13 ประวัติมิสซังกรุงสยาม บทที่ 10

Page 1

บทที่ 10 สมัยพระสังฆราชแตสซีเอร์ เดอ เกราเล ค.ศ. 1727 - 1736 ความยุ่งยากลาบาก - แผ่ นหินทาให้ สะดุด การย้ ายวิทยาลัยกลางไปอยู่ทอี่ ยุธยา พระสังฆราชแตสซีเอร์ เดอ เกราเล ได้สืบตําแหน่งต่อจากพระสังฆราชเดอ ซีเซ แต่อยูใ่ นตําแหน่ง พระสังฆราชไม่นานนัก สมัยของท่านมีเหตุการณ์ป่ันป่ วนพอสมควร และไม่มีผลงานมากนัก งานแรกที่ท่านทําเป็ น การกระทําที่น่าเสี ยดาย หรื อจะพูดอีกอย่างหนึ่งก็ได้วา่ เป็ นการกระทําซึ่ งเป็ นที่เสี ยดายของพวกมิชชันนารี ผไู้ ด้รับ ความลําบากเพราะการกระทํานั้น และยังเป็ นการกระทําซึ่ งเป็ นที่เสี ยดายของผูท้ ี่ต่อมาได้แก้ไขงานที่ทาํ ไปด้วย งาน ดังกล่าวก็คือย้ายวิทยาลัยกลางจากมหาพราหมณ์ไปอยูท่ ี่อยุธยา วิทยาลัยกลางเจริ ญรุ่ งเรื องในสมัยที่คุณพ่อรุ สต์เป็ นอธิการ ครั้นถึงปี ค.ศ. 1727 อธิการ ที่ประเสริ ฐผูน้ ้ ีหมด เรี่ ยวแรง แต่ยงั ประจําอยู่ และอาศัยคุณธรรมและคุณสมบัติของคุณพ่อเลอแมรฺ ซึ่งเป็ นอาจารย์คนสําคัญ วิทยาลัย กลางยังดํารงอยูใ่ นความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย แต่พระสังฆราชแตสซีเอร์ เดอ เกราเล ใคร่ จะให้สามเณรทุกคนมาอยู่ ใกล้ท่าน ท่านไม่ฟัง คําทักท้วงของประมุขมิสซังโคชินจีน ประมุขมิสซังตังเกี๋ย คุณพ่อเลอแมรฺ และคุณพ่อรุ สต์ "ซึ่ งเสี ยใจในเรื่ องนีจ้ นกระทั่งวันตาย" ได้สง่ั ให้ยา้ ยสามเณรทุกคนมาที่อยุธยาและให้อยูท่ ี่ สามเณราลัย ท่านเองเป็ น ผูเ้ อาใจใส่ การอบรมสามเณรทางวิญญาณ เวลาเช้า ท่านภาวนาและรําพึงกับเขา แล้วประกอบพิธีมิสซาซึ่ งเขาร่ วมใน พิธีดว้ ย เวลาคํ่า ท่าน "เทศน์ เตือนใจเขา" แล้วรวบรวมเขาอีกครั้งหนึ่งให้มาภาวนา และอ่านหัวข้อรําพึงของวันรุ่ งขึ้น ให้เขาฟัง ท่านกล่าวว่า "กิจปฏิ บัตินีท้ าให้ ข้าพเจ้ าพอใจมาก" แน่นอน การกระทําทั้งหลายนี้เป็ นของดีและเป็ นความรู้สึกที่ดีมาก แต่คุณพ่อเลอแมรฺ เห็นว่าไม่พอ คือ ท่านเห็นเหมือนกับที่คนอื่นเห็นในศตวรรษที่ 17 ว่า สามเณราลัยเป็ นคล้าย บ้านพักพระสงฆ์มากกว่าสํานักศึกษา และอบรม มีคริ สตังและคนต่างศาสนาไปๆ มาๆ มากเกินไป พูดสั้นๆ ก็คือ ไม่อาํ นวยความสงบและความสํารวมใจ อันเป็ นสิ่ งจําเป็ นสําหรับการอบรมผูฝ้ ึ ก จะเป็ นพระสงฆ์ เป็ นธรรมดาที่คุณพ่อรุ สต์ตอ้ งมีความเห็นเช่นเดียวกัน และยังมีความเห็นอย่างหนักหน่วง กว่าอีก อันที่จริ ง อธิ การผูน้ ่าสงสารที่เคยปกครองวิทยาลัยกลางที่มหาพราหมณ์ อาลัยอาวรณ์ที่กิจการของท่านเสื่ อม โทรมลง ไม่นานนักก็ถึงแก่มรณภาพในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1729 ที่กรุ งศรี อยุธยา 1

k

iv h rc

e c io d rch

A s e

A l a

ic r o ist

H

1หนังสื อ Mémorial (อนุสรณ์) บอกผิดว่าท่านถึงแก่มรณภาพที่มหาพราหมณ์

o e s

ko g n a fB


163

ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

การเบียดเบียนศาสนาในปี ค.ศ. 1730 (พ.ศ. 2273 ตรงกับรัชสมัยพระเจ้ าท้ ายสระ) การเบียดเบียนมิสซังอย่างลับๆ เริ่ มขึ้นในปี ค.ศ. 1729 แล้วก็ระเบิดขึ้นในปี ค.ศ. 1730 การเบียดเบียนครั้ง นี้สร้างความงุนงงให้แก่พระสังฆราชเดอ เกราเล และพวกมิชชันนารี ที่มิได้คาดคิดว่าจะเกิดขึ้น เพราะในปี ค.ศ. 1727 และ 1728 การติดต่อกับข้าราชการชั้นผูใ้ หญ่และแม้กบั เจ้านายก็ยงั เป็ นไปอย่างดียงิ่ ใน วันพระคริ สต สมภพซึ่งฉลองกันอย่างสง่ายิง่ ขึ้น เพราะมีการตั้งศีลมหาสนิทเป็ นเวลา 3 วันนั้น มีเจ้านายฝ่ ายชายและเจ้านายฝ่ าย หญิงหลายองค์มาที่โบสถ์ ร่ วมในพิธีอวยพรศีลมหาสนิท สนใจฟังสังฆานุกรผูห้ นึ่งเทศน์เรื่ องพระเป็ นเจ้า เรื่ องมี พระเป็ นเจ้าเดียวและพระญาณสอดส่ องของพระเป็ นเจ้า และยังสนใจฟังคําบรรยายของคุณพ่ออินโนเซนต์ เรื่ องพระ บุตรเสด็จมาเกิดเป็ นมนุษย์และไถ่บาปมนุษย์ ในโอกาสนั้นเจ้านายหลายองค์ได้ไปเยีย่ มพระสังฆราช และทุกอย่าง เป็ นไปด้วยอัธยาศัยไมตรี อนั ดียงิ่ เหตุที่สถานการณ์เปลี่ยนไป ก็เพราะเจ้าพระยาพระคลังคนใหม่ได้เลื่อนขึ้นมีอาํ นาจ และพระอนุชาองค์ หนึ่งของพระเจ้าแผ่นดินเป็ นศัตรู ที่เกลียดชังพวกมิชชันนารี กบั พวกคริ สตัง ต่อไปนี้จะเล่าว่าการเบียดเบียนได้เริ่ มขึ้น ในโอกาสเรื่ องอะไร สามเณรที่มีเชื้อสายจีนคนหนึ่งชื่อ เต็ง แม่ของเขายกให้แก่พระสังฆราชเดอ ซีเซ โดยได้รับ พระบรมราชานุญาต แต่บดั นี้ครอบครัว ของเขาจะขอตัวคืน และพระอนุชาองค์หนึ่งของพระเจ้าแผ่นดินก็ทรง สนับสนุนคําขอคืนนี้ เต็ง ละทิ้งสามเณราลัย เข้าเฝ้ าพระอนุชา พระองค์รับสั่งให้เขาถอดเสื้ อหล่อ เหยียบไม้กางเขน และกราบไหว้พระพุทธรู ป เต็งยอมปฏิบตั ิตามที่พระองค์รับสัง่ และยังยอมให้เขาสวมผ้าเหลืองของพระภิกษุให้ดว้ ย อีกประการหนึ่ง เจ้านายที่เบียดเบียนเต็งกับเจ้าพระยาพระคลังที่ชอบพอกับ เจ้านายองค์เดียวกันนี้ ได้อ่านหนังสื อ บางเล่มที่พระสังฆราชลาโนเขียนแย้งพระพุทธศาสนา แล้วเจ้านายกับขุนนางหลายคนได้ถกเถียงถามกันถึงเรื่ องนี้ ความขุ่นเคืองต่อพวกมิชชันนารี ก็เพิ่มขึ้นเป็ นทวีคูณ

k

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

iv h ต้นเดือนตุลาคม ค.ศ. 1730 rcทางการเรียกพระสังฆราชเดอ เกราเล, คุณพ่อเลอแมรฺ , สังฆานุกร 2 คน กับอุป A สังฆานุกรคนหนึ่ง ไปขึa้ นlศาลที่เจ้าพระยาพระคลังนัง่ เป็ นประธาน เจ้าพระยาพระคลังซักถามพระสังฆราชอย่างยืด ic ยาว ตําหนิที่ได้หrลอกลวงประชาชน บังคับ ชาวสยามให้ถือศาสนาคาทอลิก ฯลฯ กล่าวหาว่าพวกมิชชันนารี ได้ยยุ ง o t s ให้เกิดการกบฏขึ ้ นในประเทศญี่ปุ่น ที่สุด เขาสั่งพระสังฆราชในพระนามของพระเจ้าแผ่นดิน : i H 1. ไม่ให้เขียนหนังสือคาทอลิกเป็ นภาษาสยามและภาษาบาลี การซักถามพระสั งฆราช

2. ไม่ให้ประกาศศาสนาคาทอลิกแก่ชาวสยาม ชาวมอญ และชาวลาว 3. ไม่ให้ชกั ชวนคนสามชาติน้ ีเข้าศาสนาคาทอลิกเป็ นอันขาด 4. ไม่ให้โต้แย้งศาสนาของชาวสยาม 2

2พระสังฆราชเดอ เกราเล เล่าเรื่ องการเบียดเบียนครั้งนี้ให้พระสันตะปาปาทรงทราบในจดหมายฉบับหนึ่งซึ่งพิมพ์ที่กรุ งโรม มีชื่อว่า "Epistola Illmi et Remi Episcopi Rosaliensis, Vicarii Apostolici regni Siami ad Sanctissimum Clementem PP. XII " (แต่ไม่บอกชื่ อผูพ ้ ิมพ์) จดหมายฉบับนี้ ลงวันเดือนปี ไม่ครบ 1733 (เอกสารคณะมิสซังต่างประเทศ เล่มที่ 285 หน้า 237-252)


164  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

เมื่ออ่านข้อห้าม 4 ข้อนี้ให้ฟังแล้ว เขาถามพระสังฆราชเดอ เกราเล ว่า "ท่ านสังฆราชจะตอบว่ ากระไร? จะยอมปฏิ บัติตามพระราชโองการของพระเจ้ าแผ่ นดินหรื อไม่ ?"พระสังฆราชตอบว่า“เนื่องจากคาถามนีม้ ี ความสาคัญเป็ นอย่ างยิ่ง ข้ าพเจ้ าขอเวลาคิดให้ รอบคอบก่ อนสักสองสามวัน" เจ้าพระยาพระคลังยังคงรบเร้าให้ พระสังฆราชตอบ ขุนนางผูห้ นึ่งมียศเป็ นจักรี พูดเสริ มว่า "ถ้ าท่ านปฏิ บัติตามที่พระเจ้ าแผ่ นดินมีรับสั่ง ท่ านจะมีชีวิต อย่ างผาสุกเหมือนดัง แต่ ก่อน หากท่ านไม่ ยอมปฏิ บัติตามเล่ า นา้ พระทัยของพระเจ้ าแผ่ นดินก็คือ ให้ ตัดหัวท่ าน เสี ย" พระสังฆราชตอบว่า "ถ้ าเป็ นเช่ นนั้น ก็เห็นเป็ นการสมควรกว่ า ที่จะอนุญาตให้ เรากลับไปบ้ านเกิดเมืองนอน ของเรา; ถ้ าไม่ ยอมให้ กลับไปเล่ า ก็ขอให้ ฆ่าเราให้ ตายเสี ยเถิด เพราะเราจะยินยอมตามที่ ท่านเสนอนีไ้ ม่ ได้ " เจ้าพระยาพระคลังถามว่า "บาทหลวงอื่นมีความเห็นอย่ างเดียวกันนีด้ ้ วยหรื อ?" ทุกคนตอบว่า มีความเห็นอย่าง เดียวกับพระสังฆราช เจ้าพระยาพระคลังจดชื่อของเขาไว้ แล้วก็ให้เขากลับไป วันรุ่ งขึ้น คริ สตังหลายคนถูกจับกุม สามเณราลัยถูกค้นและหนังสื อบางเล่มถูกยึดไป แต่ก่อนนั้น พวกมิชชันนารี ได้เผาหนังสื อที่กล่าวถึงเรื่ องศาสนาหมดแล้ว

ok k g ขณะนั้น ใครๆ กําลังวิตกว่า การเบียดเบียนศาสนาจะรุ นแรงยิง่ ขึ้น ก็มีขนุ นางผูห้ นึ่งชื่อ a ขุนn ชํานาญ3 ให้คน B าแผ่นดิน ถ้าท่าน มาเตือนพระสังฆราชว่า การที่ท่านขอกลับไปประเทศฝรั่งเศสนั้น เป็ นที่ ขัดเคืองพระทัfยพระเจ้ ประสงค์จะคืนดีกบั พระองค์ ก็มีแต่ทูลถวายดอกไม้กบั เทียนจุด "โดยที่ใครๆ ก็ถืe อว่ า o การปฏิ บัติเช่ นนีเ้ ป็ นประเพณี s e ทางบ้ านเมืองเท่ านั้น พระสังฆราช ก็ยินยอมจะทาตาม" c io าหอ?) เขียนตามที่เขาบอกเป็ นความว่า ครั้นท่านไปที่ศาล เจ้าพระยาพระคลังก็ให้เลขานุการ d (ทนายหน้ h ญญาจะปฏิบตั ิตาม เมื่ออ่านข้อความที่เขียนแล้ว พระสังฆราชเกราเล ยอมรับผิด เห็นด้วยกับข้อห้ามสี่ ขrอ้ cและสั พระสังฆราชกล่าวแก่ขนุ ชํานาญ ขุนนางที่อยูข่ s า้ งๆAว่า ท่านยอมตายดีกว่าที่จะลงนามในหนังสื อสัญญาฉบับนี้ e ใหญ่คงพิจารณาเห็นว่าตนมีอิทธิพลพอที่จะสอดแทรกเข้าไป ฝ่ ายขุนนางผูน้ ้ นั เป็ นพระสหายของ พระราชโอรสองค์ v i h นนั้นพับเก็บเสีย โดยไม่พดู ว่ากระไร c ในเรื่ องนี้โดยไม่มีอนั ตรายก็หยิบrกระดาษแผ่ A า "ท่านสังฆราชถวายของกานัลนีแ้ ก่ผ้ใู ด?" พระสังฆราช เกราเลตอบว่า "ข้าพเจ้า เจ้าพระยาพระคลั ง ถามว่ l a" แล้วพิธีในวันนั้นก็สิ้นสุดลง โดยไม่มีใครพูดอะไรอีก c i ถวายแด่ พระเจ้ าแผ่ น ดิ น r o t s i H การถวายเทียน

แผ่ นหินทาให้ สะดุด

ไม่กี่วนั ต่อมา ขุนชํานาญมาหาพระสังฆราช ขอร้องท่านอย่าขัดขวางในการที่เขาจะเอาหินจารึ กข้อห้ามทั้งสี่ ซึ่งท่านไม่ยอมลงนาม ไปไว้ที่สามเณราลัย หรื อในโบสถ์นกั บุญโยเซฟ พระสังฆราชตอบว่า "พระเจ้ าแผ่ นดินทรง เป็ นเจ้ าเหนือหัวอยู่ในพระราชอาณาจักร ก็ย่อมทรงทาอะไรๆ ได้ ตามพระราชอัธยาศัย แต่ ตัวท่ านไม่ สามารถปฏิ บัติ ตามที่พระองค์ ทรงมีพระราชประสงค์ เช่ นนีไ้ ด้ เพราะผิดต่ อศาสนาและสัมพันธไมตรี ที่ชนชาติฝรั่ งเศสและชนชาติ สยาม เพิ่งรื ้อฟื ้ นทากันใหม่ เมื่อเร็ วๆ นี"้ แม้เขาจะพยายามรบเร้า พระสังฆราชก็ยนื กรานตอบเช่นเดียวกันนี้

3ในหนังสื อต้นฉบับเขียนว่า Khuchannan อ่าน "คูจนั นัน" ส่ วนในหนังสื อของพระสังฆราชปัลเลอกัวเขียนว่า Chung แต่ในคําแปลประชุมพงศาวดาร อ่าน "ขุนชํานาญ" (ผูแ้ ปล)

Khanam

อ่าน "จุง คานัม"


165

ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

ระหว่างนั้น คริ สตังที่ถูกจองจําอยูใ่ นคุก ได้รับทารุ ณกรรมเป็ นประการต่างๆ ถูกบังคับ ให้บอกตัวผูถ้ ือ ศาสนาเดียวกัน ให้พดู ว่าพระสังฆราชกับพระสงฆ์ให้เงินเพื่อให้เขามาเข้าศาสนา หรื อได้พดู หลอกลวงเขา แต่พวก เขาไม่ยอมปฏิบตั ิตาม เจ้าพระยาพระคลังใคร่ จะให้พระเจ้า แผ่นดินทรงขับไล่พระสังฆราชและพวกมิชชันนารี ออกไปนอกประเทศ ปั ญหาเรื่ องนี้ได้นาํ เข้าไป ถกเถียงในสภาแผ่นดิน ขุนนางชั้นจักรี (Chacri) สนับสนุนพวก มิชชันนารี และสรรเสริ ญเขา เมื่อทรงฟังขุนนางผูน้ ้ นั กราบทูลแล้ว พระเจ้าแผ่นดินตรัสว่า "เราจะไปรบกวนความ สงบสุ ขของคนโน้ นคนนีท้ าไม? ปล่ อยพวกคริ สตังให้ อยู่ตามสบายของเขาเถิด และอย่ าพูดถึงเรื่ องนีอ้ ีก !" เพื่อแก้เผ็ด เจ้าพระยาพระคลังเรี ยกร้องให้นาํ เงิน 300 เปี ยสตร์ ซึ่ งแต่ก่อนพระสังฆราชเดอ ซีเซ ได้กยู้ มื จาก พระเจ้าแผ่นดิน มาชําระในทันที มิฉะนั้นจะริ บสามเณราลัย พระสังฆราช เกราเลไม่มีเงินจํานวนนี้ แต่ชาวฮอลันดา ให้ท่านยืม เจ้าพระยาพระคลังเห็นว่าแก้เผ็ดไม่สาํ เร็ จ ก็พยายามหาทางเล่นงานด้วยวิธีอื่น วันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1731 เจ้าพระยาพระคลังให้ขนุ นาง 3 นายไปกับคนงานจํานวนหนึ่ง แบกหินที่จารึ ก ข้อห้ามของพระเจ้าแผ่นดินสี่ ขอ้ กับพฤติกรรมที่ได้รับรายงานผิดๆ อีกบางข้อ เขาไปหาพระสังฆราช ขอให้ช้ ีที่ที่เขา ต้องตั้งหิ นแผ่นนั้น ท่านปฏิเสธหลายครั้งไม่ยอมชี้ เขาจึง ตั้งหินดังกล่าว "ที่หน้ ามุข หน้ าประตูทางด้ านโบสถ์ ที่หัน ไปทางสามเณราลัย" หิ นแผ่นนี้แหละ ที่พวกมิชชันนารี เรี ยกกันจนคุน้ เคยว่า "แผ่ นหิ นทาให้ สะดุด" 4 (pierre de scandale) คุณพ่อเลอแมรฺ บนั ทึกไว้ในจดหมายฉบับหนึ่งว่า วันที่พระเจ้ากรุ งสยามทรงลงพระปรมาภิไธย ในพระราชกฤษฎีกาปราบศาสนาคาทอลิก พระองค์ได้ทรงเป็ นโรคมะเร็ งที่พระโอษฐ์ ครั้นพระเจ้าแผ่นดินเสด็จสวรรคตในเดือนมกราคม ค.ศ. 1733 ได้เกิดมีสองฝักสองฝ่ ายขึ้นคือ พรรคพวก ของพระราชโอรสองค์ใหญ่ฝ่ายหนึ่ง กับพรรคพวกของเจ้าพระยาพระคลัง อีกฝ่ ายหนึ่ง แต่ฝ่ายหลังนี้อปั ราชัย พระเจ้าแผ่นดินองค์ใหม่ ซึ่งผูแ้ ปลพงศาวดารผูห้ นึ่งระบุ พระนามว่า "สมเด็จพระบรมราชาธิ ราช ที่ 3" (Somdet Prah - Boramma - Raxa - Thirat III) นั้น ได้ทรงตั้งเจ้าพระยาพระคลังคนใหม่ ซึ่ งคนใหม่น้ ี ก็เป็ นศัตรู เกลียดชัง พวกคริ สตังเหมือนกับคนก่อน เขาสัง่ ให้ต้ งั หิ นทําให้สะดุด "ในที่ซึ่งเป็ นที่เคารพยิ่งขึน้ ทั้งให้ เพิ่มเครื่ องประดับ ประดาบนหิ นดังกล่ าว ซึ่ งเครื่ องประดับประดาเหล่ านั้นจะทาให้ ประชาชนมีความเกรงกลัวยิ่งขึน้ " ถ้าจะพูดกันตามความเป็ นจริ งแล้ว ถ้อยคําที่จารึ กบนหินนั้นก็ดี การที่เอาหินดังกล่าวมาตั้งไว้ที่หน้าโบสถ์ที่ อยุธยาก็ดี ถือได้วา่ เป็ นแต่การประกาศยืนยันอย่างเป็ นทางการว่าพระศาสนา คาทอลิกในกรุ งสยามกําลังอยูใ่ น ภาวการณ์อนั ยากลําบากเท่านั้นเอง นับตั้งแต่มีการปฏิวตั ิในปี ค.ศ. 1688 และพระเพทราชาได้ข้ ึนครองราชสมบัติ มิชชันนารี ไม่มีทางจะสอนชาวสยามและ ชาวมอญให้กลับใจ จะออกจากกรุ งศรี อยุธยาและบริ เวณข้างเคียงไปแพร่ ธรรมไกลๆ ใน ต่างจังหวัดไม่ได้ แต่จะถูกหรื อผิดก็ตาม ผูป้ ระกาศพระวรสารยังมีความหวังอยูว่ า่ มิวนั ใดก็ วันหนึ่ง พระเจ้าแผ่นดินหรื อบรรดาเสนาบดีจะแสดงความเผือ่ แผ่และให้ความเป็ นอิสระมาก ยิง่ ขึ้น ในหมู่ประชาชนก็มีผสู ้ งสัยว่า คําสั่งห้ามของรัฐบาลจะเพิกถอนได้หรื อไม่ เพราะคําสั่งห้ามดังกล่าวทําลาย ความหวังอย่างสิ้ นเชิง ทําลายความหวังของผูป้ ระกาศพระวรสารและของบรรดาชาวสยามที่ปรารถนาจะเข้าถือ ศาสนาคาทอลิก คําสั่งห้ามนั้นยืนยันประกาศนํ้าพระทัยของพระเจ้าแผ่นดิน ด้วยถ้อยคําชัดเจนและด้วยพระราช อํานาจอันเด็ดขาด ตั้งแต่ 40 ปี มาแล้ว มิสซังกรุ งสยามอยูใ่ นอาการซบเซา และในครั้งนี้กาํ ลังตกลงไปสู่ ความ ปลกเปลี้ยอย่างถึงขนาด

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

4"สะดุด" แปลว่า เดินเตะสิ่ งใดจนอาจเสี ยหลักล้มลงได้ คํานี้ ภาษาคริ สตังนํามาใช้ในความหมายว่า "ทําพลาดพลั้ง, ทําผิด, ทําบาป" (ผูแ้ ปล)


166  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

กลุ่มคริสตชนทีอ่ ยุธยา จันทบูรณ์ และเกาะถลาง โดยลําพังตนเองแล้ว มิชชันนารี กรุ งสยามไม่มีทางที่จะฟื้ นตัวขึ้น พระสังฆราชได้แสดงให้เห็นว่าท่านมี ความกล้าและความฉลาด และบทบาทที่ท่านแสดงในกรณี ที่เราเล่ามาแล้ว นําเกียรติมาสู่ ท่านมาก แม้วา่ ต่อมาท่าน ได้ถูกโจมตีอย่างหนัก แต่ทว่าท่านเริ่ มชราและ เหน็ดเหนื่อยแล้ว แต่ก่อนนั้น เมื่อครั้งเป็ นเหรัญญิกอยูท่ ี่เมืองปอนดิ เชรี ท่านคุน้ กับงานที่ทาํ อย่างสบายๆ และเป็ นระเบียบ เดี๋ยวนี้เราจะเรี ยกร้องให้ท่านเปลี่ยนนิสัยก็คงไม่ได้ แม้แต่ งานที่ พระสังฆราชองค์ก่อนๆ ชอบนักชอบหนาคือ "งานช่ วยเด็ก" ท่านก็มิได้ทาํ ต่อ มิได้เอาเป็ นธุระตลอดเวลาที่ ดํารงตําแหน่งเป็ นพระสังฆราช คุณพ่อเลอแมรฺ เป็ นมิชชันนารี อยูท่ ี่วทิ ยาลัยกลางเพียงคนเดียว มีงานมากเกินกว่าที่จะทําไหว ส่ วนคุณพ่ออิน โนเซนต์ โอทวม นั้น ไม่สู้สบาย ขังตัวอยูใ่ นโรงเรี ยนเล็กๆ ซึ่ งท่านดูแล จนกระทัง่ ถึงแก่มรณภาพที่อยุธยาเมื่อปี ค.ศ. 1735 สําหรับคุณพ่อดีดีโม (Didyme) ซึ่ งสัตบุรุษยังเรี ยกว่า คุณพ่อโทเม (Thomé) ด้วยนั้น ได้รับศีลบวชเป็ น พระสงฆ์จากพระสังฆราชเกราเล ในปี ค.ศ. 1731 และได้ถือตามแบบฉบับของท่าน ท่านเป็ น "คนดีมากในหลายๆ เรื่ อง เข้ าใจธุรกิจต่ างๆ ของชาวสยาม รู้ ภาษาสยามดีมาก รู้ ภาษาชาวโคชิ นจีน ภาษาโปรตุเกส ภาษาลาติน และ ภาษาฝรั่ งเศส นับเป็ นขุมมหาสมบัติสาหรั บสามเณราลัยและพวกคริ สตังโดยแท้ " คุณพ่อนิโกเลา โตแลนติโน ถึงแก่มรณภาพที่จนั ทบูรณ์เมื่อปี ค.ศ. 1729 หรื อ 1730 ผูท้ ี่มาอยูแ่ ทนคือ คุณ พ่อกาบรี แอล ซึ่ งคุณพ่อเลอแมรฺ สรรเสริ ญว่ามีคุณธรรมสู ง แต่ดูเหมือนท่านเพียงแต่มาปกครองและสอนคําสอน สัตบุรุษในปกครองอย่างสมํ่าเสมอเท่านั้น ที่เกาะถลาง คุณพ่อมานูแอล หรื อ เอมมานูแอล เยเรมีย ์ (Jérémie) เข้ากันไม่ค่อยจะได้กบั พวกคริ สตัง "ซึ่ ง ทามาหากินไม่ ดี จนคิดจะไปอยู่ที่อื่น" และยังเข้ากันไม่สู้จะได้กบั พวกฤาษี กาปูชิน ชาวโปรตุเกส ซึ่งนานๆ ทีก็ทาํ ผิด ที่ไปสนับสนุนข้อเรี ยกร้องของสัตบุรุษ

k

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

iv h คุณพ่อโอม็องต์ประจําอยูrท่ cี่วดั เมืองมะริ ด ตามธรรมเนียมสําหรับมิชชันนารี ที่มาอยูว่ ดั นี้ทุกองค์ ท่านได้รับ A ตําแหน่งเป็ นรองประมุa ขมิlสซัง (provicaire) และยังมีฐานะเฉพาะพิเศษอีกอย่างหนึ่งคือ มีอาํ นาจแบบของผู้ c สตัง ทั้งนี้โดยเป็ นพระประสงค์ของ พระเจ้าแผ่นดิน หมายความว่าท่านจะพิจารณาคดี พิพากษา 5 เหนืrอiพวกคริ o ก็ได้ จะตั ดtสิ นความก็ได้ จะกําหนดโทษ และสั่งให้ปฏิบตั ิตามโทษที่กาํ หนดก็ได้ ขุนนางในเมืองมะริ ดและแม้แต่ s i H คุณพ่อโอม็องต์ ทีว่ ดั เมืองมะริด

ข้าหลวงจังหวัดตะนาวศรี ก็ไม่มีสิทธิ์ จะเรี ยกคริ สตังขึ้นศาล ถ้าคุณพ่อโอม็องต์ไม่อนุญาต

5ปรากฏว่าที่อยุธยา พระสังฆราชก็ชาํ ระความในหมู่คริ สตังได้เช่นเดียวกัน ดังนั้น บาทหลวงเลอแมรฺ เล่าในจดหมาย ฉบับหนึ่งที่เขียนในเดือน ตุลาคม ค.ศ. 1737 ว่า ชาวฝรั่งเศสคนหนึ่งชื่อ ซาวารี (Savari) ข่มขืนทาสหญิงของเขา พระสังฆราช "ในฐานะเป็ นผูพ้ ิพากษาคนในค่ายของ ท่าน" ลงโทษ โดยสั่งให้ปล่อยทาสหญิงคนนั้นเป็ นอิสระ เนื่องจากพระสังฆราชเกราเล ถึงแก่มรณภาพก่อนที่จะมีการปฏิบตั ิตามคําพิพากษานี้ บาทหลวงเลอแมรฺ ในฐานะเป็ นอธิการปกครองมิสซัง จึงสั่งให้ซาวารี ปฏิบตั ิตามคําพิพากษา (เอกสารของคณะมิสซังต่างประเทศ เล่ม 883 หน้า 839)


167

ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

การปฏิบตั ิจนถือเป็ นธรรมเนียมเช่นนี้ทาํ ให้พระสงฆ์มีอาํ นาจเพิ่มก็จริ ง แต่บางครั้งทําให้เกิดข้อยุง่ ยาก ลําบากอย่างร้ายแรง เพราะถ้าเกิดเรื่ องพิพาทระหว่างคริ สตังกับขุนนาง ก็เท่ากับ ขุนนางมีเรื่ องกับมิชชันนารี เอง ใน กรณี ดงั กล่าว โดยมากคุณพ่อโอม็องต์เป็ นผูช้ นะความ เพราะรู้จกั อ้างเหตุผลดี แต่ดูเหมือนจะเป็ นเพราะให้ของกํานัล มากกว่า วิธีหลังนี้มิชชันนารี ที่มาอยู่ ต่อจากคุณพ่อโอม็องต์จะเห็นว่าเป็ นวิธีที่ยงุ่ ยากหนักใจ เพราะพวกขุนนางจะ มาเรี ยกร้องเอาของกํานัลเหมือนกับภาษีที่เขามีสิทธิ์จะเรี ยกเก็บ เมื่อมาถึงเมืองมะริ ดแล้วไม่นาน คุณพ่อโอม็องต์ก็สร้างบ้านพักพระสงฆ์ข้ ึนใหม่ และสร้างโบสถ์ต่อจน เสร็ จเรี ยบร้อย ท่านประกอบพิธีในโบสถ์โดยพยายามให้สง่างามเท่าที่สัตบุรุษน้อยและปัจจัยน้อย ในพิธีมิสซาเที่ยง คืนวันพระคริ สตสมภพ "โบสถ์ ของท่ านสว่ างไสวด้ วยเทียน 50 เล่ ม" ในวันฉลองใหญ่ๆ ท่านมี "วงดนตรี ที่ใช้ ไวโอลินกับพิณ ซึ่ งพวกคริ สตังเล่ นได้ ดีมาก เพราะชาวเอเชี ยในภาคอาคเนย์ นั้นมีนิว้ ที่สร้ างมาสาหรั บเล่ นเครื่ อง ดนตรี แท้ ๆ" วันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 ได้เกิดเหตุการณ์เรื่ องหนึ่ง ซึ่ งก่อกวนความปรกติสุขของหมู่คริ สตังกลุ่มนี้คือ มีเด็กต่างศาสนาซึ่ งเป็ นทาสของอุปราช มาเอาเทียนในโบสถ์ เด็กคริ สตัง ก็ขบั ไล่ไป พ่อแม่ของเด็กต่างศาสนาบ่น กับบุตรชายของอุปราชว่า ลูกของเขาถูกตี ทันทีราชบุตรของอุปราชซึ่ งยังหนุ่มอยู่ ก็นาํ ทหารมาพังประตูโบสถ์ จับ ได้ชาย 2 คน กับหญิง 10 คน แล้วทุบตีอย่างเหี้ ยมโหด จนหลายคนอาเจียนเป็ นโลหิตออกมา แล้วคนหนึ่งถึงกับตาย คุณพ่อโอม็องต์มีมิตรอยูใ่ นราชสํานักกรุ งสยาม ก็ทาํ เรื่ องฟ้ องศาล ราชบุตรชายของอุปราชก็ฟ้องศาล เหมือนกัน แต่นอกจากจะกล่าวหาว่าพวกคริ สตังตีทาสแล้ว ยังกล่าวหาว่า คุณพ่อสอนคนต่างศาสนาให้เข้ารี ตหลาย คน ซึ่งเรื่ องนี้ อนิจจา ! ไม่เป็ นความจริ ง เพราะที่เมืองมะริ ดก็เหมือนที่กรุ งศรี อยุธยา เราสอนคนเจ็บที่เป็ นคน ต่างชาติกลับใจได้ไม่กี่คน เรื่ องนี้เป็ นความกันอยูน่ าน มีการสอบสวนแล้วสอบสวนอีก ซึ่ งผลจะดีหรื อร้ายต่อคุณพ่อ โอม็องต์ ก็ยอ่ มแล้วแต่ผสู ้ อบสวนในที่สุด ความประพฤติของราชบุตรอุปราชถูกตัดสิ นว่าเป็ นความผิดหนัก มีโทษถึงขั้นประหารชีวติ พระสังฆราชร้องขอความกรุ ณา ผูผ้ ดิ จึงเพียงแต่ถูกตัดสิ นให้ใส่ ขื่อคา ในที่สาธารณะเป็ น เวลา 3 วัน แล้วให้พาตระเวนไปในเมือง โดยมีเจ้าหน้าที่คนหนึ่งเดินนําหน้า ประกาศว่าเขาทําผิดอะไร และต้องเสี ย เงิน 1,500 เปี ยสตร์ เพื่อขอบพระคุณพระโอรสของพระเจ้าแผ่นดินผูท้ รงช่วยให้ศาลตัดสิ นดังนี้ คุณพ่อโอม็องต์ก็ส่ง "แก้ ว เจียระไนที่แปลกประหลาดหลายใบ กล้ องส่ องทางไกลอันหนึ่ง กับแพรต่ วน ที่ทาด้ วยเงินผืนหนึ่ง" ไปถวาย ส่ วน พวกคริ สตังที่ถูกจับติดคุกนั้น พระเจ้าแผ่นดินตรัสว่า พระองค์ ทรงอภัยให้และจะทรงลืมหมดสิ้ นทุกอย่าง นอกจาก พระเจ้าแผ่นดินทรงสัญญาจะปล่อยนักโทษที่ติดคุกแล้ว พระสังฆราชยังส่ งเงิน 100 เปี ยสตร์ ไปถวายเจ้าเมืองมะริ ด คนใหม่ นัน่ เป็ นวิธีที่ดูเหมือนจะแน่นอนกว่าว่าจะช่วยให้พวกคริ สตังได้รับการปล่อยออกจากคุก

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

มรณภาพของพระสั งฆราชเดอ เกราเล พระสังฆราชเดอ เกราเล ถึงแก่มรณภาพที่กรุ งศรี อยุธยาเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1736 หลังจาก อาพาธไม่กี่วนั "เพราะขาดทามิสซาเพียงสองสามครั้ งเท่ านั้น" และหลังจาก "ได้ รับศีลศักดิ์สิทธิ์ อย่ างเลื่อมใส สมกับ ความศรั ทธาที่ท่านมีอยู่เสมอ".


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.