บทที่ 8 สมัยคุณพ่ อแฟเรอ และคุณพ่ อโบรด์ ค.ศ. 1696 - 1700 ความล่าช้ าและความลาบากในการแพร่ ธรรมการเจรจาทางการเมือง วัดทีม่ ชิ ชันนารีประจาอยู่ เมื่อถึงแก่มรณภาพ พระสังฆราชลาโนทิ้งการปกครองมิสซังไว้กบั คุณพ่อแฟเรอ ผูเ้ ป็ นรองประมุขมิสซัง (provicaire) และเป็ นมิชชันนารี ใจร้อนรน ศรัทธา อ่อนโยน รู ้จกั พูดให้ผอ ู้ ื่นเห็นคล้อยตาม รู้จกั "ปฏิ บัติหน้ าที่ทุก อย่ างด้ วยความคล่ องแคล่ ว จนดูเหมือนกับว่ าท่ านมีงาน อย่ างเดียวจะต้ องทํา" เป็ นที่รู้จกั และยกย่องของเจ้าพระยา พระคลังและบรรดาขุนนาง เป็ นที่รักใคร่ ของพระสงฆ์และสัตบุรุษ แปลว่าจะเลือกหาใครดีกว่านี้ไม่ได้แล้ว การที่ ท่านเป็ นอธิ การปกครองมิสซังนี้ ดูจะไม่ใช่เป็ นการรักษาการชัว่ คราว เพราะพระสังฆราชลาโนได้ขอให้ท่านเป็ น สังฆราชผูช้ ่วยที่สืบตําแหน่งต่อไป ในด้านการแพร่ ธรรม ไม่มีเหตุการณ์อะไรพิเศษในระหว่างเวลาที่ท่านปกครองมิสซัง คุณพ่อแดสเตรชียา้ ย จากวิทยาลัยกลางไปอยูท่ ี่วดั อยุธยา ผูช้ ่วยท่าน บางทีก็เป็ นคุณพ่ออันโต นิโอ ปิ นโต บางทีก็เป็ นคุณพ่อเปโตร อารฺ ซิลลา หรื อคุณพ่อนิโกเลา โตแลนติโน สององค์หลังนี้ มีพ้นื เพเดิมมาจากเมืองมะนิลา คุณพ่อโบรด์ประจําอยูท่ ี่วดั เมืองบางกอก1 ส่ วนวัดที่เมืองตะนาวศรี และเกาะถลาง(ภูเก็ต) นั้น คุณพ่ออารฺ ซิลลา กับคุณพ่อโตแลนติโน ผลัดเปลี่ยนกันมาปกครอง อนิจจา! ไม่มีมิชชันนารี องค์ใดเป็ นผูแ้ พร่ ธรรมที่พิชิตวิญญาณได้มากๆ เขาทั้งหมด ประกอบพิธี ศีลล้างบาปให้แก่ผใู ้ หญ่ได้ราว 10 คนในปี ค.ศ. 1696 และในปี ค.ศ. 1697 ก็ได้ไม่มากกว่ากัน
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
Aงสยาม l สภาพจิตใจของรัฐบาลกรุ a ic r o ist
สมเด็จพระเพทราชาเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 16972 พระเจ้าแผ่นดินที่ข้ ึนครองราชสมบัติตอ่ มาคือ สมเด็จ พระสรรเพชญ์ที่ 8 "Somdit Prah San - Rapid VIII" หรื อที่ยงั เรี ยกกันว่า หลวงสรศักดิ์ (Luang Surasak) และ เจ้าเดื่อ สภาพพระราชหฤทัยของสมเด็จพระเพทราชา จะได้ทาํ ให้สภาพจิตใจของรัฐบาลกรุ งสยาม ที่มีต่อศาสนา คาทอลิกและการแพร่ ศาสนา ในประเทศนี้เปลี่ยนไปแต่อย่างใดก็หาไม่ พวกมิชชันนารี ออกจากวัดที่เขาประจําอยู่ หรื อพยายามจะตั้งวัดใหม่ข้ ึนไม่ได้ เขาคงอยูท่ ี่วดั อยุธยา วัดเมืองบางกอก และวัดเมืองตะนาวศรี เหมือนกับถูกกักไว้ อยูใ่ นวงเหล็ก เขาเป็ นผูท้ ี่รู้จกั ดีของชาวบ้านชาวเมือง จึงกระจายกันออกไปปฏิบตั ิการอย่างลับๆ เหมือนอย่างที่ พวกมิชชันนารี ปฏิบตั ิอยูใ่ นประเทศโคชินจีนและตังเกี๋ยไม่ได้ อีกประการหนึ่ง เขากริ่ งเกรงจะทําให้ชาวสยามเคือง แค้นและขัดขวาง ซึ่งจะเป็ นเหตุทาํ ให้ ล้มกิจการเอกของเขา อันได้แก่วทิ ยาลัยกลางที่เขาเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อคณะ มิสซังต่างประเทศ ทั้งคณะ
H
1เมืองบางกอกในสมัยนั้นคือ เมืองธนบุรีในปัจจุบนั (กรรมการฯ) 2แต่ประวัติศาสตร์ไทยแย้งว่า สมเด็จพระเพทราชาเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1703 (พ.ศ. 2246) ไม่ใช่ในปี ค.ศ. 1697 (พ.ศ. 2240) (ผูแ้ ปล)
134 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
วิทยาลัยกลางนี้ยงั อยูใ่ นความดูแลของคุณพ่อป๊ อกเกต์เรื่ อยมา "มีความลําบากในการที่จะฟื ้ นตัว แม้ ว่ามี ความหวังอยู่หลายประการ" นอกจากมีอธิการแล้ว วิทยาลัยกลางไม่มีพระสงฆ์อื่นเป็ นอาจารย์ มีแต่สามเณรซึ่งเรี ยน มาจนมีความรู้มากบ้างน้อยบ้าง เขาจําเป็ นต้องให้เณรพวกนี้สอนเพราะไม่ได้รับมิชชันนารี ใหม่จากประเทศฝรั่งเศส ฉะนั้น ทัว่ ทั้งมิสซังจึงมีความสงบแบบไม่มีคลื่นลมในทะเลเลย หรื อจะพูดให้ถูกกว่านั้น ก็ตอ้ งว่ามีแต่ความ เฉื่อยๆ เนือยๆ ซึ่ งพวกมิชชันนารี หวังอยูเ่ สมอว่าจะหมดไปเมื่อประเทศฝรั่งเศสกับประเทศสยามจะกลับมีความ สัมพันธ์กนั เสี ยใหม่
คุณพ่อตาชารด์ ทเี่ มืองมะริด ความหวังดังกล่าวได้ลุกวูบขึ้นอีกในปี ค.ศ. 1697 เมื่อคุณพ่อตาชารด์เดินทางมาถึง เมืองมะริ ด เมื่อเมืองปอนดิเชรี ถูกยึดและหลังจากกลับไปประเทศฝรั่งเศสแล้ว คุณพ่อตาชารด์ ได้เจรจากับบรรดา เสนาบดีของพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ต่อไป ด้วยความอดทนอย่างไม่รู้จกั ย่อท้อ อันเป็ นลักษณะนิสัยของท่านอย่างหนึ่ง เพื่อขอกําลังในทางรณรงค์ ซึ่ งดูเหมือนคํานึงถึงนโยบายอาณานิคมเท่าๆ กับการศาสนา ในที่สุดทางการก็มอบคําสั่ง ให้คุณพ่อตาชารด์ แต่ไม่หวังจะเกิดผลเท่าไรนัก เมื่อได้รับคําสั่งแล้ว คุณพ่อตาชารด์ก็เดินทางมาประเทศอินเดีย แล้วต่อมายังกรุ งสยาม ท่านเขียนจากเมือง มะริ ดถึงคุณพ่อแฟเรอว่า "คุณพ่ อเป็ นคนอ่ อนโยน รู้ จักพูดให้ คนอื่นเห็นคล้ อยตาม ทําให้ เกิดผลดีมาก ขอคุณพ่ อช่ วย เตรี ยมพระราชสํานักกรุ งสยามให้ ปฏิ บัติเป็ นไปตามพระราชอัธยาศัยของพระเจ้ าแผ่ นดินเถิด!" ในขณะเดียวกัน ท่านมีหนังสื อถึงเจ้าพระยาพระคลังกับขุนนางชั้นผูใ้ หญ่คนหนึ่ง ซึ่ งโดยปรกติมีความอารี อารอบต่อชาวยุโรป ชื่อ ออกญาพิพฒั น์ (Pipat) ขณะนั้นพระราชสํานักกรุ งสยามกําลังไม่ชอบหน้าชาวฝรั่งเศสโดยทัว่ ไป และคุณพ่อตาชารด์ โดยเฉพาะ เจ้าพระยาพระคลังจึงไม่ลงั เลใจบอกให้ท่านกลับไปอย่างแข็งกระด้าง อ้างว่าท่านมาถึงเมืองมะริ ดกับเรื อพ่อค้า เหมือนกับผูโ้ ดยสารธรรมดาคนหนึ่ง เขาเขียนถึงท่านว่า "ท่ านบาทหลวงกลับไปเมืองสุรัตพร้ อมกับคณะทูตได้ และ เมื่อจะมีเรื อประเทศฝรั่ งเศสมา จึงค่ อยมาใหม่ ตามรู ปพิธีการที่แล้ วมา" แต่พอพวกมิชชันนารี ที่อยุธยาทราบว่าเจ้าพระยาพระคลังมีหนังสื อเป็ นความดังนี้ ก็พยายามดําเนินการทุก อย่างเพื่อมิให้หนังสื อดังกล่าวส่ งไป เขาขอให้ล่ามปิ นเฮโรวิง่ เต้นไปหาขุนนางที่ชื่อพิพฒั น์ ถวายของกํานัลแก่ เจ้าพระยาพระคลัง เขียนบันทึกยืดยาวยืน่ ต่อขุนนางผูใ้ หญ่ผนู้ ้ นั พร้อมกับคําขอร้องอย่างรี บด่วน แต่ทุกอย่างไม่ เกิดผล หนังสื อฉบับนั้นได้ส่งไปถึงเมืองมะริ ด ครั้งนี้คุณพ่อตาชารด์แสดงท่าทีแข็งกร้าว และในคําตอบลงวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1697 ท่านพูดให้ เจ้าพระยาพระคลังรู ้สึกว่า วิธีปฏิบตั ิของเขาไม่สมควรเป็ นอย่างยิง่ "ข้ าพเจ้ าจึงเสนอ มาว่ า กระแสรั บสั่งของพระเจ้ า แผ่ นดินสยามเป็ นสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ และละเมิดมิได้ ... แต่ ท่าน หลอกลวงข้ าพเจ้ าอย่ างน่ าอดสู ... ข้ าพเจ้ ามาเมืองมะริ ด ก็เพราะท่ านยืนยันในหนังสื อหลายครั้ งในนามของพระเจ้ ากรุ งสยาม เจ้ าเหนือหัวของท่ านว่ า ข้ าพเจ้ ามาที่ท่าเรื อและ เจรจากับท่ าน ถึงวิธีที่จะทําให้ พระเจ้ าแผ่ นดินทรงเป็ นมิตรกันใหม่ ได้ ครั้ นข้ าพเจ้ ามาพร้ อมด้ วยพระราชสาสน์
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 135
ของพระเจ้ ากรุ งฝรั่ งเศสมายังพระเจ้ ากรุ งสยาม ที่สิ้นพระชนม์ ท่ านก็เขียนให้ ข้าพเจ้ ากลับไป"แล้วท่านตั้งตัวเป็ น โจทก์ไม่กลัวที่จะกล่าวว่า "ท่ านกลัวข้ าพเจ้ าจะสื บรู้ ว่าตัวท่ านนั่นแหละ3 เป็ นตัวการใหญ่ ที่ทาํ ให้ เกิดความผิด พ้ องหมองใจระหว่ างชาวฝรั่ งเศสกับชาวสยาม เมื่อครั้ ง ออกจากเมืองบางกอก" หลังจากมีหนังสื อเป็ นความดังนี้ ซึ่ งจะติท่านไม่ได้ คุณพ่อตาชารด์ก็เดินทางกลับประเทศอินเดีย ขณะนั้น คุณพ่อแฟเรอกําลังอาพาธหนัก ท่านถึงแก่มรณภาพที่อยุธยาเมื่อวันที่ 11 มกราคม ค.ศ. 1698 สมกับให้บางคน กล่าวถึงการปกครองของท่านว่า "มีความเกี่ยวพันกับการปกครองของพระสังฆราชลาโน จนเขาคิดว่ าพระสังฆราช ลาโนกลับฟื ้ นคืนชี พขึน้ มาในตัวคุณพ่ อ แฟเรอ" 10 เดือนต่อมา พระสมณโองการของพระสันตะปาปาก็มาถึง แต่งตั้งคุณพ่อแฟเรอ เป็ นพระสังฆราชเกียรตินามแห่งซาบืล (Sabule) และเป็ นประมุขมิสซังกรุ งสยาม 4 และ พระสันตะปาปา อินโนเซนต์ ที่ 11 เป็ นผูล้ งนามพระสมณโองการลงวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1697 พวกมิชชันนารี ก็ได้แต่นาํ พระสมณโองการดังกล่าววางบนหลุมฝังศพของท่าน ถือเป็ นการแสดงความคารวะที่สมจะได้รับเพราะ คุณงามความดีของท่าน
k
คุณพ่อโบรด์ - มิชชันนารีบางองค์ ถึงแก่มรณภาพ
o e s
ko g n a fB
คุณพ่อโบรด์สืบตําแหน่งต่อจากคุณพ่อแฟเรอ ท่านเป็ นมิชชันนารี ที่ดีมาก แต่มีนิสัยเป็ นคนที่คิดอะไรแล้วก็ ทําทันทีและตัดสิ นใจรวดเร็ ว จึงไม่สู้เหมาะที่จะปกครองผูอ้ ื่น แต่น่าเสี ยใจที่ขณะนั้นเลือกไม่ได้ กล่าวคือ ฌารอสซี เอร์ (Jarossier) ยังไม่บวชเป็ นพระสงฆ์ คุณพ่ออันโตนิโอ ปิ นโต ซึ่งเป็ น "คนขยันทํางานและใจร้ อนรน ศรั ทธา และมีความยําเกรงพระเป็ นเจ้ า" ก็ถึง แก่มรณภาพเสี ยที่อยุธยาเมื่อวันที่ 24 สิ งหาคม ค.ศ. 1696 "เป็ นที่น่าเสี ยดาย และอาลัยอาวรณ์ ของสัตบุรุษที่รักคุณพ่ อมาก" สําหรับคุณพ่อแดสเตรชี ได้เดินทางไปประเทศอินโดจีนในปี ค.ศ. 1697 ส่ วนคุณพ่อป๊ อกเกต์ไปประเทศฝรั่งเศสเพื่อรวบรวมกฎวินยั ทัว่ ไปของคณะมิสซัง ต่างประเทศให้เป็ น หมวดหมู่ คุณพ่อปอสแตล (Postel) ยังเดินทางมาไม่ถึง แต่ครั้นมาถึงอยุธยา ก็ถึงแก่มรณภาพ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1700
iv h rc
e c io d rch
A s e
A l a
ic r o ist
H
3หมายถึง โกษาปาน หรื อออกญาวิสูตรสุ นทร (ผูแ้ ปล) 4เพราะฉะนั้นเราจะเรี ยกบาทหลวงแฟเรอเป็ น "พระสังฆราช" ก็ได้ แต่ที่แน่นอนต้องนับว่าท่านเป็ นประมุขมิสซัง กรุ งสยามองค์หนึ่ง (ผูแ้ ปล)
136 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
คุณพ่อตาชารด์ มาถึงอยุธยา ในระหว่างเวลาที่คุณพ่อโบรด์ปกครองมิสซังกรุ งสยามนั้น คุณพ่อตาชารด์ซ่ ึ งเป็ นคนตั้งใจจริ งแล้วไม่ยอม ท้อถอยนั้น ได้กลับมาที่เมืองมะริ ดในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1698 คราวนี้ท่านขอเรื อรบลําหนึ่งมาส่ งท่านที่กรุ งสยามได้ สําเร็ จ แม้จะได้ปฏิบตั ิตามระเบียบแบบแผน ซึ่ งพระราชสํานักกรุ งศรี อยุธยากําหนดแล้ว ทางราชสํานักก็ยงั ให้ท่าน คอยอยูเ่ ป็ นเวลากว่า 2 เดือน แล้วท่านก็มาถึงด่านภาษี 5 เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม เวลาคํ่า ณ ที่น้ นั ได้มีการเจรจากัน และมีการโต้เถียงกันเล็กน้อย คือ คุณพ่อตาชารด์ตอ้ งการให้รับท่านอย่างมีพิธีเช่นเดียวกับที่ทูตคณะก่อนๆ เคย ได้รับ ส่ วนชาวสยามไม่ยอมทําการต้อนรับอย่างสง่าสําหรับทูตที่มาโดยไม่มีเครื่ องบรรณาการสักอย่าง คุณพ่อโบรด์ ต้องวิง่ เต้นกับเจ้าพระยาพระคลัง ออกญาพิพฒั น์ ขุนนางคนสําคัญๆ และคุณพ่อตาชารด์เอง โดยถ่ายทอดคําพูด และข้อความบันทึกบ้าง อธิ บายให้แจ่มแจ้งบ้าง ใช้คาํ พูดให้ขอ้ ความที่แข็งกร้าวอ่อนลงบ้าง และถ้าจําเป็ นก็ข่ใู ห้ กลัวกองเรื อฝรั่งเศสหรื อเรื่ องการเจรจาจะขาดสะบั้นลงบ้าง ต้องใช้ความอดทน และคุณพ่อโบรด์ก็ตอ้ งมีความ อดทนเป็ นอย่างยิง่ ท่านหวังว่า รับใช้คุณพ่อตาชารด์ก็คือรับใช้มิสซังและงานของพระศาสนาคาทอลิก เมื่อคิดเช่นนี้ ท่านก็มีกาํ ลังใจมากขึ้น ที่สุด วันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1699 คือหลังจากมาถึงเมืองมะริ ดได้สามเดือนครึ่ ง คุณพ่อตา ชารด์ ก็ได้รับการต้อนรับอย่างสง่าตามที่ปรารถนานานมาแล้ว พระราชสาสน์ที่เตรี ยม ณ พระราชวังแวรฺ ซาย สําหรับสมเด็จพระนารายณ์น้ นั ท่านนําขึ้น ทูลเกล้าฯ ถวายพระเจ้าแผ่นดินเจ้าเดื่อ 6 (Roi Chao - Dua) แน่นอน นับเป็ นพระราชสาสน์ และการรับทูตแบบขอไปทีเท่านั้น และชาวสยามจะต้องมีน้ าํ ใจดีหรื อความเชื่อเป็ นอย่างมาก ทีเดียว เพื่อจะถือว่าเป็ นเรื่ องจริ งจัง หากไม่มีน้ าํ ใจดีและทั้งความเชื่อ ไม่ชา้ เราก็จะเห็นได้ สองสามวันต่อมา จู่ ๆ ทางการก็มอบคําตอบอันไร้สาระให้แก่คุณพ่อตาชารด์ เมื่อ คุณพ่อรบเร้าจะขอพูด เรื่ องการเรื่ องงาน เจ้าพระยาพระคลังก็ยอ้ นตอบว่า "พระราชสาสน์ ของพระเจ้ าแผ่ นดินเจ้ าเหนือหัวของเขาเขียนเสร็ จ แล้ ว อีกสองวันจะให้ ท่านเข้ าเฝ้ าเพื่อกราบบังคมลา เพราะเป็ นการสมควรส่ งท่ านไปให้ เร็ วที่สุด เพื่อมิให้ กองเรื อ ฝรั่ งเศสต้ องรอคอย"
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a มเหลว คุณพ่อตาชารด์ ประสบความล้ c i วันtทีo ่ 4 rกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1699 คุณพ่อตาชารด์ได้เข้าเฝ้ าพระเจ้าแผ่นดิน "พระราชดํารั สของพระเจ้ าแผ่ นดิน กับH หนังiสืsอของคุณพ่ อเขียนไว้ แล้ ว หนังสื อนั้นจําได้ ง่ายมาก เพราะมีแต่ ต้ องพูดอย่ างเดียวว่ า "ที่ทาํ นั้นดีแล้ ว พระพุทธเจ้ าข้ า !"
5เข้าใจว่าเป็ นด่านภาษีใต้กรุ งศรี อยุธยาจากด่านภาษีดงั กล่าว บาทหลวงตาชารด์ได้รับการแห่ทางเรื อขึ้นไปถวายพระราชสาสน์ที่กรุ งศรี อยุธยา (ผูแ้ ปล) 6"พระเจ้าแผ่นดินเจ้าเดื่อ" ในที่น้ ีหมายถึงพระพุทธิเจ้าเสื อ หรื อ พระสรรเพชญ์ที่ 8 (ชื่อเดิม นายเดื่อ, เจ้าเดื่อ, หลวงสรศักดิ์) เพราะเข้าใจว่า สมเด็จพระเพทราชาเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1697 (พ.ศ. 2240) ตามที่กล่าวในตอนต้นบทที่ 8 หัวเรื่ อง "สภาพจิตใจของรัฐบาลกรุ งสยาม" บาทหลวงโลเนจึงเข้าใจว่า พระเจ้าแผ่นดินกรุ งสยามองค์ที่ บาทหลวงตาชารด์เข้าเฝ้ าครั้งสุ ดท้ายเมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1699 (พ.ศ. 2242) เป็ นเจ้าเดื่อ หรื อที่เรี ยกกันว่า พระเจ้าเสื อ แต่ความจริ งเป็ นพระเพทราชา เพราะพระองค์เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1703 (ผูแ้ ปล)
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 137
ในพระราชสาสน์ของเจ้าเดื่อ 7 (Chao-Dua) มีคาํ สรรเสริ ญพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 คําหนึ่ง เป็ นต้น ซึ่งเป็ นคํา สรรเสริ ญแบบชาวตะวันตกแท้ คือ คําว่า "พระสติปัญญาของพระองค์ ช่วงโชติประดุจดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ ที่ ส่ องสว่ างทั่วจักรวาล" กับมีคาํ แสดงความปรารถนาดี ฉันมิตรคําหนึ่ง ไม่มีอะไรอื่น มีแต่เท่านี้ คุณพ่อโบรด์ สรุ ปย่อ ผลของการส่ งทูตตาชารด์มาด้วยคําประโยคนี้วา่ "แต่ ก่อนเราเป็ นอย่ างไร เดี๋ยวนีก้ ย็ งั คงเป็ นอย่ างนั้น เราพูดถึงเรื่ อง อะไรไม่ ได้ สักอย่ าง" และในจดหมายอีกฉบับหนึ่งที่เขียนถึงคุณพ่อตาชารด์เอง คุณพ่อกล่าวว่า "พระราชสาสน์ ที่มี ถึง พระเจ้ ากรุ งฝรั่ งเศสแสดงว่ าเราพ่ ายแพ้ อย่ างสิ ้นเชิ ง ชาวสยามไม่ ต้องการชาวฝรั่ งเศส"
การเจรจาของพระสั งฆราชเกเมอแนรฺ ความล้มเหลว แปดเดือนต่อมา นักการทูตใหม่อีกท่านหนึ่งเดินทางมากรุ งสยาม นักการทูตผูน้ ้ นั คือ มิชชันนารี เก่าใน ประเทศจีนผูห้ นึ่ง ซึ่ งได้เป็ นพระสังฆราชเกียรตินามแห่งซูรา (Sura) ชื่อ เกเมอ แนรฺ (Quémener) พระสงฆ์คณะ มิสซังต่างประเทศ พระสังฆราชองค์น้ ีได้ไปเจรจาที่กรุ งโรม ขอให้มีประมุขมิสซังต่อไปเป็ นผลสําเร็ จ ในการ ขัดแย้งกับประเทศโปรตุเกส ซึ่งขอให้กรุ งโรม เรี ยกประมุขมิสซังกลับไป ก่อนจะออกจากกรุ งปารี ส พระสังฆราชเกเมอแนรฺ ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลฝรั่งเศส ให้กลับมีความ สัมพันธ์ทางการทูตกับกรุ งสยาม หรื อตามสํานวนพูดในสมัยนั้นก็วา่ "กลับผูกมิตรภาพระหว่ าง พระราชอาณา จักรกรุ งฝรั่ งเศสกับกรุ งสยาม" ท่านเป็ นผูถ้ ือคําสั่งที่แสดงว่า รัฐบาลของเราปรารถนาจะเป็ นเจ้าของเมืองมะริ ด และ สร้างท่าเรื อขึ้นที่นน่ั ท่านเดินทางมาถึงเมืองนี้เมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1699 และได้มีหนังสื อลงวันที่ 25 เดือน เดียวกัน แจ้งให้ เจ้าพระยาพระคลังทราบถึงการเดินทางและภารกิจของท่าน นํ้าเสี ยงในหนังสื อนั้นบอกว่า ท่านเป็ น คนเชื่อมัน่ ในตนเองและมีความหวังในอนาคต แต่แล้วท่านก็ตอ้ งผิดหวัง เพราะก่อนที่จะได้รับอนุญาตและมีวธิ ีที่จะ เดินทางไปยังเมืองนี้ ท่านต้องคอยที่เมืองมะริ ดเป็ นเวลาหลายเดือน ให้พระราชสํานักที่กรุ งศรี อยุธยาตอบอนุญาต
k
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
v i h ครั้นถึงวันที่ 15 พฤศจิกrายน ค.ศ. 1700 ท่านจึงมีโอกาสยืน่ บันทึกช่วยจําที่เขียนตาม คําสั่งที่ท่านได้รับ c เมื่อออกจากป้ อมที่เมืองมะริ ดA แล้ว ท่านยังพูดถึงการทําสนธิสัญญา "กับพระมหากษัตริ ย์กรุ งฝรั่ งเศส ซึ่ งจะทรงมี l a พระบัญชาให้ ทหารของพระองค์ พร้ อมอยู่เสมอที่จะช่ วยเหลือพระเจ้ ากรุ งสยาม เมื่อพระองค์ จะต้ องทําสงครามกับ ic r o t ใครในโลก" s i H เจ้าพระยาพระคลัง สั่งให้ล่ามปิ นเฮโรถ่ายทอดคําตอบ ซึ่งยาวพอสมควรไปถึง พระสังฆราชเกเมอแนรฺ ใน คําตอบนั้นกล่าวถึงฟอลคอน นายพลแดฟารฌฺ ความยุง่ ยากลําบากในปี ค.ศ. 1688 ที่เมืองบางกอกและที่เมืองมะริ ด และข้อสรุ ปของคําตอบดังกล่าวไม่ให้ความหวังแก่ผเู้ จรจาแม้แต่นอ้ ยว่าจะประสบความสําเร็ จ เจ้าพระยาพระคลัง กล่าวว่า "เราเห็นว่ าข้ อเสนอของท่ านไม่ สมเหตุสมผลเลย และโดยที่พิจารณาเห็นว่ าเป็ นข้ อเสนอที่ไม่ เหมาะสม เรา จะไม่ กราบทูลให้ พระเจ้ าแผ่ นดิน เจ้ าเหนือหัวของเรา ได้ ทรงทราบ"
7ไม่ใช่เจ้าเดื่อ หรื อพระพุทธิเจ้าเสื อ หากเป็ นพระเพทราชา ตามที่กล่าวมาแล้วในเชิงอรรถข้อก่อน (ผูแ้ ปล)
138 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าพระสังฆราชเกเมอแนรฺ จะต้องรู้สึกขุ่นเคืองในคําตอบที่ได้รับ และท่านก็มีสิทธิ์ ที่จะรู้สึก ขุ่นเคืองดังกล่าว เพราะฉะนั้น เมื่อสรุ ปความรู้สึกและงานที่ทาํ แล้ว ในหนังสื อรายงานถึงพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ท่าน กราบทูลว่า "ขอเดชะ เนื่องในความจงรั กภักดี ที่ต้องมีต่อมหาบพิตรราชสมภารเจ้ า เป็ นหน้ าที่ของอาตมาภาพที่ จะต้ องกราบทูลให้ ทรงทราบว่ า พระราชสํานักแห่ งนี ้ โดยเฉพาะอย่ างยิ่งในรั ชสมัยปั จจุบัน ไม่ มีลักษณะอะไรที่เป็ น ของมนุษย์ ไม่ มีความสุจริ ตใจ ไม่ มีเกียรติและไม่ มีความจริ งใจ" และเหมือนกับจะกันมิให้ชาวฝรั่งเศสมีความหวังใดๆ ที่จะปรองดองกันในอนาคต อีกไม่กี่วนั ต่อมา พระ เจ้าแผ่นดินทรงห้ามล่ามทุกคน "มิให้ เขียนหรื อยื่นข้ อความใดๆ ในนามของคนต่ างชาติ ก่ อนที่จะรู้ แน่ แก่ ใจว่ า ข้ อเขียนนั้นๆ เป็ นที่พอใจแก่ เจ้ าพระยาพระคลัง มิฉะนั้นจะได้ รับโทษอย่ างหนักที่สุด" เป็ นที่เห็นได้อย่างชัดแจ้งว่า การเมืองไม่มีทางจะช่วยมิสซังกรุ งสยามให้พน้ จากความอ่อนเปลี้ยและความ เสื่ อมถอย ที่ตกลงไปจมอยูเ่ พราะภัยมหาพิบตั ิที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1688 พวกมิชชันนารี จะหวังพึ่งได้ก็แต่พระเป็ น เจ้าและตนเองเท่านั้น
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB