่ ว งโซ่ มู ล ค่ า การประกั น ภั ย และ การสร้ า งตั ว แบบธุ ร กิ จ ใหม่ ทั้ ง หมด กระบวนการต่ า งๆ ในห่ ว งโซ่ มู ล ค่ า เริ่มต้นจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปสู่ การบริหารค่าสินไหมทดแทน ได้รับ ผลกระทบอย่ า งมาก อิ น ชั ว ร์ เ ทค ใช้ น วั ต กรรมทางเทคโนโลยี ท่ีส่ง ผล กระทบห่วงโซ่มูลค่าในด้านต่างๆ
แนวทางหนึ่งในการจัดหมวดหมู่ ผู้เข้าสู่ตลาดรายใหม่ โดยการจำ�แนก ธุรกิจเกิดใหม่ตามประเภทของธุรกิจ หลักที่จัดทำ�โดย CB Insights ซึ่งแบ่ง ออกเป็น 11 ประเภท ดังนี้ 1. การประกันชีวิตและเงินรายปี (Annuity): ธุรกิจเกิดใหม่ภาคเอกชน (Private Startup) ให้บริการกระจาย ผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตและเงินรายปี 2 . ก า ร ป ร ะ กั น ภั ย ร ถ ย นต์ การกระจายผลิตภัณฑ์การประกันภัย บนพื้นฐานการใช้งาน (Usage-based Insurance) เทเลเมติกส์ (Telematics) และการชดใช้คา่ สินไหมทดแทน: ธุรกิจ เกิ ด ใหม่ ใ ห้ บ ริ ก ารตั้ ง แต่ ผู้ ร วบรวม ประกันภัย (Aggregator) แอปพลิเคชัน (Application) การชดใช้คา่ สินไหมทดแทน และตั ว แทนบริ ห ารการใช้ ร ถตาม ระยะทาง (Per-mile) 3 . การประกันภัยในระดับเดียวกัน (Peer-to-Peer: P2P Insurance): ธุรกิจ เกิดใหม่ภาคเอกชน และธุรกิจบนพืน้ ฐาน แบบสหการ (Mutual-based Startup) 4 . การประกันภัยธุรกิจขนาดเล็ก: บริ ษั ท เทคโนโลยี เ อกชนให้ บ ริ ก าร นายหน้าประกันภัยและตัวแทนบริหารงาน (Managing General Agent) 5 . อุ ต สาหกรรมประกั น ภั ย ซอฟต์ แ วร์ / การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล : ซอฟต์ แ วร์ เ ฉพาะการประกั น ภั ย ที่ ครอบคลุมห่วงโซ่มูลค่า เริ่มต้นจาก คลั ง ข้ อ มู ล จนถึ ง การตรวจสอบการ ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน 6 . การบริ ห ารการประกั น ภั ย เคลื่อนที่: ธุรกิจเกิดใหม่มุ่งเน้นการให้ ผู้ บ ริ โ ภคบริ ห ารและซื้ อ กรมธรรม์ ประกันภัยผ่านอุปกรณ์สอื่ สารเคลือ่ นที่ ของตนเอง 7 . การประกั น ภั ย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (Product Insurance): การทำ�ประกันภัย หรือการค้นหาและติดตาม (Tracking)
102
103
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ตโฟน (Smartphone) คอมพิวเตอร์พกพา 8 . ผู้ เช่ า /เจ้ า ของบ้ า น: ธุ ร กิ จ เกิดใหม่กระจายการประกันภัยสำ�หรับ ผู้เช่าและเจ้าของบ้าน 9. เศรษฐกิจแบ่งปัน (Sharing Economy): ธุรกิจเกิดใหม่อยู่ระหว่าง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อให้ความ คุ้มครองบุคคลและทรัพย์สินในระบบ เศรษฐกิจแบ่งปัน 1 0. การประกั นสุ ขภาพ: ผู้ ให้ บริการรายใหม่ เช่น Oscar Health มี เป้าหมายการประกันสุขภาพส่วนบุคคล และนายจ้าง 1 1. การประกันภัยสัตว์เลี้ยง (Pet Insurance): ผู้ให้บริการรายใหม่ เช่น Embrace Pet Insurance และ Figo Pet Insurance เทคโนโลยีในปัจจุบนั เช่น ข้อมูล ขนาดใหญ่ (Big Data) และเครื่องรับรู้ (Sensor) ช่วยให้ผรู้ บั ประกันภัยประเมิน ความเสีย่ งได้แม่นย�ำยิง่ ขึน้ สิง่ นีห้ มายถึง ผู ้ รั บ ประกั น ภั ย ใช้ เ ทคโนโลยี ใ นการ เลื อ กลู ก ค้ า ที่ มี ค วามเสี่ ย งต�่ ำ ที่ สุ ด จ่ายเงิน หรื อ ค่ า สิ น ไหมทดแทนตาม สั ญ ญาประกั น ภั ย จ�ำนวนน้ อ ยกว่ า ค่าเฉลีย่ ของอุตสาหกรรม และมีก�ำไร มากกว่ า ผู ้ รั บ ประกั น ภั ย ที่ มิ ไ ด้ ใ ช้ เทคโนโลยี ป ระเภทนี้ การประเมิ น ความเสี่ยงอย่างแม่นย�ำย่อมน�ำไปสู่ การเพิ่มเบี้ยประกันภัยส�ำหรับลูกค้าที่ ได้รับการประเมินว่ามีความเสี่ยงสูง กว่าปกติ สิ่งนี้ก่อให้เกิดความกังวล หลายประการดังนี้ ประการแรก ผู ้ รั บ ประกั น ภั ย ต้องมั่นใจว่าขั้นตอนวิธี (Algorithm) มีความเป็นธรรมและถูกต้องซึ่งไม่มี ความผิดพลาดในการระบุวา่ เป็นบุคคล มี ค วามเสี่ ย งสู ง เรื่ อ งนี้ มี ค วามยาก ม ากกว่าที่คิด เนื่องจากการวิเคราะห์ ข้อมูลขนาดใหญ่ มั ก ให้ ผ ลที่ ส ะท้ อ น
ถึงอคติทางสังคมที่ไม่พึงปรารถนา ประการที่สอง ผู้ก�ำกับดูแล ตระหนักว่าอาจเป็นสิง่ ทีไ่ ม่ยตุ ธิ รรม ส�ำหรับบุคคลทีม่ คี วามเสีย่ งสูงทีจ่ ะ ถู ก ปฏิ เ สธการรั บ ประกั น ภั ย หรื อ การเพิ่มเบี้ยประกันภัย เมื่อผู้เอา ประกั น ภั ย ไม่ ส ามารถควบคุ ม ปัจจัยเสี่ยงได้ด้วยตนเองทั้งหมด โดยเฉพาะการประกั น การรั ก ษา พยาบาล (Medical Insurance) ผู้ก�ำกับดูแลอาจรู้สึกว่าต้องออก กฎเกณฑ์ ใ ห้ มี ก ารรั บ ประกั น ภั ย หรื อ จ�ำกั ด เบี้ ย ประกั น ภั ย สู ง สุ ด ส�ำหรับบุคคลที่มีความเสี่ยงสูง ประการทีส่ าม มีความกังวลว่า ผู ้ รั บ ประกั น ภั ย อาจไม่ ส ามารถ รักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วน บุคคลหรือการใช้ผิดวัตถุประสงค์ ตัวอย่างเช่น ผู้รับประกันภัยอาจใช้ ข้ อ มู ล ขนาดใหญ่ ใ นการก�ำหนด อัตราเบีย้ ประกันภัยเพิม่ ขึน้ นอกจาก การประเมินความเสีย่ งตามปกติ เช่น การระบุวา่ ผูถ้ อื กรมธรรม์ประกันภัย เ ป็ น ผู ้ มี ฐ านะมั่ ง คั่ ง หรื อ มี ก ารซื้ อ สินค้าออนไลน์บ่อยครั้ง เทคโนโลยีชว่ ยให้ผร้ ู บั ประกันภัย
ด�ำเนินมาตรการเพื่อลดความเสี่ยงที่ เกิดขึ้น ผู้รับประกันภัยบ้านพักอาศัย สามารถแจ้งเตือนสภาพอากาศทีเ่ ลวร้าย ผู ้ รั บ ประกั น ภั ย รถยนต์ ส ามารถให้ ข้อมูลทีส่ ะท้อนถึงลักษณะการขับขีท่ มี่ ี ความเสี่ ย งสู ง ผู ้ รั บ ประกั น สุ ข ภาพ เตื อ นให้ ผู ้ ถื อ กรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย เข้ารับการตรวจสุขภาพ อย่างไรก็ตาม สิ่ ง เหล่ า นี้ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ค�ำถามต่ า งๆ ส�ำหรั บ ผู ้ รั บ ประกั น ภั ย เมื่ อ ผู ้ รั บ ประกั น ภั ย เ ฝ ้ า ดู ผู ้ ถื อ ก ร ม ธ ร ร ม ์ ประกันภัยแจ้งเตือน และให้ค�ำแนะน�ำ อย่างใกล้ชิด สิ่งเหล่านี้ถือเป็นหน้าที่ ของผู ้ รั บ ประกั น ภั ย หรื อ ไม่ ในกรณี ที่ผู้รับประกันภัยให้ค�ำแนะน�ำที่ไม่ดี ต่อผู้ถือกรมธรรม์ประกันภัย สิ่งนี้ถือ เป็ น ความประมาทเลิน เล่ อ ของผู ้ รับ ประกันภัยหรือไม่ ผู้รับประกันสุขภาพ มี ห น้ า ที่ ใ นการแจ้ ง ผู ้ ถื อ กรมธรรม์ ประกั น ภั ย เกี่ ย วกั บ ความเสี่ ย งด้ า น สุ ข ภาพ ซึ่ ง อาจปรากฏจากผลการ วิเคราะห์ขอ้ มูลหรือไม่ ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากกฎระเบี ย บการควบคุ ม การ ประกันภัยที่มีอยู่ในปัจจุบันเพียงพอ ต่อการควบคุมผลิตภัณฑ์ประกันภัย และตัวแบบธุรกิจใหม่ที่สร้างขึ้นโดย
อินชัวร์เทคหรือไม่ ตัวอย่างเช่น ธุรกิจ เกิดใหม่หลายแห่งเสนอบริการทีแ่ ตกต่าง จากตัวแบบการประกันภัยแบบสหการ (Mutual Assurance) โดยทีก่ ลุม่ ของผูถ้ อื กรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย เอาประกั น ภั ย ซึ่งกันและกันภายในกลุ่มรับเสี่ยงภัย เดียวกัน (Common Pool) ตัวแบบธุรกิจ แบบดั้ ง เดิ ม ที่ ไ ด้ รั บ การปรั บ ปรุ ง โดย ระบบอัตโนมัติ ยังคงสร้างความท้าทาย ในการควบคุ ม เช่ น ในปี ที่ ผ ่ า นมา ธุรกิจเกิดใหม่ในอเมริกา ประเภทนาย หน้าหุ่นยนต์ (Robo-broker) ชื่อ Zenefits ถูกตรวจสอบว่ามีการอนุญาตให้นาย หน้าประกันภัยไม่เข้ารับการฝึกอบรม ภาคบังคับในการขอรับใบอนุญาตผู้รบั ประกันภัย และผู ้ รั บ ประกั น ภั ย หลายแห่ ง ได้ลงทุนในอินชัวร์เทคทั้งทางตรงและ ทางอ้อม สิ่งที่ท้าทายผู้รับประกันภัย แบบดั้งเดิม (Traditional Insurer) มา จากธุรกิจเกิดใหม่และจากบริษัทที่อยู่ ภายนอกอุ ต สาหกรรมประกั น ภั ย ธุ ร กิ จ เกิ ด ใหม่ มี ข ้ อ ได้ เ ปรี ย บผู ้ รั บ ประกั น ภั ย แบบดั้ ง เดิ ม ในเรื่ อ งความ ว่ อ งไว การน�ำมาใช้ แ ละพั ฒ นา เทคโนโลยีใหม่อย่างรวดเร็ว ในขณะที่ ผู ้ รั บ ประกั น ภั ย แบบดั้ ง เดิ ม มี ภ าระ การใช้ระบบการท�ำงานที่สืบทอดต่อๆ มา ซึ่งท�ำให้เกิดความยากล�ำบากใน การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่าง รวดเร็ว ตลาดประกันภัยเต็ ม ไปด้ ว ย กลุ่มเฉพาะ (Niche) ซึ่งธุรกิจเกิดใหม่ สามารถก�ำหนดเป้ า หมายด้ ว ยการ ลงทุนในจ�ำนวนไม่มาก ลูกค้าประกันภัย มักมีการต่อต้านน้อยเมือ่ ติดต่อกับผู้ให้ บริการรายใหม่ การคุ ก คามที่ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ สุ ด ของ ผู้รับประกันภัยแบบดั้งเดิมอาจมาจาก ยักษ์ทางเทคโนโลยี เช่น Facebook, Google และ Apple บริษทั เหล่านีม้ ี Data จ�ำนวนมหาศาลเกีย่ วกับลักษณะการใช้ ชีวิต พฤติกรรมการบริโภคและรสนิยม
ของผู้ใช้งาน ซึ่งไม่สามารถประเมิน มู ล ค่ า ได้ ส�ำหรั บ การท�ำการตลาด ประกันภัย บริษัทดังกล่าวได้รบั ความ ไว้วางใจจากผู้บริโภคมากกว่ า บริ ษั ท ประกันภัยอย่างมีนัยส�ำคัญ Google มักแสวงหาอุตสาหกรรมใหม่เพื่อท�ำให้ เกิดการแตกแยก (Disrupt) และได้รับ ใบอนุญาตประกันภัยในหลายมลรัฐของ สหรัฐอเมริกา
กรณีศกึ ษา: ออสการ์ประกันสุขภาพ ออสการ์ประกันสุขภาพ (Oscar Health Insurance) ได้รับการก่อตั้งขึ้น ในปี 2555 โดยมี วิ สั ย ทั ศ น์ ‘การ เปลีย่ นแปลงส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface) ของการประกั น สุขภาพ’ ซึ่งหมายถึงผลประโยชน์ และแผนการประกันสุขภาพที่เข้าใจ ง่าย เครื่องมือต่างๆ เช่น นาฬิกา อัจฉริยะ (Smart Watch) และอุปกรณ์ เฝ้ า สั ง เกตความแข็ ง แรง (Fifi t ness Monitor) มีส่วนช่วยในการประหยัด เวลาของลูกค้าและการให้ส่วนลด เบีย้ ประกันสุขภาพ ออสการ์มสี มาชิก ที่ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ ในการใช้บริการมากที่สุดในบรรดา ผู ้ รั บ ประกั น ภั ย ทั้ ง หมด ภาพรวม การให้บริการประกอบด้วย การพบหมอครัง้ แรกของสมาชิก ร้อยละ 43 ได้รบั การด�ำเนินการผ่าน เทคโนโลยีและทีมงานให้บริการ สมาชิ ก สามารถบริ ห ารการ รักษาพยาบาลทางออนไลน์ (Online)
การปฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ระบบการรั ก ษา สุขภาพของสมาชิกร้อยละ 63 เป็นแบบ เสมือนจริง (Virtual) และสมาชิกร้อยละ 41 เข้าสูเ่ ว็บไซต์และแอปพลิเคชันทุกเดือน ออสการ์ ท�ำงานร่ ว มกั บ หมอ 3,500 คน ซึง่ มีความช�ำนาญเฉพาะด้าน และเป็ น หุ ้ น ส่ ว นกั บ ระบบประกั น สุ ข ภาพชั้ น น�ำของสหรั ฐ อเมริ ก า มากกว่า 10 แห่ง ออสการ์ใช้เทคโนโลยีเพื่อท�ำให้ ประสบการณ์ประกันสุขภาพเรียบง่าย ขึ้ น ในลั ก ษณะที่ ผู ้ รั บ ประกั น สุ ข ภาพ แบบเดิมไม่สามารถท�ำได้ ตัวอย่างเช่น ลู ก ค้ า สามารถใช้ แ อปพลิ เ คชั น ของ ออสการ์ (Oscar’s Application) เพือ่ ปรึกษา กับหมอในเวลาใดๆ และได้รบั ใบสัง่ ยา โดยไม่ตอ้ งออกจากบ้าน การใช้การกั้น รั้วทางภูมิศาสตร์ (Geofencing) หรือ ข้ อ มู ล สถานที่ท างภู มิศ าสตร์ เ พื่อ ให้ ส มาชิ ก ของออสการ์ สามารถเลือก ห มอทีส่ ามารถให้ค�ำปรึกษาในสถานที่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ ที่ พั ก อาศั ย สมาชิ ก สามารถติดตามประวัติสุขภาพและได้ รับส่วนลดเบีย้ ประกันภัยส�ำหรับการใช้ อุ ป กรณ์ ติ ด ตามตั ว ส�ำหรั บ รายงาน ข้อมูลสุขภาพ ออสการ์เรียกเก็บเบี้ย ป ระกั น ภั ย รายปี จ ากลู ก ค้ า ซึ่ ง แปร เ ปลี่ยนตามลักษณะความเสี่ยงของ ลูกค้าแต่ละคน บริษัทใช้ขั้นตอนวิธี (Algorithm) การประเมินความเสีย่ งเพือ่ ก�ำหนดราคา เบีย้ ประกันที่ลูกค้าแต่ละ คนจ่ายมีความสัมพันธ์โดยตรงกับอายุ รายได้ เขตทีอ่ ยูอ่ าศัย และขอบเขตของ ความคุ้มครอง แนวทางการท�ำงานของออสการ์ การใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ห รื อ แอปพลิเคชันของสมาร์ตโฟน สมาชิกของ ออสการ์ส ามารถอธิบ ายอาการของ โ รคหรื อ ข้ อ กั ง วลเกี่ ย วกั บ สุ ข ภาพ เพื่ อ ระบุ ค วามเป็ น ไปได้ ท่ี จ ะเกิ ด ขึ้ น ภายใต้สภาวะสุขภาพทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจุบนั
104
105
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ประโยชน์ในการก่อตั้งออสการ์ประกอบด้วย ประโยชน์ต่อลูกค้า ประสบการณ์ของผูใ้ ช้งานทีด่ ขี นึ้ การเข้าถึงการช่วยเหลือจากผูป้ ระกอบวิชาชีพ ตลอด 24 ชั่วโมง 7 วัน การวินจิ ฉัยโรคตามเวลาจริง (Real Time) ·การดูและบริหารประวัติสุขภาพในทันที ·การได้รบั รางวัลส�ำหรับการออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำ ·การสนับสนุนทางโทรศัพท์จากผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาสุขภาพ ประโยชน์ต่อผู้รับประกันภัย การแปรรูปมูลค่าทีน่ �ำเสนอจากบริษทั ประกันสุขภาพเป็นผูใ้ ห้บริการด้านสุขภาพ เริม่ เป็นบริษทั ประกันสุขภาพระดับชาติทสี่ ามารถแข่งขันกับบริษทั ประกันสุขภาพ ที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นก่อน ในระยะเวลาอันสั้น การใช้ระยะเวลาอันสัน้ ในการจ่ายเงินหรือค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัย อันสืบเนื่องจากการน�ำระบบดิจิ ทัลมาใช้งาน ช่วยลดต้นทุนและเพิ่มอัตราส่วน การรักษาลูกค้าเดิมไว้ การสร้างความแตกต่างในการแข่งขันโดยยึดถือลูกค้าเป็นศูนย์กลาง การมีขอ้ มูลของลูกค้าจ�ำนวนมาก ส่งผลให้ออสการ์สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ ทางธุรกิจในอนาคต กรณีศึกษา: Zhong An Insurance Zhong An ได้รบั การจัดตัง้ ในปี 2556 ในเมืองเซีย่ งไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยนักธุรกิจจีนทีม่ ชี อื่ เสียง ซึง่ ประกอบด้วย Jack Ma (Alibaba), Pony Ma (Tencent) และ Mingzhe Ma (Ping An) Zhong An เป็นบริษัทประกันวินาศภัยบริษัทแรก ที่ได้รับใบอนุญาตให้จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ประกันวินาศภัยออนไลน์ ซึ่งสามารถ ร ะดมทุนจากการเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนในครั้งแรก (Initial Public Offering: IPO) จ�ำนวน 1,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในช่วงสามปีทผี่ า่ นมา Zhong An จ�ำหน่ายกรมธรรม์ประกันภัยได้มากกว่า 10 ล้านกรมธรรม์ บริษทั มีจ�ำนวนลูกค้า มากกว่า 400 ล้านคน ซึ่งท�ำให้บริษัทมีข้อได้เปรียบในการเข้าใจลูกค้าจาก มุมมองต่างๆ
บริษัท Zhong An มีพนักงานมากกว่า 3,000 คน ในปัจจุบัน และมี พ นั ก งานที่ เ ป็ น วิ ศ วกรหรื อ ผู ้ มี ค วามรู ้ ด ้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศมากกว่าร้อยละ 50 ของพนักงานทัง้ หมด บริษทั พัฒนา ระบบงานทั้งหมดด้วยตนเอง เนื่องจากระบบงานที่จัดท�ำขึ้นโดย ผู้ให้บริการระบบแบบดั้งเดิม เกิดการหยุดชะงักทุกวัน ซึ่งเป็นผล จากข้อผิดพลาดในการประมวลผลข้อมูล ตัวอย่างเช่น บริษทั ต้อง ประมวลผลข้อมูลจ�ำนวนมากจากการจ�ำหน่ายกรมธรรม์ประกันภัย มากกว่า 200 ล้านกรมธรรม์ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2560 ซึ่งเป็น วันคนโสด (Single’s Day) ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ภายในระยะเวลาสี่ปีจากการจัดตั้งบริษัท Zhong An มี 5 ระบบนิเวศหลัก (Major Ecosystems) เชือ่ มต่อบริษทั กับผูป้ ระกอบการ มากกว่า 300 ราย ซึ่งมีลักษณะเดียวกับ Alibaba และ Tencent บริษทั เชือ่ มต่อข้อมูลกับสายการบินและผูใ้ ห้บริการทีพ่ กั อาศัยเกือบ ทัง้ หมดในสาธารณรัฐประชาชนจีน บริษทั เริม่ ด�ำเนินธุรกิจจากการ รับประกันภัยสินค้าทีถ่ กู ส่งคืน (Shipping Return Products) ซึง่ ช่วย ให้บริษัทเข้าใจลูกค้าดีข้นึ จากวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่ ภายในระยะ เวลาสองปีแรก บริษทั เข้าสูต่ ลาดการประกันภัยการเดินทาง อุบตั เิ หตุ ส่วนบุคคล และการประกันสุขภาพ ภายในระยะเวลาสามเดือน บริษัทจ�ำหน่ายกรมธรรม์ประกันสุขภาพทางออนไลน์ได้มากกว่า 300,000 กรมธรรม์ ในระยะเวลาสองปีตอ่ มา บริษทั มีลกู ค้าประกันสุขภาพมากกว่า 10 ล้านกรมธรรม์ ซึง่ เป็นอันดับหนึง่ ในตลาดประกันสุขภาพออนไลน์ ของประเทศ บริษทั ให้ความส�ำคัญกับกลุม่ มิลเลนเนียลส์ อายุเฉลีย่ ของพนักงานบริษัทอยู่ที่ 29.5 ปี ลูกค้าที่มีอายุระหว่าง 18-39 ปี คิดเป็นร้อยละ 57.8 ของผู้ถือกรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมด ลูกค้า ของบริษทั ร้อยละ 97 สือ่ สารกับบริษทั ผ่านทางแชตบอต (Chatbot) ซึ่งท�ำให้การสื่อสารรวดเร็ว ทันที และเข้าถึงได้ง่าย ความสามารถ ทางเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ท�ำให้บริษทั สามารถจ่ายเงินหรือค่าสินไหมทดแทน ตามสัญญาประกันภัยได้อย่างรวดเร็ว ในกรณีทเี่ ครือ่ งบินออกเดินทาง ล่าช้ากว่าก�ำหนด บริษทั จ่ายเงินตามการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน ให้ลูกค้าระหว่างทีร่ อคอยการออกเดินทางของเครื่องบิน
Zhong An กำ�หนดเสาหลักของแพลตฟอร์ม 5 ประการ ได้ แ ก่ ความสะดวก (Convenience) ประชาคม (Community) ความร่วมมือ (Collaboration) การรักษาดูแล (Curation) และการเชือ่ มต่อ (Connection)
106
107
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Source: https://insuranceblog.accenture.com/what-can-insurers-learn-from-chinese-insurtech-giant-zhong-an
ผู้ใช้งานได้รับการแสดงรายชื่อ แพทย์หรือผู้ช�ำนาญเฉพาะด้านทีผ่ ้เู อา ประกันภัยสามารถปรึกษาหารือโดยไม่ เสียค่าใช้จ่าย ในกรณีทมี่ กี ารตรวจโรค แผนการประกันภัยของออสการ์ให้ความ คุม้ ครองค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง แอปพลิเคชันและเว็บไซต์แสดง สารสนเทศทีเ่ ป็นประโยชน์ให้ผใ้ ู ช้งานทราบ เช่น ความถีท่ แี่ พทย์ให้การรักษาผูป้ ว่ ย ที่ มี เ พศและอายุ อ ยู ่ ใ นช่ ว งเดี ย วกั น รวมถึงแผนการประกันสุขภาพทีม่ อี ยูใ่ ห้ ความคุ้มครองปัญหาสุขภาพที่มีอยู่ ทั้งหมดหรือไม่ ลั ก ษณะการใช้ ง านอื่ น ๆ ของ แ อปพลิเคชันและเว็บไซต์ รวมถึงการ ติดตามการออกก�ำลังกาย ผู้ใช้งานจะ ได้รบั บัตรก�ำนัลเมือ่ บรรลุเป้าหมายการ ออกก�ำลังกายประจ�ำวัน ในปั จ จุ บั น ออสการ์ เ สนอ แผนประกันสุขภาพประเภทบุคคลและ ครอบครัว และธุรกิจขนาดเล็กที่อาศัย อยูใ่ น 9 มลรัฐ ได้แก่ นิวยอร์ก, โอไฮโอ, นิวเจอร์ซีย์, แคลิฟอร์เนีย, มิชิแกน เทกซัส, เทนเนสซี, แอริโซนา และฟลอริดา โดยมีลูกค้ามากกว่า 250,000 คน อ อสการ์มพี นักงานมากกว่าหนึง่ พันคนทีท่ �ำงานในนิวยอร์ก ซิต,ี เทมพี, แดลลาส, และลอสแองเจลิส ออสการ์ได้รบั การกล่าวถึงเนือ่ งจาก ก ารเป็นตัวอย่างของธุรกิจเกิดใหม่ที่มี ข นาดหลายพันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ภายใต้สภาวะแวดล้อมของการควบคุม อย่างเข้มข้นจากหน่วยงานก�ำกับดูแล
สิ่งที่ควรค�ำนึงถึงในการก�ำกับดูแล
ประเด็น ความสามารถในการแข่งขัน คนส่วนใหญ่มค ี วามคาดหวัง ว่ า เทคโนโลยี จ ะช่ ว ยให้ ก ารคั ด เลื อ กความเสี่ ย งที่ ดี ขึ้ น และลด
หน่วยงานก�ำกับดูแลควรสนับสนุนการแข่งขันและผูเ้ ข้ามาใน ตลาดรายใหม่ เพื่อให้เกิดการแข่งขันมากขึ้น
ความเสี่ยงโดยรวม
ท างเลือกของผู้บริโภค เทคโนโลยีน�ำไปสู่การปรับแต่ง
- ความสามารถในการเปรี ย บเที ย บผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น ภั ย
ผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคล ซึง ่ าร ่ อาจน�ำไปสูก
ร ะหว่างผู้ให้บริการต่างๆ เนื่องจากเทคโนโลยีใหม่สามารถเข้าถึง
ลดความสามารถในการเปรียบเทียบระหว่างผูใ้ ห้บริการผลิตภัณฑ์
กลุม ่ ลูกค้าขนาดเล็กได้ ซึ่งอาจท�ำให้ไม่สามารถแสวงหาผลิตภัณฑ์
ประกันภัย ในขณะทีผ ี ยูใ่ นปัจจุบน ั ่ ใู้ ห้บริการผลิตภัณฑ์ประกันภัยทีม ่ อ จะได้รบ ั ประโยชน์จากข้อมูลของผูถ ้ อ ื กรมธรรม์ประกันภัยทีเ่ พิ่มขึน ้
ประกันภัยในลักษณะที่คล้ายคลึงกันเพื่อการเปรียบเทียบ - การออกกฎหมายควบคุมการโอนข้อมูลระหว่างผูใ้ ห้บริการ
ความเชื่ อ มโยงถึ ง กั น (Interconnectedness)
การปรับปรุงแบบรายงานต่างๆ ในปัจจุบันให้ครอบคลุมถึง
การเพิ่มขึน ้ ของความเสีย ่ งจากความเชือ ่ มโยงถึงกันอันเกิดขึน ้ จาก เทคโนโลยีแพลตฟอร์ม (Platform) ทีส ่ นับสนุนข้อมูลขนาดใหญ่
ข้อมูลเพิ่มเติมในการติดตามความเสี่ยงจากความเชื่อมโยงถึงกัน ที่อาจเกิดขึ้น
(Big Data) และวิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics)
Source: FinTech Developments in the Insurance Industry, 21 February 2017
การก�ำกับดูแลและความท้าทาย สมาคมระหว่างประเทศของผู้ก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัย (International Association of Insurance Supervisors: IAIS) เสนอประเด็นหลักและข้อพึงพิจารณาในการก�ำกับดูแล เมือ่ ค�ำนึงถึงบทบาทของการใช้เทคโนโลยีในการประกันภัย สรุปได้ดงั นี้
ประเด็น
สิ่งที่ควรค�ำนึงถึงในการก�ำกับดูแล
เจ้าของข้อมูล (Data Ownership) การเพิ่มขึน ้ ของ
- กฎเกณฑ์ในเรือ ้ ครองข้อมูลอาจมีการประเมิน ่ งการคุม
ก ารใช้ อุ ป กรณ์ ท่ี เ ชื่ อ มโยงอิ น เทอร์ เ น็ ต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
อีกครั้งหนึ่ง เพื่ อรวมข้อก�ำหนดการโอนข้อมูลระหว่างผู้ให้
ส่งผลให้เกิดการเพิ่มขึ้นของการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลจาก
บริการ
ผูถ ้ อ ื กรมธรรม์ประกันภัย ผูร ้ บ ั ประกันภัยและบริษท ั เทคโนโลยี
- สถาบันจ�ำนวนมากพึ่งพาเทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่
ต้ อ งด� ำ เนิ น มาตรการทางเทคนิ ค และโครงสร้ า งองค์ ก ร
( Big Data) ผู้ก�ำกับดูแลต้องมั่นใจว่ากรอบการก�ำกับดูแล
เ พื่ อรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลและป้องกัน
รวมถึงภาระผูกพันขององค์กรและความระมัดระวังทีเ่ กีย ่ วข้อง
การเข้าถึงหรือประมวลผลที่มิได้รับอนุญาต
กับการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ ความมั่นคงปลอดภัย ไ ซเบอร์ (Cyber Security) และการควบคุมภายในส�ำหรับ การให้บริการจากหน่วยงานภายนอก
พัฒนาการของข้อมูลขนาดใหญ่และปัญญาประดิษฐ์
ผู้ ก� ำ กั บ ดู แ ลควรออกมาตรการเพื่ อ คุ้ ม ครองข้ อ มู ล
( Artificial Intelligent: AI) ล�้ำหน้าระดับการพั ฒนา
ส่ ว นบุ ค คลของผู้ บ ริ โ ภคในเรื่ อ งการเก็ บ การประมวลผล
ผ ลิตภัณฑ์ประกันภัยและกระทบต่อกระบวนการธุรกิจของ
การแก้ไขและการแบ่งปัน เช่นเดียวกับการสร้างความมัน ่ ใจว่า
ผูร ้ บ ั ประกันภัย ข้อมูลขนาดใหญ่และปัญญาประดิษฐ์เป็นการ
ค วามปลอดภัยของสารสนเทศ และนโยบาย กระบวนการ
ไ ด้เปรียบในการแข่งขันอย่างมีนัยส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม
วิธีการ และเครื่องมือเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล มีส่วนช่วย
ผูร้ บ ั ประกันภัยต้องลงทุนในการป้องกันเหตุการณ์ความเสียหาย
ใ นการป้องกันข้อมูลจากเหตุการณ์ความเสียหายทางไซเบอร์
ทางไซเบอร์ (Cyber Incidents) การฝึกอบรมหรือการจ้าง
การละเมิดหรือการใช้ท่ไี ม่พึงประสงค์
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านส�ำหรับการออกแบบและการประยุกต์ ใช้อัลกอริทึม (Algorithm Design and Application)
มีจ�ำนวนจ�ำกัด เช่น ผู้ให้บริการหน่วยความจ�ำคลาวด์ (Cloud Storage)
ความสามารถในการควบคุมดูแล การเพิ่มขึน ้ ของการใช้ เทคโนโลยีในการเพิม ่ ประสิทธิภาพของกระบวนการและการวิเคราะห์
กรอบการควบคุมควรได้รับการประเมินใหม่ เพื่อให้มัน ่ ใจว่า ผู้บริโภคได้รับการคุ้มครองที่เพี ยงพอ และผู้ก�ำกับดูแลสามารถ
ข้อมูล น�ำมาสูก ่ ารเพิ่มขึน ้ ส ี ว ่ นร่วมในห่วงโซ่มล ู ค่าของการ ้ ของผูม
ติดตามแนวโน้มของตลาด
ประกันภัย
เ ทคโนโลยี บั ญ ชี แ ยกประเภทแบบกระจายศู น ย์
ก ารประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ต้ อ งมี ก ารเปลี่ ย นแปลง
( Distributed Ledger Technology) ยังอยู่ในช่วง
ก ฎเกณฑ์ แ ละมาตรฐานการปฏิ บั ติ ง านที่ มี อ ยู่ ใ นปั จ จุ บั น
เ ริ่มต้นในภาคธุรกิจประกันภัย ซึ่งภาคธุรกิจการเงินอื่นมี
ร วมถึงการสร้างกรอบกฎหมายและความรับผิดใหม่ การน�ำ
ค วามก้ า วหน้ า มากกว่ า แต่ ก ารน� ำ เทคโนโลยี นี้ ม าใช้ ใ น
สัญญาอัจฉริยะ (Smart Contract) มาใช้ควรมีการปรับ
การประกันภัยมีความส�ำคัญอย่างยิง ่
การมีสว ่ นร่วมของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียและการค�ำนึงถึงการควบคุม ที่จ�ำเป็น
ความอยูร ่ อดของตัวแบบธุรกิจ (Business Model) และ
เมือ ้ ำ� กับดูแลดูแลควร ่ ลักษณะความเสีย ่ งเปลีย ่ นแปลงไป ผูก
ข้อก�ำหนดความมั่นคงของเงินกองทุน ในระยะยาวมีความเป็ น
มั่นใจว่ากรอบการด�ำรงเงินกองทุนของทางการมีความเพี ยงพอ ในการรองรับลักษณะความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไป
ไปได้ในการลดความยืดหยุน ่ ของตัวแบบธุรกิจ เนือ ่ งจากเทคโนโลยี จะช่วยลดความเสีย ี ด้านหนึง ่ งทัว ่ ความเสีย ่ งบางประเภท ่ ไป แต่อก มีความเปราะบางต่อจากเหตุการณ์รน ุ แรง เช่น การขาดการเชือ ่ มโยง ของระบบเครือข่าย ก า ร ด� ำ เ นิ น ธุ ร กิ จ ( Co n d u c t of B u s i n e ss ) การพัฒนาเทคโนโลยีเป็นผลให้ผร ู้ บ ั ประกันภัยให้บริการผลิตภัณฑ์ ป ระกันภัยที่หลากหลายขึ้น การประกันภัยเริ่มลดการให้บริการ
กฎเกณฑ์การก�ำกับดูแลควรก�ำหนดระดับความโปร่งใสขัน ้ ต�ำ่ ส�ำหรับผู้บริโภคที่ให้ความส�ำคัญถึงการขัดแย้งของผลประโยชน์ ทีอ ู ค่าการประกันภัย ่ าจเกิดขึน ้ เช่น การกระจุกตัวอย่างสูงในห่วงโซ่มล
ที่ไม่จ�ำเป็ น ซึ่งเป็ นความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในกรณีท่ีผลิตภัณฑ์ ป ระกั น ภั ย สะท้ อ นถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องผู้ รั บ ประกั น ภั ย มาก กว่าผู้บริโภค
ผู้ก�ำกับดูแลการประกันภัยอาจเผชิญความท้าทายใน อนาคต ดังนี้ ผู้ก�ำกับดูแลควรเข้าใจการท�ำงานและการประยุกต์ ใช้นวัตกรรมเพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีการประเมินผลิตภัณฑ์ใหม่และ ตัวแบบธุรกิจอย่างเพียงพอ ผู้ก�ำกับดูแลควรให้ความสมดุลระหว่างความเสี่ยง ของนวัตกรรมใหม่กบั ผลประโยชน์ของผูถ้ อื กรมธรรม์ประกันภัย และภาคธุรกิจประกันภัยโดยรวม พร้อมทัง้ ค�ำนึงถึงการสร้าง สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมในการสนับสนุนนวัตกรรม เช่น การ ก�ำหนดกล่องทดสอบทางการควบคุม (Regulatory Sandbox) หรือศูนย์นวัตกรรม (Innovation Hub) ผู้ก�ำกับดูแลและผู้ก�ำหนดนโยบายควรประเมินผลและ
ปรับกรอบการควบคุมเพิม่ ขึน้ จากมุมมองความมัน่ คงทางการเงิน และการด�ำเนินธุรกิจ เพือ่ จัดการความเสีย่ งและตัวแบบธุรกิจ ที่เปลี่ยนแปลงไป ผู้ก�ำกับดูแลควรจัดหาทรัพยากร พัฒนาความรู้และ ทักษะเชิงเทคนิค เพือ่ สามารถจัดการกับปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จาก อินชัวร์เทคในอนาคต การเพิม่ ความร่วมมือกับผูม้ สี ว่ นได้เสีย ต่างๆ เพือ่ สร้างและด�ำรงความเข้าใจนวัตกรรมอย่างเพียงพอ
108
109
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เรียบเรียงโดย
ดนยรัตน์ แสงสว่าง
New Factor Affects Insurance Business การนอนเกี่ยวข้องกับการประกันภัยอย่างไร
112
113
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ทุกวันนี้เรื่องของสุขภาพถือเป็ นกระแสที่มาแรง และมีแนวโน้มว่าจะยังคงเป็ นกระแสหลักไปอีกนาน ดังจะเห็นได้จากการทีท ุ สือ ่ ลอด โดยไม่มโี ทรทัศน์ชอ ่ งไหนทีไ่ ม่มร ี ายการเกีย ่ ก ่ จะมีการกล่าวถึงเรือ ่ งนีอ ้ ยูต ่ วกับ สุขภาพ ไม่มีสถานีวิทยุคลื่นไหนที่ไม่มีช่วงเกี่ยวกับสุขภาพ รวมถึงการเกิดขึ้นของพอดแคสต์ (Podcast) และแอปพลิเคชันมากมายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม เ มื่อพู ดถึงเรื่องสุขภาพ สิ่งที่เราจะนึกถึงคืออะไร ค�ำตอบแรกๆ ที่จะได้รับคือเรื่องของอาหารที่ รับประทาน และเรื่องการออกก�ำลังกาย แต่สิ่งหนึ่งที่หลายๆ คนลืมนึกถึงไปแม้จะเป็ นสิ่งส�ำคัญต่อการมี สุขภาพร่างกายที่ดีและช่วยให้มีอายุยืนยาว นั่นก็คือ ‘การนอนหลับ’ เ ราได้เรียนกันมาตั้งแต่เด็กว่าการนอนหลับเป็ นการพั กผ่อนที่ดีที่สุด และการนอนหลับเป็ นกิจกรรม ทีใ่ ช้เวลาถึงหนึง ิ มนุษย์เรา แต่หลายๆ ท่านอาจจะให้ความส�ำคัญกับการนอนหลับน้อยเกินไป ่ ในสามของชีวต จึงอยากใช้โอกาสนี้ในการแบ่งปั นข้อมูลเกี่ยวกับการนอน และความเชื่อมโยงของการนอนที่เกี่ยวข้องกับ การประกันภัย
กระบวนการนอนหลับ การนอนหลับเริ่มต้นเมื่อความมืดมาเยือน เซลล์ที่ จอภาพในตา (Retina) และจะส่งข้อมูลไปยังเซลล์ประสาท ที่อยู่ในสมองส่วนไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ที่สร้าง สารเมลาโทนิน (Melatonin) ซึ่งท�ำให้อุณหภูมิร่างกายลดลง และเกิดอาการง่วงนอน โดยการนอนของคนปกติแบ่งออก เป็นช่วง ดังต่อไปนี้ การนอนช่วง Non-rapid Eye Movement (non-REM sleep) การนอนในช่ ว งนี้ มี ค วามส� ำ คั ญ มาก เพราะมี ส ่ ว น ในการท�ำให้ภมู คิ มุ้ กันแข็งแรง เกีย่ วข้องกับระบบย่อยอาหาร มีการหลั่งของฮอร์โมนที่ช่วยเรื่องการเติบโตและซ่อมแซม ส่วนที่สึกหรอ (Growth Hormone) โดยการนอนช่วงนี้แบ่ง ออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 (Light Sleep) เป็นช่วงที่เราเพิ่งจะเริ่มหลับ โดยทั่วไปจะเป็นช่วงสั้นๆ ประมาณ 5-10 นาที หลังจาก หลับตาลง ระยะนีจ้ ะยังหลับไม่สนิท ลักษณะครึง่ หลับครึง่ ตืน่ ปลุกง่าย ถ้าเราถูกปลุกให้ตนื่ ตอนนี้ เราจะไม่ค่อยงัวเงียหรือ บางทีก็จะรู้สึกว่าเรายังไม่ได้นอน คลื่นสมองจะเป็นคลื่น Alpha และ Theta (คลื่น Alpha ที่ขึ้นลงอยู่ระหว่าง 8-14 รอบ ต่อวินาที และ theta ขึ้นลงระหว่าง 4-7 รอบต่อวินาที) ช่วงนี้ อาจจะมีอาการกระตุกของกล้ามเนื้อ นอกจากนี้บางคนอาจ จะได้ยินหรือเห็นอะไรบางอย่าง ซึ่งต่างประเทศเรียกกันว่า Hypnagogic Hallucinations การนอนในระยะที่ 1 นี้ไม่ค่อยมี ผลกับร่างกายมากนัก ระยะที่ 2 (True Sleep) เป็นช่วงรอยต่อระหว่างการเริ่ม หลับไปยังหลับลึก ระยะนี้ตาจะหยุดเคลื่อนไหวคลื่นไฟฟ้า สมองจะท�ำงานเร็วขึ้นมาก เป็นแบบ Rapid Waves เรียกว่า Sleep Spindles ในระยะนี้เองหัวใจจะเริ่มเต้นช้าลง อุณหภูมิ ในร่ า งกายจะเริ่ ม ลดลงเล็ ก น้ อ ย โดยช่ ว งนี้ จ ะใช้ เ วลา ประมาณ 20 นาที ในช่วงนี้สมองส่วนของซีรีบรัล คอร์เท็กซ์
(Cerebral Cortex) และทาลามัส (Thalamus) ซึง่ มีหน้าทีเ่ กีย่ วกับ ความทรงจ�ำ, ความสนใจ, การรับรู,้ ความคิด, ภาษา และสติ จะท�ำงาน ดังนัน้ การนอนสัน้ ๆ เพียง 30-40 นาที ก็เพียงพอ ที่จะท�ำให้เรากระตุ้นการท�ำงานของสมองในส่วนของการ เก็บข้อมูลเข้าความทรงจ�ำระยะสั้น เพิ่มสมาธิ และท�ำให้ตื่น มาไม่งัวเงียมากนัก เนื่องจากทาลามัสยังท�ำงานอยู่ ร่างกาย จะรับรู้ต่อสิ่งกระตุ้นภายนอก เช่น เสียง การสัมผัส ฯลฯ ได้ไม่ยากมากนัก และเราจะไม่ฝัน ระยะที่ 3 คลื่นไฟฟ้าสมองจะมีลักษณะ Delta Waves เป็นส่วนใหญ่ ในช่วงนี้เองที่ร่างกายจะตอบสนองกับสิ่ง รบกวนภายนอกน้อยลงมาก ถ้าถูกปลุกช่วงนี้เราจะรู้สึก งัวเงียมากที่สุด เนื่องจากร่างกายจะอยู่ในสภาวะพักผ่อน มากที่สุด การหลั่งโกรทฮอร์โมนเพื่อซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ของร่างกาย จะเกิดขึ้นมากที่สุดในช่วงนี้ ในการหลับแบบ non-REM สามารถเกิดการฝันได้ โดยการฝันส่วนใหญ่ของ non-REM จะเกิดขึ้นช่วงกลางของการหลับลึก ความฝัน ในช่วงนี้จะเป็นฝันที่ค่อนข้างสมจริง ดังนั้น การละเมอหรือ การฉี่รดที่นอนก็จะเกิดขึ้นในช่วงนี้ ระยะที่ 4 ระยะนี้เป็นระยะที่หลับสนิทที่สุด คลื่นไฟฟ้า สมองเป็นแบบ Delta Waves ทั้งหมด ซึ่งระยะที่ 3 และระยะ ที่ 4 มีคลืน่ สมองต่างกันเล็กน้อย แต่นบั ตัง้ แต่ปี 2007 เป็นต้นมา ทั้งสองระยะได้ถูกรวมเรียกเป็นระยะที่ 3 การนอนช่วง Rapid Eye Movement (REM sleep) คือการนอนหลับช่วงที่ตาเราจะเคลื่อนไหวไปมาอย่าง รวดเร็วจะเกิดภายใน 90 นาที การนอนช่วงนี้เมื่อทดสอบ คลืน่ สมองจะเหมือนคนตืน่ จะหายใจเร็ว ชีพจรเร็ว กล้ามเนือ้ ไม่ขยับ อวัยวะเพศชายแข็งตัว เมื่อตื่นขึ้นมาในช่วงนี้จะ จดจ�ำความฝันได้ ช่วงนี้เป็นช่วงที่คนเราจะฝันมากกว่าการ นอนหลั บ ช่ ว งอื่ น ๆ และการฝั น นั้ น จะค่ อ นข้ า งโลดโผน เห็นสิ่งที่ไม่มีอยู่ในโลกปกติ สามารถท�ำอะไรพิสดารได้ เช่น
สามารถเหาะเหินเดินอากาศได้ เราจะควบคุมกล้ามเนื้อ ต่างๆ ไม่ค่อยได้ (Temporary Paralysis) เพื่อป้องกันการท�ำ อันตรายต่อตัวเองหรือผู้อื่น การนอนหลับช่วง REM มี ประโยชน์อยู่สองอย่าง คือช่วยเรื่องการเรียนรู้ถาวรและ การสร้างจินตนาการ การหลับจะเริ่มจากระยะที่ 1 ไปจนถึงช่วง REM และ กลับมาระยะที่ 1 ใหม่เป็นรอบไปเรื่อยๆ การนอนหลับครบ หนึ่งรอบใช้เวลา 90-110 นาที คนปกติต้องการนอนวันละ 6-8 ชัว่ โมงโดยหลับตัง้ แต่หวั ค�ำ่ จนตืน่ ในตอนเช้า ในผูส้ งู อายุ การหลับจะเปลีย่ นไป โดยหลับกลางวันเพิม่ และตืน่ กลางคืน มากขึน้ จ�ำนวนชัว่ โมงในการนอนหลับแต่ละคนจะไม่เหมือนกัน บางคนนอนแค่วันละ 5-6 ชั่วโมงโดยที่ไม่มีอาการง่วงนอน การนอนหลับจ�ำเป็นอย่างไรต่อร่างกาย เมื่อนอนไม่เพียงพอเราจะมีความรู้สึกอ่อนเพลียและ ไม่มีความสามารถที่จะใช้ชีวิตประจ�ำวันได้อย่างเต็มที่ โดย จะมีอาการง่วงและไม่มีสมาธิ ความจ�ำไม่ดี ความสามารถ ในการค�ำนวณด้อยลง หากยังนอนไม่พอต่อเนือ่ งจะมีอาการ ภาพหลอน อารมณ์จะแกว่ง และการนอนไม่พอยังเป็น สาเหตุของอุบัติเหตุต่างๆ แม้ว่าจะเป็นการยากที่จะตอบค�ำถามว่าท�ำไมคนเรา ต้องนอน แต่นักวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาทฤษฎีหลายอย่าง เพื่อช่วยในการอธิบายว่าท�ำไมคนเราถึงใช้เวลาหนึ่งในสาม
ของชี วิ ต ไปกั บ การนอน รวมถึ ง ได้ พ ยายามศึ ก ษาเรื่ อ ง ประโยชน์ ข องการนอน โดยท� ำ การทดลองทั้ ง ในมนุ ษ ย์ และสัตว์ต่างๆ ซึ่งค้นพบว่าการนอนมีผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน การเผาผลาญพลังงาน การสร้างความทรงจ�ำ กระบวนการ เรี ย นรู ้ และระบบที่ส�ำคัญอื่นๆ ในร่างกาย นอกจากนั้น การนอนหลับสนิทจะท�ำให้มีการหลั่งฮอร์โมนเพื่อการเจริญ เติบโต (Growth Hormone) มีการทดลองในหนูพบว่าหาก นอนไม่พอหนูจะมีอายุสั้น ภูมิคุ้มกันต�่ำลง จะเห็ น ได้ ชั ด ว่ า การนอนมี ค วามจ� ำ เป็ น และเป็ น ประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างมาก การนอนหลับอย่างเพียงพอ ทั้งระยะเวลาและคุณภาพของการนอนหลับจะเป็นปัจจัย ในการส่งเสริมสุขภาพที่ดี เหมือนกับการรับประทานอาหาร ที่มีคุณภาพ และการออกก�ำลังกายที่เพียงพอ การนอนกับการประกันภัย ในเมื่อการนอนเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งเสริมการมีสุขภาพ ทีด่ ี จึงเกิดข้อสังเกตว่าเราสามารถใช้การนอนเป็นหนึง่ ปัจจัย ความเสี่ยง (Risk Factor) ที่ใช้ในกระบวนการออกแบบ ผลิตภัณฑ์และกระบวนการพิจารณาเบีย้ ประกันภัยได้หรือไม่ ทัง้ เบีย้ ประกันชีวติ เบีย้ ประกันสุขภาพ และเบีย้ ประกันวินาศภัย มีการศึกษาความเชื่อมโยงระหว่างคุณภาพการนอน ที่ไม่ดีและความเจ็บป่วย โดยใช้อาสาสมัครที่มีสุขภาพดี แต่ถูกรบกวนระหว่างนอน และการลดระยะเวลาการนอน สิ่งที่พบคือเคมีในร่างกายมีการเปลี่ยนแปลง และความ สมดุลของการนอนมีผลต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด รวมถึง สุขภาพทางระบบประสาท นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารศึ ก ษาคนท� ำ งานกะกลางคื น ซึ่ง เป็ น กลุ่ ม คนที่มีโ อกาสว่ า จะมีคุณ ภาพการนอนที่ไ ม่ ดี พบว่ า มี ค วามเสี่ ย งต่ อ การเป็ น โรคอ้ ว นมากกว่ า คนปกติ มีความต้องการพลังงานจากอาหาร (แคลอรี) มากกว่า คนปกติ มีโอกาสที่จะกลายเป็นคนสูบบุหรี่มากกว่าคนปกติ และมีเวลานอนโดยรวมน้อยกว่าคนปกติ และแม้ว่าจะมีการ ควบคุมปัจจัยเสีย่ งต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องข้างต้นแล้ว แต่คนท�ำงาน กะกลางคื น ยั ง คงมี ค วามเสี่ ย งของโรคหลอดเลื อ ดหั ว ใจ มากกว่าคนปกติอย่างมีนัยส�ำคัญ การนอนที่ไม่เพียงพอและวงจรการนอนที่ไม่เป็นปกติ ส่งผลกระทบในทางลบต่อระบบควบคุมน�ำ้ ตาล ซึง่ เป็นสาเหตุ ของการต่อต้านอินซูลนิ และโรคเบาหวาน ในทางตรงกันข้าม การใช้ระยะเวลานอนทีย่ าวนานก็เป็นผลเสียต่อสุขภาพเช่นกัน เนือ่ งจากมันไปลดเวลาการท�ำกิจกรรมระหว่างวัน และลดระยะ เวลาการรับแสงแดดธรรมชาติ ซึง่ ทัง้ สองอย่างเป็นผลเสียต่อ การมีสุขภาพที่ดี
114
115
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ส� ำ หรั บ ระยะเวลาที่ ดี ที่ สุ ด ในการนอนนั้ น ยั ง เป็ น ที่ ถกเถียงกันอยู่ แพทย์บางท่านกล่าวว่าการนอนครบ 8 ชัว่ โมง เป็ น สิ่ง ที่ ดี ส�ำ หรั บ ทุก คน แต่ แ พทย์ อีก ส่ ว นหนึ่ง กล่ า วว่ า ระยะเวลาการนอนเป็นเรื่องส่วนบุคคล ที่บางคนต้องการ การนอนน้อยกว่า หรือบางคนต้องการการนอนทีม่ รี ะยะเวลา ยาวนานกว่า อย่างไรก็ตาม คุณภาพของการนอนนั้นอยู่เหนือ การควบคุมของบุคคลโดยทัว่ ไป จะต่างจากการสูบบุหรีห่ รือ พฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่ดี (Unhealthy Habits) อื่นๆ ดังนั้น การใช้คณ ุ ภาพการนอนทีแ่ ย่เป็นปัจจัยความเสีย่ งในขัน้ ตอน ของการพิจารณารับประกันภัยจึงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก และมี ค วามอ่ อ นไหวหากน� ำ มาใช้ ใ นการปฏิ เ สธการรั บ ประกันภัย แต่การเข้าใจรูปแบบการนอนของแต่ละคนก็มี ประโยชน์ต่อแบบประกันภัยที่ช่วยส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดี ของประชาชน (Wellness Insurance) ได้ ในประเทศอเมริกา แบบประกันภัยที่ช่วยส่งเสริมการ มี สุ ข ภาพที่ ดี (Wellness Program) เป็ น โปรแกรมที่ มี วัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงและส่งเสริมสุขภาพที่ดีขึ้นของ ประชาชน เช่น ส่งเสริมการออกก�ำลังกาย โดยแผนประกันภัยประเภทนีม้ กั จะน�ำเสนอผ่านสถานที่ ท�ำงานแม้ว่าจะสามารถเสนอขายโดยตรงกับประชาชนได้ แผนประกันภัยนี้วางแผนที่จะเสนอส่วนลดเบี้ยประกันภัย รางวัลเงินสด ส่วนลดสมาชิกฟิตเนสเซ็นเตอร์เพื่อจูงใจให้ เข้าร่วมโปรแกรมสุขภาพ และสิ่งจูงใจอื่นๆ รวมถึงโปรแกรม การช่วยให้หยุดสูบบุหรี่ การจัดการโรคเบาหวาน การลดน�ำ้ หนัก การตรวจคัดกรองสุขภาพเชิงป้องกัน ในปัจจุบนั มีการน�ำเรือ่ งการนอนเข้าไปในแบบประกันภัย ทีช่ ่วยส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดี โดยการนับชั่วโมงการนอน ผ่าน Wearable Device และ Smart Watch ถ้าวันไหนผู้เอา ประกันภัยนอนหลับได้เกิน 7 ชั่วโมง จะได้คะแนน และเมื่อ สะสมคะแนนไปถึงจ�ำนวนหนึง่ ร่วมกับการสะสมคะแนนจาก กิจกรรมสุขภาพอื่นๆ ที่บริษัทประกันภัยก�ำหนด ก็สามารถ ใช้เป็นส่วนลดเบี้ยประกันภัย และส่วนลดสมาชิกฟิตเนส เซ็นเตอร์ได้ ตัวอย่างคุณภาพการนอนที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย ประเภทต่างๆ Sleep Apnea เป็นอีกภาวะของการนอนที่เกี่ยวข้องกับ การประกันภัย กล่าวคือเป็นภาวะที่มีการหยุดหายใจเป็น ระยะๆ หรือมีการหายใจตื้นๆ สลับกับการหายใจปกติใน ระหว่างทีน่ อนหลับ ซึง่ ช่วงการหยุดหายใจดังกล่าวอาจเพียง ไม่กี่วินาทีหรืออาจยาวเป็นนาทีก็ได้ ส่งผลให้นอนหลับได้ ไม่เต็มที่ และมีอาการง่วงมากผิดปกติในช่วงระหว่างวันตามมา
หากมีการตรวจพบว่าเป็น Sleep Apnea บริษทั ประกันชีวติ ในอเมริกาสามารถที่จะปฏิเสธการให้ความคุ้มครองได้ หรือ จะได้รบั การคุม้ ครองโดยมีการเพิม่ เบีย้ ประกันภัย บางบริษทั ก็มีการพิจารณาจากความรุนแรงของอาการว่ามีอาการใน ระดับใด (ระดับเบา ระดับกลาง และระดับรุนแรง) โดยอาจ จะเริ่มเพิ่มเบี้ยประกันภัยเมื่อผู้เอาประกันภัยมีอาการระดับ กลางเป็นต้นไป และหากผู้ที่จะท�ำประกันภัยมีหลักฐาน ทางการแพทย์ที่บ่งชี้ว่าอาจจะมีภาวการณ์นอนที่ผิดปกติ บางบริษทั จะไม่ยอมพิจารณารับประกันภัยหากผูเ้ อาประกันภัย ไม่เข้ารับการตรวจอย่างละเอียดก่อน ส�ำหรับประกันสุขภาพ หากท�ำเป็นประเภทกลุม่ บริษทั ประกันภัยก็จะไม่จ�ำเป็นต้องพิจารณารับประกันภัยเป็นราย บุคคล ซึ่งก็จะเป็นประโยชน์ต่อคนที่มีอาการ Sleep Apnea อย่างไรก็ตามบริษทั ประกันภัยสามารถไม่จา่ ยเงินเอาประกันภัย ให้คนที่มีอาการนี้ถ้ามีอาการ Sleep Apnea ก่อนการท�ำ ประกันภัย (Pre-exiting) ได้ แต่ปัจจุบัน อเมริกาได้ออก กฎหมาย The Affordable Care Act ท�ำให้บริษัทประกันภัย ไม่สามารถปฏิเสธการจ่ายค่าสินไหมได้แม้ว่ามีอาการก่อน การท�ำประกันภัย การประกันภัยรถยนต์ก็ได้รับผลกระทบทางอ้อมจาก การนอนไม่เ พียงพอ เนื่องจากผู้ที่มีอาการนี้จะมีอ าการ อ่อนเพลีย ตัดสินใจช้า ซึง่ เป็นปัจจัยหลักในการเกิดอุบตั เิ หตุ มีการศึกษาพบว่า คนทีม่ อี าการ Sleep Apnea จะมีอตั ราเสีย่ ง ในการเกิดอุบัติเหตุเพิ่มเป็นสองเท่าของคนปกติ
ที่มา:
• Why We Sleep: Unlocking the Power Of Sleep and Dreams,Scribner Book Company – 2018 • The Book Of Sleep: 75 Strategies To Relieve Insomnia, Nicole Moshfegh - Rockridge Press – 2019 • Nicola Oliver, as good as a rest, the actuary August 2019 • www.healthcare.gov/ glossary/wellness-programs • www.world-of-luciddreaming.com/the-stages-ofsleep.html • www.insurance.com/ life-insurance/health-and-lifeinsurance/sleep-apnea-cancerrisk.html • http://healthysleep.med. harvard.edu/healthy/matters/ benefits-of-sleep • www.bangkokhealth. com/health/article/นอนอย่างไร ให้สดชื่น-2368 • www.bangkokhospital. com/th/disease-treatment/ knowledge-about-sleep
ในปั จ จุ บั น ที่ โ ลกก้ า วสู ่ ยุ ค ดิ จิ ทั ล ได้ มี ก ารพั ฒ นา นวัตกรรมต่างๆ ออกมาอย่างมากมาย รวมถึง Wearable Devices ที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ในราคาที่ไม่แพงมากนัก ประกอบกับมีแอปพลิเคชันหลากหลายรูปแบบทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ช่ ว ยติ ด ตามเรื่ อ งการนอน ท� ำ ให้ เ ราสามารถรั บ รู ้ ข ้ อ มู ล ของรูปแบบการนอนและคุณภาพการนอนว่าเป็นอย่างไร ซึ่ ง ข้ อ มู ล เหล่ า นี้ ส ามารถน� ำ มาใช้ ใ นธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ได้ โดยสามารถใช้ประกอบการพิจารณารับประกันภัย และใช้ เป็นฐานข้อมูลในการท�ำ Data Analytics ในการพัฒนาแบบ ประกันภัยใหม่ๆ ที่อาจจะเป็นแบบประกันภัยในเชิงป้องกัน ซึง่ ส่งเสริมให้ประชาชนมีสขุ ภาพทีด่ แี ละเหมาะกับไลฟ์สไตล์ คนในยุคนี้มากขึ้น
116
117
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เรียบเรียงโดย
โสรัจจ์ แรกสกุลชัย
Insurance & Administrative Law การก�ำกับดูแลการประกอบธุรกิจประกันภัย ในบริบทที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายปกครอง
118
119
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ความส�ำคัญของกฎหมายปกครองกับการปฏิบัติงานของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐ หากกล่าวถึงความส�ำคัญของกฎหมายปกครองแล้ว ถือเป็นกฎหมายทีก ่ �ำหนดกฎเกณฑ์ การบริหาร ราชการแผ่นดินทีเ่ กีย ่ วกับการจัดท�ำบริการสาธารณะ และก�ำหนดอ�ำนาจหน้าทีใ่ ห้แก่หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ ของรัฐในการปฏิบต ั ห ิ น้าที1่ กล่าวอีกนัยคือกฎหมายปกครองถือเป็นกฎหมายทีก ่ ำ� หนดสถานะ อ�ำนาจหน้าที่ และความสัมพั นธ์ระหว่างฝ่ายปกครองกับสิทธิเสรีภาพของประชาชนเกี่ยวกับการจัดท�ำบริการสาธารณะ ไม่ว่าจะในรูปแบบใด โดยหลักการพื้ นฐานของกฎหมายปกครองมีความมุ่งหมายที่ต้องการคุ้มครอง ‘ประโยชน์สาธารณะ’ ทีถ ื เป็นหัวใจส�ำคัญของการด�ำเนินกิจการของรัฐทีเ่ กีย ่ อ ่ วกับการจัดท�ำ ‘บริการสาธารณะ’ เพื่ อตอบสนองความต้องการส่วนใหญ่ของประชาชน ท�ำให้หลักการของกฎหมายปกครองจึงแตกต่าง จากหลักการของกฎหมายแพ่ งที่มุ่งเน้นการก�ำหนดนิติสัมพั นธ์ภายใต้สถานะที่เท่าเทียมกันและการก่อ นิติสัมพั นธ์ต้องด้วยความยินยอมพร้อมใจกันทั้งสองฝ่าย ไม่ว่าจะเป็ นระหว่างฝ่ายรัฐกับเอกชน หรือใน ระหว่างฝ่ายเอกชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังแตกต่างจากหลักการของกฎหมายอาญาทีเ่ ป็นเรือ ่ งของข้อก�ำหนด ข้อห้ามต่างๆ ของสังคม เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยเป็ นส�ำคัญ ซึ่งในฝ่ายปกครอง เมื่อหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ได้ใช้อ�ำนาจตามกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติหรือกฎหมายอื่นใดที่มีสถานะเทียบเท่าพระราชบัญญัติ ไม่ว่าจะเป็ นอ�ำนาจผูกพั นหรืออ�ำนาจดุลพิ นิจ ผลของการใช้อ�ำนาจตามบทบัญญัติของกฎหมายเช่นว่านั้น ย่อมเป็ นการกระท�ำทางปกครองประเภทต่างๆ ทั้งที่เป็ นนิติกรรมทางปกครองฝ่ายเดียว เช่น
การออกกฎที่ใช้บังคับเป็นการทั่วไป และค�ำสั่งทาง ปกครองเฉพาะราย รวมไปถึงนิติกรรมสองฝ่าย เช่น สัญญา ทางปกครอง เป็นต้น และยังรวมถึงปฏิบัติการทางปกครอง เช่น การใช้มาตรการบังคับทางปกครองในรูปแบบต่างๆ อีกด้วย สิ่งส�ำคัญก็คือการใช้อ�ำนาจทางปกครองหรือด�ำเนิน กิจกรรมทางปกครองของหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ ของรัฐจะต้องเคารพและปฏิบตั ิตามกฎหมาย การใช้อำ� นาจ จะต้องเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย การจ�ำกัดสิทธิเสรีภาพ ของบุคคลจะกระท�ำได้ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อ�ำนาจไว้ หาก ไม่มีกฎหมายก�ำหนดไว้แล้ว ฝ่ายปกครองย่อมไม่มีอ�ำนาจ กระท�ำการใดๆ ทีจ่ ะไปกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของบุคคลได้เลย กับทั้งการใช้อ�ำนาจย่อมที่จะถูกควบคุมทั้งก่อนและ หลังการด�ำเนินการ รวมถึงถูกตรวจสอบความชอบด้วย กฎหมายโดยองค์กรทีม่ อี ำ� นาจ เช่น คณะกรรมการ ปปช.2 คณะกรรมการ สตง.3 รวมถึงศาลปกครอง4 เป็นต้น และหาก การใช้อำ� นาจนัน้ ไ ปก่อให้เกิดความเดือดร้อนหรือเสียหายแก่ ประชาชนหรือผู้อยู่ใต้บังคับของกฎหมายแล้ว หน่วยงาน หรือเจ้าหน้าที่ขอ งรัฐย่อมมีหน้าที่ต้องเยียวยา แก้ไข หรือ บรรเทาความเดือดร้อนผิดพลาดอันเนือ่ งมาจากการใช้อำ� นาจ หรือละเว้นการใช้อ� ำนาจดังกล่าว ท�ำให้ในทางปกครอง กฎหมายจึงเป็นทั้งที่มา (Source) ของการใช้อำ� นาจของฝ่าย ปกครองและเป็นข้อจ�ำกัด (Limitation) ของการใช้อำ� นาจของ ฝ่ายปกครองด้วย5
กฎหมายปกครองที่ก�ำหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์ วิธีการ ใช้อ�ำนาจทางปกครอง และส่งผลต่อความชอบด้วย กฎหมาย ปัจจุบนั มีกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องในทางปกครองหลายฉบับ ที่ได้วางหลักเกณฑ์การปฏิบัติในการพิจารณาทางปกครอง ของส่วนราชการ หน่วยงานอื่นของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไว้หลาย ประการ ได้แก่ พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.2539 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม พระราชบัญญัตขิ อ้ มูลข่าวสาร ของราชการ พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติ การอ�ำ นวยความสะด วกในการพิจารณาอนุญาตของทาง ราชการ พ.ศ. 2558 หรือแม้กระทั่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 โดยกฎหมายต่างๆ เหล่านี้ ล้วนแต่เป็นกฎหมายกลางที่วาง มาตรฐาน รูปแบบ และขั้นตอนการปฏิบัติของทั้งหน่วยงาน ของรัฐ และเจ้าหน้ าทีข่ องรัฐ ในอันจะต้องศึกษาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจส�ำหรับ การเตรียมการและการด�ำเนินการทาง ปกครอง ให้ถูกต้อง เพราะเป็นกฎหมายที่สอดแทรกและท�ำ หน้าทีค่ วบคุมตรวจสอบขัน้ ตอนและวิธปี ฏิบตั ริ าชการของทุก หน่วยงาน เพือ่ ให้การปฏิบตั ริ าชการมีมาตรฐานการปฏิบตั ทิ ี่ เป็นธร รมเดียวกัน และเป็นไปในทิศทางที่ถูกต้อง รวดเร็ว โปร่งใ ส สามารถตรว จสอบได้ รวมทั้งเพื่อป้องกันมิให้เกิด การใช้ อ�ำนาจตามอ�ำเ ภอใจ อย่างไรก็ตาม แม้ในกฎหมาย
เฉพาะในเรื่องใดจะไม่ได้ก�ำหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์ และวิธี การใช้ อ�ำ นาจทางปกครอ งไว้เป็นการเฉพาะก็ตาม ก็หาได้ หมายความว่า หน่วยงานหรือเจ้าหน้าทีข่ องรัฐจะสามารถใช้ อ�ำนาจกระท�ำการได้อย่างอ�ำเภอใจ หากแต่จะต้องน�ำเงือ่ นไข หลักเกณ ฑ์ วิธกี ารใช้อ�ำ นาจทางปกครองตามที่ก�ำหนดไว้ ในกฎหมายต่างๆ เหล่านี้มาปรับใช้ให้ถูกต้องและเกิดความ เป็นธรรมด้วยเสมอ การประกั น ภั ยเป็นเรื่องของประโยชน์สาธารณะและ เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำบริการสาธารณะ การกำ�กั บ ดู แ ลการประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ของ ประเทศไทย มีประวัตแิ ละมีการพัฒนามาเป็นลำ�ดับ ปัจจุบนั มีสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัย หรือสำ�นักงาน คปภ. เป็นองค์กรกำ�กับดูแลหลัก ทำ�หน้าทีใ่ นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบประกันภัย รวมถึงการกำ�กับดูแลการประกอบธุรกิจประกันภัยและเพิ่ม บทบาทอุตสาหกรรมประกันภัยในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งคุ้มครองสิทธิประโยชน์ด้านการ ประกันภัย ทั้งประชาชนและผู้ประกอบ ธุรกิจประกันภัยของประเทศ6 โดยการใช้ อำ�นาจกำ�กั บ ดู แ ลตามกฎหมายจะ มี ค วามเกี่ ย วของกั บ การใช้ อำ�นาจ ทางปกครองในหลายส่ ว น กล่ า วคื อ สำ�นักงาน คปภ. มีสถานะเป็นหน่วยงาน ของรัฐทีม่ ใิ ช่สว่ นราชการหรือรัฐวิสาหกิจ แต่เป็นองค์กรของรัฐในรูปแบบประเภท พิเศษที่มีความเป็นอิสระ มีโครงสร้าง และระบบการทำ�งาน เป็นของตนเอง ตลอดจนมีอำ�นาจหน้าทีต่ ามกฎหมายในการ จัดทำ�บริการสาธารณะทีเ่ กีย่ วข้องกับการประกันภัย7 โดยการ อนุ ญ าต กำ�กั บ ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาการประกอบธุ ร กิ จ ประกันภัย และการคุม้ ครองสิทธิประโยชน์ดา้ นการประกันภัย มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจประกันภัยที่ให้ อำ�นาจแก่สำ�นักงาน คปภ. และเจ้าหน้าที่ต่างๆ เป็นผู้ใช้ อำ�นาจทางปกครองหลายฉบับ ได้แก่ พระราชบัญญัติคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย พ.ศ. 2550 ที่มีสาระสำ�คัญกำ�หนดให้มีคณะกรรมการกำ�กับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรียกโดยย่อว่า ‘คปภ.’ เป็นองค์กรกำ�กับดูแล (Regulator) มีอำ�นาจหน้าทีห่ ลัก คือการกำ�หนดนโยบาย กำ�กับ ส่งเสริม และพัฒนาการ ประกอบธุรกิจประกันภัย กฎหมายดังกล่าวยังได้กำ�หนด ให้จัดตั้งสำ�นักงาน คปภ. ขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็น ส่วนราชการและไม่เป็นรัฐวิสาหกิจ แต่มีฐานะเป็นนิติบุคคล
รวมถึ ง ให้ บ ริ ษั ท ประกั น ภั ย นำ�ส่ ง เงิ น สมทบให้ แ ก่ สำ�นักงาน คปภ. เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานของ คปภ. และสำ�นั ก งาน คปภ. เป็ นต้ น นอกจากนี้ ยั ง มี พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไข เพิ่มเติม และพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งกฎหมายทั้ง 2 ฉบับถือว่าเป็นเครื่องมือและ กลไกทีส่ ำ�คัญของ คปภ. และสำ�นักงาน คปภ. ในการอนุญาต กำ�กับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย รวมทั้งการ คุ้มครองสิทธิประโยชน์ด้านการประกันภัยให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์หรือเจตนารมณ์ในการตรากฎหมายดังกล่าว อีกทั้งยังมีพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 ซึง่ เป็นกฎหมายทีก่ ำ� หนดมาตรการในการคุม้ ครอง ต่อชี วิ ต แ ล ะ ร่างกายของผู้ประสบภัยจากรถ ตลอดจนให้ ความช่วยเหลือเยียวยาผูป้ ระสบภัยจากรถทีเ่ ป็นบุคคลทีส่ าม ท�ำให้ เห็ น ไ ด้ว่ากฎหมายประกันภัยดังกล่าวจึงเป็น กฎหมาย ที่ เ กีย่ วข้องกับการก�ำกับดูแล ในกิจการประกันภัย ที่มีค วา ม ส�ำ คัญ เนื่องจากเป็นกิจการที่มีผลกระทบต่อ ประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่ ต่อระบบ การเงินและการพัฒนาเศรษฐกิจ ความมัน่ คง ทางการเงิน การออม และตลาดทุนของประเทศ นอกจากนี้ การประกันภัยยังเป็นเครือ่ งมือใน การบริ หา ร ค ว า ม เสี่ยงของประชาชนเพื่อ บรรเทาผลกระทบที่ไม่สามารถคาดการณ์ ในอนาค ต กั บ ทั้งยังต้องมีการก�ำกับดูแล ให้การ ปร ะ ก อ บ ธุรกิจประกันเป็นไปตาม มาตรฐา นแ ล ะ ส อ ด คล้องกับกติกาสากล เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ และความมัน่ คงในการด�ำเนินทางธุรกิจ อย่างยุติ ธ ร ร ม และให้มีความน่าเชื่อถือ จึงเป็นกฎหมาย ที่เกี่ย วข้ อ งกับการก�ำกับดูแลกิจการประกันภัยที่เป็นไปเพื่อ ประโยช น์ ส า ธ า ร ณะและเกี่ยวข้องกับการจัดท�ำบริการ สาธารณะที่มีผลกระทบต่อคนส่วนใหญ่ของสังคม อย่างไรก็ดี กฎหมายประกันภัยมิได้มีเพียงบทบัญญัติ ทีก่ ำ� หนดนิตสิ มั พันธ์ระหว่างผูเ้ กีย่ วข้องในทางกฎหมายปกครอง เท่านัน้ หากแต่ยงั มีนติ สิ มั พันธ์ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และกฎหมายอาญาเข้ามาเกีย่ วข้อง ซึง่ สอดแทรกกระจายอยู่ ในอีกหลายบทมาตราของกฎหมายแต่ละฉบับอีกด้วย การก�ำกับดูแลการประกอบธุรกิจประกันภัยกับการปฏิบตั ิ ตามเงื่อ นไ ข ห ลั กเกณฑ์ และวิธีการใช้อ�ำนาจตาม กฎหมายปกครอง ส�ำหรับนิ ติ สั ม พันธ์ระหว่างผู้เกี่ยวข้องตามกฎหมาย ประกันภัยกับกฎหมายปกครองนัน้ เมือ่ ศึกษาในรายละเอียด
120
121
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ก็จะพบว่ากฎหมายประกันภัยมีบทบัญญัตทิ ใี่ ห้คณะรัฐมนตรี8 รัฐมนตรี9 คณะกรรมการ คปภ. ส�ำนักงาน คปภ. นายทะเบียน และเลขาธิการ รวมไปถึงพนักงานเจ้าหน้าที่10 ต่างเป็นผู้ใช้ อ�ำนาจทางปกครองทีเ่ กีย่ วข้องกับการอนุญาต การก�ำกับดูแล และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกัน ด้วยวิธกี ารออกกฎหมาย ล� ำ ดั บ รองหรื อ ‘กฎ’ เช่ น ให้ คปภ. มี อ� ำ นาจก� ำ หนด หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และแนวปฏิบัติในการประกอบ ธุรกิจประกันภัยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และก�ำหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และแนวปฏิบัติในการก�ำกับ ส่งเสริม และพัฒนาการประกอบธุรกิจประกันภัย การประกาศ ก�ำหนดอัตราเงินสบทบ หรือการก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ให้ความเห็นชอบการก�ำหนดอัตราเบีย้ ประกันภัย การประกาศ ก�ำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการค�ำนวณเงินกองทุนของบริษัท เป็นต้น กฎหมายประกันภัยยังได้ให้อำ� นาจแก่เจ้าหน้าทีใ่ นการ ออก ‘ค�ำสั่งทางปกครอง’ เช่น ให้รัฐมนตรีโดยอนุมัติคณะ รั ฐ มนตรี มี อ� ำ นาจในการออกใบอนุ ญ าต ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยหรือประกัน ชีวติ แล้วแต่กรณี ให้รฐั มนตรีมอี ำ� นาจในการ เพิกถอนใบอนุญาตทีเ่ กีย่ วข้อง ให้นายทะเบียน มีอ�ำนาจในการออกค�ำสั่งห้ามบริษัทประกัน ขยายธุ ร กิ จ กรณี ไ ม่ ช� ำ ระค่ า ธรรมเนี ย ม ใบอนุญาตรายปี และมีอ�ำนาจในการออก ค�ำสัง่ อนุญาตให้บริษทั ประกันเปิดสาขาหรือ ย้ายที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ รวมไปถึงอ�ำนาจ ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบแบบและ ข้อความของกรมธรรม์ประกันภัยที่บริษัทประกันออกให้แก่ ผูเ้ อาประกันภัย การพิจารณาให้ความเห็นชอบเบีย้ ประกันภัย และการเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประเมินวินาศภัย เป็นต้น โดยการใช้อำ� นาจทางปกครองดังตัวอย่างทีย่ กมากล่าว เหล่านี้ ย่อมท�ำให้คณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี คณะกรรมการ คปภ. ส�ำนักงาน คปภ.นายทะเบียน เลขาธิการ รวมถึง พนักงานเจ้าหน้าที่ จึงอยูใ่ นความหมายของค�ำว่า ‘เจ้าหน้าที’่ ตามที่ก�ำหนดไว้ในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ส่งผลท�ำให้วธิ ปี ฏิบตั ริ าชการ ทางปกครองตามกฎหมายประกันภัยเพือ่ น�ำไปสูก่ ารใช้อำ� นาจ ดังกล่าว ส�ำนักงาน คปภ. และเจ้าหน้าที่จงึ ต้องอยู่ภายใต้ บังคับทีจ่ ะต้องปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามพระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบตั ิ ราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และกฎหมายปกครองต่างๆ ข้างต้นอย่างมิอาจหลีกเลี่ยงได้ ซึ่งการใช้อ�ำนาจต่างๆ จึงไม่ เพียงแต่จะต้องถูกต้องแ ล ะเป็นไปตามกฎหมายประกันภัย ในแต่ละฉบับ หากแต่จะต้ อ งถูกต้องทัง้ กระบวนการ รูปแบบ ขัน้ ตอน และวิธกี ารอันเป็นสาระส�ำคัญตามทีก่ ฎหมายประกันภัย
ก�ำหนดให้ตอ้ งกระท�ำ รวมไปถึงวิธปี ฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 อีกด้วย กับทั้งเมื่อ ส�ำนักงาน คปภ. จัดตัง้ ขึน้ โดยกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ และได้รบั มอบหมายให้ใช้อำ� นาจทางปกครองดังกล่าวข้างต้น ด้วยแล้ว ส�ำนักงาน คปภ. ก็ย่อมอยู่ในฐานะของหน่วยงาน ทางปกครอง11 ส่วนคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี คณะกรรมการ คปภ. ส�ำนักงาน คปภ. นายทะเบียน และเลขาธิการ รวมถึง พนักงาน เจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็น ผู้มีและใช้อ�ำนาจหน้าที่ตาม กฎหมายประกันภัยก็อยู่ในความหมายของค�ำว่า ‘เจ้าหน้าที่ ของรัฐ’12 ท�ำให้ศาลปกครองมีอ�ำนาจเข้ามาตรวจสอบการใช้ อ�ำนาจของส�ำนักงาน คปภ. และหรือเ จ้าหน้าที่ดังกล่าวให้ เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย13 อีกเช่นกัน ดังนัน้ เมือ่ กฎหมายประกันภัยได้ให้อำ� นาจแก่สำ� นักงาน คปภ. ในฐานะหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ต่างๆ14 ที่อาจ ใช้อ�ำนาจดังกล่าวไปส่งผลกระทบต่อสิ ทธิและเสรีภาพของ ประชาชนหรือผู้อยู่ภายใต้บังคับของ ก ฎหมาย ในระบบ กฎหมายปกครองจึงได้มกี ารสร้างระบบ การควบคุ ม การใช้ อ� ำ นาจ รวมไปถึ ง ระบบการตรวจสอบความชอบด้ ว ย กฎหมายของบรรดาการใช้ อ� ำ นาจ กระท�ำทางปกครองต่างๆ ให้เป็นไปโดย ชอบด้วยกฎหมาย และสามารถแก้ไข หรือบรรเทาความเสียหาย และคุ้มครอง สิทธิเสรีภาพของประชาชนจากการใช้ อ� ำ นาจและการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ จ ะต้ อ ง ปฏิ บั ติ ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ทั้ ง ในขั้ น ตอนการ ควบคุมป้องกันก่อนการด�ำเนินการ เช่น เจ้าหน้าทีต่ อ้ งมีความเป็นกลางไม่มสี ว่ นได้เสีย หรือไม่มี เหตุทมี่ สี ภาพร้ายแรงอันอาจท�ำให้การพิจารณาไม่เป็นกลาง15 กระบวนการเตรียมการเพือ่ น�ำไปสู่การใช้อ�ำนาจต้องมี การเปิดโอกาสให้ค่กู รณีได้รบั ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ พร้อมทั้งได้โต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานก่อนเสมอ 16 ก่อนออกค�ำสั่งใดๆ ที่จะไปกระทบสิทธิของบุคคลจะต้องมี การรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้งการให้เหตุผล ในค�ำสั่งทางปกครองไว้ด้วยเสมอ17 ส่วนขั้นตอนการควบคุม แบบแก้ไขภายหลังด�ำเนินการ เช่น การให้สิทธิคู่กรณีในการ ร้ อ งเรี ย นเจ้ า หน้ า ที่ และอุ ท ธรณ์ ค� ำ สั่ ง ทางปกครองต่ อ ผู้ออกค�ำสั่ง หรือขอให้มกี ารทบทวนหรือแก้ไขการออกค�ำสั่ง รวมไปถึงสิทธิน�ำข้อพิพาทไปฟ้องคดีต่อศาลปกครองเพื่อให้ ตรวจสอบความชอบด้ ว ยกฎหมาย เป็ น ต้ น โดยกลไก การควบคุมและตรวจสอบดังกล่าว นอกจากจะเป็นไปตามที่ กฎหมายประกันภัยก�ำหนดไว้เป็นการเฉพาะแล้ว ยังได้ ด� ำ เนิ น การผ่ า นกฎหมายที่ ส� ำ คั ญ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง
พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.2539 และพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 อีกด้วย ทั้งนี้ เพื่อให้การใช้อ�ำนาจต่างๆ ตามกฎหมายประกันภัย เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมายต้องถูกต้องและครบถ้วนทัง้ กฎหมายเฉพาะ และเงื่อนไข หลักเกณฑ์ และวิธีการใช้อ�ำนาจตามกฎหมาย ปกครอง เห็ น ได้ ว ่ า กฎหมายปกครองได้ เ ข้ า มามี บ ทบาทที่ ส�ำ คั ญ ของการปฏิ บั ติ ร าชการของทุ ก หน่ ว ยงานและทุ ก องค์ ก รที่ เ ป็ น ผู้ใช้อ�ำนาจทางปกครอง ไม่เว้นแม้กระกระทั่งส�ำนักงาน คปภ. และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในฐานะที่เป็นเครื่องมือที่จะถูกน�ำมา ควบคุมและตรวจสอบการใช้อำ� นาจของหน่วยงานและเจ้าหน้าทีเ่ พือ่ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและผู้อยู่ใต้บงั คับของกฎหมาย ให้เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย มิให้กระทบสิทธิและเสรีภาพ เกินสมควร ท�ำให้การบังคับใช้กฎหมายต่างๆ จึงต้องให้ความส�ำคัญ และระมัดระวัง รวมทั้งจะต้องตรวจสอบบทกฎหมายประกันภัยและขั้นตอน วิธีปฏิบัติต่างๆ ตามกฎหมาย วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองและ กฎหมายปกครองต่างๆ ให้ถูกต้องและครบถ้วน อาทิ การออก หลักเกณฑ์ก�ำกับดูแลใดๆ ในกิจการประกันภัยที่มีสภาพอย่างกฎ ต้องเปิดให้มีการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะของผู้มีส่วนได้เสีย การออกค�ำสั่งทางปกครองใดๆ นอกจากจะต้องด�ำเนินการภายใต้ อ�ำนาจหน้าทีแ่ ละถูกต้องตามกฎหมายในเชิงเนือ้ หาแล้ว ในส่วนของ รูปแบบ ขัน้ ตอน และวิธกี ารทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญต่างๆ ตามทีก่ ฎหมาย ก�ำหนดไว้ ก็มอิ าจละเลยหรือเพิกเฉยด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เรื่องความเป็นกลางของเจ้าหน้าที่ การให้สิทธิแก่ผู้รับค�ำสั่งทาง ปกครองที่จะมีทนายหรือที่ปรึกษา การให้โอกาสคู่กรณีในการได้ รับทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ และได้โต้แย้งและแสดงพยาน หลักฐาน ตลอดจนสิทธิในอันทีจ่ ะได้ทราบเหตุผลของการใช้อำ� นาจ รวมไปถึ ง การอุ ท ธรณ์ แ ละโต้ แ ย้ ง ค� ำ สั่ ง ต่ า งๆ กั บ ทั้ ง ต้ อ ง พิจารณาด้วยความรวดเร็ว เพราะหากด�ำเนินการโดยไม่ถกู ต้องหรือ ล่าช้าเกินสมควร ย่อมส่งผลให้การกระท�ำนั้นกลายเป็นไม่ชอบ ด้วยกฎหมายและอาจส่งผลกระทบหรือเสียหายต่อหน่วยงานและ เจ้าหน้าที่อย่างมิอาจหลีกเลี่ยงได้
อ้างอิง: 1 ชาญชัย แสวงศักดิ,์ ค�ำอธิบายกฎหมายปกครอง, พิมพ์ครัง้ ที่ 26, (กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์วญ ิ ญูชน, หน้า 39-40) 2 มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 3 มาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561 4 มาตรา 9 มาตรา 42 มาตรา 71 แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 5 นันทวัฒน์ บรมานันท์, กฎหมายปกครอง, (กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์วญ ิ ญูชน, หน้า 51) 6 10 ปี คปภ. มาตรฐานประกันภัยเพื่อประโยชน์คนไทย 7 นันทวัฒน์ บรมานันท์, กฎหมายปกครอง, (กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์วญ ิ ญูชน, หน้า 261, 263) 8 เฉพาะในส่วนที่ไม่ใช่การกระท�ำทางรัฐบาลหรือ ทางการเมือง 9 เฉพาะการกระท�ำที่ไม่ใช่งานทางนโยบายทางการเมือง ของรัฐบาลโดยตรง 10 เฉพาะพนักงานส�ำนักงาน คปภ. ผู้ท่รี ัฐมนตรีแต่งตั้ง ให้ปฏิบัติการตามกฎหมาย 11 มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 12 มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 13 มาตรา 9 มาตรา 42 และมาตรา 71 แห่งพระราช บัญญัตจิ ดั ตัง้ ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 14 นันทวัฒน์ บรมานันท์, กฎหมายปกครอง, (กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์วญ ิ ญูชน, หน้า 391-392) 15 มาตรา 13 และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติวิธี ปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 16 มาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทาง ปกครอง พ.ศ. 2539 17 มาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทาง ปกครอง พ.ศ. 2539
122
123
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เรียบเรียงโดย
พราภา ชินะประยูร
Holistic Framework กติกาใหม่ภายใต้ธุรกิจประกันภัยที่ไร้พรมแดน
126
127
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
วิวัฒนาการการก�ำกับธุรกิจประกันภัย วิกฤตเศรษฐกิจโลกที่เกิดขึ้นในปี 2550-2551 ท�ำให้ กลุม่ ผูน้ ำ� ประเทศและธนาคารกลาง (G20) ได้ด�ำเนินโครงการ เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งของระบบการเงินของโลก รวมทั้ง สมาคมผู้กำ� กับดูแลธุรกิจประกันภัยนานาชาติ (International Association of Insurance Supervisors: IAIS) ได้มสี ่วนร่วม ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งในระบบการเงินเช่นกัน โดย ในเบื้องต้น IAIS ได้วิเคราะห์และจัดท�ำรายชื่อบริษัทที่มี ความส�ำคัญต่อระบบการเงินโลก (Global Systemically Important Insurers: G-SIIs) โดยดูจากความเสี่ยงเชิงระบบ จากการด�ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ซึ่ ง รายชื่ อ ดั ง กล่ า วได้ มี การเปิดเผยครั้งแรกในปี 2556 และก�ำหนดมาตรการการ ก�ำกับบริษัทที่อยู่ใน G-SIIs ที่มุ่งเน้นการรักษาความเข้มแข็ง ทางการเงินของบริษทั เพือ่ ปกป้องผูเ้ อาประกันภัยและระบบ เศรษฐกิจโลก โดยมีการจัดท�ำขึ้นทุก 3 ปี ความเสี่ยงเชิงระบบที่จะกล่าวถึงในบทความนี้จะใช้ ความหมายตามที่ได้ก�ำหนดไว้โดยกองทุนการเงินระหว่าง ประเทศ (IMF) ซึ่งก�ำหนดค�ำนิยามของความเสี่ยงเชิงระบบ (Systemic Risk) ว่าเป็นความเสี่ยงที่อาจจะท�ำให้การบริการ ทางการเงินต้องหยุดชะงัก ซึ่งเกิดจากความบกพร่องส่วนใด ส่วนหนึง่ หรือทัง้ หมดของระบบการเงิน โดยความเสีย่ งนีท้ ำ� ให้ เกิดผลกระทบเชิงลบขั้นรุนแรงแก่เศรษฐกิจที่แท้จริง (Real Economy) หรือพูดให้เข้าใจได้งา่ ยขึน้ คือความเสีย่ งจากปัจจัย ภายนอกที่อาจท�ำให้การด�ำเนินธุรกิจของสถาบันการเงิน ตลาดการเงิน หรือเครื่องมือทางการเงิน ต้องหยุดชะงักหรือ ล้มลง โดยความเสีย่ งเชิงระบบนัน้ สามารถเกิดได้จากการล้ม ของสถาบันการเงินหรือกลุ่มสถาบันการเงินที่มีขนาดใหญ่ มีความซับซ้อน มีผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่ไม่มีผู้ทดแทนได้ และมีความเชื่อมโยงกับระบบการเงิน พฤติกรรมหรือการล้มของบริษทั หลายแห่งทีด่ ำ� เนินธุรกิจ ในตลาดเดี ย วกั น หรื อ ท� ำ ธุ ร กรรมการเงิ น ด้ ว ยเครื่ อ งมื อ ทางการเงินแบบเดียวกัน ซึ่งการกระท�ำเหล่านี้จะก่อให้เกิด ความเสีย่ งเชิงระบบโดยรวมและส่งผลกระทบเชิงลบแก่ระบบ การเงินในวงกว้างและระบบเศรษฐกิจอย่างมีนัยส�ำคัญ ซึง่ จะเห็นได้วา่ การก�ำหนดรายชือ่ G-SIIs เป็นการป้องกัน และติดตามความเสี่ยงเชิงระบบเพียงมิติเดียวเท่านั้น คือ ความเสี่ยงเชิงระบบที่เกิดจากการล้มลงของสถาบันการเงิน หรือกลุ่มสถาบันการเงิน ดังนั้น IAIS จึงได้มีการปรับปรุง มาตรฐานการก� ำ กั บ และติ ด ตามความเสี่ ย งเชิ ง ระบบให้ ครอบคลุ ม ยิ่ ง ขึ้นผ่านกรอบการก�ำกับแบบใหม่ที่เรียกว่า Holistic Framework for the Assessment and Mitigation of Systemic Risk in the Insurance Sector (หรือ Holistic Framework) ให้สามารถระบุและติดตามความเสี่ยงเชิงระบบอันเกิดจาก
สาเหตุทงั้ 2 ทางได้อย่างควบคูก่ นั โดยในการประชุมสมาคม ผู้ก�ำกับดูแลธุรกิจประกันภัยนานาชาติ ครั้งที่ 26 (26th IAIS Annual Conference) ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2562 คณะกรรมการ Executive Committee ได้มีมติเห็นชอบให้เริ่มใช้กรอบการ ก�ำกับ Holistic Framework ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ในปี 2563 กรอบการก�ำกับ Holistic Framework คืออะไร? วัตถุประสงค์ของกรอบการก�ำกับ Holistic Framework คือการประเมินและบรรเทาโอกาสการสะสมของความเสี่ยง เชิงระบบในตลาดประกันภัยโลก ซึ่งก่อนที่จะก�ำหนดกรอบ การก�ำกับ Holistic Framework สมาคม IAIS ได้ทำ� การศึกษา และประเมินความเชื่อมโยงระหว่างธุรกิจประกันภัย และ ระบบการเงินและเศรษฐกิจ ซึ่งจากการศึกษาพบว่าปัจจัย หลักที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงเชิงระบบคือ (1) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) (2) ความเชื่อมโยงของธุรกิจประกันภัยกับเศรษฐกิจ ที่แท้จริง (3) ความเชื่อมโยงของธุรกิจประกันภัยกับคู่สัญญาทั้ง จากการซื้อสินทรัพย์และการโอนความเสี่ยง (4) ผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่มีผู้ขายน้อยรายในตลาด ซึง่ จะส่งผลให้คา่ ใช้จา่ ยในการด�ำเนินการของธุรกิจอืน่ เพิม่ ขึน้ จากการขาดแคลนความคุม้ ครองจากผลิตภัณฑ์ประกันภัยนัน้ ทั้งนี้ ปัจจัยเหล่านี้จะต้องส่งผลกระทบไปยังระบบการ เงินและเศรษฐกิจจึงจะนับว่าเป็นปัจจัยทีก่ อ่ ให้เกิดความเสีย่ ง เชิงระบบ ซึ่งช่องทางการส่งผ่านผลกระทบ (Transmission Channel) สามารถท�ำผ่านช่องทางหลัก ต่อไปนี้ (1) การเปลีย่ นสินทรัพย์ให้เป็นเงินสดในระยะเวลาอันสัน้ (2) การเอาประกันภัยต่อ (3) การลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยง (4) ผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่มีผู้ขายน้อยราย แต่เป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีความส� ำคัญต่อการด� ำเนินธุรกิจของธุรกิจ การเงินและระบบเศรษฐกิจ ดังนัน้ เพือ่ ประเมินและบรรเทาการสะสมของความเสีย่ ง เชิงระบบ สมาคม IAIS ภายใต้กรอบการก�ำกับ Holistic Framework จึงประกอบไปด้วยแนวทาง 3 ส่วนคือ (1) การก�ำหนดมาตรฐานการก�ำกับ (Supervisory Policy Measure) (2) การร่วมกันติดตามความเสี่ยงเชิงระบบ (Global Monitoring Exercise) (3) การประเมินผลการบังคับใช้มาตรฐานการก�ำกับ (Implementation Assessment) เพือ่ ติดตาม ระบุตน้ ตอ และประเมินความเสีย่ งเชิงระบบ พร้อมทัง้ ออกมาตรการทีเ่ หมาะสมเพือ่ รับมือความความเสีย่ งนี้
Holistic Framework
Supervisory Policy Measure Insurance Core Principles: ICPs ComFrame Global monitoring exercise ประเมินความเสีย่ งเชิงระบบ – วิเคราะห์มาตรการรับมือความเสีย่ งเชิงระบบ Implementation assessment ติดตามการบังคับใช้มาตรฐานการก�ำกับ
128
129
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
การก�ำหนดมาตรฐานการก�ำกับ (Supervisory Policy Measure) มีจุดประสงค์เพื่อสร้างมาตรการดูแลระบบการเงินที่ จะเสริมสร้างความเข้มแข็งของธุรกิจประกันภัย พร้อมทั้งลด ช่องโหว่และความเสีย่ งทีธ่ รุ กิจประกันภัยอาจจะสร้างความเสีย่ ง เชิงระบบ นอกจากนี้ยังก�ำหนดมาตรการการแทรกแซงที่ เหมาะสมและทันการให้แก่หน่วยงานก�ำกับ ในการควบคุม ผลกระทบของความเสีย่ งเชิงระบบ ซึง่ การก�ำหนดมาตรฐาน ดังกล่าวจ�ำเป็นต้องระบุว่าบริษัทใดมีความเสี่ยงเชิงระบบ โดยทางสมาคม IAIS ได้กำ� หนดให้หน่วยงานก�ำกับที่มีกลุ่ม บริษทั ประกันภัยทีป่ ระกอบธุรกิจประกันภัยในหลายประเทศ หรือที่เรียกว่า Internationally Active Insurance Group (IAIGs) ซึ่ ง บริ ษั ท ที่ จ ะถู ก นั บ รวมในกลุ ่ ม บริ ษั ท IAIGs จะต้ อ งมี คุณสมบัติ 2 ประการ คือ (1) ประกอบธุรกิจประกันภัยมากกว่า 3 เขตการปกครอง และในเขตปกครองทีไ่ ม่ใช่เขตปกครองหลักต้องมีเบีย้ ประกันภัย รับรวมอย่างน้อย 10% ของเบี้ยประกันภัยรับทั้งหมด (2) มูลค่าสินทรัพย์ต้องเกิน 5 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือมีเบีย้ ประกันภัยรับต่อปีมากกว่า 1 หมืน่ ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยผู้ก�ำกับดูแลหลักจะเป็นหน่วยงานก�ำกับ ณ เขตการ ปกครองทีเ่ ป็นทีต่ งั้ ส�ำนักงานใหญ่ของบริษทั และผูก้ ำ� กับดูแล หลักจะเป็นผู้ประเมินว่าบริษัทใดเข้าข่ายกลุ่มบริษัท IAIGs และรายชื่อบริษัทจะมีการเปิดเผยในปี 2563 เมื่อก�ำหนด กลุม่ บริษทั ทีม่ คี วามเสีย่ งเชิงระบบแล้ว การก�ำกับกลุม่ บริษทั เหล่านีค้ วรมีมาตรการการก�ำกับทัง้ เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ มาตรการการก�ำกับในเชิงคุณภาพ ให้หน่วยงานก�ำกับ น�ำมาตรฐานการก�ำกับแบบ Common Framework for the Supervision of Internationally Active Insurance Groups (ComFrame) มาใช้ให้เหมาะสมกับประเภท ขนาด และความ ซับซ้อนของ IAIGs ซึ่ง ComFrame เป็นมาตรฐานการก�ำกับ ที่เพิ่มเติมเข้ามารวมในมาตรฐานการก�ำกับเดิม (Insurance Core Principles: ICPs) โดยหัวข้อที่ ComFrame ให้ความส�ำคัญ ได้แก่ การก�ำหนด คุณสมบัตขิ องกรรมการและบุคลากรในส่วนงานทีส่ ำ� คัญของ บริษัท การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน การ ตรวจสอบและการจัดส่งรายงาน การเปิดเผยข้อมูลมาตรการ การแทรกแซง การเลิกท�ำธุรกิจ การลงทุน การบริหารความ เสี่ยงแบบองค์รวม การก�ำกับบริษัทแบบ Group-wide และ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานก�ำกับที่ IAIGs ประกอบธุรกิจ ประกันภัยอยู่ ซึง่ มาตรฐานทีเ่ พิม่ เติมเข้ามานัน้ มีจดุ ประสงค์ หลักเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการดูแลระบบการเงิน การบริหาร จั ด การความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ ง ความเชื่อมโยงของ ความเสีย่ งระหว่างบริษทั และระบบการเงิน การบริหารจัดการ
เมือ่ เกิดสถานการณ์วกิ ฤต ตลอดจนขัน้ ตอนการป้องกันและ แทรกแซงที่รวดเร็วและเหมาะสมกับกลุ่มบริษัท IAIGs โดย การบังคับใช้มาตรฐานใหม่จะเริ่มในต้นปี 2563 ส�ำหรับมาตรฐานการก�ำกับเชิงคุณภาพ ทางสมาคม IAIS ได้มีการศึกษาและก�ำหนดให้มีการจัดท�ำมาตรฐาน การค�ำนวณเงินกองทุนของกลุม่ IAIGs หรือทีเ่ รียกว่า Insurance Capital Standard (ICS) ที่ครอบคลุมความเสี่ยง 4 ด้านคือ (1) ความเสี่ยงด้านการรับประกันภัย (2) ความเสี่ยงด้านเครดิต (3) ความเสี่ยงด้านตลาด (4) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน พร้อมทัง้ ท�ำการยกระดับคุณภาพของเงินกองทุนภายใต้ ICS สมาคม IAIS ก�ำหนดให้ส�ำนักงานใหญ่ของบริษทั IAIGs ต้องด�ำรงอัตราเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง (ICS Ratio) ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 99.5 เปอร์เซ็นไทล์ บน Consolidated Basis ซึ่งการทดสอบการค�ำนวณด้วยหลักเกณฑ์ใหม่นี้จะ เริม่ ท�ำการทดสอบกับบริษทั ประกันภัยจริงตัง้ แต่ปี 2563 และ สิ้นสุดในปี 2567 และเมื่อเสร็จสิ้นระยะเวลา ทางสมาคม IAIS จะน�ำผลที่ได้รับเข้าไปปรับปรุงมาตรฐาน ComFrame ในอนาคตให้ครอบคลุมทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การร่ ว มกั น ติ ด ตามความเสี่ ย งเชิ ง ระบบ (Global Monitoring Exercise) มีจดุ ประสงค์เพือ่ ระบุแนวโน้มและพัฒนาการของตลาด ประกันภัยโลก และการติดตามความเสีย่ งเชิงระบบทีเ่ พิม่ ขึน้ ในธุรกิจประกันภัย ทั้งระดับบริษัทและเขตการปกครอง ซึ่ง หากมีการสะสมของความเสี่ยงเชิงระบบ ทางสมาคม IAIS จะก�ำหนดกระบวนการจัดการที่หน่วยงานก�ำกับพึงมี โดยในปี 2563 สมาคม IAIS จะมีการจัดเก็บข้อมูลจาก ประเทศสมาชิกผู้สนใจเข้าร่วมและประเมินผลการวิเคราะห์ ให้แก่สมาชิกผู้เข้าร่วม ซึ่งข้อมูลที่จะจัดเก็บจะถูกน�ำไป วิ เ คราะห์ ค วามเสี่ ย งเชิ ง ระบบทั้ ง จากบริ ษั ท (Individual Insurer Monitoring) และจากการสะสมความเสี่ยงเชิงระบบ ในเขตการปกครอง (Sector-wide Monitoring) และแสดงผล การวิเคราะห์ให้แก่ประเทศทีเ่ ข้าร่วม พร้อมทัง้ มีการแลกเปลีย่ น ความคิดเห็นเพือ่ ใช้ประกอบการก�ำหนดมาตรการการก�ำกับ ที่เหมาะสมกับพฤติกรรมของตลาดต่อไป การประเมิ น ผลการบั ง คั บ ใช้ ม าตรฐานการก� ำ กั บ (Implementation Assessment) มีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมให้การก�ำกับธุรกิจประกันภัย ในแต่ละเขตการปกครองสอดคล้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการก�ำกับธุรกิจประกันภัย ซึ่งเมื่อ
มาตรฐานการก�ำกับตาม ICPs และ ComFrame มีผลบังคับใช้แล้ว การ ประเมินภาคประกันภัยตามเขตการ ปกครองต่างๆ ในปี 2563 จะเป็นการ ประเมินหา Baseline และจะเข้มข้นขึ้น ในเชิงปฏิบัติการของหน่วยงานก�ำกับ ในปีถัดไป การยกระดับมาตรฐานการก�ำกับ ธุรกิจประกันภัยครั้งนี้มีผลอย่างไร กับประเทศไทย ด้ ว ยกรอบการก� ำ กั บ Holistic Framework เน้ น การประเมิ น และ บรรเทาความเสี่ยงเชิงระบบ โดยยก ระดับมาตรฐานการก�ำกับในส่วนของ ComFrame และ ICPs ที่ มุ ่ ง เน้ น การติดตามและดูแลกลุ่มบริษัท IAIGs ซึ่งหน่วยงานก�ำกับหลักที่ต้องด�ำเนิน การนัน้ เป็นหน่วยงานก�ำกับ ณ ประเทศ ที่เป็นที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ของบริษัท จากคุณสมบัติของ IAIGs ณ ปัจจุบัน แม้ว่าบริษทั ในประเทศไทยยังไม่นบั ว่า มีกลุ่มบริษัท IAIGs ตั้งส�ำนักงานใหญ่ อยู่ที่ประเทศไทย อย่ า งไรก็ ต ามบริ ษั ท ข้ า มชาติ หลายแห่งที่ประกอบธุรกิจประกันภัย ในประเทศไทยมีคุณสมบัติครบถ้วน ดังนั้น ผลกระทบส่วนใหญ่จะมาใน รูปแบบของการสนับสนุนข้อมูลให้แก่ บริ ษั ท แม่ เพื่ อ ใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ต าม กฎหมายใหม่ทบี่ ริษทั แม่ตอ้ งถือปฏิบตั ิ ซึ่งมิติที่จะเห็นได้ชัดคือการยกระดับ กระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า น สภาพคล่อง และการบริหารจัดการ บริ ษั ท ที่ ดี ที่ ก� ำ หนดข้ อ บั ง คั บ ที่ เ น้ น การเป็นอิสระและโปร่งใส อีกทั้งการ ประเมินความเสี่ยงแบบ ConsolidatedBasis และการหักสินทรัพย์ที่ถือไขว้กัน ระหว่างบริษัทในเครือ IAIGs เดียวกัน ซึ่ ง อาจท� ำ ให้ บ ริ ษั ท เปลี่ ย นแปลง นโยบายการลงทุ น และประเภท ผลิตภัณฑ์ประกันภัยอย่างมีนัยส�ำคัญ ดั ง นั้ น รู ป แบบข้ อ มู ล ที่ บ ริ ษั ท ต้ อ ง
จัดเก็บจะต้องมีความละเอียดมากขึ้น และมี ค วามแม่ น ย� ำ เพี ย งพอที่ จ ะ ประเมินความเสี่ยงด้านต่างๆ การเตรียมการรับการเปลีย่ นแปลง ของมาตรฐานการก�ำกับครั้งนี้มีหลาย มิติที่มีความคล้ายคลึงกับการเตรียม ความพร้อมของมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิ น ฉบั บ ที่ 17 เรื่ อ งสั ญ ญา ประกันภัย และเวลาการบังคับใช้ทั้ง 2 เรือ่ งนีม้ รี ะยะเวลาทีใ่ กล้เคียงกัน ท�ำให้ บริษัทอาจสามารถปรับปรุงระบควบคู่ กันไป นอกจากนี้ ห น่ ว ยงานก� ำ กั บ ที่ เกีย่ วข้อง เช่น ส�ำนักงาน คปภ. จ�ำเป็น ต้ อ งยกระดั บ ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง หน่วยงานก�ำกับ รวมทั้งแลกเปลี่ยน ข้อมูลและจัดท�ำแผนรับมือเหตุการณ์ วิกฤตเมื่อกลุ่มบริษัท IAIGs ประสบ ปัญหาทางการเงิน อีกทั้งต้องยกระดับ การประเมินและติดตามความเสีย่ งเชิง ระบบที่สะสมในประเทศไทย กรอบการก�ำกับ Holistic Framework เป็นการสร้างความเข้มแข็งของระบบ การเงินด้วยการก�ำหนดมาตรการลด การสะสมของความเสีย่ งเชิงระบบและ เตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ รั บ มื อ หากมี เหตุการณ์เชิงลบที่อาจจะเกิดขึ้นและ ส่ ง ผลกระทบแก่ ป ระชาชน ระบบ เศรษฐกิจไทยและโลก เพราะฉะนั้น กรอบการก� ำ กั บ นี้ เ ป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น ที่ ภาครั ฐ และเอกชนต้ อ งร่ ว มมื อ กั น เพื่ อ สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ ร ะบบ เศรษฐกิจไทย
อ้างอิง: • International Association of Insurance Supervisors (Nov, 2019). Holistic Framework for Systemic Risk in the Insurance Sector (www.iaisweb.org/page/supervisory-material/financial-stability/ fi le/87109/holistic-framework-for-systemic-risk) • International Association of Insurance Supervisors (Nov, 2019). Insurance Core Principles and Common Framework for the Supervision of Internationally Active Insurance Groups (www. iaisweb.org/page/supervisory-material/insurance-core-principles-and-comframe/file/87202/ iais-icps-and-comframe-adoptedin-november-2019) • International Association of Insurance Supervisors (Nov, 2019). Insurance Core Principles and Common Framework for the Supervision of Internationally Active Insurance Groups (www. iaisweb.org/page/supervisory-material/insurance-capital-standard/ file/87282/high-level-messages-ics-version-20-for-the-monitoring-period-and-comparability-assessment) • International Association of Insurance Supervisors (Nov, 2019). Holistic Framework for Systemic Risk in the Insurance Sector: Global Monitoring Exercise (www. iaisweb.org/page/supervisory-mat e r i a l / fi n a n c i a l - s t a b i l it y / file/87206/global-monitoring-exercise)
130
131
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เรียบเรียงโดย
นายศิวาวุฒิ วงศ์ยะรา
InsurTech & Digital Insurance จับตาอนาคตประกันภัยในยุคดิจิทัล
132
133
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ส่วนส�ำคัญในวงจรการประกันภัย แม้ ว่ า ในอดี ต อุ ต สาหกรรมการประกั น ภั ย จะเป็ น เพี ย งธุ ร กิ จ ขนาดย่ อ มในธุ ร กิ จ ภาคการเงิ น แต่ในปั จจุบัน การประกันภัยได้ถูกใช้เป็ นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงรูปแบบหนึ่งที่มีความส�ำคัญ ในการขับเคลือ ่ นประเทศไทยให้พัฒนาอย่างยัง ่ ะพัฒนาอุตสาหกรรมการประกันภัยให้เป็นไป ่ ยืน และในการทีจ อย่างมีประสิทธิภาพ การน�ำเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในทุกๆ ส่วนในวงจรประกันภัย เช่น ใช้ร่วมในการ ขายกรมธรรม์ การพิ จารณารับประกัน การบริหารความเสี่ยง รวมไปถึงการให้บริการประชาชน จึงเป็ น ส่วนส�ำคัญที่จะช่วยให้อุตสาหกรรมการประกันภัยเติบโตขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในต่างประเทศได้มีการน�ำเทคโนโลยีมาส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยเป็ นเวลานานแล้ว เช่น ในการพิ จารณาการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน โดยเฉพาะในรายที่ทรัพย์สินมีขนาดใหญ่ รวมถึงเกิด ภัยพิ บัติในวงกว้าง ได้มีการน�ำเทคโนโลยีโดรนมาใช้ช่วยตรวจสอบความเสียหายกันแพร่หลายมากขึ้น รวมถึ ง มี ก ารน� ำ ข้ อ มู ล ประวั ติ ก ารเกิ ด วิ น าศภั ย ในอดี ต มาเทรนนิ ง โมเดล AI เพื่ อ ท� ำ นายโอกาสและ ความน่าจะเป็ นที่จะเกิดวินาศภัยและความเสียหายซ�้ำอีกในอนาคต นอกจากนี้ ได้เริ่มมีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการค่าสินไหมทดแทนรถยนต์ โดยใช้ประโยชน์ จากระบบข้อมูลแบบเรียลไทม์ และการติดต่อลูกค้าผ่านระบบวิดีโอและเสียงในการบริการเคลม และได้เริ่ม มี ก ารพั ฒ นาระบบปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ให้ เ ข้ า มามี บ ทบาทในเรื่ อ ง การกลัน ั กล่าวจะท�ำหน้าทีว ้ ซึง ่ ระบบปัญญาประดิษฐ์ดง ่ เิ คราะห์ ่ กรองการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนมากขึน ข้อมูลเกีย ่ วกับการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน รวมถึงให้ความเห็นในเบือ ้ งต้นว่า การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน ดังกล่าวมีแนวโน้มที่จะต้องจ่ายหรือไม่ และหากต้องจ่ายจะต้องจ่ายในมูลค่าใดบ้าง และเป็ นจ�ำนวนเท่าใด หรื อ มี ก ารส่ ง สั ญ ญาณว่ า การเรี ย กร้ อ งค่ า สิ น ไหมทดแทนรายใดมี ลั ก ษณะที่ผิ ด ปกติ ไ ปจากมาตรฐาน การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนทั่วไป (Red Flag) เป็ นต้น
บทบาทของเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมการประกันภัย2
การเติบโตของ InsurTech ในปี 2019 ในปี 2019 ที่ผ่านมานั้นอุตสาหกรรมการประกันภัย ทั่วโลกได้มีการน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาปรับใช้ในธุรกิจ อย่างแพร่หลาย ก่อให้เกิดเทคโนโลยีด้านการประกันภัย (InsurTech)3 และนวัตกรรมในหลายๆ ขั้นตอนของวงจร การประกั น ภั ย มากมาย ทั้ ง ยั ง มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะมี ก ารน� ำ InsurTech เข้ามาใช้งานในอุตสาหกรรมประกันภัยเพิม่ มากขึน้ ซึ่ง จะช่ ว ยเพิ่ ม ศั ก ยภาพของบริ ษั ท ประกั น ภั ย เช่ น เพิ่ ม ความเร็ ว ในการตั ด สิ น ใจ ลดระยะเวลาที่ ต ้ อ งใช้ ใ นการ ท�ำงานการรอคอย ลดค่าใช้จ่าย และขยายฐานลูกค้าได้ กว้างขึ้น โดยค่าใช้จ่ายไม่เพิ่มมากนัก เนื่องในโอกาสที่ ส�ำนักงาน คปภ. ได้มโี อกาสไปศึกษาดูงานการจัดนิทรรศการ
แสดงผลงานของ InsurTechs และ Tech Firms ต่างๆ ทีอ่ อกบูธ ณ งาน Singapore Fintech Festival 20194 จึงอยากขอ ยกตัวอย่างบริษัทและนวัตกรรมที่มีการน�ำเสนอและอาจน�ำ มาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมประกันภัยในด้านต่างๆ เพื่อ จุดประกายความคิด และสนับสนุนให้มกี ารน�ำเทคโนโลยีมา ใช้ในวงการประกันภัยในประเทศไทยให้มากขึ้น เช่น - การพั ฒ นากระบวนการจ่ า ยค่ า สิ น ไหมด้ ว ย เทคโนโลยี บริษัท ProovStation5 ที่น�ำเทคโนโลยี AI มาใช้ใน การประเมินมูลค่าความเสียหายรถยนต์ บริษัท Shanghai Zhikan Technology6 น�ำเทคโนโลยี
สมาร์ตโฟนเข้ามาช่วยสนับสนุนการให้บริการตรวจสอบ อุ บั ติ เ หตุ ร ถชน โดยพนั ก งานตรวจสอบเหตุ จะช่ ว ยให้ ค�ำแนะน�ำในการถ่ายรูปประกอบการของเคลมค่าสินไหม ผ่านโมบายแอปพลิเคชัน บริษัท Milliman7 น�ำ AI มาใช้ในการตรวจสอบข้อมูล การเคลมเพือ่ หาความผิดปกติของข้อมูล ซึง่ ข้อมูลทีม่ คี วามผิด ปกติมโี อกาสทีจ่ ะเป็นการฉ้อโกงหรือการเรียกค่าสินไหมซ�ำ้ ซ้อน - การพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลการประกันภัย ด้วยเทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain) บริษัท AdNovum8 ได้มีการน�ำเทคโนโลยีบล็อกเชนมา เก็บข้อมูลการเคลมค่าสินไหมรถยนต์และด้วยเทคโนโลยี บล็อกเชนจะท�ำให้ข้อมูล ดังกล่าวมีความปลอดภัยระดับสูง ยากที่จะถูกแก้ไขหรือปลอมแปลง บริษทั SmartContract Blockchain Studio9 ทีน่ ำ� บล็อกเชน มาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคล โดยใช้บล็อกเชน ส�ำหรับการติดตามการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล ช่วยเพิ่มความ ปลอดภัยของข้อมูลรวม และช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือของ ข้อมูลอีกด้วย - การพัฒนากระบวนการวิเคราะห์และประเมิน ความเสี่ยงการรับประกันภัยด้วยเทคโนโลยี AI และ Machine Learning บริษัท AiDA Technologies10 ได้มีการน�ำ AI และ Machine Learning มาใช้จัดท�ำโมเดลส�ำหรับวิเคราะห์และ ประเมินความเสี่ยงการรับประกันภัย จากข้อมูลในอดีตเพื่อ พิจารณาการรับประกัน (Underwrite) รวมถึงการน�ำ AI เข้า มาช่วยหาความผิดปกติของข้อมูลการเคลมเพื่อลดโอกาส การเรียกร้องค่าสินไหมซ�้ำซ้อนหรือการฉ้อโกงการเรียกร้อง ค่าสินไหม - การสร้ า งแพลตฟอร์ ม ส� ำ เร็ จ รู ป เพื่ อ ให้ ก าร พัฒนาอุตสาหกรรมประกันภัยให้เข้าสู่ยุคดิจิทัล บริษัท eBaoTech11 บริษัทชั้นน�ำระดับโลกที่ให้บริการ เกี่ยวกับการน�ำอุตสาหกรรมการประกันภัยเข้าสู่ยุคดิจิทัล เทคโนโลยี eBaoCloud® InsureMO® ซึ่งเป็นแพลตฟอร์ม การให้บริการประกันภัยผ่านอินเทอร์เน็ตที่ได้มาตรฐานโดย ไม่จ�ำเป็นต้องสร้างหรือพัฒนาระบบขึ้นมาเอง บริษัท Brankas12 พัฒนาแพลตฟอร์มที่ใช้เพื่อบริหาร จัดการข้อมูลผ่าน API เพื่อให้ง่ายต่อการบริหารจัดการ ข้อมูล ทั้งในด้านของความปลอดภัยของข้อมูล การก�ำหนด รูปแบบการใช้งาน รวมถึงการเก็บข้อมูลผู้ใช้งานได้อย่าง สะดวกรวดเร็ว
บริ ษั ท SYMBO 13 ได้ พั ฒ นาแพลตฟอร์ ม ที่ อ�ำ นวย ความสะดวกให้แก่โบรกเกอร์เพื่อให้สามารถขายกรมธรรม์ ออนไลน์ ไ ด้ อ ย่ า งครบวงจร ทั้ ง ประกั น ชี วิ ต และประกั น วินาศภัย อีกทั้งยังมีระบบแสดงข้อมูลตัวแทนรูปแบบการ์ด ให้ ลู ก ค้ า ดู ร ายละเอี ย ดได้ และมี เ ครื่ อ งมื อ เพื่ อ อ�ำ นวย ความสะดวกในการขายต่างๆ เช่น การตรวจสอบความเสีย่ ง ของลูกค้าก่อนท�ำการเสนอขายผ่านแอปพลิเคชัน หรือ การเช็กกรมธรรม์รถยนต์ ผ่านการถ่ายรูปทะเบียนรถ เป็นต้น รวมถึงการอบรมความรู้ให้กับตัวแทนตั้งแต่ขั้นพื้นฐานจน มีความเข้าใจในประกันภัยและรายงานสรุปการขายอีกด้วย - การวิเคราะห์แบบประกันที่เหมาะสมและน�ำ เสนอขายกรมธรรม์ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ บริษัท Babel14 ได้มีการน�ำเทคโนโลยี AI มาใช้ในการ วิเคราะห์แบบกรมธรรม์ที่มีความเหมาะสมกับแต่ละบุคคล โดยให้ ผู ้ ใ ช้ ง านกรอกข้ อ มู ล เพี ย งเล็ ก น้ อ ยจากนั้ น ระบบ จะท�ำการประเมินและน�ำเสนอแบบกรมธรรม์ประกันภัยทีม่ ี ความเหมาะสมผ่านระบบคอมพิวเตอร์ บริษัท amigobulls ได้น�ำเสนอผลิตภัณฑ์ Enrichvideo15 เป็นการน�ำสื่อวิดีโอเข้ามาช่วยสนับสนุนการขายกรมธรรม์ ประกันภัย รวมถึงการแจ้งเตือนการต่ออายุกรมธรรม์ซึ่งจะ ให้ผลดีกว่าการส่งเป็นข้อความตัวอักษร การเสนอขาย กรมธรรม์ตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคลจะเพิม่ โอกาส ที่จะท�ำให้เกิดการซื้อขายกรมธรรม์ที่มากขึ้น อีกทั้งการใช้ สื่ อ วิ ดี โ อจะช่ ว ยดึ ง ความสนใจของผู ้ ซื้ อ ได้ ดี ก ว่ า การส่ ง ข้อความเป็นตัวอักษรอีกด้วย บริ ษั ท แกร็ บ (Grab) 16 ได้ พั ฒ นา Grab Driver Application เพื่ อ ให้ ผู ้ ขั บ ขี่ ส ามารถซื้ อ ประกั น อุ บั ติ เ หตุ ส่วนบุคคล หรือประกันชดเชยรายได้ส� ำหรับผู้ขับขี่ผ่าน แอปพลิเคชัน โดยสามารถเลือกซือ้ ความคุม้ ครองได้ทงั้ แบบ รายเดือนและแบบรายวัน ขึน้ อยูก่ บั ความต้องการของผูข้ บั ขี่ แต่ละราย - การพัฒนาระบบพิสูจน์และยืนยันตัวตนทาง อิเล็กทรอนิกส์ บริษทั เอ็นอีซ17ี หนึง่ ในบริษทั ทีเ่ ป็นผูน้ ำ� ในด้านเทคโนโลยี การยืนยันตัวตนด้วยชีวมิติ (Biometric Authentication) โดยใช้ระบบสแกนใบหน้า (Face Recognition) และดวงตา (Iris Recognition) เพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการซื้อสินค้า และท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้แบรนด์ทรี่ จู้ กั กันใน ชือ่ Bio-Idiom ตัวอย่างของเทคโนโลยีเช่น Iris Platform18 เป็นอุปกรณ์ ที่ ใ ช้ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ด้ า น Biometric ในส่ ว นของดวงตา
134
135
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
โดยอุปกรณ์ตัวนี้จะจับเอกลักษณ์ของมนุษย์จากม่านตา (Iris) ของมนุษย์ มาเก็บเป็นฐานข้อมูลทางดิจิทัล ซึ่งมีความ รวดเร็วและปลอมแปลงได้ยาก ด้วยขนาดและราคาของ อุปกรณ์ ท�ำให้อุปกรณ์น้ีน่าสนใจในการเก็บองค์ประกอบ ของมนุษย์เพื่อใช้ในการยืนยันตัวตนในอีกช่องทางหนึ่ง จากโลกหวนมองไทย การปรับตัวของภาคธุรกิจประกันภัย ในประเทศไทย จากอดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่าธุรกิจ ประกัน ภัย ไทยได้ ก ้ าวผ่ านความท้ าทายมากมาย ได้รับ การพัฒนาและยกระดับให้มีความเข้มแข็ง มีมาตรฐาน และ ระบบประกันภัยได้เข้าไปมีบทบาทต่อระบบเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศเพิ่มมากขึ้น แต่บททดสอบใหม่ก�ำลังจะ เข้ามาท้าทายความสามารถของเราอีกครัง้ ความท้าทายใหม่ คือบทบาทของเทคโนโลยีในธุรกิจประกันภัย ซึ่งถือเป็น จุดเปลี่ยนที่ส�ำ คัญและสามารถสร้างโอกาสให้แก่บริษัท ประกันภัยและคนกลางประกันภัยเป็นอย่างมาก และน�ำไปถึง สิ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า ‘เทคโนโลยี ประกันภัย หรือ InsurTech’ การตืน่ ตัวของกระแส InsurTech ท�ำให้ผปู้ ระกอบการลุกขึน้ มา ท� ำ แพลตฟอร์ ม ออนไลน์ ให้ บ ริ ก ารประกั น ภั ย ผ่ า น เว็ บ ไซต์ ห รื อ แอปพลิ เ คชั น มากมาย และมี แ นวโน้ ม การเติบโตที่สูงขึ้นอย่างก้าวกระโดด นับต่อจากนี้เทรนด์ InsurTech ของไทย จะไม่ใช่เรื่อง ไกลตัวอีกต่อไป ทุกวันนี้ทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลและ สามารถท�ำธุรกรรมได้ตลอดเวลา ในมุมของธุรกิจประกันภัย มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น มีการ ปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบการด�ำเนินธุรกิจใหม่ๆ อาทิ บริษัท Sunday19 หนึ่งใน InsurTech ของไทย ที่สร้างจุดขายด้วย การจัดท�ำแอปพลิเคชันด้วยการน�ำปัญญาประดิษฐ์เข้ามา ช่ ว ยวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล แบบเรี ย ลไทม์ ใ นการค� ำ นวณอั ต รา เบี้ยประกันภัย ทั้งการประกันภัยรถและการประกันสุขภาพ ทีเ่ หมาะสมตามความเสีย่ งของลูกค้า และทีป่ ระเทศสิงคโปร์ Grab ร่วมกับ ZhongAn20 สร้างแพลตฟอร์มเพือ่ ขายประกันภัย ผ่านแอปพลิเคชันของ Grab โดยร่วมเป็นพาร์ตเนอร์กบั บริษทั ชับบ์อินชัวรันซ์ ซึ่งจะเปิดตัวภายในปีหน้านี้ นอกจากนีเ้ ทคโนโลยีสามารถน�ำมาใช้ในการลดต้นทุนได้ อาทิ ระบบการแจ้งอุบัติเหตุทางรถยนต์ผ่านสมาร์ตโฟน ซึ่งผู้แจ้งสามารถถ่ายรูปความเสียหายและส่งไปยังบริษัท ประกันภัยผ่านแอปพลิเคชันและมีการใช้ AI ประเมินผลแบบ
เรียลไทม์ พร้อมทั้งโอนเงินค่าสินไหมไปยังบัญชีของผู้เอา ประกันภัยในทันที ความท้าทายของการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีทเี่ ข้ามา และการด�ำเนินการของส�ำนักงาน คปภ. ส�ำนักงาน คปภ. ซึง่ มีหน้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลตรวจสอบ และส่งเสริมอุตสาหกรรมการประกันภัยของประเทศไทย จึงมีแนวทางทีจ่ ะสนับสนุนให้เกิดการน�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ในภาคธุรกิจและการก�ำกับดูแล จากนโยบายของเลขาธิการ ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ ที่ได้จัดตั้งกลุ่มงานส่งเสริมเทคโนโลยี ด้านประกันภัย (Center of InsurTech, Thailand)21 โดยมี ภารกิจ 4 ประการ ดังนี้ (1) เป็นเวทีระดมความคิดเห็นร ะหว่างหน่วยงานกํากับ ดูแลและกลุ่มเทคโนโลยีประกันภัย (2) สนับสนุนการเข้าถึงประกันภัยของประชาชน (3) ส่งเสริมการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อการกํากับ ดูแลธุรกิจประกันภัย (4) ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก าร ศึ ก ษาวิ จั ย และแลกเปลี่ ย น ค ว า ม รู ้ ด ้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ประกันภัย ภายในระยะเวลาหนึ่ง ปีเศษที่ผ่านมา ศูนย์ CIT ได้ ด�ำ เนิ น การตามภารกิ จ การ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การใช้ เทคโนโลยีในอุตสาหกรรมประกันภัยในทุกๆ ด้าน เช่น สร้างเวทีระดมความคิดเห็น จัดกิจกรรมสัมมนาให้ความรู้ และจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ให้กบั เครือข่ายในบริษทั ประกันภัย InsurTech และ Tech Firm ต่างๆ ไป กว่า 10 ครั้ง มีผู้เข้ารับ การเพิ่มพูนความรู้กว่า 1,300 คน ในปี 2562 ที่ผ่านมา ในอนาคต ศูนย์ CIT จะต่อยอดท�ำโครงการ CIT Academy และจะขยายผลการให้ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ประกันภัยเพิม่ เติมนอกเหนือพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยจะมี การลงพื้นที่จัดกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ อย่างน้อย 4 ภาค ทัว่ ประเทศไทยซึง่ ขณะนีอ้ ยูใ่ นขัน้ ตอนการออกแบบหลักสูตร ให้เหมาะสมกับพืน้ ทีเ่ ป้าหมายและสถานการณ์ พัฒนาการ ด้านเทคโนโลยีประกันภัยของไทย ทั้งนี้ การจัดตั้งศูนย์ CIT ถือเป็นกลไกที่ส�ำคัญในการท�ำให้เกิดนวัตกรรมประกันภัย ใหม่ๆ ซึ่งท�ำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงระบบประกันภัยได้ โดยง่าย สะดวก รวดเร็ว รวมถึงมีผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่สามารถตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้อย่างทัว่ ถึง และในระยะต่อไป ศูนย์ CIT จะเป็นหน่วยงานส�ำคัญที่จะขับเคลื่อนเทคโนโลยี
ด้านการประกันภัยให้กับประเทศในกลุ่ม CLMV+T ของเรา โดยเพิ่มบทบาท หน้าที่ในการผลักดันและสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็น InsurTech Startup Hub เชื่อมโยงเครือข่ายกับภาคธุรกิจสตาร์ทอัพและ Tech Firms ไม่ใช่แค่ในประเทศ แต่ขยายขอบเขตไปในต่างประเทศ พร้อมทัง้ สนับสนุนให้สตาร์ทอัพทีม่ ศี กั ยภาพ ได้มีโอกาสน�ำเสนอผลงานทีป่ ระเทศเป้าหมายด้วย พร้อมทั้งขยายบทบาทภารกิจของศูนย์ CIT ในการเป็น One Stop Service ส�ำหรับการให้บริการ InsurTech Startups ต่างๆ ซึ่งส�ำนักงาน คปภ. ได้วาง นโยบายให้ ศูนย์ CIT ขับเคลือ่ นในรูปแบบเหมือนสตาร์ทอัพให้คล่องตัว สามารถ ที่จะปรับเปลี่ยนรูปแบบการด�ำเนินงานได้รวดเร็ว เพื่อให้บริการตอบสนอง ความต้องการในด้านต่างๆ ได้อย่างทันท่วงที ท�ำหน้าทีเ่ ป็นสะพานเชือ่ มระหว่าง Tech Firms ทั้งในและต่างประเทศ กับ Regulators ให้ท�ำงานเชื่อมโยงกันได้ ราบรื่น สะดวก รวดเร็ว ในขณะเดียวกัน ส�ำนักงาน คปภ. ตระหนักถึงความส�ำคัญในการยกระดับ การก�ำกับและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการด�ำเนิน ธุรกิจประกันภัยในยุคดิจิทัล เพื่อให้บริษัทประกันภัยและประชาชนสามารถ ใช้ประโยชน์และเข้าถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยยังคงรักษาระดับความเสี่ยง ให้อยู่ในระดับที่สามารถจัดการได้ จึงจัดท�ำโครงการทดสอบนวัตกรรมที่น�ำ เทคโนโลยีมาสนับสนุนการให้บริการส�ำหรับธุรกิจประกันภัย หรือ Insurance Regulatory Sandbox22 เพื่อให้ภาคธุรกิจประกันภัยสามารถทดสอบนวัตกรรม ใหม่ โดยการให้บริการแก่ผู้บริโภคจริง ภายในสภาพแวดล้อมและการให้บริการ ที่จ�ำกัด ภายใต้กรอบหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแลที่อาจพิจารณาการก�ำกับดูแล ให้ยืดหยุ่นตามความเหมาะสมและความจ�ำเป็นแล้วแต่กรณี สุ ด ท้ า ยนี้ ห ากท่ า นสนใจเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ศู น ย์ Center of InsurTech, Thailand (CIT) สามารถติดตามได้ทางทางช่องทางเว็บไซต์ https://cit.oic.or.th/ หรือเฟซบุ๊ก www.facebook.com/InsurTechThailand
อ้างอิง: https://pixabay.com/th/illustrationsบล็ อ ก-เมฆค� ำ -wordle-กราฟิก-1337564 2
https://pixabay.com/th/illustrations/เครือข่าย-ธุรกิจ-การเจริญ
เติบโต-4478141 Chanida Siriboonraksa. (2018). โอกาสของ “อินชัวร์เทค” (InsurTech)
3
ในอาเซียน. สืบค้นเมือ่ 12 มกราคม 2563, จากเว็บไซต์ : www. pricezagroup.com/2018/insurtech-opportunity. ชินพงศ์ กระสินธุ.์ (2562). ผูใ้ ห้บริการนวัตกรรม InsurTech ทีจ่ ดั แสดง
4
ในงาน Singapore Fintech Festival 2019. CIT WhitePaper InsurTech Update Singapore Fintech Festival 2019, 6-39. http://cit.oic.or.th/ whitepaper/sff2019/CIT-WhitePaper-SFF-2019.pdf www.proovstation.com
5 6
www.sg.cntaiping.com/en/about-us/newsroom/158-new-
era-new-strategy-china-taiping-singapore-delivers-customer-excellence-with-innovation.html https://us.milliman.com/
7
www.adnovum.ch/en/innovation/blockchain_car_dossier.html
8
www.facebook.com/smartcontractthailand/
9
www.aidatech.io
10
www.ebaotech.com
11
https://brank.as
12
www.symboinsurance.com
13
https://babel.sg/category/insurance
14
https://enrichvideo.com
15
www.grab.com/sg/driver/insure
16
www.nec.com/en/global/solutions/biometrics/index.html
17
www.nec.com/en/global/solutions/biometrics/iris/index.html
18
Sunday Ins Co.,Ltd. (2562). Sunday ก้าวสูก่ ารเป็น InsurTech อย่าง
19
แท้จริง ด้วยเทคโนโลยี AI สุดล�ำ้ สมัย แห่งแรกในเอเชีย.อาเซียน. สืบค้นเมือ่ 12 มกราคม 2563, จากเว็บไซต์ : https://easysunday.com/ blog/sunday-first-insurtech-asia-ai. COINNEWSASIA. (2562). Grab และ ZhongAn เตรียมขายประกัน
20
ในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. สืบค้นเมือ่ 13 มกราคม 2563, จาก เว็บไซต์ : https://letknow.news/th/news/17591.html InfoQuest Limited. (2561). Center of InsurTech, Thailand (CIT)
21
ประเดิมกิจกรรมแรก จับมือสมาคมฟินเทคประเทศไทย ติดอาวุธให้ InsurTech Startup ในงานสัมมนา หัวข้อ “Insurance Regulatory Sandbox – โอกาสของธุรกิจประกันภัย”. สืบค้นเมือ่ 14 มกราคม 2563 จากเว็บไซต์ : www.ryt9.com/s/doi/2882215 ส�ำนักงาน คปภ. (2560). ประกาศส�ำนักงาน คปภ. เรือ่ ง แนวทาง
22
การเข้าร่วมโครงการทดสอบนวัตกรรมทีน่ �ำเทคโนโลยีมาสนับสนุน การให้บริการส�ำหรับธุรกิจประกันภัย(Insurance Regulatory Sandbox). สืบค้นเมือ่ 15 มกราคม 2562, จากเว็บไซต์ : www.oic.or.th/th/consumer/news/announcements/87010
136
137
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เรียบเรียงโดย
กฤษณา ศักดิวรพงศ์
Insurance and Liability Frameworks for Driverless Cars จับตาอนาคตประกันภัยในยุคดิจิทัล
140
141
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
บทคัดย่อ Insurance and Liability Frameworks for Driverless Cars รถยนต์ไร้คนขับหรือรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ ก� ำ ลั ง จะกลายเป็ น เทรนด์ ใ หม่ ใ นอนาคตที่ ส ร้ า ง ความปลอดภัยบนท้องถนน ลดอุบัติเหตุที่เกิดจาก ความประมาทของผู้ขบั ขี่ได้กว่าร้อยละ 90 ซึ่งส่งผลให้ ความเสี่ยงภัยและเบี้ยประกันภัยลดลง อย่างไรก็ดี ภาคธุรกิจมีความเห็นว่าเบีย้ ประกันภัยอาจไม่ได้ลดต�ำ่ ลงมากนัก เพราะธุร กิจ ต้ อ งเผชิญ ภาวะขาดแคลน แรงงานเฉพาะทาง และอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ทแี่ พงขึน้ ทั้ ง นี้ รถยนต์ ขั บ เคลื่ อ นอั ต โนมั ติ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี่ยงใหม่ๆ เช่น ระบบโดนแทรกแซง เพื่อใช้ใน การก่อการร้ายหรือสร้างความวุ่นวาย ระบบป้องกัน อุบัติเหตุของรถที่ท�ำให้สามารถหักหลบการชนจาก สิ่งของ คน หรือกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งไปยังอีกสิ่งของ คน หรือกลุ่มคนอีกกลุ่มหนึ่งได้ เมื่อเกิดอุบัติเหตุจากรถยนต์ไร้คนขับขึ้น ผู้ผลิต โปรแกรมเมอร์ หรือผู้ออกแบบ อาจมีความรับผิดต่อ ผู้เสียหาย ประเทศอังกฤษไม่มีกฎหมายภาคบังคับให้ บุ ค คลดั ง กล่ า วต้ อ งท� ำ ประกั น ภั ย ความรั บ ผิ ด ต่ อ ผลิตภัณฑ์ (Product Liability Insurance) ดังเช่นการ ประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ท�ำให้ผู้บริโภค ต้องฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายกับบุคคลดังกล่าวเอง ประกอบกับมีข้อจ�ำกัดของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค (The Consumer Protection Act 1987) เช่น ผู้ผลิต ไม่ต้องรับผิด หากไม่อาจทราบผลในอนาคตที่เกิด เนื่ อ งจากข้ อ จ� ำ กั ด ทางเทคโนโลยี ใ นปั จ จุ บั น กรณี ดังกล่าว จึงเป็นภาระแก่ผบู้ ริโภคในการใช้สทิ ธิเรียกร้อง เนื่องจากไม่อาจทราบได้ชัดว่าอุบัติเหตุทางรถยนต์ที่ เกิดขึน้ กับตนเกิดจากรถยนต์ขณะขับเคลือ่ นด้วยบุคคล หรือขณะระบบขับเคลือ่ นอัตโนมัติ นอกจากนี้ กรมธรรม์ ประกันภัยคุม้ ครองผูป้ ระสบภัยจากรถก็ไม่อาจคุม้ ครอง คนขับหรือผูท้ นี่ งั่ ในต�ำแหน่งคนขับในรถยนต์ขบั เคลือ่ น อัตโนมัติได้ เพราะเป็นคู่สัญญา (Ffiirst Parties) ไม่ใช่ บุคคลภายนอกที่ได้รับความคุ้มครอง แม้อุบัติเหตุจะ เกิดขึ้นจากระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติก็ตาม ประเทศอังกฤษจึงออก The Automated and Electric Vehicles Act 2018 โดยน�ำหลักผู้รับประกันภัย เดียว (Single Insurer Model) มาบังคับใช้ กล่าวคือ กรมธรรม์ประกันภัยจะให้ความคุ้มครองทั้งอุบัติเหตุที่ เกิดขึน้ จากความรับผิดของคนขับและรถยนต์ขบั เคลือ่ น อัตโนมัติ แต่หากไม่มกี ารท�ำประกันภัย เจ้าของรถยนต์
ต้องเป็นผู้รับผิด นอกจากนี้ มีบทบัญญัติ ให้ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติการจราจร ทางบกให้ ข ยายถึ ง กรณี ร ถยนต์ ขั บ เคลื่ อ น อัตโนมัติ ซึ่งต้องจัดให้มีการท�ำประกันภัย ภาคบังคับด้วย และยังขยายความคุม้ ครองไป ถึงผูท้ นี่ งั่ ในต�ำแหน่งคนขับในรถยนต์ขบั เคลือ่ น อัตโนมัตเิ พือ่ ควบคุมรถในยามฉุกเฉิน ให้ได้รบั ชดใช้ตามสัญญาประกันภัยอีกด้วย ทั้งนี้ เมื่อ ผู้รับประกันภัยชดใช้ตามสัญญาประกันภัย แล้ว ผูร้ บั ประกันภัยสามารถรับช่วงสิทธิไล่เบีย้ จากผู ้ ต ้ อ งรั บ ผิ ด ชอบต่ อ อุ บั ติ เ หตุ นั้ น เช่ น ผู้ผลิต รถยนต์คนั อื่นที่ต้องรับผิดได้ อย่างไรก็ดี The Automated and Electric Vehicles Act 2018 ก�ำหนดให้บริษทั ประกันภัย สามารถยกเว้นความรับผิดต่ออุบัติเหตุที่เกิด จากการติดตั้งซอฟต์แวร์ที่ไม่ได้รับอนุญาต หรือการไม่อัปเดตซอฟต์แวร์ได้ เนื่องจากมี ความเสีย่ งสูง ดังนัน้ จึงมีแนวคิดว่าผูผ้ ลิตควร ที่ จ ะพั ฒ นาระบบไม่ ใ ห้ ร ถยนต์ ขั บ เคลื่ อ น อั ต โนมั ติ ขั บ เคลื่ อ นได้ ห ากมี ก ารติ ด ตั้ ง ซอฟต์ แ วร์ ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตหรื อ ไม่ มี ก าร อั ป เดตซอฟต์ แ วร์ เพื่ อ ป้ อ งกั น อุ บั ติ เ หตุ ทางรถยนต์ท่เี กิดขึ้นจากกรณีดังกล่าวด้วย ในประเทศสหรัฐอเมริกา อยู่ในระหว่าง การยกร่างกฎหมายกลาง The Highly Automated Vehicles Act ซึ่งได้มีการก�ำหนดให้ผู้ผลิต ผูพ้ ฒ ั นาหรือผูอ้ อกแบบอุปกรณ์หรือซอฟต์แวร์ (ADP) เกีย่ วกับรถยนต์ขบั เคลือ่ นอัตโนมัตติ ้อง ท�ำประกันภัยภาคบังคับ ส่วน Framework ที่จะน�ำมาใช้กับรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ ยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาซึ่งมี 3 วิธี คือ (1) การชดเชยความเสียหายในอัตราขั้นต�่ำ โดยไม่ต้องพิสูจน์ถูกผิด (2) การชดเชยความ เสียหายในอัตราขัน้ ต�ำ่ โดยสันนิษฐานว่า ADP มีความรับผิด หรือ (3) ความคุม้ ครองภาคบังคับ ส�ำหรับผู้โดยสารส่วนบุคคล โดยออกเป็น เอกสารแนบท้าย ทัง้ นี้ วิธที ี่ 1 ไม่คมุ้ ครองกรณี เจ้าของรถยนต์ไม่อปั เดตซอฟต์แวร์ แต่วิธีที่ 2 จะคุ้มครอง ส่วนวิธีที่ 3 จะก�ำหนดให้ ADP เป็นผู้เอาประกันภัยตามกรมธรรม์ประกันภัย รถยนต์ แต่ มี ก ารโต้ แ ย้ ง ว่ า ไม่ เ ป็ น ธรรม เนือ่ งจากผูเ้ อาประกันภัยรถยนต์บคุ คลธรรมดา
ทั่วไปจะต้องร่วมแบกรับความเสี่ยงกับผู้ผลิต รถยนต์ซึ่งท�ำให้ต้องเสียเบี้ยประกันภัยสูงขึ้น อย่างมาก ในอนาคต หากมี ร ถยนต์ ขั บ เคลื่ อ น อัตโนมัติมากขึ้น ความต้องการประกันภัย รถยนต์อาจลดน้อยลง ความเสีย่ งบนท้องถนน ก็จะเริ่มเปลี่ยนไป ซึ่งคนส่วนใหญ่มีแนวโน้ม จะเลือกเช่ารถยนต์ใช้งานแทนการมีรถยนต์ ไว้ครอบครอง ระบบประกันภัยยังคงมีบทบาท ในการให้ความคุ้มครองผู้ใช้ถนน แต่อาจมี รูปแบบการประกันภัยที่แตกต่างไปจากเดิม โดยจะมีลักษณะเป็น Business to Business มากขึ้น และมีความต้องการเกี่ยวกับ Cyber Security มากขึ้นด้วย
142
143
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Insurance and Liability Frameworks for Driverless Cars1
Figure12
Within the next decade, self-driving vehicles could be a common sight on the roads. Technology has progressed dramatically since the first anti-lock brakes and safety belts were developed. Today, we have crash prevention radars, lane-keeping assistance, automatic lane-keeping and automated parallel parking. Vehicles are approaching a level of fully automated driving without human intervention. Many companies have joined the race to produce the first autonomous vehicle, from traditional automobile manufacturers such as Volvo, Mercedes Benz and BMW, to technology companies like Google and Uber. By 2040, autonomous vehicles are expected to comprise around 25 percent of the global car market.
Figure23
Advantages and Disadvantages The World Health Organization estimates there are 1.25 million trafffiic-related deaths each year, or one death every 25 seconds. In 2013, the United States recorded 32,719 deaths and 2,313,000 injuries as a result of 5,657,000 car accidents. In the UK, over 94 percent of road accidents are caused by human error. One key to improving mortality and accident rates is to remove human control of vehicles. The World Economic Forum projects autonomous vehicles will help prevent 9 percent of accidents by 2025, with the potential to save 900,000 lives. Human risk factors like intoxication, sleep deprivation and distractions will be removed by autonomous vehicle technology. Billions of dollars would be saved by avoiding property damage and
reducing insurance premiums for individuals, which would reverse the historical trends. However, each accident may become more costly, especially due to the complex technology on vehicles and skills shortage. The innovation of an autonomous vehicles would establish a new market for B2B insurance, changing the landscape of motor vehicle insurance. Manufacturers and related parties would need insurance against damage caused by its vehicles. Studies by the UK Department of Transport (DOT) and industry players have found that autonomous vehicles will help in reducing insurance claims, which could lead to lower premiums. Payers could save up to $137 billion in insurance premiums by 2050. On the other hand, each accident may become more
costly, especially due to the complex technology on vehicles and skills shortage. Moreover, new risks that are not associated with conventional vehicles might result in an accident. There is an ongoing debate around the ethics of life and death decisions made by technology, and how much human involvement is necessary. How should an artiffiicial intelligence algorithm that is driving vehicles are programmed to react in difffiicult situations? There is a common philosophical question, the trolley problem, in which there is a trade-off between killing others and saving yourself. There are further variations of the problem, for example, when having to make a decision between friends and family, or having to weigh the trade-off between monetary damage and human lives. The ethical question is a difffiicult one for developers to solve, and there is no global standard today. Other issues that are related to include potential biases in the way the algorithms are programmed to make decisions. Moreover, there are further questions about whether humans or algorithms are liable, and how damages should be assessed. There are pros and cons to the advances in autonomous driving, and the balance also depends on the perspective. Self-driving vehicles could bring an improvement in road safety, but could also have unpredictable adverse consequences. Some nations have passed new regulations to allow driving autonomous vehicles, paving the way for the future of transportation
such as the UK. There are ongoing tests and very few autonomous vehicles are available to the public today. These tests have been generally successful, and there continues to be an evaluation of the technological reliability and performance. The deffiinition of automated vehicles There are several similar terminologies used to describe driverless vehicles, all of which are interchangeable. For example, autonomous vehicles, automated vehicles, self-driving vehicles and connected and autonomous vehicles (CAV). However, they are currently unclear. The Society of Automotive Engineers (SAE) has developed a scale to measure the level of automation on vehicles, ranging from level 0 to level 5. Level 0 to 3 represent lower levels of automation which require humans to take control of the vehicle. In contrast, level 4 represents a highly automated vehicle and level 5 is a fully automated vehicle. The scale also provides a framework for assessing liabilities in case of an accident, as it determines the different levels of human involvement. Figure 3: SAE Automation Levels4 0 No Automation 1 Driver Assistance 2 Partial Automation 3 Conditional Automation 4 High Automation 5 Full Automation
144
145
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
The UK The Department of Transport established the Centre for Connected and Autonomous Vehicles (CCAV) to improve cooperation among the parties and fund CAV research. The CCAV contended that the situation that the driverless vehicles claimants could bring a lawsuit for both a motor insurance pay out under the Road Trafffiic Act 1988 (RTA) and a product liability damages under the Consumer Protection Act 1987 is likely to confuse consumers. Therefore, the CCAV introduced two models in dealing with the incompatibility between the RTA and autonomous vehicles characteristics: the ffiirfi st party insurance model, and the product liability insurance model. In the ‘ffiirst party insurance model,’ the injured party can make a claim directly to the insurer of the vehicle they are travelling in, without consideration for who is at fault. Fault will later be assigned, and the parties at fault will be responsible for the cost of the claim. This model prefers to use insurance dispute resolution in handling with the insured claims rather than through the product liability. This solution is compatible with the purpose of the RTA and allows the victim to be compensated quickly; however, some insurers disagreed with this model because it is impractical. Speciffiically, this could lead to a signiffiificant change to current insurance practices, and it therefore needs to carefully consider. Moreover, the UK Government’s research has found that the ffiirst party insurance model for the autonomous vehicles is likely to lead to the high premiums because of the lack of statistics, unclear liability and complexity of proving liability. Furthermore, the ffiinal liability insurers would lose opportunities to control the claim cost early on since they are not the ffiirst payers. The latter proposed model was designed to cover liability for both the driver and the manufacturer; however, they are separated to two insurance policies. The insurer of manufacturer’s product liability will be liable to pay victims where the accident is caused by the malfunction of the vehicle. Moreover, the user of the not-at-fault vehicle would be covered if the vehicle owner buys additional coverage. The product liability coverage has some limitations and difffiiculties. For example, product liability allows claims to be made only during the ffiifirst ten years of a vehicle’s lifetime. Moreover, there are various defences that a
manufacturer could use to defend against liability. For example, section 4(1)(e) of the Consumer Protection Act 1987 allows the manufacturer to refuse liability in cases where the defect could not have been predicted to occur because of limited technological knowledge at the time. In addition, victims are usually confused when there is more than one insurer involved with different coverage areas for one occurrence. For instance, one insurance policy for the driver and another for the vehicle. It becomes more difffiicult than having one insurer. As a result, these obstacles can potentially create more barriers for injured parties to receive compensation. Two models above are not perfect resolutions in dealing with liability issues stemming from collisions relating to autonomous vehicles. Thus, the UK Law Commission has introduced a new framework for automated vehicles, the Automated and Electric Vehicles Act 2018 (AEVA) which is the Single Insurer Approach. The proposal is signiffiicant because it extends compulsory motor insurance to cover accidents stemming from autonomous vehicles and also extends liability to motorists in self-driving mode. This means that insurers will handle all claims, including in automated driving mode. Moreover, insurers remain the right of recovery against automakers and the right to remove liability in the case of failure to keep the car’s software up to date. In July 2018, the AEVA was given Royal Assent. Nevertheless, most articles will not become effective until they are implemented, which are currently indecisive. The UK government has a three-year plan (2018 to 2021) for in-depth research for a suitable legal regime for autonomous vehicles. The ffiinal recommendations will be published in 2021. The Automated and Electric Vehicles Act 2018 (AEVA) According to section 2 of the AEVA, there are 2 scenarios for liability of the insurer and the owner of the vehicle. In the ffiirst case, where the vehicles are insured for third party liability, the insurer is initially liable for a collision caused by an autonomous vehicle on a road or other public place in Great Britain (Section 2 (1)). The latter is for the vehicles that are not insured due to being exempt from compulsory third-party insurance, such as in the case of vehicles owned by a local authority or a police body
(Section 144(2) of the RTA). The owners must hold liability for an accident caused by an autonomous vehicles (section 2(2)). In terms of comparison with the compulsory insurance cover for conventional vehicles under Section 145 of the RTA, the liability of insurer under Section 2(1) of the AEVA is broadened to include damage to the person in charge of the automated vehicles at the time of accident where the automated vehicle is driving itself (Section 2(3)). Right of insurer to recovery from person responsible for accident The AEVA is not designed to allocate ffiinfi al responsibility for the accident. The mechanism of the AEVA is that the insurer must initially pay the claim and may then bring a secondary claim against any other person responsible for the accident such as the driver of another vehicle involved in the accident. Nonetheless, within the driverless vehicle context, there will likely be an increasing number of parties involved in the collisions including the manufacturer or the retailer. Accident resulting from unauthorised alterations or failure to update software According to section 4 of the AEVA, insurers are permitted to exclude or limit liability under section 2(1) for damage suffered by an insured person if the collision arose as a direct result of failing to update software or illegally altering software. However, it is uncertain how stringent the legal requirements for software updates will work in reality and whether there will be a grace period to update software. Moreover, it may not be appropriate to have a grace period in serious software updates related to safety issues. It is suggested that self-driving cars should be temporarily disabled until the software update has been completed. It remains to be seen how automakers and software developers are going to approach this issue. The USA The Safely Ensuring Lives Future Deployment and Research in Vehicle Evolution Act (SELF-DRIVE Act) and the American Vision for Safer Transportation through Advancement of Revolutionary Technologies (AV START Act) were
introduced to establish national regime for self-driving vehicles regulation on 6 September and 28 September 2017 respectively. The former was proposed by the House of Representatives. It increased some exemptions of federal safety standards on self-driving. It provides for highly autonomous vehicle testing, exemptions, automaker safety evaluation reports, automaker cybersecurity plans, and consumer training. The federal government has exclusive power over the design, construction, and performance of highly automated vehicles (HAVs) and their components. States retain traditional authority over licensing, insurance, registration, law enforcement, traffiic regulations and common law liability. The latter was proposed by the Senate. However, some legal experts contend that the bill did not provide provisions to make automated vehicles safe from cyber-attacks and other dangers. On 12 September 2017, the National Highway Traffiic Safety Administration (NHTSA) released a guidance to clarify the role of NHTSA. The states are required to allow the DOT to regulate the safety design and performance of the automated driving systems (ADS) technology. Safety supporters contended that the 2017 guidelines provide the car manufacturers with too much power in developing automated technology. Moreover, NHTSA showed concern on the lack of insurance for liability stemming from Vehicle-to-Vehicle (V2V) communication and connected technology. This guidance may be inconsistent with some provisions of SELF-DRIVE. For example, safety assessment letters are non-compulsory under the 2017 guidance, but it would become compulsory if the SELF-DRIVE Act becomes effective. Consequently, regulatory uncertainty may create risks for auto insurers. In December 2018, The USA National Conference of Committee launched the draft of the Highly Automated Vehicle Act, which was later updated in February 2019. Section 8 of the Act requires an automated driving provider (ADP) to undertake automated operation insurance. ADP refers to the manufacturers, developers or designers of highly automated vehicle software or equipment. Generally, the ADP will undertake high limit liability and/or product liability insurance policy. The policy will pay out in an accident due to a product’s defect or ADP’s negligence.
146
147
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
However, low limit compulsory ADP policy could be made by endorsement to the liability policy or stand-alone policy. Currently, the liability under auto insurance would cover payment when the person speciffiied in the policy is at fault, including an accident caused by the insured’s negligence to update software. However, when ADS is in control of the car, insurance is not expected to pay so victims need to ffiile a product liability lawsuit. On the other hand, the courts would attempt to ffiind ways to reimburse victims under the auto insurance policy. There are three options under consideration for section 8 (a) which are: ‘ADP Low Limits No-Fault Insurance’, ‘ADP Low Limits Hybrid Assumed Liability/Liability Insurance’ and ‘Coverage Under Private Passenger Auto Policy’. The ffiirfi st option was the regime included in the December draft. ADP is required to undertake no-fault insurance with at least the same amount of the coverage under auto insurance or as speciffiied by state regulations. Regardless of the owner’s negligence, ADP no-fault coverage would apply if a collision occurs when ADS is not under human control. This gives protection for small losses caused by ADS. The owner of the vehicle thus does not need to take legal action under product liability. The signiffiicant determination is whether the accident is under ADS operation or not. Generally, the no-fault regime has conditions before litigation can commence such as exceeding a certain amount of medical expenses or having
a permanent injury. However, these thresholds are not applied to the compulsory ADP no-fault coverage. The layer of protection would instead apply in accidents caused by ADS operation. Ultimately, the requirement of minimum ADP no-fault coverage might not be beneffiicial since the courts usually determine theories thoroughly to ffiind protection under the private passenger auto insurance policy. Moreover, this principle creates a risk of fraud and mistreatment. The second option is to compel ADP to carry low limits assumed liability/liability insurance. ADP is assumed to be at fault regardless of whether ADP has responsibility for ADS malfunction or not. The similarity of the two regimes is that ADS needs to operate during the time of collision, but no-fault coverage does not pay for loss caused by the owner’s failure to update software. Liability regimes are required to consider that the loss is caused by the owner’s negligence. ADP no-fault insurers can subrogate the owner’s motor insurer due to the owner’s negligence. The third option is to add this compulsory coverage to the private passenger auto policy as an endorsement. This option places ADP as an insured party under the auto policy; therefore, it arguably causes unfairness for private car owners who have to buy compulsory liability policy for the beneffiit of the at fault commercial body. Moreover, the insurers may be unwil ing to accept the ADS coverage because its administrative cost is higher than for a conventional car, so they are likely to lose rather than gain. ADP insurers 148
149
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
usually claim subrogation when a large claim arises from one defect. When a motor or ADP insurer pays for loss then insurers are able to subrogate claims against product liability insurer. However, if the loss arises from the owner’s failure to update ADS, the auto insurer is required to pay because it is the owner’s fault. Conclusion Vehicles controlled by technology are safer than human controlled vehicles, as statistics showed that most road accidents arise from human errors. However, automated vehicles may create new problems such as moral dilemmas, complex liability, data retention and cyber risk. Since automated vehicles shift liability from drivers towards car manufacturers, product liability should be the regime used to handle the collisions arising from self-driving defects or malfunctions. The product liability regime raises more awareness on the manufacture and design of automated vehicles with reasonable care in foreseeable outcomes. However, the UK and the USA recognise that product liability may not be the best solution for automated vehicles because it creates complexity for road victims to claim damages. Moreover, it could lead to technology untrustworthiness and slow technology development. The UK selected the single insurance approach, where the insurer initially pays victims and then makes a claim against the party at fault. Moreover, the AEVA clariffiied how liability should be apportioned in the accidents involving automated vehicles. The UK and the USA federal governments issued guidance for safety around automation technology. The UK is the only country that passed speciffiic laws handling collisions arising from automated vehicles. Other countries have attempted to adapt the current legislation instead. The USA federal government released uniform laws, the SELF-DRIVE ACT and the AV START ACT. States have the authority to establish their own automated vehicle regulation, liability and insurance. Further challenge is to explore an appropriate liability and insurance regime for the automated vehicles. It is interesting to see how successful the US Uniform Law Commission will ffiind solutions through the Highly Automated Vehicle Act which is currently under
consideration. The UK wants to be the leader in automated car technology. Therefore, they provide light rules for testing. In 2018, they passed the AEVA regulation which provides a clearer liability framework between insurer and vehicle owner. Moreover, it is a consumer protection framework that compensates road victims fairly, quickly and smoothly. However, victims may not be covered since the AEVA allows insurers to exclude or limit liability when the driver makes unauthorised alterations to the car’s software or fails to update software. To encourage autonomous vehicle testing, the UK has relaxed insurance requirements while the USA set higher insurance minimum coverage. However, this may not be a serious obstacle for large investors. The USA has inconsistent regulations between states and the federal government. Currently, states use the basic liability regimes such as negligence and product liability. Compared with the UK, victims under the USA jurisdiction may face delays in compensation. However, the USA laws may be further refififi ned by court judgements, and state laws may further clarify liability or provide alternatives. The main purpose of the AEVA is to establish secure compensation for road victims by an insured automated vehicle; however, there are other difffiicult scenarios within the automated vehicles context that needs clarifififi cation on liability. Moreover, even though the AEVA attempted to overcome the delayed compensation, drivers of automated vehicles are still at risk because they must prove that the vehicle itself is at fault. With the legal complexity around the new legislation, the Law Commission of the UK is in the process of revising the AEVA and is likely to provide new guidance by 2021.
Moreover, Individuals usually choose to make a claim with insurers rather than vehicle owners or automakers. Therefore, third-party motor insurance would continue to exist but may have different characteristics. Furthermore, a new type of liability such as cyber liability may be introduced. Since connected software is installed within the car, hackers could access the self-driving car’s systems. Cyber protection will be in high demand in the next decade and insurers should continue to provide protection to operators or pedestrians. However, the governments worry about liability stemming from the new technology and possible lack of insurance. Another big issue for artiffiicial intelligence (AI) is the moral dilemma. AI decisions could be biased and may decide to swerve and hit a younger person instead of the elderly. Who can provide fair answers ffiit for all circumstances? When a wrong decision is made, could it be considered a defect of the car? The ‘Ethics Guidelines for Trustworthy AI’ was established to provide guidance for manufacturers and developers to ensure technical robustness and safety, transparency and non-discrimination and fairness. However, enforcement is not required. As Elaine Chao, the Secretary of Transportation of the UK, said: “the technology is there, the question is how we regulate it, and how we continue to promote innovation but also safeguard safety.” The most difffiicult task for the government is balancing innovation and protecting citizens. ________
อ้างอิง: 1 This article is a part of the author’s dissertation “The Insurance and liability Framework under the Automated and Electric Vehicles Act 2018”. For further reading and references, please direct to the dissertation. 2 www.boldbusiness.com/transportation/intels-mobileye-signsmajor-tech-deal-self-driving-cars/, accessed 2 November 2019 3 www.roboticsbusinessreview. com/unmanned/consumer-acceptance-of-self-driving-cars-soarsstudy-says/, accessed 1 November 2019 4 US Department of Transportation, ‘Preparing for the Future of Transportation (Automated Vehicle 3.0)’ http://netchoice.org/wp-content/uploads/DOT-Guildelines-v3.0.pdf, accessed 2 November 2019
Future There would be tremendous challenges around regulating automated vehicles. The technology giants such as Google or Uber may play a bigger role in automated vehicles. Insurers will soon beneffiit from gaining access to more data from cars, which creates more accurate pricing and prevents fraudulent claims. There may be more direct liability placed on car manufacturers. However, there is always a car owner who is liable even if the vehicle drives itself.
150
151
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
เรียบเรียงโดย
สายก�ำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย
Business Insurance in Japan ภาพรวมของธุรกิจประกันชีวิตในประเทศญี่ปุน ่
154
155
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ในปี 2561 ธุรกิจประกันชีวิตในประเทศญี่ปุ่น มีเบี้ย ประกันภัยรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 33.7 ล้านล้านเยน จากบริษทั ประกันชีวติ ทัง้ หมด 41 บริษทั โดยมีจำ� นวนเงินเอาประกันภัย ส�ำหรับกรมธรรม์ประกันภัยทีม่ ผี ลบังคับรวมทัง้ สิน้ 852 ล้านล้านเยน
และมีจำ� นวนกรมธรรม์ประกันภัยทีม่ ผี ลบังคับมีจำ� นวน 173.02 ล้านกรมธรรม์ ซึง่ จ�ำนวนกรมธรรม์ประกันภัยยังคงมีแนวโน้ม เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นปีท่ี 10 ติดต่อกัน
การเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมโดยรวมของประเทศ ทีส่ ่งผลต่อธุรกิจประกันชีวิต 1. โครงสร้างประชากร จากโครงสร้างประชากร (Demographic Structure) ใน ประเทศญี่ปุ่น พบว่า ปัจจุบัน ‘สังคมสูงอายุ’ ในญี่ปุ่นก�ำลัง เข้าสูข่ น้ั วิกฤต เนือ่ งจากอัตราจ�ำนวนผูส้ งู อายุในประเทศเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว โดยในปี 2018 สัดส่วนผูส้ งู วัยทีม่ อี ายุ 70 ปีขนึ้ ไป คิดเป็น 20% ของประชากรทั้งหมด ซึ่งก�ำลังก้าวเข้าสู่ ‘สังคม สูงวัยอย่างสมบูรณ์’ ในขณะเดียวกัน อัตราการเกิดของ ประชากรในประเทศก็ลดลงอย่างมาก จะเห็นได้วา่ อัตราการเกิด ของประชากรในปี 2558 คิดเป็น 1.45% เท่านั้น ด้วยเหตุนี้ จึงส่งผลให้ประชากรวัยท�ำงานของประเทศญี่ปุ่น (ช่วงอายุ 15–64 ปี) ลดลงเช่นเดียวกัน ท�ำให้เกิดปัญหาการขาดแคลน ประชากรวัยท�ำงานเพิ่มสูงขึ้น
2. อายุขยั เฉลีย่ (Life Expectancy) และอายุขยั เฉลีย่ ของการมีสขุ ภาพดี (Health Life Expectancy) เนือ่ งจากเทคโนโลยีความก้าวหน้าทางการแพทย์ทดี่ ขี นึ้ จึงท�ำให้อายุขัยเฉลี่ยของประชากรในประเทศญี่ปุ่นเพิ่มสูง
ขึ้นอย่างมาก โดยอายุขัยเฉลี่ยในเพศหญิง เท่ากับ 87 ปี ส่วนเพศชาย เท่ากับ 81 ปี ทัง้ นีน้ อกเหนือจากค่าอายุขยั เฉลีย่ ที่เพิ่มขึ้นแล้วทางรัฐบาลญี่ปุ่นยังให้ความส�ำคัญกับแนวคิด เรือ่ งของอายุขยั เฉลีย่ ของการมีสขุ ภาพทีด่ ขี นึ้ ด้วย
3. การใช้สิทธิประโยชน์ทางด้านสุขภาพที่เพิ่มขึ้น สิทธิประโยชน์ประกันสังคมของประเทศญีป่ นุ่ เช่น สิทธิ ประโยชน์ดา้ นเงินบ�ำนาญ สิทธิประโยชน์ดา้ นการรักษาพยาบาล รวมถึงสิทธิประโยชน์ดา้ นการบริการดูแลยามพักฟืน้ (Nursing Care) ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นในทุกๆ ปี ซึ่งสามารถพิจารณา ได้จากจ�ำนวนการชดใช้คา่ สินไหมทดแทนของบริษทั ประกันภัย และปริมาณการใช้สทิ ธิประโยชน์ต่างๆ ในประเทศญี่ปุ่น
ที่ให้ความคุ้มครองด้านสุขภาพ รวมถึงสัญญาเพิ่มเติมต่างๆ ที่ใช้แนบท้ายกับกรมธรรม์ประกันภัยหลัก ทั้งการคุ้มครอง อุบตั เิ หตุ คุม้ ครองสุขภาพ หรือคุม้ ครองโรคร้ายแรง เนือ่ งจาก สัญญาเพิ่มเติมเหล่านี้ไม่ได้รับผลกระทบจากสภาวะอัตรา ดอกเบี้ยต�่ำ จึงเป็นสาเหตุท่บี ริษัทประกันภัยส่วนใหญ่หนั มา เสนอขายสัญญาเพิ่มเติมคู่กบั กรมธรรม์ประกันภัยหลัก 5. การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์ประกันภัย เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ ประเทศญีป่ นุ่ เพิม่ การขยายตลาดด้วยผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่ เน้นความคุม้ ครองการเสียชีวติ เพือ่ ความมัน่ คงของครอบครัว (Protection for Family) และผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่ให้ความ คุม้ ครองเรือ่ งค่ารักษาพยาบาล (Protection for Medical & Pension Needs) เพือ่ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลงไปของ ประชาชน
4. สภาวะอัตราดอกเบี้ยต�่ำ เนื่องจากปัจจุบันอัตราดอกเบี้ยทั่วโลกปรับลดลงอย่าง รวดเร็ว จะเห็นได้จากอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล สหรัฐอเมริกา อายุ 10 ปี ได้ปรับลดลงเหลือประมาณ 2.7% เมื่อตอนต้นปี 2562 และลดลงเหลือประมาณ 2% ในปัจจุบัน ในขณะทีอ่ ตั ราดอกเบีย้ พันธบัตรรัฐบาลญีป่ นุ่ อายุ 10 ปี ก็ลดลง เหลือ -0.15% เช่นเดียวกัน ส่งผลให้แนวโน้มการเสนอขาย ผลิตภัณฑ์ประกันชีวติ แบบสะสมทรัพย์ (Endowment) มีแนวโน้ม ลดลง เนื่องจากไม่สามารถลงทุนเพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่ดี ในสภาวะอัตราดอกเบี้ยต�่ำได้ ซึ่งประเทศญี่ปุ่นได้รับมือกับ ภาพรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันประเทศญี่ปุ่นมีบริษัทประกันวินาศภัยจ�ำนวน สถานการณ์นโี้ ดยการหันไปเน้นเสนอขายผลิตภัณฑ์ประกันภัย
156
157
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ทัง้ สิน้ 44 บริษทั โดยแบ่งเป็นบริษทั ของประเทศญีป่ นุ่ จ�ำนวน 28 บริษทั และบริษทั ทีเ่ ป็นสาขาของต่างประเทศจ�ำนวน 16 บริษทั ส�ำหรับธุรกิจประกันวินาศภัย ปัจจุบันเบี้ยประกันภัยรับของ การประกันภัยประเภทรถยนต์มีสัดส่วนเป็นครึ่งหนึ่งของเบี้ย ประกันภัยรับโดยตรงของบริษทั ทัง้ นีบ้ ริษทั ประกันวินาศภัยต่างๆ อยู่ในช่วงที่ก�ำลังพัฒนาตลาดโดยการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ ประกันภัยและบริการใหม่ที่สอดคล้องกับความต้องการของ ลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงเน้นผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่ให้ ความคุ้มครองเรื่องค่ารักษาพยาบาล (Protection for Medical & Pension Needs) การบริการดูแลยามพักฟื้น (Nursing Care) มากขึ้นด้วย สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ด้วยสถานการณ์ปจั จุบนั และสภาพสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ของประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ มีการก้าวสูส่ งั คมผูส้ งู อายุอย่างเต็มรูปแบบ ท�ำให้บริษัทประกันภัยหลายๆ บริษัทมีการรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงนี้ในหลายรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านทาง การปรับรูปแบบผลิตภัณฑ์ประกันภัย และรูปแบบการให้ บริการแก่ผู้เอาประกันภัยของบริษัท อาทิ Health Check-Up Discount แนวความคิดของการให้ความคุม้ ครองนีม้ าจากความคิด พื้นฐานที่ว่าสุขภาพที่ดีมากจากการได้รับการตรวจสุขภาพ อย่างสม�ำ่ เสมอ รวมถึงเป็นผลสืบเนือ่ งทีท่ ำ� ให้มอี ายุทยี่ นื ยาวขึน้ และเป็นการสร้างระบบการประกันสุขภาพทีย่ งั่ ยืนต่อไป โดย บริษัทได้จัดท�ำสัญญาเพิ่มเติมการให้ส่วนลดเบี้ยประกันภัย ส�ำหรับผู้เอาประกันภัยที่น�ำส่งผลการตรวจสุขภาพแก่บริษัท และมีการก�ำหนดให้สว่ นลดเพิม่ เติมส�ำหรับผูเ้ อาประกันภัยที่ มีผลการตรวจสุขภาพทีด่ ี ซึง่ ประเมินจากผลการตรวจสุขภาพ ใน 3 ส่วนหลัก คือค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ค่าความดันโลหิต และค่าน�้ำตาลในเลือด ที่จะมีการก�ำหนดเกณฑ์ที่แสดงถึง ผลสุขภาพที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานสากล ทั้ ง นี้ จ ากผลการวิ จั ย ที่ บ ริ ษั ท ได้ ท� ำ การวิ จั ย เพิ่ ม เติ ม การก�ำหนดและการสนับสนุนให้เกิดการตรวจสุขภาพอย่าง สม�่ำเสมอ ยังเป็นประโยชน์ที่ช่วยลดความเสี่ยงในการเป็น โรคต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้เอาประกันภัยของบริษัทได้ เช่น โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) เป็นต้น นอกจากนี้ การจัดท�ำสัญญาเพิม่ เติมดังกล่าว ยังส่งผลให้บริษทั สามารถ น�ำข้อมูลผลสุขภาพที่ได้รับมาใช้เป็นประโยชน์ในการพัฒนา แผนประกันภัยเพือ่ น�ำเสนอแก่ผเู้ อาประกันภัยหรือกลุม่ ลูกค้า เป้าหมายได้เหมาะสมมากยิง่ ขึน้ เช่น ผูท้ มี่ ผี ลการตรวจสุขภาพ ทางด้านความดันโลหิตในระดับสูงแต่ไม่รนุ แรงมากนัก ก็อาจ ส่งผลให้เกิดภาวะหลอดเลือดสมองโป่ง (Brain Aneurysm)
ในอนาคตได้ ดังนัน้ แผนประกันภัยทีจ่ ะน�ำเสนอลูกค้ากลุ่มนี้ จะเน้นไปทีแ่ ผนประกันภัยทีใ่ ห้ความคุม้ ครองการรักษาเกีย่ วกับ โรคนี้ หรือการให้ความคุม้ ครองการผ่าตัดทีเ่ กิดจากโรคหลอดเลือด สมองโป่ง หรือถ้าเป็นผูท้ ม่ี ผี ลการตรวจสุขภาพเกีย่ วกับความดัน โลหิตในระดับสูงที่รุนแรงขึ้น ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดความเสี่ยง ต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองได้ แผนประกันภัยทีบ่ ริษทั จะ น�ำเสนอแก่บคุ คลนัน้ ๆ ก็จะเป็นแผนประกันภัยทีใ่ ห้ความคุม้ ครอง ถึงความเสี่ยงนี้ด้วย เป็นต้น Disability Insurance การประกันภัยนี้ จะมีการก�ำหนดให้ความคุม้ ครองผูเ้ อา ประกั น ภั ย ที่ เ กิ ด การบาดเจ็ บ หรื อ เจ็ บ ป่ ว ยจนไม่ ส ามารถ ท�ำงานหรือประกอบกิจวัตรประจ�ำวันได้ ซึง่ รวมทัง้ การเจ็บป่วย ทางด้านจิตใจ ซึง่ จากผลการส�ำรวจในประเทศญีป่ นุ่ มีจำ� นวน ผูป้ ว่ ยด้านจิตใจเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ และส�ำหรับการให้ความคุม้ ครอง บริษทั จะก�ำหนดให้ความคุ้มครองส�ำหรับบุคคลทีไ่ ม่สามารถ ท�ำงานหรือประกอบกิจวัตรประจ�ำวันได้เป็นแบบรายเดือน โดยถ้าหากเกิดขึน้ ต่อเนือ่ งกัน 14 วัน บริษทั จะชดใช้ผลประโยชน์ เป็นรายเดือน เป็นจ�ำนวน 50% ของจ�ำนวนเงินเอาประกันภัย ทีร่ ะบุ และหากเกิดขึน้ ต่อเนือ่ งกันเป็นระยะเวลา 30 วันขึน้ ไป บริษัทจะชดใช้ผลประโยชน์เป็นรายเดือนตามจ�ำนวนเงิน เอาประกันภัยที่ระบุ Dementia Insurance เนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของประชากรผูส้ งู อายุในประเทศญีป่ นุ่ และการมีความต้องการทีเ่ พิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ ส�ำหรับการบริการ พยาบาล (Nursing Care) บริษัทประกันภัยในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ของการเข้ารับการบริการพยาบาลของ ประชากรญีป่ นุ่ เกิดขึน้ มาจากโรคสมองเสือ่ ม (Dementia) หรือ คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 25% ของผูเ้ ข้ารับการบริการพยาบาล และจากสถิตยิ งั พบว่าจ�ำนวนผูป้ ว่ ยโรคสมองเสือ่ มจะมีจำ� นวน เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง การให้ความคุม้ ครองการบริการพยาบาล จากโรคสมองเสือ่ มจึงเป็นสิง่ จ�ำเป็นของสังคมญีป่ นุ่ ในปัจจุบนั พัฒ นาการของการให้ความคุ้มครองที่เ กี่ยวข้อ งกับ โรคสมองเสื่อม เริ่มต้นมาจากการให้ความคุ้มครองโดยระบุ โรคทีจ่ ะคุม้ ครอง จากนัน้ พัฒนาต่อมาเรือ่ ยๆ เป็นการให้ความ คุม้ ครองการบริบาลทีม่ สี าเหตุมาจากโรคดังกล่าว (Long Term Care) และในปัจจุบันได้พัฒนาจนเป็นการให้ความคุ้มครอง ในหลายๆ ส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคสมองเสื่อม โดยการชดเชย ผลประโยชน์จะอ้างอิงตามการรับรองของภาครัฐ ซึง่ รัฐจะแบ่ง ระดับขัน้ ของความรุนแรงในการให้ความช่วยเหลือตนเองเป็น 5 ระดับ และการให้ความคุม้ ครองตามการประกันภัยส่วนใหญ่ จะคุ้มครองแก่บคุ คลระดับที่ 2 ถึงระดับที่ 5
มักจะก�ำหนดการให้ผลประโยชน์เป็นไปในลักษณะของ จ�ำนวนเงินเอาประกันภัยแบบเหมาจ่าย (Lump Sum) หรือ จ�ำนวนเงินเอาประกันภัยตามทีร่ ะบุเป็นรายเดือน (Fixed Amount) ซึง่ เป็นการควบคุมและการบริหารความเสีย่ งของบริษทั โดย ส�ำหรับรูปแบบการให้ความคุม้ ครองก็จะแตกต่างกันไปตาม แต่ละบริษทั เช่น บริษัทประกันชีวิต มีการก�ำหนดให้ความคุ้มครองใน ลักษณะของการดูแลระยะยาว ร่วมกับการให้ความคุม้ ครอง การเสียชีวิต โดยจะให้ความคุ้มครองเมื่อผู้เอาประกันภัย ได้รบั การยืนยันจากภาครัฐว่าเป็นบุคคลทุพพลภาพระดับที่ 2 ถึงระดับที่ 5 บริษัทจะจ่ายผลประโยชน์กรณีทพุ พลภาพ ให้ผู้เอาประกันภัยแทนความคุ้มครองการเสียชีวิต รวมทั้ง ยังมีการมีการออกสัญญาเพิม่ เติมการให้โบนัสพิเศษส�ำหรับ ผู้เอาประกันภัยที่มีอายุครบตามที่ก�ำหนดเป็นจ�ำนวนเงิน เอาประกันภัยอีกจ�ำนวนหนึ่งร่วมด้วย
Long Term Care Insurance ความต้องการทางด้านการพยาบาลและการดูแลระยะยาว (Long Term Care) ไม่เพียงแต่จำ� เป็นส�ำหรับผูป้ ว่ ยโรคสมองเสือ่ ม ในข้างต้นเท่านั้น แต่ความต้องการการบริการดังกล่าวมี ความจ�ำเป็นอย่างมากส�ำหรับการเจ็บป่วยอื่นๆ โดยเฉพาะ ประชากรผู้สูงอายุ แต่อย่างไรก็ตาม ประเทศญี่ปุ่นได้มกี าร ให้สวัสดิการทางการรักษาพยาบาลเป็นขั้นพื้นฐานอยู่แล้ว โดยภาครัฐจะเข้ามาช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาลตามสัดส่วน ทีก่ ำ� หนด และส�ำหรับค่าใช้จา่ ยส่วนทีเ่ หลือประชากรจะเป็น ผู้ร่วมรับผิดชอบเอง โดยสัดส่วนที่ก�ำหนดไว้จะแตกต่างกัน ในแต่ละบุคคล ซึง่ จะขึน้ อยู่กบั อายุและระดับความสามารถ ในการช่วยเหลือตนเองได้ ตั้งแต่ระดับ 1 ถึงระดับ 5 ตามที่ แสดงไว้ในรูปที่ 3 ดังนั้น ระบบการประกันภัยจึงมักเป็น เครือ่ งมือทีช่ ่วยเสริมสิทธิพนื้ ฐานของคนญีป่ ่นุ โดยส่วนใหญ่ ทัง้ นี้ รูปแบบของการประกันภัยทีร่ องรับการดูแลระยะยาวนี้ ส�ำหรับบริษทั ประกันภัยบางแห่ง ได้มกี ารเทกโอเวอร์กจิ การ Nursing Care and Health Care เข้ามาในเครือของบริษัท เพือ่ รองรับการให้บริการแบบ Long Term Care (LTC) แก่ผเู้ อา ประกันภัยหรือกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายของบริษทั เพือ่ ให้เกิดการ บริการทีร่ วดเร็วและสะดวกสบายมากยิง่ ขึน้ รวมทัง้ เป็นการเพิม่ ขีดความสามารถของบริษัทประกันภัยในการเป็นผู้น�ำในการ ด�ำเนินธุรกิจประกันภัยด้าน Nursing care ต่อไปในอนาคตอีกด้วย แต่อย่างไรก็ตาม บริษทั ไม่ได้มกี ารบังคับว่าผูเ้ อาประกันภัยจะต้อง ใช้บริการ Nursing Care and Health Care ทีอ่ ยูใ่ นเครือของบริษทั เท่านัน้ ผูเ้ อาประกันภัยสามารถเลือกรับบริการจาก Nursing Care and Health Care ได้ตามกระบวนการทัว่ ไป ส�ำหรับวิธกี ารชดใช้
HOLDINGS
P&C
LIFE
NURSING CARE
158
159
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
OVERSEAS BUSINESS
ผลประโยชน์ให้แก่ผู้เอาประกันภัย บริษัทจะชดใช้ให้แก่ ผูเ้ อาประกันภัยโดยตรง มิได้ชดใช้ผา่ นทาง Nursing Care and Health Care และการชดใช้ผลประโยชน์มกั เป็นไปในลักษณะของ การระบุจำ� นวนเงินเอาประกันภัยต่อรายเดือน (Fixed Amount) ให้แก่ผเู้ อาประกันภัยในระยะเวลาหนึง่
- การด�ำเนินการจัดส่งรายงานผลการใช้บริการต่างๆ ภายใต้ กรมธรรม์ประกันภัยนี้ ของผู้สูงอายุให้กับคนในครอบครัวได้ รับทราบ เพือ่ ช่วยในการดูแลผูส้ งู อายุตอ่ ไป
Grand Insurance for home ผลิตภัณฑ์ประกันภัยนีท้ มี่ แี นวคิดเบือ้ งต้นจากความต้องการ ทีอ่ ยากให้ผเู้ อาประกันภัยกลุม่ ทีไ่ ม่มอี บุ ตั เิ หตุเกิดขึน้ ทีจ่ ะได้รบั ความคุม้ ครองภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยใดๆ ยังคงมีความพึงพอใจ ในการซือ้ ประกันภัยนี้ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สงู อายุทตี่ ้องมีการใช้ ชีวติ อยูก่ บั บ้าน และอาจเกิดอุบตั เิ หตุจากการใช้ชวี ติ ประจ�ำวัน รวมไปถึงอัตราทีเ่ พิม่ ขึน้ ของโรคสมองเสือ่ ม และโรคต่างๆ ของ ผู้สูงอายุ โดยพื้นฐานของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยนี้ เพิ่มเติมขึ้นจากการประกันอัคคีภัยที่อยู่อาศัย ซึ่งการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ประกันภัยนีจ้ ะมี 3 องค์ประกอบส�ำคัญ คือ • เพิม่ เติมเอกสารแนบท้ายกรมธรรม์ประกันภัยเพือ่ ขยาย ความคุ้มครองอุบัติเหตุที่เป็นผลมาจากการใช้ชีวิตประจ�ำวัน และอุบตั เิ หตุทเี่ กิดขึน้ จากรถไฟ โดยสามารถให้ความคุม้ ครองไป ถึงผูเ้ อาประกันภัยทีเ่ ป็นโรคสมองเสือ่ มด้วย • การน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ประกันภัยผ่านเอกสารทีม่ กี าร รองรับส�ำหรับกลุม่ ผูส้ งู อายุ อาทิ เอกสารทีม่ กี ารปรับเปลีย่ นขนาด ตัวอักษร และการจัดท�ำสือ่ การน�ำเสนอขายและสัญญาประกันภัย ให้มขี นาดเอกสารหรือตัวอักษรทีใ่ หญ่ขนึ้ • การเสริมการให้บริการในชีวติ ประจ�ำวัน ดังนี้ - Family Eye เป็นบริการติดต่อลูกหลานของผูเ้ อาประกันภัย เมือ่ บริษทั ประกันภัยหรือธนาคารไม่สามารถติดต่อผูเ้ อาประกันภัย ทีเ่ ป็นผูส้ งู อายุได้ - การแจ้งเตือนล่วงหน้าส�ำหรับการเกิดเหตุภยั พิบตั ิ อาทิ ฝนตกหนัก ภัยลมพายุ ไต้ฝนุ่ และหิมะตกหนัก โดยสัญญาณ การแจ้งเตือนจะถูกส่งไปที่ผู้เอาประกันภัยที่อยู่ในอาณาเขต ที่จะเกิดเหตุ และส่งแจ้งไปยังลูกหลาน หรือญาติสนิทของผูเ้ อา ประกันภัยด้วย รวมทั้งจะมีการน�ำส่งข้อมูลการดูแลตนเอง การหลีกเลีย่ งหรือป้องกันภัยพิบตั ทิ จี่ ะเกิดขึน้ ให้ผเู้ อาประกันภัย น�ำไปใช้ประโยชน์ภายใต้สถานการณ์ดงั กล่าวด้วย และหลังจาก การแจ้งเตือนการเกิดเหตุภยั พิบตั ไิ ด้ 1 อาทิตย์ ก็จะมีการติดตาม ผลการเกิดภัยพิบตั จิ ากผูเ้ อาประกันภัยผ่านทางอีเมลด้วย - การให้บริการทีส่ ำ� คัญแก่ผสู้ งู อายุ (QQ Team Grand) เช่น การเคลือ่ นย้ายเฟอร์นเิ จอร์ การซ่อมแซมเครือ่ งใช้ไฟฟ้า การซ่อมแซมประตูหรือหน้าต่าง การให้บริการให้คำ� ปรึกษา ทางโทรศัพท์เกีย่ วกับการใช้ชวี ติ ประจ�ำวัน อาทิ การรักษาพยาบาล การปกป้องตัวเองจากอาชญากรรม การให้ค�ำปรึกษาด้าน กฎหมายและภาษี
อัตราดอกเบีย้ ต�ำ่ (Low Interest Rate Environment) ด้วยสภาวะในยุคปัจจุบนั อัตราดอกเบีย้ หรือผลตอบแทน จากการลงทุนมีแนวโน้มลดลงจากเดิม ซึง่ ในประเทศญีป่ นุ่ เมือ่ ปี 2016 อัตราดอกเบีย้ ภายในประเทศญีป่ น่ ุ เริม่ ต�ำ่ ลดลงจนถึงระดับ ติดลบ บริษทั ประกันภัยในประเทศญีป่ นุ่ จึงได้ปรับกระบวนการ ในการด�ำเนินธุรกิจเพือ่ ให้สอดรับกับสภาวการณ์นี้ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ธุรกิจประกันชีวติ โดยรูปแบบในการปรับการด�ำเนินธุรกิจ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือการปรับรูปแบบการด�ำเนิน ธุรกิจในด้าน Asset Side และด้าน Liability Side โดยสรุป ดังนี้ Asset Side - ลงทุนระยะยาวและผลตอบแทนเป็นสกุลเงินต่างประเทศ บริษัทประกันภัยมีการปรับนโยบายการลงทุนและนโยบาย การจัดการสินทรัพย์ของบริษทั โดยเน้นการลงทุนแบบระยะยาว เพิม่ มากขึน้ อาทิ การมีนโยบายการลงทุนในตราสารหนีเ้ พิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การลงทุนตราสารหนีท้ มี่ ผี ลตอบแทน เป็นสกุลเงินต่างประเทศ เช่น Hedged Foreign Bonds และลด การลงทุนทีใ่ ห้ผลตอบแทนในสกุลเงินเยนลดลง เช่น การลงทุน ใน Yen Denominated Ffiixed Income Assets เพือ่ กระจายความเสีย่ ง ออกนอกประเทศและเพือ่ ให้ได้ผลตอบแทนทีเ่ พิม่ ขึน้ - บริษทั ประกันภัยบางบริษทั มีการเพิม่ ขีดความสามารถ ในการบริการความเสีย่ งและขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย การไปลงทุนในบริษทั ต่างประเทศ เช่น บางบริษทั มีนโยบายการ ลงทุนในบริษทั ประกันภัยทีอ่ ยูใ่ นประเทศสหรัฐอเมริกา ลงทุน โดยเน้นการลงทุนผลตอบแทนทีส่ งู ขึน้ - บริษัทประกันภัยบางบริษัทมีนโยบายการลงทุนที่ เปลีย่ นแปลงไป โดยมีการลงทุนใน Property มากยิง่ ขึน้ และบาง บริษทั เน้นการลงทุนทีใ่ ห้ผลตอบแทนเพิม่ สูงขึน้ โดยยอม Taking Credit Risk มากขึน้ ด้วยเช่นกัน เนือ่ งจากอัตราดอกเบีย้ หรือ ผลตอบแทนการลงทุนทีม่ กี ารระบุไว้ทสี่ ญ ั ญา (Coupon Rate) มักแปรผันตามกับอันดับเครดิตขององค์กรทีเ่ ปิดให้มกี ารลงทุน นัน่ คือเมือ่ เป็นบริษทั ทีม่ อี นั ดับเครดิตน้อยลง ก็มกั จะก�ำหนด อัตราดอกเบีย้ หรือผลตอบแทนทีส่ งู ขึน้ ด้วยเช่นกัน แต่บริษทั ประกันภัยจะต้องพร้อมรับกับความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ มากขึน้ ตามมา เช่น การผิดนัดช�ำระหนี้ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม เมื่อบริษัทประกันภัยในประเทศญี่ปุ่น มีนโยบายการจัดสรร การลงทุนทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป บริษทั ประกันภัยนัน้ ไม่ตอ้ งมีการขอ อนุมตั นิ โยบายใหม่จาก FSA แต่ตอ้ งมีการรายงานแจ้งให้ FSA รับทราบแทน
Liability Side บริษัทประกันภัย โดยเฉพาะบริษัทประกันชีวิต มีการ ปรับเปลี่ยนนโยบายและกลยุทธ์ของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ประกันภัย ดังนี้ - ลดการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่มีการการันตี ผลตอบแทนกับผูเ้ อาประกันภัย - เน้ น การจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น ภั ย ประเภท Protection Type และ Unit Linked หรือ Variable Insurance หรือ ผลิตภัณฑ์ประกันภัยในรูปแบบ Living Benefit เช่น Medical หรือ Cancer เป็นต้น แทนการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ประกันภัยแบบ Saving Type เพือ่ ให้ผลตอบแทนเป็นไปตามสภาวะตลาดทีแ่ ท้จริง - ขยายการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ทมี่ กี ารก�ำหนดผลตอบแทน เป็นสกุลเงินต่างประเทศ เพือ่ กระจายความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ กับค่าเงินเยนในประเทศญีป่ นุ่ ผลิตภัณฑ์ประกันภัยใหม่และนวัตกรรมที่ใช้ในธุรกิจ ประกันภัย (New Product/Innovation) การประกันภัยในประเทศญีป่ นุ่ มีการพัฒนารูปแบบและ กระบวนการการด�ำเนินธุรกิจ รวมทัง้ มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ประกันภัยเพือ่ ให้สอดรับการวิวฒ ั นาการทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ซึง่ มี การน�ำเอาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาร่วมด้วยในบางส่วน ทัง้ นี้ ตัวอย่างของกระบวนการการด�ำเนินธุรกิจและผลิตภัณฑ์ ประกันภัยทีถ่ กู พัฒนาขึน้ อย่างน่าสนใจ มีดงั นี้ กระบวนการด�ำเนินธุรกิจ 1) การจัด ตั้งบริษัท ในเครือ เพื่อ จ� ำ หน่ ายผลิต ภัณ ฑ์ ประกันภัยผ่านช่องทางออนไลน์ (Group Insurance company Focusing on Online Channel)
บริษทั ประกันภัยบางบริษทั ในประเทศญีป่ นุ่ ได้มกี ารจัดตัง้ บริษัทลูกหรือบริษัทในเครือขึ้น เพื่อก�ำหนดให้เป็นบริษัท ประกันภัยทีจ่ ะมีการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ประกันภัยต่างๆ ผ่าน ช่องทางออนไลน์เท่านัน้ โดยในประเทศญีป่ นุ่ บริษทั ประกันภัย เช่นนี้ไม่ต้องมีการขอใบอนุญาต (License) เพิ่มเติมเพื่อที่จะ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ประกันภัยประเภทออนไลน์เท่านั้น และ บริษทั ประกันภัยในรูปแบบนี้ จะเน้นการด�ำเนินการธุรกิจร่วมกับ การพัฒนาโปรแกรมต่างๆ เพือ่ ให้การบริการแก่ผเู้ อาประกันภัย หรือช่วยในการด�ำเนินงานของบริษทั อาทิ การสร้างแอปพลิเคชัน ที่ช่วยในการประเมินพฤติกรรมการขับขี่ของผู้เอาประกันภัย และมีระบบช่วยเหลือผู้เอาประกันภัยเบื้องต้น เช่น วิธีการ ติดต่อต�ำรวจหรือหน่วยงานเพื่อช่วยเหลือ เป็นต้น โดยการ ด�ำเนินธุรกิจในรูปแบบดังกล่าวได้รับความนิยมจากผู้เอา ประกันภัยเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ จึงส่งผลให้เบีย้ ประกันภัยรับโดยตรง ของธุรกิจในรูปแบบนี้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 2) การด�ำเนินธุรกิจโดยใช้เทคโนโลยี Artifififi cial intelligence (AI) บริษัทประกันภัยหลายๆ บริษัทในประเทศญี่ปุ่น ได้มี การน�ำเอาเทคโนโลยี AI เข้ามาช่วยในการด�ำเนินธุรกิจร่วมด้วย เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานและลดระยะเวลา ในการด�ำเนินงานบางประเภท เช่น - การพิจารณารับประกันภัยแบบอัตโนมัติ - การวิเคราะห์ความเสียหายของตัวรถจากรูปภาพ - การใช้ AI เพือ่ การแนะน�ำการให้บริการของ Call Center โดยประเมินจากน�้ำเสียงของผู้เอาประกันภัยที่ติดต่อเข้ามา - การวิเคราะห์ใบหน้าของผู้เอาประกันภัยจากรูปถ่าย เพื่อประมวลผลเป็นข้อมูลและน�ำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการ ประเมินการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ประกันภัยในปีถดั ไป
160
161
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ผลิตภัณฑ์ประกันภัย ประกันภัยรถยนต์ทมี่ กี ารพ่วงกับการติดกล้องในรถยนต์: พืน้ ฐานของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยนี้ เกิดขึน้ มาจาก สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับการเข้ามามี บทบาทของเทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และเกิดขึ้นจากแนว ความคิดทีว่ า่ การเกิดอุบตั เิ หตุกบั ผูข้ บั ขีร่ ถยนต์ ผูข้ บั ขีแ่ ต่ละฝ่าย มักชี้แจงว่าตนเองเป็นฝ่ายถูกอยู่เสมอ บริษัทประกันภัยจึงมี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยรถยนต์ทมี่ กี ารพ่วงกับการติด กล้องในรถยนต์เพือ่ รับบริการในด้านต่างๆ จากบริษทั ซึง่ กล้อง ที่ใช้ติดในรถยนต์จะต้องเป็นกล้องที่ก�ำหนดให้ใช้โดยบริษัท เท่านั้น และผู้เอาประกันจะต้องช�ำระเบี้ยประกันภัยเพิ่มเติม เพื่อรับบริการในส่วนนี้ ซึ่งเบี้ยประกันภัยที่ต้องช�ำระเพิ่มเติม ต่อเดือนอยูท่ ปี่ ระมาณ 850 เยน โดยกล้องติดรถยนต์ดงั กล่าวนี้ ถูกพัฒนาร่วมกับบริษทั ผลิตกล้องชัน้ น�ำในประเทศญีป่ นุ่ อาทิ บริษัท JVC Kenwood จึงท�ำให้มีความคมชัดสูง มีระบบการ เชื่อมต่อที่ทันสมัย และเน้นไปที่การพัฒนากล้องติดรถยนต์ท่ี สามารถเป็นได้มากกว่ากล้องบันทึกวิดีโอ ในส่วนของการ บันทึกวิดีโอ กล้องตัวนี้จะมีการแบ่งการบันทึกภาพออกเป็น ระยะเวลาทุกๆ 1 นาที เพื่อป้องกันการเสียหายของไฟล์ภาพ
ส�ำหรับกล้องติดรถยนต์ทพี่ ว่ งกับการประกันภัยรถยนต์นี้ มีหลักการท�ำงานคือเมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นกับรถยนต์คันที่ เอาประกันภัยกล้องตัวนีจ้ ะมีการจับภาพการเกิดเหตุในทุกมุม มองทั้งด้านหน้า ด้านหลัง และด้านข้าง และมีการจับพิกัด สถานที่เกิดเหตุได้โดยทันที จากนั้นตัวกล้องจะส่งสัญญาณ และข้อมูลการเกิดเหตุไปยังบริษัทประกันภัย และขึ้นเตือนให้ ผูเ้ อาประกันภัยกดแจ้งให้บริษทั ประกันภัยเข้าให้ความช่วยเหลือ และจัดการเรื่องค่าสินไหมทดแทนโดยทันที ผ่านการสนทนา กับ Call Center ของบริษัทประกันภัยเพื่อเช็คสถานการณ์ของ อุบัติเหตุก่อนเป็นล�ำดับแรก และหากผู้เอาประกันภัยต้องการ ความช่ ว ยเหลื อ ฉุ ก เฉิ น ใดๆ บริ ษั ท ประกั น ภั ย จะสามารถ ประสานงานในการส่งรถพยาบาลหรือให้ความช่วยเหลือฉุกเฉิน อืน่ ๆ ในเบื้องต้นด้วย
อย่างไรก็ตาม หากรถยนต์ของผู้เอาประกันภัยได้รับ อุบัติเหตุในระดับที่รุนแรง การเชื่อมต่อและการแจ้งไปยัง บริษทั ประกันภัยจะถูกแจ้งไปอย่างอัตโนมัติ ผู้เอาประกันภัย ไม่ต้องกดแจ้งไปยังบริษัทประกันภัยเอง ด้วยกระบวนการ ดังกล่าวท�ำให้ผู้เอาประกันภัยสามารถได้รับความช่วยเหลือ และจัดการค่าสินไหมทดแทนเมื่อเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน อย่างทันท่วงที ทั้งนี้การวัดระดับความรุนแรงของการเกิด อุบตั เิ หตุจะแบ่งจากระดับของความเร็วของรถยนต์ขณะเกิด อุบตั เิ หตุ (Speed) และการพิจารณาการชดใช้คา่ สินไหมทดแทน ก็จะถูกประมวลผลมาจากข้อมูลจากตัวกล้องทีไ่ ด้ถกู บันทึกไว้ ซึง่ การเปิดเผยข้อมูลของกล้องจะได้รบั การลงลายมือชือ่ ยินยอม ในการเปิดเผยข้อมูลจากผู้เอาประกันภัยไว้ก่อนแล้ว และการ เก็บบันทึกข้อมูลนี้ บริษทั ประกันภัยจะท�ำการเก็บบันทึกไว้ใน รูปแบบไฟล์โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 ปี
นอกจากนี้ บริษัทประกันภัยยังได้พัฒนาระบบการ แจ้งเตือนต่างๆ ร่วมอยู่กับการติดตั้งกล้องติดรถยนต์ด้วย เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและช่วยลดปัญหา การเกิดอุบัตเิ หตุทางท้องถนน ดังนี้ - การแจ้งเตือนไปยังลูกหลานหรือญาติของผูเ้ อาประกันภัย เมือ่ ผูเ้ อาประกันภัยทีเ่ ป็นผูส้ งู อายุและมีการขับรถยนต์ไปไกล กว่าบริเวณที่ก�ำหนดไว้ ซึ่งจะช่วยสร้างความปลอดภัยให้แก่ ผู้เอาประกันภัยซึ่งเป็นผู้สูงอายุได้มากยิ่งขึ้น - การแจ้งเตือนการขับรถยนต์คร่อมเลน - การแจ้งเตือนเมือ่ ผูเ้ อาประกันภัยขับรถยนต์ใกล้คนั หน้า มากเกินไป - การแจ้งเตือนการขับรถยนต์ผดิ ทาง
บริ ษั ท ประกั น ภั ย ยั ง มี บ ริ ก ารเสริ ม ส� ำ หรั บ การจั ด ท� ำ รายงานเกีย่ วกับการขับขีร่ ถยนต์ของผูเ้ อาประกันภัยในหลาย รูปแบบเพื่อส่งให้แก่ผู้เอาประกันภัยได้รับทราบ ซึ่งจะเป็น การช่วยลดอุบัติเหตุทางท้องถนนได้ด้วยเช่นกัน ซึ่งตัวอย่าง ของรูปแบบรายงานจะมีทงั้ แบบรายงานภาพรวมและรายงาน ประจ�ำเดือน โดยรายงานภาพรวมจะมีการให้เกรด A-D ส�ำหรับพฤติกรรมการขับขีข่ องผูเ้ อาประกันภัย ส�ำหรับรายงาน ประจ�ำเดือนจะมีการให้คะแนนพฤติกรรมการขับขีต่ งั้ แต่ 1-100 คะแนน รวมทั้งมีการวิเคราะห์สภาพถนนที่ผู้เอาประกันภัย ได้ใช้ขับขี่ในแต่ละเดือนด้วย ผลิตภัณฑ์ประกันภัยนี้ ในปัจจุบนั ยังมีการใช้เฉพาะกับ กลุ่มลูกค้าส่วนบุคคลเท่านั้น แต่ในอนาคตอันใกล้นี้ บริษัท ประกันภัยก�ำลังจะขยายฐานลูกค้าไปยังกลุม่ ลูกค้าองค์กรด้วย (Fleet Policyholders) ซึ่งจะมีบริการเสริมอื่นๆ เพิ่มเติม เพื่อ เป็นการช่วยในการบริหารความเสี่ยงภัยจากการใช้รถของ พนักงาน/ลูกจ้างขององค์กร และเพื่อช่วยให้องค์กรสามารถ เพิ่ ม ความปลอดภั ย และก� ำ หนดแนวทางในการใช้ ร ถกั บ พนักงาน/ลูกจ้างขององค์กรได้ดียิ่งขึ้น อาทิ มีการแจ้งเตือน การเกิดอุบตั เิ หตุไปยัง administrator ขององค์กรร่วมด้วย และ มีการออกแบบกล้องติดรถยนต์ที่สามารถบันทึกภาพภายใน รถได้เพือ่ ป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุได้มากขึน้ ซึง่ จะมีการรายงาน พฤติกรรมการขับขีข่ องพนักงาน/ลูกจ้าง เช่น การใช้มอื ถือหรือ มีการหลับขณะขับขี่ โดยจะรายงานไปยังองค์กรนัน้ ๆ รวมทัง้ มีการจ�ำหน้าของคนขับรถขององค์กรเพื่อช่วยในการบริหาร งานขององค์กรด้วย (Operation Control) ทั้งนี้ เบี้ยประกันภัย ของกลุ่มลูกค้าองค์กรนี้จะอยู่ท่เี ดือนละประมาณ 1500 เยน
รูปแบบของการป้องกันการเกิดเหตุ หรือการให้คำ� ปรึกษาใน ด้านต่างๆ อาทิ - Dementia Prevention App แอปพลิเคชันนี้จะมีแบบ ทดสอบฝึกสมองของผู้เอาประกันภัย การเดิน และประเมิน พฤติกรรมการรับประทานของผูเ้ อาประกันภัย และจะมีบริการ Consultation with Caregivers ร่วมด้วย ซึ่งก็คือบริการช่วยให้ ค�ำปรึกษาและให้ความรู้เกี่ยวกับโรคสมองเสื่อม โดยจะมี ผู้เชี่ยวชาญให้ค�ำปรึกษาอยู่ตลอด 365 วัน - Early Detection / Self-check แอปพลิเคชันนี้สามารถ สแกนดวงตาเพื่อตรวจสอบการเคลื่อนไหวของดวงตาและ น�ำไปวิเคราะห์สุขภาพของผู้เอาประกันภัยในเบื้องต้นได้ ซึง่ บุคคลในครอบครัวสามารถรับทราบผลได้อย่าง Real Time ด้วยเช่นกัน จากข้อมูลต่างๆ ในข้างต้น จะเห็นได้วา่ ธุรกิจประกันภัย ในประเทศไทยมี ส ภาวะสถานการณ์ ที่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ ธุ ร กิ จ ประกันภัยในประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ บางสถานการณ์ได้เกิดขึน้ แล้ว และบางสถานการณ์ก�ำลังจะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคต ดังนั้น ประเทศไทยสามารถเรี ย นรู ้ ก ารปรั บ เปลี่ ย นและทิ ศ ทาง การก� ำ กั บ และการด�ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ผ่ า นประเทศที่ ป ระสบกั บ สภาวะดังกล่าวแล้วได้ดงั เช่นประเทศญีป่ นุ่ ทีม่ กี ารด�ำเนินงาน ส�ำหรับประเด็นต่างๆ ตามข้างต้น โดยสามารถน�ำแนวคิด มาปรับใช้กบั ธุรกิจประกันภัยไทยได้
คืนเบี้ยประกันภัยจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจ�ำวัน ของผู ้ เ อาประกั น ภั ย : บริ ษั ท ประกั น ภั ย ได้ มี ก ารพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่มีการก�ำหนดให้เบี้ยประกันภัยคืน โดยพิจารณาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตของผู้เอาประกันภัย เช่น บริษทั จะให้เครือ่ งมือทีม่ กี ารจับก้าวเดินแก่ผเู้ อาประกันภัย เพือ่ ใช้วดั ก้าวการเดินของผูเ้ อาประกันภัยในแต่ละวัน โดยหาก ผูเ้ อาประกันภัยมี Step การเดินต่อวัน ตามทีบ่ ริษทั ประกันภัย ก�ำหนดเป็นระยะเวลา 2 ปีติดต่อกัน ผู้เอาประกันภัยจะได้รบั เบี้ยประกันภัยคืนบางส่วนจากบริษัท เป็นต้น แอปพลิเคชันเพือ่ รองรับผลิตภัณฑ์ประกันภัยทีเ่ กีย่ วข้อง กับผูส้ งู อายุ: ด้วยการเติบโตของสังคมผูส้ งู อายุทเี่ พิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ บริ ษั ท ประกั น ภั ย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระกั น ภั ย จึ ง ได้ มี ก ารพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น รวมถึง การพั ฒ นาแอปพลิ เ คชั น เพื่ อ มารองรั บ การให้ บ ริ ก ารที่ เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ประกันภัยที่ถูกพัฒนาขึ้นมานี้ ทั้งใน
อ้างอิง ข้อมูลจากบริษัทประกันชีวติ 2 ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ประจ�ำปี พ.ศ. 2558 1
162
163
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
กรุงเทพมหานคร
5 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดแพร่ อาคารส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัด ชั้น 1 35 ถ.เจริญเมือง ต.ในเวียง อ.เมือง จ.แพร่ 54000 โทรศัพท์ 0-5452-2698 โทรสาร 0-5452-2076
1 ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย (คปภ.) 22/79 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจันทรเกษม เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 0-2515-3999 โทรสาร 0-2515-3970
6 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดน่าน อาคารศาลากลางจังหวัดน่าน ชั้น 2 ถ.น่าน-พะเยา ต.ไชยสถาน อ.เมือง จ.น่าน 55000 โทรศัพท์ 0-5471-6437-8 โทรสาร 0-5471-6439
2 ส�ำนักงาน คปภ. เขตบางนา 1/16 อาคารบางนาธานี ถ.บางนา-ตราด กม.3 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท์ 0-2361-3769
7 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดสุโขทัย อาคารศาลากลางจังหวัดสุโขทัย (หลังเก่า) ชั้น 1 ถ.นิกรเกษม ต. ธานี อ.เมือง จ.สุโขทัย 64000 โทรศัพท์ 0-5561-3511 โทรสาร 0-5561-0214
3. ส�ำนักงาน คปภ. เขตท่าพระ 287 ถ.รัชดาภิเษก ซอยรัชดาภิเษก 6 แขวงบุคคโล เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600 โทรศัพท์ 0-5311-2730-1 โทรสาร 0-5311-2731
8 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดอุตรดิตถ์ อาคารศูนย์ราชการกระทรวงการคลังจังหวัดอุตรดิตถ์ ชั้น 5 ถ.ฤดีเปรม ต.ท่าอิฐ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ 53000 โทรศัพท์ 0-5541-6748 / 0-5541-6750 โทรสาร 0-5541-6748
ภาค 1 (เชียงใหม่)
9 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดตาก 147/10-11 ม.9 ต.แม่ปะ อ.แม่สอด จ.ตาก 63110 โทรศัพท์ 0-5553-2089-90 โทรสาร 0-5553-2091
1 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดเชียงใหม่ อาคารศาลากลางจังหวัด ชัน้ 2 ถ.โชตนา ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์ 0-5311-2730-1 โทรสาร 0-5311-2731
สถานที่ตั้ง ส�ำนักงาน คปภ. ภาค/จังหวัด
10 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดแม่ฮ่องสอน นาวาคชสาร ต.จองค�ำ อ.เมือง จ.แม่ฮอ่ งสอน 58000 โทรศัพท์ 0-5361-1233 / 08-5487-3704 โทรสาร 0-5361-1232
2 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดเชียงราย บริเวณศาลากลางหลังเก่า ถ.อุตรกิจ อ.เมือง จ.เชียงราย 57000 โทรศัพท์ 0-5371-7719 / 0-5371-9397 โทรสาร 0-5371-7195
ภาค 2 (นครสวรรค์)
3 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดพะเยา ศูนย์ราชการจังหวัด ถ.พหลโยธิน ต.บ้านต๋อม อ.เมือง จ.พะเยา 56000 โทรศัพท์ 0-5444-9604 โทรสาร 0-5444-9603
1 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดนครสวรรค์ 1250/5-6 ม.10 ถ.พหลโยธิน ต.นครสวรรค์ตก อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000 โทรศัพท์ 0-5622-6862-3 โทรสาร 0-5622-6862 ต่อ 105
4 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดล�ำปาง อาคารศาลากลางจังหวัด ชั้น 2 ถ.วชิราวุธด�ำเนิน ต.พระบาท อ.เมือง จ.ล�ำปาง 52000 โทรศัพท์ 0-5426-5064-5 โทรสาร 0-5426-5065
166
167
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
9 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดเพชรบูรณ์ 8 ม.12 ถ.สระบุรี-หล่มสัก ต.นางั่ว อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ 67000 โทรศัพท์ 0-5673-6054-5 โทรสาร 0-5673-6053
2 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดอ่างทอง อาคารส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัด 22/1 ม.2 ถ.โพธิ์พระยา-ท่าเรือ ต.ศาลาแดง อ.เมือง จ.อ่างทอง 26000 โทรศัพท์ 0-3561-3422 โทรสาร 0-3561-3031 3 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดพิษณุโลก 8888/6-7 ม.7 ต.สมอแข อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 0-5598-6270-1 โทรสาร 0-5598-6270-1 4 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดก�ำแพงเพชร ศาลากลางจังหวัดก�ำแพงเพชร ชั้น 1 ถ.ก�ำแพงเพชร-สุโขทัย ต.หนองปลิง อ.เมือง จ.ก�ำแพงเพชร 62000 โทรศัพท์ 0-5570-5051-2 โทรสาร 0-5570-5051 5 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดพิจิตร อาคารศาลากลางจังหวัด ชั้น 3 ถ.พิจติ ร-ตะพานหิน ต.ท่าหลวง อ.เมือง จ.พิจติ ร 66000 โทรศัพท์ 0-5661-3540 / 0-5661-6446-7 โทรสาร 0-5661-6446 6 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดอุทัยธานี 333 ต.ท่าโพ อ.หนองขาหย่าง จ.อุทัยธานี 61130 โทรศัพท์ 0-5622-6862-3 โทรสาร 0-5622-6862 ต่อ 105 7 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดชัยนาท อาคารศาลาประชาคมหลังเก่า ชั้น1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด ถ.พรหมประเสริฐ อ.เมือง จ.ชัยนาท 17000 โทรศัพท์ 0-5601-9722 โทรสาร 0-5601-9722
ภาค 3 (ขอนแก่น)
ภาค 4 (นครราชสีมา)
1 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดขอนแก่น 555/29 ถ.จอมพล ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ 0-4324-4280-1 โทรสาร 0-4324-4281
1.ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดนครราชสีมา 230/13-16 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ 0-4425-7203-4 โทรสาร 0-4425-7203-4
2 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดกาฬสินธุ์ 51/2 ถ.กุดยางสามัคคี ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000 โทรศัพท์ 0-4381-6990 โทรสาร 0-4381-3257
2 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดลพบุรี ศาลากลางจังหวัดลพบุรีหลังใหม่ ชั้น 2 ถ.นารายณ์มหาราช ต.ทะเลชุบศร อ.เมือง จ.ลพบุรี 15000 โทรศัพท์ 0-3642-1770 โทรสาร 0-3642-1633
3 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดสกลนคร ศาลากลางจังหวัดสกลนครหลังเก่า ชั้น 1 ถ.ศูนย์ราชการ ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร 47000 โทรศัพท์ 0-4271-1039 / 042-711-789 โทรสาร 0-4271-4838
3 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดบุรีรัมย์ ศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์ ชั้น 1 1159 เขากระโดง ต.เสม็ด อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ 31000 โทรศัพท์ 0-4466-6507-9 โทรสาร 0-4466-6507
4 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดเลย 23/18 ต.กุดป่อง อ.เมืองเลย จ.เลย 42000 โทรศัพท์ 0-4281-2953 โทรสาร 0-4283-3050
4 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดนครนายก อาคารศาลากลางจังหวัดนครนายก ชั้น 1 ถ.สุวรรณศร ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.นครนายก 26000 โทรศัพท์ 0-3731-3527 โทรสาร 0-3731-3611
5 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดหนองคาย ศาลากลางจังหวัด ชั้น 2 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.หนองคาย 42000 โทรศัพท์ 0-4241-4773 โทรสาร 0-4241-4779
8 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดสิงห์บุรี อาคารส�ำนักงาน ชั้น 1 บริเวณศูนย์ราชการจังหวัดสิงห์บุรี ถ.สิงห์บุรี-บางพาน ต.บางมัญ อ.เมือง จ.สิงห์บุรี 16000 โทรศัพท์ 0-3650-7197 โทรสาร 0-3653-9165
7 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดชัยภูมิ อาคารศาลากลางจังหวัดชัยภูมิหลังเก่า ชั้น 2 ถ.บรรณาการ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ 36000 โทรศัพท์ 0-4482-3148 โทรสาร 0-4482-2490
6 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดอุดรธานี ศาลากลางจังหวัด อาคาร 1 ชั้น 5 ถ.อธิบดี ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 โทรศัพท์ 0-4224-3891 โทรสาร 0-4224-4635
5 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดสระบุรี ศูนย์ราชการจังหวัดสระบุรี (ศาลากลางใหม่) 123 ม.6 ต.ตะกุด อ.เมือง จ.สระบุรี 18000 โทรศัพท์ 0-3634-0748-9 โทรสาร 0-3634-0748-49
ภาค 5 (อุบลราชธานี) 1 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดอุบลราชธานี 131 ถ.ศรีณรงค์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ 0-4524-3462 โทรสาร 0-4524-5901 2 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดสุรินทร์ 174/14 อาคารธนารัตน์ ถ.จิตรบ�ำรุง ต. ในเมือง อ.เมืองสุรนิ ทร์ จ.สุรนิ ทร์ 32000 โทรศัพท์ 0-4451-6019 โทรสาร 0-4453-0670 3 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดศรีสะเกษ 152/4 ม.8 ถ.ศรีสะเกษ-อุบลฯ ต.โพธิ์ อ.เมืองศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ 33000 โทรศัพท์ 0-4561-2404 โทรสาร 0-4561-2405 4 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดยโสธร 226 ม.3 ถ.แจ้งสนิท ต.ส�ำราญ อ.เมือง จ.ยโสธร 35000 โทรศัพท์ 0-4571-4068 โทรสาร 0-4572-4689 5 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดมุกดาหาร 48/5 ถ.เมืองใหม่ อ.เมืองมุกดาหาร จ.มุกดาหาร 49000 โทรศัพท์ 0-4261-2055 โทรสาร 0-4261-1713 6 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดอ�ำนาจเจริญ อาคารศาลากลางจังหวัด ชั้น 2 ห้อง 206 ถ.ชยางกูร ต.โนนหนามแท่ง อ.เมือง จ.อ�ำนาจเจริญ 37000 โทรศัพท์ 0-4552-3059 โทรสาร 0-4552-3060 7 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดร้อยเอ็ด 153 ม.23 ต.เหนือเมือง อ.เมืองร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด 45000 โทรศัพท์ 0-4351-4440 โทรสาร 0-4351-6560
168
169
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ภาค 6 (ชลบุรี) ภาค 7 (นครปฐม)
1 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดชลบุรี 1/28-29 ม.3 ต.เสม็ด อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000 โทรศัพท์ 0-3838-4819-20 โทรสาร 0-3838-4819-20 2 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดจันทบุรี 83/3 ม.7 หมู่บ้านลักซัวรี่เรสซิเดนท์ ต.จันทนิมิต อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 0-3932-2198-9 โทรสาร 0-3932-2198 3 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดฉะเชิงเทรา 93/3 ม.13 ถ.304 ฉะเชิงเทรา-บางคล้า ต.บางตีนเป็ด อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 โทรศัพท์ 0-3898-1448-9 โทรสาร 0-3898-1448
1 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดนครปฐม 186/7-9 ถ.ราชวิถี ต.พระปฐมเจดีย์ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 โทรศัพท์ 0-3427-2760-2 โทรสาร 0-3427-2760 2 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดกาญจนบุรี 8 อาคารอเนกประสงค์ ชั้น 2 ศูนย์ราชการกระทรวงการคลัง ถ.แม่น�้ำแม่กลอง ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 โทรศัพท์ 0-3456-4298-9 โทรสาร 0-3456-4298 3 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดราชบุรี 167/10 ถ.สมบูรณ์กุล ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ราชบุรี 70000 โทรศัพท์ 0-3232-3268-9 โทรสาร 0-3232-3268
4 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดสระแก้ว อาคารศาลากลางจังหวัด ชั้น 1 ถ.สุวรรณศร ต.ท่าเกษม อ.เมือง จ.สระแก้ว 27000 โทรศัพท์ 0-3742-5014 โทรสาร 0-3742-5015
4 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดเพชรบุรี อาคาร บมจ. ทีโอที ชั้น 1 ม.5 ถ.บันไดอิฐ ต.บ้านหม้อ อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000 โทรศัพท์ 0-3248-8237-8 โทรสาร 0-3248-8238
5 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดตราด 311/9 ม.2 ต.วังกระแจะ อ.เมือง จ.ตราด 23000 โทรศัพท์ 0-3952-4809 / 0-3952-0734 โทรสาร 0-39520-734
5 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดนนทบุรี 838/5 ถนนรัตนาธิเบศร์ ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 0-2194-4891 โทรสาร 0-2194-4891
6 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดระยอง อาคารศาลากลางจังหวัด ชั้น 2 ศูนย์ราชการจังหวัด ถ.สุขุมวิท ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง 21150 โทรศัพท์ 0-3869-4051-2 โทรสาร 0-3869-4052
6 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อาคารศาลากลางจังหวัด ชั้น 3 ถ.สายเอเชีย ต.คลองสวนพลู อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 โทรศัพท์ 0-3533-6529 โทรสาร 0-3533-5248
7 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดปทุมธานี 138 ถ.ปทุมธานี-สามโคก ต.บางปรอก อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 0-2581-2655 โทรสาร 0-2581-2656 8 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดสมุทรปราการ 234/14 ม.7 ถ.สุขมุ วิท ต.ท้ายบ้านใหม่ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ 10280 โทรศัพท์ 0-2186-3765-6 โทรสาร 0-2186-3766
7 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดสุพรรณบุรี 28/7-8ทางคู่ขนาน ถ.บางบัวทอง-สุพรรณบุรี ต.สนามชัย อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี 72000 โทรศัพท์ 0-3553-5328 / 035 535 329 โทรสาร 0-3553-5329
8 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดสมุทรสาคร 1219/46 ถ.เอกชัย ต.มหาชัย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์ 0-3482-0088 โทรสาร 0-3441-2354 9 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 1/12 ถ.พิทกั ษ์ชาติ ต.ประจวบคีรขี นั ธ์ อ.เมือง จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ 77000 โทรศัพท์ 0-3260-3718 โทรสาร 0-3260-2157
ภาค 8 (สุราษฎร์ธานี)
ภาค 9 (สงขลา) 1 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดสงขลา 613 ถ.ราษฎร์อุทิศ ซ.29 ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท์ 0-7425-2105 / 0-7425-9663 โทรสาร 0-7425-9663 2 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดพัทลุง ต.คูหาสวรรค์ อ.เมือง จ.พัทลุง 93000 โทรศัพท์ 0-7461-4145 โทรสาร 0-7461-4205
1 สุราษฎร์ธานี เลขที่ 88 หมู่ 10 ประดู่ ต.วัดประดู่ อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี 84000 โทรศัพท์ 0-7731-0466-9 โทรสาร 0-7731-0469
3 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดตรัง 135/1 ถ.พัทลุง ต.ทับเที่ยง อ.เมือง จ.ตรัง 92000 โทรศัพท์ 0-7521-4013 โทรสาร 0-7521-4012
2 ชุมพร 5056 ต.นาชะอัง อ.เมือง จ.ชุมพร 86000 โทรศัพท์ 0-7750-4829 โทรสาร 0-7750-4079
4 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดสตูล 22 ถนนบุรีวานิช อ.เมือง จ.สตูล 91000 โทรศัพท์ 0-7472-2511 โทรสาร 0-7472-2511
3 ระนอง 2/155 ม. 1 ต.บางริ้น อ.เมือง จ.ระนอง 85000 โทรศัพท์ 0-7782-3878 โทรสาร 0-7781-2224 4 กระบี่ 434/49 ถนนอุตรกิจ ต.ปากน�้ำ อ.เมือง จ.กระบี่ 81000 โทรศัพท์ 0-7561-1410 โทรสาร 0-7561-1411
5 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดปัตตานี 91/11 ม.5 ถ.หนองจิก ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี 94000 โทรศัพท์ 0-7333-6212-3 โทรสาร 0-7333-6212 6 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดยะลา 28/1 ถ.สุขยางค์ ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา 95000 โทรศัพท์ 0-7321-3755 โทรสาร 0-7321-3755
5 พังงา ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดพังงา 73/23 ถ�้ำน�้ำผุด ต.ท้ายช้าง อ.เมือง จ.พังงา 82000 โทรศัพท์ 0-7646-0517-8 โทรสาร 0-7646-0518
7 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดนราธิวาส 354/16 ถ.ระแงะมรรคา ต.บางนาค อ.เมือง จ.นราธิวาส 96000 โทรศัพท์ 0-7351-4605 โทรสาร 0-7351-4229
6 ภูเก็ต 1/3 ถนนหลวงพ่อ ต.ตลาดใหญ่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83000 โทรศัพท์ 0-7621-9296 โทรสาร 0-7621-5335
8 ส�ำนักงาน คปภ. จังหวัดนครศรีธรรมราช 403 ถ.พัฒนาการคูขวาง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 โทรศัพท์ 0-7544-6060-1 โทรสาร 0-7544-6060
170
171
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
1 กองทุนชีวิต 1010 ถ.วิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 0-2791-1333 2 กองทุนประกันวินาศภัย 1010 ถ.วิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 0-2791-1444 3 สมาคมประกันชีวิต 36/1 ซอยสะพานคู่ ถ.พระรามที่ 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0-2679-8080 โทรสาร 0-2679-7099 4 สมาคมประกันวินาศภัยไทย 25 ซอยสุขุมวิท 64/1 ถ.สุขุมวิท แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท์ 0-2108-8399 โทรสาร 0-2108-8398 5 สมาคมนายหน้าประกันภัยไทย 100/1 อาคารวรสมบัติ ชั้น 1 RBB ถ.พระราม 9 แขวง ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2645-1133 โทรสาร 0-2645-1134
ที่อยู่ บริษัทประกันชีวิต / ประกันวินาศภัย
6 สมาคมตัวแทน 138 อาคารจูเวลเลอรรี่ เซ็นเตอร์ชั้น 12 ห้อง 138/32 ถ.นเรศ แขวงสีพ่ ระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2631-5885 โทรสาร 0-2631-6881 7 สมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย 348 ซอยรัชดาภิเษก 9 ถ.รัชดาภิเษก (ท่าพระ-ตากสิน) แขวงดาวคะนอง เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600 โทรศัพท์ 08-0559-4555
174
175
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ที่อยู่บริษัทประกันชีวิต 1 บริษัท กรุงเทพประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 23/115-121 รอยัลซิตี้อเวนิว ซอยศูนย์วจิ ัย ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2777-8888 โทรสาร 0-2777-8899
8 บริษัท แมนูไลฟ์ ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 1788 อาคารสิงห์ คอมเพล็กซ์ ชั้น 18 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2033-9000 โทรสาร 0-2056-9744
2 บริษัท ไทยประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 123 อาคารไทยประกันชีวิต ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0-2247-0247 / โทร. 1124 โทรสาร 0-2246-9946
9 บริษัท อาคเนย์ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 315 อาคารอาคเนย์ประกันภัย ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0-2631-1331 / โทร. 1726 โทรสาร 0-2236-7614
3 บริษัท ฟิลลิปประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 849 อาคารวรวัฒน์ ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2022-5000 โทรสาร 0-2022-5500
10 บริษัท ไทยพาณิชย์ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) 87/1 แคปปิตอล ทาวเวอร์, ออล ซีซ่ันส์ เพลส ชั้นที่ 3 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2257-9999 / โทร. 1315 โทรสาร 0-2207-7300
4 บริษทั พรูเด็นเชียล ประกันชีวติ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) 9/9 อาคารแอทสาทร ชั้นที่ 20-27 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0-2352-8000 / 0-81815-2011 / โทร. 1621 โทรสาร 0-2352-8999 / 0-2353-4888
11 บริษัท ไทยรีประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 48/15 อาคารไทยรีประกันชีวิต ซอยรัชดาภิเษก 20 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2666-9000 โทรสาร 0-2277-6227
5 บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 170/74-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2261-2300 โทรสาร 0-2261-3344
12 บริษัท ทิพยประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) 63/2 บริษทั ทิพยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) ชัน้ 1, 3, 4, 5 และ 6 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2118-5555 โทรสาร 0-2118-5601
6 บริษัท อลิอันซ์ อยุธยา ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 1 โซนบี, ชั้น 2 โซนบี (ชั้นลอย), ชั้น 6, ชั้น 14, ชั้น 17 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2305-7000 / 0-2657-2555 โทรสาร 0-2263-0313 / 0-2657-2500
13 บริษัท สหประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 411 อาคาร U Tower ถนนศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท์ 0-2379-5099 โทรสาร 0-2379-5466
7 บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 250 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320 โทรศัพท์ 0-2276-1025 / 0-2274-9400 โทรสาร 0-2276-1997-8
14 บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันชีวิต (ไทยแลนด์) จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 87/2 อาคารซีอาร์ซีทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น 16 ยูนิต 1602-1605 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2685-3828 โทรสาร 0-2685-3829
20 บริษัท เอฟดับบลิวดี ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 130-132 อาคารสินธรทาวเวอร์ 3 ชั้นที่ 14, 16, 27-29 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2632-6000 โทรสาร 0-2650-9895 21 บริษัท แอ๊ดวานซ์ ไลฟ์ ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 175 อาคารสาธรซิต้ีทาวเวอร์ ชั้นที่ 1/1 และชั้นที่ 2/1 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทรใต้ กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0-2648-3600 โทรสาร 0-2648-3555 / 0-2648-3920
15 บริษัท โตเกียวมารีนประกันชีวิต (ประเทศไทย) จ� ำกัด (มหาชน) เลขที่ 1 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 26 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0-2670-1400 โทรสาร 0-2670-1403-5
22 บริษัท ชับบ์ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จ�ำกัด (มหาชน) 130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 1 ชั้น 12 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2615-6868 / โทร. 1283 โทรสาร 0-2675-3818
16 บริษัท เอ็ม บี เค ไลฟ์ ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 231 อาคารเอ็ม บี เค ไลฟ์ ถนนราชด�ำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2252-5070 โทรสาร 0-2252-7155
23 บริษัท เอไอเอ จ�ำกัด 181 ถนนสุรวงศ์ แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2634-888 / โทร. 1581 โทรสาร 0-2236-6452 / 0-2783-4818
17 บริษัท บางกอกสหประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 177/1 อาคารบางกอกสหประกันภัย 2 ชั้น 8 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2634-7323-30 โทรสาร 0-2634-7331 18 บริษัท ไทยซัมซุง ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 2922/222-227 อาคารชาญอิสระ 2 ชั้น 15 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2308-2245-52 โทรสาร 0-2308-2269 19 บริษัท กรุงไทย-แอกซ่า ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 9 อาคาร จี ทาวเวอร์ แกรนด์ รามา 9 ชั้น 1, 20-27 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2044-4000 / โทร. 1159 โทรสาร 0-2044-4032
176
177
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ที่อยู่บริษัทประกันวินาศภัย 1 บริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จ�ำกัด เลขที่ 26 ซอยสุขมุ วิท 64/2 ถนนสุขมุ วิท แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท์ 0-2100-9191 / โทร. 1791 โทรสาร 0-2396-2093-4
9 บริษทั เอ็ม เอส ไอ จี ประกันภัย (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 1908 อาคารเอ็มเอสไอจี ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2788-8888 โทรสาร 0-2318-8550
2 บริษัท กรุงเทพประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 25 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0-2285-8888 โทรสาร 0-2610-2100
10 บริษัท ทิพยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) 1115 ถนนพระราม 3 แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0-2248-0059 / 0-2239-2200 โทรสาร 0-2248-7873 / 0-2239-2049
3 บริษัท กรุงไทยพานิชประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 1122 อาคารเคพีไอ ทาวเวอร์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0-2624-1111 โทรสาร 0-2624-1234
11 บริษัท เทเวศประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 97, 99 ถนนราชด�ำเนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 โทรศัพท์ 0-2080-1599 / โทร. 1291 โทรสาร 0-2629-1080
4 บริษัท คิวบีอี คิง ไว ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 968 อาคารอื้อจือเหลียง ชั้น 15 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2624-1000 / อัตโนมัติ 0-2238-0836-8 โทรสาร 0-2238-0837
12 บริษัท ซมโปะ ประกันภัย (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 990 อาคารอับดุลราฮิมเพลซ ชั้น 12 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2636-2345-52, 2333, 2345 / 0-2119-3000 โทรสาร 0-2636-2308, 2340-1, 2450
5 บริษัท จรัญประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 408/1 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2276-1024 โทรสาร 0-2275-4919
13 บริษัท ซิกน่า ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 598 อาคารคิวเฮ้าส์เพลินจิต ชั้น 7 และชั้น 10 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2651-5995 / 0-2853-0000 โทรสาร 0-2650-9720
6 บริษัท เจ้าพระยาประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 3675 อาคารกรุงไทยแทรคเตอร์ ชั้น 4-5 ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2648-6666 โทรสาร 0-2611-3774-5, 0-2611-9961
14 บริษัท อลิอันซ์ อยุธยา ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 18 โซน A ถนนเพลินจิต ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2657-2555 / โทร. 1292 โทรสาร 0-2657-2500 15 บริษัท ไทยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 34/3 อาคารไทยประกันภัย ซอยหลังสวน ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2613-0100 โทรสาร 0-2652-2870-2
7 บริษัท เอฟพีจี ประกันภัย (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 52 อาคารธนิยะพลาซ่า ชั้น 16 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2231-2640-50 โทรสาร 0-2231-2653-4 8 บริษัท ไชน่าอินชัวรันส์ (ไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 36/68-69 อาคารพี. เอส. ทาวเวอร์ ชั้นที่ 20 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2261-3680-9 / 0-2259-3718-9 โทรสาร 0-2261-3690 / 0-2259-1402
16 บริษัท ไทยพัฒนาประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 34 ซอยสุขุมวิท 4 (นานาใต้) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2253-4646, 4343, 4141 โทรสาร 0-2253-0550, 0-2253-0606
17 บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 33/4 อาคาร เอ เดอะไนน์ ทาวเวอร์ ชั้นที่ 24-25 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2676-9888 โทรสาร 0-2676-9898
24 บริษัท แอลเอ็มจี ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 2 อาคารจัสมินซิตี้ ชั้น 14, 15, 17 และ 19 ซอยสุขุมวิท 23 (ประสานมิตร) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2661-6000 โทรสาร 0-2639-3919 / 0-2665-2728
18 บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จ�ำกัด (มหาชน) อาคารไทยรับประกันภัยต่อ 48/22-24 ซอยรัชดาภิเษก 20 ถนนรัชดา แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2660-6111 / 0-2666-8088 โทรสาร 0-2660-6100 / 0-2666-8080
25 บริษัท น�ำสินประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 767 ถนนกรุงเทพ-นนทบุรี แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 โทรศัพท์ 0-2911-4488 / 0-2911-4567 / 0-2017-3333 / 0-2016-3333 โทรสาร 0-2911-4477-8 / 0-2911-4477 26 บริษัท บางกอกสหประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 175-177 บางกอกสหประกันภัย ชั้น 3 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2233-6920-9 / 0-2238-4111 โทรสาร 0-2237-1856 / 0-2236-7861
19 บริษัท ไทยศรีประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) 126/2 อาคารไทยศรี ถนนกรุงธนบุรี แขวงบางล�ำภูล่าง เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600 โทรศัพท์ 0-2878-7111 โทรสาร 0-2439-4840
27 บริษัท ประกันคุ้มภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 26/5-6 ชั้น 1, 26/10-11 ชั้น 4, 26/16-17 ชั้น 6 และ 26/18-19 ชั้น 6 อาคารอรกานต์ ถนนชิดลม แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2257-8000 โทรสาร 0-2253-3701
20 บริษัท ไทยเศรษฐกิจประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) บมจ. ไทยเศรษฐกิจประกันภัย 87 อาคารเอ็มไทยทาวเวอร์ ออลซีซันเพลส ชั้น 15 แขวง ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2853-8888 โทรสาร 0-2853-8889
28 บริษัท ประกันภัยไทยวิวัฒน์ จ�ำกัด (มหาชน) 71 ถนน อโศก-ดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 1231 โทรสาร 0-2695-0808 / 0-2695-0811
21 บริษัท ธนชาตประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 999/1 เดอะไนน์ทาวเวอร์ ถนนพระราม 9 แขวงพัฒนาการ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท์ 0-2308-9209 / 0-2308-9300 โทรสาร 0-2308-9333 22 บริษัท ฟีนิกซ์ เจพี ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) 100/100 อาคารว่องวานิช คอมเพล็กซ์ บี ชั้น 29-30 ถนนพระรามเก้า ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2290-0555
29 บริษัท โตเกียวมารีนประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 195 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ชัน้ 40 ห้อง 4001-4003, 4007-4009 และ 4012 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0-2686-8888-9 โทรสาร 0-2686-8601-2
23 บริษัท นวกิจประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) 100/47-55, 90/3-6 อาคารสาธรนคร ชั้น 26 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2664-7777 / 0-2636-7900 โทรสาร 0-2636-7999
30 บริษัท เจนเนอราลี่ ประกันภัย (ไทยแลนด์) จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 87/2 อาคารซีอาร์ซีทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้น 16 ยูนิต 1601 และ 1607 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2685-3828 โทรสาร 0-2685-3830, 3834 / 0-2685-3829
178
179
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
ที่อยู่บริษัทประกันวินาศภัย 31 บริษัท พุทธธรรมประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 9/81 ซอยรัชประชา 2 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 0-2585-9009 โทรสาร 0-2911-0993
39 บริษัท สหนิรภัยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 462/1-5 ถนนสี่พระยา แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2236-0049 / 0-2236-1290 / 0-2223-2019 โทรสาร 0-2236-1300 / 0-2236-1211
32 บริษัท ไทยไพบูลย์ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 123 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0-2246-9635-54 โทรสาร 0-2246-9660-1
40 บริษัท สหมงคลประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) 48/11 ซอยรุ่งเรือง ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2687-7777 โทรสาร 0-268-77700
33 บริษัท เมืองไทยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 252 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2665-4000 / 0-2290-3333 โทรสาร 0-2276-2033 / 0-2665-4166 / 0-2274-9511 34 บริษัท มิตรแท้ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 295 อาคารมิตรแท้ประกันภัย ถนนสี่พระยา แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2640-7777 โทรสาร 0-2640-7799 35 บจ. เอไอจี ประกันภัย (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) อาคารวรวิทย์ ชั้น 9 ยูนิต A เลขที่ 222 ถนนสุรวงศ์ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2649-1999 โทรสาร 0-2649-1998 36 บริษัท ไอโออิ กรุงเทพ ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 25 อาคารกรุงเทพประกันภัย/YWCA ชัน้ 22 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0-2677-3999 / 0-2620-8000 โทรสาร 0-2677-3978-9 / 0-2677-3979 37 บริษัท วิริยะประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 121/28, 121/65 อาคารอาร์เอสทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0-2129-8888 38 บริษัท สยามซิตี้ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 44/1 อาคารรุ่งโรจน์ธนกุล ชั้น 12 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2202-9500 โทรสาร 0-2202-9555
47 บริษัท เอเชียประกันภัย 1950 จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 183 อาคารรีเจ้นท์เฮ้าส์ ชั้น 12 ถนนราชด�ำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2254-9977 / 0-2869-3399 โทรสาร 0-2256-0778 / 0-2250-5277
55 บริษัท เอช ไอเอ็นเอ โอเวอร์ซีส์ อินชัวรันซ์ จ�ำกัด สาขาประเทศไทย 399 อาคารอินเตอร์เชนจ ชั้น 26-30 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2611-4040 โทรสาร 0-2636-1080
48 บริษัท เคเอสเค ประกันภัย (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) 1 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 39 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0-2022-1111 โทรสาร 0-2022-1122-3
56 บริษัท กรุงเทพประกันสุขภาพ จ�ำกัด (มหาชน) 2301/2 อาคารศูนย์ทันตกรรม โรงพยาบาลกรุงเทพ ชั้น 6 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2769-7788
41 บริษัท ชับบ์สามัคคีประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 2/4 อาคารไทยพาณิชย์สามัคคีประกันภัย ชั้น 12 โครงการนอร์ธปาร์ค ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ 0-2555-9100 โทรสาร 0-2955-0150-1 / 0-2955-0205
49 บริษัท เอราวัณประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 292 ถนนเยาวราช แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100 โทรศัพท์ 0-2224-0056 / 0-2224-4727-35 โทรสาร 0-2221-1390 / 0-2222-0544
57 บริษัท ไทยประกันสุขภาพ จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 121/89 อาคารอาร์.เอส.ทาวเวอร์ ชั้น 31 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0-2202-9200 โทรสาร 0-2642-3130
42 บริษัท สินทรัพย์ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 222 ซอยรัชดาภิเษก 18 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2792-5555 / 0-2023-7522 / โทร.1729 โทรสาร 0-2541-5170
50 บริษัท แอกซ่าประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) ชั้น 23 อาคารลุมพินีทาวเวอร์ 1168/67 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0-2679-7600 / 0-2118-8111 โทรสาร 0-2285-6383
43 บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 313 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 โทรศัพท์ 0-2378-7000 โทรสาร 0-2377-3322
51 บริษัท ทูนประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) 75 อาคารไว้ท์กรุ๊ป 1 ชั้น 6 ซอยรูเบีย ถนนสุขุมวิท 42 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2769-9888 / โทร.1183 โทรสาร 0-2769-9801-3
44 บริษัท อลิอันซ์ อยุธยา ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) 898 อาคารเพลินจิตทาวเวอร์ ชั้น 1 โซน B ชั้น 7 โซน B ชั้น 8 โซน A และ B ชั้น 9 โซน A2 และ B2 ชั้น 18 โซน A ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2638-9000 โทรสาร 0-2638-9030
52 บริษัท นิวอินเดีย แอสชัวรันซ์ จ�ำกัด สาขาประเทศไทย 65/142-143 อาคารช�ำนาญเพ็ญชาติ ชั้น 17 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2245-9988 โทรสาร 0-2248-7109
45 บริษัท อาคเนย์ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 315 ชั้นจี 1, 2 และ 3 อาคารบริษัทอาคเนย์ประกันภัย ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2631-1311 โทรสาร 0-2237-7409 / 0-2236-7614 46 บริษัท อินทรประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 364/29 ถนนศรีอยุธยา แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0-2247-9261 / 0-2247-9261-75 180 โทรสาร 0-2247-9260 / 0-2247-6590 / 0-2246-5030
Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect
58 บริษัท เอ็ทน่า ประกันสุขภาพ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) 98 อาคารสาทร สแควร์ ออฟฟิศ ทาวเวอร์ ชั้นที่ 14-15 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2677-0000 โทรสาร 0ข2230-6500 59 บริษัท แปซิฟิค ครอส ประกันสุขภาพ จ�ำกัด (มหาชน) 152 อาคารชาร์เตอร์ สแควร์ ชั้น 21 ห้อง 21-01 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2401-9189 โทรสาร 0-2401-9187 60 บริษัท นิวแฮมพ์เชอร์อินชัวรันส์ สาขาประเทศไทย ที่อยู่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ชั้นที่ 21, 22 และ 23 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2634-8888 / 0-2649-1000 โทรสาร 0-2236-1208 / 0-2236-6422 / 0-2236-1210
53 บริษัท มิตซุย สุมิโตโม อินชัวรันส์ จ�ำกัด สาขาประเทศไทย เลขที่ 175 ชั้น 14 อาคารสาธรซิตี้ทาวเวอร์ ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ 0-2679-6165-87 โทรสาร 0-2679-6209-14 54 บริษัท เอไอเอ จ�ำกัด (ประกันวินาศภัย) สาขาประเทศไทย 181 อาคารเอไอเอ ทาวเวอร์ 1 ชั้น 8 ถนนสุรวงศ์ แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0-2783-4888 / call center 0-2783-4884 โทรสาร 0-2783-4889 181 Health Insurance without Boundaries : InsurTech Connect