40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY VAJIRA หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY VAJIRA หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
พระราชดำ�รัส “การที่เราได้จ�ำหน่ายทุนทรัพย์ส่วนตัวออกท�ำโรงพยาบาลขึ้นครั้งนี้ เพราะเรามาร�ำพึงถึงบุพเพกะตะปุญญตาและกุศลที่เราสั่งสมมา จึงได้มาตัง้ อยู่ในฐานะแห่งผู้มีทรัพย์เพียงพอ และทรัพย์ท่เี รามีอยู่นี้ เห็นว่าจะจับจ่ายใช้สอยในทางใดก็จะไม่ได้รับผลความพอใจเท่า ทางที่จะท�ำให้เพื่อนมนุษย์ผู้มโี รคภัยเบียดเบียฬ ได้รับความบ�ำรุงรักษาพยาบาล เพื่อทุเลาทุกขเวทนา ได้กลับเปนผู้มกี �ำลังมีร่างกายบริบูรณ์ข้ึนอีก เราเห็นว่าจะเปนทางทาน อันจะได้รับผลให้เราได้มคี วามสุขใจ ยิ่งกว่าที่จะแจกจ่ายทรัพย์ไปให้แก่คนขอทานโดยไม่เลือกหน้า บัดนี้โรงพยาบาลอันนี้ก็ได้ตกแต่งขึ้นพร้อมแล้ว เราขอให้นามว่า วชิรพยาบาล และขอมอบที่นี้ไว้เปน สาธารณสถานเปนสมบัตสิ ิทธิ์ขาดแก่ประชาชนชาวไทย ให้ได้ใช้เพื่อเปนที่พยาบาลผู้มีอาการป่วยไข้ต่อไป ขอมอบไว้ให้แก่กรมศุขาภิบาลเปนผู้ปกปักรักษา ในนามแห่งประชาชนสืบไปแต่วันนี้” พระกระแสพระราชโองการยกโรงพยาบาลให้เป็นสาธารณสถาน
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชีราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ประกาศ ณ วันที่ ๒ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๕๕
สารจากอธิการบดี กรุงเทพมหานครมีเป้าหมายมุง่ เน้นในการพัฒนา กรุงเทพมหานคร ให้เป็นมหานครแห่งความปลอดภัย มหานครแห่งความสุข มหานครสีเขียวและสะอาด มหานครแห่งการเรียนรู้ และมหานครแห่งอาเซียน จากเป้าหมายของการพัฒนาดังกล่าว มหาวิทยาลัย นวมินทราธิราชซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของ กรุงเทพมหานครจึงได้ ก�ำหนดเป้าหมาย ให้มคี วาม สอดคล้องและครอบคลุมทั้งด้านการผลิตบัณฑิต การพัฒนาทักษะและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของ คนเมือง การพัฒนางานวิจยั เพือ่ การพัฒนาเมือง และการเตรียมบุคลากรและความพร้อมในด้านต่างๆ ส�ำหรับเมืองทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต
หน่ ว ยศั ล ยศาสตร์ ท รวงอกและหั ว ใจ คณะ แพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ได้ถือก�ำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ และนับเป็นที่แรกๆ ในประเทศไทย ที่สามารถผ่าตัดหัวใจได้ ความเสียสละ มานะ ทุ่มเท พากเพียรของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกท่าน ตลอดระยะเวลา ๔๐ ปีทผี่ า่ นมา ได้ทำ� ให้งานบริการ ผ่าตัดหัวใจของวชิรพยาบาลประสบผลส�ำเร็จ และเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป
ในโอกาสที่หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัย นวมินทราธิราช ด�ำเนินงานมาครบ ๔๐ ปี ผมขอ แสดงความยินดีและชืน่ ชมมายังเจ้าหน้าทีท่ กุ ท่าน ในด้านการแพทย์ ทางมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช และขอให้ทุกท่านมีความสุข ความเจริญ มีความ มีความพร้อมทัง้ ทางด้านการผลิตบัณฑิตทีม่ คี ณุ ภาพ เจริญก้าวหน้าในวิชาชีพยิ่งๆ ขึ้นไป การให้บริการทีด่ แี ก่ประชาชนและการวิจยั เพือ่ พัฒนา องค์ความรู้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านเวชศาสตร์เขต เมือง โรคหัวใจ ถือเป็นโรคทีพ่ บบ่อยขึน้ ในปัจจุบนั โดยมี ความสัมพันธ์กบั การใช้ชวี ติ ความเป็นอยู่ และการ บริโภคที่เร่งรีบของคนในมหานคร การให้บริการ ผ่าตัดรักษาผูป้ ว่ ยโรคหัวใจจึงเป็นบริการทีส่ ามารถ ตอบสนองความต้องการในการรักษาผูป้ ว่ ยได้เป็น อย่างดี
ดร.พิจิตต รัตตกุล
อธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
สารจากคณบดี วชิรพยาบาล ถือก�ำเนิดขึน้ ในปี พ.ศ. ๒๔๕๕ โดย พระราชปณิธานในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยูห่ วั เพือ่ เป็นสถานพยาบาลส�ำหรับประชาชน ทัว่ ไป เริม่ แรกมีการให้บริการตรวจรักษาทัว่ ๆ ไป ต่อมาเมื่อวิทยาศาสตร์การแพทย์เจริญก้าวหน้า การบริการจึงเริม่ แยกเป็นหน่วยงานย่อยทีม่ คี วาม เฉพาะตัวสูง มีการเติบโต เปลีย่ นแปลงเป็นโรงเรียน แพทย์ ให้บริการสังคมทั้งในแง่การตรวจรักษา อาการเจ็บป่วย เป็นสถาบันผลิตแพทย์และการวิจยั ให้การดูแลผูป้ ว่ ยทีม่ คี วามซับซ้อนมากขึน้ ในระดับ ตติยภูมิ การผ่าตัดหัวใจ เป็นอีกหนึ่งสาขาที่มีความสลับ ซับซ้อน ต้องใช้บคุ ลากรทีม่ คี วามสามารถ อดทน เสียสละ ต้องมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัย เพื่อ ให้ ผ ลการรั ก ษาเป็ น ไปอย่ า งดี ที่ สุ ด หน่ ว ย ศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ วชิรพยาบาล ได้เริม่ ให้บริการผ่าตัดหัวใจ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ นับเป็น สถาบันแรกๆ ของประเทศไทย มีผลการรักษาทีด่ ี มีการผ่าตัดริเริ่มเป็นครั้งแรกหลายอย่างและได้มี การพัฒนาการให้บริการมาอย่างต่อเนือ่ ง นับเป็น ระยะเวลา ๔๐ ปี
วันนี้ หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ คณะ แพทยศาสตร์วชิรพยาบาล สามารถให้การบริการ ผ่าตัดหัวใจได้ในหลายโรคที่ส�ำคัญ มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่องด้วยความมุ่งมั่นที่จะให้บริการแก่ ผู้ป่วยอย่างดีที่สุด เป็นก�ำลังส�ำคัญของคณะ แพทยศาสตร์วชิรพยาบาลในการมุ่งสู่การเป็น สถาบันแพทย์ชั้นน�ำของประเทศ ในโอกาสที่หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัย นวมินทราธิราช ได้เริ่มผ่าตัดหัวใจมาครบ ๔๐ ปี ในปีนี้ ผมขอแสดงความยินดีและชื่นชมมายัง หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกท่าน และ ขอให้ทุกท่านประสบผลส�ำเร็จในการท�ำงานเพื่อ ประโยชน์แก่ประชาชนที่มารับบริการผ่าตัดหัวใจ สืบไป นพ.ประยุทธ ศิริวงศ์
คณบดีคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
สารจากผู้ร่วมก่อตั้ง ทีมศัลยกรรมโรคหัวใจวชิรพยาบาล มุ่งมั่นจะให้ บริการทางการแพทย์ด้านสุขภาพโรคหัวใจใน ระดับมาตรฐานสากล ด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม และทั น สมั ย จะเป็ น อี ก หนึ่ ง ความภู มิ ใ จของ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชและชาวกรุงเทพ มหานคร และจะเป็นอีกหนึ่งแรงผลักดันที่จะน�ำ ประเทศไทยให้กา้ วหน้าทางศัลยกรรมหัวใจต่อไป ในระดับนานาชาติ โดยทีมบุคลากรศัลยกรรม หั ว ใจที่ ยึ ด มั่ น ในมาตรฐานและจริ ย ธรรมแห่ ง หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจวชิรพยาบาล วิชาชีพ และมุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพการให้บริการ สามารถให้บริการ ตรวจ วินิจฉัย และดูแลรักษา อย่างต่อเนื่อง เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วยเป็น ผู้ป่วยโรคหัวใจอย่างครบวงจร ด้วยความเมตตา ส�ำคัญ เอื้ออาทร เน้นคุณภาพของบริการและความเป็น เยี่ยมทางวิชาการ ความสามัคคีและการเสียสละ โดยความส�ำเร็จทั้งปวงที่ผ่านมาล้วนเป็นผลมา จากความร่วมมือร่วมใจของชาววชิรพยาบาลและ นพ.สุทธิ สุรเกียรติชานุกูล การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาในระดับต่างๆ อดีตหัวหน้าหน่วยศัลยศาตร์ทรวงอกและหัวใจ ของกรุงเทพมหานคร ปี 2518 - 2544
ในระยะเวลา ๔๐ ปีที่ผ่านมา หน่วยศัลยศาสตร์ ทรวงอกและหัวใจ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ประสบความส�ำเร็จ ด้านศัลยกรรมหัวใจจนเป็นที่ยอมรับในวงการ แพทย์ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในการให้ บ ริ ก าร ศัลยกรรมโรคหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือด หัวใจตีบตัน และน�ำไปสูก่ ารผ่าตัดเพือ่ รักษาพยาธิ สภาพของหัวใจในภาวะต่างๆ กันมาโดยตลอด
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ
คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ISBN 978-616-7741-16-1 จำ�นวนหน้า ๘๐ หน้า จำ�นวนพิมพ์ ๓๐๐ เล่ม พิมพ์ครั้งที่ ๑
กันยายน ๒๕๕๘
หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ๖๘๑ ถนนสามเสน แขวงวชิระ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐
สถาณที่ติดต่อ
Cardiovascular Thoracic Unit, Surgery Department at Faculty of Medicine Vajira Hospital, Navamindrahiraj University, Bangkok, Thailand Tel: 0-2244-3281 Fax: 0-2244-3282 Website: www.vajira.ac.th ประธาณคณะผู้จัดทำ�
นพ.กนก สุวรรณกิจ
กรรมการคณะผู้จัดทำ�
นพ.สันติชัย กาลเนาวกุล ณิชพักตร์ เพิ่มพูนธัญญกิจ พิสิษฐ์ มหาวีระตระกูล
ติดต่อประสานงาน
พิสิษฐ์ มหาวีระตระกูล ณิชพักตร์ เพิ่มพูนธัญญกิจ ชวิศาส์ เลิศมงคลธีรกุล เรียบเรียงข้อมูล
ศุษิรา ชนเห็นชอบ สุพจน์ มนัสวีระพร ออกแบบปกและรูปเล่ม
ปฐมพงศ์ เกียรติธนานุพงศ์ ถ่ายถาพ
ว่าที่ ร.ต.พิเชฐ ชาญจักร - Facebook: ลุงอู๊ด สอนและรับถ่ายภาพ ฐิติพันธ์ เฟือสูงเนิน - Facebook: ช่างภาพ ไข่เค็ม สุพจน์ มนัสวีระพร พิสิษฐ์ มหาวีระตระกูล จัดพิมพ์โดย เมืองทองการพิมพ์ ๑ ๖๓-๗ ซอยจุฬา ๕ ถนนพระราม ๔ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทร: ๐-๒๒๑๔-๐๒๕๑, ๐๘-๑๙๒๐-๐๓๔๖ แฟกซ์: ๐-๒๒๑๖-๘๖๓๕
คำ�นำ� พุทธศักราช ๒๕๕๘ คือโอกาสครบรอบ ๔๐ ปีของการท�ำงาน การพัฒนา และร่วมสร้าง ประวัตศิ าสตร์ในวงการแพทย์ไทยมาอย่างต่อเนือ่ งของหน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (นามเดิม วิทยาลัย แพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล) ในรอบ ๔๐ ปีที่ผ่านมา จากวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๑๘ ถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘ หน่วย ศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจได้ให้บริการผ่าตัดหัวใจแก่ผปู้ ว่ ยรวมทัง้ สิน้ ๔,๙๓๔ ราย และ มีผลงานการผ่าตัดหัวใจที่ริเริ่มดีเด่นและส�ำเร็จเป็นครั้งแรกในประเทศไทยมากมาย อาทิ การผ่าตัดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตันโดยการใช้เส้นเลือดแดงผนังหน้าอกปลูกแทนหลอด เลือดทีต่ บี ตันในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ การผ่าตัดการทะลุของผนังกัน้ หัวใจภายหลังกล้ามเนือ้ หัวใจ ตายอย่างเฉียบพลัน ร่วมกับการต่อหลอดเลือดหัวใจในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ และการผ่าตัดโรค หัวใจขาดเลือดชนิดระยะสุดท้ายของโรคด้วยแสงเลเซอร์ Transmyocardial Laser Revascularization (TMR) ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็นต้น จากแพทย์ศลั ยกรรมหัวใจ ๒ คน และพยาบาล 5 คนในปีแรก ทรัพยากรบุคคลของหน่วยใน ปีปจั จุบนั ได้เพิม่ ขึน้ เป็นแพทย์ศลั ยกรรมหัวใจ ๔ คน พยาบาล ๒๐ คน และนักปฏิบตั กิ าร เทคโนโลยี หัวใจและทรวงอก ๒ คน ซึ่งรวมถึงพยาบาลห้องผ่าตัดหัวใจ พยาบาลในหอ อภิบาลศัลยกรรมหัวใจและพยาบาลประจ�ำหอผู้ป่วยศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ เนือ่ งในโอกาสครบรอบปีที่ ๔๐ ของหน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ คณะแพทยศาสตร์ วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช หนังสือเล่มนี้จะเป็นตัวแทนบอกเล่าเสี้ยวหนึ่ง ของกาลเวลาทีผ่ า่ นมา โดยสะท้อนให้เห็นถึงส่วนหนึง่ ของประวัตศิ าสตร์ การแพทย์ในประเทศไทย ในงานด้านศัลยกรรมหัวใจ ผสานกับภาพของหน่วยในวันนี้และการด�ำเนินงานสู่อนาคต เพื่อการเจริญเติบโตและก้าวหน้าต่อไป ขอขอบคุณคณะผู้บริหาร แพทย์ พยาบาล และบุคลากรในหน่วยงาน ผู้อุปการคุณ เพือ่ นร่วมงาน เครือข่ายทีเ่ กีย่ วข้อง อีกทัง้ ผูป้ ว่ ยทัง้ ในอดีตและปัจจุบนั ทีไ่ ด้มสี ว่ นร่วมท�ำให้ หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ ก่อก�ำเนิด พัฒนา และสร้างประโยชน์ให้แก่ชาวไทย ตลอดมา
คณะผู้จัดท�ำ
สารบัญ ประวัติความเป็นมา มองวันที่ผ่านไป จากใจผู้บุกเบิก ทีมศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ ทีมงานผ่าตัดหัวใจ กระบวนการดำ�เนินงาน เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจ มองอดีต สะท้อนปัจจุบัน วางแผนอนาคต ทิศทางในอนาคต สถิติการดำ�เนินงาน บทสัมภาษณ์ผู้ป่วยหลังได้รับการผ่าตัดหัวใจ
๑๘ ๒๘ ๓๖ ๓๘ ๔๘ ๕๖ ๖๐ ๖๖ ๖๘ ๗๐
ประวัติความเป็นมา แรกเริ่ม
งานศั ล ยกรรมหั ว ใจเริ่ ม ขึ้ น ในคณะแพทยศาสตร์ ว ชิ ร พยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ในตอนนั้น อาจารย์นายแพทย์ชลิต เชียรวิชัย แพทย์อาวุโสที่มีชื่อเสียงได้รับการ ยกย่องทางด้านศัลยกรรมหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกจากคลีฟแลนด์ คลินิก ซึ่งเป็นสถาบันที่มีชื่อเสียงในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ชักชวน นายแพทย์สทุ ธิ สุรเกียรติชานุกลู ซึง่ ได้สำ� เร็จการศึกษาศัลยกรรมหัวใจ หลอดเลือดจากสถาบันเดียวกันกลับมารับราชการในประเทศไทยที่ วชิรพยาบาล และเริ่มต้นท�ำการผ่าตัดหัวใจเป็นครั้งแรกที่นี่ ราวเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๘ เริ่มมีการเตรียมพร้อมให้แก่หน่วย ศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ ด้วยการฝึกอบรมบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะในเทคนิควิธีการทางศัลยกรรมหัวใจโดยใช้เทคโนโลยีและ เครื่องมือทันสมัยล่าสุด คุณศุภวรรณ จันทร์รุจิพัฒน์ คุณสุริวิภา ใจรังสี คุณวิชิต ปั้นบริสุทธิ์ และคุณขันทอง สาสนกุล ได้กล่าวถึงห้องเรียนและฝึกสอนทัง้ ทางภาค ทฤษฎีและปฏิบัติในขณะนั้นไว้ในสารสัมพันธ์ฉบับที่ ๒ ของชมรม นักปฏิบัติการเครื่องหัวใจและปอดเทียมว่า
“...ใช้หอ ้ งเก็บของทีไ่ ม่มใี ครเหลียวแลและทิง ้ ว่างไว้ทข ี่ า้ งห้องผ่าตัดชัน ้ สองของตึกผ่าตัดรัฐธรรมนูญ แม้จะเก่าและโกโรโกโสก็ตาม ท�ำความ สะอาดขนย้ายสิง ่ ของช�ำรุดออกไปจนหมดลงมือเช็ดถูพน ื้ ห้องด้วยตัวเอง หมอเองก็รว ่ มกับพวกเรา ใช้เวลาอยูป ่ ระมาณหนึง ่ อาทิตย์ถง ึ เรียบร้อย”
หลั ง จากนั้ น ก็ เ ริ่ ม มี ก ารสอนภาคทฤษฎี ข องการผ่ า ตั ด หั ว ใจและ หลอดเลือดก่อน แล้วค่อยมาฝึกสอนทีมพยาบาลทางภาคปฏิบัติของ เครื่องหัวใจและปอดเทียม ตลอดจนเครื่องมือที่ใช้ในการผ่าตัดหัวใจ การผ่าตัดหัวใจชนิดเปิด (Open Heart Surgery) นั้นต้องการใช้เครื่อง หัวใจเทียม และเครือ่ งปอดเทียมซึง่ มีทงั้ ชนิด Bubble และ Membrane 16 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ประวัติความเป็นมา
หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
Type ได้มกี ารฝึกสอนให้ทมี พยาบาลปฏิบตั กิ ารควบคุมเครือ่ งหัวใจและปอดเทียมและพยาบาลผ่าตัด หัวใจจ�ำลองการปฏิบัติงานขึ้นทุกวันจนคล่อง ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๘ ถึงปลายเดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ โดยระยะท้ายได้ใช้สุนัขในการทดลองตรวจสอบความพร้อมเพรียงของทีม ผ่าตัดหัวใจถึง ๑๑ ตัวจนแน่ใจในความสามารถของคณะพยาบาล จึงเริ่มปฏิบัติงานจริงในชั่วระยะ เวลา ๓ เดือน ด้วยความปลอดภัย ซึ่งนับว่าเป็นระยะเวลาที่สั้นมาก หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 17
นอกเหนือจากพยาบาลทั้ง ๔ ท่าน ที่ได้กล่าวถึงไปแล้ว ยังมีกลุ่มพยาบาลผู้ร่วมบุกเบิกอีก ๔ ท่าน อันได้แก่ คุณรังสิตา ตั้งปรีชา คุณจีรภัทร วีระนันท์ คุณนัยนา ศุขเกษม คุณทัศนีย์ ทองประทีป ซึ่ง ทุกท่านได้เรียนรูก้ ารปฏิบตั กิ ารควบคุมเครือ่ งหัวใจและปอดเทียม เรียนรูก้ ารใช้เครือ่ งใหม่ๆ หลายชนิด รวมถึงฝึกในสถานการณ์จำ� ลองจนคล่องและช�ำนาญภายใน ๓ เดือน เมือ่ บุคลากรมีความรูแ้ ละความ ช�ำนาญพร้อมปฏิบตั งิ านจริงแล้ว วันที่ ๒ กันยายน ปีเดียวกันทีมศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจก็สามารถ ท�ำการผ่าตัดเปิดหัวใจผู้ป่วยโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตันส�ำเร็จเป็นครั้งแรกในวชิรพยาบาลด้วยความ เรียบร้อยและปลอดภัยทุกประการ 18 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ประวัติความเป็นมา
ฟันฝ่า
คุณศุภวรรณ จันทร์รจุ พิ ฒั น์ คุณสุรวิ ภิ า ใจรังสี คุณ วิชิต ปั้นบริสุทธิ์ และคุณขันทอง สาสนกุล ยังได้ กล่าวถึงการฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆ ไว้ในสารสัมพันธ์ ฉบับเดียวกัน “...หมอสุทธิกต็ อ้ งท�ำผ่าตัดเอง เมือ่ ผ่าตัดเสร็จก็ตอ้ ง อยู่ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจเองและท�ำการสอน อภิบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดไปในตัวเกือบตลอด ๒๔ ชั่วโมง และยังต้องดูเวรตึกอุบัติเหตุด้วย โดยแทบ ไม่ได้กลับบ้านเลยเป็นอาทิตย์กม็ ี โดยยึดเอาห้องเก็บ ของเป็นที่นอนและนอนบนกล่องเก็บของ (เพราะ โรงพยาบาลไม่มหี อ้ งหรือเตียงให้) จนพวกเราเห็นใจ ได้ไปเก็บเอาฟูกทีน่ อนเก่าคนไข้ทแี่ ทงช�ำรุดจากพัสดุ มาปูให้นอนในระยะหลัง.... พวกเราพักอยูใ่ นหอของ โรงพยาบาล บางครั้งก�ำลังจะไปเที่ยว เกิดมีตาม ฉุกเฉินขึ้นไปในเวลากลางคืนก็มาท�ำงานด้วยความ เต็มใจและสนุกสนาน...” หลังจากนัน้ นายแพทย์สมเกียรติ ธาตรีธร และ นาย แพทย์วิชิต เสงี่ยมกุลถาวร ได้มาร่วมสร้างหน่วยฯ ให้เข้มแข็งและเจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น เมื่อถึงปี พ.ศ.๒๕๒o หน่วยฯ ได้มีความมุ่งมั่นที่จะ ให้บริการทางการแพทย์ด้านศัลยกรรมโรคหัวใจให้ พัฒนายิ่งขึ้น จึงได้จัดตั้งหออภิบาลศัลยกรรมหัวใจ แยกต่างหากจากหออภิบาลศัลยกรรมทั่วไป เพื่อ ความเป็นเลิศในการดูแลผูป้ ว่ ยหลังผ่าตัดหัวใจ โดย มีพยาบาลดูแลเตียงต่อเตียงตลอด ๒๔ ชั่วโมง ในระยะสอง ๒ ถึง ๓ วันแรกหลังผ่าตัดหัวใจ และ หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 19
20 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ประวัติความเป็นมา
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 21
ได้รบั ความร่วมมือจากหัวหน้ากองพยาบาล คุณรัชนี รัตนสิน ท�ำเรื่องจ้างพยาบาล ที่ จ บการศึ ก ษาใหม่ จ ากวิ ท ยาลั ย พยาบาลเกื้ อ การุ ณ ย์ ข องส� ำ นั ก การแพทย์ กรุงเทพมหานคร ที่ไม่ต้องใช้ทุนและไม่มีต�ำแหน่งลงมาได้อีก ๑๑ ท่านได้ส�ำเร็จ โดยมีคุณอรวรรณ รักแต่ตระกูล เป็นหัวหน้า และคุณสิริพร โกวิทเทวาวงศ์ เป็น รองหัวหน้า
หลังจากนั้นทางหน่วยฯ ก็มีการพัฒนาคุณภาพของบุคลากร โดยการส่งไปศึกษา อย่างต่อเนื่องทั้งภายในประเทศและต่างประเทศอยู่สม�่ำเสมอ และในเวลาต่อมา ทางหน่วยฯ ได้ศัลยแพทย์หัวใจมาร่วมงานเพิ่มเติมอีก ๓ ท่านคือ นพ.ขวัญพนม ธรรมเดโช เมือ่ พ.ศ. ๒๕๓๔ นพ.กนก สุวรรณกิจ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๔๑ และ นพ.สุขสันต์ กนกศิลป์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๖ เมื่อก้าวเข้าสู่ปีที่ ๔๐ การผ่าตัดหัวใจของหน่วยฯ ได้เจริญก้าวหน้าอย่างมากและ ได้มาตราฐานสากล ทางหน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ มีความมุ่งมั่นพัฒนา คุณภาพการให้บริการและการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อผลประโยชน์และความพึง พอใจสูงสุดของผูป้ ว่ ยโรคศัลยกรรมหัวใจเป็นส�ำคัญ ทางหน่วยฯ ได้ให้บริการผ่าตัด หัวใจจาก ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๘ จนถึงวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ รวม ๔,๙๓๔ ราย โดยมีนายแพทย์กนก สุวรรณกิจ เป็นหัวหน้าหน่วยคนปัจจุบัน 22 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ประวัติความเป็นมา
สำ�เร็จ ครั้งแรก
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าการผ่าตัดหัวใจของหน่วยฯ ได้มีความเจริญก้าวหน้าตาม ล�ำดับตั้งแต่ปีที่ ๑ จนถึงปีที่ ๔๐ ซึ่งทั้งนี้สามารถสรุปโดยย่อถึงผลงานการผ่าตัด หัวใจต่างๆ ที่ริเริ่มดีเด่นและส�ำเร็จเป็นครั้งแรกในประเทศไทยดังนี้ ๑. การผ่าตัดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตันโดยการใช้เส้นเลือดแดงผนังหน้าอกปลูก แทนหลอดเลือดที่ตีบตัน ส�ำเร็จเป็นครั้งแรกในประเทศไทยปี พ.ศ.๒๕๑๙๑ ๒. การผ่าตัดแผลกล้ามเนื้อหัวใจโป่งพองออกร่วมกับการต่อหลอดเลือดแดงหัวใจ ส�ำเร็จเป็นครั้งแรกในประเทศไทยปี พ.ศ.๒๕๑๙๒ ๓. การผ่าตัดหัวใจแตกจากอุบัติเหตุชนิดไม่มีบาดแผล (Blunt Traumutic Rupture of the Heart) ส�ำเร็จเป็นรายแรกในประเทศไทยปี พ.ศ.๒๕๒๐๓ ๔. การผ่าตัดลิ้นหัวใจรั่วที่ต�ำแหน่งไมทรัล จากกล้ามเนื้อหัวใจตายชนิดเฉียบพลัน ร่วมกับการต่อหลอดเลือดหัวใจ ส�ำเร็จเป็นรายแรกในประเทศไทยปี พ.ศ.๒๕๒๔๔ ๕. การผ่าตัดการทะลุของผนังกั้น (เวนตริเกิล) ภายหลังกล้ามเนื้อหัวใจตายอย่าง เฉียบพลันและหัวใจวายอย่างรุนแรง ร่วมกับการต่อหลอดเลือดหัวใจส�ำเร็จเป็นราย แรกของประเทศไทยปี พ.ศ. ๒๕๒๕๕ หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 23
24 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ประวัติความเป็นมา
๖. การผ่าตัดแก้ไขภาวะแทรกซ้อนหลอดเลือดหัวใจอุดตันอย่าง เฉียบพลัน หลังจากการขยายหลอดเลือดหัวใจโดยใช้บอลลูน ส�ำเร็จเป็นครั้งแรกปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ๗. การผ่าตัดแก้ไขภาวะเส้นเลือดหัวใจถูกบีบรัดด้วยกล้ามเนือ้ (Myocardial Bridging) ส�ำเร็จเป็นครั้งแรกในประเทศไทยปี พ.ศ. ๒๕๓๐๖ ๘. การน�ำเลือดของผูป้ ว่ ยกลับมาใช้ซำ�้ ใหม่ โดยไม่ตอ้ งใช้เลือด ของผู้อื่น (Auto Transfusion) ในการผ่าตัดหัวใจเป็นครั้งแรก ในประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๓๒๗ ๙. การผ่าตัดโรคหัวใจขาดเลือดชนิดระยะสุดท้าย (End Stage) ของโรค ซึ่งไม่สามารถขยายด้วยบอลลูนหรือท�ำ Coronary Artery Bypass Graft ได้ ศึกษาและพัฒนาการรักษาด้วยวิธี การผ่าตัดหัวใจด้วยแสงเลเซอร์ Transmyocardial Laser Revascularization (TMR) ส�ำเร็จเป็นครั้งแรกในประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๙๘ ๑๐. การผ่าตัดซ่อมแผลกล้ามเนือ้ หัวใจตายทีโ่ ป่งพองออก และ เย็บซ่อมด้วยผ้าใยสังเคราะห์พเิ ศษให้หวั ใจกลับคืนสูส่ ภาพเดิม (DOR Operation) ส�ำเร็จเป็นครั้งแรกในประเทศไทย๙ ข้อมูลอ้างอิง : ๑. วชิรเวชสาร ๒๕๑๙; ๒๐: ๖๓ – ๘ • ๒. เชียงใหม่เวชสาร ๒๕๒๑; ๑๗: ๘๓ – ๗ • ๓. จดหมายเหตุการแพทย์ ๒๕๒๑; ๖๑: ๕๖๐ – ๒ • ๔. บทคัดย่อการประชุมใหญ่ทางวิชาการ, ประจ�ำปี ๒๗ ของสมาคมศัลยแพทย์ นานาชาติแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๔ • ๕. บทคัดย่อการประชุมใหญ่ทางวิชาการ ประจ�ำปี ๒๕๒๘ ของสมาคมศัลยแพทย์นานาชาติแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๕ • ๖ เสนอผลงานต่อที่ประชุมสมาคมโรคหัวใจแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๓๑ • ๗ นิ ต ยสารเพื่ อ สุ ข ภาพ Health ปี ที่ ๑ ฉบั บ ที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๓๔ • ๘ วงการแพทย์ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒๙๙ ๑๗ – ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ • ๙ บทคัดย่อการประชุมใหญ่ทางวิชาการประจ�ำปีของราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่ง ประเทศไทย กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 25
มองวันที่ผ่านไป จากใจผู้บุกเบิก การเริ่มต้นก่อตั้ง
นายแพทย์สุทธิ สุรเกียรติชานุกูล แพทย์ผู้บุกเบิกหน่วยศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ วชิรพยาบาล
หลังจากผมจบแพทย์ศาสตร์บณั ฑิตทีม่ หาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผมก็ไปเป็นแพทย์ฝึกหัดที่มหาวิทยาลัยพระมงกุฎเกล้าอยู่ ๑ ปี จากนั้นก็ได้เดินทางไปฝึกอบรมทางศัลยกรรมหัวใจที่ โรงพยาบาลคลีฟแลนด์คลินกิ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึง่ เป็น โรงพยาบาลที่มีชื่อเสียงมากที่สุดระดับโลก หลังจากจบการ ฝึกอบรม เมื่อจะกลับมาประเทศไทย อาจารย์ก็ชักชวนให้ เป็นอาจารย์ช่วยสอนรุ่นน้อง และจะให้ค่าตอบแทนสูงพอ สมควรประมาณหนึง่ ล้านห้าแสนบาทไทย แต่ผมก็ตงั้ ใจทีจ่ ะ กลับมาท�ำการผ่าตัดที่ประเทศไทย ขณะเดียวกัน อาจารย์ ชลิต ก็จะกลับมา ก็เลยชักชวนกันมา แต่ทีมก็ยังไม่พร้อม ดังนั้นก่อนมาผมก็ได้ไปฝึกดูงานเครื่องหัวใจและปอดเทียม ก่อน โดยไปฝึกอยูส่ ามเดือน จากนัน้ ก็เดินทาง กลับมา เมือ่ มาถึงเมืองไทยผมก็มองหาสถานทีท่ ำ� งาน ผมไม่มี โอกาสได้ ไปท�ำงานในสถานทีท่ พี่ ร้อมแล้ว จึงได้มาคิดว่าท�ำไม ทุกคนที่ เรียนจบจากต่างประเทศมาต้องมาท�ำงานผ่าตัดในสถานที่ ที่พร้อมแล้วจึงจะรอดตัวไปได้ ท�ำไมเราไม่มาท�ำในสถานที่ ทีย่ งั ไม่พร้อมเป็นการบุกเบิก เราจะท�ำได้ไหม ลองดู จากนั้น ก็ได้รับการชักชวนมาที่วชิรพยาบาล เราก็เริ่มต้นกับพี่ชลิ ตมาดูลาดเลาที่วชิระตั้งแต่มิถุนายน ๒๕๑๘ ท่านผู้อำ� นวย การให้พยาบาลมา ๔ คน (คุณศุภวรรณ จันทร์รจุ พิ ฒั น์ คุณ สิรวิ ภิ า ใจรังษี คุณวิชติ ปัน้ บริสทุ ธิ์ และคุณขันทอง สาสนกุล) สอ นทฤษฏีทาง Perfusionist ให้ทมี ประมาณสามเดือน แล้วพอที หลัง ก็มาซ้อมเดินเครื่อง รวมทั้งจ�ำลองการเดินเครื่องปอด และหัวใจเสมือนจริงเพื่อให้มั่นใจว่าท�ำได้แม้ในภาวะที่ขาด เลือดหรือช็อคหรือมีปญั หาใดๆ เกิดขึน้ กับคนไข้ ทีมสามารถ จะแก้ไขได้ ซักซ้อมจนพยาบาลของเราพร้อม หลังจากนัน้ เรา ได้คนไข้คนหนึง่ ส่งต่อมาจาก พญ.พรรณี เสถียรโชค ซึง่ เป็น
26 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
มองวันที่ผ่านไป จากใจผู้บุกเบิก
Cardiologist จบจากคลีฟแลนด์คลินิกเหมือนกัน เราก็ได้เริ่มผ่าตัดครั้งแรกในวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๑๘ ได้รับผลส�ำเร็จเป็นที่เรียบร้อยดี แต่ว่าเพื่อป้องกันการผิดพลาด เราก็ได้เชิญพี่บังอร เนียม อินทร์ (พยาบาลวิชาชีพ/นักปฏิบัติการหัวใจและปอดเทียม รพ.จุฬาลงกรณ์ฯ) มาช่วยควบคุมด้วย เพื่อความปลอดภัย จากนั้นเราก็ท�ำการผ่าตัดต่อไปอีกสามเดือน ถึงเดือนธันวาคม พี่ชลิตก็มีอันต้อง ลาไปประกอบอาชีพ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ณ เวลานั้น การผ่าตัดของเราซึ่งมีอุปสรรคอยู่แล้วก็ ยิ่งมีอุปสรรคมากยิ่งขึ้นไปอีก เนื่องจากไม่มีคนช่วยผ่าตัด ท�ำให้ต้องหยุดการผ่าตัดไปเป็นระยะเวลา ประมาณ ๓ เดือน ผมจึงไปชักชวน นพ.สมเกียรติ ธาตรีธร ซึ่งเป็นหัวหน้ากุมารศัลยกรรมว่าจะช่วย ผมไหม เขาบอกว่ายินดีจะช่วยพีส่ ทุ ธิอย่างเต็มที่ แล้วเขาก็บกุ เบิกร่วมกันมา ในระยะหลังเราก็ได้หมอ อีกคนซึ่งจบจากศิริราชแล้วมาเทรนที่วชิระ ก็ได้ชักชวนมาร่วมงานกัน คือ นพ.วิชิต เสงี่ยมกุลถาวร และในสมัยก่อนไม่มีการเทรนศัลยแพทย์ผ่าตัดหัวใจในประเทศไทย เราจึงหาทางส่ง นพ.วิชิต ไป ฝึกอบรมต่อต่างประเทศและกลับมาช่วยงานกันถึงปัจจุบัน อุปสรรค
ในช่วงแรกหลังจากพี่ชลิตไปแล้วก็มีอุปสรรค มากมาย รวมทัง้ การขาดแคลนเครือ่ งมือด้วย ผม ก็ ไ ปขอรั บ บริ จ าคเงิ น จากพี่ ช ายของผม นาย สุ ร ศั ก ดิ์ สุ ร เกี ย รติ ช านุ กู ล เป็ น จ� ำ นวนเงิ น ๑๓๙,๐๐๐ บาท มาซื้อเครื่องมือ ท�ำให้อุปสรรค ตรงนี้ผ่อนคลายลงไป ส่วนเรื่องบุคลากรของเรา ทั้ ง แพทย์ แ ละพยาบาลก็ ไ ม่ เ ป็ น ปั ญ หาแล้ ว เพราะ เราสู้เต็มที่ และท่านผู้อ�ำนวยการในขณะ นั้นคืออาจารย์ นพ.ประเสริฐ นุตกุล ให้การ สนับสนุนเป็นอย่างดี ผมรู้สึกซาบซึ้งมาก เรา ด�ำเนินการผ่าตัดหัวใจไปด้วยความเรียบร้อยจนได้รับผู้ป่วยที่ส่งต่อมาจากภาคต่างๆ อยู่เสมอ และ มีโอกาสได้ท�ำผลงานที่เริ่มท�ำเป็นครั้งแรกในประเทศไทยหลายอย่าง หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 27
ซาบซึ้งและภาคภูมิใจ
อนาคตของการผ่าตัดหัวใจ
ความซาบซึ้งและความภาคภูมิใจที่ส�ำคัญคือการ ได้เห็นผู้ป่วยที่หัวใจใกล้จะล้มเหลวหรือหัวใจวาย ในรายทีป่ ว่ ยหนัก ถ้าเราสามารถช่วยเขาได้ เรามี ความสุข ถึงแม้จะหนัก เราก็สู้ เพือ่ ให้เขารอดชีวติ ได้ แม้จะต้องอยู่ในห้องผ่าตัดทั้งคืน หรือท�ำงาน ทั้งวันทั้งคืน เราก็มีความสุข
ในอดีตการผ่าตัดหัวใจมีอตั ราความเสีย่ งสูง มีอตั รา การตายสูงมาก แต่ในปัจจุบนั มีความก้าวหน้าทัง้ ทางเทคโนโลยี และทางวิสัญญี Perfusionist และ หลายอย่างที่ประกอบกันในทีมเวิร์ค ท�ำให้ความ ปลอดภัยสูงขึ้นมาก อัตราการตายก็จะลดลงต�่ำ มาก ในอดีตเราแก้ไขปัญหาโรคหัวใจทีม่ ภี าวะซับ ซ้อนเป็นอย่างมากไม่ได้ ปัจจุบันท�ำได้แล้ว และ ส�ำหรับทางประเทศไทย เราก็มุ่งมั่น มองความ ก้าวหน้าของสิง่ ทีอ่ ยูร่ อบตัวเราและในต่างประเทศ ว่าเขาไปถึงไหนแล้ว และเราก็ตอ้ ง keep up และ ศึกษาต่อเนื่องตลอดเวลาและหมั่นดูงาน ส่ง บุคลากรเราไปดูงานยังต่างประเทศ และต้องมี ความมุ่งมั่นเสียสละ ปฏิบัติงานให้เป็นเลิศอยู่ เสมอ ให้ดเี ท่าเขาและดีกว่า แต่ไม่มกี ารดูถกู หรือ ท�ำเพราะความอิจฉาริษยา คือเราแข่งขันกับตัวเอง ให้ดที สี่ ดุ ไม่ไปดูถกู สถาบันใด และไม่ตอ้ งอวดตน
ความซาบซึง้ ใจอีกสิง่ หนึง่ ก็คอื การทีท่ า่ นผูอ้ ำ� นวย การได้พาผมไปเข้าเฝ้าพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์ เจ้าบุษบงดิศกุล ทีว่ งั ของท่านทีเ่ พชรบุรี พร้อมกับ คนไข้รายหนึง่ ทีม่ ภี าวะหัวใจล้มเหลวจากลิน้ หัวใจ รั่วอย่างรุนแรง และท่านได้พระราชทานลิ้นหัวใจ มาให้เรา และได้ท�ำการผ่าตัดท�ำให้คนไข้รายนี้ รอด อยู่ได้ต่อมาถึงยี่สิบปี อันนี้เป็นความซาบซึ้ง ในพระมหากรุ ณ าธิ กุ ล ซึ่ ง เสริ ม ก� ำ ลั ง ใจให้ เ รา ท่านผู้อ�ำนวยการ และผู้บริหารทุกคนที่ผ่านมา
พวกเราต้องสมัครสมาน ท�ำงานด้วยความสามัคคี และต้องคิดอยู่เสมอว่า ท�ำงานต้องเป็นทีม ไม่ใช่คนใดคนหนึ่ง ความส�ำเร็จไม่ได้อยู่ที่คนๆ เดียว ที่ส�ำเร็จได้ก็เพราะทีมเวิร์คของพวกเราทั้งหมด และผู้บริหารก็ต้องให้การ สนับสนุนสิ่งที่ขาดแคลนด้วย
28 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
มองวันที่ผ่านไป จากใจผู้บุกเบิก
ความผูกพันกับ รพ.วชิรพยาบาล
เมือ่ มาอยู่ รพ.วชิรพยาบาล ซึง่ มีเครือ่ งมือและอุปกรณ์พร้อม ส�ำหรับการผ่าตัดหัวใจ และได้รบั ความร่วมมือตลอดจนการ ช่วยเหลือจากแพทย์ของ รพ.วชิรพยาบาลเป็นอย่างดี และ ที่ส�ำคัญคือ ได้รับการสนับสนุนจากอาจารย์ นพ.ประเสริฐ นุตกุล อย่างมาก จึงท�ำให้ทีมผมท�ำงานได้เต็มที่ พยาบาล ห้องผ่าตัด และ ICU ขยันท�ำงานกันมาก เคล็ ด ลั บ ในการท� ำ งานคื อ ผมมี เ ครื่ อ งมื อ พร้ อ ม และ เวชภัณฑ์น�ำมาจากอเมริกา เช่น บริษัท Davis & Geck ได้ บริจาค Suture ส�ำหรับท�ำ Bypass ได้ประมาณ ๕๐ ราย ผม มี Heart – Lung Machine ส่วนตัว ๑ เครื่อง และของ โรงพยาบาลอีก 1 เครื่อง ส�ำหรับ Oxygenator ผมได้รับ ความช่วยเหลือจาก Mr. Uno เจ้าของบริษัท Juken ที่ญี่ปุ่น บริจาคให้หลายตัว ผมรู้จัก Mr. Uno เมื่อครั้งผมไปช่วยท�ำ ผ่าตัดที่ประเทศญี่ปุ่นในปี ค.ศ. ๑๙๙๔
นายแพทย์ชลิต เชียรวิชัย แพทย์ผู้บุกเบิกหน่วยศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ วชิรพยาบาล
และที่ประทับใจมากคือ วิสัญญีแพทย์ อาจารย์ นพ.พรต และอาจารย์ นพ.ปรีชา จาก รพ.ศิริราช มาช่วยเต็มที่ ทั้งที่ ผมไม่เคยรู้จักอาจารย์สองท่านนี้มาก่อน เครื่องดมยาก็ โบราณ แต่อาจารย์พยายามและใช้มือช่วยบีบลูกโป่งของ เครื่องดมยาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนขณะที่ผมท�ำผ่าตัด ผมขอขอบคุณอาจารย์ทั้งสองท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วย ผมกับ นพ.สุทธิ และทีมพยาบาลมีความตัง้ ใจท�ำผ่าตัดหัวใจ ให้ได้ และจะท�ำให้ รพ.วชิรพยาบาล เป็นศูนย์ผ่าตัดหัวใจ ของโรงพยาบาลในเครื อ ของ กทม. แต่ ค วามฝั น ก็ เปลี่ยนแปลงเมื่ออาจารย์ นพ. ประเสริฐ นุตกุล ได้เลื่อน หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 29
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๘
๗
๙
30 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
มองวันที่ผ่านไป จากใจผู้บุกเบิก
ต�ำแหน่งเป็นแพทย์ใหญ่ของ กทม. และอีกอย่างหนึ่งคือลูกไม่สบาย ผมจึงต้องพาลูกกลับไปรักษาที่อเมริกา ความฝันของผมพังทลาย แต่ รพ.วชิรพยาบาล โชคดีที่มี นพ.สุทธิ ผู้ที่มีความตั้งใจและความ พยายามอย่างมากอยู่เป็นหลักและค่อยๆ พัฒนามาจนถึงทุกวันนี้ นพ.สุทธิและทีมท�ำให้เกิดเป็นหน่วย CVT ซึ่งมีห้องผ่าตัดหัวใจ ICU หัวใจ และหอผูป้ ว่ ยโรคหัวใจ นพ.สุทธิยงั ได้พฒั นาหน่วยขึน้ มาโดยหา แพทย์เพิม่ เติม คือ นพ.วิชติ เสงีย่ มกุลถาวร นพ.กนก สุวรรณกิจ และ นพ.สุขสันต์ กนกศิลป์ รวมแล้วไม่นอ้ ยหน้าไปกว่าโรงเรียนแพทย์ และ สถาบันอื่นๆ ผมภูมิใจและขอชมเชย นพ.สุทธิ เป็นอย่างมาก และขอ ยกเครดิตนี้ให้กับ นพ.สุทธิ และทีมที่ท�ำให้ รพ.วชิรพยาบาลเจริญขึ้น ผมคิดว่า ผมตัดสินใจไม่ผิดที่ได้ชวน นพ.สุทธิ ให้เข้าฝึกการผ่าตัด หัวใจที่ Cleveland Clinic แต่เสียดายที่ นพ.สุขสันต์ ได้ลาออกจาก รพ.วชิรพยาบาล ขณะนี้ทางหน่วย CVT มีแพทย์เพิ่มเติมอีก ๓ คน คือ นพ.สันติชัย กาลเนาวกุล พญ.ซารินา สาเดด และ นพ.นรวัฒน์ ปัญญานุวฒั น์ และอีกท่านหนึง่ ทีผ่ มขอชมเชยและยินดีคอื พญ.พรรณี เสถียรโชค ที่ได้ช่วยสนับสนุนหน่วย CVT เป็นอย่างมาก ท�ำให้ ประชาชนรู้จัก รพ.วชิรพยาบาล ในเรื่องการฉีดสีและรักษาโรคหัวใจ ในอนาคต ผมขอภาวนาให้หน่วยงานทัง้ สองท�ำงานร่วมกันมากขึน้ เพือ่ พัฒนาศูนย์หัวใจให้เข้มแข็งและท�ำให้ศูนย์หัวใจ รพ.วชิรพยาบาล เจริญมากยิ่งขึ้นตามความประสงค์ของผู้เริ่มต้น
๑ ผู้ป่วยในห้อง ICU โดยมีปลัดกทม. /นายกเทศมนตรีมาเยี่ยม ๒ อาจารย์ นพ.ประเสริฐ นุตกุล ผู้อ�ำนวยการ รพ.วชิรพยาบาล ๓ คุณรังสิตา และการท�ำความสะอาด ที่ส�ำคัญไปกว่านี้คือ ศูนย์หัวใจนี้ต้องได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร ของ รพ.วชิรพยาบาล และ กทม. เพื่อให้ศูนย์หัวใจนี้เจริญขึ้นและเป็น ห้องผ่าตัด ๔ ห้องผ่าตัด รพ.วชิรพยาบาล ศูนย์หัวใจของโรงพยาบาลในเครือ กทม. ตามวิสัยทัศน์ของ อาจารย์ ๕ ทีมผ่าตัดหัวใจกับผู้ป่วยรายแรก ๖ การผ่าตัด Left Internal Artery นพ.ประเสริฐ นุตกุล Mammary Graft ที่ LAD และรูป นพ.ชลิต เชียรวิชัย ๗ เครื่องดมยา และคุณอภิชา (วิชิต) ในอนาคต ถ้าหากศูนย์หว ั ใจ รพ.วชิรพยาบาล ต้องการ ปั้นสุวรรณ ๘ Heart – Lung Machine ให้ผมช่วยท�ำอะไร ผมยินดีช่วยอย่างเต็มที่และจะท�ำให้ ๙ อาจารย์ นพ.ประเสริฐ มากเท่าที่จะท�ำได้ ยืนดูการท�ำผ่าตัดหัวใจ หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 31
ผมเห็นสภาพเมื่อก่อตั้งหน่วยฯ ก็ล้มลุกคลุกคลานกันมา โดยตลอด ปี ๒๕๒๑ หลังจากผมจบเทรนนิง่ แล้ว ผมท�ำหน้าที่ เป็น General surgeon อาจารย์สุทธิท่านต้องการคนช่วยก็ มาถามผม ผมเห็นว่าถ้าไม่มีคนช่วยจริงๆ หน่วยนี่ท่าทาง จะแย่ ผมจึงอาสาไปช่วย แล้วก็อยูก่ บั อาจารย์สทุ ธิมาตลอด ช่วงนัน้ อาจารย์ชลิตก็กลับไปแล้ว อาจารย์สทุ ธิทำ� อยูค่ นเดียว
นายแพทย์วิชิต เสงี่ยมกุลถาวร แพทย์ผู้บุกเบิกหน่วยศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
ในระยะแรกผมท�ำทั้งศัลย์ทั่วไปทั้ง CVT อาจจะเรียกว่าช่วย แค่ครึง่ ตัว อาจารย์สทุ ธิกร็ บั หน้าทีห่ นักมาตลอด หลังจากผ่าน ไประยะหนึ่ง ทางภาคศัลย์ถามว่าจะไปอยู่เต็มตัวเลยไหม จะให้เลิกท�ำ General ผมก็เห็นว่าอยู่มาขนาดนี้แล้ว ไม่มี คนอื่น ผมก็ต้องไป ก็เป็นอย่างนี้แหละครับชีวิต ผมอยู่มา จนกระทั่งอาจารย์สุทธิเกษียณ ผมก็รับต่อมาโดยปริยาย เนื่องจากเป็นคนอาวุโสที่สุด ปัญหาของหน่วยนี้มันมีหลายอย่าง ทั้งพยาบาลห้องผ่าตัด ไม่พอบ้าง ดมยาไม่มบี า้ ง ในระยะแรกจริงๆ ปัญหาขาดแคลน เลือดก็เจอบ่อย บางทีก็ต้องงด ต่อมาหลังๆ ธนาคารเลือด ก็ผลงานดีขึ้น เคสงดเพราะขาดเลือดก็น้อยลงไปเยอะ ส�ำหรับผมต�ำแหน่งไหนผมก็ท�ำได้ ถ้าไม่มีคนท�ำ มันก็เป็น งานทีเ่ ราต้องลงไปอยูแ่ ล้ว ฝากข้อคิดส�ำหรับทีมงานว่ามันก็ ต้องสูไ้ ปครับ มีปญั หาอะไรก็ตอ้ งแก้ไปทีละเปลาะทีละเปลาะ อย่ามัวแต่ท้อแท้ เวลาเจอปัญหาเล็กๆ น้อยๆ งานทุกอย่าง ก็ต้องสู้ทั้งนั้น
32 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
มองวันที่ผ่านไป จากใจผู้บุกเบิก
เนื่องจากเป็นการก่อตั้งหน่วยที่ไม่ได้อยู่ในแผน ฉะนั้นจึงไม่ ได้จัดเตรียมทั้งสถานที่และบุคลากรที่จะให้การดูแลผู้ป่วย หลังผ่าตัด เมื่อทีมแพทย์ผ่าตัดพร้อม แต่ไอซียู Heart ยัง ไม่มี จึงต้องน�ำผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจให้ไปอยู่ในความดูแล ของหออภิบาลศัลยกรรม ซึ่งจัดไว้ให้คนไข้หลังผ่าตัดหัวใจ ๒ เตียงจากทั้งหมด ๘ เตียง หลังจากนั้นสองปี จึงได้รับการอนุมัติให้ใช้ห้องพักแพทย์มา เป็นหออภิบาลศัลยกรรมหัวใจ ในเนื้อที่ประมาณห้องพิเศษ ต้องจัดวางเตียงคนไข้ ๔ เตียง แทบจะไม่มที างเดิน ยังแปลง มุมหนึ่งเป็นห้องแยกส�ำหรับคนไข้ติดเชื้อ และยังแปลงมุม หนึ่งเป็นห้องน�้ำเล็กๆ อีกด้วย เวลาที่จะต้องช่วยชีวิตคนไข้ เมื่อมีภาวะวิกฤต จะเป็นไปอย่างยากล�ำบาก ส�ำหรับจ�ำนวนบุคลากรพยาบาล ๑๐ คน ต้องดูแลผู้ป่วย ๓ ผลัด จัดได้ผลัดละ ๒ คน เป็นงานซึ่งหนักมากส�ำหรับการ ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดในภาวะวิกฤต ตรงนี้รู้สึกประทับใจใน บุคลากรทุกคนมาก ในฐานะที่เคยร่วมเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานนี้ ขอแสดง ความยินดีและชืน่ ชมในความเจริญก้าวหน้าของหน่วยงานที่ มีการพัฒนาอยูต่ ลอดเวลา มีบคุ ลากรทีอ่ ดทน เสียสละ และ มีความสามัคคี น�ำพาให้หน่วยงานประสบความส�ำเร็จและ มีชอื่ เสียงในด้านการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะสามารถช่วย ผู้ป่วยโรคหัวใจได้มีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขต่อไป
คุณอรวรรณ รักแต่ตระกูล อดีตหัวหน้าหออภิบาลศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ ภาควิชา ศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ประวัติการศึกษา ส�ำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนผดุงครรภ์และอนามัย วชิรพยาบาล (วิทยาลัยพยาบาลเกือ้ การุณย์ในปัจจุบนั ) ปี พ.ศ. 251๒ (รุ่น ๑๒) ประวัติการท�ำงาน เริ่มปฏิบัติงานที่ตึกผ่าตัดศัลยกรรม ปี พ.ศ. ๒๕๑๒-๒๕๒๐ ต่อมาปฏิบัติงานที่ หออภิบาลศัลยกรรมหัวใจ ปี พ.ศ. ๒๕๒๑-๒๕๔๑ และย้ายไปปฏิบัติงานที่ฝ่ายการพยาบาล ปี พ.ศ. ๒๕๓๙-๒๕๔๗ เกษียณอายุราชการ ปี พ.ศ. ๒๕๔๗
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 33
"PERFUSIONIST" คืออะไร
ส�ำหรับ Perfusionist เราได้ยินชื่อนี้สมัยแรกๆ ก็งงมากเลย เพราะไม่เคยเห็นไม่เคยได้ยิน พอพี่เสาวณีย์ จินดาวิจักษณ์ ซึ่งท่านเป็นหัวหน้าตึกสมัยนั้นบอกจะมีหมอมาจากเมือง นอกสองคน คือ อาจารย์ชลิต กับอาจารย์สุทธิ มาเป็น หมอผ่าตัดหัวใจ และต้องมีทมี Perfusionist กับพยาบาลส่ง เครื่องมือผ่าตัด เราอยากรูม้ ากว่าเขาผ่าตัดกันยังไง จึงสมัคร มาเป็น Perfusionist สองคนกับพี่รังสิตา ซึ่งตอนนี้ท่านอยู่ที่ อเมริกา คุณขันทอง สาสนกุล
แต่ในเรื่องของ Perfusionist เป็นเรื่องใหม่ นึกภาพไม่ออก อาจารย์ ช ลิ ต กั บ อาจารย์ สุ ท ธิ ม าเล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า ท� ำ ยั ง ไง น�ำเครื่องมือมาให้ดู ซึ่งเครื่องมือในยุคแรกๆ นั้น ทุกท่าน อาจไม่เคยเห็นเลยก็ได้ เป็นแบบแผ่นดิสก์ พอใช้แล้วต้อง มานัง่ ล้างเป็นชัว่ โมงๆ กว่าจะเสร็จ มีความรูส้ กึ ว่ามันยุง่ ยาก มากเลย
นักปฏิบัติการหัวใจและปอดเทียม พยาบาลวิชาชีพ หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ ภาควิชา ศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ประวัติการศึกษา ส�ำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนผดุงครรภ์และอนามัย วชิรพยาบาล (วิทยาลัยพยาบาลเกือ้ การุณย์ในปัจจุบนั ) เริ่มต้นฝึกฝน ปี พ.ศ. 2516 (รุ่น16) จบปริญญาโท หลักสูตรพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต หลังจากนัน้ เราก็ได้ไปดูงานทีโ่ รงพยาบาลจุฬาฯ กับพีบ่ งั อร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เนียมอินทร์ ท่านสอนให้เราดูวิธีการเริ่มต้นตั้งแต่การต่อ ประวัติการท�ำงาน เริ่มปฏิบัติงานที่ตึกผ่าตัดศัลยกรรม ปี พ.ศ. 2516 สายยาง อะไรต่างๆ แต่ตอนนัน้ เรายังไม่ได้ทำ� เอง ก็เหมือน เริ่มปฏิบัติงานในต�ำแหน่ง perfusionist ปี กับว่าไม่เข้าใจนัก เมื่อกลับมาถึงวชิระเราก็มาทดลอง Run พ.ศ. 2518-2521 pump กันจริงๆ พอมั่นใจขึ้นมาบ้าง เคสแรกก็เชิญพี่บังอร ปฏิบัติงานในต�ำแหน่งผู้ช่วยหัวหน้าตึกผ่าตัด ปฏิบัติงานในต�ำแหน่งหัวหน้าตึกผ่าตัด เนียมอินทร์มาช่วย มีความรู้สึกตื่นเต้นมาก ครั้งแรกเมื่อได้ ปฏิบัติงานในต�ำแหน่งผู้ช่วยหัวหน้าการพยาบาล ดูแลตึกผ่าตัดศัลยกรรม จนเกษียณอายุราชการ ขึน้ มา Run pump พอเขาบอกว่า Pump on คือในความรูส้ กึ ปี พ.ศ. 2554 ของเรา มันชาวูบขึน้ มาเลย แต่มคี วามรูส้ กึ ว่าเราต้องท�ำให้ได้
เหมือนกับที่ฉันเคยฝึกหัดมา
34 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
มองวันที่ผ่านไป จากใจผู้บุกเบิก
"RUN PUMP" ก็เหมือนขับรถ
อาจารย์สทุ ธิสอนว่าพอบอกว่า Pump on ปุบ๊ ให้ เปรียบ เสมือนตัวคุณก�ำลังขับรถอยู่ ตาคุณจะต้อง มองไปข้างหน้า มองกระจกหลัง มองกระจกข้าง ทุกครั้ง คุณจะละสายตาจากสิง่ เหล่านีไ้ ม่ได้เลย เพราะฉะนัน้ ทุกครัง้ ทีค่ ณุ มารันปัม๊ สิง่ ทีค่ ณุ จะต้อง ดูมอี ะไรบ้าง หนึง่ blood pressure, line pressure, urine, blood flow ทุกสิ่งทุกอย่าง ตาดู หูฟัง ฟัง ว่ามีอะไรเปลีย่ นแปลงขึน้ มาบ้าง วิสญั ญีพดู ว่าอะไร หมอพูดว่าอะไร จนกระทัง่ เขาบอกว่า Pump off เรา ถึงจะมีความรู้สึก โล่งใจว่าคนไข้ปลอดภัยแล้ว คนไข้ไม่ตาย แต่ตอนที่ Wean off pump นี่ใจ ตุ้มๆ ต่อมๆ ว่าเราจะ off pump ได้หรือไม่ คือ มีความรู้สกึ ว่าอาชีพนี้ การมาเป็น Perfusionist นี่ ท้าทาย ที่เราจะต้องรับผิดชอบชีวิตๆ หนึ่ง ร่วม กับทีมแพทย์ ทีมวิสัญญี ทีม Scrub เพื่อจะท�ำให้ การผ่าตัดของเรานี่บรรลุไปได้ด้วยดี และคนไข้ ปลอดภัย ความหนักใจตึงเครียด
ความพร้อมของทีมงาน ในยุคแรกๆ ยอมรับเลย ว่าความพร้อม ความสามารถ ประสบการณ์ใน ทีมงานของเรานี่น้อยมาก ถ้าวันไหนพี่อร (บังอร เนียมอินทร์) มาด้วยนี่ เราก็รู้สึกอุ่นใจว่าถ้ามี ปัญหาอะไร พีอ่ รจะช่วยแก้ไข บางครัง้ ไม่ตอ้ งบอก ถึ ง หมอ เราไม่ มี โ รงเรี ย นเรี ย นเหมื อ นสมั ย นี้ เราต้องใช้วิธีการดูและการจ�ำอย่างเดียว
การท�ำงานเป็น PERFUSIONIST ให้อะไรกับเราบ้าง
สิ่งแรกเลยคือความภาคภูมิใจ ในการที่เราเป็น ส่วนหนึง่ ของทีม ท�ำให้การผ่าตัดนีส้ ำ� เร็จ และเมือ่ Pump on ปุ๊บ คนไข้อาศัยเราเป็นหัวใจที่ท�ำให้ เลือดสามารถไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ นั่นคือความภาคภูมิใจ และท�ำให้เราเป็นคน รอบคอบ ทุ ก ครั้ ง ที่ ขั บ รถจะนึ ก ถึ ง ค� ำ พู ด ของ อ.สุทธิ ในเรื่องการ Run pump และเรื่องของ ความรับผิดชอบ การเตรียมงาน การเตรียมความ พร้อม เวลาเราเริม่ ท�ำการผ่าตัด เราจะไม่มคี วาม กังวลมาก การศึกษา คนไข้ ประวัติ การเตรียม เครื่องมือ ทีมงาน เรากับสครับต้องมานั่งคุยกัน ว่าเราจะต้องเตรียมอะไรบ้าง อยากฝากน้องๆ ว่า Perfusionist เป็นอาชีพที่น่า ภาคภูมใิ จอย่างยิง่ อยากให้ตงั้ ใจท�ำให้ดี และสอน รุ่นน้องให้เป็นตัวอย่าง เรื่องของความรับผิดชอบ คนไข้ปลอดภัยเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ การเตรียมพร้อม ก่อนที่เราจะท�ำงาน ศึกษาคนไข้ แล้วบุญกุศล เมือ่ คนไข้หลังจากการผ่าตัดแล้ว เขาได้มาใช้ชวี ติ ปกติอย่างธรรมดา เขาจะมีความสุขมาก ทุกครั้ง ที่เขามีความสุข เขาจะนึกถึงเรา ขอฝากน้องๆ ว่าคุณท�ำต่อไป และขอให้สุขกับงานแล้วเราก็จะ ได้สุขกลับมา
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 35
ทีมศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ
36 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ทีมศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ
แพทย์ศัลยกรรมหัวใจ
นพ.กนก สุวรรณกิจ พญ.ซารินา สาเดด นพ.สันติชัย กาลเนาวกุล นพ.นรวัฒน์ ปัญญานุวัฒน์ นักปฏิบัติการผู้ควบคุมเครื่องหัวใจและปอดเทียม
ณิชพักตร์ เพิ่มพูนธัญญกิจ พิสิษฐ์ มหาวีระตระกูล พยาบาลห้องผ่าตัดหัวใจ
ปฏิมา ดีประเสริฐวงศ์ ทองใส จวงจันทร์ พยาบาลประจ�ำหอผู้ป่วย
อรุณศรี ปัจจัยยา อาภรณ์ คงทอง บุษราคัม สงวนหงส์
ศิรินธร พรรษา ศิริเพ็ญ หยุนแดง
พยาบาลประจ�ำหออภิบาลศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ
ปิยะวดี งามดี ชวิศาส์ เลิศมงคลธีรกุล ส�ำเลียง ฎิธิพิน ศิริวรรณ ธรรมรักษ์ อชิรญาณ์ ต๊อดแก้ว สุกัลยา หงษ์ทอง หยาดพิรุณ กุณโฮง
ศรีนภา ยิ้มส�ำเนียง ทิพย์ชาดา จันทร์นาค ปิยะพงษ์ หารศรี อัครพล แก้ววิเชียร วันวิสา ศรีสงค์ พัชรี ศรีเชียงสา
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 37
ทีมงานผ่าตัดหัวใจ
นายแพทย์กนก สุวรรณกิจ
หัวหน้าหน่วยศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ
ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ประวัติการศึกษา แพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วุฒิบัตรสาขาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล วุฒิบัตรสาขาศัลยศาสตร์ทรวงอก คณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล
ในบรรดาสาขาต่างๆ ของการแพทย์ในยุคปัจจุบนั นั้น สาขาศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจถือเป็น สาขาที่ค่อนข้างขาดแคลน มีผู้สนใจศึกษาน้อย เนื่องจากเป็นสาขาที่ต้องเสียสละ ท�ำงานหนัก ดูแลผูป้ ว่ ยทัง้ ก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัด และหลังผ่าตัด ด้วยความละเอียดรอบคอบ ต้องท�ำงานเป็นทีมร่วม กับสาขาวิชาชีพต่างๆ การผ่าตัดมีความซับซ้อน หลายขั้นตอน มีความเสี่ยงสูง ดังนั้นการสั่งสม ประสบการณ์การท�ำงานของบุคลากรและหน่วย งาน จึงมีสว่ นช่วยอย่างมากต่อความส�ำเร็จในการ ดูแลผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจ นับเป็นความภาคภูมิใจ ของผมที่ได้เข้ามาท�ำงานในหน่วยงานที่ก่อตั้งมา นานถึง 40 ปี และได้ท�ำงานร่วมกับทีมงานที่มี การท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความอดทน และเสียสละเช่นนี้ และถึงแม้จะมีอุปสรรคต่างๆ เข้ามามากมาย ผมก็มั่นใจว่า ทีมงานทุกคนจะ ร่วมกันฝ่าฟัน แก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาหน่วย ศั ล ยศาสตร์ ท รวงอกและหั ว ใจ ภาควิ ช า ศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาลให้ ก้าวหน้าต่อไป เป็นที่พึ่งแก่ประชาชนที่มารับ บริการ ณ สถานที่แห่งนี้
38 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ทีมงานผ่าตัดหัวใจ
อาจจะเรียกได้ว่า วชิรพยาบาลคือบ้านแห่งที่สอง คือทีใ่ ห้กำ� เนิดในชีวติ การแพทย์ เพราะตัวเองเรียน จบจากทีน่ แี้ ละได้รบั ทุนจาก รพ. เพือ่ ทีจ่ ะเรียนเป็น แพทย์ผ่าตัดหัวใจ (ทั้งนี้ต้องกราบขอบพระคุณ อ.สุทธิ และ อ.กนก ทีเ่ ชือ่ มัน่ และให้โอกาส) ตลอด ระยะเวลา 8 ปีทที่ ำ� งานในฐานะหมอผ่าตัดหัวใจ ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงต่างๆ มากมาย ซึ่งก็ เป็นการพยายาม เพื่อให้หน่วยพัฒนาขึ้น ส�ำหรับ ตนเองยังคงยึดมั่นค�ำสัญญาที่ให้กับอาจารย์ที่จะ มุ่งมั่นและพัฒนาหน่วยให้เจริญก้าวหน้า โดย เฉพาะในด้านการผ่าตัดหัวใจเด็ก ให้สมกับที่ อาจารย์ไว้วางใจและให้โอกาส
แพทย์หญิงซารินา สาเดด
ศัลยแพทย์ทรวงอกและหัวใจ
หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (กรกฎาคม 2544 - ปัจจุบัน) ประวัติการศึกษา แพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2543 แพทย์เฉพาะทางด้านศัลยศาสตร์ทรวงอก คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2550 Advanced Clinical Training in Congenital Cardiac Surgery, Okayama University Hospital,Okayama,Japan (November 2013 - October 2014) หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 39
“พวกคุ ณ ต้ อ งท� ำ ให้ ผ มเชื่ อ มั่ น ได้ ว ่ า คนไข้ จ ะ ปลอดภัย เมื่อมีดผ่าตัดอยู่ในมือคุณ” ค�ำพูดของ ท่านอาจารย์ นายแพทย์พันธุ์พิษณุ์ สาครพันธ์ อดีตหัวหน้าศูนย์หวั ใจ รพ.ราชวิถี ได้กล่าวไว้เมือ่ ครัง้ ทีท่ า่ นยังสละเวลาหลังเกษียณอายุราชการ มา สอนผมและเพื่อนแพทย์ประจ�ำบ้านศัลยกรรม ทรวงอก ที่ รพ.จุฬาฯ เป็นประโยคที่ผมยังจดจ�ำ และระลึกอยู่ในใจเสมอมา
นายแพทย์สันติชัย กาลเนาวกุล ศัลยแพทย์ทรวงอกและหัวใจ
หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (พ.ศ. ๒๕53 - ปัจจุบัน) ประวัติการศึกษา แพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย วุฒิบัตรผู้เชี่ยวชาญ ศัลยกรรมทรวงอก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Registrar fellowship in adult and pediatric cardiac surgery, University Clinic of Heidelberg, Heidelberg, Germany Diploma certificated in ECMO and mechanical circulatory assisted devices, La Pitie-Salpetriere University Hospital, Paris, France
การผ่าตัดหัวใจเป็นงานที่ซับซ้อนมีขั้นตอนและ รายละเอียดต่างๆ มากมาย อีกทั้งยังต้องท�ำงาน ประสานกับผูร้ ว่ มงานส่วนต่างๆ ทัง้ วิสญั ญีแพทย์ พยาบาลส่งเครื่องมือผ่าตัด และนักปฏิบัติการ เครื่องหัวใจและปอดเทียม อย่างเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกันตลอดเวลา ในส่วนตัวของแพทย์ผ่าตัด หัวใจเอง การท�ำผ่าตัดทุกครั้งจ�ำเป็นจะต้องมีทั้ง ความถูกต้องแม่นย�ำ ความละเอียดปราณีต และ ความรวดเร็ว ควบคู่กันไป แน่นอนไม่ใช่เรื่อง ง่ายๆ ที่คนคนหนึ่งจะสามารถท�ำผ่าตัดผู้ป่วยได้ อย่างปลอดภัยถึงแม้จะเรียนจบแพทย์เฉพาะทาง มาแล้วก็ตาม เมือ่ “โอกาส” มาถึง หลังจากทีผ่ า่ นการเรียน การ ท�ำงานในฐานะแพทย์ประจ�ำบ้านมาอย่างหนัก หน่วงและยาวนาน โอกาสทีอ่ าจารย์แพทย์หยิบยืน่ ให้ ส่งมีดผ่าตัดให้และอนุญาตท�ำการผ่าตัดหัวใจ ผู้ป่วยด้วยตนเองเป็นครั้งแรกภายใต้การควบคุม อย่างใกล้ชิดของอาจารย์แพทย์ ... แต่ก็อาจจะ เป็นครั้งสุดท้าย ครั้งเดียวหากท�ำพลาด เป็นช่วง
40 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ทีมงานผ่าตัดหัวใจ
เวลาแห่งการรอคอยที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความรู้สึก อาจารย์เหมือนหมาย สรรประดิษฐ์ : หากขาดท่าน ครบทุกอารมณ์ ...ดีใจ ภูมิใจ ตื่นเต้น เครียด ไปการเรียนต่อที่ประเทศเยอรมัน คงยากล�ำบาก กดดัน ฯลฯ แต่สิ่งที่ยากที่สุดคือ อาจารย์พันธุ์พิษณุ์ สาครพันธ์ : ครูแพทย์ต่าง “จะท�ำอย่างไรให้โอกาสที่ได้รับมานั้น สถาบัน ที่เสียสละเวลาคอยอบรมสั่งสอนและ ด�ำรงคงอยู่ได้ตลอดไป” ห่วงใยผมเสมอมา การผ่าตัดส�ำเร็จเพียงหนึ่งครั้ง ไม่ใช่ค�ำตอบของ ชีวิตผู้ป่วยอีกมากมายที่รอรับการรักษา การหมั่น ฝึกฝน ทบทวน และเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ พัฒนาตนเอง อยู่ตลอดเวลา จึงเป็นเรื่องที่จ�ำเป็นและส�ำคัญ อย่างยิ่ง
อาจารย์กติ ติชยั เหลืองทวีบญุ : ครูผเู้ ปีย่ มไปด้วย ความรู้และประสบการณ์ไม่เป็นสองรองใคร ไม่มี การผ่าตัดหัวใจใดที่ท่านท�ำไม่ได้จริงๆ
อาจารย์วชิ ยั เบญจชลมาศ : สุดยอดฝีมอื ของการ ผ่าตัดหัวใจเด็ก ถึงผมจะท�ำอย่างท่านไม่ได้ แต่ วันเวลาทีผ่ า่ นไป ประสบการณ์ทมี่ ากขึน้ ในฐานะ ผมก็ภูมิใจที่ได้เป็นลูกศิษย์ แพทย์ผ่าตัดหัวใจรุ่นพี่ คงต้องมอบ “โอกาส” ที่ ครั้งหนึ่งตนเองเคยได้รับมาจากอาจารย์แพทย์ อาจารย์เสรี สิงหถนัดกิจ : แบบอย่างของการ ทุกๆ ท่าน ให้แก่แพทย์ผ่าตัดหัวใจรุ่นน้องต่อไป ผ่าตัดอย่างสวยงามปราณีต ประดุจงานศิลปะ แม้ ขอระลึกถึงพระคุณของอาจารย์แพทย์ผา่ ตัดหัวใจ ผมยังลอกเลียนแบบได้ไม่ถึงครึ่งหนึ่ง แต่ผมจะ ทุกท่าน ที่ได้มอบ “โอกาส” ให้ผมได้เป็นแพทย์ พยายามต่อไป ผ่าตัดหัวใจ ด้วยความเคารพและกตัญญูอย่าง อาจารย์จลุ น�ำชัยศิริ : ครูผเู้ ป็นต้นแบบการผ่าตัด ที่สุด ไว้ ณ โอกาสนี้ หัวใจของผม หากไม่มีท่าน ผมคงผ่าตัดไม่เป็น อาจารย์ชลิต เชียรวิชัย : “ป๋าชลิต” ครู ผู้ซึ่งเป็น “My Big Boss” ที่ รั ก และเคารพอย่ า งยิ่ ง ของบรรดาลู ก ศิ ษ ย์ ศัลยแพทย์ทรวงอก จุฬาฯ “ป๋า...มีแต่ให้” จริงๆ อาจารย์พัชร อ่องจริต : ส�ำหรับผมแล้ว “การ ผ่ า ตั ด เปลี่ ย นหั ว ใจ” เป็ น สุ ด ยอดแห่ ง ความ อาจารย์ประเสริฐ วศินานุกร : ผูจ้ ดุ ประกายให้ผม มหัศจรรย์ ผมต้องหาโอกาสเรียนรู้เพิ่มเติมจาก ท่านอีกมาก อยากเป็นหมอผ่าตัดหัวใจ หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 41
เมื่อได้ทราบถึงความยากล�ำบากของการก่อตั้ง หน่วยศัลยกรรมทรวงอกของท่านอาจารย์ในยุค บุกเบิกแล้ว ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งบุคลากร ที่มีจ�ำนวน น้อยทั้งอายุรแพทย์โรคหัวใจ ศัลยแพทย์ทรวงอก วิสัญญีแพทย์ เจ้าหน้าที่ควบคุมปอดและหัวใจ เทียม หรือแม้แต่พยาบาล เครือ่ งมือผ่าตัด เครือ่ ง ปอดและหัวใจเทียม เทคนิคการผ่าตัด และการดม ยาสลบที่ยังไม่พัฒนาเหมือนในปัจจุบัน การดูแล คนไข้หลังผ่าตัด การบริหารงานและปัญหาอืน่ ๆ อีก มาก ท�ำให้ผมในฐานะศัลยแพทย์ทรวงอกมือใหม่ ที่เพิ่งจบมาไม่นาน ได้มีโอกาสมาอยู่ในหน่วย ศัลยศาสตร์ทรวงอกฯ ของ รพ.วชิระ ซึ่งมีประวัติ อันยาวนานถึง 40 ปีแล้ว รู้สึกโชคดีเป็นอย่างยิ่ง ทีไ่ ด้มาอยูใ่ นยุคทีเ่ รียกได้วา่ ทุกอย่างลงตัว ปัญหา ต่างๆ ได้รับการพัฒนาและแก้ไขมาเกือบหมด แล้ว ผมรู้สึกดีใจและปลาบปลื้มใจมากที่ได้เป็น ส่วนหนึง่ ของทีมในการดูรกั ษาผูป้ ว่ ยโรคหัวใจของ วชิรพยาบาลแห่งนี้ บุคลากรทุกคนให้การต้อนรับ เป็ น อย่ า งดี แ ละเป็ น กั น เอง มี วิ สั ญ ญี แ พทย์ , พยาบาลห้องผ่าตัดและเจ้าหน้าทีค่ วบคุมปอดและ หัวใจเทียมที่มีประสบการณ์และความสามารถ มีพยาบาลที่ ICU และที่วอร์ดช่วยดูแลคนไข้หลัง ผ่าตัดและมีอาจารย์ท่านอื่นๆ คอยให้ค�ำปรึกษา และช่วยเหลือในการผ่าตัดและดูแลรักษาคนไข้ ในอนาคตผมจะตัง้ ใจท�ำงานและสานต่อเจตนารมณ์ ของท่ า นอาจารย์ แ ละของหน่ ว ยศั ล ยศาสตร์ ทรวงอกฯ ต่อไป
นายแพทย์นรวัฒน์ ปัญญานุวัฒน์ ศัลยแพทย์ทรวงอกและหัวใจ
หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (พ.ศ. ๒๕๕๗ - ปัจจุบัน) ประวัติการศึกษา พ.บ. เกียรตินิยมอันดับ 2 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แพทย์ประจ�ำบ้านหน่วยศัลยกรรมทรวงอก ภาควิชาศัลยกรรม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
42 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ทีมงานผ่าตัดหัวใจ
คุณเพชรศรี เจริญสมบัติอมร พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ
Perfusionist Nurse พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๕๕
เกือบ 30 ปี ทีเ่ คยปฏิบตั หิ น้าทีน่ กั ปฏิบตั กิ ารผูค้ วบคุมเครือ่ งหัวใจและ ปอดเทียมในทีมผ่าตัดหัวใจ จากวชิรพยาบาล... จนกระทัง่ มาเป็นคณะ แพทยศาสตร์วชิรพยาบาล เป็นประสบการณ์ทมี่ คี ณุ ค่าอย่างยิง่ ในชีวติ การท�ำงาน รูส้ กึ ภาคภูมใิ จทีไ่ ด้เป็นส่วนหนึง่ ของเส้นทางการให้บริการ ผูป้ ว่ ยผ่าตัดหัวใจ การบริการทีไ่ ม่เคยหยุดนิง่ และก�ำลังพัฒนาก้าวต่อ ไปอย่างไม่หยุดยั้ง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการอย่างดีและมีคุณภาพ
คุณกอบกุล ตันติรถานนท์ พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ
ICU Nurse พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๕๗
จากประสบการณ์ 15 ปี (พ.ศ. 2542 - 2557) ในการดูแลผู้ป่วย ก่อนและหลังผ่าตัดหัวใจให้ปลอดภัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดี พร้อมทั้ง บริหารทีมพยาบาลหออภิบาลศัลยกรรมหัวใจให้มีสมรรถนะที่ดี มี ความสามารถการตัดสินใจหน้างานทีร่ วดเร็ว ถูกต้องและเหมาะสมต่อ สถานการณ์นนั้ ๆ มีความสามารถในการช่วยฟืน้ คืนชีพ ท�ำงานเป็นทีม ร่วมแรงร่วมใจกับทีมสหสาขา พัฒนาคุณภาพทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ ปลอดภัยสมดังปณิธานที่ตั้งใจไว้ตั้งแต่ครั้งแรกที่จบการศึกษา หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 43
วันที่ 3 เมษายน 2532 เป็นจุดเริ่มต้นของการ ท�ำงานที่หอผู้ป่วยศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ สาเหตุทเี่ ลือกท�ำงานในหน่วยนีเ้ พราะปี 2526 พี่ ชายเสียชีวิตจากการผ่าตัดหัวใจ จึงเป็นแรง บันดาลใจทีไ่ ด้มาท�ำหน้าทีด่ แู ลผูป้ ว่ ยก่อนและหลัง ผ่าตัดหัวใจ ทุกครัง้ ทีเ่ ห็นผูป้ ว่ ยหายและกลับบ้าน ได้จะรู้สึกดีใจแทนครอบครัว
คุณอรุณศรี ปัจจัยยา
หัวหน้าหอผู้ป่วยศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ มหาวชิราวุธ 7A
พ.ศ. ๒๕๓๒ - ปัจจุบัน
ท�ำงานทีห่ น่วยนีม้ าหลายปีพบกับการเปลีย่ นแปลง หลายอย่างแต่เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น สมัย ก่อนไม่มีเครื่องมือทันสมัย อาจารย์สุทธิจะสอน ให้ฟังการเต้นของหัวใจแบบต่างๆ นับเป็นหัวใจ ของการท�ำงาน เพราะการฟังหัวใจสามารถบอก ได้ว่าผู้ป่วยรายนี้จะเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือไม่ ท�ำให้การท�ำงานง่ายขึ้น เป็นความรู้สึก ดีๆ และภาคภูมิใจในการท�ำงาน ส่วนความ ประทับใจในหน่วยงานนี้คือการท�ำงานเป็นทีม โดยทุกคนมีสว่ นร่วมในการวางแผนการรักษา น�ำ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นมาแก้ไขและพัฒนางานให้ดี ขึ้นมาโดยตลอด
44 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ทีมงานผ่าตัดหัวใจ
ในช่วงเวลาการท�ำงานหลังจากได้รับต�ำแหน่ง หัวหน้าห้องผ่าตัดศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ รู้สึกมีความสุขและสนุกในการท�ำงาน การผ่าตัด หัวใจเป็นเรื่องละเอียดอ่อน และต้องให้ความ สนใจกับการผ่าตัดตลอดเวลา เพราะว่ามีรปู แบบ การผ่าตัดทีห่ ลากหลาย อาจจะเกิดสิง่ ทีเ่ ราไม่คาด คิดล่วงหน้าได้เสมอ ท�ำให้ต้องเรียนรู้เพิ่มเติม ตลอดเวลา ทั้งในด้านกระบวนการผ่าตัดและ เทคโนโลยีใหม่ๆ สิง่ ส�ำคัญในการท�ำงานคือ เมือ่ คนไข้เข้ามาถึงเรา แล้ว ทุกคนจะต้องได้รับการบริการที่ดีที่สุด เพื่อ ให้เค้ากลับมาด�ำรงชีวติ ได้ตามปกติและมีคณุ ภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น ดังค�ำพูดแพทย์ท่านหนึ่งเคยกล่าวไว้ ว่า "เพราะเราไม่รู้ว่าคนไข้แต่ละคนเป็นคนส�ำคัญ ของใครบ้าง" ขอขอบคุณ แพทย์ วิสญั ญี พยาบาล นักปฏิบัติการเครื่องหัวใจและปอดเทียม ที่ร่วม แรงร่วมใจกันให้การผ่าตัดคนไข้ทกุ รายส�ำเร็จผ่าน พ้นไปได้ด้วยดี
คุณปฏิมา ดีประเสริฐวงศ์
หัวหน้าพยาบาลห้องผ่าตัดศัลยกรรม ทรวงอกและหัวใจ
พ.ศ. ๒๕๕๖ - ปัจจุบัน
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 45
การท�ำงานใน ICU หัวใจท�ำให้ได้ประสบการณ์ หลายอย่าง เพราะเป็นหน่วยงานเฉพาะทางที่ ท้าทาย ต้องใช้ความรูค้ วามสามารถหลายด้านใน การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจให้ปลอดภัยและมี คุณภาพชีวิตที่ดี ท�ำให้เกิดความภาคภูมิใจและ ดีใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ ICU หัวใจ ซึ่งเป็น เหมือนบ้านทีอ่ บอุน่ มีความรัก ความสามัคคี ช่วย เหลือเกื้อกูลกันของพี่ๆ น้องๆ ทุกคน จะพยายามท�ำงานและพัฒนาหน่วยงานให้มีชื่อ เสียง เป็นที่ยอมรับของทุกคนต่อไป
คุณปิยะวดี งามดี
หัวหน้าหออภิบาลศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ
พ.ศ. ๒๕๓๗ - ปัจจุบัน
46 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ทีมงานผ่าตัดหัวใจ
แม้จะเพิง่ เข้ามาท�ำงานในวชิระได้เพียงไม่นาน แต่ ก็ ไ ด้ รั บ ประสบการณ์ ใ นการท� ำ งานจากที่ นี่ มากมาย ไม่เพียงแค่งานควบคุมเครื่องหัวใจและ ปอดเทียมซึง่ เป็นหน้าทีค่ วามรับผิดชอบหลักทีต่ อ้ ง ท�ำให้ดี แต่ยงั มีอกี หนึง่ บทบาททีส่ ำ� คัญคือการเป็น ผู้ช่วยศัลยแพทย์ท�ำผ่าตัด นับได้ว่าที่วชิระเป็นที่ แรกในประเทศเลยก็ว่าได้ที่ Perfusionist ได้มี โอกาสท�ำหน้าที่น้ี ขอขอบคุณนายแพทย์สุขสันต์ กนกศิลป์ ที่มอบประสบการณ์อันมีค่านี้มา ความรูส้ กึ ครัง้ แรกทีเ่ ข้ามาท�ำงานทีน่ ี่ เมือ่ ได้ทราบ ว่า วชิระเป็นทีแ่ รกๆ ของประเทศทีม่ กี ารท�ำผ่าตัด หัวใจก็รู้สึกภาคภูมิใจมาก และพอได้มีโอกาสได้ ร่วมงานกับพี่ขันทอง ได้รู้ว่าพี่ขันทองคือหนึ่งในผู้ ที่ร่วมสร้างประวัติศาสตร์ก็ยิ่งท�ำให้รู้สึกว่าต้อง พยายามท�ำหน้าที่นี้ให้ดี เพื่อให้หน่วยงานพัฒนา และก้าวต่อไปให้สมดังปณิธานของทุกท่านที่ได้ คุณณิชพักตร์ เพิ่มพูนธัญญกิจ ร่วมก่อตั้งมา การอยู่ในบทบาทตรงนี้แม้จะมีการ หั วหน้านักปฏิบัติการหัวใจและปอดเทียม เปลี่ยนแปลงไปบ้าง จากน้องเล็กสุด ก็ต้องรับ พ.ศ. ๒๕50 - ปัจจุบัน หน้าที่เป็นพี่คนโต เนื่องด้วยภาระหน้าที่ของพี่ๆ ทุกคนที่เปลี่ยนไป พี่เพชรศรี (หัวหน้าปั๊ม ณ ช่วงเวลานั้น) ต้องย้ายบทบาทไปเป็นรองหัวหน้าตึก ผ่าตัด (ปัจจุบันเป็นหัวหน้างานการพยาบาลผ่าตัดและวิสัญญี) พี่ศิริวรรณลาออกไปดูแลครอบครัว หลังจากนั้นพี่ปฏิมาก็เปลี่ยนบทบาทหน้าที่กลับไปเป็นพยาบาลส่งเครื่องมือผ่าตัดเต็มตัว ความรู้สึก ในช่วงแรกทีต่ อ้ งมารับผิดชอบหน้าทีน่ กี้ ค็ ดิ ว่าตนเองจะท�ำได้หรือไม่ และในเวลานัน้ เองก็ทำ� ให้ได้รวู้ า่ ความอบอุน่ ของหน่วยงานนีเ้ ป็นอย่างไร อาจารย์ทกุ ท่าน และพีๆ่ ทุกคนไม่เคยทอดทิง้ กันไปไหน ยัง คอยห่วงใยและให้คำ� ปรึกษาตลอดเวลา การมีนอ้ งร่วมงานทีน่ า่ รักท�ำให้มคี วามรูส้ กึ อยากท�ำงานทุกวัน อยากท�ำผ่าตัด แม้ว่าในบางครั้งการผ่าตัดจะลากยาวไปจนดึกดื่นขนาดไหนก็ตาม แต่ก็ไม่เคยย่อท้อ เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ส�ำหรับความประทับใจในหน่วยงานนีค้ อื ความเป็นกันเองของทุกคนในหน่วยงาน การท�ำงานเป็นทีม มีการวางแผนและมีความร่วมมือร่วมใจกันที่จะท�ำให้หน่วยของเราพัฒนา และให้ผู้ป่วยได้กลับไปใช้ ชีวิตที่มีคุณภาพที่ดีขึ้น หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 47
กระบวนการดำ�เนินงาน พิจารณาก่อนได้รับการผ่าตัด
เมื่อผู้ป่วยโรคหัวใจเข้ารับการตรวจรักษาในโรงพยาบาล อายุรแพทย์โรคหัวใจจะ เป็นผู้ดูแลผู้ป่วยโดยท�ำการซักประวัติตรวจร่างกาย ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพิม่ เติมจนได้การวินจิ ฉัยทีแ่ น่ชดั และเมือ่ อายุรแพทย์ พิจารณาดูแล้วเห็นว่าผูป้ ว่ ย มีความจ�ำเป็นต้องได้รบั การรักษาด้วยการผ่าตัดหัวใจ อายุรแพทย์จะท�ำการแนะน�ำ รายละเอียดต่างๆ ของผูป้ ว่ ยเข้าทีป่ ระชุมร่วมกับศัลยแพทย์หวั ใจเพือ่ พิจารณาผ่าตัด หลังจากทีท่ ปี่ ระชุมมีความเห็นชอบว่าผูป้ ว่ ยสมควรได้รบั การผ่าตัดหัวใจ ศัลยแพทย์ หัวใจจะอธิบายรายละเอียดต่างๆ ของการผ่าตัด ได้แก่ ความจ�ำเป็นของการผ่าตัด รายละเอียดของการผ่าตัด ความเสีย่ ง และโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด การปฏิบตั ติ นหลังผ่าตัด รวมถึง ตอบค�ำถาม และข้อสงสัยต่างๆ เกีย่ วกับการผ่าตัด ให้ผู้ป่วยและญาติได้รับทราบและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
48 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
กระบวนการด�ำเนินงาน
การนัดผ่าตัด
เมื่อผู้ป่วยตัดสินใจเข้ารับการผ่าตัด และมีความรีบด่วนต้องได้รับการผ่าตัดโดยเร็ว ทางคณะ ศัลยแพทย์จะประสานงานเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดในเวลาอันสัน้ ส�ำหรับผูป้ ว่ ยที่มีอาการคงที่พอ สมควรจะได้รบั การส่งตัวไปทีห่ อผูป้ ว่ ยมหาวชิราวุธ 7A เพือ่ จัดล�ำดับการเข้ารับการผ่าตัดและออกใบ นัดผ่าตัดให้ ผู้ป่วยจะได้รับทราบข้อมูลและค�ำแนะน�ำต่างๆ ดังนี้ 1. ชื่อศัลยแพทย์เจ้าของไข้ 2. ค�ำแนะน�ำในการเตรียมตัวก่อนเข้าโรงพยาบาล เช่น การตรวจสภาพฟันและช่องปากก่อนผ่าตัด การหยุดยาบางชนิดก่อนถึงวันผ่าตัด การเตรียมของใช้จ�ำเป็นส�ำหรับใช้ในขณะอยู่โรงพยาบาล การเตรียมเอกสารตามสิทธิการรักษา การประมาณค่าใช้จา่ ยส่วนเกินหรือเพิม่ เติมจากสิทธิการรักษา 3. หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อของทางตึก ในกรณีที่ต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ซึ่งผู้ป่วยจะได้รับ เอกสารใบนัดและค�ำแนะน�ำต่างๆ เพื่อน�ำไปศึกษาต่อที่บ้าน หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 49
การเข้านอนในโรงพยาบาล เพื่อเตรียมตัวรับการผ่าตัด (Admission)
ผูป้ ว่ ยจะต้องผ่านการตรวจสอบเอกสารและยืนยันการเข้านอนทีห่ อ้ งตรวจ ผูป้ ว่ ยนอกแผนกศัลยกรรม หลังจากนัน้ จะเข้าพักทีต่ กึ ศัลยกรรมทรวงอก และหัวใจ โดยจะมีการเตรียมผู้ป่วย ดังนี้ • การประเมินความพร้อมในการเข้ารับการผ่าตัด ทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ • การซักประวัติและตรวจร่างกายโดยคณะรักษาพยาบาล • ให้ค�ำแนะน�ำพร้อมเอกสารการปฏิบัติตนขณะอยู่ในโรงพยาบาล • ให้ทราบถึงสิทธิผู้ป่วยเบื้องต้น พร้อมเอกสาร • ตรวจเลือด คลื่นไฟฟ้าหัวใจ เอ็กซเรย์ และการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการอื่นๆ • การสอบถามและตรวจสอบสิทธิการรักษา การปฏิบัติตนก่อนผ่าตัดหนึ่งวัน
บ่ายวันก่อนผ่าตัด ผู้ป่วยจะได้รับค�ำแนะน�ำในการปฏิบัติตนของผู้ป่วย หลังผ่าตัด เช่น การหายใจโดยมีท่อหายใจและเครื่องช่วยหายใจ การไอ ขับเสมหะ สายสวน และท่อระบายต่างๆ เย็นวันก่อนผ่าตัด ผู้ป่วยจะได้รับการเตรียมผิวหนังบริเวณที่จะท�ำการ ผ่าตัด รวมไปถึงการล้างท�ำความสะอาดร่างกาย หลังเที่ยงคืนผู้ป่วย จะต้องงดน�้ำ และอาหารทางปากทุกชนิด
50 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
กระบวนการด�ำเนินงาน
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 51
52 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
กระบวนการด�ำเนินงาน
การปฏิบัติตนในเช้าวันผ่าตัด
ในห้องผ่าตัด
ผู้ป่วยจะเตรียมตัวโดยท�ำความสะอาดร่างกาย เมื่อผู้ป่วยมาถึงบริเวณหน้าห้องผ่าตัด เจ้าหน้าที่ เปลีย่ นเสือ้ ผ้า ถอดฟันปลอม หลังจากนัน้ เจ้าหน้าที่ จะท�ำการตรวจสอบข้อมูลต่างๆ ของผู้ป่วย และ จะมารับตัวผู้ป่วยไปยังห้องผ่าตัด น�ำผู้ป่วยเข้าสู่ห้องผ่าตัด ผู้ป่วยจะได้รับการให้ น�้ำเกลือ ให้ยานอนหลับ ใส่ท่อหายใจ และให้ ยาสลบ จากนั้นจะใส่สายวัดความดันต่างๆ ใน หลอดเลือด ใส่สายสวนปัสสาวะ ท�ำความสะอาด ผิวหนังบริเวณผ่าตัด และรับการผ่าตัดหัวใจ ซึ่ง จะใช้เวลานานมากน้อยเพียงใดขึน้ อยูก่ บั ชนิดของ โรคหัวใจที่เป็น และความยากง่ายในการผ่าตัด เมื่อการผ่าตัดเสร็จสิ้น ผู้ป่วยจะถูกเคลื่อนย้ายไป ยังหออภิบาลศัลยกรรมหัวใจ
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 53
หออภิบาลศัลยกรรมหัวใจ
วั น ที่ ผู ้ ป ่ ว ยย้ า ยออกจากหออภิ บ าล ศัลยกรรมหัวใจมายังตึกผู้ป่วย
ที่หออภิบาลศัลยกรรมหัวใจ ผู้ป่วยหลังผ่าตัด หัวใจส่วนใหญ่มักจะยังต้องใส่ท่อหายใจอยู่ระยะ หนึง่ จนกระทัง่ หายใจเองได้ดี และไม่มภี าวะแทรก ซ้อนอืน่ ๆ จึงจะถอดท่อหายใจออกได้ นอกจากนี้ หลังผ่าตัดจะต้องมีการให้น�้ำเกลือและยาหลายๆ ตัว รวมถึงการตรวจสอบค่าของการท�ำงานของ ระบบต่างๆ ของร่างกายอย่างต่อเนื่อง จนเมื่อ ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นตามล�ำดับ จึงจะมีการถอด สายสวนต่างๆ ออก ซึ่งเมื่อถึงเวลานี้ผู้ป่วยก็จะ เริม่ ช่วยตัวเองได้มากขึน้ และพร้อมทีจ่ ะย้ายกลับ ไปยังตึกศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ
ผู้ป่วยจะได้รับการดูแลฟื้นฟูสภาพร่างกายและ จิตใจหลังผ่าตัด รวมถึงแผลผ่าตัดต่างๆ เมื่อ ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และสภาพ ร่างกายแข็งแรงพอสมควร ผูป้ ว่ ยจะได้รบั การแจ้ง ล่วงหน้า ถึงแผนการจ�ำหน่ายออกจากโรงพยาบาล เพื่อกลับไปพักฟื้นต่อที่บ้าน
54 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
กระบวนการด�ำเนินงาน
วันที่ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
หลังจากที่ผู้ป่วยกลับบ้านแล้ว
ผูป้ ว่ ยจะได้รบั ค�ำแนะน�ำก่อนกลับบ้านในเรือ่ งของ สุขศึกษา ยาและข้อควรระวังของยาบางชนิด จะ มีการให้ใบนัด พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ของตึก ศัลยกรรมหัวใจ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปรึกษาได้ ตลอดเวลา หากมีปัญหาทางสุขศึกษาหรือข้อ สงสัยอื่นๆ
ทางหน่วยศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ มีโครงการ ที่จะดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน โดยการโทรศัพท์ เยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านเพื่อติดตามอาการ สอบถาม ปัญหาในการดูแลสุขภาพ และให้คำ� แนะน�ำต่างๆ เพื่อให้ผู้ป่วยฟื้นฟูสภาพร่างกายได้อย่างรวดเร็ว ป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ และให้สามารถ กลับไปท�ำกิจวัตรต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อไป
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 55
เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจ เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจ (Cardiac Rehabilitation)
คือขบวนการในการดูแลรักษาฟืน้ ฟูผปู้ ว่ ยโรคหัวใจ โดยแพทย์ทมี่ ปี ระสบการณ์และเชีย่ วชาญ ด้านการฟื้นฟูและส่งเสริมสมรรถภาพหัวใจร่วมกับพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจ และ นักกายภาพเวชศาสตร์ฟน้ื ฟูโรคหัวใจ ให้สามารถฟืน้ สภาพการท�ำงานของหัวใจ จนสามารถ กลับมามีสภาพร่างกายและจิตใจ ทีเ่ หมือนเดิม หรือ คล้ายคลึงกับของเดิม สามารถปฏิบตั ิ ภารกิจต่างๆ ได้ตามปรกติ รวมไปถึงการป้องกันการเกิดโรคซ�ำ้ (Secondary Prevention) ในปัจจุบัน ยังรวมไปถึงกระบวนการในการดูแลสุขภาพก่อนการเกิดโรคในคนที่มีปัจจัย เสีย่ งสูง เพือ่ ป้องกันการเกิดโรค (Primary prevention) ให้สามารถด�ำรงชีวติ อย่างมีคณุ ภาพ เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจเริ่มต้นเมื่อปี 1912-1940 โดย Harrick ได้แนะน�ำให้ผู้ป่วยที่มี กล้ามเนื้อหัวใจตายทุกราย ต้องงดออกแรง และนอนพักบนเตียงอย่างน้อย 2 เดือน เช่น เดียวกับ Mallory และคณะ ให้นอนพักบนเตียงอย่างน้อย 1 เดือน และมีคนช่วยเหลือ ตลอด 2 เดือน ต่อมา ในปี 1952 Levine และ Lown ให้ผปู้ ว่ ยนัง่ ห้อยขา บนเก้าอี้ 1-2 ชม. ต่อวัน สลับกับการนอนพัก ปี 1968 Tobis และ Zohnam เริ่มให้มีโปรแกรมการออกก�ำลัง กายส�ำหรับผู้ป่วยในโรงพยาบาล ปี 1970 Hellerstein จัดให้มีโปรแกรมการออกก�ำลังกาย ส�ำหรับผู้ป่วยนอก ซึ่งถือว่าเป็นการออกก�ำลังกาย Phase 2 ปี 1980 Debusk และคณะ ได้พัฒนาการทดสอบการออกก�ำลังกาย และในปี 1991 ACVPR ได้ออกโปรแกรมส�ำหรับ การฟืน้ ฟูสมรรถภาพปอดและหัวใจ ปัจจุบนั ขบวนการทางเวชศาสตร์ฟน้ื ฟูเป็นทีแ่ พร่หลาย ทั้งในยุโรป อเมริกา และ ออสเตรเลีย เช่นเดียวกับประเทศไทย โดยทั่วไปเวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจ จะประกอบด้วย การให้โปรแกรมการออกก�ำลังกาย (Exercise Therapy) การให้ความรู้ ให้คำ� ปรึกษา และให้แนวทางการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม การด�ำรงชีวิต (Education, counseling and behavior intervention) โดยการลด หรือ ปรับเปลี่ยน ปัจจัยเสี่ยงของโรค เช่น การให้การควบคุมดูแลเรื่องการบริโภคอาหารไขมัน การควบคุมน�้ำหนัก และการควบคุมความเครียด เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการท�ำงาน ของผูป้ ว่ ย ปรับเปลีย่ นวิถกี ารด�ำเนินโรค เพือ่ ลดภาวะเจ็บป่วย (Morbidity) และการเสียชีวติ (Mortality) 56 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจ
เวชศาสตร์ฟน ้ ื ฟูโรคหัวใจในวชิรพยาบาล เริ่มเมื่อ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ โดยเรือเอก นายแพทย์วศิน กุลสมบูรณ์ และเปิดเป็นระบบ Auto consult ในปี ๒๕๔๒ ดูแลผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจทุกราย ตั้งแต่เริ่มนอนในโรงพยาบาล ก่อน-หลังผ่าตัด จนถึงเมื่อคนไข้กลับมาตรวจติดตามการรักษาหลัง ผ่าตัด ระยะหลังจะมีการรับปรึกษาในผู้ป่วยโรคหัวใจ ทางอายุรกรรมเป็นรายกรณี และร่วมดูแลผู้ป่วยโรค หลอดเลือดหัวใจตีบที่ได้รับการขยายหลอดเลือด ด้วยบอลลูน/ ขดลวดถ่างขยายหลอดเลือดตามที่ อายุรแพทย์โรคหัวใจส่งมา และเจริญก้าวหน้ามาโดย ล�ำดับ ปัจจุบันหน่วยงานมี แพทย์ที่ได้รับการอบรม เฉพาะทางด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจจากประเทศ ออสเตรเลีย ๑ คน รวมทั้งพยาบาลเฉพาะทางด้าน เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจ ๒ คน และ นักกายภาพที่ได้ รับการอบรมเฉพาะทางด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจ ผลัดเปลี่ยนกันมาดูแลผู้ป่วย ๔ คน หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 57
เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจประกอบด้วยระยะต่างๆ ดังนี้
๑. ระยะที่ ๑ (Phase ๑) : ระยะผูป้ ว่ ยใน (Inpatient phase) เพือ่ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการนอนนานๆ ท�ำให้ผปู้ ว่ ย สามารถประกอบกิจวัตรประจ�ำวันได้อย่างปลอดภัย โดยที่ ผู้ป่วยมีความมั่นใจในการปฏิบัติตนและลดความเครียดที่ อาจเกิดขึน้ รวมทัง้ ผูป้ ว่ ยมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถ ปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องหลังออกจากโรงพยาบาลรวมทั้ง สามารถควบคุมปัจจัยเสีย่ งของโรคหัวใจได้ โดยก่อนการเริม่ โปรแกรมออกก�ำลังกายทุกครัง้ ต้องค�ำนึงถึงข้อห้ามการออก ก�ำลังกาย และต้องเฝ้าระวังขณะออกก�ำลังกาย และหยุด ออกก�ำลังกายทันทีที่มีข้อบ่งชี้ การให้โปรแกรมออกก�ำลัง กายจะต้องขื้นกับอาการและสภาพร่างกายของผู้ป่วยแต่ละ ราย โดยจะประกอบด้วย การฝึกกิจวัตรประจ�ำวันต่างๆ การ ออกก�ำลังกาย รวมไปถึงการให้ความรู้ และค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับ โรคและการปฏิบตั ติ วั เป้าหมายของการฟืน้ ฟูในระยะที่ 1 คือ ผูป้ ว่ ยสามารถประกอบกิจวัตรประจ�ำวันได้ และท�ำกิจกรรม หรือ ออกก�ำลังกายในระดับ 5 METs ได้ (เดิน 150 เมตร, เดินขึ้นบันได 1 ชั้น และลงด้วยลิฟท์)
58 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคหัวใจ
๒. ระยะที่ ๒ (Phase ๒) : ระยะผู้ป่วยนอก (Outpatient phase) เป็นระยะที่ผู้ป่วยออกจากโรง พยาบาลในระยะแรกโดยใช้ระยะเวลาในการฝึก ประมาณ 8-12 สัปดาห์ โดยอาจเป็นการมาฝึก เพือ่ ฟืน้ ฟูสภาพทีโ่ รงพยาบาล หรือ เป็นค�ำแนะน�ำ การออกก�ำลังกายที่บ้าน ระยะนี้เน้นที่ความ จ�ำเป็นในการติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ได้แก่ การวัดความดันโลหิต การวัดอัตราการเต้นของ หัวใจ ก่อนและหลังการออกก�ำลังกายโดยการใช้ เครื่องมือออกก�ำลังกายแต่ละชนิด ถ้าเป็นกรณี ออกก�ำลังกายในโรงพยาบาล ควรตรวจวัดคลื่น ไฟฟ้าหัวใจขณะออกก�ำลังกายด้วย เพื่อเพิ่ม สมรรถภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ของผูป้ ว่ ย ให้ดีขึ้น เป็นการให้โปรแกรมการออกก�ำลังกายที่ เหมาะสมกับเฉพาะบุคคล เพิ่มความสามารถใน การประกอบกิจวัตรประจ�ำวัน ท�ำให้ผู้ป่วยฟื้น สภาพร่างกายได้โดยเร็วเพื่อที่จะสามารถปฏิบัติ กิจวัตรเดิมๆ ได้ ซึ่งจะเน้นให้ผู้ป่วยและญาติมี บทบาทในการร่วมดูแลรักษาผู้ป่วย เข้าใจใน ขบวนการฟืน้ ฟูโรคหัวใจ เพือ่ ลดปัจจัยเสีย่ งต่างๆ
๓. ระยะที่ ๓ (Phase ๓) : ระยะต่อเนื่อง เป็น ระยะที่ผู้ป่วยผ่านการออกก�ำลังกายในระยะที่ 2 แล้ว มีขอ้ บ่งชีว้ า่ สามารถฝึกได้เองโดยไม่ตอ้ งการ การควบคุมติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด สามารถ ออกก�ำลังกายได้อย่างปลอดภัยที่บ้าน มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการด�ำรง ชีวิต เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 59
เรียบเรียงจากการสัมภาษณ์ นายแพทย์กนก สุวรรณกิจ หัวหน้าหน่วยศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
60 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
มองอดีต สะท้อนปัจจุบัน วางแผนอนาคต
Retrospective:
PAST PRESENT FUTURE มองอดีต สะท้อนปัจจุบัน วางแผนอนาคต
หน่วยงานศัลยกรรมหัวใจและทรวงอกของวชิระมีอดีตทีค่ อ่ นข้างนาน ถือว่าเป็นทีแ่ รกๆ ของประเทศ ที่สามารถผ่าตัดหัวใจได้ มีประสบการณ์พอสมควร มีการผ่าตัดที่หลากหลาย ปัจจุบันเราก็ยังด�ำเนิน การผ่าตัดหัวใจอย่างต่อเนือ่ ง ในอนาคตเราก็จะพยายามน�ำเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ๆ เข้ามาใช้ ในการผ่าตัดผู้ป่วยให้สมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น ในอนาคต ๕ ปีข้างหน้านี้ สิ่งที่จะพยายามพัฒนาได้แก่ การผ่าตัดโรคหัวใจในเด็กที่มีโรคหัวใจพิการ มาตัง้ แต่กำ� เนิดทีม่ คี วามซับซ้อนมากกว่าเดิม โดยแต่เดิมเราผ่าตัดในเด็กทีไ่ ม่คอ่ ยมีความซับซ้อนนัก นอกจากนีจ้ ะพยายามพัฒนาการผ่าตัดทีเ่ กีย่ วข้องกับหลอดเลือดใหญ่ โดยปัจจุบนั มีการใช้ขดลวดใส่ เข้าไปในหลอดเลือดแทนการผ่าตัดใหญ่ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะสามารถลดความเสี่ยงให้น้อยลง ขณะนี้ ทางหน่วยฯมีการรักษาด้วยวิธีนี้อยู่ประปรายแต่ยังไม่มากนัก ถ้าในอนาคตทีมงานมีความพร้อมมาก ขึ้น เราก็จะเพิ่มการรักษาด้วยวิธีนี้ให้มากขึ้น ความส�ำเร็จและความภาคภูมิใจ
หน่วยฯ เริ่มต้นจากศัลยแพทย์เพียงท่านเดียวและทีมงานเล็กๆ นับเป็นสถาบันที่ผ่าตัดหัวใจที่แรกๆ ของประเทศ ต่อมามีการพัฒนาขึ้นทั้งจ�ำนวนศัลยแพทย์ บุคลากรที่เกี่ยวข้องและจ�ำนวนการผ่าตัด ความสามารถในการผ่าตัดโรคต่างๆ ก็หลากหลายมากขึน้ ผลของการผ่าตัดถือว่าประสบความส�ำเร็จ พอสมควร เทียบเคียงกับหลายสถาบัน ทางเราก็ได้มาตรฐาน หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 61
ความทรงจ�ำ ความประทับใจ การท�ำงานเป็นทีม
ขอบคุณที่ท�ำให้บริการ คนไข้ได้ในวันนี้
ในห้องผ่าตัด มีทีมงานประมาณสิบคน ประกอบด้วยศัลยแพทย์หนึ่งคน ผู้ช่วย ผ่ า ตั ด พยาบาลส่ ง เครื่ อ งมื อ ผ่ า ตั ด พยาบาลช่วยส่งเครื่องมือ พยาบาลที่ คอยหยิบของ วิสัญญีแพทย์ วิสัญญี พยาบาลสองคน และนักปฏิบตั กิ ารหัวใจ ปอดเทียมสองคน ดังนัน้ ความประทับใจ คือการร่วมมือท�ำงานกันเป็นทีม ทั้ง เพื่อนแพทย์ด้วยกัน พยาบาล นักปฏิบัติ การหัวใจปอดเทียม เจ้าหน้าทีท่ รี่ ว่ มแรง ร่วมใจท�ำงาน การผ่าตัดใช้เวลานาน เสร็จเย็น เสร็จค�่ำ แต่ทุกคนก็ทุ่มเทให้ แก่การท�ำงานและคนไข้ ยอมยากล�ำบาก ท�ำให้เราได้คิดว่า เป็นการเสียสละอย่าง มากส�ำหรับแต่ละคนที่มาร่วมงานกัน
ถ้าจะให้กล่าวขอบคุณ คนแรกที่ผมจะ ต้องกล่าวถึงคือท่านอาจารย์ นพ.สุทธิ สุรเกียรติชานุกูล เพราะว่าท่านอาจารย์ เป็นผูก้ อ่ ตัง้ หน่วยนี้ ซึง่ การก่อตัง้ หน่วยฯ ย่อมเป็นเรื่องที่ยากล�ำบากแน่นอน ท่าน เตรียมคน เตรียมเครื่องมือ เตรียมการ ผ่าตัด โดยเฉพาะในช่วงแรกๆ ความ ช�ำนาญอาจจะน้อยอยู่ อาจารย์ก็ฟันฝ่า สามารถตั้งทีมขึ้นมาได้ นอกจากนั้น ต้องขอบคุณทีมงานทั้งหมดที่ท�ำให้การ ผ่าตัดด�ำเนินไปได้ด้วยดี
ความท้าทายที่ต้องเผชิญและการรับมือ
ปัจจุบนั หน่วยงานเราได้รบั ผลกระทบเช่นเดียวกับทีห่ น่วยบริการทางการแพทย์อนื่ ๆ หลายๆ ทีพ่ บ คือการขาดแคลนบุคลากร โดยเฉพาะพยาบาล ไม่วา่ จะเป็นพยาบาล ในห้องผ่าตัดและพยาบาลไอซียู เมื่อคนไม่พอ การปฏิบัติงานก็อาจจจะไม่ราบรื่น หรือการขยายงานก็จะท�ำได้ไม่ดนี กั ซึง่ ทางหน่วยงานของเราก็พยายามแก้ไขปัญหา ร่วมกับผู้บริหารของคณะฯ ในการจัดหาบุคลากรมาเพิ่มเพื่อให้สามารถด�ำเนินงาน ต่อไปได้ด้วยดี 62 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
มองอดีต สะท้อนปัจจุบัน วางแผนอนาคต
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 63
64 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
มองอดีต สะท้อนปัจจุบัน วางแผนอนาคต
วัฒนธรรมและค่านิยมหลักของหน่วย สิ่งที่ทำ�ให้ประสบความสำ�เร็จมากที่สุด คือการทำ�งานเป็นทีม เพราะการผ่าตัด หัวใจประกอบด้วยทีมใหญ่ ถ้าไม่สามารถ ทำ�งานด้วยกันอย่างดี ก็จะไม่ประสบ ความสำ�เร็จ สิ่งนี้คือสิ่งสำ�คัญที่สุด ล�ำดับความส�ำคัญในการพัฒนาหน่วยวันนี้
ล�ำดับความส�ำคัญสูงสุดในการพัฒนาหน่วยวันนี้ คือการจัดหาบุคลากรให้เพียงพอ โดยเฉพาะพยาบาล หลังจากนั้นก็จะพยายามเพิ่มศักยภาพ เพิ่มจ�ำนวนการผ่าตัด ให้มากขึ้นและการผ่าตัดที่หลากหลายขึ้น ที่ผ่านมาก็มีการพัฒนาตรงนี้แล้ว เช่น เริม่ มีการผ่าตัดหัวใจเด็กทีม่ โี รคหัวใจพิการแต่กำ� เนิด ในอดีต เราไม่มแี พทย์เฉพาะ ทางด้านนี้ แต่ปจั จุบนั เราก็มแี พทย์ทเี่ รียนมาด้านนีโ้ ดยตรง ก็ชว่ ยเติมในส่วนนีเ้ ข้าไป ต่อมาก็อาจจะมีการรักษาโรคของหลอดเลือดใหญ่ในช่องอกด้วยวิธีใส่ขดลวด ความในใจ
๔๐ ปี ถือเป็นระยะเวลาที่ยาวนานพอสมควร ความยุ่งยากเริ่มตั้งแต่การก่อตั้งและ การที่จะประคับประคองให้ด�ำเนินงานไปได้ และวางแผนในอนาคตต่อไป สิ่งที่เรา ต้องค�ำนึงถึงเสมอ คือเรื่องการผ่าตัดหัวใจเป็นเรื่องที่มีความเสี่ยงสูง ต้องใช้ผู้มี ความช�ำนาญ ทีมงานทีม่ คี วามช�ำนาญและท�ำงานกันเป็นทีมเวิรค์ อย่างดี เพือ่ ให้ได้ ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดแก่ผู้ป่วย อยากจะท�ำความเข้าใจกับประชาชนแม้วา่ ปัจจุบนั การผ่าตัดหัวใจมีทำ� กันหลายแห่ง ท�ำกันทุกวัน แต่ถึงอย่างไรก็เป็นสิ่งที่มีความเสี่ยงอยู่ดี มีความเสี่ยงอยู่ในทุกจุด แม้วิทยาการก้าวหน้า แต่ก็ยังต้องใช้ประสบการณ์ ความระมัดระวัง และทีมก็ต้อง มีความช�ำนาญด้วย หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 65
ทิศทางในอนาคต โดย นพ.สันติชัย กาลเนาวกุล
ผมได้รบั มอบหมายจากท่านหัวหน้าหน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอก และหัวใจ อ.กนก สุวรรณกิจ ให้เขียนเรือ่ งนี้ ผมคงต้องมองย้อน กลับไปเมือ่ ๔๐ ปีทแี่ ล้ว เมือ่ สมัยที่ อ.ชลิต และ อ.สุทธิ ได้ เริม่ ต้นการผ่าตัดหัวใจที่ วชิรพยาบาล แห่งนีเ้ ป็นครัง้ แรก สมัย ผมเป็นแพทย์ประจ�ำบ้านที่ รพ.จุฬาฯ ท่านอาจารย์ชลิต ก็ได้ เล่าเรือ่ งราวต่างๆ ให้ผมและเพื่อนๆ ฟังอยู่เสมอๆ ทุกครั้ง ที่มีโอกาส จนกระทั่งเมื่อประมาณ ๕-๖ ปีกอ่ นทีผ่ มได้รบั โอกาสให้มาท�ำงานที่ รพ.วชิรพยาบาล จนกระทั่งวันนี้ สถานการณ์และสภาพของหน่วย ศัลยศาสตร์ทรวงอกและ หัวใจ วชิรพยาบาล จากการประเมินของผมผ่านทางสายตา และความรูส้ กึ นัน้ เปรียบได้กบั “กระทะ” ท�ำอาหาร เมือ่ ๔๐ ปีกอ่ น เราอยู่ ณ จุดสูงสุดบริเวณทีเ่ ป็นขอบกระทะ จากนัน้ ก็คอ่ ยๆ ลืน่ ไถลลงมาสูบ่ ริเวณก้นกระทะอย่างช้าๆ ด้วยเหตุ ปัจจัยหลายๆ อย่างประกอบกัน จากการลดลง ไปกว่า ๕๐% ของจ�ำนวนบุคลากร จ�ำนวนวัน และห้องในการท�ำผ่าตัดและ จ�ำนวนเตียง ICU คงต้องตอบค�ำถามให้ได้วา่ “เรามาถึงจุดนี้ ได้อย่างไร?” และทีส่ ำ� คัญจริงๆ คือ “แล้วเราจะท�ำอย่างไร จึงจะไต่ระดับขึ้นไปสู่บริเวณขอบกระทะได้อีกครั้ง?”
66 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
ทิศทางในอนาคต
ผมเชื่อว่า ณ ขณะนี้ หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ วชิรพยาบาล ได้ผา่ นจุดทีต ่ ำ�่ สุดคือ บริเวณก้นกระทะไปแล้ว ก�ำลังพยายามไต่ระดับขึน ้ แต่ทิศทางต่อไปในอนาคตนั้นยังมีโอกาสเป็นไปได้ ทั้ง ๒ ทาง คือ สามารถปีนทะลุขึ้นกลับสู่ขอบกระทะได้อีกครั้ง หรือไม่ก็ลื่นไถลกลับสู่ ก้นกระทะอีกครั้งหนึ่ง ภายใต้ การบริหารของคณะผู้บริหารชุดใหม่ จุดประกายความหวังของวชิรพยาบาลอีกครัง ้ หนึง ่ ถึงแม้วา่ ณ ขณะนี้ วิสย ั ทัศน์และนโยบายต่างๆ ของทางผูบ ้ ริหาร จะยังไม่ได้สง ่ ผลในเชิงบวก อย่างเป็นรูปธรรมกับหน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจก็ตามที แต่ก็ พอจะเชื่อได้ว่าแนวโน้มต่อไปในอนาคตน่าจะดีขึ้น
เรือ่ งทีส่ ำ� คัญและน่าสนใจคือ ศักยภาพของหน่วยศัลยกรรมทรวงอกและหัวใจ วชิรพยาบาล ในขณะนี้เราสามารถท�ำอะไรได้บ้าง • Coronary artery bypass surgery : on-pump, off-pump, mid-CAB, hybrid • Valvular heart surgery : repair, replacement, minimally invasive, TAVI • Aortic surgery : aneurysm, dissection, endovascular surgery (TEVAR) • Congenital heart disease : ASD, VSD, PDA, TOF, shunt • Mechanical circulatory assisted devices : ECMO, VAD • Heart and lung transplantation : in planning process จะเห็นได้วา่ ศักยภาพการผ่าตัดหัวใจและหลอดเลือด ของหน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ วชิรพยาบาล ไม่ได้น้อยไปกว่าสถาบันชั้นน�ำอื่นๆ ในประเทศเลย หากได้รับการส่งเสริม และสนับสนุนจากทางผู้บริหารอย่างจริงจัง ความหวังของการกลับไปสู่จุดสูงสุดนั้นไม่ใช่ เรื่องยาก
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 67
สถิติการด�ำเนินงาน
สถิติการดำ�เนินงาน
68 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
สถิติการด�ำเนินงาน
ภาพรวมของทรัพยากร ทางการแพทย์ของหน่วยฯ
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 69
บทสัมภาษณ์ผู้ป่วย หลังได้รับการผ่าตัดหัวใจ ผมได้รับการส่งต่อมาที่วชิระจากโรงพยาบาล เจริญกรุงประชาราษฎร์ โดยใช้สิทธิบัตรทอง วันทีผ่ า่ ตัดจะเป็นวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ทาง ครอบครัวเขาก็มีความกังวล แต่ผมเคยได้รับการ ผ่าตัดหัวใจมาแล้วครัง้ หนึง่ ผมจึงไม่มคี วามกังวล มากนัก แต่ค่าใช้จ่ายทางนั้นจะสูงไป ก็เลยให้ ส่งตัวมาที่นี่ หลังผ่าตัดผมก็รู้สึกดีขึ้น คือผม เป็ น มานานแล้ว แต่ช่วงหลังนี้เหนื่อยมากขึ้น เลยจ�ำเป็นต้องผ่า ผมเข้ามาตรวจสภาพร่างกายก่อนวันที่ ๑ แล้วขอ คุณหมอกลับไปรอบนึง แล้วกลับมาอีกทีวันที่ ๖ เขานัด ๙ โมงเช้า อย่างที่บอก คือไม่กังวลเพราะ เราเคยเข้าห้องผ่าตัดมาแล้ว เจ็บไหม ไม่รสู้ กึ เจ็บ หลังผ่า ผมก็ดูว่าผมไม่เจ็บต้องขอยาระงับความ เจ็บปวดหรือไม่ แต่มีเวียนหัวนิดหน่อย หลังจาก ผ่าตัดแล้วก็อยูโ่ รงพยาบาลต่อประมาณ ๒ อาทิตย์ พอมาอยูไ่ อซียู อาการก็ดขี นึ้ เรือ่ ยๆ เปลีย่ นไปทาง ที่ดีทุกวัน แผลไม่เจ็บ เรียบร้อยแห้งดี และตอนนี้ ผมก็รู้สึกสบายใจดี หลังผ่าผมก็มาพบคุณหมอตามนัด ต้องรับประทาน ยาตามที่คุณหมอสั่งอย่างเคร่งครัด เรียบเรียงจากการสัมภาษณ์ วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘
70 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
บทสัมภาษณ์ผู้ป่วยหลังได้รับการผ่าตัดหัวใจ
“ไม่กังวลอะไรและก็ไม่เจ็บ” คุณสัมพันธ์ ลักษณาอารยะการ อายุ ๕๘ ปี เข้ารับการผ่าตัด วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๘ การวินิจฉัย Severe AR with aortic root dilation และเคยผ่าตัด ascending aortic replacement การผ่าตัด Redo AVR + ascending aortic replacemant (wheat procedure) หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 71
“เขารับเราแล้วนะ…” คุณบารเมษฐ์ บุญทิพย์ภานนท์ อายุ ๕๘ ปี และคุณทานตะวัน บุญทิพย์ภานนท์ (ภริยา)
เข้ารับการผ่าตัด วันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ การวินจิ ฉัย Aortic dissection type B การผ่าตัด Descending aortic repair with graft interposition
72 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
บทสัมภาษณ์ผู้ป่วยหลังได้รับการผ่าตัดหัวใจ
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 73
วันเกิดเหตุ
คุณบารเมษฐ์: เมื่อก่อนเราก็มีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่เคยมีอาการใดๆ จู่ๆ ก็น็อคคาพวงมาลัยรถขณะ ก�ำลังขับรถอยู่ ก่อนหน้านัน้ เป็นนักกีฬา สอนเด็กเล่นกีฬา ไม่ทานเหล้าไม่ดดู บุหรี่ แต่กเ็ ป็นโรคทีแ่ ฝงอยูไ่ ด้ ในทุกคน ปัจจุบันผมอายุ ๕๘ ปี ตอนที่เป็น ผมอายุ ๕๕ ปี คุณทานตะวัน: ไม่มอี าการน�ำ ยกเว้นว่าปวดปัสสาวะบ่อยมากทุก ๕ นาที ๑๐ นาที วันนัน้ ตอนทีข่ บั รถ แก บอกว่า "แปลก" เส้นหลังกระตุกขึ้นมาถึงที่คอเลย เราก็ยังนั่งหัวเราะกันอยู่ พอรถผ่านสี่แยก อยู่ๆ ท้ายรถก็เกือบไปเฉียวคนห่างกันแค่เพียงเส้นผมเดียว หันมาดูเห็นแกนั่งนิ่ง ตาค้าง ตบหน้าเบาๆ ก็ ไม่รู้สึก เราถึงทราบว่าแกน็อคแล้ว รถก็ยังวิ่งไป ท�ำอะไรไม่ถูก จนตอนหลังเห็นว่าเกือบจะชนเด็ก นักเรียน เลยเปิดกระจกตะโกนบอกให้รถปิคอัพข้างหน้าตะโกนบอกให้นกั เรียนทีล่ อ้ มรถขนมอยูห่ ลบ ไป พอรถเราไปชนร้านแม่ค้า โดนรถ ไม่โดนคน รถหยุด เปิดกระจก ช่วยกันปั๊ม แกไม่รู้สึกตัวแล้ว โชคดีที่เราอยู่ข้างรถมูลนิธิพอดี เขามาช่วยดับเครื่องยนต์ พอดีแกฟื้น แกก็บอกกลับบ้านก่อนๆ เรา ก็นึกว่าแกเป็นลมธรรมดา คิดว่าเอาไงดีนะ แต่แป๊บเดียวเท่านั้นแกก็มีอาการใหม่ เขาช่วยกันนวดจน ฟื้นก็พาไปส่งโรงพยาบาลปราณบุรี ดิฉนั ไปเอาผลเลือดอะไรสักอย่าง พอกลับมาเขาปัม๊ หัวใจแกแล้ว หมอบอกว่าไม่รวู้ า่ เลือดหรือน�ำ้ ท่วม ปอด ต้องส่งต่อไปหัวหิน ถึงหัวหินประมาณสอง ทุม่ เอ็กซเรย์ออกมาหมอบอกว่าเส้นเลือดฉีกขาด นั่นคือเลือด ต้องผ่าตัดด่วนเดี๋ยวจะส่งไปราชบุรี แต่ไม่มีใครรับเรา คุณหมอบอกเราว่าให้ช่วยกัน หาโรงพยาบาล ช่วยกันติดต่อโรงพยาบาลของรัฐ รู้จักใครบ้าง เราก็พยายามทุกที่ ไม่มีใครรับ ลอง ทุกทีจ่ นเทีย่ งคืน ไม่มใี ครตอบรับเราเลย คุณหมอ ถามว่า วชิระ โทรหรือยัง เราบอกยังไม่ได้โทร ใน ความรู้สึกเราตอนนั้นเราไม่ค่อยประทับใจวชิระ แต่หมอบอกให้โทรก็เลยโทรไปวชิระ ประมาณตี หนึ่ง พอเจ็ดโมงห้านาที พยาบาลเข้ามาบอกเรา “มีข่าวดีมาบอก เขารับเราแล้วนะ” (น�้ำตาไหล)
เราออกจากทีน่ นู่ ประมาณเก้าโมงเช้า (ร้องไห้) มา ถึงนี่บ่าย ทุลักทุเล รถมาจอดตรงตึกด้านหน้า ประชาสัมพันธ์ไม่รเู้ รือ่ ง จะไม่รบั เลยเอาใบให้เขา ดูวา่ เขาส่งเรามาทีห่ วั ใจ จนมีพสี่ มพงษ์บรุ ษุ พยาบาล มาช่วยพาไป มาเจออาจารย์หมอสุขสันต์ กนกศิลป์ บอกผมเป็นหมอเจ้าของไข้ หมอบอกว่า คนไข้ อาการหนัก ไม่ผา่ ตาย ผ่าก็อาจจะตาย อาจจะไม่รอด หรือรอดก็อาจจะพิการ หรือเป็นเจ้าชายนิทรา แต่ มันยังมีท างรอด เราก็ เอาเหอะ ตกลงได้ ผ่ า ประมาณ ๖ โมงเย็น ใช้เวลาผ่าตัดประมาณ ๖ ชัว่ โมง นัง่ หลับรออยูท่ หี่ น้าเซเว่น ฝันว่าคุณเขามา ปลุก เลือดเต็มหัวเข่าเลย เลยวิ่งมาที่ห้องผ่าตัด เขาบอกเสร็จแล้ว ให้ไปรอที่ข้างล่าง บอกตัวเอง ว่าเขาคงไม่เป็นไรเพราะเห็นเขามัดแขนขาหมด แล้วสองข้าง คงมีแรงขืนและครบสามสิบสอง
74 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
บทสัมภาษณ์ผู้ป่วยหลังได้รับการผ่าตัดหัวใจ
ผ่าครั้งที่สอง
คุณทานตะวัน: อยู่ในนั้นประมาณเดือนนึง ใส่ท่อช่วยหายใจ พอเอาท่อออกเสียงไม่มี ก็มานอนอยู่หอ อภิบาล ตึกนี้ดีมาก พักฟื้น ท�ำกายภาพบ�ำบัด ผ่านไปสามเดือน แกเริ่มก้าวเดินได้ พอสามเดือน หมอสุขสันต์มาบอกใหม่ว่าเลือดมันซึม หมอบอกว่าอาการอาจจะเหมือนเดิม มันอาจจะเป็นอะไรได้ เหมือนเดิม สรุปเราตกลงกันว่าต้องผ่าใหญ่อีกหน ก่อนผ่าก็เดรนเลือดที่ตกค้างอยู่ออกก่อน พอออก มาอาการเท่าเดิม ไม่มีส่วนไหนอ่อนแรง เราก็อยู่อีกยี่สิบกว่าวัน หมอบอกว่าที่ผ่าแล้ว ติดเชื้อ ต้อง ให้ยาฆ่าเชือ้ อีกยีส่ บิ เอ็ดวัน แล้วก็พร้อมกลับบ้านได้ เรากลับบ้านได้โดยเราไม่ตอ้ งใช้รถเข็น เราไม่ตอ้ ง ใช้ไม้ค�้ำ เราประคองกันไป…. ฝากให้คนอ่าน
คุณบารเมษฐ์: สิ่งแรกที่เราไม่รู้เลยคือเราไม่ห่วง ตัวเอง ไม่ ต รวจสุ ขภาพตามเวลาที่ ห มอบอก ส�ำคัญทีส่ ดุ คือต้องช่วยหมอ คือคนทีม่ าป่วย ต้อง เชื่อฟังหมอ หมอให้ปฏิบัติอย่างไรก็ปฏิบัติ และ ต้องเชื่อพยาบาลที่มาดูแล เขาบอกอย่าดื้อก็ต้อง ไม่ดื้อ ผมก็บอกคนที่เข้าไปใหม่ในไอซียูว่าต้อง ท�ำตัวให้ดี อย่าดือ้ กับเขา ท�ำตามทีเ่ ขาบอก ทุกคน ก็ออกมายิ้มมม คุณทานตะวัน: คนเฝ้ า ไข้ เ องก็ ต ้ อ งพยายาม ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคนั้นและวิธีการปฏิบัติ ตัวให้ดที สี่ ดุ เรือ่ งไม่สบายใจต่างๆ เก็บไว้ขา้ งนอก เวลามาหาคนไข้ ต้องเอามาแต่รอยยิม้ แต่ตอ้ งดูแล เขาอย่างเข้มงวดมาก อย่าใจอ่อนเรือ่ งสิง่ ทีต่ อ้ งงด สิ่งที่ต้องห้าม เรียบเรียงจากการสัมภาษณ์ วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 75
“รู้งี้ผ่ามา ตั้งนานแล้ว”
คุณณัฐวดี อภิพัฒนมงคล อายุ ๒๕ ปี เข้ารับการผ่าตัด วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘ การวินิจฉัย ASD secondum การผ่าตัด ASD closure
76 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
บทสัมภาษณ์ผู้ป่วยหลังได้รับการผ่าตัดหัวใจ
เมื่อก่อน
หนูเป็น ASD คือผนังกัน้ ห้องหัวใจด้านบนรัว่ ตัง้ แต่เด็ก แต่หมอเขาพูดว่าเดีย๋ วโตมาก็ปดิ เอง แม่ก็ จ�ำค�ำนั้น หนูโตมาจนอายุ ๒๔ หนูไปบริจาคเลือด แล้วหมอฟังเสียงหัวใจ บอกว่าบริจาค ไม่ได้ ได้ยินเสียงหัวใจรั่ว หลังจากนั้นเลยไปเอคโค่ดู ปรากฏว่ารั่วจริง สองรูค่ะ หมอบอก ว่าหัวใจโตแล้ว ถ้าโตมากกว่านี้มันจะอันตราย คือหลังๆ หนูเหนื่อยง่าย เมื่อก่อนเล่นบาส หลายๆ ตาก็ไม่เหนื่อย หลังๆ เล่นตาสองตาก็เหนื่อยแล้ว ทีแรกนึกว่าตัวเองแก่ (หัวเราะ) ตอนผ่า
ตอนดมยา เหมือนคุณหมอดมยาเขาชวนพูด เขาถามว่าเป็นยังไงบ้าง รู้สึกง่วงหรือรู้สึก อย่างไรบ้างหรือยัง หนูบอก ยังไม่เห็นรู้สึกเลย พอตอบได้ค�ำเดียว หลับไปเลย พอตื่นขึ้น มาอีกทีในห้องไอซียู ตอนหนูผ่า หนูสามารถถอดท่อช่วยหายใจได้ตั้งแต่อยู่ในห้องผ่าตัด ปกติเขาบอกว่าน้อยรายมากที่จะถอดได้เร็วอย่างนี้ หนูก็ฟื้นตัวเร็วมากด้วยค่ะ สามวันหนู ก็เดินได้แล้ว ถอดสายออกก็เดินเลย เหมือนหายไวด้วย แผลปิดสนิท หนูอายุ ๒๕ ค่ะ ติดใจที่นี่ ห้องไอซียูน่ารักมาก ตอนนี้
พอปิดรูแล้ว หนูกส็ บาย ไม่เหนือ่ ยง่ายเลย รูง้ กี้ ผ็ า่ มาตัง้ นานแล้ว รูง้ กี้ ผ็ า่ มาตัง้ แต่เด็กๆ แล้ว คือคุณภาพชีวติ ก่อนผ่ากับหลังผ่านีต่ า่ งกันมาก คือบ้านหนูมสี ามชัน้ พอขึน้ ชัน้ สองชัน้ สาม ก็เหนือ่ ยง่ายกว่าคนปกติ ตอนอยูโ่ รงเรียนห้าชัน้ ยังขึน้ ได้ เหนือ่ ยขนาดว่าช่วงใกล้ๆ ผ่า พูด ยังเหนื่อยเลย คือมันเริ่มหนักแล้ว แต่ก่อนหน้านั้นสองปี คือตอนที่ไปบริจาคเลือด ยังไม่ หนักเท่านี้ ตอนนี้เดินสบาย แค่สามอาทิตย์ยังดีขนาดนี้ เดี๋ยวรอแผลหาย หนูคงกลับไป เล่นกีฬาเหมือนเดิม ตอนนี้หนูก็ไม่กินเค็ม รักษาสุขภาพ ข้อแนะน�ำ
หนูขอแนะน�ำทั่วๆ ไปไม่เฉพาะโรคหัวใจค่ะ คือให้สังเกตตัวเองว่าเหนื่อยง่ายไหม เจ็บตรง ไหนบ้าง มีอะไร รีบไปตรวจดีกว่า เพราะว่าดีต่อสุขภาพตัวเอง และใครเป็นอะไร อย่าลืม ตรวจติดตาม ส่วนเรื่องอาหาร แนะน�ำว่าอย่ากินอาหารรสจัด ไม่งั้นไม่เป็นโรคหัวใจก็เป็น โรคไต ตอนอยู่ในโรงพยาบาลหนูกินอาหารจืดๆ ตอนนี้กลับไปกินอาหารรสเค็มรสจัดไม่ ได้แล้ว หนูคงจะกินจืดๆ ต่อไป เพราะมันดีต่อสุขภาพ ตอนอยู่ในไอซียู หนูน่ะไม่เป็นไร แต่เห็นเตียงซ้ายขวา แต่ละคนเข้ามา ได้แต่มอง อยากจะช่วย อยากให้ทุกคนดูแลตัวเอง ทั้งเรื่องกินเหล้าสูบบุหรี่ อยากให้เลิก อยากให้รักสุขภาพ เพราะป่วยไป มันไม่คุ้ม เรียบเรียงจากการสัมภาษณ์ วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๘ หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 77
78 | 40 YEARS OF CARDIO THORACIC SURGERY, VAJIRA
สถิติการด�ำเนินงาน
หนังสือครบรอบ ๔๐ ปี หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ | 79
หน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอกและหัวใจ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ๖๘๑ ถนนสามเสน แขวงวชิระ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ Cardiovascular Thoracic Unit, Surgery Department at Faculty of Medicine Vajira Hospital, Navamindrahiraj University, Bangkok, Thailand Tel: 0-2244-3281 | Fax: 0-2244-3282 www.vajira.ac.th