บทที่ 9 สมัยพระสังฆราชเดอ ซีเซ ค.ศ. 1700-1727 งานและโครงการ - ความเจริญของวิทยาลัยกลาง การแต่ งตั้งพระสั งฆราชเดอ ซีเซ เมื่อสามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศทราบข่าวมรณภาพของคุณพ่อแฟเรอ ก็คิดจะขอองค์ใดองค์หนึ่งใน มิชชันนารี ต่อไปนี้ดาํ รงตําแหน่งแทน คือ คุณพ่อลีออน "ซึ่ งรู้ ภาษาสยามและเป็ นที่ร้ ู จักแก่ พระราชสํานัก" หรื อ พระสังฆราชเกเมอแนรฺ ที่มีคนเห็นว่าเป็ น "คนสุร่ ุ ยสุร่ายเกินไป" หรื อคุณพ่อเดอ ลาวิญ ซึ่ง "เห็นว่ าตนเหน็ดเหนื่อย เกินกว่ าที่จะรั บภาระหนักเช่ นนี"้ หรื อที่สุด คุณพ่อเดอ ซีเซ (de Cicé) แต่ขณะนั้นสมณกระทรวงเผยแพร่ ความ เชื่อมีความคิดเห็นเป็ นอย่างอื่น คือมีคนอ้างว่าสมณกระทรวงฯ อยากให้กรุ งสยามมีประมุขมิสซังที่มิใช่ชาวฝรั่งเศส ทั้งมิใช่สมาชิกในคณะมิสซังต่างประเทศ "เพราะพระคาร์ ดินัลผู้ว่าการสมณกระทรวงกล่ าวว่ า ต้ องคํานึงถึงเรื่ อง วิญญาณมากกว่ าเรื่ องทางโลก และอยากให้ พระสันตะสํานักเป็ นอิสระในการเลือก" เมื่อการณ์เป็ นเช่นนี้ คุณพ่อ ชารฺ โมต์ ผูเ้ ป็ นเหรัญญิกของคณะมิสซังต่างประเทศที่กรุ งโรม "รู้ สึกเสี ยใจเป็ นอย่ างยิ่ง" อธิบายว่า "เนื่องจากกรุ ง สยามเป็ นศูนย์ กลางของบรรดามิสซังของคณะ ถ้ าตั้งคนอื่นที่ไม่ ใช่ คนในคณะของเราเป็ นอธิ การ ก็เท่ ากับตั้งใจจะ ทําลายมิสซังของเราให้ สูญไป และถ้ าสามเณราลัยของเราเป็ นของชาวอิตาเลียน บรรดาพระคาร์ ดินัลคงไม่ ยอมให้ ชาวฝรั่ งเศสเข้ าไปใช้ จ่ายผลาญทรั พย์ สินของชาวอิตาเลียนเป็ นแน่ " คําทักท้วงของเหรัญญิกได้รับการสนับสนุนจากพระคาร์ดินลั กาซานาตา ซึ่ งบางครั้งเราเรี ยกในพวกเรา กันเองว่าเป็ น "มารฺ โดเค 1 ของคุณพ่ อชารฺ โมต์ " และมีแรงกดดันจากสามเณราลัยแห่งคณะมิสซังต่างประเทศขอให้ ตั้งคุณพ่อเดอ ซีเซ เป็ นพระสังฆราชเกียรตินาม 2 แห่งซาบืล และเป็ นประมุขมิสซังกรุ งสยามเป็ นผลสําเร็ จเมื่อวันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 1700
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
H
1มารฺ โดเค เป็ นชาวยิวที่ถูกจับไปเป็ นเชลยที่กรุ งบาบีโลน และเป็ นลุงของพระนางแอสเธอร์ มเหสี ของพระเจ้าอัสสุ เอโร คอยให้คาํ แนะนํา ต่างๆ แก่หลานสาว ในที่น้ ีจึงเปรี ยบพระคาร์ดินลั กาซานาตาเป็ น "มารฺ โดเค ของบาทหลวงชารฺ โมต์" (ผูแ้ ปล) 2พระสังฆราชเกียรตินาม (évêque in partibus infidelium หรื อ évêque titulaire) หมายถึงพระสังฆราชที่มีตาํ แหน่ง แต่ไม่มีอาณาเขตปกครอง แม้จะมีชื่อว่าเป็ นพระสังฆราชของเมืองนี้เมืองนั้น แต่เป็ นเมืองในเอเชียไมเนอร์ ซึ่งอาจจะยังมีอยู่ หรื อสาบสู ญไปแล้วก็ได้ (ผูแ้ ปล)
142 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
พระสังฆราชหลุยส์ ชังปี อ็อง เดอ ซีเซ เกิดจากตระกูลเก่าแก่ตระกูลหนึ่งแห่งแคว้น บรี เทน พระสังฆราช หลายองค์ และผูพ้ ิพากษาหลายนาย กับสมุหลัญจกรนายหนึ่งก็เกิดจากตระกูลนี้ ท่านเกิดเมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 1648 ที่เมืองบรู ส (Bruz) ในจังหวัดที่ปัจจุบนั นี้เรี ยกจังหวัดอิล-เอ-วีแลน (Ille-et-Vilaine) เคยเรี ยนเทว ศาสตร์ที่สามเณราลัยแซ็งต์-ซุลปิ ส และเคยเป็ นมิชชันนารี ในประเทศคานาดาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1674 - 1679 และใน จีนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1682-1697 ท่านมาศึกษาและรวบรวมกฎวินยั ทัว่ ไปของคณะมิสซังต่างประเทศให้เป็ นหมวดหมู่ เมื่อคําสั่งแต่งตั้งท่านมาถึง ท่านกําลังอยูท่ ี่กรุ งปารี ส ท่านได้รับการอภิเษกเป็ นพระสังฆราช เมื่อวันที่ 2 มกราคม ค.ศ. 1701 จากพระสังฆราชเดอ โกแอตโลก็อง (de Coetlogon) พระสังฆราชแห่งเมืองแซ็งต์-บรี เอิ๊ก (SaintBrieuc) ซึ่ งเป็ นญาติของท่าน ในปี เดียวกันนั้นเองท่านเดินทางมากรุ งสยาม และมาถึงในเดือนกันยายน ค.ศ. 1702 พวกมิชชันนารี ที่มาต้อนรับ ชมว่า รู ปร่ างของท่านงดงาม ท่าทางมีสกุล หนวดยาวและเป็ นคนน่ารัก บรรดา คณาจารย์ของสามเณราลัยเห็นว่าท่านเป็ นคนขลาดนิดหน่อย อย่างน้อยก็เป็ นคนใจไม่แน่วแน่และลังเลเมื่อ จะต้อง ตัดสิ นใจ
ok k gดขึ้น ตั้งแต่ n ตลอดเวลาที่พระสังฆราชเดอ ซีเซ เป็ นพระสังฆราชอยู่ 26 ปี ไม่มีเหตุการณ์สาํ คัญประการใดเกิ a B มีการปฏิวตั ิในกรุ งสยามมา วัดต่างๆ เคยเป็ นอยูอ่ ย่างไร ก็ยงั คงเป็ นอยูอ่ ย่างนั้น เกือบเหมือfนเดิมทุกประการที่อยุธยา o ว และคริสตัง ชาวสยาม มีครอบครัวของชาวยุโรปและของพวกลูกครึ่ งที่เขาเรี ยกว่าฝรั่ง 3 (Francs) 19-20 e ครอบครั sางสมํ่าเสมอ และมีโบสถ์หลังหนึ่งซึ่ง e 80-90 คน เดชะบุญ สัตบุรุษชาวญวนมีจาํ นวน 450-500 คน เขามาโบสถ์ อ ย่ c o i เขามาภาวนาเวลาคํ่า และตามสํานวนคําพูดของมิชชันนารี อd งค์หนึ่ง "เขาเหมือนกับถูกไขลานให้ มาเองตาม h c กําหนดเวลา เป็ นที่น่าปลืม้ ใจ" r Aดในประเทศโคชินจีน ซึ่งลอกแบบมาจาก ระเบียบของ เขาจัดให้เขตวัดของเขามีระเบียบเหมือนเขตวั s eางแข็งแรง กล่าวคือ มีคนกลุ่มหนึ่งประกอบด้วยหัวหน้าคนหนึ่งกับ v เทศบาล เขตวัดของเขาจึงตั้งขึ้นโดยมีโครงสร้ i hด ในความควบคุมของ มิชชันนารี หัวหน้าและรองหัวหน้าเหล่านี้ตอ้ งรู้ c รองหัวหน้าอีกหลายคนปกครองเขตวั r l A่คริ สตัง ต้องชําระ ข้อพิพาท ลงโทษคนผิดให้เสียค่าปรับ ให้ใส่ขื่อคา หรื อแม้แต่ให้ เรื่ องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นa ในหมู ติดคุก ; เขาเป็ นผูrน้ iาํ c ในการภาวนาร่ วมกัน ไปเยีย่ มคนเจ็บป่ วย เตรี ยมตัวเขาให้ตายโดยดี บอกพระสงฆ์ให้รู้ถึงอาการ o t ของเขาis รวมความว่าหัวหน้าและรองหัวหน้าเหล่านี้มีหน้าที่คล้ายๆ คนสอนคําสอนฆราวาส และในขณะเดียวกันก็ H อยุธยา - กลุ่มคริสตังญวน
เป็ นคนดูแลเงินบํารุ งวัด (fabriciens) ด้วย คุณพ่อโบรด์เป็ นผูด้ ูแลเขตวัดนี้เป็ นเวลากว่า 15 ปี มีพระสงฆ์ญวนองค์หนึ่งชื่อ คุณพ่อ วินแซนเต เลน (Vincent Len) เป็ นผูช้ ่วย คุณพ่อองค์น้ ีสาํ เร็ จการเรี ยนทุกอย่างจากวิทยาลัยกลาง และพูดภาษาญวน, สยาม, สเปน, โปรตุเกส, ลาติน กับพูดภาษาฝรั่งเศสดีพอสมควร และพูดภาษาอิตาเลียนได้เล็กน้อย เมื่อชมความรักการเรี ยนและ คุณธรรมของคุณพ่อเลน พระสังฆราช เดอ ซีเซ เสริ มว่า พระสงฆ์องค์น้ ี "ต้ องมีใครคนหนึ่งอยู่ใกล้ ๆ เพื่อแนะ เตือนคุณพ่ อ"
3คํา "ฝรั่ง" ในภาษาไทย เห็นจะทับศัพท์มาจากคํา "Francs" หรื อ "Fran็็ais" นี่เอง (ผูแ้ ปล)
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 143
มิชชันนารีทอี่ ยุธยา - การทางานของมิชชันนารี มิชชันนารี มีผมู ้ าสื บงานธรรมทูตใหม่คือ คุณพ่อโลเลียรฺ -ปุยก็องตาต์ หรื อ ปุยก็องตาล (de Loli็่bre Puycontat ou Puycontal) เป็ นชาวเมืองเปรี เกอ (Périgueux) กับคุณพ่อโอม็องต์ (Aumont) ผูม้ าจากสังฆ มณฑลกรุ งปารี ส และยังมีผชู ้ ่วยอีก 2 คนคือ คุณพ่อนิโกเลา โตแลน ติโน ซึ่งเป็ นพระสงฆ์ชาวเมืองมะนิลา กับ คุณพ่ออินโนเซนต์ โอทวม4 (Othuam) พระสงฆ์ ชาวสยาม เนื่องจากพระสงฆ์เยสุ อิตองค์หนึ่งชื่อ คุณพ่อกัสปารฺ ดา กอสตา (Gaspar da Costa) ถึงแก่มรณภาพ และ ไม่มีผมู ้ ารับตําแหน่งแทน พวกมิชชันนารี นอกจากต้องทําหน้าที่ตามปรกติแล้ว ยังต้องปกครองเขตวัดโปรตุเกส ซึ่ง มีสัตบุรุษประมาณ 1,000 คน คุณพ่อโอม็องต์บรรยายว่าท่านมีงานอะไรต้องทําบ้างดังนี้: "ในฐานะเป็ นเจ้ าอาวาสเขตวัดนี ้ ข้ าพเจ้ ามีหน้ าที่ต้องดูแลวิญญาณสัตบุรุษทุกคน ซึ่ งส่ วนใหญ่ เข้ าใจ ภาษาโปรตุเกส และข้ าพเจ้ าก็ร้ ู ภาษานีพ้ อสมควรแล้ ว มีพระสงฆ์ ชาวอินเดียองค์ หนึ่งสําหรั บคนที่ไม่ ร้ ู ภาษาโปรตุเกส ในฐานะเป็ นเหรั ญญิก ข้ าพเจ้ า ยังมีหน้ าที่เกี่ยวกับเรื่ องทางโลกทุกเรื่ อง มิใช่ แต่ เรื่ อง ซึ่ งอาจเกิดขึน้ กับศาลของชาวสยามสําหรั บสามเณราลัยและคริ สตังทุกคน เท่ านั้น แต่ ยงั มีหน้ าที่ เกี่ยวกับการพิจารณาตัดสิ นเรื่ องพิพาท ทุกเรื่ องที่เกิดขึน้ ในระหว่ างพวกคริ สตังด้ วยกันเองด้ วย" "จํานวนคริ สตังอาจมีถึง 800 หรื อ 900 คน ประกอบด้ วย 3 ค่ าย คือ ค่ ายคริ สตังที่อ้างว่ าเป็ น ชาวโปรตุเกส เพราะเขาแต่ งตัวแบบ ชาวยุโรป ค่ ายชาวสยามและมอญ ที่แต่ งตัวตามแบบของเขา และ ค่ ายชาวโคชิ นจีนและตังเกี๋ย ที่รักษาแบบแต่ งตัวของเขาไว้ "
k
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
ในสมัยนี้ก็เหมือนในสมัยก่อน มิชชันนารี ที่กรุ งศรี อยุธยาอยูก่ บั พระสังฆราชที่สามเณราลัย "ยังมีบุตรชาย ของนายชารฺ บอโน ที่เป็ นคนจัดวัดคนหนึ่ง มีนักเรี ยนเก่ าที่สวมเสื ้อหล่ อ ชื่ อมานูแอล และเป็ นเลขานุการของ พระสังฆราชอีกหนึ่ง นอกจากนั้นยังมีทาสอี กประมาณ 20-25 คน กับคนจ้ างมาสําหรั บพายเรื อ" ทุกคืนมีการเดิน ยามรอบบริ เวณที่ดิน เพราะกลัวขโมยหรื อไฟไหม้ "ทั้งเพื่อคอยดูด้วยว่ ามีหนุ่มสาววิ่งออกไปข้ างนอกหรื อไม่ และ ถ้ าพบเขาก็ถกู จับและ ถูกลงโทษให้ ใส่ โซ่ เป็ นเวลาหลายวัน" ในจดหมายเหตุของมิชชันนารี เกือบไม่พดู ถึงเรื่ องการกลับใจเลย ที่เป็ นเช่นนั้นก็เพราะ เหตุผลที่ อนิจจา ! โต้แย้งไม่ได้ คือไม่มีการกลับใจหรื อมีแต่นอ้ ยมาก พระสังฆราชเดอ ซีเซ จะเขียนในปี ค.ศ. 1714 ว่า "ข้ าพเจ้ าอยู่ ที่นี่ 12 ปี มาแล้ ว มีผ้ ใู หญ่ กลับใจไม่ ถึง 100 คน" ในปี ค.ศ. 1723 คุณพ่อโอม็องต์ประกอบพิธีลา้ งบาปให้แก่ผใู้ หญ่ 9 คน พวกมิชชันนารี พากันปิ ติ ชื่นชมทัว่ หน้า
iv h rc
A s e
A l a
ic r o ist
H
การเยีย่ มผู้ป่วยเจ็บ โรงพยาบาลเก่าทั้งสองที่ถูกปล้นในระหว่างการปฏิวตั ิ (สมัยพระเพทราชา) นั้น ไม่ได้สร้างขึ้นใหม่ เพราะ มิสซังไม่มีกาํ ลังทรัพย์ พวกมิชชันนารี เพียงแต่ไปเยีย่ มคนไข้ตามบ้านเรื อน โดยเฉพาะเมื่อเกิดโรคติดต่อ ในปี ค.ศ. 1712 โรคฝี ดาษระบาดหนักในกรุ งศรี อยุธยาและในบริ เวณรอบนอก พระสังฆราชเดอ ซีเซ, คุณพ่อโบรด์ และ คุณพ่อเลน ไปเยีย่ มผูป้ ่ วยเป็ นโรคฝี ดาษถึงหมู่บา้ นที่อยูห่ ่าง 3-4 ลีเออ (ราว12-16 กม.) โดยรอบ "พวกมิชชันนารี เคร่ งครั ดในการถือปฏิ บัติที่พระสังฆราชลาโนได้ สั่งไว้ คือ ไม่ ให้ คิดค่ ารั กษาและค่ ายา" พระสังฆราชเดอ ซีเซ เขียน ไว้ดงั นี้ แล้วยังเสริ มว่า "ข้ าพเจ้ าจะสอดส่ องไม่ ให้ ใครเปลี่ยนแปลงกฎปฏิ บัติซื่อๆ และมีเมตตาจิตนี"้ 4หรื อ ออกก่าน (Okkan) หรื อ โอคํา (Okham)
144 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
วัดทีเ่ มืองมะริด, ทีเ่ มืองตะนาวศรี และทีเ่ กาะถลาง สภาพของวัดที่เมืองมะริ ด ตะนาวศรี และเกาะถลาง ซึ่ งมีคริ สตังไม่กี่ร้อยคนนั้น ยังน่าเศร้าสลดยิง่ กว่า สภาพของวัดที่อยุธยาเสี ยอีก เรื่ องสําคัญที่พวกมิชชันนารี กล่าวตําหนิคริ สตัง ที่วดั 3 แห่งนี้ก็คือ "ความประพฤติ เสื่ อมทราม คาทอลิกแต่ งงานกับคริ สตชนที่ถือข้ อผิดต่ อศาสนาคาทอลิก (héré tiques) ไม่ ร้ ู เรื่ องศาสนา" คุณพ่อนิโกเลา โตแลนติโน ดูแลคริ สตังในภูมิภาคนี้เป็ นเวลาราว 20 ปี ในราวปี ค.ศ. 1708 หรื อ 1709 คุณพ่ออินโนเซนต์ โอทวม ได้ไปทําหน้าที่แทนคุณพ่อองค์ก่อน และมีความ ยุง่ ยากลําบากบางประการกับบรรดา ขุนนาง ในปี ค.ศ. 1712 ชาวมอญ (Pégouans) ที่อยูเ่ มืองทวาย (Tavay) ได้ยกมาโจมตี และยึดได้เมืองมะริ ด ครั้นแล้ว เขาก็ยกมุ่งไปทางเมืองตะนาวศรี เจ้าเมืองนี้มีความไว้ใจพวกมิชชันนารี อยูบ่ า้ ง จึงใช้คนส่ งข่าวไปหา พระสังฆราชเดอ ซีเซ ขอท่านส่ งพระสงฆ์องค์หนึ่งไป "เตือนคริ สตังที่เมืองตะนาวศรี ให้ ยืนหยัดมัน่ คงในการรั บใช้ พระเจ้ าแผ่ นดิน" และเตือนคริ สตัง ที่อยูเ่ มืองมะริ ด "อย่ าทําหน้ าที่เป็ นทหารยิงปื นใหญ่ " ช่วยศัตรู พระสังฆราชปฏิบตั ิตามคําขอร้องนี้ในทันที แต่โดยที่ท่านไม่มีเงินพอจะจ่ายค่าเดินทางของมิชชันนารี ที่จะ ส่ งไป จึงขอให้รัฐบาลสยามช่วยค่าเดินทาง อ้างว่าเป็ นงานเพื่อประโยชน์ของพระราชอาณาจักร เจ้าพระยาพระคลัง ตอบว่า เมื่อจะรับใช้พระเจ้าแผ่นดินแล้ว ก็ตอ้ งรับใช้เปล่าๆ พระสังฆราชเดอ ซีเซ ได้นาํ ไม้เท้ากับคนโทนํ้าของท่าน และถ้วยกาลิสกับผอบเก็บแผ่นศีล (custode) อีกหลายใบมายุบเอาไปขาย ได้เงินเพียง 250 เอกู ก็ยงั ไม่พอ ท่านจึง หาเงินที่ขาดโดยขอยืมจากกัปตันเรื ออังกฤษลําหนึ่งแต่การทําด้วยความเสี ยสละดังนี้หาได้เป็ นคุณประโยชน์ในทาง ปฏิบตั ิแต่ประการใดไม่ เพราะเมื่อมิชชันนารี เดินทางไปถึงเมืองตะนาวศรี พวกมอญ ออกจากเมืองมะริ ดไปแล้ว ในปี ค.ศ.1710 พระสงฆ์ฟรังซิ สกันชาวโปแลนด์องค์หนึ่งชื่อ คุณพ่อปลาซิด (Placide) มาจากกรุ งมะนิลา กับคณะทูตชาวสเปน ท่านสมัครขอทํางานอยูก่ บั พระสังฆราชเดอ ซีเซ ก็ได้รับมอบหมายให้ปกครองสัตบุรุษที่เกาะ ถลาง แต่อยูไ่ ด้ไม่กี่เดือนก็จากไป
k
การตั้งวัดจันทบูรณ์
ic r o ist
A l a
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
การตั้งกลุ่มคริ สตชนญวนขึ้นที่เมืองจันทบูรณ์ (Chantaboun) บนฝั่งอ่าวสยาม ไม่ไกลจากชายแดน ประเทศเขมรนั้น นับเป็ นการปลอบใจพวกมิชชันนารี ได้บา้ ง คือ ปลอบใจในข้อที่การทํางานของเขาในอาณาบริ เวณ ปากแม่น้ าํ เจ้าพระยาไม่ได้ผล กลุ่มคริ สตังกลุ่มนี้เกิดขึ้น เพราะมีคริ สตังเก่าชาวโคชินจีน 120 ถึง 130 คน ลี้ภยั มาอยู่ ในดินแดนกรุ งสยาม เพื่อหนีการเบียดเบียนศาสนาในประเทศของเขา เขาสร้างโบสถ์นอ้ ยขึ้นหลังหนึ่ง แล้วสร้างบ้านหลังหนึ่งสําหรับมิชชันนารี คุณพ่อเอิ๊ต (Heutte) ได้รับ มอบหมายให้ไปอยูจ่ นั ทบูรณ์ในปี ค.ศ. 1707 แต่มีเหตุการณ์ขดั ขวางมิให้ท่านไป กล่าวคือ สามเณรชาวตังเกี๋ย 2 คน ซึ่งจะต้องไปกับท่านถูกจับและถูกขังคุกพักหนึ่ง โดยมีความผิดฐานตั้งใจจะออกจากพระราชอาณาจักรโดยมิได้ขอ พระบรมราชานุญาต พระสังฆราช เดอ ซีเซ ต้องเอาของแปลกๆ ที่นาํ มาจากยุโรปไปขายเอาเงินมาช่วยเขาออกจาก คุก แต่ท่าน เกรงว่า ถ้าคุณพ่อเอิ๊ตเดินทางไปจันทบูรณ์ในขณะนั้น จะทําให้สถานการณ์ยงุ่ ยากซับซ้อนขึ้นมาอีก ท่านจึงเห็นว่า ควรรอไปก่อนดีกว่า คุณพ่อเอิ๊ตรอจนถึงปี ค.ศ. 1711 จึงเดินทางไปจันทบูรณ์ แต่อยูไ่ ด้ปีกว่าๆ ก็ เดินทางไปประเทศโคชินจีน ตามที่พระสังฆราช ลับเบ (Labbé) ขอให้ไป พระสงฆ์ที่ไปอยูจ่ นั ทบูรณ์แทนคือ คุณพ่อนิโกเลา โตแลนติโน ในปี ค.ศ. 1714 คุณพ่อเอิ๊ตได้มีโอกาส ช่วยกะลาสี ชาวฮอลันดาที่เรื ออับปางใกล้ชายฝั่งประเทศญวน ชาวฮอลันดาใน กรุ งสยามจึงขอพระสังฆราชเดอ ซี เซ ส่ งคุณพ่อนิโกเลา โตแลนติโน ไปรับเพื่อนร่ วมชาติของเขา โดยอ้างว่า
H
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 145
"เมื่อพระสงฆ์ ฝรั่ งเศสเป็ นผู้ช่วยคนที่รอดจากเรื ออับปาง 87 คนนีม้ าแต่ ต้น จึงเป็ นการสมควรที่จะเป็ นผู้ช่วย ต่ อไปจนเสร็ จเรี ยบร้ อย" พระสังฆราชก็ยนิ ยอมตามที่ขอ เพราะหวังว่า พวกฮอลันดาจะแสดงความรู้คุณ โดยช่วย พวกมิชชันนารี เข้าไปในประเทศญี่ปุ่น อนิจจา ! นี่ก็เป็ นการฝันหวานอีกครั้งหนึ่งของพวกมิชชันนารี ที่คิดอะไรก็ คิดแบบผูใ้ ฝ่ ธรรม ไม่รู้จกั คิดแบบ ผูใ้ ฝ่ กิจการทางโลก
โครงการของพระสั งฆราชเดอ ซีเซ พระสังฆราชมีความหดหู่รันทดใจที่มิสซังกรุ งสยามทําการไม่ได้ผล ท่านมีความเห็นว่า ถ้านําพระวรสาร ไปแพร่ ในต่างจังหวัด ในที่ห่างไกลจากพระราชสํานักได้ ก็จะมีผเู้ ข้าศาสนาแน่ ท่านพยายามจะใช้วธิ ีของ พระสังฆราชลาโน คุณพ่อลังกลัว และคุณพ่อโมแนสจีเอร์ ที่ไป แพร่ ธรรมถึงพิษณุโลกและภูมิภาคเหนือ แต่เมื่อ ไม่ได้รับอนุญาต ในปี ค.ศ. 1712 ท่านจึงใช้ผสู้ อนคําสอนคนหนึ่งให้เดินทางไปในถิ่นแถบนั้น ที่พิษณุโลกและ นครไทย เขาพบบ้านพักพระสงฆ์กบั โบสถ์นอ้ ยในสภาพยังดีอยู่ และยังพบชาวบ้านที่ยงั คิดถึงพวกบาทหลวง 5 (Baluang) ชาวฝรั่งเศส เขาเดินทางมุ่งหน้าต่อไปจนถึงชายแดนประเทศลาวด้วย รวมความว่าการเดินทาง ของเขา ครั้งนี้ไม่มีผลอะไรอื่น นอกจากเรี ยนให้พระสังฆราชทราบว่ามีทางที่จะนําคนจํานวนหนึ่งในท้องถิ่นแถบนี้มารับ ความเชื่อ พระสังฆราชเดอ ซีเซ หันมองไปทางภาคใต้ ท่านเห็นว่าเมืองนครศรี ธรรมราช (Ligor) และเมืองเพชรบุรี (Piply) ได้รับการเตรี ยมให้ไปประกาศพระวรสารแล้ว ท่านยังคิดถึงประเทศเขมรด้วย แต่ก็พบอุปสรรคอย่าง เดียวกัน และการที่ท่านปรารถนาจะแพร่ ธรรมอย่างนี้อย่างนั้น แล้วทําไม่ได้ร่ าํ ไปเช่นนี้ ทําให้ท่านรู้สึกรุ นแรงยิง่ ขึ้น ว่า โซ่ที่ผกู ขาท่านไว้ที่อยุธยานั้นหนักยิง่ นัก ท่านคิดไปคิดมาแล้ว เกือบๆ จะโทษว่าที่ทาํ การไม่ได้ผลนั้นเป็ นเพราะบรรดาผูร้ ่ วมมือทํางานกับท่าน หลายครั้งหลายหนท่านเขียนถึงบรรดาคณาจารย์สามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศว่า ท่านเสี ยใจที่พวกมิชชันนารี ถือว่าต้องเอาใจใส่ ห่วงใยวิทยาลัยกลางยิง่ กว่าเรื่ องอื่นใดทั้งหมด "ลําดับงานก่ อนหลังที่เห็นว่ าเป็ นธรรมดาที่สุดก็คือ ประกาศศาสนาแก่ ชาวสยามก่ อน แล้ วจึงอบรมนักเรี ยนที่มาจากอาณาจักรอื่นๆ" ท่านยังให้ขอ้ คิดอีกหลายข้อเพื่อ เตือนบรรดาคณาจารย์ให้ "เลิกหลงผิดคิดว่ าไม่ มีอะไรจะทําในกรุ งสยามแล้ ว" อีกประการหนึ่ง ท่านเห็นว่าท่านเป็ น "รู ปปั้ นที่ไร้ ชีวิต" และยังเสริ มว่า "ข้ าพเจ้ าขอโอดครวญที่มีกรรมคือ อายุมากแล้ ว แม้ จะอุตส่ าห์ สักเพียงใด ก็ไม่ สามารถเรี ยนภาษาหนึ่ง ซึ่ งข้ าพเจ้ ารู้ โดยประสบการณ์ เกือบทุกวัน ว่ าจําเป็ นสําหรั บผู้ที่อยู่ในตําแหน่ งที่ข้าพเจ้ าดํารง อยู่"
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
H
5คํา "บาทหลวง" ซึ่งบางคนเขียน "บาดหลวง" นั้น น่าจะเป็ นคําเพี้ยนที่อ่านเสี ยงผิดและเขียนผิด เพราะไม่มีความหมาย คําที่ถูกนั้น น่าจะเป็ น คําใดคําหนึ่งต่อไปนี้คือ 1. "บาทหลวง" ที่เราพบในที่น้ ี เพราะแปลได้ความว่า "ครู ของหลวง" 2. คํา "บาตรหลวง" (กลายจาก "บาตรี หลวง") เพราะคํา "บาตร" หรื อ "บาตรี " เป็ นคําศัพท์สเปน "Padre" อ่าน "ปาเดร" แปลว่า "พ่อ" (คาทอลิกเรี ยกพระสงฆ์วา่ "คุณพ่อ") 3. คํา "บาตรี " ซึ่งเป็ น คําทับศัพท์โดยตรงจากคําสเปน "Padre" (อ่าน ปาเดร) คํานี้พบมากในบันทึก 68 หน้าของโกษาปาน ที่พบ ณ สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศ กรุ งปารี ส (ผูแ้ ปล)
146 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
การประกอบพิธีล้างบาปให้ แก่ลูกคนต่ างศาสนา ก่อนจะถึงวันเวลาที่โชคดีกว่านี้ พระสังฆราชทําการแก้ตวั โดยประกอบพิธีลา้ งบาปให้แก่ลูกคนต่างศาสนา ที่ใกล้จะตาย อันเป็ นงานที่ท่านเรี ยกว่า "งานช่ วยเด็กเล็กๆ" (la mission des petits enfants) ท่านเขียนว่า "ในตอน แรก ข้ าพเจ้ ามีอุปสรรคต้ องเอาชนะอยู่บ้าง คือมีคนพยายามพูดให้ ข้าพเจ้ าเชื่ อว่ างานนีไ้ ม่ ค่ ูควรกับตําแหน่ ง พระสังฆราช ข้ าพเจ้ าไม่ ยอมท้ อถอย แล้ วเดี๋ยวนีใ้ ครๆ ก็ชมที่ข้าพเจ้ าทํางานนี"้ อันที่จริ ง ท่านก็ทาํ การระมัดระวัง บางอย่าง เช่น "ไม่ ห้อยกางเขนและสวมแหวนสังฆราช" พวกมิชชันนารี ก็ประพฤติตามแบบฉบับของพระสังฆราช คุณพ่อเดอ โลเลียรฺ เขียนในปี ค.ศ. 1720 ว่า "การพักผ่ อนอย่ างดีที่สุด และงานการที่ปลุกปลอบใจข้ าพเจ้ ามากที่สุดก็คือ งานช่ วยเด็ก" คุณพ่อโอม็องต์ก็มี ความรู้สึกเช่นเดียวกัน และขณะที่ได้รับมอบหมายให้เป็ นเหรัญญิกในปี ค.ศ. 1721 และปี ต่อๆ ไป ท่านอุทิศ "เวลา สัปดาห์ ละหนึ่งวันให้ แก่ งานช่ วยเด็ก" ไม่วา่ จะเป็ นพระสังฆราชหรื อพระสงฆ์ วิธีทาํ งานเป็ นแบบเดียวกันคือ ออก เดินทางไปทางเรื อเวลา 6 โมงเช้า คนพายเรื อคนหนึ่งเป็ นธุระเรื่ องอาหาร อีกคนหนึ่งเป็ นธุระเรื่ องหยูกยา เราขึ้นบก คนถือยานําหน้ามิชชันนารี เดินพลางร้องว่า "ใครมีคนเจ็บที่บ้านบ้ างครั บ ? ขอให้ บอก หรื อพาผู้ชายผู้หญิงเด็กเล็ก มาก็ได้ !" เครื่ องหมายอย่างหนึ่งที่บอกอย่างไม่ผดิ พลาดว่า "เด็กกําลัง จะตาย" ก็คือ "เส้ นเลือดสี ฟ้าเล็กๆ ข้ างใน นิว้ ก้ อยมือซ้ ายขึน้ ไปจนถึงข้ อต่ อที่สอง" ในปี ที่เหตุการณ์เป็ นปรกติ จํานวนเด็กที่รับศีลล้างบาปมีอยูใ่ นราว 800-1,000 คน ซึ่งนับเป็ นจํานวน ใกล้เคียงกับในสมัยของพระสังฆราชลาโน บางครั้งถ้าเกิดโรคระบาด จํานวนนี้ก็เพิม่ ขึ้นอย่างมากมาย ในปี ค.ศ. 1710 พระสังฆราชเดอ ซีเซ องค์เดียว ประกอบพิธีศีลล้างบาปให้เด็กถึง 3,000 คน ในปี ค.ศ. 1717 ท่านเขียน ว่า ตั้งแต่ท่านมาถึง จํานวนเด็กที่ได้รับศีลล้างบาปในเวลาใกล้จะตายมีถึง 16,000 คน ซึ่ งในจํานวนนี้ 7,500 คน เป็ นเด็กที่ท่านได้ประกอบพิธีให้ บางครั้งบางคราวท่านบ่นว่าไม่มียาและไม่มีเงินจะซื้อ ผูด้ าํ รงตําแหน่งอยูก่ ่อนท่าน ก็โอดครวญในทํานองเดียวกัน
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l ความจริ งมิc สซัa งไม่เคยรํ่ารวยเลย เพราะไม่มีสมบัติใดในประเทศนี้ ได้รับจากสามเณราลัยคณะมิสซัง i ต่างประเทศก็ เท่าrที่จาํ เป็ นจริ งๆ เท่านั้น คือได้รับ 1,000 ฟรังก์ เป็ นค่ากินอยูข่ องพระสังฆราช, 500 ฟรังก์ เป็ นค่ากิน o t ่ องมิis อยูขH ชชันนารี แต่ละองค์, 250 ฟรังก์ เป็ นค่ากินอยูข่ องพระสงฆ์พ้ืนเมืองแต่ละองค์ และ 50 ฟรังก์ สําหรับเณรแต่
ความยากจนของมิสซัง
ละคนในวิทยาลัยกลาง ในปี ค.ศ. 1690 พระสังฆราชลาโนเขียนแล้วว่า "เงินที่รับนีน้ ้ อยกว่ าที่ควรได้ รับถึ ครึ่ งหนึ่ง มิใช่ สาํ หรั บกิจ เมตตาหรื อกิจการสอนเท่ านั้น แต่ สาํ หรั บการใช้ บาํ รุ งสามเณราลัย และเลีย้ งดูผ้ ทู ี่อยู่ในสามเณราลัยด้ วย" พระสังฆราชเดอ ซีเซ เขียนว่า "แต่ ไหนแต่ ไรมาถือกันว่ าสามเณราลัยเป็ นงานของชาติฝรั่ งเศส ซึ่ งอธิ การ ของสามเณราลัยนั้นเป็ นประมุขอยู่ในพระราชอาณาจักรนี ้ ดังนั้นตราบใด ที่สามเณราลัยยังดํารงอยู่ สามเณราลัยก็ ต้ องรั กษาเกียรติของชาติฝรั่ งเศสไว้ "
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 147
อีกประการหนึ่ง สามเณราลัยนั้นมีคนใช้เป็ นจํานวนมากพอสมควรสําหรับทํางานบ้านบ้าง ทําสวนบ้าง ดูคอกวัวบ้าง พายเรื อบ้าง คนใช้เหล่านี้ซ่ ึ งบางครั้งเราเรี ยกว่าเป็ นทาสนั้น เป็ นชาวอินเดียหรื อชาวกัฟรฺ (Cafres) ซึ่ง พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานให้ หรื อมิสซังซื้อมาโดยชําระหนี้ของเขา มิสซังจัดหาที่อยู่ ให้อาหาร เสื้ อผ้าและเงิน บําเหน็จเป็ นบางครั้งบางคราว โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อเขาแต่งงาน นอกจากจํานวนเงินที่สามเณราลัยมิสซัง ต่างประเทศส่ งมาแล้ว ยังมีเงินช่วยเหลือที่มีผทู ้ าํ บุญถวายให้ แต่เงินช่วยเหลือที่มีคนสัญญาจะให้น้ นั ไม่ใช่วา่ ส่ งมาให้เสมอ บางทีก็ไม่ส่งมา ในปี ค.ศ. 1685 อับเบ เดอ ชัวซี สัญญาจะให้เงินปี ละ 300 ลิฟวรฺ เป็ นค่าเลี้ยงดูผสู้ อน คําสอน 4 คน สัญญาจะให้ปีละ 50 ลิฟวรฺ เป็ นค่าเลี้ยงดูลูกอุปถัมภ์ที่มีชื่อว่า ตีโมเลอ็อง มากูโน (Macouno) สัญญาจะให้ 50 ลิฟวรฺ สําหรับผูเ้ รี ยนคําสอน 2 คน แต่จนปี ค.ศ. 1690 แล้ว อับเบ เดอ ชัวซี ก็ยงั ไม่ส่งมาให้สักเก๊เดียว อีกประการ หนึ่ง ที่ไม่ส่งเงินมานั้น นอกจากเพราะเรื่ องผูท้ าํ บุญลืมไปแล้ว ยังเป็ นเพราะเหตุผลอื่นๆ อีก ในศตวรรษที่ 16 และ 17 นั้น ไม่ใช่เรื่ องง่ายที่จะส่ งเงินมาให้ชาวฝรั่งเศสในภาคตะวันออกไกล อย่างน้อยถ้าเราจะเปรี ยบวิธีต่างๆ ที่ใช้ใน สมัยนั้น กับวิธีที่เราใช้ได้ในทุกวันนี้ ถ้าบริ ษทั อินเดียตะวันออกจะส่ งเรื อมา เขาก็ส่งปี ละครั้ง บ่อยครั้ง ทีเดียว สาม เณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศต้องส่ งเงินมาทางประเทศสเปน ฮอลันดา หรื ออังกฤษ ถ้าหากว่าประเทศเหล่านี้ไม่ ทําสงครามกับประเทศฝรั่งเศส เงินนี้เมื่อส่ งได้แล้ว ก็มาเก็บไว้ที่เมืองปอนดิเชรี (อินเดีย) หรื อที่เมืองกวางตุง้ (จีน) แล้วค้างอยูท่ ี่นน่ั 6 เดือน หรื อ 1 ปี หรื อนานกว่านั้นอีก ระหว่างนั้นใครๆ ก็ตอ้ งกินด้วยกันทั้งนั้น ประมุขมิสซังหรื อ เหรัญญิกของมิสซัง ก็ตอ้ งไปยืมเงินมาใช้ บางทีก็ไปทูลขอยืมจากพระเจ้ากรุ งสยาม บางทีก็ไปยืมจากเอกชน ชาวสยามหรื อชาวยุโรป ไปยืมเขามาเป็ นเงิน บางทีก็ตอ้ งใช้เป็ นทอง จึงขาดทุนมากอักโขทีเดียว ในปี ค.ศ. 1679 คุณพ่อเกม ซึ่งขณะนั้นเป็ นเหรัญญิกของมิสซังบ่นว่าขาดทุนถึง 20% ในปี ค.ศ. 1701 คุณพ่อฌารอสซี เอร์ เขียนว่า "เรากําลังอยู่ในความทุกข์ ยากแค้ นและมีความยุ่งยากลําบาก มาก" เพราะฉะนั้น ในปี ค.ศ. 1703 พระสังฆราชเดอ ซีเซ จึงขอปี ละ 1,300 เอกู สําหรับมิสซัง, ซึ่ งแบ่งให้ 200 เอกู สําหรับพระสังฆราช, 200 เอกู สําหรับเป็ นค่าใช้จ่ายทัว่ ไป, 200 เอกู สําหรับมิชชันนารี 2 องค์, 100 เอกูสาํ หรับ พระสงฆ์พ้ืนเมือง 2 องค์ และ 600 เอกู สําหรับวิทยาลัยกลาง ในปี ที่ขา้ วยากหมากแพง เช่นในปี ค.ศ. 1712 และ 1713 ซึ่งในสองปี นั้นข้าวแพงกว่าธรรมดาถึงสิ บเท่า สภาพการณ์ของมิสซังคับขันมาก จนพระสังฆราช หลังจาก ยืมเงิน 10,000 ฟรังก์ ในประเทศฝรั่งเศส โดยจํานองฟาร์ม 2 แห่ง ของท่านในแคว้นโบส (Beauce) คือ ที่แอ็ง แตรฺ วลิ (Interville) และเลอ็องวิล (Léonville) แล้ว ต่อมาก็ส่งั ให้ขายเสี ย ในปี ค.ศ. 1716 นายเคตี (Guéty) กับ นายชารฺ บอโน เดินทางไปประเทศอินเดียเพื่อขอยืมเงิน แต่ที่สุดไม่ตอ้ งขอยืม เพราะนายเคตีได้รับมรดกเป็ นเงิน 3,000 เอกู จากน้องชาย ซึ่ งเป็ นพ่อค้าอยูท่ ี่เมืองปอนดิเชรี กบั เมืองมัทราสได้ถึงแก่กรรม พระสังฆราชเดอ ซีเซ นั้นถึงแม้จะยากจน ก็แสดงตนเป็ นคนใจกว้าง บรรดาคณาจารย์สามเณราลัยคณะ มิสซังต่างประเทศถึงกับกล่าวหาว่าท่านใช้จ่ายสุ รุ่ยสุ ร่าย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตําหนิวา่ ท่านใช้เงินของมิสซังช่วย ชาวยุโรปหลายคน เมื่อถูกตําหนิดงั นี้ พระสังฆราชตอบว่า "เมื่อเห็นนักบวชชาวสเปนคนหนึ่ง...ชาวสเปนสี่ คนที่มีสกุลสูงมาขอให้ ท่านช่ วย จะเป็ นการดีงาม และ สุจริ ต มีนา้ํ ใจกว้ างและจิตใจสูง หรื อที่จะบอกเขาว่ า "คุณพ่ อ คุณนี่คุณนั่น เราเสี ยใจที่คุณพ่ อ หรื อคุณได้ รับเคราะห์ กรรม แต่ เราช่ วยอะไรไม่ ได้ " จะให้ พูดอย่ าง นีห้ รื อ ? ไม่ พูดแน่ และตราบใดที่ข้าพเจ้ ายังมีชีวิตอยู่ จะไม่ ทาํ ความตํา่ ช้ าเช่ นนี "้
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
148 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
มูลเหตุจะเป็ นอย่างไรก็ตาม แต่พฤติการณ์เรื่ องนี้เป็ นความจริ ง ขณะนั้นมิสซังยากจนมาก ยากจนถึงกับใน วันตั้งศีลมหาสนิท 40 ชัว่ โมง (Fête des Quarante-Heures) เราจุดเทียนเพียง 6 เล่มเท่านั้น ซึ่งพวกโปรตุเกสเห็น เป็ นเรื่ องน่าละอาย และอีกเรื่ องหนึ่ง หลังคาโบสถ์รั่วเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1713 เราก็ได้แต่เอาใบไม้ไปมุงแทน กระเบื้อง "ซึ่ งการมุงเช่ นนีไ้ ม่ เข้ ากับหลังคาของสามเณราลัย ซึ่ งมุงด้ วยกระเบือ้ ง ไม่ สมกับศักดิ์ศรี ของโบสถ์ ซึ่ ง ใครๆ เรี ยกเป็ น อาสนวิหาร และยังไม่ ค่ ูควรกับเกียรติที่ได้ ชื่อว่ าเป็ นของชาวฝรั่ งเศส แต่ จะทําอย่ างไรได้ ?" เพราะฉะนั้นในปี ค.ศ. 1721 ฝนจึงตกลงในโบสถ์ "เหมือนกับตกข้ างนอก" จนกระทัง่ ในปี ค.ศ. 1724 คุณพ่อแตสซี เอร์ เดอ เกราเล (Tessier de Quéralay) ซึ่ งเพิง่ ได้รับแต่งตั้งเป็ น พระสังฆราชผูช้ ่วย ต้องใช้เงินของ ท่านเองทําการซ่อมแซม อันที่จริ ง การซ่อมแซมครั้งนี้ก็ทาํ กันอย่างดี อย่างน้อยก็เป็ นที่ถูกใจของชาวสยาม พระสังฆราชเดอ ซีเซ เขียนว่า "การตกแต่ งโบสถ์ จนมีโฉมหน้ าใหม่ เป็ นที่พึงพอใจเขาเป็ นอย่ างยิ่ง"
สภาพน่ าสลดของวิทยาลัยกลาง
k
เมื่อพระสังฆราชเดอ ซีเซ มาถึงกรุ งสยามใหม่ๆ วิทยาลัยกลางซึ่ งอยูท่ ี่กรุ งศรี อยุธยาเสมอ มีนกั เรี ยนราว 40 คน ซึ่งล้วนเป็ นชาวตะวันออก ที่มีแต่นกั เรี ยนชาวตะวันออกนั้นก็เพราะหลังจากมีประสบการณ์ได้เห็นผลไม่ดีหลาย ครั้ง เราจึงเลิกไม่รับพวกฝรั่งลูกครึ่ งเข้าในสํานักนี้ เนื่องจาก "ไม่ มีใครเคยอยู่ตลอดสักคนเดียว เว้ นแต่ อันโตนิโอ ปิ น โต" ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1684 มาแล้ว คุณพ่อเดอ บูรฌฺ เคยคาดการณ์ล่วงหน้าว่าจะเกิดผลเช่นนี้และก็เคยเรี ยนให้ พระสังฆราชลาโนทราบแต่พระสังฆราชเป็ นคนใจดีไม่อยากสั่งห้ามมิให้รับเขา ส่ วนพระสังฆราชเดอ ซีเซ กล้าทํา ท่านสั่งห้ามมิให้รับพวกฝรั่งลูกครึ่ งเข้าวิทยาลัยกลาง แต่มีการถืออย่างเคร่ งครัดตามมาตรการที่ส่งั หรื อ ? ก็เห็นจะ เปล่า เพราะในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1711 พระสังฆราชได้ประกอบพิธีศีลบวชขั้นอุปสังฆานุกรให้แก่ลูกครึ่ งคน หนึ่ง ซึ่งเป็ นลูกของชายชาวฮอลันดากับหญิงชาวมอญ และเป็ นบุตรบุญธรรมของชาวโปรตุเกสคนหนึ่ง คุณพ่อฌารอสซี เอร์ กับคุณพ่อก๊อดฟรัว (Godefroy) ผลัดกันเป็ นผูป้ กครองวิทยาลัยกลาง โดยมีผชู้ ่วย ซึ่ง บางครั้งก็เป็ นคุณพ่อวินแซนเต เลน บางครั้งก็เป็ นเณรที่มีอายุแล้ว คุณพ่อทั้งสองพยายามโอบอุม้ วิทยาลัยกลางไว้ อย่างสุ ดความสามารถ แต่ในปี ค.ศ. 1707 เพราะมิสซังยากจน จึงจําเป็ นต้องส่ งเณรส่ วนหนึ่งกลับไปประเทศโคชิน จีนและตังเกี๋ย ยังคงเหลือทั้งเณรเล็กและใหญ่ราว 30 คน เขาร่ วมในพิธีต่างๆ ที่โบสถ์ หย่อนใจในสวนของ สามเณราลัยหรื อตามเฉลียง "ทําให้ ความเวิง้ ว้ างของบ้ านมีชีวิตชี วาขึน้ บ้ าง" ในปี ค.ศ. 1712 คุณพ่อก๊อดฟรัวย้ายไปอยูม่ ิสซังโคชินจีน พระสงฆ์ซ่ ึงมาจากแคว้น เบงกอลชื่อ คุณพ่อ เยโรม โอลีวเี อรา (Jérome d'Oliviera) ได้รับแต่งตั้งให้มาประจําอยูท่ ี่วทิ ยาลัยกลาง แต่อยูไ่ ด้ไม่นานก็ถึงแก่ มรณภาพ และเพื่อไม่ปล่อยให้เณรอยูใ่ นความดูแลของ คุณพ่อวินแซนเต เลน คนเดียว พระสังฆราชเดอ ซีเซ ได้รับ เป็ นผูส้ อนปรัชญาเอง ท่านพยายามจะเอาพระสงฆ์เอากุสตินชาวสเปนองค์หนึ่ง ซึ่ งสมัครมาทํางานกับท่าน เป็ น ผูช้ ่วย แต่อยูไ่ ด้ 10 หรื อ 12 วัน พระสงฆ์องค์น้ ีก็ "วิวาทกับนักเรี ยน" จนพระสังฆราชต้องขอท่าน "อย่ าอยู่ต่อไปอีก" วิทยาลัยกําลังอยูใ่ นสภาพเนือยๆ ก็พอดีในปี ค.ศ. 1713 พระสังฆราชเดอ บูรฌฺ ซึ่ งถูกไล่ออกจากประเทศ ตังเกี๋ย เดินทางมาถึงพร้อมกับเณร 22 คน ทั้งยังมีเงินติดตัวมาด้วย ทําให้วทิ ยาลัยกลางกลับฟื้ นตัวขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง ตามคําแนะนําของพระสังฆราชเดอ บูรฌฺ ผูช้ ราแล้ว พระสังฆราชเดอ ซีเซ ได้ส่งั ให้ทาํ การอย่างหนึ่ง ซึ่งถูกต้องที่สุด คือ ท่านสัง่ ให้ยา้ ยวิทยาลัยกลางกลับไปอยูท่ ี่มหาพราหมณ์ ซึ่ งท่านได้รับมอบที่ดินคืน
iv h rc
e c io d rch
A s e
A l a
ic r o ist
H
คุณพ่อรุสต์ เป็ นอธิการวิทยาลัยกลาง - ความก้าวหน้ า
o e s
ko g n a fB
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 149
ในปี ค.ศ. 1714 มิชชันนารี องค์หนึ่ง ซึ่ งมีความสามารถอย่างน่าสรรเสริ ญในการปกครองสํานักอบรม มาถึงกรุ งสยาม ชื่อ คุณพ่ออังเดร รุ สต์ (André Roost) แห่งสังฆมณฑลรู องั (Rouen) สอบได้ปริ ญญาโทจาก มหาวิทยาลัยซอรฺ บอน เคยเป็ นผูป้ กครองวิทยาลัยแห่งหนึ่งที่กรุ งปารี สขณะนั้นเป็ นเวลาวิกฤติ เพราะคุณพ่อวินแซน เต เลน อาพาธมากแล้ว ไม่ชา้ ก็ถึงแก่มรณภาพในปี ค.ศ. 1717 แต่พอคุณพ่อรุ สต์ลงมือทํางาน วิทยาลัยกลาง ก็เปลี่ยนโฉมหน้า ท่านเป็ นอธิ การวิทยาลัยกลางที่มหาพราหมณ์ไม่ทนั ถึง 2 ปี พระสังฆราชเดอ ซีเซ ก็ร้องด้วย ความกระตือรื อร้นว่า "วิทยาลัยของเราสอนไม่ แพ้ คณะต่ างๆ ที่เคร่ งครั ดและมีกฎเกณฑ์ ดีที่สุดในมหาวิทยาลัย กรุ งปารี ส ไม่ ว่าในเรื่ องความศรั ทธาหรื อในเรื่ องความรู้ " ท่านยังพูดในที่อื่นว่า "ข้ าพเจ้ าถือว่ า การฟื ้ นฟูวิทยาลัยกลาง ขึน้ มาจนอยู่ในสภาพปั จจุบันนี ้ เป็ นของประเสริ ฐยิ่งกว่ าทองและบุษราคัมเสี ยอีก" คุณพ่อรุ สต์ได้คุณพ่อโลเลียรฺ -ปุยก็องตาต์ เป็ นผูร้ ่ วมงานไม่ถึงปี หนึ่ง ผูท้ ี่ช่วยท่านต่อไป ก็คือ คุณพ่อเลอ แมรฺ (Lemaire) กับเณรญวนอีกหลายคน การที่ขาดอาจารย์เช่นนี้ เป็ นเพราะมิชชันนารี ที่ส่งมากรุ งสยามมีจาํ นวน น้อย กล่าวคือ ตลอดเวลาที่พระสังฆราชเดอ ซีเซ ดํารงตําแหน่งเป็ นพระสังฆราชอยูใ่ นมิสซังกรุ งสยาม ได้รับ มิชชันนารี ท้ งั หมดเพียง 7 องค์เท่านั้น และในจํานวน 7 องค์น้ นั 2 องค์คือ คุณพ่อก๊อดฟรัว กับคุณพ่อเอิ๊ต นั้น ย้าย ไปอยูป่ ระเทศโคชินจีน องค์ที่สามคือ คุณพ่อเลอ เบรอต็อง มาจากประเทศตังเกี๋ย แต่พอมาถึง ก็ถึงแก่มรณภาพ ส่ วนองค์ที่สี่คือ คุณพ่อเดอ โลเลียรฺ ได้รับแต่งตั้งเป็ นรองเหรัญญิกที่เมืองปอนดิเชรี เพราะฉะนั้น เพื่อเป็ นการ ช่วยเหลือคุณพ่อรุ สต์ ในปี ค.ศ. 1720 พระสังฆราชเดอ ซีเซ จึงอาสาช่วยสอนภาษา ลาติน ในเมื่อท่านอายุถึง 72 ปี แล้ว คุณพ่อรุ สต์ซาบซึ้งในความเสี ยสละของพระสังฆราชเป็ นอย่างยิง่ ท่านเชื่อโดยถูกต้องว่า ประมุขมิสซังควร ประจําอยูท่ ี่สาํ นักพระสังฆราช ไม่ใช่อยูท่ ี่วทิ ยาลัยกลาง ในปี ค.ศ. 1717 พระสังฆราชเลอ บลังก์ (Le Blanc) ส่ งเณรจีนมา 7 คน ทําให้จาํ นวนเณรเพิ่มขึ้นอีก เณร ที่ส่งมานั้นส่ วนใหญ่เป็ นเณรเก่าของคุณพ่อเดอ ลา บาลือแอรฺ และมีอยูค่ นหนึ่งชื่อ อังเดร หลี เป็ นคนมีคุณธรรม ความร้อนรนและความสามารถมาก จะโอบอุม้ คํ้าจุน มิสซังเสฉวนไว้เป็ นเวลาหลายปี โรงเรี ยนเล็กๆ ที่อยุธยา ซึ่งมี นักเรี ยนประมาณ 20 คน และเป็ นดังสถานที่ทดสอบนั้น ก็ส่งนักเรี ยนบางคนมาเรี ยนต่อที่วทิ ยาลัยกลางเหมือนกัน ในปี ค.ศ. 1718 วิทยาลัยกลางมีเณร 50 คน ซึ่ งในจํานวนนี้ 14 คนมาจากกรุ งสยาม, 24 คนมาจากประเทศ ตังเกี๋ย, 5 คนมาจากประเทศโคชินจีน และ 7 คนมาจากประเทศจีน เณรทั้งหมดแบ่งเป็ น 6 ชั้น ชั้นที่หนึ่งสอนเทวศาสตร์และปรัชญา ชั้นที่สองสอนวรรณคดีลาติน ชั้นอื่นๆ นอกนั้นสอนภาษาลาติน กับภาษาทางภาคตะวันออกไกล แนวใหญ่ๆ ของกฎวินยั ที่ตอ้ งถือในวิทยาลัยกลาง มีดงั ต่อไปนี้ :
k
iv h rc
e c io d rch
A s e
A l a
ic r o ist
H
5.00 น. 5.30 น. 6.00 น. 7.00 น. 8.00 น. 9.00 น. 10.00 น. 11.30 น. 12.00 น. 14.00 น.
ลุกขึ้น ภาวนาส่ วนตัว, รําพึง, ภาวนาพร้อมกัน เรี ยนด้วยตนเอง มิสซา อาหารเช้า, หย่อนใจครึ่ งชัว่ โมง เรี ยนด้วยตนเอง เรี ยนกับอาจารย์ ขับร้องเพลงเกรโกเรี ยน อาหารเที่ยง, หย่อนใจ เรี ยนด้วยตนเอง
o e s
ko g n a fB
150 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
15.30 น. 17.00 น. 18.30 น. 20.00 น.
เรี ยนกับอาจารย์ ทํางานในสวน เช่น ถมดิน, ขุดบ่อ "เพราะลําพังเขาเอง ไม่ ชอบออกกําลังกาย มากๆ ; การทํางานทําให้ เขาแข็งแรง และเหนื่อย" ; เขาทําสวนและหาปลา "เป็ นการประหยัดเงิน" สวดสายประคํา, อาหารคํ่า, หย่อนใจ ทําวัตรคํ่า, อ่านหนังสื อศรัทธา, ภาวนา, เรี ยนเอง
คุณพ่อรุ สต์อยากให้เลิกการเรี ยนเองครั้งสุ ดท้ายนี้ เพราะไม่เคยทําตามวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศฝรั่งเศส แต่ในที่สุด ท่านก็ยอมให้มีต่อไป เพราะเณรบอกว่า "เป็ นเวลาที่ดีที่สุดสําหรั บทํางาน" วันอาทิตย์ท้ งั วันอุทิศให้แก่การสวดภาวนา สลับด้วยการแปลคําสอน และมีการเพิ่มให้อีกอย่างหนึ่งคือ การบรรยายพระคัมภีร์ ในสมัยอธิ การคนก่อนๆ วันอาทิตย์และวันฉลองต่างๆ นักเรี ยนเคยไปร่ วมพิธีในโบสถ์ นักบุญโยเซฟที่ อยุธยา คุณพ่อรุ สต์เห็นว่าการออกจากบ้านบ่อยๆ เช่นนี้ "ทําให้ จิตใจวอกแวก เป็ นที่เสี ยหายแก่ การเรี ยน" จึงสั่งให้ เลิกธรรมเนียมนี้เสี ย วิทยาลัยกลางปิ ดภาคเรี ยน 3 เดือน ตั้งแต่วนั ที่ 1 กันยายน ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน คุณพ่อรุ สต์ส่งั หนังสื อคลาสสิ กมาจากประเทศฝรั่งเศส หนังสื อเหล่านี้ขาดมือมาตั้งแต่สมัยที่วทิ ยาลัยกลาง ถูกปล้นในปี ค.ศ. 1688 ; ท่านจัดให้มีการสอบไล่ ที่มีพระสังฆราชนัง่ เป็ นประธาน และมีมิชชันนารี แม้ที่อยูน่ อก มิสซัง อยูฟ่ ังด้วย ; ท่านจัดให้มีการแจกรางวัลอย่างสง่าแก่ผสู้ อบไล่ได้ ท่านยังตั้งระเบียบวินยั ให้อ่อนลง ทั้งลด การลงโทษให้เบาลงด้วย เช่น จะให้ใช้หวายเฆี่ยน ก็เฉพาะคนที่ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น เพราะ คุณพ่อรุ สต์เห็นว่า "พวกครู โดยเฉพาะครู ที่เป็ นชาวจีนเป็ นต้ น ทําโทษหนักเกินไป" เช่น นักเรี ยนเขียนผิดไวยากรณ์ ในการบ้านกี่คาํ หรื อท่องบทเรี ยนผิดกี่คาํ ก็เอาหวายเฆี่ยนเท่านั้นที การที่คุณพ่อรุ สต์ลดความเข้มงวดให้เบาบางลงเช่นนี้ ไม่ใช่เพราะท่านเป็ นคนอ่อนเกินไป แต่หากเป็ น เพราะท่านเป็ นคนใจรักความยุติธรรม ท่านเฝ้ าดูเณรด้วยความเอาใจใส่ อย่างไม่รู้จกั ลดถอยน้อยลง เวลากลางวัน ท่านเล่นหย่อนใจอยูก่ บั เณร เวลากลางคืน ท่านลุกขึ้นไปตรวจดูตามห้องนอน ท่านถือหลักประการหนึ่งคือ จะไม่ฟังการสารภาพบาปของเณร ผูท้ ี่มาฟังการสารภาพบาปของเณรคือ พระสงฆ์ที่อยูว่ ดั อยุธยา แต่ท่านรับเป็ นผูด้ ูแลวิญญาณของเณร ท่านมีความคิดเห็นทัว่ ไปเกี่ยวกับเณรดังนี้: "เขาเป็ น เด็กดี มีความเกรงกลัวพระเป็ นเจ้ าอย่ างแท้ จริ ง แต่ หลายคนอ่ อนแอมากในการถือความบริ สุทธิ์ บางคนถูกการ ประจญมาก แต่ ต่อต้ านอย่ างกล้ าหาญ"
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
H
สิ่ งปลูกสร้ างใหม่ การจัดวิทยาลัยกลางให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อยดูเหมือนจะสําเร็ จและครบถ้วนได้ก็ดว้ ยการก่อสร้างอาคาร ใหม่ข้ ึนมาอีก อาคารที่มีอยูแ่ ล้วล้วนสร้างขึ้นด้วยไม้ไผ่และใบไม้ท้ งั สิ้ น ก่อนอื่น คุณพ่อรุ สต์สร้างโบสถ์หลังหนึ่ง เป็ นโบสถ์นอ้ ย ทําด้วยดินและไม้กระดาน โบสถ์น้ ี "สะอาดสะอ้ าน และชวนให้ เกิดความศรั ทธา" ต่อไปท่านก็สร้าง ห้องอาหาร แต่ที่สร้างนั้นก็เป็ นการสร้างแบบชัว่ คราว และในปี ค.ศ. 1719 วิทยาลัยอยูใ่ นสภาพชํารุ ดทรุ ดโทรม จนความชื้น ที่เกิดขึ้นในฤดูฝน ทําให้ท้ งั อาจารย์และนักเรี ยนเจ็บป่ วยไปตามๆ กัน
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 151
ดังนั้น คุณพ่อรุ สต์จึงคิดจะสร้างอาคารขึ้นใหม่ แต่ทา่ นไม่มีอะไรสักอย่าง พระสังฆราช เดอ ซีเซ พูดใน ทํานองให้เข้าใจว่า เป็ นการสัญญากลายๆ จะให้เงินท่าน 10 ชัง่ 6 อธิการ น่าสงสารกล่าวว่า "แต่ ข้าพเจ้ าสงสัยเป็ น กําลังว่ า ใครจะสร้ างบ้ านให้ คน 60 คน กลุ่มหนึ่งอยู่ได้ ด้วยเงินน้ อยนิดเท่ านี ้ แต่ ยงั สงสัยมากยิ่งกว่ านั้นอีกว่ า พระสังฆราชองค์ นีจ้ ะมีให้ ข้าพเจ้ าได้ ถึงสิ บชั่งอย่ างไร" อย่างไรก็ตามท่านลงมือซื้อวัสดุ แล้วก็ส่งั ให้เณรทํางาน ที่สุดท่านก็ได้รับเงินช่วยเหลือ 500 เปี ยสตร์จาก สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศ ครั้นถึงปี ค.ศ. 1723 การก่อสร้างอาคาร ซึ่ งเป็ นไม้ท้ งั หมด "แบบครึ่ งยุโรป ครึ่ งเอเชี ยอาคเนย์ " ก็เป็ นอันแล้วเสร็ จ อาคารหลังนี้ "มีหน้ าต่ างภายนอก 19 บาน สูง 30 ฟุต ส่ วนหลังคามุงด้ วย กระเบือ้ ง" "วิทยาลัยใหม่ นีใ้ ครๆ ก็ชมเปาะ ถึงจะให้ ช่างสถาปนิกที่เชี่ ยวชาญที่สุดในฝรั่ งเศสสร้ าง ก็คงสร้ างให้ ดีกว่ า นีไ้ ม่ ได้ " นี่เป็ นความเห็นของพระสังฆราช ของคุณพ่อโอม็องต์ และมิชชันนารี ทุกองค์ที่ผา่ นมากรุ งสยาม
คุณพ่อรุสต์ ถูกกล่าวหาเป็ นยันเซนิสต์
k
การที่คุณพ่อรุ สต์ทาํ งานต่างๆ เป็ นผลสําเร็ จดังนี้ ทําให้เกิดความริ ษยา แล้วเป็ นเหตุให้ท่านถูกฟ้ องว่าเป็ นยัน เซนิสต์จนถึงกรุ งโรมหรื อไม่ ? คุณพ่อเลอแมรฺ เชื่อว่าเป็ นเช่นนั้น สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศได้รับคํากล่าวหา ดังกล่าว แล้วคุณพ่อเดอ บรี ซาซีเอร์ 7 ก็ขอ พระสังฆราช เดอ ซีเซ ส่ งคุณพ่อรุ สต์กบั มิชชันนารี อีกองค์หนึ่ง ซึ่งถูก ฟ้ องในข้อหาเดียวกันคือ คุณพ่อโอม็องต์ กลับไปยังยุโรป พระสังฆราชเดอ ซีเซ กล่าวป้ องกันพระสงฆ์ 2 องค์ของ ท่าน รับรองว่าเขามีความเชื่ออันบริ สุทธิ์แท้ และมีความนอบน้อมต่อพระสันตะสํานัก บรรดาสามเณรก็รู้วา่ ท่าน ถูกกล่าวหาดังนี้ และเข้าข้างอธิการของตน สามเณรคนหนึ่งชื่อ อังเดร หลี กล่าวแก้วา่ ท่านไม่เคยสอนอะไรที่โน้ม เอียงไปทางลัทธิยนั เซนิสต์เลย ส่ วนคุณพ่อรุ สต์เองก็เขียนบันทึกฉบับหนึ่งในปี ค.ศ. 1725 หักล้างข้อกล่าวหาของผู้ ฟ้ องท่านได้หมดทุกข้อ สุ ขภาพของมิชชันนารี ผเู้ สี ยสละเสื่ อมโทรมมาก เพราะได้ตรากตรําทํางานมาอย่างโชกโชน ท่านจึงมีแต่ อาการละเหี่ยเพลียใจ พระสังฆราชเดอ ซีเซ เสี ยดายท่านมาก ยกย่องคุณสมบัติของท่าน และขอบรรดาคณาจารย์ แห่งสามเณราลัยมิสซังต่างประเทศช่วย "หาคนที่สาํ เร็ จปริ ญญาตรี หรื อปริ ญญาโทจากมหาวิทยาลัยกรุ งปารี ส ที่มี นิสัยเช่ นนีแ้ ละมีใจเร่ าร้ อน ในการช่ วยคนต่ างศาสนาให้ กลับใจ จะเท่ ากับเป็ นของขวัญแก่ ชาวตะวันออก เป็ น ของประเสริ ฐและมีค่ายิ่งกว่ าเพชรพลอยและภาพวาดทั้งหมด" เขาหาคนที่พระสังฆราชต้องการก็เป็ นได้ แต่หาไม่ พบ เรามีวาสนาอันหาได้ยากคือ ได้พบคนที่มีความสามารถและได้รับการอบรมทาง วิชาครู อย่างดีเยีย่ มมาแล้ว ; เรารู ้จกั จัดให้เขาอยูใ่ นที่ที่เหมาะกับเขา ; คนๆ นั้นก็ทาํ งานอย่าง เต็มสติกาํ ลัง ไม่กลัวจะอุทิศตนจนเกินไป แล้วเราก็ ได้รับผลอย่างที่ไม่เคยเห็นมาเลยนับแต่สมัยคุณพ่อป๊ อกเกต์ บัดนี้จะต้องคอยอีกนานแสนนาน กว่าจะพบคนที่มี ความสามารถและรู ้จกั ปกครองสํานักอบรมนักบวชอย่างดีเลิศเช่นนี้อีก
iv h rc
A s e
A l a
ic r o ist
e c io d rch
H
การโต้ แย้ งกับชาวโปรตุเกส
6เงินหนึ่งชัง่ เท่ากับ เงินฝรั่งเศส 150 ฟรังก์ 7อธิการสามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศ ที่กรุ งปารี ส (ผูแ้ ปล)
o e s
ko g n a fB
152 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
ความยุง่ ยากน่ารําคาญซึ่งชาวโปรตุเกสก่อให้เกิดขึ้นแก่พระสังฆราชเดอ ซีเซ นั้น เราจะ ไม่กล่าวเสี ยเลย ไม่ได้ เพราะการไม่กล่าวถึงเลยนั้นจะทําให้เราไม่รู้เรื่ องหนึ่งซึ่ งน่าเสี ยใจก็จริ ง แต่จาํ เป็ นสําหรับจะเข้าใจประวัติ ของมิสซังกรุ งสยามในยุคนี้ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1702 ถึงปี ค.ศ. 1704 มีความสงบราบรื่ นระหว่างประมุขมิสซังกรุ งสยามกับบรรดานักพรตเย สุ อิตและดอมินิกนั ซึ่ งรับรู ้อาํ นาจปกครองของท่าน แต่ในปี ค.ศ. 1705 พระสังฆราชแห่งมะละกาชื่อ มานูแอล อา ซานโต อันโตนิโอ ส่ ง vicaire de vara คนหนึ่งมายัง กรุ งสยาม อ้างว่ากรุ งสยามทั้งประเทศขึ้นกับผูใ้ หญ่ของตน และเมื่อขึ้นกับผูใ้ หญ่ของตน ก็ข้ ึนกับตน ซึ่ งมีอาํ นาจอย่างกว้างขวางเท่ากันด้วย พระสังฆราชเดอ ซีเซ ใคร่ อธิบาย ให้เขาเห็นว่าเขาเข้าใจผิด แต่เขาไม่ยอมฟังพระสังฆราชจึงประกาศลงโทษห้ามมิให้ประกอบงานในหน้าที่ (interdict) ก่อน แล้วภายหลัง ตัดเขาขาดจากพระศาสนจักร (excommunication) โทษทั้งสองนี้มิได้มีผลอะไร อื่น นอกจากสร้างความโกรธแค้นให้แก่ vicaire de vara และพรรคพวก ซึ่งพกพาอาวุธมาล้อมสามเณราลัย ฉีก คําพิพากษาลงโทษของพระสังฆราช ซึ่ งปะติดอยูท่ ี่ประตูโบสถ์ แล้วขู่จะจับตัวพระสังฆราชนําไปยังเมืองกัว พระสังฆราชเดอ ซีเซ เห็นจะยอมให้มีการทําผิดร้ายแรงเช่นนี้ไม่ได้ จึงสั่งด้วยอํานาจที่มีตามกฎหมายพระศาสนจักร ให้พระสังฆราชแห่งมะละกา "ไปปรากฏตัวด้ วยตนเอง หรื อมอบฉันทะให้ ผ้ อู ื่นไปแทน ณ ศาล ของพระสังฆราช เดอ ตูรฺ น็อง (de Tournon) ผู้เป็ นทูตพิเศษของพระสันตะปาปาในประเทศจีน" ในปี ค.ศ. 1709 พระสังฆราชเดอ ตูรฺน็อง สั่งให้พระสังฆราชแห่งมะละกาไปแก้คดี และ "ถ้ าไม่ ไป ก็จะปรั บให้ เสี ย 1,000 เอกูทองของสํานักโรมัน เพื่อนําไปใช้ ในกิจการที่พระสันตะปาปาทรงเห็นสมควร" คําสั่งนี้คงไม่มีผลแต่ประการใด พระสงฆ์ดอมินิกนั องค์หนึ่งชื่อ คุณพ่อเปโดร เด อัสซุมเปเอา (Pedro de Assumpeao) ก็ปฏิเสธไม่ยอม รับรู้อาํ นาจปกครองของประมุขมิสซัง และเมื่อมาเยีย่ มพระสังฆราชเดอ ซีเซ ครั้งหนึ่ง เขาคํานับท่าน พูดว่า "ผม ไม่ ใช่ มาขออ่ อนน้ อมอยู่ใต้ อาํ นาจของพระคุณเจ้ านะครั บ !" แต่หลังจากอยูท่ ี่อยุธยา 2 ปี แล้ว ในที่สุดพระสงฆ์ดอ มินิกนั ก็ยอมอ่อนน้อมยอมอยูใ่ ต้อาํ นาจของท่าน พระสงฆ์เยสุ อิต 2 องค์คือ คุณพ่อฟรังซิสโก เตลเลส (Francisco Tellez) กับคุณพ่ออันโตนิโอ ซูอาเรส (Antonio Suarez) ก็ทาํ การต่อต้าน แล้วยอมอ่อนน้อมตามแบบฉบับของ คุณพ่อเปโดร เมื่อปี ค.ศ. 1718 พระสังฆราชซีเซ ให้คุณพ่อโบรด์ไปเชิญพระสงฆ์ท้ งั สองมาปรากฏตัวต่อหน้าท่าน ทั้งสองไม่ยอมมา คุณพ่อโบรด์ ถามว่า ทําไมเขาไม่มา อย่างน้อยก็ถือเป็ นการเยีย่ มพระสังฆราช เขาตอบว่า "เพราะจะดูประหนึ่งเรายอมรั บอํานาจ ปกครองของท่ าน และการยอมรั บเช่ นนั้นจะทําให้ เรายุ่งยากลําบากใจมาก เพราะคําสั่งที่ได้ รับจากพระสั งฆราช สํานักโปรตุเกส" แล้วคุณพ่อเตลเลสพูดต่อว่า "พระสังฆราชมะละกาอ้ างว่ ามีอาํ นาจปกครองในที่นี้ ส่ วน พระสังฆราชแห่ งซาบืล (พระสังฆราชเดอ ซี เซ) ก็ว่าไม่ จริ ง ขอให้ ข้อขัดแย้ งนีไ้ ปว่ ากันให้ เสร็ จเรื่ องระหว่ าง พระสันตะสํานัก กับพระราชสํานักกรุ งโปรตุเกสเถิด ! จะมาก่ อกวนให้ เราไม่ สบายใจทําไม เพราะเป็ นแต่ คนใน บังคับและผู้น้อย แล้ วทําไมจะมาทําให้ เกิดเรื่ องอือ้ ฉาวบ่ อยๆ เช่ นนีเ้ ล่ า ?"
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 153
คําพูดเหล่านี้ก็มิใช่ไม่มีความคิดสุ ขมุ ในทางปฏิบตั ิ และพระสังฆราชเดอ ซีเซ ก็ยงั นํามาใช้เป็ นแนวทางใน ความประพฤติ เพราะคุณพ่อโบรด์เขียนเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 8 ว่า "พระสังฆราชเดอ ซี เซ เชื่ อตระหนักว่ า การ ฟ้ องร้ องเขามีแต่ จะทําให้ เกิดเรื่ องฉาวโฉ่ ตามที่มีประสบการณ์ มาในอดีตจึงเป็ นการสมควรกว่ าที่จะไม่ ทาํ ให้ เกิดผล ร้ ายยิ่งกว่ านี"้ ในปี ค.ศ. 1721 คุณพ่อซูอาเรส กับคุณพ่อเตลเลส ซึ่งเป็ น "พระสงฆ์ เยสุอิตใน bandel 9 โปรตุเกส" ได้ยอมรับรู ้อาํ นาจปกครองของประมุขมิสซังกรุ งสยามอย่างเป็ นทางการ และตามคําสั่งแข็งแรงจากผูใ้ หญ่ ได้ทาํ การสาบานต่อหน้าพระสังฆราชตามพระบัญชาของพระสันตะปาปา อินโนเซนต์ ที่ 11 เกี่ยวกับ จารี ตประเพณี ของชาวจีน ในวันเดียวกันนี้ ได้มีการเขียนเอกสารสําคัญอย่างเป็ น ทางการเกี่ยวกับเรื่ องนี้ แล้วลง นามโดยพระสังฆราชเดอ ซีเซ กับนักพรตทั้งสองด้วย 10
ความพยายามจะให้ มคี วามสั มพันธ์ ทางการทูตกันใหม่ ในระหว่างที่พระสังฆราชเดอ ซีเซ ดํารงตําแหน่งเป็ นพระสังฆราชนั้น ได้มีการพูดกันสองหรื อสามครั้งถึง เรื่ องจะผูกความสัมพันธ์กนั ใหม่ระหว่างกรุ งสยามกับกรุ งฝรั่งเศส การพูดกันถึงเรื่ องนี้มีข้ ึนเป็ นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1703 เจ้าเดื่อ (พระเจ้าเสื อ) ได้ทรงแสดงให้ประมุขมิสซังทราบถึง "พระราชประสงค์ ให้ เรื อฝรั่ งเศสมายังกรุ ง สยาม และจะโปรดให้ เขาได้ รับผลประโยชน์ มากยิ่งกว่ าชนชาติใดๆ" ยิง่ กว่านั้นพระองค์ทรงแสดงว่า ทรงรี บร้อนที่ จะเห็นโครงการนี้สาํ เร็ จเป็ นจริ ง และทรงขอร้องพระสังฆราชเดอ ซีเซ ให้มีหนังสื อถึงกรุ งฝรั่งเศสและเมืองปอนดิเช รี ในทันที เป็ นธรรมดาที่พระสังฆราชจะต้องทูลตอบว่า จะปฏิบตั ิตามที่พระเจ้าแผ่นดินทรงมี พระบัญชา แต่เนื่องจาก โดยใจจริ งท่านไม่เชื่อว่าชาวไทยจะมีไมตรี จิตต่อชาวฝรั่งเศส ทั้งไม่เชื่อถึงความเป็ นไปได้ที่กรุ งฝรั่งเศสจะได้รับ ผลประโยชน์จริ งจังจากกรุ งสยาม จึงกราบทูลด้วยความเคารพให้พระองค์ทรงทราบว่า "ท่ านรั บประกันไม่ ได้ ว่าจะ ประสบความสําเร็ จ ในเรื่ องที่ท่านบงการให้ เป็ นไปตามรั บสั่งไม่ ได้ " แล้วท่านก็เขียนถึงสามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศ ตามที่พระเจ้าแผ่นดินทรงมีพระประสงค์ ถึงกระนั้น ก็ดี "เนื่องจากข้ าหลวงฝรั่ งเศสอาจจะพิจารณาเรื่ องต่ างๆ ในทัศนะที่ต่างกับท่ าน และถ้ าไม่ มีเรื อมา พระเจ้ าแผ่ นดิน อาจจะถือเป็ นการดูหมิ่น และหาเรื่ องแก้ เผ็ดเอากับสามเณราลัยและวิทยาลัยกลาง" ท่านจึงมีหนังสื อถึงเสนาบดีเดอ ป็ องชารฺ แตร็ ง แต่หนังสื อนั้น มิได้มีเนื้อความรบเร้าแข็งแรง พระสังฆราช "ขอมอบเรื่ องนีใ้ นพระหัตถ์ ของพระเป็ น เจ้ า และขอให้ การณ์ เป็ นไปตามความสุขมุ และความปรี ชาฉลาดของท่ านเสนาบดี " ที่เขียนดังนี้แปลว่าท่าน ไม่อยาก เอาเป็ นธุระ ท่านมีหนังสื อถึงข้าหลวงเมืองปอนดิเชรี ดว้ ย ท่านฝากหนังสื อเหล่านั้นไปกับนักพรตคณะนักบุญเอากุ สตินคนหนึ่งชื่อ คุณพ่อนิโกเลา ซีมา (Cima) ที่มาจากประเทศจีนและกําลังจะกลับไปยุโรป แต่ท่านเตือนคณาจารย์ สามเณราลัยที่กรุ งปารี สอย่าไว้ใจผูน้ าํ หนังสื อไปให้มากนักเพราะท่านเห็นเขาทําและพูดเกินกว่าที่ควรจะทําและพูด
k
iv h rc
e c io d rch
A s e
A l a
ic r o ist
H
8เอกสารคณะมิสซังต่างประเทศ เล่มที่ 882 หน้า 596 9คํา bandel ไม่ทราบว่าแปลว่ากระไร หาในพจนานุกรมหลายเล่ม ไม่มีคาํ นี้ (ผูแ้ ปล) 10เอกสารคณะมิสซังต่างประเทศ เล่มที่ 882 หน้า 681
o e s
ko g n a fB
154 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
การณ์ได้เป็ นไปตามที่พระสังฆราชเดอ ซีเซ คาดคิดไว้ทุกประการ กล่าวคือ ไม่มีใครทั้งที่กรุ งปารี ส และ เมืองปอนดิเชรี สนใจใยดีต่อคําเชื้อเชิญของพระเจ้าแผ่นดินกรุ งสยาม และการณ์ ก็เป็ นเช่นเดียวกันในสมัยรัฐบาล ของพระเจ้าแผ่นดินที่ข้ ึนครองราชสมบัติสืบต่อจากเจ้าเดื่อ คือ พระเจ้าแผ่นดินองค์ที่พระสังฆราชปัลเลอกัวบอกว่า ไม่ทราบทรงมีพระนามว่ากระไร แต่นกั ประพันธ์บางคนตั้งพระนามให้ง่าย ๆ ว่า "สรรเพชญ์ ที่ 9 (San Rapid IX)" 11 อย่างไรก็ตาม ในปี ค.ศ. 1708 พระสังฆราชเดอ ซี เซ แจ้งให้คณาจารย์สามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศ ทราบว่า ชาวฮอลันดาและชาวอังกฤษถือว่าคลังสิ นค้าของเขาในกรุ งสยามมีความสําคัญมาก กับอีกเรื่ องหนึ่ง พระ เจ้ากรุ งสยามทรงแสดงพระราชประสงค์อีกครั้งหนึ่งที่จะเห็นเรื อฝรั่งเศสมากรุ งสยาม ในปี ค.ศ. 1714 และ 1715 นายเอแบรต์ (Hébert) ข้าหลวงเมืองปอนดิเชรี เขียนถึง พระสังฆราชเดอ ซีเซ เกี่ยวกับเรื่ องนี้คือ เขาถามท่านอย่างตรงไปตรงมาว่า ชาวสยามมีความคิด เห็นอย่างไรกับเรื่ องจะยกเมืองมะริ ดให้แก่ ประเทศฝรั่งเศส พระสังฆราชเดอ ซีเซ สอบถามขุนนางบางคน โดยเฉพาะอย่างยิง่ นายเรอเน ชารฺ บอโน ซึ่ งเป็ นอดีตผูช้ ่วย มิชชันนารี และได้เป็ นเจ้าเมืองถลาง12 ต่อมาไปอยูท่ ี่กรุ งศรี อยุธยา ทําการค้าขายและประกอบการบุญการกุศล "เกี่ยวกับความคิดจิตใจของชาวสยาม เขามีความรู้ ความเข้ าใจ ที่ใครๆ เชื่ อได้ โดยไม่ ต้องกลัวจะหลงผิด" นายชารฺ บอ โนตอบว่า ชาวสยามถือว่าเมืองมะริ ดเป็ นเมืองที่จาํ เป็ นอย่างเด็ดขาดสําหรับการค้าของเขาและ "การที่ในอดีตเขาเคย พูดเป็ นนัยว่ าจะยกให้ นั้นพูดเพื่อหาทางทําให้ ฝรั่ งเศสเคลิบเคลิม้ และชวนให้ ส่งทูตมาทําให้ เขาได้ รับเกียรติและมีผล กําไรเท่ านั้นเอง" ในความรู ้สึกของพระเจ้ากรุ งสยามเองนั้น พระสังฆราชเดอ ซีเซ กล่าวเสริ มว่า "ใครลองนําเรื่ องนี ้ ไปทูลต่ อพระองค์ สิ ก็จะทําให้ พระองค์ ทรงเดือดพลุ่งพล่ านขึน้ มาทีเดียว" ข้าหลวงเอแบรต์ถือว่า ได้สอบถามจนรู้ เรื่ องถูกต้องดีแล้ว ก็มิได้รบเร้าในเรื่ องนี้อีก
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
H
11พระเจ้าอยูห่ วั ท้ายสระ หรื อที่ชาวบ้านตั้งพระนามให้วา่ "พระเจ้าปลา" หรื อ "ขุนหลวงทรงปลา" เพราะชอบเสวยปลาตะเพียน จนห้ามมิให้ ประชาชนจับปลานี้ ถ้าฝ่ าฝื น จะถูกปรับ 5 ตําลึง (ผูแ้ ปล) 12ในที่อื่นๆ กล่าวว่า นายเรอเน ชารฺ บอโน เป็ นเจ้าเมืองตะนาวศรี ไม่ใช่เจ้าเมืองเกาะถลาง (Jonselang) ในที่น้ ี เข้าใจว่าคงมีการเข้าใจผิดหรื อ พลั้งเผลอกระมัง (ผูแ้ ปล)
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 155
คุณพ่อแตสซิเอร์ เดอ เกราเล เป็ นพระสั งฆราชผู้ช่วย ระหว่างนั้น พระสังฆราชเดอ ซีเซ ประมุขมิสซังกรุ งสยามก็เริ่ มชราลง ในปี ค.ศ. 1715 ท่านอายุได้ 67 ปี แล้ว จึงขอสังฆราชผูช้ ่วยองค์หนึ่ง ที่ท่านขอครั้งนี้ไม่ใช่เป็ นการขอครั้งแรก เพราะในปี ค.ศ. 1702 ก่อนที่จะมาถึง กรุ งสยาม ท่านได้แสดงความปรารถนาในเรื่ องนี้มาครั้งหนึ่งแล้ว และในปี ค.ศ. 1703 ได้แสดงอีกครั้งหนึ่ง โดยอ้าง ว่าสุ ขภาพของท่านไม่ดี โดยที่เห็นว่าเหตุผลของท่านไม่พอ และก็ไม่พอจริ งๆ กรุ งโรมจึงมิได้อนุโลมตามที่ท่านขอ แต่ครั้งนี้กรุ งโรม เห็นว่ามีเหตุมีผลพอ และเนื่องจากกรุ งสยามไม่มีมิชชันนารี อื่นนอกจากคุณพ่อโบรด์ ผูไ้ ม่มี คุณสมบัติของนักปกครอง กับคุณพ่อรุ สต์ซ่ ึ งเพิ่งเดินทางมาถึง คณาจารย์สามเณราลัยแห่งมิสซังต่างประเทศจึง จัดการให้เลือกเอาคุณพ่อแตสซี เอร์ เดอ เกราเล เหรัญญิกที่เมืองปอนดิเชรี ต้ งั แต่ ปี ค.ศ. 1699 พระสมณโองการ ของพระสันตะปาปาลงเดือนตุลาคม ค.ศ. 1717 แต่งตั้งท่านเป็ นพระสังฆราชเกียรตินามแห่งโรซาลี และเป็ น สังฆราชผูช้ ่วยประมุขมิสซังกรุ งสยาม ท่านเกิดในราวปี ค.ศ. 1668 ในสังฆมณฑลนังต์ (Nantes) และตามคําบอกเล่าที่ เลื่อนลอยนิดหน่อยของ มิชชันนารี บางคน ท่านดูเหมือนจะเคยเป็ นทหาร ท่านเป็ นคนรักการเรี ยน หนักแน่น และเฉลียวฉลาด ท่านลังเลใจ อยูเ่ ป็ นเวลานานพอสมควร ก่อนที่จะรับตําแหน่งผูช้ ่วยสังฆราช ซึ่ งท่านยังมิได้เตรี ยมตัวมาก่อนเลย ที่สุดในปี ค.ศ. 1720 ท่านก็ตกลงรับ เดินทางมายังเมืองมะริ ด แล้วอยูท่ ี่วดั เมืองนี้ราว 2 ปี เพื่อหัดให้คุน้ กับงานแพร่ ธรรมที่ ท่านยังไม่เคยทํามาก่อนเลย ครั้นถึงปี ค.ศ. 1723 ท่านก็เดินทางมายังกรุ งศรี อยุธยา และได้รับการอภิเษกในปี เดียวกัน เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ท่านเป็ นสังฆราชผูช้ ่วยอยู่ 4 ปี ค่อยๆ เรี ยนรู้ขนบประเพณี ของชาวสยาม พักอยูท่ ี่ วิทยาลัยกลางที่มหาพราหมณ์ แต่ "มักขลุกอยู่แต่ ในห้ อง" เพราะเคยเป็ นเหรัญญิก ที่ปอนดิเชรี มาก่อน เรื่ องนี้ทาํ ให้ พระสังฆราชเดอ ซีเซ บ่นเสี ยดายเป็ นอันมาก
k
พระสั งฆราชเดอ ซีเซ ถึงแก่มรณภาพ
iv h rc
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
พระสังฆราชเดอ ซีเซ ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1727 ร่ างของท่าน สวมเสื้ ออาภรณ์ของ พระสังฆราช ตั้งไว้ในห้องหนึ่งของสามเณราลัยให้คนมาเคารพศพเป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง ได้มีชนทุกชาติพากัน หลัง่ ไหลมาจูบเท้าของท่าน ในหมู่คนที่พากันมานี้ มีนายทหาร ที่เป็ นคนต่างศาสนาคนหนึ่งพาลูกหลายคนมาด้วย เขาพูดกับลูกต่อหน้าศพว่า "ลูกเอ๋ ย นี่แหละบุคคลสําคัญคนนั้น ที่นาํ ยาไปให้ คนเจ็บป่ วยตามบ้ านเราหลายต่ อหลาย ครั้ ง ท่ านไม่ อายที่จะเดินยํา่ โคลนเลน ผ่ านไปตามถนนหนทาง เพื่อช่ วยเหลือพวกเรา ลูกจงกราบลงจูบเท้ าท่ านด้ วย ความเคารพเถิด !".
A l a
H
ic r o ist