4 ประวัติมิสซังกรุงสยาม บทที่ 1

Page 1

บทที่ 1 สมัยพระสั งฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต ค.ศ. 1662 - 1673 ตอนเริ่มแรกของคณะมิสซังต่ างประเทศในกรุงสยาม มิชชันนารีกลุ่มแรกแห่ งคณะมิสซังต่ างประเทศในกรุงสยาม วันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ.1662 มิชชันนารี กลุ่มแรกสามองค์แห่งคณะมิสซังต่างประเทศที่เพิ่งตั้งขึ้น ได้เดินทางมาถึงเมืองตะนาวศรี ซึ่งเป็ นเมืองเล็กๆ ตั้งอยูท่ างภาคใต้ของประเทศพม่าปัจจุบนั แต่ในสมัยนั้นขึ้นกับ พระราชอาณาจักรสยาม มิชชันนารี สามองค์แรกนั้นคือ พระสังฆราชปี แอรฺ ลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต (Pierre Lambert de la Motte), คุณพ่อฌัก เดอ บูรฌฺ (Jacques de Bourges) และคุณพ่อฟรังซัว เดดีเอร์ 1 (François Deydier) พระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต เกิดที่ลาบัวเซียรฺ 2 (La Boissière) ในบริ เวณใกล้เคียงเมืองลีซีเออ (Lisieux) เมื่อปี ค.ศ.1624 ท่านเคยเป็ นที่ปรึ กษาอยูท่ ี่ศาลสู ง อันเป็ นศาลพิจารณาคดีเกี่ยวกับภาษี ณ เมืองรู องั (Rouen) เมื่อปี ค.ศ.1646 ได้รับแต่งตั้งเป็ นพระสังฆราชเกียรตินามแห่งเบริ ธ (Bérythe) ในปี ค.ศ. 1658 เป็ นประมุข มิสซัง (Vicaire Apostolique) โคชินจีน และเป็ นผูป้ กครอง (Administrateur) หลายมณฑลในประเทศจีน เมื่อปี ค.ศ. 1659 จึงเป็ นธรรมดาที่ถือว่าท่านเป็ นหัวหน้าของกลุ่มผูจ้ าริ กมาแพร่ ธรรมในถิ่นไกลกลุ่มนี้ ท่านทั้งสามมาถึงตะนาวศรี แล้ว ได้ไปพักที่บา้ นพระสงฆ์เยสุ อิตชาวโปรตุเกสองค์หนึ่ง ชื่อคุณพ่อการฺ โดโซ (Cardozo) และไม่กี่วนั ต่อมาได้ไปเยีย่ มพระภิกษุบางรู ป โดยใช้ล่ามสนทนากับพระภิกษุถึงเรื่ องที่เชื่อถือ หากท่าน ได้มุ่งหวังจะสอนพระภิกษุเหล่านั้นให้กลับใจ ก็เป็ นอันต้อง ผิดหวัง อีกทั้งได้เริ่ มเรี ยนรู้วา่ การพูดจาโต้แย้งกันนั้น เป็ นวิธีที่จะชักนําคนชาวตะวันออกให้มานับถือพระเป็ นเจ้าเที่ยงแท้ได้ แต่นอ้ ยคน มิชชันนารี ท้ งั สามเดินทางจากเมืองตะนาวศรี มุ่งสู่ อยุธยา (Juthia) หรื อกรุ งศรี อยุธยา (Ayuthia) อันเป็ นนคร หลวงแห่งพระราชอาณาจักรนี้ และมาถึงเมื่อวันที่ 22 สิ งหาคม ค.ศ. 1662 ท่านได้รับการปฏิสันถารให้อยูใ่ นบ้าน ของชาวโปรตุเกสคนหนึ่ง พร้อมกับมีหวังจะได้เตรี ยมตัวเดินทางไปยังโคชินจีนและตังเกี๋ย อันเป็ นประเทศที่ท่าน ได้รับมอบหมายให้ไปประกาศพระวรสาร แต่มิชา้ ก็ทราบว่ามิสซังทั้งสองที่มอบฝากเป็ นพิเศษให้ท่านดูแลนั้นกําลัง ถูกเบียดเบียนอย่างหนัก และไม่มีทางจะเดินทางเข้าไปได้อย่างเด็ดขาด ท่านจึงจําใจต้องคอยอยูท่ ี่กรุ งศรี อยุธยาให้ เหตุการณ์ดีข้ ึนเสี ยก่อน อันที่จริ งกรุ งสยามก็เอื้ออํานวยให้ท่านอยูไ่ ด้เป็ นเวลานานและอย่างสงบ

A s e

A l a

c i r to

s i H

iv h rc

e c io d rch

o e s

k o gk n a B f

1เกี่ยวกับมิชชันนารี สามองค์แรกนี้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ พระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต โปรดอ่าน "ประวัติทวั่ ไปแห่งมิสซังต่างประเทศ" โดย บาทหลวง อาเดรี ยง โลเน เล่ม 1, หน้า 30-255 2ความจริ งท่านเกิดที่เมืองลีซีเออ วันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1624 (ดู Pierre Lambert de la Motte par Henri de Frondeville) p. 7 (1)


2  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

พระราชอาณาจักรสยาม ในคริ สตศตวรรษที่ 17 กรุ งสยามเป็ นประเทศที่บรรดาพ่อค้าชาวต่างชาติเป็ นจํานวนมาก นัดแนะมาพบกัน ผูแ้ ทนของชนหลายชาติอาศัยอยูต่ ามเมืองที่สาํ คัญต่างๆ และตามชายฝั่งของกรุ งสยาม หมายความว่ากรุ งสยาม ต้อนรับทั้งชาวโปรตุเกส อังกฤษ ฮอลันดา สเปน เยอรมัน กรี ก อาร์เมเนีย และจีน ที่พากันมาแสวงหาโชคลาภ กรุ งสยามให้ที่พกั พิงแก่ คริ สตชนชาวญวน และญี่ปุ่น ที่ถูกการเบียดเบียนศาสนาขับไล่ออกนอกประเทศ และอยู่ ปะปนรวมกับคนต่างศาสนาที่เป็ นชนชาติเดียวกัน คนต่างชาติเหล่านี้จบั กลุ่มกันอยูใ่ นบางย่านของกรุ งศรี อยุธยา หรื อตามชานเมืองของนครนี้ สถานที่ที่เขารวมกันอยูน่ ้ นั เรี ยกว่า "ค่ าย" สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 แห่งพระราชวงศ์ปราสาททองนั้น เรารู้จกั กันดีกว่ามาก หรื อเกือบรู้จกั แต่อย่าง เดียวในพระนามว่าพระนารายณ์ขณะนั้นพระองค์ทรงครองราชสมบัติ อย่างสงบอยูใ่ นประเทศสยาม พระองค์ได้ ทรงสําเร็ จโทษพระเชษฐาและพระอนุชา3 และได้ทรงทําศึกจนมีชยั เหนือพระเจ้าอา ผูท้ รงแย่งชิงเอาราชสมบัติไป จากพระองค์4 พระนารายณ์น้ นั ทรงสนพระทัยทุกสิ่ งทุกอย่าง ทรงเป็ นมิตรกับชาวยุโรปที่พากันมาค้าขาย ทําให้ พระองค์ทรงรํ่ารวย พระองค์ทรงเป็ นนักการเมืองที่เชี่ยวชาญ แต่ทรงตกอยูใ่ ต้อิทธิพลของบุคคลคนหนึ่งจนเกินไป คือกองสฺ ตงั สฺ ฟอลคอน (Constance Phaulkon) ผูม้ ีชื่อเลื่องลืออยูใ่ นตํานานของพวกนักผจญภัย รัชสมัยของสมเด็จ พระนารายณ์เจริ ญรุ่ งเรื องก็จริ ง แต่จบลงด้วยความหายนะ

A s e

A l a

c i r to

s i H

iv h rc

e c io d rch

o e s

k o gk n a B f

3ต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสเขียนว่า "meurtrier de ses frères" หมายความว่าทรงสําเร็ จโทษเจ้าพี่เจ้าน้องร่ วมพระราชบิดามารดาเดียวกันหมด แต่ตาม ประวัติศาสตร์ไทยนั้น สมเด็จพระนารายณ์ทรงสําเร็ จโทษแต่เพียงพระเชษฐาต่างพระมารดา คือ เจ้าฟ้ าไชย ผูท้ รงรับมอบราชสมบัติจากพระ เจ้าปราสาททอง ด้วยทรงเห็นว่าเจ้าฟ้ าไชยนั้นประสู ตินอกราชสมบัติ และมิได้ร่วมพระชนนีเดียวกัน พระองค์ยงั ทรงมีพระอนุชาอีกสององค์ คือ เจ้าฟ้ าอภัยทศ กับเจ้าฟ้ าน้อย แต่พระองค์มิได้ทรงสําเร็ จโทษ เพียงแต่ให้จบั ขังไว้ตามคํากราบทูลยุยงของพระเพทราชาเท่านั้น นอกจากนั้น ตามพงศาวดารกรุ งเก่า ฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ ยังทรงมีพระอนุชาร่ วมพระมารดาอีก 2 องค์ คือ พระไตรภูวนาทิตยวงศ์ และพระองค์ทอง สองพระองค์น้ ีได้เป็ นขบถหมายแย่งชิงราชสมบัติ พระนารายณ์ทรงพระกรุ ณาไว้ชีวติ ถึง 2 ครั้ง เมื่อขบถครั้งที่สาม เจ้าชายทั้งสองถูกตัดสิ น ให้ใส่ แพหยวก แล้วพันลอยไปตามกระแสพระสมุทร การลงพระอาชญาในลักษณะเช่นนี้ จะกล่าวหาว่าพระนารายณ์ทรง "ฆาตกรรม" (meurtre) พระอนุ ชาก็เห็นจะไม่ถูกต้องนักกระมัง (ผูแ ้ ปล) (คัดมาจาก ตอนหนึ่งของบทความ จากหนังสื อนิตยสาร "ดิฉนั ") 4ตามประวัติศาสตร์ไทย พระศรี สุธรรมราชาธิราช พระเจ้าอาของสมเด็จพระนารายณ์ มิได้ทรงแย่งราชสมบัติจากพระนารายณ์ แต่สมเด็จพระ นารายณ์เองได้ทรงคบคิดกับพระศรี สุธรรมราชาธิราช จับเจ้าฟ้ าไชยสําเร็ จโทษ และยกพระศรี สุธรรมราชาธิราชขึ้นครองราชสมบัติ แต่ ภายหลังพระศรี สุธรรมราชาธิราชได้ทรงคิดจะทํามิดีมิร้ายต่อพระกนิษฐาของสมเด็จพระนารายณ์ สมเด็จพระนารายณ์จึงทรงยกทัพมาชิงราช สมบัติ และโปรดให้จบั พระศรี สุธรรมราชาธิราชสําเร็ จโทษเสี ย (ผูแ้ ปล)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม  33

พระศาสนาคาทอลิกในกรุงสยาม พระราชอาณาจักรสยามขณะนั้นมีคาทอลิกเป็ นจํานวนน้อยมาก มิชชันนารี พวกแรก ที่มาอยูใ่ นกรุ งสยาม และประกาศพระวรสาร โดยทํางานต่อเนื่องกันพอสมควรนั้น ดูเหมือนจะเป็ นพระสงฆ์ดอมินิกนั 2 องค์ คือ คุณพ่อเยโรม เดอ ลา ครัวซ์ (Jérome de la Croix) กับคุณพ่อเซบาสเตียน ดา กันโต (Sébastien da Canto) ซึ่งมาจาก มะละกา ในปี ค.ศ. 1555 5 ท่านทั้งสองถูกฆาตกรรมในกรุ งสยาม ท่านแรกเมื่อวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 1566 และ อีกท่านหนึ่งเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1569 6 พระสงฆ์ดอมินิกนั อีก 2 องค์ ได้เข้ามาทํางานสื บต่อจากท่านทั้งสอง และต่อมาก็ได้มี พระสงฆ์คณะ ฟรังซิ สกันและคณะเยสุ อิตเข้ามาสมทบด้วย พระสงฆ์คณะเยสุ อิตมาถึงในปี ค.ศ. 1609 พร้อมด้วยคุณพ่อบาร์เทเลอ มี เด เซแกรา7 (Barthélemy de Sequeyra) แม้จะมีใจเร่ าร้อนในการแพร่ ธรรม แต่ก็ทาํ งานในหมู่ชาวสยามไม่ได้ผล เลย และที่สุดก็พาํ นักอยูแ่ ต่ที่กรุ งศรี อยุธยา ปี ค.ศ. 1662 พระสงฆ์คาทอลิกที่อยูใ่ นกรุ งศรี อยุธยามีจาํ นวน 11 องค์ เป็ นเยสุ อิต 4 องค์ ดอมินิกนั 2 องค์ ฟรังซิ สกัน 2 องค์ กับพระสงฆ์ที่มิใช่นกั พรต (séculier) 3 องค์ นอกจากองค์หนึ่งหรื อสององค์เป็ นชาวสเปน แล้ว องค์อื่นๆ นอกนั้นล้วนเป็ นชาวโปรตุเกส ท่านคอยเอาใจใส่ ดูแลคนร่ วมชาติของท่านเกือบจะพวกเดียวเท่านั้น พระสงฆ์แต่ละคณะมีโบสถ์นอ้ ยเฉพาะคณะของตน แต่เปิ ดรับสัตบุรุษทัว่ ไป พระสงฆ์ ที่มิใช่นกั พรตก็มี โบสถ์นอ้ ยหลังหนึ่งเช่นเดียวกัน ชาวคาทอลิกซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นชาวยุโรปหรื อครึ่ งชาติน้ นั มีจาํ นวนราว 2,000 คน สภาพฝ่ ายวิญญาณของ กลุ่มคริ สตชนน้อยๆ ที่กรุ งศรี อยุธยานี้ มิชชันนารี ท้ งั สามที่มาถึงใหม่มีความเห็นว่า "แย่ มาก" ส่ วนสภาพฝ่ าย วิญญาณของบรรดาคนต่างศาสนาเล่า ก็ยงิ่ เลวร้ายกว่าอีก และไม่มีทีท่าแสดงว่าใกล้จะดีข้ ึน

e c io d rch

o e s

k o gk n a B f

งานแรกๆ ของพวกมิชชันนารี ชาวโปรตุเกสท A าตัวเป็ นศัตรู

s

e v i h

อันที่จริ ง พระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต กับพระสงฆ์สององค์ที่มาด้วย ไม่มีอาํ นาจปกครองแท้ๆ เหนือ พระราชอาณาจักรสยาม แต่ตามนัยแห่งอํานาจที่ได้รับ ท่านประกอบศาสนกิจต่างๆ ได้ระหว่างที่เดินทางจาก ประเทศฝรั่งเศสมายังมิสซังของท่าน ท่านได้ปฏิบตั ิเช่นนี้ในประเทศเปอรฺ เซียและประเทศอินเดียมาแล้วและ ก็ตดั สิ นใจจะปฏิบตั ิเช่น เดียวกันในกรุ งสยาม พร้อมๆ กับเตรี ยมตัวจะเดินทางไปประเทศญวนและจีนด้วย เพื่อชักนําพระพรของพระเป็ นเจ้าลงมายังงานของท่าน อีกทั้งเพื่อชุบตัวใหม่ในกิจปฏิบตั ิต่างๆ ของชีวติ นักบวช ซึ่งท่านบําเพ็ญไม่ได้เต็มที่ระหว่างที่เดินทางอย่างยากลําบากเป็ นเวลานานถึงสองปี ทั้งสามได้ทาํ การเข้า เงียบ 40 วัน เมื่อเข้าเงียบแล้ว ท่านได้ลงมือเรี ยนภาษาโปรตุเกส ซึ่ งจําเป็ นต้องรู้เพื่อสามารถติดต่อกิจธุระประจําวัน ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องเล็กหรื อเรื่ องใหญ่

t s i H

a c i or

rc A l

5ในปี ค.ศ. 1511 เมื่อตีเมืองมะละกาได้แล้ว อัลฟองโซ ดาลบูเคิร์ค (Alfonso d'Albuquerque) อุปราชโปรตุเกส ที่อินเดีย ได้ส่งทูตคณะหนึ่งมา กรุ งสยาม แต่ถึงแม้จะมีมิชชันนารี ติดตามทูตคณะนี้มาด้วย ก็เข้าใจว่าคงทําการ ประกาศพระวรสารไม่ได้ (ผูป้ ระพันธ์) 6บาทหลวงร็ อกโก แห่ งคณะรอยแผลศักดิ์สิทธิ์ ได้เขียนลงใน "แสงธรรมปริ ทศั น์" เล่มแรก แสดงหลักฐานว่าพระสงฆ์ ดอมินิกนั องค์เดียวได้ถูกฆาตกรรม และผูท้ ี่ทาํ การฆาตกรรมมิใช่คนไทย แต่เป็ นพวกแขกมุสลิม เมื่อเขียนประวัติพระศาสนจักรในประเทศไทยฉบับสมบูรณ์ จะได้บรรยายเรื่ องนี้ อย่าง ละเอียด (ผูแ้ ปล) 7จาก Notes Chronologiques sur les Missions Jésuits du Siam au 17e par J. Burnay เล่ม 1 หน้า 171 ปรากฏว่าพระสงฆ์เยสุ อิตองค์แรกมาถึงอยุธยาใน เดือนมีนาคม ค.ศ. 1607 (ไม่ใช่ ค.ศ. 1609) และชื่อบัลทาซารฺ เซแกรา (Balthazar Sequeira) ไม่ใช่ บาร์เทอเลอมี เซแกรา (Barthélemy Sequeyra) (ผูแ้ ปล)


4  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

พอเริ่ มพูดภาษานี้ได้ ทั้งสามท่านก็มองออกว่าชาวโปรตุเกสมีความรู้สึกภายในใจอย่างไร เขาแพร่ ขา่ วใส่ ความ กล่าวหาว่าท่านไม่มีอาํ นาจฝ่ ายวิญญาณแต่อย่างใด และประฌามว่าท่านเป็ นคนหลอกลวง ท่านยังทราบด้วยว่า เพิ่งมีคาํ บัญชามาจากกรุ งลิสบอนและเมืองกัว (Goa) สั่งให้จบั ท่าน หรื อมิฉะนั้นก็ขดั ขวางมิให้ท่านเข้าไปใน มิสซังและมิให้รับรู ้อาํ นาจของท่าน ก็เป็ นอันว่าศึกที่เริ่ มทํากันในยุโรปมาแล้ว บัดนี้มาทํากันต่อไปบนฝั่งแม่น้ าํ เจ้าพระยา ตั้งแต่เริ่ มที่มีการพูดถึงเรื่ องส่ งพระสังฆราชฝรั่งเศสมายังภาคตะวันออกไกลทีเดียว ประเทศโปรตุเกสนั้นหวงแหนยิง่ นักในสิ่ งที่เขาเรี ยกว่า "สิ ทธิ์ อุปถัมภ์ " (Patronage ภาษาโปรตุเกสเรี ยก Padroado) หมายถึงประมวลเอกสิ ทธิ์ ต่างๆ ที่ได้รับจากพระสันตะปาปา เขาอ้างว่าคนที่เป็ นชาติโปรตุเกสพวกเดียว เท่านั้นเป็ นพระสังฆราชในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ (Indes) หรื อภาคตะวันออกไกลได้ และโดยเหตุผลทางการเมือง และการค้ามากกว่าทางศาสนา เขาไม่ยอมให้ผแู ้ พร่ ธรรมจากประเทศของเรา (ฝรั่งเศส) ทํางานอยูใ่ กล้มิชชันนารี ของ เขา ชาวคาทอลิกโปรตุเกส ไม่วา่ จะเป็ นพระสังฆราช นักพรต หรื อสัตบุรุษ ล้วนมีความคิดเห็นในเรื่ องนี้อย่าง เดียวกับนักการเมือง เราจะไม่บรรยายเรื่ องนี้อย่างละเอียด จะขอกล่าวแต่เพียงว่า บรรดาพระสังฆราชชาวโปรตุเกส ได้เอาภูมิภาคต่างๆ ที่อยูใ่ กล้สังฆมณฑลของเขามาแบ่งกัน กล่าวคือ อาณาจักรพะโค (Pégou) และอังวะ (Ava) นั้น เขายืนยันว่าขึ้นกับเมืองซาน-โทเม (ในอินเดีย) ประเทศสยาม เขมร และญวนขึ้นกับเมืองมะละกา ส่ วนประเทศญี่ปุ่น กับจีนขึ้นกับเมืองมาเก๊า กรุ งโรมไม่เคยรับรู ้การแบ่งเขตปกครองเช่นนี้ ทั้งหนังสื อมอบอํานาจให้แก่บรรดาประมุข มิสซังชาว ฝรั่งเศสและมิชชันนารี ของท่านนั้น ก็ไม่เคยกล่าวแย้มถึงเรื่ องนี้ ฝ่ ายพระสังฆราชลังแบรต์น้ นั มัน่ ใจในสิ ทธิ์ จากพระ สันตะปาปาที่เป็ นผูส้ ่ งท่านมา ท่านคุน้ กับการโต้แย้งและการ แก้คดี โดยที่เคยมีอาชีพเป็ นทนายความที่ศาลเมืองรู องั มาก่อน ท่านเป็ นนักโต้คารมที่เฉี ยบขาด "เป็ นคนใจกล้ า แต่ ร้ ู จักโอนอ่ อนตามเวลา ทั้งมีกลเม็ดแพรวพราวอย่ างน่ า พิศวง" ตามที่พระ สังฆราชปัลลือเขียนไว้ ดังนั้น ท่านดูภายนอกไม่ทุกข์ร้อนอะไร และเพื่อที่จะป้ องกันตัว ท่านคอย ให้ถูกโจมตีโดยตรงก่อน ซึ่ งการถูกโจมตีเช่นนี้ไม่ชา้ จะต้องเกิดขึ้น เนื่องจากอารมณ์ของชาวโปรตุเกสคุกรุ่ นอยูแ่ ล้ว อันที่จริ งท่านมาถึงกรุ งศรี อยุธยาได้ไม่กี่สัปดาห์ คุณพ่อฟราโกโซ (Fragoso) ซึ่งเป็ น พระสงฆ์ดอมินิกนั และเป็ นเจ้าหน้าที่ในศาลคดีศาสนา (Inquisition) ที่เมืองกัว ได้เรี ยกท่านขึ้นศาล แต่ท่านไม่ยอมไป อุปสังฆราชแห่ง สํานักพระอัครสังฆราชที่เมืองกัว ก็เรี ยกตัว แต่ท่านก็ไม่ยอมไปเช่นเดียวกัน เพราะเหตุวา่ ประมุขมิสซังไม่ใช่คนใน บังคับของพระเจ้าแผ่นดินโปรตุเกส ทั้งไม่อยูใ่ นอํานาจปกครองของพระอัครสังฆราชเมืองกัว ท่านจึงไม่ตอ้ งปฏิบตั ิ ตามพระราชโองการของพระเจ้าแผ่นดิน และคําบัญชาของพระอัครสังฆราช ตลอดจนคําสั่งของผูแ้ ทนของท่านทั้ง สอง แม้เขาจะอ้างว่า "ปฏิ บัติการโดยมีอาํ นาจและความชอบธรรม" ก็ตามที อย่างไรก็ดี เพื่อเห็นแก่ความสงบสุ ข ท่านยอมแสดงหนังสื อมอบอํานาจแก่ท่านให้อุปสังฆราชดู "ในฐานะเป็ นมิตรกัน" อุปสังฆราชเห็นแล้วกล่าวว่ามี ความพอใจ ในขณะเดียวกันพระสังฆราชลังแบรต์มีความคิดอ่านรอบคอบอย่างน่าสรรเสริ ญ ท่านได้มีหนังสื อถึง พระอัครสังฆราชเมืองมะนิลา ข้าหลวงประเทศฟิ ลิปปิ นส์ และนายพลแห่งบริ ษทั ฮอลันดาที่เมืองปัตตาเวีย 8 และ รองเจ้าคณะแขวงเยสุ อิตที่เมืองมาเก๊า เพื่อแจ้งให้ท่านเหล่านั้นทราบถึงเรื่ องที่พระสันตะสํานักส่ งประมุขมิสซังมา อีกทั้งเพื่อขอความคุม้ ครองจากท่านเหล่านั้นด้วย แต่วธิ ีปฏิบตั ิเช่นนี้ ถึงแม้จะแสดงอัธยาศัยไมตรี อนั ดียงิ่ ก็มิได้ลด ความเกลียดชังของชาวโปรตุเกสให้นอ้ ยลง เขากลับแสดงความหยาบคายหนักมือยิง่ ขึ้น บังคับพระสังฆราชและ พระสงฆ์ฝรั่งเศสให้ออกจากค่ายของเขาไป

A s e

A l a

c i r to

s i H

iv h rc

e c io d rch

8ปัจจุบนั คือเมืองจาการ์ตา ในประเทศอินโดนีเซีย (เดิมเรี ยกประเทศชวา) (ผูแ้ ปล)

o e s

k o gk n a B f


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม  53

พวกมิชชันนารีไปอยู่กบั ชาวฮอลันดาในค่ ายญวน เมื่อถูกชาวคาทอลิกที่ไม่เข้าร่ องเข้ารอยเหล่านั้นขับไล่ พวกมิชชันนารี ฝรั่งเศสได้ไปขอพักอาศัยอยูท่ ี่คลัง สิ นค้า (factorerie) ของชาวฮอลันดา หัวหน้าคลังสิ นค้านี้ แม้เป็ นโปรเตสแตนต์ ก็ได้แสดงความเห็นใจท่านอย่าง แท้จริ ง ที่คลังสิ นค้าดังกล่าว ท่านได้พบคริ สตังสองคน คนหนึ่งเป็ นจีน และอีกคนหนึ่งเป็ นญวน ทั้งสองขันอาสาจะ สอนภาษาของแต่ละคนให้ ซึ่ งท่านก็ยนิ ดีรับด้วยความรู้คุณ ท่านทราบจากคริ สตังทั้งสองว่า มีชาวญวนและชาวญี่ปุ่นคาทอลิกอาศัยอยูท่ ี่กรุ งศรี อยุธยา ท่านจึงไปเยีย่ ม เขา และได้รับการต้อนรับด้วยความชื่นชมจากใจจริ ง ที่แสดงออกมาด้วยเสี ยงเอ็ดอึง นับแต่บดั นั้น มิชชันนารี ผลัด กันไปหาพวกเขาสัปดาห์ละครั้ง เพื่อสอนคําสอนหรื อประกอบพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ ให้ ในวันพระคริ สตสมภพ ปี ค.ศ.1662 พระสังฆราชลังแบรต์ ได้ประกอบพิธีมิสซาเที่ยงคืนในค่ายของชาวญวน และเทศน์ส้ ันๆ เป็ นภาษา โปรตุเกส โดยขอให้ล่ามคนหนึ่งแปลเป็ นภาษาไทย

พระสังฆราชลังแบรต์ เดินทางไปประเทศจีน ท่ านกลับมากรุงศรีอยุธยา

k o ขณะที่ปฏิบตั ิงานเหล่านี้ พระสังฆราชลังแบรต์ก็เตรี ยมตัวเดินทางไปประเทศจีน เพราะท่ gkานได้รับ n a1663 พร้อมกับ มอบหมายให้ดูแลหลายมณฑลในประเทศนั้น ท่านออกเดินทางวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. B f กพายุ เรืออับปาง และ คุณพ่อเดดีเอร์ ให้คุณพ่อเดอบูรฌฺ อยูท่ ี่กรุ งศรี อยุธยา แต่ท่านทั้งสองเดินทางไปไม่ได้ เพราะถู o เมื่อขึ้นฝั่งได้ท่านก็เดินทางกลับ มาถึงกรุ งศรี อยุธยาเมื่อวันที่ 15 กันยายนปี เดียs วกัe น แล้วไปอยูใ่ นค่ายของชาวญวน e c รวมกับคุณพ่อเดอบูรฌฺ ที่เพิ่งย้ายเข้าไปอยู่ o i d h c พระสั งฆราชลังแบรต์ ถูกชาวโปรตุเกสรุAกrราน ท่ านขอลาออกจากตาแหน่ ง ives การที่ท่านเดินทางกลับมานี ้ hทําให้ชาวโปรตุเกสขุ่นเคืองใจมาก หลายคนได้วางแผนจะกําจัดท่านเสี ย c r A งลิสบอนมาถึงใหม่ๆ สัญญาจะลักพาตัวท่านไป แต่ทาํ การไม่สาํ เร็จ เพราะฝี มือ ฮีดลั โก 9 คนหนึ่งเพิ่งเดิaนlทางจากกรุ c ซึ่งพอทราบว่าพระสังฆราชถูกจู่โจม ก็วง่ิ ถลันเข้าไปในกระท่อมที่ใช้เป็ นสํานักพระสังฆราช i ของหัวหน้าชาวญวน r to ราว 12 คน ที่แต่งชุดออกรบคือศีรษะสวมหมวกขนม้า มือถือดาบ แขนปล่อยไว้เปลือยเปล่า พร้อมด้iวs ยชายฉกรรจ์ H ขับไล่ฮีดลั โกหนีเตลิดไป พระสังฆราชชี้แจงให้กรุ งโรมทราบถึงสถานการณ์ยงุ่ ยากลําบากและน่าสลดใจนี้ และเพื่อช่วยแก้ไข สถานการณ์ดงั กล่าวได้ง่ายขึ้น ท่านจึงขอลาออกจากตําแหน่ง แต่กรุ งโรมไม่ยอมรับ โดยหนังสื อลง วันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1665

9"ฮีดลั โก" (Hidalgo) เป็ นภาษาสเปน แปลว่า "ผูด้ ี, ผูม้ ีสกุล" คํานี้ในสมัยอยุธยานํามาใช้ในภาษาไทยโดยเขียนทับศัพท์ ตามภาษาโปรตุเกส แต่อ่านเพี้ยนเป็ น "ผีดาวู" และใช้มากในสมุดบันทึก 68 หน้าของโกษาปาน ที่พบ ณ สํานักคณะมิสซังต่างประเทศ ณ กรุ งปารี ส (ผูแ้ ปล)

“Fidalgo”


6  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

ส่ งคุณพ่ อเดอบูรฌฺไปกรุงโรม อันที่จริ ง การที่พระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต ขอลาออกจากตําแหน่งนี้ ใช่จะเป็ นการบ่งบอกถึง ความท้อถอย หรื อเป็ นการแสดงความปรารถนาจะละทิ้งงานแพร่ ธรรมก็หาไม่ เพราะในขณะเดียวกันท่านก็ขอ อํานาจเพิม่ ขึ้นสําหรับประมุขมิสซัง คือ ขออํานาจปกครองเหนือประเทศมอญ ซึ่ งมีคนบอกว่าสอนให้รู้พระธรรม ง่าย และเหนือประเทศเขมรกับประเทศสยาม ซึ่ งตั้งอยูต่ รงปากทางเข้าประเทศญวนและจีน ทั้งยอมให้ชาวคาทอลิก และชาวต่างชาติ ถือศาสนาของตนได้ ท่านจึงเห็นว่าน่าจะเอื้ออํานวยให้ต้ งั ศูนย์ของมิสซังต่างๆ ในประเทศนี้ได้ 10 โดยที่เห็นว่าหนังสื อหลายฉบับของท่าน อาจจะต้องการให้มีการอธิบายชี้แจงโดยบุคคลหนึ่งซึ่ งได้เห็นเหตุ การณ์ต่างๆ โดยใกล้ชิด พระสังฆราชลังแบรต์จึงส่ งคุณพ่อเดอบูรฌฺ ไปกรุ งโรมคุณพ่อเดอบูรฌฺ ออกเดินทางวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1663 หลังจากได้ประกอบพิธีลา้ งบาปให้แก่ชาวญวน 3 คน ซึ่ งคนแรกมีท่าทีแสดงว่า "เพียบพร้ อมไป ด้ วยพระหรรษทาน" และได้รับชื่อนักบุญว่า "โยเซฟ"

การล้างบาปเด็ก - คนต่ างศาสนากลับใจ

k o gk n a B f

พระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต และคุณพ่อเดดีเอร์ทาํ งานของคุณพ่อเดอบูรฌฺ ต่อไปในค่ายของชาวญวน วันหนึ่งมีคนนําเด็กใกล้จะตายมาหา พระสังฆราชลังแบรต์ประกอบพิธีลา้ งบาปให้ แล้วอ่านพระวรสารของ นักบุญยอห์นตอนที่อ่านท้ายมิสซา11 และครั้นอ่านถึงคําว่า "และพระวจนาถได้ ทรงรั บเอากาย" เด็กคนนั้นก็ลืมตา ยิม้ และมีอาการแสดงว่าหายสนิท บิดามารดาของเด็กซึ้งใจในความรัก ซึ่ งดูมีอิทธิฤทธิ์ถึงปานฉะนี้ ก็ขอเข้า ศาสนาในทันที ในที่น้ ีสมควรจะกล่าวยํ้าตามที่ผแู ้ ต่งจดหมายเหตุของมิสซัง (Journal de la Mission) เคยเขียนไว้วา่ "เมื่อพระเป็ นเจ้ าทรงพอพระทัยจะปฏิ บัติการเช่ นนี ้ การกลับใจเปลี่ยนศาสนา ก็เป็ นเรื่ องง่ ายๆ" ข้อคิดนี้ก็ถูก แต่นี่ มิใช่วธิ ี ที่พระเป็ นเจ้าทรงปฏิบตั ิตามปรกติ แต่จะอย่างไร ก็ตาม พระเป็ นเจ้าต้องทรงช่วยในการกลับใจ เพราะผูแ้ พร่ ธรรม ถ้าอาศัยกําลังของตนฝ่ ายเดียวแล้ว จะทําให้เกิดการกลับใจไม่ได้ พระสังฆราชแห่งเบริ ธรู้ซ้ ึ งในข้อนี้ เพราะท่านเขียนไว้วา่ “เรามีส่วนช่ วยให้ เกิดการกลับใจน้ อยมาก จนถ้ าจะพูดกันจริ งๆ แล้ ว เราเป็ นแต่ เพียงผู้ชมดู ฤทธิ์ แห่ งพระหรรษทานของพระเยซู คริ สตเจ้ า” และเพื่อพิสูจน์คาํ ยืนยันนี้ ซึ่ งไม่มีมิชชันนารี คนใดจะสงสัย ท่านเล่า ว่า วันหนึ่งท่านเดินผ่านบ้านหลังหนึ่ง เจ้าของบ้านสองคนกําลังยืนอยูห่ น้าธรณี ประตู ท่านก็ให้คนไปถามว่าเขา อยากเป็ นคริ สตังไหม เขาตอบว่า "ที่ถามนั้น เราไม่ ร้ ู ว่าเรื่ องอะไร แต่ เราทั้งสองปรารถนาอย่ างเร่ าร้ อนทีเดียว" และ หลังจากการสนทนาที่เริ่ มต้นดังนี้ สองสามีภรรยาก็ได้กลับใจมาเป็ นคริ สตัง ต่อมาไม่นานพวกมิชชันนารี ได้ประกอบพิธีลา้ งบาปให้อดีตพระภิกษุรูปหนึ่ง แม้การ กลับใจของบุคคลผู้ หนึ่งที่นบั ถือพระพุทธเจ้ามาแต่เยาว์วยั จะเป็ นเรื่ องประหลาดสักเพียงใด เรื่ องนี้ก็มิได้เป็ นข่าวครึ กโครมในกรุ งศรี อยุธยาแต่อย่างใด เพื่อชักนําพระหรรษทานของพระเป็ นเจ้า ซึ่ งจําเป็ นเพื่อให้การปฏิบตั ิงานเกิดผลอย่างอุดม พวกมิชชันนารี ภาวนามากๆ และอดอาหารบ่อยๆ เขามีความเชื่อมัน่ อย่างแน่นแฟ้ นว่า เพื่อจะทํางานแพร่ ธรรมได้ผล ความขยัน ขันแข็งก็ดี ความฉลาดรอบคอบก็ดี ความชํานิชาํ นาญและวิธีการต่างๆ ของมนุษย์โดยทัว่ ๆ ไปก็ดี ยังด้อยกว่าวิธีการ ต่างๆ แบบเหนือธรรมชาติ "ซึ่ งวิธีการสําคัญตามที่เขากล่ าวก็คือ ทําอะไรทุกอย่ างให้ ถกู ต้ องตามกระแสเรี ยกของ เรา"

A s e

A l a

c i r to

s i H

iv h rc

e c io d rch

o e s

10พระสังฆราชปัลลือก็มีความเห็นเช่นเดียวกัน (จดหมายของพระสังฆราชปัลลือ เล่ม 1 หน้า 13) 11ในสมัยก่อนการประชุมสังคายนาวาติกนั ที่ 2 พระสงฆ์สวดบทแรกของพระวรสาร โดยนักบุญยอห์น ในตอนท้ายมิสซา (ผูแ้ ปล)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม  73

พวกมิ ชชันนารี ดูจะเคร่ งครั ดพอสมควรในการอนุ ญาตให้คนต่างศาสนารับศีลล้างบาป ถ้าผ่อนปรน สักหน่อย เขาคงจะประกอบพิธีลา้ งบาปให้แก่คนได้มากกว่านั้น เขาเล่าว่า "ถ้ าเรายอมโอนอ่ อนตามความปรารถนา อย่ างที่ สุดของคนซื่ อเหล่ านั้น เราก็คงจะประกอบพิธีล้างบาปให้ เขา หลังจากสอนคําสอนเพียงสองหรื อสามครั้ ง " แต่พวกมิชชันนารี ทราบแล้วว่า "ในถิ่นแถบนีโ้ ดยเฉพาะลู่ทางที่ จะกลับไปหาความชั่ วและการกราบไหว้ รูปปฏิ มา นั้น เปิ ดอยู่เสมอ" เพราะฉะนั้นเขาจึงดําเนินการอย่างช้าๆ และอย่างรอบคอบสุ ขมุ เช่นเดียวกับมิชชันนารี ทว่ั ไปในสมัยนั้น มิชชันนารี ของเรา (ฝรั่งเศส) ก็นิยมชมชอบคุณธรรม ความบริ สุทธิ์ ผุดผ่อง และความซื่ อของผูก้ ลับใจใหม่ กล่าวคือ เมื่อรับศีลล้างบาป ได้หลายเดือนแล้ว เขายังไม่รู้สึกตัวว่าได้ทาํ อะไรผิด "บ่ อยครั้ งเวลาเขาสารภาพบาป เราไม่ พบความผิดอะไรพอที่จะถือเป็ นบาปต้ องอภัยให้ " เราไม่ปฏิเสธ ว่าเรื่ องนี้มีจริ ง แต่คิดว่าที่มีน้ นั ก็มีโดยเป็ นข้อยกเว้น นอกจากนั้นยังต้องคํานึงถึงข้อที่วา่ ผูก้ ลับใจใหม่อาจพิจารณา มโนธรรม อย่างค่อนข้างจะผิวเผินไม่ละเอียดพอด้วยก็ได้

เขตวัดสองแห่ ง

k o gk n a B f

ปลายปี ค.ศ. 1663 มิชชันนารี นบั คริ สตังเก่าใหม่ได้ 150 คน เขาจึงจัดให้มีเขตวัด (paroisse)เล็กๆ ขึ้นสอง แห่ง แห่งหนึ่งสําหรับชาวญวน อีกแห่งหนึ่งสําหรับชาวญี่ปุ่น ในหมู่บา้ นของชาวญวน เขาสร้างโรงเรี ยนหลังหนึ่ง กับโรงสวดหลังหนึ่ง ซึ่ งเขาอุทิศถวายแด่นกั บุญโยเซฟ เขายังติดต่อกับชาวลาวกลุ่มหนึ่ง ซึ่ งคริ สตังที่เป็ นคนใช้ของ ขุนนางผูห้ นึ่งขันอาสาจะสอนคําสอนให้

o e s

e c io d h ลือ พระสังฆราชแห่งเฮลิโอโปลิส ประมุขมิสซังตังเกี๋ย วันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1664 พระสังฆราชปัrลc ผูป้ กครองมิสซังส่ วนหนึ่งของประเทศจีน ทัs ผูต้ ้ งั คณะมิสซังต่างประเทศ คนสําคัญร่ วมกับพระสังฆราช ้ งเป็ นA e ลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต เดินทางมาถึงกรุ งศรี ivอยุธยา ผูท้ ี่เดินทางมาพร้อมกับท่านคือ มิชชันนารีที่เป็ นพระสงฆ์ 3 องค์ h ได้แก่ คุณพ่อลาโน (Laneau), คุrณc พ่อแฮงกฺ (Hainques) และคุณพ่อแบร็ งโด (Brindeau) กับผูช้ ่วยที่เป็ นฆราวาสคน A หนึ่งชื่อเดอชาเมอ ซ็อa ง-ฟัlวซี (de Chameson - Foissy) 12 คุณพ่อลาโนองค์เดียวเท่านั้นจะอยูใ่ นกรุ งสยามแทน iเcอร์ที่จะไปอยูป่ ระเทศตังเกี๋ย คุณพ่อแฮงกฺจะไปทํางานในประเทศโคชินจีน คุณพ่อแบร็งโด r คุณพ่o อเดดี เมื่ออยูส่ iักsพัtกแล้วจะไปประเทศจีน แต่ก็ถูกชาวโปรตุเกสขัดขวางจนไปไม่ได้ ส่ วนนายเดอ ชาเมอซ็อง นั้นจะอยูก่ บั H พระสั งฆราชปัลลือถึงกรุงสยาม การตัดสิ นใจที่มีคุณประโยชน์ ทั่วๆ ไป

พระสังฆราชปั ลลือและจะติดตามท่านเดินทางไปในที่ต่างๆ การที่พระสังฆราชปั ลลือมาพักอยูท่ ี่กรุ งศรี อยุธยาเช่นนี้ ทําให้พระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต มีกาํ ลังใจ เพิ่มขึ้นเป็ นอันมาก และก็เป็ นที่รู้สึกได้ในทันที เรื่ องนี้เห็นได้ท้ งั ในการพิจารณาปัญหาทัว่ ไปและในการตัดสิ นใจ เรื่ องสําคัญที่เกี่ยวกับการปฏิบตั ิ ก่อนจะออกจากประเทศฝรั่งเศส พระสังฆราชทั้งสองไม่มีความรู้เรื่ องมิสซัง ทั้งไม่มีประสบการณ์เกี่ยวกับ ชีวติ แพร่ ธรรม จึงมิได้ต้ งั กฎความประพฤติสาํ หรับตนเอง ทั้งมิได้วางไว้สาํ หรับเพื่อนร่ วมงาน บัดนี้ท่านทั้งสองมี ความรู ้สึกดีข้ ึน จึงเริ่ มอยูใ่ นฐานะที่จะรวมข้อสังเกต และหาข้อสรุ ปได้

12ประวัติของมิชชันนารี ฆราวาสผูน้ ้ ีมีเล่าอย่างละเอียดในหนังสื อ "จดหมายเหตุการแพร่ ศาสนาและการเดินทางของบรรดาพระสังฆราชประมุขมิสซังและของพระสงฆ์ในปกครอง ในปี ค.ศ. 1672-1675" ของกรมศิลปากร แปลโดย ปอล ซาเวียร์ ตั้งแต่หน้า 71 ถึงหน้า 112 (ผูแ้ ปล)


8  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

ท่านทั้งสองจึงเห็นควรจะรวบรวมกฎทัว่ ๆ ไป ที่เหมาะสําหรับแนวทางปฏิบตั ิของผูแ้ พร่ พระวรสาร ท่าน แจ้งความคิดข้อนี้แก่บรรดาพระสงฆ์ของท่านคือ คุณพ่อเดดีเอร์ , คุณพ่อ ลาโน, คุณพ่อแฮงกฺ และคุณพ่อแบร็ งโด เพื่อให้กฎเหล่านี้ต้ งั ขึ้นด้วยความเห็นชอบของส่ วนรวม แต่ละคนจะได้ถือง่ายขึ้น เพราะเป็ นกฎที่ตนเองได้เสนอหรื อ อย่างน้อยพิจารณาเห็นชอบด้วย จากการปรึ กษาหารื อของมิชชันนารี เหล่านี้ จึงมีหนังสื อเล็ก ๆ เล่มหนึ่งออกมาชื่อ "คําแนะสอนเพื่อปฏิ บัติหน้ าที่แพร่ ธรรมอย่ างถูกต้ อง มีประโยชน์ ยิ่งสําหรั บมิสซังจีน, ตังเกี๋ย, โคชิ นจีน และสยาม แต่ งโดยบรรดามิชชันนารี แห่ งสมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่ อ ซึ่ งประชุมกัน ณ กรุ งศรี อยุธยา นครหลวงแห่ ง กรุ งสยาม" ความคิดที่เป็ นหลักใหญ่สามประการและเน้นหนักในหนังสื อนี้คือ การช่วยสัตบุรุษให้รอดเป็ นการทําให้ ผูแ้ พร่ ธรรมศักดิ์สิทธิ์ , การสอนคนต่างศาสนาให้กลับใจ และการจัดตั้งศาสนจักรขึ้น เราได้ศึกษาความคิดหลักใหญ่ สามประการนี้อย่างละเอียด ทั้งในลักษณะรวมกันและในลักษณะแยกกันแล้วในหนังสื อ "ประวัติทั่วไปของคณะ มิสซังต่ างประเทศ" (Histoire générale de la Société des Missions-Etrangères) หนังสื อดังกล่าวมีความสัมพันธ์ กับประวัติทวั่ ไปเล่มนี้มากกว่ามีกบั ประวัติมิสซังกรุ งสยามเราจะไม่นาํ เรื่ องที่กล่าวแล้วมากล่าวซํ้าอีก แต่เพราะเหตุ ที่หนังสื อดังกล่าวเขียนขึ้นในกรุ งสยาม จึงต้องพูดถึงในที่น้ ีบา้ งเป็ นอย่างน้อย อนึ่งหนังสื อเล่มนี้ เมื่อเสนอต่อ กรุ ง โรมก็ได้รับการรับรองเห็นชอบ สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อได้จดั การให้พิมพ์ใน ปี ค.ศ.1669 และนับ แต่น้ นั มาได้มีการพิมพ์ข้ ึนอีกหลายครั้ง

k o gk n a B ต่อมาได้มีการพิจารณาและใช้มาตราการประการหนึ่ง ซึ่งเป็ นเรื่ องจําเป็ นในการปกครองคณะทางด้ านวัตถุ f o 13e ซึ่ งจําเป็ นต้องอยูใ่ นกรุ งสยาม ปัจจัย มาตราการประการนั้นก็คือ แต่งตั้งเหรัญญิกใหญ่ (procureur général) s e รับในประเทศฝรั่งเศส และส่งมาให้ มีหน้าที่จดั ส่ งธรรมทูตและใช้วตั ถุปัจจัยซึ่งสามเณราลัยมิสซังต่างประเทศจะได้ c io มิสซังต่างๆ การจัดให้มีเหรัญญิกใหญ่น้ ีจะดําเนินการให้ดียงิ่ ๆhขึd ้ นเป็ นลําดับ ทั้งจะกลายเป็ นองค์ประกอบที่สาํ คัญ c ที่สุดอย่างหนึ่งในการบริ หารคณะมิสซังต่างประเทศ นอกจากมี ความสําคัญดังกล่าวแล้วประเพณี มีเหรัญญิกใหญ่ r A ตราบเท่าที่ดาํ รงอยูใ่ นกรุ งสยามเป็ นเวลาราว 35 s ปี นั้น ยังทําให้เกิดลักษณะประการหนึ่งอันเป็ นลักษณะพิเศษเฉพาะ e สําหรับมิสซังกรุ งสยามนี้ ซึ่งกลายเป็ นhศูiนv ย์ปกครอง มิสซังต่างๆ ของคณะ เป็ นสถานที่นดั มาพบปะของธรรมทูตที่ สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศ จัrดc ส่ งมายังภาคตะวันออกไกล เป็ นสถานที่ที่เขามาพักอยูน่ านบ้าง ชัว่ ครู่ ชว่ั ยามบ้าง A เพราะคนที่อายุนอ้ ยก็มa าเรีlยนเทววิทยาจบที่นี่ และรับการบวชเป็ นพระสงฆ์ ส่ วนคนอื่นนอกนั้นก็มาเรี ยนภาษาต่างๆ c และเตรี ยมตัวoณrทีi่น้ ีเช่นเดียวกันเพื่อไปทํางานแพร่ ธรรมในที่ต่างๆ ต่อไป t s การจัดตั้งอีกประการหนึ่งยิง่ ทําให้ลกั ษณะพิเศษของมิสซังกรุ งสยามเห็นเด่นชัดยิง่ ขึ้น การจัดตั้งนั้นคือ i H ตั้งสามเณราลัย หรื อ วิทยาลัยกลาง (Collège Général) 14

13อันที่จริ งคํา "procureur" ในภาษาฝรั่งเศสแปลว่า "ผูจ้ ดั หาข้าวของ ผูด้ ูแลผลประโยชน์ของคณะนักบวช" ในมิสซังหนึ่งหรื อหลายมิสซัง แต่โดยที่ไม่มีคาํ ไทยตรงกับหน้าที่น้ ี จึงอนุโลมใช้คาํ "เหรัญญิก" (ผูแ้ ปล) 14ที่แปล Collège Général ว่า "วิทยาลัยกลาง" นั้น ก็เพราะเป็ นสถานที่ส่วนกลางที่มิสซังต่างๆ ส่ งสามเณรแต่ละท้องถิ่นมาเพื่อเรี ยนวิชาต่างๆ เตรี ยมตัว เป็ นพระสงฆ์ (ผูแ้ ปล)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม  93

ได้มีการส่ งประมุขมิสซังมายังภาคตะวันออกไกลแล้ว และคณะมิสซังต่างประเทศก็ได้ต้ งั ขึ้นมาเพื่อ จุดหมายที่กาํ หนดไว้อย่างชัดแจ้ง คือ ดําเนิ นการให้มีพระสงฆ์พ้ืนเมือง แต่ก่อนที่จะบวชใครเป็ นพระสงฆ์ เราจําเป็ นต้องอบรมเขา จึงจําเป็ นต้องมีสามเณราลัยสําหรับการอบรมดังกล่าว กรุ งโรมเคยพูดและกล่าวยํ้าเรื่ องนี้ หลายครั้ง ทั้งเคยให้กฎชัดเจนเกี่ยวกับเรื่ องสําคัญดังกล่าวด้วย สามเณราลัยนั้น ถ้าอยากตั้งขึ้นมาให้ดี ปกครองง่าย และหาคนมาเข้าง่ าย อีกทั้งสามารถบังเกิ ดผลทุกอย่างที่มุ่งหวัง ก็จาํ เป็ นต้องมีเสถียรภาพและความเป็ นอิสระ พระราช อาณาจักรสยามขณะนั้น มีการปกครองที่ผอ่ นปรนในเรื่ องถือศาสนาและการเมืองอย่าง กว้างขวาง จึงดู เหมือนมีท้ งั เสถียรภาพและความเป็ นอิสระที่จะให้แก่สามเณราลัยได้ท้ งั สองอย่าง คิดกันว่าจะรับสามเณรจากทุกมิสซังที่อยูใ่ นความดูแลของประมุขมิสซังเข้าในสํานักนี้ คือ ชาวโคชินจีน, ตังเกี๋ย, จีน, มอญ และสยาม สํานักนี้ ตามที่พระสังฆราชปั ลลือกล่าวเป็ นประหนึ่ ง "ที่เพาะชาพันธุ์ไม้ สาหรั บทุก มิสซั งของเรา" ในบางโอกาสสามเณราลัยก็จะต้องเปิ ดรับคนที่มาจากมิสซังและสังฆมณฑลของคณะอื่น เพราะ ฉะนั้นที่สามเณราลัยแห่งนี้จึงเคยมี ชาวมะนิลา สเปน และแม้แต่ชาวโปรตุเกสด้วย มาตราการเหล่านี้ซ่ ึ งเกี่ยวเฉพาะคณะมิสซังต่างประเทศและพระสงฆ์ของคณะนั้น ยังไม่เพียงพอสําหรับจัด ให้มิสซังต่างๆ ในภาคตะวันออกไกลมีความเป็ นระเบียบตามที่ประมุขมิสซังทั้งสองปรารถนา ความเป็ นระเบียบ เรี ยบร้อยจะเกิดขึ้นได้ก็ตอ้ งให้พระสันตะปาปาทรงเข้าสอดแทรก พระสังฆราชปัลลือมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ สถานการณ์ทว่ั ไปเช่นเดียวกับพระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต ที่ได้ส่งคุณพ่อเดอบูรฌฺ ไปยังกรุ งโรม ดังนั้นท่าน จึงตัดสิ นใจจะไปชี้แจงสถานการณ์แก่สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อด้วยตนเอง แล้วท่านก็ได้ออกเดินทางกลับไป ยุโรปเมื่อวันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 1665

สิ ทธิอุปถัมภ์ ของชาวโปรตุเกส

e c io d rch

o e s

k o gk n a B f

A s e

ในบรรดาปั ญหาต่างๆ ที่ตอ้ งพิจารณากันนั้น ปัญหาเรื่ องสิ ทธิอุปถัมภ์ของพระเจ้าแผ่นดินโปรตุเกสจะต้อง กลายเป็ นเรื่ องร้ายแรงในกรุ งสยามระหว่างที่พระสังฆราชปัลลือไม่อยูเ่ ราได้เห็นแล้วว่าชาวโปรตุเกสขัดขวาง พระสังฆราชลังแบรต์ และเขาก็ยงั ขัดขวางต่อไปอย่างรุ นแรง แม้พระสังฆราชจะอดกลั้น ท่านอดกลั้นเช่นนี้ก็ เพราะท่านเองก็มีความสุ ขมุ และทําไปตามคําแนะนําของคุณพ่อกาซิล (Gazil) ซึ่งเป็ นคณาจารย์15 ผูห้ นึ่งใน สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศแห่งกรุ งปารี ส ผูเ้ ตือนท่านว่า "อย่ าคิดมุ่งเรื่ องที่เป็ นไปไม่ ได้ โดยพยายามจะแก้ ไข เรื่ องที่ผิดเสี ยทุกอย่ าง" พระสังฆราชลังแบรต์ตอ้ งต่อสู้แบบทําสงครามแท้ๆ ทีเดียว เรายอมเชื่อว่าพวกนักพรตที่ทาํ สงครามกับพระสังฆราชลังแบรต์น้ นั มีความสุ จริ ตใจจริ งๆ ถ้าใครเคยพบ เห็นคนที่มีเจตนาดีจริ งๆ แต่มีอคติและตัณหาแบบตาบอดมากๆ ซึ่งประวัติศาสตร์ที่เราศึกษามาก็ยอมรับว่ามีคน เช่นนี้ เขาก็ยอ่ มเชื่อเรื่ องความสุ จริ ตใจได้ง่ายๆ การที่อา้ งว่ามีความสุ จริ ตใจนี้เป็ นการแก้ตวั แต่การแก้ตวั นี้ เราเห็น ว่าไม่หนักหนาถึงกับต้องเล่าเรื่ องข้อพิพาทต่างๆ กับประมุขมิสซังสององค์แรกและบรรดามิชชันนารี ฝรั่งเศสอย่าง ละเอียด เราไม่คิดจะเผยแพร่ เอกสารที่สาํ คัญๆ และมีมากมาย ซึ่ งแผนกเก็บเอกสารของเรามีอยูเ่ กี่ยวกับเรื่ องนี้ดว้ ย ซํ้าไป แต่เราต้องรวบรวมสรุ ปพฤติการณ์ต่างๆ ซึ่ งถ้าเราละเว้นไม่กล่าวถึงเสี ยเลย ก็จะทําให้ประวัติของมิสซัง ส่ วนหนึ่งเป็ นที่เข้าใจไม่ได้ เราจะทําอย่างสั้นๆ ที่สุดเท่าที่จะทําได้

A l a

c i r to

s i H

iv h rc

15คณะมิสซังต่างประเทศแห่ งกรุ งปารี ส เมื่อแรกตั้งขึ้นไม่มีอธิ การ หรื ออธิ การใหญ่ มีแต่พระสงฆ์กลุ่มหนึ่งสอนและ ปกครองสามเณราลัย เรี ยกว่า "Directeurs" ในประชุมพงศาวดารทัว่ ๆ ไป แปลคํานี้ วา่ "ผูอ ้ าํ นวยการ" ซึ่งเห็นว่าไม่ถูก เพราะมีหลายคน ในคําแปลนี้ แปลคํา "Directeur" ว่า "คณาจารย์" ในความหมายว่า "อาจารย์ของหมู่คณะ" ซึ่ งเห็นว่าใกล้เคียงมาก (โปรดดูพจนานุกรมใหม่ของราชบัณฑิตยสถาน) ไม่ใช่ในความหมายว่า "คณาจารย์" เหมือนกับคํา "คณาธิการ" ไม่มีความหมายว่า "คณะอธิการ" (ผูแ้ ปล)


10  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

ที่มีคนพูดว่าพวกนักพรตถูกยุยงให้ขดั ขวางมิชชันนารี ฝรั่งเศสเพราะความเกลียดชังเรื่ องเชื้อชาติ และเพราะ ความมักใหญ่ใฝ่ สู งของพระราชสํานักกรุ งลิสบอนนั้นเรื่ องนี้เป็ นเรื่ องแน่ แต่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิง่ เพราะทุกคน ไม่วา่ นักพรต และนักการเมือง เชื่อและถือสิ ทธิ์ ที่เกิดจากความอุปถัมภ์ของประเทศโปรตุเกส หมายถึงประมวลสิ ทธิ พิเศษต่างๆ ซึ่งสมเด็จพระสันตะปาปาประทานแก่ชนชาติน้ ีในภาคเอเชียอาคเนย์ และในภาคตะวันออกไกล ใน ประมวลสิ ทธิ พิเศษเหล่านี้ประการที่สาํ คัญที่สุดประการหนึ่งก็คือ แต่งตั้งได้แต่พระสังฆราชชาวโปรตุเกส แต่งตั้ง พระสังฆราชชนชาติอื่นไม่ได้

กรุงโรมสนับสนุนประมุขมิสซัง การโต้ แย้ งกับนักพรต ก่อนที่ประมุขมิสซังจะเดินทางมาจากยุโรป กรุ งโรมคาดการณ์วา่ จะมีการขัดขวางเช่นนี้ จึงกําชับมิให้เดิน ทางผ่านดินแดนที่อยูใ่ นปกครองของประเทศโปรตุเกส ครั้งเห็นว่าเหตุการณ์เกิดขึ้นจริ งตามที่คาดไว้ และชาว โปรตุเกสคัดง้างพระสังฆราชฝรั่งเศสและงานที่เขาทํา กรุ งโรมก็สนับสนุนพระสังฆราชฝรั่งเศสอย่างแข็งขันตั้งแต่ เริ่ มแรก กรุ งโรมให้อาํ นาจอย่างกว้างขวางแก่พระสังฆราชฝรั่งเศส ภายหลังก็ยงั คงอํานาจเหล่านั้นไว้ ซํ้ายังเพิ่มให้ โดยพระสมณสาสน์ (Brief) Onerosa pastoralis ลงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1664 และ Injuncti nobis ลงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 1665 แต่คาํ สัง่ โดย พระสมณสาสน์ 2 ฉบับนี้ ไม่ขลังพอจะบังคับพวกนักพรตให้นอบน้อมเชื่อฟัง หรื อ ขัดขวางมิให้ เข้าโต้แย้ง เนื่องจากพระสังฆราชลังแบรต์ได้ประกอบพิธีศีลกําลังให้แก่ชาวโปรตุเกสในโบสถ์ของเขาที่กรุ งศรี อยุธยา ตามคําขอร้องของพวกพระสงฆ์เยสุ อิตและดอมินิกนั ท่านจึงถูกกล่าวหาว่าทําเกินขอบเขตอํานาจ เรื่ องนี้ได้เสนอไป ยังกรุ งโรม กรุ งโรมรับรองเห็นชอบกับหน้าที่ทุกอย่าง ที่พระสังฆราชและพระสงฆ์ฝรั่งเศสได้กระทําที่กรุ งศรี อยุธยา และเพื่อป้ องกันมิให้ใครกล่าวหา เช่นนี้ โดยกฤษฎีกาลงวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1669 ได้อนุญาตให้ประมุข มิสซังทั้งสองประกอบหน้าที่ของพระสังฆราชทุกอย่างนอกทวีปยุโรป ในบรรดาประเทศที่ไม่อยูใ่ นอํานาจปกครอง ของมวลกษัตริ ยค์ าทอลิก ในปี คศ. 1666 คุณพ่อฟราโกโซประกาศบันทึกประฌามพระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต ซึ่ งเขายืนยันว่า ไม่มีอาํ นาจปกครองทางศาสนาในกรุ งสยาม ทั้งห้ามบรรดาคริ สตังมิให้ทาํ การติดต่อใดๆ กับท่าน ในปี ค.ศ. 1668 นักพรตคนเดียวกันนี้ได้ประกาศบันทึกอีกฉบับหนึ่ง กล่าวหาพระสังฆราชลังแบรต์วา่ แย่ง อํานาจปกครองของพระสังฆราชแห่งมาเก๊าและมะละกา ตั้งใจบังคับบรรดานักพรตให้อยูใ่ ต้อาํ นาจโดยไม่มีสิทธิ์ บวชพระสงฆ์พ้ืนเมืองที่ไม่มีความสามารถ ฯลฯ เพื่อโจมตีประมุขมิสซังทั้งสองให้สิ้นอํานาจ คุณพ่อฟราโกโซ สนับสนุนข้อคิดเห็นหลายข้อของนักเทวศาสตร์ กวินตานา ดูเอนัส (Quintana Duenas)โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อคิดเห็น ที่วา่ พระสงฆ์ชาวโปรตุเกสมีสิทธิ์ ประกอบพิธีศีลบวชขั้นต้น 16

A s e

A l a

c i r to

s i H

iv h rc

e c io d rch

o e s

16ศีลบวชขั้นต้น (Ordres mineurs) หมายถึงศีลบวช 4 ขั้นต้นในสมัยก่อนประชุมสังคายนาวาติกนั ที่ 2 (ผูแ้ ปล)

k o gk n a B f


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม  113

ในที่สุดคุณพ่อฟราโกโซได้ประกาศบัพพาชนียกรรมพระสังฆราชลังแบรต์ และสั่งให้ ติดประกาศนั้นไว้ที่ ประตูโบสถ์นกั บุญดอมินิก ที่กรุ งศรี อยุธยา ฝ่ ายพระสังฆราชลังแบรต์ ก็ประกาศบัพพาชนียกรรมคุณพ่อฟราโกโซ บ้าง และในขณะเดียวกันก็ช้ ีแจงการกระทําดังกล่าวให้สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อทราบ อีกทั้งได้เสนอ ข้อคิดเห็นของกวินตานา ดูเอนัส กับของคุณพ่อฟราโกโซ ต่อสํานักงานศักดิ์สิทธิ์ (Saint Office) ในการประชุมวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1671 สํานักงานศักดิ์สิทธิ์ ประฌามว่าข้อคิดเห็นเหล่านั้นเท็จและโอหัง การประฌามนี้ได้รับการ ยืนยันเมื่อวันที่ 12 กันยายน โดยพระสมณสาสน์ 17 ของพระสันตะปาปา เคลเมนต์ ที่ 10 เพื่อฟื้ นคืนเกียรติแด่พระสังฆราชลังแบรต์ พระสันตะปาปาทรงประกาศว่า บัพพาชนียกรรมที่ท่านได้รับ นั้นเป็ นโมฆะ ทรงมีพระบัญชาให้ประกาศและติดคําตัดสิ นนี้ไว้ ในทุกสถานที่ที่คาํ ตัดสิ นแรกได้ถูกนําไปประกาศ ติดไว้ แจ้งให้พระสังฆราชทราบถึงข้อที่วนิ ิจฉัย ทุกข้อเกี่ยวกับเรื่ องนี้ สัง่ ให้ส่งสมณสาสน์ไปยังเอกอัครสมณทูต ประจําประเทศโปรตุเกส เพื่อให้ส่งต่อไปยังตุลาการศาลคดีศาสนาที่เมืองกัว พร้อมกับคําสั่งให้ตุลาการศาลคดี ศาสนาดําเนินการทุกอย่าง ให้ติดเอกสารเหล่านี้ในโบสถ์ต่างๆ ที่กรุ งศรี อยุธยา ในขณะเดียวกัน พระสันตะปาปา ทรงมีบญั ชาให้ตุลาการศาลคดีศาสนาอย่ามอบหน้าที่ใดๆ แก่คุณพ่อฟราโกโซและให้เรี ยกตัวกลับ แต่ถึงกระนั้นคุณพ่อแอมมานูแอล แห่งพระคริ สตสมภพ อธิการของพวกพระสงฆ์ดอมินิกนั ที่กรุ งศรี อยุธยาก็ยงั ป้ องกันคุณพ่อฟราโกโซเป็ นเวลาหลายปี แม้กรุ งโรมจะมีคาํ สั่งให้พวกนักพรต นอบน้อมเชื่อฟังประมุข มิสซัง และประกาศว่าประมุขมิสซังไม่อยูใ่ นอํานาจปกครองของเมืองกัว ตามที่สังฆธรรมนูญ Ut venerabiles fratres และ Speculatores domus Israel ลงวันที่ 11 กรกฎาคม และวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 1669 ได้ระบุไว้ วันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1672 พระสังฆราชลังแบรต์ประกาศบัพพาชนียกรรมบรรดานักพรตที่ไม่รับรู้ อํานาจของท่าน คุณพ่อลาโนเป็ นผูไ้ ปแจ้งคําตัดสิ นนี้ให้เขาทราบ ที่สุดวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1673 อุปสังฆราชของพวกพระสงฆ์ดอมินิกนั ในประเทศอินเดียคือ คุณพ่อฮีอา ชินโท แห่งนักบุญโทมา สั่งให้คุณพ่อฟราโกโซออกจากกรุ งสยามไป โดยสําทับว่าต้องเชื่อฟังตามที่ได้ปฏิญาณไว้ คุณพ่อต่อไปนี้คือ คุณพ่อโทมา วัลการฺ แนรา (Valgarneira), คุณพ่อแอมมานูแอล ซูอาเรส (Suarez), และ คุณพ่อยอห์น มัลโดนาโต (Maldonato) แห่งคณะเยสุ อิต ก็ได้เอาอย่างคัดค้านตามแบบคุณพ่อฟราโกโซและเพื่อน ในปี ค.ศ. 1672 คุณพ่อเหล่านี้ได้ส่งคํากล่าวหาประมุขมิสซังทั้งสองถึงกรุ งโรม ในหนังสื อฉบับหนึ่งของท่านมี ข้อกล่าว หาถึง 22 ข้อ วันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 1674 อธิ การใหญ่คณะเยสุ อิตสั่งนักพรตในปกครองให้อ่อนน้อมต่อสังฆธรรมนูญ Decet Romanum Pontificem ลงวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1673 และให้รับรู้อาํ นาจของประมุขมิสซัง คําสั่งครั้งนี้ไม่มี ใครเชื่อฟังดีกว่าครั้งก่อนๆ เราจําใจจะต้องกลับมาพูดถึงเรื่ องอันลําบากยากใจนี้อีก ทั้งจะต้องบันทึกความยุง่ ยาก ลําบากอื่นๆ ในสมัยปกครองของพระสังฆราชต่อๆ มาอีกบางองค์.

A l a

c i r to

s i H

iv h rc

A s e

e c io d rch

17สมณสาสน์ Coe Lestibus apostolicis, Jus Pont. de Prop. Fid. I, p. 414

o e s

k o gk n a B f


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.