17 ประวัติมิสซังกรุงสยาม บทที่ 14

Page 1

บทที่ 14 สมัยพระสังฆราชบรีโกต์ - พระสังฆราชเลอ บ็อง ค.ศ. 1764 - 1776 ความพยายามแก้ไขความเสื่อมโทรมของมิสซัง พระยาตาก พระสังฆราชบรี โกต์เดินทางยังไม่ถึงเมืองปอนดิเชรี พระราชอาณาจักรสยามก็เริ่ มฟื้ นขึ้นจากความพินาศ แต่พอกรุ งศรี อยุธยาเสี ยแก่พม่า ขุนนางไทยผูห้ นึ่งก็ออกประกาศให้พลเมืองต่อสู้ รวบรวมทหารได้ประมาณหนึ่งพัน คน ยกไปตั้งมัน่ อยูต่ ามภูเขาในเขตนครนายก ซึ่งศัตรู ไม่สามารถขับออกไปได้ ขุนนางไทยผูน้ ้ ีชื่อ พระยาตาก 1 บิดาเป็ นจีน มารดาเป็ นชาวไทย และขณะที่พม่าบุกกรุ งสยาม ท่านเป็ นเจ้าเมืองจังหวัดหนึ่งทางภาคเหนือ แต่พอทัพ พม่าเดินทางกลับ เมืองอังวะ พระยาตากก็เริ่ ม "วางรากฐานแห่ งการก้ าวขึน้ สู่อานาจของตน" เจ้าเมืองจันทบุรี ไม่ยอมรับรู ้อาํ นาจของพระยาตาก ท่านก็ยกทัพไปตี พอมาถึงใกล้เมือง ท่านสั่งให้ทุบหม้อข้าวหม้อแกงทั้งหมด กล่าวแก่ทหารว่า "พวกเราต้ องไปกินข้ าวเอาในเมืองนะ !" การกล่าวเช่นนี้เป็ นคําพูดที่โก้เก๋ นอ้ ยกว่าที่จะพูดว่า "เผาเรื อ" 2 ก็จริ ง แต่สาํ หรับเมืองไทยก็มีความหมายเช่นเดียวกัน อีกไม่กี่ชว่ั โมงต่อมา พระยาตากก็มีชยั ชนะเข้าเมือง ได้ ท่านมีความแกล้วกล้าไม่ทาํ อะไรครึ่ งๆ กลางๆ ในการรบครั้งหนึ่ง ท่านเห็นนายทหารคนหนึ่งถอยหลัง ก็โจน ไปหา พูดว่า "มึงกลัวดาบของศัตรู แต่ ไม่ กลัวดาบของกูหรื อ ?" พูดแล้วก็เอาดาบฟันศีรษะนายทหารคนนั้นขาดไป เมื่อตีได้จนั ทบุรีแล้ว ท่านเดินทางมาเมืองบางกอก และได้รับการรับรองยกย่องว่าเป็ นผู้ กูช้ าติ ท่านพํานัก อยูใ่ นเมืองนี้และสถาปนาเป็ นเมืองหลวงใหม่ของพระราชอาณาจักร ครั้นแล้ว ก็ค่อยๆ ตีเอาเมืองเพชรบุรี (Piply), นครศรี ธรรมราช (Ligor) และเกดาห์ 3 (Quedah) ยกทัพไปยังภาคเหนือจนถึงเมืองเชียงใหม่ แล้วกลับมายังเมือง บางกอก ทุกคนต่างพากันยอมรับนับถืออํานาจกษัตริ ยข์ องท่าน

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

1เมื่อพระยาตากขึ้นครองราชสมบัติแล้ว เราเรี ยกท่านในคําแปลหนังสื อว่า ”พระเจ้าตากสิ น” แม้ผแู้ ต่งหนังสื อดังกล่าว (บาทหลวงโลเน) ยังคงเรี ยก "พระยาตาก" ตลอดไป เพราะท่านคงไม่เข้าใจคําว่า "พระยา" ในภาษาไทยไม่ใช่ชื่อเป็ นแต่บรรดาศักดิ์เท่านั้น อันที่จริ ง คํา "พระยา" หรื อ "พญา" ในสมัยกรุ งศรี อยุธยาอาจแปลว่า "กษัตริ ย"์ ด้วย เช่น คริ สตังในสมัยอยุธยาเรี ยก "พระยาดาวิด" ในความหมายว่า "กษัตริ ยด์ าวิด" และเรี ยก "พระยาสามองค์" ในความหมายว่า "กษัตริ ยส์ ามองค์" ตามที่ภาษาฝรั่งเศสเรี ยกว่า "Les Rois Mages" (ผูแ้ ปล) 2"เผาเรื อ" (brûler ses vaisseaux) เป็ นสํานวนภาษาฝรั่งเศส แปลว่า ทําสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ซึ่งเมื่อทําแล้ว ต้องสู้ตาย ถอยหลังไม่ได้ เพราะ "เผา เรื อ" หมายความว่า เผาเรื อทิ้งแล้ว ก็ข้ ึนบก บุกเข้าไปในดินแดนศัตรู ต้องสู้ตายเอาชนะให้ได้ เพราะไม่มีเรื อจะกลับมาอีก (ผูแ้ ปล) 3เกดาห์ คือ เมืองไทร หรื อ ไทรบุรี (กรรมการฯ)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

205

พระสั งฆราชบรีโกต์ กลับไปประเทศฝรั่งเศส หนังสื อของท่ านเกีย่ วกับกรุงสยาม บัดนี้ถึงเวลาที่พวกมิชชันนารี จะต้องพยายามแก้ไขความเสื่ อมโทรมของมิสซังและ กิจการของเขาบ้าง แต่ในหมู่มิชชันนารี น้ นั ไม่มีชื่อของพระสังฆราชบรี โกต์แล้ว เพราะท่านค้าง อยูท่ ี่สามเณราลัยคณะมิสซัง ต่างประเทศที่กรุ งปารี ส และจะทํางานเกี่ยวกับการงานทัว่ ไปของคณะมิสซังต่างประเทศมากกว่าการงานในกรุ ง สยาม ในที่น้ ีเราจะเล่าเพียงเรื่ องในชีวติ ของท่านเรื่ องหนึ่ง ซึ่ งมีความเกี่ยวพันกับมิสซังของท่านอยูบ่ า้ ง ในปี ค.ศ. 1769 พระสังฆราชบรี โกต์ออกจากเมืองปอนดิเชรี เพื่อเดินทางกลับประเทศฝรั่งเศส4 ครั้น เดินทางถึงกรุ งปารี ส ท่านไปเยีย่ มเสนาบดีหลายนาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ท่าน ดุ๊ก เดอ ปรัสแล็ง (de Praslin) เสนาบดีกระทรวงทหารเรื อ, นายแบรฺ แต็ง (Bertin) เลขาธิการแห่งรัฐ และ นายบูแต็ง (Boutin) ผูต้ รวจการใหญ่ กระทรวงการคลัง (intendant des Finances) บุคคลทั้งสามนี้ตอ้ นรับท่านด้วยอัธยาศัยไมตรี แสดงว่ามีความสนใจ ในชะตากรรมของท่าน และขอให้ท่านเขียนและเผยแพร่ "เรื่ องต่ างๆ ในประเทศจีนและอินเดีย ในส่ วนที่เกี่ยวกับ ประวัติ ธรรมชาติ การปกครองและการค้ า" พระสังฆราชบรี โกต์ก็เริ่ มงานนี้ ลงมือเขียนบันทึก แล้วเพิ่มเรื่ องราว ต่างๆ ที่คุณพ่อดาวุสต์มอบให้ ต่อไป เนื่องจากเคยติดต่อกับนักเขียนคล่องแคล่วคนหนึ่ง ชื่อ ตูรฺแป็ ง (Turpin) ท่าน ก็มอบเรื่ องที่ท่าน เขียนเองด้วยมือ ตลอดจนบันทึกช่วยจําที่คุณพ่อโอม็องต์เขียนเกี่ยวกับ กรุ งสยามให้เขาไป นายตูรฺแป็ งนําเอา ความคิดในข้อเขียนของพระสังฆราชบรี โกต์และคุณพ่อโอม็องต์มาเขียนขึ้นใหม่ แต่บางทีก็เขียนไปตามจินตนาการ ของเขาเอง โดยไม่คาํ นึงถึงความ ถูกต้อง ซึ่ งเป็ นเรื่ องยากพอสมควรสําหรับคนที่ไม่เคยเดินทาง แล้วเขาก็จดั ให้ พิมพ์หนังสื อ เล่มหนึ่งออกมา ชื่อ "ประวัติเกี่ยวกับบ้ านเมืองและธรรมชาติแห่ งพระราชอาณาจักรสยามและประวัติ การปฏิ วตั ิหลายครั้ งที่ทาให้ ราชอาณาจักรนีป้ ั่ นป่ วนจนถึง ค.ศ. 1770"

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

4ท่านลงจากเรื อที่เมืองโลรี องั ต์ วันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1769 และไปรักษาตัวด้วยนํ้าแร่ ที่บูรฺบอ็ ง - ลารฺ ชงั โบ (Bourbon - l'Archambault) (เอกสารของคณะมิสซังต่างประเทศ เล่ม 62 หน้า 81)


206 ประวัติมิสซังกรุงสยาม

พอหนังสื อนี้พิมพ์ออกมา พระสังฆราชบรี โกต์และคณาจารย์สามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศต่างพากัน ตกใจและไม่พอใจ เพราะในหนังสื อดังกล่าว "เขาพบข้ อความที่น่าตาหนิหลายแห่ ง" พระสังฆราชต่อว่านายตูรฺแป็ ง อย่างรุ นแรง เขาก็ยอมรับคําตําหนิ แก้หน้าที่มีผดิ มากเป็ นพิเศษ แต่เราก็บอกไม่ได้วา่ เป็ นหน้าอะไรบ้าง และแทน หน้าที่ผดิ นั้น เขาใส่ หน้าใหม่ที่ใกล้เคียงความจริ งมากขึ้น หนังสื อเล่มนี้ นายคาร์ทไร้ท์ (Cartwright) ได้แปลเป็ น ภาษาอังกฤษ5 แล้วภายหลังนายปิ นเบอร์ตนั (Pinberton) จัดให้รวมเข้าในชุดเรื่ องการเดินทาง หนังสื อดังกล่าว มีเรื่ องที่เป็ นประโยชน์ แต่ก็มีเรื่ องที่ไม่ถูกต้องนัก แต่สาํ หรับยุคที่หนังสื อนี้พิมพ์ออกมา ก็ยงั นับเป็ นหนังสื อที่เขียน ดีที่สุดถึงพระราชอาณาจักรสยาม ในปี ค.ศ. 1774 พระสังฆราชบรี โกต์ได้รับเบี้ยบํานาญ 4,000 ฟรังก์ ซึ่งโบสถ์แซ็ง-เตเจียน ที่เมืองกัง (Saint - Etienne de Caen) เป็ นผูจ้ ่าย วันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1776 ท่านได้รับการแต่งตั้งเป็ นอธิการมิสซังมาลาบารฺ 6 ซึ่งพระสันตะปาปา ปี โอ ที่ 6 กับรัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ ที่ 16 เพิ่งมอบให้คณะมิสซังต่างประเทศดูแลแทนคณะเยสุ อิต ซึ่งถูกยุบเลิก ไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1773 พระสังฆราชบรี โกต์เดินทางไปเมืองปอนดิเชรี เพื่อปกครองมิสซังมาลาบารฺ ตามที่ได้รับ มอบหมายนั้น จนถึงสมัยที่กล่าวนี้ ท่านยังคงเป็ นประมุขมิสซังกรุ งสยามอย่างเป็ นทางการ ฉะนั้นในบทนี้จึงมีชื่อของ พระสังฆราชบรี โกต์ควบคู่กบั ชื่อของพระสังฆราชผูช้ ่วย ซึ่งเป็ นผูป้ กครองมิสซังโดยแท้จริ ง

k

พระสั งฆราชเลอ บ็อง เป็ นสั งฆราชผู้ช่วย

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

วันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1762 พระสังฆราชบรี โกต์มีหนังสื อถึงสมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อว่าท่าน อาพาธมาปี กว่าแล้ว จําเป็ นต้องขอพระสังฆราชผูช้ ่วยองค์หนึ่ง แต่ท่านไม่ได้เสนอให้ต้ งั ผูใ้ ด ทําให้เข้าใจว่าท่าน คอยรับคําตอบก่อน แล้วจึงจะตัดสิ นใจหรื อมิฉะนั้นก็ปล่อยให้เป็ นหน้าที่ของสมณกระทรวงที่จะเลือกหามิชชันนารี ผูส้ ามารถจะทําหน้าที่น้ ีได้ วันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1764 สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อถามคุณพ่อดาวุสต์ เหรัญญิกแห่งบรรดาประมุขมิสซังของคณะมิสซังต่างประเทศที่กรุ งโรม ขอความเห็นว่าควรจะเลือกผูใ้ ด คุณพ่อ ดาวุสต์ไม่ลงั เลใจที่จะเสนอคุณพ่อเลอ บ็อง ซึ่ง "เคยอยู่ที่วิทยาลัยกลางกรุ งสยามเป็ นเวลา 9 หรื อ 10 ปี เคยปกครอง วิทยาลัยในฐานะอธิ การ เป็ นผู้สมควรแก่ ตาแหน่ ง เพราะความประพฤติดี มีความศรั ทธาแน่ นแฟ้ น ความเชื่ อมัน่ คง ความรู้ ดีและมีความสามารถสูงในการอบรมเยาวชน"

iv h rc

A l a

ic r o ist

H

5ที่วา่ นายคาร์ทไร้ทไ์ ด้แปลหนังสื อของตูรฺแป็ งเป็ นภาษาอังกฤษนั้น ความจริ งมิได้แปลทั้งหมด คือ หนังสื อของนาย ตูรฺแป็ งพิมพ์เป็ น 2 เล่ม นายคาร์ทไร้ทไ์ ด้เลือกแปลแต่เล่มหลังเท่านั้น แล้วกรมศิลปากรได้มอบให้ นางสมศรี เอี่ยมธรรม ถอดคําแปลของนายคาร์ทไร้ทเ์ ป็ น ภาษาไทยอีกทอดหนึ่ง โดยใช้ชื่อเรื่ องว่า "ประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุ งศรี อยุธยา ฉบับตูรฺแป็ ง" ส่ วนตอนต้นนั้นยังคงมีแต่ภาษาฝรั่งเศส กรม ศิลปากรได้มอบให้นายปอล ซาเวียร์ แปลเป็ นภาษาไทย เสร็ จแล้ว และจะได้พิมพ์เผยแพร่ ในโอกาสต่อไป (ผูแ้ ปล) 6"มาลาบารฺ " (Malabar) เป็ นแคว้นหนึ่ง อยูท่ างฝั่งตะวันตกของประเทศอินเดีย (ผูแ้ ปล)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

207

คุณพ่อเลอ บ็อง ได้รับแต่งตั้งเป็ นพระสังฆราชเกียรตินามแห่งเมแตลโลโปลิส และเป็ นพระสังฆราชผูช้ ่วย ประมุขมิสซังกรุ งสยาม เมื่อวันที่ 22 สิ งหาคม ค.ศ. 1764 ท่านได้รับสารตราตั้งที่เมืองมาเก๊าเกือบจะเป็ นเวลา เดียวกับที่ได้รับจดหมายจากพระสังฆราชบรี โกต์ แจ้งให้ทราบว่ามิสซังของท่านถึงแก่ความวิบตั ิ และตัวท่าน ถูกเนรเทศไปประเทศพม่า เนื่องจากไม่สามารถเดินทางไปหาพระสังฆราชบรี โกต์ คุณพ่อเลอบ็อง ผูไ้ ด้รับเลือกจึงจําต้องหาพระสังฆ ราชอื่นเป็ นผูอ้ ภิเษก แต่ขณะนั้น พระสังฆราชแห่งมาเก๊าและพระอัครสังฆราชแห่งมะนิลาถึงแก่มรณภาพแล้ว ฝ่ าย บรรดาประมุขมิสซังแห่งประเทศจีนและประเทศตังเกี๋ยก็ขยาดกลัวการเฝ้ าสังเกตของพวกขุนนางและการเบียดเบียน ที่คุกคามอยูเ่ สมอ ท่านจึง "มีความเห็นว่ าทางที่ดีที่สุดคือ กลับไปประเทศฝรั่ งเศส อาศัยเรื อฝรั่ งเศสที่ออกจาก ประเทศจีนไปยุโรป" คุณพ่อเลอ บ็อง ถูกคณาจารย์สามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศติเตียนที่ตดั สิ นใจ เช่นนี้ จึงเดินทางไป กรุ งโรม สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อเห็นชอบในการกระทําของท่าน และพระสันตะปาปา เคลเมนต์ ที่ 13 ทรงอภิเษกท่านเป็ นสังฆราชเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 1766 สําหรับพิธีอภิเษกนี้ เขาได้เอากางเขนและแหวนของพระคาร์ดินลั เดอ ตูรฺน็อง (de Tournon) ให้ท่านยืม ส่ วนพระสันตะปาปาได้ประทานสิ่ งต่อไปนี้เป็ นของขวัญแก่ท่านคือ กาลิส 1 ใบ, หนังสื อจารี ตพิธีของพระสังฆราช (Pontifical) และบทขอบพระคุณ (Canon) สําหรับมิสซาพระสังฆราช "เป็ น 4 เล่ ม ขนาด 4 หน้ ายก เข้ าปกอย่ างดี ขอบเดินทองและหุ้มด้ วยหนังชั้นเยี่ยมสี แดง ติดดอกไม้ ทอง" เมื่อกลับฝรั่งเศสแล้ว ท่านก็ออกเดินทางมายังถิ่นมิสซัง แต่ก็ได้รับความยุง่ ยากอีก วันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1768 ท่านมีหนังสื อจากเมืองโลรี องั ต์ กราบทูลพระเจ้าหลุยส์ ที่ 15 ร้องทุกข์เรื่ องเสนาบดีเลขาธิการแห่งรัฐ ห้ามท่านลงเรื อ และทูลขอพระราชานุญาตให้ท่านลงเรื อได้ หนังสื อฉบับนี้กษัตริ ยป์ ระเทศฝรั่งเศสได้รับหรื อไม่ ก็ไม่ทราบได้ แต่ไม่กี่สัปดาห์ต่อมา พระสังฆราชเดินทางต่อไปยังเมืองปอนดิเชรี ได้ และจากนั้นท่านเตรี ยมตัว เดินทางมายังมิสซังกรุ งสยาม

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o tในกรุงสยาม s คุณพ่อiกอรฺ H ระหว่างนั้น มิสซังกรุ งสยามค่อยฟื้ นมีชีวติ ชีวาขึ้นบ้าง

เมื่อทราบว่าพระยาตากทําการรบมีชยั ชนะ คุณพ่อกอรฺ ซึ่งลี้ภยั ไปอยูป่ ระเทศเขมร ก็เดินทางกลับมาถึงเมืองบางกอก 7 เมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1769 พร้อมด้วยคริ สตัง 4 คน เป็ นญวน 3 คน และไทย 1 คน เมืองบางกอกนี้เป็ นเมืองหลวงใหม่ ซึ่งพระเจ้าตากสิ น ได้ทรงเลือก และจะกลายเป็ นศูนย์กลางของมิสซังต่อไป

7เมืองบางกอก ทุกแห่งในหนังสื อเล่มนี้ หมายถึงเมืองธนบุรี ตั้งแต่ตน้ จนถึงหน้านี้และหน้าต่อไป (กรรมการฯ)


208 ประวัติมิสซังกรุงสยาม

คุ ณพ่อกอรฺ เป็ นพระสงฆ์ที่ขยันขันแข็ง เข้าใจการงานและมีใจร้ อนรนในการแพร่ ธรรมอย่างแท้จริ ง ท่านพบคริ สตัง 108 คน รวมกลุ่มกันอยูใ่ กล้ป้อมแห่ งหนึ่ งในเมืองบางกอก ท่านหวังใจว่าเมื่อคนที่หนี กลับมาแล้ว จํานวนคริ สตังจะมีถึงราว 400 คน ท่านได้รับการต้อนรับอย่างดีจากพระเจ้าตากสิ น พระองค์ได้ทรงพระราชทาน เงิน 20 เปี ยสตร์ กับเรื อลําหนึ่งแก่ท่าน และทรงสัญญาจะพระราชทานที่ดินแปลงหนึ่งสําหรับสร้างโบสถ์ ทันทีท่าน ก็เริ่ มลงมื อทํา งาน หลังจากเจรจาเป็ นเวลาช้านานกับพวกขุนนาง ซึ่ งทําการขัดขวางเพราะจงใจกลั่นแกล้ง คุ ณพ่อกอรฺ ก็ได้ที่ดินที่พระเจ้าตากสิ นทรงสัญญานั้น การโอนที่ดินได้ทาํ สําเร็ จเด็ดขาดเมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1769 และเพื่อเป็ นที่ ระลึ กถึ งวันฉลองวันนี้ คุ ณพ่อกอรฺ ตั้ง ชื่ อโบสถ์ของท่ านว่า "วัดซางตาครู้ ส" สถานการณ์ทว่ั ไปในพระราชอาณาจักรยังไม่แจ่มใส การทําสงครามก็ดี การปล้นสะดม ของทหารพม่าก็ดี การกวาดต้อนพลเมื องส่ วนหนึ่ งไปก็ดี ทําให้เกิ ดความสับสนและความทุกขเวทนาทัว่ ไป พวกจีนซึ่ งคอยหา ผลประโยชน์กาํ ไรไม่รู้จกั อิ่มหนํา ได้คน้ พบวิธีที่จะรํ่ารวย อย่างน้อยก็ชว่ั ระยะเวลาหนึ่ ง เขาคิดอ่านกันจะหาทองที่ พุทธศาสนิกชนใจศรัทธานํามาเก็บไว้ตามวัดและเจดีย ์ และเขาก็คน้ พบได้เป็ นจํานวนมาก "มีคนเคยพบไหทาด้ วย เงิน 5 ใบ และทวนทาด้ วยทองคา 3 เล่ ม ในเจดีย์แห่ งเดียว" ในพระพุทธรู ปที่เขาทุบแตก ก็เคยมีผพู้ บขุมสมบัติ บรรจุอยูข่ า้ งใน "ทองเป็ นของธรรมดา จนมีคนเอาไปเล่ นเป็ นกาๆ มือในวงการพนัน" อย่างไรก็ดี ทองค่อยๆ ร่ อย หรอหมดไป และในเวลาเดียวกันเกิดมีน้ าํ ท่วม ทําให้ตน้ ข้าวยืนต้นตาย และยังทําให้เกิดความอดอยาก เสบียงอาหาร ขึ้นราคาแพงหูฉี่ และคนอนาถาเข็ญใจมากต่อมากไม่สามารถจะซื้อได้ คุณพ่อกอรฺ ให้ความช่วยเหลือได้แต่เล็กๆ น้อย เท่าที่ความยากจนจะอํานวยให้ทาํ ได้ แต่ความช่วยเหลือ เล็กๆ น้อยๆ นั้นก็ยงั ชักจูงคนมาเรี ยนคําสอนกับท่านหลายคน ทั้งๆ ที่รู้ดีวา่ มูลเหตุที่ชกั นําเขามาถือศาสนานั้นไม่ใช่ มูลเหตุเหนือธรรมชาติ คุณพ่อกอรฺ ก็ยอมรับเขา แต่คอยเฝ้ าระวังดูไว้ "เราคอยระวังเล่ ห์และการหลอกลวงของเขา เราใช้ มาตราการที่เที่ยงธรรมที่สุด เพื่อมิให้ ถกู หลอก" ในพวกที่กลับใจนั้น มีบางคนเมื่อได้รับพระหรรษทานของ พระเป็ นเจ้า ได้เรี ยนคําสอนและรับศีลล้างบาปแล้ว ก็มีความเชื่อมัน่ ในศาสนาอย่างแท้จริ ง เช่น หญิงสาวคนหนึ่ง ปฏิเสธ ไม่ยอมแต่งงานกับขุนนางต่างศาสนา เธอกล่าวว่า "เธอพอใจแต่ งงานกับคริ สตังจนๆ ดีกว่ าอภิเษกสมรสกับ พระเจ้ าแผ่ นดินคนต่ างศาสนา" ความอดอยากยังเอื้ออํานวยให้คุณพ่อกอรฺ มีโอกาสได้กลับดําเนินงานที่เคยทําเป็ นผลดีในกรุ งสยามมาแล้ว คือ ประกอบพิธีศีลล้างบาปให้แก่ลูกคนต่างศาสนาที่ใกล้จะตาย ภายในเวลาไม่กี่เดือน ท่านประกอบพิธีศีลล้างบาป ให้แก่เด็กถึง 400 คน การที่พระสงฆ์คริ สตังมีเมตตาจิตเช่นนี้เป็ นที่พอพระทัยของพระเจ้าตากสิ นหรื อไม่? เราไม่ ทราบ แต่วนั หนึ่งพระองค์ได้ทรงกล่าวถ้อยคําต่อไปนี้ต่อหน้าธารกํานัลว่า "ไม่ มีศาสนาใดเหมือนศาสนาของพวก คริ สตัง และไม่ มี คุณพ่ อที่ไหนเหมือนคุณพ่ อของเขา" คุณพ่อกอรฺ รีบบันทึกถ้อยคํานี้ไว้ เพราะทําให้ท่านมี ความหวังยิง่ ขึ้น

k

A l a

iv h rc

H

ic r o ist

A s e

e c io d rch

o e s

ko g n a fB


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

209

วันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1770 พระเจ้าตากสิ นเสด็จไปเยีย่ มคุณพ่อกอรฺ ซึ่ งเรื่ องนี้เป็ นพฤติการณ์ที่ยงั ไม่ เคยได้ยนิ ได้เห็นในกรุ งสยาม และเป็ นเรื่ องผิดกฎแห่งพระราชสํานักเป็ นอย่างยิง่ พระองค์มีรับสั่งให้โค่นกระท่อม หลังหนึ่งที่ลดเนื้อที่ของสนาม ซึ่ งคุณพ่อกอรฺ อาจจะใช้การได้ พระองค์ยงั รับสั่งให้สร้างกําแพงของโบสถ์นอ้ ยที่มี แต่เสากับหลังคาเท่านั้น พระองค์ทรงพลิกดูหนังสื อที่พบอยูบ่ นโต๊ะตัวหนึ่ง ก็ทรงแสดงความเห็นต่อไปนี้ ซึ่ง ผูป้ ้ องกันศาสนาคาทอลิกคงไม่รู้จกั นําไปอวดอ้างว่า "ศาสนาของพวกคริ สตังจะไม่ ดีอย่ างไรได้ อะไรๆ ของเขาดี ทั้งนั้น แม้ แต่ กระดาษที่ใช้ " ในสมัยที่กล่าวนี้ พระเจ้าตากสิ นดูเหมือนทรงมีพระเมตตาต่อพวกคริ สตังและไว้วาง พระทัยเขาอยูบ่ า้ ง ทรงเรี ยกคริ สตังหลายคนไปทํางานในพระราชวัง แต่การที่พระองค์ทรงวางพระทัยพวกคริ สตัง นั้น ก็ทาํ ให้เกิดความยุง่ ยากลําบากด้วยเหมือนกัน เพราะบ่อยครั้งพระองค์ทรงปรารถนาใช้คนงานคริ สตัง ทําเครื่ องรางของขลัง พระองค์ยงั โปรดให้คริ สตังหลายคนรับราชการในกองทหารรักษาพระองค์ และทรงชอบให้ เขาอยูร่ อบๆ ข้างพระองค์เวลารบ

ok k ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1771 พระสังฆราชเลอ บ็อง เดินทางถึงเมืองบางกอกพร้อม กับn มิชg ชันนารี หนุ่ม a Bงได้เป็ นผูส้ ืบตําแหน่ง องค์หนึ่งคือ คุณพ่อการฺ โนลต์ (Garnault) แห่งสังฆมณฑลตูลูส (Toulouse) ซึ่ งภายหลั f oองปอนดิเชรี มาทูลเกล้าฯ ต่อจากท่าน ท่านนําสารฉบับหนึ่งกับของแปลกๆ หลายอย่างจากนายลอว์ ข้าหลวงเมื e sดี และเพื่อขอบคุณสําหรับเครื่อง e ถวายพระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าตากสิ นทรงต้อนรับพระสังฆราชด้วยพระทั ย c o i บรรณาการที่ท่านข้าหลวงฝากมาถวาย พระองค์ทรงเพิ่มที่ดินให้ วd ดั ซางตาครู้ส และพระราชทานเรื อ 2 ลําแก่มิสซัง h c หลายครั้งพระองค์ทรงเรี ยกพระสังฆราชเลอAบ็อrง ไปเฝ้ าในพระราชสํานัก ทรงสนทนา วิสาสะกับท่าน อย่างเป็ นกันเอง และทรงไต่ถามถึงประเทศฝรั เศสและศาสนาคาทอลิก บางเรื่ องที่พระสังฆราชทูลตอบนั้นทําให้ ่งs e v i พระองค์ทรงฉงนฉงายพระทัย ch เป็ นต้นเรื่ องพระสงฆ์คาทอลิกต้องถือพรหมจรรย์และอยูใ่ นสมณเพศตลอดไป r เนื่องจากพระองค์ทรงเป็ นlผูช้ A อบใช้อาํ นาจ และเมื่อทรงนึกจะออกคําสั่ง ก็ทรงออกแล้วออกอีกได้ง่ายๆ พระองค์จึง a ทรงกําหนดให้พrระภิ icกษุเอาอย่างพระสงฆ์คาทอลิกคือไม่สึกและต้องถือพรหมจรรย์ แต่การสั่งให้ถือเช่นนี้เป็ นการ o tบังคับให้ปฏิบตั ิ และคําสัง่ ของพระเจ้าตากสินที่กล่าวนี้ไม่เคยมีใครถือตาม ง่ายกว่าiการ s H ปลายปี ค.ศ. 1771 พระองค์ทรงยกทัพไปตีเมืองพุทไธมาส 8 (Cancao) ขากลับพระองค์ได้ทรงนําคริสตัง พระสั งฆราชเลอ บ็อง ถึงกรุงสยาม

46 คน มาจากแคว้นนี้ดว้ ย คริ สตังเหล่านี้ได้ต้ งั รกรากที่เมืองบางกอก ในหมู่บา้ นญวนที่คุณพ่อการฺ โนลต์ปกครองอยู่ 8เมืองพุทไธมาส พระราชพงศาวดารกรุ งธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ในประชุมพงศาวดารเล่ม 40 องค์การค้า คุรุสภาจัดพิมพ์ พ.ศ. 2512 หน้า 57 เป็ นต้นไป ระบุวา่ "...เดือน 11 (ตุลาคม) จ.ศ. 1133 (พ.ศ. 2314) ยกทัพหลวงไปทางปากนํ้าเจ้าพระยา...ถึงปากนํ้าพุทไธมาส วันพฤหัส เดือน 12 (พฤศจิกายน) ขึ้น 8 คํ่า เพื่อจะปราบพระยาราชาเศรษฐีขนุ นางญวน โดยมีพระราชสารไปแจ้งว่า ที่ยกมาเพื่อจะ อภิเษกพระองค์รามราชา เจ้าเขมร ให้เป็ นกษัตริ ยก์ บั ทรงต้องการตัวเจ้าจุย้ เจ้าเสสัง (เจ้าศรี สังข์) และข้าหลวงชาวกรุ งศรี อยุธยา... แสดงว่า เจ้าตากยกทัพไปครั้งนั้น ทรงมีแผนการจะคุมตัวเจ้านายในราชวงศ์เก่าและพวกขุนนางเก่าๆ ของกรุ งศรี อยุธยา (กรรมการฯ)


210 ประวัติมิสซังกรุงสยาม

คุณพ่อกอรฺ ถึงแก่มรณภาพ วัดซางตาครู้ส ซึ่งเป็ นวัดคาทอลิกไทย หรื อที่ถูกว่า เป็ นวัดคาทอลิกครึ่ งไทยครึ่ งโปรตุเกสนั้น ได้สูญเสี ย คุณพ่อเจ้าอาวาส ในวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1773 อันเป็ นวันที่คุณพ่อกอรฺ รองประมุขมิสซัง ถึงแก่มรณภาพ นับเป็ นการสู ญเสี ยมิใช่สาํ หรับวัดซางตาครู ้สเท่านั้น แต่เป็ นการสู ญเสี ยสําหรับมิสซังทั้งมิสซังด้วย เพราะคุณพ่อ กอรฺ เป็ น "มิชชันนารี ใจร้ อนรน หมัน่ ขยัน ไม่ ร้ ู จักเหน็ดเหนื่อยในหน้ าที่ของสงฆ์ " ท่านเป็ นมิชชันนารี องค์เดียวที่ พูดภาษาไทยได้

คุณพ่อกูเด กับชาวจีน ในปี ต่อมาคุณพ่อกูเด (Coudé) ได้รับแต่งตั้งเป็ นเจ้าอาวาสวัดซางตาครู้สแทนคุณพ่อกอรฺ คุณพ่อกูเดเป็ น ชาวแคว้นเบรอตาญ (Bretagne) เกิดที่เมืองโอเร (Auray) ในปี ค.ศ. 1750 ดูเหมือน ท่านมีความคิดอ่านและ ปฏิภาณเฉี ยบแหลมเกินอายุ เพราะท่านอยูเ่ มืองบางกอกได้ไม่ทนั ถึงปี ก็เขียนถ้อยคําต่อไปนี้ ซึ่ งยังไม่เคยมี มิชชันนารี องค์ใดเคยเขียน และ 60 ปี ต่อมา ก็สาํ เร็ จเป็ นความจริ ง แสดงว่าเป็ นถ้อยคําที่ถูกต้องที่สุด คือ ท่านเขียนว่า "ที่นี่มีคนจีนมาก ดูเหมือนจะสอนคนจีนให้ กลับใจได้ ง่ายกว่ าคนไทย พระเจ้ าแผ่ นดินจะไม่ ทรงห้ ามเขาเป็ นคริ สตัง และเขาก็เป็ นเหมือนคนต่ างด้ าว มิชชันนารี ที่ร้ ู จักภาษาจีนจะทาประโยชน์ ในเมืองไทยได้ มาก"

k

o e s

ko g n a fB

e c io ความเข้าใจของคุณพ่อกูเดเกี่ยวกับการกลับใจของคนจีhนd นั้น เป็ นความเข้าใจที่ถูกต้อง เพราะการกลับใจ c r ของคนไทยนับวันมีแต่จะยากยิง่ ขึ้น อุปนิสัยก็ดี การอบรมก็ ดี ขนบธรรมเนียมทั้งทางบ้านเมืองและทางศาสนาก็ดี A พระราชโองการของพระเจ้าแผ่นดินก็ดี ล้วนแต่ กsีดกันมิให้คนไทยมานับถือศาสนาคาทอลิก ซํ้าพระเจ้าตากสิ นก็ทรง e iอvุปสรรคเหล่านี้เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่ง h ชอบใช้อาํ นาจบังคับ จึงนับเป็ นการทํ า ให้ c r A ทุกปี ในเดือนกันยายน l บรรดาขุนนางข้9 าราชการเคยสาบานจะจงรักภักดีต่อพระเจ้าแผ่นดิน พร้อมกับมี a จารี ตพิธีแสดงความเชื ic่อถือนอกรีตหลายประการ วันนั้นบรรดาข้าราชการ จะต้องไปยังวัดหนึ่งที่มีพระภิกษุคอย r o อยู่ พระภิ กtษุเทนํ้าลงในภาชนะใบหนึ่ง สวดมนต์และทําสําคัญบนนํ้านั้น แล้วจุ่มศาตราวุธของพระเจ้าแผ่นดินลงไป s i เมื่อH เสร็ จพิธีแล้ว บรรดาข้าราชการ ก็สาบานจะถือซื่อสัตย์ต่อพระเจ้าแผ่นดิน ต่อหน้าพระพุทธรู ป แล้วดื่ม ความยุ่งยากเกีย่ วกับความเชื่อถือนอกรีต

นํ้ามนต์น้ นั สองสามอึก ถือว่านํ้านั้นจะบันดาลให้เขาตาย ถ้าคิดทรยศ พวกมิชชันนารี หา้ มข้าราชการคริ สตังที่มีไม่กี่ คน ไปร่ วมในพิธีน้ ี แต่เขากลัวพระพิโรธของพระเจ้าแผ่นดิน โดยมากจึงเชื่อฟังบ้าง หรื อไม่เชื่อฟังเสี ยเลย

9เรี ยกว่า "พิธีถือนํ้าพระพิพฒั น์สัตยา" (ผูแ้ ปล)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

211

ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1773 พระสังฆราชเลอ บ็อง ถวายฎีกาต่อพระเจ้าแผ่นดิน ขออนุญาตให้พวกคริ สตัง ทําพิธีสาบานตนตามจารี ตในศาสนาของเขา พระเจ้าแผ่นดินไม่ทรงตอบแต่ไม่กี่เดือนต่อมา พระองค์ทรงเรี ยก ประชุมพระภิกษุ ชาวมุสลิม และมิชชันนารี องค์หนึ่ง เพื่อถกเถียงกันอย่างเปิ ดเผยถึงเรื่ องห้ามฆ่าสัตว์ตดั ชีวติ ตามที่ ศาสนาพุทธสอน พระภิกษุอภิปรายยืนยันว่าการห้ามเช่นนั้นถูกต้อง ส่ วนชาวมุสลิมและมิชชันนารี คาทอลิก อภิปรายคัดค้าน พระเจ้าตากสิ นไม่ทรงพอพระทัยเป็ นอย่างยิง่ วันรุ่ งขึ้นคือ วันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 1774 พระองค์ทรงตราพระราชกฤษฎีกาห้ามชาวสยามและชาวมอญนับถือศาสนาคริ สตังและศาสนาอิสลาม ความจริ งได้มีขอ้ ห้ามนี้สาํ หรับพวกคริ สตังตั้งแต่ปี ค.ศ. 1731 มาแล้ว และต่อมาเราก็ได้เห็นข้อห้าม ดังกล่าวจารึ กบนหิ นอัปยศที่กรุ งศรี อยุธยาและที่เมืองมะริ ด แต่พระราชกฤษฎีกาของพระเจ้าตากสิ นนั้นร้ายแรงกว่า พระราชโองการครั้งแรกเป็ นอันมาก เพราะพระองค์มีพระบัญชา ว่า "ถ้ าพระสังฆราช มิชชันนารี หรื อคริ สตัง หรื อมุสลิม คนใดนาชาวสยามหรื อชาวมอญแม้ แต่ คนเดียวเข้ าไป ในพิธีมสุ ลิมหรื อคริ สตัง ก็ให้ จับกุมพระสังฆราช หรื อมิชชันนารี หรื อคริ สตัง หรื อมุสลิมนั้นๆ และให้ ถือว่ า สมควรจะต้ องประหารชี วิต นอกจากนั้น ให้ จับกุมชาวสยาม หรื อชาวมอญที่อยากเข้ าไปในพิธีมสุ ลิมหรื อคริ สตัง และให้ ถือว่ าสมควรจะต้ องประหารชี วิตเช่ นเดียวกัน" เมื่อมีคนนําข้อความในพระราชโองการนี้มาเรี ยนพระสังฆราชเลอ บ็อง ท่านตอบว่า มิชชันนารี มาเมืองไทย เพื่อประกาศศาสนาคริ สตังแก่คนทุกคน มิชชันนารี ยอมตายดีกว่าที่จะละเลยต่อพันธะอันสําคัญเช่นนี้ แล้วเรื่ องก็ เงียบไปจนถึงเดือนกันยายน ค.ศ. 1775

k

การถือนา้ พระพิพฒ ั น์ สัตยา ข้ าราชการคริสตังถูกเบียดเบียน

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

v i h 1775 ก็มีพิธีถือนํ้าพระพิพฒั น์สัตยาอีก นายทหารคริ สตัง 3 นาย แทนที่จะ ครั้นถึงเดือนกันยายน ค.ศ. c r Aพฒั น์สัตยา ก็ไปยังวัดคริ สตัง คุกเข่าเบื้องหน้าพระแท่นต่อหน้าสัตบุรุษเป็ นจํานวน ไปยังวัดพุทธและดื่มนํ้าพระพิ l a างพระวรสารเป็ นพยานต่อหน้าประมุขมิสซัง แล้วประมุขมิสซังก็ออกหนังสือสําคัญ c i มาก กล่าวคําสาบานโดยอ้ r o t s แสดงว่iาเขาได้ ทาํ พิธีสาบานเช่นนั้นแล้ว พวกขุนนางนําพฤติการณ์เรื่ องนี้ข้ ึนกราบบังคมทูลพระเจ้าแผ่นดินให้ทรง H

ทราบ และให้ทรงถือว่าเป็ นการลบหลู่พระบรมเดชานุภาพ และเป็ นการคิดร้ายต่อพระราชอํานาจโดยตรง ความจริ ง พระเจ้าตากสิ นน่าที่จะทรงเข้าพระทัยว่า ถ้าคริ สตังมีความซื่อสัตย์ต่อพระเป็ นเจ้าแล้ว ก็เป็ นเครื่ องประกันอย่างดี ที่สุดว่า เขาจะมีความจงรักภักดีต่อพระเจ้าแผ่นดิน แต่พระองค์ไม่ทรง พระดําริ ไตร่ ตรองอะไรทั้งสิ้ น ทรงเกรี้ ยว กราด แล้วรับสั่งให้จบั นายทหารทั้งสามใส่ คุก วันนั้นเป็ นวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1775


212 ประวัติมิสซังกรุงสยาม

พระสั งฆราชเลอ บ็อง กับมิชชันนารีถูกจับไปจาคุก สามวันต่อมา พระเจ้าตากสิ นมีรับสั่งให้จบั พระสังฆราชเลอ บ็อง และมิชชันนารี 2 องค์คือ คุณพ่อกูเด และคุณพ่อการฺ โนลต์ ไปจําคุก ครั้งแรก เขาพยายามขู่ให้ผแู้ พร่ ธรรมทั้งสามสํานึกผิดและรับว่าได้ทาํ ผิด เขาหมายจะ บังคับให้ท้ งั สามขอพระราชทานอภัยโทษต่อพระเจ้า แผ่นดิน แต่ท้ งั สามปฏิเสธ จึงถูกเฆี่ยนด้วยหวายคนละร้อยที แล้วถูกนํากลับไปจําคุก ส่ วนข้าราชการคริ สตังที่ถูกจําคุกและถูกเฆี่ยนนั้น ทนอยูไ่ ด้สองเดือน แต่เมื่อได้สู้รบจนเหนื่อยหน่ายและ ใจอ่อน เพราะได้ฟังคําแนะนําของเพื่อนข้าราชการที่เตือนให้เชื่อฟังพระเจ้า แผ่นดินแล้ว เขาก็ไปยังวัดพุทธ ดื่มนํ้าพระพิพฒั น์สัตยา และทําการสาบานตามจารี ตพิธีของคนต่างศาสนา พระเจ้าตากสิ นทรงเห็นนายทหารคริ สตังยอมจํานนเช่นนั้น จึงรับสั่งให้พลทหารคริ สตัง 79 คน เอาอย่าง นายทหารทั้งสาม ทุกคน เว้นแต่คนเดียว ยอมปฏิบตั ิตามเพราะ "ถูกขู่ว่าจะเอาไปฆ่ า ถ้ าขัดขืน"

ok k g พวกมิชชันนารี ที่อยูใ่ นคุก ถูกใส่ ความเรื่ องหนึ่ง ซึ่ งความจริ งข้าราชการก็เชื่อครึ่ งไม่เชืa ่อครึn ่ ง เรื่ องมีอยูว่ า่ หลังจากพระสังฆราชและพระสงฆ์สององค์ถูกเฆี่ยนแล้ว คริ สตังบางคนที่ได้รับอนุญาตให้ มB าเยีย่ มท่าน ก็นาํ อาหาร f o e มาให้ แล้วชําระล้างและพันแผลให้ดว้ ยความเคารพอย่าง สุ ดซึ้ งและจับใจ การแสดงความเคารพเช่ นนี้เป็ นเหตุให้ s e c ชชันนารี ไว้อย่างเลื่อมใส และเอาไปให้ เกิดการใส่ ความเรื่ องหนึ่งขึ้น คือ หญิงม่ายคนหนึ่งเก็บผ้าที่เปื้ อนโลหิo ตของมิ i คริ สตังบางคนดู มิชา้ การกระทําที่เป็ นเรื่ องธรรมดาๆ นี้ถูกh บิดd เบือนจนกลายเป็ นอาชญากรรมผิดต่อความ มัน่ คง c r จะพ้นหนี้สินนั้น และคงจะเป็ นเพราะอยากได้ความชอบ ของรัฐไป คือคริ สตังไม่ดีคนหนึ่งเป็ นหนี้มิชชันนารีAใคร่ s่จะได้สมความมุ่งหมายของตน จากทางราชการด้วย จึงคิดว่าเป็ นโอกาสเหมาะที e v i h เขาไปฟ้ องกล่าวหาพวกมิชcชันนารี ในคุกว่า "พระสังฆราชและพระสงฆ์ สั่งให้ หญิงผู้นีเ้ ก็บผ้ าที่เปื ้ อนโลหิ ต r ่อยุให้ ฝรั่งเคืองแค้นราชอาณาจักรสยาม พระสังฆราชและพระสงฆ์ซ่อนปื น Aโรปเพื ไว้ ให้ ตากให้ แห้ ง แล้ วส่ งlไปยุ a และคิดจะเอาปื นแจกพวกคริ สตังสาหรับช่ วยคนต่างประเทศ" แม้จะไม่ทรงเชื่อคําใส่ c i และกระสุนไว้ ในบ้ า นของเขา r o t ความเหล่ านี้เลย พระเจ้าตากสิ นก็ทรงห้ามบรรดาเรื อที่จะออกไปเมืองปัตตาเวียมิให้รับจดหมายของพวกคริ สตังเลย s i H พวกมิชชันนารีถูกใส่ ความ

ข้าราชการไป ค้นบ้านก็มิได้พบดินปื นหรื อปื น เขาจึงเสนอให้มิชชันนารี ฟ้องร้องผูใ้ ส่ ความ แต่พวกมิชชันนารี ปฏิเสธ ตอบว่า "คริ สตังไม่ มีธรรมเนียมทาอย่ างนี ้ และเรามิใช่ แต่ อภัยให้ แก่ ผ้ ฟู ้ องเท่ านั้น เรายังยกหนีส้ ิ นให้ และ อนุญาตให้ เขาไปเมื่อไรก็ได้ ตามใจเขา" แม้จะแสดงความบริ สุทธิ์ และความมีเมตตาจิตเช่นนี้พวกมิชชันนารี ก็ยงั มิได้รับอิสรภาพ แต่เขาเอาโซ่ออก ให้ส่วนหนึ่ง ด้วยเหตุน้ ี พระสังฆราชเลอ บ็อง จึงมีจดหมายถึงคุณพ่อสเตแนรฺ (Steiner) เหรัญญิกคณะมิสซัง ต่างประเทศที่เมืองมาเก๊า เมื่อวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1776 ว่า "เราเขียนถึงคุณพ่ อจากที่นอนอันทุกข์ ยากลาบากที่ เราถูกล่ ามโซ่ 7 เดือนมาแล้ ว ยังดีที่เวลานีเ้ ขาปล่ อยมือเราเป็ นอิสระเวลากลางวัน"


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 

213

ปล่อยมิชชันนารีออกจากคุก วันที่ 14 สิ งหาคม ค.ศ. 1776 เขานํามิชชันนารี ท้ งั สามไปต่อหน้าสมุหนายก สมุหนายกหมายจะบังคับให้ เขาสารภาพว่า ได้กระทําผิดอีกครั้งหนึ่ง พวกมิชชันนารี ตอบว่า "ไม่ ได้ จะเอาเรากลับไปใส่ คุก จะไล่ เราออกจาก พระราชอาณาจักรหรื อฆ่ าเราให้ ตายก็เชิ ญ เราไม่ ยอมเปลี่ยน" ดังนั้น เขาจึงบังคับพวกคริ สตังให้เป็ นผูร้ ับประกันว่า พวกมิชชันนารี จะไม่ออกจากกรุ งสยามตามที่คุณพ่อกูเดเขียนไว้วา่ "เราเกือบๆ จะถูกไล่ ออกจากพระราชอาณาจักร หลายครั้ งหลายหน แต่ ในที่สุดเรากลับถูกผูกมัดติดกับกรุ งสยามยิ่งกว่ าครั้ งใดๆ" วันรุ่ งขึ้น เขากลับเอาโซ่ใส่ พวก มิชชันนารี อีกไม่กี่วนั ต่อมา เขาก็เอาโซ่ออก และวันที่ 2 กันยายน เขาปล่อยมิชชันนารี ออกจากคุก โดยไม่พดู ถึง เรื่ องที่เขาบังคับให้มิชชันนารี สัญญา พระสังฆราชเสริ มว่า "แต่ เขาก็ไม่ ได้ เพิกถอนข้ อห้ ามเรื่ องศาสนาก่ อนๆ นั้นเลย"

k

A l a

iv h rc

H

ic r o ist

A s e

e c io d rch

o e s

ko g n a fB


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.