1
2 รองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุตกิ ลุ ข้าราชการบ�านาญ อดีตคณบดีคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ทางด้านการบริหาร ด้านการศึกษา และด้านการเกษตร อย่างกว้างขวาง ได้รับการยกย่องและแต่งตั้งให้เป็นกรรมการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยขอนแก่น และในระดับชาติมาอย่างต่อเนื่อง มีชื่อเสียงเกียรติคุณเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตลอดชีวิต การท�างานได้สร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณค่าด้านต่าง ๆ เป็นอันมาก ในด้านเกษตรกรรม และการศึกษาด้านการเกษตร ท่านเป็นผู้มีบทบาทส�าคัญในการพิจารณาหลักสูตร ของกรมอาชีวศึกษา และของทบวงมหาวิทยาลัย ทั้งระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา และมีส่วนอย่างยิ่ง ในการวางแผนผลิตและพัฒนาบุคลากรสาขาเกษตรศาสตร์ทุกระดับ ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นผู้มีผลงานวิจัยและ บทความวิชาการออกเผยแพร่อย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในและต่างประเทศ ท่านเป็นหนึง่ ในคณะผูร้ ว่ มก่อตัง้ สมาคมวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยเกษตรแห่งเอเชีย เป็นผู้เชี่ยวชาญของ International Development Research Center ประเทศแคนาดา ของมหาวิทยาลัยคอร์แนล สหรัฐอเมริกา และของ SEAMEO และในส่วนงานบริการ เพือ่ ประโยชน์ตอ่ สาธารณชนนัน้ ท่านได้เป็นผูร้ เิ ริม่ และติดต่อทุนส�าหรับโครงการวิจยั เพือ่ พัฒนาชนบท โดยความ ร่วมมือของศูนย์ SEARCA ประเทศฟิลิปปินส์ และโครงการเกษตรกรรมแบบประณีตโดยความร่วมมือของ มูลนิธิเอเชีย ซึ่งนับเป็นโครงการที่ได้ด�าเนินการอย่างสอดคล้องกับสภาพและปัญหาของเกษตรกร และได้รับ ความสนใจจากหน่วยงานที่ด�าเนินการด้านพัฒนาชนบทเป็นอย่างยิ่ง ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ท่านเป็นก�าลังส�าคัญในคณะเกษตรศาสตร์มาแต่แรกเริ่ม โดยเป็นผู้รักษาการในต�าแหน่งคณบดีคณะเกษตรศาสตร์ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 และด�ารงต�าแหน่งคณบดี ในปี 2513 จนถึง ปี 2532 จึงได้ลาออกจากราชการ นอกจากนี้ ท่านยังเคยด�ารงต�าแหน่งรองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ และรักษาราชการแทนคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยในระยะเริ่มแรกด้วย นับว่าเป็นผู้มีบทบาทส�าคัญ ในการพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยเฉพาะการพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งปัจจุบันมีผลงานสอน วิจัย และ งานส่งเสริมการเกษตร เป็นทีย่ อมรับในวงการศึกษาและวงการเกษตร ทัง้ ในและนอกประเทศ ภายใต้การบริหาร งานของรองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุติกุล ท่านเป็นผู้บุกเบิกและพัฒนางานทุกด้านของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เช่น เป็นผู้ริเริ่มการสอนระดับบัณฑิตศึกษา สาขาพืชศาสตร์ สัตวศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ จัดวางนโยบายการสอนที่เน้นภาคปฏิบัติและการท�างานในชนบท และเน้นบูรณาการของวิชา ริเริ่มและพัฒนา งานวิจัยของคณะเพื่อแก้ปัญหาการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เสนอแนะรูปแบบและแนวทางการ ร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่น และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในการวิจัยเพื่อพัฒนาการเกษตร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในลักษณะโครงการไตรภาคี ระหว่างไทย ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา จนได้มีการจัดตั้ง ศูนย์ศึกษาค้นคว้าและพัฒนาเกษตรกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้นในปี 2528 นอกจากนี้ยังได้มีบทบาท อย่างยิ่งในการติดต่อขอรับ ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ ทั้งจากประเทศในกลุ่มโคลัมโบและอื่น ๆ ทั้งในแง่ เพื่อการจัดตั้งคณะการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการวิจัย และการด�าเนินการต่าง ๆ และที่ส�าคัญคือ การจัดหาทุน การศึกษาต่อในต่างประเทศเพือ่ พัฒนาบุคลากรของคณะ ซึง่ ยังประโยชน์อย่างอเนกอนันต์แก่คณะเกษตรศาสตร์ ตลอดมา ด้วยเกียรติประวัตแิ ละความสามารถดังกล่าวนับได้วา่ รศ.ดร.กวี จุตกิ ลุ เป็นผูท้ รงคุณวุฒทิ มี่ ผี ลงานดีเด่น ทางด้านวิชาการ ด้านบริหาร และการบริการวิชาการ ท�าคุณประโยชน์ให้แก่วงการศึกษาทางด้านเกษตรกรรม เป็นอเนกประการ สมควรได้รับยกย่อง ให้ได้รับพระราชทานปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป ค�าประกาศเกียรติคุณปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2535
3
รับพระราชทานวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2535
4 รองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุติกุล เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และเป็นผู้มีบทบาทส�าคัญยิ่งในวงการ เกษตรของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยได้เป็นผูร้ ว่ มบุกเบิก และวางหลั ก สู ต รการศึก ษาเกษตรศาสตร์ ทั้งในระดั บมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น และประเทศไทย เป็ น ผู ้ น� า เอานวัตกรรมทางการศึกษามาใช้ในการศึกษาวิชาการเกษตร ซึง่ เป็นการตอบสนองความต้องการและความจ�าเป็น ของประเทศ ที่พึ่งพาการเกษตรเป็นหัวใจส�าคัญของประชากรและเศรษฐกิจชาติ อีกทั้งเป็นผู้น�าความร่วมมือ จากต่างประเทศมาสู่มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยเฉพาะทางด้านวิชาการเกษตร มีผลให้งานด้านวิชาการเกษตร ของมหาวิทยาลัยขอนแก่นในยุคบุกเบิกพัฒนาก้าวหน้า สนองตอบต่อความต้องการของท้องถิ่น ภูมิภาค และ ประเทศชาติเป็นอย่างยิ่ง รองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุติกุล เป็นนักบริหารที่มีคุณธรรม และจริยธรรมที่ดีงาม เป็นแบบอย่างและ เป็นทีย่ อมรับของบุคคลทัว่ ไป และเป็นนักวิชาการผูม้ คี วามรู้ ความสามารถยิง่ จึงได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูร้ กั ษาการ อธิการบดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปีพุทธศักราช 2516-2521 และเป็นคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ ต่อเนื่องยาวนานกว่า 18 ปี (2511 – 2529) ท่านเป็นผู้ริเริ่มและพัฒนางานวิจัยเพื่อแก้ปัญหา การเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเสนอรูปแบบและแนวทางการร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่น กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และร่วมเป็นกรรมการบริหารโครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และวิชาการ แบบไตรภาคี ระหว่างรัฐบาลไทย ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา รวมทั้งเป็นประธานจัดสัมมนาวิชาการนานาชาติ ด้านการเกษตรหลายครั้ง ความสามารถและเกียรติคุณของท่านเป็นที่ปรากฏชัดทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยได้รับเชิญเป็น Research Associate ของ IDRC ของประเทศแคนาดา เป็น Visiting Fellow ด้านการเกษตร นานาชาติของมหาวิทยาลัยคอร์แนล สหรัฐอเมริกา และเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญของ SEARCA ทัง้ ได้รบั คัดเลือกเป็นสมาชิก สมาคมเกียรตินิยมทางด้านต่าง ๆ ของต่างประเทศ อาทิ Alpha Weta Fraternity, Phikkappa Phi Society, Phi Sigma Society, Sigma Xi Society และ Epsilon fi tau Society. นับได้ว่า รองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุติกุล เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ มุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน มีเกียรติคุณดีเด่น เป็นที่ประจักษ์ ได้สร้างคุณูปการแก่มหาวิทยาลัยขอนแก่น และการเกษตรไทยเป็นอย่างยิ่ง สมควรได้รับยกย่อง ให้ได้รบั รางวัลพระธาตุพนมทองค�า ประจ�าปีพทุ ธศักราช 2544 เพือ่ เป็นเกียรติประวัตแิ ก่ตนเองและวงศ์ตระกูล สืบไป ค�าประกาศเกียรติคุณรางวัลพระธาตุพนมทองค�า มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจ�าปีพุทธศักราช 2544
5
รับพระราชทานรางวัลพระธาตุพนมทองค�า มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจ�าปีพุทธศักราช 2544
6
7
8
9 สุวิทย์ เลาหศิริวงศ์ ก.8 เรียบเรียง
รศ.ดร.กวี จุติกุล บูรพาจารย์ของชาวเกษตร มอดินแดง “การตั้งมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งนี้เป็นคุณอย่างยิ่ง เพราะท�าให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภูมิภาคที่ส�าคัญที่สุดส่วนหนึ่ง ของประเทศ ซึ่งต่อไป จะเป็นผลดีแก่การพัฒนายกฐานะ ความเป็นอยู่ ของประชาชนในภูมิภาคนี้เป็นอย่างยิ่ง ความส�าเร็จในการตั้ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงเป็นความส�าเร็จที่ทุกคนควรจะยินดี” กระแสพระราชด�ารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีเปิด มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 20 ธันวาคม 2510 รศ.ดร.กวี จุติกุล อดีตคณบดีคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นผู้ท่ีชาวเกษตรมอดินแดง พร้อมใจกันยกให้อาจารย์ เป็นบูรพาจารย์ของพวกเรา ด้วยความรูค้ วามสามารถ ทุม่ เทบริหารงานคณะเกษตรศาสตร์ เป็นเวลายาวนานเกือบสองทศวรรษ ติดต่อกัน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ก้าวหน้ามายืนแถวหน้า ของสถาบั น อุ ด มศึก ษาเกษตรศาสตร์ ในระดับ ประเทศ และระดั บภู มิภ าคได้ ใ นปั จ จุ บัน มาจากรากฐาน ทีอ่ าจารย์ได้ใช้ ความรู้ ประสบการณ์ วิสยั ทัศน์ อันยาวไกลของอาจารย์วางรากฐานไว้ให้ ในโอกาสครบรอบ 90 ปี ของอาจารย์ ศิษย์จึงขออนุญาตอาจารย์ จัดท�าหนังสือรวบรวมประวัติและผลงานอันทรงคุณค่าขออาจารย์ ไว้ให้ศิษย์เก่า ลูกหลาน อนุชนรุ่นหลัง และสาธารณชนได้เรียนรู้ เก็บไว้เป็นแบบอย่างต่อไป
10
ชาติกาลและการศึกษา >> เกิดวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2474 ณ. บ้านเลขที่ 170 ถนนกระบี่ ต.ตลาดเหนือ อ.เมือง จ.ภูเก็ต เป็นบุตรของนายมั่น - นางสายหยุด จุติกุล พ.ศ. 2482 พ.ศ. 2489 พ.ศ. 2491 พ.ศ. 2495
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดควนวิเศษ อ.เมือง จ.ตรัง จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเพชรพิทยาคม อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 8 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จบปริญญาตรี (B.S. in Animal Science) จาก Louisiana State University, สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2496 จบปริญญาโท (M.S. in Animal Production) จาก Louisiana State University, สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2501 จบปริญญาเอก (Ph.D. in Animal Nutrition) จาก University of Illinois, สหรัฐอเมริกา
การฝึกอบรม >> พ.ศ. 2506 พ.ศ. 2506 พ.ศ. 2514 พ.ศ. 2529
Education Administration จาก Stanford University, สหรัฐอเมริกา Development Administration จาก University of California, สหรัฐอเมริกา การบริหารการพัฒนา จาก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ Computer in Agriculture จาก SEARCA, ฟิลิปปินส์
ชีวิตครอบครัว >> รศ.ดร.กวี จุติกุล มีคู่สมรส ชื่อ ดร.สายสุรี จุติกุล อดีตคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีบุตร 2 คน คือ นายกานต์ จุติกุล และ นางสิรี ศันสนียเวทย์ อยู่บ้านเลขที่ 118 ซอยอุลิต ถนนสุขุมวิท 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
ประวัติการท�างานและต�าแหน่งส�าคัญ >> พ.ศ. 2502 - 2505 พ.ศ. 2506 - 2510 พ.ศ. 2511 - 2530 พ.ศ. 2516 - 2521 พ.ศ. 2520
ศึกษานิเทศก์เกษตร กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ผู้อ�านวยการวิทยาลัยเกษตรกรรมบางพระ กรมอาชีวศึกษา คณบดี คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Visiting Fellow in International Agriculture, Cornell University, สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2532 - 2551 ที่ปรึกษาอาวุโสสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน ประเทศไทย
11
จากประวัตกิ ารท�างาน จะเห็นว่า รศ. ดร.กวี จุตกิ ลุ เริม่ ต้นชีวติ การท�างาน ทีก่ รมอาชีวศึกษา ในต�าแหน่ง ศึกษานิเทศก์ และได้ก้าวสู่ต�าแหน่งผู้อ�านวยการวิทยาลัยเกษตรกรรมบางพระ จ.ชลบุรี ที่นั่น ดร.กวี ได้สร้าง ผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์ เช่น จัดการบริหารงานอาชีวศึกษาเกษตรและการฝึกหัดครูเกษตร ประโยคครูมัธยม เกษตรกรรม (ป.ม.ก.) ร่วมกันแห่งเดียวในประเทศไทย เมื่อมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งสองคณะแรก ที่เปิดสอนคือ คณะเกษตรศาสตร์ และคณะวิศวกรรมศาสตร์ ดร.กวี จึงได้รับการคัดเลือกให้โอนย้ายมาท�างาน ที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2510 ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งคณบดีคณะเกษตรศาสตร์ คนแรก และท�าหน้าที่คณบดี ติดต่อกันเป็นเวลายาวนานที่สุด ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น หรืออาจจะยาวนาน ที่สุดในประเทศไทย ด้วยผลงานอันโดดเด่นทั้งในและต่างประเทศ ดร.กวี จึงได้รับเชิญเป็นผู้เชี่ยวชาญของ องค์การระหว่างประเทศและมหาวิทยาลัย เช่น เป็น Research Associate ของ International Development Research Center (IDRC) ประเทศแคนาดา Visiting Fellow ของ Cornell University ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญของ Southeast Asian Regional Center for Graduate Study and Research in Agriculture (SEARCA) ทั้งยังได้รับคัดเลือกเป็นสมาชิกสมาคมเกียรตินิยมทางด้านต่างๆ ของต่างประเทศ อาทิ Alpha Zeta Fraternity, Phi Kappa Phi Society, Phi Sigma Society, Sigma Xi Society และ Epsilon Pi Tau Society ผลงานของ รศ.ดร.กวี จุติกุล ที่วางรากฐานและพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นนั้น มีมากมายหลายเรื่องราว สมควรได้รับการบันทึกไว้ ซึ่งอีกส่วนหนึ่งคณาจารย์หลาย ๆ ท่านจะได้ช่วยกันเขียน รวบรวมใว้ในหนังสือเล่มนี้ด้วย ผลงานโดยย่อมีดังนี้ 1. การจัดหลักสูตรการเกษตรในระดับอุดมศึกษา ทีใ่ ห้ความส�าคัญกับการเรียนรูใ้ นการปฏิบตั ิ (Learning by Doing) มีการวางแผนงานฝ่ายไร่ ไว้รองรับการเรียนการสอน อย่างครบครันเป็นระบบ 2. การบูรณาการการพัฒนาชุมชนชนบท ให้นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้ และคณาจารย์ท�าการวิจัย ด้านการเกษตร ด้วยหลักการ “ห้องปฏิบัติการสังคม (Social Laboratory)” โดยการคัดเลือกหมู่บ้าน ใกล้มหาวิทยาลัย เป็นสถานที่ด�าเนินการ เพื่อเรียนรู้ปัญหาของเกษตรกร และใช้การวิจัยช่วยแก้ไขปัญหา
12 3. เป็นผูช้ นี้ า� ให้เห็นความส�าคัญของการท�าเกษตรกรรมแบบประณีต (Intensive Farm Training Project) ในมหาวิทยาลัย โดยการคัดเลือกครอบครัวเกษตรกร มาท�าการเกษตรในพืน้ ทีส่ องไร่ ในมหาวิทยาลัย จ�านวน หลายรุ่น แต่ละรุ่นใช้เวลา 1 ปี ประกฎผลว่าเกษตรกรมีรายได้จากการท�าเกษตรกรรมในพื้นที่ที่จัดให้ เพียงพอ แต่การด�ารงชีวิตได้เป็นอย่างดีและส่วนหนึ่งมีเงินเก็บไปลงทุนท�าการเกษตรในพื้นที่ของตนเองต่อไปด้วย ซึ่งพื้น ทีด่ งั กล่าวปัจจุบนั คือส่วนหนึง่ ของอุทยานการเกษตร 4. การพัฒนาบุคลากร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงการบริหารของ รศ.ดร.กวี จุติกุล มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ บุคลากรได้รับทุนการศึกษาไปศึกษาต่อต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ เช่น ฟิลปิ ปินส์ ญีป่ นุ่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา ออสเตรีย สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี 5. เริ่มจากปี พ.ศ. 2518 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย เป็นโครงการขนาดใหญ่หลายปี ติดต่อกัน เช่น จาก International Development Research Center (IDRC) ประเทศแคนาดา ให้ทนุ สนับสนุนโครงการ Semi-Arid Crops Project และ Cassava Animal Nutrition Project มูลนิธิฟอร์ด ให้ทุนสนับสนุนโครงการ Multiple Cropping Project และต่อเนื่องมาเป็นโครงการ Farming Systems Research Project รัฐบาลออสเตรเลีย ให้ทนุ สนับสนุนโครงการ Pasture Improvement Project โครงการเหล่านี้ นอกจากการสนับสนุนทุนวิจยั ให้กบั บุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์แล้ว ยังมีทนุ การศึกษา และ ทุนจ้างผูช้ ว่ ยวิจยั (Research Assistants) ซึง่ ให้โอกาสศิษย์เก่าจ�านวนมากได้เริม่ ต้นชีวติ การท�างาน จนในปัจจุบนั เติบโตในแวดวงสถาบันอุดมศึกษา มีตา� แหน่งวิชาการเป็นศาสตราจารย์หลายคน รวมทัง้ ส่วนหนึง่ ก้าวไปเป็นผูบ้ ริหาร ระดับคณบดี รองอธิการบดี และอธิการบดีในสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ด้วย 6. ความร่วมมือไทย-อิสราเอล ประเทศอิสราเอลมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการน�้า และระบบ ชลประทานต่าง ๆ รศ.ดร.กวี จุตกิ ลุ ได้ตดิ ต่อประสานงานให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการ มีงานวิจยั ร่วมบนพืน้ ที่ ใกล้สา� นักงานอธิการบดี ทีห่ ลายคนเรียกติดปากว่า ไร่ยวิ ซึง่ ชือ่ เป็นทางการคือไร่ทดลองไทย-อิสราเอล เน้นการ ทดลองด้านพืชผัก มะเขือเทศ และที่เกี่ยวเนื่องกันคือ การขาดแคลนน�้าของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่น�าไปสู่ การเดินขบวนครั้งแรกของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นในปี 2514 มหาวิทยาลัยขอนแก่น พยายาม ของบประมาณมาท�าระบบน�้าประปาเอง แต่ส�านักงบประมาณต้องการให้ใช้น�้าของการประปาส่วนภูมิภาค ที่ ณ เวลานัน้ ไม่มกี า� ลังความสามารถจัดส่งน�า้ ให้พนื้ ทีม่ หาวิทยาลัยขอนแก่นอย่างพอเพียงได้ รศ.ดร.กวี จุตกิ ลุ ได้ขอให้ผเู้ ชีย่ วชาญจากอิสราเอล มาช่วยวางแผนจัดการน�า้ เพือ่ การเกษตรและของบประมาณ จัดสร้างโรงสูบน�า้ จากคลองส่งน�้าโครงการชลประทานน�้าพองหนองหวาย บ้านโกทา น�ามาพักไว้ที่หนองหัวช้าง และหนองน�้า สะพานขาว ที่จ�าเป็นต้องใช้พลาสติคปูให้สามารถเก็บน�้าได้ โครงการดังกล่าวท�าให้งานฝ่ายไร่ด้านพืช ของ คณะเกษตรศาสตร์ สามารถมีนา�้ ใช้สนับสนุนงานวิจยั หรือการผลิตพันธุพ์ ชื ต่างๆ ได้ และมหาวิทยาลัย ก็ได้อาศัย น�า้ ดังกล่าวสนับสนุนระบบประปาของมหาวิทยาลัย ทีย่ งั ใช้ได้อยูจ่ นถึงปัจจุบนั 7. ความร่วมมือกับประเทศญี่ปุ่น รศ.ดร.กวี จุติกุล เป็นผู้มีบทบาทส�าคัญในการท�าโครงการร่วมมือ กับ Japan International Cooperation Agency: JICA และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดตัง้ ศูนย์ศกึ ษาค้นคว้า และพัฒนาการเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในบริเวณศูนย์พัฒนาที่ดินฯ ริมถนนมิตรภาพฝั่งตรงข้ามประตู มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งคณะเกษตรศาสตร์ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจัดสร้างอาคารวิจัย พร้อมอุปกรณ์ เครือ่ งมือทีท่ นั สมัย และมีการเริม่ โครงการร่วมมือทางวิชาการกับ The Japan Society for the Promotion of Science (JSPS) ที่ให้ทุนศึกษาระดับปริญญาเอกซึ่งใช้ผลงานวิจัยที่ท�าในไทยไปเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ได้ และภายใต้โครงการนี้ ท�าให้บุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ หลายคนส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก
13 จาก มหาวิทยาลัยญีป่ นุ่ รศ.ดร.กวี จุตกิ ลุ คือผูท้ มี่ บี ทบาทส�าคัญในการประสานงานกับหลายกระทรวงทัง้ ของไทย และญี่ปุ่น 8. รศ.ดร.กวี จุติกุล เป็นผู้ริเริ่มโครงการจัดตั้งสถานีทดลองเกษตรที่สูง ณ เขื่อนจุฬาภรณ์ น�้าพรม อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ ด้วยมองเห็นถึงความต้องการวิจัยด้านการเกษตรในสภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศ ทีแ่ ตกต่างกันของมหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงมีการจัดตัง้ สถานีทดลองและฝึกอบรมเกษตรกรรมเขือ่ นจุฬาภรณ์ขนึ้ เพื่อเป็นสถานที่ศึกษา วิจัย ในด้านพืชที่ต้องการอากาศหนาวเย็นตลอดจนสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง สถานีฯเขื่อน จุฬาภรณ์ หรือสถานี น�้าพรม ตั้งอยู่บนยอดเขาภูหยวก เทือกเขาเพชรบูรณ์ ในพื้นที่ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว โดย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้รบั อนุญาตให้ใช้พนื้ ทีด่ งั กล่าว และทาง กฟผ. มอบให้มหาวิทยาลัย ใช้อกี ทอดหนึง่ สถานีฯ มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 75 ไร่ ในฤดูหนาว มีอณ ุ หภูมิ ค่อนข้างต�า่ บางปี ไม่เกิน 10 องศาเซลเซียส ในฤดูอนื่ มีอากาศ เย็นสบาย จึงได้มกี ารศึกษาวิจยั ด้านไม้ดอก พืชผักและไม้ผลทีต่ อ้ งการอากาศหนาวเย็น ใช้เป็น สถานทีฝ่ กึ งานของนักศึกษา พืชศาสตร์ ด้านพืชสวนมาตัง้ แต่ปี 2517 จนถึงปัจจุบนั เนือ่ งจากมีสถานทีส่ วยงาม มีอากาศเย็นสบายจึงถูกใช้เป็นสถานทีฝ่ กึ อบรมบุคลากรของมหาวิทยาลัยตลอดจนหน่วยงานอืน่ อีกด้วย 9. การเลีย้ งผึง้ ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากนิวซีแลนด์ ได้เริม่ ขึน้ จากการสนับสนุน ประสานงานของ รศ.ดร.กวี จุติกุล เช่นเดียวกัน โดยมี ดร.ยงยุทธ ไวคกุล เป็นผู้รับผิดชอบการทดลอง ในการ เสด็จพระราชด�าเนินมาพระราชทานปริญญาบัตร ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คณะเกษตรศาสตร์ จะทูลเกล้าฯถวายน�้าผึ้งทุกปี แต่ปีหนึ่งด้วยสภาพความแห้งแล้งผิดปกติจึงไม่มีน�้าผึ้งทูลเกล้าฯถวาย พระองค์ ทรงรับสัง่ กับนึกศึกษาทีเ่ ข้าเฝ้าทีบ่ ริเวณสระน�า้ สโมสรอาจารย์ฯ ว่า “สงสัยปีนผี้ งึ้ ขีเ้ กียจ”
14 10. ในปี พ.ศ. 2528 รศ.ดร.กวี จุติกุล ได้รับทุนสนับสนุนจากส�านักงานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ ให้เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย การวิเคราะห์ระบบการศึกษาเกษตรของประเทศไทย ซึ่งงานวิจัยดังกล่าว ได้ศกึ ษาวิเคราะห์การศึกษาเกษตรไทยทัง้ ระบบ และน�าเสนองานดังกล่าวต่อการประชุมระดับชาติ ณ ท�าเนียบรัฐบาล ซึง่ คงมีผลต่อแนวทางการพัฒนาการศึกษาเกษตรของประเทศโดยตรงอย่างแน่นอน 11. ถึงแม้ว่าในช่วงต้นของการจัดตั้งมหาวิทยาลัยขอนแก่น การเรียนการสอนจะเน้นหนักทางด้าน วิทยาศาสตร์ แต่ รศ.ดร.กวี จุติกุล ได้ให้ความช่วยเหลือร่วมมือกับนักวิชาการต่างประเทศด้านโบราณคดี ก่อนประวัติศาสตร์ ที่มีผลงานระดับโลกหลายท่านที่สนใจมาศึกษาค้นคว้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น Dr.Don Bayard ซึ่งเป็นนักศึกษาปริญญาเอกของ Professor Dr. William Solheim ผู้เชี่ยวชาญระดับโลก ด้านโบราณคดีกอ่ นประวัตศิ าสตร์จาก University of Hawaii มาขุดค้นหาหลักฐานวัฒนธรรมก่อนประวัตศิ าสตร์ ที่บ้านโนนนกทา อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น ซึ่งงานดังกล่าวอาจถือได้ว่าเป็นการบุกเบิกงานวิจัยด้านโบราณคดี ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ใ นภู มิ ภ าคนี้ หลั ง จากนั้ น ท่ า นยั ง ได้ อ� า นวยความสะดวกแก่ นั ก วิ จั ย ด้ า นโบราณคดี ก่อนประวัตศิ าสตร์ระดับโลกอีกหลายท่านทีส่ นใจมาศึกษาค้นคว้าในภูมภิ าคนี้ เช่น Professor Dr. Chet Gorman, University of Pennsylvania, USA และ Professor Dr. Charles Higham, University of Otago, New Zealand. 12. นอกจากงานบริหารคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นตัง้ แต่ระยะก่อตัง้ รศ.ดร.กวี จุตกิ ลุ ก็ยงั สร้างผลงานทางวิชาการไว้มากมาย ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะอย่างยิง่ บทความเรือ่ ง วิวฒ ั นาการ ของการศึกษาเกษตรในประเทศไทย ทีใ่ ห้ความรูค้ วามเข้าใจความเป็นมาด้านการศึกษาเกษตรของประเทศ รวมทัง้ บทความทรงคุณค่าอืน่ ๆ ทีข่ อน�าบางส่วนมากล่าวไว้ ณ ทีน่ ี้ เช่น Principles of Nutrition, Management of Research and Extension Systems in Thailand, Small Farm Research and Development at Khon Kaen University, Policy Guidelines for Agricultural Education Development, Linkage of Research and Extension Activities, Higher Education in Agriculture in Thailand, The Crux of Agricultural Development in Northeast Thailand, Implication of Faculties of Agriculture in introducing Nutrition into their Teaching and Research เป็นต้น เมื่อปี พ.ศ. 2530 รศ.ดร.กวี จุติกุล พ้นจากต�าแหน่งคณบดี ได้อาสามหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดท�า สวนพฤกษศาสตร์ บริเวณที่ศิษย์เก่ารุ่นแรก ๆ รู้จักกันในนามสะพานขาว และศิษย์ปัจจุบันรู้จักกันในนาม สระพลาสติก เพราะอ่างเก็บน�า้ สะพานขาว ไม่สามารถเก็บน�า้ ได้ จึงต้องใช้พลาสติกปูพนื้ ก่อน สวนดังกล่าว ต่อมา ได้มชี อื่ อย่างเป็นทางการ จากการประกวดตัง้ ชือ่ ในวาระครบรอบ 30 ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่นว่า “สวนร่มเกล้า กัลปพฤกษ์” ปี พ.ศ. 2532 รศ.ดร.กวี จุตกิ ลุ ตัดสินใจลาออกจากราชการ เมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2532 แต่กย็ งั ไม่ละทิ้งงานการพัฒนา ได้รับงานในต�าแหน่งที่ปรึกษาอาวุโส (Senior Advisor) ของสมาคมพัฒนาประชากร และชุมชน (Population and Community Development Association: PDA) ซึ่งเป็นหน่วยงานเอกชน สาธารณประโยชน์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้ด้อยโอกาส สมาคมฯ มีโครงการหลากหลาย ตั้งแต่การวางแผน ครอบครัว การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม การพัฒนาแหล่งน�า้ เพือ่ การเกษตร การส่งเสริมอาชีพ และสร้างรายได้ สมาคมฯ มีพนื้ ทีด่ า� เนินการในหลายจังหวัดของภาคอิสาน เช่น ขอนแก่น บุรรี มั ย์ มหาสารคาม
15 จากคุณปู การมากมายทีท่ า่ นได้ทา� ไว้ให้มหาวิทยาลัยขอนแก่น สภามหาวิทยาลัย จึงได้มอบรางวัล เชิดชูเกียรติให้สองครัง้ คือ พ.ศ. 2535 ดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2544 รางวัลพระธาตุพนมทองค�า มหาวิทยาลัยขอนแก่น จากกระแสพระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในพิธเี ปิดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ทีไ่ ด้อญ ั เชิญ มาไว้ในบทความนี้ เราชาวเกษตรมอดินแดง ได้รว่ มกันตลอดระยะเวลา 50 ปี ทีผ่ า่ นมาใช้สติปญ ั ญา ความรูท้ ไี่ ด้รบั จากสถาบันนี้ท�าหน้าที่ของตนอย่างเต็มก�าลังความสามารถ และในโอกาสครบรอบ 84 ปี ของบูรพาจารย์ ท่านนี้ ที่ได้ทุ่มเทชีวิตท�างานสร้างคุณูปการให้แก่การศึกษาเกษตรของประเทศไทย และมหาวิทยาลัยขอนแก่น ศิษย์ทงั้ หลาย และผูท้ เี่ คยร่วมงานสร้างสรรค์พฒ ั นากับท่านมา จึงพร้อมใจกันสดุดี รศ.ดร.กวี จุตกิ ลุ บูรพาจารย์ ของชาวเกษตรมอดินแดง ทีม่ า
นพคุณ ศิรวิ รรณ 2557, ปกิณกะการศึกษาเกษตรไทย 151-158 สูจบิ ตั ร งานพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2535 สูจบิ ตั ร งานพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2544
16 ผมรู ้ สึ ก เป็ น เกี ย รติ แ ละยิ น ดี เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ เชิ ญ ให้ เ ขี ย น สารจากอธิ ก ารบดี ส�า หรั บ งาน “90 ปี รองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุติกุล” คณบดีท่านแรก ของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผมในฐานะ ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยขอนแก่น รุน่ 14 จึงรูจ้ กั ท่านตัง้ แต่ผมเป็นนักศึกษา และท่านยังด�ารงต�าแหน่งคณบดียาวนานต่อกัน ถึง 19 ปี รากฐานการพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ท่ีท่านวางไว้ ส่งผลให้คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น อยู่ใน แถวหน้าของคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทย รวมถึงคุณปู การต่อมหาวิทยาลัยขอนแก่นในภาพรวม เช่น การจัดท�าระบบ น�า้ จากบ้านโกทา มายังมหาวิทยาลัยขอนแก่น ระบบบ�าบัดน�า้ เสีย ของโรงพยาบาลศรีนครินทร์ การจัดสร้างสวนร่มเกล้า กาลพฤกษ์ และสวนกวี ทีศ่ ษิ ย์เก่าคณะเกษตรศาสตร์รว่ มกันสร้างขึน้ เป็นต้น ในนามผูบ้ ริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น ผมขอขอบพระคุณในคุณปู การของ ท่านรองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุตกิ ลุ ทีม่ ตี อ่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอขอบคุณ พี่ ๆ น้อง ๆ ศิษย์เก่าคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ทีร่ ว่ มแรง ร่วมใจ จัดงาน 90 ปี รองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุติกุล ขึ้น เพื่อน�ารายได้หลังหักค่าใช้จ่าย ไปดูแลสวนกวี ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ พรรณไม้อสิ าน และทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจของชาวมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในโอกาสนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัยและสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ งั้ หลาย รวมทัง้ บารมีองค์พระธาตุพนม เจ้าพ่อมอดินแดง ศูนย์รวมจิตใจของพวกเราชาวมหาวิทยาลัยขอนแก่น โปรดประทานพรให้ทา่ น รองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุตกิ ลุ และครอบครัว ประสบความสุข ความเจริญ สุขภาพพลานามัยแข็งแรงอยูเ่ ป็นร่มโพธิ์ ร่มไทร ให้กบั พวกเราชาวมหาวิทยาลัยขอนแก่น อีกยาวนาน รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ชาญชัย พานทองวิริยะกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น
รองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุตกิ ลุ คณบดีคนแรกของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ท่านเป็นผูบ้ กุ เบิก ริเริม่ สร้างสรรค์และพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ในทุก ๆ ด้าน ทัง้ ด้านโครงสร้างการปฏิบตั งิ านและกระบวนการปฏิบตั งิ าน ด้านพัฒนาการของบุคลากร และนักศึกษาทัง้ ในระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา ท่านเป็นผูท้ มี่ วี สิ ยั ทัศน์กว้างไกล ในการบริหารงาน ท่านเป็นผู้ที่น�าพาให้คณะเกษตรศาสตร์ก้าวสู่คณะที่มีชื่อเสียงมีผลงานด้านการศึกษาวิจัยในสาขา วิชาเกษตรศาสตร์ที่โดดเด่น สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพออกสู่การปฏิบัติงานในวงการเกษตรศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทัง้ ในระดับชาติและระดับนานาชาติ และมีศกั ยภาพในการพัฒนาต่อไปในอนาคต จะเห็นได้จากความส�าเร็จของศิษย์เก่า คณะเกษตรศาสตร์ที่จบการศึกษาและก้าวเข้าสู่ต�าแหน่งผู้บริหารชั้นสูงของหน่วยงานทั้งภาคราชการและภาคเอกชน ในปัจจุบนั ในวาระครบรอบ 90 ปี ของ รองศาสตราจารย์ ดร.กวี จุตกิ ลุ ในนามคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอแสดงมุทิตาจิตด้วยความเคารพอย่างยิ่งต่อท่านอาจารย์ที่ได้กอปรคุณงามความดีพร้อมผลงานชั้นเลิศในการอุทิศตน ด้วยความรู้ ความสามารถ ต่อการพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ มข. และการพัฒนาการเกษตรไทยโดยเฉพาะการผลิตบุคลากร ที่มีคุณภาพต่อการพัฒนาการเกษตรไทย ซึ่งนับว่าท่านเป็นปูชนียบุคคลที่ควรค่าต่อการเชิดชูเกียรติและยกย่องสรรเสริญ เป็นอย่างยิ่ง คณะเกษตรศาสตร์ มีความมุ่งมั่นที่จะสืบสานปณิธานของท่านในการก้าวขึ้นเป็นคณะวิชาที่มีความเป็นเลิศ ในทุก ๆ ด้าน และมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเป็นคณะวิชาทีม่ คี วามเป็นเลิศทางวิชาการเกษตร เป็นผูน้ �าด้านการเกษตรในภูมภิ าค อาเซียน และเป็นขุมปัญญาของอีสานและสังคมให้สมดัง่ เจตนารมณ์ของท่านสืบไป พร้อมนี้ ขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัยและสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ งั้ หลายในสากลโลก จงปกปักรักษาให้ทา่ นและครอบครัว มีความสุขความเจริญ มีความสุขภาพกายสุขภาพใจแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีอายุยืนยาวอยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทร เป็นขวัญและก�าลังใจให้คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา รวมไปจนถึงศิษย์เก่าตลอดไป รองศาสตราจารย์ ดร.ดรุณี โชติษฐยางกูร
คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
17
“อารมณ์ขัน อายุยืน ของท่าน อ.ดร.กวี” ผมโชคดี แ ละได้ ป ระสบการณ์ ก ารด� า เนิ น ชี วิ ต และการท� า งานกั บ ท่ า นอาจารย์ ก วี ที่ เ คารพของพวกเรา ชาวเกษตร มข. ตั้ ง แต่ ท ่ า นมาเป็ น คณบดี ค ณะเกษตรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ซึ่ ง ท� า ให้ ผ มและบุ ค ลากร ในคณะได้สะสมความรูแ้ ละประสบการณ์ตา่ ง ๆ จากท่าน ท�าให้มโี อกาสก้าวหน้าในการท�างานตลอดมา ซึง่ จะขอสรุปประเด็น ต่าง ๆ สัน้ ๆ ง่าย ๆ พอเข้าใจนะครับ 1) ท่านท�าตัวง่าย ๆ สบาย ๆ ทุกเช้าท่านจะรับประทาน (กิน) กล้วยน�า้ ว้าเป็นประจ�า ท�าให้ทา่ น เป็นคนง่าย ๆ และสุขภาพดี งานทุกอย่างจึงเป็นเรือ่ ง “กล้วย ๆ” ของท่าน 2) ท่านใจดี ตัง้ แต่ทา� งานมาไม่เคยเห็นท่านโกรธหรือดุดา่ ใครสักคนเลย รวมทัง้ นักศึกษา ในคณะด้วย ท่านใจดี มากเกินไปด้วยซ�า้ 3) ท่านมีอารมณ์ขนั ไม่เครียด ท่านจะพูดและหัวเราะประกอบไปด้วย ท�าให้พวกเราหัวเราะตามท่านไปด้วย บรรยากาศท�างานหรือการประชุมจึงไม่เครียด บางคนหัวเราะตาม ๆ กันโดยไม่รเู้ รือ่ งว่าหัวเราะท�าไม (555) ฉะนัน้ จึงต้อง ท�าความเข้าใจให้ดวี า่ ท่านพูดหมายถึงอะไร 4) ท่านรับประทาน (กิน) ง่ายมาก อาหารของท่านจืด ๆ ไม่เค็ม ไม่ใส่กระเทียม ไม่ใส่นา�้ ปลา ไม่ใส่หลาย ๆ อย่าง อีกมาก เวลาไปกินอาหารในเมือง ต้องรีบไปสัง่ คนท�าอาหาร ท�าให้ทา่ นพิเศษ เช่น ทอดไข่เจียวกับน�า้ มันเท่านัน้ ไม่ใส่อะไร ทั้งสิ้นไม่ว่าน�้าปลาหรือกระเทียม หรือไก่ย่าง เป็ดย่าง ก็ไม่ต้องปรุงเครื่องอะไรเลยท่านกินอาหารง่าย ๆ มาก แต่คนท�า บอกว่าท�ายากมาก เพราะไม่เคยท�าแบบนี้เลย ไปกินอาหารกันในเมืองขอนแก่นที่ร้านรจนา (ปัจจุบันเลิกกิจการแล้ว) พอมีทา่ น อ.ดร.กวี ไปด้วย ทางร้านก็จะรูก้ นั เลย จะเตรียมอาหารง่าย ๆ พิเศษ (แต่ทา� ยาก) ไว้ให้ทา่ นแบบรูใ้ จกัน หรือถ้า ไปเมืองนอก เช่น ทีเ่ มืองลอสบันโยส (Los Baños) ประเทศฟิลปิ ปินส์ ทีม่ ศี นู ย์วจิ ยั ข้าวนานาชาติ คนจัด ต้องรีบเข้าไปบอกกุ๊กร้านอาหารให้ท�าอาหารง่าย ๆ พิเศษให้ท่านอย่างไร คนเป็นกุ๊กท�าอาหารท�าสีหน้า งง ๆ แล้วบอกว่า very difficult (ยากมากๆ) เพราะยังไม่เคยท�าง่าย ๆ เลย ความเรียบง่ายของท่านกลับเป็นความยุง่ ยากของเขา ซึง่ คุน้ เคยกับการบรรจงปรุงแต่งรสอาหารให้ถกู ใจผูบ้ ริโภคไปเสียยังงัน้ (อิๆๆ) ฉะนัน้ สรุปแล้วท่าน อ.ดร.กวี ท่านท�างานและใช้ชวี ติ ง่าย ๆ สบาย ๆ อารมณ์ดแี ละมีอารมณ์ขนั ทุกอย่างจึงเป็น เรือ่ งกล้วย ๆ ทัง้ นัน้ ท�าให้ทา่ นสุขภาพดีมอี ายุยนื จริง ๆ หวังว่าท่านจะเป็นปูชนียบุคคลของพวกเราชาวเกษตร มข. ไปตลอด กาล และถ้าจะเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับท่านตั้งแต่ท�างานจนถึงเกษียณอายุการท�างาน คงจะต้องท�ารวมเรื่องเป็นหนังสือ เล่มใหญ่ เอาไว้ตอนจัดงานกตัญญูกตเวทิตา ฉลองหนึง่ ศตวรรษอายุให้กบั ท่านแล้วกัน “ฝ่ายจัดงานเตรียมนัดหมายล่วงหน้า เลยครับ” ด้วยรักและเคารพยิ่ง รองศาสตราจารย์ ดร.อดุลย์ อภินันท์
อดีตคณบดีคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
18
“ยิงปืนนัดเดียวได้นกหลายตัว” สืบเนือ่ งจากทีเ่ ขียน “46 ปี แห่งความหลังทีส่ งสัย เข้าท�างาน มข. ง่ายมาก สมัครแค่พดู คุยกันทีโ่ ต๊ะพิมพ์ดดี เท่านัน้ ” ในหนังสือทีร่ ะลึกมุทติ าจิต 84 ปี รศ.ดร.กวี จุตกิ ลุ อดีตคณบดีทา่ นแรกคณะเกษตรศาสตร์ มข. ในท�านองท่านแกล้งท�าตัว เป็นพนักงานพิมพ์ดีดนั่งจิ้มดีดไปพูดคุยไป เป็นที่สงสัยว่ารายละเอียดที่พิมพ์เป็นอะไร คงไม่ได้ศัพท์ ซึ่งมาทราบอีกทีว่า เป็นคณบดีตอ่ เมือ่ ไปรายงานตัวเข้าปฏิบตั งิ าน เมือ่ มาครุน่ คิดพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมในขณะนัน้ (ต้นปี พ.ศ. 2512) ทีเ่ พิง่ ก่อตัง้ มหาวิทยาลัยใหม่ ๆ เพียงไม่ กี่ปี ขาดความพร้อมทุกด้าน ขนาดต้องฝากเรียนกันที่ กทม. ประกอบกับที่ได้สัมผัสอย่างใกล้ชิดในฐานะส่วนหนึ่งภายใต้ การบังคับบัญชาแล้ว ท�าให้ตระหนักรู้ถึงแนวคิดวิธีการปฏิบัติงานที่มักก่อประโยชน์รอบด้านในงานเดียว ลักษณะยิงปืน นัดเดียวได้นกหลายตัว สามารถสอดประสานความร่วมมือสนับสนุนจากภาครัฐ เอกชน และประเทศต่าง ๆ พัฒนาด้าน การผลิตบัณฑิต วิจัย และส่งเสริมการเกษตร จนเจริญเป็นรูปธรรมในขณะนี้แล้ว ข้อสงสัยในเรื่องพิมพ์ดีดนั้นต้องตกไป แต่มเี รือ่ งสงสัยใหม่อกี เรือ่ งทีห่ ลายท่านไม่รมู้ าก่อนทีท่ า่ นมีความรูค้ วามสามารถมาก ระดับผูเ้ ชีย่ วชาญว่าท่านไปเรียนรูม้ าได้ อย่างไร ที่ใด นั่นก็คือ การถ่ายภาพ เคยเป็นกรรมการตัดสินในการประกวดภาพถ่ายครั้งแรกของชมรมถ่ายภาพ มข. มาแล้ว มีความเชีย่ วชาญเรือ่ งโสตทัศนูปกรณ์โดยเฉพาะกล้องถ่ายภาพ ซึง่ เคยขอค�าปรึกษาในการซือ้ กล้องทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ ในโอกาสทีน่ อ้ งชายไปแข่งบาสเก็ตบอลชิงชนะเลิศเอเซียทีน่ นั่ เมือ่ เกือบห้าสิบปีมาแล้ว ได้ความรูร้ ายละเอียดอย่างดีเยีย่ ม และได้กล้องถ่ายภาพทีต่ อ้ งการตามค�าแนะน�า แต่ได้ความฮาทีย่ งั ไม่เคยเปิดเผยมาด้วยเรือ่ งหนึง่ “ญี่ปุ่นนี่เขาเก่งนะ สามารถผลิตกล้องถ่ายภาพที่แข่งกับพวกฝรั่งได้ และมีการพัฒนามาตลอดทั้งคุณภาพและ การตลาด ยิ่งเรื่องการตลาดแล้วฉลาดมาก เขาสร้างกล้องรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพทุกอย่างดีเหมือนเดิม แต่ลดกลไกบางอย่าง ที่คนถ่ายภาพเป็นแล้วไม่จา� เป็นต้องใช้ ขายในราคาถูกกว่าสองสามเท่าเลยดีเดียว เช่น ยี่ห้อ P_ _ _ _ _ เขาลดเครื่อง วัดแสง ยีห่ อ้ N_ _ _ _ นีไ่ ม่มหี วั เสียบแฟลช ส่วนยีห่ อ้ C_ _ _ _ เขาพัฒนาการใส่ฟลิ ม์ แบบ QL Quick Loding ทีไ่ ม่ตอ้ ง เสียเวลาในการสอดหัวฟิลม์ เข้าทีข่ นึ้ ฟิลม์ เพียงแค่วางหัวฟิลม์ ให้รหู นามเตยเข้ากับหนามเตยแล้วปิดฝากล้อง ขึน้ ฟิลม์ ได้เลย เออ แนะน�าให้ซอื้ ของ N_ _ _ _ นีแ่ หละดี” น้องชายก็ไปซือ้ ตามค�าแนะน�าและถ่ายทุกอย่างเท่าทีม่ โี อกาส ตัง้ แต่บรรยากาศของการแข่งขัน ชีวติ ความเป็นอยู่ ตลอดจนแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ า� คัญต่าง ๆ ชอบมาก ๆ คือ ภูเขาไฟฟูจิ และอีกอย่างทีน่ า่ ทึง่ คือ ฟิลม์ ทีซ่ อื้ ทีญ ่ ปี่ นุ่ นีย่ าวกว่าปกติ ถ่ายตัง้ นานยังไม่หมดม้วนเลย โธ่ จะหมดม้วนได้ไง ก็เขาเคยใช้แต่ระบบ QL ของ C _ _ _ _ เท่านัน้ รศ.สุวัฒน์ จิตต์ปราณีชัย
19
วันนี้เป็นวันส�าคัญวันหนึ่งที่ศิษย์เก่าคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้มารวมใจแสดงมุทิตาจิต กับอาจารย์ ดร.กวี จุตกิ ลุ ในโอกาสทีค่ รบวาระ 90 ปี และเพือ่ ระลึกในห้วงอดีตทีผ่ า่ นมา เมือ่ ครัง้ อาจารย์ ดร.กวี จุตกิ ลุ ท่านปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นต�าแหน่งคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ เป็นระยะเวลายาวนาน ส่งผลให้คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีชอื่ เสียง มีลกู ศิษย์ออกไปท�างานกันหลากหลายอาชีพ เป็นทีย่ อมรับในสังคม และส่วนรวมจนถึงทุกวันนี้ ในห้วง ที่อาจารย์ ดร.กวี จุติกุล รับผิดชอบคณะเกษตรศาสตร์ ท่านได้ตั้งใจ ทุ่มเท เสียสละอย่างมาก ท่านได้วางรากฐาน ให้คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จนเป็นทีย่ อมรับในทุกวันนี้ ผลงานทีส่ า� คัญกล่าวโดยย่อ ท่านได้วางรากฐานการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การปฏิบตั งิ านของนักศึกษา ในให้ได้รับความรู้และประสบการณ์ งานวิจัยที่ส�าคัญหลายโครงการ งานพัฒนาชุมชน โดยเฉพาะต่อเกษตรกรเป็นหลัก งานริเริม่ พัฒนาพืน้ ทีเ่ พือ่ เป็นแหล่งการเรียนรูท้ างการเกษตร เป็นต้น มูลนิธเิ กษตรมอดินแดง เป็นงานหนึง่ ทีด่ า� เนินการจากแนวความคิดของท่านอาจารย์ ดร.กวี จุตกิ ลุ ทีม่ งุ่ จะพัฒนา การศึกษา โดยเฉพาะช่วยเหลือและส่งเสริมสนับสนุนให้กบั นักศึกษา เพือ่ ให้จบการศึกษาออกไปรับใช้สงั คม โดยน�าความรู้ จากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ สังคม และประเทศชาติ ในโอกาสครบวาระ 90 ปี ในฐานะศิษย์เก่าคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมูลนิธเิ กษตร มอดินแดง ขอแสดงมุทติ าจิตต่อ อาจารย์ ดร.กวี จุตกิ ลุ ผูม้ พี ระคุณอันล้นเหลือ แก่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขออ�านาจ คุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้โปรดดลบันดาล และประทานพรให้ท่าน อาจารย์ ดร.กวี จุตกิ ลุ และครอบครัว มีความสุข สุขภาพพลามัยสมบูรณ์ แข็งแรง อยูเ่ ป็นทีพ่ ง่ึ แก่ลกู ศิษย์ คณะเกษตรศาสตร์ นานเท่านาน พลตรีโสภณ ปรุงสุวรรณ์
ประธานกรรมการมูลนิธิเกษตรมอดินแดง ศิษย์เก่าคณะเกษตรศาสตร์ มข.รุ่นที่ 1
20
“ระยะเวลาอันแสนสั้น ชีวิตในรั้วเกษตร มข. กับท่านอาจารย์ ดร.กวี จุติกุล” ย้อนหลังไปเมือ่ 54 ปี ทีผ่ า่ นมา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้กอ่ ตัง้ ขึน้ และรับนักศึกษา รุน่ แรกอย่างพวกเราเข้าศึกษา ในคณะเกษตรศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2507 อันถือเป็นรุ่นบุกเบิก ซึ่ง อะไรๆ ก็ไม่ค่อยจะพร้อมแม้สถานที่เรียนก็ยังต้องไป ฝากเรียนที่ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึง่ สมัยนัน้ เรียกกันสัน้ ๆ ว่า “เตรียมแพทย์” สังกัดมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ในขณะนั้น และพวกเรายัง ต้องตระเวนไปเรียนบางวิชาที่เป็นวิชาเฉพาะของภาควิชาเกษตร เช่น ที่ คณะกสิกรรมและ สัตวบาล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บ้าง และที่คณะสัตวแพทย์ศาสตร์บ้าง ซึ่ง สถาบันหลังนี้ภายหลังถูก โอนย้าย ไปสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามความประสงค์ของจอมพลประภาส จารุเสถียร อธิการบดีมหาวิทยาลัยจุฬาฯ ในสมัยนัน้ ในช่วงทีพ่ วกเราอยูช่ นั้ ปีที่ 2 นัน้ ความหวังทีจ่ ะมีสถานที่ เรียนของเราเองทีข่ อนแก่นยังลางเลือนไม่แจ่มชัดนัก และยังคิดถึง ท่านจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้ด�าริที่จะให้มีมหาวิทยาลัยที่จังหวัดขอนแก่น เพื่อเป็นศูนย์กลางของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึง่ ท่านได้ถงึ แก่อสัญกรรมไปก่อนเมือ่ ปี พ.ศ.2506 เนือ่ งจากท่านจอมพลสฤษดิเ์ ป็นชาวอิสาน โดย มารดาท่านเป็นชาวอ�าเภอมุกคาหาร และบิดาที่มีพื้นเพมาจากประเทศลาว โดยมารดาของท่านเคย พาบุตรชาย ไปอาศัยอยู่ที่จังหวัดนครพนม ก่อนที่จะย้ายภูมิล�าเนามาศึกษาต่อที่กรุงเทพฯ เมื่ออายุ 9 ขวบ นับว่าท่านมีสายเลือด เป็นชาวอิสานอย่างแท้จริงและมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาภาคอิสาน ให้มีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับภูมิภาคอื่น ของประเทศ ซึง่ ถ้าท่านจอมพลสฤษดิย์ งั มีชวี ติ อยูใ่ นตอนนัน้ การก่อสร้างมหาวิทยาลัยคงจะรุดหน้าไปกว่านีม้ าก ในช่วง กลางปีการศึกษาชัน้ ปีที่ 2 นัน้ ท่าน ศาสตราจารย์พมิ ล กลกิจ ได้เข้ามารับต�าแหน่งรองอธิการบดี ซึง่ จะมารับภาระหน้าที่ แทน ฯพณฯ พจน์ สารสิน ซึ่งด�ารงต�าแหน่ง อธิการบดีในขณะนั้น อย่างไรก็ดีนักศึกษาก็ยังมีความเคลือบแคลงใจ ว่ามหาวิทยาลัยของเราจะก่อสร้างเสร็จพร้อมทีจ่ ะย้ายนักศึกษาในปีหน้าได้หรือไม่ ซึง่ ท่านอาจารย์ พิมลก็ได้กล่าวรับรอง ในที่ประชุมนักศึกษาว่า “ฉันจะเนรมิตมหาวิทยาลัยให้พวกเธอย้ายไปเรียนให้ได้ก็แล้วกัน คอยดู” พวกนักศึกษาทั้งหมด ก็เลยเฮ ตบมือด้วยความดีใจกันใหญ่ และแล้วความฝันของพวกเราก็เป็นจริง ในต้นปีการศึกษา 2509 พวกเราก็ได้ย้าย ไปขอนแก่น บ้านใหม่ของเราสมความปรารถนาเมือ่ เราขึน้ ปี 3 เมื่อพวกเราได้ย้ายไปปักหลักปักฐานที่ขอนแก่นเรียบร้อยแล้วชั่วระยะหนึ่ง ท่าน อาจารย์กวีได้ย้ายจาก กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาปฏิบตั หิ น้าทีค่ ณบดี คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และได้รบั การ แต่งให้ดา� รงต�าแหน่งคณบดีเป็นทางการเมือ่ วันที่ 1 ธันวาคม 2510 ช่วงนัน้ พวกเราเรียนอยูช่ นั้ ปี 4 ใกล้จะจบเต็มทีแ่ ล้ว ช่วง 3 ปี ที่ผ่านมา เรามีอาจารย์หลายท่าน แวะเวียนเข้ามาปฏิบัติหน้าที่บริหารการศึกษาในคณะฯ เรา ส�าหรับท่าน อาจารย์กวี ถึงแม้จะไม่ใช่คณบดีคนแรกเราก็ถือว่าท่านคือคณบดีตัวจริงคนแรกและอยู่ปฏิบัติงานในต�าแหน่งนี้เป็น เวลายาวนานถึง 20 ปี ซึง่ นานมากจนสามารถพัฒนาน�าความเจริญก้าวหน้ามาสูส่ ถาบันของเรามากมาย อย่างเป็นรูปธรรม งานอันดับแรกที่ท่านอาจารย์กวีเข้ามาด�าเนินการก็คือการปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนในคณะเกษตรศาสตร์ จากการทีพ่ วกเราเรียนกันมาจากชัน้ ปี 1 ถึง ปี 4 มีการปรับปรุง เปลีย่ นแปลงหลักสูตรกันเรือ่ ยมา มีการตัดและเพิม่ หลาย วิชาเข้าไปในหลักสูตร วิชาใดทีเ่ คยเรียนมาแล้วและถูกตัดออก ก็ถอื ว่าเป็นวิชาทีเ่ รียนฟรี หมายถึงเป็นวิชาทีเ่ รียนเกินหลักสูตร โดยไม่ต้อง เสียค่าหน่วยกิตเพิ่มแต่อย่างใด ถือว่าเป็นก�าไรของรุ่นแรก ๆ ที่เข้ามาเรียนในช่วงระหว่างที่หลักสูตรยัง ไม่มคี วามแน่นอน งานชิ้นส�าคัญที่ช่วยพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของชาวมอดินแดงให้ได้รับความสะดวกสบายขึ้น คือ การพัฒนา แหล่งน�า้ กิน น�า้ ใช้ ในมหาวิทยาลัย ตัง้ แต่ปแี รกทีเ่ ราย้ายเข้ามา ในฤดูแล้งของทุกปีจะประสบปัญหาน�า้ ประปาขาดแคลน ประกอบกับสภาวะอากาศทีร่ อ้ นจัดตลอดช่วงฤดูรอ้ น ท�าให้บรรยากาศในการอยูอ่ าศัยเช่นในหอพักแทบไม่นา่ อยูเ่ อาทีเดียว ปัญหานีไ้ ด้ยดื เยือ้ มาโดยตลอด ทางมหาวิทยาลัยพยายามของบประมาณมาท�าระบบน�า้ ประปาเอง แต่ทางส�านักงบประมาณ มักต้องการให้ใช้น�้าจากระบบประปาของการประปาส่วนภูมิภาค ซึ่งในช่วงเวลานั้น ก�าลังการผลิต ของการประปา ส่วนภูมิภาคไม่พอเพียงต่อปริมาณความต้องการใช้น�้าของมหาวิทยาลัย ผนวกกับในปี พ.ศ.2514 ได้มีการเดินขบวนเป็น ครัง้ แรกของนักศึกษาเพือ่ ประท้วงปัญหาการขาดแคลนน�า้ ทีย่ ดื เยือ้ กันมาตัง้ แต่เริม่ ก่อสร้างมหาวิทยาลัย เผอิญในช่วงเวลนัน้
21 คณะเกษตรศาสตร์ ได้มโี ครงการความร่วมมือไทย-อิสราเอล โดยประเทศอิสราเอลได้จดั ส่งผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านการจัดการ ทรัพยากรน�้าและการชลประทานมาให้ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการ ท่านอาจารย์กวีได้ประสานงานให้ผู้เชี่ยวชาญ อิสราเอลมาช่วยวางแผนการจัดการน�้าเพื่อการเกษตรและของบประมาณ มาจัดสร้างโรงสูบน�้าจากคลองส่งน�้าโครงการ ชลประทานน�า้ พองหนองหวาย น�ามาพักไว้ทหี่ นองหัวช้าง และหนองน�า้ สะพานขาว การสร้างแหล่งน�า้ โครงการนีไ้ ด้ใช้เทคนิค การปูด้วยแผ่นพลาสติก เพื่อให้แหล่งน�้าในโครงการนี้สามารถเก็บน�้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความส�าเร็จของโครงการนี้ ท�าให้มหาวิทยาลัยมีน�้าใช้อย่างพอเพียงส�าหรับการอุปโภค บริโภค และน�้าชลประทานในไร่นาเพื่องานวิจัยได้อย่าง ไม่ขาดแคลน จนถึงปัจจุบนั การพัฒนาวิชาการด้านการเกษตรของคณะ ท่านอาจารย์กวี ได้ด�าเนินการประสานงานกับองค์กรช่วยเหลือ จากประเทศต่าง ๆ เช่น แคนาดา ออสเตรเลีย เพื่อให้ทุนสนับสนุน ทางด้านวิจัยสาขาต่าง ๆ เช่น การปลูกพืชในพื้นที่ กึ่งแห้งแล้ง การปลูกมันส�าปะหลังเพื่อใช้เป็นพืช อาหารสัตว์ โครงการปลูกพืชเชิงซ้อน โครงการวิจัยระบบการท�าฟาร์ม ในไร่นา โครงการปรับปรุง การท�าทุง่ หญ้าเลีย้ งสัตว์ เป็นต้น โครงการเหล่านีน้ อกจากการสนับสนุนทุนวิจยั ให้กบั บุคลากร ของคณะเกษตรศาสตร์แล้ว ยังมีทุนจ้างผู้ช่วยวิจัยซึ่งให้โอกาสศิษย์เก่าได้เริ่มต้นชีวิตการท�างานวิจัยจนเติบโตได้รับ ความก้าวหน้าในต�าแหน่งหน้าทีท่ งั้ ในส่วนราชการต่าง ๆ และสถาบันอุดมศึกษาทีม่ ชี อื่ เสียงของประเทศ นอกจากนัน้ บุคลากร ในคณะเกษตรศาสตร์ได้รบั การพัฒนาอย่างเป็นระบบ โดยได้รบั ทุนไปศึกษาต่อต่างประเทศ เช่น ฟิลปิ ปินส์ ญีป่ นุ่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา ออสเตรีย สหพันธรัฐเยอรมันนี เป็นต้น นอกจากงานวิจยั ทีไ่ ด้กล่าวยกตัวอย่างไว้เพียงบางส่วน อันเป็นกิจกรรมที่มีความส�าคัญ ซึ่งมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้ถูกก�าหนดไว้ให้เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยไว้ตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง ภายใต้แผนโคลอมโบ ซึง่ ท่านอาจารย์กวีได้เป็นผูว้ างรากฐานส�าคัญเพือ่ ให้คณะเกษตรศาสตร์ของเราเป็นเลิศทางการวิจยั ด้านการเกษตรของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนงานในด้านการพัฒนาการเกษตรนัน้ ก็ได้มกี ารร่วมมือกับประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ ท่านอาจารย์กวีเป็นผูม้ บี ทบาทส�าคัญในการจัดท�าโครงการร่วมมือกับองค์การต่างประเทศ เช่น JICA โดยจัดตัง้ ศูนย์ศกึ ษา ค้นคว้าและพัฒนาการเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึง่ อยูใ่ นบริเวณ ศูนย์พฒ ั นาทีด่ นิ ฯ ริมถนนมิตรภาพฝัง่ ตรงข้ามประตู มหาวิทยาลัยขอนแก่น และท่านอาจารย์กวียงั มี บทบาทส�าคัญในการประสานงานกับหลายหน่วยงานทัง้ ในประเทศไทยและ ญีป่ นุ่ เพือ่ ให้บคุ ลากร ในคณะเกษตรศาสตร์ได้รบั ทุนการศึกษาวิจยั ในระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยประเทศญีป่ นุ่ ด้วย กิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการศึกษา การวิจยั และการพัฒนาการเกษตร ทีก่ ล่าว มาแล้วนี้ เป็นเพียงส่วนหนึง่ ในหลาย ๆ กิจกรรมที่ท่านอาจารย์กวีเป็นผู้ท่ีมีบทบาทส�าคัญในการ ผลักดันเพื่อให้การด�าเนินงานในกิจกรรมต่างๆ บรรลุเป้าหมายแห่งความส�าเร็จ โดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจกันระหว่างคณาจารย์และบุคลากรในคณะทัง้ หมด อันน�ามา ซึง่ ความเจริญก้าวหน้า ของสถาบันทีป่ รากฏให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม คุโณปการจากความตัง้ ใจจริงในการท�างานของท่าน ได้ประจักษ์ให้เห็นแล้วแก่ศิษย์เก่าที่จบไปตั้งแต่รุ่นแรก ลงไปจนถึงรุ่นลูกและรุ่นหลานที่จะส�าเร็จการศึกษาจากสถาบันนี้ ต่อไปในอนาคต และในโอกาสทีท่ า่ นอาจารย์กวีมอี ายุครบ 90 ปี เราชาวศิษย์เก่าเกษตร มข. รุน่ 1 ทุกคน ขอร่วมใจ อาราธนา คุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทั้งหลายในสากลโลกนี้ จงดลบันดาลและคุ้มครองให้ท่านอาจารย์กวีและครอบครัว ประสบแต่ความสุขและความเจริญ มีสขุ ภาพพลานามัยแข็งแรงตลอดไปเทอญ ด้วยความเคารพอย่างสูง อภินันท์ พิทยารักษ์
ศิษย์เก่าคณะเกษตรศาสตร์ มข. รุ่นที่ 1
22
ในสมัยท�างานทีศ่ นู ย์วจิ ยั ข้าวปทุมธานี สถาบันวิจยั ข้าว กรมวิชาการเกษตร ได้มโี อกาสพบกับอาจารย์กวี จุตกิ ลุ สองครั้ง รู้สึกดีใจและภูมิใจมากที่ลูกศิษย์ได้พบอาจารย์ คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ มข. ครั้งแรกที่ได้พบกับอาจารย์กวี ทีศ่ นู ย์วจิ ยั ข้าวปทุมธานีมกี ารจัดการฝึกอบรมนานาชาติดา้ นข้าว ไทย-อิรี่ อาจารย์กวีทา่ นมาเป็นประธานเปิดการฝึกอบรมฯ วันนั้นศิษย์เก่าเกษตร มข. ก็มีพี่สมคิด ก.2 กิติยา ก.5 และสุวิมล ก.6 นั่งคุยกับอาจารย์กวีจนลืมเสิร์ฟเครื่องดื่ม และ ของว่าง อาจารย์คยุ ถึงเรือ่ งคุณภาพข้าวฯ และได้พาอาจารย์เดินชมงานด้านวิทยาการหลังการเก็บเกีย่ ว คุณภาพทางเคมี ของข้าว หลังจากนัน้ ช่วงปีใหม่กด็ ใี จอีกเมือ่ ได้รบั ส.ค.ส. ทีอ่ าจารย์กวีทา่ นกรุณาส่งให้กติ ยิ า และน้องไพทูรย์ น้องทีท่ า� งาน ด้วยกัน ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์กวีคะ่ ได้พบกับอาจารย์กวีครั้งที่สองที่ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ ทางศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานีได้ไปร่วมแสดงงานวิจัย ด้านคุณเมล็ดข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว อาจารย์กวีได้เข้ามาทักทายลูกศิษย์ วันนั้นดีใจมากที่ลูกศิษย์ได้พบอาจารย์กวี อีกครัง้ หลังจากนัน้ ได้คารวะอาจารย์ ในงานมุทติ าจิตอาจารย์กวี จุตกิ ลุ วันที่ 23 พ.ค.2558 ทีโ่ รงแรมรามา การ์เด้นท์ ด้วยความเคารพรัก กิติยา กิจควรดี
ศิษย์เก่าคณะเกษตรศาสตร์ มข.รุ่นที่ 5
“เกษตร มข.รุ่น 4 ระลึกถึงท่านคณบดี รศ.ดร.กวี จุติกุล ด้วยความเคารพรักเสมอมา” พวกเราเข้าเรียนปี 1 ทีค่ ณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีเดียวกับทีท่ า่ นอาจารย์ยา้ ยมาด�ารงต�าแหน่ง คณะบดี เป็นช่วงเวลาทีม่ กี ารก่อสร้าง ปรับปรุงสถานที่ เพือ่ เตรียมการรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ในพิธเี ปิดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในเดือนธันวาคม 2510 ก.4 ซึง่ เปรียบเสมือนน้องคนเล็ก มีจา� นวนมากเกือบร้อยชีวติ เป็นก�าลังส�าคัญในการปรับปรุงสถานที่ เช่น การสกัด และเรียงหินหลังอาคารเลคเชอร์/หอประชุม การปูหญ้ารอบอาคารเรียน โดยมีอาจารย์ถาวร โกวิทยากร คอยแนะน�า ซึ่งต้องท�าในเวลากลางคืน เพราะกลางวันเข้าเรียน หัวค�่าซ้อมร�ารับเสด็จ แม้จะดึกดื่นอย่างไร ท่านคณะบดีจะอยู่ดูแล พวกเรา พร้อมมีอาหารว่างและขนมมาเลีย้ งยามค�า่ คืนจนงานส�าเร็จลุลว่ ง ในเวลาทีน่ กั ศึกษาจัดกิจกรรมสังสรรบันเทิง ท่านจะมาร่วมงาน อยูเ่ ฝ้าดูแลพวกเราสนุกสนานตามประสาคนเกษตร จนเลิกงาน ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นเวลาย�่ารุ่งของอีกวัน โดยทีท่ ่านไม่แตะเครืองดืม่ ที่มแี อลกอฮอล์แม้แต่น้อย ขณะทีพ่ วกเรา ไปออกค่ายอาสาพัฒนาในชนบทห่างไกลในช่วงปิดภาคเรียนฤดูรอ้ น ท่านอาจารย์กจ็ ะให้ความอนุเคราะห์เรือ่ งทุนและอาหาร การกิน เช่น ไข่ไก่ อยูม่ ไิ ด้ขาด แม้พวกเราจะจบจาก มข. มานานแล้ว อาจารย์ยงั มีความผูกพันกับศิษย์เก่าอยูต่ ลอด โดยท่าน จะแวะเยีย่ มตามสถานทีท่ า� งานลูกศิษย์ ถามสารทุกข์สกุ ดิบอยูเ่ สมอ ห่างจากท่านไปนาน จนในวาระงานมุทิตาจิต 84 ปี ของท่าน พวกเราจึงดีใจมากที่เห็นท่านยังแข็งแรงและ จ�าพวกเราได้ แววตาของท่านยังฉายถึงความรัก ความเมตตา และความห่วงใยพวกเราดังเดิม ในปีที่ 90 ของท่านอาจารย์ พวกเราจึงขออ�านาจสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ งั้ หลาย ได้โปรดประทานพรให้ทา่ นสุขภาพแข็งแรง มีความสุขทุกเมือ่ เป็นมิง่ ขวัญของพวกเราอีกตราบนาน มยุรี สักทอง
ศิษย์เก่าคณะเกษตรศาสตร์ มข. รุ่นที่ 4
23
“รศ.ดร.กวี จุติกุล ที่ดิฉันรู้จัก” ดิฉัน นางศึกษา มาลากาญจน์ ก.4 จากเด็กบ้านนอกคนหนึ่ง เกิดที่ บ้านฆ้อ ต.เกาะจาก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช จบ มศ. 5 จาก รร.เบญจมราชูทศิ นครศรีธรรมราช สอบเข้าคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ ซึง่ ตอนนัน้ ดิฉนั แทบไม่ทราบว่า เมืองขอนแก่น หน้าตาเป็นอย่างไรบ้าง ได้เดินทางมาขอนแก่นอย่างโดดเดีย่ ว ไม่มเี พือ่ น ไม่รจู้ กั ใคร มาด้วยใจล้วน ๆ เพือ่ นคนแรกทีด่ ฉิ นั รูจ้ กั เป็นคนทีน่ งั่ รถไฟคูก่ นั มา คือ คุณรัชนี สุวภาพ (กลม) อดีตผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านวัตถุมพี ษิ กรมวิชาการเกษตร พวกเราน้องใหม่รนุ่ 4 ถูกหล่อหลอมจากพี่ 3 รุน่ จนรวมกันเป็นหนึง่ เดียวด้วยความรัก สามัคคี สนิทสนมกลมเกลียวกันเป็นอย่างดี แต่ในความเป็นจริง ชีวติ ไม่ได้มแี ต่ความสุขเพียงด้านเดียว พวกเราก็เช่นกัน ตอนเรียนปี 1 ผลการสอบปลายภาค เรียนที่ 2 ปรากฏว่า เพือ่ น ๆ ทีส่ อบผ่านทุกวิชามีเพียง 11 คนเท่านัน้ นอกนัน้ ไม่ผา่ น 1 วิชาบ้าง 2 วิชาบ้าง ไปจนถึง 3 – 4 – 5 วิชา ซึง่ จะท�าให้เพิอ่ นหลายคน ต้องสิน้ สภาพการเป็นนักศ็กษา ต้องออกจาก มข. ไป เพราะระเบียบขณะนัน้ คือ นักศึกษา ทีส่ อบตกเกิน 3 วิชา ต้องถูกรีไทร์ เพือ่ นๆ คิดไม่ออกว่าจะท�าอย่างไรดีกบั ปัญหานี้ แต่สา� หรับดิฉนั ผูเ้ ป็น 1 ใน 11 คน ทีส่ อบได้ทกุ วิชา มีความรูส้ กึ ว่า ดิฉนั ต้องไปขอพบคณบดี เพือ่ พูดขอความ เห็นใจแทนเพือ่ นๆ ทัง้ ๆ ทีด่ ฉิ นั เป็นคนขีอ้ าย ด้วยรูปร่างหน้าตาเป็นคนขีเ้ หร่มาก (ตามทีค่ ณ ุ แม่บอก คือ ปากกว้าง คางยืน่ จมูกบาน) แถมพูดไม่เป็นด้วย แต่ในความกลัวและความขีเ้ หร่ ดิฉนั มีความจริงใจ จึงตัดสินใจรวบรวมความกล้า ชอเข้าพบ คณบดี เมื่อได้เข้าพบ ดิฉันได้ร�าพันถ้งความทุกข์ยาก ความยากจนของคนบ้านนอก และความผิดหวังของพ่อแม่ที่อยู่ บ้านนอก หากลูกต้องออกจากมหาวิทยาลัย ที่เสียทั้งเวลาเรียน เงินทอง และอนาคต จะท� าความเสียใจให้พ่อแม่เป็น อย่างมาก ในทีส่ ดุ ความประสงค์ดขี องดิฉนั ก็สา� เร็จ คณะบดีทา่ นมีเมตตาให้เพิม่ คะแนนให้ในวิชาทีม่ นี กั ศึกษาจ�านวนมาก สอบตก ท�าให้เพือ่ น ๆ หลายคนอยูใ่ นเกณฑ์สอบได้ มีโอกาสได้เรียนต่อไป ส่วนเพือ่ นทีไ่ ด้คะแนนต�า่ มาก ๆ บางคน ก็ตอ้ ง สิน้ สภาพการเป็นนักศึกษา และจากพวกเราไปก่อน จากที่ดิฉันเป็นคนไม่กล้าพูดและแสดงออก ก็มีความมั่นใจ กล้าพูดมากขึ้น ต่อมาดิฉันได้ร่วมท�างานกับ คณะกรรมการนักศึกษาหญิง ร่วมกันจัดดนตรีสนุ ทราภรณ์ และแฟชัน่ โชว์ ทีโ่ รงภาพยนต์โฆษะ ขอนแก่น เพือ่ หารายได้ ท�ากิจกรรมของนักศึกษา ไม่เพียงเท่านีท้ ดี่ ฉิ นั ประทับใจในตัวอาจารย์กวี ครัง้ หนึง่ ประมาณปี 2522 (จบมาแล้วประมาณ 8 ปี) ระหว่าง ทีด่ ฉิ นั รับราชการทีส่ า� นักงานเกษตรภาคใต้ จังหวัดสงขลา ท่านคณบดี ได้ไปประชุมทีม่ หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ท่านได้ ถามถึงดิฉนั ศึกษา มาลากาญจน์ ดิฉนั ดีใจมาก ไม่เคยคาดคิดมาก่อนว่า ท่านจะจ�าดิฉนั ได้ ท่านจ�าได้แม้กระทัง่ ว่า ดิฉนั ท�าอะไรอยู่ที่ไหน ซึ่งแสดงว่า ท่านอาจารย์ ได้ติดตามผลงาน และมีความห่วงใยลูกศิษย์ของท่านอยู่เสมอ สุดท้าย ดิฉัน ได้เกษียณอายุราชการในปี 2550 ในต�าแหน่งเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดพังงา ทีจ่ งั หวัดพังงา ตราบจนวันนี้ ข้าราชการเกษียณวัยชราคนนี้ ยังซาบซึ้งตรึงใจ และฝังใจ ในความเป็นอาจารย์ที่โอบอ้อมอารีย์ ของท่าน เป็นคณะบดีทเี่ ป็นศรีสง่าต่อเหล่าศิษยานุศษิ ย์ทวั่ ไป โดยเฉพาะกับชีวติ ดิฉนั จากคนทีม่ แี ต่ความกลัว ความขีอ้ าย กลายเป็นคนกล้าแสดงออก จนถึงปัจจุบนั ดิฉนั ยังร�าลึกถึงความเมตตากรุณาของท่านอยูเ่ สมอ ขอกราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ดว้ ยความเคารพรักอันสูงยิง่ ศึกษา มาลากาญจน์
ศิษย์เก่าคณะเกษตรศาสตร์ มข. รุ่นที่ 4
24
25 สวนกวี มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย รศ.ดร.กวี จุติกุล
“ยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ในที่สุดสวนนี้ก็จะเริ่มโครงการที่จะพัฒนาให้เป็นสถานที่ที่เหมาะสมส�าหรับ การอนุรักษ์พรรณไม้ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่นในระยะที่เริ่มก่อสร้าง ผู้เชี่ยวชาญ กรมป่าไม้ อาจารย์เต็ม สมิตินันทน์ ขึ้นมาเยี่ยมบ่อย แล้วก็ยังปรารภชมว่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น โชคดีมาก ทีม่ พี รรณไม้หลายหลากชนิด ไม่มมี หาวิทยาลัยแห่งไหนในประเทศไทยทีม่ เี ท่านี้ จึงอยากให้มวี ธิ กี ารทีจ่ ะให้อนุรกั ษ์ และปรับปรุงให้ดีขึ้นไป เรื่องของพรรณไม้ในเขตนี้ก็คิดว่า ไม้แดงก็เป็นไม้ส�าคัญอันหนึ่ง ผมมาใหม่ ๆ จะเห็น ว่ามีตอไม้แดงเยอะ เข้าใจว่าร้อยปีก่อนคงเป็นดงไม้แดงค่อนข้างใหญ่ ก็เลยคิดว่าไม้แดงตรงจุดนี้เป็นกลุ่มใหญ่ กลุม่ สุดท้ายทีอ่ ยูใ่ นมหาวิทยาลัย มีไม้แดงอยูท่ บี่ ริเวณอืน่ แต่กระจายไปในทีพ่ กั อาศัย ตามอาคารเรียน จึงไม่สะดวก ที่จะปรับปรุง ให้เป็นที่ที่คนที่สนใจพรรณไม้มาแวะเยี่ยมได้ ในช่วงนั้น ได้เริ่มขออนุญาตอธิการบดี เมื่อปี 2530 คือ นายแพทย์นพดล ทองโสภิต ปรับปรุงบ่อลูกรัง สะพานขาวให้เป็นสวนกาลพฤกษ์ เพราะว่าถ้าไม่จับจองไว้มันอาจจะกลายเป็นอาคาร เพราะครั้งหนึ่งอาคาร FM จะเข้ า ไปอยู ่ ใ นนั้ น ผมก็ ไ ด้ ข อให้ อ ยู ่ ด ้ า นนอกได้ ไ หม เพราะตรงนี้ จ ะเก็ บ ไว้ ใ นลั ก ษณะที่ ว ่ า เป็ น ไม้ ดั้ ง เดิ ม ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงนั้นตรงสะพานขาวก็จะเป็นบ่อลูกรัง มหาวิทยาลัยขอนแก่นจะมีบ่อลูกรังใหญ่ อยู่สองที่ ที่สะพานขาวกับที่บริเวณเจ้าพ่อมอดินแดง ตรงสะพานขาว ตรงบ่อลูกรังก็ได้มีการปรับปรุง เป็นอ่าง เก็บน�า้ ขนาดใหญ่ ทีจ่ ะใช้ทา� ประปากับชลประทานเกษตรในไร่ ปูดว้ ยพลาสติก ตอนทีก่ อ่ สร้างเสร็จเป็นบ่อพลาสติก ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เรายังเรียกว่าเป็นบ่อพลาสติก เพราะว่าเป็นบ่อแรกที่ใหญ่ขนาดนี้ หลังจากนั้นมา ก็รสู้ กึ ว่ามีการใช้คนั ดินรอบทีอ่ า่ งเก็บน�้าเป็นทีว่ งิ่ ออกก�าลังกายของบุคลากรในมหาวิทยาลัย รวมทัง้ ต่อมาประชาชน ในเมืองขอนแก่นก็ออกมาวิ่งบริเวณนี้ ก็เลยมีความคิดว่าจะปรับปรุงให้ดีขึ้น แล้วก็สงวนส่วนหนึ่งให้เป็น ป่าเดิมรอบ ๆ อ่างยังมีปาล์ม มีต้นไม้บางอย่างที่น�าเข้ามาปลูก ที่ส�าคัญก็มีป่าล�าดวน ซึ่งเป็นล�าดวนที่ได้ มาจากสวนสมเด็จ ฯ ที่ศรีสะเกษ เพราะว่าศรีสะเกษเป็นจังหวัดที่มีล�าดวนมาก มีล�าดวนป่าอยู่เยอะเลยเอามา ปลูกไว้ เข้าใจว่าร้อยกว่าต้น ฉะนั้นตอนนี้ส�ารวจกันเป็นเชิงว่าเป็นไม้ดั้งเดิมตรงนี้ ขอแก้ข่าวว่านี่ไม่ใช่ไม้ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเดิม เป็นไม้ที่มาจากสวนสมเด็จ ฯ ศรีสะเกษ หลังจากนั้นก็มีการปรับปรุงรอบคัน เพื่อจะเป็นที่วิ่งออกก�าลังกาย ด้านทิศตะวันตกสงวนไว้ส�าหรับเพื่อศึกษาเรื่องพันธุ์ไม้ มีการเสริมไม้หอมบ้าง
26 ซึง่ เมือ่ เช้าไปหาก็หายไปหลายต้น แล้วบังเอิญว่าปลูกต้นไม้หอมตรงนัน้ เป็นสนามฟุตบอลไปครัง้ หนึง่ ก็เลยเข้าใจ ว่าต้นตันหยงที่ปลูกไว้ 2 ต้นกลางสนาม กลายเป็นสนามฟุตบอลไปแล้ว แต่ว่าในขณะเดียวกัน ไม้อื่นก็เติบโต กันอย่างมากจนจ�าไม่ได้ เพราะว่าบางต้นที่เคยเห็นต้นเท่าแขนเป็นขนาดโอบไปแล้ว เป็นป่าที่ค่อนข้างสมบูรณ์ มากขึ้นทุกวัน ผมก็หวังว่าหลังจากที่มีโครงการนี้แล้ว ดงป่าแดงตรงนี้จะใหญ่ขึ้นทุกวัน ๆ ต้นข้างหลังผมนี้ ตอนที่เริ่ม ๆ ประมาณเท่าเสาไฟฟ้าเท่านั้นเอง ดูขณะนี้ต้นใหญ่มาก หลายต้นในบริเวณนี้ ค่อนข้างสมบูรณ์ บริเวณนี้สามารถมองเห็นได้จาก Google Earth ว่าเป็นดงเขียวกลางมหาวิทยาลัย มีอยู่วันหนึ่งผมดูแล้ว มีวงแดง ๆ อยู่กลางสวนนี้ ก็เลยถามโรเบิร์ต (นายพินิจพล ประดับชาติ) ว่าเกิดอะไรขึ้น ท�าไมถึงดูจาก Google Earth บอกว่ามีอะไรผิดปกติกลางสวน เขาบอกว่าฝนตกหนัก ไม้แดงล้มไป 3 ต้น เพราะฉะนั้น สวนนี้สามารถ ดูได้จาก Google Earth เพราะว่าเป็นดงเขียวค่อนข้างออกมาเด่นชัดกลางมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่นนอกจากจะมีพันธุ์ไม้หลาย ๆ อย่าง ก็มีที่สมัยนี้เขาบอกว่านวัตกรรมหลายอย่าง เกิดขึน้ อันสุดท้ายก็รสู้ กึ ว่าจะมีรา้ นกาแฟมากทีส่ ดุ ในประเทศไทย ส�าหรับมหาวิทยาลัย และคิดว่าไม่มมี หาวิทยาลัย ที่ไหนจะมีตลาดนัดได้ในมหาวิทยาลัย นอกจากตลาดนัดแล้วยังมี Agro Outlet มีร้านอาหาร ร้านกาแฟ ผมคิดว่าเป็นสิ่งที่แปลก และเป็นสิ่งที่คนในเมืองสามารถมามีส่วนใช้ประโยชน์ในมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้ ผมก็รู้สึกว่าศิษย์เก่าคณะเกษตรศาสตร์บางคนนี่เก่งมาก ท�ากิจการที่ไม่ใช่การเกษตรเลย ถึงขณะนี้เรียกว่าเรา สอนไว้ดมี าก สามารถท�าได้หลายอย่าง นักธุรกิจอะไรต่าง ๆ คนทีเ่ ข้ามาช่วยเหลือเรานีไ่ ม่ได้เรียน อย่างคุณไพฑูรย์ (นายไพฑูรย์ น้อยค�ามูล) ตอนที่อยู่กับพวกเราไม่ได้สอน Landscape เลย แต่กลายเป็นคนผู้เชี่ยวชาญด้าน การจัดสวน เพราะฉะนั้น ในแง่นี้ ความส�าคัญของการศึกษาไม่ใช่สาขาวิชาเอกที่เรียน เป็นเรื่องที่ว่าสามารถ ใช้ทักษะการเรียนรู้ในการที่จะหาความช�านาญ ที่จะประกอบอาชีพได้ โดยที่ศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง หลายคน ที่มีความส�าเร็จในการเกษตรนี้ ไปถามดู ไม่ได้เรียนเกษตรเป็นแถวเลย ที่ชุมพร ผมไปดูวันก่อน สวนทุเรียนใหญ่ บอกเรียนอะไรมา “บัญชี” แล้วปรากฏว่าท�าได้ดี เพราะว่ามีความละเอียดมากในการท�าบัญชี มีความละเอียด มากในการจดบันทึกว่าทุเรียนมันออกดอกวันที่เท่าไหร่ แล้วเมื่อไหร่มันสุก แล้วเมื่อไหร่ที่เมืองจันท์มันออก ของชุมพรไม่ออก มีการวางแผนท�าสถิติเป็นอย่างดี ผมก็คิดว่าของเราจบเกษตรเอง ก็ไม่ละเอียดขนาดนั้น เราก็จะปลูกกันอย่างเดียวไม่ได้มองในแง่ทางเศรษฐกิจ
27
ผลที่เกิดขึ้นนั้นในขณะนี้เข้าใจว่าคณะเกษตรศาสตร์เราที่นี่ก็มีศิษย์เก่าที่รู้เรื่องธุรกิจดีมาก ไม่ท�าการ เกษตรกันแล้ว หลายคนก็ประสบความส�าเร็จใช้ความสามารถที่เรียนรู้เพิ่มเติมหลังจากส�าเร็จการศึกษา ผมคิดว่าในระยะยาวการที่เราจะได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยค่อนข้างมากเพราะการที่โครงการนี้ เกิดขึน้ มาได้กไ็ ด้รบั ความกรุณาจากมหาวิทยาลัยในการทีจ่ ะอนุญาตให้โครงการนีเ้ กิดขึน้ แล้ว ก็คดิ ว่าน่าจะขยาย มีจุดต่าง ๆ อีกหลายจุด ซึ่งสามารถท�าเป็นสวนได้สวนกาลพฤกษ์ก็เป็นอันแรก ผมเพิ่งถามว่ามีสวนอื่น ๆ เกิดขึ้น หรือเปล่า เขาก็บอกไม่มี ฉะนั้นก็กลายเป็นว่ามีสวนปัจจุบันคือสวนกาลพฤกษ์กับสวนกวี ผมก็หวังว่าจะมี สวนอื่น ๆ อยู่ที่จะดูแลอนุรักษ์ในบางอย่าง ผมก็ถามว่ายอป่ามีไหมที่เป็นดง ๆ อยู่นี่ น่าไปสงวนป่าสักดงหนึ่ง อะไรแบบนั้น สมัยก่อนบริเวณด้านเหนือของคณะเกษตรศาสตร์ก็จะมียอป่าค่อนข้างเยอะ สมัยนี้หาไม่ค่อยเจอ เรามีต้นไม้ พันธุ์ไม้อยู่หลายอย่างโดยเฉพาะระดับล่างที่ติดกับพื้นที่ไม่เห็นเป็นไม้ยืนต้น อาจจะมีพันธุ์ไม้ ทีย่ งั ไม่ทราบว่าเป็นอะไร เพราะว่าทีใ่ นเขตวิทยาเขตมหาวิทยาลัยขอนแก่นในสมัยทีม่ ผี เู้ ชีย่ วชาญจากต่างประเทศ มาประจ�าอยู่ มีผู้เชี่ยวชาญท่านหนึ่งเป็นนักกีฏวิทยา เขารายงานว่าเขามาอยู่ปีสองปีนี่เขาสามารถวิเคราะห์ดูว่า มีพันธ์ุแมลงใหม่ที่ไม่เคยพบในโลกสองสามพันธุ์ แล้วไปจดชื่อเป็นชื่อ Robinson เพราะฉะนั้นอาจมีพันธุ์ไม้ หลายอันที่ยังไม่มีชื่อ เมื่อเช้าเลยบอกน้อง ๆ ที่เรียนมาทางอนุกรมวิธานว่าเป็นโอกาสอันดี แล้วศึกษาพันธุ์ไม้ ในมหาวิทยาลัยขอนแก่นให้ดี ๆ อาจเจอพันธุ์ไม้ที่ยังไม่มีชื่อ เพราะว่ามีอะไรที่อยู่ในระดับพื้นอีกมาก ไม้ยืนต้น อาจจะทราบกันหมดแล้ว ไม้ที่อยู่ข้างล่างอาจไม่มีใครสังเกตแล้ว ถูกเหยียบย�่าไป ถูกสางออก ยังถามว่าหญ้าเพ็ก ยังอยู่หรือเปล่า เพราะว่าหญ้าเพ็กเป็นพืชที่ประจ�ามหาวิทยาลัยขอนแก่นตั้งแต่ต้น แล้วมีการเผาเป็นระยะ ๆ เพื่อจะเอาหน่อโจดมากิน ในช่วงนั้น มหาวิทยาลัยเกลียดกันมาก หญ้าเพ็กนี่ให้เผากันเป็นแถว ในขณะนี้ มีผู้เชี่ยวชาญออสเตรเลียบอกว่าพยายามปลูกหญ้าเพ็ก ปลูกไม่ขึ้น พอเราอยากจะจ�ากัดนี้มีอยู่มาก เมื่อเช้า ถามว่ามีอยู่ที่ไหนอีก ก็บอกอยู่แถวสวนนี้ก็มีหญ้าเพ็กอยู่อีกดงหนึ่ง ก็บอกว่าให้สงวนไว้ให้ดี ๆ เดี๋ยวมันหาไม่ได้ หญ้าเพ็กนี้
28 เรามีเรื่องหลายอย่างที่น่าจะภูมิใจว่า เราจะสามารถช่วยในการอนุรักษ์พันธุ์พืชของเขตภาคตะวันออก เฉียงเหนือ เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา โดยเฉพาะตรงจุดนี้ก็เป็นที่ที่ใช้ในการพักผ่อนหย่อนใจหรือเข้ามาดู พันธุ์ไม้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ คิดว่าปัจจุบันก็เป็นจุดเริ่มต้นในการที่จะเริ่มให้เกิดขึ้นและหวังว่ายุคนี้จะเป็นยุคจิตอาสา เพราะฉะนั้นก็หวังว่าจะมีจิตอาสาจากใครต่อใครที่สนใจในเรื่องของพืชนี้ เข้ามาช่วยเหลือในการที่จะปรับปรุง หรือสนับสนุนให้มันดีขึ้นไป คิดว่าความร่วมมือต่าง ๆ พวกนี้ก็จะเกิดขึ้นไม่ได้ ถ้ามหาวิทยาลัยไม่ช่วยสนับสนุน ยิ น ดี เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ของเรา ก็ เ ห็ น ความส� า คั ญ เรื่ อ งนี้ เ ป็ น อย่ า งมาก ไม่ ว ่ า จะเป็ น คณะเกษตรศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ ต่าง ๆ พวกนี้ อยากเห็น ความร่วมมือทีเ่ กิดขึน้ สร้างเป็นหย่อม ๆ ไม่จา� เป็นต้องเป็นทีเ่ ดียวกัน มีหลายทีท่ สี่ ามารถท�าได้ แล้วก็ทา� ในลักษณะ ที่เป็นธรรมชาติ ผมไปดูมาหลายแห่ง สวนสมุนไพรต่าง ๆ เดี๋ยวนี้ปลูกเป็นร่อง 1 × 4 เมตรบ้าง มันก็เลยดูแล้ว มันขัดตา เพราะว่ามันไม่ได้ใช้ให้เป็นประโยชน์ในแง่ภูมิทัศน์ พยายามบอกว่ามีไม้สมุนไพรหลายตัวหลายอย่าง ที่สามารถน�ามาใช้จัดภูมิทัศน์ได้ ไม่ว่าจะเป็น ชะอม ชะพลู สะระแหน่ เอามาใช้เป็นไม้ประดับได้ทั้งนั้น ก็เลย คิดว่าแนวคิดแบบนี้น่าจะเกิดขึ้น ใช้ไม้สมุนไพรประดับแทนที่จะต้องใช้ไม้ต่างประเทศ เพราะฉะนั้นก็จะเป็น ประโยชน์ในการที่จะเป็นยารักษาหรือเป็นอาหารได้ ส�าหรับวันนี้ต้องขอขอบคุณทุกท่านโดยเฉพาะอย่างยิ่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานโครงการนี้ และศิษย์เก่า สมาคมศิษย์เก่า ที่ได้ท�าโครงการนี้เป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา อย่างเป็นทางการ ก็ขอขอบคุณทุกท่านอีกครั้ง ขอบคุณมากครับ *รศ.ดร.กวี จุติกุล กล่าวในพิธีเปิดสวนกวี มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2560 ถอดความโดย นายภาสกร เตือประโคน
29
1) แดง >>
โดย ดร.อุษา กลิ่นหอม
ชื่อไทย: แดง ชื่อวิทยาศาสตร์: Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. ชื่อวงศ์: Fabaceae ชื่อสามัญ: Iron Wood ชือ่ ท้องถิน่ : กร้อม (นครราชสีมา) คว้าย ผ้าน (เชียงใหม่ กาญจนบุร)ี ตะกร้อม สะกร๊อม (จันทบุร)ี ปราน (สุรนิ ทร์) ไปรน์ (ศรีสะเกษ) ไคว เพร่ จะลาน จาลาน (แม่ฮ่องสอน) ตะกร๊อม (จันทบุรี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้น ผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-30 ม. ล�าต้นเรียวตรง เมื่อแก่ เปลื อ กแตกร่ อ นมากที่ โ คนต้ น ใบประกอบแบบขนนกสองชั้ น ปลายคู ่ เรี ย งเวี ย น ดอกสี เ หลื อ งอ่ อ น เรียงอัดแน่นอยู่บนฐาน ออกที่ซอกใบ และปลายกิ่ง ผลเป็นฝักแบน รูปไต หนาแข็ง รูปร่างคล้ายบูมเมอแรง สีน�้าตาลแดง ฝักแก่แตกอ้าจากปลายลงสู่โคน เมล็ด 7-10 เมล็ด รูปรีแบน พบตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูงตัง้ แต่ใกล้ระดับน�า้ ทะเลจนถึงประมาณ 850 ม. ออกดอกระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ผลแก่ เดือนพฤศจิกายน-มกราคม การใช้ประโยชน์: จากฐานข้อมูลคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กล่าวว่าในต�ารายาไทย ดอก รสสุขุม เข้ายาแก้ไข้ บ�ารุงหัวใจ เปลือกต้น รสฝาดร้อน ช่วยสมานธาตุ ขับฟอกและบ�ารุงเลือด เปลือกต้นผสม กั บ สมุ น ไพรอื่ น แก้ ป ระดง (อาการผิ ว หนั ง มี ผื่ น คั น เป็ น เม็ ด ขึ้ น คล้ า ยผด คั น มากและมั ก มี ไ ข้ ร ่ ว มด้ ว ย) แก่น รสฝาดร้อนขื่น เข้ายาแก้โรคกระษัยโลหิต (อาการมะเร็งที่มดลูกและรังไข่ในสตรี หรือมะเร็งปอดของบุรุษ) ขับฟอกและบ�ารุงเลือด แก้กระษัยเลือดลม แก่นต้มน�้าดื่มเป็นยาถ่าย เปลือกต้นหรือแก่น แก้ช�้าใน ตกเลือด ต�ารายาพื้นบ้าน จังหวัดอ�านาจเจริญ ผล เมล็ด น�ามาบดให้ละเอียดห่อด้วยผ้า แล้วน�าไปประคบที่ปวด ฟกช�้า เปลือก น�ามาต้มแก้เลือดและสมานล�าไส้ แก้โรคเบาหวาน เนื้อในเมล็ด ของฝักอ่อนและยอดอ่อน รับประทานได้ เนื้อในเมล็ดของฝักแก่ หรือแห้งน�าไปคั่ว หรือเผาไฟให้สุก กินได้ รสมันคล้ายเมล็ดแตงโม เปลือกในสีแดง ชาวบ้านนิยมขูดใส่ลาบเพื่อให้เนื้อจับตัวกันได้ดี ภูมิปัญญาอีสาน ใช้การแตกของผลท�านายดินฟ้าอากาศ ปีใด ที่มีการติดผลมาก และผลแตกมาจนเกิดเสียงดัง เมื่ออยู่ในป่าจะได้ยินเสียงชัดเจน ลักษณะเช่นนี้แสดงว่าในปีนั้น ฝนฟ้าจะคะนองมาก จะเกิดฟ้าผ่าจ�านวนมาก ทั้งนี้เนื่องจากอากาศแห้งมาก ท�าให้เยื่อที่ยึดฝักทั้ง 2 ด้าน แห้ง ท�าให้ฝักเปิดอ้า สภาวะที่อากาศแห้งมาก ท�าให้การเคลื่อนที่ของประจุในอากาศ จึงเกิดสภาวะที่มีฟ้าผ่า
30
2) สัก >> ชื่อไทย: สัก ชื่อวิทยาศาสตร์: Tectona grandis L.f. . ชื่อวงศ:์ Lamiaceae ชื่อสามัญ: Teak ชือ่ ท้องถิน่ : ปีฮี ปีฮอื เป้อยี (กะเหรีย่ ง-แม่ฮอ่ งสอน), ปายี้ (กะเหรีย่ ง-กาญจนบุร)ี , เส่บายี้ (กะเหรีย่ ง-ก�าแพงเพชร), เคาะเยียโอ (ละว้า-เชียงใหม่) เป็นต้น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ที่มีความสูงของต้นตั้งแต่ 20 เมตรขึ้นไป มีล� าต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นทรงพุ่มกลมค่อนข้างทึบ ใบสักเป็นใบเดี่ยว ตรงข้ามกัน ดอกเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศที่มีทั้งเกสร เพศผู้และเพศเมียอยู่ในดอกเดียวกัน ผลสักมีลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลมแป้น เมื่อผลแก่จัดจะเปลี่ยนเป็น สีน�้าตาล (ผลจะเริ่มแก่ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม) เมล็ดจะอยู่ในช่อง ช่องละ 1 เมล็ด ลักษณะ ของเมล็ดเป็นรูปทรงไข่ ลักษณะของเนื้อไม้จะเป็นสีน�้าตาลทอง เรียกว่า “สักทอง” ถ้ามีสีน�้าตาลแก่ และมักมี เส้นสีน�้าตาลแก่แทรกอยู่ เรียกว่า “สักทองลายด�า” เนื้อไม้สักเป็นเสี้ยนตรง เนื้อหยาบ มีความแข็งปานกลาง เลือ่ ยไสกบตกแต่งได้งา่ ย และไม่คอ่ ยยืดหดหรือบิดงอง่ายเหมือนไม้ชนิดอืน่ มีถนิ่ ก�าเนิดอยูท่ างตอนใต้ของประเทศ อินเดีย พม่า ลาว และไทย ขยายพันธุ์ด้วยการใช้เมล็ดและแบบไม่อาศัยเมล็ด (การติดตา การปักช�า เพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ) ชอบขึ้นตามพื้นที่ทีเป็นภูเขา หรือตามพื้นราบที่มีดินระบายน�้าได้ดี และน�้าไม่ท่วมขัง หรืออาจจะเป็น ดินร่วนปนทรายหรือดินที่มีความลึกมาก ๆ การใช้ประโยชน์: ใบ รสเผ็ดเล็กน้อย รับประทานเป็นยาลดน�้าตาลในเลือด บ�ารุงโลหิต รักษาประจ�าเดือน ไม่ปกติ แก้พิษโลหิต ขับลม ขับปัสสาวะ แก้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ ท�ายาอม แก้เจ็บคอ เนื้อไม้ รสเผ็ดเล็กน้อย รับประทานเป็นยา ขับลม ขับปัสสาวะ ได้ดีมาก ใช้แก้บวม บ�ารุงโลหิต แก้ลมในกระดูก แก้อ่อนเพลีย แก้ไข้ คุมธาตุขับพยาธิ รักษาโรคผิวหนัง เปลือก ฝาดสมาน ดอก ขับปัสสาวะ ไม้สักทองยังมีทองค�าปนอยู่ 0.5 ppm. โดยไม้สักทอง 26 ต้น จะมีทองค�าหนัก 1 บาท ภูมิปัญญาอีสาน: ไม่ปรากฎ เนื่องจากไม้สักเป็นไม้ท้องถิ่นในภาคเหนือ ไม่ปรากฎในภาคอีสาน สักใน ภาคอีสานเป็นไม้ที่น�าเข้ามาปลูกในพื้นที่
3) แต้ แต้หนาม แต้โหล่น >> ชื่อไทย: มะค่าแต้ ชื่อวิทยาศาสตร์: Sindora siamensis Miq. ชื่อวงศ์: Fabaceae ชื่อสามัญ: Ma kha num ชื่อท้องถิ่น: มะค่าหยุม มะค่าหนาม (ภาคเหนือ), แต้ (ภาคอีสาน), มะค่าหนาม มะค่าแต้ มะค่าลิง (ภาคกลาง), กอกก้อ (ชาวบน-นครราชสีมา), กอเก๊าะ ก้าเกาะ (เขมร-สุรินทร์), กรอก๊อส (เขมร-พระตะบอง), แต้หนาม ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ต้น สูงมากกว่า 15 เมตร กิ่งอ่อนมีขน ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 3-4 คู่ รูปวงรีกว้างหรือรูปวงรีแกมขอบขนาน ดอกช่อออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก สีเหลืองแดง 1 กลีบ ผลเป็นฝักแบนรูปไข่ มีหนาม การใช้ประโยชน์: ยาพื้นบ้านใช้ เปลือกต้น แก้ซาง (โรคของเด็กเล็ก อาการส�าคัญคือ เบื่ออาหาร ซึม มีเม็ดขึ้น ในปากและคอ ลิ้นเป็นฝ้า) ผสมกับเปลือกต้นมะกอกเหลี่ยม เปลือกต้นยางนา เปลือกต้นหนามหัน และรากถั่ว แปบช้าง ต้มน�้าดื่ม แก้อีสุกอีใส ผู้หญิงที่คลอดลูกใหม่ ๆ จะเอาเปลือกมาแช่น�้าใช้ล้างแผลที่ช่องคลอด ในอดีต คนอีสานนิยมน�าใบมาใช้แทนบ่วง (ช้อน)
31
4) ไม้ยาง >> ชื่อไทย: ยางนา ชื่อวิทยาศาสตร์: Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don ชื่อวงศ์: Dipterocarpaceae ชื่อสามัญ: Yang, Gurjan, Garjan ชือ่ ท้องถิน่ : ยางกุง (เลย) ยางควาย (หนองคาย) ชันนา ยางตัง (ชุมพร) ยางขาว ยางแม่น�้า ยางหยวก (ภาคเหนือ) ยางใต้ ยางเนิน (ภาคตะวันออก) ยาง (ภาคกลาง ภาคอีสาน) กาตีล (เขมร-ปราจีนบุร)ี ขะยาง (ชาวบน-นครราชสีมา) จะเตียล (เขมร) เยียง (เขมร-สุรนิ ทร์) จ้อง (กะเหรีย่ ง) ทองหลัก (ละว้า) ราลอย (ส่วย-สุรนิ ทร์) ลอยด์ (โซ่-นครพนม) ด่งจ้อ (ม้ง) เห่ง (ลื้อ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 50 เมตร ไม่ผลัดใบหรือผลัดใบระยะสั้น ล�าต้น เปลาตรง เปลือกต้นสีออกเทาอ่อน เกลี้ยง หลุดลอกออกเป็นชิ้นกลม ๆ โคนต้นมักเป็นพูพอน เรือนยอด เป็นพุ่มกลม ทึบ ตามกิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขน และมีรอยแผลใบเห็นชัด ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ ดอกออกรวมกันเป็นช่อสั้น ๆ ตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง ผลเป็นผลแห้งรูปกระสวย มีปีกขนาดใหญ่ 2 อัน กลางผล มีครีบตามยาว 5 ครีบ มักขึ้นในป่าดิบแล้ง ใกล้ล�าธาร ที่สูงจากระดับน�้าทะเล 50-400 เมตร ออกดอกราว เดือนมีนาคมถึงเมษายน ติดผลเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคม การใช้ประโยชน์: ต�ารายาไทย น�้าต้มเปลือก กินแก้ตับอักเสบ บ�ารุงร่างกาย ฟอกเลือด บ�ารุงโลหิต และ ใช้ทาถูนวด (ขณะร้อน ๆ) แก้ปวดตามข้อ ต้นมีน�้ามันยาง รสร้อนเมาขื่น มีสรรพคุณห้ามหนองและสมานแผล ใช้ทาแผลเน่าเปื่อย แผลมีหนอง แผลโรคเรื้อน แก้โรคหนองใน ใช้ยาเครื่องจักสาน ทาไม้ อุดเรือรั่ว และผสม ขีเ้ ลือ่ ยจุดไฟ หรือท�าไต้ น�า้ มันยางผสมกับเมล็ดกุยช่าย (Allium tuberosum Roxb.) คัว่ ให้เกรียม บดให้ละเอียด ใช้อุดฟันแก้ฟันผุ น�้ามันยาง 1 ส่วน ผสมกับแอลกอฮอล์กิน 2 ส่วน กินเป็นยาขับปัสสาวะ แก้มุตกิดระดูขาว จิบเป็นยาขับเสมหะ น�้ามันยางจากต้นใช้ยาเครื่องจักสานกันน�้ารั่ว ยาแนวเรือเพื่ออุดรอยรั่ว ทาไม้ ใช้ผสมขี้เลื่อยจุดไฟ หรือ ใช้ท�าไต้จุดไฟส่องสว่าง (ของใช้ส�าหรับจุดไฟให้สว่าง หรือท�าเป็นเชื้อเพลิง ท�าด้วยไม้ผุหรือเปลือกเสม็ดคลุก กับน�้ามันยาง แล้วน�ามาห่อด้วยใบไม้เป็นดุ้นยาว ๆ หรือใส่กระบอก ใช้เดินเครื่องยนต์แทนน�้ามันขี้โล้ ใช้ท�าน�้ามัน ชักเงา ฯลฯ หรือน�ามาใช้เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เช่น สีทาบ้าน หมึกพิมพ์ น�้ามันยางเป็นอีกหนึ่ง สินค้าส่งออกที่ส�าคัญของประเทศไทย ซึ่งปัจจุบันชาวบ้านก็ยังมีการเก็บหากันอยู่ เนื้อไม้ยางนาสามารถน�ามาใช้ ประโยชน์ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนได้ดี ยิ่งเมื่อน�ามาอาบน�้ายาให้ถูกต้องก็จะช่วยท�าให้มีความทนทาน มากขึน้ มีการใช้ประโยชน์จากไม้ยางนากันมาตัง้ แต่อดีต โดยนิยมน�ามาเลือ่ ยท�าเสาบ้าน รอด ตง ไม้พนื้ ไม้ระแนง ไม้คร่าว โครงหลังคา ฝ้าเพดาน เครื่องเรือนต่าง ๆ ท�ารั้วบ้าน ท�าเรือขุด เรือขนาดย่อม แจว พาย กรรเชียง รวมไปถึงตัวถังเกวียน ถังไม้ หมอนรองรางรถไฟ ฯลฯ แต่ในปัจจุบนั การใช้ประโยชน์จากเนือ้ ไม้ยางนาทีส่ า� คัญคือ การน�าไปท�าเป็นไม้อัดและแผ่นใยไม้อัด จนไม่เพียงพอต่อการใช้งาน และต้องน�าเข้ามาจากต่างประเทศบางส่วน ด้วยล�าต้นใช้ท�าไม้ฟืน ถ่านไม้ ไม้ยางนาจะขึ้นอยู่ในพื้นที่ที่มีเชื้อเห็ดราไมคอร์ไรซาส์ (Micorrhyzas) ซึ่งเป็นตัว เอื้อประโยชน์ในการเจริญเติบโต โดยเชื้อราเหล่านี้จะสร้างดอกเห็ดเมื่อมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม โดยเฉพาะ ในช่วงฝนแรกของทุกปีจะมีดอกเห็ดหลายชนิดให้หาเก็บมารับประทานได้มากมาย เช่น เห็ดชะโงกเหลือง เห็ดเผาะ เห็ดน�้าหมาก เห็ดยาง เป็นต้น
32
5) พริกผี >> ชื่อไทย: พริกป่า ชื่อวิทยาศาสตร์: Tabernaemontana bufalina Lour. ชื่อวงศ์: Apocynaceae ชื่อสามัญ: Milkwood ชื่อท้องถิ่น: ช้าฮ่อม (ตาก) พุดน้อย (อุบลราชธานี) พุดป่า (เลย อุบลราชธานี) เข็มดง พริกป่า พริกป่าใหญ่ พริกป่าเล็ก (ชลบุรี) พริกพราน (ประจวบคีรีขันธ์) พริกผี (ยโสธร) พุทธรักษา (อุบลราชธานี) มะลิฝรั่ง (กรุงเทพมหานคร) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 1 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ดอกสีขาวแกมเหลืองอ่อน ผลเป็นแบบฝักคู่ โค้ง รูปรีปลายเรียวแหลม คอดเว้าเป็นพูต้ืน ๆ ผลย่อยแตกแนวเดียว ผิวมันสีเขียว ผิวเกลี้ยง มีเมล็ด 6-8 เมล็ด เมล็ดแก่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีแดงสด พบตามป่าดงดิบแล้ง ป่าละเมาะทั่วไป ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด การใช้ประโยชน์: ยาสมุนไพรพื้นบ้านอีสาน ใช้ ราก ต้มน�้าดื่ม แก้ตกขาว แก้ไอ แก้เจ็บคอ ต�าละเอียด ทาแก้ฝี ฝนน�้าดื่ม แก้ไอเป็นเลือด ในต�ารายาไทย ใช้ ทั้งต้น รสเย็น แก้ไข้ แก้ร้อนใน ดับพิษร้อน ราก รสสุขุม แก้โรคลม ใช้ปรุงยาแก้โลหิตเป็นพิษเนื่องจากชอกช�้า แก้ช�้าใน ยาพื้นบ้านภาคกลาง ใช้ ราก ผสมรากต่อไส้ และรากหนามพุงดอ ฝนเหล้าดื่ม แก้ปวดท้อง
6) แก้ว >> ชื่อไทย: แก้ว ชื่อวิทยาศาสตร์: Murraya paniculata (L.) Jack ชื่อวงศ์: Rutaceae ชื่อสามัญ: Andaman satinwood, Chanese box tree, Cosmetic bark tree, Orange jasmine, Orange jessamine, Satin wood ชื่อท้องถิ่น: จ๊าพริก (ล�าปาง), แก้วลาย (สระบุรี), แก้วขี้ไก่ (ยะลา), แก้วพริก ตะไหลแก้ว (ภาคเหนือ), แก้วขาว (ภาคกลาง), กะมูนิง (มลายู-ปัตตานี), จิ๋วหลี่เซียง (จีนกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 เมตร ไม่ผลัดใบ ใบ เป็นใบประกอบ ผิวใบมันเข้ม และเป็นมันทั้งสองด้าน ดอก ช่อ ออกเป็นกระจุก สีขาว ร่วงง่าย มีกลิ่นหอมมาก ผล สดกลมรี หรือรูปไข่ปลาย สอบเล็กน้อย ที่เปลือกมีต่อมน�้ามันเห็นได้ชัด ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีส้มแดง เมล็ดรูปไข่ปลายสอบ มีขนสั้น ๆ อยู่รอบเมล็ด มีจ�านวน 1-2 เมล็ดต่อผล การใช้ประโยชน์: ใบสด มีรสปร่า หอม บรรเทาอาการปวดฟัน การที่ใบแก้วสด สามารถบรรเทาอาการ ปวดฟันได้ เนื่องจากมีน�้ามันหอมระเหยที่ออกฤทธิ์เป็นยาชา ในอดีตเมื่อเด็กไม่อยสกไปโรงเรียนจะเอาใบแก้ว มาคี้ยว จะท�าให้ตัวร้อน เหมือนเป็นไข้จะได้ไม่ต้องไปโรงเรียน คนไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นแก้วไว้ ประจ�าบ้านจะท�าให้คนในบ้านมีความดี มีคุณค่าสูง เพราะค�าว่า แก้ว นั้นหมายถึง สิ่งที่ดีมีค่าสูงเป็นที่นับถือบูชา ของบุคคลทั่วไปซึ่งโบราณได้เปรีบเทียบของที่มีค่าสูงนี้เสมือนดั่งดวงแก้ว นอกจากนี้คนโบราณยังมีความเชื่อ อีกว่า บ้านใดปลูกต้นแก้วไว้ประจ�าบ้านจะท�าให้เป็นคนที่มีจิตใจบริสุทธิ์ มีความเบิกบาน เพราะแก้วคือความใส สะอาดความสดใสนอกจากนี้ ด อกแก้ ว ยั ง มี สี ข าวสะอาดสดใสมี ก ลิ่ น หอมนวลไปไกลและยั ง น� า ดอกแก้ ว ไปใช้ในพิธีบูชาพระในพิธีทางศาสนาได้เป็นสิริมงคลยิ่งอีกด้วย เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านและผู้อาศัย ควรปลูก ต้นแก้วไว้ทางทิศตะวันออก ผู้ปลูกควรปลูกในวันพุธ เพราะโบราณเชื่อว่าการปลูกไม้เอาประโยชน์ทั่วไป ทางดอกให้ปลูกในวันพุธ
33
7) ผักขา >> ชื่อไทย: ชะอม ชื่อวิทยาศาสตร์: Acacia pennata (L.) Willd. ชื่อวงศ์: Fabaceae ชื่อสามัญ: Climbing wattle, Acacia, Cha-om ชื่อท้องถิ่น: ผักหละ (ภาคเหนือ) อม (ภาคใต้) ผักขา (ภาคอีสาน อุดรธานี) พูซูเด๊าะ (แม่ฮ่องสอน) โพซุยโดะ (กะเหรี่ยง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ชะอมเป็นไม้ยืนต้นมีอายุนานหลายปี มีล�าต้นสูงได้มากกว่า 5 เมตร ล�าต้น และกิ่งมีหนามแหลม ใบเป็นใบประกอบ ใบจะอยู่ตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ 15-28 คู่ ดอกมีขนาดเล็ก สีขาว ฝีกแบน การใช้ประโยชน์: ปลูกเป็นผักริมรั้ว ยอดและใบอ่อนมีรสจืด กลิ่นฉุน น�ามาปรุงอาหาร เช่น แกงส้ม แกงแค แกงขนุน แกงอ่อม หรือกินสดกับต�ามะม่วง ต�ากระท้อน ชะอมชุบไข่ทอดหรือลวกนึ่งเป็นผักจิ้มน�้าพริกถ้ากิน เป็นประจ�าจะช่วยบ�ารุงสายตา เพราะอุดมไปด้วยฟอสฟอรัส ธาตุเหล็กและวิตามินเอสูง มีใยอาหารที่ช่วยระบาย และลดความร้อนในร่างกาย รากชะอมเป็นยาสมุนไพรช่วยขับลมในกระเพาะอาหาร แก้ทอ้ งอืดท้องเฟ้อ ชาวเหนือ ไม่นิยมกินหน้าฝน เพราะมีรสเปรี้ยว กลิ่นฉุน อาจท�าให้ปวดท้องและยังเชื่อว่าหญิงมีครรภ์หรือให้นมบุตร ไม่ควรกิน เพราะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เนื่องจากมีกลิ่นรุนแรงหญิงที่คลอดลูกใหม่ๆ สภาพภายในของร่างกาย ยังอยู่ในภาวะที่ไม่สมดุลเมื่อได้กลิ่น จะท�าให้มีการวิงเวียน
8) สัง หมากสัง มะสัง >> ชื่อไทย: มะสัง ชื่อวิทยาศาสตร์: Citrus lucida (Scheff.) Mabb. ชื่อสามัญ: ชื่อวงศ์ Rutaceae ชื่อท้องถิ่น: หมากกะสัง (กลาง) กะสัง (ใต้) หมากสัง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 5-10 เมตร ใบประกอบแบบขนนกชัน้ เดียว หรือ สองชั้น ออกเวียนเป็นเกลียวตามกิ่ง ดอกออกเป็นช่อแยกแขนงที่ซอกใบ คล้ายดอกกระถิน เป็นปุยๆ มีสีขาว ผลสีเขียวคล้ายผลมะนาว รูปกลม เปลือกแข็งและหนามาก มีเมล็ดจ�านวนมาก พบตามป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด การใช้ประโยชน์: ผลมีรสเปรี้ยว ใช้แทนมะนาวได้ ยอดอ่อน และใบอ่อนกินสด หรือน�าไปปิ้งไฟให้หอม เป็นผักได้ ต�ารายาพื้นบ้านอุบลราชธานี ใช้ แก่น รวมกับแก่นมะขาม ใช้ต้มน�้าดื่มขณะอยู่ไฟ ต�ารายาไทย ใช้ราก ต้มน�า้ ดืม่ หรือฝนน�า้ กิน แก้ไข้ ผลอ่อน แก้ไข้ ใบ แก้ทอ้ งอืดเฟ้อ ใบ รสฝาดมัน บ�ารุงร่างกาย สมานบาดแผล แก้ท้องเดิน ในอดีตคนอีสานนิยมปลูกเมื่อบ้านั้นให้ก�าเนิดลูกใหม่ 1 คน เป็นการปลูกให้เด็กคนนั้นได้ใช้ประโยชน์ ในอนาคต
9) ตูม หมากตูม >> ชื่อไทย: มะตูม ชื่อวิทยาศาสตร์: Aegle marmelos Corr. ชื่อวงศ์: Rutaceae ชื่อสามัญ: Bengal Quince, Bael Fruit Tree, Bilak Bael, Elephant Apple, Bel Apple ชือ่ ท้องถิน่ : กะทันตาเถร ตุม่ ตัง ตูม (ปัตตานี),พะโนงค์(เขมร),มะปิน (ภาคเหนือ), มะปีสา่ (กะเหรีย่ ง-แม่ฮอ่ งสอน) ชื่อบาลี มาลุร (มา-ลุ-ระ), เพลุว (เพ-ลุ-วะ),พิลฺโล (พิน-โล),เวฬุว (เว-ลุ-วะ), มาลูร (มา-ลู-ระ), มาลุโร (มา-ลุ-โร)
34 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยนื ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 10-15 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบ มีใบย่อย 3 ใบ ออกเรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเขียวหรือสีเหลืองอ่อน ดอกมักออกพร้อมกับใบอ่อน มีกลิ่นหอม ดอกสมบูรณ์เพศ ผลรูปรีกลมหรือรียาว ผิวเรียบเกลี้ยง เปลือกหนา แข็งมาก ไม่แตก ผลอ่อนมีสีเขียวพอสุกมีสีเหลือง เนื้อผลมีสีเหลือง นิ่ม มีกลิ่นหอม และมีเนื้อเยื่อสีส้มที่มียาง เหนียวๆ ภายในมี 8-15 ช่อง เมล็ดสีน�้าตาลอ่อน จ�านวนมาก มียางใสเหนียวหุ้มเมล็ดอยู่ เมล็ดรูปรีๆ และแบน พบขึ้นทั่วไปตามป่าเบญจพรรณ และป่าแล้งทั่วไป ที่สูงจากระดับน�้าทะเล 50-700 เมตร ออกดอกระหว่าง เดือนมีนาคม-พฤษภาคม และติดผลระหว่างเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ สภาพนิเวศน์ ป่าเบญจพรรณ และป่าทัว่ ๆ ไป ที่สูงจากระดับน�้าทะเล 50-700 เมตร ขยายพันธุ์ด้วยเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง สัตว์ป่าบางชนิดช่วยแพร่พันธุ์ได้ การใช้ประโยชน์: ประโยชน์ ผลดิบฝานท�าให้แห้ง คั่ว ใช้ชงน�้าดื่ม แก้อาการท้องเสีย แก้บิด ผลสุกเป็นยา ระบายอ่อนๆ ช่วยย่อย ใบสดคั้นน�้ากิน ลดอาการหลอดลมอักเสบ เปลือกรากและเปลือกต้น รักษาไข้มาเลเรีย ใบสดเป็นไม้ศกั ดิส์ ทิ ธิใ์ นศาสนาพราหมณ์ ช้ในพิธสี า� คัญต่าง ๆ เช่น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั จะพระราชทาน ใบมะตูมสดแก่คบู่ า่ วสาวในสมรสพระราชทานหรือพระราชทานแก่นกั เรียนทุนอานันทมหิดล ทีก่ ราบบังคมทูลลา ไปศึกษาต่อ เป็นต้น ใบสด ใช้ต�าใส่แกงบวน ผลดิบใช้เชื่อม ผลสุกเป็นผลไม้และใช้ท�าน�้าปานะ ยางจากผลดิบ ผสมสีทากระดาษใช้แทนกาว คนอีสานยอดกินเป็นผักสด
10) เต่าร้าง >> ชื่อไทย: เต่าร้าง ชื่อวิทยาศาสตร์: Caryota urens L. ชื่อวงศ์: Arecaceae ชื่อสามัญ: Fishtail Palm, Burmese Fishtail Palm, Clustered Fishtail Palm, Common Fishtail Palm, Wart Fishtail Palm, Tufted Fishtail Palm ชื่อท้องถิ่น: เขื่องหมู่ (ภาคเหนือ) เต่ารั้งมีหน่อ (ภาคกลาง) มะเด็ง (ยะลา) งือเด็ง (มลายู-นราธิวาส) เต่าร้าง เก๊าหม้าย เก๊ามุ่ย เก๊าเขือง (คนเมือง) มีเซเหมาะ (กะเหรี่ยงแดง) เก๊าเขือง (ไทลื้อ) ซึ (ม้ง) จึ๊ก (ปะหล่อง) ตุ๊ดชุก (ขมุ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ปาล์มแตกกอ ล�าต้นขนาด 10-15 เซนติเมตร ใบ ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ ใบย่อยรูปสามเหลี่ยมหยักเว้า ดอก สีขาวอมเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงระหว่างกาบใบ หรือใต้โคนกาบใบ ดอกแยกเพศ อยู่ร่วมต้น ผล ผลสดแบบมีเนื้อเมล็ดเดียว ออกเป็นพวง ๆ ทรงกลม ขนาด 2 เซนติเมตร ผลสุกสีแดงคล�้า การใช้ประโยชน์: หัวและราก มีรสหวานเย็นขม ดับพิษที่ตับ ปอด และหัวใจพิการได้ดี ไม่ควรปลูกใกล้น�้า เนื่องจากผลเมื่อตกลงสู่น�้า ท�าให้น�้าเน่า เมื่อสัมผัสผิวหนังจะเกิดอาการคันคายอย่างรุนแรง
11) สะทอน >> ชื่อไทย: สาธร ชื่อวิทยาศาสตร์: Millettia leucantha Kurz ชื่อวงศ์: Fabaceae ชื่อสามัญ: ชื่อท้องถิ่น: กระเจาะ ขะเจาะ ขะเจ๊าะ (เหนือ) กระพี้เขาควาย (ประจวบฯ) กระเซาะ สาธร (กลาง) ขะแมบ (เชียงใหม่)
35 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: สาธรเป็นไม้ที่พบขึ้นในป่าเบญจพรรณใกล้แหล่งน�้าทั่ว ๆ ไปในพื้นที่ที่สูงจาก ระดับน�้าทะเลไม่เกิน 600 เมตร เป็นไม้ต้นสูง 18-20 เมตร ผลัดใบ ดอกออกเป็นช่อกระจายแยกแขนงสีขาว ออกพร้อมใบอ่อน รูปดอกถั่ว กลีบดอก 5 กลีบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ผลเป็นฝักแบน รูปขอบขนานคล้ายฝักมีด มีเปลือกแข็ง ฝักหนึ่ง ๆ มี 1-3 เมล็ด เมล็ดสีน้�าตาล รูปร่างแบน คล้ายโล่ ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด การใช้ประโยชน์: เนื้อไม้และแก่นมีลักษณะสวยงามใช้ในการก่อสร้าง ใช้ท�าเครื่องเรือน และด้ามเครื่องมือ เครื่องใช้
12) ดู่ >> ชื่อไทย: ประดู่ป่า ชื่อวิทยาศาสตร์: Pterocarpus macrocarpus Kurz ชื่อวงศ์: Fabaceae ชื่อสามัญ: Burmese Padauk, Burmese ebony, Burma Padauk, Narva ชือ่ ท้องถิน่ : ประดูเ่ สน (ราชบุรี สระบุร)ี ดู่ ดูป่ า่ (ภาคเหนือ) ประดู่ ประดูป่ า่ (ภาคกลาง) จิตอ๊ ก (ฉาน-แม่ฮอ่ งสอน) ตะเลอ เตอะเลอ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ฉะนอง (เขมร) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ล�าต้นสูง 15-30 เมตร เปลือกหนาสีนา�้ ตาลซึง่ แตกสะเก็ดเป็นร่องลึก มีนา�้ ยางมาก เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ กิ่งก้านมักไม่ห้อยระย้าอย่างประดู่บ้าน ใบเป็นใบประกอบรูปขนนกเรียงสลับดอก มีสีเหลือง กลิ่นหอม มีกลิ่นคล้ายดอกซ่อนกลิ่น ดอกจะออกช่วงมีนาคม-พฤษภาคม ช่อดอกมีขนาดใหญ่ แต่ไม่แตกกิ่งก้านแขนงมากอย่างประดู่บ้าน (แต่ดอกจะบานแค่หนึ่งถึงสองวันเท่านั้น) ผลมีลักษณะเหมือนรูปโล่ แบนบาง ตรงกลางนูน ผลใหญ่กว่าประดูบ่ า้ นมาก ขยายพันธุด์ ว้ ยเมล็ดประดูช่ นิดนีเ้ ป็นพรรณไม้พนื้ เมืองในอินเดีย ตะวันออกเฉียงเหนือ พม่า ลาว และเวียดนามและเป็นพรรณไม้พื้นบ้านดั้งเดิมของไทย ในไทยพบตามป่า เบญจพรรณและป่าเต็งรังในทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ (ประดู่บ้านจะพบในป่าเบญจพรรณทางภาคใต้ด้วย) โดยขึ้น ในที่สูงจากระดับน�้าทะเล 100-600 เมตร ส่วนในพม่าพบขึ้นอยู่ตามพื้นที่ราบหรือเนินสูงต�่า และพบขึ้นในที่สูง จากระดับน�้าทะเลประมาณ 750 เมตร การใช้ประโยชน์: ประดู่มีเนื้อไม้สีแดงอมเหลือง เสี้ยนสนเป็นริ้ว เนื้อละเอียดปานกลาง มีลวดลายสวยงาม ใช้ท�าเสา พื้นต่อเรือ เครื่องเรือน เครื่องดนตรี แก่นสีแดงคล�้าใช้ย้อมผ้า และเปลือกให้น�้าฝาดใช้ฟอกหนัง
13) ซายเด่น ไซเดน ทรายเดน >> ชื่อไทย: กระเจียน ชื่อวิทยาศาสตร์: Hubera cerasoides Roxb.) Chaowasku ชื่อวงศ์: Annonaceae ชื่อสามัญ: Cherry Ashok ชื่อท้องถิ่น: ค่าสามซีก (เชียงใหม่) เหลือง ไม้เหลือง (ล�าปาง) จันทน์ดง ทรายเด่น (ขอนแก่น) ไชยเด่น (อุบลราชธานี) ซายเดน ไซเดน (มหาสารคาม) แคหาง (ราชบุรี) กะเจียน พญารากด�า (ชลบุรี) โมดดง (ระยอง) สะบันงาป่า (ภาคเหนือ) เสโพลส่า (ไทใหญ่-แม่ฮ่องสอน) หมอยาพื้นบ้านส่วนใหญ่เรียกสมุนไพรชนิดนี้ว่า “พญารากด�า”
36 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: กระเจียนเป็นไม้ยืนต้นที่มีขนาดปานกลาง สูง 5-15 เมตร ใบเป็นแบบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกออกเป็นดอกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกลุ่มไม่เกิน 3 ดอก ตามง่ามใบและเหนือรอยแผลใบตามกิ่ง กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบดอกสีเขียวอ่อน เรียงสลับกัน 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ ผลเป็นผลกลุ่ม อยู่บนแกนตุ้มกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่จัดเป็นสีแสด การใช้ประโยชน์: สรรพคุณทางยาของกระเจียน พบว่าเนื้อไม้มีรสขม ใช้ต้มกับน�้าดื่มเป็นยาบ�ารุงธาตุ ช่วยเจริญอาหาร แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้เจ็บหลัง ปวดเอว แก้ปัสสาวะ ใช้ต้มกับน�้าดื่มเป็นยาแก้วัณโรค ในล�าไส้ วัณโรคในปอด ใช้ฝนกับน�้าปูนใสทาเกลื่อนหัวฝี ราก ต้มน�้าดื่มแก้กษัย ไตพิการ เป็นยาแก้ไข้ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย โดยต้มน�้าดื่มครั้งละ 1 ถ้วย วันละ 3 เวลา คุมก�าเนิดในสตรี (ตามภูมิปัญญาอีสาน ต้องใช้ส่วนปลายสุดของราก) แต่กลับบ�ารุงก�าลังส�าหรับบุรุษ รากหรือเนื้อไม้ใช้ต้มกับน�้าดื่มเป็นยาแก้กษัย (อาการป่วยที่เกิดจากหลายสาเหตุ ท�าให้ร่างกายเสื่อมโทรม ซูบผอม ปวดเมื่อย โลหิตจาง ไตพิการ) ต�ารายาพื้นบ้านจะใช้รากกะเจียนน�ามาต้มกับน�้าดื่มครั้งละ 1 ถ้วย วันละ 3 ครั้ง เป็นยาบ�ารุงก�าหนัด เพิ่มพลังทางเพศ บ�ารุงก�าลังส�าหรับบุรุษ กินแล้วกระชุ่มกระชวย คลายเส้นเอ็น และช่วยปรับสภาพร่างกาย ใบสดมีรสเฝือ่ นเย็น ใช้ตา� พอกฝี แก้ปวด แก้อกั เสบ การรักษาผูป้ ว่ ยทีเ่ ป็นมะเร็งทีว่ ดั ค�าประมงใช้กระเจียนเข้ายา ในการรักษาด้วย กระเจียนในต�ารับนี้มีชื่อพื้นบ้านว่า “ผีหมอบ” หรือ “ฝีหมอบ” อาจมาจากสรรพคุณ ของกระเจียนที่ช่วยรักษาแผลฝีหนองที่เกิดจากมะเฮ็งหรือมะเร็งได้ หมอพื้นบ้านที่มีชื่อเสียงมากท่านหนึ่ง คือ พ่อสง่า จุฬารมภ์ อ�าเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา มีต�ารับยารักษาพิษที่เกิดจากงูกัดต�ารับหนึ่งที่มี การเข้ายาด้วยรากกระเจียน การใช้ประโยชน์อย่างอื่นของกะเจียน เช่น ผลสุกในส่วนของเนื้อหุ้มเมล็ดจะมีรสหวาน สามารถ น�ารับประทานได้ เนื้อไม้มีสีขาวอมเหลือง ใช้ท�าเฟอร์นิเจอร์ได้ สามารถน�ามาใช้ท�าด้ามเครื่องเกษตรกรรม ทั่วไปได้ กระเจียนมีถิ่นก�าเนิดในประเทศจีน เมียนมาร์ ศรีลังกา อินเดีย อินโดนีเซีย ไทย ลาว
14) กะเดา >> ชื่อไทย: สะเดา ชื่อวิทยาศาสตร์: Azadirachta indica A.Juss. ชื่อวงศ์: Meliaceae ชื่อสามัญ: Neem tree ชื่อท้องถิ่น: สะเลียม (ภาคเหนือ) กะเดา (ภาคใต้) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: มีถิ่นก�าเนิดในประเทศอินเดีย เป็นไม้ยืนต้น สูง 5-10 เมตร มี ใบเป็นใบประกอบ แบบขนนก ออกเรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาวนวล ผลอ่อนสีเขียว สุกเป็นสีเหลืองส้ม เมล็ดเดี่ยว การใช้ประโยชน์: ใช้ประโยชน์ได้มากมายทั้งเป็นอาหารและสร้างที่อยู่อาศัย ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด แต่ตอ้ งรีบน�าไปเพาะทันทีหลังจากเมล็ดร่วง มิฉะนัน้ จะสูญเสียความสามารถในการงอกไปอย่างรวดเร็ว ยอดอ่อน และดอกอ่อนใช้รบั ประทานเป็นผักสดหรือใช้ลวกกินกับน�า้ พริกหรือลาบ ส่วนแกนในยอดอ่อนใช้ประกอบอาหาร ได้ เช่น การน�ามาท�าเป็นแกง (ภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธุ์ลั้วะ) น�้าปลาหวานสะเดา เป็นอาหารที่ให้พลังงาน ค่อนข้างสูง ให้โปรตีนระดับปานกลาง แต่ให้ไขมันต�่า มีแร่ธาตุและวิตามิน ช่วยแก้ไข้หัวลม บรรเทาความร้อนใน ร่างกาย ช่วยปรับธาตุให้สมดุล ช่วยท�าให้เจริญอาหาร ทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงและป้องกันโรคมะเร็งได้อีกด้วย
37 หากสุนัขเป็นขี้เรื้อน ให้ใช้ใบสะเดาน�ามาต�าให้ละเอียดผสมกับน�้าชโลมให้ทั่วตัวสุนัข จะช่วยรักษาโรคขี้เรื้อนได้ ไม้สะเดา มีลกั ษณะคล้ายกับเนือ้ ไม้มะฮอกกานี เมือ่ มีอายุมากเนือ้ ไม้ยงิ่ แกร่งเหมือนไม้แดง ไม้ประดู่ เหมาะส�าหรับ น�ามาใช้ท�าเฟอร์นิเจอร์หรือสิ่งก่อสร้าง ในบ้านเรานิยมใช้ในการก่อสร้างบ้านเรือน เช่น ท�าเสาบ้าน ท�าฝาบ้าน ไม้กระดานปูพื้น เครื่องบนที่รองรับน�้าหนักจากคาน ตง เป็นต้น พบว่ามอดยังไม่กินอีกด้วย หรือน�าไปท�าเป็น เครื่องมือเครื่องใช้ เนื่องจากเนื้อไม้สะเดามีความทนทาน ขัดเงาได้ดี มีสีแดงสวย และยังสามารถน�ามาใช้ท�า เป็นไม้ฟนื ได้ดี เพราะเนือ้ ไม้ให้ความร้อนจ�าเพาะสูง ต้นสะเดาเป็นต้นไม้ทปี่ ลูกได้งา่ ย เติบโตเร็ว ทนทานต่อสภาพ อากาศแห้งแล้งได้ดี และยังมีอายุยืนยาว อาจอยู่ได้นานถึง 200 ปี ใช้ปลูกเป็นแนวรั้วหรือปลูกเพื่อให้ร่มเงาได้ สารสกัดสะเดาที่มีในเมล็ดและใบ ใช้เป็นสารป้องกันและก�าจัดแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด ชนิด เช่น ด้วงเต๋า ตั๊กแตน เพลี้ยกระโดดสีเขียว เพลี้ยอ่อน เพลี้ยจั๊กจั่นสีเขียว มอดข้าวโพด มอดแป้ง แมลงหวี่ขาวยาสูบ แมลงวัน ผลไม้ ใบส้ม หนอนกอ หนอนกอสีครีม หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนใยกะหล�่า หนอนใยผัก ฯลฯ ยกเว้นด้วงและ แมลงปีกแข็ง ช่วยต่อต้านการดูดกิน ยับยั้งการเจริญเติบโต ท�าให้หนอนหรือตัวอ่อนไม่ลอกคราบและยังใช้ก�าจัด ไส้เดือนฝอยในดินได้อีกด้วย ไม่มีสารพิษตกค้าง ไม่เป็นอันตราย และไม่ท�าลายศัตรูธรรมชาติ โดยน�้ายาที่ได้นี้ สามารถเก็บไว้ได้นานหลายวัน แต่ต้องเก็บให้พ้นแสงหรือเก็บในขวดสีทึบหรือสีชา ในประเทศอินเดียได้มีการ น�าต้นสะเดามาปลูกในพื้นที่แห้งแล้ง เพื่อช่วยในการปรับปรุงดินและได้ผลเป็นอย่างดี ใช้ในอุตสาหกรรมเคมี โดยเปลือกของต้นสะเดาจะมีสารจ�าพวกน�้าฝาดอยู่ประมาณ 12-14% จากการศึกษาพบว่าน�้าฝาดที่ได้จากต้น สะเดาสามารถใช้ประโยชน์ได้ดีกว่าน�้าฝาดที่มาจากพืชชนิดอื่น เปลือกต้นสะเดาน�ามาย้อมสีให้สีแดง ส่วนยาง ให้สเี หลือง เมล็ดสะเดามีนา�้ มันอยูป่ ระมาณ 40% สามารถน�ามาใช้ทา� เป็นน�า้ มันเชือ้ เพลิง น�า้ มันหล่อลืน่ เครือ่ งยนต์ ได้ นอกจากนี้ยังใช้ท�าสบู่ เครื่องส�าอาง และใช้ผสมยารักษาโรคต่าง ๆ เช่น ยารักษาโรคผิวหนัง ยารักษาเส้นผม ยาสีฟัน ยารักษาสิว เนื่องจากมีคุณสมบัติช่วยต้านเชื้อก่อโรคฟันผุและช่วยต้านเชื้อก่อสิว คนไทยสมัยก่อนถือว่า ต้นสะเดาเป็นไม้มงคล หากปลูกไว้ในบริเวณบ้านทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยเชื่อว่าจะช่วยป้องกันโรคร้ายต่าง ๆ ส่วนในบางพื้นที่เชื่อกันว่ากิ่งและใบของต้นสะเดาจะช่วยป้องกันภูตผีปีศาจได้
15) นารี >> ชื่อไทย: เลี่ยน ชื่อวิทยาศาสตร์: Melia azedarach L. ชื่อวงศ์: Meliaceae ชื่อสามัญ: Bastard cedar, Bead tree, Chaina tree, Chinaball tree, Persian lilac, White cedar ชือ่ ท้องถิน่ : เกรียน เคีย่ น เฮีย่ น (ภาคเหนือ) เลีย่ นใบใหญ่ เคีย่ น เลีย่ น เกษมณี (ภาคกลาง) เลีย่ นดอกม่วง (ทัว่ ไป) ล�าเลี่ยน (ลั้วะ) โขวหนาย (จีนแต้จิ๋ว) ขู่เลี่ยน ขู่เลี่ยนซู่ (จีนกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูงประมาณ 20-30 เมตร เป็นต้นไม้ที่มีการเจริญเติบโตเร็ว ใบออกเป็นช่อ ช่อหนึ่งมีใบอยู่ประมาณ 3-5 ใบ ดอกเป็นช่อ เป็นกระจุกใหญ่ออกตามปลายกิ่งที่ง่ามใบ ดอกมีสีม่วงอ่อนหรือสีฟ้า กลิ่นหอม ผลกลม รี สีเขียว เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง มีเมล็ดประมาณ 4-5 เมล็ด การใช้ประโยชน์: ทุกส่วนของต้นเลี่ยน รสขม เมา แก้โรคผิวหนัง แก้โรคเรื้อนและกุดถัง ท�าให้ผิวหนังด�าเกรียม แล้วลอกเป็นขุย เป็นยาอายุวัฒนะ ท�าให้ร่างกายแข็งแรง ยางแก้ม้ามโต เมล็ดแก้ปวดในข้อ ผลแก้โรคเรื้อน และฝีคันทะมาลา ดอกแก้โรคผิวหนัง น�้าคั้นจากใบขับพยาธิ ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว บ�ารุงโลหิต ประจ�าเดือน ดอกและใบพอกแก้ปวดศีรษะ ปวดประสาท เปลือกต้นใช้รักษาเหา
38
16) ตีนเป็ด >> ชื่อไทย: ตีนเป็ด ชื่อวิทยาศาสตร์: Alstonia scholaris (L.) R. Br. ชื่อวงศ์: Apocynaceae ชื่อสามัญ: Devil tree, White cheesewood, Blackboard tree, Devil’s bark ชื่อท้องถิ่น: หัสบรรณ (กาญจนบุรี) กะโน้ะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) สัตบรรณ (ภาคกลาง เขมร-จันทบุรี) พญาสัตบรรณ ชบา ตีนเป็ด (ภาคกลาง) บะซา ปูลา ปูแล (มลายู-ยะลา-ปัตตานี) ยางขาว (ล�าปาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้นสูงประมาณ 15-30 เมตร ใบเป็นแบบเรียงกันเป็นวง 5-7 ใบ ใบเป็นแบบใบประกอบนิ้วมือ ดอกเล็กสีเขียวอมเหลืองหรืออมขาว ดอก มีกลิ่นแรง บางคนแพ้มากอาจท�าให้ หน้าบวม ไอ จาม ถ้าสูดดมบ่อย ๆ อาจท�าให้เกิดภูมิแพ้ได้ ผลเป็นฝักยาวเรียวสีเขียว เมล็ดขนาดเล็ก ค่อนข้างกลมหรือรี มีขนยาวอ่อนนุ่มปุกปุย ติดอยู่ปลายทั้งสองข้าง เมล็ดแก่ประมาณเดือนมีนาคม การใช้ประโยชน์: ไม้ตีนเป็ดเป็นไม้ที่โตเร็ว เบา จึงน�ามาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตดินสอ ในศรีลังกานิยม น�ามาใช้ท�าโลงศพ ในหมู่เกาะบอเนียว น�ามาใช้เป็นทุ่นของอวนจับปลา และเครื่องใช้ในครัวเรือน ประโยชน์ ทางยารากมีรสร้อนเล็กน้อย ใช้รักษาโรคมะเร็ง เป็นยาขับลมในล�าไส้ ในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้รากรักษาโรค เกี่ยวกับตับ เปลือกต้นมีรสขมเย็น รักษาโรคเบาหวาน โรคบิด แก้โรคตับ หลอดลมอักเสบ แก้โรคท้องร่วงเรื้อรัง ขับพยาธิไส้เดือน แก้ไอ แก้ไข้ เป็นยาสมานแผลในล�าไส้ ขับน�้านม ขับระดู แก้ไข้หวัด น�้ามูกไหล ขับน�้าเหลืองเสีย รักษามาลาเลีย ในประเทศอินเดียใช้เป็นยารักษาอาการท้องเสียเรือ้ รัง เป็นสมุนไพรทีม่ กี ารบรรจุไว้ในเภสัชต�ารับ ของอินเดียว่าเป็นยาชูก�าลัง ยาถ่ายพยาธิและยาแก้อักเสบ
17) เอกมหาชัย >> ชื่อไทย: เอกมหาชัย ชื่อวิทยาศาสตร์: Simarouba amara Aubl. ชื่อวงศ์: Simaroubaceae ชื่อสามัญ: bitter ash, bitterwood, mountain damson, stave-wood ชื่อท้องถิ่น: เป็นไม้ที่น�าเข้ามาจากอเมริกาใต้ น�าเข้ามาปลูกในประเทศเมื่อไม่นานมานี้ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้น ไม่ผลัดใบ สูงได้ถึง 35 เมตร พบต้นที่มีอายุเก่าแก่มากที่สุด 121 ปี ใบเป็นแบบใบประกอบ ดอกเกิดบนช่อดอกที่มีความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร ซึ่งแตกกิ่งก้านสาขาและมีดอก ปกคลุมหนาแน่น ดอกมีลักษณะเป็นกะเทยขนาดเล็ก (ยาว <1 ซม.) และมีสีเหลืองซีด ผลมีสีเขียวสดใสถึงด�าอม ม่วง มีเมล็ดขนาดใหญ่ เกิดเป็นกลุ่ม 3-5 ผล การใช้ประโยชน์: ในท้องถิ่นของอเมริกาใต้ใช้ผลิตกระดาษ เฟอร์นิเจอร์ ไม้อัดและไม้ขีดไฟและยังใช้ ในการก่อสร้างด้วย เป็นไม้ที่มีน�้าหนักเบาเป็นที่ต้องการมากในตลาดยุโรปเพื่อใช้ในการท�าเฟอร์นิเจอร์และ ไม้วีเนียร์ชั้นดี ได้รับการบันทึกว่าเป็นหนึ่งในสายพันธุ์ที่ดีที่สุดส�าหรับไม้ที่สามารถปลูกได้ในเปรู อเมซอน ขี้กบไม้ ของไม้เอกมหาชัยถูกน�ามาใช้ในเครื่องนอนของสัตว์ซึ่งท�าให้ม้าและสุนัข แต่พบว่ามีพิษต่อสัตว์ ผลมีน�้ามันมาก คนพื้นเมืองใช้มาท�าคบไฟ ในอีสานพบมากตามโรงเรียนต่าง ๆ
39
18) หมี่ >> ชื่อไทย: หมีเหม็น ชื่อวิทยาศาสตร์: Litsea glutinosa (Lour.) C.B.Rob. ชื่อวงศ์: Lauraceae ชื่อสามัญ: - ชื่อท้องถิ่น: ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้น สูง 5-15 เมตร ผลัดใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ เนื้อใบค่อนข้างหนา มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ดอกช่อซี่ร่มออกที่ซอกใบ แยกเพศอยู่คนละต้น ดอกย่อยสีเหลือง ไม่มีกลีบดอก ผลสด รูปทรงกลม ผิวมัน เรียบ ผลอ่อนสีเขียว แก่สีม่วงเข้มเกือบด�า มีเมล็ดเดียวแข็ง ออกดอกราวเดือนกุมภาพันธ์ ถึงตุลาคม พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบ การใช้ประโยชน์: ต�ารายาไทย ใช้ ใบ ขยี้กับน�้า สระผม พอกศีรษะ ฆ่าเหา ขับปัสสาวะ แก้อาการระคายเคือง ของผิวหนัง ใบและเมล็ด มีรสฝาดเฝื่อน ต�าพอกฝี แผลหนอง แก้ปวด ราก เป็นยาฝาดสมาน และบ�ารุงก�าลัง เปลือกต้น เป็นยาฝาดสมาน แก้บิด ท้องเสีย แก้ปวดมดลูก แก้เจ็บปวดตามกล้ามเนื้อ ฝนทาแก้พิษแมลงกัดต่อย ผืน่ คันแสบร้อน บดเป็นผงผสมกับน�า้ หรือน�้านมทาแก้แผลอักเสบ ผลดิบ ให้น�้ามันเป็นยาถูนวดแก้ปวด ผลสุก กิน ได้ เมล็ด ต�าเป็นยาพอกฝี ราก แก้ปวดกล้ามเนื้อ ยาง มีรสฝาดร้อน ต�าพอกทาแก้ฟกช�้า แก้ช�้าบวม ต�ารายา พื้นบ้านอ�านาจเจริญ ใช้ ราก รักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ ฝนทาฝี เปลือก ฝนทาแก้ฝี ใบเป็นยาสระผม ใบย้อมผ้าให้สีเขียว
19) ก้านของ กางของ >> ชื่อไทย: ปีบ ชื่อวิทยาศาสตร์: Millingtonia hortensis L.f. ชื่อวงศ์: Bignoniaceae ชื่อสามัญ: Cork tree, Indian cork ชื่อท้องถิ่น: เต็กตองโพ่ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), กาซะลอง กาสะลอง กาดสะลอง กาสะลองค�า (ภาคเหนือ), ปีบ ก้องกลางดง (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูงได้ถึง 25 เมตร ใบประกอบแบบ ขน 2-3 ชั้น ออกเรียงตรงข้าม มีใบย่อย 4-6 คู่ ดอกออกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ผลเป็นฝักแบน ยาวแคบ เมล็ดแบน จ�านวนมาก รูปหยดน�้า มีปีกสีขาว ค่อนข้างบางใสอยู่โดยรอบเมล็ด ออกดอกราว เดือนกันยายนถึงธันวาคม ติดผลราวเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์ การใช้ประโยชน์: ต�ารายาไทย ดอกมีรสหวานขมหอม ขยายหลอดลม มวนเป็นบุหรีส่ บู รักษาหืด สูบแก้รดิ สีดวง จมูก ไซนัสอักเสบ บ�ารุงน�้าดี เพิ่มการหลั่งน�้าดี บ�ารุงโลหิต บ�ารุงก�าลัง แก้ลม ดอกใส่ปนกับยาไทย มวนสูบ ท�าให้ปากหอม ราก รสเฝื่อน บ�ารุงปอด แก้หอบ แก้วัณโรคและโรคปอด แก้ไอ แก้เหนื่อยหอบ เปลือก แก้ไอ ขับเสมหะประเทศแถบเอเชียใต้ (อินเดีย จีน พม่า) ใบและราก ใช้แก้หืด ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ใบ ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย แก้ไข้ แก้ไซนัสอักเสบ เพิ่มการหลั่งน�้าดี เป็นยาบ�ารุง ล�าต้น บ�ารุงปอด และแก้ไอ เปลือกต้น ใช้เป็นสีย้อม ให้สีเหลือง ดอก ใช้รักษาหืด ไซนัสอักเสบ เพิ่มการหลั่งน�้าดี เป็นยาบ�ารุง ใช้ใส่ในยาสูบเพื่อรักษาโรคที่ล�าคอ หมอยาพื้นบ้านจังหวัดอ�านาจเจริญใช้กิ่งที่มีเนื้อไม้มาปิ้งไฟพอเกรียม แช่น�้าดื่มแก้ไอ
40
20) กระโดน >> ชื่อไทย: กระโดน ชื่อวิทยาศาสตร์: Careya arborea Roxb. ชื่อวงศ์: Lecythidaceae ชื่อสามัญ: Tummy-wood, Patana oak ชื่อท้องถิ่น: หูกวาง (จันทบุรี) ขุย (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) แซงจิแหน่ เส่เจ๊ออะบะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) พุย (ละว้า-เชียงใหม่) ปุยขาว ผักฮาด ผ้าฮาด (ภาคเหนือ) กระโดนโคก กระโดนบก ปุย (ภาคเหนือ ภาคใต้) ต้นจิก (ภาคกลาง) ปุยกระโดน (ภาคใต้) เก๊าปุย (คนเมือง) ละหมุด (ขมุ) กะนอน (เขมร) กระโดนโป้ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้น สูง 10-20 เมตร ผลัดใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับเวียนเป็นกลุ่มตามปลายกิ่ง ดอกขนาดใหญ่ ช่อแบบกระจะ ออกตามปลายกิ่งที่ไม่มีใบ กลีบดอก 4 กลีบ ร่วงง่าย ดอกบานกลางคืน และ มักร่วงตอนเช้า ผลกลมหรือรูปไข่ เมล็ดแบน เป็นรูปไข่ สีน�้าตาลอ่อน พบขึ้นทั่วไปตามป่าเบญจพรรณ และ ป่าเต็งรัง ออกดอกช่วงเดือนมกราคม ถึงเมษายน ออกผลราวเดือนกุมภาพันธ์ถึงมิถุนายน การใช้ประโยชน์: ยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักจิ้มได้สด ๆ มีรสฝาด เปลือกใช้ต้มย้อมผ้าให้สีน�้าตาลแดง ได้เส้นใยที่ได้จากเปลือกใช้ท�าเชือก ท�าเบาะรองหลังช้าง ท�ากระดาษสีน�้าตาล ในอดีตคนอีสานเอาเปลือกมาทุบ ให้นุ่มใช้รองนอน ยาพื้นบ้านอีสานใช้เปลือกต้น แก้น�้ากัดเท้า แก้โรคกระเพาะอาหาร สมานแผลภายใน ต�ารายา ไทยใช้ เปลือกต้น รสฝาดเมา แช่น�้าดื่มแก้ปวดท้อง ท้องเสีย แก้พิษงู แก้อักเสบจากงูกัด ใช้เป็นยาสมาน ใช้สมานแผล แก้เคล็ดเมื่อย ใบ รสฝาด ใช้รักษาแผลสด โดยนึ่งให้สุกใช้ปิดแผล หรือปรุงเป็นน�้ามันสมานแผล ดอก รสสุขุมบ�ารุงร่างกายหลังคลอดบุตร แก้หวัด แก้ไอ ท�าให้ชุ่มคอ ผล รสจืดเย็น ช่วยย่อยอาหาร บ�ารุง หลังคลอด ดอก และน�้าจากเปลือกสด ใช้ผสมกับน�้าผึ้ง กินเป็นยาแก้หวัด แก้ไอ ท�าให้ชุ่มคอ และเป็นยาบ�ารุง ส�าหรับสตรีหลังคลอดบุตร ใบอ่อน และยอดอ่อน รับประทานสดเป็นผักจิ้ม มีรสฝาด ต้น ผสมกับเถายางน่อง และดินประสิว เคี่ยวให้งวด ตากแห้ง ใช้ปิดแผลมีพิษ ปิดหัวฝี เมล็ด รสฝาดเมา เป็นพิษ เมล็ดเป็นพิษ รากมีพิษ ใช้เบื่อปลา ส่วนใบและยอดอ่อนมีปริมาณกรดออกซาลิค (oxalic acid) ในปริมาณค่อนข้างสูงอาจเป็นสาเหตุ เบื้องต้นของการเกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
21) ส้มโฮง >> ชื่อไทย: ส�าโรง ชื่อวิทยาศาสตร์: Sterculia foetida L. ชื่อวงศ์: Malvaceae ชื่อสามัญ: Bastard poon, Pinari ชื่อท้องถิ่น: จ�ามะโฮง (เชียงใหม่) มะโรง มะโหรง (ปัตตานี) โหมโรง (ภาคใต้) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 30 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ กางแผ่ออก จากจุดเดียวกัน เรียงเวียนตอนปลายกิ่ง ใบย่อย 5-7 ใบ ดอกสีแดงหรือสีแสด มีกลิ่นเหม็น ออกเป็นช่อแยกแขนง ที่ปลายกิ่งหรือซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกออกช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม ผลเป็นแบบแห้งแตกเปลือกแข็ง สีแดงปนน�้าตาล เมื่อแก่แตกออกเป็น 2 ซีก ภายในมีเมล็ดสีด�ารูปขอบขนาน 10-15 เมล็ด ผลออกช่วงเดือน มกราคมถึงเมษายน การใช้ประโยชน์: เปลือกต้นและใบส�าโรงมีสรรพคุณเป็นยาระบายอย่างอ่อน ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ เมล็ด รับประทานได้เหมือนถั่ว รสชาติคล้ายโกโก้ แต่มีฤทธิ์เป็นยาระบายอ่อน ๆ น�้ามันจากเมล็ดใช้ในทางการแพทย์ และเป็นเชือ้ เพลิงชีวภาพ เป็นของเล่นชนิดหนึง่ เด็กอีสาน โดยจะเอาก้านใบของมะพร้าวมาเสียบทีเ่ มล็ดจุดท�าเป็น บั้งไฟ เป็นไม้ที่ห้ามปลูกในบ้าน เพราะดอกมีกลิ่นเหม็นมาก ท�าให้เกิดภูมิแพ้ได้
41
22) ดูกไส >> ชื่อไทย: ขันทองพยาบาท ชื่อวิทยาศาสตร์: Suregada multiflora (A.Juss.) Baill. ชื่อวงศ์: Euphorbiaceae ชื่อสามัญ: False Lime ชื่อท้องถิ่น: ยางปลวก ยางปลอก ยายปลวก ฮ่อสะพานควาย (แพร่ น่าน) ทุเรียนป่า ไฟ (ล�าปาง) ขุนตาก ข้าวตาก (กาญจนบุรี) ขันทองพยาบาทเครือ ขัณฑสกร ช้องล�าพัน สลอดน�้า (จันทบุรี) มะดูกดง (ปราจีนบุรี) ขันทอง (พิษณุโลก) ดีหมี (พิษณุโลก อุตรดิตถ์), ขันทองพยาบาท ดูดหิน (สระบุรี) ดูกใส ดูกไทร ดูกไม้ เหมือนโลด (เลย) ดูกไหล (นครราชสีมา) ขนุนดง ขุนดง (หล่มสัก-เพชรบูรณ์) ข้าวตาก ขุนทอง คุณทอง (ประจวบคีรีขันธ์) ขอบนางนั่ง (ตรัง) มะดูกเหลื่อม (ภาคเหนือ) มะดูกเลื่อม (ภาคอีสาน) ขันทองพยาบาท มะดูก หมากดูก (ภาคกลาง) กะดูก กระดูก (ภาคใต้) หมากดูด (ไทย) เจิง โจ่ง (ส่วย-สุรินทร์) ป่าช้าหมอง (แพร่) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้น สูง 7-13 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวแบบเรียงสลับ ดอกเป็นช่อกระจาย ตรงซอกใบ ช่อละ 5–10 ดอก มีสีเขียวอมเหลืองอ่อนมีกลิ่นหอม ผลอ่อนมีสีเขียวเมื่อสุกมีสีเหลืองอมส้ม มีติ่งเล็ก ๆ ที่ยอด เมล็ดค่อนข้างกลมมีสีน�้าตาลเข้ม มีเนื้อบาง ๆ สีขาวหุ้มเมล็ด การใช้ประโยชน์: ต�ารายาพื้นบ้านอีสานใช้เป็นยาเข้าต�ารับรักษากระดูก ต�ารายาไทย แก่น รสเฝื่อนเมา แก้โรคผิวหนัง กลาก เกลื้อน แก้ลมพิษ แก้ประดง แก้พิษในกระดูก ฆ่าพยาธิ แก้โรคเรื้อน มะเร็งคุดทะราด แก้กามโรค เนื้อไม้ รสเมาเบื่อ แก้กามโรค แก้น�้าเหลืองเสีย แก้ไข้ แก้โรคผิวหนัง แก้มะเร็งคุดทะราด แก้กลากเกลื้อน แก้ลมพิษ แก้ประดงผื่นคัน แก้ประดง แก้พิษในกระดูก ฆ่าพยาธิ แก้โรคเรื้อน แก้ลมและโลหิตเป็นพิษ บัญชียาจากสมุนไพรทีม่ กี ารใช้ตามองค์ความรูด้ งั้ เดิม ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ในบัญชี ยาหลักแห่งชาติ ระบุการใช้ขันทองพยาบาทในต�ารับ “ยาผสมเถาวัลย์เปรียง” มีส่วนประกอบของแก่นขันทอง พยาบาทร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่นๆ ในต�ารับ มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย
23) ปะค�าไก่ มะค�าป่า >> ชื่อไทย: มะค�าไก่ ชื่อวิทยาศาสตร์: Putranjiva roxburghii Wall. ชื่อวงศ์: Putranjivaceae ชื่อสามัญ: Lucky Bean Tree ชื่อท้องถิ่น: มะค�าไก่ มะค�าดีไก่ (ภาคกลาง) หมากค้อ มักค้อ (ขอนแก่น) ปะอานก ยาแก้ โอวนก (เหนือ) ทะขามกาย(ตะวันออก) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ต้นมะค�าป่า (ประค�าป่า)ต้นไม้ประจ�าเมืองโกสุมพิสยั ในจดหมายเหตุ การตัง้ เมือง โกสุมพิสัย ได้ระบุว่าชาวบ้านวังท่าหอขวางได้ท�าดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง ไปถวาย กรมหมื่นสรรพสิทธิประสงค์ จนได้ ส ารตราตั้ ง เมื อ งโกสุ ม พิ สั ย มา เพราะสมั ย นั้ น พื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ เ ต็ ม ไปด้ ว ยต้ ม มะค� า ป่ า (ซึ่ ง น่ า จะเป็ น ภาษาถิ่นเรียก) เมื่อสืบหาต้นไม้ประจ�าเมืองที่ยังพอหลงเหลือถึงปัจจุบันเพียงไปกี่ 10 ต้นก็เทียบเคียงได้ว่า ต้นมะค�าป่าในต�านานนั้นใกล้เคียงกับต้น ประค�าไก่ ประค�าไก่เป็นไม้ต้น ต้นและกิ่งก้านสีขาวนวล กิ่งทอดห้อยลง ใบเดีย่ ว เรียงสลับ ดอกเพศผูแ้ ละเมียอยูต่ า่ งต้นกัน ผลรูปทรงกลม สีขาวอมเทา สุกสีดา� ขยายพันธุโ์ ดยเพาะเมล็ด การใช้ประโยชน์: ต้นเป็นยาเย็น ขับและปัสสาวะ ระบาย กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ ใบ ผล เมล็ด กินเป็นยา ลดไข้ และแก้หวัดและแก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย รากมีรสขมเบื่อเล็กน้อย แก้กระษัย แก้เส้นเอ็น ท�าให้เส้นเอ็น หย่ อ น ถ่ า ยฝี ภ ายในทั้ ง 5 หรื อ มะเร็ ง แก้ วั ณ โรค ขั บ ปั ส สวะ ใบมี ร สขมเบื่ อ เล็ ก น้ อ ย แก้ ริ ด สี ด วงทวาร
42 แก้พิษฝีในกระดูก ปอด ตับ ม้าม กระเพาะ ล�าไส้ แก้กระษัย ขับปัสสาวะ ต�าพอกฝี ปรุงยาถ่ายพิษฝี ถ่ายเส้น ถ่ายกระษัย ยาทาพระเส้น ยาต�ารับนี้ใช้ทาแก้โรคเส้นพิรุธ แก้ลมอัมพาต ลมปัฏฆาตกร่อน ตะคริว จับโปง เมื่อยขบ ส�าหรับส่วนผสมในต�ารับยาก็คือ พริกไทย ข่า กระชาย หอม กระเทียม มหาหิงคุ์ ยาด�า ทั้ง 7 อย่างนี้ ให้น�ามาอย่างละ 1 ส่วน ตะไคร้หอม ใบขี้เหล็ก ใบตองแตก ใบมะขาม ใบเลี่ยน ทั้ง 5 อย่างนี้ให้น�ามาอย่างละ 4 ส่วน นอกจากนี้ยังมี ใบมะค�าไก่ 16 ส่วน น�าส่วนผสมเหล่านี้มาต�าให้ละเอียด แล้วน�ามาห่อด้วยผ้าขาวบาง คั้นเอาแต่น�้ามาทาบริเวณที่มีอาการเส้นตึง เป็นตะคริว หรือเมื่อขบ
24) คัดเค้า >> ชื่อไทย: คัดเค้า ชื่อวิทยาศาสตร์: Oxyceros horridus Lour. ชื่อวงศ์: Rubiaceae ชื่อสามัญ: Fragrant randia ชือ่ ท้องถิน่ : เค็ดเค้า (เหนือ) หนามลิดเค้า จีเก๊า (เชียงใหม่) พญาท้าวเอว (กาญจนบุร)ี คัดเค้าเครือ (นครราชสีมา) คัดเค้าหนาม (ชัยภูมิ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้รอเลื้อยเนื้อแข็ง สูง 3-6 เมตร เนื้อไม้เหนียวมาก มีหนามแหลม ปลายโค้งแข็ง เป็นคู่ตามข้อและโคนใบ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ดอกออกเป็นช่อกระจุกตามซอกใบและปลายกิ่ง เมื่อแรกบานสีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีแกมเหลือง ผลสดแบบผลกลุ่ม รูปกลมรี สีเขียวเข้ม เมื่อแก่สีด�า เมล็ดขนาด เล็กมีจ�านวนมาก พบตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และตามป่าละเมาะตั้งแต่ระดับน�้าทะเลจนถึง 500 เมตร ออกดอกเดือนธันวาคมถึงมกราคม ติดผลราวเดือนเมษายน ดอกส่งกลิ่นหอมแรงเวลาเย็นถึงกลางคืน การใช้ประโยชน์: ต�ารายาไทย ทั้งต้น มีรสฝาด แก้เสมหะ และโลหิต บ�ารุงโลหิต แก้ไข้ ใบ แก้โลหิตซ่าน แช่น�้าดื่มแก้ไข้ ราก มีรสเย็นฝาดเล็กน้อย แก้ไข้ และเลือดออกตามไรฟัน แก้เสมหะ ดอก รสขมหอม แก้โลหิต ในกองก�าเดา แก้เลือดออกตามไรฟัน ผล รสเฝื่อนปร่า ปรุงเป็นยาต้มฟอกโลหิตระดูท่ีเน่าร้ายของสตรี เป็นยา ขับประจ�าเดือน ฟอกเลือด บ�ารุงโลหิต ผลมีสารจ�าพวกไตรเทอร์ปีนซาโปนิน มีฤทธิ์เบื่อปลา ราก รสฝาดเย็น ช่วยขับเลือด แก้ไข้ แก้เลือดออกตามไรฟัน ขับลม รากและผล ขับระดู บ�ารุงโลหิต ขับฟอกโลหิต แก้ท้องเสีย รากหรือแก่น ฝนน�้ากินแก้ไข้ เปลือกต้น แก้เสมหะและโลหิตซ่าน รีดมดลูก แก้เลือดออกในทวารทั้งเก้า หนาม แก้ฝีประค�าร้อย แก้พิษฝีต่างๆ ลดไข้ ลดความร้อน แก้ไข้พิษไข้กาฬ แก่น ฝนน�้ารับประทานแก้ไข้
25) เดื่อป่อง >> ชื้อไทย: มะเดื่อปล้อง ชื่อวิทยาศาสตร์: Ficus hispida L.f. ชื่อวงศ์: Moraceae ชื่อสามัญ: Hairy Fig ชื่อท้องถิ่น: เดื่อป่อง (นครราชสีมา กรุงเทพมหานคร) เดื่อปล้อง (นครศรีธรรมราช สระบุรี ภาคเหนือ) เดื่อสาย (เชียงใหม่) ตะเออน่า เอาแหน่ (แม่ฮ่องสอน) มะเดื่อปล้อง (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: สูงได้ถึง 12 เมตร ไม่ผลัดใบ ล�าต้นเรียบมียางสีขาวข้นเหนียว ใบเดี่ยว ผิวใบ จับแล้วสากมือ ดอกช่อ ดอกย่อยเจริญบนฐานรองดอก ดอกมีสามแบบคือดอกสมบูรณ์เพศ ดอกตัวผู้ และ ดอกตัวเมีย ผลชนิดผลแบบมะเดื่อ สีเขียว มียางสีขาว เมื่อแก่แล้ว ฐานรองดอกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมส้ม
43 การใช้ประโยชน์: ใบต้มน�้าดื่ม รักษาไข้ ปัสสาวะเป็นเลือด รากและล�าต้นตัมน�้าดื่ม กระตุ้นการหลั่งน�้านม แก้หวัด รากและเปลือกต้นใช้ตา� แก้ฝี แก้ผนื่ คันตามผิวหนัง ฐานข้อมูลคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กล่าวว่าต�ารายาไทย ผล มีรสขม เป็นยาเย็น แก้กระหายน�้า ฝาดสมาน แก้บิด แก้บวมอักเสบ เป็นยาพอก ใช้ล้างแผล สมานแผล ขับน�้านม แก้โรคผิวหนังเรื้อรัง โรคโลหิตจาง ริดสีดวงทวาร โรคตัวเหลือง เลือดก�าเดาไหล อาการปวดกระเพาะ ไข้จับสั่น ผลแห้ง รักษาแผลในปาก ท�าให้อาเจียน (กินผลดิบท�าให้วิงเวียนได้) ใบ ต้มน�้าดื่ม รักษาอาการไข้หลังคลอดบุตร หนาวสั่น ปัสสาวะเหลืองหรือเป็นเลือด ใส่แผลฝี แผลในจมูก แผลหนองอักเสบ ราก ล�าต้น เหง้า ต้มน�้าดื่ม กระตุ้นการหลั่งน�้านม แก้หวัด รากและเปลือกต้น รสฝาดเฝื่อน ใช้ต�าทาแก้ฝี แก้เม็ดผื่นคันตามผิวหนัง กินแก้พิษในกระดูก กล่อมเสมหะ แก้ท้องเสีย แก้ประดง เปลือกต้น ผล เมล็ด มีฤทธิ์ท�าให้อาเจียน เปลือกต้น เป็นยาท�าให้อาเจียน ยาระบาย ยาพอกฝีมะม่วง ยาบ�ารุง แก้มาลาเรีย แก้ปวดท้องในเด็ก รักษาสิวฝ้า กระดูกแตกหัก ใช้ท�าเชือกหยาบๆ ล�าต้น มีรสเฝื่อนฝาด แก้เม็ดฝี และกินแก้พิษ ในกระดูก ช่อดอกและผลอ่อน รับประทานเป็นผักสดหรือต้มจิ้มน�้าพริก และน�ามาปรุงอาหารจ�าพวกแกงส้ม ใบอ่อน รับประทานได้ ผลสุก ท�าแยม ต�ารายาพื้นบ้านล้านนาใช้ ใบ ต้มน�้าดื่ม รักษาอาการม้ามโต มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะเป็นเลือดหรือ เหลืองจัด ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง มูเซอใช้ ราก ล�าต้น เหง้า ต้มน�้าดื่ม กระตุ้นการหลั่งน�้านม แก้หวัด เปลือกต้น ต้มกับกล้วยน�้าว้า เอาผ้าชุบน�้าพันรอบตัว แก้อาการบวมทั้งตัว
26) เกือ หมากเกือ หมากเกีย >> ชื่อไทย: มะเกลือ ชื่อวิทยาศาสตร์: Diospyros mollis Griff. ชื่อวงศ์: Ebenaceae ชื่อสามัญ: Ebony tree ชื่อท้องถิ่น: มะเกลือ (ทั่วไป) มักเกลือ (เขมร-ตราด) ผีเผา (กระเหรี่ยง ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ต้น สูง 8-15 เมตร อาจสูงได้ถึง 30 เมตร ผลัดใบหรือไม่ผลัดใบ ทุกส่วน ของมะเกลือเมื่อแห้งจะเปลี่ยนเป็นสีด�า ใบอ่อนและกิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั้งสองด้าน ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกสีขาว หรือเหลืองอ่อน แยกเพศอยู่ต่างต้นกัน ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีเหลืองอมด�า มีเมล็ด 2-3 เมล็ด พบทั่วไปในที่ กึ่งโล่งแจ้ง ในป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบ ออกดอกช่วงเดือนมกราคมถึงสิงหาคม การใช้ประโยชน์: ต�ารายาไทย ใช้ ผลสดสีเขียว รสขื่นเฝื่อนเบื่อฝาด ขับพยาธิในไส้เดือน พยาธิปากขอ พยาธิเส้นด้าย ถ่ายตานซาง ถ่ายกระษัย ให้น�า ผลดิบ สด ไม้ช�้า ไม่ด�า กรณีใช้ถ่ายพยาธิ ใช้เท่าจ�านวนอายุ แต่ไม่เกิน 25 ผล โดยน�าผลมะเกลือมะโขลกพอแหลก คั้นเอาน�้ามาผสมกับหัวกะทิสด ดื่มก่อนอาหารเช้าทันที เตรียมใหม่ ๆ ดื่ม ห้ามเก็บไว้จะเกิดพิษ หาก 3 ชั่วโมง ยังไม่ถ่าย ให้ใช้ยาถ่ายตาม (แต่ห้ามใช้ในเด็กอายุต�่ากว่า 10 ปี, สตรีตั้งครรภ์, ผู้ป่วย, อย่าใช้มากเกินขนาด, คนที่มีอาการแพ้อาจท�าให้ท้องเสีย, มีอาการตามัว ถ้ารุนแรง ท�าให้ตาบอดได้ ควรน�าส่งแพทย์ทันที) ผลสุกสีด�า ใช้ย้อมผ้า ย้อมแห ไม่น�ามารับประทาน เพราะมีพิษ ท�าให้ตาบอดได้ ราก รสเมาเบื่อ ฝนกับน�้าซาวข้าว รับประทานแก้อาเจียน แก้ลม แก้กระษัย แก้ริดสีดวงทวาร แก้พิษตานซาง ขับพยาธิ ล�าต้น แก้ซางตานขโมย แก้กระษัย ถ่ายพยาธิไส้เดือน ต้มน�้าอาบรักษาโรคดีซ่าน เมล็ด รสเมามัน ขับพยาธิในท้อง เปลือกต้น รสฝาดเมา เป็นยากันบูด แก้กระษัย ขับพยาธิ แก้พิษตานซาง แก้เบื่ออาหาร ขับเสมหะ แก้พิษ ทั้งต้น รสฝาดเมา ขับพยาธิ แก้ตานซาง แก้กระษัย แก่น รสฝาดเค็มขม เมา ขับพยาธิ แก้ตานซาง แก้ลม แก้ฝีในท้อง แก้ซางตานขโมย
44
27) เป้า เป้าใหญ่ >> ชื่อไทย: เปล้าใหญ ชื่อวิทยาศาสตร์: Croton persimilis Müll.Arg. ชื่อวงศ์: Euphorbiaceae ชื่อสามัญ: ชื่อท้องถิ่น: เปล้าใหญ่ (ภาคกลาง) เปาะ (ก�าแพงเพชร) ควะวู (กาญจนบุรี ) เปล้าหลวง (ภาคเหนือ) เซ่งเค่คัง สะกาวา สกาวา ส่ากูวะ ห้าเยิ่ง (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ห้าเยิ่ง (ชาน-แม่ฮ่องสอน) คัวะวู (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ ดอก เป็นช่อ ออกที่ ป ลายกิ่ ง แยกเพศอยู ่ บ นต้ น เดี ย วกั น หรื อ แยกต้ น กลี บ ดอกสี เ หลื อ งแกมเขี ย ว ผลแห้ ง แก่ แ ล้ ว แตก รูปทรงกลม มี 3 พู โดยมีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย เนปาล ภูฎาน บังคลาเทศ ภูมิภาคอินโดจีน พม่า และในประเทศไทย โดยสามารถพบได้ทุกภาคยกเว้นภาคใต้ มักขึ้นในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง การใช้ประโยชน์: เปล้าใหญ่เป็นพืชสมุนไพร มักใช้ร่วมกับเปล้าน้อย เรียกว่าเปล้าทั้งสอง ใบเป็นยาบ�ารุงธาตุ แก้คันตามตัว แก้ลมจุกเสียด เป็นยาบ�ารุงก�าลัง แก้กระหาย แก้เสมหะ และลม เปลือกต้น และใบ แก้ท้องเสีย บ�ารุงโลหิต ยาพื้นบ้านใช้ ใบ ต้มน�้าอาบ แก้ผื่นคัน ทางจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ ใบ เข้ายากับสมุนไพรอื่น ต้มน�้าดื่มและอาบ แก้วิงเวียน ช่วยให้เลือดไหลเวียนดี ทางจังหวัดนครราชสีมาใช้ น�้าต้มใบ ช�าระล้างบาดแผล
45
1) แดง >>
2) สัก >>
3) แต้ แต้หนาม แต้โหล่น >>
4) ไม้ยาง >>
46
5) พริกผี >>
6) แก้ว >>
7) ผักขา >>
8) สัง หมากสัง มะสัง >>
47
9) ตูม หมากตูม >>
10) เต่าร้าง >>
11) สะทอน >>
48
12) ดู่ >>
13) ซายเด่น ไซเดน ทรายเดน >>
14) กะเดา >>
49
15) นารี >>
16) ตีนเป็ด >>
17) เอกมหาชัย >>
18) หมี่ >>
50
19) ก้านของ กางของ >>
20) กระโดน >>
21) ส้มโฮง >>
51
22) ดูกไส >>
23) ปะค�าไก่ มะค�าป่า >>
24) คัดเค้า >>
52
25) เดื่อป่อง >>
26) เกือ หมากเกือ หมากเกีย >>
27) เป้า เป้าใหญ่ >>
53
28) แคป่า แคนา แคทุ่ง >> ชือ่ ไทย: แคป่า ชือ่ วิทยาศาสตร์: Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. ชือ่ วงศ์: Bignoniaceae ชื่อสามัญ: Trumpet Tree ชื่ อ ท้ อ งถิ่ น : แคป่ า แคขาว แคเค็ ต ถวา(เชี ย งใหม่ ) แคทราย(นครราชสี ม า) แคแน แคฝอย(ภาคเหนื อ ) แคภูฮ่อ(ล�าปาง) แคยอดด�า(สุราษฎร์ธานี) แคยาว แคอาว (ปราจีนบุรี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยนื ต้น สูงได้ถงึ 10-20 เมตร ผลัดใบ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกชัน้ เดียว ปลายคี่ ออกตรงข้าม 3-5 คู่ ดอกเป็นดอกช่อแบบช่อกระจะสั้น ดอกใหญ่ รูปแตร สีขาว ออกตามปลายกิ่ง กลิ่นหอม บานตอนกลางคืน รุ่งเช้าร่วง ผลเป็นฝัก ช่อละ 3-4 ฝัก แบน รูปขอบขนาน โค้ง บิดเป็นเกลียว พบตามป่า ทุ่ง ไร่ นา ป่าเบญจพรรณออกดอกช่วงเดือน มีนาคมถึงมิถุนายน การใช้ประโยชน์: กลีบดอกบานใช้ต้มจิ้มน�้าพริก หรือแกงส้ม ต�ารายาไทย ใช้ ราก มีรสหวานเย็น แก้เสมหะ และลม บ�ารุงโลหิต เปลือกต้น มีรสหวานเย็น แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ใช้กับสตรีหลังคลอด ใบ มีรสเย็น ใช้ต�า พอกแผล หรือต้มน�้าบ้วนปาก ดอก มีรสหวานเย็น ใช้ขับเสมหะ โลหิต และลม ขับผายลม เมล็ด รสหวานเย็น แก้อาการปวดประสาท แก้โรคชัก ภูมปิ ญ ั ญาอีสานมีขอ้ คล�า ห้ามปลูกแคชนิดนีใ้ นบ้าน เนือ่ งจากมีดอกทีม่ ลี ะออง เกสรจ�านวนมาก ท�าให้เกิดภูมิแพ้ได้
29) เสลดพังพอนตัวเมีย >> ชือ่ ไทย: สเลดพังพอนตัวเมีย ชือ่ วิทยาศาสตร์: Clinacanthus nutans (Burm.f.) Lindau ชื่อวงศ์: Acanthaceae ชื่อสามัญ: Snake Plant ชื่อท้องถิ่น: ลิ้นมังกร ผักมันไก่ ผักลิ้นเขียด (เชียงใหม่) พญาปล้องค�า (ล�าปาง) เสลดพังพอนตัวเมีย (พิษณุโลก) พญาปล้องด�า พญาปล้องทอง (ภาคกลาง) ลิ้นงูเห่า พญายอ (ทั่วไป) โพะโซ่จาง (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ชิงเจี้ยน หนิ่วซิ้วฮวา (จีนกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นพรรณไม้พุ่มแกมเถา ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ดอกเป็น ช่อกระจุกที่ปลายกิ่ง แต่ละช่อมีดอกประมาณ 3-6 ดอก กลีบดอกเป็นสีแดงส้ม ผลเป็นผลแห้งและแตกได้ ภายในผลมีเมล็ดประมาณ 4 เมล็ด ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการปักช�าหรือแยกเหง้าแขนงไปปลูก เจริญเติบโตได้ดใี นดิน ทุกชนิด ชอบดินร่วน ระบายน�้าดี มีแสงแดดจัด มีเขตการกระจายพันธุ์ในจีน เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ในประเทศไทยมักพบขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วทุกภาคของประเทศ หรือพบปลูกกันตามบ้านทั่วไป การใช้ประโยชน์: ทั้ง 5 (ใบ ต้น ดอก รากและผล) ใช้ถอนพิษ โดยเฉพาะพิษแมลงสัตว์กัดต่อย ตะขาบ แมลงป่อง รักษาอาการอักเสบ งูสวัด ลมพิษ แผลน�้าร้อนลวก ใบน�ามาสกัดท�าทิงเจอร์และกรีเซอรีน ใช้รักษาเริม ที่ท�าให้เป็นแผลบริเวณผิวหนังและรักษาแผลร้อนในในปาก ตับพิษร้อน แก้แผลน�้าร้อนลวก รากปรุงเป็นยา ขับปัสสาวะ ขับประจ�าเดือน แก้ปวดเมื่อยบั้นเอว
54
30) คางฮุง กลางฮุง >> ชือ่ ไทย: กางหลวง ชือ่ วิทยาศาสตร์: Albizia chinensis (Osbeck) Merr. ชือ่ วงศ์: Fabaceae ชื่อสามัญ: Chinese albizzia, Silk tree ชื่อท้องถิ่น: ค้างฮุง (ขอนแก่น), บือ บือเก๊าะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), กางหลวง สารค�า (ภาคเหนือ), สารเงิน (เชียงใหม่) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ตน้ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ แตกกิง่ ต�า่ เรือนยอดแผ่กว้างคล้ายรูปร่ม ใบประกอบ แบบขนนกสองชั้นเรียงสลับ หูใบเป็นแผ่น ร่วงง่าย ใบย่อย 20-35 คู่ รูปขอบขนาน เรียงตรงข้าม ช่อดอก ออกตามปลายกิ่ง แตกแขนง โคนก้านช่อมีหูใบเป็นแผ่นติดอยู่ ช่อดอกประกอบด้วยช่อกลมหลายช่อ แต่ละช่อ มีดอกเล็กๆ ที่ไม่มีก้านจ�านวน 10-20 ดอก อัดกันแน่น สีขาว ฝักแบน รูปขอบขนานคล้ายฝักกระถิน ปลายฝัก แหลมเป็นติ่ง ผนังหนา สีน�้าตาลอมเขียว ฝักแก่ไม่แตก มีหลายเมล็ด เมล็ดรูปรีแบน เรียงเป็นแถวเดี่ยวตามยาว ของฝัก การใช้ประโยชน์: ล�าต้น น�ามาสร้างบ้านเรือน ท�าเครื่องเรือน เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย เนื้อไม้ ใช้ท�าด้ามเครื่องมือเครื่องใช้ทางการเกษตร
31) บานไม่รู้โรยป่า >> ชือ่ ไทย: บานไม่รู้โรยป่า ชือ่ วิทยาศาสตร์: Gomphrena celosioides Mart. ชือ่ วงศ์: Amaranthaceae ชื่อสามัญ: Water globe head, Gomphrena weed, Wild globe everlasting ชื่อท้องถิ่น: ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ล้มลุก แผ่กิ่งที่โคนต้น แตกกิ่งก้านสาขานอนราบไปกับพื้นดิน ส่วนปลาย ยอด และช่อดอกชูขึ้น มีความสูงได้ประมาณ 40 เซนติเมตร เปลือกล�าต้นเป็นสีเขียวแกมขาว ไม่มียาง แต่มีขน ยาวคล้ายส�าลีขึ้นปกคลุมอย่างเห็นได้ชัด ใบเป็นใบเดี่ยว การเรียงตัวแบบตรงข้ามสลับตั้งฉาก ดอกเป็นช่อกระจุก แน่น แบบช่อเชิงลด ผลเป็นผลเดี่ยว เมื่อผลแห้งแก่แล้วจะไม่แตก มีเปลือกแข็งและมีเมล็ดเดียว ขยายพันธุ์ด้วย เมล็ด มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ แพร่กระจายพันธุ์มาสู่เขตร้อนที่อบอุ่นกว่า ในประเทศไทยมักพบขึ้นเป็นวัชพืช ในพื้นที่เปิดโล่งมีแดดส่องถึง ตามที่รกร้างริมทาง ตามที่สาธารณะทั่วไป เช่น ที่จังหวัดเชียงใหม่ ล�าปาง ขอนแก่น พิษณุโลก นครราชสีมา สระบุรี กรุงเทพฯ เพชรบุรี กาญจนบุรี จันทบุรี และภาคใต้ทุกจังหวัด การใช้ประโยชน์: มีความเชื่อว่า หากน�าบานไม่รู้โรยป่ามาใช้ประดับในงานพิธีมงคลต่าง ๆ จะช่วยท�าให้ชีวิต เจริญงอกงามแบบไม่โรยรา ดอกน�ามาต้มกับน�้ากินเป็นยาแก้อาการปวดศีรษะ แก้ตาเจ็บ ใช้เป็นยาแก้ไอ ไอกรน ระงับหอบหืด เป็นยาแก้บิด ช่วยรักษาแผลผื่นคัน ทั้งต้นใช้ผสมกับเถาเขี้ยวงู ลูกใต้ใบ สะเดาดิน และไมยราบ เครือ น�ามาต้มกับน�า้ กินเป็นยาแก้เบาหวาน รากมีสรรพคุณเป็นยาแก้โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ และช่วยขับนิว่ เป็นยาแก้กามโรค หนองใน ยาแก้ระดูขาวของสตรี
55
32) ขี้เหล็ก >> ชือ่ ไทย: ขี้เหล็ก ชือ่ วิทยาศาสตร์: Senna siamea (Lam.) H.S.Irwin & Barneby ชือ่ วงศ์: Fabaceae ชื่อสามัญ: Cassod tree, Thai copper pod ชื่อท้องถิ่น: ขี้เหล็กแก่น (ราชบุรี) ขี้เหล็กบ้าน (ล�าปาง) ขี้เหล็กหลวง (ภาคเหนือ) ขี้เหล็กใหญ่ (ภาคกลาง) ผักจี้ลี้ (ฉาน-แม่ฮ่องสอน) ยะหา (มลายู-ปัตตานี) และขี้เหล็กจิหรี่ (ภาคใต้) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้น สูง 10-15 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มแคบ เปลือกต้นสีน�้าตาลแตกเป็น ร่องตื้น ๆ ตามยาว ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับ ดอกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ดอกสีเหลือง กลีบเลี้ยงกลม มี 3- 4 กลีบ ผล เป็นฝักแบนยาว หนา สีน�้าตาล เมล็ดมีหลายเมล็ด การใช้ประโยชน์: ใบอ่อน ยอดอ่อน และดอกตูม นิยมน�ามาท�าเป็นอาหาร การน�าใบมาต้มเอาน�า้ ทิง้ ก่อนไปปรุง เป็นอาหารจะช่วยลดความขมและสารที่เป็นพิษ ตามภูมิปัญญาดั้งเดิมกล่าวว่าไม่ควรเก็บใบขี้เหล็กมากินใน วันที่มีฝนตก เพราะใบจะมีความเป็นพิษสูง ใบแก่ใช้ย้อมสีผ้า ติดสีเขียวขี้ม้า น�้าต้มจากใบและยอดอ่อนขี้เหล็ก ใช้ฉีดพ่นไล่แมลงปีกแข็ง เช่น ด้วงถั่วเขียว รวมถึงแมลงศัตรูพืชต่าง ๆ ใบแก่ใช้ท�าปุ๋ยหมัก สรรพคุณทางยา ดอกรักษาโรคเส้นประสาท นอนไม่หลับ ท�าให้หลับสบาย รักษาหืด รักษาโรคโลหิตพิการ ผายธาตุ รักษารังแค ขับพยาธิ รากใช้รักษาไข้ รักษาโรคเหน็บขา ทาแก้เส้นอัมพฤกษ์ให้หย่อน แก้ฟกช�้า แก้ไข้บ�ารุงธาตุ ไข้ผิดส�าแดง ล�าต้นและกิ่งเป็นยาระบาย รักษาโรคผิวหนัง แก้โรคกระษัย แก้นิ่ว ขับปัสสาวะ ขับระดูขา ทั้งต้นแก้กระษัย ดับพิษไข้ แก้พิษเสมหะ รักษาโรคหนองใน รักษาอาการตัวเหลือง เป็นยาระบาย บ�ารุงน�้าดี ท�าให้เส้นเอ็นหย่อน เปลือกต้นรักษาโรคริดสีดวงทวาร โรคหิด แก้กระษัย ใช้เป็นยาระบาย แก่นรักษาโรคเบาหวาน รักษาโรคหนองใน ใช้เป็นยาระบาย รักษาวัณโรค รักษามะเร็งปอด ปอดอักเสบ มะเร็งล�าไส้ มะเร็งกระเพาะอาหาร ใบรักษาโรคบิด โรคเบาหวาน แก้ร้อนใน รักษาฝีมะม่วง รักษาโรคเหน็บชา ลดความดันโลหิตสูง ขับพยาธิ เป็นยาระบาย รักษาอาการนอนไม่หลับ ฝักแก้พิษไข้เพื่อน�้าดี พิษไข้เพื่อเสมหะ แก้ลมขึ้นเบื้องสูง เบื้องบน โลหิตขึ้นเบื้องบน ท�าให้ระส�่าระสายในท้อง เปลือกฝักแก้เส้นเอ็นพิการ
33) ม่วง หมากม่วง >> ชือ่ ไทย: มะม่วง ชือ่ วิทยาศาสตร์: Mangifera indica L. ชือ่ วงศ์: Anacardiaceae ชื่อสามัญ: Mango Tree ชื่อท้องถิ่น: ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ใบเป็นใบเดี่ยวจะออกเรียงกันเป็นคู่ ๆ ดอกออกเป็นช่อ ช่อหนึ่งมีประมาณ 15-20 ดอก ลักษณะของดอกเป็นสีเหลืองอ่อน หรือสีนวล ๆ เป็นดอกที่มีขนาดเล็ก ผลเมื่อดอกโรยก็จะติดผล มีลักษณะต่างกันแล้วแต่ละพรรณเช่น บางทีมีเป็นรูปมนรี ยาวรี หรือเป็นรูปกลมป้อม ผลอ่อนมีเป็นสีเขียว เมื่อแก่หรือสุกเต็มที่จะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด ภายในผลมีเมล็ด ผลหนึ่งมีเมล็ดเดียว เป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ที่ชอบแสงแดดจัด เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนผสมพิเศษ ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง หรือการทาบกิ่ง การใช้ประโยชน์: มะม่วงจัดเป็นไม้ยืนต้นที่มีต้นก�าเนิดในประเทศอินเดีย และถือว่าเป็นผลไม้ประจ�าชาติ ของประเทศอินเดีย ในบ้านเรานั้นมะม่วงจัดเป็นผลไม้เศรษฐกิจซึ่งส่งออกเป็นอันดับ 3 ของโลก สรรพคุณทางยา
56 ผลสดแก่ รับประทานแก้คลื่นไส้อาเจียน วิงเวียน กระหายน�้า ผลสุก หลังรับประทานแล้วล้างเมล็ดตากแห้ง ต้มเอาน�้าดื่ม หรือบดเป็นผง รับประทานแก้ท้องอืดแน่น ขับพยาธิ ใบสด 15–30 กรัม ต้มเอาน�้าดื่ม แก้ล�าไส้ อักเสบเรื้อรัง ท้องอืดแน่น เอาน�้าต้มล้างบาดแผลภายนอกได้ เปลือกต้น ต้มเอาน�้าดื่ม แก้ไข้ตัวร้อน เปลือกผล ดิบ คั่วรับประทานร่วมกับน�้าตาล แก้อาการปวดเมื่อยเมื่อมีประจ�าเดือน แก้ปวดประจ�าเดือน
34) หมากหล�่า >> ชือ่ ไทย: มะกล�่าตาช้าง ชือ่ วิทยาศาสตร์: Adenanthera pavonina L. ชือ่ วงศ์: Fabaceae ชื่อสามัญ: Red sandalwood tree, Sandalwood tree, Bead tree, Coralwood tree ชื่อท้องถิ่น: มะกล�่าต้น มะกล�่าตาช้าง (ทั่วไป) มะแค้ก หมากแค้ก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) มะแดง มะหัวแดง มะโหกแดง (ภาคเหนือ) อีหล�า (อุบลราชธานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร ใบประกอบแบบขนนกสองชั้นปลายคู่ เรียงสลับ ใบย่อยรูปวงรี ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสีเหลืองอ่อนอมครีม ดอกแก่เปลี่ยนเป็นสีส้ม มีขนประปราย ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ในตอนเย็น คล้ายกลิ่นดอกส้ม ออกเป็นช่อเดี่ยวหรือหลายช่อรวมกัน กลีบดอกมี 5 กลีบ ผลเป็นฝัก รูปแถบ แบนยาว สีเขียว เมือ่ ฝักแก่จะแตกสองตะเข็บและบิดม้วนงอเป็นเกลียวแน่นเพือ่ กระจายเมล็ด มีรอยคอดตามเมล็ดชัดเจน เมล็ดรูปร่างค่อนข้างกลม แข็ง สีแดงเลือดนกหรือแดงส้ม ผิวมัน 10-15 เมล็ดต่อฝัก ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ถงึ เมษายน ติดผลเดือนพฤษภาคม ถึง กรกฎาคม พบตามป่าเต็งรังและป่าดิบแล้งทีร่ ะดับ ความสูงประมาณ 50-400 เมตร การใช้ประโยชน์: ยอดอ่อน และใบอ่อน มีรสมัน รับประทานเป็นผักสดกับอาหารได้ หรือน�ามาลวกจิ้มน�้าพริก เนื้อในเมล็ดคั่วกินได้ มีรสมัน เนื้อไม้ให้สีแดง ใช้ย้อมผ้าได้ สังคมผู้สูงอายุในภาคอีสานมักมานั่งแกะเมล็ด หมากล�่าร่วมกันในตอนเย็น ท�าให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในชีวิตไปในตัว สรรพคุณทางยาต�ารายาไทย ใบ รสฝาดเฝื่อน ต้มกินแก้ปวดข้อ แก้ลมเข้าข้อ แก้บิด แก้ท้องร่วง เป็นยาสมาน บ�ารุงก�าลัง บ�ารุงธาตุ แก้ท้องร่วงและบิด เมล็ดและใบ รสเฝื่อนเมา แก้ริดสีดวงทวาร เมล็ด รสเฝื่อนเมา บดผสมน�้าผึ้ง ปั้นเม็ด กินแก้ จุกเสียด แก้หนองใน เมล็ดบดพอกดับพิษฝี บดเป็นผงโรยแผลฝีหนอง ดับพิษบาดแผล ฝนกับน�้าทาแก้อักเสบ แก้ปวดศีรษะ เมล็ดใน รสเมาเบื่อ บดเป็นผง ปั้นเม็ด กินขับพยาธิไส้เดือน พยาธิเส้นด้าย เมล็ดคั่วไฟเอาเปลือก หุ้มสีแดงออก บดเป็นผงผสมกับยาระบายใช้เป็นยาขับพยาธิ เบื่อพยาธิไส้เดือน หรือพยาธิตัวตืด เนื้อไม้ รสเฝื่อน ฝนกับน�้าทาขมับแก้ปวดศีรษะ กินกับน�้าอุ่นท�าให้อาเจียน ราก รสเปรี้ยวขื่นเย็น ใช้ขับเสมหะ แก้หืดไอ แก้เสียงแหบแห้ง แก้สะอึก แก้ลมในท้อง แก้ร้อนใน แก้อาเจียน ถอนพิษฝี คนอินเดียในสมัยก่อนใช้น�้าหนัก ของเมล็ดมะกล�า่ ต้นเป็นน�า้ หนักมาตรตราฐาน เพือ่ ชัง่ เทียบน�า้ หนักกับของมีคา่ เช่น เพชร พลอยหรือทอง ในเวลา ที่มีการซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนสินค้า โดยให้มะกล�่าต้น 4 เมล็ดเทียบเท่ากับ 1 กรัม ที่ประเทศมาเลเซียเรียก พืชชนิดนี้ว่า Saga tree ซึ่งมีความหมายว่า “ช่างทอง” แสดงให้เห็นว่ามะกล�่าต้นเกี่ยวพันกับเงินๆทอง ๆ และ เมล็ดมะกล�า่ ต้นแม้จะไม่มคี า่ เท่าเครือ่ งประดับเพชรพลอย แต่ผคู้ นก็ยงั นิยมน�ามาร้อยเป็นลูกปัดท�าเครือ่ งประดับ มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
57
35) หวาย >> ชือ่ ไทย: หวายดง ชือ่ วิทยาศาสตร์: Calamus viminalis Willd. ชือ่ วงศ์: Arecaceae ชื่อสามัญ: Rattan ชื่อท้องถิ่น: หวายดง หวายใหญ่ หวายนั่ง (ภาคอีสาน) หวายขม (ภาคกลาง ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้เถา ใบย่อยที่ประกอบบนก้านใบมีจ�านวนประมาณ 75-90 ใบ เรียงตัวกันเป็น กระจุก แบบตรงกันข้าม กระจุกละ 5-8 ใบ มีระบบรากแบบรากแขนงประสานกันอยู่ตามลักษณะของพืชตระกูล ปาล์มทั่ว ๆ ไป มีอวัยวะที่ใช้เลื้อยเกาะ (climbing) เป็นก้านยาว ๆ ยื่นออกมาจากจุดก�าเนิดตรงส่วนบนของกาบ หุ้มล�าต้น และมีหนามโดยตลอด ท�าหน้าที่เป็นมือเกี่ยว ดอกสร้างช่อดอกออกมาจากล�าต้น ตรงส่วนที่มีกาบ ใบหุ้ม โดยทยอยสร้างไม่พร้อมกัน ผลค่อนข้างกลม มีลักษณะเป็นเกล็ดซ้อนทับกันเป็นชั้นๆ ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่แล้วมีสีเหลืองขาว หนึ่งผล มี 1-2 เมล็ด เมื่ออายุได้ 2-3 ปี จะเริ่มติดดอก และให้ผลที่สามารถน�าไป ขยายพันธุ์ได้ ติดผลราวเดือนมีนาคมถึงเมษายน พบตามป่าเต็งรัง ป่าดงดิบ ที่ชุ่มชื้น การใช้ประโยชน์: ต�ารายาไทย หัวหรือรากและยอดหวาย มีรสขมเย็นเมาเล็กน้อย ใช้ปรุงยากินดับพิษร้อน พิษไข้ แก้เซื่องซึม แก้พิษ ตับปอดพิการ แก้ไอ บ�ารุงน�้าดี แก้ร้อนในกระหายน�้า หน่อหวาย คือล�าต้นอ่อน ของหวาย แทงขึ้นจากเหง้าใต้ดิน มีกาบแข็งเต็มไปด้วยหนามหุ้ม เนื้อในอ่อน กรอบ สีขาว มีรสขม น�ามาปรุง อาหาร ก่อนน�าไปปรุงอาหารต้องน�าไปต้มให้หายขม จากนั้นน�าไปท�าแกง ดอง หรือจิ้มน�้าพริก หน่อหวาย มีธาตุ สังกะสี ในปริมาณสูง ใช้เสริมธาตุสังกะสี ช่วยเจริญอาหาร ลดภาวะเครียด ช่วยส่งเสริมสมรรถภาพทางเพศชาย เนือ้ หุม้ เมล็ด รับประทานได้ จังหวัดสกลนครเป็นทีแ่ รกในโลกทีม่ กี ารปลูกหวายเพือ่ การค้า ในปัจจุบนั มีการน�าไป ปลูกในหลายพื้นที่ เพื่อตัดยอดมาจ�าหน่าย ใช้ปรุงอาหาร
36) มูกเกี้ย >> ชือ่ ไทย: โมกมัน ชือ่ วิทยาศาสตร์: Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. ชือ่ วงศ์: Apocynaceae ชื่อสามัญ: Ivory, Darabela, Karingi, Lanete ชื่อท้องถิ่น: มูกน้อย มูกมัน (น่าน), โมกมันเหลือง (สระบุรี), มักมัน (สุราษฎร์ธานี), โมกน้อย (ทั่วไป), เส่ทือ แนแก แหน่แก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยนื ต้น สูงได้ถงึ 15 เมตร ใบเดีย่ ว เรียงตรงข้ามสลับตัง้ ฉาก ดอกสีขาวหรือสีชมพู รูปกรวย กลีบดอก 5 กลีบ ผลเป็นฝักคู่เชื่อมติดกัน รูปร่างเกือบตรง เมล็ดมีกระจุกขนที่ปลายด้านหนึ่ง พบตาม ป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ที่ความสูงจากระดับน�้าทะเลถึง 280 เมตร ออกดอกราวเดือนเมษายน ถึงสิงหาคม ติดผลราวเดือนสิงหาคมถึงธันวาคม การใช้ประโยชน์: ต�ารายาไทย เปลือกต้น รสขมร้อน ฝาดเมา ช่วยเจริญอาหาร บ�ารุงธาตุ ท�าให้ประจ�าเดือน ปกติ แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย แก้โรคไต ฆ่าเชื้อร�ามะนาด เชื้อคุดทะราด แก้บิดมูกเลือด ใบ รสเย็น เป็นยา ขับน�้าเหลืองเสีย แก้ตับพิการ แก้ท้องมาน ดอก รสจืด เป็นยาระบาย แก้พรรดึก(ท้องผูก) ผล รสเมา แก้ฟันผุ ฆ่าเชื้อร�ามะนาด ราก รสร้อน รักษางูกัด แก้ลมที่เกิดเรื้อรัง เนื้อไม้หรือแก่น รสร้อนขม เป็นยาขับโลหิต กระพี้ บ�ารุงถุงน�้าดี น�้ายาง รสเมาเบื่อ แก้บิด ใช้แก้ท้องร่วง แก้พิษงู แก้พิษแมลงกัดต่อย หมอยาพื้นบ้าน จังหวัดอุบลราชธานีใช้ รากและเนื้อไม้ ต้มน�้าดื่ม แก้บิด ถ่ายเป็นมูกเลือด
58 ประเทศจีนใช้สารสกัดจากรากและใบ รักษาวัณโรคแรกเริ่มที่ต่อมน�้าเหลืองบริเวณคอ และอาการปวด ข้อจากโรคข้อรูมาติก เปลือกให้เส้นใยใช้ท�ากระดาษ และใช้แทนเส้นใยจากฝ้าย
37) ลอมคอม >> ชือ่ ไทย: พลับพลา ชือ่ วิทยาศาสตร์: Microcos tomentosa Sm. ชือ่ วงศ์: Malvaceae ชื่อสามัญ: ชื่อท้องถิ่น: ก้อมส้ม คอมส้ม (ภาคอีสาน) กะปกกะปู ค่อม พลา หมากหอม (ภาคเหนือ) พลับพลา ขี้เถ้า (ภาคกลาง) คอมเกลีย้ ง พลองส้ม (ภาคตะวันออก) จือมือแก (มาเลย์-ภาคใต้) น�า้ ลายควาย (ภาคใต้) มลาย (ชลบุรี จันทบุรี ตราด) สากกะเบือละว้า (สุโขทัย) กะปกกะปู (พิษณุโลก) (เหนือ) หลาย (แม่ฮ่องสอน) คอมขน (ชัยภูมิ) พลา (ยะลา ปัตตานี ระนอง) พลาขาว (ชุมพร) พลาลาย (ตรัง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ใบเดี่ยว เรียงสลับ ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียว หม่น ดอกช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ซอกใบ หรือปลายกิ่ง กลีบดอกสีเหลือง ผลรูปทรงกลมแกมไข่กลับ เมล็ดแข็ง 1 เมล็ด พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง ความสูงจากระดับน�า้ ทะเล 50-300 เมตร ออกดอก และเป็นผล ระหว่าง เดือนเมษายนถึงตุลาคม การใช้ประโยชน์: ผลดิบใช้เล่นบั้งโผ๊ะ (ลูกปืนยิงจากล�าไม้ไผ่) ผลสุกรับประทานได้ ต�ารายาพื้นบ้านอีสานใช้ แก่น ผสมแก่นโมกหลวง ล�าต้นก�าแพงเจ็ดชั้น ล�าต้นสบู่ขาว ล�าต้นพลองเหมือด แก่นจ�าปา และล�าต้นค�ารอก ต้มน�้าดื่ม แก้หืด เปลือก ผสมปรุงเป็นยาบ�ารุงเลือดสตรี เปลือกให้เส้นใย ใช้ท�าเชือก น�้ามันยางจากเปลือก ใช้เป็น เชื้อเพลิง ผลแก่ มีรสเปรี้ยว รับประทานเป็นยาระบาย กระจายเลือด ภูมิปัญญาในการดูแลตนเองของคนอีสาน ให้เอาใบมา 7 ใบต้มดื่ม แก้ไอและเจ็บคอ
38) พันซาด >> ชือ่ ไทย: ซาก ชือ่ วิทยาศาสตร์: Erythrophleum succirubrum Gagnep. ชือ่ วงศ์: Fabaceae ชื่อสามัญ: ชื่อท้องถิ่น: ซาก (ภาคกลาง) พันซาด (ภาคอีสาน) คราก (ชุมพร) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง 20 เมตร ใบเป็นใบประกอบ ดอกออกช่อที่ซอกใบ ใกล้ ๆ ปลายกิ่ง ผลเป็นแบบผลแห้ง เมล็ดแบน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ดและวิธีการตอนกิ่ง ภาษาไทย ปัจจุบันเรียกต้นนี้ว่า “ซาก” เนื่องจากไม้ซากเป็นไม้ที่มีความแข็งมาก ต้องใช้ก�าลังมหาศาลจึงจะผ่าออกได้ จึงเป็นที่มาของสุภาษิตว่า “เหมือนขวานผ่าซาก” จึงเปรียบเสมือน คนที่ชอบพูดจารุนแรง ไม่เกรงใจใคร ไม้ซาก ในภาษาอีสานเรียกว่า “พันชาด” ที่มาของชื่อนี้น่าจะเป็นเพราะเป็นไม้ที่มีความเป็นพิษสูงโดยเฉพาะส่วนที่เป็น เมล็ด กินแล้วตายไปเป็นพันชาติกไ็ ม่ได้มาเกิด พบขึน้ ตามป่าราบและป่าผลัดใบ มีการกระจายอยูใ่ นไทย เวียดนาม และกัมพูชา การใช้ประโยชน์: ในประเทศไทยพบได้มากทางภาคอีสาน ภาคตะวันออก ภาคกลาง และทางภาคใต้ตอนบน สรรพคุณ ตามต�ารายาไทยใช้ ต้น แก้ไข้ทีมีพิษร้อน กระสับกระส่าย แก้ไข้เชื่อมซึม เนื้อไม้ แก้ไข้ ไม้ซากมีพิษ
59 ถึงตายได้ ถ้าจะน�าไปปรุงยา ต้องเผาถ่าน ถ่านไม้ แก้พิษไข้ ไข้เชื่อมซึม แก้โรคผิวหนัง แก้โรคในเด็ก ดับพิษ ตานซาง ไม่ระบุส่วนใช้ แก้พิษไข้ ไข้เชื่อมซึม แก้ไข้สันนิบาต ดับพิษโลหิต คนอีสานเชื่อว่าแม้แต่เห็ดกินได้ ถ้ามาขึน้ ใกล้รากต้นซาก เห็ดนัน้ ก็เปลีย่ นเป็นเห็ดพิษได้ จึงไม่ควรเก็บเห็ดหรือพืชอืน่ ๆ ทีข่ นึ้ ใต้นซากมารับประทาน มีรายงานว่าเด็กเขมรที่มาลี้ภัยอยู่ในเมืองไทยเก็บเมล็ดซากมากิน ท�าให้ตายถึง 27 คน เนื่องจากหัวใจล้มเหลว
39) โสมไทย >> ชือ่ ไทย: โสมไทย ชือ่ วิทยาศาสตร์: Cistanthe paniculata (Ruiz & Pav.) Carolin ex M.A.Hershkovitz ชื่อวงศ์: Portulacaceae ชื่อสามัญ: Fame Flower, Ceylon Spinach, Sweetheart, Surinam Purslane ชื่อท้องถิ่น: โสม โสมคน (ภาคกลาง) ว่านผักปัง (เชียงใหม่) โทวหนิ่งเซียม (จีน) ถู่เหยินเซิน (จีนกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: พืชล้มลุก ขนาดเล็ก มีอายุหลายปี สูงได้ถึง 1 เมตร มีเหง้าใต้ดินเมื่อรากโตเต็มที่ จะมีรูปร่างเหมือนโสมจีน ต้นเป็นเหลี่ยม ล�าต้นฉ�่าน�้า ใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับ ใบรูปไข่กลับปลายโตแหลม ดอกมีขนาดเล็ก เป็นช่อที่ส่วนยอดหรือปลายกิ่ง ดอกสีชมพู มี 5 กลีบ กลีบเลี้ยงมี 2 กลีบ ร่วงง่าย ผลสีแดง กลมรี เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเทา เมล็ดจ�านวนมากอยู่ภายใน สีด�า การใช้ประโยชน์: ใบและต้นน�ามาผัด เป็นผักที่มีรสดี ใช้แทนผักโขมสวนได้ เป็นพืชที่อุดมด้วยวิตามิน เป็นอาหารที่มีคุณค่าส�าหรับผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ที่เพิ่งฟื้นไข้ ต�ารายาไทย ใช้ เหง้า รสหวานร้อน บ�ารุงร่างกาย บ�ารุงก�าลัง บ�ารุงธาตุ แก้ออ่ นเพลีย หรือทาภายนอกแก้อกั เสบ ลดอาการบวม ใบ แก้บวมอักเสบมีหนอง ขับน�า้ นม ราก บ�ารุงปอด แก้อาการอ่อนเพลีย หรือหลังฟื้นไข้ ปัสสาวะขัด เหงื่อออกมาก ศีรษะมีไข้ ไอเป็นเลือด แก้ไอ บ�ารุงปอด ประจ�าเดือนผิดปกติ ท้องเสีย
40) โทงเทง >> ชือ่ ไทย: โทงเทง ชือ่ วิทยาศาสตร์: Physalis angulata L. ชือ่ วงศ์: Solanaceae ชื่อสามัญ: Hogweed, Ground Cherry ชื่อท้องถิ่น: ต้อมต๊อก บาตอมต๊อก (เชียงใหม่) ตะเงหลั่งเช้า (จีน) ปุงปิง (ปัตตานี) ปิงเป้ง (หนองคาย) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้น�าเข้ามาจากต่างประเทศ ไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ล�าต้นอวบน�้าเปลือกเกลี้ยง สีเขียว ใบเป็นใบเดี่ยวสีเขียวเรียงสลับออกตามข้อ ๆ ละใบ ดอกตูมทรงรีปลายแหลม เวลาบานเป็นรูปแตร กลีบดอกชั้นในมีสีเหลืองอ่อน กลีบดอกชั้นนอกหรือกลีบเลี้ยงมีสีเขียวอ่อน จ�านวน 5 กลีบ ซึ่งจะเจริญเติบโต ขยายตัวหุ้มผลภายในไว้หลวม ๆ ท�าให้ดูเสมือนว่าผลพอง เหมือนโคมจีนสีเขียวอ่อนมีลายสีม่วง เมล็ด ในผล มีเมล็ดขนาดเล็กมีจา� นวนมาก รูปกลมแบน มีเมือกหุม้ คล้ายมะเขือเทศจ�านวนมาก ออกดอกตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ เรื่อยไปจนถึงเดือนพฤศจิกายน การใช้ประโยชน์: ทั้งต้นรักษาดีซ่าน ไอหืดเรื้อรัง แผลมีหนอง เจ็บคอ รากใช้ขับพยาธิ รักษาโรคเบาหวาน
60
41) ปอหู >> ชือ่ ไทย: พังแหร ชือ่ วิทยาศาสตร์: Trema orientalis (L.) Blume ชือ่ วงศ์: Cannabaceae ชื่อสามัญ: Peach cedar, Pigeon wood (อังกฤษ), Peach-leaf poison bush (ออสเตรเลีย) ชื่อท้องถิ่น: ปอ (เชียงใหม่) พังแหร (แพร่) พังแหรใหญ่ พังแกรใหญ่ ตายไม่ทันเฒ่า (ยะลา) ขางปอยป่า ปอแฟน ปอหู ปอแหก ปอแฮก (ภาคเหนือ) ตะคาย (ภาคกลาง), ปะดัง (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) กีกะบะซา บาเละอางิงิ (มลายู นราธิวาส) พังอีแร้ พังอีแหร ปอแต๊บ (ไทลื้อ) ด่งมั้ง (ม้ง) ตุ๊ดอึต้า (ขมุ) ไม้เท้า (ลั้วะ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้น ไม่ผลัดใบ สูง 4-12 เมตร ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็กออกเป็นช่อสัน้ ๆ เป็นกระจุกทีซ่ อกใบ ดอกย่อยมีขนาดเล็ก ดอกเพศผูแ้ ละดอกเพศเมียอยูบ่ นต้นเดียวกัน แต่แยกช่อ ดอกเพศผู้มีจ�านวนมากกว่า ดอกเพศเมีย ผลสีเขียวเข้มเมื่อสุกมีสีด�า เนื้อภายในบาง ชั้นหุ้มเมล็ดแข็ง มีเมล็ดเดียว พบตามทีโ่ ล่งและตามชายป่าดงดิบ ทีร่ ะดับความสูง 600-1,500 เมตร เป็นไม้เนือ้ อ่ นโตเร็ว ออกดอก และติดผลราวเดือนมีนาคมถึงสิงหาคม การใช้ประโยชน์: ยาพื้นบ้านทางภาคใต้ ใช้เปลือกต้น เคี้ยวอมไว้นาน 30 นาที แก้ปากเปื่อย เปลือกต้น ใช้ท�าเชือก แก่นหรือราก ฝนน�้ากินเป็นยาเย็น แก้ร้อนในกระหายน�้า ประเทศแอฟริกาใช้ ราก เป็นยาห้ามเลือด แก้ปัสสาวะเป็นเลือด แก้เลือดออกที่กระเพาะอาหารและล�าไส้ เปลือกต้น เป็นยาถ่ายพยาธิ แก้บิด ล�าต้นและ กิ่ง เป็นยาชง แก้ไข้ กลั้วปากแก้ปวดฟัน เปลือกต้นและใบ แก้ไข้มาลาเรีย บรรเทาปวดกล้ามเนื้อและกระดูก น�้าต้มใบใช้ขับพยาธิตัวกลม ผลและดอก ท�ายาชงส�าหรับเด็กรักษาหลอดลมอักเสบ ปวดบวม เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เนื่องจากเป็นพืชในวงศ์กัญชา ช่อดอกจึงมีสารที่เหมือนกัญชา แดต่มีในปริมาณที่น้อยกว่า
42) เปือย >> ชือ่ ไทย: ตะแบกนา ชือ่ วิทยาศาสตร์: Lagerstroemia floribunda Jack ชือ่ วงศ์: Lythraceae ชื่อสามัญ: Malayan Crape Myrtle, Thai Crape Myrtle, Tropical Crape Myrtle, Late Crepe-Myrtle, Queen’s Flower, Kedah Bungor, Bungur, Antri Gajah ชื่อท้องถิ่น: กระแบก (สงขลา) ตราแบกปรี้ (เขมร) ตะแบกไข่ (ราชบุรี ตราด) ตะแบกนา ตะแบก (ภาคกลาง นครราชสีมา) บางอตะมะกอ (มลายู-ยะลา, ปัตตานี) บางอยะมู (มลายู-นราธิวาส) เปื๋อยนา (ล�าปาง) เปื๋อยหาง ค่าง (แพร่) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ สูง 15–30 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามหรือเยื้องกันเล็กน้อย ใบอ่อนสีแดงมีขนสัน้ อ่อนนุม่ ปกคลุม ใบแก่ขนจะหลุดหายไป ดอกสีมว่ งอมชมพูตอ่ มาเปลีย่ นเป็นสีขาวหรือเกือบ ขาว ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล รูปรี ออกดอก กรกฎาคมถึงกันยายน ไม่แน่นอนแล้วแต่สภาพพื้นที่และ สิง่ แวดล้อม เก็บเมล็ดได้ประมาณเดือนธันวาคมขึน้ ไป ผลแก่ จะแตกเพือ่ โปรยเมล็ดในราวเดือนมีนาคม การขยาย พันธุ์โดยเมล็ด ขึ้นประปรายในป่าเบญจพรรณพื้นที่ที่ค่อนข้างชุ่มชื้นทางภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ส่วนภาคตะวันออก และภาคใต้มีขึ้นอยู่มากใน ป่าดงดิบ ป่าน�้าท่วม และตามท้องนาทั่ว ๆ ไป การใช้ประโยชน์: เนือ้ ไม้ละเอียดแข็ง ใจกลางมักเป็นโพรง ใช้ทา� สิง่ ปลูกสร้างทีร่ บั น�า้ หนัก เสา กระดานพืน้ และ เครื่องมือการเกษตร และนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ คนอีสานนิยมน�าเอา “ผึง” (ส่วนที่ยื่นออกมาจากล�าต้น) มาใช้ท�าด้ามเสียมหรือเครื่องมือทางการเกษตร
61
43) ไผ่สร้างไพ ไผ่เซี่ยงไพ >> ชือ่ ไทย: ไผ่เลีย้ ง ชือ่ วิทยาศาสตร์: Bambusa multiplex (Lour.) Raeusch. ex Schult. ชือ่ วงศ์: Poaceae ชื่อสามัญ: - ชื่อท้องถิ่น: ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: สูง 2-6 เมตร ล�ากลมและเกลี้ยง สีเขียวเป็นมันและมีขนสีขาวนวลอยู่ตาม ข้อใบแคบเล็ก ปลายแหลม ขอบใบเรียบ ใบแตกออกบริเวณกลางล�า ท�าให้ดูเป็นพุ่มอยู่ส่วนยอดของต้น มีใบดกมาก การใช้ประโยชน์: หน่อน�ามารับประทานได้ ล�าต้นตัดน�ามาท�าเป็นเฟอร์นีเจอร์ต่าง ๆ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ หรือ น�ามาสร้างกระท่อม
44) ส้มพ่อ >> ชือ่ ไทย: ข่อย ชือ่ วิทยาศาสตร์: Streblus asper Lour. ชือ่ วงศ์: Moraceae ชื่อสามัญ: Siamese rough bush, Tooth brush tree ชื่อท้องถิ่น: ตองขะแหน่ (กาญจนบุรี) กักไม้ฝอย (ภาคเหนือ) ส้มพอ (เลย) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้น เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียน รูปรี ดอกออกเป็นช่อสั้นตามซอกใบ ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้รวมกันเป็นช่อกลม ก้ า นดอกสั้ น ดอกเพศเมี ย ช่ อ หนึ่ ง มี ด อกย่ อ ย 2 ดอก ผลกลม มี เ นื้ อ ผนั ง ผลชั้ น ในแข็ ง เมื่ อ อ่ อ นสี เ ขี ย ว สุกเป็นสีเหลืองใส เมล็ดเดี่ยว แข็ง กลม การใช้ประโยชน์: ในอดีตใช้เยื่อจากต้นมาท�ากระดาษ เรียกว่า “สมุดข่อย” ใช้กิ่งสด ขนาดเล็กน�ามาทุบ ท�าไม้สีฟัน ท�าให้เหงือกและฟันทน เปลือกต้น รสเมาฝาดขม น�ามาต้มใส่เกลือให้เค็มใช้รักษาโรคร�ามะนาด แก้โรคฟัน รักษาฟันให้แข็งแรง แก้ปวดฟัน ดับพิษในกระดูกในเส้น แก้พยาธิผิวหนัง เรื้อน มะเร็ง ดับพิษทั้งปวง หุงเป็นน�้ามันทาหัวริดสีดวง ปรุงเป็นยาแก้ท้องร่วง เปลือกใช้มวนสูบรักษาริดสีดวงจมูก เปลือกต้นต้มกับน�้า ใช้ชะล้างบาดแผล และโรคผิวหนัง ราก รสเมาฝาดขม ปรุงเป็นยารักษาแผลเรื้อรัง แก้โรคคอตีบ เป็นส่วนผสม ในยารักษากระดูก ปวดเส้นประสาทและปวดเอว ฆ่าพยาธิ เปลือกราก รสเมาขมบ�ารุงหัวใจ พบมีสารบ�ารุงหัวใจ ใบ รสเมาเฝื่อน น�้าต้มแก้โรคบิด ใบข่อยคั่วชงน�้าดื่มก่อนมีประจ�าเดือน ส�าหรับสตรีที่มักมีอาการปวดท้องขณะ มีประจ�าเดือน จะบรรเทาอาการปวดประจ�าเดือน ใบคัว่ กินแก้โรคไต ขับน�า้ นม แก้บดิ ใช้ภายนอกแก้โรคริดสีดวง ทวาร ต�าผสมข้าวสารคัน้ เอาน�า้ ดืม่ ครึง่ ถ้วยชา ท�าให้อาเจียนถอนพิษยาเบือ่ ยาเมา หรืออาหารแสลง ชงกับน�า้ ร้อน ดื่มระบายท้อง แก้ปวดท้องขณะมีประจ�าเดือน แก้ปวดเมื่อย บ�ารุงธาตุ ยาระบายอ่อน ๆ ขับผายลม แก้ท้องอืด เฟ้อ ทั้งต้น ต้มใส่เกลือ แก้ฟันผุ กระพี้ รสเมาฝาดขม แก้พยาธิ แก้มะเร็ง ฝนกับน�้าปูนใสทาแก้ผื่นคน เยื่อหุ้ม กระพี้ รสเมาฝาดเย็น ขูดเอามาใช้ท�ายาสูบแก้ริดสีดวงจมูก ผล รสเมาหวานร้อน บ�ารุงธาตุ แก้ลม แก้กระษัย ขับลมจุกเสียด เป็นยาอายุวัฒนะ เมล็ด รสเมามันร้อน เป็นยาอายุวัฒนะ บ�ารุงธาตุเจริญอาหาร ขับผายลม แก้ท้องอืดเฟ้อ แก้โลหิตและลม ขับลมในล�าไส้ ต�ารายาพื้นบ้าน ใช้ใบต้มดื่มแก้ท้องเสีย เปลือกต้น แก้ร�ามะนาด โดยน�าเปลือกผสมกับเกลือทะเล อย่างละเท่าๆกัน ต้มให้เกลือละลาย อมเช้า-เย็น หลังอาหารและก่อนนอน
62 ต�าราเภสัชกรรมล้านนา ใช้ ใบ เปลือก ราก และเมล็ด รักษาอาการไอ ขับเสมหะ แก้เจ็บคอ รักษาเหงือก แก้ปวดฟัน ประเทศพม่า ใช้ เปลือกต้นแก้ท้องร่วง แก้ปวดฟัน ช่วยให้ฟันแข็งแรง ต้มน�้ากินแก้ไข้ แก้บิด แก้ท้องเสีย และแก้มะเร็ง เป็นยาอายุวัฒนะ
45) อีฮุมซ้าง >> ชือ่ ไทย: พฤกษ์ ชือ่ วิทยาศาสตร์: Albizia lebbeck (L.) Benth. ชือ่ วงศ์: Fabaceae ชื่อสามัญ: Siris Tree, Woman’s Tongue, East Indian Walnut ชื่อท้องถิ่น: ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้น สูง 15-25 เมตร ใบเป็นรูปขนนก สองชั้นเรียงสลับกัน เป็นไม้ ผลัดใบ ดอกออกเป็นช่อ เป็นดอกสมบูรณ์เพศ คล้ายดอกจามจุรี แต่มีสีขาวอมเขียว และเปลี่ยนเป็นสีเหลืองนวล มีกลิ่นหอม ออกดอกในเดือนมีนาคมถึงเมษายน ฝักแบนโตคล้ายฝักกระถิน สีขาวอมเหลือง มีเมล็ด 4-12 เมล็ดต่อฝัก การใช้ประโยชน์: ใบอ่อนและยอดอ่อนของพฤกษ์ น�ามากินเป็นผักได้ เช่น ใช้เป็นผักจิ้มน�า้ พริกปลาร้า ฯลฯ โดยน�าไปท�าให้สุกเสียก่อน เช่น ต้ม ลวก ย่าง ฯลฯ นอกจากนี้ยังน�าไปปรุงอาหารต�ารับอื่นๆได้อีก เช่น แกงส้ม เป็นต้น ยอดพฤกษ์เป็นผักที่มีคุณค่าทางอาหารสูง และรสชาติดีไม่แพ้ผักพื้นบ้านชนิดอื่น ๆ แต่น่าเสียดาย ที่คนไทยรู้จักกินกันน้อยกว่าในอดีตมาก พฤกษ์เป็นต้นไม้โตเร็วและทนทาน เหมาะส�าหรับปลูกในที่เสื่อมโทรม และแห้งแล้งสามารถปรับปรุงสภาพดินให้สมบูรณ์ขน้ึ ได้ เนือ่ งจากเป็นพวกถัว่ ซึง่ สามารถจับไนโตรเจนจากอากาศ มาเปลี่ยนเป็นปุ๋ยไนเทรตได้ดี เนื้อไม้พฤกษ์เหนียว แข็งแรง ทนทานปานกลาง เลื่อยไสกบได้ง่าย มีสีน�้าตาลอ่อน ถึงแก่ เป็นมัน เป็นไม้ที่ใช้ค้าขายระหว่างประเทศด้วย ชื่อทางการค้าคือ Indian Walnut Siris และ Kokko เมล็ด และเปลือก มีรสฝาด เป็นยาสมาน เช่น รักษาแผลในปาก ในล�าคอ เหงือกหรือฟันผุ ริดสีดวงทวารหนัก แก้ท้องร่วง ห้ามเลือดตกใน
46) เมาะล�าเลิง >> ชือ่ ไทย: เมาะล�าเลิง (ดอกสีชมพู) ชือ่ วิทยาศาสตร์: Pereskia grandifolia Haw. กุหลาบพุกาม (ดอกสีส้มแดง) ชือ่ วิทยาศาสตร์: Pereskia bleo (Kunth) DC. ชือ่ วงศ์: Cactaceae ชื่อสามัญ: เมาะล�าเลิง (Bastard Rose, Rose cactus) / กุหลาบพุกาม (Wax Rose) ชื่อท้องถิ่น: ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 5 เมตร ล�าต้น โคนต้นมีเนื้อไม้ กิ่งก้านอวบน�้า และมีหนามยาว สีน�้าตาลแดง แข็ง ออกเป็นกระจุกตามง่ามใบ ใบเดี่ยว ออก ดอก มีสีแดงอมส้ม ออกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่ม 2-3 ดอก เป็นช่อสั้นที่ปลายกิ่ง ดอกทยอยบาน ผล รูปกรวยแหลม ด้านบนแบน เมื่อสุกสีเหลือง เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก มีถิ่นก�าเนิดในโคลัมเบีย เขตร้อนของอเมริกา ปานามา ปลูกได้ทั่วไปในเขตร้อน ขยายพันธุ์ด้วย การปักช�ากิ่ง หรือตอนกิ่ง การใช้ประโยชน์: ปลูกเป็นไม้ประดับ
63
47) หูกวาง >> ชือ่ ไทย: หูกวาง ชือ่ วิทยาศาสตร์: Terminalia catappa L. ชือ่ วงศ์: Combretaceae ชื่อสามัญ: Singapore almond ชื่อท้องถิ่น: โคน (นราธิวาส) ดัดมือ หรือ ตัดมือ (ตรัง) ตาปัง (พิษณุโลก สตูล) ตาแปห์ (มลายู-นราธิวาส) หลุมปัง (สุราษฎร์ธานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ สูงประมาณ 8-25 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเวียนสลับ ดอกเป็นช่อตามซอกใบ ขนาดเล็ก มีสีขาวนวล ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ผลเป็นรูปไข่หรือรูปรี ป้อม ๆ แบนเล็กน้อยคล้ายเมล็ดแอลมอนด์ มีสีเขียว เมื่อแห้งมีสีด�าคล�้า นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ มีถิ่นก�าเนิด ดั้งเดิมในเขตร้อนของอนุทวีปอินเดีย เอเชียอาคเนย์ ไปจนถึงภูมิภาคโอเชียเนียและหมู่เกาะฮาวาย โดยมักจะพบ ประจ�าที่บริเวณชายหาดหรือป่าชายหาดริมทะเล เพราะเป็นไม้ที่ขึ้นได้ดีในดินแบบดินร่วนปนทราย การใช้ประโยชน์: เปลือกและผลมีรสฝาดมาก ใช้แก้อาการท้องเสีย ย้อมหนังสัตว์ ท�าหมึก เมล็ดในผล รับประทานได้ และให้น�้ามันคล้ายน�้ามันอัลมอนด์ นอกจากนี้แล้วใบของหูกวางโดยเฉพาะใบแห้ง เป็นที่รู้จักดี ของผูน้ ยิ มเลีย้ งปลาสวยงามหรือปลากัด เนือ่ งจากใช้ใบแห้งหมักน�า้ ทีใ่ ช้เลีย้ งปลาได้ เพราะสารแทนนินในใบหูกวาง จะท�าให้สภาพน�้ามีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) สูงขึ้น เหมาะส�าหรับใช้เลี้ยงปลาที่มาจากแหล่งน�้าที่มีค่าความ เป็นกรดสูง ทั้งนี้ยังช่วยลดการสะท้อนแสงของน�า้ เพื่อให้ปลาสบายตา ไม่เสียสายตา รู้สึกปลอดภัย ไม่ใช้ปาก คีดกระจก และใช้รักษาอาการบาดเจ็บของปลากัดได้เป็นอย่างดี เพราะมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญเติบโต ของเชื้อราและแบคทีเรียได้เป็นอย่างดี
48) หวดข่า >> ชือ่ ไทย: มะหวด ชือ่ วิทยาศาสตร์: Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh. ชือ่ วงศ์: Sapindaceae ชื่อสามัญ: ชื่อท้องถิ่น: สีหวด (นครราชสีมา) ก�าซ�า กะซ�่า มะหวด (ภาคกลาง) ชันรู มะหวดบาท มะหวดลิง (ภาคตะวันออกเฉียงใต้) ก�าจ�า (ภาคใต้) ซ�า (ทั่วไป) น�าซ�า มะจ�า (ภาคใต้) มะหวดป่า หวดคา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) สีฮอกน้อย หวดลาว (ภาคเหนือ) หวดฆ่า (อุดรธานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบนนกปลายคู่ เรียงเวียน สลับ ดอกสีขาวถึงสีเหลืองอ่อนๆ ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตั้ง จากปลายยอดหรือซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก สีขาว มีกลิ่นหอมอ่อนๆ แยกเพศ ผลอ่อนสีเขียว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแดงจนแก่จัดสีม่วง ด�า มี 2 พู ผิวเกลี้ยง เปลือกและเนื้อบาง เมล็ดสีน�้าตาลด�า เป็นมัน มี 1 เมล็ด พบตามป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง ที่ความสูงตั้งแต่ระดับทะเลปานกลางถึง 300-1,200 เมตร ออกดอกราวเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม ติดผลราว เดือนเมษายนถึงพฤษภาคม ในภาคอีสานมี 2 ชนิด คือ หวดข่า (ใหญ่)และหวดข่าน้อย ลักษณะเหมือนกัน แต่หวดข้าน้อยสูงไม่เกิน 1 เมตร ใช้ชื่อวิทยาสาสตร์เหมือนกัน
64 การใช้ประโยชน์: ผลสุกกินได้ รสหวานอมฝาด รากมีรสเมาเบื่อสุขุม รักษาอาการไข้ ต�าพอกศีรษะแก้อาการไข้ ปวดศีรษะ ต�าพอกรักษาผิวหนังผื่นคัน แก้พิษฝีภายใน ขับพยาธิ วัณโรค แก้พิษร้อน แก้กระษัยเส้นเอ็น ต้มน�้าดื่ม แก้เบื่อเมา รากผสมกับสมุนไพรอื่น ต้มน�้าดื่ม แก้ซาง (โรคของเด็กเล็ก มีอาการเบื่ออาหาร ซึม มีเม็ดขึ้นในปาก และคอ ลิ้นเป็นฝ้า) เปลือกต้น บ�ารุงธาตุ แก้ธาตุพิการ แก้บิด สมานแผล ใบ แก้ไข้ ผสมกับสมุนไพรอื่น ต้มน�้าดื่ม แก้ซาง ใบอ่อน รับประทานเป็นผักได้ ชาวบ้านใช้ใบรองพื้นและคลุมข้าวที่จะใช้ท�าขนมจีนเพื่อกันบูด ผล บ�ารุงก�าลัง แก้ท้องร่วง ผลสุก มีรสจืดฝาด ถึงหวาน รับประทานเป็นผลไม้ แก้ท้องร่วง เมล็ด รสฝาด ต้มดื่มแก้ไข้ ซาง แก้ไอกรน แก้ไอหอบในเด็ก แก้ไอเรื้อรัง บ�ารุงเส้นเอ็น ต้นหวดข่าใหญ่นิยมน�าไปกลึงท�าไม้ลูกกรง เรียกว่า “ลูกกรงมะหวด” เชื่อว่าจะช่วยป้องกันไม่ให้ขโมยเข้าไปลักของในบ้านหรือสถานที่ที่มีลูกกรงมะหวดอยู่
49) ล�าดวน >> ชือ่ ไทย: ล�าดวน ชือ่ วิทยาศาสตร์: Melodorum fruticosum Lour. ชือ่ วงศ์: Annonaceae ชื่อสามัญ: White cheesewood ชื่อท้องถิ่น: ล�าดวน (ภาคกลาง ภาคอีสาน) หอมนวล (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้น สูง 10-15 เมตร ใบเดี่ยว เรียงแบบสลับ รูปไข่ หรือรูปขอบขนาน ดอกเดี่ยว หรือช่อกระจุก 2-3 ดอก ออกตามซอกใบ หรือปลายกิ่ง สีเหลืองนวล มีกลิ่นหอม รูปไข่ป้อมถึงรูป เกือบกลม กลีบดอกชั้นในงุ้มเข้าหากันเป็นรูปโดม ขนาดเล็กกว่า แต่หนาและโค้งกว่า ผลกลุ่ม มีผลย่อย 15-20 ผล เมื่อแก่สีแดง และผลสุกมีสีน�้าเงินด�า ภายในมีเมล็ด 1-2 เมล็ด พบตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม ติดผลราวเดือนมกราคมถึงมีนาคม การใช้ประโยชน์: ผลรับประทานได้มีรสหวานอมเปรี้ยว ยาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ เนื้อไม้ และดอกแห้ง ต้มน�้าดื่ม ช่วยบ�ารุงหัวใจ แก้ลม วิงเวียน บ�ารุงโลหิต บ�ารุงก�าลัง แก้ไข้ ต�ารายาไทย ดอกมีกลิ่นหอม รสเย็น จัดอยู่ในพิกัดเกสรทั้ง 9 ใช้เป็นส่วนผสมในต�ารับยาหอม ดอกแห้ง เป็นยาบ�ารุงก�าลัง บ�ารุงหัวใจ บ�ารุงโลหิต แก้ลม แก้ไข้ หมอพิธีกรรมใช้ดอกล�าดวนประกอบพิธีกรรม เพื่อช่วยในการสะกดจิต
50) กาลพฤกษ์/กัลปพฤกษ์ >> ชือ่ ไทย: กัลปพฤกษ์ ชือ่ วิทยาศาสตร์: Cassia bakeriana Craib ชือ่ วงศ์: Fabaceae ชื่อสามัญ: Wishing Tree, Pink Shower, Pink cassia, Pink and White Shower Tree ชือ่ ท้องถิน่ : กัลปพฤกษ์ (ภาคกลาง ภาคเหนือ) กานล์ (เขมร-สุรนิ ทร์) ชัยพฤกษ์ (ภาคเหนือ) เปลือกขม (ปราจีนบุร)ี แก่นร้าง (จันทบุรี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ต้น สูง 5-15 เมตร ผลัดใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับ มีใบย่อย 5-8 คู่ เรียงจากเล็กไปหาใหญ่ ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามกิ่งพร้อมใบอ่อน กลีบดอกสีชมพูแล้วเปลี่ยน เป็นสีขาวในเวลาต่อมา เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวไม่เท่ากัน ฝักเป็นแท่งกลมยาว มีขนนุ่มสีเทาหนาแน่น มี 30-40 เมล็ด เมล็ดค่อนข้างกลม สีน�้าตาลเป็นมัน รูปไข่ รูปรี ถึงรูปขอบขนาน
65 การใช้ประโยชน์: ในอดีตคนแก่จะใช้เนื้อในฝักกินกับหมาก ส�าหรับความเชื่อของคนไทยในอดีตเชื่อกันว่า ต้นกัลปพฤกษ์มีอยู่ในแดนสวรรค์ เปรียบเหมือนแก้วสารพัดนึก หากปรารถนาสิ่งใด จะไปขอเอาจากต้นไม้ นี้อีกทั้งต้นกัลปพฤกษ์ยังถือเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะ มีโชคมีชัย โดยเชื่อกันว่าหากบ้านใดปลูกต้นกัลปพฤกษ์ ไว้เป็นไม้ประจ�าบ้าน โดยเฉพาะทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้จะเป็นสิริมงคล ท�าให้ประสบความส�าเร็จในชีวิต พบแต่ความสุขสมหวังทุกประการ หากผู้ปลูกเป็นผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือและเป็นผู้ประกอบคุณงามความดี ก็จะเป็นสิรมิ งคลยิง่ นักหรือน�ากิง่ ก้านมาท�าด้ามธง ถือว่าท�าให้เกิดสิรมิ งคลดีนกั เปลือกฝักและเมล็ดมีรสขมเอียน ใช้เป็นยาลด ถ่ายพิษไข้ได้ดี เนื้อในฝักใช้แก้คูถ แก้เสมหะ ใช้ปรุงเป็นยาระบายอ่อน ๆ
51) อีเลิด ผักอีเลิด >> ชือ่ ไทย: ช้าพลู ชือ่ วิทยาศาสตร์: Piper sarmentosum Roxb. ชือ่ วงศ์: Piperaceae ชื่อสามัญ: Wildbetal Leafbush ชื่อท้องถิ่น: นมวา (ภาคใต้) ผักปูนา ผักพลูนก พลูลิง (ภาคเหนือ) เย่เท้ย (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ล้มลุก ล�าต้นทอดคลานไปตามพื้นดิน สูง 30-80 เซนติเมตร ล�าต้นสีเขียว มีไหลงอกเป็นต้นใหม่ มีรากงอกออกตามข้อ ใบ เป็นใบเดีย่ ว ออกเรียงสลับ แผ่นใบบาง ผิวใบเรียบสีเขียวเข้มเป็น มัน ใบรูปหัวใจ ปลายใบแหลม โคนใบเว้า ดอก ออกเป็นช่อที่ซอกใบรูปทรงกระบอก ดอกเล็กสีขาวอัดแน่นอยู่ บนแกนช่อดอก ดอกแยกเพศ ผล เป็นผลสด กลม อัดแน่นอยู่บนแกน การใช้ประโยชน์: ต�ารายาไทยใช้ ทั้งต้น รสเผ็ดร้อน ขับเสมหะ แก้ท้องอืดเฟ้อ ช่วยเจริญอาหาร แก้ไอ แก้หวัด ใบ รสเผ็ดร้อน เป็นยาขับลม ช่วยเจริญอาหาร ท�าให้เลือดลมซ่าน ขับเสมหะ แก้เบาหวาน ราก รสร้อน ขับเสมหะ บ�ารุงธาตุ ขับลมในล�าไส้ ราก ผล และใบ ท�าให้ร่างกายอบอุ่น แก้ท้องอืดเฟ้อ ขับลมในล�าไส้ ช่วยย่อยอาหาร รักษาอาการปวดกระเพาะเนื่องจากความเย็นพร่องในธาตุ แก้ธาตุน�้าพิการ แก้ไอเย็น ขับเสมหะ แก้บวมน�้า แก้ไข้จับสั่น แก้ปวดฟัน ปวดกระดูกเนื่องจากลมชื้นติดเกาะ แก้ฟกช�้า ใช้ภายนอก รักษาขาเน่าขาเปื่อย ผล รสเผ็ดร้อน แก้เสมหะทีค่ อ ท�าให้เสมหะแห้ง ขับลมในล�าไส้ ช่วยย่อยอาหาร ยาสมุนไพรพืน้ บ้านจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ รากและใบ กินสด ช่วยขับลม
52) ยอป่า >> ชือ่ ไทย: ยอป่า ชือ่ วิทยาศาสตร์: Morinda coreia Buch.-Ham. ชือ่ วงศ์: Rubiaceae ชื่อสามัญ: Indian mulberry ชื่อท้องถิ่น: สลักป่า สลักหลวง (เหนือ) คุย (พิษณุโลก) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ใบ เดี่ยว รูปรีหรือไข่กลับ เรียงตัวแบบตรงข้าม สลับตั้งฉาก ดอกเป็นช่อ ออกรวมกันเป็นกลุ่มที่ซอกใบ หรือปลายกิ่ง กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบดอก สีขาว มีกลิ่นหอมอ่อนๆ กลีบดอกหนาเมื่อดอกบานปลายกลีบแผ่กว้างออก ผลเป็นผลรวมรูปร่างค่อนข้างกลม ผลอ่อนสีเขียว เนื้อในอ่อนนุ่ม ฉ�่าน�้า สีขาว ผลแก่สีด�า มีเมล็ดมาก สีน�้าตาล เมล็ดแบน 1 เมล็ดต่อหนึ่งผลย่อย ออกดอกเดือนเมษายน-กรกฎาคม ผลออกช่วงพฤษภาคม-สิงหาคม พบในป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ
66 การใช้ประโยชน์: ยอป่าเป็นไม้มงคลของอีสาน ในการน�าข้าวขึ้นยุ้งจะตัดกิ่งยอป่ามาค�้ายุ้งไว้ก่อนน�าข้าวขึ้นยุ้ง เพื่อเป็นสิริมงคล มีความหมายว่าให้ข้าวเพิ่มพูน ต�ารายาไทย ใบ แก้ไข้ แก้ปวดศีรษะ แก้ริดสีดวงทวาร แก้ม้าม โต ใบสด ต�าพอกศีรษะฆ่าไข่เหา อังไฟแล้วน�ามาปิดที่หน้าอกหน้าท้องแก้ไอ แก้จุกเสียด แก้ม้ามโต แก้ไข้ ผลอ่อน แก้คลื่นไส้อาเจียน ผลสุกงอม ขับระดูสตรี ขับลมในล�าไส้ ผลสุกรับประทานได้ เปลือกและเนื้อไม้ แก้ไข้ แก้ไข้ มาลาเรีย แก่น รสขมร้อน ต้มหรือดองสุรา ดื่มขับเลือด บ�ารุงเลือด ขับน�้าคาวปลา ขับและฟอกโลหิตระดู แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ ขับผายลม ป้องกันบาดทะยักปากมดลูก ราก แก้เบาหวาน ใช้ย้อมผ้าให้เป็นสีแดง ใบอ่อน ยอดอ่อน ลวก ต้มให้สุกจิ้มน�้าพริก
53) เม็ก กะเม็ก สะเม็ก >> ชือ่ ไทย: เสม็ดชุน ชือ่ วิทยาศาสตร์: Syzygium antisepticum (Blume) Merr. & L.M.Perry ชื่อวงศ์: Myrtaceae ชื่อสามัญ: Shore eugenia ชื่อท้องถิ่น: ไคร้เม็ด (เชียงใหม่ ภาคกลาง) เม็ก (ภาคตะวันออก ภาคอีสาน) เสม็ดแดง เสม็ดชุน เสม็ด (สกลนคร สตูล) เสม็ดแดง เสม็ดเขา (ตราด) เม็ดชุน (นครศรีธรรมราช) ขะเม็ก ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร ล�าต้นสีน�้าตาลแดง เปลือกบาง ซ้อนกันหลายๆ ชั้น แตกกิ่งก้านมาก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ดอกช่อ แบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบและปลายยอด ดอกย่อย สีขาว ไม่มีก้านดอก ผลสด ทรงกลม สีขาว ฐานผลนูนออกมาและบุ๋ม กระจายพันธุ์แถบป่าผลัดใบ และริมล�าธาร ออกดอกช่วงเดือน เมษายน ถึงพฤษภาคม การใช้ประโยชน์: ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักได้ ยาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ ราก ต้มน�้าดื่ม แก้เบื่อเมา แก้ผิดส�าแดง ยอดอ่อน รับประทานสด ขับลม ต�ารายาไทย ใช้ เปลือก ต้มทา ลมพิษ หรือแก้พิษ น�้าเกลี้ยง ใบแก่ ต�าพอกแก้ฟกช�้า
67
68
69
28) แคป่า แคนา แคทุ่ง >>
29) เสลดพังพอนตัวเมีย >>
30) คางฮุง กลางฮุง >>
70
31) บานไม่รู้โรยป่า >>
32) ขี้เหล็ก >>
33) ม่วง หมากม่วง >>
71
34) หมากหล�่า >>
35) หวาย >>
36) มูกเกี้ย >>
72
37) ลอมคอม >>
38) พันซาด >>
39) โสมไทย >>
73
40) โทงเทง >>
41) ปอหู >>
42) เปือย >>
74
43) ไผ่สร้างไพ ไผ่เซี่ยงไพ >>
44) ส้มพ่อ >>
45) อีฮุมซ้าง >>
46) เมาะล�าเลิง >>
75
47) หูกวาง >>
48) หวดข่า >>
49) ล�าดวน >>
50) กาลพฤกษ์/กัลปพฤกษ์ >>
(หวดข่าน้อย)
76
51) อีเลิด ผักอีเลิด >>
52) ยอป่า >>
53) เม็ก กะเม็ก สะเม็ก >>
(พิธีกรรมเอาข้าวขึ้นเล้า ต้องใช้ใบยอป่าและใบเกล็ดลิ่นประกอบ)
77
สนับสนุนโดย >>
78
สนับสนุนโดย >>
79
สนับสนุนโดย >>
80
สนับสนุนโดย >>
ขอขอบคุณ พล.ต.โสภณ ปรุงสุวรรณ์ ในนาม มูลนิธิเกษตรมอดินแดง
ขอขอบคุณ คุณวีรวัฒน์ จีรวงส์ ก.7 คุณสุวนิตย์ จีรวงส์ ก. 9
กองบรรณาธิการ >>
ขอขอบคุณ >> “90 ปี รศ.ดร.กวี จุติกุล” ดร.อุษา กลิ่นหอม, นางสาวปิยะฉัตร เชยชุ่ม, นายปณิธาน ศรีบุญเรือง, ที่ปรึกษา: รองศาสตราจารย์ ดร.สุวิทย์ เลาหศิริวงศ์ นายปรีชา หงอกสิมมา, นางสาวประภาพร มณฑาทิพย์ บรรณาธิการ: นายภาสกร เตือประโคน ส�านักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น พิมพ์ที่: โรงพิมพ์ศิริภัณฑ์ออฟเซ็ท 236 ถนนหลังเมือง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 โทร. 089-696-4995 Line: sarapaporn