ABUSIR ∙
∙
หนังสื อเล่มนี้ จะสมบูรณ์ไม่ได้หากขาดข้อมูลที่เป็ นประโยชน์จากงานศึกษาของลุดวิก บอร์ ชาด (Ludwig Borchardt) งานเขียนจากหนังสื อ Das Grabdenkmal des Königs Sahure ของบอร์ ชาดแสดงให้เห็นถึง ความทุ่ม เทในการศึ กษาค้นคว้าข้อมู ลของกลุ่ มสุ ส านในอบูเซี ยร์ โดยเฉพาะกลุ่ มวิห ารประกอบ พีระมิ ดของฟาโรห์ ซาฮูเรที่ ช่วยทาให้เราได้เข้าใจถึ งงานสถาปั ต ยกรรมและเทคนิ คการก่ อสร้ าง ในช่ วงสมัยราชอาณาจัก รเก่ าได้ดี ยิ่งขึ้ น อี กทั้งยังเป็ นประโยชน์ อย่างมากต่ อการจัดท าหนังสื อ “พีระมิดแห่ งอบูเซียร์ : ความเชื่อ∙หลัง∙สุ ริยะ” เล่มนี้ข้ ึนมา ทางคณะผูจ้ ดั ทามีความต้องการที่จะเผยแพร่ ขอ้ มูลความรู ้เกี่ ยวกับอียิปต์วิทยาในทิศทางที่ แตกต่างไปจากงานแปลทัว่ ไปที่เคยมีมาในประเทศไทย โดยทาการนาเสนอในมุมมองที่หลากหลาย อีกทั้งยังมุ่งเน้นให้มีการต่อยอดองค์ความรู ้ต่อไปในอนาคตได้ และเพื่อเป็ นการเคารพต่อข้อมูลของ นัก อียิปต์วิทยาที่ทาการศึ กษาข้อมู ลอันเป็ นประโยชน์ น้ ี ม าก่ อน ทางกลุ่ ม ผูจ้ ดั ทาขออุ ทิศ ความดี ทั้งหมดที่จะเกิ ดขึ้นกับหนังสื อเล่มนี้ ให้แด่ลุดวิก บอร์ ชาดและงานเขียนทางโบราณคดีอนั ทรงคุณค่า ของเขา ณัฐพล เดชขจร พัชรพงศ์ กุลกาญจนาชีวิน
2
ที่ปรึกษา อ.เกรี ยงไกร เกิดศิริ อ.ปองพล ยาศรี
ผู้เขียน ณัฐพล เดชขจร พัชรพงศ์ กุลกาญจนาชีวนิ
ทีมงานค้ นคว้ าข้ อมูล สุภสั รา คงแก้ ว รินทร์ ลภัส ศรี ปิติโรจน์ Fusia
ออกแบบปก ทิวตั ถ์ คงวิเชียรวัฒน์
ภาพถ่ าย ภาพกราฟฟิ ค ณัฐพล เดชขจร พัชรพงศ์ กุลกาญจนาชีวนิ 3
ภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์
9
ยุคแห่งพีระมิด
17
สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและศาสนา
32
สถาปั ตยกรรมพีระมิดใน ราชวงศ์ที่ 3
39
สถาปั ตยกรรมพีระมิดใน ราชวงศ์ที่ 4
50
สถาปั ตยกรรมพีระมิดใน ราชวงศ์ที่ 5
60
สถาปั ตยกรรมพีระมิดใน ราชวงศ์ที่ 6
67
พีระมิดฟาโรห์ซาฮูเร
78 4
พีระมิดฟาโรห์เนเฟอร์ อิร์คาเร คาคาอิ
108
พีระมิดฟาโรห์เนเฟอร์ เอฟเร
116
พีระมิดฟาโรห์นิอเู ซอร์ เร
122
วิหารสุริยะฟาโรห์อเู ซรคาฟ
132
วิหารสุริยะฟาโรห์นิอเู ซอร์ เร
138
มาสตาบา พทาห์เชปเซส
146
พีระมิดพระนางเคนท์คาเวสที่ 2
154
พีระมิดที่สร้ างไม่เสร็ จของ เชปเซสคาเร
157
พีระมิดเลปซิอสุ 24 และ 25
158
บทสรุปความเชื่อในลัทธิสรุ ิ ยะต่องานสถาปั ตยกรรมในราชอาณาจักรเก่า
161
รายนามฟาโรห์โดยสังเขป
174
วัสดุและเครื่ องมือในการก่อสร้ างพีระมิด
179
แนวคิดและทฤษฎีการสร้ างพีระมิดของชาวอียิปต์โบราณจากอดีตถึงปั จจุบนั
188
อภิธานศัพท์
196
5
6
7
1
อารยธรรมอียปิ ต์โบราณมีความรุ่งเรื อง ยาวนานมากกว่ า 3,000 ปี และถื อ ก าเนิ ด ขึ น้ มาในช่ ว งเวลาที่ ใกล้ เคี ย งกับ อารยธรรม เพื่ อนบ้ านอย่างเมโสโปเตเมียหรื ออารยธรรม ลุ่ม แม่น า้ ไทกริ สและยูเฟรติส แต่ เมื่ อ ท าการ เปรี ยบเที ย บอารยธรรมอี ยิปต์ โบราณเข้ ากั บ อารยธรรมเมโสโปเตเมียแล้ ว ดูจะแตกต่างกัน อย่างเห็นได้ ชัดในด้ านของพรมแดนธรรมชาติ ซึ่ ง ก็ ส่ ง ผลให้ อี ยิ ป ต์ โบราณไม่ มี ก ารแย่ ง ชิ ง บัล ลั ง ก์ จ ากชนเผ่ า ต่ า งถิ่ น บ่ อ ยครั ง้ เหมื อ น ดั ง เช่ น อารยธรรมเมโสโปเตเมี ย ที่ มี ช นเผ่ า มากมายผลัดกันเข้ ามาปกครองอย่างไม่ขาด สาย
ทางด้ านทิ ศ ตะวั น ออกจรดทะเลแดง ทิ ศ ตะวั น ตกมี ท ะเลทรายกว้ างใหญ่ ข องลิ เบี ย รวมทัง้ ทางทิ ศใต้ มี แก่งน า้ ตก (Cataract) อยู่ ถึง 6 แก่งที่ เกิดจากการกัดเซาะซอกหินที่ ค ด เคี ้ยวและคับแคบของแม่น ้าสายสาคัญที่อยู่คู่ มากับดิ นแดนอี ยิปต์ โบราณตัง้ แต่ยุคแรกเริ่ ม และเป็ นส่วนสาคัญในการก่อสร้ างวัฒนธรรม ของชาวอี ยิปต์ โบราณด้ วย แม่นา้ สายสาคัญ นั น้ ก็ คื อ “แม่ น า้ ไนล์ ” อั น เป็ นหั ว ใจของชาว อี ยิป ต์ โบราณที่ มี ค วามยาวมากกว่ า 6,500 กิโลเมตร และทุกครัง้ ที่แม่น ้าไนล์ไหลท่วม ก็จะ พัด พาตะกอนดิ น สี ด ามาทับ ถมสองฟากฝั่ ง และตะกอนดินเหล่านี ค้ ือปุ๋ยชัน้ ดีที่หล่อเลี ย้ ง พืชผลของชาวอียปิ ต์โบราณ ทาให้ ดินแดนแห่ง นี ้มีความอุดมสมบูรณ์ สามารถหล่อเลี ้ยงปาก ท้ องของชาวอี ยิ ป ต์ โบราณ มาได้ ต ลอ ด
ดินแดนไอยคุปต์ มี พรมแดนธรรมชาติ อย่างดีรอบทิศทางในการสกัดกัน้ ผู้บุกรุ กจาก ต่างแดน ด้ านทิศเหนือมีทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน 9
ระยะเวลากว่ า 3,000 ปี ดั ง นั น้ ชาวอี ยิ ป ต์ โบราณจึ ง เรี ย กดิ น แดนของเขาว่ า เคเมต (Kemet) ซึ่ ง มี ค วามหมายว่ า “แผ่ น ดิ น สี ด า” (Black Land) นัน่ เอง
Pyramids of Giza) หนึ่ ง ในเจ็ ด สิ่ ง มหั ศ จรรย์ ของโลกขึ น้ มาได้ นั่ น จึ ง ไม่ แ ปลกเลยที่ นั ก ประวั ติ ศาสต ร์ ชาวกรี กอ ย่ า งเฮโรโด ตั ส (Herodotus) ใน ช่ ว ง ศ ต ว รรษ ที่ 5 ก่ อ น ค ริ ส ต ก าล จ ะ ขน า น น า ม อี ยิ ป ต์ ว่ า เป็ น “ของขวัญจากแม่น ้าไนล์”
ชาวอียปิ ต์โบราณสังเกตว่าน ้าในแม่น ้า ไนล์ มี ก ารไหลท่ ว มและลดระดั บ อย่ า งเป็ น ระบบซ ้ากันทุก ๆ ปี อี กทัง้ การขึ ้นและตกของ ดวงอาทิ ต ย์ ก็ เ ป็ นวงรอบชั ด เจน ท าให้ ชาว อียิปต์โบราณเริ่ มมีแนวคิดเกี่ยวกับการฟื น้ คื น ชีพ การเสียชีวิตก็เปรี ยบเสมือนการตกของดวง อาทิ ต ย์ ซึ่ ง สามารถฟื ้ น คื น ชี พ ขึ น้ มาใหม่ ใน วัน รุ่ งขึ น้ ได้ เสมอ นั่น แสดงว่าชาวไอยคุป ต์ ที่ วายชนม์ไปแล้ วก็ยอ่ มต้ องฟื น้ คืนชีพขึ ้นมาใหม่ ได้ ด้วยเช่นกัน ความคิดนี ้เป็ นจุดเริ่ มต้ นให้ ชาว อี ยิ ป ต์ โบราณคิ ด ค้ นการรั ก ษาศพไม่ ให้ เน่ า เปื่ อ ย ห รื อ ที่ เรี ย ก ก ว่ า ก า ร ท า มั ม มี่ (Mummification) เพื่ อ ร อ วั น ฟื ้ น คื น ชี พ นอกจากนัน้ ชาวอี ยิปต์ โบราณยังมีค วามรู้ ใน ทางด้ านวิทยาการอื่ น ๆ อี กหลากหลาย เช่น ดาราศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ งานฝี มื อ ต่ า ง ๆ รวมทัง้ คิดค้ นวิธีทากระดาษปาปิ รัสเพื่ อใช้ ใน การจดบันทึกของเหล่าอาลักษณ์ อีกด้ วย จาก ศาสตร์ แ ละศิ ล ป์ เหล่ า นี ้ ท าให้ ชาวอี ยิ ป ต์ โบราณสามารถสร้ างสิ่ ง มหัศ จรรย์ อั น น่ า ทึ่ ง อ ย่ า งเช่ น ม ห า พี ระ มิ ด แห่ งกิ ซ่ า (Great
ในทางภู มิ ศ าสตร์ ดิ น แดน อี ยิ ป ต์ โบราณได้ รับการแบ่งออกเป็ นอาณาจักรอียปิ ต์ บน (Upper Egypt) และอาณาจักรอียิปต์ล่าง (Lower Egypt) ที่น่าสนใจก็คืออียปิ ต์บนจะอยู่ ทางทิ ศใต้ และอี ยิปต์ ล่า งจะอยู่ท างทิศ เหนื อ โดยเรี ย กตามการไหลของแม่น า้ ไนล์ ด้ ว ยว่ า พื ้นที่ของประเทศอียิปต์ อยู่ในลักษณะเทลาด จากทิศใต้ ขึ ้นไปยังทิศเหนือ ทาให้ แม่น ้าไนล์ซึ่ง มีต้นนา้ จากทางตอนใต้ ไหลไปออกทะเลเมดิ เตอร์ เรเนียนที่ทิศเหนือนัน่ เอง ประวัติศาสตร์ อียิปต์โบราณเริ่ มต้ นขึ น้ เมื่ อ ประมาณ 3,100 ปี ก่ อ นคริ ส ตกาล เมื่ อ ฟ า โรห์ น า ร์ เม อ ร์ (Narmer) ห รื อ เม เน ส (Menes) กรี ธาทัพจากอียิปต์บนขึ ้นไปตีอียปิ ต์ ล่ า ง สามารถรวมอี ยิ ป ต์ ให้ เป็ นหนึ่ ง เดี ย วได้ สาเร็ จ หลักฐานของความสาเร็ จนี ป้ รากฏอยู่ บนหลักฐานทางโบราณคดี ที่เรี ยกว่า “จานสี ของนาร์ เมอร์ ” (Narmer Palette) ซึ่งด้ านหนึ่ง แสดงภาพพระองค์ ส วมมงกุ ฎ สี ข าวซึ่ ง เป็ น 10
มงกุฎของกษั ตริ ย์แห่งอี ยิปต์ บน ส่วนอีกด้ าน หนึ่งแสดงภาพพระองค์สวมมงกุฎสีแดงซึ่งเป็ น สัญ ลัก ษณ์ ข องอี ยิ ป ต์ ล่าง นาร์ เมอร์ จึงเป็ น ฟาโรห์ พ ระองค์ แรกที่ มี หลักฐานชี ช้ ัด เจนว่า พระองค์ทรงสวมมงกุฎของทังสองอาณาจั ้ กร นักอียิปต์วิทยาจึงตีความว่า ฟาโรห์นาร์ เมอร์ คือผู้ที่รวมทังอี ้ ยิปต์ บนและอียิปต์ล่างให้ เป็ น ปึ กแผ่นได้ เป็ นครัง้ แรกและก่อตังราชวงศ์ ้ ที่ 0 แห่ งอี ยิป ต์ โบราณขึน้ มา ถื อเป็ นการเริ่ ม ต้ น ยุคประวัติศาสตร์ ของชาวไอยคุปต์
ในยุคของนาร์ เมอร์ นนั ้ เป็ นช่วงยุคต้ น ราชวงศ์ (Early Dynastic Period) มี เมื อง หลวงอยู่ที่นครธี นิส (Thinis) ประกอบไปด้ วย ราชวงศ์ ที่ 0 ถึง 2 นับว่าเป็ นยุคที่ อกั ษรภาพ เฮี ย โรกลิฟ ฟิ คถื อ ก าเนิ ด ขึ น้ มาเป็ นครั ง้ แรก นอกจากนัน้ นักอี ยิป ต์ วิท ยายังพบหลัก ฐาน ของกระดาษปาปิ รัสในสมัย ราชวงศ์ ที่ 1 ซึ่ง นับ ว่า เป็ นกระดาษปาปิ รั สที่ เก่ า แก่ ที่ สุด ใน อียิปต์โบราณอีกด้ วย หลัง จากราชวงศ์ ที่ 2 อี ยิ ป ต์ โบราณ เข้ า สู่ยุค ราชอาณาจัก รเก่ า (Old Kingdom) ประกอบไปด้ ว ยราชวงศ์ ที่ 3 ถึ ง 6 ในช่ วงนี ้ ฟาโรห์มีอานาจสูงสุด เป็ นผู้นาทางศาสนาที่ ได้ รับการเลือกสรรแล้ วโดยเทพเจ้ า ฟาโรห์จะ เป็ นผู้ป กครองประเทศ ท าสงคราม ค้ าขาย และประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ฟาโรห์องค์ เด่ น ๆใน รั ช สมั ย นี ก้ ็ คื อฟ าโรห์ ดโจเซอร์ (Djoser) แห่ ง ราชวงศ์ ที่ 3 เจ้ า ของพี ร ะมิ ด ขัน้ บัน ไดที่ ออกแบบโดยสถาปนิ ก อิม โฮเทป (Imhotep) และในราชวงศ์ ที่ 4 ก็ มี ก ารสร้ าง มหาพี ระมิ ดแห่งกิ ซ่าโดยฟาโรห์ คูฟู (Khufu) ส่วนในช่วงราชวงศ์ ที่ 5 ซึ่งเป็ นช่วงที่ ห นังสื อ เล่ ม นี ใ้ ห้ ความสนใจเป็ นพิ เ ศษก็ มี “จารึ ก พีระมิด” (Pyramid Texts) ปรากฏให้ เห็นเป็ น
รูปที่ 2 จานสขี องฟาโรห์นาร์เมอร์
11
ครัง้ แรกบนผนังห้ องฝั งพระศพในพีระมิดของ ฟาโรห์ อูนาส (Unas) โดยที่ เหล่าฟาโรห์ แห่ ง ราชวงศ์ที่ 6 ก็ทรงจารึกคัมภีร์เหล่านี ้เอาไว้ ใน พีระมิดของพระองค์เช่นกัน
ราชอาณาจักรกลางประกอบไปด้ วย ราชวงศ์ที่ 11 และ 12 ฟาโรห์เมนทูโฮเทปที่ 2 ทรงตัง้ เมื องหลวงไว้ ที่ ธีบ ส์ มี การค้ า ขายกับ ต่ า งแดนมากมาย ทัง้ ไบบลอส (Byblos) นู เบี ย บาบิโลน ถื อว่า เป็ นยุค แห่ งความเจริ ญ ทั ง้ ทางด้ านวั ฒ นธรรมและการค้ าอย่ า ง แท้ จริ ง นอกจากนัน้ เหล่าฟาโรห์ แห่งราชวงศ์ ที่ 12 ได้ เปลี่ยนตาแหน่งที่ตงเมื ั ้ องหลวงไปยัง เมื อ งอิ ท จ์ ทาวี (Itj Tawy) หรื อ เมื อ งลิ ช ท์ (Lisht) อี ก ด้ วย ฟาโรห์ แ ห่ ง ราชวงศ์ ที่ 12 เหล่า นี ส้ ร้ า งพี ร ะมิ ด ด้ ว ยอิฐ สอโคลน ท าให้ พีระมิดของฟาโรห์แห่งราชอาณาจักรกลางไม่ ค่ อ ยหลงเหลื อ ในสภาพสมบู ร ณ์ เท่ า ใดนั ก เมื่ อ เที ย บ กั บ พี ระ มิ ด ข อ งฟ าโรห์ แ ห่ ง ราชอาณาจัก รเก่ า สุด ท้ ายราชอาณาจัก ร กลางก็สิ ้นสุดลงหลังการปกครองของฟาโรห์ หญิ ง โซเบคเนเฟอรู (Sobekneferu) ก่ อ นที่ อียิปต์จะเริ่มเข้ าสูย่ คุ แห่งความสับสนอีกครัง้
ราชวงศ์ ที่ 7 ถึ ง 1 0 อยู่ ใน ช่ ว งที่ เรี ย ก ว่ า ยุ ค ร อ ย ต่ อ ร ะ ย ะ ที่ 1 (1st Intermediate Period) เป็ น ยุ ค แ ห่ งค วาม สับสนวุ่น วาย มี ฟาโรห์ ปกครองอยู่มากมาย หลายพระองค์ นอกจากนันยั ้ งเกิดปั ญหาการ ขาดแคลนอาหารและโรคระบาดที่ ส่งผลให้ เกิดสงครามแย่งชิงทรัพยากร บรรดาหัวขโมย ต่างก็เข้ าไปขโมยของในสุสานออกมาเพื่อเอา ไปขาย จนเวลาล่ ว งเลยมาถึ ง รั ช สมั ย ของ ฟาโรห์เมนทูโฮเทปที่ 2 (Mentuhotep II) แห่ง ราชวงศ์ ที่ 11 ก็ ท รงสามารถรวบรวมอี ยิ ป ต์ โบราณให้ เป็ นปึ กแผ่นได้ อีกครัง้ ก่อตังเป็ ้ นยุค ราชอาณ าจั ก รกลาง (Middle Kingdom) ขึ ้นมา
รูปที่ 3 พีระมิดของ
ราชอาณาจักรกลาง มีสภาพทีไ่ ม่คอ ่ ย ่ ใน สมบูรณ์ดังเชน สมัยราชอาณาจักรเก่า
12
ยุ ค ร อ ย ต่ อ ร ะ ย ะ ที่ 2 (2nd Intermediate Period) ป ร ะ ก อ บ ไป ด้ ว ย ราชวงศ์ ที่ 13 ถึ ง 17 นับ เป็ นครั ง้ แรกที่ ช าว อียิปต์ โบราณต้ องตกอยู่ภายใต้ การปกครอง ของชนต่ า งชาติ น ามว่ า ฮิ ค ซอส (Hyksos) โดยที่ผ้ บู ุกรุกต่างชาติเหล่านี ้ได้ ตงเมื ั ้ องหลวง เอาไว้ ที่ อ วาริ ส (Avaris) มี ก ารบู ช าเทพเซธ (Seth) ซึ่งเป็ นเทพแห่งสงครามและพายุด้วย กองทัพ ชาวฮิค ซอสได้ สร้ างความประหลาด ใจให้ กับ กองทัพ ของชาวอี ยิ ป ต์ โบราณด้ ว ย การนารถศึกเทียมม้ าซึ่งเป็ นอาวุธชนิดใหม่ที่ ชาวไอยคุปต์ไม่เคยเห็นมาก่อนเข้ าร่ วมทาศึก ด้ วยอานุภาพของอาวุธชนิด ใหม่นีท้ าให้ ชาว อียิปต์ โบราณต้ องตกอยู่ภายใต้ การปกครอง ของฟาโรห์ชาวฮิคซอสอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง จนถึง ช่ ว งปลายราชวงศ์ ที่ 17 ฟ าโรห์ ค าโมส (Kamose) จึงได้ นากองรถศึกที่ ทาเลียนแบบ ชาวฮิค ซอสแต่เบากว่าและคล่องตัวกว่าเข้ า ร่ วมรบ ซึ่ง ก็สร้ างความประหลาดใจให้ ท าง ฝ่ ายฮิคซอสได้ เช่นกัน หลังจากนัน้ ฟาโรห์ อา โมส (Ahmose) แห่งราชวงศ์ที่ 18 ก็สามารถ ขับ ไล่พ วกฮิค ซอสออกไปและรวมอี ยิ ป ต์ ใ ห้ เป็ นหนึ่งเดียวกันได้ อีกครัง้ ถือเป็ นจุดเริ่ มต้ น ของราชอาณาจักรใหม่อนั รุ่ งโรจน์ ของอียิปต์ โบราณ
สมัย ราชอาณาจัก รใหม่ คื อช่ วงเวลา ของฟาโรห์ แ ห่ ง ราชวงศ์ ที่ 18 ถึ ง 20 เหล่ า ฟาโรห์ผ้ โู ด่งดังไม่ว่าจะเป็ นฟาโรห์ ฮัตเชปซุต ทุ ต โมซิ ส ที่ 3อั ค เคนาเตน ตุ ตั น คาเมน รวมทัง้ ฟาโรห์ รามเสสที่ 2 ผู้ทาสงครามที่ คา เด ช กั บ ก ษั ต ริ ย์ ฮิ ต ไ ท ต์ ก็ อ ยู่ ใ น ยุ ค ราชอาณาจักรใหม่นี ้เช่นกัน ยุคนี ้ถือได้ ว่าเป็ น ยุค ที่ อียิป ต์ โบราณเจริ ญ รุ่ งเรื องสูงสุด อีกทัง้ ยังมี เหตุการณ์ น่าสนใจเกิดขึ ้นมากมาย เช่น การปฎิ รู ป ศาสนาให้ นั บ ถื อ เทพเจ้ าอเตน (Aten) เพียงองค์เดียว เป็ นต้ น เหล่าฟาโรห์ใน ยุคนี ้ยังมีการก่อสร้ างต่อเติมวิหารทังเพื ้ ่อบูชา เทพเจ้ าและเป็ นวิหารประกอบพิธีศพขององค์ ฟาโรห์ เอง รวมทัง้ เปลี่ยนรู ปแบบการฝั งพระ ศพจากในพี ร ะมิ ด มาเป็ นสุ ส านเจาะผาที่ เรี ยกว่าหุบผากษัตริ ย์ด้วย ผนังสุสานเหล่านี ้ ได้ รับการจารึกด้ วยคัมภีร์หลากหลายรู ปแบบ นอกจากนัน้ ก็ ยังมี คัม ภี ร์ม รณะที่ จารึ ก ไว้ ใน กระดาษปาปิ รัสอีกหลายม้ วนปรากฏให้ เห็น เช่นกัน ฟาโรห์องค์สดุ ท้ ายที่ปกครองราชวงศ์ ที่ 20 คื อ ฟาโรห์ ร ามเสสที่ 11 (Ramses XI) เมื่ อสิ น้ รัช สมัย การครองราชย์ ข องพระองค์ อียิปต์โบราณก็แตกออกเป็ น 2 ฝ่ ายอีกครัง้
13
รูป 4 หุบผากษั ตริย ์ สุสานสมัยราชอาณาจักรใหม่มยี อดเขาทรงพีระมิดตัง้ เด่นเป็ นฉากหลัง
ยุคแห่งความสับสนครัง้ ใหม่นี ้เรี ยกว่า ยุ ค รอ ย ต่ อ ระ ย ะ ที่ 3 (3rd Intermediate Period) ตาราแต่ละเล่มก็จะจัดลาดับราชวงศ์ ในช่วงนีแ้ ตกต่างกันออกไป เนื่องด้ วยข้ อมูลที่ ทั บ ซ้ อ นของแต่ ล ะราชวงศ์ รวมทั ง้ ความ สับสนทางประวัติศาสตร์ ในช่วงราชวงศ์ที่ 21 ถึง 24 ทาให้ ข้อมูลในช่วงนี ้ไม่มีความแน่นอน เสียที เดี ยว อียิปต์ แตกออกเป็ น 2 ฝ่ ายโดยที่ ฝ่ ายหนึ่ ง เป็ นนัก บวชแห่ งเทพอมุน (Amun) ปกครองอยู่ที่เมื องธี บ ส์ในอียิปต์ บน ส่วนอีก ฝ่ ายหนึ่ ง ปกครองที่ เมื อ งทานิ ส (Tanis) ใน
อียิป ต์ ล่าง ในช่วงหลัง อียิป ต์ โบราณเริ่ มถูก ต่างชาติเข้ ามาปกครอง ตังแต่ ้ ชาวลิเบียจนถึง ชาวนูเบียในราชวงศ์ที่ 25 หลังจากนันอี ้ ยิปต์ ก็ถูกชนชาติอสั ซีเรี ยตีได้ โดยพระเจ้ าอัสซูร์บา นิปาลและตังเป็ ้ นราชวงศ์ที่ 26 โดยให้ เนโคที่ 1 (Necho I) ปกครองเมื องซาอิส (Sais) อยู่ ในแถบเดลต้ า (Delta) บริ เวณ อี ยิ ป ต์ ล่ า ง นับเป็ นยุคเสื่อมถอยของอียิปต์โบราณอย่าง แท้ จริง
14
ต าราบางเล่ ม จัด ให้ ร าชวงศ์ ที่ 26 ที่ อียิ ป ต์ โดนอัสซี เรี ย เข้ ายึด ครองเป็ นราชวงศ์ แรกของยุคปลาย (Late Period) แต่บางเล่ม ก็จดั ให้ ยุคปลายเริ่มต้ นที่ราชวงศ์ที่ 27 ซึง่ เป็ น ยุค ของกษัตริ ย์จากเปอร์ เซีย นาโดยพระเจ้ า แคมไบซิส และดาริ อุสที่ 1 แต่ก็ต้องพ่ายแพ้ แก่ ก องทัพ ของพระเจ้ าอเล็ ก ซานเดอร์ ม หา ราชแห่งราชวงศ์มาซิโดเนียในช่วง 332 ปี ก่อน คริ สตกาล นัก วิช าการเรี ย กช่ วงที่ พ ระเจ้ า อ เล็กซานเดอร์ มหาราชทรงเข้ าปกครองอียิปต์ โบราณว่ายุคกรี ก-โรมัน
นอกจากนัน้ ยังมีวิหารที่ สร้ างและต่อเติมโดย ฟาโรห์ แ ห่ ง ราชวงศ์ ป โตเลมี อี ก หลายแห่ ง แสดงให้ เห็น ว่าฟาโรห์ ชาวกรี กเหล่านี ก้ ็ยังมี ความเคารพในความเป็ นอี ยิ ป ต์ โบราณอยู่ เช่นกัน เมื่ อ สิ น้ สุ ด สงครามยุ ท ธนาวี ที่ แ อคทิ อุ ม (Actium) เมื่ อประมาณ 30 ปี ก่อนคริ สตกาล ซึ่งเป็ นสงครามระหว่า งกองทัพ เรื อโรมัน น า โดยออกตาเวี ย น (Octavian) และกองทั พ ของพระนางคลี โอพั ต ราที่ 7 ร่ ว มกับ มาร์ ค แอนโทนี (Mark Antony) ผลคื อกองเรื อของ พระนางคลีโอพัตราที่ 7 และมาร์ ค แอนโทนี พ่ ายแพ้ ต่ อออกตาเวีย น ท าให้ ออกตาเวีย น สามารถผนวกอียิป ต์ เข้ าเป็ นแคว้ นหนึ่งของ อาณาจัก รโรมัน ได้ ใ นที่ สุด ถื อ เป็ นการปิ ด ประวัติศาสตร์ อนั ยาวนานกว่า 3,000 ปี ของ อารยธรรมอียิปต์โบราณลงไปด้ วย
ราชวงศ์ สุ ด ท้ ายที่ ป กครองอี ยิ ป ต์ โบราณก็ คื อราชวงศ์ ป โตเลมี (Ptolemy) น า โดยฟาโรห์ ป โตเลมี ที่ 1 (Ptolemy I) ซึ่ ง เคย เป็ นนายพลในสมัยของพระเจ้ าอเล็กซานเด อร์ ม หาราช หลังจากนัน้ ก็ มี ฟ าโรห์ ที่ ใ ช้ พ ระ นามว่าปโตเลมีปกครองอียิปต์ต่อมาอีกหลาย พระองค์ สุด ท้ ายคื อปโตเลมี ที่ 15 (Ptolemy XV) ห รื อ ที่ รู้ จั ก กั น ใน น า ม ซี ซ า ร์ เรี ย น (Caesarion) โอรสของพระนางคลีโอพัตราที่ 7 (Cleopatra VII) ผู้โ ด่ งดังกับ จูเลี ย ส ซี ซาร์ (Julius Caesar) อักษรภาพของชาวไอยคุปต์ ในยุ ค นี ม้ ี รู ป แบบและระบบไวยากรณ์ ที่ แตกต่ า งไปจากสมัย ก่ อน ๆ เป็ นอย่ า งมาก
15
16
I
ยุ ค พี ร ะ มิ ด เป็ น ค า ที่ ใ ช้ เรี ย ก ราชอาณาจักรเก่า (Old Kingdom) ของอียปิ ต์ โบราณ เริ่ ม ต้ นขึ น้ ในช่ ว งราว 2,800 ปี ก่ อ น คริสตกาล ราชวงศ์แรกที่ปกครองอียิปต์อยู่ใน สมัย นี ค้ ื อ ราชวงศ์ ที่ 3 น าโดยฟาโรห์ ซ านัค ต์ (Sanakht) ซึ่ ง ปกครองอยู่ในช่ ว งระยะเวลา สั ้นๆ ถ้ าอ้ างอิงหลักฐานที่ชื่อว่าจารึ กแห่งตูริน (Turin Canon) ซานัค ต์ ค รองราชย์ ราว 19 ปี พ ระอ งค์ คื อ พี่ ช ายขอ งฟ าโรห์ ด โจ เซ อ ร์ (Djoser) ซึ่ ง เป็ นกษั ตริ ย์ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ สุ ด ใน ราชวงศ์ ที่ 3 ด้ วยว่ า พระองค์ คื อ ผู้ ริ เริ่ ม การ ก่อสร้ าง “พี ระมิด ” เป็ นครั ง้ แรกในอาณาจักร อียปิ ต์โบราณ
การครองราชย์ที่ 13 หลังจากนัน้ ราว 3 ปี ก็ได้ ส ร้ า ง รู ป ส ลั ก ข อ ง ฟ า โร ห์ ค า เซ เค ม วี (Khasekhemwy) บิ ด าของพระองค์ ซึ่ ง เป็ น กษั ตริ ย์พระองค์ สุดท้ ายของราชวงศ์ที่ 2 และ ยังบันทึกต่อไปอีกว่าซานัคต์ได้ สร้ างเรื ออีกลา หนึ่งขึ ้นในปี ที่ 18 ของการครองราชย์ด้วย เป็ นที่ น่าเสี ยดายที่ ยังไม่มีใคร ค้ นพบสุสานของฟาโรห์องค์นี ้ หนึ่งในสุสานที่ คาดว่าน่าจะเป็ นของซานัคต์ก็คือโครงสร้ างทา จากอิ ฐ ดิ บ ที่ น ครอบู -โรแอช (Abu-Roash) หรื อไม่ก็อาจจะเป็ นกลุ่มอาคารประกอบพิธีศพ ที่ ตัง้ อยู่ทางทิศตะวันตกขององค์ พี ระมิดของ ฟาโรห์ ด โจเซอร์ ที่ น ครซัค คาร่ า (Saqqara) ก็ เป็ นได้
จากแผ่ น หิ นพ าเลอร์ โม (Palermo Stone) ในสมัย ราชวงศ์ ที่ 5 บั น ทึ ก เอาไว้ ว่ า ฟาโรห์ซานัคต์ได้ สร้ างวิหารแห่งหนึ่งเอาไว้ ในปี
้ พีระมิดขัน้ บันไดแห่งซคั คารา รูปที่ 1 (ซาย) 17
้ ิ าพาเลอร์โม รูปที่ 2 (ซาย) ศล (Palermo stelae)
รูปที่ 3 (ขวา) ภาพสลักฟาโรห์ดโจเซอร์ ขณะประกอบพิธ ี เฮบ-เซด
ฟาโรห์ ด โจเซอร์ คื อ ตัว ละครที่ โดดเด่ นที่ สุด ในประวัติ ศาสตร์ อี ยิปต์ โบราณ ช่วงราชวงศ์ที่ 3 พระนาม “ดโจเซอร์ ” ได้ รับการ เรี ย กขานเพี ย งแค่ ในช่ ว งสมัย ราชวงศ์ ที่ 12 เพราะจริ งๆแล้ วพระนามของพระองค์ที่เป็ นที่ รู้จกั ในช่วงนั ้นหาใช่ “ดโจเซอร์ ” แต่เป็ น “เนเชร เค ต ” (Netjerkhet) ซึ่ ง มี ค ว า ม ห ม า ย ว่ า “ร่างกายแห่งพระเจ้ า”
ในช่ ว งแรกของการครองราชย์ นั ก อี ยิป ต์ วิ ท ยาพบหลัก ฐานว่ า ฟาโรห์ ด โจเซอร์ พ านัก อยู่ใกล้ กับ นครอไบดอส (Abydos) ซึ่ ง เป็ นที่ ตั ง้ นครสุส านของเหล่ า ฟาโรห์ ในสมัย ราชวงศ์ที่ 2 รวมทั ้งสุสานของฟาโรห์คาเซเคมวี พระบิ ด าของพระองค์ เองที่ มี รหั ส สุ ส านว่ า Tomb V ก็ อ ยู่ที่ อ ไบดอสเช่ น กัน แต่ ห ลังจาก นั น้ ดโจเซอร์ ก็ ไ ด้ ย้ า ยที่ พ านั ก มายัง เมมฟิ ส (Memphis) ซึ่ง เป็ นนครหลวงที่ ส ถาปนาโดย 18
ฟาโรห์นาร์ เมอร์ (Narmer) ตั ้งแต่ยคุ ราชวงศ์ที่ 0 และได้ มีพระบัญชาให้ สถาปนิกคนสนิทนาม ว่ า อิ ม โฮเทป (Imhotep) ออกแบบสุ ส านที่ ยิง่ ใหญ่ที่สุดในขณะนั ้นให้ กบั พระองค์ สาหรับ รายละเอียดของพีระมิดแห่งนี ้ขอนาไปรวบรวม ไว้ ใน ส่ ว น ที่ ส อ งซึ่ งจ ะ อ ธิ บ า ย เกี่ ย ว กั บ สถาปั ตยกรรมของพีระมิดในยุคราชอาณาจักร เก่าโดยตรง
งดโจเซอร์ ทราบดี ว่าต้ นกาเนิดของแม่นา้ ไนล์ อยูท่ ี่เกาะเอเลเฟนทีน (Elephantine) ทางตอน ใต้ ของอียิปต์ และเทพเจ้ าคนุม (Khnum) เป็ น ผู้ ควบคุ ม การไหลของกระแสน า้ พอทราบ ดังนั ้นอิมโฮเทปจึงได้ สงั่ ให้ สร้ างวิหารแห่งเทพค นุ ม เอาไว้ ที่ นี่ เพื่ อ สั ก การบู ช าและขอพรให้ แม่น ้าไนล์ ไหลหลากตามเดิม ซึ่งหลังจากการ สร้ างวิหารได้ ไม่นาน ภัยแล้ งและปั ญหาความ อดอยากก็กลับสู่ภาวะปกติ
หนึ่ ง ในพระราชกรณี ย กิ จ ที่ สาคัญ ขอ งดโจเซอร์ ก็ คื อ พระองค์ ไ ด้ ส่ ง คณะส ารวจ ออกไปยังแถบไซนาย (Sinai) ซึ่งอุดมไปด้ วย เหมืองหินและแร่ ทองแดง นอกจากนั ้นในศิลา จารึ ก ที่ เกาะเซเฮล (Sehel) ทางตอนใต้ ข อง อี ยิ ป ต์ ยั ง ได้ กล่ า วถึ ง กรณี ย กิ จ ส าคั ญ อี ก ประการหนึ่งของดโจเซอร์ อีกทั ้งยังทาให้ เราได้ รับทราบถึงเหตุภัยแล้ งในรัชสมัยของพระองค์ อีกด้ วย
รูปที่ 4ศลิ าแห่งความอดอยากบนเกาะเซเฮล
จารึ ก จากเกาะเซเฮลนี ก้ ็ ไ ด้ รั บ การ แกะสลักเอาไว้ ในรัชสมัยของฟาโรห์ปโตเลมีที่ 5 (Ptolemy V) ซึ่ ง มี ชี วิ ต อยู่ ห ลั ง จากยุ ค ขอ งดโจเซอร์ ถึงกว่าสองพันปี ศิลาแผ่นนั ้นเป็ นที่ รู้ จั ก กั น ในนาม “ศิ ล าแห่ ง ความอดอยาก” (Famine Stela) ซึ่ ง กล่ า วถึ ง ภั ย แล้ งอั น แสน ยาวนาน 7 ปี ในอียิปต์ พื ชผลไม่อุดมสมบูรณ์ อิ ม โฮเทปสถาปนิ ก และที่ ป รึ ก ษาคนเก่ ง ขอ 19
ตานานบนเกาะเซเฮลนี ช้ ี ใ้ ห้ เห็น สิ่งที่ น่ า สนใจหลายประการ เรื่ อ งแรกคื อ เรื่ อ ง ความโดดเด่นของฟาโรห์ ดโจเซอร์ ที่ชาวไอย คุ ป ต์ ยั ง สามารถจดจ าพระองค์ ได้ แม้ ว่ า กาลเวลาจะผ่านไปเนิ่นนานกว่าสองพันปี แต่ นั่น ก็ ท าให้ เราไม่ อ าจแน่ ใจได้ ว่ าเรื่ อ งเล่ า ที่ ปรากฏบนศิ ลานัน้ จะเคยเกิ ดขึ น้ จริ งหรื อไม่ หรื อเป็ นเพี ยงแค่การแต่งเติมโดยใช้ พระนาม ความยิ่งใหญ่ของดโจเซอร์ เพียงเท่านันกั ้ นแน่ และอี ก ประการหนึ่ งที่ เราได้ ท ราบก็ คื อชาว ไอยคุปต์ยงั ไม่ร้ ู ต้นกาเนิดที่แท้ จริ งของแม่นา้ ไนล์ ว่า เหตุ ใ ดจึ งไหลท่ ว มทุ ก ปี พวกเขาไม่ ทราบถึงฝนที่ ตกหนักในทะเลสาบวิกตอเรี ย (Victoria Lake) แ ถ บ ป ระ เท ศ เค น ย า อู กานดาและแทนซาเนีย โดยโยนปรากฏการณ์ นี ใ้ ห้ อยู่ในความรับ ผิดชอบของเทพเจ้ าคนุม แห่งเอเลเฟนทีนแทน
และนัก ประวัติ ศ าสตร์ ผ้ ู เขี ย นต าราเอจิ ป ติ เอกา (Aegyptiaca) กลับให้ ตวั เลขไม่ตรงกัน ก็คือมากถึง 29 ปี เลยทีเดียว ฟาโรห์ ที่ ค รองราชย์ ต่ อจากดโจเซอร์ คื อ เซ เค ม เค ต (Sekhemkhet) พ ระ อ ง ค์ ปกครองอยู่ เ พี ย งแค่ ช่ ว งระยะเวลาสั น้ ๆ เท่านัน้ จารึ กแห่งตูรินให้ ตัวเลขการปกครอง ของพระองค์เอาไว้ ที่ 6 ปี นัน่ จึงทาให้ พีระมิด ของพระองค์ เองในนครซัคคาร่ าสร้ างไม่เสร็ จ สมบูรณ์ ดี แต่เราก็พอจะมี หลักฐานเกี่ ยวกับ กรณี ยกิจของพระองค์เล็กน้ อยเป็ นจารึ กพระ นามในแถบไซนายเช่ น กัน แสดงให้ เห็ น ว่ า บางที พ ระองค์ อาจจะสาน ต่ อ งาน ของ ฟาโรห์ดโจเซอร์ ที่สง่ คณะสารวจมายังดินแดน แถบนี ้ด้ วยก็เป็ นได้ หลังจากนันฟาโรห์ ้ คาบา (Khaba) ได้ ขึน้ ครองราชย์ ด้ ว ยระยะเวลาอัน แสนสั น้ ไม่ ต่างจากเซเคมเคต พีระมิดของพระองค์ อยู่ที่ น ค รซาวิ เ ย ท เอ ล -อ าร์ ยั น (Zawiyet elAryan) ซึ่งนักอียิปต์วิทยายังคงฉงนกันอยู่ว่า พีระมิดแห่งนี ้สร้ างแล้ วเสร็จแต่พงั ทลายลงมา หรื อยังสร้ างไม่เสร็จดีกนั แน่
นอกจากนัน้ แล้ ว ดโจเซอร์ ยังบุ กเข้ า ยึดนูเบีย (Nubia) ทางตอนใต้ ได้ บางส่วน ซึ่ง กรณี ยกิจทัง้ หมดของพระองค์ เกิดขึน้ ในช่วง เพี ย งแค่ ป ระมาณ 20 ปี ของการครองราชย์ เท่านัน้ โดยถ้ าอ้ างอิงเอกสารจารึ กแห่ งตูริน จะบอกว่า พระองค์ ค รองราชย์ น าน 19 ปี 1 เดื อน แต่มาเนโธ (Manetho) ซึ่งเป็ นนักบวช
ฟาโรห์ องค์ สุด ท้ า ยแห่ ง ราชวงศ์ ที่ 3 คื อ ฟาโรห์ ฮู นิ (Huni) จารึ ก แห่ ง ตู ริ น บัน ทึ ก 20
เอาไว้ ว่าพระองค์ ครองราชย์ยาวนานราว 24 ปี เป็ นไปได้ ว่ า พระองค์ คื อ ฟาโรห์ ที่ ส ร้ าง พีระมิดเอาไว้ มากมายราว 7 ถึง 8 แห่ง เรี ยก ได้ ว่ า สร้ างมากที่ สุ ด ในอี ยิ ป ต์ โ บราณเลย ที เ ดี ย ว แต่ พี ร ะมิ ด มากมายเหล่ า นั น้ ไม่ ได้ ยิ่งใหญ่เทียบชันฟาโรห์ ้ ดโจเซอร์ พวกมันเป็ น เพียงพีระมิดขนาดเล็กที่ถูกสร้ างขึ ้นเพียงเพื่อ ประกาศว่าพระองค์ได้ มาเยือนดินแดนแถบนี ้ แล้ ว หรื อไม่ก็อาจจะเป็ นการสร้ างเอาไว้ เพื่ อ เป็ นสัญ ลักษณ์ ว่าพระองค์ ได้ มเหสีจากนคร ไหนไปบ้ างก็เป็ นได้
ราชวงศ์ที่ 4 เริ่ มต้ นด้ วยการปกครอง ของฟาโรห์ สเนเฟอรู พระองค์ต่อเติมพี ระมิด แห่งไมดุมของพระบิดา และได้ ริเริ่ มโครงการ ก่ อสร้ างพี ร ะมิ ด ของตัว เองอี ก 2 แห่ ง จารึ ก แห่ ง ตู ริ น บั น ทึ กว่ า พ ระองค์ ค รองราชย์ ยาวนาน 24 ปี แต่ นักอี ยิป ต์ วิ ท ยาวิเคราะห์ แล้ ว เสนอว่า 24 ปี นัน้ น้ อยไปและพระองค์ น่าจะครองราชย์ ยาวนานกว่านัน้ ถึงสองเท่ า ซึง่ ก็คือ 48 ปี เสียมากกว่า
กระนัน้ หนึ่งในพี ระมิด ที่ ยิ่งใหญ่ ที่ สุด ของฮูนิก็คือพี ระมิดขันบั ้ นได 8 ขันแห่ ้ งไมดุ ม (Meidum) ซึ่ งเป็ น ต้ น แ บ บ ให้ กั บ ค วา ม พยายามพัฒนาพีระมิดขันบั ้ นไดให้ กลายเป็ น พี ร ะมิ ด แท้ โดยสมบูรณ์ จากการตรวจสอบ โครงสร้ างและการพังทลายของพีระมิดแห่งนี ้ ทาให้ นกั อียิปต์วิทยาเสนอว่าฟาโรห์สเนเฟอรู (Sneferu) แห่งราชวงศ์ที่ 4 น่าจะได้ เข้ ามาต่อ เติมพีระมิดแห่งนี ้ด้ วยเช่นกัน
พี ระมิ ดองค์ แรกของสเนเฟอรู ที่สร้ าง ทังหมดในสมั ้ ยของพระองค์เองคือพีระมิดโค้ ง (Bent Pyramid) ที่ น ครดาห์ ชู ร์ (Dahshur) แต่ ด้ วยความผิ ด พลาดบางประการซึ่ ง จะ กล่าวต่อไปในส่วนที่สอง ก็ทาให้ พระองค์ต้อง ปรั บ มุม พี ร ะมิ ด กะทัน หั น จนกลายมาเป็ น พี ระมิด โค้ งหักมุมที่ แปลกประหลาดที่ สุดใน อียิ ป ต์ โบราณ หลัง จากนัน้ พระองค์ ได้ สร้ าง พี ร ะมิ ด อี ก แห่ ง หนึ่ ง ก็ คื อ พี ร ะมิ ด แดง (Red Pyramid) ทางตอนเหนือของพีระมิดโค้ ง โดย ใช้ มุม เอี ย งส่ว นบนของพี ระมิ ด โค้ ง มาใช้ ใ น
21
การสร้ างท าให้ สเนเฟอรู ส ามารถรั ง สรรค์ พีระมิดแท้ องค์แรกของอียิปต์โบราณได้ สาเร็จ
รังสรรค์ ม หาพี ระมิ ด แห่ ง กิซ่าที่ ยิ่ งใหญ่ ที่ สุด ด้ ว ยความสูงร่ วม 147 เมตร อีก ทัง้ ยังได้ รั บ การจัดลาดับให้ เห็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ ของโลกยุคโบราณอีกด้ วย
สาหรับกรณี ย กิจอื่นๆของสเนเฟอรู ก็ นับ ว่ า น่ า สนใจไม่ แ พ้ กัน พระองค์ ส่ ง คณะ สารวจลงไปยังดินแดนนูเบียทางตอนใต้ และ ลิ เ บี ย ทางตะวัน ตก และได้ น าเอาเครื่ อ ง บรรณาการต่ างๆมากมายกลับ มาไม่ ว่า จะ เป็ น ฝู ง ป ศุ สั ต ว์ แ ละเชลยศึ กอี ก นั บ พั น นอกจากนัน้ ยังมี ก ารส่งคณะสารวจออกไป ยังไบบลอส (Byblos) ประเทศเลบานอนเพื่ อ ค้ าข าย ไม้ ส น ซี ด าร์ (Cedar) ซึ่ ง เป็ น ไม้ คุ ณ ภาพดี ที่ สุ ด ที่ อี ยิ ป ต์ ส ามารถหาได้ ซึ่ ง พระองค์ได้ ใช้ เรื อถึง 40 ลาเพื่อขนไม้ คุณภาพ ดี เ หล่ า นี ก้ ลับ มาใช้ สอยยั ง อี ยิ ป ต์ เอกสาร โบราณจานวนหนึ่งกล่าวถึงฟาโรห์ สเนเฟอรู ว่าเป็ นผู้ปกครองที่ มีความเมตตากรุ ณา และ เป็ นผู้ น าที่ ชาญ ฉลาด ซึ่ ง เมื่ อวิ เ คราะห์ ประกอบกับกรณี ยกิ จของพระองค์ แล้ ว ก็จะ เห็นได้ ว่าชาวไอยคุปต์ ไม่ ได้ ยกย่องผู้น าของ เขามากเกินไปจากความเป็ นจริงเลย
สาหรับ ประวัติและพระราชกรณี ยกิจ ของพระองค์ นนค่ ั ้ อนข้ างคลุมเครื อ เราทราบ ว่าพระองค์ ส่งคณะสารวจออกไปท าเหมื อง ท อ งแ ด งแ ล ะ เท อ ร์ ค ว อ ย ซ์ ใน ไซ น า ย นอกจากนันก็ ้ มีการทาเมืองหินไดออไรต์ใกล้ ๆ กั บ อ บู ซิ ม เบ ล (Abu Simbel) อี ก ด้ ว ย นอกจากนั น้ เรายั ง มี บ ัน ทึ ก ของเฮโรโดตั ส (Herodotus) ที่ บ ัน ทึ ก ถึ ง ฟาโรห์ คู ฟู เช่ น กั น เนื อ้ หาที่ บ ัน ทึ ก นัน้ กล่า วว่า คูฟู เป็ นฟาโรห์ ที่ โหดร้ าย พระองค์ บ ัง คั บ ให้ ประชาชนของ ตั ว เองต้ อ งม าสร้ างพี ระมิ ด ด้ วยค วาม ยากลาบาก นอกจากนัน้ พระองค์ ยังส่งธิ ด า ของตัวเองเข้ าไปทางานในโรงโสเภณี เพื่อหา รายได้ เข้ ารัฐมาใช้ ในการสร้ างพีระมิดอีกด้ วย น่ า แปลกไม่ น้ อยที่ ฟ าโรห์ ผ้ ู สร้ าง พีระมิดขนาดใหญ่ ที่สดุ ในอียิปต์โบราณจะมี รูปสลักหลงเหลือเพียงแค่ชิ ้นเล็กจิ๋วสูงเพียง 3 นิ ้วที่ค้นพบจากนครอไบดอสเพียงเท่านันเอง ้
หลังจากรัชสมัยของฟาโรห์สเนเฟอรู ก็ มาถึ ง พระโอรสของพระองค์ ที่ มี น ามว่า คู ฟู (Khufu) ซึ่งน่าจะเป็ นหนึ่งในฟาโรห์ ที่ร้ ู จักกัน ดี ที่ สุดในอียิป ต์ โบราณ เพราะพระองค์ คือผู้ 22
รูปที่ 5,6 รูปสลักของฟาโรห์ ิ้ เดียวซงึ่ มีขนาด คูฟเู พียงชน เพียง 3 นิว้
ถัด จากรัชสมัย ของฟาโรห์ คูฟู ดเจเด เฟร (Djedefre) พระโอรสของพระองค์ ขึ น้ ครองราชย์ ด้วยการวางแผนฆาตกรรมพี่ ชาย ของตัวเองที่ ชื่อเจ้ าชายคาวับ (Kawab) ดเจ เดเฟรต่อเติมกลุ่มอาคารประกอบพีระมิดให้ ฟาโรห์ คู ฟู พร้ อมด้ วยสร้ างหลุ ม เรื อ สุ ริ ย ะ (Solar Boat) ให้ ที่กิซ่าข้ างๆพี ระมิ ดของพระ บิด าด้ วย สาหรั บ ตัวพระองค์ เองนัน้ ดเจเด เฟรครองราชย์ ร าว 8 ปี ท าให้ พี ร ะมิ ด ของ พระองค์ที่เมืองอบู โรแอชไม่เสร็จดีแต่พีระมิด แห่ ง นี ก้ ็ ไ ด้ ให้ ค าตอบแก่ นั ก อี ยิ ป ต์ วิ ท ยา
เกี่ ย วกั บ การสร้ างพี ร ะมิ ด หลายๆประการ ด้ วยกัน เพราะว่ามันเพิ่งสร้ างเสร็จถึงห้ องเก็บ พระศพด้ านในสุสาน ซึ่งทาให้ นกั อียิปต์วิทยา สามารถทาความเข้ าใจถึ งโครงสร้ างภายใน ของพีระมิดอียิปต์ได้ ดียิ่งขึ ้น นอกจากนั น้ ฟ าโรห์ ด เจเดเฟรคื อ ฟาโรห์ พ ระองค์ แ รกที่ เริ่ มใช้ ต าแหน่ ง “โอรส แห่งรา” (Son of Ra) เพื่ออ้ างสิทธิ์ในการเป็ น บุตรแห่งสุริยะเทพและเชื่อมโยงพระองค์ เอง เข้ ากับ ลัท ธิ การบูชาดวงอาทิ ตย์ ซึ่งกาลังจะ ขึ ้นถึงจุดสูงสุดในสมัยราชวงศ์ที่ 5 ซึง่ มีความ 23
เกี่ ย วข้ องกั บ นครสุ ส านอบู เซี ย ร์ (Abusir) เนื ้อหาหลักของเราโดยตรงด้ วย
เชื่อกันว่ามีใบหน้ าที่จาลองมาจากพระพักตร์ ของฟาโรห์คาเฟรเอง
คาเฟร (Khafre) คื อโอรสอีกพระองค์ หนึ่งของคูฟู หลังจากการครองราชย์ 8 ปี อัน แสนสัน้ ของดเจเดเฟรได้ จบลง คาเฟรได้ ขึ น้ ครองราชย์ พระองค์ สร้ างพี ร ะมิ ด ที่ มี ค วาม ยิ่งใหญ่เกือบเทียบชันพระบิ ้ ดา พีระมิดองค์นี ้ เมื่อดูผวิ เผินจะสูงกว่าพีระมิดของคูฟูแม้ วา่ จะ มีความสูงจริ งที่น้อยกว่า เป็ นเพราะว่ามันถูก สร้ างบนพืน้ ที่ ตงอยู ั ้ ่สงู กว่านั่นเอง อีกจุดหนึ่ง ของพี ระมิ ด คาเฟรที่ มี ค วามน่ าสนใจก็ คื อที่ ด้ านบนของพีระมิดยังคงหลงเหลือหินเคลือบ ผิวพีระมิด ทาให้ พอจะจินตนาการถึงเมื่อครัง้ ที่ยงั สมบูรณ์เต็มองค์พีระมิดได้ ไม่ยากเย็นนัก
สาหรับพี ระมิดของคาเฟรนัน้ มี ความ น่ า ทึ่ ง อยู่ ที่ วิห ารหุ บ เขา (Valley Temple) ที่ ยังคงสมบูรณ์ แม้ ว่ารู ปสลักมากมายที่ ตงั ้ อยู่ จะไม่อยู่ในตาแหน่งเดิมแล้ วก็ตามที แต่ก็ยัง ได้ เห็นถึงความสามารถในการจัดเรี ยงหินของ ชาวไอยคุปต์ในสมัยโบราณได้ เป็ นอย่างดี พี ร ะมิ ด องค์ สุ ด ท้ ายที่ กิ ซ่ า เป็ นของ ฟาโรห์ เ มนคาอู เ ร (Menkaure) โอรสของ ฟาโรห์คาเฟร มาเนโธบันทึกถึงฟาโรห์เมนคา อูเรว่าเป็ นฟาโรห์ ที่มีจิตใจดี งาม ผิดกับบรรพ บุรุ ษ ของพระองค์ ที่ ป กครองอย่ า งกดขี่ แ ละ โหดร้ าย แต่ ก ระนั น้ เราไม่ มี ห ลัก ฐานทาง โบราณคดี ใ ดๆเลยที่ จ ะมาสนั บ สนุ น หรื อ หั ก ล้ างบั น ทึ ก ของมาเนโธ เราท ราบว่ า พระองค์ สร้ างพี ระมิ ด ขนาดเล็ก กว่ามาก มี ความโดดเด่นด้ วยการเติมหินแกรนิตเข้ าไปที่ ส่วนฐานของพี ร ะมิ ด ซึ่งนับ ว่าแปลกไปจาก พี ระมิด องค์ ก่อนหน้ าทัง้ หมด เป็ นไปได้ ว่าที่ พระองค์ ส ร้ า งพี ระมิ ด เล็ก ลงโดยมี ค วามสูง เพี ย งแค่ ร าว 66 เมตรเท่ า นั น้ เพราะเริ่ ม เล็ ง เห็ น ถึ ง ความสิ น้ เปลื อ งจากการสร้ าง พีระมิด ทังเรื ้ ่ องของแรงงานและค่าจ้ าง บางที
พระองค์ ครองราชย์ ยาวนานหลายปี เพียงพอที่จะสามารถสร้ างพีระมิดองค์มหึมา ได้ ส มบู ร ณ์ จารึ ก แห่ งตู ริ น บอกว่าพระองค์ ครองราชย์ ราว 20 ปี แต่ มาเนโธให้ ตัวเลขไว้ มากกว่านัน้ ก็คือราว 56 ถึง 66 ปี เลยที เดี ยว อีกหนึ่ งสถาปั ตยกรรมที่ เพิ่งถื อกาเนิดขึน้ มา ในสมั ย ของฟาโรห์ ค าเฟรก็ คื อ มหาสฟิ งซ์ (Sphinx) ซึง่ เชื่อกันว่าเป็ นตัวแทนของเทพเจ้ า ฮาร์ มาคิส (Harmakis) ร่างหนึ่งของเทพฮอรัส (Horus) พระองค์เป็ นผู้พิทกั ษ์ นครสุสาน และ 24
อียิปต์โบราณในช่วงนี ้อาจจะเริ่มเข้ าสู่ยคุ ขาด แคลนจนท าให้ เมนคาอูเรต้ อ งตัด สิ น ใจลด ขนาดความยิ่ งใหญ่ ข องที่ พ านัก หลัง ความ ตายของตนเองลงมามากทีเดียว
เหล่าฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ 5 มากกว่า ครึ่งคือเจ้ าของหมู่มหาพีระมิดในนครอบูเซียร์ เรื่ องราวการถือกาเนิดของฟาโรห์ในราชวงศ์ที่ 5 นั บ ว่ า น่ า สนใจมาก อี ก ทั ง้ ยั ง มี ค วาม เกี่ ยวข้ องกับลัทธิการบูชาสุริยเทพที่ ได้ ขึน้ ถึง จุดสูงสุดในสมัยนี ้ด้ วย
ราชวงศ์ ที่ 4 จบลงด้ วยรั ช สมัย การ ป ก ค ร อ ง ข อ ง ฟ า โ ร ห์ เช ป เซ ส ค า ฟ (Shepseskaf) พระองค์ เป็ นโอรสของฟาโรห์ เมนคาอูเร ครองราชย์ อยู่เพี ยงแค่ 4 ถึ ง 7 ปี เท่ า นั ้น ห นึ่ งใน ก รณี ย กิ จ ที่ เราท รา บ เกี่ ยวกับเชฟเซสคาฟก็คือพระองค์ ทาการต่ อ เติมกลุ่มอาคารประกอบพี ระมิ ดของเมนคา อูเรจนแล้ ว เสร็ จ น่ า แปลกที่ พ ระองค์ ไม่ ได้ สร้ างสุสานในรูปแบบของพีระมิดแต่หันกลับ สร้ างมาสตาบา (Mastaba) ซึ่ งเป็ นรู ป แบบ ของสุสานในยุคแรกเริ่มแทน
จ า ก เอ ก ส า ร โบ รา ณ ที่ มี ชื่ อ ว่ า ป า ปิ รั ส เว ส ค า ร์ (Westcar Papyrus) ได้ บันทึกถึงการทานายการถือกาเนิดของฟาโรห์ สามพระองค์แรกแห่งราชวงศ์ที่ 5 เอาไว้ อย่าง น่าสนใจทีเดียว
รูปที่ 7 สว่ นหนึง่ จากปาปิ รัสเวสคาร์
25
เรื่ อ งเริ่ ม ต้ นขึ น้ ที่ ส ตรี น ามว่า รุ ด ดเจ เดต (Ruddjedet) ได้ ตงครรภ์ ั้ นางเป็ นภรรยา ของนัก บวชชัน้ สูงแห่ งเทพรา และโอรสทั ง้ สามที่ ถื อ ก าเนิ ด ขึ น้ มาก็ มี พ ระนามตรงกั บ ฟาโรห์สามพระองค์แรกของราชวงศ์ที่ 5 ซึ่งก็ คื ออู เ ซรค าฟ (Userkaf) ซาฮู เ ร (Sahure) แ ล ะเน เฟ อร์ อิ ร์ ค าเร (Neferirkare) จ าก ตานานนี ท้ าให้ ฟาโรห์ แห่งราชวงศ์ ที่ 5 ได้ รับ การนับถือในฐานะของ “โอรสแห่งรา” เต็มตัว เพราะบิดาของพระองค์คือนักบวชชันสู ้ งแห่ง เทพรา ส่งผลให้ ลทั ธิบชู าสุริยเทพที่เริ่มเกิดขึ ้น ตังแต่ ้ สมัยฟาโรห์ดเจเดเฟรขึ ้นถึงจุดสูงสุดใน ราชวงศ์ที่ 5 ตามไปด้ วย
เอาไว้ ที่มุมด้ านทิศตะวันออกเฉี ยงเหนื อของ พี ระมิ ด ขัน้ บัน ไดของฟาโรห์ ด โจเซอร์ และที่ สาคัญที่สดุ ก็คือพระองค์เป็ นฟาโรห์องค์แรกที่ ริ เริ่ ม ก่อสร้ า งกลุ่ม อาคารชนิ ดใหม่ ที่ เรี ย กว่า วิห ารสุริ ย ะ (Sun Temple) ขึ น้ เป็ นครั ง้ แรก โดยเลื อ กต าแหน่ ง นครอบู เ ซี ย ร์ เ ป็ นที่ ตั ง้ สาหรับรายละเอียดของวิหารแห่งนี ้สามารถดู เนื อ้ หาในเล่มส่วนที่ สามเกี่ ยวกับวิหารสุริยะ เพิ่มเติมได้ ซาฮูเร ฟาโรห์ องค์ ที่ 2 ของราชวงศ์ ที่ 5 ไม่ได้ เป็ นพี่น้องกับอูเซรคาฟดังที่ปรากฏใน ปาปิ รัสเวสคาร์ พระองค์คือโอรสของฟาโรห์อู เซรคาฟ และเป็ นฟาโรห์ พระองค์ แรกที่ เลือก สร้ างพี ร ะมิ ด เอาไว้ ที่ น ครสุ ส านอบู เซี ย ร์ พีระมิดของพระองค์มีขนาดไม่ใหญ่เท่าใดนัก แ ต่ มี วิ ห า รป ระ ก อ บ พิ ธี ศ พ (Mortuary Temple) ที่ ส มบู ร ณ์ และซับ ซ้ อ นเป็ นอย่ า ง มาก สามารถหาอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ จากเนื ้อหาส่วนที่สามในหัวข้ อพีระมิดซาฮูเร
แต่เป็ นที่ น่ าสนใจว่า ปาปิ รัสเวสคาร์ ไม่ได้ มีอายุร่วมสมัยกับฟาโรห์แห่งราชวงศ์ ที่ 5 แต่ ถู ก ระบุ อ ายุ ห ลั ง จากนั น้ ราว 700 ปี ในช่วงสมัยราชวงศ์ ที่ 13 นัน่ แปลว่าอาจจะมี การแต่งเติมบางอย่างเข้ าไปด้ วยแล้ วก็เป็ นได้ เพราะถ้ าว่ากันตามประวัติศาสตร์ แล้ วฟาโรห์ อูเซรคาฟไม่ได้ เป็ นโอรสของสตรี นามว่ารุ ดด เจเดต มารดาของพระองค์ คือพระนางเคนท์ คาเวสที่ 1 (Khentkawes I) ซึ่งเป็ นมเหสีของ ฟาโรห์ เชปเซสคาฟแห่งราชวงศ์ที่ 4 พระองค์ ครองราชย์ ร าว 7 ปี สร้ างพี ร ะมิ ด ขนาดเล็ ก
ซาฮูเรน่ า จะครองราชย์ เพี ย งแค่ ราว 14 ปี พระราชกรณี ยกิ จสาคัญ ของพระองค์ คื อการส่งคณะสารวจออกไปยังไซนายและ อาณ าจั ก รพั น ท์ (Punt) ทางตอนใต้ แถบ ประเทศโซมาเลีย นอกจากนัน้ พระองค์ยงั ส่ง 26
คนไปขนหิ น ไดออไรต์ จากเหมื องแถบอบู ซิ มเบลมาใช้ งานในราชอาณาจักรด้ วย
ยังมีปาปิ รัสทานองนี ้ฝั งอยู่ร่วมกับพีระมิดของ ทังฟาโรห์ ้ และราชินีอีกหลายแห่งเลยทีเดียว
เนเฟอร์ อิร์คาเร เป็ นโอรสอีกองค์หนึ่ง ของอู เ ซรคาฟ เป็ นไปได้ ว่ า พ ระองค์ คื อ น้ องชายของซาฮูเร พระองค์ครองราชย์ราวๆ 10 ปี และสร้ างพีระมิดแบบขันบั ้ นได 6 ขันที ้ ่มี ขนาดใหญ่ ที่สุดในนครสุสานอบูเซี ยร์ เอาไว้ ด้ วย น่ า เสี ย ดายที่ ก ลุ่ ม อาคารประกอบ พีระมิดของพระองค์ ไม่เสร็ จสมบูรณ์ และใน ยุคหลังก็ถกู ฟาโรห์นิอเู ซอร์ เร (Niuserre) ช่วง ชิงไปใช้ เป็ นของตัวเอง
รูปที่ 8 สว่ นหนึง่ จากปาปิ รัสอบูเซยี ร์ ทีน ่ ั กอียป ิ ต์วท ิ ยาขุดค ้นพบ
เชป เซส ค าเรแ ละเน เฟ อ ร์ เอฟ เร (Neferefre) ไม่ ค่ อ ยมี ป ระวัติ ห ลงเหลื อ ให้ ศึ ก ษามากนัก พี ร ะมิ ด ของทัง้ สองพระองค์ ตัง้ อยู่ที่อบูเซียร์ แต่ ไม่เสร็ จสมบูรณ์ ทัง้ คู่ แต่ สิ่ ง ที่ น่ า สนใจก็ คื อ นัก อี ยิ ป ต์ วิ ท ยานามมิ โ ร ส ล า ฟ เว อ ร์ เน อ ร์ (Miroslav Verner) ได้ ค้ น พบเศษปาปิ รัส ที่ เรี ย กชื่ อในภายหลัง ว่า ปาปิ รั ส อบู เ ซี ย ร์ (Abusir Papyri) ถึ ง ร่ ว ม 2,000 ชิน้ ในวิหารประกอบพิธีศพของพีระมิด ฟาโรห์ เ นเฟอร์ เ อฟเร ซึ่ ง บั น ทึ ก เกี่ ย วกั บ เรื่ องราวของการบริ หารจัดการของฟาโรห์ ใน สมัยราชวงศ์ ที่ 5 และนอกจากนัน้ ที่ อบูเ ซีย ร์
27
ฟ าโรห์ นิ อู เ ซอร์ เรขึ น้ ค รองราชย์ หลังจากที่เนเฟอร์ เอฟเรสิ ้นพระชนม์ มีบนั ทึก ปรากฏให้ ทราบว่าพระองค์ ได้ ทาสงครามกับ ชาวลิ เบี ย ทางตะวัน ตกและชาวเอเชี ย ทาง ตะวันออก นอกจากนันไม่ ้ มีหลักฐานเกี่ยวกับ พระองค์ ป รากฏให้ เห็ น มากนั ก นอกจาก พี ร ะ มิ ด ที่ ไ ป ส ร้ า ง แ ท ร ก ไ ว้ ด้ า น ทิ ศ ตะวันออกเฉี ยงเหนือของพี ระมิดของเนเฟอร์ อิร์ค าเร พระองค์ ช่ วงชิ งวิห ารหุ บ เขาของเน เฟอร์ อริ ์ คาเรมาเป็ นของตนเอง และทาการต่อ เติมจนเสร็จสมบูรณ์
การนาเอาวิหารเดิมกลับมาใช้ ใหม่โดยทาการ เปลี่ยนแค่ชื่อของวิหารก็เป็ นได้ นิอเู ซอร์ เรเป็ นฟาโรห์ องค์สุดท้ ายของ ราชวงศ์ ที่ 5 ที่ สร้ างพี ระมิ ดในนครสุสานอบู เซียร์ หลังจากนัน้ ฟาโรห์ เมนคาอูฮอร์ ดเจด ค า เร อี ซี ซิ (Djedkare Isesi) แ ล ะ อู น า ส (Unas) ได้ เปลี่ ย นต าแหน่ ง การสร้ างสุส าน กลับไปที่นครซัคคาร่าตามบรรพบุรุษอีกครัง้
อู น าสคื อ ฟาโรห์ อ งค์ สุ ด ท้ ายของ ราชวงศ์ ที่ 5 พระองค์ ครองราชย์ยาวนานราว 30 ปี มี ก ารค้ า ขายกับ ทางฝั่ ง เอเชี ย และท า สงครามกั บ พวกเบดู อิ น (Bedouin) สุ ส าน ของพระองค์ ตัง้ อยู่ท างทิ ศ ตะวัน ตกเฉี ยงใต้ ของพีระมิดขันบั ้ นไดของฟาโรห์ดโจเซอร์ หนึ่ง ในวิ ว ัฒ นาการครั ง้ ส าคั ญ ของพี ร ะมิ ด ใน ราชอาณาจัก รเก่ า ได้ เกิ ด ขึ น้ ในรัช สมัย ของ ฟาโรห์ อูน าส ด้ วยว่า ในห้ องฝั ง พระศพของ ฟาโรห์ อู น าสมี ก ารจารึ ก คั ม ภี ร์ ที่ เ รี ย กว่ า “จารึ กพี ระมิด” (Pyramid Texts) ขึ ้นเป็ นครัง้ แรกซึ่ ง มั น เป็ นต้ นแบบให้ กั บ คั ม ภี ร์ ม รณะ (Book of the Dead) ในสมัย ราชอาณาจัก ร ใหม่ (New Kingdom) อี ก ทั ง้ เหล่ า ฟาโรห์ แห่ ง ราชวงศ์ ที่ 6 ก็ ได้ ด าเนิ น รอยตามอูน า
หนึ่งในโครงสร้ างทางสถาปั ตยกรรมที่ น่ า ทึ่ ง ในรั ชสมั ย ของฟาโรห์ นิ อูเซอร์ เรก็ คื อ วิห ารสุริ ย ะอี ก หนึ่ งแห่ งที่ ส มบู ร ณ์ ม ากกว่ า วิหารแรกสุด ของฟาโรห์ อูเซรคาฟที่ ม าสร้ า ง เอาไว้ ที่ อ บู เซี ย ร์ เป็ นพระองค์ แ รก แท้ ที่ จ ริ ง แล้ วเราทราบว่ามี วิหารสุริยะทัง้ หมด 6 แห่ ง เป็ นของฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ 5 ไล่มาตังแต่ ้ อู เซรคาฟถึงเมนคาอูฮอร์ (Menkauhor) แต่นกั อียิปต์วิทยากลับพบหลักฐานของวิหารสุริยะ เพียงแค่ 2 แห่งเท่านัน้ ก็คือวิหารของฟาโรห์อู เซรคาฟและฟาโรห์ นิอูเซอร์ เร อาจจะเป็ นไป ได้ ว่าวิหารสุริยะแห่งอื่นๆอาจจะยังคงซ่อนตัว อยู่ใต้ ผืนทราย หรื อไม่เช่นนันมั ้ นก็อาจจะเป็ น
28
สด้ วยการสลัก คั ม ภี ร์ จ ารึ ก พี ร ะมิ ด เหล่ า นี ้ เอาไว้ บนผนังด้ านในองค์พีระมิดของพระองค์ เองเช่นกัน ราชวงศ์ ที่ 6 เริ่ ม ต้ น ด้ วยความสับ สน วุ่น วายในราชสานัก เตติ (Teti) ฟาโรห์ องค์ แรกแห่งราชวงศ์ที่ 6 ได้ อภิเษกกับพระนางอิ พุท (Iput) ธิดาของฟาโรห์ อนู าสเพื่ ออ้ างสิทธิ โดยชอบธรรมในการครองราชย์ มาเนโธกล่าว ว่าฟาโรห์ เตติถูกฆาตกรรมโดยองค์ รักษ์ ของ พระองค์เอง สิง่ ที่น่าสนใจก็คือนักอียิปต์วทิ ยา เส น อว่ า ฟ าโรห์ อู เ ซอร์ ค าเร (Userkare) ฟ าโรห์ ปริ ศ น าซึ่ ง ค รองราชย์ อ ยู่ ใ น ช่ ว ง ระยะเวลาสันๆหลั ้ งการปกครองของฟาโรห์เต ติ นี่ เ องที่ เป็ นผู้ อยู่ เ บื อ้ งหลั ง การกบฏและ วางแผนลอบปลงพระชนม์ ใ นครั ง้ นี ้ แต่ ที่ กล่ า วไปก็ ยั ง คงเป็ นเพี ย งแค่ ท ฤษฎี ห นึ่ ง ที่ อาจจะเป็ นไปได้ เท่านัน้ ฟาโรห์ เตติสร้ างพี ระมิ ดของพระองค์ เองเอาไว้ ที่ซคั คาร่ า ภายในประดับตกแต่งไป ด้ ว ยจารึ ก พี ร ะมิ ด เฉกเช่ น ของฟาโรห์ อูน าส พระองค์ ป กครองอยู่ราว 30 ปี โดยมี ก รณี ย กิจที่ สาคัญ คื อการส่งคณะสารวจทางทหาร ออกไปยั ง ตอนใต้ ของคานาอัน (Canaan) รวมถึงนครไบบลอสด้ วย
รูปที่ 9 สว่ นหนึง่ ของจารึกพีระมิด ภายในห ้องเก็บพระศพอูนาส
29
หลังจากการครองราชย์ ร าว 3 ปี อัน แสนสันของอู ้ เซอร์ คาเร ฟาโรห์เปปิ ที่ 1 (Pepi I) ขึน้ ครองราชย์ พระองค์ ปกครองอยู่ราว 50 ปี ทาสงครามกับเพื่อนบ้ านหลายครัง้ ทัง้ ที่ ไซ นายและปาเลสไตน์ตอนใต้ มีการส่งทหารไป ประจาการยังป้ อมในนูเบี ย ส่ งคณะสารวจ ออกไปยังดิ น แดนพัน ท์ อีก ทัง้ ยังสร้ างวิห าร เอาไว้ อีกมากมายหลายแห่งทัว่ แผ่นดินอียิปต์ พระองค์สร้ างพีระมิดของตัวเองเอาไว้ ที่ซคั คา ร่าโดยมีจารึ กพีระมิดปรากฏให้ เห็นละลานตา เช่นกัน
การทาสงครามกับหลายอาณาจักรทัง้ เอเชี ย นูเบี ย ลิเบี ย อี ก ทัง้ ยังมี ก ารค้ า ขายกับ พัน ท์ ดังที่ เหล่าบรรพบุรุษเคยกระทาด้ วย พี ระมิด ของเปปิ ที่ 2 ตัง้ อยู่ใ นซัค คาร่ า เป็ นไปได้ ว่า พระองค์ สิ ้นพระชนม์ ตอนอายุ 100 ปี ทาให้ นั ก วิ ช าการมองเห็ น ถึ ง ความสั่ น ค ลอน ทางการบริหารจากส่วนกลาง ซึง่ ใกล้ จะทาให้ อียิปต์โบราณยุคราชอาณาจักรเก่าถึงกาลล่ม สลายได้ ชดั เจน ถัด จากเปปิ ที่ 2 ฟาโรห์ เมเรนเรที่ 2 (Merenre II) ครองราชย์ อยู่ในช่วงระยะเวลา สัน้ ๆ เมื่ อไร้ ซึ่ง รัชทายาท สตรี น ามนิ โตคริ ส (Nitocris) จึงขึน้ ครองบัลลังก์ จารึ กแห่งตูริน บันทึกเอาไว้ ว่านางครองราชย์ 2 ปี 1 เดือน 1 วัน แต่ ม าเนโธให้ ตัวเลขไว้ ม ากกว่านัน้ ถึง 6 เท่า คือ 12 ปี กระนันก็ ้ ยงั ไม่มีนกั อียิปต์วทิ ยา คนใดยืนยันการมีตวั ตนจริงของนิโตคริสได้
ห ลั ง จาก นั ้น ฟ าโรห์ เม เรน เรที่ 1 (Merenre I) ขึ ้นครองราชย์ พระองค์ปกครอง อยู่เพี ย งช่ว งเวลาสัน้ ๆ ราว 7 ปี ประวัติ ข อง พระองค์ไม่ค่อยเป็ นที่ ร้ ูจกั มากนัก แต่ก็ยงั พอ มีข้อมูลว่าพระองค์ยงั คงมุ่งมัน่ ที่จะยึดครองนู เบียเพื่ อประโยชน์ทางทรัพยากร พี ระมิดของ พระองค์ ตัง้ อยู่ที่ ซคั คาร่ าเฉกเช่น เหล่าบรรพ บุรุษ
การที่สตรี ขึ ้นครองราชย์โดยปราศจาก รัช ทายาทที่ เป็ นบุ รุ ษ แสดงให้ เห็ น ถึ ง ความ ผิดปกติ บางอย่ างในราชสานัก ประกอบกับ ความแห้ งแล้ งที่ประดังเข้ ามาและรูปแบบการ มอบรางวัลให้ กบั ชนชันสู ้ งในสมัยราชวงศ์ที่ 4 และ 5 ที่ มกั จะอยู่ในรู ปของที่ดิน ทาให้ เหล่า ขุนนางสะสมทัง้ ความมั่งคั่งและอานาจ จน
เปปิ ที่ 2 (Pepi II) คื อฟาโรห์ ที่ เชื่ อกัน ว่าครองราชย์ยาวนานที่ สดุ ในประวัติศาสตร์ ไอยคุ ป ต์ นั่น ก็ คื อ 94 ปี แต่ อ าจจะเป็ นการ บันทึกที่ผดิ พลาดก็เป็ นได้ อีกเช่นกัน พระองค์ ครองราชย์ตงแต่ ั ้ ยงั เยาว์ แต่ตลอดรัชสมัยก็มี 30
สุดท้ ายก็สามารถโค่นล้ มระบอบการปกครอง จากส่วนกลางของฟาโรห์ ทาให้ อียิปต์โบราณ ยุคราชอาณาจักรเก่าต้ องล่มสลายลงไป ถื อ ก า เนิ ด เป็ น ยุ ค ร อ ย ต่ อ ระ ย ะ ที่ 1 (1st Intermediate Period) ใ น ห น้ า ประวัติศาสตร์ ไอยคุปต์ขึ ้นในที่สดุ
รูปที่ 10 รูปสลักฟาโรห์เปปิ ท2ี่
31
ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ใน สมัย ราชอาณาจัก รเก่ า พัฒ นาการของกลุ่ม อาคารประกอบพีระมิดดูเหมือนว่าจะมองเห็น ได้ ชัด เจนมากที่ สุด ในราชวงศ์ ที่ 4 นัน้ สุส าน ของเหล่านัก บวชและข้ าราชการชัน้ สูงมักจะ เชื่ อ มโยงกับพี ระมิด หลวงมากยิ่งขึ น้ กว่า เก่ า ดั ง ที่ จ ะพบได้ ว่ า มี ม าสตาบาของขุ น นาง มากมายตัง้ อยู่ใกล้ กั บองค์ พีระมิดของฟาโรห์ ดังที่ พ บเห็ น ได้ จ ากนครสุ ส านกิ ซ่ า ซึ่ ง สุส าน เหล่านี ้ก็ได้ เป็ นส่วนหนึ่งของสุสานหลวงและ แสดงให้ เห็ น ถึ ง การอุ ป ถั ม ภ์ ที่ ดิ น จากองค์ ฟาโรห์ให้ กบั เหล่าขุนนางและชนชั ้นสูงได้ อย่าง ชัดเจน
ในสมัยราชวงศ์ที่ 3 และ 4 จะเห็นได้ ว่า อานาจรัฐทั ้งหมดจะตกอยู่ในกามือของเหล่า เชื ้อพระวงศ์ ซึ่งหลังจากนั ้นเมื่อรัฐเริ่มขยายตัว ใหญ่ขึ ้น อานาจรัฐก็จาเป็ นต้ องกระจายออกไป ยังขุนนางและชนชั ้นสูงซึ่งก็จะเห็นได้ ว่าฟาโรห์ ในช่ ว งหลั ง เริ่ ม ที่ จ ะกระจายอ านาจออกไป ให้ กบั ข้ าราชการต่างๆมากขึ ้น สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ ชัด ก็ คื อ ระบบการมอบรางวั ล ให้ กับ เหล่ า ขุน นางที่ มัก จะเป็ นที่ ดิ น และพื น้ ที่ ส าหรั บ สร้ าง มาสตาบาฝั ง ศพที่ ตัง้ อยู่ใกล้ กับ พี ระมิ ด ของ องค์ ฟ าโรห์ ซึ่ งสิ่ งเหล่ านี เ้ ป็ นหนึ่ ง ในปั จ จัย ที่ ก า ลั ง จ ะ น า พ า อี ยิ ป ต์ โบ ร า ณ ใน ยุ ค ราชอาณาจักรเก่าเดินทางไปถึงจุดจบด้ วย
รูป 11 ภาพมุมสูงของกลุม่ มาสตาบาทีต่ งั ้ อยู่ เคียงข ้างมหาพีระมิดแห่งกิซา่ 32
โครงการก่อสร้ างมากมายที่เกิดขึน้ ใน สมั ย ราชอาณาจั ก รเก่ า ท าให้ ชาวไอยคุ ป ต์ จาเป็ นต้ องเปิ ดเส้ นทางการค้ าใหม่ๆกับเพื่อน บ้ านเพื่อหาสินค้ าและวัตถุดบิ แปลกใหม่เข้ ามา ใช้ ในอาณาจักร ไม่ว่าจะเป็ นเทอร์ ควอยซ์และ ทองแดงจากแถบไซนาย หิ น ไนซ์ (Gneiss) จากนู เ บี ย ห่ า งจากอบู ซิ ม เบลไปราว 65 กิโลเมตร หินแกรนิตสี ชมพูคุณภาพดี จากอัส วาน รวมทัง้ หิ น ชนิ ด อื่ น ๆส าหรั บ น ามาสร้ าง งานสถาปั ตยกรรมจากแถบทะเลทราย ตะวันออกติดทะเลแดงด้ วย
พาเลอร์ โมได้ กล่าวว่าพระองค์เข้ าทาลายฐาน ที่ตั ้งของศัตรูในแถบตอนบนของแม่น ้าไนล์จน ราบคาบ พระองค์ นาทัพกลับมาอี ยิปต์พร้ อม ด้ วยปศุสัต ว์ 200,000 ตัว ไม้ อีก จานวนหนึ่ ง และสิ่งของเครื่ องใช้ หายากในชี วิตประจาวัน อี ก มากมาย นอกจากนั น้ พระองค์ ยั ง ได้ น า “เชลยศึก” กลับมามากมายถึงร่วม 7,000 คน เลยทีเดียว แต่ ก ระนั น้ สเนเฟอรู ก็ ห าใช่ ฟ าโรห์ ที่ โหดร้ าย พระองค์ ทาการทูตกับต่างถิ่นเช่นกัน ที่โดดเด่นที่สดุ ก็คือไบบลอส ซึ่งพระองค์ทาการ นาเข้ าไม้ สนซี ดาร์ ซึ่งเป็ นไม้ คุณภาพดี มาเต็ม ล าเรื อ ท าให้ กองเรื อ ของชาวไอยคุ ป ต์ ใ น ขณะนั น้ แข็ ง แกร่ ง ขึ น้ ด้ วยวั ส ดุ ที่ มี คุ ณ ภาพ มากกว่าที่เคยใช้ กนั ในอดีต
ถึงแม้ ว่าทรัพยากรส่วนใหญ่ที่ชาวไอย คุปต์ได้ มาจะมาจากการค้ าขายแลกเปลี่ยนกับ ต่างถิ่น แต่กระนั ้นก็ปฏิเสธไม่ได้ ว่ามีเรื่ องราว ของสงครามเข้ ามาเกี่ ยวข้ องด้ วยอย่ า ง หลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ ถึ ง แม้ ว่ า กองทหารในสมั ย ราชอาณาจักรเก่าจะไม่ได้ ยิ่งใหญ่เที ยบเทีย ม ยุค ทองอย่า งในสมัย ของฟาโรห์ รามเสสที่ 2 (Ramses II) แห่ งราชอ าณ าจั ก รให ม่ แต่ กระนั ้นนักรบชาวอียปิ ต์ก็มีฝีมือดีไม่น้อยเพราะ สามารถเอาชนะชนเผ่ามากมายในอดีต พร้ อม ทั ้งนาเอาเครื่ องบรรณาการกลับมายังดินแดน ของพวกเขาได้ อย่างไม่ยากเย็นนัก ในรัชสมัย ของฟาโรห์สเนเฟอรู เราทราบว่าพระองค์ เข้ า โจมตีนูเบียและลิเบีย โดยจารึ กจากแผ่นศิลา
ในสมั ย ราชวงศ์ ที่ 5ความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งองค์ ฟ าโรห์ กั บ อ านาจรั ฐ เริ่ ม ที่ จ ะ เปลี่ยนแปลงไปอย่างเห็นได้ ชัด ในช่วงนี ้เหล่า เชื ้อพระวงศ์เริ่ มลดบทบาทของตนเองในด้ าน ของการบริหารจัดการลง ในขณะเดียวกันเหล่า ขุนนางระดับ สูงและนักบวชก็ท วี จานวนเพิ่ ม สู ง ขึ น้ สิ่ ง เหล่ า นี แ้ สดงให้ เห็ น ถึ ง การเรื อ ง อานาจของเหล่ านักบวชชัน้ สูงที่ มาพร้ อมกับ ลัทธิการผลักดันให้ สรุ ิ ยเทพราขึ ้นเป็ นจอมเทพ สูงสุดของพวกเขา 33
การเติ บโตของลัท ธิ บูช าดวงสุริย าใน สมัยราชวงศ์ ที่ 5 แสดงให้ เห็นได้ อย่างชัดเจน ผ่านวิหารรู ปแบบใหม่ที่ชาวไอยคุปต์ รังสรรค์ ขึ ้น นั่นก็คือวิหารสุริยะ (Sun Temple) ที่ ริเริ่ ม และสิ น้ สุ ด ลงไปในราชวงศ์ ที่ 5 เช่ น กั น เรา ทราบดี ว่ า ชาวไอยคุ ป ต์ ในช่ ว งนี ส้ ร้ างวิ ห าร สุ ริ ย ะเอาไว้ ถึ ง 6 แห่ ง ซึ่ ง บางแห่ ง นั น้ องค์ ฟาโรห์ อาจจะตัง้ ใจสร้ างเอาไว้ ใกล้ กับ สุสาน ของพระองค์เองด้ วย นัน่ จึงมีความเป็ นไปได้ ว่า การที่ วิหารสุริยะถูกสร้ างขึน้ ทางฝั่ งตะวันตก ของแม่น า้ ไนล์ แ ละเชื่ อ มโยงกั บองค์ พี ระมิ ด อาจจะมี ค วามหมายเชิ ง นั ย ว่ า องค์ ฟ าโรห์ อาจจะต้ องการใช้ ประโยชน์จากวิหารเหล่านี ้ใน โลกหน้ ามากกว่าโลกนี ้ก็เป็ นได้
ถื อ ก าเนิ ด ขึ น้ ในช่ ว งสมัย ราชอาณาจัก รเก่ า เท่ านั น้ เราสามารถจิ น ตนาการถึ ง กลุ่ ม ช่างฝี มือจานวนมากที่ต้องถูกเกณฑ์เข้ ามาทัง้ แรงงานและช่างผู้ชานาญงานผ่านระบบการ บริ ห ารงานของฟาโรห์ ที่ต้ องถื อ ว่าเยี่ ยมยอด จากหลักฐานทางโบราณคดีทาให้ เราทราบว่า แรงงานเหล่ านี ไ้ ม่ใช่ ท าสอย่างที่ พ วกเราเคย เข้ าใจ กระนั ้นเหล่าเชลยศึกที่องค์ฟาโรห์ได้ มา จากต่ า งถิ่ น ก็ อ าจจะมี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งในงาน โครงสร้ างทางสถาปั ตยกรรมเหล่ า นี ด้ ้ วย เช่นกัน
ภายในวิหารสุริยะคือที่ตั ้งของเสาโอเบ ลิสก์ (Obelisk) แท่งอ้ วนซึ่งเป็ นสัญลักษณ์ของ องค์สรุ ิ ยเทพ และการที่แท่งโอเบลิสก์เช่นนี ้ถูก นามาตั ้งเอาไว้ กลางลานเปิ ดกว้ างก็เพื่อที่จะให้ มัน ได้ อ าบแสงอาทิ ต ย์ ได้ อย่า งเต็ ม ที่ นั่น เอง โดยที่ ในแต่ ละช่วงเวลาของปี นัก บวชที่ ดูแ ล วิหารสุริยะก็จะเข้ ามาถวายเครื่ องบรรณาการ และคอยจัดงานเฉลิมฉลองประจาปี ต่างๆขึ ้นที่ วิหารสุริยะแห่งนี ้มิให้ ขาด รูปที่ 12 เสาโอเบลิสก์ในสมัย
แต่ ก ระนั น้ วิ ห ารสุ ริย ะก็ เป็ นเพี ย งแค่ หนึ่งในโครงสร้ างทางสถาปั ตยกรรมมากมายที่
ราชอาณาจักรเก่ามีขนาดค่อนข ้างเล็ก
34
ปั จ จั ย ส าคั ญ ที่ ท าให้ อ งค์ ฟ าโรห์ สามารถบริ ห ารจัด การเรื่ อ งเหล่ านี ใ้ ห้ เป็ นไป อย่ า งราบรื่ น ได้ ก็ คื อเรื่ อ งของความอุ ด ม ส ม บู ร ณ์ ข อ ง พื ช พั น ธุ์ แ ล ะ อ า ห า ร ที่ เปรี ย บเสมื อ นเป็ นเงิ น ตราและค่ าจ้ า งที่ อ งค์ ฟาโรห์ต้องจ่ายให้ กับแรงงาน แสดงให้ เห็นว่า พระองค์ ป ระสบความส าเร็ จ ทางด้ านการ บริ หารจัดการเกษตรกรรมอย่างดีเยี่ยม เพราะ การสร้ างพี ระมิด หรื อ วิห ารที่ ยิ่ง ใหญ่ สั กแห่ ง จาเป็ นต้ องมีการบริ หารจัดการที่ดี ทั ้งเรื่ องของ การจัดหาและขนส่งวัตถุดิบ การเก็บภาษี และ การกากับดูแลความสงบเรี ยบร้ อยของแรงงาน จานวนมาก นั่นสื่อให้ เห็นว่าฟาโรห์ที่สามารถ รังสรรค์ผลงานที่ยิ่งใหญ่ได้ จะต้ องมีระบบการ บริ หารจัดการจากส่ ว นกลางที่ ดีม ากตามไป ด้ วย
นาโตเลียมีพระนามของฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ 5 ปรากฏอยู่ นอกจากนั ้นยังมีการค้ นพบถ้ วยหิน อ่อนที่ปรากฏพระนามของฟาโรห์อเู ซรคาฟบน เกาะไซธี รา (Cythera) ของกรี กด้ วย นั่นแสดง ให้ เห็นถึงการแลกเปลี่ ยนทางวัฒ นธรรมและ อาจจะเป็ นการค้ าขายที่กว้ างไกลของชาวไอย คุปต์ ในช่วงหนึ่งของราชอาณาจักรเก่าได้ เป็ น อย่างดี ซึ่ ง การเปลี่ ย นแปลงรู ป แบบของการ บริ หารจัดการในช่วงราชอาณาจัก รเก่านี ้เองที่ ทาให้ ชื่อและวิถีชีวิตของชนชัน้ สูงและขุนนาง ต่างๆเริ่ มปรากฏให้ พ วกเราได้ เห็น มากยิ่งขึ น้ ดัง เช่ น สุ ส านของตี (Ty) และพทาห์ เชปเซส (Ptahshepses) ซึ่งมีสุสานที่ ได้ รับการตกแต่ง อย่างงดงามปรากฏอยูใ่ นนครซัคคาร่าและอบู เซียร์ ตามลาดับ นอกจากนั ้นเรายังได้ ร้ ูถึ งบุรุษ นามเนเฟอร์ (Nefer) ที่เป็ นเพื่อนยามเยาว์ของ ฟาโรห์ นิ อู เซอร์ เรว่ า เมื่ อ เติ บ โตขึ น้ เขาได้ รั บ ตาแหน่งผู้ควบคุมดูแลราชสานัก โดยได้ สิทธิ ในการสร้ างสุส านที่ เพี ยบพร้ อมไปด้ วยภาพ ของเขาเองและครอบครั ว อย่ างงดงามที่ สุ ด ด้ วย
ในด้ า นของการติ ด ต่ อ กับต่ างชาติ ใน สมัย ราชอาณาจัก รเก่ า นั น้ ไม่ ได้ จ ากัด วงอยู่ เพี ยงแค่เพื่ อนบ้ านที่มีอาณาเขตติดกับอี ยิปต์ เท่านั ้น ชาวไอยคุปต์ยงั มีการติดต่อกับชนเผ่า แห่งทะเลอีเจียน (Aegean) ซึ่งเป็ นต้ นธารของ อารยธรรมกรี กโบราณพร้ อมด้ วยดินแดนอนา โตเลีย (Anatolia) ในประเทศตุรกีอีกด้ วย หนึ่ง ในหลั ก ฐานที่ ส นั บ สนุ น ความจริ ง ข้ อ นี ก้ ็ คื อ ทองคาที่ค้นพบจากทางตอนใต้ ของดินแดนอ
ภาพที่ปรากฏในสุสานของเหล่าขุนนาง เป็ นแหล่ งข้ อ มูล ชัน้ ดี ให้ เราเข้ า ใจสภาพทาง สั ง คมและวั ฒ นธรรมของชนชั น้ สู ง ในสมั ย 35
ราชอาณาจักรเก่า สุสานของเนเฟอร์ แสดงให้ เห็นภาพที่เต็มไปด้ วยชีวิตชีวาของเขาเมื่อครัง้ ยังมี ชีวิต ทัง้ ภาพการเก็บองุ่น ภาพลิงบาบูน ช่วยชาวไอยคุปต์ เหยียบองุ่นที่ เก็บมาได้ เพื่ อ เตรี ย มท าไวน์ ภาพคนกาลังขนสิ น ค้ า ลงเรื อ ช่ า งไม้ ก าลั งบรรจงเตรี ย มโลงศพแสนวิ จิ ต ร ให้ กบั เนเฟอร์ ภาพจากสุสานแห่งนี ้ยังแสดงให้ เห็ น ภรรยาของเนเฟ อร์ แ ละช่ า งฝี มื อ อี ก มากมายที่ล้วนแล้ วแต่กาลังทางานของตนเอง อยู่อย่างขะมักเขม้ น ทาให้ เรามองเห็นวิถีชีวิต ของชาวไอยคุปต์ในสมัยราชอาณาจักรเก่าได้ อย่างชัดเจน นอกจากนั ้นแล้ ว สุสานของขุน นางบางแห่งในสมัยราชอาณาจักรเก่ายังแสดง ภาพของกีฬาและการล่าสัตว์ชนิดต่างๆซึ่งเป็ น กิจกรรมยามว่างของชาวไอยคุปต์ด้วย ซึ่งสัตว์ ที่ ช า ว ไ อ ย คุ ป ต์ อ อ ก ล่ า ก็ มี ทั ้ ง น ก น ้ า ฮิปโปโปเตมัส สิงโตและยีราฟ ซึ่งภาพเหล่านี ้ก็ ช่วยให้ นกั อียปิ ต์วิทยาเข้ าใจถึงสภาพแวดล้ อม และความอุดมสมบูรณ์ทางนิเวศวิทยาของชาว ไอยคุปต์ ได้ เป็ นอย่างดี นอกจากนัน้ ภาพของ กิ จ กรรมการออกก าลั ง กายอย่ า งเช่ น เล่ น ยิม นาสติ ก วิ่ งจ๊ อ กกิ ง้ หรื อ แม้ แ ต่ ก ระทั่งมวย ปล ้าก็มีปรากฏให้ เห็นบนผนังสุสานของพวก เขาเช่นกัน
อย่างที่ ได้ เกริ่ นไปแล้ ว ราชอาณาจักร เก่าถึงกาลล่มสลายในช่วงปลายรัชสมัย ของ ฟาโรห์ เปปิ ที่ 2 ซึ่งครองราชย์ตัง้ แต่อายุเพี ยง แค่ 6 ปี พระองค์ ได้ ส่ ง คณะส ารวจลงไปยัง ดิ น แดนทางตอนใต้ โดยมี ก ารน าเอา “คน แคระ” (Pygmy) กลับ มาเต้ น ราในราชส านั ก เพื่อสร้ างความสาราญใจให้ พระองค์เองด้ วย
รูปที่ 13 ภาพจากสุสานของเนเฟอร์แสดง ให ้เห็นคนงานทีก ่ าลังทางาน
รูป 14
การแสดงของคนแคระเป็ นหนึ่งใน
ความบันเทิงของชาวไอยคุปต์
36
เรี ยกได้ ว่าราชวงศ์ ที่ 6 ในรัชสมัยของ ฟาโรห์เปปิ ที่ 2 คือช่วงเวลาแห่งการออกสารวจ โดยแท้ จริ ง ในช่วงที่เปปิ ที่ 2 มีอายุได้ เพี ยงแค่ 9 ปี ผู้ดแู ลกองทหารต่างชาติที่มีนามว่าฮาร์ คฟุ (Harkhuf) ได้ เดินทางลงไปสารวจในแอฟริ กา อย่างน้ อยสี่ครัง้ ฮาร์ คุฟนี่เองที่เป็ นคนที่นาเอา คนแคระจากแอฟริกามาถวายแด่ฟาโรห์เปปิ ที่ 2 โดยมีบันทึ กข้ อ ความจากจดหมายโต้ ตอบ ระหว่า งฮาร์ คุฟ และเปปิ ที่ 2 ใจความว่า “ข้ า อยากจะเห็นคนแคระนี ่เสี ยมากกว่าสิ่ งของใดๆ จากไซนายหรื อพันท์ เสี ยอี ก”
สามารถเข้ าใจถึงสภาพสังคมและวัฒ นธรรม ของอียปิ ต์โบราณในสมัยราชอาณาจักรเก่าได้ เป็ นอย่างดี
นอกจากนัน้ เราทราบจากสุสานของ เป ปิ อั ง ค์ (Pepyankh) ซึ่ ง เป็ น ผู้ สื บ ท อ ด ตาแหน่งผู้ดูแลกองทหารต่างชาติต่อจากฮาร์ คุฟ ว่าฟาโรห์ เปปิ ที่ 2 ได้ ส่ งกองทหารออกไป เพื่อปราบปรามความไม่สงบในนูเบีย อีกทั ้งยัง ส่งทหารอีกกองหนึ่งไปยังทะเลแดงเพื่อนาเอา ร่างไร้ วิญญาณของนายทหารคนหนึ่งที่ถกู ฆ่า โดยชนเผ่ า เร่ ร่อ นแถบนัน้ ระหว่า งกาลัง ดูแ ล โครงการสร้ างเรื อไปยังดินแดนพันท์กลับมายัง อียปิ ต์ด้วย อาจกล่ า วโดยสรุ ปได้ ว่ า ภาพและจารึ กจาก สุส านของเหล่า ขุน นางที่ ได้ รับที่ ดิ น จากองค์ ฟาโรห์ ให้ สร้ างสุ ส านสุด แสนอลัง การเอาไว้ ใกล้ เคียงกับพระองค์ได้ ช่วยให้ นักอียปิ ต์วิทยา 37
รูปที่ 1 ภายถ่ายพีระมิดแห่งกิซา ชว่ งต ้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดย J. Pascal Sébah
38
II
ย้ อนกลับไปในสมัยยุคต้ นราชวงศ์เมื่อ ราว 3,000 ปี ก่อนคริ สตกาล สุสานหลวงของ ชาวอียิปต์โบราณไม่ได้ มีลกั ษณะเป็ นพีระมิด ดังเช่นที่ปรากฏให้ เห็นในสมัยราชอาณาจักร เก่า สุสานในยุคต้ นราชวงศ์มีรูป ร่ างเป็ นหลุม สี่เหลี่ยมผืนผ้ าขนาดเล็ก มี ขนาดเพียงพอแค่ สาหรับบรรจุร่างพระศพของฟาโรห์พร้ อมด้ วย ข้ าวของเครื่ องใช้ สาหรั บ โลกหน้ าอย่ างเช่ น ภาชนะต่างๆเท่านัน้
โดยห้ องที่มีขนาดใหญ่ ที่สดุ นัน้ ทาหน้ าที่เป็ น ห้ องฝั งพระศพ ซึ่งจะสังเกตได้ ว่าห้ องทุกห้ อง อยู่ ใ นระดั บ พื น้ ดิ น เดี ย วกั น ทั ง้ หมด โดยที่ โครงสร้ างด้ านบน (Superstructure) ของ สุส านทุ ก แห่ ง พั ง ทลายไปหมดแล้ ว แต่ นั ก อียิป ต์ วิทยาที่ ต รวจสอบสุสานต่ างๆก็ได้ พ บ กั บ หลุ ม เสาที่ อ าจจะท าจากไม้ ซึ่ ง เคยท า หน้ าที่ คา้ ยันเพดานด้ านบนของสุสานเอาไว้ ด้ วยก็ เป็ นได้ และโครงสร้ างที่ ปกคลุม สุสาน ในยุคต้ นราชวงศ์ เหล่านี ก้ ็เชื่อกันว่าอยู่ในรู ป ของเนิ น ดิ น (Mound) ซึ่ ง สะท้ อนให้ เห็ น ถึ ง เนิ น ดิ น แห่ ง การถื อ ก าเนิ ด ตามต านานการ สร้ างโลกของชาวอียิปต์โบราณ ที่เชื่อมโยงไป ถึงการฟื น้ คืนชีพของฟาโรห์ในโลกหน้ าด้ วย
สถาปั ตยกรรมของสุสานในสมัยนี ้ไม่ มีอะไรซับซ้ อน สุสานบางแห่งดังเช่นสุสานยู เจ (Tomb U-j) ของราชันแมงป่ อง (Scorpion King) มี การแบ่งสัดส่วนออกเป็ นห้ องย่อยๆ 12 ห้ อง ซึ่งแต่ ละห้ องมี หน้ าที่ เฉพาะตัวของ มัน เช่ น เอาไว้ ส าหรั บ เก็ บ ข้ าวของเครื่ อ งใช้ 39
รูปที่ 2 สุสาน ั ย์ ยู-เจ ของราชน แมงป่ องแบ่งห ้อง เป็ น 12ห ้อง
แต่สิ่งที่ น่าสังเกตก็คือ เหล่าฟาโรห์ ใน ยุคต้ นราชวงศ์แต่ละองค์ล้วนแล้ วแต่สร้ างกลุ่ม อาคารที่ เกี่ ย วข้ อ งกับพิ ธี ศ พเอาไว้ ถึ ง 2 แห่ ง ด้ วยกัน นั่น ก็คื อกลุ่ม อาคารที่ มี ลัก ษณะเป็ น หลุ ม สี่ เ หลี่ ย มขนาดเล็ ก ซึ่ ง ท าหน้ าที่ เป็ น “สุ ส าน” ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ ตั ง้ อยู่ที่ น ครอไบดอส (Abydos) โดยที่ พ ระองค์ ยั ง คงมี ก ารสร้ าง อาคารอี กรู ปแบบหนึ่ งเอาไว้ ด้ ว ย ซึ่งเรี ยกว่ า “กาแพงพิ ธีศพ” (Funerary Enclosure) สร้ าง จากอิ ฐ สอโคลน (Mud-Brick) ซึ่ ง มี ลั ก ษณะ เป็ นก าแพงขนาดใหญ่ ถู ก ตั ง้ แยกเอาไว้ ต่างหากที่นครอไบดอสเช่นกัน นักอียปิ ต์วิทยา ยัง คงตั ง้ ค าถามกั บ ก าแพงเหล่ า นี ก้ ั น อยู่ว่ า สร้ างขึ ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ ใดกันแน่ หนึ่งใน
แนวคิดที่น่าจะเป็ นไปได้ ที่สดุ ก็คือมันทาหน้ าที่ เป็ น “พระราชวั ง ” ให้ กั บ ฟาโรห์ ในโลกหน้ า นัน่ เอง แ ต่ ก ร ะ นั ้ น เมื่ อ ก้ า ว เข้ า สู่ ยุ ค ราชอาณาจั กรเก่ า สถาปั ต ยกรรมสุส านของ เหล่าฟาโรห์ได้ เปลี่ยนแปลงไปโดยสิ ้นเชิง ไม่มี การสร้ างสุสานและกาแพงพิธีศพแยกออกจาก กั น อี ก ต่ อ ไป ซึ่ ง เป็ นไปได้ ว่ า มั น ถู ก น ามา “รวมกัน” โดยแนวคิดของอิมโฮเทป (Imhotep) ซึ่ งเป็ นสถาปนิ ก ผู้ ชาญฉลาดในรั ช สมัย ของ ฟาโรห์ดโจเซอร์ นนั่ เอง แรกเริ่ ม เดิ มที สุ ส านของฟาโรห์ ด โจเซอร์ ได้ รับการออกแบบให้ อยู่ในรู ปของมาส 40
ตาบา ซึ่ ง เป็ นสุ ส านรู ป ทรงสี่ เหลี่ ย มคางหมู ฐานเป็ นสี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส กว้ างยาวด้ านละ ประมาณ 63 เมตร สูงประมาณ 8 เมตรตาม สไตล์เดียวกับสุสานของเหล่าขุนนางในยุคต้ น ราชวงศ์ แต่ อิ ม โฮเทปสถาปนิ กของฟาโรห์ ด โจเซอร์ ก็ ไ ด้ ท าการขยายมาสตาบาของ พระองค์ อ อกไปอี ก ถึ ง 4 ครั ง้ จนกลายเป็ น พี ระมิ ด ขัน้ บัน ได 6 ขัน้ ขนาดฐานกว้ า งยาว ประมาณ 107x123 เมตร สู ง 62 เมตร ที่ ตั ง้ ตระหง่านอยู่ ณ เมืองซักคาร่าจวบจนทุกวันนี ้
ออกไปอี กนั ้นไม่มีใครสามารถตอบได้ แต่การ ขยายมาสตาบาออกไปเป็ นพีระมิดขั ้นบันไดใน ครั ง้ นัน้ ท าให้ นัก วิชาการในยุค ปั จ จุบัน ทราบ ว่าอิมโฮเทปต้ องใช้ หินเพิ่มจากเดิมหลายแสน ตันเลยทีเดียว ภายในองค์ พี ร ะมิ ด ของฟาโรห์ ด โจเซอร์ มี ท างเดิ น และห้ องใต้ ดิ น ที่ ลึ ก ลั บ ซับซ้ อนกว่ามาสตาบาในยุคก่อนๆมากมายนัก โดยเฉพาะห้ องเก็บพระศพของฟาโรห์ที่สร้ าง จากหิน แกรนิต สี ชมพูจากเหมื องหิน เมืองอัส วานซึ่งอิมโฮเทปตั ้งใจซ่อนห้ องเก็บพระศพของ พระองค์ ไว้ จึงสร้ างห้ องอีกห้ องหนึ่งไว้ ด้านบน ห้ องเก็บพระศพ ทาให้ การขุดค้ นในยุคแรกนั ้น นักอียิปต์วิทยาเชื่อว่าห้ องที่ตนค้ นพบเป็ นครัง้ แรกซึ่งเป็ นห้ องด้ านบนคือห้ องเก็บพระศพของ ฟาโรห์ แต่ พ วกเขาไม่ร้ ู เลยว่ า พวกเขาก าลั ง เหยียบอยู่บนเพดานห้ องเก็บพระศพที่แท้ จริ ง ของฟาโรห์ดโจเซอร์ ต่างหาก
โครงสร้ างของมาสตาบาเดิ ม ก่ อ นจะ ขยายเป็ นพี ระมิดนัน้ สร้ างมาจากหินปูนที่ ตัด มาจากเหมืองหินปูนในบริ เวณนั ้น แต่ผิวด้ าน นอกของมาสตาบาถู ก ตกแต่ ง ด้ วยหิ น ปู น คุ ณ ภาพสู ง ที่ ไ ด้ จากเหมื อ งหิ น ทู ร า (Tura) แสดงให้ เห็ น ว่ า มาสตาบาของพระองค์ นั น้ สมบูรณ์ เพี ยบพร้ อมแล้ ว แต่ทาไมอิมโฮเทป ถึงยังต้ องการขยายมาสตาบา
รูปที่ 3 กาแพง พิธศ ี พทีเ่ หล่า ฟาโรห์ในยุคต ้น ์ ร ้าง ราชวงศส แยกตัวไปจาก โครงสร ้างสุสาน
41
รูปที่ 4
พีระมิดขัน ้ บันไดฟาโรห์
ดโจเซอร์เป็ นการผสมผสานสุสานเข ้า กับกาแพงพิธศ ี พ
รูปที่ 5
ข ้างใต ้พีระมิดขัน ้ บันได
ฟาโรห์ดโจเซอร์จะเต็มไปด ้วยห ้อง หับแยกย่อยไปและในบางห ้องมีการ ตกแต่งให ้คล ้ายคลึงกับสว่ นของ พระราชวัง
42
จะเห็นได้ ว่า สถาปั ตยกรรมของสุสาน หลวงในสมัยฟาโรห์ ดโจเซอร์ นีเ้ ปลี่ยนแปลง ไปจากยุคต้ นราชวงศ์ เป็ นอย่างมาก ห้ องหับ ต่างๆที่เคยตังอยู ้ ่ในระดับพื ้นดินเดียวกันก็ถูก ปรั บ เปลี่ ย นให้ กลายเป็ นปล่ อ งและช่ อ ง ทางเดินที่เจาะลึกลงไปใต้ ดินดูลึกลับซับซ้ อน นอกจากนัน้ สุสานของฟาโรห์ ดโจเซอร์ นีย้ งั มี ก ลุ่ ม อ า ค า ร ป ร ะ ก อ บ พี ร ะ มิ ด ที่ มี สถาปั ตยกรรมซึง่ โยงเข้ ากับความเชื่อได้ อย่าง น่าสนใจเป็ นอย่างยิ่งอีกด้ วย
เดินของนักบวชที่ จะเข้ ามาประกอบพิ ธีด้ าน ในพีระมิดได้ อย่างง่ายดายตามไปด้ วย กลุ่ม อาคารอื่ น ๆที่ ส าคัญ ในพี ระมิ ด ของฟาโรห์ดโจเซอร์ ยงั มีอีกมาก ที่สาคัญที่สดุ อีกอย่ างหนึ่ งคื ออาคารที่ เรี ยกว่า “สุสานทิ ศ ใต้ ” (South Tomb) ซึ่ง ตัง้ อยู่ท างด้ า นทิ ศ ใต้ ขององค์พีระมิดตามชื่อเรี ยกขาน สุสานแห่งนี ้ ไม่ได้ เอาไว้ ฝังพระศพฟาโรห์ ยังไม่มีใครทราบ ว่า มั น มี ห น้ าที่ ที่ แ ท้ จ ริ ง อย่ า งไร แต่ ห นึ่ งใน ความเป็ นไปได้ ก็ คือสุสานทางใต้ เป็ นสุสาน ของ “คา” (Ka) หรื อ ดวงวิ ญ ญาณขององค์ ฟาโรห์ ซึ่ ง มี ค วามเป็ นไปได้ อี ก เช่ น กั น ว่ า แนวคิ ด เรื่ อ งการสร้ างสุ ส านให้ กั บ คาของ ฟาโรห์นนจะได้ ั้ รับการสืบทอดต่อไปยังชนรุ่ น หลังในราชอาณาจักรเก่า โดยสะท้ อนออกมา โดยการสร้ าง “พี ร ะมิ ด บริ ว าร” (Satellite Pyramid) ขึน้ ทางด้ านทิศใต้ ขององค์ พีระมิด เช่นกัน ดังปรากฏในพีระมิดไมดุม (Meidum) ของฟาโรห์ฮนู ิ พีระมิดโค้ งของฟาโรห์สเนเฟอ รู และพีระมิดของฟาโรห์คาเฟรในราชวงศ์ที่ 4 ด้ วยเช่นกัน
สิ่งแรกที่ เห็นได้ ชดั คื ออิมโฮเทปตัง้ ใจ ผสานสุสานและกาแพงพิธีศพขนาดกว้ างยาว 545x278 ต ารางเม ต รเข้ าไว้ ด้ วย กั น ใน โครงสร้ างเดี ย ว โดยก าแพงที่ ว่ า นี อ้ าจจะ สอดคล้ องกับชื่อนครแห่งกาแพงสีขาวซึ่งเป็ น ชื่ อ ในภาษาอี ยิ ป ต์ โ บราณของนครเมมฟิ ส (Memphis) เมื องหลวงของอียิปต์ โบราณใน สมัยนัน้ ด้ วย และยังแสดงให้ เห็นถึงการสร้ าง ประตู ป ลอม (False Door) เอาไว้ โ ดยรอบ ของก าแพงซึ่งไม่ สามารถใช้ ผ่านเข้ าออกได้ จริ ง โดยทางผ่านเข้ าไปยังด้ านในกลุ่มอาคาร ประกอบพีระมิดได้ มีเพียงแค่ประตูทางฝั่ งทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ เพียงแห่งเดียวเท่านัน้ และ นั่น ทาให้ อิมโฮเทปสามารถควบคุม เส้ น ทาง
นอกจากนั น้ กลุ่ ม อาคารประกอบ พี ร ะมิ ด ของฟาโรห์ ด โจเซอร์ ยั ง มี อ าคารที่ เรี ย กว่า “พระราชวัง” ปรากฏให้ เห็ น ทัง้ ทาง 43
เหนือและทางใต้ ซึ่งยังไม่ทราบหน้ าที่ที่แน่ชดั พร้ อมด้ วยลานประกอบพิ ธีเซด (Heb-Sed) ซึ่งจัดขึน้ เมื่ อฟาโรห์ ขึน้ ครองราชย์ครบ 30 ปี เพื่ อ แสดงความเข้ ม แข็ ง ให้ ได้ ประจั ก ษ์ ว่ า พระองค์ ยัง พร้ อมที่ จ ะครองราชย์ ต่ อ ไปได้ อย่างไร้ ปัญหาอีกด้ วย ซึ่งพิธีกรรมก็จะกระทา โดยให้ ฟาโรห์ วงิ่ รอบลานกว้ างเพื่อแสดงพลัง ของพระองค์ โดยนัก อี ยิ ป ต์ วิ ท ยาพบภาพ ฟาโรห์ ด โจเซอร์ ระหว่างก าลังวิ่งในพิ ธีเซดนี ้ จากสุสานทิศใต้ ด้วย ส่วนทางด้ านทิศเหนือขององค์พีระมิด มี ก ลุ่ ม อาคารที่ น่ า จะท าหน้ าที่ เป็ นวิ ห าร ประกอบพิธีศพ (Mortuary Temple) ปรากฏ ให้ เห็นเป็ นครัง้ แรกๆ พร้ อมด้ วยห้ องเซอร์ ดับ (Serdab) ซึ่ ง เป็ นที่ ตั ง้ รู ป สลัก ของฟาโรห์ ด โจเซอร์ ส าหรั บ ให้ คาหรื อ วิ ญ ญ าณ ของ พระองค์เข้ ามารับเครื่ องบรรณาการได้ โดยที่ ห้ องนี จ้ ะมี เพี ยงแค่รูเล็ กๆสองรู สาหรับให้ รูป สลักมองออกมายังโลกภายนอกได้ เท่านัน้ ซึ่ง ในภายหลังพี ระมิดในราชอาณาจักรเก่าบาง แห่งมีการนาเอาห้ องเซอร์ ดบั เช่นนี ้รวมเข้ าไป เป็ นห้ องหนึ่งด้ านในองค์พีระมิดด้ วยเช่นกัน
รูปที่ 6
ฟาโรห์ดโจเซอขณะวิง่
รอบลานพิธก ี รรมทีเ่ รียกว่าเซด
รูปที่ 7
ห ้องเซอดับทางด ้าน
ทิศเหนือขององค์พรี ะมิด
44
จะเห็ น ได้ ว่ า พี ระมิ ด ของฟ าโรห์ ด โจเซอร์ เป็ นต้ น แบบให้ กับเหล่ าพี ระมิดในยุค หลังของราชวงศ์ที่ 3 ซึ่งสร้ างสุสานในรู ปแบบ ของพี ระมิดขัน้ บัน ไดที่ ถือว่าเป็ นวิวัฒ นาการ ขัน้ แรกของสถาปั ต ยกรรมพี ระมิ ด ในอี ยิป ต์ โบ ราณ การก่ อ สร้ างพี ระมิ ด ใน รู ป แบ บ ขั น้ บั น ได อาจจะมาจากความพ ยายาม เชื่อมโยงฟาโรห์เข้ ากับสุริยเทพบนท้ องฟ้า ดังที่ กล่ า วไว้ ในคั ม ภี ร์ที่ เรี ย กว่ า “จารึ ก พี ระมิ ด ” (Pyramid Texts) ซึ่ ง ปรากฏเป็ นครั ง้ แรกใน พี ระมิด สมัย ราชวงศ์ ที่ 5 แต่ก ระนัน้ ก็ อาจจะ ตี ค วามได้ ว่ าอิ ม โฮเทปต้ อ งการสร้ างพี ระมิด รูปทรงเช่นนี ้เพื่อเป็ นบันไดไปสู่สวรรค์ขององค์ ฟาโรห์นนั่ เอง
สาเร็จ เพราะพระองค์ครองราชย์เพียงแค่ราว 6 ปี ดังที่ ได้ ก ล่ าวไปแล้ ว ในตอนประวัติ ศ าสตร์ อี ยิ ป ต์ โบราณยุ ค พี ร ะมิ ด ประกอบกั บ การ พังทลายของหิ น ท าให้ ปั จ จุบัน พี ระมิด แห่ง นี ้ หลงเหลือความสูงเพียงแค่ 2 ชั ้นหรื อประมาณ 7 เมตรเท่านั ้น แต่ สิ่งหนึ่งที่ นักอี ยิป ต์ วิทยายังคงเห็ น จากพี ระมิดแห่งนี ้ก็คือฟาโรห์เซเคมเคตยังทา การ “ผสาน” สุส านเข้ า กับ ก าแพงพิ ธี ศ พอยู่ เช่ น เดิ ม โดยก าแพงที่ ล้ อ มรอบพี ระมิ ด ของ พระองค์ เดิ ม ที มี ค วามกว้ างถึ ง 262x185 ตารางเมตร แต่ในภายหลังพระองค์ก็ได้ ขยาย พื ้นที่ออกไปทั ้งทางด้ านทิศเหนือและทิศใต้ จน มีขนาดเพิ่มขึ ้นเป็ น 500x185 ตารางเมตร โดย พระองค์ยงั ได้ สืบทอดการสร้ าง “สุสานทิศใต้ ” เฉกเช่น พี ระมิด ของดโจเซอร์ เอาไว้ เด้ วย แต่ โครงสร้ า งทางเดิ นด้ านในองค์ พี ระมิด ของเซ เคมเคตมีความซับซ้ อนน้ อยกว่า ที่น่าสนใจคือ พระองค์ ไ ม่ ไ ด้ สร้ างกลุ่ ม อาคารประกอบ พีระมิดมากมายดังเช่นที่ ดโจเซอร์ เคยกระทา อี ก แล้ ว แต่ ก ลั บ ม า ส ร้ า งห้ อ งเก็ บ ขอ ง (Magazines) จ านวนมากมายถึ ง 132 ห้ อง ขึ ้นมาแทน กระนั ้นก็มีการเสนอกันว่าบางที ที่ พี ระมิ ด ทั ง้ สององค์ นี ม้ ี ค วามคล้ ายคลึ ง กั น ทางด้ านสถาปั ต ยกรรมเป็ นอย่า งมากก็ เป็ น
รูปแบบการสร้ างสุสานที่ผสานพีระมิด ขั ้นบันไดเข้ ากับกาแพงพิธีศพขนาดใหญ่ยงั คง ปรากฏให้ เห็ นในพี ระมิด ของฟาโรห์ เซเคมเค ตซึ่ ง เป็ นฟาโรห์ อ งค์ ที่ ส ามแห่ ง ราชวงศ์ ที่ 3 พระองค์ ส ร้ างสุ ส านเอาไว้ ท างทิ ศ ตะวั น ตก เฉี ยงใต้ ของพี ระมิดของฟาโรห์ ดโจเซอร์ โดย ตั ้งใจให้ มีความยิ่งใหญ่ มากกว่าด้ วยการเพิ่ ม ขนาดฐานเป็ นกว้ า งยาวด้ านละ 120 เมตร พร้ อมวางแผนเพิ่มชัน้ ขัน้ บัน ไดให้ กับพี ระมิด ของพระองค์ เป็ น 7 ชัน้ รวมความสูงราว 70 เมตรแต่ น่ า เสี ย ดายที่ พี ระมิ ด แห่ ง นี ส้ ร้ างไม่ 45
เพราะว่าผู้ที่ออกแบบพีระมิดของฟาโรห์เซเคม เคตก็คืออิมโฮเทปเช่นกันนั่นเอง และนั่นทาให้ พี ระมิ ด ทั ง้ สองแห่ ง นี ค้ ื อ พี ระมิ ด ของอี ยิ ป ต์ โบราณที่มีวิธีการเรี ยงหินให้ มีแนวเฉี ยงเข้ าหา องค์พีระมิดประมาณ 15 องศาเพื่ อเพิ่มความ มัน่ คงแข็งแรงให้ กับโครงสร้ างหรื อที่เรี ยกว่าวิธี “กาแพงคา้ ” (Buttress Wall) เป็ นลาดับแรกๆ ในอียปิ ต์โบราณอีกด้ วย
ในรั ช สมัย ของฟาโรห์ ค าบา (Khaba) ยั ง คงมี ก ารสร้ างพี ระมิ ด ในลั ก ษณ ะของ ขัน้ บัน ไดเช่ น กัน ที่ น ครซาวิ เยท เอล-อาร์ ยัน พี ระมิ ด ของพระองค์ ไ ด้ รั บ การเรี ย กขานว่ า “พี ระมิ ด ชัน้ ” (Layer Pyramid) ด้ วยว่ า ยัง คง หลงเหลือเป็ นขั ้นบันไดเพียงแค่ 2 ขั ้นความสูง รวมราว 17 เมตรเท่ า นั น้ ซึ่ ง ถ้ าสร้ างเสร็ จ สมบูรณ์มนั จะมีจานวนทั ้งหมด 5 ชั ้น ความสูง รวมราว 45 เมตรเลยทีเดียว
รูปที่ 8 แผนผังพีระมิดของฟาโรห์เซเคม เคตมีความคล ้ายคลึงกับพีระมิดของฟาโรห์ด โจเซอร์
รูปที่ 9
การเรียงหินแบบกาแพงค้า
ให ้เอียงเข ้าหาตัวพีระมิด 15 องศาเพือ ่ เพิม ่ ความแข็งแรง
46
ถึงแม้ ว่าพีระมิดชั ้นของฟาโรห์คาบาจะ มี ข น าด เล็ กกว่ า พี ระมิ ด ขอ งบ รรพ บุ รุ ษ ค่ อ นข้ างมากเพราะมี ข นาดฐานเพี ย งแค่ 84x84 ตารางเมตรเท่านั ้น แต่ก็มีช่องทางเดิน ภายในพี ระมิ ด และห้ องเก็ บ ของจ านวน 32 ห้ องที่ ส ร้ างขึ น้ ในลั ก ษณ ะที่ ใ กล้ เคี ย งกั บ พี ระมิด ของฟาโรห์ เซเคมเคตเป็ นอย่า งมาก กระนั ้นนักอียปิ ต์วิทยาก็ยงั คงถกเถียงกันอยูว่ ่า แท้ ที่จริ งแล้ วพี ระมิดแห่งนี ้สร้ างเสร็ จสมบูรณ์ หรื อไม่ ทางด้ านไรเนอร์ สตาเดลแมนน์ (Rainer Stadelmann) เสนอว่ าพี ระมิด แห่ง นี ้ สร้ างเสร็จสมบูรณ์แล้ ว แต่มโิ รสลาฟ เวอร์ เนอร์ (Miroslav Verner) กลับเสนอว่าพีระมิดแห่งนี ้ น่ า จ ะ ยั ง ส ร้ า ง ไม่ เส ร็ จ เพ รา ะ ฟ า โรห์ สิ ้นพระชนม์ไปก่อน อีกทั ้งยังไม่มีหลักฐานของ โลงศพด้ านในองค์พีระมิดอีกด้ วย
เมตรทาให้ ความสูงดั ้งเดิมน่าจะอยู่ที่ประมาณ 92 เมตร แต่แล้ วก็มีการต่อเติมอีกครัง้ หนึ่งโดย อาจจะเป็ นโอรสของพระองค์ซึ่งก็คือฟาโรห์ ส เนเฟอรู ให้ ก ลายเป็ นพี ระมิดแท้ แต่ ทว่าหิ น ที่ เพิ่มเติมเข้ าไปใหม่ให้ กบั องค์พีระมิดกลับถล่ม หลุดลอกออกมากองกับ พื น้ ถึงร่ วม 250,000 ตันด้ วยเหตุแผ่นดินไหวและภัยธรรมชาติ ทาให้ ปั จจุบัน พี ระมิด แห่งไมดุม หลงเหลื อเพี ยงแค่ แกนส่ว นในซึ่ งเป็ นขัน้ บัน ไดเพี ยงแค่ ส ามขัน้ เท่านั ้น นอกจากความพยายามเปลี่ยนแปลง สถาปั ต ยกรรมของพี ระมิด จากขัน้ บันไดไปสู่ สวรรค์ เป็ นพี ระมิดแท้ ที่อยู่ในรู ปของการเปล่ง รั ศ มี ข องดวงอาทิ ต ย์ แ ทนแล้ ว ยั ง พบการ เปลี่ ย นแปลงทางสถาปั ต ยกรรมที่ ส าคั ญ ใน พีระมิดแห่งนี ้อีกหลายประการเลยทีเดียว
ความพยายามในการดั ด แปลงองค์ พี ระมิดจากขั ้นบันไดให้ เป็ นพี ระมิดแท้ (True Pyramid) เกิดขึ ้นเป็ นครัง้ แรกในช่วงปลายของ ราชวงศ์ ที่ 3 ในรั ช สมัย ของฟาโรห์ ฮูนิ ซึ่ง เป็ น ฟาโรห์พระองค์สดุ ท้ ายของราชวงศ์ที่ 3 พี ระมิด ของพระองค์ ได้ ชื่ อ ว่ าพี ระมิ ด แห่งไมดุม ซึ่งเดิ ม ที ตัง้ ใจสร้ างขึ น้ เป็ นพี ระมิด ขั น้ บั น ได 8 ขั น้ ท ามุ ม เฉี ย งราว 74 องศา ขนาดฐานกว้ างยาวด้ านละประมาณ 144
รูปที่ 10 หินกว่าสองแสนตันของพีระมิด แห่งไมดุมพังทลายลงมาจากน้ าหนั กมหาศาล
47
สิ่งหนึ่งที่ยงั คงพบเห็นในโครงสร้ างการ จัด เรี ย งหิ น ของพี ระมิ ดไมดุม คื อ การจัด เรี ย ง ด้ วยวิธี “ก าแพงค า้ ” ซึ่ งจะมี การเรี ยงหิ นเป็ น ก าแพงชัน้ ๆในแนวตั ง้ เรี ย งต่ อ เนื่ อ งกั น จาก ด้ า นในออกไปยั ง ด้ านนอกขององค์ พี ระมิ ด โดยที่ก้อนหินในแต่ละชัน้ จะทามุมเฉี ยงราวๆ 15 ถึง 17 องศาเข้ าหาองค์พีระมิดเพื่อเพิ่มแรง เข้ าไปยั ง ศู น ย์ ก ลางของโครงสร้ าง ท าให้ พี ระมิดไม่ถล่มได้ โดยง่าย ซึ่งพบหลักฐานมา ตั ้งแต่สมัยฟาโรห์ดโจเซอร์ ดงั ที่ได้ กล่าวไปแล้ ว แต่สิ่งที่ น่ าสนใจก็คื อในพี ระมิดของดโจเซอร์ นั ้น แนวกาแพงคา้ แต่ละชั ้นจะกว้ างประมาณ 2.5 เมตร หรื อ ประมาณ 5 คิ ว บิ ต (Cubit: หน่วยวัดระยะของอียิปต์โบราณ เทียบเท่ากับ 52.5 เซนติเมตร) แต่แนวกาแพงค ้าของพีระมิด ไมดุมนั ้นมีขนาดใหญ่กว่าคื อราว 5 เมตรหรื อ 10 คิวบิต แสดงให้ เห็นว่า ในระยะห่างที่เท่ากัน แนวกาแพงค ้าของพีระมิดไมดุมจะมีจานวนที่ น้ อยกว่ า พี ระมิ ด ของฟาโรห์ ดโจเซอร์ ถึ ง ครึ่ งหนึ่งเลยที เดี ยว และนี่ อาจจะเป็ นหนึ่ งใน ค าตอบว่ า ท าไมพี ระมิ ด ของดโจเซอร์ ยัง คง สภาพ แต่ พี ระมิด ไมดุม กลั บพั งทลายลงมา หมดแล้ ว
ไม่ได้ กระทาด้ วยวิธี “กาแพงค ้า” ตามเดิม หินที่ เพิ่มเติมเข้ าไปไม่ได้ วางเอียงทามุมเข้ าหาองค์ พี ระมิ ด แต่ ตั ง้ ขนานกั บ พื น้ โดยตรง ท าให้ มี ความสามารถในการต้ านทานแรงที่ ดัน ออก นอกตัวพี ระมิดได้ น้อยกว่าจึงมีโอกาสถล่มลง มาได้ ง่ายกว่าตามไปด้ วย คุณลักษณะพิ เศษทางสถาปั ตยกรรม ในพี ระมิดแห่งนี ้ยังมีอีกหลายประการด้ วยกัน ประการแรกคือห้ องฝั งพระศพที่ได้ รับการสร้ าง ในพี ระมิด แห่ งนี ม้ ี เพดานในรู ป แบบคอร์ เบล (Corbel) ซึ่งเป็ นการเรี ยงหิน ในลัก ษณะสอบ เข้ าหากัน ไปจนถึ ง ยอด เป็ นรู ป แบบเพดาน ลักษณะแรกๆของชาวอี ยิป ต์ โบราณซึ่ งได้ รับ การสานต่ อ อี ก ครั ง้ โดยฟาโรห์ ส เนเฟอรู ใ น พี ร ะมิ ด ทั ง้ สองแห่ ง ของพระองค์ ที่ ด าห์ ชู ร์ (Dahshur) นอกจากนั น้ ยัง ปรากฏให้ เห็ น ใน ห้ องโถงใหญ่ (Grand Gallery) ภายในมหา พีระมิดของฟาโรห์คฟู ู (Khufu) ที่กิซ่าอีกด้ วย คุณ ลัก ษณะพิ เศษประการที่ ส องใน พีระมิดไมดุมคือห้ องบูชา (Chapel) ขนาดเล็ก ซึ่งตั ้งอยูท่ างด้ านทิศตะวันออกขององค์พีระมิด ประดั บ ไปด้ วยแผ่ น ศิ ล าขนาดใหญ่ 2 แผ่ น ปลายด้ านบนโค้ งมนแต่บนศิลากลับว่างเปล่า ไร้ ซึ่งร่ องรอยการแกะสลักอักษรอียิปต์โบราณ
อีกหนึ่งความน่าสนใจคื อการต่อเติม พี ระมิดแห่งนี ใ้ ห้ เป็ นพี ระมิดแท้ ในยุคหลังนัน้ 48
ใดๆ สื่ อ ว่ า ห้ อ งบูช าแห่ งนี อ้ าจจะยัง สร้ างไม่ เสร็จสมบูรณ์ดีก็เป็ นได้
เข้ ากับกาแพงพิธีศพซึ่งเคยถูกสร้ างแยกกันใน ยุคต้ นราชวงศ์ พวกเขาทาการสร้ างพีระมิดโดย หลักการก าแพงค า้ เอี ย งท ามุมราว 15 องศา เข้ าหาองค์พีระมิด เพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้ กบั โครงสร้ าง ส่วนกลุ่มอาคารประกอบพีระมิดเริ่ม มีการพัฒ นาเป็ นลาดับซึ่งจะส่งผลถึงรู ปแบบ ของวิ ห ารประกอบพิ ธี ศ พและกลุ่ ม อาคาร ประกอบพีระมิดอื่นๆของสุสานหลวงที่กาลังจะ เกิดขึ ้นในช่วงราชวงศ์ต่อไปด้ วย
ความน่ าสนใจของห้ องบูชาแห่ งนี ค้ ื อ พี ระมิด ไมดุม เป็ นพี ระมิดองค์ แรกที่ มี การตัง้ ห้ องบูชาขึน้ ทางทิศตะวัน ออก เพราะเมื่อสื บ กลับไปดูพีระมิดของฟาโรห์ คาบา เซเคมเคต หรื อดโจเซอร์ แล้ วพบว่าไม่มีการสร้ างห้ องบูชา ในลั ก ษณะนี ม้ าก่ อ น ซึ่ ง เป็ นไปได้ ว่ า มัน คื อ ต้ นแบบของวิหารประกอบพิธีศพซึ่งมักจะสร้ าง ติดกับองค์พีระมิดทางด้ านฝั่ งทิศตะวันออกใน ภายหลังดังปรากฏให้ เห็นในพี ระมิดเกือบทุก องค์ในราชอาณาจักรเก่าด้ วย นอกจากนัน้ พี ระมิ ด ไมดุม ยังปรากฏ ห ลั ก ฐ า น ขอ งกา รส ร้ า งท า งเดิ น ฉ น ว น (Causeway) ทางทิ ศ ตะวัน ออกและพี ระมิ ด บริวารทางฝั่ งทิศใต้ เป็ นครัง้ แรก สะท้ อนให้ เห็น ถึงการประยุกต์ แนวความคิดเรื่ อง “สุสานทิศ ใต้ ” จากพีระมิดในช่วงแรกของราชวงศ์ได้ เป็ น อย่างดี โดยสรุ ป ราชวงศ์ ที่ 3 คื อ ปฐมบทใน การสร้ างพีระมิดของชาวอียปิ ต์โบราณ รูปทรง ของพี ระมิ ด ในราชวงศ์ นี อ้ ยู่ใ นรู ป แบบของ ขั ้นบันไดก่อนที่จะเริ่ มปรับเปลี่ ยนเป็ นพี ระมิด แท้ ในช่วงท้ าย มีการผสานสุสานสาหรั บฝั งศพ
รูปที่ 11 เพดานแบบCorbel vault ภายใน ห ้องเก็บพระศพ พีระมิดแห่งไมดุม
49
สเนเฟอรู คื อฟาโรห์ พระองค์ แรกของ ราชวงศ์ที่ 4 พระองค์สร้ างพีระมิดที่นครดาห์ชรู ์ เอาไว้ ถึ งสององค์ ด้ วยกัน ซึ่งถ้ าจะกล่ าวว่าส เนเฟอรู คือฟาโรห์ผ้ ปู ฏิวัติรูปทรงของพีระมิดก็ คงจะไม่ผิดนัก เพราะจากสถาปั ตยกรรมของ พี ระมิ ด ในสมัย ราชวงศ์ ที่ 3 ตั ง้ แต่ ด โจเซอร์ เรื่ อ ยมาจนถึ ง ฮู นิ เราจะเห็ น ว่ า ฟาโรห์ ทุ ก พระองค์ ล้วนแล้ วแต่สร้ างพี ระมิดในลักษณะ ของขั น้ บั น ไดทั ง้ สิ น้ แต่ ฟ าโรห์ ส เนเฟอรู ไ ด้ รังสรรค์พีระมิดรู ปแบบใหม่ขึ ้นมาเป็ นครัง้ แรก ก็คือพีระมิดโค้ งและพีระมิดแท้ นนั่ เอง
ความพิ เศษของมัน ก็ คื อ มี มุม เอี ย งขององค์ พี ระมิดสองมุมในองค์ เดี ยว โดยมุมส่วนฐาน อยู่ที่ 54 องศา 27 ลิปดา และมุมส่วนบนของ องค์พีระมิดอยูท่ ี่ 43 องศา 22 ลิปดา ซึ่งนับได้ ว่าแปลกประหลาดที่สุดในบรรดาพี ระมิดร่วม 118 องค์ของอียปิ ต์โบราณเลยก็ว่าได้
รูปทรงพีระมิดแบบหักมุมหรื อที่เรี ยกว่า พีระมิดโค้ งนั ้นปรากฏให้ เห็นเพียงแค่แห่งเดียว ในอียปิ ต์โบราณ
รูปที่ 12 พีระมิดโค ้ง ของฟาโรห์สเนฟรู จากผังแสดงให ้เห็นถึงพัฒนาการทีเ่ ข ้าใกล ้ กลุม ่ วิหารแบบพีระมิดแท ้
50
เหตุ ไ ฉนฟาโรห์ ส เนเฟอรู จึ ง ได้ สร้ าง พีระมิดเอาไว้ แปลกประหลาดเช่นนี ้ยังไม่มีใคร ให้ คาตอบที่ชัดเจนลงไปได้ มีนักอี ยิปต์ วิทยา บางท่านเสนอว่าบางทีฟาโรห์สเนเฟอรู อาจจะ สิ ้นพระชนม์กะทันหัน จึงต้ องปรับมุมชันของ พี ระมิด ให้ ลดลงเพื่ อที่ จะได้ สร้ างเสร็ จเร็ วขึ น้ แต่ดเู หมือนแนวคิดนี ้จะไม่เป็ นที่ยอมรับ เพราะ พระศพของสเนเฟอรู ไม่ได้ อยู่ในพี ระมิดองค์ นี ้ และไม่ได้ อยู่ในพี ระมิดใดเลยที่ พระองค์สร้ าง เอาไว้ จึงไม่สนับสนุนแนวคิดนี ้ อี กทั ้งพระองค์ ยังสร้ างพี ระมิดแดงเอาไว้ อีกแห่งหนึ่งด้ วย ซึ่ง นั ก อี ยิ ป ต์ วิ ท ยายอมรั บ กั น ว่ า พี ระมิ ด แดงที่ สร้ างขึ น้ ที ห ลั ง นั น้ น่ า จะเป็ นที่ ฝั งพระศพที่ แท้ จริงของสเนเฟอรู
สร้ างขึ น้ ในภายหลั ง อี ก ด้ วย สุ ด ท้ ายแล้ ว พี ระมิด แห่งนี ม้ ีความสูงประมาณ 105 เมตร ขนาดฐานกว้ างยาวด้ านละประมาณ 188 เมตร ภายในองค์ พี ร ะมิ ด มี ห้ องหลั ก ๆอยู่ ด้ วยกั น สามห้ อง ซึ่ ง ล้ วนแล้ วแต่ ส ร้ างด้ วย ศิลปะเพดานสูงแบบคอร์ เบลทั ้งสิ ้น ยังไม่มีนัก อี ยิป ต์ วิ ท ยาท่ า นใดตอบได้ ว่ าห้ องทัง้ สามที่ หน้ าตาคล้ ายกันไปหมดนี ้ใช้ ทาหน้ าที่อะไรกัน แน่ อีกทั ้งยังถูกสร้ างขึ ้นในระดับชั ้นที่แตกต่าง กันออกไปอีกด้ วย นอกจากนั ้นแล้ วพีระมิดแห่ง นี ้ยังมีทางเข้ าถึงสองทาง ทางหนึ่งอยู่ด้านทิศ เห นื อ เห มื อ น กั บ พี ระ มิ ด อ งค์ อื่ น ๆขอ ง ราชอาณาจักรเก่า ส่วนอีกทางหนึ่งอยูด่ ้ านทิศ ตะวันตกโดยเชื่ อมต่อเข้ ากับห้ องลาดับที่สาม ด้ านในองค์ พี ระมิ ด ซึ่ ง ตั ง้ อยู่ ร ะดั บ ผิ ว ดิ น โดยตรง
หนึ่ ง ในแนวคิ ด ที่ ฟั งดู ส มเหตุ ส มผล ที่สดุ ก็คือแรกเริ่มเดิมที พระองค์ตั ้งใจที่จะสร้ าง พีระมิดองค์ นี ้ให้ มีมมุ เอียงประมาณ 54 องศา แต่ เมื่ อ สร้ างไปได้ ระยะหนึ่ ง พี ระมิด แห่ งนี ก้ ็ ประสบปั ญหาเรื่ องการทรุ ดตัว มีหินฉาบองค์ พีระมิดมากมายเริ่ มที่จะหลุดร่ อนลงมา ทาให้ สถาปนิกชาวไอยคุปต์ตัดสินใจเปลี่ยนมุมชัน ด้ านบนให้ ลดลงจากเดิ ม ทั น ที จึ ง ปรากฏ ออกมาเป็ นพีระมิดหักมุมดังกล่าว ซึ่งจะเห็นได้ ว่ามุมชันขององค์พีระมิดด้ านบนนั ้นเท่ากับมุม ชันของพีระมิดแดง ซึ่งเป็ นพีระมิดแท้ แห่งแรกที่
รูปที่ 13 พีระมิดแดง ของฟาโรห์สเนฟรู
51
ทางด้ านทิศใต้ ขององค์พีระมิด ปรากฏ ให้ เห็นพีระมิดบริ วารสาหรับคาหรื อวิญญาณ ของฟาโรห์ เป็ นไปได้ ว่าพีระมิดบริวารเช่นนี ้จะ ได้ รับอิทธิพลมาจากสุสานทิศใต้ ที่สร้ างขึ ้นใน พีระมิดของเหล่าฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ 3 ด้ วย
พี ระมิด องค์ นี จ้ ะสร้ างขึ น้ ในภายหลั งโดยใช้ ประสบการณ์ ที่ ผ่านมาจากการสร้ างพี ระมิด โค้ ง จนสามารถทาให้ พีระมิดแท้ องค์ แรกของ โลกนี ้เสร็จสมบูรณ์ลงได้ ด้วยดี พีระมิดองค์นี ้มีความสูงราว 105 เมตร เท่ากับพีระมิดโค้ งแต่มีขนาดฐานที่ กว้ างใหญ่ กว่าอยู่ที่กว้ างยาวด้ านละประมาณ 220 เมตร ซึ่งสาเหตุที่พีระมิดแห่งนี ้ถูกเรี ยกว่าพีระมิดแดง ก็ เ ป็ นเพราะว่ า มั น ถู ก สร้ างขึ น้ จากหิ น ปู น ท้ อ งถิ่ นที่ มี สี แดงมากกว่ าปกติ เมื่ อยามต้ อ ง แสงสุ ริ ย าก็ จ ะท าให้ มั น ดู เป็ นสี แ ดงระเรื่ อ งดงามยิ่งนัก จึงได้ กลายมาเป็ นชื่ อ เรี ยกของ พีระมิดองค์นี ้ไปในที่สดุ
อีกสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจสาหรับพีระมิดโค้ ง แห่งนี ้ก็คือมีการสร้ างฉนวนทางเดินเชื่อมต่อไป ยังวิ ห ารหุบเขาเช่ น เดี ยวกับที่ เคยปรากฏกับ พี ระมิดไมดุมของฟาโรห์ ฮูนิ แต่ ยังไม่ปรากฏ วิห ารประกอบพิ ธี ศ พอย่า งชัด เจนเท่ า ใดนั ก หนึ่งในแนวคิดที่เสนอกันก็คือฟาโรห์สเนเฟอรู อาจจะต้ องการสร้ างพี ร ะมิ ด แห่ ง นี เ้ ป็ นแค่ “อนุสรณ์ สถาน” (Cenotaph) เท่านัน้ ไม่ได้ ใช้ เป็ นที่ ฝั งศพ จึ ง ยั ง ไม่ ไ ด้ สร้ างกลุ่ ม อาคาร ประกอบพี ร ะมิ ด อย่ า งสมบู ร ณ์ แบบ และ ทางด้ านฝั่ งตะวันออกขององค์พีระมิดก็มีเพียง แค่ห้องบูชาขนาดเล็ก พร้ อมแผ่นศิลาสองแผ่น คล้ ายคลึ ง กั บ ที่ ป รากฏอยู่ ท างด้ านฝั่ งทิ ศ ตะวันออกของพีระมิดไมดุมเช่นกัน
นักอียิปต์วิทยาเสนอว่า การที่ฟาโรห์ส เนเฟอรู พ ยายามเปลี่ ย นแนวคิ ด จากพี ระมิ ด ขั ้นบันไดมาเป็ นพี ระมิดแท้ อาจจะสะท้ อนให้ เห็ น ถึ ง การเปลี่ ย นทั ศ นคติ แ ละความเชื่ อ เกี่ยวกับกษัตริย์หรื อฟาโรห์ของพวกเขาไป โดย ตอกย ้าให้ เข้ ากับลัทธิบูชาดวงสุริยาให้ มากขึ ้น ก็ เป็ นได้ เพราะเดิ ม ที พี ระมิ ด มี ลัก ษณะของ ขั น้ บั น ไดเพื่ อ ให้ ฟาโรห์ ใช้ เดิ น ทางขึ น้ ไปยั ง ท้ องฟ้าเพื่ อรวมเป็ นหนึ่งเดี ยวกับสุริยเทพ แต่ ด้ วยลักษณะของพีระมิดแท้ ที่ผิวด้ านข้ างเรี ยบ เนียนนั ้นก็มีลกั ษณะที่คล้ ายคลึงกับลาแสงของ สุริยเทพที่สาดส่องลงมายังผืนโลกเช่นกัน แต่
พี ระมิดอี กองค์ หนึ่งที่ ฟาโรห์ สเนเฟอรู สร้ างเอาไว้ ทางตอนเหนือของพีระมิดโค้ งก็คือ พีระมิดแดง ซึ่งถือได้ ว่าเป็ นพีระมิดแท้ แห่งแรก ของโลก ด้ วยว่าพีระมิดแห่งนี ้มีการใช้ มมุ เอียง 43 องศา 36 ลิปดาซึ่งใกล้ เคียงกับส่วนบนของ พี ระมิดโค้ งมาก ทาให้ มีความเป็ นไปได้ สูงว่า 52
แท้ ที่จริงแล้ วแนวคิดนี ้จะถูกต้ องหรื อไม่ ก็ยงั ไม่ มีใครสามารถให้ คาตอบที่ ชัดเจนลงไปได้ ณ เวลานี ้
มหาพีระมิดแห่งกิซ่าเลยก็ว่าได้ เพราะพีระมิด ที่ ได้ รับ ตาแหน่งหนึ่ งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของ โลกยุ ค โบราณ ก็ ส ร้ างขึ น้ ในลั ก ษณ ะของ พีระมิดแท้ รับแบบมาจากรู ปทรงพีระมิดแดง ของฟาโรห์ ส เนเฟอรู นั่ น เองฟาโรห์ คูฟู เป็ นผู้ ริเริ่มการสร้ างพีระมิด ณ บริเวณที่ราบกิซ่าเป็ น พระองค์ แ รก พระองค์ ไ ม่ ไ ด้ วางแผนสร้ าง พีระมิดมากมายหลายแห่งดัง่ เช่นพระบิดา
ภายในองค์ พี ระมิด แดงก็ มี ห้ องหั บ ที่ ค่อนข้ างซับซ้ อนไม่ต่างไปจากพีระมิดโค้ ง ห้ อง ด้ านในยังมี การสร้ างเพดานสูงแบบคอร์ เบล อี ก ทั ง้ ยั ง มี ห้ องอยู่ ด้ วยกั น 3 ห้ องเฉกเช่ น พีระมิดโค้ งอีกด้ วย นักอียปิ ต์วิทยาเสนอกันว่า ห้ องที่ ตัง้ อยู่ด้ านบนสุด นัน้ น่ าจะเป็ นห้ อ งฝั ง พระศพของฟาโรห์สเนเฟอรู แต่กระนั ้นก็ยงั ไม่ มี ก ารค้ นพบพระศพของพระองค์ ภ ายใน พีระมิดองค์นี ้แต่อย่างใด หนึ่งในจุดเด่นของพีระมิดแดงก็คือการ ก่ อ สร้ างวิ ห ารประกอบพิ ธี ศ พทางด้ านทิ ศ ตะวัน ออกขององค์ พี ระมิด เป็ นครั ง้ แรกๆ ซึ่ ง ปั จจุบันได้ เสี ยหายไปหมดแล้ ว และกลายมา เป็ น ที่ ตั ้ง ข อ ง หิ น ป ระ ดั บ ย อ ด พี ระ มิ ด (Capstone) ซึ่ ง ถูก ค้ นพบใกล้ ๆกั บ ฐานของ องค์พีระมิดโดยนักโบราณคดีที่ทาการขุดค้ นที่ ดาห์ ชูร์ม ายาวนานหลายสิ บ ปี แต่ เป็ นที่ น่ า เสี ย ดายที่ หิ น ประดั บ ยอดพี ระมิ ด ชิ น้ นี ไ้ ม่ มี ร่องรอยการสลักเสลาใดๆ เอาไว้ ทาให้ เราไม่ได้ ข้ อมูลอะไรเกี่ยวกับพีระมิดแดงมากไปกว่านี ้
รูปที่ 14 ซากวิหารประกอบพิธศี พ ทางทิศตะวันออกของพีระมิดแดงเป็ น
พี ระมิด แดง ถื อ ว่า เป็ นต้ น แบบให้ กับ พีระมิดที่ยิ่งใหญ่ที่สดุ ในโลกโบราณอย่างกลุ่ม
ทีต ่ งั ้ ของหินประดับยอดพีระมิด
53
นอกจากนั ้นวิหารประกอบพิธีศพของ ฟาโรห์คูฟูยงั ได้ รับการปูพื ้นด้ วยหินบะซอลต์สี ดา มีโถงทางเข้ าและห้ องบูชาเทพเจ้ า โดยที่ ตรงกลางของห้ องเป็ นลานกว้ างที่รายล้ อมไป ด้ วยโถงเสา วิหารประกอบพิธีศพนี ้เชื่อมต่อกับ ฉนวนทางเดินระยะทางยาวร่วม 740 เมตร มุ่ง ตรงไปยังวิหารหุบเขาที่ตั ้งอยูต่ ิดกับแม่น ้าไนล์
อียปิ ต์วิทยาพบว่าปล่องอากาศเหล่านี ้ชี ้ออกไป ยังกลุ่ม ดาวต่ างๆเช่น ดาวนายพราน (Orion) หรื อดาวซิริอสุ (Sirius) ด้ วยเช่นกัน
ส่วนด้ านในองค์พีระมิดของฟาโรห์คูฟู นับได้ ว่ามีความซับซ้ อนกว่าพี ระมิดองค์ ก่อน ค่ อ นข้ า งมาก เป็ นไปได้ ว่ า พระองค์ วางแผน สร้ างห้ องใต้ ดิ นก่ อนเป็ นอัน ดับแรก แต่ ก็เกิ ด ต้ องการสร้ างห้ องที่ เ รี ย กว่ า “ห้ องราชิ นี ” (Queen’s Chamber) ในระดับสู งกว่ าพื น้ ดิ น เล็ก น้ อยขึน้ อี ก ห้ องหนึ่ ง และก็ ยังมี ก ารสร้ าง “ห้ องกษั ตริ ย์” (King Chamber) เพิ่มขึ ้นมาใน ภายหลังซึ่ งตั ง้ อยู่สูง ขึน้ ไปจากห้ อ งราชิ นี อี ก เล็กน้ อย ที่ น่ า สนใจคื อ ทั ง้ ห้ องราชิ นี แ ละห้ อง กษั ต ริ ย์ ล้ วนแล้ วแต่ มี “ปล่ อ งอากาศ” (Air Shaft) ป รา ก ฏ ให้ เห็ น ทั ้ง ส อ งห้ อ ง แ ต่ ดู เหมือนว่าปล่องนี ้จะไม่ได้ ทะลุออกไปด้ านนอก องค์ พี ระมิด ดังนัน้ มัน อาจจะไม่ได้ ท าหน้ า ที่ เป็ น “ปล่องอากาศ” ดังเช่นชื่อเรี ยกของมัน แต่ อาจจะสื่ อค วามหมายใน เชิ ง น ามธรรม บางอย่างเกี่ยวกับความตายก็เป็ นได้ เพราะนัก
รูปที่ 15 พีระมิดของฟาโรห์คฟ ู ู ถือได ้ว่ามี กลุม ่ อาคารประกอบพีระมิดทีส ่ มบูรณ์มาก ทีส ่ ด ุ แห่งหนึง่
รูปที่ 16 ปล่องอากาศจากห ้องในพีระมิด ี้ อกไปยังกลุม ของฟาโรห์คฟ ู ช ู อ ่ ดาวต่างๆบน ท ้องฟ้ า
54
เมื่ อ พิ จ ารณาที่ ห้ องฝั งศพหรื อ ห้ อง กษั ตริ ย์ก็จะพบว่าชาวไอยคุปต์ ใช้ หิ นแกรนิ ต คุณ ภาพดี จ ากอัส วานมาสร้ างทัง้ หมด สิ่ ง ที่ น่าสนใจก็คือหลังคาของห้ องฝั งพระศพนี ถ้ ูก สร้ างขึ น้ ในลัก ษณะที่ ค ล้ ายคลึ งกับห้ องหรื อ ช่องขนาดเล็ก 5 ห้ องซ้ อนกันในแนวดิ่ง ซึ่งนัก อียิปต์วิทยาบางท่านเสนอว่าเป็ นการกระจาย แรงที่กดลงมาในห้ องฝั งพระศพให้ ลดน้ อยลง แต่ ก ระนัน้ ก็ ยังไม่มี ใครทราบวัต ถุป ระสงค์ ที่ แท้ จริง เพราะไม่ปรากฏหลังคาห้ องฝั งพระศพ เช่นนี ้ในพีระมิดองค์อื่นๆอีก แต่กระนั ้นก็มีการ ค้ น พบพระนามของฟาโรห์ คูฟู ปรากฏอยู่ใน ช่อ งเล็ ก ๆเหนื อ หลังคาห้ อ งฝั งพระศพนี ด้ ้ ว ย เช่นกัน
และพีระมิดราชินีอีก 3 องค์ที่สร้ างเอาไว้ เคียง ข้ างทางฝั่ งทิศตะวันออกเท่านั ้น ในส่วนของพีระมิดฟาโรห์คาเฟรซึ่งมา สร้ างต่อจากพี ระมิดของฟาโรห์ คูฟูนั ้นมีความ สูงน้ อยกว่าราว 10 เมตร แต่ด้วยว่าตั ้งอยู่บน พื ้นที่สงู กว่าจึงดูเหมือนว่ามีขนาดที่ใหญ่โตกว่า ด้ านบนพี ระมิดยังคงมีหลักฐานของการฉาบ ตกแต่งผิวด้ านนอกด้ วยหินปูนให้ เรี ยบงดงาม อยู่ จึงดูคล้ ายว่าเป็ นพีระมิดสวมหมวก
อีกหนึ่งลักษณะเด่นของพีระมิดฟาโรห์ คู ฟู ก็ คื อ การส ร้ างห้ อ งโถงให ญ่ (Grand Gallery) ที่ ม่งุ ขึ ้นไปยังห้ องฝั งพระศพโดยการ ใช้ หลังคาแบบคอร์ เบลเข้ ามาผสมผสาน ทาให้ ได้ ห้องที่มีความโอ่โถงเป็ นอย่างมาก นับได้ ว่า พี ระมิ ด ของฟาโรห์ คู ฟู มี ค วามครบสมบู รณ์ ทางด้ านกลุม่ อาคารประกอบพีระมิดเป็ นลาดับ แรกในหน้ าประวัติศาสตร์ อียิปต์ โบราณเลยก็ ว่ า ได้ แต่ ก ลุ่ ม อาคารเหล่ า นี ผ้ ุ พั ง เสี ย หายไป หมดแล้ ว หลงเหลือเอาไว้ เพียงแค่องค์พีระมิด
รูปที่ 17 ภาพตัดแสดงให ้เห็นด ้านหน ้าและ ด ้านข ้างของเพดานห ้องฝั งพระศพของ ฟาโรห์คฟ ู ู
55
์ ต รูปที่ 18,19 ภาพถ่ายและแบบจาลองของพีระมิดฟาโรห์คาเฟร รวมถึงมหาสฟิ งซท ี่ งั ้ อยูด ่ ้านหน ้า ์ ริอเทพฮามาคิส มีวห ิ ารหุบเขาและวิหารทีอ ่ ท ุ ศ ิ แด่สฟิ งซห
56
ในส่ ว นของกลุ่ ม อาคารประกอบ พีระมิดนัน้ มีครบครันเช่นเดียวกันกับพีระมิด ของคู ฟู ทั ง้ วิ ห ารประกอบพิ ธี ศ พ ฉนวน ทางเดินและวิหารหุบเขาที่ปพู ื ้นห้ องด้ วยหินอ ลาบาสเตอร์ ทัง้ หมด โดยที่ ห้ อ งหับ ด้ า นใน พีระมิดค่อนข้ างเรี ยบง่ายกว่าของคูฟูมากนัก โดยมีเพียงแค่ห้องฝั งพระศพและห้ องเล็กๆอีก ห้ องหนึ่งซึง่ คาดว่าเป็ นห้ องเซอร์ ดบั สาหรับตัง้ รู ปสลักให้ เป็ นที่อยู่ของคาหรื อวิญ ญาณของ ฟาโรห์เท่านัน้
ปั กษ์ รักษา โดยในความเห็นของ ไดเตอร์ อาร์ โนลด์ (Dieter Arnold) ได้ เสนอแนวคิ ด ถึ ง หน้ าที่ ข องสฟิ งค์ ที่ ท าหน้ าที่ ใ นฐานะรู ป สัญ ลัก ษณ์ ที่ สื่ อ ถึ ง ฟาโรห์ แ ละสุ ริ ย เทพใน สภาวะหนึ่ง พี ระมิ ดองค์ เล็กที่ สุดในกิ ซ่าเป็ นของ ฟาโรห์ เ มนคาอู เ ร ซึ่ ง มี ค วามสู ง เพี ย งแค่ ประมาณ 66 เมตร และขนาดฐานประมาณ ด้ า นละ 108 เมตรเท่ า นัน้ โถงทางเดิ น และ ห้ องหับ ด้ า นในองค์ พี ร ะมิ ด มี ค วามซับ ซ้ อ น กว่ า พี ร ะมิ ด ของฟาโรห์ ค าเฟร โดยมี ก ลุ่ ม อาคารประกอบพีระมิดครบถ้ วนเช่นเดียวกัน
แต่ ก ลุ่ม อาคารประกอบพี ระมิ ด ของ ฟาโรห์ คาเฟรมี สิ่งหนึ่งที่ แตกต่างออกไปจาก พี ระมิด ในยุคก่อน นั่นก็คือมี การสร้ างสฟิ งซ์ (Sphinx) ขนาดใหญ่ ความยาวล าตั ว 73 เมตร สกั ด จากหิ น ก้ อนเดี ย ว ขึ น้ เคี ย งข้ าง ฉนวนทางเดินและวิหารหุบเขา ซึ่งเชื่ อกันว่า เป็ นเทพเจ้ าที่ คอยปกปั กษ์ รักษาองค์ พีระมิด นัก อี ยิ ป ต์ วิท ยาบางท่ านเสนอว่าอาจจะมี ส ฟิ งซ์ อี ก ร่ า งหนึ่ ง อยู่ ท างด้ านฝั่ ง ตะวัน ออก เพราะชาวไอยคุปต์ ชอบสร้ างสิ่งต่างๆเป็ นคู่ แต่ก็ยงั ไม่พบหลักฐานของสฟิ งซ์อีกองค์หนึ่ง แต่อย่างใด
จุด เด่ น ประการหนึ่ งของพี ระมิ ด ของ ฟ าโรห์ เม น ค าอู เ รก็ คื อก ารหุ้ ม พี ระมิ ด ประมาณหนึ่งในสามของความสูงจากบริเวณ ฐานด้ วยหินแกรนิต ซึ่งนับได้ วา่ แปลกออกไป จากพี ร ะมิ ด องค์ ก่ อ นเป็ นอย่ า งมาก มี ก าร เสนอกันว่าบางทีพระองค์อาจจะต้ องการหุ้ม พี ร ะมิ ด ทั ง้ หมดเอาไว้ ด้ วยหิ น แกรนิ ต แต่ อาจจะเกิดเหตุการณ์ ทางการเมื องบางอย่าง หรื อพระองค์อาจจะสิ ้นพระชนม์ไปก่อนทาให้ สามารถหุ้มได้ เพี ยงแค่ 16 แถวหรื อเพี ยงแค่ หนึ่งในสามของความสูงองค์พีระมิดเท่านัน้
นอกจากนี ย้ ั ง มี ท ฤษฎี อื่ น กล่ า วถึ ง สฟิ งค์ ที่ เสนอว่าอาจไม่ ได้ ท าหน้ าที่ เพื่ อปก 57
ทางด้ านทิ ศ ใต้ ข ององค์ พี ร ะมิ ด เป็ น ที่ ตัง้ ของพี ระมิ ดราชินี สามองค์ เหมื อนดัง ที่ ปรากฏแล้ วทางฝั่ งตะวันออกของพี ระมิดของ ฟาโรห์ คู ฟู ทางด้ านกลุ่ ม อาคารประกอบ พีระมิดอื่นๆ ดังเช่นวิหารประกอบพิธีศพและ วิห ารหุบ เขามี แผนผังและห้ องหับ ที่ ซบั ซ้ อน มากยิ่งขึน้ ถือเป็ นต้ นแบบให้ กบั กลุ่มพีระมิด ในราชวงศ์ที่ 5 ในอบูเซียร์ และซัคคาร่ า ที่เริ่ ม ลดขนาดขององค์ พีระมิดลงแต่มาเพิ่ม ความ ซับซ้ อนให้ กบั กลุ่มวิหารและอาคารประกอบ พีระมิดแทน มีนกั อียิปต์วทิ ยาเสนอว่า กลุม่ พีระมิด ทั ง้ สามองค์ ข องกิ ซ่ า นั น้ เมื่ อ ลองลากเส้ น เชื่ อ มมุ ม ด้ านทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ของ พีระมิดทัง้ 3 องค์เข้ าด้ วยกัน มันจะสามารถ เชื่ อมต่อกันได้ ด้วยเส้ นตรงเพี ยงแค่เส้ นเดี ยว และที่สาคัญก็คือเส้ นตรงหรื อ “เส้ นแกนกิซ่า” (Giza Axis) ที่ถกู สร้ างขึ ้นมานี ้เมื่อลากยาวไป จนถึ ง ฝั่ ง ตะวัน ออกของแม่ น า้ ไนล์ แ ล้ ว จะ พบว่ามันชีไ้ ปยังนครเฮลิโอโพลิส ซึ่งเป็ นนคร แห่งดวงสุริยาในสมัยราชอาณาจักรเก่าด้ วย สิง่ นี ้แสดงให้ เห็นว่านี่อาจจะเป็ นการพยายาม เชื่อมโยงองค์พีระมิดเข้ ากับลัทธิการบูชาดวง สุริยาของชาวอียิปต์โบราณก็เป็ นได้
รูปที่ 20
บริเวณสว่ นฐานพีระมิดของ
ฟาโรห์เมนคาอูเรมีหลักฐานของการหุ ้มด ้วย หินแกรนิตปรากฏให ้เห็น
รูปที่ 21
้ ื่ มต่อพีระมิด เสนแกนกิ ซา่ ทีเ่ ชอ
ทัง้ สามองค์เข ้าไว ้ด ้วยกันพุง่ ตรงไปยังนครเฮ ลิโอโพลิสทางตะวันออก
58
แกนของพีระมิดที่ชี ้ไปยังนครเฮลิโอโพ ลิสเพื่ อสื่ อถึ งการเชื่ อมโยงกับสุริยเทพเช่ น นี ้ ไม่ได้ ปรากฏเฉพาะกลุ่มพีระมิดที่กิซ่าเท่านัน้ แต่ยงั ปรากฏที่นครสุสานอบูเซียร์ ในราชวงศ์ที่ 5 และกลุ่ม พี ระมิ ด อื่ น ๆด้ วย ซึ่งจะขอน าไป เสนออี ก ครัง้ หนึ่ งในบทวิเคราะห์ ส่วนที่ สี่ว่า ด้ วยอิ ท ธิ พ ลของสุ ริ ย เทพต่ อ รู ป แบบทาง สถาปั ตยกรรมในสมัยราชอาณาจักรเก่า หลั ง จากสิ น้ สุ ด ราชวงศ์ ที่ 4 แล้ ว ฟ า โ ร ห์ แ ห่ ง ร า ช ว ง ศ์ ที่ 5 ไ ด้ ส ร้ า ง สถาปั ตยกรรมที่เชื่อมโยงพวกเขาเข้ ากับสุริย เทพนี ้ได้ อย่างชัดเจนยิ่งขึ ้นด้ วยการสร้ างวิหาร รู ป แบบใหม่ ขึ น้ มาซึ่ ง ก็ คื อ “วิ ห ารสุ ริ ย ะ” นัน่ เอง
59
สถาปั ตยกรรมของพี ร ะมิ ด ในสมั ย ราชวงศ์ที่ 5 เป็ นเสมือนรากฐานให้ กับพีระมิด ในยุคต่อไปของราชอาณาจักรเก่า เหล่าฟาโรห์ แห่งราชวงศ์ที่ 5 ได้ มีการประยุกต์รูปแบบของ พี ระมิดและกลุ่ม อาคารประกอบพี ระมิดของ เหล่าฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ 4 มาใช้ ซึ่งจุดเด่นที่ เกิ ด ขึ น้ ก็ คื อ การพยายามลดขนาดขององค์ พี ร ะมิ ด ที่ เ คยยิ่ ง ใหญ่ สู ง กว่ า ร้ อยเมตรให้ มี ขนาดเล็กลง แต่เพิ่มความซับซ้ อนและบทบาท ให้ กับวิหารประกอบพิธีศพมากขึ ้น ดังที่เราจะ เห็ นได้ ชัด เจนจากเหล่ าพี ระมิดที่ ส ร้ างในนค รอบูเซียร์ โดยเฉพาะของฟาโรห์ ซาฮูเรที่ กาลัง จะกล่ า วโดยละเอี ย ดในส่ วนที่ ส ามซึ่ งพูด ถึ ง กลุ่มอาคารในนครสุสานอบูเซียร์ โดยตรง
ซั ค คาร่ า โดยที่ ใ นบทสถาปั ตยกรรมของ พีระมิดในราชวงศ์ที่ 5 นี ้จะขออนุญาตกล่าวถึง พี ระมิดที่ ป รากฏในนครซัค คาร่ าเท่ านัน้ โดย พี ระมิด แห่ งอบูเซี ย ร์ ทัง้ หมดจะขอยกยอดไป กล่าวถึงรายละเอี ย ดของแต่ละองค์ ในส่วนที่ สามทีเดียว อูเซรคาฟคื อฟาโรห์ พ ระองค์ แรกของ ราชวงศ์ที่ 5 พระองค์ย้อนกลับไปสร้ างพีระมิด ที่ น ค ร สุ ส า น ซั ค ค า ร่ า ท า ง ด้ า น ทิ ศ ตะวันออกเฉี ยงเหนือของพี ระมิดของฟาโรห์ ด โจเซอร์ ซึ่ ง อาจจะเป็ นไปได้ ว่ า อู เ ซรคาฟ ต้ องการที่จะเชื่อมโยงพีระมิดของพระองค์เอง เข้ ากับบรรพบุรุษ พีระมิดแห่งนี ้นับว่ามีความ โดดเด่นแตกต่างจากพีระมิดองค์อื่นๆในอียปิ ต์ โบราณ เนื่ อ งจากโดยปกติ แล้ ว เหล่ าฟาโรห์ มัก จะวางวิ ห ารประกอบพิ ธี ศ พของตนเอง เอาไว้ ทางด้ านทิศตะวันออกขององค์พี ระมิด เพื่ อเชื่อมต่ อกับฉนวนทางเดินไปยังวิหารหุบ เขาริมแม่น ้าไนล์ แต่พีระมิดของอูเซรคาฟกลับ ไม่เป็ นเช่นนั ้น
ดั ง ที่ ไ ด้ ก ล่ า ว ไ ป แ ล้ ว ใ น บ ท ประวั ติ ศ าสตร์ ว่ า ราชวงศ์ ที่ 5 นั น้ มี ฟ าโรห์ ปกครองอยู่ ด้ วยกั น 9 พ ระองค์ โดยที่ 5 พระองค์ในนั ้นเลือกที่จะสร้ างสุสานของตนเอง เอาไว้ ที่อบูเซียร์ และอีก 4 พระองค์ เลือกที่จะ สร้ างสุสานที่
60
นัก อี ยิป ต์ วิ ท ยาหลายท่ า นต่ างตัง้ ข้ อ สงสัยและตั ้งเป็ นสมมติฐานเอาไว้ เพื่ออธิบาย โดยมีแนวคิดต่างๆดังนี ้ แนวคิดแรกมีการเสนอกันว่าพื ้นที่ ทาง ฝั่ งตะวันออกของพีระมิด ซึ่งกาลังจะเป็ นที่ตัง้ ของวิหารประกอบพิธีศพนั ้นไม่มีความแข็งแรง เพียงพอที่จะตั ้งโครงสร้ างขนาดใหญ่ได้ จึงต้ อง ท าการปรั บ เปลี่ ย นที่ ตั ง้ ไปยั ง ฝั่ งทิ ศ ใต้ ซึ่ ง แนวคิดนี ้ก็ก่อให้ เกิดคาถามตามมาว่า ในเมื่ออู เซรคาฟทราบดี ว่าตาแหน่งนี ไ้ ม่เหมาะสมกับ การสร้ างพี ระมิ ด และกลุ่ ม อาคารประกอบ พี ระมิ ด แล้ วเหตุ ใดพระองค์ จึ ง ยัง คงเลื อ ก ตาแหน่งนี ้ในการสร้ างพีระมิดอีกเล่า แสดงว่า ต า แ ห น่ ง ที่ ตั ้ ง พี ระ มิ ด ต รง นี ้ จ ะ ต้ อ ง มี ความสาคัญบางอย่างกับอูเซรคาฟเป็ นแน่ อี ก แนวคิ ด หนึ่ ง เสนอว่ า อู เซรคาฟคื อ ฟาโรห์ พ ระองค์ แรกที่ สร้ างท าการสร้ างวิห าร สุ ริ ย ะขึ น้ ที่ นครอบู เ ซี ยร์ แสดงให้ เห็ นว่ า พระองค์พยายาม เชื่ อมโยงตัวเองเข้ ากับลัทธิ การบูชา สุริยเทพนั่นจึงมีความเป็ นไปได้ ว่า ถ้ าพระองค์ตั ้งวิหารประกอบพิธีศพเอาไว้ ที่ฝั่ง ตะวัน ออกขององค์ พี ระมิ ด วิ ห ารแห่ ง นี ก้ ็ จ ะ ไม่ได้ รับแสงของดวงสุริยาอย่างเต็มที่ เพราะ เมื่อดวงอาทิตย์ใกล้ จะลับขอบฟ้าทางตะวันตก ตัวพีระมิดเองก็จะบดบังแสงอาทิตย์จนสิ ้น
รูปที่ 22 พีระมิดของฟาโรห์อเู ซอร์คาฟมี ขนาดเล็กกว่าพีระมิดของเหล่าฟาโรห์แห่ง ์ ี่ 4 ราชวงศท
รูปที่ 23 แผนผังพีระมิดของฟาโรห์อเู ซร คาฟ พระองค์วางวิหารประกอบพิธศ ี พเอาไว ้ ทางทิศใต ้
61
ทาให้ ไม่สามารถสาดส่องมายังวิหารประกอบ พิธีศ พได้ เลย นั่นจึ งทาให้ อูเ ซรคาฟตัด สิน ใจ สร้ างวิ ห ารเอาไว้ ทางทิ ศ ใต้ เพื่ อ ให้ ต้ องแสง สุริยาตลอดทั ้งวันนั่นเอง แต่จนถึงปั จจุบนั ก็ยงั ไม่มีนักอียิปต์ วิทยาท่านใดให้ คาตอบที่ แน่ชัด ลงไปได้ ว่าแนวคิดใดกันแน่ที่ถกู ต้ อง
เลื อ กที่ ตั ง้ บริ เวณนี เ้ พราะมี วิ ห ารสุ ริย ะของ ฟาโรห์อเู ซรคาฟตั ้งอยูก่ ่อนแล้ วด้ วยก็เป็ นได้ หลังจากฟาโรห์นิอูเซอร์ เรสร้ างพีระมิด องค์ สุ ด ท้ ายขึ น้ บนพื น้ ที่ น ครสุ ส านอบู เ ซี ย ร์ ฟาโรห์เมนคาอูฮอร์ ย้อนกลับมาสร้ างพีระมิดที่ ซั ค คาร่ า อี ก ครั ง้ เป็ นไปได้ ว่ า พี ร ะมิ ด ของ พระองค์คือพีระมิดไร้ หวั (Headless Pyramid) ที่เพิ่งประกาศการค้ นพบอย่างเป็ นทางการไป เมื่อเดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2551 ที่ผ่านมาโดยที่ ยัง ไม่ มี รายละเอี ย ดทางสถาปั ต ยกรรมของ พีระมิดองค์นี ้ออกมาให้ ศึกษามากนัก
สาหรั บองค์ พี ระมิด ของอูเซรคาฟเอง นั ้นมีขนาดเล็กมาก ด้ วยความสูงเพียงแค่ราว 49 เมตร ขนาดฐานประมาณ 73 เมตร ห้ องหับ ภายในไม่ซบั ซ้ อน มีเพียงทางเดินตรงยาวลงไป ยัง ห้ องฝั งพระศพที่ ตั ง้ อยู่กึ่ ง กลางของฐาน พีระมิด กล่าวคือถ้ าลากเส้ นตรงแนวดิ่งขึ ้นไปก็ จะตรงกับยอดพีระมิดพอดี ด้ านในห้ องฝั งพระ ศพของอูเซรคาฟมีโลงศพที่ทาจากหินบะซอลต์ ตัง้ อยู่แ ต่ ไม่พ บอะไรในนั น้ และด้ วยว่ า กลุ่ ม วิหารประกอบพิธีศพของอูเซรคาฟถูกโยกย้ าย มาตั ้งเอาไว้ ที่ฝั่งทิศใต้ ทาให้ พีระมิดบริวาร ซึ่ง เหล่าฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ 5 ในยุคต่อมามักจะ วางเอาไว้ ท างทิ ศตะวันออกเฉี ย งใต้ ขององค์ พี ระมิ ด หลั ก ต้ องถูก โยกย้ า ยมาอยู่ที่ ฝั่ งทิ ศ ตะวันตกเฉียงใต้ ตามไปด้ วย
ฟาโรห์ ด เจดคาเร อี ซี ซิ ยั ง คงสร้ าง พีระมิดที่ซคั คาร่า พีระมิดของพระองค์มีความ โดดเด่ น ทางสถาปั ต ยกรรมอยู่ที่ โครงสร้ างที่ ปรากฏอี ก ครั ง้ หนึ่ งหลั งจากที่ เคยปรากฏไป แล้ วในกลุ่มวิหารประกอบพีระมิด ของฟาโรห์นิ อูเซอร์ เรนั่น ก็ คือ “ไพลอน” (Pylon) ที่ เป็ นซุ้ ม ประตูทางเข้ าวิหารตัง้ แต่ สมัยราชอาณาจัก ร ใหม่เป็ นต้ นมาแทบจะทุกวิหารเลยก็ว่าได้ ไพลอนที่วา่ นี ้ตั ้งขนาบข้ างทางเข้ าไป ยังวิหารประกอบพิธีศพ คล้ ายคลึงกับพีระมิด ของฟาโรห์นิอเู ซอร์ เร จะแตกต่างกันเล็กน้ อยก็ คือไพลอนของนิอเู ซอร์ เรนั ้นเป็ นสี่เหลี่ยมผืนผ้ า และไพลอนของดเจดคาเร อีซีซิมีผงั เป็ น สี่เหลี่ยมจัตรุ ัส
หลังจากรั ชสมัยของฟาโรห์ อูเซรคาฟ สิ น้ สุ ด ลง ฟาโรห์ ที่ ค รองราชย์ ต่ อ มาอี ก 5 พระองค์ ได้ เลื อ กสถานที่ ส ร้ างพี ระมิด ที่ น คร สุสานอบูเซียร์ โดยอาจจะเป็ นไปได้ ว่าพระองค์ 62
โถงทางเดินด้ านในองค์พีระมิดมีความ คล้ ายคลึ ง กับ พี ระมิด แห่ งราชวงศ์ ที่ 5 ที่ อ บู เซียร์ คือประกอบไปด้ วยโถงทางเดินทอดยาว ลงไปยั ง ห้ องฝั งพระศพที่ ตั ง้ อยู่ ต าแหน่ ง เดียวกับจุดยอดของพีระมิด ทางทิศตะวันออก ประดั บ ไปด้ วยห้ องเก็ บ ของสามห้ อง โดย รู ป แบบการวางผัง ของห้ อ งหับ ต่ า งๆด้ า นใน องค์ พี ระมิด รวมทัง้ แผนผั งของห้ องในวิ ห าร ประกอบพิธีศพของดเจดคาเร อีซีซิ นั ้นเริ่ มที่จะ เป็ นต้ นแบบของ
พีระมิดนั ้นเริ่ มที่จะเป็ นต้ นแบบของพี ระมิดใน ยุคต่อไปทัง้ ของฟาโรห์อูนาสและเหล่าฟาโรห์ แห่ ง ราชวงศ์ ที่ 6 ด้ วยเช่ น กั น จุ ด เด่ น อี ก ประการหนึ่งของวิหารหุบเขาของฟาโรห์ดเจด คาเร อีซีซิคือการใช้ หินแกรนิตเป็ นคานพาดหัว เสา (Architrave) ส่ ว นผนัง ห้ องนั น้ ใช้ หิ น ปูน และอิฐสอโคลนเป็ นวัสดุหลักในการก่อสร้ าง สาหรับองค์พีระมิดเองนัน้ มีขนาดฐาน ราว 78.75 เมตร สู ง ประมาณ 52.5 เมตร นับว่าเป็ นพีระมิดขนาดเล็กและก็ใกล้ เคียงกับ พีระมิดองค์อื่นๆในราชวงศ์ที่ 5 เช่นกัน
รูป ที่ 24 แบบจาลองพีร ะมิด ของฟาโรห์ด เจดคาเร อี ซ ี ซ ิ มี โ ครงสร า้ งไพ ลอนแ บ บ สเี่ หลีย ่ มจัตรุ ัสอยูด ่ ้านหน ้า
63
ฟาโรห์องค์สดุ ท้ ายของราชวงศ์นี ้คืออู นาส พระองค์ เลือกที่ ตงั ้ พี ระมิดใกล้ เคี ยงกับ พีระมิดขันบั ้ นไดของฟาโรห์ดโจเซอร์ เฉกเช่นที่ อูเซรคาฟเคยกระท ามาก่ อน แต่ ค รั ง้ นี อ้ ูน า สเลือกที่ตงพี ั ้ ระมิดที่มมุ ด้ านทิศตะวันตกเฉียง ใต้ ของดโจเซอร์ ซึ่งเมื่อมองพีระมิดทัง้ 3 องค์ นี เ้ ป็ นกลุ่ม ก้ อนเดี ย วกัน แล้ ว ก็จะพบว่าอูน า สเลือกที่จะสร้ างพีระมิดในตาแหน่งที่สามารถ สร้ าง “แนวแกน” (Axis) เชื่ อมต่อระหว่างมุม ด้ านทิศตะวันออกเฉียงใต้ ของพีระมิดทังสาม ้ องค์ ก็ คื อของอูน าส ดโจเซอร์ แ ละอูเซรคาฟ เข้ าด้ วยกั น เป็ นเส้ นเดี ย วได้ ซึ่ ง การสร้ าง แนวแกนเช่ น นี เ้ คยปรากฏมาแล้ ว ในกลุ่ ม พี ร ะมิ ด ของกิ ซ่ า และอบู เซี ย ร์ ซึ่ ง แสดงถึ ง ความจงใจในการเลือกตาแหน่งที่ ตงั ้ พี ระมิด ดังนัน้ ถ้ าย้ อ นกลับ ไปหาการเลื อกต าแหน่ ง ของอูเซรคาฟฟาโรห์องค์แรกของราชวงศ์ที่ 5 กันอีกครัง้ หนึ่ง ที่ตงใจเลื ั้ อกตาแหน่งที่ผืนดิน ของวิห ารประกอบพิ ธีศพด้ านทิศ ตะวันออก ไม่ แข็งแรงพอจนต้ องเปลี่ย นไปสร้ างทางฝั่ ง ทิ ศ ใต้ แท น นั น้ แปลว่ า พ ระองค์ อาจจะ จาเป็ นต้ องใช้ ตาแหน่งนี ้เพื่อเป็ นต้ นกาเนิดให้ สามารถสร้ างแนวแกนเช่ น นี ไ้ ด้ ในรุ่ น ต่ อไป ด้ วยก็เป็ นได้
พีระมิดของอูนาสมีขนาดความสูงราว 43 เมตร ขนาดฐานประมาณด้ า นละ 57.5 เมตร รู ปแบบวิหารประกอบพิธีศพของอูนาส นัน้ ใกล้ เคี ย งกับ ของฟาโรห์ ด เจดคาเร อี ซี ซิ มาก เพี ย งแค่ ไม่ มี ไพลอนเท่ า นั น้ (กระนั น้ หนังสื อ การก่ อ สร้ า งพี ระมิ ด แห่ งอาณาจัก ร อียิ ป ต์ โบราณของ รศ.อภิ ชา ภาอารยพัฒ น์ กลับ กล่าวว่าพี ระมิ ด แห่ งนี ม้ ี ไพลอนเช่ น กัน แต่ว่ามีขนาดเล็กกว่า) แต่ผงั โดยรวมของห้ อง หับต่างๆที่ปรากฏทังในวิ ้ หารประกอบพิธีศ พ และโถงทางเดิ น รวมทัง้ รู ป แบบการจัด เรี ย ง ห้ องฝั ง พระศพนัน้ เหมื อนกัน เป็ นอย่ า งมาก และมันยังเป็ นรู ปแบบมาตรฐานให้ กับเหล่า ฟาโรห์ในสมัยราชวงศ์ที่ 6 อีกด้ วย แต่สิ่งหนึ่งที่ พิเศษกว่าพี ระมิดองค์อื่น ก็คื อ ภายในห้ องฝั งพระศพและห้ องรั บ รอง (Antechamber) ด้ านในองค์ พี ร ะมิ ด ของอู นาสนัน้ เต็ม ไปด้ วย “จารึ กพี ระมิด ” เป็ นครัง้ แรก ซึ่งเป็ นคัมภี ร์ที่จะใช้ ส่งฟาโรห์ขึน้ ไปรวม กับสุริยเทพบนฟากฟ้า ถือได้ ว่าเป็ นต้ นแบบ ของคัมภีร์เกี่ยวกับการเดินทางหลังความตาย ในยุคต่อมาด้ วย นอกจากนัน้ ด้ านบนเพดาน ของห้ อ งฝั งศพและห้ อ งรั บ รองก็ ป ระดับ ไป ด้ วยภาพของดวงดาวห้ าแฉกตามสไตล์อียิปต์
64
โบราณ เพื่ อจาลองท้ องฟ้าในยามราตรี ซึ่งถื อ ว่าเป็ นโลกที่ เรี ยกว่า “ดูอตั ” (Duat) ที่ ซึ่งสุริย เทพจะเดินทางไปในทุกค่าคืนด้ วย
พี ร ะมิ ด ของฟาโรห์ อูน าสทรุ ด โทรม เป็ นอย่ า งมาก โดยที่ ใ นสมัย ราชวงศ์ ที่ 19 เจ้ าชายคาเอมวาเซต (Khaemwaset) โอรส ของฟาโรห์ ร ามเสสที่ 2 ได้ เดิ น ทางมายั ง พี ร ะมิ ด แห่ ง นี ้ ท าการบู ร ณะและจารึ ก ถึ ง กรณี ย กิ จ ในครั ง้ นี ข้ องพระองค์ เองเอาไว้ ที่ ผนังฝั่ งทิศใต้ ด้านนอกองค์พีระมิดของฟาโรห์ อูนาสด้ วย
อี ก สิ่งหนึ่ งที่ น่ าสนใจของกลุ่ม วิห าร ประกอบพีระมิดของฟาโรห์ อนู าสก็คือฉนวน ทางเดินที่มีความยาวร่วม 1 กิโลเมตร ที่เชื่อม ตรงไปยังวิหารหุบเขา นักอียิปต์วิทยาค้ นพบ ภาพสลักนูนต่ ามากมาย บอกเล่าถึงการขน ย้ ายเสาหิ น แกรนิ ต ทรงต้ น ปาล์ ม มาจากอัส วานด้ วยเรื อ อีกทังยั ้ งมีภาพที่แสดงให้ เห็นถึง ภาวะขาดแคลนอาหาร (Famine) โดยแสดง ด้ วยภาพคนผอมแห้ ง ทาให้ นักอียิ ปต์ วิทยา ตี ค วามว่า มัน อาจจะเกี่ ย วข้ องกับ ภัย แล้ ง ที่ เป็ นต้ นเหตุให้ ราชอาณาจักรเก่าต้ องล่มสลาย ลงไปด้ วยก็เป็ นได้
รูปที่ 25
ภาพการขนย ้ายเสาปาล์มจากอัส
วานด ว้ ยเรือ ปรากฏให เ้ ห็ น บนผนั ง ทางเดิน ฉนวนของฟาโรห์อน ู าส
รูปที่ 26
แผนผังด ้านในพีระมิดของ
ฟาโรห์อน ู าสเป็ นต ้นแบบให ้กับพีระมิดองค์ อืน ่ ๆของราชอาณาจักรเก่า
65
รูปที่ 27 ภาพวาดจาลองลานกว ้างภายในวิหารประกอบพิธศี พของซาฮูเร จากหนังสอื Das Grabdenkmal des Konigs Sahure
66
เราได้ กล่าวถึงพีระมิดของฟาโรห์อนู าส ซึ่งเป็ นฟาโรห์องค์สุดท้ ายของราชวงศ์ที่ 5 กัน ไปในตอนท้ ายของบทที่ แล้ ว ซึ่ งรู ป แบบทาง สถาปั ตยกรรมของพี ระมิ ด และกลุ่ ม อาคาร ประกอบพีระมิดของเหล่าฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ 6 นี ้ก็แทบจะถือได้ ว่าลอกเลียนมาจากพีระมิด ของฟาโรห์ อู น าสเกื อ บทั ง้ หมดเลยก็ ว่ า ได้ เพราะแผนผัง รู ปแบบและขนาดนัน้ มี ค วาม ใกล้ เคียงกันเป็ นอย่างมาก และยังตั ้งอยูท่ ี่นคร ซัคคาร่าทั ้งหมดด้ วยเช่นกัน พี ระมิ ด ในราชวงศ์ ที่ 6 นั บ ว่ า เป็ น พี ระมิด ในราชวงศ์ สุด ท้ า ยของอี ยิปต์ โบราณ แม้ ว่าในราชวงศ์ นี จ้ ะมี ฟาโรห์ ปกครองอยู่ถึ ง ราว 7 พระองค์ ถ้ารวมฟาโรห์ หญิงนิโตคริ สซึ่ง ปกครองเป็ นองค์ สุ ด ท้ ายเข้ าไปด้ วย แต่ ราชวงศ์ นี ก้ ลั บ มี พี ระมิ ด อยู่เพี ย งแค่ 4 แห่ ง เท่านั ้น นัน่ ก็คือพีระมิดของฟาโรห์เตติ เปปิ ที่ 1 เมเรนเรที่ 1 และเปปิ ที่ 2 โดยพี ร ะมิ ด ของ ฟาโรห์ เปปิ ที่ 2 คื อ พี ระมิด ที่ ส มบูรณ์ ที่ สุด ใน ราชวงศ์นี ้ โดยมีกลุ่มอาคารประกอบพีระมิดที่ สมบูรณ์ที่สดุ พร้ อมด้ วยพีระมิดขององค์ราชินี อยูเ่ คียงข้ างอีก 2 องค์ด้วยกัน
์ ี่ รูปที่ 28 ผังพีระมิดของฟาโรห์ในราชวงศท 6 มีแบบแผนเดียวกันทัง้ หมด โดยพีระมิดของ ฟาโรห์เ ปปิ ที่ 2 ในภาพนี้ ม ีพี ร ะมิด ขององค์ ราช ินี ผ นวกเข า้ มาอี ก 2 องค์ ท างด า้ นทิ ศ ตะวันตกเฉียงเหนือ
67
จากข้ อมูลที่ เรี ยบเรี ยงโดยมาร์ ก เลห์ เน อ ร์ (Mark Lehner) นั ก อี ยิ ป ต์ วิ ท ย า ผู้ เชี่ ย วชาญ ด้ านพี ร ะมิ ด ที่ เขี ย นเอาไว้ ใ น ห นั งสื อ The Complete Pyramids ได้ ให้ ตัวเลขความสูง ความชันและขนาดฐานของ พีระมิดทัง้ 4 องค์ นี ้เอาไว้ ด้วยตัวเลขเดียวกัน นัน่ ก็คือสูง 52.5 เมตร ขนาดฐานกว้ าง 78.75 เมตร และมี มุม ชัน ที่ 53 องศา 7 ลิ ป ดา 48 พิ ลิ ป ด าเท่ ากั น ทั ้ง ห ม ด อี ก ทั ้ง รู ป แบ บ สถาปั ตยกรรมของกลุ่ ม อาคารประกอบ พีระมิดที่เมื่อดูแผนผังและรู ปแบบแล้ วก็แทบ จะไม่มีความแตกต่างกันเลย
ห้ องที่ อยู่ด้านในที่ สดุ ติดกับองค์ พีระมิดก็คือ ห้ องบู ช า (Sanctuary) ที่ ซึ่ ง เป็ น ที่ ตั ง้ ของ ประตูป ลอม (False Door) ให้ คาของฟาโรห์ ได้ ออกมารับเครื่ องบรรณาการที่ มีคนนามา ถวาย ด้ า นทิ ศ ตะวัน ออกเฉี ย งใต้ ขององค์ พี ระมิ ด หลัก จะเป็ นที่ ตัง้ ของพี ระมิ ดบริ วาร ซึง่ การตังพี ้ ระมิดบริ วารที่มมุ ด้ านนี ้ปรากฏให้ เห็ น ในพี ร ะมิ ด ทั ง้ 4 องค์ ข องราชวงศ์ ที่ 6 ประหนึ่งว่ามันถูกคัดลอกกันมาอย่างจงใจก็ ไม่ปาน นอกจากนั น้ เมื่ อ ดู แ ผนผัง ห้ องหั บ ทางเดินด้ านในแล้ ว พี ระมิดทัง้ 4 องค์ ก็ยังมี องค์ ป ระกอบเหมื อ นกัน ไม่ มี ผิด เพี ย้ น ด้ ว ย ช่องทางเดิน จากทางทิศ เหนื อที่ น าพาไปยัง ห้ อ งฝั ง พระศพกลางองค์ พี ร ะมิ ด ที่ ป กคลุม ด้ วยหลังคาแบบทรงจัว่ และมีห้องเก็บของ 3 ห้ องวางตัวอยู่ทางทิศตะวันออก และที่สาคัญ ก็ คื อ ภายในองค์ พี ร ะมิ ด มี ก ารสลัก “จารึ ก พีระมิด” ซึ่งเป็ นคัมภีร์สาหรับการเดินทางไป รวมกับสุริยเทพขององค์ ฟาโรห์ จารึ กอยู่เต็ ม ผนังเหมือนกันอีกด้ วย
วิหารประกอบพิธีศพของเหล่าฟาโรห์ ในราชวงศ์ ที่ 6 ตัง้ อยู่ทางทิ ศ ตะวันออกของ องค์ พี ระมิ ด เฉกเช่ น พี ระมิ ด ในราชวงศ์ อื่น ๆ เพื่ อเชื่ อมต่อกับทางเดินฉนวนที่ต่อยาวไปถึง วิหารหุบเขาซึ่งสร้ างติดกับแม่น ้าไนล์ รู ปแบบ ของวิหารประกอบพิธีศพจะมีองค์ประกอบที่ เหมื อ นกั น คื อ ถั ด จากฉนวนทางเดิ น จะ เชื่ อมต่ อกับ โถงทางเข้ า (Entrance Hall) ซึ่ง นาพาไปยังลานเปิ ดกว้ าง (Open Court) โดย ที่ด้านในใกล้ องค์พีระมิดจะมีห้องบูชา 5 ห้ อง (Five Niches) สาหรับตังรู้ ปสลัก โดยที่มีห้อง เก็ บ ของจานวนมากสร้ างอยู่ร ายล้ อม ส่ ว น
ความโดดเด่นที่อาจจะแตกต่างกันไป บ้ า งของพี ร ะมิ ด ในราชวงศ์ ที่ 6 นี ค้ ื อ เรื่ อ ง 68
รายละเอีย ดในการใช้ วสั ดุในส่วนต่ างๆของ พี ระมิ ด อย่ างเช่ น ฟาโรห์ เตติ เลื อกใช้ หิ น บะ ซอลต์ ใ นการท าหี บ ศพ อี ก ทั ง้ ยั งมี ก ารพบ จารึกบนโลงศพเป็ นครัง้ แรกอีกด้ วย ซึ่งเป็ นไป ได้ ว่าจารึ กเช่น นี ้ เมื่ อผสานเข้ ากับ ความเชื่ อ จากจารึ ก พี ร ะมิ ด แล้ วท าให้ ปรากฏเป็ น “จารึ กโลงศพ” ซึ่งเป็ นคัมภี ร์หลังความตายที่ โดดเด่นมากในสมัยราชอาณาจักรกลาง
ที่น่าสนใจมากไปกว่านัน้ ก็คือภายในโลงศพ พบมัม มี่ ชายหนุ่ม นอนอย่างสงบอยู่ด้วย ซึ่ง อ า จ จ ะ เป็ น ไป ได้ ว่ า มั น เป็ น มั ม มี่ ใน ราชอาณาจักรเก่าที่ เก่าแก่และสมบูรณ์ ที่สุด ร่างหนึ่งเลยก็วา่ ได้
ส่ว นพี ร ะมิ ด ของฟาโรห์ เปปิ ที่ 1 นัน้ นับ ว่ามี ความน่ าสนใจมากที่ สุด แห่ งหนึ่ งใน มุ ม ของประวัติ ศ าสตร์ เพราะพี ร ะมิ ด ของ พระองค์ ไ ด้ รั บ การตั ง้ ชื่ อ ในภาษาอี ยิ ป ต์ โบราณว่า “เมน-เนเฟอร์ ” (Men-Nefer) และ คาว่าเมน-เนเฟอร์ นี ้เองที่ปรากฏในงานเขียน ของชาวกรี กในยุคหลังโดยออกเสียงว่ า “เมม ฟิ ส” (Memphis) และกลายมาเป็ นชื่ อเรี ย ก ของนครหลวงในสมัย ราชอาณาจัก รเก่า ซึ่ง เดิมมี ชื่อว่า “อีเนบ-เฮดจ์ ” (Ineb-Hedj) หรื อ นครแห่งก าแพงสีขาวไปในที่ สุด ในปั จจุบ ัน ถ้ า กล่าวถึ งนครอีเนบ-เฮดจ์ อาจจะไม่ มี ใคร รู้ จกั แต่ถ้ากล่าวถึงเมมฟิ สก็จะถึงบางอ้ อกัน ทันที
รูปที่ 29 จารึกโลงศพคือคัมภีรเ์ กีย่ วกับการ เดินทางหลังความตายทีไ่ ด ้รับอิทธิพลมาจาก จารึกพีระมิด
พี ร ะมิ ด ของฟาโรห์ เมเรนเรที่ 1 มี หีบศพที่สร้ างจากหินบะซอลต์สีดาเช่นกัน ซึ่ง 69
ส่ ว นฟาโรห์ เปปิ ที่ 2 นั น้ พระองค์ อ า จ จ ะ ค ร อ ง รา ช ย์ ย า ว น า น ที่ สุ ด ใน ประวัติศาสตร์ ไอยคุปต์ ด้วยระยะเวลา 94 ปี ถ้ ามาเนโธไม่ได้ บนั ทึกผิดพลาด (แต่อาจจะ เหลื อ 64 ปี ถ้ าบัน ทึ ก คลาดเคลื่ อน) จุด เด่ น ของพีระมิดแห่งนี ้คือการใช้ หินควอร์ ตไซต์ ใน การสร้ างเสาหินสาหรับรับน ้าหนักอาคาร ซึ่ง ช่ า งหิ น ชาวอี ยิ ป ต์ ไม่ นิ ย มใช้ หิ น ชนิ ด นี ก้ ั บ วัต ถุป ระสงค์ เช่ น นี ม้ ากนัก โดยที่ วิห ารของ ฟาโรห์ เปปิ ที่ 2 นี ช้ าวไอยคุป ต์ สลักเสาหนึ่ ง ต้ น จากหิ น ทัง้ ก้ อ น รวมทัง้ หมด 18 ต้ น ซึ่ ง นับ ว่าพิ เศษกว่าพี ระมิ ดองค์ อื่น ๆที่ ร่วมสมัย กันอยู่มากทีเดียว
นอกจากนั น้ ลัก ษณะพิ เศษอี ก หนึ่ ง ประการที่ปรากฏในพีระมิดของฟาโรห์ เปปิ ที่ 2 ก็ คื อ การจัด วางหิ น ขนาดความกว้ างราว 6.5 เมตรล้ อมรอบฐานขององค์ พี ร ะมิ ด (Immense Girdle) เพื่ อ เพิ่ ม ความแข็ ง แรง ให้ กั บ โครงสร้ าง หรื อ ไม่ ก็ อ าจจะเป็ นการ ตกแต่งให้ พีระมิดมีรูปทรงคล้ ายคลึงกับอักษร เฮี ย โรก ริ ฟ ฟิ ค ค า ว่ า “เม อ ร์ ” (mr) ซึ่ ง หมายความถึงพีระมิดก็เป็ นได้ เพราะอักขระ ตัว นี ป้ รากฏภาพของหิ น วางเรี ย งอยู่ ที่ ฐาน แบบนี ้เช่นกัน หลัง จากช่ วงราชวงศ์ ที่ 6 เป็ นต้ น ไป เข้ าสู่ยุครอยต่อระยะที่ 1 และราชอาณาจักร กลาง ก็ ยั ง คงปรากฏการสร้ างพี ร ะมิ ด อยู่ เช่นเดิม เพี ยงแค่วสั ดุที่ใช้ ในการก่อสร้ างนัน้ มักจะเป็ นอิฐสอโคลน ซึง่ มีความแข็งแรงน้ อย กว่า จึงท าให้ พีระมิดในราชอาณาจัก รกลาง นัน้ พังทลายลงมาเป็ นเนิน ทรายเสียมาก ไม่ หลงเหลือความยิ่งใหญ่ เฉกเช่นเหล่าพี ระมิด แห่งราชอาณาจักรเก่าอีกต่อไป
รูปที่ 30 อักษรอียปิ ต์โบราณอ่านว่า “เมอร์” แปลว่าพีระมิดแสดงภาพของหินวางเรียงอยูท ่ ี่ ฐาน
70
รูปที่ 31 ภาพจาลองพีระมิดเปปิ ที่ 2 แสดง ให ้เห็นรูปแบบผังทีย ่ ังรับต่อมาจากพีระมิดใน ์ 5ี่ พร ้อมแนวคิดการตัง้ พีระมิดมเหส ี ราชวงศท ไว ้โดยรอบ
71
72
73
74
75
1
III
นครสุสานหลัก ของเหล่าฟาโรห์ แห่ ง ราชวงศ์ ที่ 5 ไม่ ได้ อยู่ที่ น ครซัค คาร่ าเหมื อ น ดังเช่นเหล่าบรรพบุรุษ ซึ่งมี เพี ยงแค่ พีระมิ ด ของอูเซอร์ คาฟและพี ระมิดของฟาโรห์ อนู าส (Unas) ฟาโรห์ องค์ สุด ท้ ายของราชวงศ์ ที่ 5 เท่ า นัน้ ส่ว นฟาโรห์ องค์ ที่ เหลื อ นัน้ ไปสร้ าง สุส านของตัวเองในนครที่ เป็ นพระเอกของ หนั ง สื อ เล่ ม นี น้ ั่ น ก็ คื อ “อบู เซี ย ร์ ” (Abusir) นัน่ เอง แท้ ที่จริ งแล้ ว ประเทศอียิปต์มีนครที่ใช้ ชื่ อว่าอบูเซียร์ มากมายหลายสิบนคร แต่อบู เซี ย ร์ ที่ ก าลังจะกล่ าวถึ งในครั ง้ นี ต้ ัง้ อยู่ ห่ า ง ออกมาจากนครสุสานซัคคาราเพียงแค่ไม่ถึง 2 กิ โ ลเมตรทางด้ านทิ ศ เหนื อ แต่ มี สุ ส าน วิ ห ารและพี ระมิ ด สร้ างขึ น้ มามากมาย โดยเฉพาะของเหล่าฟาโรห์ แห่งราชวงศ์ ที่ 5 แต่ถ้าจะกล่าวว่าฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ 5 เป็ น
ผู้บุกเบิกอบูเซียร์ ก็คงจะไม่ถูกต้ องเท่าใดนัก เพราะจากการขุดค้ นของที มนักอียิปต์ วิทยา ทาให้ เราทราบว่ามี การใช้ อบูเซียร์ เป็ นสุสาน ม าตั ้ง แ ต่ ยุ ค ต้ น ราช วงศ์ (Pre-Dynastic Period) แล้ ว ซึ่ง ก็ ไม่ ถื อ ว่า เป็ นเรื่ องที่ แ ปลก แต่ อ ย่ า งใด เพราะค าว่ า “อบู เซี ย ร์ ” ที่ เป็ น ภาษาอารบิ ก นัน้ เพี ย้ นมาจากภาษากรี ก ที่ เรี ยกนครแห่งนี ว้ ่า “บูซิริส” (Busiris) และคา ในภาษากรี กเองก็มาจากภาษาอียิปต์โบราณ แ ท้ ๆ ว่ า “เ พ ร์ -อู เ ซ ร์ ” (pr-wsir) ซึ่ ง มี ความหมายว่ า “อาณ าจั ก รแห่ ง โอซิ ริ ส ” (Realm of Osiris) นัน่ เอง และด้ วยว่าเทพโอ ซิริสเปรี ยบเสมื อนกษัตริ ย์แห่งโลกหลังความ ตาย จึงท าให้ ชาวไอยคุป ต์ นิ ย มหัน มาสร้ าง สุสานเอาไว้ ในนครแห่งนี ้ตามไปด้ วย
77
รูปที่ 1 แผนทีแ่ สดงกลุม่ อาคาร สุสานและวิหารในอบูเซยี ร์
รูปที่ 2 ผังอาคารประกอบพีระมิดของฟาโรห์ซาฮูเร
พี ระมิ ด แห่ ง ฟ าโรห์ ซาฮู เ ร ถื อ เป็ น พีระมิดแห่งแรกที่ตัง้ ขึ ้นที่อบูเซียร์ และถื อ เป็ น กลุ่มวิหารพีระมิดที่คงสภาพดีที่สุดที่ค้นพบใน บรรดาอาคารช่วงราชวงศ์ที่ 5 ฟาโรห์ ซ าฮูเร จัด เป็ นฟาโรห์ พ ระองค์ ที่ 2 ใน ราชวงศ์ ที่ 5 ถั ด จากฟาโรห์ อู เ ซรคาฟและ ครองราชย์อยู่ในช่วง 2480 ปี ก่อนคริ สตกาล พระองค์ได้ เริ่มต้ นเลือกวางสุสานเอาไว้ ในทาเล ใหม่ที่ อ ยู่ใกล้ กับวิ ห ารสุริย ะของฟาโรห์ อูเซร คาฟที่ อบู เ ซี ย ร์ นั ก อี ยิ ป ต์ วิ ท ยายั ง มี ก าร สันนิษฐานว่าเหตุผลในการเลือกตาแหน่งที่ตั ้ง นี ม้ ี ค วามสัม พัน ธ์ กับเมื อ งเฮลิโอโพลิ ส ที่ เป็ น ศูนย์กลางของลัทธิบูชาสุริยะ รวมถึงตาแหน่ง วิหารสุริยะของอูเซรคาฟที่อยูห่ ่างออกไปเพียง สี่ร้อยเมตร และตามที่มีการบันทึกไว้ กล่าวว่า
ในรั ช สมั ย ของพระองค์ ไ ด้ มี ก ารสร้ างวิ ห าร สุริยะเช่นเดียวกับพระบิดาและฟาโรห์องค์อื่นๆ ในช่วงราชวงศ์ ที่ 5 ด้ วยแต่ยังไม่มีการค้ นพบ ตาแหน่งที่ตั ้งที่ชดั เจนแต่อย่างใด นอกจากนี ้ยังมีการสันนิษฐานถึงปั จจัย อื่นๆที่นาไปสู่การเลือกทาเลใหม่คือ ทาเลที่ตัง้ ที่มีทะเลสาบอยู่ใกล้ กันทาให้ การประกอบพิธี ต่างๆทางน า้ เป็ นไปได้ โดยสะดวก และที่ ตัง้ ของพระราชวังของพระองค์เองในเมมฟิ สที่อยู่ ไม่ห่างออกไปจากอบูเซียร์ มากนัก ไม่ว่ าจะมี เหตุผ ลทางภู มิศ าสตร์ ห รื อ ตาแหน่ งที่ สอดคล้ อ งกับ แนวความเชื่ อ การ ริ เริ่ มโครงการสร้ างกลุ่มวิหารพี ระมิดบนพื น้ ที่ แห่งนี ้ ทาให้ อบูเซียร์ ได้ ถูกใช้ เป็ นพื ้นที่สาหรั บ สุสานหลวงในราชวงศ์ที่5และถูกใช้ งานอย่าง 78
รูปที่ 3 หนังสอื Das Grabdenkmal des Konigs Sahure
ต่อ เนื่ อ งในฐานะพื น้ ที่ ศักดิ์ สิ ท ธิ์ และการเป็ น นครสุสานสอดคล้ องกับความเชื่ อในลัทธิโอซิ ริ สจนถึ งยุค ซาอิ ต (saite) รวมระยะเวลากว่ า สองพันปี
ลุด วิก บอร์ ชาด นักอี ยิป ต์ วิท ยาชาวเยอรมัน หนึ่ งในการค้ น พบที่ โด่ งดังของเขาคื อการขุด พบรู ปปั น้ ครึ่ งตัวของเนเฟอร์ ติติที่อมาร์ นา แต่ ผลงานส าคัญ ที่ เป็ นคุณ ประโยชน์ แ ก่ ว งการ อี ยิป ต์ วิท ยาของบอร์ ช าด คื อ การขุดค้ น และ ศึก ษากลุ่ม วิห ารพี ระมิด ของซาฮูเรแห่ งนี ท้ ี่ มี ก า ร จั ด พิ ม พ์ ขึ ้ น ใ น ห นั ง สื อ ชื่ อ Das Grabdenkmal des Konigs Sahure หนังสื อเล่ม นี ไ้ ด้ เป็ นแหล่ งอ้ างอิงที่ ส าคัญ ใน การศึกษากลุ่มอาคารนี ้จวบจนปั จจุบนั
ต่ อ มาในช่ ว งปลายศตวรรษ ที่ 19 พี ระมิด องค์ นีไ้ ด้ ถูกค้ นพบและจดบันทึ กโดย ค า ร์ ล ริ ช า ร์ ด เล ป ซิ อุ ส ( Karl Richard Lepsius) แต่ไม่ได้ มีการขุดค้ นต่อจนถึงช่วงปี 1900 กลุ่มวิห ารประกอบพี ระมิดของฟาโรห์ ซาฮูเรได้ มีการขุดค้ นอย่างเป็ นทางการนาโดย 79
แผนผังภายในกลุม่ วิหารพีระมิดแห่งนี ้ มีพัฒนาการที่ คล้ ายคลึงและต่อยอดมาจาก พีระมิดของฟาโรห์ องค์ก่อนหน้ า กล่าวคือตัว พีระมิดเองมีการลดขนาดลงมาเป็ นอย่างมาก โดยหากเปรี ยบเทียบกับกลุม่ พีระมิดแห่งกิซ่า จะพบว่าพี ระมิ ดของซาฮูเรนัน้ มี ข นาดที่ เล็ก ลงมาเกื อ บสามเท่ า เลยที เดี ย ว แต่ ใ นทาง กลับกัน กลุม่ วิหารประกอบพีระมิดกลับมีการ ให้ ค วามส าคัญ มากขึ น้ โดยมี ก ารใส่ ใ จต่ อ รายละเอียดทัง้ การตกแต่งด้ วยภาพสลักที่ มี ความประณี ตและความซั บ ซ้ อนของผั ง ภายในวิห ารที่ เพิ่ ม มากขึ น้ ซึ่งก็ ได้ แ สดงให้ เห็นถึงบริ บทและค่านิยมที่เปลี่ยนไปจากการ เน้ นความสาคัญของพี ระมิดเองไปสู่ตวั วิหาร ประกอบพี ระมิ ด ที่ ท าหน้ าที่ ในการสัก การะ ฟาโรห์ ผ้ ลู ่วงลับในฐานะลัทธิหนึ่ง นอกจากนี ้ กลุ่ม วิห ารประกอบพี ระมิ ด ของซาฮูเรยัง ถื อ เป็ นกลุ่มวิหารประกอบพี ระมิดยุคแรกๆที่ถูก วางผังอย่างเป็ นระบบระเบียบและได้ เป็ นผัง มาตรฐานที่ เป็ นแนวทางการออกแบบให้ กับ ฟาโรห์องค์ ต่อๆมาจนถึงราชวงศ์ที่ 6 ตัวกลุ่ม วิห ารประกอบพี ร ะมิ ด ของฟาโรห์ นิ อู เซอร์ เรถือเป็ นองค์ที่สองในอบูเซียร์ ที่มีกลุ่มอาคาร
ครบและสมบูรณ์ นบั จากซาฮูเร อาจเนื่องด้ วย ฟาโรห์ อ งค์ ก่ อ นหน้ าอย่ า งเนเฟอร์ อิ ร์ ค าเร และเนเฟอร์ เอฟเร ครองราชย์ในระยะเวลาอัน สัน้ จึ ง ไม่ ส ามารถท าให้ โครงการก่ อ สร้ าง สุสานสมบูรณ์ ในรัชสมัยนัน้ ๆได้ และส่วนที่ น่ า สัง เกตในกลุ่ ม วิ ห ารแห่ ง นี ค้ ื อ การสร้ าง กาแพงคู่ขนาดใหญ่ ขนาบกันด้ านหน้ าวิหาร ซึ่งตัวสิ่งก่อสร้ างดังกล่าวเป็ นลักษณะของไพ ล อ น (Pylon) โด ย มี จุ ด ป ระส งค์ ใน เชิ ง สัญลักษณ์ทางศาสนาที่จะปรากฎในวิหารยุค ราชอาณาจักรใหม่เป็ นจานวนมาก และที่อบู เซี ย ร์ นี ก้ ็ ถื อ ได้ ว่ า เป็ นวิ ห ารแห่ ง แรกๆที่ มี ปรากฏลักษณะของไพลอนดังกล่าวขึ ้นด้ วย
80
ลักษณะโดยรวมของพี ระมิดของซาฮู เรประกอบด้ วยระยะฐานขนาด 150 คิว บิต หลวง (Royal Cubit) (78.75เมตร) ระยะลาด เอียง 50.45 องศาและความสูงเดิมประมาน 90 คิวบิตหลวง (47เมตร)
สมัยหลัง ยังไม่นับการสร้ างด้ วยอิฐสอโคลน ในสมั ย ถั ด มาที่ มี ส ภาพที่ ค งทนน้ อยกว่ า หลายเท่าตัว แต่จากลักษณะดังกล่าวก็เป็ น ตัวชี ้วัดอย่างดีถึงการเสื่อมถอยของการสร้ าง พี ระมิ ด และพระราชอานาจขององค์ ฟ าโรห์ เอง
ลักษณะภายนอกยังคงรู ปแบบต่อมา จากพีระมิดองค์ก่อนๆในส่วนของโครงสร้ างมี การใช้ วิธีก่อแกนภายในเป็ นขัน้ ๆประมาน 6 ขั น้ วิ ธี นี ค้ ล้ ายคลึ ง กั บ โครงสร้ างที่ ใ ช้ ใน พีระมิดของราชวงศ์ ที่ 4 แต่จะต่างไปในส่วน ของวัส ดุ ที่ น ามาใช้ ส าหรั บ แกนภายในที่ เปลี่ ย นมาเลื อกใช้ เป็ นกองหิ น ที่ ตัด มาจาก เหมืองในท้ องที่นนซึ ั ้ ่งมีคุณภาพที่ ต่ากว่าแทน การตัด หิ น มาเป็ นก้ อนใหญ่ ดังเช่ น แต่ ก่ อ น และอุดช่องว่างระหว่างบล็อคด้ วยเศษหินปูน และมอร์ ท า วิ ธี นี ท้ าให้ ประหยั ด แรงงาน รวมถึ ง เวลาในการก่ อ สร้ างมากยิ่ งขึ น้ และ นิยมใช้ มาเรื่ อยๆตลอดราชวงศ์ที่ 5-6 แต่การ ใช้ เทคนิคก่อสร้ างลักษณะนี ้ก็เป็ นสาเหตุใหญ่ สาเหตุหนึ่งที่ทาให้ พีระมิดเกิดการพังทลายใน เวลาต่อมา ประกอบกับปั จจัยเรื่ องขององศา ของพีระมิดที่ มีความลาดชัดมากเกินไป รวม ไปถึงการขโมยหินประดับผิวพี ระมิดไปใช้ ใน
ข้ อแต กต่ างป ระการอื่ น ของการ ก่อสร้ างพีระมิดแห่งนี ้คือ แทนที่จะใช้ ฐานของ พี ระมิดเป็ นพื น้ หินใต้ บริ เวณก่อสร้ างเหมื อน อย่ า งพี ร ะมิ ด ในราชวงศ์ ที่ 4 การก่ อ สร้ าง พี ระมิ ดในช่วงนี ไ้ ด้ เลือกสร้ างฐานรากขึน้ มา โดยใช้ แ ผ่ น หิ น ปูน สองชัน้ ในการรองรั บ ตั ว พีระมิดทังหมด ้ ถึงแม้ วา่ จะไม่มีการขุดค้ น ตัว ฐานรากในพื ้นที่จริงแต่ก็มีความเป็ นไปได้ เมื่อ เปรี ยบเทียบกับพีระมิดที่ร่วมสมัยกัน
81
รูปที่ 4 พีระมิดแห่งซาฮูเรเกิดการพังทลายเชน่ เดียวกับพีระมิดอืน่ ๆในอบูเซยี ร์เหลือเพียง สว่ นแกนภายในทีเ่ ป็ นขัน ้ บันได
ในส่วนของผังภายในที่เป็ นโครงสร้ าง ใต้ ดิน จะสร้ างโดยเริ่มจากการก่อฐานพีระมิด โดยเว้ นพื น้ ที่ เอาไว้ เป็ นรู ปตัวที (T) เพื่ อสร้ าง พื ้นที่วา่ งสาหรับการขุดและสร้ างห้ องเก็บพระ ศพรวมถึ ง เส้ น ทางเดิ น จากนัน้ เมื่ อท าการ สร้ างห้ องเสร็ จเรี ย บร้ อยแล้ วก็ จะท าการถม บริ เวณที่ว่างรอบๆด้ วยเศษหิน แล้ วจึงทาการ ก่อสร้ างส่วนของตัวพีระมิดต่อไป
ทางเดิ น ที่ น าไปสู่ภ ายในตัว ห้ องเก็ บ พระศพตัง้ อยู่บ ริ เวณกลางฐานทางด้ านทิ ศ เหนือในระดับพื ้นดิน ในส่วนทางเข้ า มีความ ลึกประมาณ 4.25 เมตรลาดลงไปในระดับที่ ต่ากว่าฐานรากของพีระมิด ตัวช่องทางเดินมี ความสูงประมาณ 1.87 เมตรและกว้ างเพียง 1.27 เมตร ส่วนทางเข้ านี ้มีการใช้ หินแกรนิตสี แดง เมื่ อ เดิ น ต่ อ ไปจะพบกั บ ห้ องระหว่ า ง ทางเดินเล็กๆที่ทางด้ านหน้ าถูกปิ ดด้ วยประตู หินแกรนิตขนาดใหญ่ (Portcullis) ที่ถกู ปิ ดลง 82
หลังจากเสร็ จสิน้ การฝั งพระศพ วิธีการนี เ้ ป็ น ลัก ษณะปกติ ข องการป้ องกัน หั ว ขโมยที่ เล็ ง เป้าหมายไปยังห้ องเก็บพระศพที่ เต็ม ไปด้ วย ข้ าวของมี ค่ า ต่ า งๆตลอดยุค สมัย การสร้ าง พี ระมิด แต่ ก ระนัน้ วิ ธีก ารนี ก้ ็ ไม่ เคยใช้ ได้ ผ ล เพราะแม้ แต่พีระมิดของฟาโรห์ คูฟูเองที่ มีการ ใช้ หินแกรนิตในการปิ ดทางเข้ าห้ องเก็บพระศพ ถึง 3 ชัน้ ก็ยังถูกหัวขโมยเข้ าไปปล้ นเรี ยบร้ อย เมื่อผ่านส่วนประตูหินแกรนิตมาได้ ก็จะพบกับ ปล่องทางเดินยาว 22.3 เมตรที่ ค่อยๆลาดขึน้ นาไปสู่ห้องเก็บพระศพที่ ตัง้ อยู่บนระดับฐาน ราก
ห้ องเก็บพระศพเอง มี การวางผังห้ อ ง โถงยาวทาแนวแกน ตะวันออก-ตะวัน ตก ตัง้ ฉากกับทางเข้ าที่ อยู่ทางทิศเหนื อ ในปั จจุบัน นั ้นห้ องเก็บพระศพเสี ยหายจากการที่ เพดาน ถล่มลงมาทาให้ อยู่ในสภาพที่ ไม่สามารถขุด ค้ นต่อได้ แต่เราก็สามารถจะสันนิษฐานได้ ว่า ตัวโครงสร้ างเพดานที่รับน ้าหนักเหนือห้ องนี ้มี ลักษณะเป็ นการเอาแผ่นหินปูนขนาดใหญ่มา วางพาดกันเป็ นลักษณะจัว่ ซ้ อนกัน3ชั ้น(รูปที่6) ลักษณะดังกล่าวเป็ นระบบการทาหลังคาผ่อน แรงเหนื อ ห้ องเก็ บ พระศพที่ ต้ องรั บ น า้ หนั ก มหาศาลจากตั ว พี ระมิ ด นั่ น เอง โดยหิ น ที่ มี ขนาดใหญ่ ที่ สุดของห้ องเก็ บพระศพแห่ง นี ม้ ี ขนาดความยาว10เมตรและความมีหนาถึง4 เมตร นอกจากนี ค้ วามเสี ยหายที่ เกิดขึ น้ กับ ห้ องเก็บพระศพก็ทาให้ ยากต่อการวัดระยะเพื่อ ทราบข้ อมูลที่แน่ชดั ของจานวนห้ องทั ้งหมด แต่ จากการเที ยบเคี ยงกับห้ องเก็บพระศพอื่ นๆที่ ร่ วมสมัยกันแล้ วนัน้ ตัวห้ องเก็บ พระศพนิย ม แบ่งออกเป็ นสองห้ องคือ ห้ องโถงทางเข้ าและ ตั ว ห้ องเก็ บ พระศพเอง นอกจากนี ใ้ นการ สารวจล่าสุดได้ มีการค้ นพบหินบะซอลต์ที่คาด ว่าน่าจะเป็ นเศษชิ ้นส่วนโลงพระศพเดิม ด้ วย เช่นกัน
รูปที่ 5 ลักษณะประตูหนิ Portcullis เป็ นแนวทางการป้ องกันทีพ ่ บได ้มากใน สุสานชว่ งราชอาณาจักรเก่า (Dieter arnold) 83
แต่จุดน่าสนใจอีกจุดหนึ่งของห้ องเก็บ พระศพทัง้ ของซาฮูเรและพี ระมิด องค์ อื่น คื อ ต า แ ห น่ ง ก า ร ว า ง ห้ อ ง โ ถ ง ท า ง เข้ า (Antechamber) ที่ มัก วางตรงกับจุด กึ่ งกลาง ของพีระมิดบ่อยครัง้ และไม่น่าใช่ความบังเอิญ แต่ น่ า สงสัย ว่า ท าไมจึ งไม่มี ก ารวางห้ อ งเก็ บ พระศพที่ ดูจะเป็ นจุดสาคัญที่ สุดไว้ ตรงกลาง ในประเด็ น นี ผ้ ้ ูเขี ย นได้ ลองย้ อ นกลั บ ไปดูใน พี ระมิดของราชวงศ์ ก่ อนก็พ บความน่าสนใจ เพิ่ ม ขึ น้ เมื่ อ ดู ผั ง การวางห้ องในพี ระมิ ด ของ ฟาโรห์คูฟูมีการวางตาแหน่งห้ องเก็บพระศพ เบนห่างออกจากจุดแกนกลางอย่างชัดเจนแต่ ห้ องที่มีการวางในตาแหน่งแกนกลางกลับเป็ น ห้ อ งที่ เรี ย กว่า ห้ อ งราชิ นี (Queen Chamber) ซึ่งห้ องนี ้ ความเป็ นจริงนั ้น
ไม่ได้ เป็ นที่ เก็บพระศพราชินีอย่างที่ได้ รับการ เรี ยกขานและการใช้ งานจริ งก็ไม่แน่ชัด บ้ างก็ ว่าเป็ นห้ องลวงหรื อมีการเปลี่ยนแผนกะทันหัน แต่จากการสันนิษฐานในหนังสือของมาร์ ค เลห์ เนอร์ (Mark Lehner) ได้ มี ก ารสัน นิ ษ ฐานว่ า ห้ องนี ม้ ีอยู่ในการออกแบบตัง้ แต่แรกเริ่ มและ อาจเคยใช้ เป็ นที่ ตั ง้ ของรู ป ปั ้น คา ที่ เ ป็ น ตัวแทนวิญญาณของฟาโรห์เองโดยมีหลักฐาน สนับสนุนจากการเจาะช่องเว้ าเข้ าไปในผนังซึ่ง อาจจะเป็ นตาแหน่งที่เคยใช้ วางรูปปั น้ ดังกล่าว และนัน่ ทาให้ ห้องนี ้เปรี ยบเสมือนห้ องเซอร์ ดับ ที่เป็ นแนวความเชื่อที่สืบทอดกันมาตั ้งแต่สมัย การสร้ างมาสตาบาที่มีมาก่อนที่ จะพัฒนามา เป็ นรูปทรงพีระมิด รูปที่ 6 ลักษณะโครงสร ้างห ้องพระศพ
84
รูปที่ 7,8ซากปรักหักพังของวิหารประกอบพิธศี พซงึ่ เริม่ มีการขุดค ้นโดยคณะของ บอร์ชาด(บน)ภาพถ่ายเก่าขณะทาการขุดค ้น(ล่าง)สภาพวิหารในปั จจุบัน
85
ตัวกลุม่ วิหารประกอบพิธีศพนันตามที ้ ่ ได้ ก ล่ า วไปถื อ ว่า มี แ ผนผังที่ ค่ อ นข้ างลงตั ว และกลายมาเป็ นรู ป แบบมาตรฐานให้ กั บ กลุ่มวิหารต่อๆมาตลอดราชวงศ์ที่ 5-6 โดยมี องค์ ป ระกอบหลัก ๆที่ ยั งคงรั บ มาจากสมั ย ราชวงศ์ที่ 4 นัน่ ก็คือวิหารประกอบพิธีหลักซึ่ง อยู่ติดกับองค์พีระมิด โดยมีพีระมิดบริวารวาง ตัง้ อยู่ข้างๆ ส่วนนี จ้ ะถูก ล้ อมด้ วยก าแพงสูง และมี ฉนวนทางเดิ นยาวเชื่ อมต่ อวิห ารหลัก เข้ า กั บ วิ ห ารหุ บ เขาที่ จ ะทอดตัว ออกไปยั ง คลองหรื อทะเลสาบที่อยู่ใกล้ เคียง
จุดประสงค์ของวิหารประกอบพิธีหลัก นัน้ ในหนังสือของไดเตอร์ อาร์ โนล์ด (Dieter Arnold) ได้ ให้ ค าอธิ บ ายว่า วิห ารนี เ้ ป็ นการ พัฒนารูปแบบต่อมาจากกลุม่ วิหารสุสานของ ฟาโรห์ ด โจเซอร์ ที่ ซั ค คาราโดยรวมพื น้ ที่ สั ก การะรู ป เค ารพ ของฟ าโรห์ และลาน ประกอบพิธีกรรมที่เคยแยกพื ้นที่กนั เข้ ามาไว้ ด้ วยกันในอาคารเดียว แผนผังของวิหารประกอบด้ วยห้ องที่ แยกย่ อ ยออกไปโดยส่ ว นมากเป็ นพื น้ ที่ สาหรับเก็บอุปกรณ์ เครื่ องใช้ และของสักการะ ประจ าวิห าร และประกอบด้ ว ยส่ ว นหลัก ๆ อย่างลานประกอบพิธีและห้ องเก็บรู ปเคารพ เริ่มจากทางเข้ าของวิหารนี ้จะเชื่อมต่อมาจาก วิหารหุบเขาด้ วยฉนวนทางเดิน ก่อนนามาสู่ ห้ อ งแรกของวิห ารที่ มี ลัก ษณะเป็ นห้ องโถง ยาว21เมตรคลุ ม ด้ วยเพดานหิ น ทรงโค้ ง (Vault) สูงขึ ้นไป7เมตร ส่วนนี ้เป็ นส่วนหนึ่งที่ น่ า สนใจถึ ง แม้ ว่ า เป็ นส่ ว นเล็ ก ๆแต่ ก็ แ ฝง ความหมายที่ สาคัญ ในสมัยโบราณพื น้ ที่ นี ้ จะถู ก เรี ย กว่า เพร์ -เวรู (Per-weru) หรื อ”House of the great one” และสามารถ พบเห็ นได้ ในส่วนประกอบของวิหารพี ระมิ ด
วิ ห า รป ระ ก อ บ พิ ธี ห ลั ก ตั ้ง อ ยู่ ด้ านหน้ าของพี ระมิ ด วางตัวในแนวแกนทิ ศ ตะวัน ออก-ตะวัน ตก มี ลั ก ษณ ะของผั ง ที่ ค่อนข้ างสมมาตร ก่อขึ ้นด้ วยหินปูนขาวจาก เหมื อ งทู ร าซึ่ ง นั บ ว่ า เป็ นแหล่ ง หิ น ปู น ที่ มี คุณภาพดีที่สดุ แห่งหนึ่ง นอกจากนี ้ภายนอก ของวิห ารยังมี ก ารตกแต่ งรายละเอี ย ดด้ ว ย ลายบัวและรู ปสลักสิงโตสาหรับเป็ นช่องทาง ระบายน ้าฝนจากชันดาดฟ ้ ้า 86
แห่งอื่นด้ วย หลักฐานแรกๆที่ บ่งบอกถึ งการ สร้ างห้ องลัก ษณะพิ เศษแบบนี พ้ บได้ จ าก วิหารหุบเขาของพีระมิดโค้ งรวมไปถึงในวิหาร พี ระมิดของฟาโรห์ คาเฟรและเมนคาอูเร จน มาถึงราชวงศ์ ที่ 5 พื น้ ที่ ส่วนนี ก้ ็มี การสร้ างที่ เป็ นระบบมาตรฐานด้ วยขนาดกว้ างยาวราว 5.25 x 21 เมตร หรื อราวๆ 10 x 40 คิ ว บิ ต หลวง ส่วนจุดประสงค์ของห้ องนี ค้ ื ออะไรนัน้ นัก อี ยิ ป ต์ วิท ยาได้ สัน นิ ษ ฐานกัน ว่ามัน อาจ เป็ นการพยายามสื่อถึงซุ้มเทศกาล (Festival Tent) ที่ ป รากฏในลานพระราชวัง ส าหรั บ เฉลิมฉลองเทศกาลและพิธีกรรมต่างๆ พื น้ ที่ ส่วนนี ้จึงได้ ถูกประยุกต์รูปแบบมาใช้ ประกอบ อยู่ ด้ านหน้ าลานกว้ า งในวิ ห ารต่ า งๆ เพื่ อ แสดงถึงพืน้ ที่สาหรับเริ่ มประกอบพิธีกรรมแต่ ปรั บ รู ป จากซุ้ มที่ มี ลั ก ษณ ะชั่ ว คราวมาสู่ อาคารถาวรที่ยงั คงนัยยะเดิม แนวคิดนี ้เราจะ พบได้ อีกครัง้ จากวิหารประกอบพิธีศพที่ โด่ ง ดังของพระนางฮัตเชปซุตที่ เดี ย ร์ เอล-บาฮารี (Deir el-Bahari) ซึ่ งมี ต าแหน่ งอยู่ ด้ านหน้ า ลานกว้ างเช่นเดียวกัน รู ป ที่ 9 ,10 โถงทางเข า้ เพดานโค ง้ และ
ถัดมาจากห้ องโถงทางเข้ าหินแกรนิต แดงด้ านหน้ าจะนาไปสู่พื ้นที่ ลานขนาดใหญ่ ภายในวิหารที่มีความสูงโดยรอบถึง 7 เมตร
ลั ก ษ ณ ะสั น นิ ษ ฐ า น ข อ ง Per weru ห รื อ Festival tent
87
ล้ อ มรอบด้ วยเสาหิ น แกรนิ ต สี ช มพู ข นาด ความสูงราว 6 เมตรจานวน 16 ต้ น โดยมีการ แกะสลัก ที่ สื่ อ ถึ ง รู ป ทรงของต้ นปาล์ ม สื่ อ ความหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ นอกจากนี ้ ในความเห็นของเฮอมัน ริก เสาปาล์มเหล่านี ้ อาจสื่ อ ถึ ง เมื อ งบู โ ต (Buto) ซึ่ ง เป็ นเมื อ ง สาคัญ ที่ มี ค วามหมายถึ งการรวมอี ยิป ต์ บ น ล่างเข้ าไว้ ด้วยกัน นอกจากนี ้บนเสาทุกต้ นยัง มีการจารึกพระนามของซาฮูเรพร้ อมด้ วยการ แสดงรู ปของ วัดเจท (Wadjet) แสดงด้ วยรู ป ของงู เ ห่ า สื่ อ ถึ ง อี ยิ ป ต์ ล่ า งและเนคเบท (Nekhbet) แสดงด้ ว ยรู ป ของนกแร้ ง สื่ อ ถึ ง อียิปต์ บน เหนื อจากตัวเสาขึ ้นไปจะเป็ นคาน หินแกรนิตเช่นเดียวกันจารึกพระนามเต็มของ ซาฮูเร คลุมด้ วยหลังคาหิน ปูนที่ ตกแต่งเป็ น รู ป หมู่ด าวสี ท องบนพื น้ สี น า้ เงิน เข้ ม ซึ่งลาน ดั ง กล่ า วยั ง เคยมี ก ารตั ง้ รู ป ปั ้ น ประทั บ นั่ ง ขนาดใหญ่ ข องซาฮู เรเอาไว้ ด้ วย ด้ านหน้ า ประกอบด้ วยแท่ น บู ช าท าจากหิ น อลาบา สเตอร์ ที่ มี ก ารแกะสลัก ด้ วยสัญ ลัก ษณ์ ข อง การรวมอียิปต์บน-ล่างเข้ าไว้ ด้วยกัน
จะขออธิบายเสริ มในช่วงถัดไปที่จะพูดถึงการ ตกแต่งและประกอบอาคาร ถั ด มาโด ยรอบของลาน กว้ างจะ ล้ อมรอบด้ วยเส้ นทางเดินยาวภายในวิหารที่ เชื่อมต่อกับ เส้ นทางเดินอีกส่วนหนึ่งที่จะเป็ น พื ้น ที่ เปลี่ ย น ผ่ า น (Transverse Corridor) เป็ นส่วนแยกพื น้ ที่ สาหรับคนทัว่ ไปและวิหาร ภายในที่ เ ป็ นพื น้ ที่ เฉพาะของนัก บวชและ พื น้ ที่ อื่น ๆของวิห ารชัน้ ใน ในส่ว นกลางของ ทางเดิ น ที่ ต รงกับ ทางจากลานกว้ า งจะเป็ น ทางเดินต่อไปสู่ห้องโถงปูพืน้ ด้ วยหินอลาบา สเตอร์ สีขาว ที่มีการเจาะช่องผนังไว้ ทงหมด ั้ 5 ช่องสาหรับตัง้ รู ปเคารพของฟาโรห์ ที่ปัจจุบนั สูญ หายไปหมดแล้ ว ห้ องนี จ้ ะมี ท างเชื่ อ ม ต่ อ ไป ยั ง พื ้ น ที่ สั ก ก า ระ ส่ ว น ใน สุ ด ที่ ประกอบด้ วยห้ องโถงสักการะขนาดใหญ่และ ห้ องย่อยอีก 5 ห้ อง ในส่วนของห้ องสักการะ ใหญ่ จะเป็ นส่วนที่ตงของประตู ั้ ปลอม (False Door) ที่ จะเป็ นประตูเชื่อมให้ คนตายหรื อใน ที่นีค้ ื อฟาโรห์ ออกมารับของสักการะที่ นามา ถวายให้ ทุกวัน ประตูปลอมที่พบนันน่ ้ าสนใจ ว่ามีลกั ษณะเป็ นหินแกรนิตแกะสลักโดยไม่มี การกากับพระนามใดๆ ในจุดนี ้บอร์ ชาดได้ ให้ ความเห็ น ว่า เดิ ม ที หิ น แกะสลัก นี อ้ าจเคยบุ
ผนั ง รอบลานกว้ า งนี ม้ ี ก ารตกแต่ ง โดยรอบด้ วยภาพสลักลงสี ซึ่งจะขอกล่าวใน รายละเอียดเช่นเดี ยวกับ ผนังในห้ องอื่นๆซึ่ง 88
ด้ วยแผ่นทองแดงหรื อทองที่ดุนเป็ นจารึกปกติ แต่ปัจจุบนั ได้ สญ ู หายไปแล้ ว นอกเหนือจากนี ้ จะเป็ นห้ องสาหรับเก็บข้ าวของและอุปกรณ์ ที่ ใช้ ส าหรั บ ประกอบพิ ธี ก รรมต่ างๆหรื อ เป็ น พื น้ ที่ เก็ บ เครื่ องสัก การะจานวนทัง้ หมด 27 ห้ องแตกไปเป็ นซอยย่ อยๆ โดยแต่ ละห้ องมี พื น้ ที่ 2 ชัน้ เชื่ อมด้ วยบัน ไดที่ แกะขึ น้ มาจาก หินขนาดใหญ่ชิ ้นเดียวติดกับผนัง ทางทิศเหนือของตัววิหารหรื อทางขวา สุดของผังจะเป็ นส่วนที่แบ่งเป็ นห้ องแยกย่อย ไปอี ก ก่ อ นที่ จ ะแยกไปสู่ พื น้ ที่ เปิ ดภายใน ก าแพงที่ ล้ อ มโดยรอบและส่ วนที่ แ ยกไปสู่ บัน ไดที่ ใ ช้ สาหรั บ ขึ น้ ไปในส่วนดาดฟ้ าของ วิหารแห่งนี ้ ทางทิศใต้ ของวิหารก็มีลกั ษณะ คล้ า ยคลึ งกับ ส่ วนทางทิ ศ เหนื อ มี ก ารแบ่ ง พื น้ ที่ ออกเป็ นห้ องก่อนจะแยกไปสู่ภายนอก อาคาร แต่ส่วนนี ้จะมีพื ้นที่ที่เชื่อมไปสู่พีระมิด บริ ว ารที่ อ ยู่ ภ ายในและส่ ว นที่ เ ชื่ อ มไปสู่ ทางออกภายนอกวิหารมีลกั ษณะเป็ นพาไลที่ ติ ด กับ ก าแพงของพี ระมิ ด ประกอบด้ ว ยเสา กลมเกลี ย้ งจารึ ก พระนามของซาฮูเรเช่น กัน ทางเข้ านี ้นักโบราณคดีสนั นิษฐานว่าเป็ นส่วน ทางเข้ าเฉพาะสาหรับ ของสักการะต่างๆที่จะ ถูกนามาเก็บไว้ ในส่วนเก็บของใกล้ ๆกัน
รูปที่ 11 การขุดรางน้ า (Ludwig Bochardt)
รู ป ที่ 1 2 เส า ป า ล์ ม บ ริ เ ว ณ ล า น เปิ ด (Miroslav Verner) 89
รูปที่ 13,14 ระบบรางระบายน้ าในวิหาร มีการเดินท่อทองแดงใต ้พืน ้ (Ludwig Bochardt)
ในส่ ว นพื น้ ของกลุ่ ม วิ ห ารนี เ้ องก็ มี ค วาม น่าสนใจไม่น้อยเนื่ องจากได้ มีการค้ นพบการ เดินท่อทองแดงใต้ พื ้นหินตามห้ องต่างๆต่อกัน ความยาวทั ง้ สิ น้ 380 เมตรแสดงถึ ง การ จัดการ การระบายน ้าอย่างเป็ นระบบออกไป
นอกตัวอาคาร รวมไปถึ งส่ว นดาดฟ้ าที่ จะมี การระบายนา้ ออกทางรู ป สลักสิงโตที่ ติดอยู่ ในส่วนต่างๆของผนังภายนอกของวิหารด้ วย
90
เดิ ม เคยมี ก ารบรรจุรู ป ปั ้น วิญ ญาณคาของ ฟาโรห์ เอาไว้ หรื อไม่เช่นนันการสร้ ้ างพี ระมิด บริ วารนี อ้ าจเป็ นการพัฒ นารู ป แบบมาจาก “สุสานทางใต้ ” (South Tomb) ที่ เคยปรากฏ ในกลุม่ วิหารพีระมิดของฟาโรห์ดโจเซอร์ ที่ซคั คารามาแล้ วก็เป็ นได้
พี ระมิ ด บริ วารของซาฮู เร ตัง้ อยู่ ท าง ทิศใต้ หรื ออยู่ทางซ้ ายสุดของผังวิหารพีระมิด ในปั จจุบนั อยู่ในสภาพที่เสียหายเช่นเดียวกับ พี ระมิด องค์ หลักด้ วยการใช้ เทคนิค เดี ยวกับ พีระมิดหลักที่ ก่อแกนในด้ วยกองหินคุณภาพ ต่าก่อนจะปิ ดผิวด้ วยหินปูนคุณ ภาพดี ทาให้ เมื่ อ ต่ อมามี ก ารขโมยหิ น ออกไปโดยคนใน สมัย หลังตัวโครงสร้ างเดิ มจึงทลายลงมาใน เวลาไม่นาน จากการสัน นิ ษ ฐานพบว่าขนาดฐานเดิ ม มี ความกว้ าง 15.7 เมตร หรื อ 30 คิวบิตหลวง และมีความสูงเดิม 11.5 เมตร หรื อประมาณ 22 คิ ว บิ ต หลวง โดยสัน นิ ษ ฐานจากองศา ความลาดเอี ยงของผิวหิ นปูนเดิ ม ขนาด 56 องศา จากการทลายของพีระมิดบริ วารองค์นี ้ ทาให้ เราเห็นถึงฐานของพี ระมิ ดที่ ก่อเป็ นรู ป ตั ว ที ใ นแนวแกนทิ ศ ตะวัน ออก-ตะวัน ตก เช่น เดี ย วกับ องค์ พี ระมิ ด หลัก ภายในไม่ พ บ วัต ถุห รื อสิ่งของใดๆที่ คาดว่าเคยถูกบรรจุไว้ เช่ น เดี ย วกั บ พี ร ะมิ ด องค์ อื่ น ๆที่ มี พี ร ะมิ ด บริ ว ารประกอบก็ ไ ม่ พ บหลั ก ฐานภายใน เช่ น เดี ย วกัน นัก อี ยิ ป ต์ วิท ยาสัน นิ ษ ฐานว่า
รูปที่ 15 ภาพตัดแสดงสภาพในปั จจุบันที่ อ ยู่ ใ น ส ภ า พ เส ี ย ห า ย แ ล ะ เผ ย ใ ห ้ เ ห็ น โครงสร ้างภายใน (Ludwig Bochardt)
91
ฉนวนทางเดินมีลกั ษณะเป็ นทางเชื่อม ระหว่า งวิห ารหุ บ เขาและวิห ารประกอบพิ ธี หลัก มี ค วามยาวทัง้ สิ ้น 235 เมตร มี การน า หินปูนมาใช้ ในการก่อกาแพงพื น้ และหลังคา คลุม ตลอดทางเดิน และมี ก ารเจาะช่ องแสง เป็ นช่ ว งๆตลอดทางเดิ น ภายในเพื่ อรั บ แสง ธรรมชาติ เ ข้ ามาใช้ ถึ ง แม้ ว่ า ในปั จจุ บ ั น ทางเดินดังกล่าวจะสูญหายไปบางส่วนแต่ก็มี การพบภาพสลักบนผนังจานวนมากซึ่งครัง้ หนึ่งเคยถูกลงสีและปูตลอดเส้ นทางเดินเดิม
วิหารหุบเขา ตังอยู ้ ่ทางตะวันออก ติด กับ ทะเลสาบอบูเซี ยร์ ที่ อยู่ใกล้ เคี ยงกัน โดย ท าแนวแกน เหนื อ -ใต้ มี ผัง เป็ นรู ป สี่ เหลี่ ย ม ขนาดกว้ าง 32 เมตร ยาว 24 เมตร ด้ านหน้ า ของวิหารนี จ้ ะทอดตัวลงไปยังทะเลสาบเป็ น ลัก ษณะคล้ า ยกั บ ท่ า เที ย บเรื อ ถัด มาด้ วย พาไลหน้ าทางเข้ า (Door Recess) ที่ มี เสา หิ น แกรนิ ต ทรงปาล์ ม เรี ย งเป็ นสองแถวแนว ยาวแถวละ 4 ต้ น ภายนอกของวิหารยังประกอบไปด้ วย อาคารเสริ ม ที่ อยู่ท างใต้ ติ ด กับ ตัว วิหารหลัก คาดว่าเป็ นอาคารที่ถกู ต่อเติมในช่วงหลังเพื่อ ใช้ เป็ นที่สญ ั จรสาหรับนักบวช ส่วนดังกล่าวมี ทางเข้ าที่ประกอบด้ วยพาไลเสาเช่นกัน แต่ตวั เสานั น้ มี ลัก ษณะเป็ นเสากลมเรี ย บเกลี ย้ ง เช่นเดี ยวกับเสาพาไลบริ เวณทิศใต้ ของวิหาร ประกอบพิธีหลัก นอกจากนี ใ้ นส่วนผนังของ ส่วนอาคารดังกล่าวยังมีการแกะสลักกล่าวถึง ชุ ม ช น ที่ อ ยู่ ใก ล้ เคี ย ง ชื่ อ “The Soul of Sahure Comes Forth in Glory” ลั ก ษ ณ ะ ชุ ม ชนหรื อ หมู่ บ้ านนี ถ้ ู ก เรี ย กว่ า หมู่ บ้ าน พี ร ะมิ ด (Pyramid Town) ซึ่ ง เป็ นหมู่ บ้ าน
รูปที่ 16 ฉนวนทางเดินในปั จจุบัน
92
คนงานที่ ส ร้ างขึ น้ มาพ ร้ อมการก่ อ สร้ าง พี ร ะมิ ด แต่ ล ะองค์ ห รื อ เมื่ อมี โ ครงการสร้ า ง สิ่งก่อสร้ างขนาดใหญ่ ที่ใช้ เวลานาน เช่นการ ก่อตัง้ ของหมู่บ้านคนงานที่เดียร์ เอล-เมดินา (Deir el-Medina) ในราชอาณาจัก รใหม่ ซึ่ ง เป็ นที่ อยู่ข องช่ างฝี มื อสร้ างสุสานในหุ บ เขา กษัตริย์เป็ นต้ น
ด้ ว ยหิ น บะซอลต์ และมี ท างแยกไปยังส่ วน ของบัน ไดเพื่ อขึ น้ ไปยังชัน้ ดาดฟ้ า ส่วนทาง ต่ อ ไปยัง ฉนวนทางเดิ น ที่ อ ยู่ ต รงกลางและ ส่วนทางไปยังอาคารทางทิศใต้
ในส่วนภายในของวิหารหุบเขานันไม่ ้ ได้ มีการ แบ่งห้ องใดๆ ตัวห้ องหลักเป็ นลักษณะโถงรู ป ตัวที ที่ประกอบด้ วยเสาสองต้ นภายในปูพื ้น
รูปที่ 17 ภาพถ่ายของบอร์ช าดแสดงสภาพ ของวิหารหุบเขาขณะขุดค ้น
93
94
95
96
รูปที่ 18 ซากปรักหักพังของพีระมิดฟาโรห์ซาฮูเร
97
ดั ง ที่ ก ล่ า วไปในตอนต้ นว่ า วิ ห าร ประกอบพี ระมิดของซาฮูเรนัน้ นับ ว่ามี ความ สวยงามและถื อเป็ นวิห ารพี ระมิ ดแห่ งแรกที่ ปรากฎการตกแต่ งผนังด้ วยภาพสลัก เช่น นี ้ จากเดิมที่ในวิหารพีระมิดอย่างในราชวงศ์ที่ 4
ไม่ เคยปรากฎการตกแต่ ง ใดๆ ดัง นัน้ วิห าร พีระมิดแห่งนี ้จึงมีคุณค่าในฐานะอาคารที่ปฎิ วัติ รูปแบบและค่านิ ยมทางสถาปั ตยกรรมที่ ปรากฎกับสุสานอย่าง 98
สิ น้ เชิ ง ผู้เขี ย นจึ งอยากให้ ความส าคั ญ ต่ อ ภาพแกะสลัก หลายๆภาพที่ ป รากฎภายใน กลุม่ อาคารนี ้เพราะนี่คือพื ้นฐาน
การศึกษาถึงรากฐานหลายๆอย่างที่จะส่งผล ต่ อ ไปยัง อาคารทางศาสนาในยุ ค หลังของ สถาปั ตยกรรมอียิปต์โบราณ
99
กายาน (Myrrh) ภายในสวนของพระองค์และ ภายในฉากใกล้ เคี ย งกัน ก็ เป็ นภาพของกอง เรื อขณะกลับมาจากแดนพันท์ (Punt) พร้ อม ด้ ว ยต้ น ก ายานอี ก เต็ ม ลาเรื อ รวมไปถึ งชาว พัน ท์ สุนัขและลา โดยฉากดังกล่าวถื อเป็ น หลักฐานที่ ชัดเจนชิน้ แรกๆที่ แสดงให้ เ ห็นถึ ง การติดต่อทาการค้ ากับดินแดนพันท์ของชาว ไอยคุ ป ต์ ฉากสุ ด ท้ ายที่ ป รากฏบนฉนวน ทางเดิ น แห่ งนี ก้ ็ มีค วามน่ าสนใจเช่ นกันโดย ฉากดั ง กล่ า วเป็ นภาพของชาวเบดู อิ น อด อยาก ในภาพแสดงถึงชาวเบดูอินที่ ร่างกาย ผอมโซและบิดงออย่างน่ากลัว ภาพลักษณะ คล้ ายกันนี ้เคยถูกพบมาก่อนแล้ วจากพีระมิด ของฟาโรห์ อูน าสในส่วนของฉนวนทางเดิ น เช่นเดียวกัน ภาพดังกล่าวทาให้ นกั โบราณคดี ตังข้ ้ อสมมติฐานมากมายรวมไปถึงการแสดง ถึงสภาวะข้ าวยากหมากแพงและอดอยากใน รั ช สมั ย ของฟาโรห์ อู น าส แต่ ห ลัง จากการ ค้ น พบภาพในลัก ษณะเดี ย วกัน ในที่ นี ท้ าให้ นั ก โบราณ ค ดี ตั ง้ ข้ อสั ง เกต ให ม่ ว่ า ฉาก ดั ง กล่ า วอาจท าหน้ าที่ เ ป็ นเพี ย งภาพเชิ ง สัญลักษณ์ มากกว่าสื่อถึงเหตุการณ์ ที่เกินขึน้ จริง
ผนังภายในโถงวิหารหุบเขา แกะสลัก บนหิ น ปู น ทู ร า ฐานผนั ง (Dado) ท าด้ วย หิ น แกรนิ ต สี ชมพู ภาพสลัก เป็ นฉากการล่า สัตว์ของฟาโรห์
ผ นั ง ภ าย ใน ฉ น วน ท างเดิ น ย าว แกะสลัก บนหิ น ปูน ทู ร า ภาพสลัก ทางส่ว น ปลายปรากฎฟาโรห์ ในรู ปลักษณ์ ของสฟิ งซ์ ขณะกาลังตะครุ บ ศัตรู และเชลย พร้ อมด้ วย ภาพขบวนยาวของเทพเจ้ าที่กาลังจูงเชลยศึก มี ฉ ากแสดงการขนชิ น้ ส่ ว นด้ านบนของ พีระมิดขึ ้นมายังบริเวณยอดพร้ อมทังฉากการ ้ เฉลิ ม ฉลองหลังพี ร ะมิ ด เสร็ จสมบู รณ์ ฉาก ของซาฮูเรในสวนของพระราชวัง พร้ อมด้ วย บุคคลอีกบุคคลหนึ่งชื่ อราเนเฟอร์ (Ranefer) และมี การเพิ่มเติมพระนามฟาโรห์เนเฟอร์ อิร์ คาเรเข้ ามาในภายหลัง ท าให้ นัก โบราณคดี สันนิษฐานว่าราเนเฟอร์ อาจเป็ นพระนามเดิม ก่อนขึ ้นครองราชย์ของฟาโรห์ เนเฟอร์ อิร์คาเร ก็เป็ นได้ ฉากภายในฉนวนทางเดินยัง ปรากฎ ภาพของฟาโรห์ ซ าฮู เรขณะก าลัง ปลูก ต้ น 100
รูป ที่ 20 ฐานผนั ง (Dado)ส ่วนตกแต่ง ที่อ ยู่ด ้านล่างของตั วผนั ง มั ก ท าด ้วยหิน บะซอลต์ห รือ แกรนิตดา
รูปที่ 21 ผนังสว่ น B ฉนวนทางเดินแสดงภาพกองเรือเดินทางจากดินแดนพันท์
101
ทางด้ านการค้ าและการทูต มากกว่าการรบ แต่กระนันก็ ้ เป็ นไปได้ ว่าฉากดังกล่าวนี ้อาจไม่ เคยเกิดขึ ้นจริ งและเป็ นเพียงฉากตามจารี ตที่ มักปรากฎได้ ในภาพที่ ใช้ แสดงแสนยานุภาพ ของฟาโรห์ แ ละข่ ม ขวัญ เท่ า นั น้ ส่ ว นทาง ด้ า นขวาบนของภาพปรากฎภาพเทวีเซชัต (Seshat) ขณะกาลังทาการจดบันทึ ก ถัดลง มาด้ วยรู ปของสัตว์ชนิดต่างๆที่ ถูกกวาดต้ อน มาพร้ อมกับ เชลย และด้ า นล่ า งสุด ปรากฏ ภาพของเทพเจ้ าสองพระองค์ ซึ่งสัน นิษ ฐาน ว่าน่าจะเป็ นเทพเจ้ าของชาวลิเบีย ส่วนอื่นๆ ของผนังมีลกั ษณะแตกหักเป็ นชิ ้นเล็กชิ ้นน้ อย กระจายออกไปแต่ มีบางส่วนที่ แสดงถึงแถว ของเหยื อ กไหจ านวนมากที่ ได้ มาจากชาว เอเชี ยซึ่งอาจเคยบรรจุไวน์ ห รื อเบีย ร์ เอาไว้ ก็ เป็ นได้
ผนังรอบลานกว้ าง แกะสลัก ลงสีบ น หิ น ปู น ทู ร า ฐานผนั ง ท าด้ วยหิ น บะซอลต์ ภาพสลัก เป็ นฉากแสดงชัย ชนะของฟาโรห์ ซาฮูเรเหนื อศัตรู ต่างถิ่นอย่างชาวเอเชี ยและ ลิเบี ย รวมไปถึ งเชลยสงครามอื่ น ๆ ในภาพ ปรากฎฟาโรห์ ซาฮูเรขณะก าลังสาเร็ จ โทษ ด้ วยการใช้ กระบองฟาดไปยังศีรษะของเชลย ชาวลิเบีย ทางด้ านข้ างประกอบไปด้ วยภาพ ของลูก และภรรยาของเชลยผู้โชคร้ ายก าลัง เศร้ าโศกและร้ องขอความเมตตาจากฟาโรห์ ภาพดังกล่าวอาจจะค่ อนข้ างโหดร้ ายและดู เป็ นฉากที่ เกิ น จริ ง แต่ ใ นทั ศ นคติ ข องชาว อียิปต์โบราณนันแตกต่ ้ างออกไปจากปั จจุบนั ในหลายๆด้ าน พวกเขามองว่าการกระท า ดังกล่าวเป็ นไปเพื่อการรักษาระเบียบของโลก หรื อที่ เรี ยกว่ามา’อัต (Ma’at) ให้ รอดพ้ นจาก ความไร้ ระเบียบและความโกลาหลที่ เกิดขึน้ ภายนอกอาณาจักร ถึงกระนันชาวอี ้ ยิปต์ยงั มี การพัฒ นาความสัม พัน ธ์ ท างการทูต กับ ชน ต่างถิ่นอย่างต่อเนื่ องเช่นกันดังที่ บางฉากใน วิ ห ารแสดงถึ ง การส่ ง กองเรื อ เพื่ อ ส ารวจ เส้ นทางการค้ าและมี หลักฐานหลายๆด้ านที่ สนับสนุนว่าพระราชกรณียกิจในรัชสมัยนี ้เน้ น 102
รูปที่ 22 ผนังสว่ น C แสดงภาพครอบครัวของ เชลยขณะอ ้อนวอนและ เศร ้าโศก
103
ว่าแปลกประหลาดอยู่ไม่น้อย เนื่ องจากการ แต่งตังผู ้ ้ สืบสันตติวงศ์ เช่นนี ้ เริ่ มมี การปฎิบตั ิ เป็ นจารี ตกันในช่วงราชวงศ์ ที่ 12 เป็ นต้ นมา เท่ า นั น้ และไม่ เ คยปรากฎหลั ก ฐานอื่ น ๆ เกี่ ยวกับ การปฎิ บ ัติ เช่น นี ใ้ นราชวงศ์ ที่ 5 อี ก เลย
ผนังทางเดิ น โดยรอบลาน แกะสลัก บนหินปูนทูรา ฐานผนังทาด้ วยหิน บะซอลต์ เป็ นฉากฟาโรห์ซาฮูเรขณะล่าสัตว์ต่างๆ ผนัง ทางเดิ น ท างด้ าน ทิ ศ ใต้ ปรากฏ ฉากบน ทะเลทรายที่ เต็มไปด้ วยฝูงสัตว์อย่าง กวาง ก าเซล (Gazelle) ล ะมั่ ง (Oryx) แ พ ะป่ า (Ibex) และกวางนานาชนิ ด ที่ ไม่ ป รากฎใน อียิปต์สมัยปั จจุบนั แล้ ว สัตว์เหล่านี ก้ าลังถูก ข้ าราชบริ พารต้ อนด้ วยไม้ และบ่วงให้ วิ่งไปยัง องค์ ฟาโรห์ ที่กาลังง้ างธนูยิงออกไปหลายต่อ หลายดอก สร้ างความอลหม่านและสับสนกับ ฝูงสัตว์ที่ปรากฎภาพอย่างเข้ าถึงอารมณ์ ใน ฉากดังกล่าวยังปรากฏข้ าราชบริพาร ขุนนาง ที่ มามุงดูเป็ นจานวนมาก รวมไปถึงพระราช โอรสที่ปรากฎชื่ออย่างเนเฟอร์ อิร์คาเรที่กาลัง จะเป็ นฟาโรห์ องค์ ถัด ไป แต่ ด้ วยประเด็ น ที่ พระนามนี ป้ รากฎในคาร์ ทูชซึ่งแสดงสถานะ ฟาโรห์ ท าให้ มี ค วามเป็ นไปได้ สองทางคื อ อาจจะมี การปรับเพิ่มพระนามนี ใ้ นภายหลัง การครองราชย์ ของพระองค์ หรื อไม่ก็ อาจจะ เป็ นไปได้ ว่าฟาโรห์ ซาฮูเรได้ ทาการแต่งตัง้ ให้ เนเฟอร์ อิ ร์ ค าเรเป็ นผู้ส าเร็ จราชการร่ ว มใน ขณะที่ยงั ดารงพระชนม์ชีพอยู่ ซึง่ กรณีหลังถือ
ฉ า ก ล่ า สั ต ว์ ที่ ป ร า ก ฏ นั ้ น นอกเหนื อ จากสั ต ว์ ที่ ก าลั ง ถู ก ล่ า แล้ วยั ง ปรากฎรายละเอียดอื่นๆอย่าง หนูทะเลทราย ที่กาลังกระโดดไปมา ตัวเม่นที่กาลังขุดหลุม หนี อย่ า งหวาดกลัว และไฮยี น าที่ ก าลังฉวย โอกาสคาบซากของละมัง่ ไปอย่างหน้ าตาเฉย ฉากทั ง้ ห มด นี ถ้ ู ก รั ง สรรค์ ขึ น้ มาอย่ า งมี ชีวิตชีวาและเต็มไปด้ วยรายละเอียดของช่าง ที่ มี ค วามชานาญและเก็ บ รายละเอี ย ดของ สัตว์น้อยใหญ่ได้ เป็ นอย่างดี แต่อย่างนันก็ ้ มี ข้ อ สัง เกตบางประการจากในหนัง สื อ Das Grabdenkmal des Königs S'aḥu-Re ของ บอร์ ช าดที่ ว่ า ลัก ษณะของฉากดั ง กล่ า วมี ความคล้ ายคลึงเป็ นอย่างมากกับฉากการล่า สัตว์ที่มีชื่อเสียงอีกงานหนึ่งนัน่ คือฉากการล่า สั ต ว์ ใน ม า ส ต า บ า ข อ ง พ ท า ห์ โฮ เท ป (Ptahhotep) ซึง่ เป็ นงานที่ร่วมสมัยกัน จึงเชื่อ ได้ ว่างานแกะสลักของพทาห์ โฮเทปอาจจะมี 104
การคัดลอกแบบมาจากฉากในวิหารแห่งนี ก้ ็ เป็ นได้
อธิบายได้ ว่า เป็ นฉากของฟาโรห์ซาฮูเรขณะ กาลังยืนอยู่บนเรื อและมีสตรี ในอาภรณ์ อย่าง เชื อ้ พระวงศ์ ยื น อยู่ เคี ย งข้ า งขณะที่ ฟ าโรห์ กาลังใช้ หลาวแทงลงไปบนปลาตัวใหญ่ และ ยกมั น ขึ น้ มาจากน า้ โดยที่ มื อ อี ก ข้ างหนึ่ ง กาลังจับสัตว์ปีกบางชนิดเอาไว้
บนผนังทางด้ านทิศเหนื อปรากฎฉาก ล่าสัตว์เช่นเดียวกันแต่ทางด้ านนี ้เป็ นฉากของ การจับสัตว์น ้าและสัตว์ปีกเป็ นหลัก ภาพสลัก ที่ปรากฏค่อนข้ างอยู่ในสภาพที่เสียหายทาให้ ฉากหลายๆฉากหายไปแต่ ห ลัก ๆสามารถ
รูปที่ 22 ,23 ผนังสว่ น D แสดงภาพ ั ว์ ฟาโรห์ซาฮูเรขณะกาลังล่าสต
105
การล่าสัตว์ในมุมมองของชาวอียิป ต์ นัน้ ไม่ ได้ มี เหตุ ผ ลในเรื่ อ งของความบัน เทิ ง เพี ยงเท่านัน้ แต่ มีความหมายในทางศาสนา ด้ วยเช่ นกัน ชาวอียิ ปต์ โบราณเชื่ อว่าการล่า สั ต ว์ ข องฟาโรห์ นั น้ เปรี ย บเป็ นการสร้ าง ระเบี ย บให้ กั บ โลกและแสดงถึ ง พระราช อานาจของฟาโรห์ ที่ มี ค วามสามารถในการ ควบคุมพลังเหนือธรรมชาติ
เดินทางสู่โลกหลังความตายของฟาโรห์ เช่ น การพบกับเทพอนูบสิ และ กลุม่ เทพองค์อื่นๆ
ผนั ง ส่ ว นทางเดิ น คั่ น แกะสลั ก บน หินปูนทูรา ฐานผนัง ทาด้ วยหินแกรนิต ฉากที่ ปรากฎบนพื น้ ที่ ส่ วนนี น้ ับ ว่ามี ค วามสาคัญ ทางประวัติศาสตร์ มากเนื่องจากบนผนังทาง ทิศเหนือเป็ นการแสดงภาพของกลุ่มกองเรื อ ขนาดใหญ่ ข ณะก าลังออกเดิ น ทางส ารวจ เส้ นทางไปยังซีเรี ยหรื ออาจเป็ นคาบสมุทรไซ นายโดยมีฟาโรห์เฝ้ามองขณะกองเรื อเคลื่อน ออกไป และทางทิศใต้ ของผนังเป็ นภาพของ กองเรื อที่มาพร้ อมกับชัยชนะ
ในส่ ว นที่ ลึ ก เข้ า มาภาพฉากต่ า งๆเริ่ ม เน้ น กลั บ ไปถึ ง ประเด็ น ทางศาสนาและการ 106
รูปที่ 24
ผนั งสว่ น F
แสดงภาพเทพองค์ตา่ งๆ
รูปที่ 25,26 สว่ นรายละเอียด ตกแต่งประตูในวิหาร
107
รูปที่ 27
เนเฟอร์ อิร์คาเร คาคาอิ (Neferirkare Kakai) เป็ นฟาโรห์ องค์ ที่ 3 แห่ งราชวงศ์ ที่ 5 สมัยราชอาณาจักรเก่าแห่งอาณาจักรอียิปต์ โบราณ พระองค์ ได้ สร้ างพี ระมิ ด ของตัวเอง เอาไว้ ที่ น ครสุสานอบู เซี ย ร์ เป็ นองค์ ที่ 2 ถัด จากฟาโรห์ ซ าฮู เร ซึ่ ง เป็ นผู้ ริ เริ่ ม การสร้ าง สุสานในสถานที่นี ้ พีระมิดของฟาโรห์เนเฟอร์ อิร์คาเรถือเป็ นพีระมิดที่สงู ที่สดุ ในบรรดากลุ่ม พี ร ะมิ ด อบู เ ซี ย ร์ และสู ง ที่ สุ ด ในบรรดา สิ่งก่อสร้ างของราชวงศ์ ที่ 5 อีกด้ วย โครงการ ก่ อ สร้ างพี ร ะมิ ด ของพระองค์ นี อ้ ยู่ ใ นช่ ว ง 2477 ถึ ง 2467 ปี ก่ อนคริ สตกาล ถึ ง แม้ ว่ า พี ร ะมิ ด ของพระองค์ จะจัด เป็ นพี ร ะมิ ด ที่ สูง ที่ สุ ด ใน บรรดากลุ่ ม พี ระมิ ด อบู เ ซี ย ร์ แ ต่
ผังพีระมิดฟาโรห์เนเฟอร์อริ ค ์ าเร
พระองค์ ก็ ได้ สิ น้ พระชนม์ ก่ อ นที่ พี ระมิ ด จะ เสร็จสมบูรณ์ ทาให้ พีระมิดมีความสูงเพียง 72 เมตร ณ ขณะนันและปั ้ จจุบนั ก็เหลือความสูง เพี ยงแค่ 50 เมต รเท่ า นั น้ ด้ วยเกิ ด การ พังทลายลงมาของตัวพีระมิด ชื่อของพี ระมิด แห่ ง นี ถ้ ู ก เรี ย กแต่ เดิ ม ว่า “วิญ ญาณแห่ งคา คาอิ” ซึง่ คาคาอิคือชื่อตอนประสูติของฟาโรห์ เนเฟอร์ อริ ์ คาเรนัน่ เอง ในช่ ว งปลายศตวรรษที่ 19 เพอร์ ริ่ ง (Perring) และเลปซิอสุ (Lepsius) ได้ ทาการ สารวจสถานที่แห่งนีเ้ ป็ นครัง้ แรกโดยจดลงใน รายชื่ อ พี ร ะมิ ด ที่ อ ยู่ ใ นอี ยิ ป ต์ ร ะหว่ า งการ สารวจ ซึ่งพี ระมิ ด แห่ ง นี ถ้ ูก ขุด ค้ น อย่ างเป็ น ทางการในช่ ว งปี ค.ศ. 1904 ถึ ง 1907 โดย 108
บอร์ ชาด จากสภาพของพีระมิดในขณะนันที ้ ่ พัง ทลายและอยู่ ในช่ วงการก่ อสร้ างที่ ยังไม่ สมบูรณ์ ได้ เผยถึงแกนโครงสร้ างภายในทาให้ บอร์ ชาดทราบถึงโครงสร้ างของพีระมิดในยุค นี ้และนาไปสูก่ ารตังทฤษฎี ้ การก่อพีระมิดด้ วย โครงสร้ างแบบขันบั ้ นได (Accretion Layers Theory) อีกด้ วย
ในส่ว นของวิห ารประกอบพี ร ะมิ ด เอง ก็ ถู ก สร้ างจนสมบูรณ์ ในสมัยของฟาโรห์องค์ต่อมา คือฟาโรห์นิอเู ซอร์ เร ในส่ว นตัว สิ่ง ก่ อ สร้ า งที่ เกี่ ย วข้ องกับ การประกอบพิ ธี ศ พหรื อ องค์ ป ระกอบของ วิหารประกอบพิธี เราพอทราบจากการจัดผัง จากกลุ่มวิหารประกอบพี ระมิดของซาฮูเรกัน มาบ้ างแล้ ว และจากการที่พีระมิดของซาฮูเร เป็ นต้ น แบบของการจัด ผัง วิห ารพี ร ะมิ ด ใน ราชวงศ์ ที่ 5 พี ระมิ ด ของเนเฟอร์ อิร์ ค าเรจึ ง จัดเป็ นพี ระมิดองค์ แรกที่เริ่ มมีการใช้ รูปแบบ นี ้ต่อมาในฐานะธรรมเนียมอย่างหนึ่งแต่จะมี ความแตกต่างพอสมควร เพราะวิหารของเน เฟ อร์ อิ ร์ ค าเรค่ อ น ข้ างมี สั ด ส่ ว น การใช้ โครงสร้ างที่ เป็ นอิฐสอโคลนเป็ นส่วนมากซึ่ง อาจมาจากการต่ อ เติ ม ในภายหลั ง หรื อ ต้ องการร่ นระยะเวลาในการก่อสร้ างก็ตามที นอกจากนี ้ผังของวิหารในส่วนลานกว้ างยังมี ความยิ่ งใหญ่ เป็ นพิ เศษและพื น้ ที่ ส่ว นใหญ่ ของวิ ห ารพี ร ะมิ ด แห่ ง นี ก้ ็ มี ส่ ว นเปิ ดโล่ ง มากกว่า วิห ารประกอบพี ระมิ ด องค์ อื่ น ๆใน ราชวงศ์เดียวกัน
ความน่ าสนใจส่วนหนึ่ งของพี ร ะมิ ด แห่งนี ค้ ือ จากการศึกษาของนักอียิปต์ วิทยา เชื่อว่า โครงการสร้ างพี ระมิดแห่งนี ้แต่เดิมได้ วางแผน ไว้ ให้ เป็ นลั ก ษ ณ ะของพี ระมิ ด ขันบั ้ นได 6 ขัน้ เช่นเดียวกับของดโจเซอร์ ที่ซคั คารา ถึงแม้ ว่าลักษณะขันบั ้ นไดเช่นนี ้จะหมด ความนิ ย มไปตัง้ แต่ สมัย ราชวงศ์ ที่ 4 แล้ ว ก็ ตาม แต่ เมื่ อ มี ก ารก่ อ สร้ างไปได้ ระยะหนึ่ ง สถาปนิกผู้ออกแบบพี ระมิด แห่ งนี ก้ ็ได้ มี การ ปรับแบบและขยายตัวโครงสร้ างเพื่ อเปลี่ยน ให้ เป็ นลัก ษณะของพี ร ะมิ ด แท้ เหมื อ นเช่ น ปกติ โดยเพิ่ม ขัน้ ให้ เป็ น 8 ขัน้ ก่อนจะก่อถม ขัน้ บัน ไดเดิ ม ให้ เป็ นลักษณะของพี ระมิด ผิว เกลี ย้ ง แต่ ก ารก่ อ สร้ างทั ง้ ส่ ว น พี ระมิ ด ขัน้ บันไดเดิ มและการต่ อเติม ให้ เป็ นพี ระมิ ด แท้ ก็ไม่สมบูรณ์ ในรัชสมัยนี ้และบางส่วนของ พี ระมิ ด ก็ ยังไม่ มี ก ารปิ ดผิวด้ วยหิ น ปูน เรี ย บ 109
รูปที่ 28 ผนังแบบก่ออิฐสอโคลน ซงึ่ พบได ้ในงานต่อเติมวิหารระยะหลังเพือ่ รวบรัดเวลาก่อสร ้าง ั เจน โดยทางขวาสว่ นของการก่อหินมี รูปที่ 29 ภาพนี้แสดงถึงการก่อ ผนั งทัง้ 2แบบได ้อย่างชด ้ การเพิม ่ ความหนาผนั ง โดยให ้ใสในเป็ นเศษหินก่อ ก่อนจะปิ ดผิวผนั งด ้วยหิน ปูน คุณ ภาพดี และ ้ ั เจน ทางซายเป็ นสว่ นทีเ่ ห็นการเริม ่ เปลีย ่ นมาใชวั้ สดุเป็ นอิฐตากอย่างชด
110
ถ้ าหากดู จ ากผัง และองค์ ป ระกอบ อาคารที่ ได้ กล่ า วไปจะพบว่ า ผัง ของวิ ห าร ประกอบพี ระมิดแห่งนี ม้ ีอาคารและห้ องน้ อย มาก เมื่ อเที ยบกับวิหารของพี ระมิดองค์ อื่นๆ ในช่ ว งสมัย เดี ย วกัน วิห ารแห่ ง นี ป้ ราศจาก วิ ห ารหุ บ เข าแ ล ะฉ น วน ท างเดิ น ทั ้ง นี ้ นั ก วิ ช าการได้ ตั ง้ ข้ อสั น นิ ษ ฐานว่ า ฉนวน ทางเดิ น และวิ ห ารหุ บ เขาเดิ ม นั น้ ได้ ถู ก นาไปใช้ กบั วิหารประกอบพีระมิดของนิอเู ซอร์ เร จากลัก ษณะผังที่ เห็ น ว่า ฉนวนทางเดิ น ของพี ระมิ ด ฟาโรห์ นิ อูเซอร์ เร มี ก าร “เบี่ ย ง” จากแนวแกนเดิ ม และมี ลั ก ษณ ะที่ ต่ อ กั บ แนวแกนของฉนวนทางเดินเดิมของพีระมิดเน เฟอร์ อิร์คาเรเองก่อนจะเชื่อมยาวไปถึงวิหาร หุบ เขา แต่ จากหลัก ฐานอื่ น ๆประกอบกลับ แสดงให้ เห็ น ว่า วิห ารประกอบพี ร ะมิ ด แทบ ทังหมดของฟาโรห์ ้ เนเฟอร์ อริ ์ คาเรนันไม่ ้ ได้ ถูก สร้ างขึน้ ในช่วงสมัยของพระองค์ แต่เป็ นการ สร้ างต่อโดยฟาโรห์นิอเู ซอร์ เรผู้เป็ นโอรส ส่วน แรกเริ่ มของวิหารนันเป็ ้ นส่วนของวิหารชัน้ ใน แสดงจากวัส ดุ ที่ ถู ก ใช้ ใ นส่ ว นนี เ้ ป็ นหิ น ปู น ประกอบด้ ว ยห้ องบู ช า ห้ อ งตัง้ รู ป สลัก และ ห้ อ งเก็ บ ของสัก การะ 3 ห้ อง ในจ านวนนี ม้ ี การพบภาพสลัก ของเนเฟอร์ อิร์ค าเรพร้ อ ม ด้ วยพระมเหสี ซึ่งก็คือพระนางเคนท์คาเวสที่
พี ร ะมิ ด ของฟาโรห์ เนเฟอร์ อิ ร์ ค าเร ประกอบด้ วยกลุม่ โครงสร้ างหลักๆดังต่อไปนี ้ 1. ทางเดินฉนวน (Causeway) เดิม สันนิษฐานว่าเชื่อมเข้ ากับวิหารหุบเขา แต่ถกู ตัดและวิหารหุบเขาถูกนาไปใช้ โดยนิอเู ซอร์ เรแทน 2. วิหารหลัก (Upper Temple) ซึง่ มี องค์ประกอบของ ทางเข้ า (Door Recess) ประกอบด้ วยเสาไม้ 4 ต้ น โถงยาว (Per-weru) ภายในมีเสาไม้ ขนาบคู่เป็ นแนวยาวตลอดทางเดิน ลานกว้ างขนาดใหญ่ (Courtyard) ล้ อมด้ วยกาแพงอิฐและเสาไม้ ห้ องตังรู้ ปสลักฟาโรห์ (5 Niches Chapel) ห้ องบูชา ภายในมีประตูปลอมตังอยู ้ ่ ห้ องเก็บของสักการะ (Storage Annexes) 111
2 และราเนเฟอร์ โอรสองค์ โตของเนเฟอร์ อิร์ คาเร จากภาพสลัก ดังกล่าวท าให้ นัก อียิ ป ต์ วิ ท ยาสามารถล าดั บ ความสั ม พั ม ธ์ ข อง สมาชิกราชวงศ์ที่ 5 ได้ ชดั เจนมากยิ่งขึ ้น
ถึงแม้ ว่าพีระมิดของฟาโรห์ เนเฟอร์ อิร์ คาเรจะมี ค วามน่ า สนใจในตัว วิห ารไม่ ม าก เท่ากลุ่มวิหารของซาฮูเรแต่ความสาคัญของ พี ระมิดแห่งนี ค้ ื อการค้ นพบ “ปาปิ รัสแห่งอบู เซี ย ร์ ” ภายในส่ ว นวิ ห ารที่ ถื อ เป็ นหนึ่ ง ใน ปาปิ รัสที่เก่าแก่ที่สุดและเป็ นเอกสารที่ แสดง ให้ เห็ น ถึ ง การบริ ห ารงานและต าแหน่ งของ นักบวชภายในวิหารรวมไปถึงการจดบันทึ ก การนาเข้ าของสักการะในแต่ละวัน หลักฐาน ดังกล่าวนี ้ทาให้ เราได้ เห็นถึงกิจกรรมที่เกิดขึน้ ภายในวิหารและสังคมในช่วงราชอาณาจักร เก่าได้ เป็ นอย่างดี ปาปิ รัสดังกล่าวถูกพบใน ลักษณะที่กระจัดกระจายเป็ นชิ ้นเล็กชิ ้นน้ อย ในปี ค.ศ. 1893 โดยชาวนาในพื น้ ที่ และถูก ขายเข้ าตลาดของเก่า จนกระทั่งถูกตามเก็บ รวบรวมอีกครัง้ โดยตัวบอร์ ชาดเอง จนกระทัง่ ปี ค.ศ. 1975 กลุ่มนักขุดค้ นชาวเช็คนาโดยมิ โรสลาฟ เวอร์ เ นอร์ ก็ ไ ด้ มี ก ารพบปาปิ รั ส เพิ่ ม เติ ม ในส่ว นเก็ บ ของสัก การะที่ มี ก ารจด จารในลักษณะของตัวอักษรเฮี ยราติกแสดง ถึ งบัน ทึ ก การก่ อสร้ า งวิห ารและกิ จวัต รของ นักบวชในวิหาร
โครงการสร้ างถัดมาส่วนมากมีการใช้ วัสดุเป็ นอิฐสอโคลนและปูพื น้ ด้ วยการฉาบ ดิน เหนี ย ว ในส่วนของฐานรากแทนที่ จะถูก ก่อด้ วยหินก็ได้ มีการยกระดับฐานด้ วยอิฐและ เศษหินแทน ทางด้ านทิศตะวันออกของวิหาร จะเป็ นส่วนโถงทางเข้ าที่ มีเสาไม้ จานวนสี่ต้น โถงยาวที่มีเสาไม้ จานวนหกคู่และลานกว้ างที่ มี เสาประกอบ 37 ต้ น ทัง้ หมดเป็ นเสาไม้ ที่ แกะสลักเป็ นรู ป มัดดอกบัวตูม โดยเดิมคาด ว่ามี 38 ต้ นแต่ถูกทาลายไปในช่วงที่มีไฟไหม้ ตังแต่ ้ สมัยโบราณและในส่วนต่อเติมก็รวมไป ถึงห้ องเก็บของสักการะทางทิศตะวันตกเฉี ยง ใต้ ด้วย อาคารในส่วนวิห ารทัง้ หมดถูก ล้ อม ด้ วยก าแพงขนาดใหญ่ ที่ ใ ช้ อิ ฐ สอโคลน เช่นเดี ยวกัน นอกจากนี ย้ งั มี การค้ นพบที่ พัก สาหรับนักบวชประจาวิหารอยู่ทางทิศใต้ และ มี ห ลัก ฐานถึ งการใช้ งานจนถึ งราชวงศ์ ที่ 6 ด้ วย 112
รูปที่ 30 พีระมิดฟาโรห์เนเฟอร์อริ ค์ าเร ่ เดียวกับ เผยโครงสร ้างแบบขัน ้ บันไดเชน พีระมิดฟาโรห์ซาฮูเร
รูปที่ 31 สว่ นตกแต่งภาชนะประกอบพิธ ี ปรากฏพระนามฟาโรห์เนเฟอร์อริ ค ์ าเร
113
114
115
รูปที่ 32
เนเฟอร์ เอฟเร (Neferefre) เป็ นฟาโรห์ องค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ที่ 5 สมัยราชอาณาจักร เก่าแห่งอาณาจักรอียิปต์ โบราณ พระองค์ ได้ สืบ ราชสมบัติ ต่ อจากฟาโรห์ เนเฟอร์ อิร์ค าเร และจากพงศาวดารของมาเนโธกล่ า วว่ า พระองค์ ค รองราชย์ อ ยู่ ถึ ง 20 ปี แต่ ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วได้ ถู ก ตั ง้ ข้ อสั ง เกต ว่ า อา จเป็ น ระยะเวลาที่ ค ลาดเคลื่ อนและพระองค์ อาจ ครองราชย์ในเวลาอันสันเนื ้ ่องมาจากพีระมิด ข อ งพ ระ อ งค์ ยั ง ส ร้ า งไม่ ส ม บู รณ์ ข้ อ สันนิษฐานนี ้ได้ รับการสนับสนุนโดย รายพระ นามตู ริ น (Turin King List) ที่ ป รากฎการ
ผังพีระมิดฟาโรห์เนเฟอร์เอฟเร
บันทึ กช่วงปี ที่ ค รองราชย์ ด้วยขี ดเพี ยง 2 ขี ด แสดงถึ งระยะเวลาปกครองเพี ย งแค่ 1-2 ปี เท่านัน้ มิ โ รสลาฟ เวอร์ เน อร์ ยั ง ได้ กล่ า ว สนับ สนุน ต่ อข้ อมูลดังกล่า วจากการที่ ได้ ลง พื ้นที่ขุดค้ นในอบูเซียร์ ตงแต่ ั ้ ช่วงปี ค.ศ. 1976 ว่า “ลักษณะภายนอกของสุสานเนเฟอร์ เอฟ เร รวมทั ง้ หลัก ฐานทางโบราณคดี อื่ น ๆได้ ยืนยันถึง โครงการก่อสร้ างสุสานของพระองค์ ที่ ห ยุ ด ชะงั ก จากการสิ น้ พ ระชนม์ อย่ า ง กะทั น หั น ของฟาโรห์ เ อง โครงการสร้ าง พีระมิดแห่งนี ้รวมถึงผังแรกเริ่ มถูกเปลี่ยนจาก 116
พีระมิดที่สร้ างได้ เพียงส่วนแกนขันแรกให้ ้ มา เป็ น ‘มาสตาบาทรงจัตุรั ส ’ หรื อให้ อยู่ใ นรู ป ของ ‘เนิ น ดิ น แห่ งการถื อก าเนิ ด ’ แต่ เราก็ ไม่ ท ราบ แ น่ ชั ด ว่ า ใน ช่ ว งเวล าที่ พ ระอ งค์ สิ ้นพระชนม์นนส่ ั ้ วนฝั งพระศพหรื อแม้ กระทั่ง ส่วนของวิหารได้ ถกู สร้ างขึ ้นมาแล้ วหรื อไม่”
เป็ นมัมมี่ รวมทังปาปิ ้ รัสจากภายในวิหารและ ที่สาคัญคือรูปสลักของฟาโรห์เนเฟอร์ เอฟเรที่ เป็ นตัวยื น ยัน ถึ งเจ้ า ของที่ แ ท้ จริ งของสุสาน แห่ ง นี ้ ซึ่ง จากสภาพสุส านที่ อ ยู่ ใ นช่ ว งการ ก่ อ สร้ างที่ ไ ม่ ส มบู ร ณ์ นี ย้ ั ง ได้ บอกเราถึ ง กระบวนการและเทคนิคการก่อสร้ างพีระมิด ในช่วงสมัยราชวงศ์ที่ 5 ได้ เป็ นอย่างดีอีกด้ วย
ฟาโรห์ เนเฟอร์ เอฟเรได้ สร้ างพี ระมิ ด ของพระองค์ที่นครสุสานอบูเซียร์ เป็ นองค์ที่ 3 และตัง้ อยู่ถดั จากพี ระมิดของเนเฟอร์ อิร์คาเร ผู้เป็ นบิดาลงมาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ การ ค้ น พบพี ร ะมิ ด ของพระองค์ ใ นช่ ว งแรกนั น้ ไม่ได้ รับความสนใจมากนักและได้ ถูกจดเข้ า ไปในรายนามพี ระมิดของ เพอร์ ริ่งและเลปซิ อุส ในชื่ อเลปซิ อุส 26 (Lepsius XXVI) โดย ไม่ได้ ทราบถึงผู้เป็ นเจ้ าของพีระมิดแห่งนี ้ การ สั น นิ ษ ฐานในช่ ว งต้ นนั น้ ได้ มี ผ้ ู เสนอว่ า พีระมิดแห่งนี ้เป็ นของฟาโรห์เชปเชสคาเร แต่ ก็ไม่ได้ รับการยืนยันที่แน่ชดั จนกระทัง่ ปี ค.ศ. 1974 กลุ่มที ม ขุด ค้ น น าโดยมิโรสลาฟ เวอร์ เนอร์ ที่ เคยทาการขุดค้ นในสุสานบริ เวณอบู เซี ย ร์ ได้ ลงพื น้ ที่ ส ารวจพี ร ะมิ ด แห่ ง นี อ้ ย่ า ง จริ งจังจนทราบได้ ว่าสิ่งก่อสร้ างดังกล่าวเป็ น สุสานสาหรับ ฟาโรห์ นอกจากนี ใ้ นระหว่า ง การขุดค้ นยังได้ มีการพบชิ ้นส่วนมือที่มีสภาพ
รูปที่ 33 รูปสลักฟาโรห์เนเฟอร์เอฟเร
117
นันได้ ้ กล่าวถึงพีระมิดแห่งนี ้โดยใช้ คาว่า “เนิน เขา”(Hill) ด้ วย
พีระมิดของฟาโรห์ เนเฟอร์ เอฟเร หรื อ เรี ย กแต่ เ ดิ ม คื อ nTri bAw nfr.f-ra แปลว่ า เทวสิทธิ์คืออานาจของเนเฟอร์ เอฟเร มี ขนาด ฐานกว้ างราว 65 เมตร และอาจเป็ นพี ระมิด กษั ตริ ย์ที่มี ขนาดเล็กที่ สุดถัด มาจากพี ระมิ ด ของฟาโรห์ อูน าส แต่ ค วามสูงของพี ระมิ ด ที่ วางแผนไว้ แ ต่ เดิ ม นั น้ ไม่ ส ามารถบอกได้ เนื่ อ งจากไม่ ป รากฎการก่ อหิ น ปิ ดผิว และมี เพี ย งแกนโครงสร้ างภายในเพี ย งขั น้ เดี ย ว เท่ า นั น้ ทางด้ านปั จจัย ในการเลื อ กท าเล ดังกล่าวได้ มี นัก อียิป ต์ วิท ยาตัง้ ข้ อสังเกตถึ ง การจัดวางพี ระมิดถัดมาจากเนเฟอร์ อิร์คาเร เพื่อสร้ างเส้ นแนวแกนโดยใช้ พีระมิดสามองค์ ได้ แก่ พี ร ะมิ ด ของฟาโรห์ เนเฟอร์ เอฟเร เน เฟอร์ อิร์คาเรและซาฮูเร เชื่อมโยงเข้ าด้ วยกัน ให้ พุ่ ง ไปยัง วิห ารสุริ ย ะในนครเฮลิ โอโพลิ ส เช่นเดี ยวกับหมู่พีระมิด 3 องค์ที่กิซ่า แต่ดังที่ ทราบว่าพีระมิดของเนเฟอร์ เอฟเรนันไม่ ้ ได้ ถูก สร้ างจนเสร็ จ ส่วนวิหารพี ระมิดจึงได้ ถูกสาน ต่ อ โดยฟาโรห์ ใ นรั ช กาลต่ อ มาจนสมบู ร ณ์ ยกเว้ นในส่วนพีระมิดที่ไม่ได้ สร้ างต่อและปรับ ให้ เป็ นอาคารคล้ ายมาสตาบาแทน และเราได้ ทราบจากปาปิ รัสภายในวิห ารของพระองค์
พี ร ะมิ ด ของฟ าโรห์ เ นเฟ อร์ เ อฟ เร ประกอบด้ วยอาคารเพี ยงแค่วิหารหลักแต่ไม่ ปรากฏวิห ารหุ บ เขาและฉนวนทางเดิ น ซึ่ ง อาจจะมาจากโครงการสร้ างที่ ไม่ ได้ รั บ การ สานต่อก็เป็ นได้ พีระมิดองค์นี ้มีห้องและพื ้นที่ ภายในวิหารดังต่อไปนี ้
วิหารหลัก (Upper Temple) มี องค์ประกอบของ โถงยาว (Per-weru) สันนิษฐานว่ามี การทาหลังคาโค้ งเช่นเดียวกับวิหาร พีระมิดอื่นๆ ลานกว้ างขนาดใหญ่ (Courtyard) ล้ อมด้ วยกาแพงอิฐและเสาไม้ 22 ต้ น ห้ องตังรู้ ปสลักฟาโรห์ (5 Niches Chapel) ห้ องบูชา ภายในมีประตูปลอมตังอยู ้ ่ ห้ องเก็บของสักการะ (Storage Annexes) 118
ห้ องโถงไฮโปสไตล์ (Hypostyle Hall)
เอฟเรจากเดิ ม ที่ เข้ า ใจกัน ว่า เป็ นฟาโรห์ นิ อู เซอร์ เร
ห้ องบูชาแห่งมีด (Sanctuary of Knife)
ในระยะที่ สอง โครงการก่อสร้ างส่วน วิหารเดิมได้ รับการต่อเติมโดยฟาโรห์นิอเู ซอร์ เร โดยท าการขยายจากส่ว นวิห ารเดิ ม และ ปรับส่วนทางเข้ าของวิหารใหม่ให้ อยู่ทางทิศ ตะวันออก ในช่วงสมัยนี ย้ ังได้ มีการเพิ่ มห้ อง เก็บของสักการะและห้ องอื่นๆอีกหลายห้ องไว้ ภายในกลุ่มอาคาร หนึ่งในนี ้ได้ มีการบรรจุเรื อ ไม้ 2 ลาภายในห้ องดังกล่าวเพื่ อให้ ฟาโรห์ได้ ใช้ สาหรับ เดิ น ทางไปยัง โลกหลัง ความตาย ตามความเชื่ อ ของชาวไอยคุ ป ต์ และใน โครงการก่ อ สร้ างระยะนี ไ้ ด้ มี ก ารเพิ่ ม ห้ อง โถงไฮโปสไตล์ ซึ่ ง ปรากฏเป็ นครั ง้ แรกใน บรรดางานสถาปั ตยกรรมอี ยิ ป ต์ โ บราณ ห้ องโถงนี ต้ งั ้ อยู่ทางด้ านทิศใต้ ของวิหารโดย ภายในประกอบไปด้ วยเสาไม้ เรี ยงตลอดโถง จานวน 4 x 5 ต้ น ปั จจุบนั เหลือเพียงแค่ส่วน ฐานเสาโดยมีรูปปั น้ จานวนมากตังอยู ้ ่ภายใน ต่อมาทางทิศตะวันออกของวิหารถัดจากห้ อง โถงไฮโปสไตล์ มี ก ารสร้ างพื น้ ที่ ส่ ว นหนึ่ ง เพิ่ ม เติ ม ซึ่ ง เรี ย ก ว่ า ห้ อ งบู ช า แ ห่ งมี ด (Sanctuary of Knife) เป็ นพื น้ ที่ ส าหรั บ การ ประกอบพิ ธีบูชายัญ สัตว์ที่จะนามาสักการะ
ส าหรั บ วิ ห ารหลั ก นั น้ ถู ก สร้ างขึ น้ ทางด้ านทิศ ตะวัน ออกของตัวพี ระมิด โดยที่ โครงการก่อสร้ างวิหารแห่งนี ส้ ามารถแบ่งได้ เป็ น 3 ระยะหลักๆด้ วยกันดังนี ้ ในระยะแรก โครงการก่อสร้ างวิหารมี การด าเนิ น ไปอย่ า งรวบรั ด เนื่ อ งด้ วยการ สิ น้ พ ระชน ม์ อย่ า งกะทั น หั น ใน ระยะนี ้ สันนิษฐานว่าอาจมีการสร้ างเพียงวิหารขนาด เล็กตัง้ อยู่ทางทิศตะวันออกติดกับตัวพีระมิด ทางเข้ าของวิหารนี ต้ งอยู ั ้ ่ทางทิศใต้ ซึ่งเป็ นผัง ที่ ค่ อ นข้ า งแปลกไปจากปกติ ที่ มัก จะตัง้ อยู่ ทางด้ านหน้ าหรื อทางทิศตะวัน ออก จากตัว ทางเข้ านี จ้ ะน าไปสู่ ส่ ว น ท างเดิ น ยาวที่ แบ่งย่อยออกไปเป็ นห้ องสามห้ องโดยในห้ อง หนึ่งปรากฎเป็ นส่วนห้ องบูชา มี การตัง้ ประตู ปลอมท าด้ วยหิ น แกรนิ ต สี แ ดง มี แ ท่ น บู ช า รวมไปถึงหลักฐานชิ ้นหนึ่งที่เป็ นตราพระนาม ของฟาโรห์ เชปเชสคาเรที่ ท าได้ นั ก อี ยิ ป ต์ วิทยาสามารถจัดลาดับได้ ว่า ฟาโรห์ เชปเชส คาเรเป็ นฟาโรห์ ที่ค รองราชย์ ต่อจากเนเฟอร์ 119
ในวิห ารแห่งนี ร้ วมไปถึงพิธีกรรมในเทศกาล ต่ า งๆ ด้ วย แต่ พื น้ ที่ แ ห่ ง นี ก้ ็ ไ ด้ ใช้ งานใน ระยะเวลาเพี ยงไม่นานก็ถูกปรับให้ เป็ นพื น้ ที่ เก็บของสักการะแทนในระยะการก่ อสร้ างที่ สาม
ในระยะที่ สามซึ่ง เป็ นโครงการสร้ าง ช่วงสุดท้ าย วิหารแห่งนี ้ถูกต่อเติมเพิ่มขึน้ มา ในส่ว นตะวัน ออกโดยต่ อเติ ม ส่ว นทางเข้ าที่ ประกอบด้ วยเสา 2 ต้ น และลานกว้ างภายใน วิ ห ารที่ เป็ นส่ ว นประกอบทั่ ว ไปของวิ ห าร พีระมิดล้ อมรอบด้ วยเสาไม้ อีก 24 ต้ น
120
“ เนื่ องจากสภาพของวิห ารอยู่ในสภาพที่ เสี ย หายมากท าให้ ย ากต่ อการสัน นิ ษ ฐานรู ป แบบ ทังหมดได้ ้ แต่พอสังเกตได้ ถึงการรับรูปแบบ Typicalจากฟาโรห์องค์ก่อนๆมาอยู่ รวมไปถึงการต่อ เติมส่วนโถงไฮโปสไตล์ “
121
รูปที่ 34
นิ อูเซอร์ เร เป็ นฟาโรห์ อ งค์ ที่ 6 แห่ ง ราชวงศ์ ที่ 5 สมั ย ราชอาณ าจั ก รเก่ า แห่ ง อาณ าจั ก รอี ยิ ป ต์ โ บราณ ระยะเวลาการ ครองราชย์ ข องพระองค์ ค่ อ นข้ า งมี ข้ อ มูล ที่ สั บ สน บ้ างก็ ว่ า พ ระองค์ ค รองราชย์ อ ยู่ ประมาณสี่สบิ ปี บ้ างก็วา่ สิบถึงยี่สบิ ปี แต่จาก หลัก ฐานที่ ป รากฏภาพพระราชพิ ธี เซดใน วิ ห ารสุ ริ ย ะของฟ าโรห์ นิ อู เ ซอร์ เ รได้ ให้ ข้ อสนับสนุนที่ว่าพระองค์ครองราชย์อยู่ไม่ต่า กว่าสามสิบ ปี ด้ ว ยว่าพระราชพิ ธีเซด (Sed
ผังพีระมิดฟาโรห์นอ ิ เู ซอร์เร
Festival) นั ้ น เป็ น ก า รเฉ ลิ ม ฉ ล อ ง ก า ร ครองราชย์ ค รบรอบ 30 ปี ขององค์ ฟ าโรห์ นัน่ เอง การครองราชย์ที่ยาวนานของพระองค์ แสดงออกมาผ่ า นทางโครงการก่ อ สร้ าง มากมายในอบูเซียร์ ไม่ว่าจะเป็ นการก่อสร้ าง วิ ห ารสุ ริ ย ะขึ น้ ที่ อ บู -กู โ รบ (Abu Ghurob) การก่อสร้ างพี ระมิดของพระองค์ เอง รวมไป ถึงพีระมิดขององค์มเหสีและการต่อเติมกลุ่ม 122
สุส านของเหล่ า ญาติ พี่ น้ องที่ ยัง ค้ า งคาให้ สมบูรณ์ ไม่ว่าจะเป็ นพี ระมิดของ ฟาโรห์ เน เฟอร์ เอฟเร ฟาโรห์
ทางทิ ศ เหนื อ มี ก ารกัน้ ทางเดิ น ภายในด้ วย ประตู หิ น (Portcullis) และห้ อ งเก็ บ พระศพ ตังอยู ้ ่กึ่งกลางขององค์ พีระมิดรองรับเพดาน ด้ วยโครงสร้ างแผ่นหินขนาดใหญ่
เนเฟอร์ อริ ์ คาเรและพระนางเคนท์คาเวสที่ 2 ฟาโรห์ นิ อูเซอร์ เรได้ สร้ างพี ระมิ ดของ พระองค์ ที่ น ครสุส านอบู เซี ย ร์ เป็ นองค์ ที่ 4 ตัง้ อยู่ ท างทิ ศ ตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อใกล้ กับ พี ระมิ ด ของเนเฟอร์ อิ ร์ ค าเรผู้เป็ นบิ ด า โดย พี ระมิดมี ชื่อแต่เดิมว่า “สถานที่ ซึ่งนิอูเซอร์ เร ทรงสถาปนา” รู ปแบบผังของวิหารประกอบ พี ร ะมิ ด ยังคงรั บ แบบมาจากลัก ษณะวิห าร ของซาฮู เรแต่ มี ก ารปรั บ ให้ อาคารเบี่ ย งไป ทางซ้ ายเป็ นรูปตัวแอล (L) การสารวจพีระมิด แห่ ง นี ม้ ี ม าตัง้ แต่ ช่ ว งปี ค.ศ. 1900 ทัง้ จาก เพอร์ ริ่ง เลปซิอสุ และบอร์ ชาด แต่เดิมพีระมิด แห่ ง นี ม้ ี ค วามสูงถึ ง 51.5 เมตร และมี ฐ าน กว้ า ง 78.5 เมตร มี โครงสร้ างเป็ นขัน้ บัน ได จานวนเจ็ดขัน้ ปั จจุบนั ตัวพีระมิดพังทลายลง เป็ นเพี ย งเนิ นทรายเช่นเดี ยวกับ พี ระมิด องค์ อื่นๆในอบูเซียร์ และปรากฏหินปิ ดผิวเดิมแค่ ในส่วนมุมด้ านทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ เท่านัน้ ลัก ษณะผังภายในตัวพี ร ะมิ ด ยังคงรู ป แบบ ต่ อมาจากพี ระมิ ด องค์ ก่ อนๆ กล่าวคื อส่ว น ทางเข้ าห้ องเก็บพระศพภายในพีระมิดตังอยู ้ ่
รูป ที่ 35 รูป สลั ก แฝดฟาโรห์ นิ อู เซอร์เ ร แสดงฟาโรห์นอ ิ เู ซอร์เรในชว่ งเยาว์วัยและชว่ ง วัยชรา
123
1. วิหารหุบเขา (Valley Temple) ซึง่ มี องค์ประกอบของ
ตัวกลุ่มวิหารประกอบพี ระมิดของฟาโรห์ นิ อู เซอร์ เรถื อได้ ว่าเป็ นองค์ ที่สองในอบูเซีย ร์ นับ จากฟาโรห์ ซ าฮู เรที่ มี ก ลุ่ ม อาคารครบและ สมบูรณ์ อาจเนื่ องด้ วยฟาโรห์ องค์ ก่อนหน้ า อย่ า งเนเฟอร์ อิ ร์ ค าเรและ เนเฟอร์ เ อฟเร ครองราชย์ ในระยะเวลาอันสันจึ ้ งไม่สามารถ ท าให้ โครงการก่ อสร้ างสุสานสมบูรณ์ ในรั ช สมัยนันๆได้ ้ และส่วนที่น่าสังเกตในกลุม่ วิหาร แห่งนี ค้ ือการสร้ างกาแพงคู่ขนาดใหญ่ ขนาบ กัน ด้ านหน้ าวิห ารซึ่งตัวสิ่งก่อสร้ างดังกล่า ว เป็ นลั ก ษ ณ ะของไพ ลอน (Pylon) โดยมี จุดประสงค์ในเชิงสัญลักษณ์ ทางศาสนาที่จะ ปรากฎในวิห ารยุ ค ราชอาณาจัก รใหม่ เป็ น จานวนมาก และที่ แ ห่ งนี ถ้ ื อเป็ นวิหารในยุค แรกๆที่มีปรากฎลักษณะของไพลอนดังกล่าว
โถงทางเข้ า (Portico) ตังอยู ้ ่ทาง ตะวันออก ประกอบด้ วยเสาหิน 8 ต้ น ตังเรี ้ ยงกันด้ านหน้ าประตูทางเข้ า โถงภายใน ผนังมีช่องเจาะ 3 ช่อง (3 Niches) สาหรับตังรู้ ปสลักของฟาโรห์ ทางเข้ าทางทิศตะวันตกใกล้ กบั ฉนวน ทางเดิน ประกอบด้ วยเสา 4 ต้ น บันไดทางขึ ้นไปสูส่ ว่ นดาดฟ้าของ วิหาร 2. ฉนวนทางเดิน (Causeway) มีการเบี่ยง เส้ นทางเดินเพื่อให้ เชื่อมกับวิหารหลัก 3. วิหารหลัก (Upper Temple) ซึง่ มี องค์ประกอบของ ไพลอนคู่ ขนาดใหญ่
กลุ่ ม วิ ห ารประกอบพี ร ะมิ ด ของนิ อู เซอร์ เ รตั ง้ อยู่ ใ น แน วแกนทิ ศ ต ะวั น ตก ต ะวั น ออ ก ป ระก อ บ ด้ วย ก ลุ่ ม อ าค าร ดังต่อไปนี ้
โถงทางเข้ าหลัก (Entrance Hall) ห้ องเก็บของ (Storage Magazine) แบ่งเป็ นซอยห้ องย่อยๆตามทางเดิน บันไดทางขึ ้นส่วนดาดฟ้าของวิหาร 124
ลานกว้ าง (Open Court) ภายใน วิหาร ล้ อมด้ วยเสาหินแกะสลัก 16 ต้ น
รู ป ตั ว แอลซึ่ ง มี ค วามเป็ นไปได้ ว่ า ต้ องการ สร้ างหลบมาสตาบาที่ตัง้ อยู่ก่อนหน้ ารวมไป ถึงมาสตาบาของพทาห์ เชปเชส ขุนนางใหญ่ ในรั ช สมั ย ของฟาโรห์ นิ อู เ ซอร์ เ ร ซึ่ ง ด ารง ตาแหน่งวิเซียร์ อีกทังยั ้ งเป็ นลูกเขยของฟาโรห์ นิ อูเซอร์ เรอี ก ด้ ว ย ส าหรั บ มาสตาบาของพ ทาห์ เชปเชสนัน้ ก็มี ความน่าสนใจไม่น้ อยไป กว่ากันซึ่งจะกล่าวถึงในส่วนถัดไป ในตัวของ ฉนวนทางเดินก็มีความน่าสนใจที่วา่ ถ้ าหากดู จากผัง แล้ ว จะเห็ น ว่ า ฉนวนทางเดิ น มี ก าร เบี่ ยงมุมทางเดินออกจากแนวแกนก่อนที่ จะ หั ก มาเพื่ อเชื่ อ มกั บ วิ ห ารหุ บ เขาในท าง ตะวันออก
ห้ องบูชาภายในมีการเจาะช่องบน ผนัง 5 ช่อง (5 Niches) สาหรับตังรู้ ป สลักฟาโรห์ ห้ องสักการะชันใน ้ (Inner Sanctuary) พีระมิดบริวาร (Cult Pyramid) ในการก่อสร้ างกลุ่มวิหารแห่งนี ้เราได้ พบข้ อสังเกตที่ น่าสนใจหลายประการ ตัง้ แต่ การปูพื น้ หิ น ปู น โดยรอบตั ว วิห ารที่ จัด วาง อย่ า งไร้ ระเบี ย บอัน เนื่ อ งมาจากท าเลและ พื น้ ที่ ที่ จ ากั ด เนื่ อ งจากถู ก ขนาบด้ วยกลุ่ ม สุสานทัง้ ของ เนเฟอร์ อิร์คาเรและซาฮูเร รวม ไปถึ งสุสานและมาสตาบาอื่ น ๆที่ ตงั ้ อยู่ก่ อน หน้ า ในส่ วนวิ ห ารทางทิ ศ ตะวัน ออกมี ก าร ปรับระดับโดยยกพื ้นฐานรากจากการถมเศษ หินขึน้ เพื่อรองรับตัววิหารจากการที่ระดับผิว ดินบริเวณนันมี ้ ความลาดเอียงสูง ตัวผังวิหาร หลักเองแทนที่ จะมีการสร้ างให้ เป็ นแนวแกน สมมาตร ไปยังทิศตะวันออกเหมือนเช่นวิหาร ของบรรพบุรุษแต่กลับมีการสร้ างวิหารเป็ นผัง
ใน จุ ด นี น้ ั ก อี ยิ ป ต์ วิ ท ยาเสน อข้ อ สันนิษฐานว่าวิหารหุบเขาดังเดิ ้ มอาจเคยเป็ น ของฟาโรห์ เนเฟอร์ อิร์คาเรมาก่อน ตามที่ เคย ได้ เกริ่นไปก่อนหน้ าว่าฟาโรห์เนเฟอร์ อิร์คาเรส ร้ างวิหารของตนไม่เสร็ จสมบูรณ์ รวมไปถึงไม่ มีวิหารหุบเขาปรากฏอยู่ด้วย จึงเป็ นไปได้ ว่า วิหารหุบเขาแห่งนี ้อาจจะเคยสร้ างถึงแค่ฐาน รากเท่านัน้ และเมื่อมาถึงรัชสมัยของฟาโรห์นิ อูเซอร์ เร พระองค์จึงได้ ต่อเติมจนสมบูรณ์ และ ได้ รวมตัว วิห ารหุบ เขาแห่ ง นี ไ้ ปใช้ กับ วิห าร ประกอบพีระมิดของตนเอง 125
รูปที่ 36 ฐานเสาหินภายในวิหารยังคงปรากฎรูเดือยสาหรับยึดตัวเสา รูปที่ 37 พีระมิดนิอเู ซอร์เร(ขวา)และตัววิหารทีอ่ ยูถ่ ัดมา
126
หลักฐานที่สนับสนุนแนวคิดนี พ้ บเห็น ได้ จากแนวแกนของปลายฉนวนทางเดินและ วิหารหุบเขาตรงกับแนวแกนของวิหารพีระมิด ของฟาโรห์เนเฟอร์ อริ ์ คาเรพอดี
ซากปรักหักพังแต่จากการขุดค้ นในส่วนลาน กว้ า งท าให้ มี ก ารพบชิ น้ ส่ ว นของภาพสลัก จ านวนมาก รวมไปถึ ง เศษชิ น้ ส่ ว นหิ น บะ ซอลต์ ซึ่งครัง้ หนึ่งเคยเป็ นแท่นบูชาหินขนาด ใหญ่ที่ตงอยู ั ้ ่ภายใน ภาพสลักภายในวิหารชิน้ อื่นๆปรากฏเป็ นภาพของฟาโรห์นิอเู ซอร์ เรใน ฉากการสังหารศัตรู การสถาปนาพีระมิดของ พระองค์ เอง รวมไปถึงการสัก การะและการ บูชายัญ ซึ่งเป็ นลัก ษณะของฉากที่ พ บได้ ใน วิหารประกอบพีระมิดองค์ อื่นๆที่ ร่วมสมัยแต่ ภาพส่ ว นมากจะอยู่ ใ นลั ก ษณ ะที่ ก ระจั ด กระจายจึงทาให้ ไม่สามารถบอกถึ งตาแหน่ง ที่ ตงั ้ เดิมของภาพสลักนี ไ้ ด้ ชัดเจนเหมื อนกับ ภาพสลักภายในวิห ารประกอบพี ระมิ ด ของ ซาฮูเร
ถึงแม้ ว่าตัววิหารจะมีการเบี่ยงออกไป แต่ ภ ายใน วิ ห ารห ลั ก ส่ ว น ใน อย่ า งห้ อง สัก การะ ส่ วนตัง้ ประตู ป ลอมและส่ ว นห้ อ ง บู ช าที่ ตั ง้ รู ป สลั ก (5 Niches) ยั ง คงอยู่ ใ น แนวแกนทิ ศ ตะวัน ออกเหมื อ นเดิ ม ห้ อง เหล่า นี ถ้ ูก ตกแต่ งด้ วยภาพสลัก เขี ย นสี แ ละ เพดานรูปดาวบนพื ้นสีน ้าเงิน ในส่วนของห้ อง บู ช าทางใต้ มี ผัง ห้ องเป็ นรู ป จั ตุ รั ส ตกแต่ ง ตลอดด้ านและมีเสาตังอยู ้ ่ภายใน ถัดออกมา ในส่วนโถงเชื่ อมทางเดิน ลานกว้ างและห้ อง เก็บของสักการะมีการปรับแนวแกนลงมาทาง ทิศใต้ ติดกับพีระมิดบริวาร ลานกว้ างในวิหารหลักของนิอูเซอร์ เร มีความคล้ ายคลึงกับซาฮูเรในการตกแต่งพื น้ ด้ วยหินบะซอลต์ เพดานและผนังตกแต่งด้ วย ภาพสลักเขียนสี ในส่วนที่ต่างออกไปคือกลุ่ม เสาหิ น แกรนิ ต ที่ ล้ อ มรอบลานกว้ า งมี ก าร แกะสลักเป็ นมัดดอกบัว ในขณะที่เสาภายใน วิหารพีระมิดของซาฮูเรนิยมทาเป็ นเสารู ปต้ น ปาล์ม ในปั จจุบนั ตัววิหารอยู่ในสภาพที่ เป็ น 127
128
129
“ นักอียิปต์วิทยาเสนอข้ อสันนิษฐานว่าวิหารหุบเขาดังเดิ ้ มอาจเคยเป็ นของฟาโรห์เนเฟอร์ อิร์ คาเรมาก่ อน ตามที่ เคยได้ เกริ่ น ไปก่ อนหน้ าว่าฟาโรห์ เนเฟอร์ อร์ ค าเรสร้ างวิห ารของตนไม่ เสร็ จ สมบูรณ์รวมไปถึงไม่มีวหิ ารหุบเขาปรากฏอยู่ด้วย จึงเป็ นไปได้ วา่ วิหารหุบเขาแห่งนี ้อาจจะเคยสร้ าง ถึงแค่ฐานรากเท่านัน้ และเมื่อมาถึงรัชสมัยของฟาโรห์นิอเู ซอร์ เร พระองค์จึงได้ ต่อเติมจนสมบูรณ์ และได้ รวมตัววิหารหุบเขาแห่งนี ้ไปใช้ กบั วิหารประกอบพีระมิดของตนเอง… “
130
รูป ที่ 38 ภาพจาลองสามมิต ิ ลานกว ้างภายในวิห ารประกอบพิธศ ี พ (ภาพสลั ก เป็ นเพีย งการ ั นิษฐานและจินตนาการของผู ้จัดทาเท่านั น สน ้ )
รูปที่ 39 สภาพลานกว ้างในปั จจุบัน ยังคงเหลือลักษณะการปูพนื้ และเสาหินทรงมัดดอกบัว
131
รูปที่ 40 ผังวิหารสุรยิ ะฟาโรห์อเู ซรคาฟ
อูเซรคาฟคือปฐมฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ 5 สมัย ราชอาณาจักรเก่ าแห่ งอี ยิ ป ต์ โบราณ พระองค์ ส ร้ างวิห ารสุริ ย ะแห่ งแรกขึ น้ ที่ อ บู เซียร์ ซึ่งตัง้ อยู่ห่างขึ ้นไปทางเหนือประมาณ 3 กิโลเมตรจากนครสุสานซัคคาร่า อูเซรคาฟไม่ เพี ยงเป็ นผู้สร้ างวิหารสุริยะแห่งนี ้ หากแต่ยัง
เป็ นผู้ริ เ ริ่ ม กิ จ กรรมการก่ อ สร้ างอนุ ส าวรี ย์ ทัง้ หมดทัง้ มวลบนพื น้ ที่ ของอบูเซียร์ อีกด้ วย สิง่ ก่อสร้ างในลักษณะที่ถกู เรี ยกว่าวิหารสุริยะ นี ้จั ด ว่ า แ ต ก ต่ างอ อก ไป จ าก ลั ก ษ ณ ะ สิ่ ง ก่ อ สร้ างในอุด มคติ ใ นแบบเดิ ม ของชาว อี ยิ ป ต์ โ บราณ เป็ นความพยายามในครั ง้ 132
แรกเริ่มที่แสดงให้ เห็นว่าฟาโรห์ได้ หนั มาสร้ าง วิห ารเพื่ อ การบู ช าสุ ริ ย เทพนอกเหนื อ จาก สิ่งก่อสร้ างที่เกี่ ยวข้ องกับการประกอบพิธีศพ หรื อเพื่อฝั งศพทางฝั่ งตะวันตกของแม่น ้าไนล์ บ้ างแล้ ว จุดที่น่าสนใจที่สุดของวิหารแห่งนี ค้ ื อ เสาโอเบลิ ส ก์ เนื่ อ งด้ วยลัท ธิ บู ช า สุริ ย เทพ มองว่าโอเบลิสก์เป็ นสัญลักษณ์ แห่งสุริยเทพ รา ซึง่ เป็ นเทพเจ้ าสูงสุดเหนือเหล่าเทพใดๆทัง้ ปวง อีกทัง้ ยังเชื่อว่ารู ปร่ างของเสาโอเบลิสก์ นัน้ มาจากปรากฏการณ์ ธรรมชาติที่เรี ยกว่า “เสาสุริยะ” (Sun Pillar) ซึ่งเป็ นปรากฏการณ์ ของลาแสงอาทิตย์ที่สอ่ งแสงยามเช้ าและยาม เย็นก่อนจะลับขอบฟ้าไป ชื่อแต่ครัง้ เก่าก่อน ของวิหารสุริยะของฟาโรห์อเู ซรคาฟแห่งนี ้คื อ “นี เค น เร” (Nekhen Re) แ ป ล ว่ า “ป้ อ ม ปราการแห่ ง เทพ รา” (The Stronghold of Re) ซึง่ เป็ นชื่อที่ใช้ เรี ยกเมืองหลวงเฮียราคอน โพลิส (Hierakonpolis) ในยุคต้ นราชวงศ์ด้วย หากสัง เกตอี ก อย่ างหนึ่ งคื อ ถัด จากรัชสมัย ของฟาโรห์ อู เซรคาฟไปแล้ ว มี ฟ าโรห์ น้ อย พระองค์ ทีเดี ยวที่ไม่ใส่พระนามของสุริยเทพ ราลงไปในชื่ อของตน เพราะเหล่าฟาโรห์ ใน ยุคนี ้ล้ วนแล้ วแต่เป็ น “โอรสแห่งรา” ทังสิ ้ ้น
รูปที่ 41 ปรากฏการณ์เสาสุรยิ ะ อาจจะเป็ น ต ้นกาเนิดรูปทรงของเสาโอเบลิสก์
133
สาเหตุที่อเู ซรคาฟเลือกสถานที่ แห่งนี ้ เป็ นที่ ตัง้ วิหารสุริยะอาจเป็ นเพราะมัน ตัง้ อยู่ ใกล้ กับ ทะเลสาบอบู เซี ย ร์ ซึ่งเชื่ อมออกไปสู่ แม่ น า้ ไนล์ อัน เป็ นเส้ น ทางคมนาคมส าคัญ และมั น ท าให้ การเดิ น ทาง ขนส่ ง วัส ดุ แ ละ เสบียงอาหารเป็ นไปได้ อย่างง่ายดายด้ วยเรื อ ที่ ดูเหมื อนว่าจะเป็ นพาหนะที่ สะดวกสบาย ที่ สุดในช่วงเวลานัน้ อีกทัง้ ที่ ตงั ้ ของวิหารหุบ เข า (Valley Temple) ก็ จ ะ ได้ ตั ้ ง อ ยู่ ริ ม ทะเลสาบด้ วย นอกจากนัน้ เนื่ อ งด้ วยสมั ย ราชวงศ์ ที่ 5 เป็ นช่ วงที่ เทพราหรื อ สุริ ย เทพ ได้ รับการบูชาสูงสุดโดยสะท้ อนออกมาให้ เห็น ในตานานการถือกาเนิดของฟาโรห์ราชวงศ์ที่ 5 จากปาปิ รัสเวสคาร์ ว่าเป็ นโอรสของมเหสี ของนั ก บวชชัน้ สูงแห่ งเทพรานัน้ ท าให้ นั ก อี ยิ ป ต์ วิท ยาตี ค วามว่ า ที่ อูเซรคาฟได้ สร้ าง วิหารสุริยะเอาไว้ ที่นี่ เป็ นเพราะว่ามันอาจจะ เป็ นสถานที่ ที่ อ ยู่ ท างทิ ศ ใต้ ที่ สุ ด แล้ วที่ ยั ง สามารถมองเห็นยอดโอเบลิสก์ในนครเฮลิโอ โพลิส (Heliopolis) ซึ่งเป็ นนครแห่งดวงสุริยา ทางฝั่ งตะวันออกก็เป็ นได้
วิหารสุริยะของฟาโรห์อเู ซรคาฟประกอบด้ วย กลุ่มโครงสร้ างหลักๆดังต่อไปนี ้ 1. วิหารหุบเขา ซึ่งมีองค์ประกอบของ โถงทางเข้ า ลานเปิ ดกว้ างพร้ อมเสา 16 ต้ น ห้ องบูชา 5 ถึง 7 ห้ อง ฉนวนทางเดิน (Causeway) 2.วิหารหลัก (Upper Temple) ซึ่งมี องค์ประกอบของ ฐานสาหรับตั ้งเสาโอเบลิสก์ ตัวเสาโอเบลิสก์ทาจากหินแกรนิต ห้ องบูชาสาหรับประดิษฐานรูปสลัก เทพเจ้ าราและเทพีฮาเธอร์ (Hathor) แท่นบูชา (Altar) ทาจากอิฐดิบสาหรับ บูชายัญวัวและห่าน 2 ตัวต่อวันต่อ ชนิด บัลลังก์ (Benches) 5 แห่งสาหรับ นักบวช ห้ องผนวก (Annex) 134
รูป ที่ 42 พั ฒ นาการและการต่อ เติม วิหาร สุรย ิ ะอูเซรคาฟ
135
นักโบราณคดี ค้ นพบว่าตัวโครงสร้ าง ของวิหารหลักได้ ผ่านการเปลี่ยนแปลงรูปร่ าง หรื อมีการสร้ างเพิ่มเติมแก้ ไขที่สาคัญถึงอย่าง น้ อย 5 ครั ง้ โดยที่ มี แ นวทางการสร้ างที่ คล้ า ยคลึ ง กั น ถึ งแม้ ว่ า จะแสดงให้ เห็ น ถึ ง ความแตกต่างในองค์ ป ระกอบบางอย่ างอยู่ บ้ างก็ตาม
ได้ มี ก ารต่ อ เติ ม ส่ ว นส าคัญ นั่น คื อเสาโอเบ ลิสก์ ซึ่งทาจากหินแกรนิตสีแดงขนาดใหญ่ ที่ ถูกตังไว้ ้ บนฐานเสาที่เป็ นการก่อสร้ างเพิ่มเติม มาจากเนิ น ดิ น เดิ ม ของอูเซรคาฟรวมไปถึ ง ก า รส ร้ า ง บั น ได ท า งเดิ น ว น (Winding Corridor) เพื่ อให้ สามารถเข้ าถึงด้ านบนของ ตัวโอเบลิสก์ได้ อีกด้ วย
วิห ารสุ ริ ย ะของฟาโรห์ อูเซรคาฟมี เนื อ้ ที่ ป ระมาณ 44x83 ตารางเมตร การ ก่ อ สร้ างในช่ ว งแรกเริ่ ม ต้ นด้ วยวัส ดุ พื น้ ๆ อย่ างเช่ น อิฐที่ ถูก สร้ างให้ มี ลัก ษณะเหมื อน มาสตาบา เป็ นเพี ย งเนิ น ดิ น ที่ ใ ช้ บ อกเป็ น สัญลักษณ์เด่นไว้ เท่านัน้ จากการศึกษาทาให้ พบชิ ้นส่วนของเสาที่อาจเป็ นไม้ ที่มีสภาพผุพงั เสื่อมสลายได้ ง่าย โดยส่วนนี ม้ ี หินปูนรองรับ เป็ นฐานอยู่ ด้ า นล่ า งและเป็ นไปได้ มากว่ า โครงสร้ า งนี จ้ ะเป็ นส่วนฐานรองรับ เสาโอเบ ลิสก์ ในช่วงการสร้ างต่ อไปอี กด้ วย เป็ นที่ น่ า เสี ย ดายที่ รั ช สมั ย การครองราชย์ ข องอูเซร คาฟนัน้ สันมาก ้ เพียงแค่ 7 ปี เท่านัน้ หลังจาก ที่ พ ระองค์ สิ น้ พระชนม์ สิ่ ง ก่ อ สร้ างที่ ยัง ไม่ เสร็ จนี ก้ ็ไม่ได้ ถูกละทิ ้งไป หากแต่มีผ้ สู ืบทอด มารั บ ช่ ว งต่ อ ไปโดยฟาโรห์ เนเฟอร์ อิร์ ค าเร และนิอูเซอร์ เรนั่นเองในสมัยเนเฟอร์ อิร์คาเร
นิอูเซอร์ เร คื อฟาโรห์ ที่ ต่อเติ มวิห าร สุ ริ ย ะแห่ ง นี จ้ นเสร็ จ สมบู ร ณ์ ในช่ ว งการ ก่ อ สร้ างช่ ว งที่ 3 ถึ ง 4 นี ก้ าแพงด้ านในถู ก สร้ า งขึ น้ รอบตัวอาคารที่ ถูก สร้ างมาก่ อนใน สมัยของเนเฟอร์ อิร์ค าเร เราสามารถสังเกต ก าแพงล้ อ มรอบขนาดใหญ่ ไ ด้ ไม่ ย ากนั ก เริ่มต้ นด้ วยรูปทรงทามุมไปรอบๆล้ อมเป็ นทรง สี่เหลี่ยมล้ อมลานกว้ างกับส่วนตรงกลางของ วิหารไว้ รวมทังมี ้ การต่อเติมอิฐโคลนฉาบปูน เข้ าไปที่ผวิ ด้ านนอกทังหมดด้ ้ วย สาหรับ ในช่วงที่ ห้านัน้ ได้ มีการเพิ่ ม แท่ นบูชาอิฐดิบ เข้ ามาทางฝั่ งตะวันออกของ ฐานโอเบลิ สก์ (ซึ่ง บางที อาจจะมี แ ท่ น บู ช า สร้ างมาก่อนหน้ านี ้แล้ วด้ วยก็เป็ นได้ ) ในจารึ ก จากแผ่น หิ น พาเลอร์ โมได้ ก ล่า วถึ ง การบู ชา ยัญด้ วยวัวสองตัวและห่านอีกสองตัวที่ วิหาร แห่งนี ้ทุกวัน แต่อย่างไรก็ตามในเรื่ องนี ้ยังไม่มี 136
หลัก ฐานอย่ า งเด่ น ชั ด ว่ า มั น คื อ การถวาย อาหารหรื อการบูชายัญสัตว์กนั แน่ บางที มัน อาจจะเกิ ด ขึ น้ ทั ง้ สองอย่ างพร้ อมกัน เลยก็ เป็ นได้
ล าน เปิ ด โล่ งใน ส่ ว น ก ล าง เส าหิ น รู ป สี่ เหลี่ ย มผื น ผ้ า 16 ต้ น และห้ อ งโถงทางเข้ า เป็ นที่น่าสนใจว่าวิหารในส่วนนี ้ถูกสร้ างให้ มีที่ ขนาดใหญ่ กว่าหรื อเรี ยกได้ ว่าได้ รับความเอา ใจใส่ในการสร้ างเป็ นอย่างมากเมื่ อเทียบกับ ในส่วนของพื น้ ที่ ทางเข้ าไปสู่วิหารโดยทั่วไป หรื อเมื่ อเที ย บกับ วิห ารหุบ เขาแห่ งอื่ น ๆ นั่น อาจหมายถึงวิหารสุริยะของฟาโรห์อเู ซรคาฟ ได้ มีการริเริ่ มนาสถานที่สาหรับการทาพิธีบชู า องค์ สุ ริ ย เทพเข้ ามารวมเข้ ากั บ วิ ห ารที่ ใ ช้ สาหรับประกอบพิ ธีกรรมที่ เกี่ ย วข้ องกับ โลก หน้ าอย่างจริ งจัง หากแต่เป็ นที่น่าเสียดายว่า โครงสร้ างหลายส่วนเกิ ดความเสียหายมาก จนยากที่ จ ะสามารถอธิ บ ายถึ ง ลั ก ษณ ะ สัดส่วนโครงสร้ างที่ถูกต้ องสมบูรณ์ ตามแบบ แต่ครัง้ โบราณกาลได้
ในช่วงนี ้มีสว่ นต่อเติมใหม่หลายแห่ง ถูกเพิ่มเข้ าไปประกอบด้ วยบัลลังก์ 5 แห่ง ทา หน้ าที่ เหมื อนโต๊ ะอย่ างหนึ่ งที่ นัก บวชจะน า อาหารหรื อเครื่ องบรรณการมาวางเอาไว้ ใน ส่วนนี น้ ัก อี ยิ ป ต์ วิท ยานามว่าเฮอร์ เบิ ร์ท ริ ค (Herbert Ricke) ได้ พบกับแผ่นศิลาที่ สลักคา ที่ แปลความหมายได้ ว่า “ชนชาติ ที่ยิ่ งใหญ่ ” (Great Phyle) นั่น เป็ นไปได้ ว่านัก บวชที่ ท า หน้ าที่ รับผิดชอบในวิหารสุริยะแห่งนี อ้ าจจะ ถูกแบ่งออกเป็ น 5 กลุม่ ตามบัลลังก์ทงั ้ 5 ด้ วย ก็เป็ นได้ ห้ องผนวกถูกสร้ างขึน้ ติดกับกาแพง ที่สร้ างขึน้ ใหม่ทางด้ านทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ ทางเข้ า มายังวิ ห ารหลัก เชื่ อ มต่ อ กับ ฉนวน ทางเดินที่เป็ นทางเชื่อมระหว่างวิหารหลักกับ วิ ห า รหุ บ เข า ที่ ยื่ น ตั ว เข้ า ไป อ ยู่ ริ ม ฝั่ ง ทะเลสาบอบูเซียร์ วิหารหุบเขามี โครงสร้ าง หลัก เป็ นรู ป สี่ เหลี่ ย มผื น ผ้ าขนาดใหญ่ ตั ว วิหารถูกแบ่งออกเป็ นสามส่วน 137
รูปที่ 43 ผังวิหารสุรยิ ะฟาโรห์นอิ เู ซอร์เร
นิอูเซอร์ เรสร้ างวิห ารสุริย ะแห่ งที่ ส อง ขึ ้นที่อบู-กูโรบ (Abu Ghurob) เหนือขึ ้นไปจาก วิหารสุริยะของฟาโรห์ อูเซรคาฟประมานหนึ่ง ร้ อยเมตร
ของแหล่งโบราณคดี บริ เวณกลุ่มพี ระมิดและ สุสานแห่งอบูเซียร์ วิห ารสุริยะแห่ ง นิ อูเซอร์ เรหรื อ อี ก ชื่ อหนึ่ งคื อ “ความปี ติแห่งรา” (Delight of Re) มีลักษณะ ผังที่คล้ ายคลึงกับวิหารสุริยะของอูเซรคาฟแต่ มีสภาพที่ ส มบูรณ์ ม ากกว่าถึงแม้ จ ะค่อนข้ าง เสี ยหายไปตามแล้ วก็ตามที นอกจากนัน้ ยังมี การค้ นพบภาพสลักนูนต่าอีกหลายภาพในตัว วิหารซึ่งยังคงสภาพดีมาก ในปั จจุบนั ภาพสลัก
วิ ห ารสุ ริ ย ะแห่ ง นี ค้ ้ นพบในยุ ค แรกโดยนั ก เดิ น ทางและถู ก เข้ าใจผิ ด ว่ า เป็ นพี ระมิ ด จนกระทัง่ มีการขุดค้ นทางโบราณคดีอย่างเป็ น ทางการในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 โดย ลุดวิก บอร์ ชาด นาไปสู่การค้ นพบและศึกษาเพิ่มเติม 138
ดังกล่าวถูกนาไปเก็บรักษาเอาไว้ ที่พิพิธภัณฑ์ เบอร์ ลินเป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว
จุดประสงค์หลักของการสร้ างวิหารสุริยะก็คือ การแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างฟาโรห์กับสุ ริ ย เทพ จึ ง อาจเป็ นสาเหตุ ห นึ่ ง ให้ เกิ ด ธรรม เนี ย มการสร้ างวิ ห ารสุ ริ ย ะหลายหลั ง และ เป็ นไปได้ ว่าฟาโรห์เกือบทุกพระองค์จะมีวิหาร สุริยะเป็ นของตนเอง
จากการบูรณะและสันนิ ษ ฐานพบว่ า ตัววิหารเป็ นลักษณะอาคารที่มีพื ้นฐานหรื อรับ รู ป แบบมาจากการวางอาคารในกลุ่ ม วิ ห าร ประกอบพี ระมิ ด คื อ ประกอบด้ วยส่ ว นของ สิ่ ง ก่ อ สร้ างหลั ก ซึ่ ง ในที่ นี ค้ ื อ เสาโอเบลิ ส ก์ ส่วนตัววิหาร ฉนวนทางเดินและวิหารหุบเขา ของวิหารสุริยะแห่ งนี น้ ับเป็ นแห่งแรกที่ มี การ สร้ างด้ วยอิฐดิบในระยะการก่อสร้ างแรกก่อน จะมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นวั ส ดุ ไ ปเป็ นหิ น ปู น ใน ภายหลัง
วิหารสุริยะของฟาโรห์นิอเู ซอร์ เร ประกอบด้ วยกลุ่มโครงสร้ างหลักๆดังต่อไปนี ้ 1.วิหารหุบเขา ซึ่งมีองค์ประกอบของ โถงทางเข้ า 3 ทาง
สาเหตุที่นิอูเซอร์ เรเลือกสถานที่แห่งนี ้ เป็ นที่ตั ้งวิหารสุริยะ อาจมีปัจจัยหลายๆส่วนที่ ตรงกับของอูเซรคาฟและดูจะเป็ นธรรมเนี ยม หนึ่งที่ ฟาโรห์ในช่วงราชวงศ์ที่ 5 ปฎิบตั ิสืบต่อ กันมา ทั ้งนี ้จากหลักฐานปรากฎว่าซาฮูเรเองก็ ได้ สร้ างวิหารสุริยะของตนเองเอาไว้ ด้วยเช่นกัน ถึงแม้ จะยังไม่พบตาแหน่งหรื อซากของวิหาร ดังกล่าวก็ตามที แต่ก็มีความเป็ นไปได้ ว่ามัน จะตั ้งอยู่ในบริเวณใกล้ เคียงกับวิหารสุริยะของ อูเซรคาฟและนิอเู ซอร์ เร เนื่องจากดังที่กล่าวไว้ แล้ วว่ า บริ เวณนี เ้ ป็ นสถานที่ ที่ อ ยู่ท างทิ ศ ใต้ ที่สุดแล้ วที่ ยงั สามารถมองเห็นยอดโอเบลิสก์ ใน น ค ร เฮ ลิ โอ โพ ลิ ส (Heliopolis) แ ล ะ
ลานเปิ ดกว้ างพร้ อมเสาทรงต้ นปาล์ม 8 ต้ น บันไดทางขึ ้นชั ้นดาดฟ้า 2.ทางเดินฉนวน (Causeway) 3.วิหารหลัก (Upper Temple) ซึ่งมี องค์ประกอบของ เนินสูงที่เป็ นฐานให้ กบั ตัววิหาร ส่วนฐานของโอเบลิสก์ ภายในมีบนั ได เวียนเพื่อขึ ้นไปยังส่วนของโอเบลิสก์ ตัวเสาโอเบลิสก์ทาจากหินปูน 139
ห้ องบูชา (Chapel) ทางด้ านทิศเหนือ ของโอเบลิสก์
วิหารสุริยะของฟาโรห์นิอเู ซอร์ เรมีเนื อ้ ที่ ป ระมาณ 75x100 ตารางเมตร ส่ ว นของ ทางเข้ า ที่ เป็ นวิห ารหุบ เขาตัง้ อยู่บ ริ เวณทิ ศ ตะวันออกต่อลงไปยังทะเลสาบและตัง้ เฉี ยง จากแนวแกนของวิห ารหลัก ประดับทางเข้ า สามทางด้ ว ยเสาปาล์ ม ลัก ษณะคล้ า ยกับ ที่ ป ราก ฏ ใน พี ระ มิ ด ข อ งซ าฮู เ ร ท า จา ก หิ น แกรนิ ต สี แ ดง 4 ต้ น ในขณะที่ ท างเข้ า ด้ านข้ างประดับด้ วยเสาตังด้ ้ านละหนึ่งคู่ เมื่อ ขึ ้นสู่ตวั วิหารหลักนัน้ ผังของวิหารจะตังอยู ้ ่ใน แนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตกพอดี
ห้ องแห่งฤดูกาล (Chamber of Seasons) ที่ประดับด้ วยภาพนูนต่า แท่นบูชา (Altar) สร้ างจากหินอลาบา สเตอร์ อ่างพิธีกรรมทาจากหินอลาบาสเตอร์ ห้ องเก็บของ (Storage Annex) ลานกว้ าง
ในพื น้ ที่ ส่ ว นส าคั ญ นั่ น คื อ เสาโอเบ ลิสก์ขนาดใหญ่ จะทาจากหินปูนโดยถูกตัง้ ไว้ บนฐานเสาปูหิน แกรนิ ต ที่ มี การสร้ างบัน ได ท า งเดิ น วน (Winding Corridor) เพื่ อ ให้ สามารถเข้ า ถึ ง ด้ า นบนของตัว โอเบลิ ส ก์ ได้ ลักษณะดังกล่าวมี ความคล้ ายคลึงและอาจ รับ รู ป แบบมาจากวิห ารสุริ ย ะก่ อนหน้ าของ ฟาโรห์อเู ซรคาฟก็เป็ นได้ พื ้นที่ อื่นๆในวิหารแห่งนี ้ประกอบด้ วย ลานประกอบพิ ธีกลางแจ้ งเป็ นหลักและเป็ น ส่ว นที่ มี พื น้ ที่ ม ากที่ สุด นอกจากนัน้ จะเป็ น ส่ ว นพื น้ ที่ ส าหรั บ เก็ บ เสบี ย งและสิ่ ง ของ สัก การะประจ าวัน ต่ า งๆแบ่ ง เป็ นห้ องหั บ
รูปที่ 44 อ่างหินอลาบาสเตอร์ที่สัน นิษ ฐาน ว่าใชส้ าหรับการบูชายัญ 140
จ า น ว น ม า ก ตั ้ ง อ ยู่ ท า ง ด้ า น ทิ ศ ตะวันออกเฉียงเหนือ และในบริเวณใกล้ เคียง กั น ก็ ป รา ก ฎ พื ้ น ที่ เปิ ด ซึ่ งบ อ ร์ ช า ด ได้ สันนิษฐานเอาไว้ ว่า พื น้ ที่ ดังกล่าวน่าจะเป็ น โรงเชื อดสาหรับการบูชายัญโดยอิงหลักฐาน จากการค้ น พบอ่ างอลาบาสเตอร์ ท รงกลม ขนาด 1.18 เมตรจานวนมากและอาจเคยตัง้ เรี ยงกันเป็ นแถวยาว ทาให้ เชื่อว่าอ่างดังกล่าว นีอ้ าจเคยตัง้ เพื่อใช้ รองรับเลือดจากสัตว์ที่ถูก นามาบูชายัญ รวมถึงการค้ นพบพื ้นหินปูนที่ ปู ย กระดั บ มี ก ารสร้ างรางน า้ ต่ อ จากอ่ า ง ดัง กล่ า วเพื่ อ ปล่ อ ยให้ ของเหลว ไหลลงไป ระหว่างการประกอบพิธีกรรมซึ่งพบได้ อีกใน บริเวณทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของวิหาร
แต่การสัน นิษ ฐานดังกล่าวยังเป็ นที่ ถกเถี ย ง ต่อมาถึงการใช้ สอยว่าเป็ นพื ้นที่สาหรับ “บูชา ยัญ ” สัต ว์จริ ง หรื อไม่ เนื่ องจากไม่ มี ก ารพบ หลักฐานของการบูชายัญหรื อเชือดสัตว์ต่างๆ เลยไม่วา่ จะเป็ น มีดหรื อกระดูกสัตว์ก็ตาม ทา ให้ นั ก อี ยิ ป ต์ วิ ท ย า บ า งก ลุ่ ม เส น อ ข้ อ สันนิษฐานอีกประการหนึ่งว่าลานแห่งนี อ้ าจ เป็ น พื ้น ที่ ส าห รั บ ก ารท าพิ ธี ช าระล้ าง (Purification of Offering) ซึ่ ง ต้ อ ง ใ ช้ น ้ า บริ สุท ธิ์เป็ นส่วนประกอบในพิธีมากกว่าการ รองรับเลือดอย่างที่บอร์ ชาดเคยนาเสนอ แต่ ถึ ง กระนัน้ การใช้ ง านที่ แ ท้ จ ริ ง ของพื น้ ที่ นี ก้ ็ ยังคงเป็ นที่ถกเถียงกันอยู่
รูปที่ 45 ภาพถ่ายทาง อากาศ วิหารสุรย ิ ะ ใน ปั จจุบัน
141
ดั ง ก ล่ า ว นี้ อ า จ เ ป็ น ก า ร ส ื่ อ ถึ ง ความสาคัญของสุรย ิ เทพทีม ่ ต ี อ ่ วิถช ี วี ต ิ
ถั ด ม า จ า ก ล า น ป ระก อ บ พิ ธ ี ก็ ปราก ฏให เ้ ห็ น แท่ น บู ช าข น าดให ญ่ ตั ง้ อยู่ เ บื้อ งหน า้ องค์โ อเบลิส ก์ แท่ น
ที่ดาเนิน ไปในแต่ละฤดูรวมถึงอิท ธิพ ล ที่ส ่งผลต่อ เกษตรกรรม นอกจากนี้ ยั ง
บูช านี้ มีลั ก ษณะที่ น่ า สนใจเป็ นพิเศษ จากการทีม ่ ันประกอบขึน ้ มาจากหินอลา ิ้ โดยชน ิ้ กลางมี บาสเตอร์จานวน 5 ช น การแกะส ลั ก ส ่ ว น บน เป็ น รู ป วงกล ม
ปรากฏภาพสลักนูนตา่ โดยรอบวิหารทัง้ ภาพที่แ สดงถึงการถวายวิห ารแด่เทพ
ขนาด 1.8 เมตรเป็ นอั ก ษรเฮ ีย โรกลิฟ ฟิ คที่ ส ื่อ ถึง สุ ร ิย เทพ รา ส ่ ว นหิน อี ก ส ี่
ของฟาโรห์รว่ มกับเทพราด ้วย
เจ ้า พิธ ีเซด (Sed Festival) และภาพ กลุ่ ม ขุ ด ค น ้ ชาวเยอรมั น ยั ง พ บ ซากส งิ่ ก่อ สร ้างจากอิฐ ดิบ ที่ มีรูป ทรง
กอ ้ นที่ เ หลื อ มี ก ารตั ้ง ล อ ้ ม รอบหิ น ที่ ตั ้ ง อ ยู่ ต รง ก ล า ง แ ล ะแ ก ะส ลั ก เป็ น ี โรกลิฟฟิ คคาว่า “โฮเทป” ตัวอัก ษรเฮย (Hotep) ซ งึ่ แปลว่าการถวายหรือ แท่น
ค ล ้า ย ค ลึ ง กั บ ตั ว เรื อ ข น า ด ใ ห ญ่ ภายนอกวิหารสุรย ิ ะทางด ้านทิศใต ้ด ้วย ซ ึ่ ง ใน อ ดี ต มั น อ า จ จ ะเค ย ไ ด ร้ ั บ ก า ร
ถวายของสัก การะและยังหมายรวมไป ั ติและพึงพอใจได ้ด ้วย ถึงความสงบ สน
ตกแต่งผิวด ้วยปูน ปลาสเตอร์ก ่อ นที่จะ ี าว รวมไปถึงบางส ่ว นที่ ทาทั บด ้วยส ข
แท่น บูชานี้จงึ มีความหมายว่า “เทพรา ทรงพอพระทั ย ” ในทั ้ง ส ี่ท ิศ หรือ อาจ หมายความได ้ถึงการสัก การะเทพเจ ้า
อ า จ ใ ช ไ้ ม ้เ ป็ น ส ่ ว น ป ร ะก อ บ โ ด ย จุด ประสงค์ห ลั ก ของประติม ากรรมรูป เรือ เช ่ น นี้ อ าจจะมี ค วามหมายในเช ิง
ราจากทั ้ ง ส ี่ ท ิ ศ ก็ เ ป็ นได ้ แท่ น บู ช านี้
ื่ ถึง “เรือ สุรย สัญ ลักษณ์ที่ส อ ิ ะ” ซงึ่ เป็ น
ปั จ จุ บั น อ ยู่ ใ น ส ภ า พ ดี แ ล ะยั ง เป็ น ิ ปะในช ่ ว ง หลั ก ฐานส าคั ญ ถึง งานศ ล ิ้ หนึง่ ราชอาณาจักรเก่าทีด ่ ช ี น
เรื อ ที่ ป ระทั บ ข อ ง สุ ริ ย เท พ ใ น ก า ร เดินทางข ้ามท ้องฟ้ าด ้วยก็เป็ นได ้
ทางด ้านทิศตะวันตกเฉียงใต ้ของ วิหารปรากฎห ้องบูชา (Chapel) ขนาด ่ ้องฤดูกาล(Chamber of เล็กทีน ่ าไปสูห Seasons) ที่ อ ยู่ ด า้ น ใน ส ่ วน ปิ ด ข อ ง อาคาร ในห อ ้ งฤดู ก าลนี้ ป รากฏภาพ สลั ก นู น ต่ า บนหิน ปู น แสดงถึง ฤดู น้ า หลากและฤดูเก็บเกีย ่ ว การปรากฏภาพ 142
ั ลักษณ์ Hotep และ Re รูปที่ 46 แท่นบูชา (Altar) สร ้างจากหินอลาบาสเตอร์แกะสลักเป็ นสญ
รูปที่ 47 ภาพสลักนูนต่าลงส ี ทีห ่ ลงเหลือในปั จจุบันสว่ นมาก เป็ นภาพแสดงการกสกิ รรมและ วิถช ี วี ต ิ แต่ละฤดูกาล
143
144
รูปที่ 48 สภาพวิหารสุรยิ ะใน ปั จจุบัน
145
รูปที่ 49 ผังมาสตาบา พทาห์เชปเซส
มาสตาบาของพทาห์ เชปเซสในนคร สุส านอบู เ ซี ย ร์ ตั ง้ อยู่ เคี ย งข้ างพี ร ะมิ ด ของ เหล่าฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ 5 สองพระองค์คือ ฟาโรห์ซาฮูเรและฟาโรห์นิอเู ซอร์ เร สุสานแห่ง นี ้เป็ นสุสานของสามัญชนที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ แห่งหนึ่งในราชอาณาจักรเก่าเลยก็ว่าได้ จะ
เป็ นรองก็ เ พี ย งแค่ ม าสตาบาของเมเรรู ค า (Mereruka) สมัย ราชวงศ์ ที่ 6 ในนครสุสาน ซัคคาร่าเท่านัน้ พทาห์เชปเซสเริ่ มต้ นชีวิตของเขาด้ วย การเป็ นช่ า งแต่ ง เล็บ (Manicurist) และช่ าง 146
แต่งผม (Hairdresser) แต่หลังจากนัน้ เขาก็ ได้ เข้ า มารั บ ต าแหน่ งวิเซี ย ร์ (Vizier) ซึ่งเป็ น ต าแหน่ ง ในการปกครองที่ เป็ นรองเพี ย งแค่ ฟาโรห์ นอกจากนัน้ ก็ยังมี ตาแหน่ งอื่นๆพ่ วง มาด้ วยมากมาย โดยเฉพาะผู้ดูแลโครงการ ก่อสร้ างทัง้ ปวงขององค์ ฟ าโรห์ ท าให้ พทาห์ เชปเซสเป็ นสามัญชนคนหนึ่งที่มีสถานะทาง สังคมสูงมาก อีกทังเขายั ้ งได้ แต่งงานกับธิดา ของฟาโรห์นิอูเซอร์ เรผู้มีนามว่าคาเมเรเนบตี (Khamerenebty) อี ก ด้ วย นี่ ค งเป็ นหนึ่ ง ใน เหตุผลประกอบที่ ทาให้ เห็ นว่าเหตุใดสามัญ ชนอย่ างพทาห์ เชปเซสถึ งสามารถตัง้ สุสาน ของเขาเองในกลุ่ม พี ร ะมิ ด ของเหล่าฟาโรห์ และเชื ้อพระวงศ์ได้
ปลอมคล้ ายคลึงกับที่ ปรากฎในพี ระมิดของ ฟาโรห์ ซ าฮู เ ร เพื่ อ ให้ คาของทั ง้ คู่ ส ามารถ เดิ น ท า งท ะ ลุ ป ระ ตู อ อ ก ม า รั บ เค รื่ อ ง บรรณ าการได้ จะเห็ น ได้ ว่ า รู ป แบบทาง สถาปั ต ยกรรมที่ ป รากฏในมาสตาบาของพ ทาห์เชปเซสนันได้ ้ รับการสร้ างอย่างจงใจให้ มี ความคล้ ายคลึ ง กั บ สุ ส านหลวงขององค์ ฟาโรห์ อี ก ทั ง้ รู ป แบบของมาสตาบาเช่ น นี ้ ยังคงเป็ นที่ นิย มและเป็ นต้ นแบบให้ กับ มาส ตาบาของชนชันสู ้ งในช่วงราชวงศ์ที่ 5 และ 6 อีกด้ วย
แรกเริ่ ม เดิ ม ที สุส านของพทาห์ เชป เซสนั น้ เป็ นเพี ย งแค่ ม าสตาบาขนาดเล็ ก ประกอบไปด้ วยห้ อ ง 5 ห้ อง มี ห้ องเซอร์ ดับ สาหรับตัง้ รู ปปั น้ ห้ องฝั งศพ ห้ องสาหรับวาง เครื่ องบรรณาการให้ กบั ผู้วายชนม์ สองห้ องที่ วางตัวในแนวแกนตะวันออก-ตะวันตก สร้ าง ขึน้ สาหรับตัวเขาเองหนึ่งห้ องทางด้ านทิศใต้ และของภรรยาของเขาอีกหนึ่งห้ องทางด้ าน ทิ ศ เหนื อ โดยมี ก ารจั ด วางแท่ น บู ช า ใน ลัก ษณะของโต๊ ะหิ น เอาไว้ ด้ านหน้ าประตู
รูป ที่ 50 ประตูป ลอมจากมาสตาบาของพ ทาห์เชปเซส ปั จจุบัน เก็ บรักษาในพิพธิ ภัณฑ์ อังกฤษ 147
หลังจากนัน้ มาสตาบาของพทาห์เชป เซสก็ ยังคงได้ รับการต่ อเติ มหลักๆอีก 2 ครัง้ โดยทาการขยับขยายออกไปทางด้ านฝั่ งทิ ศ ตะวัน ออก มี ก ารเพิ่ ม ห้ องบู ช าที่ มี ช่ อ งเวิ ง้ (Niches) จ า น ว น 3 ช่ อ ง เข้ า ไ ป เพื่ อ ประดิ ษ ฐานรู ป ปั ้น นอกจากนัน้ ยังมี ก ารต่ อ เติ ม ระเบี ย งทางเข้ า (Portico) ด้ วยเสาคอ ลัน ม์ ท รงดอกบัว ท าจากหิ น ปู น คุ ณ ภาพดี จานวนสองเสา อีกทังยั ้ งมีการต่อเติมระเบียง ที่ ป ระดับ ไปด้ วยเสาสูงร่ วม 6 เมตรเพิ่ มเติ ม มาพร้ อมกับ ห้ องหับที่ ซบั ซ้ อนวางตัวอยู่เป็ น จานวนมาก และที่ สาคัญ คื อมี ก ารเพิ่ ม ลาน กว้ าง (Courtyard) พร้ อมด้ วยเสาหินจานวน 20 ต้ นเข้ าไปทางด้ านทิศใต้ อีกด้ วย
สีสัน สดใสมากมาย ทัง้ ภาพลูก ชายของเขา เอง ภาพของคนงานจ านวนมากที่ ก าลั ง ขะมัก เขม้ นกับ การแกะสลัก รู ป ปั ้น ให้ กับ พ ทาห์เชปเซสเพื่ อนามาใส่เอาไว้ ในสุสาน และ ยังมีภาพของพทาห์ เชปเซสในท่ายื นถื อคทา สวมกระโปรงและวิกในลักษณะของชนชัน้ สูง ปรากฏอยู่บนเสาคอลัมน์ ม ากมาย รวมทัง้ ที่ ปรากฏอยู่บนเสาในลานกว้ างด้ วย ภาพสลักที่ปรากฏบนผนังสุสานของพ ทาห์เชปเซสยังมีภาพของการแล่เนื ้อสัตว์เพื่อ ใช้ เป็ นเครื่ อ งบรรณาการอยู่ บ นก าแพงฝั่ ง ตะวันตก อีกทัง้ ยังเพี ยบพร้ อมไปด้ วยเครื่ อง บรรณาการอื่ น ๆโดยเฉพาะอาหารที่ มี ค น นามามอบให้ กบั เขาเป็ นจานวนมาก
นอกจากลานกว้ างที่ ป ระดับ ไปด้ ว ย เสาแล้ ว พทาห์เชปเซสยังได้ เพิ่มห้ องเก็บของ เข้ าไปทางด้ านทิศตะวันตกเฉียงใต้ และยังได้ เพิ่มหนึ่งในสถาปั ตยกรรมที่น่าสนใจที่สดุ เข้ า ไปด้ วย นัน่ ก็คือห้ องรู ปเรื อขนาดใหญ่ (Boatshaped room) ทาให้ สดุ ท้ ายแล้ วมาสตาบา ของพทาห์เชปเซสมี ขนาดกว้ างยาวอยู่ที่ราว 80 x 107 ตารางเมตร ในส่วนของภาพสลักที่ปรากฏบนผนัง สุสานของพทาห์เชปเซสนันก็ ้ เต็มไปด้ วยภาพ 148
รูปที่ 51 คอลัมน์ทรงดอกบัวจากหินปูนคุณภาพดีทท ี่ างเข ้ามาสตาบาของพทาห์เชปเซส รูปที่ 52 ลานกว ้างภายในล ้อมด ้วยเสาสเี่ หลีย่ มสลักเป็ นรูปของพทาห์เชปเซส 20 ต ้น
149
รูปที่ 53 สว่ นคานพาดเสาหินบริเวณลาน มีการแกะสลักเฮยี โรกลิฟฟิ คตลอดคาน
สิ่ ง ห นึ่ ง ที่ น่ า ส น ใ จ ท า ง ด้ า น สถาปั ต ยกรรมของสุสานแห่งนี ก้ ็คือ มาสตา บาของพทาห์ เชปเซสมี ค วามแตกต่ า งจาก สุสานของชนชัน้ สูงในสมัยราชวงศ์ ที่ 4 เป็ น อย่ า งมาก เพราะอย่ า งที่ ได้ เกริ่ น ไปแล้ ว ว่ า มาสต าบาแห่ ง นี ม้ ี ค วามพ ยายามที่ จะ ลอกเลียนแบบสุสานหลวงของฟาโรห์ ดังเช่น การเพิ่มห้ องทางด้ านทิศใต้ ที่มีบนั ไดสาหรับ เดิ น ขึ น้ ไปด้ านบนหลัง คา ซึ่ ง เป็ นไปได้ ว่ า นักบวชในอดีตอาจจะเคยใช้ บนั ไดนี ้ในการชัก ลากโลงศพของพทาห์ เชปเซสขึน้ ไปด้ านบน เพดาน และท าการหย่ อนโลงศพลงมาผ่า น
ทางปล่องขนาดใหญ่เข้ าสู่ห้องฝั งศพที่วางตัว อยู่ ด้ านล่ า งต่ า กว่ า ระดั บ พื น้ ของสุ ส าน เล็กน้ อย แต่กระนันก็ ้ ยงั คงมีการตังค ้ าถามอยู่ ว่า แท้ ที่จริ งแล้ วบันไดที่เดินขึ ้นไปยังด้ านบน ของอาคารนี จ้ ะใช้ สาหรับ ลากโลงศพขึน้ ไป และนามาจัดวางลงในห้ องฝั งศพจริงหรื อไม่ ในส่วนของห้ องฝั งศพที่ ตงอยู ั ้ ่ทางทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือของสุสานก็นบั ว่ามีความ น่าสนใจไม่แพ้ กัน นักอียิปต์วิทยาค้ นพบโลง ศพ 2 โลงด้ วยกัน โลงที่มีขนาดใหญ่ กว่าเป็ น ของพทาห์ เชปเซสเอง ส่วนโลงที่ มีขนาดเล็ก กว่ า เป็ นของภรรยาของเขา โดยหลั ง คา 150
ด้ านบนห้ องฝั งศพประกอบไปด้ วยก้ อนหินปูน ขนาดใหญ่ 4 คู่วางตัวทรงหน้ าจัว่ คล้ ายคลึง กั บ ลัก ษณะของห้ องฝั งพระศพของเหล่ า ฟาโรห์ในสมัยราชวงศ์ที่ 5 และ 6 ซึ่งสิ่งหนึ่งที่ เขาทาเช่นนี ้ได้ อาจจะเป็ นเพราะเขาคือผู้ดูแล โครงการก่อสร้ างของฟาโรห์ จึงมี ความรู้ เรื่ อง สถาปั ตยกรรมต่างๆเป็ นอย่างดี อีกทังเขายั ้ ง แต่งงานกับธิ ดาของฟาโรห์ จึงเป็ นไปได้ ที่จะ ได้ รั บ อ นุ ญ า ต พิ เศ ษ ให้ ส า ม า รถ น า สถาปั ตยกรรมหลวงมาใส่เอาไว้ ในสุสานของ ตนเองได้ ด้วย
ประกอบพี ร ะมิ ด มาอย่ า งชัด เจนก็ คื อ ลาน กว้ างพร้ อมเสา 20 ต้ น ซึ่งปรากฏในพี ระมิ ด ทุกองค์ของอบูเซียร์ ไม่เว้ นแม้ แต่พีระมิดของ เหล่ าราชิ นี ในสมัย ราชวงศ์ ที่ 5 และ 6 โดย ลานกว้ างของพทาห์เชปเซสได้ รับการตกแต่ง ด้ วยภาพสลักสีสันสดใส และอาจจะเป็ นไป ได้ วา่ เมื่อครัง้ อดีตกาลจะเคยมีรูปสลักของเขา เองตังตระหง่ ้ านประดับอยู่ในลานกว้ างแห่งนี ้ ด้ วย นอกจากคุณลักษณะหลักๆที่ได้ กล่าว ไปแล้ ว ห้ องเก็บของและช่องเวิ ้งสาหรับตัง้ รู ป ปั น้ ของพทาห์ เชปเซสที่ ปรากฏในมาสตาบา ของเขาก็เลียนแบบมาจากโครงสร้ างในกลุ่ม อาคารประกอบพีระมิดของเหล่าเชื ้อพระวงศ์ เช่นกัน และท้ ายที่สดุ รู ปแบบมาสตาบาแห่งนี ้ ก็ได้ ถูกเหล่าชนชันสู ้ งคนอื่นๆเช่นตี (Ti) เมเรรู คาและคาเกมนิ (Kagemni) แห่งราชวงศ์ที่ 6 นาไปปรับใช้ ในที่สดุ
ในส่ วนของเสาคอลัม น์ รู ป ดอกบัว ก็ เป็ นอีกหนึ่งตัวอย่างที่แสดงให้ เห็นถึงการลอก เลี ย นสถาปั ต ยกรรมหลวง เนื่ องจากเสารู ป ดอกบั ว และปาปิ รั ส ปรากฏบ่ อ ยค รั ง้ ใน สถาปั ตยกรรมพีระมิดของฟาโรห์ ในอบูเซียร์ หลากหลายพระองค์ โดยเฉพาะของฟาโรห์ ซาฮู เร ซึ่ ง มั ก จะสร้ างด้ ว ยหิ น แกรนิ ต แต่ พ ทาห์ เชปเซสก็ทาการคัดลอกรู ปแบบเสาทรง ดอกบัวมาใช้ ในสุสานของตัวเองโดยใช้ หินปูน เป็ นวัสดุหลักในการก่อสร้ างแทน
การปรับเปลี่ยนรูปแบบสถาปั ตยกรรม ของสุสานชนชันสู ้ งที่ปรากฏให้ เห็นในมาสตา บาของพทาห์ เชปเซสนี แ้ สดงให้ เห็ น ถึ งการ พยายามเปลี่ยนมโนคติ เรื่ องมาสตาบาจาก เพี ยงแ ค่ “บ้ าน ของผู้ วายชน ม์ ” ไป เป็ น อนุ ส าวรี ย์ แ ละวิห ารส าหรั บ ให้ ผ้ ูที่ ยัง มี ชีวิ ต
อีกหนึ่งคุณลักษณะที่มาสตาบาของพ ทาห์ เ ชปเซสลอกเลี ย นแบบกลุ่ ม อาคาร 151
ได้ ม าแสดงความเคารพและระลึ ก ถึ ง ผู้ว าย ชนม์ ดั่ ง ที่ ก ระท ากั บ ฟาโรห์ ม ากยิ่ ง ขึ น้ นั่ น แสดงให้ เห็น ถึงการเปลี่ย นแปลงครัง้ สาคัญ ของสถานะทางสังคมที่ ป รากฏให้ เห็น ในชน ชัน้ สูงสมัยราชวงศ์ ที่ 5 ได้ อย่างชัดเจน พวก เขาไม่ได้ เพียงแค่สร้ างที่พานักหลังความตาย เอาไว้ ใกล้ กับองค์ ฟาโรห์ ดั่งที่ บรรพบุรุษของ พวกเขาเคยกระทาในราชวงศ์ ที่ 4 ที่ กิซ่า แต่ พวกเขาสามารถยกระดับสถาปั ตยกรรมของ สุส านหรื อ บ้ า นในโลกหน้ า ของตนเองให้ มี ความซับซ้ อนและยิ่งใหญ่ ทดั เทียมสุสานของ เหล่าฟาโรห์ได้ เลยทีเดียว และนั่ น ยิ่ ง แสดงให้ เห็ น ว่ า ฟาโรห์ ไม่ได้ เป็ นผู้ที่มีเอกสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวในชีวิต หลั ง ความตายอี ก ต่ อ ไป เพราะชนชั น้ สู ง อย่างพทาห์ เชปเซสได้ แสดงให้ เห็นแล้ วว่า ที่ พ านัก หลัง ความตายของเขาไม่ ได้ มี ค วาม แตกต่ า งเชิ ง บทบาทไปจากกลุ่ ม อาคาร ประกอบพีระมิดของฟาโรห์เลยแม้ แต่น้อย
รูปที่ 54 โลงศพทัง้ สองโลงทีป ่ รากฏในห ้อง ฝั ง ศพเป็ นของพทาห์เชปเซสเองและภรรยา ของเขา
152
153
รูปที่ 55 ผังพีระมิดพระนางเคนท์คาเวสที่ 2
พ ร ะ น า ง เ ค น ท์ ค า เ ว ส ที่ 2 (Khentkawes II) คือมเหสีของฟาโรห์เนเฟอร์ อิร์คาเร นักอียิปต์วิทยาค้ นพบแผ่นหินปูนชิ ้น หนึ่งจากพี ระมิดขันบั ้ นไดของฟาโรห์ เนเฟอร์ อิร์คาเรมาช่วยยื นยันข้ อเท็จจริ งตรงนี ้ อีกทัง้ ยังมีหลักฐานชิ ้นอื่นที่บอกข้ อมูลเพิ่มเติมด้ วย ว่านางคื อมารดาของฟาโรห์ เนเฟอร์ เอฟเรซึ่ง ครองราชย์ต่อจากฟาโรห์เชปเซสคาเร กระนัน้ พี ระมิดแห่งนี ก้ ็เพิ่ งได้ รับ การระบุว่าเป็ นของ พระนางเคนท์ ค าเวสที่ 2 โดยที ม นัก อี ยิ ป ต์ วิทยาจากสาธารณรัฐเช็คเมื่ อราวทศวรรษที่ 1970s ที่ผา่ นมานี ้เอง
พี ระมิ ดของพระนางเคนท์ คาเวสที่ 2 นี ต้ งั ้ อยู่แทบจะตรงกับแกนเหนื อ -ใต้ ท างทิ ศ ใต้ ของพี ระมิดของฟาโรห์ เนเฟอร์ อิร์คาเรพอ ดิบพอดี ซึง่ ถ้ าอ้ างอิงจากพีระมิดของราชวงศ์ ที่ 4 อย่ า งเช่ น ของสเนเฟ อรู ห รื อ คาเฟ ร ตาแหน่งตรงนี ้เป็ นที่ตงั ้ ของพี ระมิดบริ วารซึ่ง เกี่ ย วข้ องโดยตรงกับวิญ ญาณคา (Ka) ของ องค์ ฟ าโรห์ บางที พี ระมิดของพระนางเคนท์ คาเวสที่ 2 ที่ตงอยู ั ้ ่ตรงนี ้อาจจะมีความหมาย โดยนั ย เกี่ ย วข้ องกั บ การถ่ า ยโอนคาของ กษัตริย์จากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งก็เป็ นได้ 154
จากแผ่นหินที่ค้นพบในพีระมิดมีจารึ ก ที่บอกให้ นกั อียิปต์วทิ ยาทราบว่าการก่อสร้ าง พี ร ะมิ ด แห่ ง นี ไ้ ด้ หยุ ด ลงชั่ ว คราวหนึ่ ง ครั ง้ ในช่วงปี ที่ 10 ของการครองราชย์ ของฟาโรห์ พระองค์หนึ่งซึ่งที่ไม่ปรากฏพระนามในจารึ ก ส่วนแผ่นหินอีกแผ่นหนึ่งก็ได้ มีการสลักคาว่า “พระมารดา” ลงไปเหนื อ ค าว่า “มเหสี ข อง กษัตริย์” ซึ่งอาจจะเป็ นไปได้ ว่าจารึ กนี ้เกิดขึ ้น ในช่วงที่ การก่อสร้ างได้ เริ่ มต้ นขึน้ อีกครัง้ ท า ให้ มี ก ารเสนอกัน ว่าอาจจะเป็ นฝี มื อการต่ อ เติมของโอรสของนางที่ ช่วยยกระดับสถานะ ของนางขึ ้นมาก็เป็ นได้ อีกเช่นกัน
หินแกรนิตสีชมพู นอกจากนันยั ้ งมีการค้ นพบ เศษชิ ้นส่วนของมัมมี่และเศษภาชนะหินจาก พิธีกรรมฝั งศพขององค์ราชินีด้วย บริเวณทางเข้ าไปยังวิหารประกอบพิธี ศพมี เสาสี่ เหลี่ ย มจารึ ก พระนามของเคนท์ คาเวสที่ 2 เอาไว้ ท าให้ เราทราบได้ อย่างแน่ ชัดว่าพีระมิดนี ้เป็ นของนางอย่างแน่นอน ทาง ฝั่ ง ตะวัน ตกของวิ ห ารแห่ ง นี ม้ ี ป ระตู ป ลอม (False Door) ท าจากหิ น แกรนิ ต สร้ างเชื่ อ ม กับหอถวายเครื่ องบรรณาการที่ตงั ้ อยู่ติดกับ องค์ พี ระมิ ด มี ก ารค้ น พบภาพของพระนาง เคนท์ ค าเวสที่ 2 ในท่ า ทางประทั บ นั่ ง บน บัลลังก์ พระหัตถ์ ข้างหนึ่งถื อคทาปาปิ รัส อีก ทั ง้ ยั ง ป ระดั บ งู เ ห่ ายู เ รอั ส (Uraeus) บ น หน้ าผากด้ วย นั่น ท าให้ นัก อียิ ป ต์ วิท ยาส่วน หนึ่ ง เสนอว่า นางอาจจะเคยครองราชย์ ใ น ฐานะกษั ต ริ ย์ อ ยู่ ใ นช่ ว งเวลาสั น้ ๆ ด้ วยก็ เป็ นได้
โครงสร้ างภายในของพี ร ะมิ ด แห่ ง นี ้ ค่อนข้ างเสี ยหายไปเยอะมาก ทางเข้ าไปยัง องค์ พี ร ะมิ ด ตัง้ อยู่ เกื อบกึ่ งกลางของฝั่ ง ทิ ศ เหนือตามแบบฉบับของพีระมิดอียิปต์โบราณ มี ทางเดิ นตรงยาวเข้ าไปยังห้ องฝั งพระศพที่ ตังอยู ้ ่กึ่งกลางองค์พีระมิด ก่อนที่จะถึงห้ องฝั ง พระศพเล็กน้ อยมี ช่องสาหรับวางหินแกรนิต ปิ ดกัน้ ทางเข้ าเพื่อป้องกัน โจรปล้ นสุสาน โถง ทางเดินและห้ องฝั งพระศพสร้ างจากหินปูนสี ขาวคุณภาพดี เพดานของห้ องฝั งพระศพเป็ น แบบแบนราบสร้ างจากก้ อนหินปูนขนาดใหญ่ ภายใน ห้ องฝั งพ ระศ พ มี โ ลงศพ ท าจาก
หนึ่งในหลักฐานที่ มาสนับสนุนความ เป็ นไปได้ ในข้ อนี ้ก็คือนักอียิปต์วทิ ยาเสนอว่า วิ ห ารประกอบพิ ธี ศ พที่ ตั ง้ อยู่ ท างด้ านทิ ศ ตะวันออกขององค์พีระมิดนันถู ้ กสร้ างขึน้ โดย แบ่งเป็ นสองช่วงหลักๆ โดยช่วงที่สองของการ ก่ อ สร้ างนั น้ นางได้ มี ก ารขยายโครงสร้ าง 155
ออกไปตามแกนทิศ ตะวันออก-ตะวันตก ซึ่ง คล้ ายคลึงกับ ที่ เหล่าฟาโรห์ มักจะกระท ากัน นอกจากนัน้ พระนางยังทาการเพิ่ มห้ องเก็ บ ของ 5 ห้ อง พร้ อมด้ วยพีระมิดบริ วารของนาง เองอีกหนึ่ งองค์ ด้วย นั่นท าให้ พระนางได้ รับ การบู ช าที่ วิ ห ารแห่ งนี ย้ าวนานต่ อ เนื่ อ งถึ ง 300 ปี จนสิ ้นสุดราชวงศ์ที่ 6 เลยก็วา่ ได้ อีก สิ่ งหนึ่ งที่ น่ าสนใจก็ คื อ นัก อี ยิ ป ต์ วิท ยาได้ ค้ น พบปาปิ รัสอบูเซี ย ร์ อีก มากมาย หลายม้ วนจากวิหารประกอบพิธีศพแห่งนี ้ ซึ่ง ช่วยให้ พวกเราเข้ าใจเรื่ องราวของกลุ่มอาคาร ประกอบพี ระมิ ดในอบูเซีย ร์ ได้ ดี ขึน้ มากเลย ทีเดียว
รูป ที่ 56 พระนางเคนท์คาเวสที่สองพร ้อม ด ้วยงูเห่าบนหน ้าผาก
156
พีระมิดแห่งนี ้ค้ นพบโดยทีมนักอียิปต์ วิ ท ยาจากสาธารณรั ฐ เช็ ค ที่ เข้ ามาส ารวจ ตัง้ แต่ช่วงทศวรรษที่ 1980s พี ระมิดของเชป เซสค าเรตั ง้ อยู่ ท างต อน เห นื อของน ค ร สุสานอบูเซียร์ มันไม่ได้ เพียงแค่สร้ างไม่เสร็ จ แต่นกั อียิปต์วิทยาพบว่าชาวไอยคุปต์เพิ่งเริ่ ม ที่จะสร้ างมันเสียด้ วยซ ้า
ใดองค์ ห นึ่ ง ของราชวงศ์ ที่ 5 เป็ นแน่ และ ฟาโรห์ ที่ ยั ง ไม่ มี พี ร ะมิ ด เป็ นของตั ว เองใน ช่วงเวลานี ก้ ็คือเชปเซสคาเร นักอียิปต์ วิทยา จึ งเสนอว่า พี ระมิ ด ที่ เพิ่ งสร้ า งแห่ ง นี ก้ ็ น่ าจะ เป็ นของพระองค์นนั่ เอง โครงสร้ างที่ ห ลงเหลืออยู่ของพี ระมิ ด แ ห่ งนี ้แ ส ด งให้ เห็ น เพี ย งแ ค่ งาน ดิ น ที่ หยุดชะงักลงอย่างกะทันหันหลังจากเริ่มสร้ าง ไปได้ เพียงไม่นาน ชาวไอยคุปต์เพียงแค่ปรับ ระดับพื ้นทะเลทรายและเพิ่งเริ่ มลงมือขุดหลุม เพื่ อเตรี ยมสร้ างห้ องฝั งพระศพใต้ ดินเท่านัน้ เอง
ด้ วยขนาดฐานพี ร ะมิ ด ที่ ใ หญ่ เป็ น อัน ดั บ สองรองจากพี ร ะมิ ด ขั น้ บั น ไดของ ฟาโรห์ เนเฟอร์ อิร์คาเร ทาให้ นักอียิปต์ วิทยา เสนอว่า พี ระมิ ด ที่ ตัง้ อยู่ระหว่างพี ระมิ ดของ ซาฮูเรและวิหารสุริยะของ อูเซรคาฟนี ้จะต้ อง เป็ นของฟาโรห์องค์
รูปที่ 57 พืน้ ทีต่ ัง้ ของ พีระมิดทีส ่ ร ้างไม่เสร็จ ของฟาโรห์เชปเซสคาเร ทีน ่ ครสุสานอบูเซยี ร์
157
กลุ่มของพี ระมิดขนาดเล็กที่ ได้ รับการ เรี ย กขานว่ า เลปซิ อุ ส 24 และ 25 (Lepsius XXIV & XXV) ตัง้ ห่ างออกมาทางตอนใต้ ของ พีระมิดของพระนางเคนท์คาเวสที่ 2 ราวๆ 50 เมตร คาร์ ล ริ ช าร์ ด เลปซิ อุ ส (Karl Richard Lepsius) คื อ นั ก อี ยิป ต์ วิ ท ยาที่ เข้ า มาส ารวจ พี ระมิด ทัง้ สองแห่งนี ต้ ัง้ แต่ ช่ว งปี ค.ศ. 1842 และหลังจากนัน้ ราว 60 ปี ลุด วิ ก บอร์ ช าร์ ด (Ludwig Borchardt) ก็ ได้ เข้ า ม า ส า ร ว จ พีระมิดเลปซีอสุ 24 คร่าวๆอีกครัง้ หนึ่ง แต่บอร์ ชาร์ ดกลับสรุป ณ เวลานั ้นว่าพีระมิดแห่งนี ้เป็ น เพี ย งแค่ม าสตาบาสองชัน้ เท่ านัน้ ทาให้ ไม่มี ใครสนใจพีระมิดทั ้งสองแห่งนี ้อีกเลย
เซียร์ ในรัชสมัยของฟาโรห์นิอูเซอร์ เรปรากฏอยู่ ด้ วย นั่ น ท าให้ ที ม นั ก อี ยิ ป ต์ วิ ท ยาสรุ ป ว่ า พี ระมิด เลปซิ อุส 24 และ 25 ที่ ตัง้ อยู่ใกล้ กัน น่าจะสร้ างขึน้ ในรัชสมัยของฟาโรห์ นิอูเซอร์ เร เช่นกัน พี ระมิ ด เลปซิ อุ ส 24 มี ข นาดฐาน กว้ างยาวด้ านละ 52 เมตร สิ่งที่น่าสนใจที่สดุ ที่ ค้ นพบในห้ องฝั งพระศพของพีระมิดแห่งนี ้ก็คือ โลงศพที่ ทาจากหินแกรนิตสี ชมพู พร้ อ มด้ วย มัมมี่ของสตรี ที่น่าจะเสียชีวิตเมื่อตอนอายุราว 23 ปี แต่ ก็มี การเสนอกัน ว่านางอาจจะไม่ได้ เป็ นเจ้ าของพี ร ะมิ ด องค์ นี ้ เพราะจากการ ตรวจสอบมั ม มี่ พ บว่ า สมองของนางถูก น า ออกมาจากทางรู จมูก ซึ่งเป็ นกรรมวิธีที่ไม่เคย ปรากฏให้ เห็ น ก่ อ นหน้ า สมัย ราชอาณาจัก ร กลาง นัน่ แปลว่าถ้ าพีระมิดแห่งนี ้สร้ างขึ ้นในรัช สมัยของนิอเู ซอร์ เรจริง นางอาจจะเข้ ามาอยูใ่ น นี ้ภายหลังก็เป็ นได้ นอกจากนั ้นแล้ วนักอียิปต์ วิทยาไม่พบหลักฐานอื่นใดอีกเลยเกี่ยวกับนาง ไม่มีหลักฐานปรากฏให้ เห็นเลยแม้ แต่ชื่อเสียง เรี ยงนามของนางเองก็ตาม
จนกระทั่งมาถึงราวทศวรรษที่ 1980s ทีมนักอี ยิปต์ วิทยาจากสาธารณรั ฐเช็คได้ เข้ า มาตรวจสอบพีระมิดทั ้งสองแห่งนี ้โดยละเอียด อี กครั ง้ และพบว่าจริ งๆแล้ ว พี ระมิดเลปซิอุส 24 ที่บอร์ ชาร์ ดกล่าวว่าเป็ นเพียงแค่มาสตาบา สองชั ้นนั ้นคื อพี ระมิด ซึ่งมีพีระมิดบริ วารและ วิหารประกอบพิธีศพเป็ นของตัวเองด้ วย หนึ่ง ในการค้ นพบครัง้ สาคัญในพีระมิดเลปซิอุส 24 ก็คือมีการค้ นพบชื่อของพทาห์เชปเซส ซึ่งเป็ นวิ 158
กระนัน้ นัก อี ยิปต์ วิ ท ยาส่ ว นหนึ่ งก็ ยัง เสนอว่า ถึงแม้ กระบวนการทามัมมี่จะไม่ร่วม สมัยกับราชวงศ์ที่ 5 แต่นางก็อาจจะเป็ นมเหสี ของฟาโรห์ นิอูเซอร์ เร หรื อไม่ก็เนเฟอร์ เอฟเรก็ เป็ นได้ น่าเสียดายที่วิหารประกอบพิธีศพของ พีระมิดเลปซิอุส 24 เสียหายเกือบหมดจนทา ให้ ไม่สามารถจาลองสถาปั ตยกรรมของวิหาร แห่ งนี อ้ อกมาได้ แต่สิ่ งหนึ่งที่ ค้นพบก็คือไม่มี ร่ องรอยของการตกแต่งใดๆในวิหารประกอบ พิธีศพ นัน่ จึงทาให้ มีการเสนอกันว่ามันอาจจะ ยังสร้ างไม่เสร็จสมบูรณ์ดีก็เป็ นได้
รูปที่ 58 ทางลงไปยังพีระมิดเลปซอิ ุส 24 ที่ ปั จจุ บั น เหลื อ เพี ย งแค่ ซ ากปรั ก ลั ก ษณ ะ คล ้ายมาสตาบา
ส่วนพี ระมิด เลปซิอุส 25 ที่ ตัง้ อยู่ท าง ทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ ของพีระมิดเลปซิอุส 24 นั ้นยังไม่มีการสารวจอย่างเป็ น ทางการจากนัก อียปิ ต์วิทยา กระนั ้นก็มีการตั ้งสมมติฐานเอาไว้ แล้ ว ว่ า มัน น่ า จะเป็ นของราชิ นี สัก องค์ ในรั ช สมัย ของฟาโรห์ นิ อูเซอร์ เร สิ่งหนึ่งที่ น่ าสนใจ ของพีระมิดเลปซิอสุ 25 ก็คือวิหารประกอบพิธี ศพถูก สร้ างเอาไว้ ท างทิ ศ ตะวั น ตกขององค์ พีระมิด ซึ่งผิดกับผลงานร่ วมสมัยที่มัก จะวาง เอาไว้ ที่ฝั่งตะวันออกมากกว่า
1
์ ี่ 19 ศล ิ ปะของสุรย รูปที่ 1 สุรยิ ะเทพรา-ฮอรัคติ จิตรกรรมในสุสานเนเฟอตารี (QV66) ราชวงศท ิ ะ ื่ อกมาในหลายรูปลักษณ์ไปจนถึงลักษณะนามธรรมแต่น่าแปลกทีไ่ ม่ปรากฎการ เทพรานั น ้ มีการสอ พบภาพสลักของราในชว่ งราชอาณาจักรเก่าเลย นอกจากรูปจานสุรย ิ ะ (Solar disk)
1
IV
ื่ ทีม จากทีเ่ ห็นว่าความเชอ ่ ต ี อ ่ ดวง
เกิดจนไปสู่ช วี ต ิ หลังความตาย และส ่ง ั ้ เลยทีเดียว อิทธิพลต่อทุกชนชน
อาทิต ย์ข องชาวอีย ป ิ ต์นั้น มีอ ท ิ ธิพ ลที่ ทรงพลังทัง้ ในทางศาสนา การปกครอง ้ ี ว ิต และจะเห็ น ได ้ รวมไปถึง การใช ช ั เจนในงานสถาปั ตยกรรมตัง้ แต่ อย่างชด
งานสถาปั ต ยกรรมทางศาสนา ของอีย ป ิ ต์นั ้นมักมีองค์ประกอบที่เกีย ่ ว โย งไปถึ ง ความ เช ื่ อ ต่ อ ดวงอ าทิ ต ย์
์ ี่ 4 ที่ฟ าโรห์ไ ด ้น ามาใช เป็ ้ น ราชวงศ ท ิ ธิใ์ นการปกครองราชอาณาจัก ร เทวสท
เสมอตั ้ง แต่ ร ายละเอี ย ดการตกแต่ ง เล็ก ๆไปจนถึงการจัดวางผัง แต่ตัวงาน
อย่างเป็ นทางการในฐานะ บุตรของรา (Son of Ra) โดยเริม ่ ต ้นที่ฟ าโรห์ด เจ
สถาปั ตยกรรมหลักๆทีม ่ ค ี วามเกีย ่ วข ้อง ั เจนต่อความเชอ ื่ นี้ เราสามารถ อย่างชด ึ ษาในยุค แรกเริม ย ้อนกลั บ ไปศ ก ่ ได ้ที่
เดเฟรเป็ นครัง้ แรก จารีตนี้จะได ้รับการ ื ทอดต่อ มาในฐานะความชอบธรรม สบ
นครเฮลิโอโพลิส (Heliopolis) ซงึ่ เป็ น
ทางการปกครองเป็ นเวลาร่วม 3,000 ปี และมีอ ท ิ ธิพ ลมากยิง่ ขึน ้ ไปอีก ในช ่ว ง
ต ้นรากและศูนย์กลางของลัทธิบช ู าดวง อาทิตย์ซงึ่ ตัง้ อยู่ทางฝั่ งตะวัน ออกของ
์ ี่ 5 โดยที่เราเห็ นได ้ สมัยของราชวงศท ว่า ลั ท ธิบู ช าดวงอาทิต ย์ (Solar Cult) ึ เข ้ามาอยู่ ของชาวอียป ิ ต์นัน ้ ได ้แทรกซม
แม่น้ าไนล์ กล่า วโดยสัง เขปคือ เฮลิโ อโพ ลิสเป็ นเมืองเก่าแก่ย ้อนไปได ้ตัง้ แต่ยุค ์ ละนับเป็ นเมืองทีเ่ ก่าแก่ ก่อนราชวงศแ
้ ีว ต ในการใช ช ิ ของสั ง คมอี ย ิป ต์ตั ง้ แต่
161
รูปที่ 2 ภาพสนี ้ าแสดงทิวทัศน์ของเมืองเฮลิโอโปลิสซงึ่ เหลือหลักฐานชดั เจนเพียงแค่เสา โอเบลิสก์สมัยราชอาณาจักรกลาง
ที่ สุ ด เมื องห นึ่ ง ของอี ยิ ป ต์ น ค รแห่ ง นี ้มี หลักฐานการก่อสร้ างอาคารทางศาสนาหรื อ วิห ารแห่ งแรกๆในอี ยิ ป ต์ โบราณ อี กทัง้ ยัง มี ความเฉพาะตัวของกลุ่มวิหารปรากฏให้ เห็น ด้ วย
ตัวความเชื่ อหลักของเฮลิโอโพลิสนัน้ จะให้ ความส าคั ญ ต่ อ เทพอตุ ม (Atum) ซึ่ ง เป็ นสุริยเทพในยุคแรกเริ่ม รวมไปถึงเป็ นหนึ่ง ในกลุ่ม เทพเก้ า องค์ ห รื อ Ennead อี ก ทัง้ ยัง เป็ นเทพประจ าเมื อ งด้ ว ย จากต านานแล้ ว อตุมถือเป็ นเทพที่มีความเกี่ยวข้ องกับตานาน
162
การสร้ า งโลกอย่ างมาก ในต านานกล่าวว่า พระองค์ ถื อก าเนิ ด ขึ น้ ด้ วยพระองค์ เองและ ประทับอยู่เหนือ “เนินดินแห่งการถือกาเนิด ” (Primeval Mound) หรื อที่ ชาวอียิปต์ เรี ยกว่า “เบนเบน” (Benben) ความเชื่อนี ้ทาให้ มีการ สร้ างวิหารที่ มีลกั ษณะของการแสดงเนินดิน นัน้ ขึ น้ มาเพื่ อจาลองจุด แรกเริ่ ม ของการถื อ ก าเนิ ด โลก และเน้ น ชัด ไม่ ใ ช่ เพี ย งการเป็ น ศูนย์กลางของความเชื่อนี ้แต่เป็ นการแสดงจุด ศูน ย์ ก ลางของโลกด้ วย ลัก ษณะความเชื่ อ แบบนี จ้ ะสามารถพบได้ ในหลายๆความเชื่ อ จากหลายภูมิภาค เช่นเดียวกับการถือคติไตร ภูมิหรื อการสร้ างนครวัดเพื่ อแสดงความเป็ น ศู น ย์ ก ล า ง จั ก ร ว า ล แ ล ะ อ า น า จ ท า ง ราชอาณาจักรของกัมพูชา เป็ นต้ น
ไป ถึ ง เมื องอื่ น ๆอย่ า งเฮี ยราค อน โพ ลิ ส Hierakonpolis และเท ล เอล -ยาฮู ดิ ย า (Tell el-Yahudiya) อีกด้ วย นอกจากนี ้นครเฮ ลิโอโพลิส ยัง ถูก ใช้ เป็ นเมื องศู น ย์ ก ลางของ ลัท ธิ บู ช าดวงอาทิ ต ย์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เห็ น ได้ จากการตั ง้ เสาโอเบลิ ส ก์ ขึ น้ ในพื น้ ที่ วิ ห าร ประจ าเมื องโด ยเห ล่ า ฟ าโรห์ ตั ้ง แ ต่ ยุ ค ราชอาณาจักรเก่าไปจนถึงยุคราชอาณาจักร ใหม่
ลักษณะการก่อสร้ างเนินทรายเช่นนี ้ ถูกเรี ยกว่า Hoher Sand เป็ นลักษณะการก่อ เนินขึ ้นไปในรู ปทรงสี่เหลี่ยมหรื อวงรี เสริมด้ วย กาแพงอิฐดิบ เนินนี ้มักสร้ างเพื่ อรองรับวิหาร ที่จะตัง้ อยู่ด้านบน ซึ่งในที่ นี ้คือวิหารแห่งเทพ อตุ ม และอาจรวมไปถึ ง วิ ห ารแห่ ง เทพราฮ อ รั ค ตี (Ra-Horakhty) ที่ เป็ น สุ ริ ย เท พ เช่นเดียวกัน สิ่งก่อสร้ างแบบนี ้สามารถพบได้ ไม่ใช่เฉพาะในเฮลิโอโพลิสเท่านัน้ แต่ยงั รวม
รูป ที่ 3 ลั ก ษณะการตั ้ง อยู่เหนื อ เนิ น ทราย หรือ เนิ น ดิน จ าลองของวิห ารสุร ย ิ ะก็ เป็ นการ ถือเอาคติเนินดินแห่งการถือกาเนิดมาใช ้
163
ต่ อ มาในช่ ว งราชวงศ์ ที่ 3 ได้ เกิ ด สิ่ ง ที่ปฎิวตั ิงานสถาปั ตยกรรมในอียปิ ต์โบราณขึ ้น นั่น คื อ โครงการก่ อ สร้ างกลุ่ม วิ ห ารประกอบ พีระมิดโดยอิมโฮเทป (ดังที่ได้ กล่าวไปแล้ วใน ส่วนที่ สองเกี่ยวกับสถาปั ตยกรรมของพี ระมิด ในราชวงศ์ที่ 3) ทาให้ เห็นได้ ว่าอิมโฮเทปไม่ได้ สร้ างเพี ยงแค่กลุ่มอาคารศิลาที่ถือว่ายิ่งใหญ่ มากในสมั ย นั น้ แต่ ยั ง มี ก ารเน้ นย า้ พื น้ ที่ ประกอบพิธีที่เชื่อมโยงฟาโรห์ในฐานะเทพเจ้ า ที่มีลทั ธิเป็ นของตนเองด้ วย นอกจากนี ้เราก็ไม่ สามารถมองข้ ามสิ่งที่ เป็ นส่วนสาคัญที่ สุดไป ได้ นั่ น คื อ “พี ระมิ ด แบบขั น้ บัน ได” ถึ ง แม้ ว่ า พีระมิดขัน้ บันไดจะเป็ นจุดเริ่ มต้ นของพี ระมิด ในยุคหลัง แต่เนื่องมาจากตัวพีระมิดขั ้นบันได นี ้ยังมีลักษณะที่เกี่ยวโยงกลับไปยังมาสตาบา ซึ่ ง เป็ นสุ ส านในยุ ค แรกเริ่ ม อย่ า งค่ อ นข้ าง ชั ด เจน จึ ง ท าให้ การตี ค วามสิ่ ง ที่ อิ ม โฮเทป ต้ องการสร้ างขึ น้ นั น้ ไม่ ชั ด เจนว่ า เป็ นความ ต้ องการที่ จะสื่อถึงความเชื่ อมโยงกับสุริยเทพ เหมือนดังเช่นพี ระมิดในยุคหลังๆหรื อไม่ แต่ก็ ค่ อ นข้ างสรุ ป ได้ ถึ ง ความต้ องการแสดงใน รูปแบบผสมระหว่างเนินดินและบันไดหรื อทาง เชื่อมต่อสู่สวรรค์ไปรวมกับสุริยเทพ ซึ่งต่างไป จากคติความเชื่อในสุสานอย่างมาสตาบา โดย ความเชื่ อ เรื่ อ งบัน ไดสู่ส วรรค์ นี ย้ ัง ปรากฎใน
จารึ กพีระมิด (Pyramid Texts) ซึ่งปรากฏเป็ น ครั ง้ แรกในราชวงศ์ ที่ 5 อี ก ด้ วย การก่อ สร้ าง ทานองนี ้ได้ ถกู สืบทอดต่อมาไม่ว่าจะเป็ นในรู ป ของจารี ต หรื อ ความนิ ย มก็ ต าม แต่ มัน ก็ ไ ด้ พัฒนารู ปแบบตัวเองมาอย่างต่อเนื่องจนเป็ น พีระมิดอย่างที่เรารู้ จักกัน และเน้ นย ้าเทวสิทธิ์ ของฟาโรห์ที่ควบคู่ไปกับสุริยเทพ จนเกิดเป็ น ยุครุ่ งเรื องของลัทธินี ้ตั ้งแต่ราชวงศ์ที่ 4 เป็ นต้ น มา ราชวงศ์ ที่ 4 เป็ นยุ ค ที่ มี ก ารพั ฒ นา สถาปั ตยกรรมอย่างพีระมิดจนถึงจุดสูงสุดเช่น ในกลุ่มพี ระมิดแห่งกิซา ตัวกลุ่มวิหารพีระมิด ในยุคนี ้ไม่ได้ ถกู จากัดอยู่แต่ในกรอบของกลุ่ม อาคารในก าแพงอี ก ต่ อ ไป แต่ ได้ สร้ างกลุ่ ม อาคารประกอบพิ ธี ศ พใหม่ ที่ มี รู ป แบบที่ แตกต่างออกไปจากที่เคยมีมา และจะเป็ นการ สร้ างกลุ่ ม วิ ห ารและพี ระมิ ด ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ ความเชื่อรูปแบบใหม่มากยิง่ ขึ ้น ดังที่จะเห็นได้ จากการส ร้ างท างเชื่ อม ฉ น วน ท างเดิ น (Causeway) ที่ เชื่ อมต่อวิหารประกอบพิธีศพ เข้ ากั บ อาคารแบบใหม่ อ ย่ า งวิ ห ารหุ บ เขา (Valley Temple) ถึงแม้ ว่าหน้ าที่ของมันจะยัง ค่อนข้ างคลุมเครื อ แต่นักอียิปต์วิทยาได้ มีการ ตั ้งแนวคิดที่อาจจะโยงกลับไปได้ ถึงแนวความ เชื่ อ เรื่ อ งกาแพงพิ ธี ศพที่ มี ม าในยุค ก่ อนที่ ถูก 164
เปลี่ยนรูปแบบมาให้ รับกับการใช้ งานแบบใหม่ นอกจากนั ้นวิหารนี ้ยังเปรี ยบเสมือนจุดรับและ จุดเชื่อมต่อระหว่างฟาโรห์และเทพเจ้ าอีกด้ วย ส่ วนตัว วิ ห ารประกอบพิ ธี ศ พนัน้ จะเชื่ อ มต่ อ โด ย ต รง กั บ พี ระ มิ ด แ ล ะ มี ก า รเน้ น ถึ ง องค์ประกอบที่สาคัญอย่างลานเปิ ดในอาคาร เพื่อการประกอบพิธีกรรมด้ วย
แต่ ส่ ว นที่ ไ ด้ รั บ การเน้ นชั ด ที่ สุ ด ใน บรรดากลุ่มอาคารช่วงราชวงศ์นี ้คือตัวพีระมิด เอง ที่ เป็ นส่ ว นประกอบหลั ก ที่ สุ ด ของกลุ่ ม วิ ห ารพี ร ะมิ ด ในราชวงศ์ ที่ 4 พี ระมิ ด ยุ ค นี ้ จั ด เป็ นยุ ค แรกที่ ไ ด้ มี ก ารสร้ างรู ป ทรงแบบ พี ร ะมิ ด แท้ (True Pyramid) ขึ น้ ซึ่ ง ไม่ ใ ช่ ใ น รู ป ลั ก ษณ์ ข องขั น้ บั น ไดอี ก ต่ อ ไป ลั ก ษณะ ดั ง กล่ า วยั ง แสดงถึ ง การปรั บ รู ป แบบจาก ลั ก ษ ณ ะ ขอ งเนิ น ไป สู่ รู ป ลั ก ษ ณ์ ที่ เป็ น นามธรรมมากยิ่งขึ น้ และเกี่ ย วโยงไปถึ ง ลัท ธิ สุริยะมากกว่าเก่า เพราะสามารถตีความไปถึง ทรงของล าแสงดวงอาทิ ต ย์ ที่ ฉ ายลงมาจาก ม่า นเมฆในรู ป ทรงสามเหลี่ ย มคล้ ายคลึ ง กับ รูปทรงขององค์พีระมิดได้ ด้วย
รูปที่ 4 ลาแสงของดวงสุรยิ าทีท ่ ะลุผา่ นม่าน เมฆอาจจะเป็ นต ้นกาเนิดทีแ ่ ท ้จริงของรูปทรง พีระมิดแท ้
165
ทัง้ นี จ้ ุด ที่ ส าคัญ ที่ สุด ที่ แสดงอิท ธิ พ ล ของลัทธิสุริยะที่ถือได้ ว่าต่างออกไปจากนิยาม แบบสุ ส านมาสตาบาหรื อ แม้ แ ต่ กับ พี ระมิ ด ขัน้ บัน ไดของดโจเซอร์ เองก็ คื อ ส่ วนของห้ อง ภายในพี ระมิดที่จะเป็ นจุดที่ ฟาโรห์จะกลับไป รวมกับเทพรา-อตุมและหมุนเวียนอยู่ในโลกใน ฐานะเทพร่ วมไปกับการเดินทางของสุริยเทพ ชัว่ นิรันดร์ เช่นเดียวกับที่ฟาโรห์จะต้ องดารงอยู่ ร่ ว มไปกั บ ราชอาณาจั ก รในสถานะความ ต่ อ เนื่ อ งทางโลกและรั ก ษาระเบี ย บของโลก ต่ อ ไป ตรงนี จ้ ะเห็ น ได้ ว่ า นิ ย ามของพี ระมิ ด เปลี่ ยนไป สิ่ งก่อสร้ างนี ไ้ ม่ได้ เป็ นเพี ยงสุสาน หรื อที่ อยู่อาศัยของคนตายอย่างที่เคยเป็ นแต่ กลับกลายมาเป็ นพื ้นที่เปลี่ยนผ่านสาหรับองค์ ฟาโรห์ที่กาลังจะกลายเป็ นเทพเจ้ า พร้ อมทั ้งส่ง พระองค์ ขึ น้ ไปร่ ว มกั บ สุ ริ ย เทพบนท้ องฟ้ า หลักฐานหรื อสัญลักษณ์ ที่แสดงถึงแนวความ เชื่ อ นี อ้ ยู่ในห้ องพระศพของฟาโรห์ ที่ จ ะถู ก ตกแต่งด้ วยลายของดวงดาราบนพื ้นสี น ้าเงิน แสดงถึ งท้ อ งฟ้ ายามค่ า คื น เป็ นการเปิ ดห้ อง พระศพให้ เชื่อมต่อกับท้ องฟ้าในเชิงสัญลักษณ์ ตรงจุด นี ถ้ ื อได้ ว่ ามี ค วามน่ าสนใจอย่างหนึ่ ง เพราะว่าในห้ องเก็ บพระศพของพี ระมิด บาง องค์ อย่างเช่นห้ อ งเก็บพระศพของฟาโรห์ คูฟู ซึ่งภายในนัน้ ไม่ได้ มีการแสดงภาพตกแต่งแต่
อย่างใดแม้ แ ต่ กับ ตัวโลงพระศพที่ มีลัก ษณะ เรี ยบเกลี ย้ งแตกต่างจากพี ระมิดองค์ ต่อๆมา อย่ า งเมนคาอู เ รที่ โลงพระศพเริ่ ม เห็ น การ ตกแต่ ง เป็ นลวดลายของก าแพงวัง (Palace Facade) บ้ างแล้ วหรื อในพี ระมิดราชวงศ์ ที่ 5 บางองค์อย่างห้ องฝั งพระศพของฟาโรห์อนู าส ก็มี การตกแต่ งเต็ มพื น้ ที่ ไปด้ วยจารึ ก พี ระมิด ลวดลายแบบกาแพงวังเช่นกัน ประเด็นนี ไ้ ด้ มี การตัง้ ข้ อสันนิ ษฐานที่ ส นับสนุนแนวคิดที่ ว่า พีระมิดในช่วงต้ นของราชวงศ์ นี ้มีจุดประสงค์ หลัก ในลัก ษณะของการเป็ น “เครื่ องมื อ ” ใน การส่งฟาโรห์ ขึน้ สู่ส วรรค์ มากกว่าที่ สถิตของ ฟาโรห์เอง
166
จากตรงนี ้เราจะเห็นได้ ถึงองค์ประกอบ หลักๆ 4 ส่วนในพีระมิดนัน่ คือ 1. 2. 3. 4.
องค์พีระมิด วิหารประกอบพิธีศพ ฉนวนทางเดิน วิหารหุบเขา
รวมไปถึงการเชื่อมโยงแกน (Axis) ของ กลุ่ ม พี ระมิ ด ด้ วย ซึ่ ง ลั ก ษณะองค์ ป ระกอบ เช่นนี ้พบได้ กบั วิหารสุริยะอย่างในอบูเซียร์ ช่วง ราชวงศ์ที่ 5 เช่นกัน ประเพณีการสร้ างพีระมิดได้ ดาเนินมา อย่างต่อ เนื่ อ งจนถึงราชวงศ์ ที่ 5 บริ บ ทได้ ถูก เปลี่ ย นไปจากการเน้ นหนั ก ไปกั บ การสร้ าง พีระมิดที่มีความใหญ่โตเพื่อประกันการดารง อยูข่ องฟาโรห์หลังความตายและแสดงพระราช อ านาจต่ อ โลกคนเป็ น ไปสู่ ก ารเน้ นวิ ห าร ประกอบพิธีศพที่ แสดงถึงลัทธิบูชาฟาโรห์ แต่ ละองค์ ในฐานะเทพที่ จ ะได้ รั บ การสั ก การะ อย่า งต่ อ เนื่ อ ง ทัง้ นี น้ ัก อี ยิป ต์ วิ ท ยาได้ แ สดง ความเห็ น ไว้ ว่ า การเปลี่ ย นแปลงดังกล่ า วได้ แสดงถึ งนิ ย ามของฟาโรห์ ที่ ก ลับ เข้ า มาสู่มิ ติ ของมนุ ษ ย์ ที่ จ ะยั ง คงต้ องการการสั ก การะ ดังเช่นที่มีการสักการะบรรพชนของประชาชน ทัว่ ไปอยู่ และพีระมิดเป็ นเพียงเครื่ องแสดงพระ
รูปที่ 5 pyramid text ภายในห ้องเก็บพระ ศพของฟาโรห์อน ู าส
167
ราชอานาจพิเศษเหนือบุคคลทัว่ ไปเท่านั ้น แต่ ความน่าสนใจในมิติความเชื่อของพี ระมิดใน ราชวงศ์ที่ 5 ก็ไม่ได้ น้อยไปกว่ามหาพีระมิดใน ยุ ค ก่ อ นๆ เพราะคติ เ ชิ ง สั ญ ลั ก ษณ์ ได้ ถู ก เน้ นหนั ก ลงบนวิ ห ารประกอบพิ ธี ศ พแทน นัน่ เอง
องค์ ประกอบอื่ น ๆของกลุ่ ม วิ ห าร ประกอบพีระมิดในราชวงศ์ที่ 5 ก็มีการตกแต่ง ที่มากขึ ้นเช่นในกลุ่มวิหารประกอบพีระมิดของ ซาฮู เร จะเห็ น ว่ า มี ก ารตกแต่ ง ภายในตั ง้ แต่ วิ ห ารหุ บ เขาตลอดทางเชื่ อ มไปจนถึ ง วิ ห าร ประกอบพิ ธี ศ พด้ วยภาพสลักอย่างสวยงาม แต่ ก ารตกแต่ ง ดั ง กล่ า วไม่ ไ ด้ เป็ นไปเพื่ อ สุน ทรี ย ภาพในทางความสวยงาม ตรงนี เ้ รา อาจต้ องท าความเข้ า ใจว่ า ค่ า นิ ย มของชาว อียปิ ต์นั ้นไม่ได้ มองงานศิลปะเช่นเดียวกับที่เรา มอง ส่วนมากนั ้น การตกแต่งอะไรก็ตามมักจะ เป็ นไปในเชิงสัญลักษณ์ และทางจิตวิญญาณ ไม่ได้ เน้ น หนัก ที่ ความสวยงามเป็ นหลัก เช่ น การตกแต่งเสาเป็ นทรงต้ นปาล์มก็ไม่ใช่เพราะ มันมีความสวยงามแต่มนั คือการสื่อว่าเสานั ้น คือต้ นปาล์ ม จุดนี เ้ ป็ นจุดที่ มีประโยชน์ อย่าง มากจะท าให้ เรามี ค วามเข้ าใจได้ ว่ า ค น สมัยก่อนมีแนวคิดอย่างไรต่ออาคารนั ้นๆ
ดังเช่น จากเอกสารอย่าง “ปาปิ รั สอบู เซี ย ร์ ” (Abusir Papyri) จากราชวงศ์ ที่ 5 ได้ กล่าวว่าในประเพณี ประจาปี จะมีการอัญเชิญ เท พ อ ย่ า ง โส ก า ร์ (Sokar) แ ล ะ ฮ า เธ อ ร์ (Hathor) ทางเรื อ และมีก ารแวะเวี ยนพี ระมิด แต่ละองค์ ซึ่งสันนิษฐานได้ ว่าเรื อของเทพแต่ ละองค์ จะเทียบท่าหน้ าวิหารหุบเขาที่มีรูปปั น้ ของฟาโรห์ ป ระจ าอยู่ เป็ นการแสดงความ เชื่อมโยงของฟาโรห์และเทพเจ้ า เช่นเดียวกับที่ ฟาโรห์ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ใ นฐานะของฮอรั ส ผู้ปกครอง (Horus King) แนวความเชื่ อ นี ไ้ ม่ ชัดเจนว่ามีมาตั ้งแต่ในสมัยที่ มีการสร้ างวิหาร หุ บ เขาตั ง้ แต่ ยุ ค แรกเริ่ ม หรื อ ไม่ เพราะไม่ ปรากฎช่อง (Niche) สาหรับตั ้งรูปปั น้ ฟาโรห์ใน วิหารหุบเขาในช่วงต้ นของราชวงศ์นีแ้ ต่อย่าง ใด
จากที่เกริ่นมาในตรงนี ้เพื่อที่จะแสดงให้ เห็นว่าวิหารประกอบพิธีศพของซาฮูเรจะแสดง ถึงแนวคิดนี ้ได้ อย่างชัดเจน โดยเฉพาะในพื ้นที่ ลานเปิ ดโล่งในตัววิหาร ที่แสดงคติสัญลักษณ์ ที่โยงไปถึงลักษณะของโลกที่มีความเกี่ยวโยง กับดวงอาทิตย์ และเป็ นพื ้นที่เชิงสัญลักษณ์ ที่ ส่งฟาโรห์ขึ ้นไปสู่ท้องฟ้า ซึ่งจะเห็นได้ จากการ 168
ตกแต่ ง ส่ ว นแผ่ น หลั ง คาคลุ ม ที่ ต กแต่ ง ด้ วย ลวดลายของดวงดาว และมีการใช้ หินบะซอลต์ สี ดาปูในส่วนนี เ้ ป็ นการแสดงสัญลักษณ์ ของ ผื น ดิ น หรื อ เทพเกบ (Geb) ผ่ า นความหมาย ของสี และการตกแต่งเสาโดยรอบด้ วยรู ปทรง ของต้ น ไม้ อย่างต้ น ปาล์ ม ในวิ หารของซาฮูเร และเสาทรงปาปิ รั สจากวิห ารของเนเฟอร์ อิ ร์ คาเรและนิอูเซอร์ เร ซึ่งเป็ นการจาลองจักรวาล หรื อโลกมาไว้ เป็ นเชิ งสัญลักษณ์ ภ ายในลาน เปิ ดโล่งดังกล่าว
นอกจากนี อ้ าคารที่ เป็ นลัก ษณะเด่ น ของตัวงานสถาปั ตยกรรมในช่วงราชวงศ์ที่ 5 ที่ ปรากฏเด่นชัดที่สุดคือ “วิหารสุริยะ” โดยวิหาร สุริยะในที่นี ้เป็ นลักษณะเฉพาะของกลุ่มอาคาร วิ ห ารสุ ริ ย ะ ที่ ต่ า งออกไปจากวิ ห ารก่ อ นๆ ลัก ษณะเฉพาะนี ม้ ี ค วามคล้ ายคลึ งกับ กลุ่ ม วิหารประกอบพีระมิด เช่นมีฉนวนทางเดินและ วิห ารหุบเขาประกอบอยู่ด้วย สถาปั ต ยกรรม ของวิหารนี ย้ งั มีการนาเอาคติของเนินดินแห่ง การถือกาเนิดจากเฮลิโอโพลิสมาใช้ ด้วย และ ตัววิหารที่ อยู่เหนื อเนินดินจะมีลักษณะวิหาร ภายในก าแพงที่ จ ะประกอบไปด้ วยพื น้ ที่ ประกอบพิธีที่เป็ นลานโล่งเป็ นส่วนใหญ่อาคาร ที่ มี ห ลังคาคลุม ส่ วนมากจะถูกใช้ ในการเก็ บ อุปกรณ์ประกอบพิธีและของสักการะเป็ นหลัก เช่นเดียวกับวิหารทั่วไป ส่วนที่สาคัญที่สุดของ วิหารนี จ้ ะเป็ น อาคารขนาดใหญ่ ที่มีลักษณะ เดียวกับเสาโอเบลิสก์ในเวลาต่อมา ซึ่งอาจถือ เป็ น การตั ้งเสาโอเบลิสก์รูปแบบแรกๆแห่งหนึ่ง เลยทีเดี ยว และการตกแต่งโดยรอบจะเป็ นรู ป ส ลั ก ข อ ง ฤ ดู ก า ล ต่ า ง ๆ แ ล ะ ภ า พ ข อ ง เกษตรกรรมที่เกิดขึ ้นในแต่ละปี แสดงถึงความ อุดมสมบูรณ์ที่ดวงอาทิตย์นั ้นบันดาลให้
รูปที่ 6 ภาพจาลองวิหารหุบ เขาของฟาโรห์ ี ร์ข ณะที่เ รือ ก าลั งแล่ น เข ้ามา ซาฮูเ รที่อ บูเซย เทียบ
นอกจากวิ ห ารและองค์ พี ระมิ ด ที่ ถูก ชาวไอยคุปต์จับโยงเข้ ากับลัทธิความเชื่อเรื่ อง 169
ดวงอาทิตย์แล้ ว “กลุ่มของอาคาร” ที่ พวกเขา สร้ างขึ น้ ก็ มี ค วามเชื่ อ มโยงเข้ า กับ ดวงสุริย า โดยเฉพ าะนครเฮลิ โ อโพ ลิ ส ด้ วยเช่ น กั น หลักฐานทางโบราณคดีที่นกั อียปิ ต์วิทยานามา เสนอก็คือแนวคิดเรื่ อง “แกน” ของกลุ่มพีระมิด นัน่ เอง อย่า งที่ ได้ ก ล่ าวลงรายละเอี ย ดไปใน ส่ ว นที่ ส องและส่ วนที่ ส ามแล้ ว จะเห็ น ได้ ว่ า กลุ่มพี ระมิดที่ กิ ซ่าแห่งราชวงศ์ ที่ 4 และกลุ่ม พี ระมิด ที่ อ บูเซี ย ร์ แ ห่ ง ราชวงศ์ ที่ 5 มี จุด ร่ ว ม เดียวกันอยูอ่ ย่างหนึ่ง นัน่ ก็คือ “แกน” ของกลุ่ม พี ระมิดที่ เชื่ อมโยงพี ระมิดหลักทัง้ 3 องค์ ของ แต่ละนครสุสานเข้ าด้ วยกัน และที่สาคัญก็คือ มิ โรสลาฟ เวอร์ เนอร์ (Miroslav Verner) นั ก อียิปต์ วิทยาผู้เชี่ ยวชาญด้ านพี ระมิดและนคร สุสานอบูเซี ยร์ ได้ เขี ยนเสนอเอาไว้ ในหนังสื อ Abusir: Realm of Osiris ของเขาว่าแกนของ กลุ่มพี ระมิดทัง้ สองแห่งนัน้ มุ่งตรงไปตัดกัน ที่ นครเฮลิโอโพลิ สทางฝั่ งตะวันออกของแม่น า้ ไนล์พอดิบพอดี แสดงให้ เห็นถึงความพยายาม เชื่อมโยงนครสุสานและการสิน้ พระชนม์ ของ องค์ ฟ าโรห์ เข้ ากับ มโนคติ เรื่ อ งลิ ท ธิ บู ช าสุริย เทพได้ อย่างชัดเจนทีเดียว
้ รูปที่ 7 เสนประแสดงให ้เห็นว่าแกนพีระมิด ของกิซา่ และอบูเซยี ร์พงุ่ ตรงไปตัดกันทีน ่ ครเฮ ลิโอโพลิส
170
นอกจากนี ้แล้ วอีกหนึ่งแนวคิดสาคัญที่ นักอียิปต์วิทยาเสนอกันเกี่ยวกับนครสุสานอบู เซียร์ คือ บริเวณนี ้เป็ นตาแหน่งที่อยูท่ างใต้ ที่สดุ ที่ ยัง คงสามารถมองเห็ น ยอดโอเบลิ ส ก์ ข อง วิหารแห่งดวงสุริยาในนครเฮลิโอโพลิสทางฝั่ ง ตะวันออกของแม่น ้าไนล์ได้ จึงเป็ นจุดที่ฟาโรห์ อูเซรคาฟตัด สิ น ใจบุ ก เบิก มาเริ่ ม สร้ างวิ ห าร สุริยะของพระองค์ เอาไว้ ในนครแห่งนี เ้ ป็ นครัง้ แรก ก่อนที่จะได้ รับการสานต่อโดยเหล่าฟาโรห์ แห่งราชวงศ์ที่ 5 อีกหลายต่อหลายพระองค์
แต่หลังจากที่ ฟาโรห์ คูฟูได้ ขึ ้นไปสร้ าง พี ร ะมิ ด แห่ ง ใหม่ ณ ที่ ร าบกิ ซ่ า ซึ่ ง มี อ าณา บริเวณกว้ างขวาง ตามติดมาด้ วยฟาโรห์ดเจเด เฟร ซึ่งเป็ นฟาโรห์ พ ระองค์ แรกที่ ใช้ ตาแหน่ ง “โอรสแห่ งรา” ก็ ได้ สร้ างพี ระมิด ของพระองค์ เหนือขึ ้นไปอีกในนครอบู-โรแอช ซึ่งตัง้ ใกล้ กับ นครเฮลิ โอโพลิ ส มากขึ น้ สื่ อ ให้ เห็ น ถึ งความ เป็ นไปได้ ที่พระองค์ต้องการใกล้ ชิดกับองค์สรุ ิย เทพให้ มากขึ ้นเช่นกัน ฟาโรห์ในยุคถัดมาอย่าง คาเฟรและเมนคาอูเร เมื่อมาสานต่อพีระมิดที่ กิซ่า จึงได้ สร้ างพี ระมิดของพระองค์ ให้ มีแกน รวมที่ สามารถชี ้ไปยังนครเฮลิโอโพลิสได้ ตาม ไปด้ วย (แต่ก็มีนักอี ยิปต์ วิทยาเสนอว่าที่ กลุ่ม พีระมิดแห่งกิซ่าเรี ยงตัวกันเช่นนี ้เป็ นเพราะมัน ถูกสร้ างขึ ้นตามแนวของสันเขามากกว่า)
ประเด็นนี ้ ทางกลุ่มของผู้เขียนจึงได้ ตั ้ง ทฤษฎีที่น่าสนใจขึ ้นมาว่าถ้ านครสุสานอบูเซียร์ คื อ ต าแหน่ ง ที่ อ ยู่ ท างทิ ศ ใต้ ที่ สุ ด ที่ ส ามารถ มองเห็นยอดโอเบลิสก์ ในวิหารแห่งดวงสุริยา ในนครเฮลิ โอโพลิ ส จริ ง ดัง ที่ นัก อี ยิ ป ต์ วิ ท ยา เสนอกันแล้ วนัน้ นครสุสานซัคคาร่ าซึ่งตัง้ อยู่ ทางทิศใต้ ของอบูเซียร์ ย่อมต้ องไม่สามารถเห็น นครเฮลิโอโพลิสได้ เป็ นแน่ แต่ถ้าย้ อนกลับไป ในสมัยราชวงศ์ที่ 3 แนวคิดเรื่ องการบูชาสุริย เทพยังไม่ก้าวขึ ้นสูย่ คุ รุ่งเรื อง ฟาโรห์ยงั คงฝั กใฝ่ กั บ การสร้ างพี ระมิ ด ขั น้ บั น ไดผสานเข้ ากั บ กาแพงพิธีศพโดยที่ยงั ไม่มีความเชื่อมโยงกับสุ ริ ย เทพอย่างชัด เจนเท่ าใดนัก พระองค์ จึ งได้ เลือกตั ้งสุสานในนครซัคคาร่ าซึ่งไม่ได้ มีความ เชื่อมโยงกับเฮลิโอโพลิสโดยตรง
เมื่อนครสุสานกิซ่าเต็มไปด้ วยพี ระมิด จนมิอาจสร้ างเพิ่มเติมได้ อีก อูเซรคาฟฟาโรห์ องค์ แ รกแห่ ง ราชวงศ์ ที่ 5 ซึ่ ง ถ้ าว่ า กั น ตาม ตานานจากปาปิ รัสเวสคาร์ ดังที่ ได้ กล่าวไปใน ส่วนของตานานอี ยิปต์โบราณยุคพี ร ะมิดแล้ ว พระองค์คือ “โอรสของนักบวชชัน้ สูงแห่งเทพ รา” ซึ่งแสดงให้ เห็นว่าพระองค์ คือบุตรของรา และมี ค วามเกี่ ย วข้ องกั บ ดวงสุ ริ ย าอย่ า ง หลี กเลี่ ยงไม่ได้ อูเซรคาฟจึงจ าเป็ นต้ องหาที่ สร้ างพี ระมิด แห่ งใหม่ พระองค์ กลับ มาสร้ าง 171
พี ระมิด ที่ ซัค คาร่ า โดยกลับมาวางต าแหน่ ง พีระมิดของพระองค์เอาไว้ เคียงข้ างพีระมิดของ ฟาโรห์ดโจเซอร์ แห่งราชวงศ์ที่ 3 เพื่อเชื่อมโยง ความสัม พั น ธ์ กับ บรรพบุ รุษ แต่ ท ว่ าพี ระมิ ด ของพระองค์ จะไม่สามารถเชื่อมโยงกับวิหาร สุริย ะได้ อี ก ต่ อ ไป เพราะนครสุ ส านแห่ งนี ไ้ ม่ ส าม ารถม อ งเห็ น น ค รเฮ ลิ โอ โพ ลิ ส ท าง ตะวันออกได้ ตรงนี ้ทางกลุม่ ของผู้เขียนมีความ คิ ด เห็ น ว่ า นี่ คื อสาเหตุ ที่ ท าให้ อู เ ซรค าฟ ตั ด สิ น ใจสร้ าง “วิ ห ารสุ ริ ย ะ” เอาไว้ ที่ น คร สุส านอบูเซี ย ร์ ซึ่งตัง้ อยู่ห่ างจากพี ระมิด ของ พระองค์ ใ นนครสุ ส านซั ค คาร่ า เพี ย งแค่ 3 กิโลเมตรเท่านั ้น นัน่ ก็เพื่อให้ ที่พานักหลังความ ตายของพระองค์ยงั คงมีความเชื่อมโยงกับสุริย เทพอยูน่ นั่ เอง
สถาปั ตยกรรมของชาวอี ยิปต์ โบราณในสมัย ราชอาณาจักรเก่าได้ อย่างชัดเจน โดยสรุ ป แล้ วจากตั ว งานที่ ก ล่ า วมา ทั ้งหมดจะพบว่า ความเชื่ อและลัทธิ บูชาดวง อาทิ ต ย์ ใ นอี ยิ ป ต์ โบราณได้ ปรากฎขึ น้ มา พร้ อมๆกับการก่อตัวของอารยธรรมไอยคุป ต์ และมี ส่วนในการรวบรวมความมั่นคงในการ ปกครองผ่านความเชื่อทางเทวสิทธิ์ที่ฟาโรห์ มี ร่วมกับสุริยเทพ ความเชื่อและศรัทธานี ้ฝั งราก ทั ้งในการดาเนินชี วิต การปกครอง และความ ต่อ เนื่ อ งเมื่ อ ฟาโรห์ ก้ าวสู่โลกหลังความตาย ผ่า นทางงานสถาปั ต ยกรรมในรู ป แบบต่ างๆ และเป็ นแรงขับดันในยุคต่อๆไปต่อการรังสรรค์ งานศิ ล ปะ สถาปั ตยกรรมและวัฒ นธรรมอี ก ร่วม 3,000 ปี
หลั ง จากนั น้ เมื่ อ ฟาโรห์ ซ าฮูเรเห็ น ว่ า พื ้นที่อบูเซียร์ มีวิหารสุริยะของอูเซรคาฟตั ้งอยู่ แล้ ว จึงได้ หันมาสร้ างพีระมิดที่นครแห่งนี ้ เป็ น ต้ น แบบเชิ ง ต าแหน่ ง ให้ ฟ าโรห์ อ งค์ ต่ อ ไปใน ราชวงศ์ที่ 5 ได้ ปฏิบตั ิตาม เหล่านี ้ทาให้ ได้ เห็น ว่ า น ค รสุ ส า น แ ล ะ พี ระ มิ ด ขอ งฟ า โรห์ หลากหลายพระองค์ ถู ก สร้ างให้ เกิ ด ความ เชื่อมโยงกับวิหารสุริยะอย่างลึกซึ ้ง สะท้ อนให้ เห็ น ถึ ง อิ ท ธิ พ ลของสุ ริย เทพที่ ส่ ง ผลต่ อ งาน 172
รูปที่ 8 ปรากฏการณ์เสาแสง(Sun pillar) เป็ นปรากฎการณ์ธรรมชาติทมี่ ักเกิดขณะตะวันตกดิน นั ก อียป ิ ต์วท ิ ยาได ้ตัง้ ข ้อสงั เกตว่าปรากฎการณ์นี้อาจเป็ นต ้นกาเนิดในการออกแบบวิหารสุรย ิ ะและเสา โอเบลิสก์
173
APPENDIX & BIBLIOGRAPHY
นาร์เมอร์
Narmer
ฮอร์-อฮา
Hor-Aha
ดเจอร์
Djer
ดเจท
Djet
เดน
Den
อเนดจิบ
Anedjib
เซเมรเคต
Semerkhet
คา'อา
Qa'a
โฮเทปเซเคมวี
Hotepsekhemwy
ราเนบ
Raneb
นิเนเชอร์
Ninetjer
เพริบเซน
Peribsen
คาเซเคมวี
Khasekhemwy 174
เนบคา
Nebka
2649BC – 2630BC
ดโจเซอร์
Djoser
2630BC – 2611BC
เซเคมเคต
Sekhemkhet
2611BC – 2603BC
คาบา
Khaba
2603BC – 2599BC
ฮูน ิ
Huni
2599BC – 2575BC
สเนเฟอรู
Sneferu
2575BC – 2551BC
คูฟ ู
Khufu
2551BC – 2528BC
ดเจเดฟเร
Djedefre
2528BC – 2520BC
คาเฟร
Khafre
2520BC – 2494BC
เมนคาอูเร
Menkaure
2494BC – 2472BC
เชปเซสคาฟ
Shepseskaf
2472BC – 2467BC
อูเซรคาฟ
Userkaf
2465BC – 2458BC
ซาฮูเร
Sahure
2458BC – 2446BC
เนเฟอร์อริ ค ์ าเร
Neferirkare
2446BC – 2426BC
เชปเซสคาเร
Shepseskare
2426BC – 2419BC
เนเฟอร์เอฟเร
Neferefre
2419BC – 2416BC
นิอเู ซอร์เร
Niuserre
2416BC – 2388BC
ดเจดคาเร-อิเซซ ิ
Djedkare-Isesi
2388BC – 2356BC
อูนาส
Unas
2356BC – 2323BC
175
เตติ
Teti
2323BC – 2291BC
เปปิ ที่ 1
Pepi I
2291BC – 2255BC
เมเรนเร
Merenre
2255BC – 2246BC
เปปิ ที่ 2
Pepi II
2246BC – 2152BC
อินเทฟที่ 1
Intef I
2134BC – 2118BC
อินเทฟที่ 2
Intef II
2118BC – 2069BC
อินเทฟที่ 3
Intef III
2069BC – 2061BC
เมนทูโฮเทป
Mentuhotep
2061BC – 2010BC
เมนทูโฮเทปที่ 1
Mentuhotep I
2061BC – 2010BC
เมนทูโฮเทปที่ 2
Mentuhotep II
2010BC – 1998BC
เมนทูโฮเทปที่ 3
Mentuhotep III
1998BC – 1991BC
อเมนเอมฮัตที่ 1
Amenemhat I
1991BC – 1962BC
เซนุสเรตที่ 1
Senusret I
1971BC – 1926BC
อเมนเอมฮัตที่ 2
Amenemhat II
1929BC – 1892BC
เซนุสเรตที่ 2
Senusret II
1897BC – 1878BC
เซนุสเรตที่ 3
Senusret III
1878BC – 1841BC?
อเมนเอมฮัตที่ 3
Amenemhat III
1844BC – 1797BC 176
อเมนเอมฮัตที่ 4
Amenemhat IV
1799BC – 1787BC
โซเบคเนเฟอรู
Sobekneferu
1787BC – 1783BC
ชาบาคา
Shabaka
712BC – 698BC
ชาบาทาคา
Shabataka
698BC – 690BC
ทาฮาร์คา
Taharqa
690BC – 664BC
ทานูทอมุน
Tanutamun
664BC – 657BC
เนโคที่ 1
Necho I
672BC – 664BC
ั เทคที่ 1 พซม
Psamtek I
664BC – 610BC
177
รูปที่ 1 นอกจากการจัดลาดับฟาโรห์เป็ นราชวงศโ์ ดยนักบวชมาเนโธแล ้ว Abydos King Lists หรือ รายพระนามฟาโรห์ 76 พระองค์แห่งอไบดอส ทีจ ่ ารึกในรั ชสมัยฟาโรห์เซติท ี่ 1 บนผนั งวิหารแห่ง โอซริ ส ิ ในนครอไบดอส ถือเป็ นอีกหนึ่งหลักฐานทีเ่ ป็ นประโยชน์ตอ ่ การเรียบเรียงลาดับการปกครอง ของฟาโรห์
178
หนึ่งในสิ่งที่ จาเป็ นต่อการรั งสรรค์ ง าน สถาปั ตยกรรมก็คือการเลื อกวัสดุต่างๆมาใช้ กับผลงาน ซึ่งสถาปนิกมักจะมีปัจจัยหลักๆ 3 ประการส าหรั บใช้ ในการตัดสิ น ใจเลื อ กวัส ดุ นั่นก็คือคุณภาพของวัสดุ แหล่งที่ มาของวัสดุ และปริมาณของวัสดุที่จะนามาใช้
ถ้ าพวกเขาสร้ างบ้ านหรื อ พระราชวั ง ก็ จ ะ เลือกใช้ เพียงแค่อิฐโคลนธรรมดา ทาให้ ผพุ งั ไป ตามกาลเวลาง่ายกว่าและไม่ค่อ ยหลงเหลื อ หลักฐานมาให้ นักโบราณคดีได้ ศึกษากันมาก นัก เหล่านี แ้ สดงให้ เห็นว่าชาวไอยคุปต์ มีการ เลื อ กวัส ดุอ ย่า งจงใจให้ เข้ า กับ วัต ถุป ระสงค์ ของงานสถาปั ตยกรรมแต่ละชนิดอย่างแท้ จริง
สาหรั บการก่อสร้ างพี ระมิดหรื อวิห าร ของชาวไอยคุปต์นั ้น พวกเขาตั ้งใจเลือกวัสดุที่ มีคุณ ภาพดี และแข็งแรงดังเช่นหิ น โดยจงใจ เลื อกใช้ หินแกรนิตที่ มีความแข็งแกร่ งมากกับ ห้ องที่มีความสาคัญที่สุดในพีระมิดดังเช่นห้ อง ฝั งพระศพ ส่วนโครงสร้ างอื่นๆขององค์พีระมิด ก็จ ะใช้ เพี ย งแค่ หิ น ปูน หยาบๆที่ ห าได้ ง่า ยใน ท้ องถิ่น แต่เมื่อต้ องการที่จะฉาบผิวพี ระมิดให้ มีความงดงามก็เลือกที่จะใช้ หินปูนจากเหมือง ทูรา (Tura) ทางฝั่ งตะวันออกของแม่น ้าไนล์ซึ่ง มีคณ ุ ภาพที่ดีกว่าหินปูนท้ องถิ่นคุณภาพหยาบ จะเห็นได้ ว่าในส่วนของอาคารที่ชาวไอยคุปต์ ตัง้ ให้ คงอยู่ไปชั่ ว นิ รัน ดร์ ดั ง เช่ น พี ระมิ ด หรื อ วิหารบูชาเทพเจ้ านั ้น พวกเขามักจะเลือกใช้ หิน เป็ นวัสดุหลักเพื่อให้ มีความคงทนแข็งแรง แต่
ในด้ านแหล่งที่มาของวัสดุ จะเห็นได้ ว่า หินแกรนิตที่ ชาวไอยคุปต์ ใช้ สร้ างส่วนสาคัญ ของพีระมิดนั ้นไม่ได้ มีเหมืองอยูใ่ กล้ กบั สถานที่ ก่อสร้ าง แต่อยู่ห่างออกไปหลายร้ อยกิโลเมตร ทางตอนใต้ ของประเทศอี ยิป ต์ ที่ นครอัส วาน (Aswan) แต่ชาวไอยคุปต์ ก็ยงั คงยินดี ที่จะลง ไปทาเหมืองที่นนั่ เพื่อให้ ได้ มาซึ่งวัสดุที่พวกเขา ต้ องการ หรื ออีกตัวอย่างหนึ่งก็คือไม้ ซึ่งหาได้ ยากในประเทศอี ยิป ต์ พวกเขาต้ องนาเข้ ามา จา กน ค รไบ บ ล อ ส (Byblos) ใน ป ระ เท ศ เลบานอนปั จจุบนั ซึ่งเป็ นไม้ สนซีดาร์ (Cedar) คุณภาพดีกว่า เพื่อนามารังสรรค์ผลงานดังเช่น เครื่ องเรื อนหรื อเรื อสุริยะเพื่อใส่ลงไปในสุสาน ให้ ฟาโรห์ได้ นาไปใช้ ในโลกหน้ าด้ วย 179
ในด้ านปริ มาณของวัสดุ จะเห็นได้ ว่า ชาวไอยคุปต์ มักจะเลือกวัสดุที่หาได้ ง่ายจาก ท้ องถิ่นมาใช้ ในส่วนที่ไม่ได้ มีความสาคัญกับ ตัวโครงสร้ างทางสถาปั ตยกรรมมากนัก และ เมื่อพิ จารณาจากรู ปแบบทางสถาปั ต ยกรรม ของวิ ห ารอี ยิป ต์ โบราณตัง้ แต่ ยุค แรกเริ่ ม จะ พ บว่ า พ วกเขาใช้ ไม้ ใน การก่ อ สร้ างเป็ น ส่ ว นมากในสมั ย ยุค ต้ นราชวงศ์ จึ ง ไม่ ค่ อ ย หลงเหลือหลักฐานมาให้ ศึกษาเนื่องจากว่าไม้ เหล่านั ้นได้ ผพุ งั ไปตามกาลเวลาแล้ ว แต่ไม้ เป็ น วัส ดุที่ ห าได้ ย ากในท้ องถิ่ น ของชาวไอยคุป ต์ เมื่อมันเริ่ มที่ จะขาดแคลน ชาวไอยคุปต์ จึงได้ เริ่ ม หัน มาใช้ อิฐ โคลนแม่น า้ ไนล์ ซึ่ งหาได้ ง่า ย และมี ป ริ มาณมากมายมหาศาลมาเป็ นวัส ดุ หลักแทน โดยหลังจากนัน้ เมื่อพวกเขาพบว่า หินมีความแข็งแรงและคงทนกว่า อี กทัง้ ยังมี ปริ ม าณมากมายให้ ใช้ ได้ อย่ า งเหลื อ เฟื อ เช่นเดียวกันจึงได้ ปรับเปลี่ยนมาใช้ หินเป็ นวัสดุ หลักของการก่อสร้ างทั ้งพีระมิดและวิหารของ ชาวไอยคุ ปต์ ต ลอดช่ ว งประวัติ ศ าสตร์ เกื อ บ 3,000 ปี ของพวกเขาไปในที่สดุ
โคลนและหิน ซึ่งแต่ละชนิดก็มีรายละเอี ยดที่ น่าสนใจแตกต่างกันออกไป
ที่ได้ กล่าวไปแล้ วจะเห็นได้ ว่าวัสดุหลัก ที่ ชาวไอยคุ ป ต์ เลื อกใช้ ในการสร้ างงาน สถาปั ต ยกรรมมีอ ยู่ด้ วยกั น 3 ชนิด คื อ ไม้ อิ ฐ
มีหลักฐานแสดงให้ เห็นว่าชาวไอยคุปต์ ใช้ วัสดุที่หาได้ ยากยิ่งเช่นไม้ นี ้อย่างคุ้มค่าเป็ น อย่า งมาก ดั ง ตัว อย่ า งที่ เห็ น จากเรื อ ต่ า งๆที่ ปลดระวางแล้ ว ชาวไอยคุปต์ก็จะทาการแยก
ในส่วนของไม้ นัน้ เป็ นวัสดุที่ค่อนข้ าง หาได้ ยากในอี ยิ ป ต์ โบราณ ด้ วยสภาพภู มิ ประเทศแบบทะเลทรายเสียเป็ นส่วนใหญ่ ไม้ ที่ มีก็มักจะเป็ นไม้ ต ระกูล ปาล์ ม ทัง้ เดต-ปาล์ ม (Date-Palm) และดอม-ปาล์ ม (Dom-Palm) รวมทัง้ ไม้ สน (Pine) อะคาเซีย (Acacia) ส่วน ไม้ สนซีดาร์ คณ ุ ภาพดีต้องนาเข้ าจากไบบลอส ดังที่ได้ กล่าวไปแล้ ว ชาวไอยคุป ต์ ใช้ ไม้ เดต-ปาล์ ม ซึ่งมี ล า ต้ น ที่ สูง และไม่ มี กิ่ ง ก้ า นหรื อ ใบคอยกวนใจ บริ เวณล าต้ น ในการสร้ างเสาคา้ ยัน หลักของ อาคารรวมทั ้งโครงสร้ างหลังคา ซึ่งจะเห็นได้ ว่า ในงานสถาปั ตยกรรมที่ทาจากหินดังเช่นเสาใน ห้ องโถงต้ อนรั บ บริ เ วณทางเข้ าไปยั ง กลุ่ ม อาคารประกอบพี ระมิด ของฟาโรห์ ด โจเซอร์ แห่ งราชวงศ์ ที่ 3 ที่ ซัค คาร่ าก็มี ก าร “จาลอง” ลวด ลายของต้ นปาล์ มเอาไว้ บนตั ว เส า เช่นเดียวกัน
180
ชิ น้ ส่ ว นไม้ ของเรื อ ล านั น้ ออกมาเพื่ อ ใช้ ท า ประโยชน์ อื่ น ๆต่ อ ไป ไม่ ว่ า จะเป็ นแคร่ เลื่ อ น หรื อไม้ สาหรับค ้ายันต่างๆ เป็ นต้ น
เช่นกัน แต่เมื่อชาวไอยคุปต์เปลี่ยนมาใช้ หินใน การก่อสร้ างแล้ ว ปั ญหาที่ ว่านี ก้ ็หมดไปทัน ที อีกทั ้งยังเพิ่มความแข็งแรงให้ กับโครงสร้ างได้ เพิ่มมากขึ ้นอีกหลายเท่าเลยด้ วย
ส าหรั บ อิ ฐ โคลนนั น้ เป็ นวั ส ดุ ที่ มี อ ยู่ มากมายริ ม สองฝั่ งแม่ น า้ ไนล์ อี ก ทั ง้ ยั ง มี คุณสมบัติที่เหมาะสมสาหรับใช้ ในงานก่อสร้ าง อีกด้ วย นักอียปิ ต์วิทยาพบอิฐ 2 ขนาดหลักๆที่ ใช้ ในงานสถาปั ตยกรรมอียปิ ต์โบราณ ประเภท แรกมีขนาดประมาณ 30 X 15 X 18 ลูกบาศก์ เซนติ เมตร ใช้ ในงานก่ อ สร้ างขนาดเล็ ก เช่ น บ้ านและที่ พัก อาศัยต่ า งๆ รวมทัง้ สุส านของ บุคคลทัว่ ไปด้ วย อีกประเภทหนึ่งมีขนาดความ ยาวประมาณ 35 ถึง 45 เซนติเมตร อิฐโคลน ประเภทนี ม้ ั ก ใช้ ในการก่ อ สร้ างวิ ห ารและ พระราชวังต่างๆขององค์ฟาโรห์ อิฐโคลนเช่นนี ช้ าวไอยคุปต์ จะนาเอา โคลนแม่นา้ ไนล์ มาผสมกับฟางแล้ วนาโคลน เหลวนี ใ้ ส่ลงไปในแม่พิมพ์ แบบสี่เหลี่ยม ก่อน จะนาไปตากให้ แห้ งโดยที่จะไม่นาไปเผา อิฐที่ ได้ จะมี ความคงทนแข็งแรงระดับหนึ่ง แต่ก็ มี ความเสี่ ยงที่ จะพังทลายลงไปอี กครั ง้ ถ้ าเกิด ภัยพิบตั ิแม่น ้าไนล์ไหลเอ่อท่วมสูงกว่าปกติจน มาถึงโครงสร้ างที่ทาด้ วยอิฐเหล่านี ้ ก็จะทาให้ บ้ านหรื ออาคารนัน้ ๆพังถล่มลงมาได้ โดยง่าย
รูปที่ 2 เสาบริเวณทางเข ้าไปยังพีระมิด ขัน ้ บันไดมีการสร ้างรูปทรงเลียนแบบต ้นปาล์ม
181
ในทางสถาปั ต ยกรรมแล้ ว หิ น ที่ ชาว ไอยคุปต์ใช้ ในงานโครงสร้ างของพวกเขาแบ่ง ออกได้ เป็ นสองชนิ ด หลัก ๆ ชนิ ด แรกคื อหิ น ตะกอน (Soft Rock) เช่นหินปูนหรื อหินทราย ชนิ ด ที่ ส องคื อ หิ น แข็ ง เช่ น หิ น แกรนิ ต หรื อ หินบะซอลต์ แต่ถ้าแบ่งตามชนิดของหินแล้ ว นัน้ ชาวไอยคุปต์ใช้ หินที่แตกต่างกันหลักๆถึง 9 ชนิ ด เลยที เดี ย ว ประกอบไปด้ วยหิ น ปู น หินแกรนิต หินทราย หินบะซอลต์ หินควอร์ ต ไซต์ หินอลาบาสเตอร์ หินโดเลอไรต์ หินชีสต์ และหิ นเชิร์ต ซึ่งโดยส่วนใหญ่ แ ล้ วหิ น ที่ ชาว ไอยคุป ต์ ใช้ ใ นการก่ อโครงสร้ างของอาคาร หรื อวิหาร และมีการใช้ กนั อย่างแพร่ ห ลายใน งานสถาปั ตยกรรม นั น้ จะเป็ นหิ น ปู น และ หิ น แกรนิ ต เป็ นหลัก ซึ่งหิ น แกรนิ ต ที่ มี ค วาม แข็งแกร่งมากกว่าก็จะถูกใช้ กบั ส่วนนอกของ
อาคารที่ มี ค วามส าคั ญ มากกว่ า ไปด้ วย ดังเช่นห้ องฝั งพระศพหรื อเสาโอเบลิสก์ในยุค หลังซึ่งเป็ นเสาที่มีความเกี่ยวข้ องกับสุริยเทพ โดยตรง นอกจากนัน้ เราจะเห็นจากกลุ่มพี ระมิดที่ อบู เซียร์ ได้ วา่ มีการใช้ หินบะซอลต์ปพู ื ้นลานกว้ าง ภายในวิหารประกอบพิธีศพของฟาโรห์ซาฮูเร และนิ อูเซอร์ เรด้ วย โดยอาจจะเป็ นไปได้ ว่า ชาวไอยคุปต์ ใช้ สีดาของหิน บะซอลต์ ในการ สื่อถึงความอุดมสมบูรณ์ ของผืนดิน ดังที่พวก เขาเรี ย กดิ น แดนของตั ว เองว่ า “เคเมต ” (Kemet) หรื อ “แผ่นดินสีดา” ส่วนหินอลาบา สเตอร์ ก็มี การนาไปใช้ ปูพื น้ วิหารหุบเขาของ ฟาโรห์คาเฟรที่กิซา่ เช่นกัน
รูปที่ 3 ภาพจากผนังสุสานแสดงชาว ไอยคุปต์กาลังขะมักเขม ้นกับการผลิตอิฐ สอโคลน
182
รูปที่ 4 แม่พมิ พ์ทาจากไม ้ทีช ่ าวไอยคุปต์ใช ้ ในการผลิตอิฐสอโคลน
รูปที่ 5 ภาพสลักแสดงการขนย ้ายโอเบลิสก์ ั เชปซุต ทางเรือในสมัยฟาโรห์ฮต
183
รูปที่ 6 พืน้ วิหารประกอบพิธศี พของฟาโรห์นอิ เู ซอร์เรปูด ้วยหินบะซอลต์สดี าสอื่ ถึงแผ่นดินอันอุดม สมบูรณ์
184
1. เครื่องมือสาหรับวัด - ไม้ วดั มีขนาดประมาณ 1 คิวบิตหรื อ เที ย บเท่ า กั บ 52.5 เซนติ เ มตรใน ปั จจุบนั - สายวัด ความยาวราว 100 คิ ว บิ ต หรื อประมาณ 52.5 เมตร ทาจากเส้ น ใยของต้ นปาล์ม - ลูก ดิ่ ง ส าหรั บ วัด ระดับ แนวดิ่ งของ ผนัง - ไม้ ฉ าก ใช้ ส าห รั บ ต รวจวั ด และ ปรับแต่งผนังหินให้ ได้ มมุ ฉาก 2. เครื่องมือสาหรับตัด - เครื่ อ งตั ด ที่ ท าจากโลหะ เช่ น สิ่ ว ทองแดงหรื อสัมฤทธิ์ โดยจะใช้ ควบคู่ ไปกับตะลุมพุกไม้ ที่ใช้ ในการตอกสิ่ว ลงไปเพื่อตัดและแยกหินออกจากกัน - เครื่ องตัดที่ ทาจากหิ น เช่นขวานหิ น ชนิดต่างๆ ส่วนใหญ่ทาจากหินโดเลอ ไรต์ หินเชิร์ตหรื อหินบะซอลต์ - เลื่ อ ย ท าจากทองแดง นั ก อี ยิ ป ต์ วิทยาพบหลักฐานการใช้ เลื่อยในการ ตัด โลงพระศพที่ ท าจากหิ น แกรนิ ต ดังเช่นของฟาโรห์คูฟู ในห้ องฝั งพระ ศพด้ านในพีระมิดของพระองค์ที่กิซ่า ด้ วย 3. เครื่องมือสาหรับชักลากลาเลียง
นอกจากหิ น หลัก ๆเหล่ า นี แ้ ล้ ว ชาว ไอยคุปต์ยงั ใช้ หินอื่นๆอีกมากมาย แต่เป็ นหิน สาหรับ ท าเครื่ องประดับ เพื่ อความสวยงาม ม าก ก ว่ า ดั ง เช่ น หิ น แ อ เม ทิ สต์ ห รื อแ ร่ เทอร์ ค วอยส์ ไม่ ไ ด้ เป็ นการน ามาใช้ งาน สาหรับก่อสร้ างอาคารทางสถาปั ตยกรรมแต่ อย่างใด ใน ส่ ว น ของเครื่ อ งมื อที่ ใช้ ใน การ ก่อสร้ างพีระมิดของช่างชาวไอยคุปต์นนมี ั ้ อยู่ 3 ประเภทหลักๆด้ วยกันก็คือเครื่ องมือสาหรับ วัด เครื่ องมือสาหรับตัด และเครื่ องมือสาหรับ ชักลากลาเลียง ซึ่งแต่ละประเภทก็มีอปุ กรณ์ ต่างๆโดยสังเขปดังนี ้
185
- เชื อ ก ท า จ า ก เส้ น ใ ย ข อ ง พื ช หลากหลายชนิด รวมทัง้ มีการใช้ เส้ น ใยของต้ นกกปาปิ รัสด้ วย - คานงัด ทาจากไม้ ใช้ สาหรับยกและ งัดหินให้ เข้ าที่ - แคร่ เลื่ อน ท าจากไม้ เป็ นเครื่ อ งมื อ สาคัญที่ชาวไอยคุปต์ใช้ ในการขนส่ง ก้ อนหินขนาดใหญ่ รวมทังรู้ ปปั น้ และ รู ปสลักต่างๆ โดยแคร่ เลื่อนของชาว ไอยคุป ต์ จ ะออกแบบให้ ป ลายด้ า น หนึ่ ง โค้ งมนและเชิ ด ขึ น้ เล็ ก น้ อย เพื่อที่จะได้ สามารถชักลากผ่านกอง ทรายที่ สะสมตัวสูงขึน้ ด้ านหน้ าแคร่ เลื่ อ นไปได้ แต่ ก ระนั น้ ก็ มี ผ ลการ ทดลองออกมาแล้ วว่าชาวไอยคุป ต์ น่าจะมีการเทนา้ ลงไปที่พื ้นบริ เวณที่ แคร่เลื่อนกาลังจะลากผ่านไปเพื่อลด แรงเสียดทานระหว่างชักลากอีกด้ วย
รูปที่ 7 ไม ้วัดขนาดหนึง่ คิวบิตของชาวอียปิ ต์ ้ โบราณทีใ่ ชในงานสถาปั ตยกรรม
186
นอกจากเครื่ องมือ 3 ประเภทหลักๆนี ้ แล้ ว ช่างชาวไอยคุปต์ยงั มีสว่าน ที่ใช้ งานด้ วย วิธีการปั่ นเชือกที่ผกู โยงอยู่ติดกับไม้ คล้ ายคัน ธนู โดยมีดอกสว่านทาจากทองแดง วิธีการใช้ งานทาได้ โดยการชักไม้ ที่มีลกั ษณะคล้ ายคัน ธนูกลับไปกลับมา เพื่อให้ ดอกสว่านหมุนและ เจาะลงไปในชิ น้ งาน ซึ่ง กรรมวิธีนี ย้ ังเป็ นวิธี เดี ยวกันกับที่ชาวไอยคุปต์ใช้ ในการก่อไฟอีก ด้ วย จะเห็ น ได้ ว่ าเครื่ อ งมื อ เครื่ อ งไม้ ข อง ชาวไอยคุปต์ที่ขดุ ค้ นพบแล้ วนันเป็ ้ นเครื่ องมือ อย่ า งง่ า ยที่ ใ ช้ เพี ย งแค่ หิ น และโลหะอย่ า ง ทองแดงและสัม ฤทธิ์ เ ท่ า นั น้ แต่ พ วกเขาก็ สามารถรังสรรค์ผลงานทางสถาปั ตยกรรมที่ ท าจากหิ น ได้ อ ย่ างเยี่ ย มยอด ไม่ ว่าจะเป็ น พี ร ะมิ ด หรื อ วิ ห ารต่ า งๆ แสดงให้ เห็ น ถึ ง ความสามารถที่ ม ากล้ นของชาวไอยคุปต์ ได้ อย่างชัดเจน
รูปที่ 8 (บน) ชาวไอยคุป ต์ช ักลากวัตถุที่มี ้ อ ื กและแคร่เลื่อ น น้ า หนั ก มากต่างๆโดยใช เช ซ งึ่ อาจจะมี ก ารเทน้ าเพื่ อ ช ่ว ยลดแรงเส ีย ด ั ลากด ้วยก็เป็ นได ้ ทานระหว่างชก
รูปที่ 9 (ล่าง) ภาพบนผนังสุสานแสดงชาว ้ านแบบคันธนูเจาะ ไอยคุปต์กาลังชว่ ยกันใชสว่ ิ้ งาน รูบนชน
187
ความฉงนสงสัย ต่ อ โบราณสถานที่ เรี ย กว่ า พี ร ะมิ ด ถื อ ก าเนิ ด ขึ น้ ตั ง้ แต่ ส มั ย โบราณ น ามาสู่ค าถามที่ ว่า “พี ร ะมิ ด สร้ าง ขึ ้นมาได้ อย่างไรกันแน่” ซึ่งนับตังแต่ ้ ครัง้ อดีต กาลมา ก็มีแนวคิดเกี่ยวกับการสร้ างพีระมิดที่ น่าสนใจถูกนาเสนอกันออกมามากมายเลย ที เ ดี ย ว โดยในส่ ว นนี จ้ ะท าการรวบรวม แนวคิ ด ที่ ได้ รับ การยอมรั บ ว่าน่ าจะมี ค วาม เป็ นไปได้ ที่ ชาวไอยคุป ต์ เคยใช้ ในการสร้ า ง พี ร ะมิ ด รวมทั ง้ ความเป็ นไปได้ สู ง สุ ด ของ วิธีการสร้ างพีระมิดเอาไว้ เพื่อแสดงให้ เห็นถึง วิวฒ ั นาการของแนวคิดที่มีต่อวิธีการก่อสร้ าง พีระมิดอียิปต์โบราณว่ามีความเป็ นมาเช่นไร
เพื่ อ จั ด วางตามต าแหน่ ง ที่ มั น ควรจะเป็ น คนงานราวหนึ่ งแสนคนใช้ ระยะเวลา 20 ปี โดยมีอปุ กรณ์ ที่มีความคล้ ายคลึงกับสิง่ ที่ชาว ไอยคุป ต์ เรี ย กว่า “ชาดูฟ ” (Shaduf) ที่ เอาไว้ ช่ ว ยในการชั ก รอกน า้ เข้ าสู่ ไ ร่ น าในการ ช่วยเหลือ แต่แนวคิดนี ้ก็ไม่เป็ นที่ยอมรับด้ วย ปั ญหาที่ตามมามากมาย หนึ่งในนันคื ้ อชาดูฟ เพิ่งมีการนามาใช้ ในช่วงรอยต่อระยะที่ 2 ซึ่ง เป็ นช่ ว งหลั ง จากการสร้ างพี ร ะมิ ดขึ น้ ถึ ง จุดสูงสุด ไปนานแล้ ว อี กทัง้ ยังมี ปั ญ หาเรื่ อง วัสดุ อี ก ด้ ว ย เพราะว่า ดิ น แดนของชาวไอย คุปต์นนขาดแคลนไม้ ั้ คณ ุ ภาพดี จึงไม่น่าจะมี ทรัพยากรมากพอที่จะนามาสร้ างชาดูฟขนาด ใหญ่ ที่ แ ข็ ง แรงเพี ย งพอที่ จ ะยกหิ น น า้ หนัก มหาศาลเช่ น นัน้ ได้ จึงท าให้ แ นวคิด เรื่ องชา ดูฟตกไปในที่สดุ
เริ่ ม ต้ น ที่ เฮโรโดตัส (Herodotus) นัก ประวัติ ศาสตร์ ชาวกรี กเมื่ อประมาณ 450 ปี ก่อนคริ สตกาล ได้ เสนอว่า พี ระมิ ด สร้ างขึ น้ ด้ วย “เครื่ องกลไก” ประเภทกว้ านหรื อปั น้ จั่น ช่วยในการยกก้ อนหินขึ ้นไปยังระดับที่สงู กว่า
แนวคิดต่อมาที่น่าจะมีความเป็ นไปได้ มากกว่าเกิ ดขึ น้ ในอี กสามร้ อยปี ให้ ห ลังโดย 188
ไดโอโดรัสแห่งซิซลิ ี (Diodorus of Sicily) ที่ได้ เสนอทฤษฏี ที่ ว่าชาวไอยคุ ป ต์ น่ าจะใช้ เนิ น ทางลาดตรงเป็ นตัวช่วยในการก่อสร้ าง ด้ วย การชัก ลากก้ อนหิ น ขึน้ มาตามเนิ น ทางลาด เพื่ อมุ่ ง ไปยั ง จุ ด หมายที่ ต้ องการจั ด วาง ด้ านบนพี ร ะมิ ด แต่ ก็ ยั ง คงมี จุ ด บอดของ ทฤษฎีให้ โต้ แย้ งได้ อีกเช่นเคย ความยากของการสร้ างทางลาดตรง เพื่อขนหินมายังพีระมิดตามแนวคิดของไดโอ โดรั ส นั น้ ขึ น้ กั บ ความสู ง ของพี ร ะมิ ด เมื่ อ พีระมิดสูงขึ ้น ความชันของทางลาดย่อมต้ อง เพิ่ ม ขึ น้ จากการวิ เคราะห์ พ บว่ า ความชัน สูงสุดที่ชาวไอยคุปต์สามารถลากก้ อนหินขึน้ ไปสร้ างพี ร ะมิ ด ได้ อย่ า งไม่ ล าบากก็ คื อ 8 องศา ซึ่งเมื่อเทียบกับการสร้ างพีระมิดดังเช่น ของฟาโรห์คูฟูที่สงู ถึง 147 เมตร แล้ วก็จะทา ให้ เนินทางลาดตรงของชาวไอยคุปต์ มีความ ยาวถึง 1.6 กิโลเมตรเลยทีเดียว นัน่ ทาให้ พบ ปั ญ หาว่า ที่ ราบกิ ซ่าไม่ มี ที่ ว่างเช่น นัน้ อีก ทัง้ การสร้ างเนิน ทางลาดขนาดมหึม าก็มีค วาม ยุ่ง ยากไม่ ต่ างจากการสร้ างองค์ พี ระมิ ด เอง เลยก็ว่าได้ นัน่ ทาให้ แนวคิดเรื่ องเนินทางลาด ตรงต้ องตกไปอีกเช่นกัน
รูปที่ 10 (บน) เฮโรโดตัสเสนอว่าชาวไอย ่ ชาดูฟในภาพนี้ในการ คุปต์ใชอุ้ ปกรณ์ดงั เชน ขนหินขึน ้ ไปสร ้างพีระมิด
รูปที่ 11 (ล่าง) ถ ้าชาวไอยคุปต์สร ้างทาง ลาดตรงเพียงอย่างเดียว จะพบว่าทางลาดนั น ้ ต ้องมีระยะทางยาวมากๆ
189
กระนันแนวคิ ้ ดเรื่ องเนินทางลาดยังคง เป็ นแนวคิด ที่ น่าจะเป็ นไปได้ สูงสุด เพี ยงแค่ ว่าชาวไอยคุป ต์ ไม่ ได้ สร้ างเนิ น ทางลาดตรง เพียงอย่างเดียว แต่ทาการสร้ างเนินทางลาด ชนิด “วนรอบ” องค์ พี ระมิดประกอบกันด้ วย นัน่ เอง ในช่วงแรกนัน้ แนวความคิ ดเรื่ องการ สร้ างเนินทางลาดวน “รอบนอก” องค์พีระมิด (External Ramp) นั น้ นั บ ว่ า เป็ นทฤษฎี ที่ มี ความเป็ นไปได้ มากที่สุด แต่กระนันก็ ้ ยงั มีข้อ โต้ แย้ งอยู่หลายประการด้ วยกันว่ามันจะเป็ น ค าตอบสุด ท้ ายจริ งหรื อไม่ เพราะจะพบว่า ทางลาดเหล่านันจะปิ ้ ดบังระนาบของพีระมิด ทาให้ สนั มุมขององค์พีระมิดไม่สามารถสร้ าง เสร็ จสมบูรณ์ ได้ จนกว่าจะถึงขันตอนสุ ้ ดท้ าย ของการก่อสร้ างจริ งๆ และนั่น ท าให้ มุม ของ พี ร ะมิ ด อาจจะเกิ ด การเบี ย้ วผิ ด รู ป ไปด้ วย ระหว่า งการก่ อ สร้ างในระดับ ชัน้ ที่ สูง ขึ น้ ไป ด้ วยก็เป็ นได้
รูปที่ 12 แนวคิดเรือ่ งเนินทางลาดรอบนอก องค์พีระมิด นั บ ว่าน่ าจะมีค วามเป็ นไปได ้มาก ทีส ่ ด ุ
190
จะเห็นได้ ว่าแนวคิดเรื่ องเนินทางลาด รอบองค์พีระมิดนั ้นแม้ ว่าจะมีข้อโต้ แย้ งอยูบ่ ้ าง แต่ก็ นับ ได้ ว่า น้ อยเต็ม ที เมื่ อเที ยบกับแนวคิ ด ก่อนๆ นั่นจึงทาไปสู่อีกแนวคิดหนึ่งที่ เพิ่งเกิด ขึ ้นมาเมื่อราวปี ค.ศ. 2007 โดยชอง ปิ แอร์ ฮู แด ง (Jean-Pierre Houdin) ส ถาป นิ กช าว ฝรั่งเศสที่ศึกษามหาพีระมิดของฟาโรห์คูฟูมา ย า ว น า น ก ว่ า 7 ปี เข า ส า ม า รถ ส ร้ า ง แบบจ าลองจากคอมพิ ว เตอร์ ม าน าเสนอ แนวคิดของเขาเองที่เสนอว่าชาวไอยคุปต์สร้ าง “ทางลาดภายใน” (Internal Ramp) ขึ น้ มา โดยได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากบ็ อ บ ไบรเออร์ (Bob Brier) นักอี ยิปต์ วิ ทยาผู้เชี่ ย วชาญด้ า น มัมมี่และพีระมิดด้ วย
ระยะทางที่ใช้ ไม่ต้องยาวถึง 1.6 กิโลเมตรดังที่ ได้ ก ล่า วไป และในระหว่ างการสร้ างพี ระมิด ส่วนแรกนี ้ ชาวไอยคุป ต์ ก็จ ะทาการวางแผน สร้ างเนินทางลาดภายในเอาไว้ ด้วย ซึ่งตรงนี ้ฮู แดงคาดว่าพวกเขาใช้ เวลาในการสร้ างส่ว น แรกพร้ อมห้ องหั บ ต่ า งๆด้ านในองค์ พี ระมิ ด ประมาณ 14 ถึง 16 ปี เท่านั ้น
ฮูแดงเสนอว่า ชาวไอยคุปต์ สร้ างเนิ น ทางลาดภายในเอาไว้ โดยรอบองค์พีระมิดโดย ค่อยๆหมุนวนเป็ นรู ปก้ นหอยขึ ้นสู่ด้านบนองค์ พีระมิด แต่การก่อสร้ างด้ วยแนวคิดนี ้ ไม่ได้ ใช้ เพี ยงแค่เนินทางลาดภายในเพี ยงอย่างเดี ยว เพราะว่ า หนึ่ ง ในสามของการก่ อ สร้ างหรื อประมาณ 43 เมตรแรกจากพื น้ ดิน นัน้ ชาว ไอยคุปต์ จะใช้ เนิน ทางลาดตรงในการขนหิ น ขึน้ มาก่ อ สร้ างก่ อ น ซึ่ งระยะความสูง แค่ 43 เมตรนั น้ ทฤษฎี เนิ น ทางลาดตรงมี โอกาส เป็ นไปได้ เพราะมุ ม ยั ง ไม่ ชั น มากนั ก และ
รูปที่ 13 ทฤษฎีทางลาดภายในของฮูแ ดง (http://emhotep.net/)
191
หลังจากนัน้ พวกเขาก็ ทาการรื อ้ ถอน หิ น ที่ ส ร้ างเนิ น ทางลาดตรงเพื่ อ น ามาใช้ ก่อสร้ างพีระมิดส่วนที่เหลือ ซึ่งหินที่ใช้ จะต้ อง มี จานวนที่ ใ กล้ เคี ย งกัน โดยฮูแ ดงเสนอว่ า ทางลาดภายในที่ ชาวไอยคุปต์ สร้ างนัน้ จะมี ความกว้ างประมาณ 1.8 เมตร ท ามุม เอี ย ง ประมาณ 7 องศา ส่วนองค์ พีระมิ ดจะมี ช่อง เปิ ดอยู่ตามมุมทังสี ้ ่เพื่อวางกลไกคล้ ายปั น้ จัน่ ใช้ ในการยกก้ อนหิ นเปลี่ย นทิ ศ 90 องศาให้ เลี ้ยวไปยังทางลาดชุดต่อไปได้ อย่างสะดวก
ถึ ง อย่ า งนั น้ ทฤษฎี ท างลาดภายใน ของฮูแดงก็ถือได้ วา่ เป็ นหนึ่งในทฤษฎีที่น่าจับ ตามองมากที่ สุด ในขณะนี ้ แต่ กระนัน้ ก็ยังมี แนวคิ ด อื่น ที่ อาจจะฟั ง ดูเหลื อเชื่ อได้ รับ การ เสนอเอาไว้ เช่นกัน จึงขอนาเอามารวบรวมไว้ ให้ เป็ นแนวคิ ด ส าหรั บ ผู้ที่ สนใจต่ อไปตรงนี ้ ด้ วย
ด้ วยวิธีใหม่ของฮูแดงนี ้ จะใช้ คนงาน ก่อสร้ า งพี ร ะมิ ด เพี ย งแค่ 4,500 คน ไม่ ต้ อง มากมายถึ ง แสนคนอย่ า งที่ เฮโรโดตั ส เคย เสนอเอาไว้ ในอดี ต และใช้ ระยะเวลาในการ ก่อสร้ างเพี ย งแค่ 20 ปี เท่ านัน้ ก็ จะแล้ วเสร็ จ ตรงตามระยะเวลาที่ นั ก อี ยิ ป ต์ วิ ท ยาเสนอ เอาไว้ แต่ แนวคิดของฮูแดงนี ก้ ็ยังมี ข้อจากัด อยู่หลายประการด้ วยกัน เพราะดูเหมื อนว่า วิธีทางลาดภายในนี ้จะใช้ ได้ ดีกบั พี ระมิดของ ฟาโรห์ คูฟู ที่กิซ่าเท่านัน้ แต่พีระมิดองค์ อื่น ๆ อีกกว่าร้ อยองค์ ในอียิ ปต์ โบราณกลับ ไม่ พ บ หลักฐานของกลไกคล้ ายปั่ นจัน่ ที่วางตัวอยู่ที่ มุมทังสี ้ ่ด้านของพีระมิดเช่นนี ้แต่อย่างใด
รูปที่ 14 โครงสร ้างลัก ษณะคล ้ายปั ้น จั่น ที่ มุ ม ของพี ร ะมิ ด ซ ึ่ง ฮู แ ดงเสนอว่ า เอาไว ใ้ ช ้ เปลีย ่ นทิศทางการลากหิน (http://emhotep.net/)
192
เราทราบว่าชาวไอยคุปต์สกัดและลาก หิ น หลายล้ า นก้ อ นมาวางโดยใช้ แ คร่ เลื่ อ น และอาจจะมีการเทน ้าลงที่พื ้นด้ านหน้ าก่อนที่ แคร่ จะเลื่ อนผ่านเพื่ อลดแรงเสี ย ดทานด้ ว ย ดั ง ที่ ป รากฏในภาพ สลั ก ของชาวอี ยิ ป ต์ โบราณหลายต่อหลายภาพ อีกทังยั ้ งมีผลการ ทดลองจากนักวิทยาศาสตร์ ออกมาสนับสนุน ในช่ ว งเดื อ นพฤษภาคม พ.ศ. 2557 อย่ า ง ชัด เจนด้ ว ย แต่ ว่าปริ ศ นาส าคัญ ก็ ยัง คงอยู่ นั่นคื อพวกเขาวางหินกันแนบสนิทจนใบมี ด โกนก็สอดไม่ผา่ นได้ อย่างไร
Davidovits) ซึง่ ได้ เสนอว่า “พี ระมิ ดและเหล่า วิ ห ารในยุ ค อาณาจัก รเก่ า (Old Kingdom) ล้วนแล้วแต่ สร้ างด้วยหิ นปูนที ่ จับตัวกัน เป็ น ก ลุ่ ม ก้ อ น (Agglomerated Limestone) ม า ก ก ว่ า หิ น ปู น ธ ร ร ม ช า ติ (Natural Limestone) ที ่ถู กสกัด และลากจู งมาเพื ่อท า การก่ อ สร้ า ง” และหิ น ปูน คอนกรี ต นี จ้ ะถู ก สร้ างโดยการหล่อในแม่ พิ ม พ์ โดยที่ ค นงาน ชาวอี ยิ ป ต์ จ ะออกค้ นหาแหล่ ง หิ น ปู น ที่ ค่อนข้ างอ่อน หลังจากนันก็ ้ ทาการแยกหินปูน ดังกล่าวออกโดยการใช้ นา้ และทาการผสม โคลนหิน ปูน (Muddy Limestone) ตามด้ วย ปูนขาวและใส่วสั ดุสงั เคราะห์ จากดินเช่น เค โอลิน (Kaolin) ซึ่ง เป็ นดิ น สี ข าวใช้ ท าเครื่ อ ง เคลื อบดิ น เผา ตะกอนโคลน และเกลือนาต รอน (Sodium Carbonate) ที่ ใ ช้ ในการท า มัมมี่ของชาวอียิปต์โบราณลงไปด้ วย
อี ก หนึ่ งสิ่ งที่ น่ าสนใจก็ คื อ นัก อี ยิ ป ต์ วิท ยาไม่ ค้ นพบเศษหิ น ที่ แ ตกหั ก หรื อ เกิ ด ความผิ ด พลาดจากการแกะสลัก เลย นั่ น น าไปสู่ ค าถามที่ ว่า ชาวไอยคุ ป ต์ ใ ช้ วิ ธีก าร สกัด หิ น ออกมาจากเหมื องก่อนที่ จะลากมา จัดเรี ยงยังองค์ พีระมิดจริ งหรื อไม่ และทาให้ ทฤษฎีใหม่อีกทฤษฎีหนึ่งได้ ถือกาเนิดขึ ้นนัน่ ก็ คื อ ชาวไอยคุ ป ต์ อ าจจะสร้ างพี ร ะมิ ด ด้ วย “คอนกรี ต ” ซึ่งก็ คื อวัสดุก่ อสร้ างที่ ผสมด้ ว ย ซีเมนต์หินทรายและน ้า ผสมเคล้ าเข้ าด้ วยกัน แทนที่การสกัดหินมาก่อสร้ างนัน่ เอง
หลังจากผสมส่วนผสมดังกล่าวแล้ ว หินปูนเหลวที่ ได้ จากการผสมนี ก้ ็จะถูกตักใส่ ถังให้ คนงานเคลื่อนย้ ายขึ ้นไปยังบริ เวณที่ทา การก่อสร้ าง แล้ วจึ งทาการเทหินปูนเหลวใน ถังลงไปในแม่พิมพ์ที่อาจจะทาจากไม้ หิน ดิน เหนียวหรื ออิฐ หลังจากนันหิ ้ นปูนเหลวนีก้ ็จะ เกิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า ท า ง เค มี ห รื อ เรี ย ก ว่ า
แนวคิ ด นี ถ้ ูก เสนอโดยศาสตราจารย์ โ จ เ ซ ฟ ด า วิ โ ด วิ ต ซ์ (Prof. Joseph 193
Geopolymer Cement และแข็ ง ตั ว ขึ น้ เป็ น ก้ อนหินดังที่เราเห็นอยู่ปัจจุบนั
ผู้อานวยการสภาโบราณสถานแห่งอียิปต์ ซึ่ง ได้ ออกมาโต้ โดยเสนอว่าหินที่นาไปตรวจสอบ นั น้ อาจจะมาจากการซ่ อ มแซมของนั ก โบราณคดี สมัย ใหม่ ก็ เป็ นได้ จึ งท าให้ ได้ ผล การทดลองออกมาเป็ นเช่ น นั น้ นั่ น ท าให้ สุ ด ท้ ายแล้ ว ทฤษฎี ที่ ว่ า ด้ วยการก่ อ สร้ าง พี ระมิดโดยใช้ คอนกรี ตก็ยังคงเป็ นแนวคิดที่ ไม่ ได้ รั บ การยอมรั บ อย่ า งเป็ นทางการว่ า ถูกต้ องแต่อย่างใด อีกทังยั ้ งมีความเป็ นไปได้ ต่าอีกด้ วยเมื่ อเที ยบกับแนวคิดเรื่ องเนินทาง ลาดต่ า งๆ ที่ เคยได้ รับ การเสนอกัน มาก่ อ น หน้ า
นัก วิท ยาศาสตร์ ใ ช้ ก ล้ อ งจุ ล ทรรศน์ อิ เ ล็ ก ต รอ น แ บ บ ส่ อ งก ร า ด (Scanning Electron Microscope: SEM) ตรวจสอบจน พบโครงสร้ างขนาดเล็ก จิ๋ วทัง้ ภายนอกและ ภายในชัน้ หิ น เหล่านัน้ ที่ มี ความเหนี ย วแน่ น และมั่นคงมากพร้ อมกับหินปูนที่ดูเหมื อนว่า จ ะ ก่ อ ตั ว ขึ ้น ให ม่ ซึ่ ง เก า ะ ตั ว กั น โด ย ซิลิกอนไดออกไซด์ (Silicon Dioxide) หรื อแร่ ซิ ลิ เ กต ข องแค ลเซี ยม และแ ม กนี เซี ย ม (Calcium and Magnesium-rich Silicate Mineral) นอกจากนัน้ ยังตรวจสอบพบว่า มี องค์ประกอบของน ้าอยู่ด้วยซึ่งนับว่าผิดปกติ จากหินปูนธรรมชาติที่สกัดมาจากที่ ราบสูงกิ ซ่ า อี ก ทั ง้ หิ น ที่ น ามาตรวจสอบยั ง มี ก าร จัดเรี ยงตัวของอะตอมด้ านในหินผิดปกติไป ด้ ว ย จะเห็ น ได้ ว่าผลการตรวจสอบทัง้ หมด ล้ ว นแล้ ว แต่ ส นั บ สนุ น ว่ า ก้ อนหิ น ที่ น ามา ตรวจสอบไม่ ใช่ หิ น ที่ ถูก สกัด มาจากเหมื อ ง หินปูนธรรมชาติทงสิ ั ้ ้น
สิ่งหนึ่ งที่ พ อจะสรุ ป ได้ คื อยังไม่ มี นัก อียิปต์ วิทยาท่านใดเสนอคาตอบสุดท้ ายของ การสร้ างพีระมิดอียิปต์โบราณได้ อย่างชัดเจน ทุกแนวคิดยังคงเป็ นทฤษฎีที่ต้องหาคาตอบ กัน ต่ อ ไปจากนัก โบราณคดี แ ละนั ก อี ยิ ป ต์ วิทยาในอนาคต
แต่กระนันก็ ้ ยงั มีนกั วิชาการอีกจานวน ไม่น้อยที่ไม่เห็นด้ วยกับแนวคิดนี ้ หนึ่งในนัน้ คื อ ด ร .ซ า ฮี ฮ า ว า ส ส์ (Zahi Hawass) 194
รูป ที่ 15 มี นั ก วิช าการบางท่ า นพยายาม เส น อ ว่ า ช าว ไ อ ย คุ ป ต์ ส ร า้ ง พี ระมิ ด จ า ก ้ นจากการสกัดจากเหมือง คอนกรีต ไม่ได ้ใชหิ หิน (Joseph Davidovits)
195
ABUSIR: นครสุสานโบราณใกล้ กับ นครซัค คาร่ า ถูก ใช้ เป็ นกลุ่มสุสานหลวงของฟาโรห์ ในราชวงศ์ที่ 5 ตังแต่ ้ สมัยของฟาโรห์ซาฮูเร
BASALT: หินภูเขาไฟสีดาทึบ มีแหล่งเหมื อง หลั ก ที่ แ ถบทะเลแดง มั ก ใช้ ส าหรั บ งาน ประติมากรรม
ANTECHAMBER: ห้ อ งขนาดเล็ ก ที่ น าไปสู่ ห้ องใหญ่ในส่วนถัดไป
CAPITAL: ส่ ว นหัว เสาที่ มัก ตกแต่ ง ด้ ว ยรู ป ของดอกบัว ปาปิ รัสหรื อต้ นปาล์ม
ARCHITRAVE: คานที่ พ าดระหว่างเสาเพื่ อ รองรับส่วนหลังคาคลุม
CARTOUCHE: มี ร ากจากภาษาฝรั่ ง เศสที่ แปลว่ า “ปลอกกระสุ น ” ใช้ ใ นการอธิ บ าย ลักษณะกรอบที่ล้อมรอบพระนามของกษัตริ ย์ หรื อราชินีมีลกั ษณะเป็ นวงรี รู ปทรงดังกล่าว สื่อความหมายถึงการได้ รับการปกปั กษ์ รักษา ในช่วงราชอาณาจักรใหม่ได้ มีการนามาใช้ ใน รูปทรงของโลงพระศพ
ATUM: เทพเจ้ าประจาเมืองเฮลิโอโพลิส เป็ น หนึ่งในกลุ่มเทพเจ้ า 9 องค์ (ENNEAD) ตาม ต านานการสร้ างโลกของชาวอี ยิ ป ต์ โบราณ แห่งเฮลิโอโพลิส BA: ส่วนหนึ่ งขององค์ ป ระกอบวิญ ญาณ 5 ส่ ว นตามความเชื่ อ ที่ ป ระกอบด้ ว ย คา บา อัคห์ ชื่ อและเงา บาถื อเป็ นส่วนของอุป นิสัย แทนด้ วยรูปของคนที่มีร่างเป็ นนก
CAVETTO CORNICE: ส่วนบัวประดับที่อยู่ ส่ ว นบนของก าแพงหรื อ อาคาร ในอี ยิ ป ต์ ลัก ษณะของบัวประดับ มี ลัก ษณะมากจาก อาคารที่สานจากกก พบในส่วนประดับ ประตู กาแพงหรื อเครื่ องใช้ อื่นๆ
BARREL VAULT: ซุ้ม โค้ งที่ เกิ ด จากการก่ อ หินเข้ าหากัน
CORBEL VAULT: ช่ อ งทางที่ ใ ช้ วิ ธี ก่ อ หิ น เป็ นขัน้ ๆขึ ้นไปเหมื อนซุ้มเพื่ อรับ นา้ หนักจาก โครงสร้ างด้ านบน 196
ทิ ศ ตะวัน ตกของสุ ส านหรื อ วิ ห ารเพื่ อ เป็ น ประตูให้ วิญญาณสัญจรผ่านโลกคนเป็ นและ โลกคนตาย
CUBIT, ROYAL CUBIT: เป็ นหน่ วยการวัด ที่มีค่าประมาณ 52.5 เซนติเมตร ใน 1 คิวบิต สามารถแบ่ ง ได้ เป็ น 7 ฝ่ ามื อ (Palms) ค่ า ดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย
FOUNDATION DEPOSIT: เป็ นพิ ธี ก รรมที่ ประกอบขึน้ โดยการฝั งภาชนะหรื อเครื่ องมื อ ลงใต้ ฐานรากอาคารเพื่อเป็ นสัญลักษณ์ ให้ ตวั อาคารอยู่คงทนถาวร
DADO: ส่วนฐานหรื อส่วนล่างของกาแพงที่มี การใช้ วั ส ดุ ห รื อ สี ต่ างจาก ส่ ว น บ น ใน สถาปั ตยกรรมอียิปต์ มักใช้ สีดาเป็ นส่วนล่าง ของกาแพง สื่อถึงผืนดินอันอุดมสมบูรณ์ และ เป็ นฐานของฉากภาพสลักฝาผนัง
GEB: เทพแห่ ง ผื น ดิ น มัก ปรากฏคู่กับ มเหสี นุต ซึง่ เป็ นเทพีแห่งท้ องฟ้า
DOOR RECESS: พาไลด้ านหน้ าทางเข้ า อาคารมักรับด้ วยเสาขนาดใหญ่ 1 คู่
HARAKHTY: “ฮอรั ส แห่ ง ขอบฟ้ าทั ง้ สอง” เป็ นร่ า งหนึ่ ง ของเทพฮอรั ส มักผสมกับ ลัท ธิ บูชาเทพราเป็ น รา-ฮอรัคตี
DUAT: ดูอัต คื อโลกใต้ บ าดาล เป็ นโลกหลัง ความตายที่สรุ ิยเทพเดินทางผ่านไปทุกค่าคืน
HELIOPOLIS: เมื องโบราณใกล้ กับกรุ งไคโร เป็ นศูนย์กลางการบูชาลัทธิสรุ ิยะ
ENNEAD: กลุ่มเทพเจ้ าทัง้ เก้ าในยุคแรกเริ่ ม ประกอบด้ วย อตุม ชู เทฟนุต เกบ นุต โอซิริส ไอซิส เซธ และเนฟทิส
HORUS: เทพแห่ ง ท้ องฟ้ าและสัญ ลัก ษณ์ ของกษัตริย์ มีเศียรเป็ นเหยี่ยว
FAIENCE: กระเบื อ้ งเคลื อบ ท าจากการน า ควอตซ์ ปูน ขาว นาตรอน มาเผาไฟ มัก ท า เป็ นสีน ้าเงิน สื่อถึงความสุขและโชคดี
HYPOSTYLE HALL: โถงเสาภายในวิ ห าร ถูก ใช้ สื่ อถึ งต้ น ไม้ ห รื อกกที่ ขึ น้ เหนื อเนิ น ดิ น แห่งการถื อกาเนิด (Primeval Mound) ที่ เชื่ อ ว่าเป็ นจุดแรกสุดของการกาเนิดโลก
FALSE DOOR: ป ร ะ ตู ป ล อ ม เ ป็ น องค์ ป ระกอบเชิงศาสนาที่ มักปรากฏอยู่ท าง
KA: วิญ ญาณหรื อแหล่งพลังชี วิตของบุคคล นัน้ ๆเป็ นหนึ่ ง ในองค์ ป ระกอบวิ ญ ญาณ 5 197
ส่ ว นตามความเชื่ อ ที่ ป ระกอบด้ ว ย คา บา อัคห์ ชื่ อและเงา แทนด้ วยแขนที่ ชูขึ ้นทัง้ สอง ข้ างคล้ ายรูปตัว U
อยู่ในอียิป ต์ บ นและอี ก 20 แห่งอยู่ในอียิป ต์ ล่าง NUBIA: พื น้ ที่ ท างใต้ ของอี ยิ ป ต์ และเป็ น แ ห ล่ ง ท อ ง ค า ที่ ส า คั ญ ตั ้ ง แ ต่ ส มั ย ราชอาณาจักรเก่า
KHAKHER FRIEZE: ส่ ว น ล า ย ต ก แ ต่ ง บนสุดของภาพฝาผนัง มีรูปทรงมาจากมัดกก เหนือกาแพงอิฐดิบ
NUN: เทพเจ้ าที่ เป็ นตัว แทนของเวิง้ น า้ แห่ ง การถื อก าเนิ ด (Primeval Ocean) ที่ โลกถู ก สร้ างขึ ้น
KHEPRI: สุริย ะเทพองค์ ห นึ่ งที่ เกี่ ย วข้ องกับ พ ระอ าทิ ต ย์ ย าม เช้ า มี พ ระเศี ย รห รื อ สัญลักษณ์เป็ นด้ วงสการับ
NUT: เทพีแห่งท้ องฟ้า ที่ กลืนกินพระอาทิตย์ ในยามค่าและให้ กาเนิดใหม่ในยามเช้ า
LIMESTONE: หิ น ปู น เป็ น หิ น ใน กลุ่ ม หิ น ตะกอน ถูกใช้ เป็ นวัสดุสาคัญ ในการก่อสร้ าง อาคารเช่นวิหารและสุสาน
OPENING OF THE MOUTH RITUAL : พิธีที่ประกอบขึ ้นเพื่อให้ ผ้ ตู ายสามารถกินดื่ม หรื อรับรู้ได้
MA’AT: เป็ นเทพี แ ห่ ง ความยุ ติ ธ รรมและ นามธรรมที่ สื่อถึงระเบียบและความสมดุล มี สัญลักษณ์เป็ นขนนก
OSIRIS: เทพแห่ ง ความตายและเป็ นเทพ ประจาเมืองอไบดอส
MEMPHIS: เมื องหลวงในราชอาณาจักรเก่า อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของไคโร
PER WERU: ส่วนของอาคารที่ ถอดรู ปแบบ มาจากเต็นท์หรื อปะราชัว่ คราวสาหรับพิธีการ
NEMES: เครื่ องประดับศีรษะของฟาโรห์ชนิด หนึ่ง
PORTCULLIS: ประตู ก ลหิ น ที่ ใ ช้ ในการปิ ด ตายสุสานเมื่อทาการฝั งพระศพเสร็จสิ ้น
NOME: มี รากศัพ ท์ จากกรี ก สื่อถึ งเมื องหลัก ทัง้ หมด 42 แห่ งในอี ยิ ป ต์ โบราณเรี ย กว่า เซ เพต (Sepat) โดยจะมี โนมส์ทงั ้ หมด 22 แห่ง
PYLON: รากศัพท์มาจากกรี กแปลว่ากาแพง มีลกั ษณะเป็ นกาแพงลาดขนาดใหญ่ที่ขนาบ 198
ทางเข้ า เป็ นคู่ สื่อถึ งภูเขาสองลูกที่ อยู่ในสุด ขอบฟ้ายามพระอาทิตย์ตก
SOLAR BARK: เรื อ สุ ริ ย ะที่ สุ ริ ย เท พ และ ฟาโรห์ที่ล่วงลับใช้ ในการเดินทางผ่านโลกใต้ บาดาลหรื อดูอตั
PYRAMIDION: หิน ส่วนยอดสุดของพี ระมิ ด มักทาด้ วยหินปูนจึงมีการสันนิษฐานว่าเคยมี การปิ ดด้ วยทอง
TURA: แหล่งเหมืองหินปูนขาวที่ มีคณ ุ ภาพดี ที่ สุด แห่ ง หนึ่ งในอี ยิ ป ต์ นิ ย มใช้ ในการก่ อผิว พีระมิดและอาคาร
RA: สุ ริ ย เทพ หนึ่ ง ในเทพองค์ ส าคั ญ ตาม ความเชื่ อ มี ศูนย์ กลางลัทธิ อยู่ที่เฮลิโอโพลิส มี รู ป ลัก ษณ์ ที่ ห ลากหลายเช่ น เหยี่ ย ว แกะ สการับ งู สิงโต มักปรากฏร่วมกับเทพองค์อื่น เช่น ฮอรัคตี อมุน เคปริ อตุม
URAEUS: งู เ ห่ าที่ สื่ อ ถึ ง สถ าน ภ าพ ข อง กษัตริย์ VIZIER: ข้ า รา ช ก า รห รื อ ขุ น น า งที่ เป็ น รองลงมาจากฟ าโรห์ มี ห น้ าที่ ใ น การให้ คาปรึกษาการบริหารแผ่นดิน
RED CROWN: มงกุฎ แดงสื่ อถึ งอาณาจัก ร อียิปต์ลา่ ง
WHITE CROWN: ม ง กุ ฎ ข า ว สื่ อ ถึ ง อาณาจักรอียิปต์บน
SESHAT: เทพีแห่งการเขียนและศาสตร์ แห่ง การจดบันทึก
199
ภาษาไทย สืบ สิบสาม. ๑๓ สุดยอดประเด็นลับโลกไอยคุปต์ . กรุงเทพฯ : พี.วาทิน พับลิเคชัน่ , 2554.
อภิชา ภาอารยพัฒน์. การก่ อสร้ างพีระมิดแห่ งอาณาจักรอียิปต์ โบราณ. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย, 2545.
ภาษาอังกฤษ
200
201