19 ประวัติมิสซังกรุงสยาม บทที่ 16

Page 1

บทที่ 16 สมัยพระสั งฆราชกูเด มิชชันนารีกลับมา การแต่ งตั้งพระสั งฆราชกูเด ผูท้ ี่เป็ นพระสังฆราชสื บตาแหน่งต่อจากพระสังฆราชเลอ บ็อง คือ คุณพ่อกูเด เมื่อเสนอชื่อของท่านต่อ สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อนั้น คณาจารย์สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศกล่าวถึงท่านว่า "ท่ านรู้ ภาษาไทยดีมาก เป็ นคนอ่ อนโยน เฉลียวฉลาด มีความศรั ทธาแก่ กล้ า และมีความคิดอ่ านดียิ่ง" จดหมายของบรรดามิชชันนารี ตลอดจนรายงานเกี่ยวกับการงานของท่านล้วนมีขอ้ ความตรงกับคาชมเชยนี้ คุณพ่อลีโอต์ (Liot) ยังเสริ มว่า "คุณพ่ อกูเดดูจะเด่ นกว่ าเพื่อนมิชชันนารี อื่นๆ ในเรื่ องความถ่ อมตน" ท่านได้รับแต่งตั้งเป็ นพระสังฆราชเกียรตินาม แห่งเรซี (Rhési) และประมุขมิสซังกรุ งสยามเมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1782 แม้ท่านจะได้รับความทุกข์ทรมาน ที่กรุ งศรี อยุธยาและถูกเนรเทศออกไปจากกรุ งสยาม แต่ใจของท่านยังติดอยูก่ บั มิสซังนี้ คุณพ่อการฺ โนลต์ (Garnault) เพื่อนร่ วมทุกข์ร่วมสุ ขกับท่าน ก็มีความรู ้สึกเช่นเดียวกัน พระสังฆราชกูเดเขียนไว้วา่ "คุณพ่ อการฺ โนลต์ กับข้ าพเจ้ าไม่ คิดจะทิง้ มิสซังกรุ งสยามไปเลย เราทั้งสองจะทางานในมิสซังนีต้ ่ อไปจนกระทั่งวายชนม์ "

มิชชันนารีไปรัฐเกดาห์

e c io d rch

o e s

A s e

k o gk n a B f

แต่ท่านทั้งสองเห็นว่าการที่จะกลับเข้าไปกรุ งสยามเลยทีเดียวนั้นยังไม่สมควร ท่านจึงเดินทางไปยัง รัฐเกดาห์ทางชายแดนทิศใต้ของกรุ งสยาม เนื่องจากรัฐนี้ยงั ไม่มีผปู้ กครองทางฝ่ ายพระศาสนจักร และอานาจตาม ปรกติของบรรดาประมุขมิสซังกรุ งสยามย่อมครอบคลุมไปถึง ราชอาณาจักรใกล้เคียงโดยไม่มีการกาหนดอย่างแน่ ชัด มิชชันนารี ท้ งั สองจึงเชื่อว่าเข้าไปแพร่ ธรรมในรัฐนี้ได้ ระหว่างที่คอยให้กรุ งโรมรวมรัฐเกดาห์เข้ากับมิสซังกรุ งสยามโดยเปิ ดเผย ซึ่ งเรื่ องนี้ท่านทั้งสองเสนอขอไป ยังกรุ งโรม และก็ขอได้สาเร็ จในปี ค.ศ. 1784 1

A l a

c i r to

s i H

iv h rc

1เพราะฉะนั้นประมุขมิสซังกรุ งสยามจึงมีชื่อเรี ยกเป็ น "ประมุขมิสซังกรุ งสยามและเกดาห์" ชัว่ ระยะเวลาหนึ่ง


230  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

เจ้าผูค้ รองรัฐเกดาห์ตอ้ นรับมิชชันนารี ท้ งั สองเป็ นอย่างดี และประทานบ้านหลังหนึ่งให้ใช้เป็ นโบสถ์ ในเมืองนั้นมีคริ สตังประมาณ 80 คน มาจากเมืองไทยและมะละกา ไม่เคยมีพระสงฆ์อยูก่ บั เขาเลย นานๆ ที่มีอนุศาสนาจารย์ประจาเรื อหรื อพระสงฆ์ฟรังซิสกันสักองค์หนึ่งผ่านมาประกอบพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ ให้ พวกคริ สตัง แสดงความชื่นชมยินดีที่มิชชันนารี ท้ งั สองมาอยูก่ บั เขาสอนเขา บางคนเป็ นภาษาไทย บางคนก็สอนเป็ น ภาษา โปรตุเกส คุณพ่อการฺ โนลต์พยายามหาล่ามภาษามลายูคนหนึ่ง เพื่อแปลบทสวดเป็ นภาษามลายู เพราะมีคนกลับใจ ใหม่หลายคนพูดภาษานี้

พระสั งฆราชกูเดไปเมืองถลาง เมื่ออยูไ่ ด้ 5 เดือนแล้ว พระสังฆราชกูเดก็ปล่อยคุณพ่อการฺ โนลต์ไว้ที่รัฐเกดาห์ เดินทางต่อไปยังเมืองถลาง (ภูเก็ต) ที่เมืองนี้ท่านยังพบโบสถ์สองหลังที่ถูกทอดทิ้งมาได้หลายปี แล้ว โบถส์หนึ่งเป็ นของพระสงฆ์ชาวฝรั่งเศส อีกโบสถ์หนึ่งเป็ นของพระสงฆ์ฟรังซิ สกันชาวสเปน ท่านจัดให้โบสถ์ท้ งั สองมีผแู้ ปลคาสอนคนหนึ่ง และตั้งให้เป็ น หัวหน้ากลุ่มคริ สตัง ที่เมืองถลาง นี้เอง พระสังฆราชกูเดได้รับพระราชสาสน์จากพระเจ้ากรุ งสยามเรี ยกให้ไปเมือง กรุ งเทพฯ

พระเจ้ าตากสิ นสวรรคต ผู้ขนึ้ ครองราชสมบัติแทน

A s e

e c io d rch

o e s

k o gk n a B f

ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1779 (พ.ศ. 2322) ที่พวกมิชชันนารี ถูกขับออกจากประเทศสยาม มีเหตุการณ์สาคัญหลาย ประการอุบตั ิข้ ึนในนครหลวง พระเจ้าตากสิ นทรงกลายเป็ นผูม้ ีพระสติวิปลาส ยิ่งวันยิ่งเบียดเบียนข่มเหงไพร่ ฟ้าข้า แผ่นดิน เสนาอามาตย์ ราษฎร และแม้กระทัง่ พระมเหสี ของพระองค์ หนักขึ้น พระองค์ใคร่ จะบังคับให้บางคนรับ สารภาพความผิดร้ายแรง ที่เขามิได้กระทา และบังคับให้บางคนกล่าวโทษใส่ ความมิตรสหายหรื อวงญาติ เพื่อจะ ได้เป็ น ข้ออ้างตัดสิ นเรี ยกค่าปรับแรงๆ จากผูห้ าความผิดมิได้

s i H

c i r to

A l a

iv h rc


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม  231

ข้าราชการหลายคนได้รับคาสั่งอันมิชอบ ซึ่ งถ้าปฏิบตั ิตามแล้วจะทาให้ราษฎรโกรธแค้น จึงคิดก่อการ กบฏ ซึ่ งก็ทาได้ง่าย เพราะจิตใจของคนทัว่ ไปเป็ นปฏิปักษ์ต่อพระเจ้าแผ่นดินอยูแ่ ล้ว พระเจ้าตากสิ นถูกจู่โจมใน พระราชวังของพระองค์เอง คริ สตังจานวน 30 คน ซึ่ งเป็ นทหารรักษาพระองค์ส่วนหนึ่ ง ป้ องกันพระองค์ และ ขัดขวางมิให้พวกกบฏทาการสาเร็ จในทันที อย่างไรก็ตาม เมื่อเห็นว่าจะต้านทานต่อไปมิได้นาน พระเจ้าตากสิ นจึง ทรงขอไปผนวชเป็ นพระภิกษุ ซึ่ งพวกข้าราชการก็ตกลงยินยอม "แต่ ไม่ กี่วันต่ อมา อดีตเสนาบดีผ้ หู นึ่งสั่ งให้ เอา พระองค์ ไปจาคุกและสาเร็ จโทษเสี ยเมื่อวันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 1782 แล้ วขึน้ ครองราชสมบัติแทน โดยทรง พระนามว่ า "พระพุทธิ เจ้ าหลวง" 2 พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใหม่ 3 เมื่อยังทรงพระเยาว์ ได้รับศีลล้างบาปจากนายแพทย์ ชาวโปรตุเกสชื่อ ซิสโต รี แบโร (Sixto Ribeiro) ซึ่งเป็ นผูร้ ักษาพระองค์เมื่อทรงพระประชวรหนัก แต่เรื่ องนี้พระองค์มิทรงทราบ และเมื่อทรงทราบภายหลัง "ก็มิได้ ทรงแสดงว่ าทรงสนพระทัย แต่ อย่ างใด" เพื่อแก้แค้นพวกคริ สตังที่ช่วยป้ องกันพระเจ้าตากสิ น ประชาชนพากันไปปล้นบ้านเรื อนของเขา ทาลาย โบสถ์ เก็บเอาเครื่ องประดับตบแต่งและภาชนะศักดิ์สิทธิ์ พูดสั้นๆ ว่าของทุกอย่างที่เก็บไว้ในโบสถ์ไปสิ้ น พระเจ้า แผ่นดินองค์ใหม่มิได้มีรับสัง่ และมิได้พอพระทัยให้ประชาชน แสดงออกมาเช่นนี้ ตรงกันข้าม แต่พอขึ้นครองราช สมบัติในเดือนแรกๆ ทีเดียว ก็ทรงแสดง น้ าพระทัยดีต่อชาวต่างประเทศและพวกคริ สตัง ตามพระบรมราชโองการ ของพระองค์ เจ้าพระยาพระคลังส่ งเรื อลาหนึ่งไปเมืองมาเก๊า ให้กปั ตันเรื อถือพระราชสาสน์ฉบับหนึ่งไปขอ มิชชันนารี และแสดงพระราชประสงค์จะ "ผูกสัมพันธไมตรี กับบรรดาชาวต่ างประเทศ และสนับสนุนการค้ าขาย ของเขาในกรุ งสยามเหมือนแต่ ก่อน" ในขณะเดียวกัน พระองค์ทรงยกเว้นทหารคริ สตังไม่ตอ้ งถือน้ าพระพิพฒั น์สัตยา แต่ยงั คงให้ขา้ ราชการอื่น ต้องถือต่อไป ครั้นทราบว่าพระสังฆราชกูเดซึ่ งทรงรู ้จกั เป็ นการส่ วนพระองค์ มาอยูท่ ี่เมืองถลาง พระองค์ก็ทรงบัญชาให้ เชิญท่านมากรุ งเทพฯ แต่มีเหตุการณ์หลายอย่างหน่วงเหนี่ยวมิให้ พระสังฆราชกูเดมาในทันที ท่านมาได้ในปี ค.ศ. 1784 และถึงนครหลวงเมื่อวันที่ 4 เมษายน ในปี นั้น

A s e

A l a

c i r to

s i H

iv h rc

e c io d rch

o e s

k o gk n a B f

2ข้อความตอนนี้ขดั กับประวัติศาสตร์หลายประการ ทั้งในเรื่ องวันเวลาและชื่อตาแหน่งของตัวละคร แต่ได้แปลตรงตามต้นฉบับภาษา ฝรั่งเศส ซึ่งมีดงั ต่อไปนี้ : mais peu de jours après, un ancien ministre le fit emprisonner, puis tuer le 7 avril 1782, et le remplaça sur le trône sous le nom de Phra Phuti Chao Luang (ผูแ้ ปล) 3พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใหม่ หมายถึง ร. 1 ยังไม่ปรากฏหลักฐานจากเอกสารอื่น (กรรมการฯ)


232  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

พระสั งฆราชกูเดถึงกรุงเทพฯ ความปั่นป่ วนในหมู่คริสตัง พอขึ้นจากเรื อ พระสังฆราชกูเดก็ได้รับพระสมณสาสน์ของสมเด็จพระสันตะปาปา แต่งตั้งท่านเป็ น พระสังฆราชและประมุขมิสซัง ท่านยังไม่ทนั อ่านพระสมณสาสน์น้ นั พวกคริ สตังก็พากันมารบกวนเล่าเรื่ อง ทะเลาะวิวาทกัน ซึ่ งพอจะสรุ ปความได้ดงั ต่อไปนี้ คือ พวกคริ สตังที่กรุ งเทพฯ แบ่งออกเป็ น 2 พวก คือ พวกโปรตุเกสพวกหนึ่ง กับสัตบุรุษวัดนักบุญโยเซฟพวกหนึ่ง4 เขาว่าพวกโปรตุเกสต้องการจะให้สัตบุรุษ วัดนักบุญโยเซฟ ประกาศว่าจะนอบน้อมเชื่อฟังกษัตริ ยแ์ ห่งประเทศโปรตุเกส และกระพือข่าวพิลึกพิลนั่ เกี่ยวกับ พวกมิชชันนารี ฝรั่งเศส ยืนยันว่าเขาจะไม่กลับมาเมืองไทยอีก ก่อนหน้านั้นเล็กน้อย มีพระสงฆ์ดอมินิกนั องค์หนึ่ง มาอยูก่ บั พวกโปรตุเกส เป็ นนักพรตที่ดีเหมือนกัน แต่ไม่รู้ไม่เข้าใจสถานการณ์ในขณะนั้นเลย พระสังฆราชปิ โญ ประมุขมิสซังโคชินจีน ถูกขับไล่ออกจากมิสซังของท่านเพราะสงครามของพวกไตเซิง (Tay-son) เคยมาพักอยู่ 2-3 เดือนที่กรุ งเทพฯ ในปี ค.ศ. 1783 5 และได้พยายามสงบจิตใจของพวกคริ สตัง เขาเหล่านี้สัญญากับท่านว่าจะสามัคคีปรองดองกัน แต่พอท่านออกเดินทางไป เขาก็พากันลืมคาสัญญาเสี ยใน ปลายปี เดียวกันนั้นเอง พวกโปรตุเกสได้ไปร้องทุกข์กบั พระอนุชาพระเจ้าแผ่นดิน ขอเป็ นเจ้าของวัดนักบุญโยเซฟพระอนุชาของ พระเจ้าแผ่นดินทรงประกาศเข้ากับเขา ตัดสิ นว่าโบสถ์ที่มีแต่ฆราวาสคนเดียว ปกครอง จะต้องมอบให้แก่สงฆ์ชาว โปรตุเกส วันนั้นเป็ นวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 1784 สามสัปดาห์ต่อมา พระสังฆราชกูเดก็มาขึ้นเรื อที่กรุ งเทพฯ หลังจากได้พิจารณาสภาพการณ์ อันน่าเศร้านี้แล้ว ท่านก็เริ่ มประกาศพระสมณสาสน์ของพระสันตะปาปา ชี้แจง อานาจของบรรดาประมุขมิสซังโดยทัว่ ไป กับอานาจของท่านโดยเฉพาะให้พระสงฆ์ดอมินิกนั ฟัง แล้วก็พยายาม "สงบจิตใจของคนที่เป็ นฝ่ ายของท่ านเอง"

A s e

A l a

c i r to

s i H

iv h rc

e c io d rch

o e s

k o gk n a B f

4วัดในกรุ งเทพฯ ที่กล่าวถึงนี้ หมายถึง วัดซางตาครู้ส มิได้หมายถึงวัดนักบุญโยเซฟ เพราะในกรุ งเทพฯเวลานั้น ไม่มี วัดนักบุญโยเซฟ และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้เกิดขึ้นที่วดั ซางตาครู้ส (ผูจ้ ดั พิมพ์) 5พระสังฆราชปิ โญคิดว่าคริ สตังชาวโปรตุเกสที่กรุ งเทพฯ มีจานวน 400 คน ท่านว่า "คริ สตังชาวโปรตุเกสพวกนี้ก็ไม่ดีกว่าพวกที่อยูม่ าเก๊า” (เอกสารคณะมิสซังต่างประเทศ เล่ม 800 หน้า 1793)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม  233

ตลอดสัปดาห์ศกั ดิ์สิทธิ์ ในปี นั้น พวกโปรตุเกสไม่มาร่ วมในพิธีศาสนาเลย แต่ในวันอาทิตย์ปัสกา แต่ละฝ่ าย ไปร่ วมในพิธีมิสซาของพระสงฆ์ที่เขายอมรับนับถือว่าเป็ นผูป้ กครองของตนเท่านั้น พวกโปรตุเกสนาเรื่ องนี้ข้ ึนร้อง ทุกข์กบั พระอนุชาของพระเจ้าแผ่นดินอีกครั้งหนึ่ง พระอนุชาก็คงตัดสิ นเหมือนในครั้งแรก และบัญชาให้ พระสังฆราชกูเดมอบวัดนักบุญโยซฟแก่เขา พระสังฆราชจึงเรี ยกพวกคริ สตังมาประชุมพร้อมหน้ากัน และหลังจาก ได้ตาหนิความประพฤติไม่สมควรของผูท้ ี่ใช้อานาจฝ่ ายโลกมายื้อแย่งเอาโบสถ์ไปจากพระสังฆราชแล้ว ท่าน ประ กาศว่าท่านจะปฏิบตั ิตามคาสั่งของพระอนุชาของพระเจ้าแผ่นดิน จะสละโบสถ์นกั บุญโยเซฟ จะสร้างโบสถ์นอ้ ย ใหม่ แต่ท่านจะไม่ยอมให้อานาจใดๆ แก่นกั พรตดอมินิกนั องค์น้ นั อีกทั้งพระสงฆ์ ชาวโปรตุเกสทัว่ ไป "เราจะ ยอมให้ ตัดหัวของเราดีกว่ าจะทาอย่ างอื่น" ท่านกล่าวยืนยันในที่สุด การที่พระสังฆราชกล่าวดังนี้ มิได้มุ่งหมายจะ เล่นงานนักพรตดอมินิกนั องค์น้ นั เลย ความจริ งพระสงฆ์องค์น้ นั ไม่กล้าเข้าครอบครองวัดนักบุญโยเซฟ และปฏิบตั ิ ศาสนกิจโดยไม่ได้รับอนุญาตจากประมุขมิสซัง พระสังฆราชกล่าวว่า "เพราะเราก็เข้ าใจดี และข้ าพเจ้ าเชื่ อว่ า พระสงฆ์ องค์ นั้นคงพอใจที่ไม่ ได้ ย่างเท้ าเข้ ามาในโบสถ์ นี"้ แต่เมื่อเป็ นปัญหาเกี่ยวกับอานาจของพระสังฆราชและ ของพระศาสนจักร ซึ่ งถูกลบหลู่อย่างอื้อฉาวเช่นนี้ พระสังฆราชก็จาเป็ นต้องจัดการ ระหว่างนั้น พระสังฆราชกูเดได้เข้าเฝ้ าพระเจ้าแผ่นดิน ท่านทูลเกล้าฯ ถวายถุงมือ และกระดาษที่นามาจาก ยุโรป พระเจ้าแผ่นดินตรัสกับท่านด้วยพระอัธยาศัยอันดียงิ่ แต่เหตุการณ์น้ ีมิได้ทาให้สถานการณ์ป่ันป่ วนในหมู่ คริ สตังกรุ งเทพฯ เปลี่ยนแปลงไปแต่อย่างใด ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1784 พระสังฆราชกูเดเขียนถึงสถานการณ์ ดังกล่าวว่า "พวกคริ สตังชาวโปรตุเกสไม่ ยอมฟั งมิสซา รั บศีลศักดิ์สิทธิ์ และติดต่ อกับข้ าพเจ้ าที่โบสถ์ น้อย คุณพ่ อชาวโปรตุเกสเพียงแต่ มาฟั งมิสซาเฉพาะในวันที่ต้องถือด้ วยบังคับเท่ านั้น"

e c io d rch

o e s

k o gk n a B f

A s e

iv h rc พระสั งฆราชกูเดถึงแก่มรณภาพ A lงฆราชกูเดทราบว่าพระสังฆราชเกียรตินามแห่งอาดรัง (พระสังฆราช ปิ โญ) อยูท่ ี่รัฐเก ระหว่างนั้นc พระสั a i ดาห์ ท่านจึtงo ตัดrสิ นใจจะไปรับการอภิเษกจากพระสังฆราชองค์น้ ี ท่านให้มิชชันนารี หนุ่มองค์หนึ่งอยูท่ ี่กรุ งเทพฯ s ชื่อHคุiณพ่อวิลเลอแม็ง มาจากสังฆมณฑลเบอซังซ็อง ออกเดินทางจากประเทศฝรั่งเศสเมื่อต้นปี ค.ศ. 1781 แต่เคราะห์ร้ายที่พระสังฆราชกูเดเลือกเดินเส้นทางที่ลดั ที่สุดก็จริ ง แต่มีกลิ่นอายอันเต็มไปด้วยเชื้อโรคของหนองบึง และมีแต่น้ าไม่บริ สุทธิ์ ฉะนั้น เมื่อถึงตะกัว่ ทุ่ง6 ในปลายเดือนธันวาคม ท่านจึงรู้สึกเหน็ดเหนื่อยมาก ท่านทามิสซาวันสมโภช พระคริ สตสมภพที่โบสถ์นอ้ ยของกลุ่มคริ สตชนนี้ มีอาการหนาว จับไข้ แล้วก็ สิ้ นใจเมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1785. 6ตะกัว่ ทุ่งอยูใ่ นจังหวัดพังงา (กรรมการฯ)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.