บทที่ 17 สมัยพระสังฆราชการฺโนลต์ ค.ศ. 1786 - 1811 การเริ่มต้ นฟื้ นฟูมิสซัง พระสั งฆราชการฺ โนลต์ เมื่อพระสังฆราชกูเดถึงแก่มรณภาพนั้น มิสซังกรุ งสยามมีแต่มิชชันนารี 2 องค์ คือ คุณพ่อการฺ โนลต์ กับคุณพ่อวิลเลอแม็ง ฉะนั้น การที่จะกําหนดตัวผูส้ ื บตําแหน่งแทนพระสังฆราช กูเดนั้น จึงไม่ใช่เรื่ องยาก ถ้าจะ เลือกเอาในจํานวนพระสงฆ์ของเมืองไทย คุณพ่อการฺ โนลต์ องค์เดียวเท่านั้นมีคุณสมบัติให้เลือกได้ และความจริ ง ก็เป็ นท่านนัน่ เองที่คุณพ่อบัวเรต์เสนอต่อ สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อ ดังนั้นคุณพ่อการฺ โนลต์จึงได้รับแต่งตั้ง เป็ นพระสังฆราชเกียรตินามแห่งเมแตลโลโปลิส และได้รับสารตราตั้งที่เกาะปี นัง
k
เกาะปี นัง 1
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
เกาะนี้ ซึ่ งภายหลังเจริ ญรุ่ งเรื องมาก ทั้งทางด้านศาสนาคาทอลิก และด้านการค้านั้น เมื่อไม่กี่ปีก่อน เจ้า ผูค้ รองรัฐเกดาห์ได้ยกให้แก่ชาวอังกฤษคนหนึ่งชื่อ ไลท์ (Light) ซึ่ งได้แต่งงานกับธิดาของท่าน ในปี ค.ศ. 1786 เกาะนี้ได้ตกเป็ นของอังกฤษ ขณะนั้น คุณพ่อการฺ โนลต์อยูท่ ี่รัฐเกดาห์ ท่านข้ามไปเกาะปี นังพร้อมกับสัตบุรุษส่ วน ใหญ่ในปกครองของ ท่าน เพราะเหตุใดจึงมีคนอพยพไปเป็ นจํานวนมากเช่นนี้? เพราะคุณพ่อการฺ โนลต์มีการติดต่อกับชาวยุโรปบางคน บนเกาะหรื อ? เพราะหวังจะมีอิสระภาพมากยิง่ ขึ้นหรื อ? เพราะเจ้าหน้าที่บนเกาะต้อนรับคนต่างประเทศทุกคนดี เพื่อจะให้พลเมืองและสมบัติของอาณานิคมใหม่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วหรื อ? เราไม่พบคําอธิบายเกี่ยวกับเรื่ องนี้ในที่ ใดเลย คุณพ่อการฺ โนลต์เมื่อข้ามไปถึงเกาะแล้ว ได้รับการปฏิบตั ิอย่างดียงิ่ จากผูส้ าํ เร็ จราชการ เขาเชิญท่านไป รับประทานอาหาร จัดให้สร้างหรื อยกบ้านหลังหนึ่งให้ใช้เป็ นโบสถ์ และเมื่อทราบว่าท่านได้รับแต่งตั้งเป็ น พระสังฆราช ก็จดั ให้ท่านโดยสารเรื ออังกฤษไปยังมัทราส และกําชับให้ใครๆ ให้เกียรติอย่างสู งแก่ท่าน
iv h rc
A s e
A l a
ic r o ist
H
1เกาะปี นัง พระราชพงศาวดารและหนังสื อต่างๆ เรี ยกว่า เกาะหมาก คําว่า "ปี นัง" หรื อ "ปี นาง" เป็ นภาษามลายู แปลว่า "หมาก" (กรรมการฯ)
234 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
การอภิเษกพระสั งฆราชการฺ โนลต์ เมื่อท่านการฺ โนลต์ได้รับการอภิเษกที่เมืองปอนดิเชรี จากพระสังฆราชชังเปอนัว (Champenois) เมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1787 แล้ว ท่านก็กลับมาที่เกาะปี นังพร้อมด้วยพระสงฆ์จีนองค์หนึ่ง ซึ่งหนีการเบียดเบียน ศาสนามาจากประเทศจีน ชื่อคุณพ่อเปโตร ไช้ (Tsai)
เบือ้ งต้ นของกลุ่มคริสตังทีเ่ กาะปี นัง แต่แรกมาทีเดียว พระสังฆราชการฺ โนลต์เชื่อว่าจะทําการได้ผลดีที่เกาะปี นัง "เพราะสะดวกแก่ การติดต่ อ กับตาบลใกล้ เคียง และการเผยแพร่ ความเชื่ อเข้ าไปในประเทศต่ างๆ ซึ่ งพลเมืองของประเทศนั้นชอบมาทามาค้ าขาย ที่นี่ และชักจูงคริ สตังของเราไปในประเทศของเขา" มิชา้ มินาน จํานวนสัตบุรุษก็ค่อยๆ ทวีข้ ึน โดยมีคนต่างศาสนา กลับใจ 34 คน ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1788 และยังมีโปรเตสแตนท์อีกหลายคนสาบานละทิ้ง ลัทธิเดิมของเขา ที่บา้ นของชาวโปรเตสแตนท์ เป็ นต้นที่สืบเชื้อสายมาจากชาวฮอลันดา พระสังฆราชการฺ โนลต์ พบสู ตร ประกอบพิธีศีลล้างบาป ที่ผดิ กับสู ตรของพระศาสนจักรคาทอลิกเล็กน้อย ท่านตั้งใจพินิจพิเคราะห์สูตรนั้นซึ่งแปล ได้ความว่าดังนี้ : "ข้ าพเจ้ าล้ างท่ าน เดชะพระนาม พระบิดา พระบุตรผู้ทรงเป็ นมนุษย์ และพระจิต" พระสังฆราช เขียนไปถามกรุ งโรมว่า สู ตรดังกล่าวสมบูรณ์หรื อไม่ กรุ งโรมตอบมาว่าอย่าถกปัญหาเรื่ องนี้เลย ใครขอรับศีล ล้างบาป ก็ให้ประกอบพิธีศีลนี้ให้ตามจารี ตพิธีของพระศาสนจักรโรมันคาทอลิกก็แล้วกัน
k
ภคินี - พระสงฆ์ พนื้ เมือง
iv h rc
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
แต่พอเป็ นพระสังฆราชแล้ว พระสังฆราชการฺ โนลต์ก็เริ่ มเอาใจใส่ คนที่มีใจร้อนรนใคร่ จะอุทิศชีวติ ทั้งชีวติ แด่พระเป็ นเจ้า ท่านรวบรวมหญิงสาวได้ 2-3 คน กับหญิงม่ายคนหนึ่ง "ซึ่ งเป็ นผู้ดูแลอาราม" กําหนดให้ถือวินยั ของภคินี คณะรักไม้กางเขน อันเป็ นวินยั อย่างเดียวกับที่ท่านเห็นที่กรุ งเทพฯ และสัง่ ให้เรี ยนภาษามลายูเพื่อที่จะได้สอนคน เตรี ยมตัวรับศีลล้างบาป ในปี ค.ศ. 1801 สํานักนี้มีผสู้ มัครมาอยูร่ าว 20 คน เป็ นภคินีหรื อผูฝ้ ึ กหัด ที่ปีนัง พระสังฆราชการฺ โนลต์ยงั รวบรวมเด็กหลายคนที่ท่านเห็นว่า "เหมาะจะถือ สมณเพศ " และ ฝึ กสอนเขา นัน่ แหละคือสิ่ งที่ท่านเรี ยกว่าเป็ น "วิทยาลัยน้ อยของท่ าน" ในปี ค.ศ. 1788 ท่านบวชปัสกัล คัง เป็ นพระสงฆ์ และในปี ค.ศ. 1791 ท่านยังบวชอีกคนหนึ่งเป็ นพระสงฆ์ ชื่อ ราฟาแอล เป็ นคนมีอายุแล้ว ภายหลัง ท่านเขียนว่า "พระสงฆ์ สององค์ นีแ้ หละคือความบรรเทาใจของเรา"
A l a
H
ic r o ist
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 235
โรงพิมพ์ อาศัยที่ท่านมีอิสระจะทําอะไรก็ได้ และอาศัยที่ท่านได้คบหากับชาวยุโรป หรื อจะเป็ น เพราะอุปนิสัยของ ท่านแต่อย่างเดียวก็ไม่ทราบได้ พระสังฆราชการฺ โนลต์แสดงให้เห็นว่าท่านเป็ นผูท้ ี่มีความดําริ ริเริ่ มอย่างแท้จริ ง ขณะที่ท่านอยูท่ ี่เมืองปอนดิเชรี ท่านดําเนินการให้เขาพิมพ์หนังสื อสอนอ่านเล่มหนึ่ง โดยใช้อกั ษรลาตินผัน วรรณยุกต์ต่างๆ แทนอักษรและเสี ยงในภาษาไทย ตามแบบอย่างของมิสซังญวน ท่านยังได้แต่งและพิมพ์คาํ สอน เล่มหนึ่งด้วย ท่านเขียนถึงประเทศฝรั่งเศสให้เขาส่ งเครื่ องพิมพ์เล็กๆ มาเครื่ องหนึ่ง และเมื่อได้รับวัสดุที่ตอ้ งการแล้ว ท่านก็ฝึกหัดคนเรี ยงพิมพ์
มิชชันนารีใหม่ เพื่อช่วยท่านฟื้ นฟูและทําให้มิสซังเจริ ญขึ้น พระสังฆราชการฺ โนลต์ได้รับพระสงฆ์ผรู้ ่ วมงานอีก 5 องค์ ซึ่งได้ออกเดินทางจากสามเณราลัยมิสซังต่างประเทศระหว่างปี ค.ศ. 1787 ถึงปี ค.ศ. 1799 พระสงฆ์ 5 องค์น้ นั คือ คุณพ่อฟลอรังส์ (Florens), คุณพ่อกรี เยต์ (Grillet), คุณพ่อกาเว (Cavé), คุณพ่อแร็ กตังวัลต์ (Rectenwald) และคุณพ่อราโบ (Rabeau) ในสงฆ์ 5 องค์น้ ี สามองค์เท่านั้นที่ได้ช่วยพระสังฆราชการฺ โนลต์อย่างมีประโยชน์ จริ งๆ เพราะคุณพ่อกรี เยต์น้ นั พอมาถึงเมืองไทย ก็ถูกย้ายไปประเทศโคชินจีนในปี นั้นเอง ส่ วนคุณพ่อกาเวเล่า พอมาถึงไม่นานเท่าไร ก็ป่วยเป็ นโรคแล้วทําอะไรไม่ได้อีกเลย เดชะบุญ คุณพ่อที่เหลืออีกสามองค์น้ นั ได้ทาํ งานและทําประโยชน์ดียงิ่ คุณพ่อฟลอรังส์ แอสปรี ต-์ มารี ย-์ โย เซฟ เกิดที่เมืองลาญ (Lagnes) จังหวัดโวกลูส (Vaucluse) เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 1762 ได้เรี ยนเทวศาสตร์ ส่ วนหนึ่งที่สาํ นักน้อยของคณะมิสซังต่างประเทศที่อิสซี (Issy) แล้วเรี ยนต่อจนจบที่สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศ ฌัง-หลุยส์ (Jean-Louis) ที่เป็ นพี่ชาย มาเข้าคณะก่อนท่าน แล้วเดินทางไปมิสซังเสฉวนในปี ค.ศ. 1780 ภายหลัง คุณพ่อแอสปรี ต์ ฟลอรังส์ ได้รับมอบหมายให้ปกครองวัดที่จนั ทบูรณ์ (Chantaboun) ผลัดเปลี่ยนกับวัดที่ กรุ งเทพฯ แต่บางทีก็ตอ้ งปกครองพร้อมกันทั้งสองวัด ซึ่ งอยูห่ ่างกันกว่า 100 ลีเออ (400 กม.) สําหรับคุณพ่อแร็ กตังวัลต์น้ นั เกิดในราวปี ค.ศ. 1755 ที่ฮอ็ ตไวเลอร์ (Hottveiler) ในแคว้นลอแรน (Lorraine) เคยเป็ นปลัดในหลายเขตวัดของสังฆมณฑลเม็ตสฺ (Metz) คือที่นีเดอร์ วส ี (Niederwise), ที่ซารฺ บรึ ก (Sarrebruck), ที่อาเชน (Achen), ที่อิลลีเคน (Illigen) และที่เลไวเลอร์ (Leyweiler) พอมาถึงมิสซังกรุ งสยาม ท่านก็ไปประจําอยูท่ ี่เกาะปี นัง และอยูท่ ี่นน่ั จนตลอดชีวติ ท่านเป็ นผูส้ มในทุกด้านกับคําชม ที่พระสงฆ์พ้นื เมืององค์ หนึ่งกล่าวถึงท่านว่า "เป็ นผู้มีอานาจในคาพูด และเป็ นผู้มีอานาจกว่ านั้นอีกในการกระทา มีใจเมตตาต่ อคนพิการ และอนาถา ไม่ มีความปรานีต่อตนเอง เป็ นที่รักของคนดี เป็ นที่เกลียดชังของคนชั่ว ตั้งหน้ าแต่ ทรมานกายและ ทางานเท่ านั้น"
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
236 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
ส่ วนคุณพ่อราโบนั้นมีพ้นื เพเดิมอยูท่ ี่เมืองเดอนาเซ (Denazé) ในจังหวัดที่ปัจจุบนั นี้เรี ยกว่าจังหวัดมาแยน (Mayenne) เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1766 เคยเป็ นปลัดที่เมืองลา ชาแปล-กราออแนส (La ChapelleCraonnaise) 3 ปี ในปี ค.ศ. 1792 ท่านไม่ยอมสาบานยอมรับรัฐธรรมนูญของคณะปฏิวตั ิฝรั่งเศส จึงถูกจําคุก หนีขา้ มไปเกาะอังกฤษ ณ ที่น้ นั ท่านได้พบกับคณาจารย์ของสามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศบางคน จึงแสดง ความปรารถนาจะอุทิศตนเพื่อการเผยแพร่ ศาสนา เนื่องจากท่านเคยผจญความทุกข์เข็ญมามากแล้ว จึงไม่ตอ้ งเข้าเป็ น นวกะตามปรกติ เขารับท่านเข้าคณะทันที แล้วส่ งมาเมืองไทย ท่านมาถึง ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1801 แสดงให้ เห็นความร้อนรน ความขยันหมัน่ เพียรและความเฉลียวฉลาด และที่สุดถึงแก่มรณภาพเพราะมีความรักต่อเพื่อน มนุษย์นน่ั เอง
วัดทีก่ รุงเทพฯ ขณะที่มิชชันนารี ใหม่มุ่งหน้ามายังฝั่งแม่น้ าํ เจ้าพระยาทีละน้อยนั้น มิสซังสยามกําลังฟื้ นตัวอย่างช้าๆ สัตบุรุษที่กรุ งเทพฯ เพิ่มทวีข้ ึนด้วยจํานวนคริ สตังชาวเขมรที่หนีการสงคราม และการปล้นสะดมในประเทศ มาขอ พักพิงพร้อมด้วยมิชชันนารี ของเขา คือ คุณพ่อลังเฌอนัว (Langenois) ซึ่ งมีพ้นื เพเดิมอยูท่ ี่ประเทศอินเดีย ต่อมา คุณพ่อลังเฌอนัวป่ วยเป็ นอัมพาต สัตบุรุษคงจะถูกทอดทิ้ง ถ้าในปี ค.ศ. 1786 ไม่มีมิชชันนารี จากประเทศโคชินจีน องค์หนึ่งชื่อ คุณพ่อลีโอต์ (Liot) มาหาพวกคริ สตังที่กรุ งเทพฯ ให้เขาสารภาพบาปรับศีล ทําปัสกา คุณพ่อ ลีโอต์น้ ี ท่านจําเป็ นต้องหนีมาพักอยูช่ ว่ั คราวที่จนั ทบูรณ์ เพราะพวกไตเซิง (Tay-son) รบชนะ เหงียนอัน2 (Nguyen-Anh) คุณพ่อลีโอต์ได้พบกับเหงียนอันในกรุ งสยาม เหงียนอันนั้นเมื่อรบแพ้แล้วได้เข้ามาขอหลบพักพิงใน ประเทศนี้ คุณพ่อลีโอต์ กับเหงียนอันผูเ้ ป็ นรัชทายาทของจักรพรรดิที่กรุ งเว้ เคยพบกัน ณ ที่พกั ของ พระสังฆราชปิ โญ เดอ เบแฮน ทั้งสองฝ่ ายมีความชื่นชมที่ได้กลับมาพบกัน อาศัยความสัมพันธ์ที่คุณพ่อลีโอต์มีกบั เหงียนอัน ท่านจึงเข้าออกพระราชสํานักกรุ งเว้ได้ และมีโอกาสสอนขุนนางที่ล้ ีภยั มาอยูท่ ี่กรุ งเทพฯ กับพระเจ้า แผ่นดินของเขา ท่านได้ประกอบพิธีศีลล้างบาป ให้แก่ขนุ นางญวนหลายคน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูว้ า่ ราชการจังหวัด ดองนัย (Dong-nai) ผูเ้ ป็ นจอมพลเรื อของประเทศโคชินจีน ในขณะเดียวกัน คุณพ่อลีโอต์ยงั ดูแลสัตบุรุษที่กรุ งเทพฯ เว้นแต่ชาวโปรตุเกสซึ่ ง แตกแยกไม่ยอมรับการ ประกอบศาสนกิจของท่าน การเดินทางมานครหลวงของกรุ งสยาม ครั้งแรกนี้เป็ นที่ประทับใจ ฉะนั้นในปี ต่อๆ มา คุณพ่อลีโอต์ยงั กลับมาอีกหลายครั้ง และในปี ค.ศ.1788 ท่านกลับมาพร้อมด้วยตําแหน่งและอํานาจของอุปสังฆราช ท่านทํางานร่ วมกับคุณพ่อฟลอรังส์ และทีละเล็กทีละน้อย อาศัยความอ่อนโยนตามที่สมณกระทรวงเผยแพร่ ความ เชื่อกําชับในหนังสื อที่เขียนในปี ค.ศ. 1787 ท่านสามารถชักนําชาวโปรตุเกสจํานวนหนึ่งให้กลับมาอยูใ่ นอํานาจ ปกครองของท่าน
k
iv h rc
e c io d rch
A s e
A l a
ic r o ist
H
2เหงียนอัน ภายหลังได้เป็ นกษัตริ ยญ์ วน ทรงพระนามว่า "พระเจ้าเวียตนามยาลอง" (กรรมการฯ)
o e s
ko g n a fB
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 237
ขณะนั้นกลุ่มคริ สตชนที่กรุ งเทพฯ มีชาวโปรตุเกสในประเทศไทย 413 คน ชาวโปรตุเกส ที่มาจากประเทศ เขมร 379 คน และชาวญวน 580 คน ระหว่างปี ค.ศ. 1785 ถึง 1788 อาศัยความร่ วมมือของชาวโปรตุเกสที่มีความเสี ยสละมาก 2 คน กับครึ่ ง ชาติโปรตุเกสเขมร 2 คน ซึ่ งเป็ นแพทย์ของพระเจ้าแผ่นดิน ผูใ้ หญ่ 15-16 คน กับเด็กที่ใกล้จะตายจํานวน 2,385 คน ได้รับศีลล้างบาปที่กรุ งเทพฯ และในบริ เวณใกล้เคียง ระหว่างที่อยูใ่ นนครหลวงตั้งแต่เดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1788 คุณพ่อลีโอต์ ได้ประกอบ พิธีลา้ งบาปแก่ผใู ้ หญ่ 6 คน เด็ก 1,425 คน ก็ได้รับศีลล้างบาปเช่นเดียวกัน ในปี ต่อๆ มา งานของคุณพ่อลีโอต์, คุณพ่อฟลอรังส์ กับคุณพ่อลาวูเอ (Lavoué) ซึ่งเป็ นมิชชันนารี จาก แคว้นโคชินจีน และพระสงฆ์พ้นื เมืองอีกองค์หนึ่ง ซึ่ งบางครั้งอาศัยรวมกันอยูท่ ี่บา้ นพักพระสงฆ์เล็กๆ ที่กรุ งเทพฯ ก็บงั เกิดผล ในปี ค.ศ. 1789 ชาวสยามคนหนึ่งซึ่งเคยเป็ นพระภิกษุได้เข้าถือศาสนาคาทอลิก ในปี ค.ศ. 1790 ผูใ้ หญ่ 72 คน ซึ่งเป็ นญวนบ้าง เขมรบ้าง ได้รับศีลล้างบาป ในปี เดียวกันนี้เอง กลุ่มคริ สตชนที่กรุ งเทพฯ มีสัตบุรุษ เพิ่มขึ้นอีก 70 คน โดยพบสัตบุรุษเหล่านี้ในหมู่ชาวตังเกี๋ย 400 คน ที่ชาวสยามจับมาจากประเทศลาว และในปี ค.ศ. 1793 ยังมีสัตบุรุษเพิม่ ขึ้นอีกจํานวนหนึ่ง ซึ่งมาจากชายแดนประเทศเขมร คุณพ่อฟลอรังส์สรุ ปว่า "ดังนี ้ คุณพ่ อลังเฌอนัวจะมีความบรรเทาใจ ที่คริ สตังของท่ านมาอยู่ในเมืองไทยเกือบหมด แต่ มิชชันนารี ที่กรุ งเทพฯ จะมี งานหนักอึง้ "
k
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s ปลายปี ค.ศ. 1795 หรื อต้นปี ค.ศ.e1796 พระสังฆราชการฺ โนลต์มาถึงกรุ งเทพฯ พร้อมกับพระสงฆ์ i้นvต้น 2 คน กับนักเรี ยนอีกสองสามคน ในหนังสือลงวันที่ 4 มิถุนายน h พื้นเมืององค์หนึ่ง สามเณรที่รับศีลc บวชขั r A ค.ศ. 1796 ซึ่งท่านมีถึงสมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อ ท่านเขียนว่าจํานวนสัตบุรุษที่กรุ งเทพฯ มีประมาณ 1,000 l a คน เป็ นคริ สตังเก่rาic 400 คน คริ สตังใหม่ 600 คน แต่ในจํานวนนี้ ท่านนับทั้งพวกโปรตุเกสที่แตกแยกออกไปด้วย o t หรื อไม่i?sท่านมิได้บอกไว้ H
พระสั งฆราชการฺ โนลต์ มากรุงเทพฯ
ที่กรุ งเทพฯ ก็เหมือนที่เกาะปี นัง พระสังฆราชการฺ โนลต์แนะนําคริ สตังใจศรัทธาหลายคนให้เดินทางแห่ง ความครบครัน ท่านได้รับหญิงสาวและหญิงม่ายหลายคนเข้าในคณะภคินี รักไม้กางเขน ท่านกล่าวว่า "ทุกคนอยู่ ด้ วยกัน เจริ ญชี วิตอย่ างเคร่ งครั ดมาก เขาถือความเงียบเกือบตลอดเวลา" มิชา้ จํานวนภคินีคณะนี้ก็มีถึง 30 คน พระสังฆราชเป็ นผูแ้ นะนําเขาเอง ท่านเตรี ยมบางคนให้ทาํ หน้าที่เป็ นครู สอนข้อความจริ งแห่งพระศาสนาคริ สตังแก่ เด็กเป็ นต้น
238 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
คุณพ่อราโบกับคุณพ่อฟลอรังส์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 พระสังฆราชการฺ โนลต์ มีคุณพ่อราโบเป็ นผูร้ ่ วมงานที่กรุ งเทพฯ และมิชา้ ท่านก็แต่งตั้ง ให้เป็ นอุปสังฆราช ในจดหมายที่เขียนในปี ค.ศ. 1802 คุณพ่อราโบบอกว่ามีผใู้ หญ่รับศีลล้างบาป 50 คน และใน จดหมายที่เขียนในปี ค.ศ. 1803 ท่านว่ามีผใู ้ หญ่รับศีลล้างบาป 30 คน ขณะนั้นการถือศาสนาคริ สตังที่กรุ งเทพฯ มีอิสระอย่างเต็มที่ อย่างน้อยก็สาํ หรับคริ สตังเก่าและชาวญวน เพราะข้อห้ามคนไทยถือศาสนาคริ สตังตั้งแต่ก่อนนี้ ยังคงมีอยู่ แต่รัฐบาล มิได้แสดงความเป็ นศัตรู ตรงกันข้ามกับแสดงความอารี อารอบด้วยซํ้า คุณพ่อราโบเขียนไว้วา่ "คริ สตังของเรามีชื่อว่ า มีความจงรั กภักดีต่อพระเจ้ าแผ่ นดินมาก เขาได้ เป็ นทหารรั กษาพระองค์ " ในปี ค.ศ. 1808 คุณพ่อฟลอรังส์มาทํางานช่วยพวกมิชชันนารี ที่กรุ งเทพฯ เพราะไม่ชา้ คุณพ่อราโบจะต้อง ไปประจําอยูเ่ กาะปี นัง ในปี นั้นเองหรื อในปี ค.ศ. 1809 คุณพ่อฟลอรังส์ ซื้อที่ดินแปลงหนึ่ง "ตั้งอยู่ริมแม่ นา้ แต่ ไม่ ใช่ ฝั่งเดียวกับวัดซางตาครู้ ส ใต้ โบสถ์ ของพวกโปรตุเกส3 ลงมาเล็กน้ อย” ท่านมีโครงการจะสร้างโบสถ์หลัง หนึ่ง ซึ่งภายหลังท่านก็สร้างขึ้น ชื่อ โบสถ์ “อัสสัมชัญ”
k
ชาวโปรตุเกสทีแ่ ตกแยก ความมานะของคริสตังทีถ่ ูกเบียดเบียน
ko g n a fB
o e s ชชันนารี อยู่ แต่น่าเสียดายที่มี กลุ่มคริ สตังที่กรุ งเทพฯ นี้ ถ้ากล่าวในบางด้าน ก็เป็ นที่ทุเลาบรรเทาใจของมิ e การแตกแยก ซึ่งมีเชื้อมานานตั้งแต่ศตวรรษครึ่ ง ดังที่เราทราบอยูแ่ ล้วioc d h คริ สตังพวกที่เรี ยกว่าคริ สตังชาวโปรตุเกสนั้น เกลีc ยดชั งมิชชันนารี ชาวฝรั่งเศสจนตาบอด ไม่ยอมรับนับถือ r A อํานาจของพระสังฆราชการฺ โนลต์และผูร้ ่ วมงานของท่ s าน หญิงชาวโปรตุเกส คนหนึ่งพูดว่า "สาหรับดิฉันน่ะ อย่า e ว่ าแต่ มีนรกเดียวเลย ต่ อให้ มีสิบนรก ดิฉัiนv ก็ไม่ ยอมพึ่งพระสงฆ์ ชาวฝรั่ งเศส" h c พวกคริ สตังชาวโปรตุเกสอาจหาญถึงกับไปฟ้ องข้าราชการไทยผูห้ นึ่ง เพราะ ในเดือนกันยายน ค.ศ. r1796 A l สตัง แม้พระเจ้าแผ่นดินจะทรงพระทัยดีและ ค่อนข้างโปรดปรานพวกคริ สตังอยู่ เหตุที่เขาได้เข้าถือศาสนาคริ a riทcรงเห็นว่าจําเป็ นต้องเข้มงวดเสียที จึงมี รับสั่งให้ขา้ ราชการผูน้ ้นั บวชเป็ นพระภิกษุ และให้บุตร แต่คราวนี้พtระองค์ o s i ภรรยาของเขาละทิ ้งศาสนาคริ สตังเสี ย ข้าราชการผูน้ ้ นั ก็ยอมเชื่อฟัง แต่บุตรภรรยาหายอมไม่ จึงถูกจําคุก บุตรสาว H ถูกกร้อนผม บุตรชายคนหนึ่งถูกนํามาแทบเท้าพระพุทธรู ป และถูกบังคับให้ไหว้รูปนั้น ผูเ้ ป็ นแม่ร้องบอกลูกชายว่า "ลูกเอ๋ ย จงยกตาขึน้ สู่สวรรค์ และมองดูบาเหน็จที่กาลังคอยท่ าลูกเถิด" ลูกคนเล็กร้องบอกว่า "แม้ ท่านจะเอาผมไป ต้ มในนา้ มันเดือด ผมก็จะไม่ ยอมเปลี่ยนความตั้งใจ" ส่ วนลูกคนโตซึ่ งสลบไประหว่างถูกทรมาน พอกลับฟื้ นขึ้น ก็ร้องเรี ยกผูค้ ุมว่า "ผู้คุมครั บ ผมค่ อยยังชั่วแล้ ว เอาโซ่ มาใส่ ผมใหม่ เถอะครั บ !"
3โบสถ์ของพวกโปรตุเกสนี้ เข้าใจว่าเป็ นโบสถ์ที่เราเรี ยกกันว่า "วัดกาลหว่าร์" หรื อ "วัดตลาดน้อย" คือชั้นแรกคงเป็ นโบสถ์ของพวกโปรตุเกส ต่อมาเมื่อชาวโปรตุเกสมีจาํ นวนน้อยลง จึงถวายเป็ นโบสถ์ของครัสตังชาวจีน (ผูแ้ ปล)
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 239
มีผรู ้ บเร้าให้นางแม่และบุตรสาวประกาศตัวเป็ นคนไทย คําว่า "ประกาศตัวเป็ นคนไทย" นี้ เป็ นคําที่เขาใช้ เพื่อบอกว่ายอมละทิ้งศาสนาคริ สตัง นางแม่และบุตรสาวยอมตามคํารบเร้านั้นชัว่ ครู่ หนึ่ง แต่เกือบในทันทีน้ นั เอง เขาเป็ นทุกข์เสี ยใจที่ได้กล่าวคําดังกล่าว และเมื่อถูกขอร้องให้กล่าวอีก เขาปฏิเสธเด็ดขาด ในที่สุด แม้เขาได้ขดั สู้ ดังนี้ พระเจ้าแผ่นดินมีรับสั่งให้ปล่อยตัวไป เขาไปอยูใ่ นอารามชี "ทาการใช้ โทษบาป โดยร้ องไห้ และเจริ ญชี วิตอย่ าง เคร่ งครั ดและลาเค็ญที่สุด" พวกโปรตุเกสไปฟ้ องอีก คริ สตังอีก 20 คนถูกจับไปจําคุก ไม่กี่วนั ต่อมา เขาถูกปล่อยตัวออกหมด ยังเหลือ เพียง 2 คนที่ยงั ถูกกักตัวไว้ ก่อนหน้านั้นสองคนนี้เคยประพฤติตวั เป็ นตัวอย่างไม่ดี แต่บดั นี้เขากลับแสดงใจมัน่ คง คนหนึ่งถูกนําตัวไปยังศาล โดยมีหญิงที่เขาหลอกลวงติดตามไปด้วย ผูพ้ ิพากษาถามหญิงนั้นว่าเธอเป็ นคริ สตังตั้งแต่ เมื่อไร เธอตอบอย่างกล้าหาญว่า "ตั้งแต่ วนั นีเ้ องค่ ะ" อย่างไรก็ดี ในปี ค.ศ. 1808 เมื่อหมดหวังที่จะเห็นพระสงฆ์ชาติ เดียวกันกลับมาในเมืองไทยอีก คริ สตังชาวโปรตุเกสจึงยอมอ่อนน้อมต่อมิชชันนารี ชาวฝรั่งเศส เกือบทั้งหมด พระสังฆราชการฺ โนลต์ออกชื่อแต่เพียง 6 คน ที่ขดั สู้คาํ สั่งของท่านจริ งๆ
k
คริสตังทีร่ ัฐเกดาห์ , มะริด, ถลาง, อาพล
o e s
ko g n a fB
กลุ่มคริ สตังในที่แห่งอื่นไม่เจริ ญเหมือนที่กรุ งเทพฯ ไม่มีสักแห่งที่มีมิชชันนารี ประจําอยู่ นอกจากที่จนั ท บูรณ์และปี นัง ส่ วนใหญ่อยูเ่ ป็ นปี ๆ โดยไม่มีพระสงฆ์ไปเยีย่ ม เพราะฉะนั้น เรื่ องเล็กๆ น้อยๆ ที่เก็บได้จากประวัติ ของคริ สตังในที่ต่างๆ เหล่านี้ จึงไม่มีความสําคัญเท่าไรนัก คุณพ่อวิลเลอแม็งเป็ นผูป้ กครองคริ สตังที่ไทรบุรี (เกดาห์) ในปี ค.ศ. 1786 ในขณะที่ ข้าวยากหมากแพง อย่างร้ายแรงที่สุด คุณพ่อวิลเลอแม็งเขียนไว้วา่ "ข้ าพเจ้ าต้ องเอาหมวกใหม่ ไปขายพรุ่ งนีแ้ ต่ เช้ าๆ เพื่อจะได้ อะไรมา ใส่ ท้องเราบ้ าง ของอื่นๆ ก็ต้องนาไปขายอย่ างเดียวกัน จนกระทั่งเสื ้อชั้นในตัวสุดท้ าย" คริ ส ตัง ที่ เ มื อ งมะริ ด ได้มิ ช ชัน นารี จ ากประเทศพม่ า องค์ห นึ่ ง เป็ นผูป้ กครองชื่ อ คุ ณ พ่ อ อาซี ม อนดี (Azimondi) ท่านถึงแก่มรณภาพที่เมืองมะริ ดในปี ค.ศ. 1789 มิชชันนารี ที่ไปเมืองถลาง (ภูเก็ต) ในปี ค.ศ. 1789 คือ คุณพ่อราฟาแอล ท่านประกอบ พิธีศีลล้างบาปให้แก่ ผูเ้ รี ยนคําสอน 6 คน ในปี ค.ศ. 1793 พระสังฆราชการฺ โนลต์ก็ไปเมืองถลางด้วย ท่านพบข้าราชการบางคนมีความ ฝักใฝ่ ในพระศาสนาคริ สตัง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1797 ถึงปี ค.ศ. 1808 คุณพ่อแร็ กตังวัลด์ไปเยีย่ มสัตบุรุษที่รัฐไทรบุรี เมืองถลาง และเมือง มะริ ด หลายครั้งหลายหน บางครั้งอยูแ่ ห่งละตั้งเดือนกว่า ในปี ค.ศ. 1791 พระสังฆราชการฺ โนลต์ สั่งให้ผสู้ อนคําสอนคนหนึ่งไปที่เมืองอําพล (Amboine) เขาประกอบพิธีศีลล้างบาปให้แก่ผใู ้ หญ่ 20 คน และเด็ก 27 คน
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
240 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
ตะกัว่ ทุ่ง ราชบุรี จันทบูรณ์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1790 ถึงปี ค.ศ. 1794 พระสังฆราชการฺ โนลต์กบั คุณพ่อกาเว (Cavé) ไปตะกัว่ ทุ่งหลายหน ในการเยีย่ มครั้งหนึ่ง พระสังฆราชทราบว่าบางครั้งเจ้าเมืองใคร่ จะบังคับคริ สตังให้ไหว้พระพุทธรู ป ท่านก็ ดําเนินการให้ขา้ ราชการผูใ้ หญ่ตาํ หนิเจ้าเมืองผูน้ ้ นั ในปี ค.ศ. 1793 พระสังฆราชการฺ โนลต์กบั คุณพ่อกาเวไปที่ท่านา (Thana) แต่ก็มิได้ทาํ อะไรเกิดผลเป็ นที่ บรรเทาใจ ในปี ค.ศ. 1808 สังฆานุกรองค์หนึ่งไปที่ราชบุรี (Rappri) และประกอบพิธีศีลล้างบาปให้แก่เด็ก หลายคน วัดจันทบูรณ์ปกครองเป็ นเวลาช้านานโดยคุณพ่อยาโกเบ จาง ซึ่ งถึงแก่มรณภาพที่วดั นี้เมื่ออายุกว่าร้อยปี ต่อมาในปี ค.ศ. 1790 วัดจันทบูรณ์อยูใ่ นความดูแลของคุณพ่อลีโอต์ และบังเกิดผลดียงิ่ ขึ้น ในปี ค.ศ. 1791 คุณพ่อลีโอต์ประกอบพิธีศีลล้างบาปให้แก่คนต่างศาสนา 120 คน คุณพ่อฟลอรังส์ไปช่วยคุณพ่อลีโอต์ก่อนที่จะรับ ตําแหน่งแทนท่าน คุณพ่อฟลอรังส์ ไปสร้างวัดคริ สตังเล็กๆ แห่งหนึ่ง อยูห่ ่างเป็ นระยะทางเดินจากจันทบูรณ์ 3 วัน และในปี ค.ศ. 1792 ท่านประกอบพิธีศีลล้างบาปให้แก่คนต่างศาสนา 30 คน แต่เนื่องจากท่านอยูค่ นเดียว จึงต้อง จากไปนานๆ เพื่อไปดูแลสัตบุรุษที่กรุ งเทพฯ ในปี ค.ศ. 1803 คุณพ่อราโบซึ่ งปกครองวัด จันทบูรณ์ ประมาณว่า วัดนี้มีคริ สตังราว 600 คน
k
o e s
ko g n a fB
e c ปี นัง io d hคาดหวังไว้ต้งั แต่ปี ค.ศ. 1786 ในปี ค.ศ. 1792 ที่ปีนัง พระศาสนาเจริ ญ ตามที่พระสังฆราชการฺ โcนลต์ r A คุณพ่อราฟาแอลดูแลชาวสยามและชาวโปรตุเกส คุณพ่อ ท่านมอบหมายให้คุณพ่อแร็ กตังวัลด์ดูแลชาวมลายู และให้ s e อ้ ื่น ชอบแนะสอนให้สัตบุรุษบําเพ็ญตบะและนอบน้อมเชื่อ แร็ กตังวัลด์น้ นั เป็ นคนเข้มงวดทั้งสําหรัiบvตนเองและผู h ฟัง ส่ วนคุณพ่อราฟาแอลเป็ นคนrcอ่อนโยน จึงดึงดูดคนได้มากกว่า เพราะฉะนั้นสัตบุรุษคริ สตังจึงอาลัยท่านมาก l าA เมื่อพระเป็ นเจ้า ทรงเรีa ยกท่ นกลับไปในเดือนมกราคม ค.ศ. 1797 ในปี ค.ศ. 1805 มีพระสงฆ์มาแทนท่านคือ c i คุณพ่อปั สกัtลo ซึ่งrมีคุณสมบัติและคุณธรรมเสมอหรื อยิง่ กว่าท่านอีก s i H ครั้งหนึ่ง เมื่อคุณพ่อแร็กตังวัลด์ไม่อยู่ ไปเยีย่ มคริสตังที่เกาะถลางและรัฐไทรบุรี ก็มีมิชชันนารี องค์หนึ่งที่
กําหนดจะไปอยูม่ ิสซังเสฉวน ชื่อ คุณพ่อแอสโกเดกา เดอ ลา บัวซอนาด (Escodeca de la Boissonnade) มาอยู่ แทน ในปี ค.ศ. 1802 ท่านสร้างวัดหลังหนึ่ง ซึ่งจุคริ สตังที่ปีนัง 400 คน ได้อย่างสบาย ต่อไปจนสําเร็ จ ท่านเอาใจ ใส่ ดูแลภคินีซ่ ึงมีอยู่ 3 คน และทําการปฏิญาณตัวอย่างธรรมดาแล้ว ท่านเขียนตอบโต้คาํ ตําหนิของคนบางคนว่า "ถ้ าเลิกสานักนีเ้ สี ย พวกหญิงสาวจะไม่ ได้ รับการศึกษา และบรรดาหญิงพรหมจารี จะไม่ มีที่อาศัยเพื่อสู้กับ ความชั่ว และความหลอกลวงต่ างๆ สานักเหล่ านีจ้ าเป็ นสาหรั บการศึกษาของเด็กหญิง เท่ าๆ กับที่โรงเรี ยนจาเป็ นสาหรั บ การศึกษาของเด็กชาย"
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 241
ทางด้านวัตถุ วัดปี นังมีรายได้ดีกว่าวัดเก่าๆ ในประเทศไทยเสี ยอีก คริ สตังบางคนมีฐานะพอที่จะเสี ยค่าเล่า เรี ยนลูกที่มาฝากโรงเรี ยน แต่ได้หมดบ้างไม่หมดบ้าง เงินผลประโยชน์ที่ได้ นอกเหนือจากเงินประจําจึงมี ความสําคัญมาก มิสซาก็มีให้ทาํ ไม่ขาด วัดที่ปีนังมีบา้ น 2 หลัง ให้เช่าหลังหนึ่งเดือนละ 5 เหรี ยญ อีกหลังหนึ่ง เดือนละ 2 เหรี ยญครึ่ ง "แต่ กม็ ีข้อเสี ยอยู่ข้อหนึ่งคือ คริ สตังที่ปีนังอยู่ปะปนกับพวกโปรเตสแตนท์ ซึ่ งอาจมีอันตราย สาหรั บความเชื่ อได้ " แต่มิชชันนารี ก็เชื่อว่าสัตบุรุษเป็ นคนว่านอนสอนง่าย ท่านเล่าว่า "มีคริ สตังคนหนึ่ง หลังจากประพฤติตัวไม่ ดีเป็ นเวลา 12 ปี ก็กลับใจมาหาพระเป็ นเจ้ าอย่ างแท้ จริ ง เขามาร่ วมในพิธีมิสซาทุกวัน ยอมทาการใช้ โทษบาปต่ อ หน้ าธารกานัล อันที่จริ ง ข้ าพเจ้ าบังคับให้ เขาทาเฉพาะวันอาทิตย์ เท่ านั้น แต่ เขาสมัครใจทาเช่ นนั้นทุกวัน" คุ ณพ่อแร็ งตังวัลด์ดูเหมือนจะมี ความกระตือรื อร้นน้อยกว่าคุณพ่อแอสโกเดกา ท่านมักจะมองคนและ เรื่ องราวต่างๆ ไปในแง่ร้าย ท่านจึงไม่ยอมประกอบพิธีศีลล้างบาปให้คนเรี ยน คําสอนง่ายๆ ดังจะเห็นได้จากตัวเลข ในบัญชี ของท่านต่อไปนี้ คือ ตั้งแต่วนั ที่ 9 สิ งหาคม ค.ศ. 1803 ถึงวันที่ 13 มกราคม ค.ศ. 1806 ท่านประกอบ พิธีศีลล้างบาปให้แก่ผใู ้ หญ่เพียง 21 คน และในจํานวนนี้ มี 12 คนที่ใกล้จะตาย เกี่ยวกับการประกอบพิธีศีลล้าง บาป เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1807 พระสังฆราชมีหนังสื อเตือนพระสงฆ์ทุกองค์ แต่คาํ เตือนนี้ดูเหมือน ที่ปีนัง แห่ งเดียวเท่านั้นได้มีการถือตาม คือ พระสังฆราชสั่งให้ประกอบพิธีศีลล้างบาปให้แก่ลูก และคนใช้ของคนที่มิใช่ คาทอลิก ก็เฉพาะเมื่อฝ่ ายหลังนี้ยอมสัญญาจะให้การอบรมและการศึกษาในพระศาสนาคาทอลิกเท่านั้น การเปรี ยบ สถิ ติการสารภาพบาปรั บศี ลยังแสดงให้เห็ นด้วยว่า ในสมัย นั้นคุ ณพ่อแร็ งตังวัลด์ป กครองวัดปี นัง อย่างเข้ม งวด กวดขันเพียงใด กล่าวคือ ภายใน 17 เดือน ท่านฟังการสารภาพบาปชาย 337 คน หญิง 553 คน ให้ชาย 43 คน รับศีลมหาสนิท 109 ครั้ง และหญิง 56 คนรับศีลมหาสนิท 212 ครั้ง สถิติอื่นๆ ของท่านก็คงเป็ นเช่นเดียวกัน
k
จานวนคริสตังทั้งหมดl
a c i or
A
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
สภาพวัดต่างๆ ในมิสซังสยามเมื่อต้นศตวรรษที่ 19 คงเป็ นเช่นที่ได้กล่าวมาแล้ว วัดที่ดี ที่สุดและมีคริ สตัง มากที่สุด คือ วัดที่กรุ งเทพฯ, วัดที่จนั ทบูรณ์และวัดที่ปีนัง ในปี ค.ศ. 1802 จํานวนคริ สตังในมิสซังกรุ งสยาม ทั้งหมดมีประมาณ 2,500 คน และในปี ค.ศ. 1811 มีเกือบ 3,000 คน
t s i H
242 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
สามเณราลัย ตลอดเวลาที่ปกครองมิสซังกรุ งสยาม พระสังฆราชการฺ โนลต์เอาใจใส่ เรื่ องสามเณราลัยอยูเ่ สมอ เมื่อครั้งมิส ซังโคชินจีนถูกศึกไตเซิงรบกวน และมาตั้งสามเณราลัยขึ้นที่จนั ทบูรณ์ โดยมีคุณพ่อลีโอต์เป็ นอธิการนั้น พระสังฆราชการฺ โนลต์ส่งสามเณรจํานวนหนึ่งไปที่สามเณราลัยแห่งนี้ คุณพ่อลาวูเอ (Lavoué) ซึ่งเป็ นอาจารย์คน หนึ่ง เขียนไว้วา่ "เราอยู่ที่นี่ เจริ ญชี วิตอย่ างยากจนข้ นแค้ นที่สุด ความอดทนของสามเณรเหล่ านีซ้ ึ่ งพอใจใน โชคชะตาของตน และไว้ ใจในพระญาณสอดส่ องของพระเป็ นเจ้ าอย่ างเต็มเปี่ ยมนั้น ข้ าพเจ้ าจะกล่ าวชมสักเท่ าไรก็ ไม่ พอ" เมื่อสามเณราลัยมิสซังโคชินจีนย้ายไปจากจันทบูรณ์แล้ว พระสังฆราชการฺ โนลต์ ก็ต้ งั สํานักศึกษาเล็กๆ ขึ้นที่วดั นี้ มอบให้คุณพ่อฟลอรังส์เป็ นคนดูแล ท่านยังตั้งสํานักศึกษาเล็กๆ ขึ้นอีกแห่งหนึ่งที่ตะกัว่ ทุ่ง และให้อยูใ่ น ความดูแลของคุณพ่อปั สกัล คัง กรุ งเทพฯ มีสาํ นักศึกษาเช่นนี้แห่งหนึ่งเช่นเดียวกัน ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าสํานักศึกษา เหล่านี้เป็ นแต่สาํ นักเล็กๆ และมีนกั เรี ยน แต่นอ้ ยคน ดังนั้นในปี ค.ศ. 1788 ที่จนั ทบุรีมีนกั เรี ยน 6 คน ในปี ค.ศ. 1792 ที่ตะกัว่ ทุ่งมี นักเรี ยน 9 คน และในปี เดียวกัน ที่กรุ งเทพฯ มีนกั เรี ยน 11 คน ครู ซ่ ึงโดยปรกติเป็ น สามเณรที่มีอายุมากกว่าเล็กน้อยนั้น ทําการสอนและดูแลภายใต้การควบคุมของมิชชันนารี ที่ปกครองวัด อีกชั้นหนึ่ง คุณพ่อฟลอรังส์ซ่ ึ งโดยทางการเป็ นผูป้ กครองสามเณราลัยที่จนั ทบุรีน้ นั ในขณะเดียวกันก็เป็ นเจ้าอาวาสวัด นี้ และตลอดเวลาหลายปี ยังเป็ นเจ้าอาวาสวัดกรุ งเทพฯ ซึ่ งอยูห่ ่างจาก จันทบุรีประมาณ 100 หลัก (400 กม.) อีกด้วย แต่ในทางปฏิบตั ิ ผูท้ ี่ปกครองสามเณราลัยที่จนั ทบุรีน้ นั เป็ นสามเณรญวนบางคน ที่ตะกัว่ ทุ่ง ผูส้ อนสามเณร บางครั้งเป็ นพระสังฆราชการฺ โนลต์ บางครั้งก็เป็ นคุณพ่อกาเว และบางครั้งก็เป็ นพระสงฆ์พ้ืนเมืององค์หนึ่ง ที่ กรุ งเทพฯ ผูด้ ูแลสํานักศึกษาเป็ นผูไ้ ด้รับศีลบวชขั้นถือเทียนคนหนึ่ง (acolyte) ภายหลังเมื่อพระสังฆราช การฺ โนลต์ มาอยูป่ ระจําที่กรุ งเทพฯ แล้ว ท่านได้รวบรวมเอาสามเณรทั้งเล็กและใหญ่มาอยูใ่ นสํานักเดียวกัน ซึ่งในปี ค.ศ. 1802 มีสามเณรอยู่ 23 คน "นั่นเป็ นสวนองุ่นส่ วนที่ปัจจุบัน พระสังฆราชเฝ้ ารั กษาเองเป็ นพิเศษและ โดยเฉพาะ" ใน ค.ศ. 1802 ปี เดียวกันนั้นเอง ท่านบวชพระสงฆ์ 2 องค์ องค์หนึ่งเป็ นคนจังหวัดถลาง (ภูเก็ต) อีกองค์ หนึ่งเป็ นคนจังหวัดจันทบุรี พระสงฆ์ใหม่ 2 องค์น้ ี คุณพ่อราโบมิได้บอกว่าชื่ออะไร แต่ได้กล่าวแสดงความเห็นไว้ ดังนี้ : "องค์ แรกให้ ความหวังมากพอสมควร เป็ นที่เคารพและไว้ วางใจของคนทั่วไป สุขภาพแข็งแรง อายุ 30 ปี องค์ ที่สอง อายุมากกว่ า มีความสามารถน้ อยกว่ า แต่ มีความศรั ทธากล้ าแข็ง และมีคุณสมบัติเพียงพอสาหรั บปฏิ บัติ หน้ าที่ตามปรกติได้ ที่วดั จันทบุรี" ในปี ค.ศ. 1803 จํานวนสามเณรเพิม่ ขึ้นเป็ น 30 คน และในปี ค.ศ. 1806 มีสังฆานุกร 4 องค์ กับอุป สังฆานุกร 1 องค์
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 243
การบวชพระสงฆ์ คุณพ่อปั สกัลได้รับการบวชเป็ นพระสงฆ์ในปี ค.ศ. 1805 ในปี ค.ศ. 1807 และ 1808 มีการบวชพระสงฆ์ อีก 3 องค์คือ คุณพ่อกาเซี ยง เดอ แซ็งต์ ซาเวียร์ (Gatien de Saint Xavier) และคุณพ่อมารฺ แซล กอเรอา (Marcel Correa) ทั้งสององค์เป็ นคนชาติไทยผสมโปรตุเกส กับ คุณพ่ออังเดร ตุ๊ (André Tu) เชื้ อชาติญวน การได้ พระสงฆ์ใหม่ 3 องค์น้ ีมิใช่ความสําเร็ จอย่างใหญ่หลวงก็จริ งอยู่ แต่เมื่อได้ผา่ นยุคเข็ญอันยาวนานมาแล้ว มิสซังกรุ ง สยามก็พอจะปลื้มใจ ในผลที่เกิดเหล่านี้ได้ และถือเป็ นแสงอรุ ณของอนาคตซึ่ งจะรุ่ งเรื องสุ กใสยิง่ ขึ้น
วิทยาลัยกลาง อย่างไรก็ดี ถึงหากสามเณราลัยที่กรุ งเทพฯ เพียงพอสําหรับมิสซังกรุ งสยาม ก็ยงั เปรี ยบมิได้กบั วิทยาลัย กลางเก่าแก่ครั้งก่อนโน้น ซึ่งใครๆ เคยสรรเสริ ญว่าได้ก่อตั้งขึ้นและได้ทาํ คุณประโยชน์อเนกประการ พระสังฆราช การฺ โนลต์ มิได้คิดจะตั้งวิทยาลัยกลางนี้ข้ ึนใหม่ ชะรอยท่านจะมีความเห็นอย่างเดียวกับพระสังฆราชกูเดที่วา่ "วิทยาลัยกลางเก่ านั้นได้ มีส่วนช่ วยให้ มิสซังนี ้ ล่ มจมมิใช่ น้อย เราเคยเสี ยสละทุกอย่ างเพื่อจะรั กษาวิทยาลัยกลางไว้ " หรื อพูดง่ายๆ ว่าท่าน พอใจมองดูรอบๆ ตัวอย่างเดียว แล้วเห็นว่าท่านเอาใจใส่ มิสซังของท่านก็พอแล้ว หาคิดไม่วา่ ในฐานะที่เป็ นอธิ การชั้นผูใ้ หญ่ (supérieur majeur) แห่งคณะมิสซังต่างประเทศ ท่านมีหน้าที่ตอ้ งสนใจในสํานัก ที่มีประโยชน์ต่อส่ วนรวม
k
คุณพ่อเลอต็องดัล
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
เดชะบุญที่ขณะนั้นที่เมืองมาเก๊า มีมิชชันนารี องค์หนึ่งเป็ นคนปัญญาหลักแหลม ใจดี เฉลียวฉลาดและ ชอบทําการริ เริ่ ม ได้เป็ นผูค้ ิดดําเนินการตั้งวิทยาลัยกลางขึ้นเสี ยใหม่ มิชชันนารี องค์น้ ีคือ คุณพ่อโคล๊ด เลอต็องดัล (Claude Letondal) เป็ นเหรัญญิกคณะมิสซังต่างประเทศ ที่มาเก๊า ในฐานะที่เป็ นเหรัญญิก ท่านทําการติดต่อกับ ทุกมิสซัง และโดยที่รับใช้ทุกมิสซัง ท่านจึงรู ้จกั และรักทุกมิสซัง ท่านไม่ข้ ึนกับมิสซังใดโดยเฉพาะ จึงไม่รักมิสซัง ใดเป็ นพิเศษ ในฐานะเป็ นสมาชิกหรื อที่ถูกกว่าเป็ นหัวหน้าของสํานัก ที่ต้ งั ขึ้นเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของคณะมิสซัง ต่างประเทศ จึงเป็ นธรรมดาที่ท่านต้องมีความสนใจต่อคณะทั้งคณะ ท่านพิสูจน์ให้เห็นว่า มีความสนใจดังนี้ดว้ ย การกระทําหลายประการ เป็ นต้นด้วยการเดินทางหลายครั้งไปมะนิลาและประเทศเม็กซิโก เพื่อขอความช่วยเหลือ มาชดเชยสมบัติ ที่การปฏิวตั ิใหญ่ในประเทศฝรั่งเศส ได้ช่วงชิงไปจากบรรดามิสซังและสามเณราลัยแห่งคณะ มิสซังต่างประเทศ
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
244 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
ความดาริจะตั้งวิทยาลัยกลางทีม่ ะนิลา เมื่อกลับจากเดินทางไปต่างประเทศครั้งนั้น ซึ่ งแต่แรกหลายคนตําหนิ แต่ภายหลังขอบใจท่าน คุณพ่อเลอต็ องดัลหันมาพิจารณาเรื่ องวิทยาลัยกลาง ครั้งแรก ท่านดําริ จะตั้งขึ้นใหม่ที่มะนิลา เพราะชื่อเสี ยงของชาวสเปนว่าเป็ น คาทอลิกที่ดีมากเป็ นแรงดึงดูดให้ท่านมายังประเทศนี้ คนที่คิดเช่นนั้นก็ไม่ใช่มีแต่ท่านผูเ้ ดียว ดูเหมือนคณะมิสซัง ต่างประเทศก็มกั นึกคิดว่าถ้าจะตั้งสามเณราลัยแล้ว ต้องตั้งขึ้นที่มะนิลา อันที่จริ ง ปัญหาเรื่ องนี้ได้พดู กันมาตั้งแต่ สมัยคุณพ่อบรี ซา ซีเอร์ และคุณพ่อตีแบรฌฺ (Brisacier & Tiberge) ในปี ค.ศ. 1702 หลังจากการปฏิวตั ิของ พระเพทราชาในกรุ งสยาม ได้ทาํ ลายผลงานและความหวังของคณะเสี ยเป็ นอันมาก ปัญหาเรื่ องนี้ได้พดู กันอีกในปี ค.ศ. 1779 เมื่อพม่าทําลายวิทยาลัยกลางจนต้องย้ายไปอยูท่ ี่เมืองปอนดิเชรี ในสภาพที่ค่อนข้างไม่เหมาะสม แต่นนั่ เป็ นความคิดเห็นของมนุษย์ ที่มองจากที่ไกลเกินไป พระสังฆราชเดอ แซ็งต์มารฺ แต็ง พระสังฆราชผูช้ ่วยประมุข มิสซังเสฉวน ที่ถูกขับไล่จากประเทศจีนไปอยูม่ ะนิลาในปี ค.ศ. 1786 และได้เห็นเหตุการณ์โดยใกล้ชิดและถูกต้อง กว่า ท่านเขียนจดหมายยืดยาวชี้แจงเหตุผลต่างๆ เพื่อให้เลิกล้มแผนการดังกล่าว คือ ท่านชี้แจงให้เห็นว่า ที่มะนิลา ค่าใช้จ่ายสู ง ชาวสเปนไม่ชอบชาวฝรั่งเศส มีอนั ตรายสําหรับศีลธรรมของเณร ต้องไปเรี ยนที่มหาวิทยาลัย ติดต่อกับ ประเทศจีนยาก เมื่อเริ่ มดําเนินการก็ดี และต่อมาภายหลังก็ดี คุณพ่อเลอต็องดัลไม่เห็นสภาพการณ์ในแง่น้ ี เมื่อเดินทางไป มะนิลาครั้งแรกในปี ค.ศ. 1798 ท่านได้รับการต้อนรับอย่างดีจากท่านอุปราชและเจ้าหน้าที่บา้ นเมืองและศาสนา ท่านจึงเชื่ออย่างมัน่ คงว่าวิทยาลัยกลางจะตั้งขึ้นที่อื่นดีกว่าที่มะนิลาไม่ได้ ท่านแจ้งโครงการและความหวังของท่าน แก่บรรดาสังฆราชของคณะ และทําให้หลายองค์ เป็ นต้นพระสังฆราชล็องเยร์ (Longer) ประมุขมิสซังตังเกี๋ย ตะวันตก คล้อยตามความเห็นของท่าน ในปี ค.ศ. 1802 ขณะอยูท่ ี่เมืองเม็กซิโก ท่านเขียนถึงสมณทูตของ พระสันตะปาปาที่กรุ งมาดริ ด ขอให้สนับสนุนคําร้องที่ท่านตั้งใจจะยืน่ ต่อรัฐบาลของพระเจ้าชารลส์ ที่ 4
k
iv h rc
A ลังเลใจไม่ รู้ จะเลือกมะนิ ล l a าหรือปี นัง ic r o ist
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
ได้มีผอู ้ อกความเห็นกันอีก และในปี ค.ศ. 1788 ก็มีการปรารภจะตั้งวิทยาลัยกลางขึ้นที่เกาะปี นัง ไม่มีใคร พูดถึงความเห็นนี้ แต่ภายหลังก็มีคนพูดขึ้นมาอีก ในปี ค.ศ. 1802 คุณพ่อ แอสโกเดกา ยืนยันว่ารัฐบาลอังกฤษจะให้ อนุญาตที่ตอ้ งการทุกอย่าง ในปี ค.ศ. 1804 คุณพ่อแดกูรฺเวียรฺ (Descourvi่่ères) เขียนจากกรุ งโรมว่า "เราเห็นว่ า การตั้งขึน้ ที่เกาะปูโล-ปี นังนั้น อาจจะเป็ นประโยชน์ แก่ บรรดามิสซังของเรามาก และถ้ าไม่ สามารถจะตั้งวิทยาลัย กลางขึน้ ในรั ฐของกษัตริ ย์แห่ งประเทศโคชิ นจีนแล้ ว บางทีเกาะปี นังจะเป็ นสถานที่เหมาะที่สุด"
H
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 245
คุณพ่อบัวเรต์ซ่ ึ งอยูด่ ว้ ยกันกับคุณพ่อแดกูรฺเวียรฺ ก็พดู ในทํานองเดียวกัน และพระคาร์ดินลั บอรฺ ยา (Borgia) ซึ่งเป็ นสมณมนตรี กระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อ ก็มีความเห็นเช่นเดียวกัน แต่คุณพ่อเลอต็องดัลกล่าวว่าอากาศปี นัง ร้อนเกินไป อาหารก็แพงเกินไป และไม่ควรไว้ใจความอารี อารอบ ของรัฐบาลอังกฤษจนเกินไปนัก ด้วยเหตุน้ ี ท่านจึงดําเนินการที่มะนิลาอีกครั้งหนึ่ง เพื่อขอตั้ง "สานักอาศัย" (hospice) สําหรับสามเณรที่เรี ยนสู งจํานวน ประมาณ 40 คน และอยูต่ ามสามเณราลัยเล็กในมิสซังต่างๆ ของเรา ท่านหาที่ได้แห่งหนึ่ง อยูห่ ่างจากตัวเมือง เล็กน้อย และพรรณนาความเหมาะสมของสถานที่น้ ีอย่างละเอียดลออ คําร้องของคุณพ่อเลอต็องดัลที่เสนอต่อเจ้าหน้าที่อาณานิคมสเปนนั้น ได้รับการ พิจารณาด้วยดี แล้ว วันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1805 ข้าหลวงมะนิลาสั่งให้ทาํ สําเนาการปรึ กษาหารื อตัวจริ งทุกครั้ง และให้ส่งไปยัง กรุ งมาดริ ด ท่านยังเสริ มว่าจะเริ่ มก่อสร้างอะไรก่อนก็ได้ แต่แม้จะไว้ใจพวกสเปน คุณพ่อเลอต็องดัลก็เห็นว่าพูดดี แต่ปากเท่านั้นยังไม่พอ ท่านต้องการอะไร สักอย่างหนึ่งที่แน่นอนกว่านั้น และในปี ค.ศ. 1806 ท่านก็มีหนังสื อ เรี ยนบรรดาประมุขมิสซังต่างๆ ว่า คอยอนุญาตจากรัฐบาลเมืองหลวงสเปนก่อนดีกว่า บางทีระหว่างที่คอยนั้น บรรดาประมุขมิสซังต่างๆ ที่มีความเห็นยังไม่ตรงกันในเรื่ องสถานที่ที่ท่านเลือกนั้น จะได้มีเวลาตกลงกัน เช่น พระสังฆราชการฺ โนลต์เห็นว่าตั้งที่มะนิลาไม่ดี ส่ วนพระสังฆราชลาบารฺ แต๊ต (Labartette) ประมุขมิสซังโคชินจีน กับพระสังฆราชล็องเยร์ ประมุขมิสซังตังเกี๋ยตะวันตกกลับเห็นว่าดี เป็ นต้น สําหรับคุณพ่อแร็ กตังวัลด์ที่ดูแลเขตวัด ปี นังนั้น ท่านก็ออกความเห็นของท่านเหมือนกัน แต่เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาหลายครั้ง ในปี ค.ศ. 1806 คุณพ่อลังกลัว (Langlois) มิชชันนารี มิสซังตังเกี๋ยตะวันตกที่ได้รับ แต่งตั้งเป็ นคณาจารย์ สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศนั้น คุณพ่อเลอต็องดัลก็ขอให้ท่านเดินทาง ผ่านไปทางกรุ งมาดริ ด เพื่อเร่ งรัฐบาล สเปนพิจารณาอนุญาตคําขอของท่าน คุณพ่อลังกลัว ก็รับปาก แต่ได้มีเหตุการณ์ขดั ขวางมิให้ท่านไปตามที่ต้ งั ใจนั้น คุณพ่อแดฌารฺ แดง (Desjardins) เขียนไว้วา่ "สามเณราลัยมิสซังต่ างประเทศพอใจยิ่ง ที่เห็นสมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่ อดาเนินการติดต่ อในเรื่ องนีก้ ับพระราชสานักกรุ งมาดริ ด" ในปี ค.ศ. 1807 พระสังฆราชการฺ โนลต์ ใคร่ จะให้วทิ ยาลัยกลางไปตั้งที่รัฐไทรบุรี คุณพ่อราโบยืนยันว่า "พระสังฆราชเสนอจะอุทิศชีวติ ในบั้นปลายช่วยผลิตสามเณร"
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
H
คุณพ่อโลลีวเี อร์ ไปอยู่ปีนัง เบือ้ งต้ นของวิทยาลัยกลาง แต่ขอ้ เสนอของพระสังฆราชการฺ โนลต์ขอ้ นี้ แม้จะแสดงนํ้าใจกว้าง ก็หาเข้ากับแผนการของคุณพ่อเลอต็อง ดัลไม่ ท่านเพิ่งขอคุณพ่อโลลีวเี อร์ มิชชันนารี ประจําฮิงฮัวในมณฑลฟูเกี้ยน ให้มาปกครองวิทยาลัยกลาง คุณพ่อ โลลีวเี อร์ ก็รับและเดินทางมาถึงเมืองมาเก๊า
246 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
บัดนั้นคุณพ่อเลอต็องดัลเรี ยกประชุมใหญ่ ผูม้ าประชุมมีคุณพ่อมารฺ กีนี (Marchini) เหรัญญิกแห่ง กระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อ คุณพ่อรี เชอเนต์ (Richenet) เหรัญญิกแห่งคณะลาซาริ สต์ คุณพ่อโลลีวเี อร์ กับ พระสงฆ์แห่งคณะมิสซังต่างประเทศทุกองค์ที่ผา่ นมาที่สาํ นักมาเก๊า คุณพ่อเลอต็องดัล ตั้งปัญหาถามว่าวิทยาลัย กลางควรตั้ง ณ ที่ใด เมื่อฟังความเห็นของที่ประชุมแล้ว ท่านตัดสิ นใจเลือกเอาเกาะปี นัง อย่างน้อยก็เป็ นการชัว่ คราว ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1807 คุณพ่อโลลีวเี อร์เดินทางไปเกาะปี นังพร้อมด้วยสามเณรจีน 5 คน ระยะเริ่ มต้น ไม่น่าปลื้มใจนัก พวกเณรต่างพากันล้มเจ็บ คุณพ่อแร็ กตังวัลด์ดูไม่ใคร่ จะมีความเห็นลงรอยกับคุณพ่ออธิการซึ่ง หวังพึ่งท่าน และจําเป็ นต้องปรึ กษาหารื อในกิจการต่างๆ ในปี ต่อมา คุณพ่อเลอต็องดัลมีหนังสื อฝากฝังของพ่อค้า ชาวอังกฤษหลายคน เดินทางไปเกาะปี นังด้วยตนเอง ท่านบอกว่า "ไปช่ วยคุณพ่ อโลลีวีเอร์ ปักหลักตั้งหลักฐาน หน่ อย" ท่านพาสามเณร มิสซังเสฉวนไปด้วยจํานวนหนึ่ง บัดนี้วทิ ยาลัยจะมีนกั ศึกษา 12 คนแล้ว เมื่อมาถึง คุณพ่อเลอต็องดัลเห็นว่าสถานการณ์ "ดีมากสาหรั บวิทยาลัยกลางแห่ งมิสซังต่ างๆ" ที่ปีนังอะไรๆ ก็แพงหมด แต่ อากาศดี ชาวอังกฤษอารี อารอบเหลือหลาย จนถึงกับคุณพ่อเลอต็องดัลไม่กล้ารับของทุกอย่างที่เขาเสนอให้ "เพราะใครจะรู้ ว่าเขาจะเรี ยกร้ องอะไรคืนจากเรา" อย่างไรก็ดี ท่านจะปฏิเสธไม่ยอมรับบ้านหลังหนึ่งที่เขาให้ยมื ใช้ เป็ นวิทยาลัยไม่ได้ การอยูอ่ าศัยดีข้ ึนอย่างรวดเร็ ว พวกเณรหายป่ วย คุณพ่อโลลีวเี อร์ซ้ื อที่ดินแปลงหนึ่งกับบ้านหลัง หนึ่งเป็ นเงิน 1,700 เปี ยสตร์ อยูห่ ่างจากตัวเมืองราวหลักหนึ่ง (4 กม.) ท่านพาเณรของท่านไปอยู่ ณ ที่น้ ี คุณพ่อเลอต็องดัล เช่าบ้าน 2 หลังในเมืองยอร์ชเทาวน์ แต่เกิดความยุง่ ยากขึ้นใหม่อีกเรื่ องหนึ่ง กล่าวคือ พระสังฆราชการฺ โนลต์ ไม่ยอมให้วทิ ยาลัยกลางตั้งอยูท่ ี่ ปี นังต่อไป ท่านขอให้ยา้ ยไปที่กรุ งเทพฯ คุณพ่อโลลีวเี อร์เขียนไว้วา่ "เราเหมือนกับหลงเข้ าไปในถา้ สลับซับซ้ อน ที่ไม่ ร้ ู จะออกอย่ างไรถูก"
k
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
v i h พระสั งฆราชการฺ โนลต์ อนุญาตให้ ต้งั วิทยาลัยกลางทีป่ ี นัง c r Aจะสิ้นสุดลงแล้ว เพราะพระสังฆราชการฺ โนลต์เปลี่ยนใจ โดยกะทันหัน วันที่ 16 อย่างไรก็ตาม เรื่ อlงใกล้ aท่านลงนามอนุญาตให้ตงั วิทยาลัยกลางที่ปีนัง และมอบอํานาจบางอย่างให้แก่อธิการวิทยาลัย c i มิถุนายน ค.ศ. 1809 ้ r o t กลาง is H
ครั้นถึงวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1810 ท่านก็ยงั คงยืนยันมอบอํานาจทั้งหมดนี้ให้ ท่านเขียนชี้แจงเหตุที่ท่าน เปลี่ยนความคิดเห็นของท่านว่า "แม้ ข้าพเจ้ าเห็นว่ าสถานที่นีไ้ ม่ เหมาะสาหรั บ ฝึ กอบรมสามเณร ซึ่ งจะเป็ น มิชชันนารี ในภายหน้ า ถึงกระนั้นก็ดี เพื่อมิให้ ชักช้ าในการ ตั้งกิจการอันมีความสาคัญอย่ างเอกอุเช่ นนี ้ ข้ าพเจ้ าจึง ยินยอมและมอบอานาจที่จาเป็ นให้ ทุกอย่ าง"
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 247
สภาพของวิทยาลัยกลางในปี ค.ศ. 1811 ต้นปี ค.ศ. 1811 วิทยาลัยกลางมีสามเณร 20 คน ซึ่ งในจํานวนนี้มี 18 คน มาจากเสฉวน และอีก 2 คน มากจากกวางตุง้ ทางวิทยาลัยกลางได้รับและวิพากษ์วจิ ารณ์จดหมายสําคัญฉบับหนึ่งของพระสังฆราชดือแฟรส (Dufresse) ประมุขมิสซังเสฉวน แนะนําว่าต้องทําการอบรมสั่งสอนอย่างไร คุณพ่อเลอต็องดัลคิดจะเอาคุณพ่อ แอสโกเดกาซึ่งเป็ นมิชชันนารี ประจํามิสซังเสฉวน หรื อพระสงฆ์ชาวพื้นเมืองในมิสซังนี้บางองค์มาเป็ นอาจารย์สอน ที่วทิ ยาลัยปี นัง เพราะเหตุน้ ีเอง จึงมีบางคนเรี ยกวิทยาลัยนี้วา่ "วิทยาลัยจีน" หรื อเรี ยกเป็ น "วิทยาลัยเสฉวน" เสี ยเลย ทีเดียวก็มี
วิทยาลัยกลางแห่ งใหม่ อันที่จริ ง ชื่อที่ใช้เรี ยกนั้นไม่สาํ คัญเท่าไร ขอให้วทิ ยาลัยที่ปีนังเป็ นวิทยาลัยกลางจริ งๆ ก็เป็ นอันใช้ได้ คุณพ่อเลอต็องดัล ผูแ้ รกตั้งวิทยาลัยกลาง กับคุณพ่อโลลีวเี อร์ อธิการองค์แรก เสนอรับสามเณรมาจากทุกมิสซัง ของคณะ แต่ยงั ไม่มีมิสซังใดส่ งสามเณรมาในทันที แต่ก็จะต้องส่ งมาในไม่ชา้ การเบียดเบียนศาสนาที่จะล้างทําลาย สามเณราลัยในมิสซังโคชินจีนและตังเกี๋ยนั้น จะทําให้มิสซังทั้งสองหมดความลังเลใจต่อไปอีก ผูท้ ี่เฝ้ าดูวทิ ยาลัย ที่ปีนังโดยสงวนท่าทีอยู่ ก็จะกุลีกุจอส่ งสามเณรมา เป็ นอันว่าวิทยาลัยปี นังจะเป็ นวิทยาลัยกลางทั้งโดยชื่อ และโดย พฤตินยั และจะเป็ นทั้งโดยนิตินยั ด้วย เมื่อพิจารณาว่าจะตั้งวิทยาลัยที่ปีนังอย่างไรดีน้ นั คุณพ่อเลอต็องดัลเข้าใจดีในทันที ซึ่ งก็ตอ้ งชมท่านใน เรื่ องนี้วา่ วิทยาลัยดังกล่าวไม่ควรขึ้นกับประมุขมิสซังกรุ งสยาม เพราะทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงในการบริ หาร ประมุขมิสซังจะต้องเอาความคิดเห็นส่ วนตัวเข้ามายุง่ ด้วย ท่านมีความเห็นว่า วิทยาลัยกลางควรขึ้นตรงกับสามเณ ราลัยคณะมิสซังต่างประเทศซึ่ งเป็ นศูนย์กลางของคณะ หรื อมิฉะนั้นก็ให้ข้ ึนกับพระคาร์ดินลั สมณมนตรี กระทรวง เผยแพร่ ความเชื่อและเป็ นหัวหน้าทุกมิสซัง ไม่กี่ปีต่อมา ความคิดอันแรกของท่านก็ได้ลุล่วงเป็ นผลสําเร็ จ วินยั ของ คณะมิสซังต่างประเทศรับรองวิทยาลัยที่ปีนังเป็ นวิทยาลัยกลาง ให้นบั เข้าเป็ นสถานที่ส่วนรวมแห่งหนึ่งของคณะ และให้อยูใ่ นอํานาจปกครองของสามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศ อาศัยการจัดระเบียบใหม่ดงั นี้ วิทยาลัยที่ปีนัง จะเจริ ญรุ่ งเรื องทุกๆ ด้าน ทั้งในด้านอาจารย์ สามเณร และการเล่าเรี ยน และจะเจริ ญรุ่ งเรื องยิง่ กว่าในสมัยที่วทิ ยาลัย กลางตั้งอยูท่ ี่มหาพราหมณ์ หรื ออยุธยามากมายนัก
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
248 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
คุณพ่อราโบถูกฆาตกรรม การอนุญาตให้วทิ ยาลัยกลางตั้งที่ปีนังได้น้ ี นับเป็ นกิจการสําคัญชิ้นสุ ดท้ายในสมัยที่ พระสังฆราช การฺ โนลต์ดาํ รงตําแหน่งพระสังฆราช และจะเป็ นการจบสมัยที่กล่าวนี้ดว้ ย ถ้าไม่มีโศกนาฏกรรมเรื่ องหนึ่งเกิดขึ้น ในเวลาต่อมาอีกเดือนหนึ่ง คือ ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1810 ทําให้มิสซังโศกเศร้ายิง่ นัก กล่าวคือ ในปลาย ปี ค.ศ. 1809 คุณพ่อราโบ ออกเดินทางจากกรุ งเทพฯ กับคุณพ่อยวง ปัสกัล และสามเณร 4 คนเพื่อไปปี นัง ในระหว่างเดินทาง พระสงฆ์ ทั้งสองจะต้องผ่านเมืองถลางและมะริ ด เพื่อประกอบพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ ให้แก่คริ สตัง พอถึงเมืองถลาง ในวันรุ่ งขึ้นเมืองนี้ก็ถูกพม่าล้อม คุณพ่อปัสกัลหนีไปได้ ส่ วนคุณพ่อราโบหนีหลบเข้าไปอยูใ่ น ป้ อม และอยูใ่ นป้ อมนั้นตลอดเวลาที่เมืองถลางถูกล้อม "ท่ านพยาบาลคนเจ็บป่ วย" และประกอบพิธีศีลล้างบาป ให้แก่เด็ก 20 คน กับผูใ้ หญ่ 3 คน เมื่อพม่าเข้าตีเมือง พวกคริ สตังหนีไปกับคุณพ่อราโบ แต่ตกเข้าไปอยูใ่ นกลางพวกพม่า คุณพ่อราโบเดินเข้า ไปหาศัตรู อย่างกล้าหาญ มือขวาถือไม้กางเขน มือซ้ายถือรู ปแม่พระ พูดกับเขาว่า "ข้ าพเจ้ าเป็ นพระสงฆ์ ของพระเจ้ า ผู้ทรงชี วิต ข้ าพเจ้ าไม่ เคยทาร้ ายผู้ใด" พวกพม่าก็หยุดวางอาวุธ และยืน่ มือไปปกศีรษะของคุณพ่อและสัตบุรุษ แสดง ว่าเขาจะไม่ทาํ ร้าย ผูบ้ ญั ชาการทัพเรื อพม่าเป็ นชาวฝรั่งเศส ชื่อ ฌัง บารฺ แตล (Jean Bartel) เมื่อพบคน ชาติเดียวกันบน ชายหาดอันแสนไกลดังนี้ นักผจญภัยฝรั่งเศสก็ถือว่าคุณพ่อราโบเป็ นมิตร และปฏิบตั ิต่อท่านอย่างให้เกียรติและ เสนอจะพาท่านไปส่ งที่เกาะปี นังด้วย นับเป็ นโชคดีที่คุณพ่อราโบรี บ ตกลงรับ แต่ระหว่างทางได้เกิดกบฏขึ้นในเรื อ พวกกะลาสี จบั กัปตัน หมายจะโยนทิ้งทะเล คุณพ่อราโบ ลืมนึกถึงชีวติ ของตนเอง วิง่ เข้าไปในกลางหมู่กบฏ ร้องเสี ยงดัง อ้อนวอนเขาบ้าง ขู่เขาบ้าง โดยอ้างว่าพระเจ้าและมนุษย์จะลงอาชญา เพื่อมิให้ประกอบอาชญากรรมที่ เขากําลังจะกระทําอยูน่ ้ นั พวกกะลาสี กลัวว่าคุณพ่อราโบ จะเป็ นพยานและฟ้ องเขา จึงจับท่านมัด กับกัปตันเรื อ แล้วโยนทั้งสองลงไปในทะเล สามเณรสี่ คนที่ไปในเรื อกับคุณพ่อราโบได้รับการไว้ชีวติ และถูกนําไปยังประเทศพม่า เขากลับมา ประเทศสยาม เดินทางต่อไปปี นัง และคราวนี้ไปถึงวิทยาลัยกลางโดยสวัดิภาพ
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
Hงฆราชการฺโนลต์ถึงแก่มรณภาพ พระสั
ต่อมาอีกหนึ่งปี คือ วันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1811 หลังจากได้เลือกคุณพ่อฟลอรังส์ เป็ นผูส้ ื บตําแหน่งแล้ว พระสังฆราชการฺ โนลต์ซ่ ึงอาพาธมาเป็ นเวลานานพอสมควร ก็ถึงแก่มรณภาพ ที่จนั ทบุรี ท่านมาเพื่อประกอบพิธี ศีลกําลังแก่คริ สตังใหม่ และรับการปฏิญาณของภคินีสองสามคน อายุของท่านได้ 66 ปี แพร่ ธรรมได้ 42 ปี คุณพ่อฟลอรังส์เขียนไว้วา่ "ท่ านเป็ นขุมมหาสมบัติอันประเสริ ฐ ที่พวกเราต้ องสูญเสี ยไป"
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 249
ภายใต้การปกครองของพระสังฆราชองค์น้ ี มิสซังกรุ งสยามที่หลับซบเซามาเป็ นเวลาช้านาน ได้กลับฟื้ น มีชีวติ ชีวาขึ้นบ้าง นับเป็ นแสงอรุ ณของการกลับเป็ นขึ้นมาใหม่อย่างแท้จริ ง ซึ่ งค่อยๆ เป็ นไปทีละน้อยในสมัยของ พระสังฆราชฟลอรังส์ (ค.ศ. 1811-1834) พระสังฆราช กูรฺเวอซี (ค.ศ. 1834-1841) พระสังฆราชปัลเลอกัว (ค.ศ. 1841-1862) และดําเนินต่อไปอย่างสมํ่าเสมอเรื่ อยไปในสมัยของพระสังฆราชดือปองด์ (ค.ศ. 1864-1872) และพระสังฆราชเวย์ (ค.ศ. 1875-1909).
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
250 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
สรุปความ ตั้งแต่พระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต เดินทางมาถึงประเทศสยาม นับเวลาได้ 230 ปี พระสังฆราช หรื ออธิการ 12 องค์ ได้สืบตําแหน่งต่อกันมาในการปกครองมิสซัง มิชชันนารี ราว 60 องค์ ได้เอาชีวติ มาอุทิศ ที่อยุธยา บางกอก มะริ ด ถลาง จันทบุรี และวัดอื่นอีกบางแห่งทางเหนือและทางใต้พระราชอาณาจักรสยาม ท่านเหล่านี้ทุกองค์ร่วมใจกันสร้างความหวังอันยิง่ ใหญ่ และพยายามจะทําให้สาํ เร็ จตามความหวังนั้น ท่านเหล่านี้ทาํ ให้นอ้ ยคนเห็นอกเห็นใจ ต้องสู้ทนความเป็ นศัตรู ของคนส่ วนหนึ่ง และความเฉยเมยของคน จํานวนมาก ต้องผจญพายุร้ายแรงซึ่งพัดทําลายผลสําเร็ จเล็กน้อย และหยุดยั้งความริ เริ่ มของท่านเสี ย ท่านเหล่านี้กม้ ศีรษะน้อมรับอย่างเจ็บปวดและพากเพียร ไม่ยอมละทิ้งตําแหน่งแหล่งที่พระญาณสอดส่ องได้กาํ หนดให้ท่านประจํา อยู่ ท่านเหล่านี้ได้เริ่ มทํางานของท่านใหม่ หรื อทําต่อไปด้วยความอดทนอย่างไม่รู้จกั เสื่ อมถอย โดยมีความหวัง อันไม่รู้จกั ระย่อปั กแน่นอยูใ่ นส่ วนลึกของดวงจิตว่า ในอนาคตอันใกล้หรื อไกลหน่อยนี้ พระทัยดีของพระเป็ นเจ้าจะ โปรดให้วนั เวลาอันแจ่มใสกว่าทอแสงมายังพื้นแผ่นดินผืนนี้ ที่ช่างไม่ยอมเกิดผลสําหรับท่านเสี ยเลย ท่านเหล่านี้ ได้หว่านพืชด้วยนํ้าตา นี่แหละมักจะเป็ นโชคชะตาของคนงานในเวลาเริ่ มต้น เป็ นโชคที่ชุ่มชื่นใจน้อยกว่าโชคชะตา ของคนที่เกี่ยวเก็บด้วยความชื่นชม แต่ใครเล่ากล้าที่จะกล่าวว่าชีวติ ของคนงานพวกแรกสวยสดงดงามน้อยกว่าชีวติ ของคนงานพวกหลัง? และใครเล่ากล้าที่จะพูดว่ากุศลผลบุญกับบําเหน็จรางวัลของคนงานพวกแรกจะน้อยกว่าและ สู งเด่นน้อยกว่าของคนงานพวกหลัง?
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
e c io d rch
A s e
- จบ -
o e s
ko g n a fB