16 ประวัติมิสซังกรุงสยาม บทที่ 13

Page 1

บทที่ 13 สมัยพระสังฆราชบรีโกต์ ค.ศ. 1755 - 1768 มิสซังกรุงสยามถึงแก่ ความพินาศ พระสั งฆราชบรีโกต์ ได้ รับแต่ งตั้งและรับอภิเษกเป็ นพระสั งฆราช พระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ อาพาธเป็ นเวลานาน สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศจึงตัดสิ นใจจะให้ท่าน มีสังฆราชผูช้ ่วยองค์หนึ่ง ความจริ งท่านได้เขียนเกี่ยวกับเรื่ องนี้ถึงพระสังฆราช เดอ มารฺ ตีลีอาต์ เหรัญญิก ของคณะที่กรุ งโรมหลายครั้งหลายหนแล้ว หนังสื อฉบับสุ ดท้ายของพระสังฆราชเดอ มารฺ ตีลีอาต์ ถึงกระทรวง เผยแพร่ ความเชื่อเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1755 ได้รับคําตอบเห็นชอบในทันที ตั้งแต่วนั ที่ 22 เดือนเดียวกัน นั้นเอง คุณพ่อบรี โกต์ มิชชันนารี ในกรุ งสยามตั้งแต่ปี ค.ศ. 1741 ได้รับแต่งตั้งเป็ นพระสังฆราชเกียรตินาม แห่งตาบรากา (Tabraca) และผูช้ ่วยประมุขมิสซังสยาม พร้อมกับสิ ทธิ์ จะสื บตําแหน่งแทนต่อไป เมื่อผูไ้ ด้รับเลือกได้รับสารตราตั้งจากกรุ งโรม ก็ถือว่าท่านได้สืบตําแหน่งแทนแล้วเพราะพระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ ถึงแก่มรณภาพก่อนเป็ นเวลาหลายเดือน แต่เนื่องจากพวกพระสงฆ์ฟรังซิสกันชาวโปรตุเกสขัดขวางมิให้ พระสังฆราชปัลลุส (Pallus)ประมุขมิสซังฟูเกี้ยน (จีน) ผูเ้ ดินทางผ่านมาที่กรุ งศรี อยุธยา อภิเษกท่านเป็ นพระสังฆ ราช พระสังฆราชบรี โกต์จึงเดินทางไป กรุ งมะนิลา ได้รับการอภิเษกที่นน่ั เมื่อวันที่ 24 สิ งหาคม ค.ศ. 1757 แล้ว เดินทางไปประกอบพิธี ศีลกําลังตามชนบทต่างๆ ในเกาะฟิ ลิปปิ นส์เป็ นเวลาหลายเดือน และกลับมาประเทศสยาม ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1758

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

มิชชันนารีบางองค์ ricถึงแก่มรณภาพ

o t นั บ แต่ พระสังฆราชบรี โกต์ได้รับแต่งตั้งเป็ นประมุขมิสซัง s i H

มิชชันนารี ได้ถึงแก่มรณภาพ 4 องค์ คือ ในปี ค.ศ. 1756 คุณพ่อเดอ โกนา ถึงแก่มรณภาพที่จนั ทบูรณ์, คุณพ่อดือบัวส์ และ คุณพ่อโบเนต์ ถึงแก่มรณภาพ ที่มหาพราหมณ์ (อยุธยา) ในปี หลังๆ ที่ยงั มีชีวติ อยู่ คุณพ่อดือบัวส์ แม้วา่ ทุพพลภาพ ก็ยงั ต้องทําหน้าที่เป็ นเหรัญญิก มีผกู้ ล่าวถึงท่าน ว่า "ช่ างกระตือรื อร้ นและถ่ อมตัว แต่ ไม่ ไว้ ใจตนเองเกินไป" มีผบู้ อกนิสัยของคุณพ่อโบเนต์วา่ "ตั้งหน้ าแต่ จะแสดง ความร้ อนรน และคิดแต่ จะทางานแม้ เมื่ออาพาธ" ส่ วนคุณพ่อเมแยรฺ น้ นั ถึงแก่มรณภาพในปี ค.ศ. 1757 เกือบตลอด ชีวติ ท่านประจําอยูท่ ี่มิสซังตังเกี๋ยตะวันตก และมาอยูก่ รุ งสยามได้หนึ่งปี

มิชชันนารีใหม่ มิชชันนารี ที่ถึงแก่มรณภาพ ไม่ชา้ ก็มีมิชชันนารี ใหม่มาแทนคือ คุณพ่อบัวเรต์ (Boiret) เกิดที่เมือง ลาแฟ็ ลช (La Flèche) เป็ นคนมีปฏิภาณเฉียบแหลมและเอาจริ งเอาจัง เป็ นนักทํางานที่อดทน คุณค่าสู งของท่าน


190  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

จะเห็นได้เป็ นต้นที่กรุ งโรมและที่กรุ งปารี สในหน้าที่เป็ นเหรัญญิกของมิสซังโคชินจีนและคณาจารย์แห่งสามเณรา ลัยมิสซังต่างประเทศ ; คุณพ่อกอรฺ (Corre) แห่งสังฆมณฑลแซ็ง-ปอล-เดอ-เลอ็อง (Saint-Pol-de-Léon) ซึ่งมีใจร้อนรนอย่างยิง่ ; คุณพ่ออารฺ โตด์ (Artaud) แห่งสังฆมณฑลแกลรม็องต์ (Clermont) ซึ่งรู้จกั สู้ทนความ ทุกข์ทรมาน ด้วยความอดทน และคุณพ่ออาลารี (Alary) แห่งสังฆมณฑลอัลบี ซึ่ งเมื่อเริ่ มแพร่ ธรรมที่มิสซัง กรุ งสยามแล้ว จะไปแพร่ ธรรมต่อในมิสซังเสฉวน แล้วที่สุดไปเป็ นคณาจารย์ที่สามเณราลัย คณะมิสซังต่าง ประเทศกรุ งปารี ส ยังมีอดีตมิชชันนารี จากมิสซังเสฉวนอีกองค์หนึ่งคือ คุณพ่ออูรฺแบ็ง เลอแฟฟวรฺ (Urbain Lef่​่èbvre) เป็ นชาวเมืองตูรฺส์(Tours)ถูกจําคุกที่เมืองเชนตู ภายหลังถูกขับออกจากประเทศจีน คุณพ่อองค์น้ ีมาทํางานในกรุ ง สยาม หลายเดือน ก่อนจะกลับไปประเทศฝรั่งเศส มิชชันนารี เหล่านี้เป็ นผูร้ ่ วมงานกับพระสังฆราชบรี โกต์ นอกจากนั้นยังมีคุณพ่ออังดรี เออ, คุณพ่อแกแอรฺ เว, คุณพ่อมารฺ แต็ง และคุณพ่อซี รู ซึ่งเราได้บอกชื่อมาแล้ว เพราะเขาอยูใ่ น กรุ งสยามในสมัยที่พระสังฆราชเดอ โลเลียรฺ ดํารงตําแหน่งเป็ นพระสังฆราช

k

o e s

ko g n a fB

e c iาoแผ่นดินองค์ที่พงศาวดารไทยถวายพระนามว่า พอพระสังฆราชบรี โกต์กลับมาถึงกรุ งศรี อยุธยา พระเจ้ d h ที่ 3 ก็ทรงขึ้น ครองราชสมบัติแทน c พระบรมราชาธิราชที่ 31 ก็เสด็จสวรรคต แล้วพระราชโอรสองค์ r A ทรงพระนามว่า พระบรมราชาธิราชที่ 4 ก็คือองค์ ที่พระสังฆราชปัลเลอกัว เรี ยกว่า "เจ้ าดอกมะเดื่อ" 2 พระเจ้า s e v i 3 แผ่นดินองค์น้ ี เสวยราชย์ได้ราว 1 h ปี ก็ทรงสละราชสมบัติ แล้วเสด็จไปทรงผนวชอยูใ่ นพระอารามแห่งหนึ่ง c r (วัดประดู่) A l a ic r o t s i H ความยุ่งยากทีเ่ มืองมะริด

1พระบรมราชาธิราชที่ 3 คือ พระเจ้าบรมโกษฐ์ (กรรมการฯ) 2แต่ตามพงศาวดารไทย กษัตริ ยพ์ ระองค์น้ ีทรงมีพระนามก่อนครองราชย์วา่ "เจ้าฟ้ าดอกเดื่อ" หรื อ "กรมขุนพรพินิต" และภายหลังลาออก จากราชสมบัติไปผนวช ประชาชนก็พากันถวายพระนามว่า "ขุนหลวงหาวัด" (ผูแ้ ปล) 3แต่หนังสื อ "50 กษัตริ ยไ์ ทย" โดย อุดม ประมวลวิทย์ หน้า 464 กล่าวว่า "พอครองราชย์ได้ 10 วัน ในวันแรม 1 คํ่า วันที่ 1 เดือน มิถุนายน 2301 นั้นเอง พระองค์ก็ทรงสละราชสมบัติมอบให้แก่สมเด็จพระเชษฐาธิราช แล้วทูลลาไปอุปสมบท บวชเป็ นพระที่วดั เดิม (วัด อุทุมพร) แล้วเสด็จไปจําพรรษาที่วดั ประดู่" (ผูแ้ ปล)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

191

ความยุง่ ยากประการแรก ที่พระสังฆราชต้องขอพระราชวินิจฉัย จากพระเจ้าแผ่นดิน องค์ใหม่น้ นั เกิดขึ้นที่เมืองมะริ ดระหว่างเจ้าเมืองตะนาวศรี กบั มิชชันนารี คือ คุณพ่ออังดรี เออ เมื่อคุณพ่อทนการถูกกลัน่ แกล้งต่างๆ ไม่ไหว ก็เดินทางไปเมืองปอนดิเชรี ในปี ค.ศ. 1758 ขอสิ่ งของแปลกๆ จากนายลอว์ (Law) ข้าหลวงของเมืองนี้ได้จาํ นวนหนึ่ง เพื่อทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระเจ้ากรุ งสยาม เมื่อกลับมาถึงเมือง มะริ ด ท่านก็ส่งของถวายไปยังกรุ งศรี อยุธยา และถือโอกาสที่ของทูลเกล้าฯ ถวายนั้นเป็ นที่พอพระราชหฤทัย ร้อง ทุกข์เรื่ องเจ้าเมืองดังกล่าว ฝ่ ายเจ้าเมือง เมื่อทราบว่าถูกกล่าวหา ก็ฟ้องคุณพ่ออังดรี เออบ้าง อ้างว่าท่านทําผิด เพราะ ได้ประกอบพิธีลา้ งบาปให้แก่ชาวสยามบางคน และได้ทาํ การซ่องสุ มผูค้ นจะประทุษร้ายตน พระเจ้าแผ่นดิน มี รับสั่งให้ทาํ การสอบสวน ก็ปรากฏว่าข้อกล่าวหาของเจ้าเมืองเป็ นความเท็จ เจ้าเมือง "ถูกหวายเฆี่ยนอย่ างถึงขนาด ถูกปลดและถูกจาไว้ ในคุก"

ok k ngและยึดได้ ต้นปี ค.ศ.1760 เกิดเหตุการณ์ที่ร้ายแรงกว่ามากขึ้นที่เมืองมะริ ดเมืองนี้ถูกกองทัพพม่aาโจมตี B เพื่อให้ตวั ท่านและคริ สตังพ้นจากภัยของการบุกรุ ก คุณพ่ออังดรี เออหนีไป เมืองปอนดิo เชรีfพร้อมกับสัตบุรุษจํานวน e หนึ่ง s e ก เพราะเหตุวา่ ใครจะออกจาก c นับเป็ นการกระทําที่ขาดความรอบคอบ และอาจได้รับการลงโทษสถานหนั io d พระราชอาณาจักรโดยมิได้รับพระบรมราชานุญาตไม่ได้ ch r A คุณพ่อซีรูทุบแผ่ นหินทาให้ สะดุดทิง้ es iv h ที่กรุ งศรี อยุธยา ทางการมีc งานอื ่นจะต้องทํา ไม่มีเวลาจะเอาใจใส่ ถึงเรื่ องเล็กน้อยเรื่ องนี้ พวกพม่าบุกเข้ามา r A ภายในประเทศแล้ว l a มิชชันนารี iอcงค์หนึ่งชื่อ คุณพ่อซีรู เป็ นคนชอบทรมานกายและอดเนื้อทุกวัน ท่านถือโอกาสที่ผคู้ นกําลัง r o t นทัว่ ไปแอบไปทุบแผ่นหินทําให้สะดุดทิ้งเสีย หลายครั้งท่านได้แสดงเจตจํานงจะทําลาย ปั่ นป่ วนและอลวนกั s i H

พม่ าตีได้ เมืองมะริด

คําเขียนดูหมิ่นศาสนาคริ สตัง แต่ประมุขมิสซังห้ามไว้ ด้วยเกรงจะมีการแก้เผ็ด ครั้นเห็นว่าสบโอกาสเหมาะ ท่านก็ ทําตามที่ต้ งั ใจไว้ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ รัฐบาลสยามทําเป็ นไม่รู้ไม่เห็นในเรื่ องนี้ ซึ่งถ้าเป็ นในเวลาอื่น ท่านคงจะ ได้รับโทษไม่เบาทีเดียว


192  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

พม่ าล้อมกรุงศรีอยุธยาครั้งแรก เนื่องจากพม่ายังหนุนเนื่องกันเข้ามาในประเทศ พวกเสนาอํามาตย์จึงพากันไปทูลเชิญเจ้าดอกมะเดื่อ ให้ทรงลาผนวชออกมาจับอาวุธสู้อริ ราชศัตรู เจ้าดอกมะเดื่อก็ทรงยินยอมลาผนวชออกมาจัดกองทัพ ส่ งทหาร 15,000 คน ไปสู ้กบั กองทัพข้าศึก แต่พา่ ยแพ้ยบั เยิน เจ้าดอกมะเดื่อจึงจัดตั้งกองทัพขึ้นอีก 2 กอง สร้างป้ อมรอบ เมือง และสั่งให้ร้ื อร้านรวงที่ปลูกริ มแม่น้ าํ ออกทั้งหมด เพราะกีดขวางการเคลื่อนไหวของทัพเรื อ อนึ่ง พระองค์ ต้องการจะใช้กาํ ลังทุกอย่างเท่าที่มีอยู่ จึงทรงขอร้องพระสังฆราชบรี โกต์ให้ใช้อิทธิพลของท่านชักชวนพวกคริ สตัง ให้ช่วยทําการรบ พระสังฆราชตอบว่า "คาร้ องขอของพระเจ้ าแผ่ นดินถูกต้ อง เพราะเป็ นหน้ าที่ของคริ สตังที่จะต้ อง ทาการสู้รบเพื่อป้ องกันปิ ตุภูมิของตน" พระสังฆราชจึงประกาศชักชวน พวกคริ สตังก็เชื่อฟังพากันไปสมัครเป็ นทหาร ปรากฏว่าพวกคริ สตังไม่มี ความเจนจัดในกองทัพหลวง จึงตั้งเป็ นกองพิเศษ มีหน้าที่รักษาป้ อม วันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1760 พม่าอยูห่ ่างจาก กรุ งศรี อยุธยาเพียงสองหลัก (8 กม.) เท่านั้น วันที่ 11 พม่าเผาบริ เวณเมืองที่เขาใช้ปืนใหญ่ยงิ ตั้งแต่วนั ที่ 14 ถึงวันที่ 16 แต่แล้วจู่ๆ โดยไม่มีใครทราบต้นสายปลายเหตุ พม่าหยุดล้อมเมืองและยกกองทัพกลับเมืองพม่า ทราบภายหลังว่ากษัตริ ยข์ องเขาเพิ่งสวรรคต และตามประเพณี จะต้องกลับไปถวายบังคมพระบรมศพครั้งสุ ดท้าย ในประเทศของตน โดยสู ้ยอมทิ้งผลชัยชนะทั้งหมด แต่ในขณะที่ถอยกลับนั้น พวกพม่าได้เผาวิทยาลัยกลางเสี ย เคราะห์ดีที่มิชชันนารี ทั้งสองคือ คุณพ่อแกแอรฺ เว กับคุณพ่อมารฺ แต็ง ซึ่งมีหน้าที่ดูแล ได้ออกไปเสี ยก่อนและได้หนีไป จนถึงปากแม่น้ าํ เจ้าพระยา พร้อมที่จะลงเรื อไปจันทบูรณ์ แต่พอทราบข่าวว่าข้าศึกถอยไปแล้ว คุณพ่อทั้งสองจึงกลับมานครหลวงเมื่อวันที่ 29 เมษายน สามวันต่อมาคือ วันที่ 2 พฤษภาคม พระสังฆราชสั่งให้ขบั บท "เต เดอุม" อย่างสง่าพร้อมกับเสี ยงปื นใหญ่ และกลองโดยได้รับอนุญาตจากรัฐบาลสยาม พระเจ้าแผ่นดินได้พระราชทานข้าวสารกับผ้าผืนหนึ่งแก่พวกคริ สตังที่ได้ช่วยป้ องกันเมือง พระองค์ยงั ได้ แสดงพระทัยดี แม้ต่อสามเณรที่อยูม่ หาพราหมณ์ซ่ ึ งพระองค์ไม่ทราบว่าได้หนีไป พระองค์ได้พระราชทานผ้าแก่ เขาด้วย เมื่อพระสังฆราชบรี โกต์ไปเฝ้ า พระองค์เสด็จลงจากพระราชบัลลังก์ ตรัสว่า "ในสงครามครั้ งสุดท้ ายนี ้ พวกมิชชันนารี ได้ ช่วยเหลือชาวสยามมากกว่ ามิชชันนารี องค์ ก่อนๆ ที่ได้ เอาของแปลกๆ จากยุโรปมาถวาย" อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เป็ นที่พอใจแก่พวกพระภิกษุ พระองค์ทรงห้ามมิให้เรี ยกประมุขมิสซังเป็ น “พระสังฆราช”

k

A l a

iv h rc

H

ic r o ist

A s e

e c io d rch

o e s

ko g n a fB


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

193

ความวุ่นวายในรัฐบาล แม้ขา้ ศึกถอยไปแล้ว แต่พระราชอาณาจักรกรุ งสยามก็ยงั มีความไม่สงบ พระเจ้าแผ่นดินทรงกลับไปผนวช อีก พระเชษฐาองค์หนึ่ง (เจ้าฟ้ าเอกทัศน์) 4 ได้ข้ ึนครองราชสมบัติแทน เกิดการกบฏขึ้นในจังหวัดหนึ่ง และ ปราบได้อย่างยากลําบาก ความแตกแยกได้เกิดขึ้นในคณะรัฐบาล พระสังฆราชบรี โกต์เขียนไว้วา่ "ก่ อนนั้น นา้ พระทัยของพระเจ้ าแผ่ นดินถือเป็ นกฎหมายสูงสุด ในพระราชอาณาจักร บัดนีเ้ จ้ านายฝ่ ายหญิงทุกองค์ กลับมี อานาจเท่ าๆ กับพระเจ้ าแผ่ นดิน และมีการเปลี่ยนนายทหารไม่ ร้ ู จักหยุด พระเจ้ าแผ่ นดินองค์ ก่อนๆ เคยลงโทษ ประหารชี วิตคนทรยศ คนฆ่ าคน และคนจุดไฟเผาบ้ าน พวกเจ้ านายฝ่ ายหญิงมีความโลภ ได้ ขอให้ ริบเอาสมบัติ ของคนทาผิดเหล่ านีม้ าเป็ นประโยชน์ ส่วนตัว และพวกเสนาอามาตย์ ต่างก็ประพฤติเอาอย่ าง คอยแสวงหา ผลประโยชน์ จากคนที่เป็ นความกันให้ มากที่สุดที่จะมากได้ "

k o k งานของพวกมิชชันนารี g n a ดูแลวัดอยุธยา อย่างไรก็ตาม มิสซังกลับมีชีวติ ขึ้นมาบ้าง ในปี ค.ศ. 1761 คุณพ่อกอรฺ ได้รับมอบหมายให้ B f เกส ท่านปฏิบตั ิหน้าที่ ท่านลงมือเรี ยนภาษาไทย และผิดกับมิชชันนารี องค์ก่อนๆ ที่เทศน์และสอนเป็ น ภาษาโปรตุ o e พระสงฆ์ทุกอย่างที่มีต่อสัตบุรุษเป็ นภาษาไทย ท่านเขียนไว้วา่ "ข้ าพเจ้ าถูกe ต่ อsว่ า แต่ เหตุการณ์ ได้ แสดงว่ าวิธีการ c o ของข้ าพเจ้ าถูกต้ อง" ดังนี้ คริ สตังไทยจึงรับศีลศักดิ์สิทธิ์ ง่ายขึ้นและบ่ อยขึ้น อเล็กซิส โลเปส (Alexis Lopez) i d้ปกครองบ้านเมือง โดยไม่คานึงว่างานที่บังคับ h หัวหน้าของพวกคริ สตัง "เป็ นคนดีดอก แต่ คอยเอาอกเอาใจผู c r A ให้ คริ สตัง ทานั้น ผิดต่ อศาสนาของเขาหรื อs ไม่ " แต่ในที่สุด เขาก็ยอมปฏิบตั ิตามคําตักเตือนซํ้าแล้วซํ้าเล่าของ e iv้น ไม่ยอมปฏิบตั ิตามความพอใจของพวกข้าราชการ คุณพ่อกอรฺ เขาได้แสดงความเข้มแข็งh มากขึ c งสือที่เขียนด้วยมือของพระสังฆราชลาโน แต่ในขณะเดียวกันก็ทาํ "งาน คุณพ่อบัวเรต์พยายามค้ นrหาหนั A l ช่ วยเด็ก" ด้วย คุณพ่cอa แกแอรฺ เวก็เอาอย่างท่านบ้าง และได้ประกอบพิธีศีลล้างบาปแก่เด็กจํานวน 250 คน ภายใน i r o เวลาไม่กี่เดือtน พระสังฆราชก็ใคร่ จะ "เอากับเขาด้ วยเหมือนกัน แต่ ท่านทนความร้ อนของแดดไม่ ไหว" s i H ในช่วงเวลาตอนนี้ พระสังฆราชบรี โกต์กบั นักพรตดอมินิกนั องค์หนึ่งได้มีเรื่ องโต้แย้งกัน แต่เป็ นการ โต้แย้งกันอย่างสุ ภาพ คือ นักพรตดอมินิกนั อนุญาตให้คริ สตังชาวโปรตุเกสให้กเู้ งิน ในอัตราดอกเบี้ยปี ละ 15% ซึ่งพระสังฆราชเห็นว่าแรงเกินไป แต่พระสงฆ์ดอมินิกนั ตอบว่า อาศัยการให้กใู้ นอัตรานี้ พวกคริ สตังบํารุ งวัด โดยเขาสมัครใจ ให้รายได้ส่วนหนึ่งเอง ปั ญหาเรื่ องนี้ ได้เสนอไปยังกรุ งโรม กรุ งโรมตัดสิ นมาว่าห้ามการกูใ้ น อัตรานี้ เว้นแต่จะมีเหตุผลภายนอก ที่อนุโลมให้กเู้ ช่นนี้ได้

4คือ กรมขุนอนุรักษ์มนตรี ภายหลังเป็ นสมเด็จพระที่นง่ั สุ ริยาสน์อมริ นทร์ (กรรมการฯ)


194  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

วิทยาลัยกลาง วิทยาลัยกลางซึ่ งถูกพวกพม่าทําลายเสี ยเศษหนึ่งส่ วนสามนั้น ได้รับการซ่อมแซม เล็กน้อย พวกสามเณร เข้าอยูไ่ ด้ไม่กี่เดือน คุณพ่อซี รูก็มาถึงแก่มรณภาพที่นน่ั เมื่อวันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 1761 แต่ "เนื่องจากคลองซึ่ งเชื่ อม ที่ดินของวิทยาลัยกลางให้ ติดต่ อกับแม่ นา้ เจ้ าพระยา แห้ งลง เพราะสร้ างทานบปิ ดนา้ จึงให้ สามเณรอยู่ต่อไปไม่ ได้ เพราะไม่ มีตลาด และเครื่ องอุปโภคบริ โภคทุกอย่ างต้ องไปบรรทุกมาทางนา้ แต่ ไกลๆ" คุณพ่อแกแอรฺ เว และ คุณพ่อมารฺ แต็ง พร้อมกับสามเณรจํานวน 25-30 คน จึงจําใจต้องอพยพไปอยูส่ ามเณราลัยที่อยุธยา พระสังฆราชขอ พระราชทานที่ดินแปลงหนึ่งไม่ไกลจากแม่น้ าํ "อยู่เหนือโรงภาษีขึน้ ไปเล็กน้ อย" สําหรับตั้งโรงเรี ยน เมื่อขอ พระราชทานได้แล้ว ท่านก็สร้างอาคารขึ้นหลายหลังเป็ นไม้ไผ่ คุณพ่อแกแอรฺ เวแต่งกฎวินยั ใหม่ เพราะฉบับเก่าๆ ถูกไฟเผาหมด คุณพ่ออารฺ โตด์เป็ นอธิ การของสํานักนี้ ท่านปกครองด้วยความพากเพียรและอ่อนโยนมาก จนกระทัง่ เมื่อท่านเป็ นอธิ การหนึ่งปี แล้ว ท่านกล่าวได้วา่ "ข้ าพเจ้ ายังไม่ เคยลงโทษใครสักคนเดียวเลย"

k

คุณพ่อแกแอรฺ เวไม่ ยอมเป็ นพระสั งฆราชผู้ช่วย

o e s

ko g n a fB

ระหว่างเวลาที่สงบนี้ พระสังฆราชบรี โกต์ตดั สิ นใจจะขอสังฆราชผูช้ ่วยองค์หนึ่ง เพราะ ท่านคิดดังนี้ต้ งั แต่ ปี ค.ศ. 1758 มาแล้ว ท่านเลือกเอาคุณพ่อแกแอรฺ เว ซึ่งในปี ค.ศ. 1762 ได้รับแต่งตั้งเป็ นพระสังฆราชเกียรตินาม แห่งกอรฺ ตีน (Cortyne) และประมุขมิสซังเสฉวนมาแล้ว ครั้งหนึ่ง แต่ท่านไม่ยอมรับ ในครั้งนี้ ท่านก็ปฏิเสธอีก และแม้จะพยายามสักเพียงใด พระสังฆราชบรี โกต์ก็เกลี้ยกล่อมให้ท่านเปลี่ยนใจไม่สาํ เร็ จ

e c io d rch

A s e

พม่ าบุกครั้งทีส่ อง ปล้นเมืองมะริh ด iv rcเออ ถูกจับเป็ นเชลย คุณพ่ออาลารี และคุณพ่อA อังดรี

l a c ori

อย่างไรก็ตาม การที่พม่าหยุดล้อมกรุ งศรี อยุธยาและยกทัพกลับไปนั้น เป็ นแต่การหยุดไว้เพียงชัว่ คราว เท่านั้น พม่าเริ่ มบุกกรุ งสยามอีก โดยโจมตีเมืองมะริ ด วันที่ 11 มกราคม ค.ศ. 1765 เวลาราวตีสี่ เสี ยงปื นใหญ่บอก ว่าพม่ากําลังเข้าเมืองมะริ ดแล้ว หมู่บา้ นคริ สตังในเมืองนี้ มีสัตบุรุษราว 300-350 คน ขณะนั้นอยูใ่ นความดูแล ของมิชชันนารี 2 องค์คือ คุณพ่ออังดรี เออ และคุณพ่ออาลารี คริ สตังจํานวนไม่กี่สิบคนคิดว่าถึงวาระสุ ดท้ายแล้ว ได้เข้าไปอยูใ่ นโบสถ์ คุกเข่าลงแทบเท้าคุณพ่ออังดรี เออ พลางร้องไห้ร้องห่ม คุณพ่อเตือนเขาให้มีความมานะ อดทน แล้วก็อภัยบาปให้

t s i H


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

195

คุณพ่ออังดรี เออพูดยังไม่ทนั จบ พม่าข้าศึกก็ถลันเข้าไปในโบสถ์ และบ้านพักพระสงฆ์ ลงมือทําการปล้น ทหารคนหนึ่งหันหอกมาทางคุณพ่ออาลารี คุณพ่อก็มิได้ตกใจจนเกินไป อธิ บายให้เขาฟังว่า ท่านไม่ใช่นกั รบ แต่เป็ นคนรักสันติ เป็ นอาจารย์สอนศาสนา ทหารพม่า ไม่ตอบว่ากระไร มองดูคุณพ่อตั้งแต่เท้าจนถึงศีรษะ กําลังพินิจพิเคราะห์ดูวา่ เครื่ องแต่งกาย ส่ วนไหนจะถูกใจหรื อใช้ประโยชน์ ได้ดีกว่าหมด หลังจากตรึ กตรองอยู่ ครู่ หนึ่งแล้ว เขาก็ตดั สิ นใจ กล่าวแก่คุณพ่ออังดรี เออว่า "เอาหมวกแกให้ ข้า" แต่ ก่อนที่คุณพ่อจะหยิบส่ งให้ เขาก็ฉวยเอาไปใส่ แล้ว ในขณะเดียวกันนั้น ทหารอื่นก็ส่งเสี ยงร้องอย่างสัตว์ร้าย กรู กนั เข้าหาคุณพ่อ เปลื้องเอาเสื้ อผ้าออกจนเหลือแต่เสื้ อชั้นในเท่านั้น เขาเข้าไปในห้องของคุณพ่ออังดรี เออ หยิบ เอาจอกกาลิส เครื่ องแต่งตัวพระสงฆ์และหนังสื อไป แล้วผลักมิชชันนารี ท้ งั สองออกไปข้างนอก จุดไฟเผาบ้านพัก เสี ย ขณะที่ไฟไหม้บา้ นนั้น พวกทหารบังคับให้มิชชันนารี ท้ งั สองลงไปในเรื อเล็กๆ ซึ่ งผูกอยูท่ ี่ฝ่ัง คุณพ่อทั้ง สองกําลังเดินจะไปตามที่เขาสั่งอยูแ่ ล้ว ก็ถูกแม่ทพั พม่าเรี ยกให้ไปหา เขานัง่ อยูบ่ นกองสลักหักพัง ต้อนรับเชลยทั้ง สองแบบผูช้ นะที่เย่อหยิง่ และอย่างคนป่ าที่หยาบคาย สั่งให้เอาไม้ตระบองตีขาคุณพ่ออาลารี เพราะไม่นงั่ ลงตาม ธรรมเนียมในประเทศของเขา เขาถามคุณพ่อ ถึงเรื อฝรั่งที่จอดอยูท่ ี่ทางเข้าท่าเรื อ และสั่งให้ท่านเอาเรื อสําเภา สําหรับรบ 7-8 ลํา ไปโจมตีเรื อฝรั่งเหล่านั้น ครั้นทราบว่ามิชชันนารี ผนู้ ้ ีเป็ น "คุณพ่ อของพวกคริ สตัง" แม่ทพั พม่า จึงไม่บงั คับท่านต่อไป ซึ่ งก็ตอ้ งถือว่าเป็ นบุญหนักหนา เพราะมิฉะนั้นใครๆ ก็ตอ้ งฉงนแปลกใจว่า คุณพ่ออาลารี ซึ่งเป็ นคนหงิมๆ และไม่มีพิษสง เป็ นอะไรไปเสี ยแล้ว จึงนํากองทัพเรื อพม่ามารบพุง่ กับพวกฝรั่ง

k

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s คุณพ่ออาลารีทุบหินทาให้ สะดุดทีม่ ะริ ดe ทิง้ v i h มิชชันนารีถูกนาไปเมืองทวายrc Aนําไปยังตลาดขายของเบ็ดเตล็ดในเมือง โดยผ่านไปตามถนนที่ถูกเผา และตลอดเวลา l มิชชันนารี ท้ งั สองถู ก a c i r หลายชัว่ โมงต้oองสลดใจมองดู การเล่นสนุกทุราจารของพวกทหาร ที่เอาเสื้ อกาสุ ลา5 และเสื้ อขาวยาวของพระสงฆ์ t s i มาสวมเดิ H นอวดให้ดู และยังเอาภาชนะศักดิ์สิทธิ์มาเล่นหัวกันด้วย

ที่สุด คริ สตังที่เป็ นคนนําร่ องคนหนึ่ง ชื่อ โยเซฟ ได้ช่วยพูดให้คุณพ่อทั้งสองได้รับอาหารนิดหน่อยกับได้ ที่พกั ซึ่งอยูไ่ ด้ตลอดเวลา 15 วันที่พวกพม่ายังอยูท่ ี่เมืองมะริ ด คอยให้กองทัพที่ยกไปปล้นเมืองตะนาวศรี กลับมา คุณพ่ออาลารี ถือโอกาสที่มีเวลาช่วงนี้แอบไปทุบแผ่นหินทําให้สะดุด ซึ่ งคล้ายกับแผ่นที่อยุธยาทิ้งเสี ย

5เสื้ อกาสุ ลา คือ เสื้ อชั้นนอกที่พระสงฆ์คาทอลิกสวมเวลาประกอบพิธีมิสซา (กรรมการฯ)


196  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

แม่ทพั พม่ากับคณะที่ปรึ กษามิได้เฝ้ าสังเกตดูวา่ คุณพ่ออาลารี ไปทําอะไร และก็คงไม่เข้าใจว่าการกระทํา นั้นมีความสําคัญอย่างไร การที่เขาเป็ นห่วงมากกว่านั้นก็คือ ต้องตัดสิ นใจว่าจะฆ่ามิชชันนารี ท้ งั สองทิ้งเสี ย หรื อจะ พาไปด้วย หลังจากได้ปรึ กษาหารื อกันในเรื่ องนี้ถึงสองครั้ง เขาตกลงใจจะไว้ชีวติ มิชชันนารี ท้ งั สอง เพื่อนําไป ถวายพระเจ้าแผ่นดินในฐานะเป็ นเชลยชั้นพิเศษ แล้วเขาก็พาท่านทั้งสองไปเมืองทวาย ที่เมืองนี้มีเศรษฐีถือศาสนา อิสลามคนหนึ่งชื่อ โมโมซาแด๊ก (Momosadec) ได้รับอุปถัมภ์และให้เสื้ อผ้าแก่มิชชันนารี ท้ งั สอง และเพราะคํา อ้อนวอนรบเร้าของท่าน ยังได้ไถ่หญิงสาวคริ สตังหลายคนที่พวกพม่าจับมาด้วย อย่างไรก็ตาม โมโมซาแด๊กไม่มี อิทธิ พลจนถึงกับสามารถขัดขวางมิให้อุปราชแห่งเมืองทวายเรี ยกมิชชันนารี ทั้งสองไปขึ้นศาล

มิชชันนารีถูกสอบถาม

k

ko g n a fB

อุปราชใช้เล่ห์ตามแบบเฉพาะของชาวตะวันออกหลอกให้เชลยทั้งสองเชื่อว่าตนอยากคืนของที่ถูกขโมย และจะลงโทษทหารที่ปล้นมาด้วย แต่ที่แท้เขาต้องการเพียงแต่จะทราบว่ามิชชันนารี ซ่อนเงินไว้หรื อไม่ เพื่อจะได้ ริ บเอา เขายังขู่มิชชันนารี ท้ งั สองว่า ถ้าไม่ตอบตามที่เขาสั่ง เขาจะจับมือท่านจุ่มลงไปในตะกัว่ ที่กาํ ลังเดือด มิชชันนารี ท้ งั สองไม่มีเงิน แต่ได้บอกว่าของของท่านที่ถูกขโมยไปมีอะไรบ้าง ในการสอบถามครั้งที่สอง อุปราชได้แสดงความโอบอ้อมอารี ต่อมิชชันนารี ท้ งั สองบ้าง สั่งให้เอานํ้าชามา ให้ท่านดื่ม และชี้ให้ดูของที่ถูกปล้นมา ครั้นแล้ว มือหนึ่งชี้ตลับศีล (custode) อีกมือหนึ่งชี้ทหารที่คุกเข่าเรี ยงแถว อยูข่ า้ งหน้า เขากล่าวแก่มิชชันนารี ท้ งั สองว่า "เชิ ญดู" แล้วบอกว่า "ท่ านจาคนที่เอาตลับเล็กๆ นีม้ าได้ ไหม?" ความจริ งมิชชันนารี ท้ งั สองถูกปล้นเวลาเช้าตรู่ และในขณะที่กาํ ลังสับสนอลหม่านนั้น ท่านไม่ได้สังเกต หน้าตาของทหารที่มาปล้น ก็บอกตามความจริ ง อุปราชหยิบตลับขึ้นมาเปิ ด เอาพระพุทธรู ปเล็กๆ รู ปหนึ่งใส่ ลง ไปในภาชนะศักดิ์สิทธิ์ ซึ่ งเป็ นที่ประทับของกษัตริ ยแ์ ห่งกษัตริ ยท์ ้ งั หลาย ผูศ้ กั ดิ์สิทธิ์ แห่งผูศ้ กั ดิ์สิทธิ์ ท้ งั ปวง คุณพ่อ อาลารี และคุณพ่ออังดรี เออ ร้องเสี ยงหลง อ้อนวอนขอให้เขาคืนตลับศีล ข้าหลวงบังคับให้ท้ งั สองนิ่ง จึงเป็ นอัน หมดหนทางแก้ไข มิชชันนารี ท้ งั สองรู ้สึกเศร้าสลดอย่างสุ ดซึ้ ง ก้มหน้านิ่ง ขอโทษพระเป็ นเจ้าที่คนถ่อยคนหนึ่งทํา ทุราจาร เพราะไม่รู้มากกว่าเพราะตั้งใจทําผิด อุปราชคืนให้แต่กางเขนในโบสถ์ แล้วก็ให้มิชชันนารี ทั้งสองกลับไป ในการสอบถามครั้งที่สาม มิชชันนารี ถูกเฆี่ยนด้วยไม้ไผ่ และถูกขู่จะฆ่าเสี ย หลังจากนั้นถูกจับใส่ เรื อลํา หนึ่ง ซึ่งแล่นไปย่างกุง้ ที่เมืองนี้ คุณพ่ออาลารี ประกอบพิธีศีลล้างบาปให้แก่เด็ก ที่ใกล้จะตายหลายคน กับผูใ้ หญ่ ที่ใกล้จะตายอีก 2 คน หลังจากใช้ล่ามสอนให้เขารู้เรื่ องศาสนาแล้ว

iv h rc

e c io d rch

o e s

A s e

A l a

ic r o ist

H

ปล่อยมิชชันนารี ราวปลายปี ค.ศ. 1765 มิชชันนารี ท้ งั สองได้รับอิสรภาพที่จะออกจากประเทศพม่า ทั้งสองจึงเดินทางไป เมืองปอนดิเชรี และจากนั้นก็เดินทางต่อไปยังเมืองมาเก๊า และมิได้กลับมากรุ งสยามอีก คุณพ่ออาลารี ไปอยูม่ ิสซัง เสฉวน ส่ วนคุณพ่ออังดรี เออไปอยูม่ ิสซังโคชินจีน


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

197

เตรียมรับสงครามแบบประหลาดพิสดารทีก่ รุงศรีอยุธยา เมื่อทรงทราบว่าเรื อกับทหารพม่าออกจากเมืองมะริ ดไปแล้ว พระเจ้ากรุ งสยามทรงมีความปี ติชื่นชมเป็ น อย่างยิง่ เพราะทรงคิดว่าเขาจะไม่ยกมาตีพระนครหลวงอีก พระองค์ได้ทรงตราพระกฤษฎีกาสําคัญฉบับหนึ่ง สั่งห้ามมิให้ไพร่ ฟ้าข้าแผ่นดินมีความกลัวใดๆ ทั้งสิ้ น และเพื่อแสดงว่าคําสั่งห้ามนี้มีเหตุผลถูกต้องสักเพียงใด พระองค์ทรงปล่อยทหารกลับบ้าน และทรงจัดให้มีงานรื่ นเริ งต่างๆ สําหรับประชาชน อย่างไรก็ดี เพื่อขู่ขวัญให้ขา้ ศึกกลัว ถ้าหากว่าบังเอิญจะยกมา เขาปฏิบตั ิตามคําแนะนําของขุนนางชาว มุสลิมคนหนึ่งคือ เอาไม้เสาสามต้นมัดรวมกัน แล้วตั้งขึ้นเป็ นระยะๆ ตามที่เตียนๆ ในเมือง จากไม้เสาที่มดั รวมกัน ดังนี้มีเชือกขึงถึงกัน และบนเชือกนั้น ซึ่ งอยูส่ ู งเป็ นสามเท่าของกําแพง เขาเอาปื นใหญ่ข้ ึนไปตั้งไว้ เป็ นอันว่าคนโง่ บัดซบรวมหัวกับคนเสี ยจริ ตผลักดันให้ กรุ งสยามถึงซึ่งความวิบตั ิ พระสังฆราชบรี โกต์มีความเศร้ารันทดใจ เมื่อเห็นการฉลองอย่างเสี ยสติและการเตรี ยมรบอย่างเด็กๆ เล่น เช่นนี้ ครั้นรู ้สึกว่ามหันตภัยใกล้จะมาถึงแล้ว ท่านสั่งให้สามเณรออกไปจาก กรุ งศรี อยุธยา แล้วคุณพ่ออารฺ โตด์ กับ คุณพ่อแกแอรฺ เว ก็พาเขาไปที่จนั ทบูรณ์ เหตุการณ์ได้เป็ นไปตามที่พระสังฆราชคาดหมายไว้ทุกประการ

k

e c io d rch

กรุงศรีอยุธยาถูกล้อมเป็ นครั้งทีส่ อง

o e s

ko g n a fB

วันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1765 พม่าข้าศึกได้มาปรากฏตัวหน้ากรุ งศรี อยุธยา ชาวสยามต่างศาสนาหลายคน ได้ล้ ีภยั มาอยูใ่ นหมู่บา้ นของพวกคริ สตัง พระสังฆราชบรี โกต์กบั คุณพ่อ กอรฺ ได้ฉวยโอกาสนั้นสอนข้อความจริ ง แห่งพระศาสนา เขาก็ฟังด้วยความเคารพดอก แต่คงแสดงอาการชาเย็นเฉยเมย ความบรรเทาใจประการเดียวของ พระสังฆราชกับคุณพ่อกอรฺ ซ่ ึ งได้รับแต่งตั้งเป็ นรองประมุขมิสซังในขณะนั้น กับพระสงฆ์พ้ืนเมืองอีกองค์หนึ่งซึ่ง อยูก่ บั ท่านก็คือ ประกอบพิธีศีลล้างบาปให้แก่เด็กๆ ที่ใกล้จะตาย ในจดหมายลงวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1768 พระสังฆราชบรี โกต์เขียนไว้วา่ ตลอดเวลาที่กรุ งศรี อยุธยาถูกล้อมอยู่ 23 เดือน จํานวนเด็กที่ได้รับศีลล้างบาป มีถึง 1,200 คน ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1765 พวกพม่าได้ส่งทหารหมวดหนึ่งไปปล้นและเผาเมืองบางกอก "เมืองบางกอก สู้ไม่ ถึง 15 นาทีกย็ อมแพ้ " พวกพม่ายังเผาหมู่บา้ นชานเมืองอยุธยา เสี ยหลายแห่ง ที่ชานเมืองแห่งหนึ่งมีวทิ ยาลัย ที่เพิ่งสร้างขึ้นใหม่ ก็ถูกเผาพร้อมกับวัสดุต่างๆ ที่สะสมไว้สาํ หรับสร้างอีกหลังหนึ่งให้ใหญ่กว่าเดิม ขณะที่ พระเพลิงยังลุกส่ องสว่างไปทัว่ ทุ่งนารอบข้าง กัปตันเรื ออังกฤษคนหนึ่งชื่อ โปนี (Pauny) ได้นาํ เรื อบรรทุกสิ นค้า เต็มสองลํามาจอดที่ท่าเรื อ พระเจ้าแผ่นดินส่ งคนไปชักชวนเขาให้มารบสู้กบั พม่า โดยสัญญาจะให้ผลประโยชน์ ทางการค้าตอบแทนหลายประการ กัปตันเรื ออังกฤษแสดงความสนใจต่อคําชักชวนนั้นน้อยเต็มทีและเขาคงมิได้ ตอบรับ ถ้าหากพม่ามิได้ไปโจมตีเรื อของเขาก่อน

A l a

iv h rc

H

ic r o ist

A s e


198  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

พอถูกโจมตี เขาก็ตดั สิ นใจเข้าข้างชาวสยาม แล่นเรื อไปทางเหนือแม่น้ าํ แล้วใช้ปืนใหญ่ยงิ ป้ อมของข้าศึก แต่ครั้นมิได้รับดินปื นและกระสุ นที่เขาต้องการจากกรุ งศรี อยุธยา เขาก็ละทิ้งชาวสยามสัมพันธมิตรที่ยงั อ่อนหัดเสี ย หันไปปล้นเรื อสิ นค้าจีน 6 ลํา แล้วก็แล่นกลับ ความจริ งถ้ากัปตันเรื ออังกฤษผูน้ ้ ีมิได้กลับไป และคนไทยได้แลเห็น ความกล้าหาญของเขา คนไทยอาจไม่พา่ ยแพ้แก่พม่าในครั้งนี้ก็ได้ แต่เมื่อเขากลับไปแล้ว คนไทยก็เสี ยโอกาส สุ ดท้ายที่จะมีชยั ชนะ ทหารพม่าค่อยๆ ไหลบ่าเข้ามาในประเทศสยาม ทิ้งกําลังทัพส่ วนใหญ่ไว้ห่างจาก นครหลวงเล็กน้อย สร้างป้ อมหลายแห่งไว้ป้องกันมิให้ผถู ้ ูกล้อมในเมืองได้รับความช่วยเหลือใดๆ ครั้นตั้งมัน่ ในแนวรบดีแล้ว เขาก็มุ่ง หน้าเข้ามาในระยะปื นใหญ่ยงิ ถึงจากกําแพง วันนั้นเป็ นวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1766 ในหมู่คริ สตังบางพวกก็ เฝ้ าป้ อม บางพวกก็ได้ปืนใหญ่สามสิ บกระบอก ปื น ดาบกับเงิน ซึ่ งมีค่าเท่ากับ 5,000 ฟรังก์ สําหรับป้ องกันโบสถ์ และป้ อมที่ต้ งั อยูน่ อกกําแพง วันที่ 13 พฤศจิกายน ทหารพม่ายึดได้วดั พุทธหลายวัดที่ป้องกันโดยคนจีน และได้ยงิ กระสุ นปื นใหญ่ไป จนถึงโบสถ์นกั บุญโยเซฟ พวกคริ สตังยิงโต้บา้ ง ทําลายวัดไทยวัดหนึ่งที่เพิ่งถูกยึดไปและจับช้างศึกได้เชือกหนึ่ง แต่วนั ที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1767 เขาได้ถูกจู่โจมโดยไม่ทนั รู้ตวั และได้รอดชีวติ อาศัยความเก่งกล้าของทหารที่เฝ้ า สามเณราลัย ทางอีกด้านหนึ่งของเมือง พวกจีนซึ่ งป้ องกันที่อยูข่ องชาวฮอลันดากับหมู่บา้ นของชาวโปรตุเกส ได้ ทําการรบพ่ายแพ้

k

พระสั งฆราชบรีโกต์ ตกในเงือ้ มมือของข้ าศึs ก e ข้ าศึกทาลายกรุงศรีอยุธยา hiv

rc A l

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A

วันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1767 พวกนักพรตชาวโปรตุเกสกับคริ สตังที่อยูใ่ นความปกครอง ได้ยอมมอบตัว แก่ศตั รู แม่ทพั พม่าหวังใจว่าพระสังฆราชบรี โกต์คงเอาอย่างเขา จึงให้พระสงฆ์ดอมินิกนั องค์หนึ่งเขียนถึงท่านว่า "ท่ านก็เกือบไม่ มีทหารและป้ อมแล้ ว ท่ านจะสู้ทหาร 5,000 คน กระไรได้ ? อีกประการหนึ่ง ท่ านก็ไม่ มีอะไร ต้ องกลัว พวกมิชชันนารี พวกคาทอลิก โบสถ์ สามเณราลัยจะได้ รับความเคารพ บ้ านของเอกชนเท่ านั้นจะถูกเผา และอาวุธจะถูกยึดไป" ชั้นแรก พระสังฆราชบรี โกต์ไม่ยอมเจรจากับข้าศึกด้วยตนเอง ใช้คริ สตังคนหนึ่ง ไปสอบถามให้ได้ความ ชัดเจนยิง่ ขึ้น แม่ทพั พม่าจับคนที่ส่งไปไว้ บอกว่าเขาจะเจรจากับตัว พระสังฆราชโดยตรง ที่สุดพระสังฆราชก็ยนิ ยอมไปหาแม่ทพั พม่า เขารับรองท่านอย่างให้เกียรติ ยํ้าคําสัญญาที่ให้ไว้ และ เสริ มว่าพวกคริ สตังจะต้องเข้าไปอยูใ่ นโบสถ์หรื อในบริ เวณสามเณราลัยทันที ส่ วนพระสังฆราชเองจะต้องเข้าไป อยูใ่ นวัดไทยที่เขาแนะชี้ให้ เขากล่าวว่า ในคืนต่อไปเขาจะไปเผาหมู่บา้ นนักบุญโยเซฟที่เหลืออยู่ จะทําอย่างไรได้ จําเป็ นต้องรับเงื่อนไขอันขมขื่นเหล่านี้

t s i H

a c i or


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

199

วันที่ 23 มีนาคม พม่าจุดไฟขึ้น ไฟลุกลามไปถึงโบสถ์นกั บุญโย เซฟอย่างรวดเร็ ว ไม่ชา้ โบสถ์ก็กลายเป็ นเถ้าถ่านไป พวกพม่าบุกเข้าปล้นสามเณราลัย โดยไม่คาํ นึงถึงคําสัญญาที่ แม่ทพั พม่าได้ให้ไว้ และได้จบั เอาพระสงฆ์ สามเณรและสัตบุรุษไปในค่ายของเขา พระสังฆราช บรี โกต์ไม่ยอม บอกสิ่ งของประเสริ ฐที่ท่านซ่อนไว้ ท่านถูกส่ งไปที่หอสู ง ใกล้ที่พกั แม่ทพั ห่างจาก ที่นน่ั ครึ่ งหลัก (2 กม.) พระสงฆ์เยสุ อิตองค์หนึ่งไปกับท่าน ในคืนวันที่ 7 ต่อกับวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1767 ทหารพม่ารุ กเข้าตีและยึดกรุ งศรี อยุธยาได้ นครหลวง เก่าแก่ของกรุ งสยามถูกทําลายราบเป็ นหน้ากลอง และมิได้ลุกฟื้ นขึ้นจากความหายนะครั้งนี้

จากกรุงศรีอยุธยาถึงเมืองทวาย

k

ko g n a fB

เมื่อรบชนะแล้ว กองทัพพม่าจับพระเจ้าแผ่นดิน บรรดาเจ้านาย และราษฎรส่ วนหนึ่ง ไปเป็ นเชลย คริ สตังหลายคนถูกเกณฑ์ให้เข้าไปอยูใ่ นกองทัพศัตรู อีกหลายคนหนีไปประเทศเขมรพร้อมกับคุณพ่อกอรฺ ทหารพม่าได้นาํ พระสังฆราชบรี โกต์กบั นักพรตชาวโปรตุเกสหลายองค์ไปที่บางช้าง พระสงฆ์เยสุ อิตองค์หนึ่งชื่อ คุณพ่อแบรฺ นารฺ ดีโน ถึงแก่มรณภาพที่เมืองนี้ และ หลังจากพํานักอยูท่ ี่เมืองดังกล่าวนานพอสมควร เขาก็ถูกนําไป เมืองทวายต่อไป การเดินทาง กินเวลาหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วนั ที่ 6 มิถุนายน ถึงวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1767 โรคภัย ไข้เจ็บ ความหิวโหย ความทุกขเวทนาทุกชนิดเป็ นเหตุให้เชลยล้มตายไปมากต่อมาก พระสังฆราช บรี โกต์ให้ของ ทุกอย่างที่ท่านมีแก่พวกคริ สตังน่าสงสาร และในที่สุด ให้แหวนประจําตําแหน่งของท่านแก่ชาวอารฺ เมเนียนคน หนึ่งชื่อ บารฺ บายาน (Barbaïan) เพื่อขอให้เขาเลี้ยงดูสัตบุรุษ พระสังฆราชบรี โกต์ถูกมอบให้อยูใ่ นความดูแลของ คนนําร่ องชื่อโยเซฟ คนเดียวกันกับที่ได้ช่วยเหลือคุณพ่ออาลารี และคุณพ่ออังดรี เออที่เมืองมะนิลาแล้ว ท่านจึงมี อิสระบ้าง กัปตันเรื ออังกฤษคนหนึ่งชื่อรี เวียร์ (Rivière) เห็นใจในความทุกข์และคุณธรรมของท่าน จึงนําไปขึ้น เรื อของเขาเมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม และพาไปถึงย่างกุง้ เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1767

iv h rc

e c io d rch

o e s

A s e

A l a

ic r o ist

พระสั Hงฆราชบรีโกต์ในประเทศพม่า

การไปประเทศพม่าของพระสังฆราชบรี โกต์ไม่ใช่ไร้ประโยชน์เสี ยทีเดียว ท่านได้ชาํ ระคดีเรื่ องอํานาจ ปกครองที่คา้ งมาตั้งหลายปี ระหว่างพวกมิชชันนารี โปรตุเกสกับพระสงฆ์คณะ บาร์นาบิตชาวอิตาเลียน วันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1768 ท่านได้อภิเษกอธิการของพระสงฆ์คณะ บาร์นาบิต คือ คุณพ่อแปรฺ กอตโต (Percotto) ที่ได้รับแต่งตั้งเป็ นประมุขมิสซังประเทศพม่า ให้เป็ นพระสังฆราชเกียรตินามแห่งมักซูลา (Maxula) คริ สตัง คนหนึ่งซึ่งแต่ก่อนท่านได้ประกอบพิธีศีลล้างบาปให้ที่เมืองมะริ ด ได้ขอเจ้าหน้าที่มอญอนุญาตให้ท่านลงเรื อไปยัง ฝั่งโกโรมังแดล ซึ่ งแต่ก่อนเขาไม่ยอมอนุญาต ดังนี้ ท่านจึงออกจากเมืองย่างกุง้ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1768 และเดินทางถึงเมืองปอนดิเชรี ในเดือนเมษายน


200  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

อาจารย์ และสามเณรแห่ งวิทยาลัยกลางไปอยู่ทจี่ ันทบูรณ์ ชีวติ ของอาจารย์และสามเณรวิทยาลัยกลางในสมัยนั้นต้องปั่นป่ วนเดือดร้อน อย่างน้อยก็เท่ากับชีวติ ของ พระสังฆราชและพวกมิชชันนารี เหมือนกัน คุณพ่ออารฺ โตด์กบั คุณพ่อแกแอรฺ เว ได้พาสามเณรออกจาก กรุ งศรี อยุธยา เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1765 และลี้ภยั ไปอาศัยอยูท่ ี่ จันทบูรณ์ ได้รับการต้อนรับจาก คุณพ่อจาง (Tchang) ซึ่ งปกครองวัดที่เมืองนี้ เขาพักอยูท่ ี่บา้ นคุณพ่อจางไม่กี่เดือน ครั้นเห็นว่าเมืองนี้ก็ยงั ไม่สงบ พอ เพราะมีการสงครามและการปล้นสะดม ในเดือนธันวาคมปี เดียวกันจึงเดินทางต่อไปยังเมืองกังเกา (Cancao) 6

วิทยาลัยกลางไปตั้งทีฮ่ อนดัต เมืองเล็กๆ นี้ ซึ่ งแต่ก่อนและแม้ทุกวันนี้คนญวนเรี ยกว่า "ห่าเตียน" 7 ในสมัยนั้นอยูใ่ นปกครองของเจ้าที่ พอจะเรี ยกได้วา่ เอกราชองค์หนึ่งชื่อ มักเทียนตู (Mac Thien - tu) เจ้าองค์น้ ีตอ้ นรับพระสงฆ์และสามเณรเป็ นอย่างดี ให้เขาเลือกเอาที่ดินแห่งใดแห่งหนึ่งในสามแห่งสําหรับ ตั้งวิทยาลัย เขาเลือกเอาบ้านฮอนดัต "เพราะมีนา้ ดี สงัดเงียบ อากาศเย็นสบาย อยู่ใกล้ หมู่บ้านคริ สตังญวนหมู่หนึ่ง" อันว่าบ้านฮอนดัตนี้มิใช่เกาะ ดังที่มีคนชอบเขียนกันบ่อยๆ แต่เป็ นเนินเล็กๆ อยูป่ ลายแหลมห่างจากห่า เตียนไปทางทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือประมาณ 15 กม. และอยูห่ ่างจากหมู่บา้ นคริ สตังที่ล็อกซอน (Loc-son) 5 กม. อาศัยเงินทานของขุนนางญวนคนหนึ่งกับคริ สตังหลายคน คุณพ่ออารฺ โตด์ปลูกกระต๊อบหลังหนึ่งใช้ไปพลางๆ ก่อน "จนกว่ าจะมีเงินสร้ างอาคารที่ถาวร" บรรดาผูล้ ้ ีภยั มีความยากจนข้นแค้นมาก "ถึงกับหลายครั้ ง เขามีไก่ ตัว เดียวต้ องแบ่ งกันกินถึง 25-30 คน"

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

6เมือง ห่าเตียน (ชาวจีนเรี ยก กังเกา) 7เมือง "ห่าเตียน" (Hatien) นั้น ชาวจีนเรี ยกว่า "กังเกา" ชาวเขมรเรี ยกว่า "เปี ยม" (Peam) ชาวโปรตุเกสเรี ยกว่า

"โกอัลเล" (Coalle) หรื อ "ปัลเม ริ นฮา" (Palmerinha) ชาวสยามเรี ยกว่า "พุทไธมาส" (Pouthaymat) (N.L.E. vol. IV p. 220) คํา "เปี ยม" ในภาษาเขมรแปลว่า "ปากนํ้า" ; จังหวัด "เปี ยม" ในประเทศเขมร ซึ่งทุกวันนี้ลดฐานะเป็ นเพียงอําเภอหนึ่ง ตั้งอยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดห่าเตียนในประเทศโคชินจีน นั้น แต่ก่อนรวมภูมิภาคห่าเตียน และมีที่วา่ การจังหวัดอยูใ่ นเมือง ที่ใช้เป็ นชื่อของจังหวัด (Documents sur Pigneau de Béhaine, Revue IndoChinoise 1913, 1er sem. p. 165, note 6). Cancao หรื อที่เขียนตามแบบกวางตุง้ ว่า Kangkao นั้น เป็ นคําแปลของคํา "เปี ยม" ซึ่ งแปลว่า "ปากนํ้า" ส่ วนคํา "ห่าเตียน" แปลว่า "เทพเจ้าของแม่น้ าํ " ตามเอกสารของญวน ชื่อนี้มาจากนิทานปรัมปราท้องถิ่นหนึ่งคือ ชาวบ้านชาวเมืองเชื่อว่าเทพ เจ้า (เทียน) ตนหนึ่งไปๆ มาๆ ไม่หยุดหย่อนบนแม่น้ าํ (le rach Giang-thanh) (Histoire moderne du pays d'Annam 1592-1720, par Charles B. Maybon, p. 123)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

201

คุณพ่อแกแอรฺ เวถึงแก่มรณภาพ เมื่อจัดที่อยูช่ ว่ั คราวเสร็ จแล้ว คุณพ่อแกแอรฺ เวเดินทางกลับไปจันทบูรณ์ เพื่อรับ สามเณรที่เหลือมา พอถึงจันทบูรณ์ ท่านก็เจ็บ เพราะเดินทางไปมาสองครั้งเหน็ดเหนื่อยมาก และถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1766 ภายในระยะเวลาไม่กี่เดือนที่ท่านพักอยูท่ ี่วดั นี้เมื่อปี ก่อน ท่านได้ทาํ ให้คริ สตังและคนต่าง ศาสนารักใคร่ นบั ถือมาก เขาทั้งหมดจึงพร้อมใจกันจัดการปลงศพท่านอย่างสง่า "เขาแบกศพท่ านให้ เห็นเด่ นเหนือ ฝูงคน ให้ เห็นโอ่ อ่ามโหฬารอย่ างที่ไม่ มีใครเคยเห็นในเมืองนี "้ ในจดหมายที่พวกมิชชันนารี เขียนถึงใครๆ มีแต่คาํ ชมสรรเสริ ญคุณพ่อแกแอรฺ เว "ท่ านรั กและถือความ ยากจน ท่ านมีเสื ้อหล่ อเก่ ามากเพียงตัวเดียว และเมื่อปะไม่ ไหวแล้ ว ท่ านก็เอาเสื ้อของเณรมาให้ เขาต่ อตัวให้ ยาว ออกไป ท่ านไม่ มีหมวกและไม่ ใช้ รองเท้ า นอกจากเวลาทามิสซาเท่ านั้น" "แม้ ท่านมีความรู้ ทางวรรณคดีมาก ดังที่ เห็นได้ จากตารั บตารา 8 ที่ท่านแต่ งสาหรั บอบรมยุวชนของเรา ท่ านก็ชอบแปลคาสอนให้ เด็กๆ ฟั งยิ่งนัก" คุณพ่อมอรฺ วงั เขียนไว้ดงั นี้ และใครๆ ที่รู้จกั คุณพ่อแกแอรฺ เวก็พดู เหมือนกันในทํานองนี้

k

ko g n a fB

o e s นจีน พ่ออารฺ โตด์ ปลูกบ้าน คุณพ่อจางที่จนั บุรีเดินทางไปช่วยคุณพ่ออารฺ โตด์ที่ฮอนดัต ในประเทศโคชิ e c ใหญ่หลังหนึ่ง มุงด้วยใบไม้ จุนกั เรี ยนได้ 50 คน ต่อมา คุณพ่อiบัo วเรต์ (Boiret) ได้เป็ นอธิการวิทยาลัยกลาง d แทนท่าน แต่เป็ นได้ชวั่ ระยะเวลาสั้นมาก และในระหว่rางcทีh่เป็ นอธิการอยูน่ ้ นั คุณพ่ออังดรี เออ ซึ่ งเมื่อครั้งที่พา Aา้ และสุขภาพได้ชารุดทรุดโทรมมาก แม้ร่างกายของท่านลา่ สามเณรหนีจากอยุธยาไปจันทบูรณ์ "ต้ อง อดข้s าวอดน e่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1766 พระสังฆราชปี แควล 9 (Piguel) เขียนไว้วา่ v i สันแข็งแรง" ก็มาด่วนถึงแก่มรณภาพเมื ่ อ วั น ที h c r "คุณพ่ ออังดรี เออเป็ นแบบฉบัA บที่เณรทุกคนยกย่ องนับถือจนกระทั่งวันตาย มิสซังกรุ งสยามได้ สูญเสี ยบุคคลทา l ประโยชน์ มากไปผูi้ หcนึa ่ ง" r o t s สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อกับวิทยาลัยกลาง Hi คุณพ่ออังดรีเออถึงแก่มรณภาพ

ระหว่างที่เป็ นอธิ การวิทยาลัยกลางที่ฮอนดัตนั้น คุณพ่อบัวเรต์ได้ทราบว่าสมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อ คิดจะส่ งสามเณรมาศึกษาที่วทิ ยาลัยกลางของท่านทันที ท่านได้มีหนังสื อถึง คุณพ่อดารุ สต์ เหรัญญิกมิสซังต่างๆ แห่งประเทศตังเกี๋ยที่กรุ งโรมความว่า "ขอท่ าน โปรดเรี ยน สมณกระทรวงว่ า เราไม่ ปรารถนาอะไรยิ่งกว่ าจะรั บใช้ สมณกระทรวงตามแต่ จะเห็นสมควรเพราะเราเป็ นมิชชันนารี ของสมณกระทรวงนี ้ และโปรดเรี ยนด้ วยว่ าเรามี ความยินดีที่จะเห็นสามเณรของสมณกระทรวงมาเรี ยนอยู่กับสามเณรของเรา".

8เราไม่ทราบว่า ตํารับตําราเหล่านี้มีอะไรบ้าง 9พระสังฆราชปี แควล (Piguel) ประมุขมิสซังโคชินจีน คิดจะตั้งวิทยาลัยกลางที่เกาะปูโล-ก็องดอรฺ (เอกสารมิสซัง ต่างประเทศ เล่ม 744 หน้า 818)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.