บทที่ 12 สมัยพระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ ค.ศ. 1740 - 1755 เรื่องการแห่ ของคนต่ างศาสนา การตั้งสั งฆมณฑลที่ประเทศโปรตุเกสให้ การอุดหนุน
ok k g n a B พระสังฆราชเดอ เกราเล ถึงแก่มรณภาพได้ 2 ปี แล้ว ข่าวการมรณภาพของท่o าน fจึงทราบไปถึงสามเณราลัย e ส้ มควรจะเป็ นสังฆราช 2 คน มิสซังต่างประเทศในปี ค.ศ. 1738 ทันทีบรรดาคณาจารย์เขียนถึงกรุ งโรม และเสนอผู s e c คือ คุณพ่ อเลอแฟฟวรฺ กับคุณพ่ อเดอ โลเลียรฺ กรุ งโรมเลือกเอาคุณiพ่o อเดอ โลเลียรฺ และแต่งตั้งให้เป็ นพระสังฆราช d h 1738 เกียรตินามแห่งยูลีโอโปลิส (Juliopolis) ในเดือนกันยายนcค.ศ. r พระสั งฆราชเดอ โลเลียรฺ เกิดในแคว้นs เปรี กA อรด์ ในปี ค.ศ. 1685 เดินทางมาภาคตะวันออกไกลในปี ค.ศ. e 1717 เคยเป็ นมิชชันนารี ในกรุ งสยาม สามหรื iv อสี่ปี ผูช้ ่วยเหรัญญิกและเหรัญญิกของคณะที่เมืองปอนดิเชรี นบั แต่ปี h rc งตั้งจากพระสันตะปาปาแล้ว ท่านส่งหนังสือฉบับหนึ่งกราบทูลพระ ค.ศ.1722 หลังจากได้รับพระสมณโองการแต่ A l่ 12 เพื่อขอฝากฝังบรรดามิสซังกับพระองค์ ท่านเดินทางไปรับการอภิเษกเป็ นสังฆราชที่ a สั นตะปาปา เคลเมนต์ ที c i r o เมืองเมลีฮาปูtร์ (อินเดีย) วันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1740 จากพระสังฆราชปิ นแฮโร (Pinheiro) ซึ่งมีผรู้ ่ วมอภิเษก 2 องค์ is คือH มิชชันนารี เก่าในกรุ งสยามองค์หนึ่งคือ คุณพ่อโอม็องต์ กับผูอ้ าํ นวยการวิทยาลัยของ เยสุ อิตที่ซาน - โทเม ท่าน
การแต่ งตั้งพระสั งฆราชเดอ โลเลียรฺ ท่ านมาถึงกรุงศรีอยุธยา
ออกจากเมืองปอนดิเชรี ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1741 และหลังจาก พักอยูท่ ี่มะริ ดนานพอสมควร ท่านเดินทางมาถึง กรุ งศรี อยุธยาในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1742
178
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
คุณพ่อลาแซรฺ เป็ นมิชชันนารี ที่สุขภาพดีองค์เดียวในขณะนั้น ออกไปต้อนรับ พระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ จัดให้ท่านลงไปนัง่ "ในเรื อกัญญาที่ประดับประดาอย่ างสง่ างาม มีคริ สตังราว 50 คนเป็ นฝี พายและชักธงฝรั่ งเศสอยู่ ท้ ายเรื อ" เรื อกัญญาลํานั้นเป็ นของพระโอรส องค์ใหญ่ของพระเจ้าแผ่นดิน ผูท้ ี่เพิ่งได้รับการประกาศเป็ น Grand Prince (วังหลวง?) หมายความว่าเป็ นรัชทายาทที่จะขึ้นครองราชสมบัติ แต่เนื่ องจากทรงทราบว่าสมัครพรรคพวก ของพระอนุชาองค์หนึ่งมุ่งร้ายตั้งตัวเป็ นศัตรู จึงทรงปรารถนาทําอะไรอย่างหนึ่งให้เป็ นที่พอใจพวกคาทอลิก เพื่อได้รับความเห็นใจจากพวกเขา
การเข้ าแสดงความคารวะต่ อเจ้ าพระยาพระคลัง
k
ko g n a fB
หลังจากเดินทางมาถึงแล้วไม่นาน พระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ ได้เข้าแสดงความคารวะ ต่อเจ้าพระยา พระคลัง เจ้าพระยาพระคลังต้อนรับท่านอย่างปั้นปึ่ ง "มิได้ กรุ ณาแม้ แต่ จะชี ้ให้ นั่งบนเก้ าอี ้ หรื อบนพรมต่ างหาก" ดังนั้นคุณพ่อ ลาแซรฺ จึงจําเป็ นต้อง "เอาหมอนมาวางซ้ อนๆ กันให้ ท่านนั่งต่ างเก้ าอีน้ วม" "คาถามของเจ้ าพระยา พระคลังเป็ นคาถาม ที่ไม่ ส้ ูจะเฉี ยบแหลม ส่ วนของกานัลที่พระสังฆราชถวายเล่ าก็ไม่ มีอะไรมาก" คุณพ่อลาแซรฺ เล่าถึงการต้อนรับ พระสังฆราชและสรุ ปย่อดังนี้ นับเป็ นคําสรุ ปย่อที่ไม่น่าชื่นชมนัก และถ้าพิจารณาดูสภาพการณ์ทว่ั ไปและตาม เหตุการณ์ที่อุบตั ิในเวลาต่อมา ก็จะเห็นได้วา่ เป็ นคําสรุ ปย่อที่ถูกต้อง พระสังฆราชนําพระราชสาสน์ของพระเจ้าหลุยส์ ที่ 15 มาทูลเกล้าฯถวายพระเจ้ากรุ งสยามฉบับหนึ่ง ซึ่ง บรรดาคณาจารย์สามเณราลัยได้ขอมาให้ท่าน แต่ท่านไม่เห็นควรจะพูดถึง เพราะตามธรรมเนียมของชาวสยามนั้น ถ้า ท่านนําพระราชสาสน์มา จะต้องนําเครื่ องบรรณาการอันมีค่ามาถวายมากๆ ด้วย เช่นเดียวกับพระสังฆราชเดอ ซีเซ และพระสังฆราชแตสซีเอร์ เดอ เกราเล พระสังฆราช เดอ โลเลียรฺ ไม่รู้ภาษาต่างๆ ที่พดู กันในมิสซังที่ท่านมาปกครอง ต่อมาเมื่อคุณพ่ออังดรี เออ (Andrieux) เขียนกล่าวถึงประมุข มิสซัง ก็จะหมายถึงพระสังฆราชทั้งสามนี้แหละ "หลังจาก พระสังฆราชลาโนลงมา ประมุขมิสซังของเราไม่ สามารถ ทาให้ ชาวสยามรู้ ค่าศาสนาของเรา ทั้งไม่ ร้ ู จักระวังตน ไม่ ทาขัดใจชนชาวสยามในโอกาสต่ างๆ ซึ่ งคนเราจะรู้ จักระวัง ตัวเช่ นนั้นไม่ ได้ ถ้ าไม่ ร้ ู ภาษาของเขา"
iv h rc
e c io d rch
o e s
A s e
A l a
ic r o ist
H
มิชชันนารีบางองค์ ถึงแก่มรณภาพ พระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ มาถึงกรุ งสยามได้ไม่นาน คุณพ่อกาบรี แอลก็ถึงแก่มรณภาพ ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1742 ส่ วนคุณพ่อเลอ บราส์ "ซึ่ งมีคุณสมบัติสูงเหมาะสมจะปกครองวัด ที่เมืองมะริ ด และบาเพ็ญชี วิตอย่ าง บริ สุทธิ์ ผดุ ผ่ อง และเป็ นแบบฉบับที่ดีมีใจร้ อนรนอย่ างไม่ ร้ ู จักเหน็ดเหนื่อย" ท่านไปรับบําเหน็จอันพึงได้รับเพราะ คุณธรรมของท่านในสวรรค์ ในเดือนตุลาคมปี เดียวกัน
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 179
มิสซังยังเสี ยพระสงฆ์ไปอีกองค์หนึ่งคือ คุณพ่อเลอแฟฟวรฺ ท่านได้รับแต่งตั้งเป็ น พระสังฆราชเกียรตินาม แห่งโนเอแลน (Noëlène) และประมุขมิสซังโคชินจีน เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1741 และเมื่อได้รับการอภิเษกเมื่อ วันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1743 แล้ว ท่านก็เดินทางไปปกครองมิสซังใหม่ในทันที
มิชชันนารีใหม่ มิชชันนารี ที่ค่อยๆ ทยอยกันมาแทนมิชชันนารี เก่า คือ ในปี ค.ศ. 1741 คุณพ่อบรี โกต์ (Brigot) เกิดในปี ค.ศ. 1713 ที่เมืองซุลลี ในสังฆมณฑลออรฺ เลอังส์ (Orléans), ในปี ค.ศ. 1745 คุณพ่อเลอ บ็อง (Le Bon) มาจาก เมืองแซ็ง-มาโล ขณะนั้นอายุ 35 ปี เป็ นอาจารย์เก่าที่วทิ ยาลัยแปลสซีส์ (Plessis) และโบแวส์ (Beauvais) ที่กรุ ง ปารี ส กับคุณพ่อดือบัวส์ (Dubois) แห่งสังฆมณฑลปัวจีเอร์ (Poitiers), ในปี ค.ศ. 1749 คุณพ่ออังดรี เออ (Andrieux) แห่ งสังฆมณฑลแกลรฺ มอ ็ งต์ (Clermont) กับคุณพ่อแกแอรฺ เว (Kerhervé) แห่งสังฆมณฑล แก็งเปร์ , ในปี ค.ศ. 1753 คุณพ่อโบเนต์ (Bonet) แห่งเมืองบูรคฺ ซึ่ งมาถึงไม่นานก็ถึงแก่มรณภาพ กับคุณพ่อมารฺ แต็ง แห่ง เมืองกัง (Caen) และคุณพ่อซี รู (Cirou) แห่งเมืองแซ็ง-มารฺ แต็ง-ดือ วีเออ-แบลแลม (Saint-Martin du VieuxBellême) สังฆมณฑลเซแอส (Séez)
k
เขตวัดนักบุญโยเซฟ ทีอ่ ยุธยา
iv h rc
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
เขตวัดนักบุญโยเซฟอยูใ่ นความปกครองของคุณพ่อดีดีโมชัว่ ระยะหนึ่ง คุณพ่อดีดีโมนั้นเป็ นที่รักนับถือของ สัตบุรุษมาก "ทั้งกลางวันและกลางคืน ท่ านช่ วยเหลือทั้งทางร่ างกายและวิญญาณ และในเรื่ องต่ างๆ ที่เกี่ยวกับชาว สยามด้ วย" ท่านเป็ นพระสงฆ์องค์เดียวที่พดู ภาษาญวน อันเป็ นภาษาที่จาํ เป็ นทีเดียวสําหรับปกครองสัตบุรุษกลุ่มใหญ่ พระสังฆราชนั้นทําหน้าที่พระสังฆราชแล้วยังมีเวลาเหลืออยูม่ าก ก็ช่วยคุณพ่อดีดีโมประกอบพิธีศีลศักดิ์ สิ ทธิ์ ท่านใช้ล่ามแปลคําสอนสัปดาห์ละหลายครั้ง และยังไปเยีย่ มคน เจ็บป่ วยด้วย ในค่ายญี่ปุ่น ท่านสร้างห้องๆ หนึ่งให้คริ สตังญวนมาชุมนุมสวดภาวนาทุกวัน สังฆานุกรคนหนึ่งชื่อ เอเตียน ซึ่ งไม่ชา้ จะบวชเป็ นพระสงฆ์ ก็ไป สอนคําสอนสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
A l a
H
ic r o ist
180
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
สังฆานุกรอีกคนหนึ่งชื่อ แบรฺ นารด์ ชารฺ บอโน เป็ นลูกของผูช้ ่วยเก่าของมิชชันนารี ก็ดูแลโรงเรี ยนเล็กๆ ที่มิ สซังมีอยูท่ ี่อยุธยา มีผเู้ ขียนพูดถึงเขาว่า "สั งฆานุกรคนนีเ้ ป็ นคนศักดิ์สิทธิ์ ดูเหมือนว่ าอาดัมไม่ เคยทาบาปในตัวเขา แต่ เนื่องจากเขาเป็ นคนซื่ อๆ ผู้ใหญ่ จึงไม่ คิดจะให้ เขารั บศีลบวชสูงกว่ านี "้ เขาสอนไม่มากเท่าไหร่ สอนนักเรี ยนราว 20 คน และบางคนก็ได้เข้าวิทยาลัยกลาง ขณะนั้นการกลับใจ แม้ในหมู่ชาวญวนก็มีนอ้ ยมาก และถ้าบังเอิญมีชาว สยาม สักคนขอรับศีลล้างบาปเวลาใกล้จะตาย เราก็ประกอบพิธีให้อย่างลับๆ หากเขาตาย เราก็ปล่อยให้ ครอบครัวทําพิธีฝังศพแบบคนต่างศาสนา เพียงแต่ไปเสกหลุมศพในเวลากลางคืนก่อนวัน ฝังศพเท่านั้น ส่ วนพวกมอญและลาว ซึ่งจดหมายของมิชชันนารี ในศตวรรษที่ 17 กล่าวถึงนั้น ไม่มีใครเอ่ยถึงอีกเลย
ok k วัดของมิสซังซึ่ งมีไม่กี่วดั ก็ไม่ใช่เจริ ญกว่านี้ ไม่มีใครพูดถึงวัดที่บางกอกและที่มะริ ดอีก ng เกี่ยวกับวัดที่ a มะริ ดนั้น ที่ยงั พูดถึงบ้างก็คือเรื่ องคุณพ่อเดอ โกนา มีขอ้ พิพาทกับเจ้าเมืองจนต้องไปอยูท่ fี่อยุB ธยา แล้วไม่กลับไปอีก และเรื่ องคุณพ่อดือบัวส์คิดจะไปสร้างโบสถ์ที่มะริ ดขึ้นใหม่ แล้วไปตั้งกลุ่มคริ สตัe งอีกo กลุ่มหนึ่งที่เมืองทวาย แต่ท่าน s e ก็ไม่ได้ทาํ ตามที่คิดไว้ท้ งั สองเรื่ อง c o กลุ่มคริ สตังที่จนั ทบูรณ์ ซึ่ งแตกกระจายไปเพราะคริ สตัd งส่ วiนหนึ่งถูกกวาดต้อนไป และอีกส่ วนหนึ่งหนีไป hบกุมและไปซ่อนตัวในป่ านั้น ค่อยๆ กลับมารวมกันใน c นั้น ค่อยๆ เกาะกลุ่มกันใหม่อย่างช้าๆ สัตบุรุษที่หนีพน้ การจั r sA ที่ที่เป็ นหมู่บา้ นเก่าของเขา เขาปลูกกระท่อมขึe แล้วกลับตั้งกลุ่มคริ สตังเล็กๆ ขึ้นอีก ้ นใหม่ v i งคุณพ่อเดอ โกนา มาที่นี่ ก็พบคริ สตัง "ใหญ่น้อย" 100 คน ถูกทอดทิ้ง ในปี ค.ศ. 1752 พระสังฆราชส่ h rc มากกว่า 10 ปี แล้ว "สัตบุรุษA ที่อายุไม่ ถึง 30 ปี ไม่ เคยสารภาพบาปเลย" แม้จะมี ข้อความบันทึกที่ทาํ ให้สลดใจ l a เช่นนี้ คุณพ่อเดอ iโกนา c เสริ มว่า "ทุกคนมีความรู้ในเรื่ องศาสนา ก็แปลว่า กลุ่มคริ สตชนกลุ่มนีม้ ีระเบียบดีเท่ากับ r o t ่งเศส หรื อมีระเบียบดีกว่าด้วยซ้าไป" ถ้าหากความเป็ นจริ งตรงกับคํายกย่องนี้ เราก็เห็นว่าต้อง เขตวัดของเราในฝรั s i H สภาพของวัดเล็กๆ
สรรเสริ ญระเบียบที่ชาวญวนได้ต้ งั ขึ้นที่นี่และลอกแบบมาจากระเบียบของกลุ่มคริ สตชนในโคชินจีนเหมือนที่อยุธยา นี่แหละคือประวัติยอ่ ของการบําเพ็ญชีวติ คริ สตชนในกรุ งสยามในยุคนั้น เป็ นประวัติที่อตั คัดเรื่ องมาก มีพฤติกรรมเล็กๆ น้อยๆ แต่เราก็ตอ้ งเก็บมา และคงไม่คิดจะยกมา ถ้าอยูใ่ นทุ่งนาที่อุดมสมบูรณ์กว่า แต่ใน ทะเลทรายอันแห้งแล้ง เราก็ตอ้ งเอาใจใส่ เก็บแม้กระทัง่ ต้นพืช ที่ข้ ีริ้วขี้เหร่ และตีราคาสู ง เพราะหาได้ยาก
วิทยาลัยกลาง ในปี ค.ศ. 1743 คุณพ่อดีดีโมล้มป่ วย แต่ทา่ นจะถึงแก่มรณภาพในปี ค.ศ. 1748 ฝ่ ายพระสังฆราชเดอ โล เลียรฺ ไม่มีใครช่วยที่อยุธยา ก็เรี ยกคุณพ่อลาแซรฺ มา แต่ท่านจะทิ้งเณรไว้ตามลําพังที่มหาพราหมณ์ไม่ได้ เพราะคุณพ่อ
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 181
เดอ โกนา ก็ไปแล้ว ท่านจึงพาเณรมาที่อยุธยา และอยูก่ บั เขาที่สามเณราลัย การกระทําเช่นนี้กเ็ ท่ากับทําความผิดที่ พระสังฆราชเดอ เกราเล ทํามาแล้วซํ้าอีกครั้งหนึ่ง แต่เดชะบุญทําผิดได้ไม่นาน พระสังฆราชยอมรับว่า "การพักอยู่ที่ อยุธยาเป็ นผลร้ ายต่ อเณร" ท่านจึงส่ งเขากลับไปมหาพราหมณ์ แต่ไม่อีกกี่ปีต่อมาคือ ในปี ค.ศ. 1749 ท่านก็เรี ยกเขา กลับมาที่อยุธยาอีก แต่แล้วท่านก็ให้เขากลับไปอยูท่ ี่มหาพราหมณ์ตามเจตจํานง อันแสดงออกมาอย่างแน่วแน่ของ คุณพ่อเลอ บ็อง ซึ่ งเป็ นอธิ การอยูใ่ นขณะนั้น การเปลี่ยนย้ายสถานที่บ่อยๆ เช่นนี้ ย่อมทําให้สาํ นักศึกษาเจริ ญก้าวหน้าไม่ได้ การเปลี่ยนอธิการบ่อยๆ ก็ยงิ่ ร้ายกว่าอีก เมื่อย้ายคุณพ่อลาแซรฺ ไปแล้ว คุณพ่อเลอ บ็อง ก็มาแทน ครั้นย้ายคุณพ่อเลอ บ็อง ไปอีก คุณพ่อเดอ โกนา ก็มาเป็ นอธิ การอีกไม่กี่เดือน คุณพ่อเลอ บ็อง กลับมาอีก และอยูจ่ นกระทัง่ ย้ายไปเป็ นเหรัญญิกมิสซังที่เมืองมา เก๊า ผูท้ ี่มาเป็ น อธิ การสามเณราลัยองค์ต่อมายังมีคุณพ่ออังดรี เออ, คุณพ่อบรี โกต์ และคุณพ่อแกแอรฺ เว "ซึ่ งองค์ หลังดู เหมาะสมและพูดภาษาไทยได้ ดี" จํานวนสามเณรอยูร่ ะหว่าง 20-35 คน ในวงการรัฐบาล บางครั้งก็ยงั มีความสนใจในเรื่ องที่ดินของมิสซังที่มหาพราหมณ์อยู่ ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1744 ได้มีขา้ ราชการมาถามพระสังฆราชเรื่ องหนังสื อแสดงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินรายนี้ของมิสซัง พระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ เล่าเรื่ องสมเด็จพระนารายณ์พระราชทานที่ดินแปลงนี้ให้ฟัง "ส่ วนหนังสื อแสดงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินนั้น ได้ สูญ หายไปในระหว่ างการเบียดเบียนศาสนาครั้ งหนึ่ง แต่ หนังสื อแสดงการพระราชทานยังมีอยู่" ในประเทศฝรั่งเศสก็ยงั มีคนไม่ลืมวิทยาลัยกลางที่อยุธยาเหมือนกัน แต่ที่ไม่ลืมนั้น ก็เพราะมีเจตนาที่ผดิ กัน เป็ นอีกอย่างหนึ่ง และบางครั้งผูท้ าํ บุญให้คณะมิสซังต่างประเทศก็ต้ งั ทุนช่วยสามเณรบางคน 1 ดังนั้น เมื่อวันที่ 20 สิ งหาคม ค.ศ. 1750 ดุ๊กแห่งออรฺ เลอังส์ ตั้งกองทุน 2,000 ลิฟวรฺ "เพื่อใช้ พิเศษช่ วยการเรี ยนของชาวเอเชี ยอาคเนย์ ใน วิทยาลัยกลางและ สามเณราลัยในกรงุสยาม" มาดามดือแปล๊กสฺ (Dupleix) ก็ถวายเงิน 1,200 เปี ยสตร์ ในปี ค.ศ. 1751 โดยมีเจตนาเช่นเดียวกัน
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
H มพันธ์ระหว่างพระสังฆราชกับพระเจ้าแผ่นดิน ความสั ในข้อที่พระสังฆราชยังคงมีความสัมพันธ์กบั รัฐบาลกรุ งสยาม พระเจ้าแผ่นดิน และขุนนางข้าราชการอยู่ บ้างนั้น เราจะเล่าแต่เรื่ องที่พระสังฆราชดําเนินการเพื่อขอให้ปล่อยคริ สตังที่ป้องกันสวนของสามเณราลัยสู้กบั คน ต่างศาสนาที่เป็ นขโมย กับเรื่ องพระสังฆราชทูลถวายเครื่ องบรรณาการแด่พระเจ้าแผ่นดิน ในปี ค.ศ. 1744 เมื่อครั้ง พระราชวังถูกเพลิงไหม้ พระสังฆราช เดอ โลเลียรฺ เขียนว่า "เราไม่ มีอะไรจะถวายดีกว่ าผ้ าแดงสี เข้ มสิ บศอก ผ้ าแพร
1เอกสารประวัติศาสตร์ คณะมิสซังต่างประเทศ เล่มที่ 1 หน้า 468
182
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
สี แดงหนึ่งผืน ติดดอกไม้ เงิน มีดโต๊ ะหกเล่ ม กับมีดเล็กสิ บสองเล่ ม" เพื่อขอบใจพระสังฆราช พระเจ้าแผ่นดิน มีรับสั่งให้พระราชทานผ้าพื้นเมืองหนึ่งร้อยผืน แต่ละผืนราคาเพียงราว 18 สตางค์ กับข้าว 17 ถัง พระเจ้าแผ่นดินกรุ งสยาม ซึ่ งจดหมายหลายฉบับแสดงให้เราเห็นว่า เป็ นบุคคลแปลกพิกลมิใช่นอ้ ย ทรงดําริ จะส่ งโอสถขนานหนึ่ง ซึ่งพระองค์เองทรงเป็ นผูผ้ สม "กับต้ น ortie folle" 2 ไปถวายพระเจ้ากรุ งฝรั่งเศสนั้น และ โอสถขนานนี้พระองค์ทรงอ้างว่าวิเศษมาก เจ้าพระยาพระคลังพูดถึงเรื่ องโอสถนี้กบั คุณพ่อดีดีโม และพระสังฆราช เดอ โลเลียรฺ แต่ครั้นพระสังฆราชบอกว่าอยากให้มีหนังสื อฉบับหนึ่งกํากับโอสถขนานนั้นไปด้วย ในที่สุดก็เลยไม่มี อะไรส่ งไป ในปี ค.ศ. 1745 หรื อ 1746 พระเจ้าแผ่นดินได้ทรงแสดงพระเมตตาต่อพระสังฆราช เดอ โลเลียรฺ โดยมี รับสั่งให้ปล่อยชาวฝรั่งเศสและอังกฤษหลายคน ซึ่งถูกจับที่มะริ ดและขังคุก ที่อยุธยา ในปี ค.ศ. 1747 พระสังฆราชได้ทูลเกล้าฯ ถวายรู ปภาพหลายภาพ ออร์แกนเยอรมัน ใบหนึ่ง "ที่ขึน้ สนิมนิด หน่ อย" กับกระดิ่งอันหนึ่งแด่พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานเงินจํานวนหนึ่งแก่พระสังฆราชเป็ นการ ตอบแทน บรรดาขุนนางแสดงความปรารถนาให้ทาง มิสซังถวายถุงมือแด่พระเจ้าแผ่นดินด้วย และเพื่อที่จะกระตุน้ พระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ ให้มีน้ าํ ใจกว้าง เขาส่ งถุงมือเก่า "ที่ปะด้ วยผ้ าเป็ นชิ ้นๆ น่ าหัวเราะและเป็ นสี อื่น" มาให้ท่าน ดูดว้ ย
k
การแห่ ของคนต่ างศาสนา พระสั งฆราชเดอ โลเลียรฺ ขัดสู้
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ในปี ค.ศ. 1748 และ 1749 ได้มีเหตุการณ์ร้ายแรงยิง่ ขึ้น และเป็ นผลเสี ยหายแก่ พระศาสนาคริ สตัง กล่าวคือ เนื่องในโอกาสที่ขดุ พบบ่อทองคําที่บางตะพาน 3 (Bang - Tapan) พระเจ้าแผ่นดินมีรับสัง่ ให้หล่อพระพุทธบาทข้าง หนึ่งกับดอกบัวดอกหนึ่งเป็ นทอง และให้ทาํ การแห่แหนอย่างสง่า ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1748 มีคนมาเรี ยนพระสังฆราชว่า โดยพระราชโองการของ พระเจ้าแผ่นดิน พวกคริ สตังต้องไปร่ วมพิธีแห่ดว้ ย พอพระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ ตอบว่าไปร่ วมแห่ดว้ ยไม่ได้ ทางการก็เริ่ มเบียดเบียน รังแกพวกคริ สตัง ขัดขวางมิให้ไปร่ วมพิธีมิสซา บังคับให้ ทํางานหนัก และขู่จะจับใส่ คุก
ic r o ist
H
2ต้น ortie พจนานุกรมแปลว่า "ต้นตําแย, ต้นหมามุ่ย" แต่เมื่อรวมสองคําเป็ น ortie folle ไม่ทราบว่าเป็ น "ต้นตําแย หรื อหมามุ่ย" ชนิดใด (ผูแ้ ปล) 3บางตะพาน (บางสะพาน) อยูใ่ นจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ (กรรมการฯ)
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 183
เจ้าพระยาพระคลังสั่งให้เรี ยกพระสังฆราชไปหา กล่าวว่า "ในการแห่ นี้ เราไม่ ได้ ขอให้ พวกท่ านไหว้ หรื อ สวดวิงวอนพระของเราดอก ท่ านจะสวดวิงวอนพระของพวกท่ านก็ได้ เราขอให้ พวกท่ านทาแต่ กิจการภายนอก เท่ านั้น ส่ วนความตั้งใจซึ่ งเป็ นเรื่ องสาคัญนั้น ให้ ท่านมุ่งไปทางอื่นตามใจเถิด" เป็ นที่เห็นได้ชดั ว่าบุคคลที่พดู เช่นนี้หารู้ไม่วา่ มโนธรรมของคริ สตังเป็ นอย่างไร แต่เหตุผล ที่เขาอ้างนั้น มิใช่วา่ มีแต่เขาที่อา้ งหรื อมีเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น เหตุผลที่อา้ งเช่นนี้มีในประเทศคนต่างศาสนาทัว่ ไป และเรา เคยได้ยนิ คําพูดทํานองนี้จากปากของขุนนางจีนและญวน ตลอดจนเสนาอํามาตย์ชาวโรมัน เขาเหล่านั้นไม่รู้วา่ ความ จริ งเรี ยกร้องให้ตอ้ งทําสิ่ งใด พระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ ตอบว่า "เมื่อกิจการอันหนึ่งต้ องห้ ามและไม่ ดีในตัวมันเอง ความตั้งใจก็ไม่ พอ สาหรั บทาให้ กิจการนั้นดีได้ " เมื่อเห็นพระสังฆราชขัดสู ้ดงั นี้ รัฐบาลสยามจึงอ่อนข้อไม่บีบบังคับให้คริ สตังไปร่ วม ในการแห่ครั้งแรก แต่ได้ย้าํ เตือนให้สาํ เหนียกถึงคําสั่งห้ามมิให้คนสยามและมอญถือศาสนาคริ สตัง ครั้นเมื่อจะทําการแห่อีกครั้งหนึ่งใน เดือนมกราคม ค.ศ. 1749 ทางการได้รบเร้าจะให้พวกคริ สตังไปร่ วมในการแห่อีก เมื่อเขาไม่ยอม ข้าราชการผูใ้ หญ่ คนหนึ่งก็สง่ั ให้จบั คริ สตังหลายคนและลงโทษให้ไปทํางานหนัก แต่เจ้าผูเ้ ป็ นรัชทายาททรงทักท้วง เขาจึงปล่อยพวก คริ สตังไป อย่างไรก็ดี เนื่องจากพวกคริ สตังยังถูกขู่เข็ญและรบกวนอยูเ่ สมอ พระสังฆราชจึงนํา รู ปภาพจากยุโรปสี่ ภาพ กระจกส่ องหน้าหนึ่งบานกับของเบ็ดเตล็ดอื่นๆ ไปถวายเอาใจเจ้าพระยาพระคลัง เรื่ องก็ดูเหมือนจะเลิกแล้วกันไป แต่ทางการก็ยงั ทําการอย่างหนึ่ง ซึ่ งถือได้วา่ เป็ น บทส่ งท้ายเรื่ องนี้คือ ในเดือนพฤษภาคมปี เดียวกันนั้นเอง ทางการ ได้สง่ั เขียนถ้อยคําที่จารึ ก บนหินทําให้สะดุด แต่ลบเลือนไปบ้างเสี ยใหม่ ด้วยการกระทําดังนี้และด้วยการกระทําที่ โบสถ์เมืองมะริ ดรัฐบาลยืนยันอย่างเป็ นทางการอีกครั้งหนึ่งว่า มีเจตจํานงที่จะห้ามมิให้ชาวสยาม ถือศาสนาคาทอลิก
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
แผ่H นหินทาให้ สะดุดทีเ่ มืองมะริด
ในเดือนพฤศจิกายนปี เดียวกัน เจ้าเมืองตะนาวศรี ได้จดั เตรี ยมหินแผ่นหนึ่ง ตามพระราชโองการของพระเจ้า แผ่นดิน มีขอ้ ความจารึ กเช่นเดียวกับแผ่นหิ นที่กรุ งศรี อยุธยา และนําหินนั้นไปที่เมืองมะริ ด วันที่ 12 ธันวาคม นายทหารคนหนึ่งได้มาถามคุณพ่อบรี โกต์ กับคุณพ่อเมแยรฺ (Méyére) ซึ่ งประจําอยูท่ ี่วดั นั้นว่า จะให้วางหินนั้นใน โบสถ์ตรงไหน คุณพ่อบรี โกต์ ตอบว่า "ท่ านยินยอมให้ วางหิ นนั้นตามพระราชโองการไม่ ได้ " และยังเสริ มว่า "พวกมิชชันนารี จะไม่ ยอมปฏิ บัติตามพระราชโองการในหิ นนั้น แม้ จะต้ องเสี ยชี วิตก็ตามที "
184
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
นายทหารแย้งว่า "คุณพ่ อพูดถูก เหตุผลก็เข้ าที แต่ เราจาเป็ นต้ องปฏิ บัติตามพระราช โองการ" อย่างไรก็ดี เขาได้นาํ เรื่ องเสนอเจ้าเมืองตะนาวศรี ในวันอาทิตย์ต่อมา เวลามิสซา คุณพ่อบรี โกต์อ่านคําคัดค้านที่ท่านลงนามพร้อมกับ คุณพ่อเมแยรฺ และคุณ พ่อดือบัวส์ ได้มีการเจรจากันอีก เจ้าเมืองมะริ ดพร้อมด้วยนายทหารหลายคนได้ไปหาพวกมิชชันนารี และ "อ้ อนวอน รบเร้ าอย่ างสุภาพที่สุด" ให้ยนิ ยอม แต่พวกมิชชันนารี ก็หายอมไม่ เจ้าเมืองจะรบเร้าสักเท่าไร เขาก็ยงั คงคัดค้านอยู่ นัน่ เอง ที่สุดในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1750 ข้าราชการกับคนงานหลายคนมา จะหาที่วางหิน คุณพ่อดือบัวส์ พยายามอีกครั้งหนึ่งเป็ นครั้งสุ ดท้าย ท่านไปเฝ้ าอุปราชและ "ด้ วยความเร่ าร้ อนในการแพร่ ธรรม ท่ านพยายามทูล เกลีย้ กล่ อมให้ พระองค์ ทรงเชื่ อว่ า เพื่อมีเกียรติอย่ างแท้ จริ งและเพื่อเอาวิญญาณรอด พระองค์ ต้องขจัดหิ นนีเ้ สี ย" ท่าน ทําการไม่เป็ นผลสําเร็ จ "เขาถือโอกาสที่ประตูเปิ ดอยู่ นาหิ นอุบาทว์ เข้ าไป แล้ ววางในที่ดินของเราด้ านซ้ าย ข้ างประตู ใหญ่ ของโบสถ์ เขาใส่ กรอบไว้ ในกระดานสี่ แผ่ น"
k
ko g n a fB
o e การที่ทางการสั่งเขียนถ้อยคําบนแผ่นหิ นทําให้สะดุดแผ่นแรกที่โบสถ์ อsยุธยาเสี ยใหม่ และยังนําแผ่นที่สอง e c ไปไว้ที่โบสถ์เมืองมะริ ดนั้น ทําให้พวกมิชชันนารี มีเรื่ องต้องโต้แd ย้งกัiนoคือ มิชชันนารี ส่วนใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิง่ คุณ h พ่อเลอ บ็อง มีความเห็นว่าพระสังฆราชจําเป็ นต้อง คัดค้rาc นข้อความที่จารึ กบนหิน แต่เขามีความเห็นต่างกันในเรื่ อง A จะต้องคัดค้านอย่างไร บางคนอยากให้แต่งคําหัs กล้างข้อความที่จารึ กบนหิน แล้วเอาไปติดไว้ใกล้ๆ แผ่นหินทําให้ ivาeแผ่นดินโดยตรง "เพราะการคัดค้านต่อหน้าพวกคริ สตังเวลาเทศน์นั้น ดู สะดุด บางคนก็อยากให้เขียนฎีกาทูลh พระเจ้ rc โลเลียรฺ โต้ตอบโดยส่งบันทึกฉบับหนึ่งถึง สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศ จะเป็ นการไม่ เพียงพอ" พระสัA งฆราชเดอ l ที่ท่านเองและพระสังฆราชเดอ เกราเล ได้ปฏิบตั ิมา a ชี้แจงและอธิ บายการต่ า งๆ ic r o คุณtพ่อบรี โกต์ปรึ กษาถามพระสังฆราชเนเอส (Néez) ประมุขมิสซังตังเกี๋ยตะวันตก ท่านก็ตอบว่า s i "ที่พH ระสังฆราชแห่ งโรซารี (พระสังฆราชเกราเล) และพระสังฆราชแห่ งยูลีโอโปลิส (พระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ ) โต้ แย้ งกันเรื่องจาเป็ นต้ องคัดค้ านหรือไม่
คัดค้ านมาแล้ วนั้น เพียงพอแล้ ว"
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 185
เรื่องการตั้งสั งฆมณฑลในประเทศสยาม ประเทศโคชินจีน และประเทศตังเกีย๋ ในขณะที่มิสซังกรุ งสยามเสื่ อมถอยตกระกําลําบากนั้น สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศกับบรรดาเหรัญญิก ของคณะที่กรุ งโรมกําลังต่อสู ้เพื่อรักษามิสซังดังกล่าวไว้มิให้หลุดไปจากคณะ มิสซังต่างประเทศ นี่เป็ นประวัติของ บรรดามิสซังในคาบสมุทรอินโดจีนหน้าหนึ่ง ที่มิได้เขียนไว้ เราเห็นว่าเป็ นเรื่ องน่าสนใจมากเหมือนกัน 4 ประเทศโปรตุเกสไม่เคยรับรู ้อาํ นาจปกครองของบรรดาประมุขมิสซังในคาบสมุทร อินโดจีน อาศัยสิ ทธิ์ ที่อา้ งว่าได้รับจากพระสมณโองการของพระสันตะปาปาหลายองค์ ประเทศโปรตุเกสยืนยันว่าพระสังฆราชแห่ง มะละกาและมาเก๊ามีอาํ นาจเหนือประเทศตังเกี๋ย ประเทศโคชินจีน และกรุ งสยาม แต่เพราะเหตุวา่ พระสังฆราชแห่ง มะละกาและมาเก๊าใช้อาํ นาจดังกล่าวไม่ต่อเนื่องกัน โดยส่ งนักพรตชาวโปรตุเกสมา และเพราะเหตุวา่ บรรดาประมุข มิสซังยังตั้งใจ อยูเ่ สมอจะบังคับนักพรตเหล่านี้ให้ยอมอยูใ่ ต้อาํ นาจ ประเทศโปรตุเกสจึงวางแผนจะขบปัญหา ที่โต้แย้งกันแต่นานนักหนามาแล้ว ให้จบพร้อมกันทีเดียว ทั้งทางนิตินยั และพฤตินยั ใน ค.ศ. 1748 ราชทูตของประเทศโปรตุเกสที่กรุ งโรมชื่อ อัศวิน (commandeur) ซัมปาโย (Zampajo) ยืน่ บันทึกหลายฉบับ ขอให้ต้ งั สังฆมณฑลขึ้นในประเทศสยาม โคชินจีน และตังเกี๋ย รับรองว่ารัฐบาลของเขาจะให้ เงินอุดหนุนและจะส่ งพระสงฆ์เป็ นจํานวนเพียงพอสําหรับปกครองคริ สตัง พอทราบข่าวจากคุณพ่อเดอ แวรฺ ตาม็อง (de Verthamon) เหรัญญิกของคณะที่กรุ งโรมและเป็ นมิชชันนารี เก่าที่แคว้นเสฉวน บรรดาคณาจารย์สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศก็ขอร้องรัฐบาลฝรั่งเศสให้ขดั ขวางความต้องการ ของประเทศโปรตุเกส เขายืน่ บันทึกทูลพระสันตะปาปา บรรยายว่าเงินอุดหนุนที่ประเทศโปรตุเกสจะให้น้ นั อาจจะ กระตุน้ พระสังฆราชที่ได้รับเงิน อุดหนุนให้กลับไปยุโรป เพื่อจะได้ใช้เงินนั้นอย่างสุ ขสบาย อาจจะชักจูงพวก มิชชันนารี ให้คิดอยากเป็ นพระสังฆราช อาจจะก่อความวิตกแก่รัฐบาลคนต่างศาสนา และที่สุดอาจจะบังคับบรรดา ประมุขมิสซังและพระสงฆ์ฝรั่งเศสให้ออกจากมิสซังที่มอบให้เขาปกครองตั้งแต่ศตวรรษหนึ่งมาแล้ว เขามีความเห็นว่าถ้ากรุ งโรมอยากตั้งสังฆมณฑล ก็ให้ต้ งั โดยไม่มีเงินอุดหนุน หรื อให้เอาเงินอุดหนุนจาก เงินทุนที่คณะมิสซังต่างประเทศมีอยูแ่ ล้วจะเป็ นการดีกว่า เคราะห์ดีที่ขอ้ เสนอเหล่านี้ตรงกับการดําเนินงานที่ท่านเอก อัครสมณทูตที่กรุ งปารี สชี้แจงแก่รัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ ที่ 15 ว่า ถ้าประเทศฝรั่งเศสบอกออกมาตรงๆ ในเรื่ องนี้ การขัดขวางของประเทศฝรั่งเศส ก็จะทําให้ทุกอย่างหยุดชะงักหมด
k
iv h rc
A l a
ic r o ist
H
4เอกสารคณะมิสซังต่างประเทศ เล่ม 884 หน้า 27
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
186
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
ในขณะเดียวกัน คุณพ่อเดอ แวรฺ ตาม็อง เขียนบันทึกที่คิดไตร่ ตรองเป็ นอย่างดี แล้วยืน่ ต่อสมณกระทรวง เผยแพร่ ความเชื่อและราชทูตของเรา (ฝรั่งเศส) ที่กรุ งโรม คือดุ๊ก เดอ นีแวรฺ แนส์ (de Nivernais) ท่านขอให้การ เลือกพระสังฆราช "ทาอย่ างเป็ นอิสระ ถือหลักอย่ างเดียวคือ คานึงถึงความสามารถและคุณสมบัติที่เหมาะแก่ งานที่ ชะรอยจะเป็ นงานที่ยากที่สุดในโลก" ท่านอธิบายถึงความยุง่ ยากลําบากต่างๆ ที่จะเกิดจากการเปลี่ยนมิชชันนารี เช่น คริ สตัง จะเสี ยใจที่ "คุณพ่ อฝ่ ายวิญญาณ" ที่เขารักนิยมและคุน้ เคยแต่นานมาแล้วจากไป พระสงฆ์ พื้นเมือง ที่มิชชันนารี ฝรั่งเศสอบรมมาอย่างดียงิ่ นั้นจะถูกทอดทิง้ และผูป้ ระกาศพระวรสารจะหาในประเทศโปรตุเกสได้เป็ น จํานวนไม่เพียงพอ เมื่อหันมาสรรเสริ ญพระสงฆ์ชาวฝรั่งเศส ท่านกล่าวว่า "จนถึงบัดนี ้ ไม่ มีพระสงฆ์ คณะใดที่อ่อน น้ อมต่ อพระสันตะสานัก ตั้งใจปฏิ บัติหน้ าที่และมีความประพฤติหาที่ติมิได้ ยิ่งกว่ าพระสงฆ์ ในคณะนี ้ ไม่ มีกลุ่ม คริ สตชนใดมีความประพฤติดี ได้ รับการปกครองดี และมีความรู้ ศาสนาดีเท่ ากับกลุ่มคริ สตชนของเขา" ส่ วนเรื่ องเงิน อุดหนุนนั้น ประมุขมิสซังก็มิได้รับจากรัฐบาลฝรั่งเศส ซึ่ งให้เงินอุดหนุนแก่คณะมิสซังต่างประเทศแล้ว ดอกหรื อ? เมื่อได้แสดงให้เห็นผลร้ายที่จะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงและผลดีที่จะเกิดจากการ คงสภาพเดิมไว้แล้ว คุณพ่อเดอ แวรฺ ตาม็อง กล่าวว่า "เช่ นนี ้ มีความจาเป็ นอะไรที่จะเสนอให้ มีการตั้งสังฆมณฑลขึน้ ? มีประโยชน์ อะไรที่ จะเปลี่ยนสถาบันแห่ งหนึ่ง ซึ่ งแก่ นแท้ กเ็ ป็ นอันเดียวกัน และประสบการณ์ กแ็ สดงให้ เห็นแล้ วว่ ามีประโยชน์ แล้ วจะมาคิดตั้งสถาบันอีกแห่ งหนึ่ง ซึ่ งมองเห็นได้ ง่ายๆ ว่ าจะเกิดผลร้ ายเพื่ออะไร?" แล้วคุณพ่อสรุ ปโดยขอ 1. ให้มิชชันนารี ฝรั่งเศสอยูต่ ่อไปในมิสซังของเขา 2. ให้ประเทศที่เขาตั้งอยูแ่ ล้ว เช่น ประเทศตังเกี๋ย ประเทศโคชินจีน และประเทศสยาม ไม่รวมเข้าใน สังฆมณฑล ซึ่ งพระสันตะปาปาอาจจะทรงตั้งขึ้นสําหรับชาวโปรตุเกส เมื่อได้อ่านบันทึกเตือนความจําเหล่านี้และเมื่อได้รับคําแนะนําจากพระราชสํานักฝรั่งเศสแล้ว ดุ๊ก เดอ นิแวรฺ แนส์ ก็ยนื่ บันทึกฉบับหนึ่ง "เพียงแต่ ขอไม่ ให้ มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในพระนามของพระเจ้ าแผ่ นดินกรุ งฝรั่ งเศส" ระหว่างนั้น อัศวินซัมปาโย ก็ถึงแก่กรรมเสี ย เรื่ องนี้จึงเงียบอยูเ่ ป็ นเวลาหลายเดือน ครั้นแล้วก็ฟ้ื นตื่นขึ้นมาอีก เมื่อผูร้ ับตําแหน่งต่อจากอัศวินซัมปาโย เดินทางมาถึงกรุ งโรม แล้วดําเนินเรื่ องเดิมต่อไป พระสังฆราชเดอ มารฺ ตีลิ อาต์ (de Martiliat) พระสังฆราชเกียรตินามแห่งเอกรี เน (d'Ecrinée) อดีตประมุขมิสซังเสฉวน ได้รับแต่งตั้งเป็ น เหรัญญิกของคณะมิสซังต่างประเทศที่กรุ งโรมแทนคุณพ่อเดอ แวรฺ ตาม็อง ท่านยังคงสนับสนุนความเห็นของ เหรัญญิกคนเก่า และในบันทึกฉบับแรกที่ยนื่ ต่อราชฑูตของเรา ท่านยํ้าเหตุผล อย่างเดียวกัน และเพิ่มเหตุผลอีกบาง ประการ ซึ่งถ้าได้รับการพิจารณา ก็อาจจะเอื้ออํานวยให้ขยายอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศสได้ง่ายขึ้น
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 187
ในขณะเดียวกัน บรรดาคณาจารย์แห่งสามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศอธิบายให้พระสังฆราชเกียรตินาม แห่งมีเรอปั ว (Mirepoix) คือ พระสังฆราชบัวเยร์ (Boyer) ที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งเป็ นพระอาจารย์ของมกุฎราชกุมาร เข้าใจว่าปั ญหาเรื่ องนี้เป็ นอย่างไรและได้ดาํ เนินการมาแล้วอย่างไรบ้าง ดุ๊ก เดอ นีแวรฺ แนส์ สรุ ปความเห็นของรัฐบาล ท่านว่าดังนี้ : "เมื่อสามปี ก่ อน พระเจ้ าแผ่ นดินทรงมีเหตุผลอย่ างไรที่จะขัดขวางมิให้ ตั้งสามสังฆมณฑล ที่พระเจ้ า แผ่ นดินประเทศโปรตุเกสพอพระทัยจะให้ เงินอุดหนุนในภาคอินเดียตะวันออก ทุกวันนีพ้ ระองค์ กย็ งั ทรงมีเหตุผล เช่ นนั้นอยู่" พระสันตะปาปา เบเนดิกต์ ที่ 14 ทรงตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งประกอบด้วยพระคาร์ดินลั วาแลนตี ผูเ้ ป็ นเลขาธิ การแห่งรัฐ กับพระคาร์ ดินลั สปี แนลลี และพระคาร์ดินลั ตัมบูรีนี และยังมีรับสั่งให้พระสังฆราชเดอ มารฺ ตีลีอาต์ ชี้แจงเหตุผลของบรรดา พระสังฆราชและมิชชันนารี ฝรั่งเศส โดยไม่ตอ้ งถกเถียงเรื่ อง "สิ ทธิ์ อุปถัมภ์ ของชาว โปรตุเกส" ถูกต้องหรื อไม่ พระสังฆราชเดอ มารฺ ตีลีอาต์ ก็แสดงให้เห็นว่าการตั้งสังฆมณฑลขึ้นไม่มีประโยชน์ มีอนั ตรายสําหรับ การเผยแพร่ พระวรสาร และเป็ นการทําผิดยุติธรรมต่อบรรดาประมุขมิสซัง ชาวฝรั่งเศส คําตัดสิ นของคณะกรรมการ พระคาร์ ดินลั ก็เป็ นไปตามข้ออ้างยืนยันของราชทูตฝรั่งเศสและพระสังฆราชเดอ มารฺ ตีลีอาต์ กรุ งโรมไม่อนุญาตให้เป็ นไปตามคําขอร้องของประเทศโปรตุเกส ส่ วนที่ประเทศตังเกี๋ย โคชินจีน และ สยามนั้น เหตุการณ์คงเป็ นไปเหมือนเช่นเดิม ความจริ งเรื่ องนี้ก็เป็ นเรื่ องสําคัญ และอาจมีผลใหญ่หลวงตามมา พวกมิชชันนารี ก็เพียงแต่รู้ระแคะระคาย แต่รู้เท่านั้นก็พอจะทําให้การติดต่อระหว่างพระสงฆ์ชาวฝรั่งเศสกับนักพรต ชาวโปรตุเกสเป็ นไปอย่างเย็นชายิง่ ขึ้น เรายังพบร่ องรอยของความเย็นชานั้นในจดหมายหลายฉบับของพระสังฆราช เดอ โลเลียรฺ และของ คุณพ่อบรี โกต์ แต่เราไม่เห็นการกระทํารุ นแรงหรื อการก่อความยุง่ ยาก อื้อฉาวอย่างที่เคยมีในสมัยที่พระสังฆราช ลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต พระสังฆราชลาโน หรื อ พระสังฆราชเดอ ซีเซ ดํารงตําแหน่งสังฆราช จริ งอยู่ จิตใจของทั้ง สองฝ่ ายไม่เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่สงบและสุ ขมุ ขึ้น ผูแ้ พร่ ธรรมทั้งหลายทั้งปวงคงเข้าใจแล้วว่าความสงบนั้น เป็ นสภาพจิต อันมีคุณที่สุดทั้งสําหรับตัวเขาเองและทั้งสําหรับสัตบุรุษด้วย
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
H
การอาพาธและมรณภาพของพระสั งฆราชเดอ โลเลียรฺ และของมิชชันนารีหลายองค์ แต่ความสงบดังกล่าวหาได้มีอยูใ่ นการปกครองภายในของพระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ ไม่ ท่านอาพาธเป็ น โรคประสาทอ่อน (neurasthénie) มีนิสัยฉุนเฉียว ได้มีเรื่ องมึนตึงกับพระสงฆ์ บางองค์ เป็ นต้นกับคุณพ่อลาแซรฺ ซึ่งต้องไปอยูท่ ี่สาํ นักเหรัญญิกที่มาเก๊า และได้รับแต่งตั้งเป็ นพระสังฆราชเกียรตินามแห่งเซลา (Zéla) และประมุข
188
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
มิสซังเสฉวน และต่อมากับคุณพ่อเลอ บ็อง ซึ่งภายหลังในปี ค.ศ. 1753 ได้เป็ นเหรัญญิกที่เมาเก๊า แล้วกลับมาเป็ น ประมุขมิสซังกรุ งสยาม เมื่อพระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ รู ้สึกว่าใกล้จะถึงวาระสุ ดท้ายแล้ว ท่านเขียนถึงสามเณราลัยคณะมิสซัง ต่างประเทศว่า "ขอได้ โปรดเชื่ อเถิดว่ า ข้ าพเจ้ ามีใจผูกพันอยู่กับ พระศาสนาศักดิ์สิทธิ์ ของเรา และกับพระกฤษฎีกา ทุกฉบับแห่ งพระสันตะสานัก และพระ สมณกระทรวงเสมอ อีกทั้งข้ าพเจ้ าร่ วมเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกับสามเณราลัย มิสซังต่ างประเทศ ทั้งด้ วยใจและความรั กตลอดมา" ท่านถึงแก่มรณภาพที่อยุธยา เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1755 หลังจากดํารงอยูใ่ นตําแหน่งพระสังฆราช 17 ปี .
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB