18 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
บทที่ 2 สมัยพระสั งฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต ค.ศ. 1662 - 1673 (ต่อ)
ความสั มพันธ์ กบั พระเจ้ าแผ่ นดินกรุ งสยาม งานแรกๆ ทีต่ ้ังขึน้ ค.ศ. 1665 – 1673 การเข้ าเฝ้ าพระเจ้ าแผ่ นดินกรุงสยาม ระหว่างนั้น สมเด็จพระนารายณ์ทรงได้ยนิ คนพูดถึงมิชชันนารี ก็ทรงแสดงพระราชประสงค์จะพบเห็น คณะมิชชันนารี จึงเดินทางไปเมืองละโว้ (Louvo ลพบุรี) อันเป็ นพระราชนิเวศน์ ตั้งอยูห่ ่างกรุ งศรี อยุธยาไม่กี่ กิโลเมตร และเป็ นสถานที่ที่พระองค์โปรดเสด็จมาประทับ การเข้าเฝ้ าครั้งนี้มิใช่เป็ นการเข้าเฝ้ าอย่างเป็ นทางการ เพราะตามขนบประเพณี ของชาวสยามนั้น พระเจ้าแผ่นดินจะโปรดให้เข้าเฝ้ าอย่างเปิ ดเผยได้ก็แต่ราชทูตเท่านั้น แต่ ถึงแม้จะไม่เป็ นไปอย่างเอิกเกริ ก การเข้าเฝ้ าครั้งนี้ก็อาจจะเป็ นคุณแก่พวกมิชชันนารี โดยทําให้ประชาชนเห็นว่าเขา มีบทบาทและตําแหน่งสู ง ทั้งยังทําให้เขาได้มีการติดต่อกับบุคคลที่มีอิทธิพลด้วย สมเด็จพระนารายณ์ทรงต้อนรับพระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต กับพระสงฆ์ท้ งั สององค์อย่างสมเกียรติ ทรงสดับฟังพระสังฆราชกราบทูลแสดงความสํานึกในพระมหากรุ ณาธิคุณ ที่ทรงอนุญาตให้ท่านพํานักอยูใ่ น บ้านเมือง และโปรดให้เข้าเฝ้ าเฉพาะเบื้องพระพักตร์ หลังจากได้ทรงตั้งคําถามหลายข้อถึงอาณาเขต การค้า สมบัติ และกองทัพเหล่าต่างๆ ของประเทศฝรั่งเศสแล้ว พระองค์ได้ตรัสถามถึงจุดหมายที่เขาเข้ามาในพระราชอาณาจักร พระองค์ตรัสถามว่า "ท่ านคิดว่ าศาสนาของท่ านดีกว่ าศาสนาของชาวสยามหรื อ?" พระสังฆ ราชไม่ทูลตอบตรงๆ เพราะเกรงว่าอาจจะไม่สบพระราชหฤทัย ท่านจึงทูลอธิบายอัตถ์ความจริ งเรื่ องสําคัญๆ ในพระคริ สตศาสนาให้ทรง ทราบ
k o k
g n a B f
o e s
e v i h
c r A
e c io d h c r sA
l a c i r o t พระอนุชาของพระเจ้ าแผ่นดินหายจากประชวร ภาวนาขอให้ s i H ตามความในเอกสารบางฉบับ ซึ่งพระสังฆราชปัลเลอกัว (Pallegoix)
นําไปเผยแพร่ และข้าพเจ้า (คุณพ่ออาเดรี ยง โลเน) ก็นาํ มาเผยแพร่ ในหนังสื อ "ประวัติทั่วไปของคณะมิสซัง ต่ างประเทศ" เชื่อกันว่าในการเข้าเฝ้ าครั้งนี้ สมเด็จพระนารายณ์ได้ตรัสกับพระสังฆราชลังแบรต์วา่ ถ้าท่านขอพระเป็ น เจ้าโปรดให้พระอนุชา1 หายจากพระโรคพระหัตถ์และพระบาทพิการ พระองค์จะทรงถือพระคริ สตศาสนา แต่ เอกสารอื่นที่มีจาํ นวนมากกว่า ไม่เล่าว่าพระองค์ตรัสดังนี้ เข้าใจว่าพระองค์คงได้ทรงขอร้องเช่นนี้จริ ง แต่ทรง ขอร้องภายหลัง และทรงขอร้องผ่านทางหมอดูคนหนึ่ง เรื่ องนี้จะอุบตั ิข้ ึนในวันเดือนปี ใดก็ตาม พระสังฆราช พระสงฆ์มิชชันนารี และบรรดาคริ สตังได้ภาวนาอย่างร้อนรน ขอพระเป็ นเจ้าโปรดให้เป็ นไปตามพระราชประสงค์ ของพระเจ้าแผ่นดิน
1
พระอนุชาองค์น้ ี ทรงพระนามว่า เจ้าฟ้ าอภัยทศ (ผูแ้ ปล)
19 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
เขาทั้งหลายได้รับตามที่สวดขอเพียงส่ วนหนึ่ง คือ พระอาการของพระอนุชาผูป้ ระชวรดีข้ ึน แต่ไม่หาย เป็ นปรกติ พระสังฆราชลังแบรต์ประกาศว่าถ้าพระอนุชาทรงปรารถนาจะหายดีสนิท จะต้องทรงเข้าถือพระศาสนา คาทอลิก ขณะนั้นเองชาวสยามได้เริ่ มมองเห็นว่า ทุกคนจะต้องเปลี่ยนศาสนา เขาแสดงให้เห็นว่าไม่พร้อมที่จะ กระทําเช่นนั้นเลย พระเจ้าแผ่นดินเอง ยิง่ ไม่ทรงพร้อมมากกว่าเขาอีก แต่พระองค์ยงั คงมีพระทัยอารี อารอบต่อพวก มิชชันนารี และทรงอนุญาตให้เขาเทศน์สอนในที่ทว่ั ไป เว้นแต่ในพระราชวัง เราคิดว่าเป็ นการขาดความรอบคอบ ที่จะยืนยันว่า พระเจ้าแผ่นดินทรงพระดําริ จะทรงอนุญาตเช่นนี้จริ งๆ อย่างไรก็ตาม บรรดาขุนนางได้เข้าใจ การอนุ ญาตนี้ไปในลักษณะมีขอ้ จํากัดเข้มงวดหลายข้อ และสําหรับเขานั้นการอนุญาตดังกล่าวไม่หมายความว่า อนุญาตให้ชาวสยามเข้าเป็ นคริ สตัง
พระเจ้ าแผ่นดินพระราชทาน บ้ านปลาเห็ด ต่อมามิชา้ พระเจ้าแผ่นดินทรงส่ งเด็กสิ บคนมาให้พวกมิชชันนารี สอนวิชาความรู้ของชาวยุโรปให้บา้ ง พระสังฆราชลังแบรต์ ถือโอกาสที่จะดําเนินการให้สาํ เร็ จไปตามแผนการสําคัญประการหนึ่ง ท่านจึงยืน่ กฤษฎีกาลง วันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1665 เสนอต่อพระเจ้าแผ่นดิน จะจัดตั้งวิทยาลัยแห่งหนึ่ง "เพื่อสอนสรรพวิชาความรู้ อัน จาเป็ นแก่ รัฐ สาหรั บทาให้ รัฐเป็ นทีเชื่ อถือของทุกๆ ชาติในโลก" และเพื่อป้ องกันมิให้เกิดความสงสัยใดๆ ท่านเสริ ม ว่าพวกมิชชันนารี "จะไม่ ย่ งุ เกี่ยวกับกิจการของรั ฐ และเรื่ องทางฝ่ ายโลก" ท่านกล่าวสรุ ป "โดยหวังจะได้ รับโบสถ์ หลังหนึ่งจากนา้ พระทัยกว้ างขวางของพระเจ้ าแผ่ นดิน เพื่อ ประกอบศาสนกิจในโบสถ์ นั้น" พระเจ้าแผ่นดินทรงพระกรุ ณาโปรดตามที่ขอ ได้ทรงพระราชทานทุ่งนาแห่งหนึ่ง แก่พวกมิชชันนารี "ในที่ที่มีชื่อว่ าบ้ านปลาเห็ด" 2 ตั้งอยูบ่ นฝั่งแม่น้ าํ เจ้าพระยา และติดกับค่ายของชาวญวน พระองค์ยงั ทรงสัญญาจะพระราชทานวัสดุก่อสร้างโบสถ์หลังหนึ่งด้วย
k o k
g n a B f
o e s
e v การก่อสร้ างต่ างๆ ที่บ้านปลาเห็ ด i h c r สามเณราลัยนักบุญโยเซฟ A ca i r o t s i
e c io d h c r sA
l
พวกมิชชันนารี ได้ยกเข้าไปอยูท่ ี่บา้ นปลาเห็ด ชั้นแรกอยูใ่ นกระท่อมที่มีอยูส่ องห้อง ในปี ค.ศ. 1666 เขาได้เริ่ มทําการก่อสร้างต่างๆ และปลูกอาคารสองชั้นขึ้นหลังหนึ่ง ชั้นล่างก่ออิฐ แบ่งเป็ นหลายห้อง 3 ชั้นสอง เป็ นไม้ ใช้เป็ นโบสถ์นอ้ ย อันเป็ นที่ไว้ศีลมหาสนิท "เพื่อเราจะได้ วิ่งมาหาบ่ อเกิดแห่ งความสว่ างและพระหรรษ ทานนีไ้ ด้ บ่อยๆ ทั้งกลางวันและกลางคืน ตามแต่ จะมีความศรั ทธา" ในเขตรั้วอันเดียวกัน ไม่ไกลจากที่ที่เราตั้งใจจะ สร้างโบสถ์หลังหนึ่งขึ้น เราจัดให้มีสุสานตามธรรมเนียมความศรัทธา ซึ่ งในขณะนั้นถือกันอยูใ่ นบรรดาสังฆตําบล (Paroisse) ของเราในประเทศฝรั่งเศส สถานที่ก่อสร้างขึ้นมาทั้งหมดนี้รวมกันเรี ยกว่า ค่ายนักบุญโยเซฟ ผูก้ ลับใจที่รับศีลล้างบาปคนแรก พวก มิชชันนารี ต้ งั ชื่อให้วา่ "โยเซฟ"; โรงสวดหลังแรกเขาก็ต้ งั ชื่อให้วา่ "นักบุญ โยเซฟ"; เขายังถือเป็ นเกียรติที่จะมอบ สิ่ งก่อสร้างสุ ดท้ายให้อยูใ่ นความอุปถัมภ์ของนักบุญ องค์เดียวกัน
H
"บ้านปลาเห็ด" ในภาษาฝรั่งเศสเขียน "Banplahet" แต่ในประชุมพงศาวดารเล่ม 18 หน้า 160 อ่านว่า "บ้านพลัด" คําว่า "ปลาเห็ด" เป็ นภาษาชาวไทย ภาคกลาง (อยุธยา) แม้ในปั จจุบนั นี้ แปลว่า ""ปลาทอดมัน" (ผูแ้ ปล) 3 บ้านหลังนี้ นบั เป็ นบ้านที่สวยที่สุดในเมืองและในทุ่งนาที่อยูร่ อบกรุ งศรี อยุธยา เป็ นบ้านแฝดหลังใหญ่ มีสองชั้น สร้างตามแบบฝรั่งเศส อยูไ่ ด้ 20 คน สะดวกสบาย ห้องทุกห้องใหญ่และสูง บางห้องหันไปทางสวน บางห้องหันไปทางโบสถ์ซ่ ึงพระเจ้าแผ่นดินทรงบัญชาให้สร้างใกล้ๆ แต่ยงั ไม่แล้วเสร็ จ (จากหนังสื อ "การเดินทางสู่ประเทศสยามของ บาทหลวงเยสุอิต" โดย บาทหลวงตาชารด์ พิมพ์ปี ค.ศ. 1687 หน้า 206) 2
20 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
ฉะนั้นเราไม่ตอ้ งแปลกใจ ถ้าภายหลังพวกมิชชันนารี จะขอกรุ งโรมตั้งนักบุญโยเซฟ เป็ นองค์อุปถัมภ์ มิสซังทั้งหลาย นักบุญโยเซฟนั้นเป็ นบิดาเลี้ยงของพระเยซูเจ้า เป็ นภัสดาของพระนางมารี ย ์ เป็ นช่างไม้ชาวนาซาเร็ ธ ผูเ้ พียบพร้อมด้วยความถ่อมตน ความเชื่อ และความบริ สุทธิ์ ผดุ ผ่อง เกียรติรุ่งโรจน์ของท่านซ่อนเร้นอยูเ่ ป็ นเวลานาน แล้ว บัดนี้กาํ ลังฉายแสงไปในโลก พวกมิชชันนารี เห็นว่านักบุญโยเซฟองค์น้ ีมีอาํ นาจและความอารี อารอบที่จะ คุม้ ครองเขา มีคุณธรรมพอที่จะใช้เป็ นแบบฉบับแก่ผแู้ พร่ ธรรม และบรรดาผูท้ ี่เขานํามาสู่ พระศาสนจักรของ พระเป็ นเจ้า คริ สตังหลายคนได้ขอมาอยูใ่ นที่ดินแห่งนี้ ข้างโบสถ์และใกล้พระสังฆราช เขาคงจะคิดเหมือนบรรพบุรุษ ของเราชาวฝรั่งเศสว่า ได้ดาํ รงชีวติ อยูภ่ ายใต้อาํ นาจไม้เท้าของพระสังฆราชนั้นดีนกั หนา พระสังฆราชลังแบรต์ได้ แสดงให้เห็นว่าไม่ยอมง่ายๆ ในเรื่ องนี้ ท่านอยากให้มี "แต่ คนดีๆ" อยูใ่ กล้ท่าน ในที่น้ ี เพื่อที่จะเข้าใจจดหมายที่ มิชชันนารี เขียน และการติดต่อที่เขามีกบั บุคคลต่างๆ เราจําเป็ นต้องขอให้ท่านผูอ้ ่านสังเกตข้อหนึ่งไว้ คือ การก่อสร้างที่บา้ นปลาเห็ด ซึ่งหมายรวมถึงสํานักพระสังฆราช บ้านพักพระสงฆ์ ที่พกั ของมิชชันนารี ที่ผา่ นไปมา โบสถ์ และในชัว่ ระยะหนึ่งหมายรวมถึงวิทยาลัย (Collège) ด้วยนั้น เราเรี ยกรวมๆ ว่า "สามเณราลัย" 4 เมื่อ พระสังฆราชหรื อมิชชันนารี บอกในจดหมายว่าเขียนจากสามเณราลัย นักบุญโยเซฟ หรื อจากสามเณราลัย กรุ งศรี อยุธยาก็ดี เมื่อเขาพูดถึงสามเณราลัยก็ดี ย่อมหมายถึงสํานักที่บา้ นปลาเห็ดเสมอ ส่ วนคําว่า "วิทยาลัย" ่ ี่กรุ งศรี อยุธยาหรื อที่อื่น ย่อมใช้หมายถึงสํานักศึกษาของสามเณรแต่ประการ (Collège) นั้น ไม่วา่ สถาบันนี้ จะตั้งอยูท เดียว
k o k
g n a B f
o e s
e c io d เข้ าเฝ้ าพระเจ้ าแผ่นดินอีกครั้งหนึ่ง h c r ใน ค.ศ. 1667 สมเด็จพระนารายณ์ทรงมี พระราชประสงค์จะพบพระสังฆราชลังแบรต์อีกครั้ง และใน A s อเกี่ยวกับพระศาสนาคาทอลิก เพื่อถวายคําชี้แจงที่ครบถ้วน ระหว่างที่เข้าเฝ้ าอยูน่ ้ นั พระองค์ทรงตั้งคําe ถามหลายข้ ivานั้นจะไขพระปัญญาของพระองค์ให้ทรงรู้เห็นแจ้ง อีกทั้งจักเป็ นเครื่ อง และชัดเจนยิง่ ขึ้น และหวังว่าคําชี้แh จงเหล่ rc งของพระศาสนา พระสังฆราชได้ทูลถวายสมุดภาพพิมพ์จากแม่พิมพ์ โน้มน้าวพระราชหฤทัยให้A เข้าหาความจริ ldouce) ที่วาดในทวีปยุโรปเล่มหนึ่ง เป็ นภาพแสดงชีวประวัติและการรับทนทรมานของ ทองแดง (En taille a c rาi, บรรดาอัครสาวก, ผูป้ ระพันธ์พระวรสาร, ผูแ้ รกตั้งคณะนักบวชที่สาํ คัญๆ, นักบุญที่มีชื่อเสียงมาก พระเยซูคtริ สoตเจ้ ที่สุดสององค์ ละคณะ และเหตุสุดท้ายสี่ ประการของมนุษย์ Hisบนหน้ในแต่ ากระดาษที่คน่ั อยูใ่ นสมุด คุณพ่อลาโนได้เขียนคําแปลแต่ละภาพเป็ นภาษาไทย ในลักษณะเป็ นการ 5
ถวายคําสรุ ปย่อบรรดาอัตถ์ความจริ งในพระศาสนาคาทอลิก พระสังฆราชลังแบรต์เขียนในโอกาสนี้วา่ "ดูเหมือน พระหรรษทานจะดลบันดาลให้ เกิดอะไรสักอย่ างขึน้ ใน พระทัยของพระเจ้ าแผ่ นดินกรุ งสยาม" นัน่ เป็ นความหวังที่ น่าชื่นชมมาก แต่เป็ นความหวังเพียง ครู่ เดียวเท่านั้น เมื่อทรงพลิกดูสมุดภาพเล่มนั้นแล้ว สมเด็จพระนารายณ์ทรงส่ งต่อไปให้ขนุ นางอ่าน เขาพูดกันว่า "ศาสนานีด้ ี แต่ ศาสนาของพระเจ้ าแผ่ นดินก็ดี เหมือนกัน" พระอนุชาองค์ที่สองของพระเจ้าแผ่นดินก็ทรงสนพระทัยพลิกดูสมุดภาพเล่มนี้ และทรงใคร่ สนทนากับ คุณพ่อลาโน พระองค์ทรงนิยมชมชอบและได้ทรงเชิญคุณพ่อลาโนไปเฝ้ าเป็ นบางครั้งบางคราว แต่ถึงแม้จะทรง กล่าวว่าทรงเบื่อหน่ายการนับถือรู ปปฏิมากร พระองค์มิได้ทรงเปลี่ยนศาสนา
4 5
ความจริ งสมัยนั้นคงเรี ยกว่า "บ้านเณร" หรื อ "เซมินารี โอ" มากกว่า (ผูแ้ ปล) เหตุสุดท้ายสี่ ประการของมนุษย์ก็คือ ความตาย, การพิพากษา, สวรรค์ และนรก (ผูแ้ ปล)
21 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
วันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1667 6 ขุนนางชาวสยามผูห้ นึ่ง อายุ 60 ปี กับภรรยาได้รับศีล ล้างบาป
โครงการของพระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต พระทัยอารี อารอบของพระเจ้าแผ่นดินนับเป็ นการเกื้อกูลอันประเสริ ฐที่มนุษย์ให้แก่ มิชชันนารี เท่าที่เขาจะ ปรารถนาได้ ที่กล่าวเช่นนี้หมายความว่าเป็ นการเกื้อกูลอย่างแข็งขันแบบไม่ยอมระย่อท้อถอยหรื อ ? อนิจจา! หาเป็ น เช่นนั้นไม่ แต่การสนับสนุนเช่นนี้ก็ยงั เอื้ออํานวยให้มิชชันนารี มีใจเร่ าร้อนวางแผนการ และพยายามดําเนินการให้ เป็ นอันสําเร็ จไปตามแผนการ เหล่านั้น พระสังฆราชลังแบรต์ กล่าวถึงโครงการต่างๆ ที่ท่านกับพระสังฆราชปัลลือได้วางไว้ดงั นี้ "จะสร้ างสามเณ ราลัยและวิทยาลัยถาวรแห่ งหนึ่ง ที่รับคนทุกชาติ และจุคนได้ 100 คน"; จะสร้างสํานักนักบวชที่มี "หญิงพรหมจารี จานวนหนึ่งอยู่ในความดูแลของสตรี ผ้ ูมีคุณธรรมสองหรื อสามคนจากประเทศฝรั่ งเศส"; จะตั้งโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ขึ้น นอกจากโครงการสามประการนี้ พระสังฆราชปัลลือ ผูส้ นใจปัญหาเกี่ยวกับมิสซังทุกเรื่ อง ไม่วา่ เวลาอยู่ ใกล้หรื อไกล ยังเพิ่มโครงการอีกประการหนึ่ง คือโครงการไปเยีย่ มผูถ้ ูกจองจําในคุก และประกอบพิธีลา้ งบาปลูก คนต่างศาสนาเมื่อใกล้จะตาย โครงการเหล่านี้ ถึงแม้จะดีวเิ ศษสักเพียงใด ก็คงจะไม่ทาํ ให้พระอาณาจักรของพระเป็ นเจ้าแผ่ขยายใน พระราชอาณาจักรสยามอย่างรวดเร็ ว ยิง่ กว่านั้นจะบังคับพระสังฆราชลังแบรต์รวบรวมมิชชันนารี ท้ งั หมดของท่าน ซึ่งมีไม่มาก ให้มุ่งทําได้แต่โครงการเดียว อนึ่ง นอกจากสามเณราลัยซึ่ งเป็ นสิ่ งมีประโยชน์อย่างแท้จริ งและ โดยทัว่ ไปแล้ว เรากล่าวได้วา่ สํานักนักบวชหญิงกับโรงพยาบาลนั้น ดูจะเป็ นกิจการชั้นรองลงไปมากกว่า เราคง จะแปลกใจที่ใน แผนการของพระสังฆราชไม่มีการประกาศพระวรสารแก่คนต่างศาสนาในพระราชอาณาจักร และ เราคงจะนึกถามในใจว่า พวกมิชชันนารี ได้หยัง่ จนถึงก้นบึ้งจิตใจของชนชาวสยามแล้วหรื อไม่ ได้มองเห็นความ ยากลําบากอย่างเหลือหลายที่จะสอนให้กลับใจ เพราะเขาถือว่าศาสนาใดๆ ก็ดีเหมือนๆ กันหรื อไม่ และได้ สําเหนียกหรื อไม่วา่ ในขณะนั้นเขาไม่มีอาํ นาจปกครองทางศาสนาในกรุ งสยาม มิสซังในประเทศนี้มิได้มอบฝาก กับคณะมิสซังต่าง ประเทศ และกรุ งโรมยังมิได้สนองตอบตามที่เขาขอไปในเรื่ องนี้ เนื่องจากได้รับเพียงอนุญาตให้ ประกอบศาสนกิจชัว่ คราวในกรุ งสยาม พระสังฆราชลังแบรต์กบั พระสงฆ์ของท่านจึงไม่มีอาํ นาจที่จะตั้งพระศาสน จักรขึ้น โดยขยาย การแพร่ ธรรมไปทัว่ พระราชอาณาจักร ฉะนั้นเขาจึงเพียงแต่เตรี ยมอนาคต โดยวางรากกิจการที่ จะทําให้ประชาชนชาวสยามนิยมและรักใคร่ เท่านั้น
k o k
g n a B f
o e s
ca i r o t s i
l
c r A
e v i h
e c io d h c r sA
H
วิทยาลัยกลาง - คุณพ่ อลาโนเป็ นอธิการ ในกิจการต่างๆ เหล่านี้ กิจการแรกที่เขาพยายามให้ลุล่วงสําเร็ จก็คือวิทยาลัยหรื ออีก นัยหนึ่งสามเณราลัย เพราะเป็ นจุดหมายสําคัญอันดับแรกของคณะมิสซังต่างประเทศ ตามที่กล่าวมาแล้ว นอกจากเด็กๆ ที่พระเจ้าแผ่นดิน ทรงส่ งมาเป็ นนักเรี ยนของพวกมิชชันนารี ซึ่ งดูจะไม่ค่อยเรี ยนด้วยความมานะอดทนเท่าไหร่ นกั แล้ว พระสังฆราช ยังเรี ยกคริ สตังที่อายุยงั น้อย มาเรี ยนด้วย ซึ่ งในจํานวนคริ สตังเหล่านี้ หลายคนมุ่งจะเป็ นพระสงฆ์ และได้เริ่ มเรี ยน เทววิทยา ที่เมืองมาเก๊าหรื อเมืองกัวมาแล้ว ชั้นแรกพวกนี้ มีดว้ ยกันสิ บคน
6
ไม่ใช่ 1668
22 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
วันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1666 พระสังฆราชประกอบพิธีโกน (Tonsure) ให้แก่สามคนในพวกเขา ในปี ต่อมาท่านแจ้งให้ทราบว่า "สานักเริ่ มจะมีคนแออัด และมิช้าจะมีคนมากกว่ าที่ต้องการเสี ยแล้ ว เพราะท่ านมี มิชชันนารี น้อยสาหรั บสอนพวกเขา" ในสํานักนี้มีการพิจารณารําพึงวันละสองครั้ง คือเวลาเช้าและเวลาคํ่า; พระสังฆราชกับพระสงฆ์มิชชันนารี ร่วมในการพิจารณารําพึงเวลาเช้า กฎวินยั ยังกําหนดให้มีการพิจารณามโนธรรม เฉพาะเรื่ อง7 การอ่านหนังสื อเวลารับประทานอาหารและการให้โอวาทอบรม นักเรี ยนสวม "เสื ้อหล่ อ 8 สี ม่วงตาม แบบโปรตุเกส" อย่างน้อยในวันอาทิตย์ กล่าวโดยย่อ วิทยาลัยแห่งนี้ได้รับการจัดให้มีระเบียบเหมือนสถาบันที่ คล้ายคลึงกันในประเทศฝรั่งเศส อธิ การองค์แรกของวิทยาลัยดังกล่าวคือ คุณพ่อลาโน ซึ่งพระสังฆราชลังแบรต์ กล่าวว่าเป็ น "คนน่ านิยมยกย่ องที่สุดคนหนึ่งที่ข้าพเจ้ ารู้ จัก" ท่านทํางานด้วยความเอาใจใส่ และตั้งอกตั้งใจอย่าง เหลือเชื่อ ในวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1668 ฟรังซัว เปเรส (Perez) บุตรของชาวโปรตุเกสคนหนึ่ง ซึ่ งมีพ้นื เพเดิมอยูท่ ี่ เนกาปาตัม (Negapatam)9 ได้รับศีลบวชเป็ นพระสงฆ์ โดยอยูใ่ นความอุปการะของมิสซัง10 (sub titulo missionis) เขาได้เริ่ มเรี ยนที่เมืองกัว แล้วมาเรี ยนต่อจนจบที่วทิ ยาลัยกลาง(ที่อยุธยา) โดยมีพระสังฆราชลังแบรต์เป็ น จิตตาธิ การ พระสังฆราชกล่าวถึงเขาว่า "ข้ าพเจ้ าเป็ นผู้แนะนาเขาในการเข้ าเงียบสองครั้ ง ข้ าพเจ้ าเอาใจใส่ อบรมเขาตาม คาสอนอันบริ สุทธิ์ แท้ ของพระเยซู คริ สตเจ้ าซึ่ งในการนีข้ ้ าพเจ้ าพบความมีนา้ ใจดีทุกอย่ างเท่ าที่จะปรารถนาได้ " เขา จะเป็ นชาวโปรตุเกสคนเดียวที่ไม่ออกจากสามเณราลัย เมื่อเจ้าหน้าที่ สํานักงานศักดิ์สิทธิ์ ประกาศลงโทษบรรดา มิชชันนารี ฝรั่งเศสโดยผิดทํานองคลองธรรม พระสังฆราชลังแบรต์ถูกกล่าวหาว่า ได้ประกอบพิธีศีลบวชให้แก่คุณพ่อเปเรสโดยไม่มีหนังสื อรับรองของ สมณะผูป้ กครองท้องถิ่น (Ordinaire) คือพระสังฆราชแห่ ง ซาน โทเม เมื่อมีการพิสูจน์วา่ ข้อกล่าวหานี้ไม่จริ งแล้ว สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อได้ออกกฤษฎีกาลงวันที่ 7 สิ งหาคม ค.ศ. 1678 ตัดสิ นว่าคําลงโทษใส่ ความจะต้อง มีบนั ทึกลงในหนังสื อเอกสารของตน และในหนังสื อเอกสารของสํานักงานศักดิ์สิทธิ์ (Saint Office) ด้วย หลังจาก บวชคุณพ่อเปเรสแล้ว ไม่กี่เดือน ได้มีการบวชผูส้ อนคําสอนชาวตังเกี๋ยสองคน ซึ่ งคุณพ่อเดดีเอร์สอนเตรี ยมให้เป็ น พระสงฆ์ แล้วต่อมาก็มีการบวชผูส้ อนคําสอนชาวโคชินจีนอีกบางคนด้วย ที่คุณพ่อแฮงกฺ เป็ นผูส้ อน 11 สามเณรหลายคนมาจากมาเก๊า เพราะพระสังฆราชประจําเมืองนั้นไม่อยู่ และได้ขอร้องพระสังฆราชลัง แบรต์ให้ประกอบพิธีศีลบวชให้ พระสังฆราชเห็นว่าเขายังไม่มีสภาพจิตใจ ที่พึงมี จึงบอกเขาให้รับการอบรมต่อไป อีก แต่เขาได้ขอกลับไปดีกว่า
k o k
g n a B f
o e s
ca i r o t s i
l
c r A
e v i h
e c io d h c r sA
H
การพิจารณามโนธรรมเฉพาะเรื่ อง (examen particulier) หมายถึงการพิจารณาจะฝึ กคุณธรรมข้อใดข้อหนึ่งหรื อจะแก้นิสยั ชัว่ ข้อใดข้อหนึ่งโดยเฉพาะ มิใช่เป็ นการพิจารณาในเรื่ องทัว่ ๆ ไป (ผูแ้ ปล) 8 เสื้ อหล่อคือเสื้ อที่พระสงฆ์ บรรพชิ ตชายและผูช้ ่วยในพิธีศาสนาสวม ยาวตั้งแต่คอถึงข้อเท้า (ผูแ้ ปล) 9 ไม่ใช่ตะนาวศรี ตามที่หนังสื อ Mémorial บอกผิดไว้ เนกาปาตัมอยูใ่ นประเทศอินเดีย 10 พระสงฆ์ทุกองค์เมื่อบวชแล้วจะต้องอยูใ่ นความอุปการะของสถาบันใดสถาบันหนึ่ง เช่น ของมิสซัง, ของสังฆมฑล, ของคณะนักบวช (ผูแ้ ปล) 11 สามเณรญวนเหล่านี้ ได้รับการบวชโดยไม่อยูใ่ นความอุปการะของสถาบันใด (sans posséder de titre clérical) และโดยไม่รู้ภาษาลาติน ตามสิ ทธิ พิเศษที่พระสันตะปาปา อเล็กซานเดอร์ ที่ 7 ทรงประทานให้แก่ประมุขมิสซัง และยังยํ้าประทานให้อีกในสมณสาสน์ Injuncti nobis ลงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 1665 และในธรรมนูญ Alias emanarunt ลงวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 1669 7
23 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
คุณพ่ อลังกลัวเป็ นอธิการของวิทยาลัยกลาง ในปี ค.ศ. 1670 หรื อ 1671 คุณพ่อลาโนได้รับมิชชันนารี ผหู้ นึ่งที่เพิ่งมาถึงจากประเทศฝรั่งเศสเป็ นผูช้ ่วย คือ คุณพ่อปี แอรฺ ลังกลัว คุณพ่อองค์น้ ีเป็ นคนขยันขันแข็ง สติปัญญาเฉียบแหลม ไม่มีความคิดฟุ้ งซ่านเพ้อฝัน คิดแต่ในเรื่ องปฏิบตั ิได้ เรี ยนรู้ภาษาโปรตุเกส ภาษาอิตาเลียนและภาษาสยามได้อย่างรวดเร็ ว ยังเริ่ มเรี ยนภาษาญวน และแต่งพจนานุกรมภาษาญวนที่บรรจุคาํ ได้มากกว่าพจนานุกรมของคุณพ่อเดอ โรด (de Rhodes) 1,500 คํา นอกนั้นยังได้แต่งไวยากรณ์ ซึ่ งมีผถู ้ ือว่าเป็ นงานชิ้นเอก, ประวัตินกั บุญ และคําอธิบายพระวรสารประจําวันอาทิตย์ และวันฉลองต่างๆ "ท่ านทางานในลักษณะที่ เราจะปรารถนาให้ ทาเร็ วกว่ านั้นไม่ ได้ เพราะ ท่ านทาแบบเกือบไม่ ได้ พักผ่ อนเลย" ในปี ค.ศ. 1672 คุณพ่อได้เป็ นอธิ การวิทยาลัยกลางสื บตําแหน่งแทนคุณพ่อลาโน และทันทีความคิดต่างๆ ของท่านซึ่งมุ่งไปในทางปฏิบตั ิตามที่เคยนั้น ก็พฒั นาก้าวหน้ายิง่ ๆ ขึ้น คุณพ่อลังกลัวขอให้เขาส่ งหนังสื อวิชาครู มาจากประเทศฝรั่งเศส คิดโครงการจะตั้งโรงพิมพ์ข้ ึน "เพราะใน กรุ งสยามกระดาษราคาตา่ มาก คนงานจ้ างได้ ในราคาถูกๆ คนแต่ งหนังสื อก็อยู่ในมิสซังเหล่ านีแ้ ล้ ว และเป็ นการไม่ สมควรจะส่ งหนังสื อที่ เขียนด้ วยมือไปพิมพ์ ในทวีปยุโรป" ท่านยังอยากได้ช่างแกะ (graveur) "เพื่อเขียนบนแผ่ น ทองแดงเหมือนเขียนบนหนังสื อ จะได้ พิมพ์ คาสอนคริ สตังเป็ นตัวอักษรของประเทศนีบ้ นหนังสื อนั้น" คุณพ่อ ลังกลัวเป็ นผูน้ าํ หน้าคนอื่นๆ แต่ความคิดต่างๆ ของคุณพ่อ ถึงแม้ทุกวันนี้ เราจะเห็นดีสักเพียงใด แต่ในสมัยนั้นไม่มี คนเห็นดีดว้ ยมากนัก และไม่มีการนําไปปฏิบตั ิ อย่างไรก็ตาม ท่านก็ยงั ทํางานต่อไปอย่างเข้มแข็ง ภายในเวลาสามปี ศิษย์ของท่าน 12 คน ได้รับการวินิจฉัยว่าเริ่ มเรี ยนวิชาปรัชญาได้ ท่านมีผชู้ ่วยคนหนึ่งเป็ นฆราวาสซึ่ งไม่รู้จกั ชื่อ กับผูช้ ่วยอีกคนหนึ่งเป็ นพระสงฆ์ฟรังซิ สกันชื่อ คุณพ่อหลุยส์แห่งพระมารดาพระเจ้า "ผู้มีความสามารถยอดเยี่ยมใน การสอน มีคุณวุฒิอย่ างประหลาดในการแนะนาเยาวชน นอกเหนือจากการถือวินัยอย่ างเคร่ งครั ดและมีจิตตารมณ์ การถือความยากจน" คุณพ่อเดอ กูรฺโตแล็ง (de Courtaulin) เขียนไว้ดงั นี้ คุณพ่อหลุยส์ผนู ้ ้ ีเป็ นบุตรนายแพทย์ศลั ยกรรมคนหนึ่งในกรุ งลิสบอน เคยเป็ นมิชชันนารี ในภาคเอเชียอาค เนย์ แต่ท่านไม่มีอคติต่อพวกมิชชันนารี ฝรั่งเศสเหมือนเพื่อนร่ วมชาติอื่นๆ และหลังจากได้รู้จกั คุณพ่อบูชารด์ (Bouchard) เมื่อคุณพ่อองค์น้ ีเดินทางไปที่กรุ งมะนิลา ท่านได้รับอนุญาตจากอธิการในปี ค.ศ. 1670 ให้มาเข้าใน มิสซังของประมุขมิสซัง เมื่อทราบข่าวว่าวิทยาลัยที่กรุ งศรี อยุธยาได้ต้ งั ขึ้นและดําเนินไปด้วยดี สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อได้ มอบเงินให้ในขั้นแรก 1,100 เอกูโรมัน และต่อไปเป็ นเวลานานพอสมควร จึงให้เงินอุดหนุนปี ละ 1,000 เอกู นี่แหละ คือกิจการสําคัญประการแรกของบรรดาพระสงฆ์แห่งคณะมิสซังต่างประเทศในกรุ งสยาม กิจการ นี้ต้ งั ขึ้นอย่างรวดเร็ วและตั้งแต่ตน้ ก็บงั เกิดผลเกือบครบถ้วนตามที่บรรดาผูแ้ รกตั้งมุ่งหวัง และแน่นอนบังเกิดผล มากกว่าที่พวกชอบพูดทับถมใส่ ร้ายคิดมากนัก คนพวกนี้มีความคิดเห็นว่าชาวตะวันออกนั้นเป็ นพวกที่พอจะเรี ยก ได้วา่ ไม่มีความสามารถจะบวชเป็ นพระสงฆ์ได้เลย
k o k
g n a B f
o e s
ca i r o t s i
l
c r A
e v i h
e c io d h c r sA
H
โรงพยาบาล กิจการที่สองคือ โรงพยาบาล ซึ่ งตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1669 โรงพยาบาลนี้ข้ นั แรกรับผูป้ ่ วยสามสี่ คน ต่อมาสิ บ คน และในปี ค.ศ. 1672 รับราวสิ บห้าคน คุณพ่อลาโน "ผู้เคยเรี ยนเรื่ องหยูกยามาบ้ าง และรู้ จักใช้ ดีทีเดียว" ก็ได้ ทํางานแสดงเมตตาจิตอย่างเต็มที่ในโรงพยาบาลแห่งนี้
24 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
สตรีผู้รักไม้ กางเขน ในปี ค.ศ.1669 พระสังฆราชลังแบรต์ได้เดินทางไปยังประเทศตังเกี๋ย ซึ่ งไม่มีพระสังฆราช เพราะ พระสังฆราชปั ลลือไม่อยูแ่ ล้วท่านได้เดินทางกลับมายังกรุ งสยามในเดือนเมษายน ค.ศ. 1670 เมื่อกลับมาแล้วท่านได้ ทําตามที่คิดโครงการไว้วา่ จะตั้งอารามนักบวชหญิง "โดยโชคดีได้ พบผู้สมัครหลายคนที่พร้ อมสาหรั บโครงการ ดังกล่ าว" หญิงสาวเหล่านี้มีจาํ นวนสี่ หา้ คน ล้วนมีกาํ เนิดเป็ นหญิงชาวโคชินจีน ท่านตั้งชื่อให้เขาว่า "สตรี ผ้ รู ั กไม้ กางเขน" (Amantes de la Croix) เหมือนกับชื่ อที่ท่านตั้งให้แก่หญิงสาวชาวตังเกี๋ยที่ถวายตัวแด่พระเป็ นเจ้า โดยอยู่ ในความดูแลของท่าน ท่านยังคิดอยูเ่ สมอว่าจะเรี ยกสตรี คริ สตังดีๆ หรื อนักบวชหญิงมาจากยุโรปเพื่ออบรมชาว พื้นเมืองจนสําเร็ จ แล้วตั้งอารามขึ้นตามแบบอารามในยุโรป แต่มิชชันนารี หลายคนไม่เห็นด้วยกับความดําริ ดงั กล่าว และเห็นว่ายังไม่ถึงเวลาที่จะมีสตรี ผชู ้ ่วยเช่นนี้ เขาพูดว่า มิสซังต่างๆ "ยังไม่ เจริ ญ และไม่ มนั่ คงพอ" คุณพ่อลังกลัว บอกตรงๆ ว่า "กลัวสตรี เหล่ านีจ้ ะทาให้ อึดอัดลาบากใจ" เพื่อทําให้วทิ ยาลัย โรงพยาบาล และอารามอยูม่ น่ั คง พระสังฆราชลังแบรต์ขอเงินเพียง 12,000 เอกู ซึ่งท่าน จะให้ "กู้ในอัตราของพระเจ้ าแผ่ นดินคื อ 22.5 % ต่ อปี ซึ่ งนับเป็ นอัตราที่ย่อมเยาที่สุดในพระราชอาณาจักรนี ้" ท่าน เก็บเงินไม่ได้ครบตามที่ท่านปรารถนา แต่คนใจบุญหลายคนได้ส่งเงินทําบุญมาให้ท่าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ คุณแม่ ฌาน เดอ เยซู - มารี อา (Jeanne de Jésus - Maria) นักบวชในอารามคาร์แมลใหญ่แห่ งกรุ งปารี สก็ได้ส่งมาให้ท่าน 1,000 เอกู
k o k
g n a B f
o e s
การประกอบพิธีศีลล้ างบาปให้ แก่ ลูกของคนต่ างศาสนา ce io d การเยีย่ มผู้ต้องขังในคุก h
rc A s
งานประกอบพิธีศีลล้างบาปให้แก่ลูกของคนต่างศาสนาที่ใกล้จะตายนั้น เริ่ มดําเนินไปอย่างสงบเสงี่ยม เจียมตัว ได้มีการบันทึกในครั้งแรกว่ามีเด็กที่ได้รับศีลล้างบาปเช่นนี้เดือนละสองสามคน แล้วก็เพิ่มขึ้นเล็กน้อย "พวกมิชชันนารี ออกไปหาเด็กที่จะประกอบพิธีล้างบาปให้ ก็มกั หาได้ เป็ นจานวนมาก" ในปี ค.ศ. 1672 คุณพ่อลาโนเล่าว่า ภายใน 8 เดือน มิชชันนารี ผหู้ นึ่ง ซึ่ งท่านไม่บอกชื่อ ได้ประกอบพิธีลา้ งบาปแก่เด็ก 50 คน พวกมิชชันนารี ไปเยีย่ มผูถ้ ูกจองจําในคุก นําอาหารไปให้ รักษาเขาเมื่อเจ็บป่ วย และเพราะมีเมตตาจิตเช่นนี้ เขาจึงประกอบพิธีลา้ งบาปให้แก่หลายคน
ca i r o t s i
l
c r A
e v i h
H
อานาจปกครองทางศาสนาในกรุงสยาม ที่สุดอํานาจต่างๆ ที่ขอจากกรุ งโรมก็มาถึง สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อได้ลงั เลใจ ก่อนที่จะยินยอม ให้ประมุขมิสซังทั้งสองมีอาํ นาจปกครองทางศาสนาในกรุ งสยาม และแต่งตั้งพระสงฆ์ในคณะมิสซังต่างประเทศ องค์หนึ่งให้เป็ นประมุขมิสซังในประเทศดังกล่าว "เพราะกลัวว่ าพระสังฆราชทั้งสองจะเห็นการอยู่ในที่นี้ สะดวกสบาย ก็จะคิดปั กหลักอยู่ และจะไม่ พยายามเลยไปจนถึงประเทศจี น" ครั้นเห็นว่าไม่มีเหตุที่จะกลัวเช่นนี้ สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อจึงยินยอมให้เป็ นไปตามที่ขอสองประการ คือ กฤษฎีกาลงวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1668 อนุมตั ิเห็นชอบให้ต้ งั และเปิ ดโบสถ์ที่พวกมิชชันนารี ต้ งั ขึ้นที่กรุ งศรี อยุธยา และสมณสาสน์ลงวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1669 ซึ่งลงพระนามโดยสมเด็จพระสันตะปาปา เคลเมนต์ ที่ 9 โปรดให้ประมุขมิสซังทั้งสอง มีอาํ นาจปกครองทางศาสนาในกรุ งสยาม และให้พระสังฆราชปัลลือกับพระสังฆราชลังแบรต์มีสิทธิ์แต่งตั้ง พระ สังฆราชองค์หนึ่งในประเทศนี้
25 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
มิชชันนารีใหม่ ในราวๆ ระยะเวลาช่วงนี้ ได้มีมิชชันนารี ใหม่ๆ มาเสริ มกําลังของบรรดาพระสงฆ์แห่งคณะมิสซัง ต่างประเทศ ต่อไปนี้คือชื่ อมิชชันนารี ที่ออกเดินทางจากประเทศฝรั่งเศสมายังภาคตะวันออกไกลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1665 ถึงปี ค.ศ. 1670 แต่เดินทางมาถึงกรุ งศรี อยุธยาแต่ปี ค.ศ. 1668 ถึงปี ค.ศ. 1673 : คุณพ่อกูยารต์ (Guiart), คุณพ่อบูชารด์ (Bouchard), คุณพ่อซาวารี (Savary), คุณพ่อลังกลัว (Langlois), คุณพ่อวาเชต์ (Vachet), คุณพ่อเดอ กูรฺโตแล็ง (de Courtaulin), คุณพ่อเซอแว็ง (Sevin), คุณพ่อเดอ ชังเดอบัว เดอ ฟาลังแด็ง (de Chandebois de Falandin), คุณพ่อฟอรฺ เฌต์ (Forget) และคุณพ่อเกม (Gayme) คุณพ่อเดอ ชังเดอบัว เดอ ฟาลังแด็ง กับคุณพ่อเกม สององค์เท่านั้นได้อยูท่ าํ งานแพร่ ธรรมในกรุ งสยาม จนตลอดชี วติ ส่ วนองค์อื่นๆ นั้นหลังจากอยูใ่ นกรุ งสยามปี สองปี แล้ว ก็ไปทํางานและตายในประเทศโคชิ นจีน 12
การแปลหนังสือ - คุณพ่ อลาโนไปพิษณุโลก
k o k
เมื่อได้รับการขยายอํานาจฝ่ ายวิญญาณและจํานวนผูแ้ พร่ ธรรมเพิ่มทวีข้ ึน พวกมิชชันนารี ก็ขยายงานให้กว้าง ออกไปได้ ในที่ห่างจากกรุ งศรี อยุธยาเล็กน้อย คุณพ่อลาโนได้ไปเยีย่ มคนลาวที่อาศัยอยูใ่ นหมู่บา้ นแห่งหนึ่ง และได้ ประกอบพิธีลา้ งบาปให้แก่เขาสี่ คน ท่านยังเดินทางไปเมืองบางกอก อันถือเป็ นเมืองที่สองในพระราชอาณาจักร และได้เตรี ยมจะตั้งวัดแห่งหนึ่งขึ้น ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1671 ท่านเดินทางไปเมืองพิษณุ โลก (Phitsilok) ซึ่งพวกมิชชันนารี ในศตวรรษที่ 17 เรี ยกเพี้ยนเป็ น ปูร์เซอลุก (Pourcelouc) เมืองนี้เป็ นเมืองที่มีความสําคัญอยูส่ ักหน่อย ตั้งอยูท่ างทิศเหนือ และอยูห่ ่าง จากอยุธยาราวหนึ่งร้อยลีเออ คุณพ่อลาโนเห็นว่าชาวเมืองนี้เป็ น "คนซื่ อๆ และว่ านอนสอนง่ าย" รวบรวมได้จาํ นวน หนึ่ง แล้วสอนเขาให้รู้ถึงข้อความจริ งที่สาํ คัญๆ ในพระศาสนาคาทอลิก ถ้าคุณพ่อทําตามความปราถนาของเขา ก็คง ประกอบพิธีลา้ งบาปให้หลายคน แต่ท่านเห็นว่ายังไม่แน่ใจว่าเขาจะยืนหยัดมัน่ คงในความเชื่อ จึงเพียงแต่ประกอบ พิธีศีลล้างบาปให้แก่เด็กสองสามคน แล้วในเดือนกันยายน ท่านก็เดินทางกลับอยุธยา สัญญาว่าจะกลับมาอีก การเดินทางมาแพร่ ธรรมครั้งนี้ ทําให้ท่านเห็นว่าจําเป็ นต้องแต่งคําสอนเล่มหนึ่งและแปลบทสวดของคริ สตังเป็ นภาษาชาวสยาม ซึ่ งงานนี้ท่านก็ทาํ แล้วเสร็ จอย่างรวดเร็ ว มิหนําซํ้าท่านยังแต่งหนังสื อเล่มเล็กๆ อีกเล่มหนึ่ง กล่าวถึงเรื่ องมีพระเป็ นเจ้า ตลอดจนอัตถ์ ลึกซึ้ งเรื่ องมังสาวตาร (Incarnation) และเรื่ องพระตรี เอกภาพ
g n a B f
o e s
ca i r o t s i
l
c r A
e v i h
e c io d h c r sA
H
คุณพ่ อเปเรสไปตะนาวศรี ในปี ค.ศ. 1671 คุณพ่อเปเรสซึ่ งอยูท่ ี่นครหลวงตั้งแต่บวช ได้ไปยังจังหวัดตะนาวศรี ซึ่งมีศูนย์คริ สตังที่ สําคัญตั้งอยูส่ องแห่ง คือ ตั้งอยูท่ ี่เกาะถลาง และเบนการิ ม 13 ทั้งสองแห่งมีวดั เล็กๆ ที่วา่ เล็กก็เพราะสัตบุรุษสองวัดนี้ ซึ่งเป็ นชาวอินเดีย มอญ และโปรตุเกสนั้น ทั้งมีจาํ นวนน้อย ทั้งมีคุณธรรมความดีนอ้ ยด้วย คุณพ่อเปเรสพระสงฆ์ หนุ่มกล่าวว่า "มีสัตบุรุษราว 150 คน ทุกคนไม่ ร้ ู อะไรเลย ส่ วนใหญ่ ไม่ มาร่ วมพิธีมิสซา และไม่ รับศีลศักดิ์สิทธิ์ "
เว้นแต่บาทหลวงซาวารี ถึงแก่มรณภาพที่เพชรบุรี (Piply) และบาทหลวงเซอแว็งไปเป็ นเหรัญญิกที่กรุ งโรม และเป็ นคณาจารย์ที่สามเณราลัยแห่ งคณะ มิสซังต่างประเทศ (ผูแ้ ต่ง) 13 เกาะถลาง (Jongselang) สมัยนี้ เรี ยกเกาะภูเก็ต ส่ วนเบนการิ ม (Bengarim) ไม่ทราบสมัยนี้ เรี ยกว่ากระไร (ผูแ้ ปล) 12
26 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
นี่แหละคือสภาพของมิสซังกรุ งสยาม ท้องฟ้ ากรุ งสยามนั้นสงบเงียบอย่างสมํ่าเสมอไม่เปลี่ยนแปลง ตํ่าและ อบอ้าวนิดหน่อย ; จะสังเกตดูทอ้ งฟ้ านั้นทางไหน ก็ไม่เห็นมีเมฆดําทะมึนที่เป็ นสัญญาณบอกว่าจะมีพายุ แต่ก็ไม่ เห็นมีช่องโปร่ งที่สว่างไสวบอกว่าอากาศจะดี
การเลือกคุณพ่ อลาโนเป็ นพระสั งฆราช อย่างไรก็ตาม พวกมิชชันนารี เปี่ ยมไปด้วยความหวัง และยิง่ มีความหวังมากขึ้นเมื่อ พระสังฆราชปัลลือ กลับจากกรุ งโรมและประเทศฝรั่งเศส ซึ่ งท่านได้กลับไปในปี ค.ศ. 1665 ท่านเดินทางมาถึงกรุ งศรี อยุธยา เมื่อ วันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1673 และได้ปรึ กษากับพระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต เรื่ องเลือกประมุขมิสซัง กรุ งสยาม พระสังฆราชลังแบรต์เสนอคุณพ่อลาโน แต่พระสังฆราชปัลลือเห็นว่าคุณพ่อเชอเวรยดีกว่า ทั้งสองท่าน เชื่อ ตระหนักในคุณค่าของแต่ละฝ่ าย ต่างไม่ยอมสละผูท้ ี่ตนเลือก ดังนั้นเพื่อตกลงกันได้ พระสังฆราชลังแบรต์เตือนให้ระลึกถึงตัวอย่างที่พวกอัครสาวก ได้ทาํ ไว้คือ เมื่อลังเลใจไม่รู้จะเลือกนักบุญมัทธิ อสั หรื อโยเซฟ เขาก็เอาชื่อของผูท้ ี่เขาอยากได้เป็ นผูร้ ่ วมงานมาจับสลาก ท่านเขียนชื่อของคุณพ่อลาโนบนกระดาษแผ่นหนึ่ง เขียนชื่อของคุณพ่อเชอเวรย บนกระดาษอีกแผ่นหนึ่ง พับกระดาษทั้งสองแผ่นเป็ นแบบเดียวกัน เอาวางลงในหมวก แล้วเมื่อภาวนาขอพระจิตแล้ว ก็ยนื่ กระดาษทั้งสอง แผ่นให้พระสังฆราชปั ลลือจับ พระสังฆราชปั ลลือจับได้กระดาษที่เขียนชื่อคุณพ่อลาโนถึงสองครั้งสองครา ต่อไปพระสังฆราชทั้งสองใคร่ ปรึ กษามิชชันนารี ท้ งั 14 องค์ ที่อยู่ ณ ที่น้ นั 13 องค์แย้งว่าคุณพ่อลาโนเป็ น คนอ่อนโยนเกินไป และเป็ นคนใจบุญที่สุรุ่ยสุ ร่ายไปสักหน่อย แต่องค์ที่ 14 ออกเสี ยงให้ท่าน โดยอ้างเหตุผลว่า " ถ้ าให้ คุณพ่ อลาโนอยู่ในที่ที่อยู่ทุกวันนี ้ คุณพ่ อก็จะอ่ อนโยนและใจกว้ างเรื่ อยไป แต่ ถ้าตั้งคุณพ่ อเป็ นพระสังฆราช ซึ่ งผมคิดว่ าพระเป็ นเจ้ าทรงมีพระประสงค์ เช่ นนั้น ก็จะต้ องแปลกใจเห็นว่ าท่ านจะมีจิตใจมัน่ คงยิ่งกว่ าผู้ที่จะติดตาม ท่ าน ทั้งจะกลายเป็ นคนมัธยัสถ์ จนเราไม่ มีอะไรจะติได้ " การตัดสิ นใจซึ่ งขอผลัดไปทําในวันรุ่ งขึ้น ได้เป็ นตัวอย่างแสดงให้เห็นว่าที่ประชุมทั้งหลาย แม้ที่ประกอบ ด้วยบุคคลฉลาดสุ ขมุ และคิดรอบคอบนั้น ก็ยงั เปลี่ยนใจได้ กล่าวคือ คุณพ่อลาโนได้รับเลือกด้วยคะแนน 13 ต่อ 1 ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าคุณพ่อลาโนนั้น มีความสามารถกว่าคุณพ่อเชอเวรย ซึ่ งในขณะนั้นเป็ นโรคประสาทอย่างอ่อน (neurasthénique) และพระสังฆราชปั ลลือมีความคิดเห็นผิดเกี่ยวกับคุณพ่อ อย่างไรก็ตาม คนในสมัยเดียวกับพระสังฆราชลาโน ดูเหมือนจะไม่มีความเห็นต่อท่านไปในทางดีเท่ากับ งานแพร่ ธรรมและหนังสื อศรัทธาที่ท่านแต่ง อาจจะชวนให้เข้าใจว่าเป็ นเช่นนั้น พระสังฆราชปัลลือเขียนไว้ต้ งั แต่ปี ค.ศ. 1663 แล้วว่า "นิสัยของคุณพ่ อลาโนนั้นเป็ นคนซื่ อๆ และดารงชี วิตอย่ างซื่ อตรง" ภายหลังเมื่อจะปรึ กษากันถึง เรื่ องตั้งท่านเป็ นผูป้ กครองทัว่ ไปของมิสซังต่างๆ พระสังฆราชปัลลือจะกล่าวว่า "ข้ าพเจ้ าไม่ เชื่ อว่ าท่ านจะเข้ มแข็ง พอจะรั บตาแหน่ งนี "้ คณาจารย์ผหู้ นึ่งที่สามเณราลัยกรุ งปารี ส คือ คุณพ่อคาซิล เดอ ลา แบรฺ นารฺ เดียรฺ (Gazil de la Bernardière) ก็จะให้ความเห็นเกี่ยวกับพระสังฆราชลาโนเช่นเดียวกันว่า "ท่ านเป็ นคนจิตใจซื่ อๆ สติปัญญาปานกลาง" ชะรอย ความคิดเห็นเหล่านี้จะหมายความเพียงว่าพระสังฆราชลาโนไม่มีปัญญาเฉียบแหลม และไม่มีความเข้มแข็งแก่กล้า ตามที่เขามุ่งหวังจากท่านเท่านั้นกระมัง ฉันใดก็ดี ท่านมีใจเร่ าร้อนและมีความศรัทธา และมีความได้เปรี ยบมิชชันนารี อื่นๆ ในข้อที่ท่านพูดและ เขียนภาษาไทยได้ดี ได้เล่าเรี ยนภาษาบาลี รู ้จกั งานแพร่ ธรรมอย่างดียงิ่ และที่สุด มีความสัมพันธ์ส่วนตัวกับขุนนาง ข้าราชการมีชื่อของพระเจ้าแผ่นดิน
k o k
o e s
g n a B f
H
ca i r o t s i
l
c r A
e v i h
e c io d h c r sA
27 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
คุณพ่อลาโนได้รับการอภิเษกเป็ นพระสังฆราชเมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1674 จาก พระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต โดยมีพระสังฆราชปัลลือ และคุณพ่อเชอเวรย เป็ นผูช้ ่วยท่านมีสองตําแหน่งคือ เป็ นประมุขมิสซัง กรุ งสยาม และเป็ นประมุขมิสซังนานกิง อีกทั้งเป็ นผูป้ กครองหลายมณฑลในประเทศจีนคือ เชลี (Tche-li), ชานสี (Chansi), เชนสี (Chensi), โฮนาน (Honan), ชางตอง (Chang-Tong), ตาร์ตารี (Tartarie) และเกาหลี สภาพเหตุการณ์ มิได้อาํ นวยให้ท่านปฏิบตั ิตามพันธะต่างๆ ของผูป้ กครองมณฑล ดังนั้น พระสันตะปาปา อินโนเซนต์ ที่ 11 จึงได้ ทรงยุบเลิกพันธะดังกล่าวในวันที่ 21 มีนาคม และวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1678 เมื่อทรงฝากมอบมณฑลเหล่านี้ กับพระสังฆราชโลเปส (Lopez) 14
ขออานาจปกครองและเบีย้ หวัด พระสังฆราชปัลลือได้ทาํ การขอสองประการสําหรับพระสังฆราชลาโนคือ 1. ขอกรุ งโรมขยายอํานาจปกครองไปถึงเมืองบันตัม ซึ่ง ณ เมืองนั้น คณะมิสซังต่างประเทศมีเหรัญญิกอยู่ พักหนึ่ง กรุ งโรมไม่อนุมตั ิ 2. ขอพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ทรงพระราชทานเบี้ยหวัด 1,000 เอกู ดังที่ประมุขมิสซังสามองค์แรกเคยได้รับ
k o k
g n a B บรรดาเสนาบดีฝรั่งเศสตอบคําขอสุ ดท้ายนี้อย่างมีเยื่อใยไมตรี แต่ขอผัดผ่อนไปก่ f อน ซึ่งเราก็จาํ ต้องพอใจ. o e s e c io d h c r A s e v i h c r A l ca i r o t s i
H
พระสังฆราชโลเปสเป็ นชาวจีน แต่มีชื่อเป็ นโปรตุเกส เรื่ องนี้ เป็ นข้อพิสูจน์วา่ ได้มีการอภิเษกพระสงฆ์พ้ืนเมืองเป็ นพระสังฆราชตั้งแต่หลายร้ อยปี มาแล้ว (ผูแ้ ปล)
14