บทที่ 4 สมัยพระสังฆราชลาโน ค.ศ. 1679 - 1696 สถานการณ์ ทางศาสนา ค.ศ. 1679 - 1685 การก่อตั้งวัดคริสตัง และการแพร่ ศาสนา สรุปเหตุการณ์ ต่างๆ ในยุคนี้
k
ko g n a fB
นับตั้งแต่การมรณภาพของพระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต ในปี ค.ศ. 1679 จนถึงการมรณภาพของ พระสังฆราชลาโน ในปี ค.ศ. 1697 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม แบ่งเป็ น 2 ภาค ที่ต่างกันอย่างเห็นได้ชดั ทีเดียว คือ ภาคแรกนั้นมีแต่ความเจริ ญรุ่ งเรื องและความหวัง อันเกิดจากสัมพันธไมตรี ระหว่างพระราชวังแวรฺ ซาย และ พระราชสํานักกรุ งศรี อยุธยา การส่ งราชทูตไปมาระหว่างกรุ งสยามและกรุ งฝรั่งเศส ทําให้ยคุ นี้สะท้อนแสงความโอ่อ่าสง่างาม กล่าวคือ เมื่อปี ค.ศ. 1682 มีการส่ งราชทูตสยามไปครั้งแรกพร้อมกับมิชชันนารี ผหู้ นึ่งเป็ นล่าม : เมื่อปี ค.ศ. 1684 มีการส่ ง ทูตสยามครั้งที่สองอันประกอบด้วยขุนนางที่มีแต่เพียงตําแหน่งทูต (envoyé) แต่ประเทศฝรั่งเศสให้เกียรติถือเป็ น ราชทูต (ambassadeur) การส่ งทูตครั้งนี้มีคุณพ่อวาเชต์ เป็ นผูน้ าํ ทางและล่าม ; ในปี ค.ศ. 1685 ราชทูตฝรั่งเศส คณะหนึ่ง ซึ่งมี ม. เดอ โชม็องต์ (de Chaumont) เป็ นหัวหน้า ได้เดินทางมายังกรุ งสยาม และจะนําราชทูตสยาม ไปกรุ งฝรั่งเศส ราชทูตสยามคณะนี้จะกลับไปประเทศของเขาในปี ค.ศ. 1687 พร้อมกับทหารฝรั่งเศสกองหนึ่ง อีกไม่กี่เดือนต่อมา ก็เข้ายุคที่สอง คือ อํานาจทางการเมืองและอิทธิพลทางศาสนาของเรา ทุกสิ่ งล้มครื นมา อย่างกระทันหัน และจากความนึกฝันของรัฐบาลพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14, ของประมุขมิสซังและมิชชันนารี ยังคงเหลือ แต่ความทรงจําอันขมขื่น และสิ่ งสลักหักพัง ซึ่งเรา จะพยายามปฏิสังขรณ์ข้ ึนใหม่ แต่ไม่สาํ เร็ จ นี่แหละคือทัศนภาพ สองแบบ ซึ่งมีให้เราเห็น ในระหว่างเวลา 18 ปี สุ ดท้ายที่พระสังฆราชลาโนดํารงตําแหน่งพระสังฆราช ก่อนอื่น เราจะศึกษาสถานการณ์ทางศาสนา โดยเริ่ มตั้งแต่การมรณภาพของพระสังฆราชลังแบรต์ ในปี ค.ศ. 1679 จนถึงเวลาที่คณะราชทูตของ ม. เดอ โชม็องต์ มาถึงในปี ค.ศ. 1685
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
54 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
พระสั งฆราชลาโนเป็ นผู้ปกครองทัว่ ไป แต่พอกรุ งโรมทราบว่าพระสังฆราชลังแบรต์ลม้ ป่ วยหนัก วันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1679 ก็ออกกฤษฎีกามอบ อํานาจของประมุขมิสซังโคชินจีนแก่พระสังฆราชลาโน ในเมื่อพระสังฆราชลังแบรต์จะถึงแก่มรณภาพ ความจริ ง วันที่ 3 เมษายนปี ก่อน กรุ งโรมก็มอบอํานาจปกครองประเทศญี่ปุ่นให้แก่พระสังฆราชลาโนมาแล้ว ครั้นกรุ งโรม ทราบว่าพระสังฆราชลังแบรต์วายชนม์แล้ว ก็แต่งตั้งพระสังฆราชลาโนเป็ นผูป้ กครองทัว่ ไปของมณฑลต่างๆ ใน ประเทศจีนแทนท่าน โดยดํารงตําแหน่งนี้ร่วมกับพระสังฆราชปัลลือ พระสังฆราชลาโนเดินทางไปประเทศโคชินจีนเมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1682 การที่ เดินทางไปครั้งนี้ก็เพื่อ จะได้ปฏิบตั ิหน้าที่ส่วนหนึ่งที่ท่านได้รับ ท่านเลือกคุณพ่อมาโอต์ (Mahot) เป็ นประมุขมิสซังโคชินจีน แล้วอภิเษก เป็ นพระสังฆราชแห่งบิด (Bide) ต่อมาไม่นาน ท่านก็เดินทางกลับกรุ งสยามและจะไม่เดินทางจากไปอีกจนกระทัง่ วันลาโลก ท่านเป็ นห่วงดูแลแต่ กรุ งสยาม แม้จะได้รับการขยายอํานาจปกครองออกไปจนถึงประเทศอินโดจีนและ ประเทศจีน
k
มิชชันนารีใหม่
o e s
ko g n a fB
สามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศส่ งพระสงฆ์มาให้พระสังฆราชลาโน 11 องค์ คือ ในปี ค.ศ. 1679 ส่ ง คุณพ่อกรอส (Grosse) กับคุณพ่อโมเนสจีเอร์ (Monestier) แห่งสังฆมณฑล แกลรฺ มอ็ งต์ ทั้งสององค์ ; ในปี ค.ศ. 1680 ส่ งคุณพ่อแซเรน (Zherren) กับคุณพ่อเฌอนูด์ (Genoud) สัญชาติสวิส และคุณพ่อแฟเรอ (Ferreux) แห่งสังฆมณฑลเบอซังซ็อง ; ในปี ค.ศ. 1681 ส่ งคุณพ่อเดอ ลีออน (de Lionne), คุณพ่อเดอ แลสปี นาส (de l'Espinasse) กับคุณพ่อ เดอ มองโดรี (de Mondory) และในปี ค.ศ. 1682 และปี ค.ศ. 1683 ส่ งคุณพ่อโฌเรต์ (Joret), คุณพ่อกราเว (Gravé) และคุณพ่อเลอ เชอวาลีเอร์ (Le Chevalier) ในกลุ่มพระสงฆ์น้ ี 2 องค์ คือ คุณพ่อเฌอนูด์ กับคุณพ่อโฌเรต์ จะไปตายเป็ นมรณสักขี (martyr) ใน ประเทศพม่า ; คุณพ่อแซเรน กับคุณพ่อเดอ แลสปี นาส "ที่ใครๆ รั ก เพราะอ่ อนโยนและอารี อารอบ" จะไปมรณภาพ ในปี นั้นเองที่เดินทางไปถึงมิสซัง ; คุณพ่อกรอส กับคุณพ่อ เดอ มองโดรี ไปแพร่ ธรรมไม่กี่ปีเท่านั้น ก็ไปรับ บําเหน็จในสวรรค์ ; คุณพ่อกราเวจะไปประเทศจีนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1686 สําหรับคุณพ่อเดอ ลีออน นั้น ท่านมีกาํ เนิดที่ ทําให้ท่านเป็ นคนพิเศษในกลุ่มมิชชันนารี กลุ่มนี้ กล่าวคือ ท่านเป็ นบุตรของ อึค เดอ ลีออน (Hugues de Lionne) เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจํากรุ งโรม ผูซ้ ่ ึ งต่อมาได้เป็ นเสนาบดีกระทรวงต่างประเทศของพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 คุณพ่อเดอ ลีออน มีความศรัทธามาก ทั้งมีความถ่อมตัว ซึ่ งทําให้ท่านมีบุญกุศลมากยิง่ ขึ้น เพราะท่านมีฐานะสู งใน สังคม ผูท้ ี่อายุนอ้ ยกว่าทุกคนคือ คุณพ่อปี แอรฺ แฟเรอ เมื่อออกเดินทางมายังมิสซัง ท่านเพียงแต่ได้รับพิธีโกน เท่านั้น แล้วไปรับศีลบวชเป็ นพระสงฆ์ที่กรุ งศรี อยุธยาในปี ค.ศ. 1684 ตลอดเวลาที่ทาํ งานแพร่ ธรรม ท่านแสดงให้ เห็นว่าเป็ นคนใจ เร่ าร้อน ขยันขันแข็ง เฉลียวฉลาดและชํานิชาํ นาญ นี่แหละคือบรรดาผูร้ ่ วมงานของพระสังฆราชลาโน ในช่วงเวลานี้ที่ท่านดํารงตําแหน่ง พระสังฆราช ทั้งนี้ โดยไม่นบั พวกที่เราได้บอกชื่อมาก่อนแล้ว
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
55
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
กรุงศรีอยุธยา - โบสถ์ นักบุญโยเซฟ กรุ งศรี อยุธยานับเป็ นแหล่งคริ สตชนที่สาํ คัญตลอดมา พระสังฆราชสร้างสํานัก พระสังฆราช และที่พกั พระสงฆ์จนแล้วเสร็ จ และสร้างโบสถ์นกั บุญโยเซฟต่อไป โบสถ์น้ ี เป็ นโบสถ์ที่พระเจ้าแผ่นดินทรงมีพระบัญชาให้ สร้างตามแผนผังที่พวกมิชชันนารี ได้เสนอ คุณพ่อดือแชน บรรยายโบสถ์ดงั กล่าวว่าดังนี้ 1 : "โบสถ์ นีย้ าวประมาณ 23 วา 2 และกว้ างประมาณ 11 วา มีตอนที่เป็ นที่นั่งสัตบุรุษสามตอน (กลาง ซ้ าย ขวา) กับหอสี่ เหลี่ยมใหญ่ โตสองหออยู่ข้างหน้ า มีห้องสักการภัณฑ์ (Sacristie) ที่มีความสูงเท่ ากันและ โครงสร้ างอย่ างเดียวกัน ตัวโบสถ์ ทาํ เป็ นรู ปไม้ กางเขน ตอนที่เป็ นส่ วนขวางจากปี กขวาถึงปี กซ้ ายนั้น กว้ าง 4 วา และยาว 12 วา 2 ศอก ตัวโบสถ์ เองกว้ าง 10 วา กําแพงสูง 6 วา 2 ศอก เสาทําด้ วยอิฐแปดเหลี่ยม เส้ นผ่ าศูนย์ กลาง 2 ศอก แต่ ละต้ นห่ างกัน 2 วา กั้นตอนเป็ นที่นั่งสัตบุรุษจากกัน รอบๆ หลังคาโบสถ์ มี ลูกกรงและรางนํา้ ทําด้ วยตะกั่ว สําหรั บรองนํา้ แล้ วนํา้ ก็จะไหลออกไปข้ างนอก ผ่ านทางท่ อตะกั่วที่ยื่น ออกไป ภายในโบสถ์ จะบุด้วยไม้ กระดานและลงทองเหมือนกับต้ นเสา เมื่อโบสถ์ นีส้ ร้ างเสร็ จแล้ ว จะดึงดูด คนชาวสยามหลายๆ คนให้ มาถือศาสนาตามที่เราหวัง เพราะเขาจะเห็นได้ ว่าพระเจ้ าแผ่ นดินโปรดศาสนานี "้
k
ko g n a fB
o e ความจริ งโบสถ์หลังนี้จะสร้างเสร็ จในอีก 10 ปี ข้างหน้า แต่ถึงกระนั ้ นsพวกมิชชันนารี ก็อดไม่ได้ที่จะคิดถึง e cไปหา "มาดาม เดอ มีรามีออ็ ง (de o i การตกแต่งโบสถ์ต้ งั แต่เวลานี้ และขอสามเณราลัยมิสซังต่างประเทศให้ d h Miramion), มาดาม เดอ ม็องแตสปั ง (de Montespan) ถ้ า เข้ าหาได้ และมาดาม เดอ ลูอิน (de Luynes) ด้ วย" c r Aผหู้ นึ่งในสามเณราลัยมิสซังต่างประเทศ ได้ต้งั กองทุนจํานวน คุณพ่อปี แอรฺ เดอ ป็ องส์ (de Pons) ซึ่ งเป็ นคณาจารย์ s e"สําหรับขอให้ จุดตะเกียง 3 ดวง ด้วยนํา้ มันมะพร้ าวทั้งกลางวันและ v i เงิน 50 เอกู เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ค.ศ. 1680 h c r กลางคืน หน้ าศีลมหาสนิท ในอาสนวิ A หารที่กรุงศรี อยุธยา" l a c i r งฆราชเดอ บูรฌฺ การอภิเษกพระสั o t s i H พิธีฉลองทางศาสนาครั้งหนึ่ง ซึ่งทํากันที่กรุ งศรี อยุธยาเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1682 ได้ดึงดูดคนต่าง ศาสนาเป็ นจํานวนมากมิใช่นอ้ ย ให้มาขออนุญาตร่ วมในพิธีดงั กล่าวคือ พิธีอภิเษกพระสังฆราชเดอ บูรฌฺ ผูซ้ ่ ึ ง เมื่อ 20 ปี ก่อน เป็ นพระสงฆ์มิชชันนารี องค์แรกที่เข้ามา ในกรุ งสยามพร้อมด้วยพระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต และต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็ นประมุขมิสซังตังเกี๋ยภาคตะวันตก พระสังฆราชลาโนเป็ นผูอ้ ภิเษก และมีคุณพ่อเชอเวรย กับคุณพ่อเดอ ชังเดอบัว เป็ นผูช้ ่วย “ทุกสิ่ งผ่ านไปอย่ างมีระเบียบเรี ยบร้ อย และโดยได้ ประกอบจารี ตที่เคย ทุก อย่ าง หลังพิธีอภิเษก ได้ มีการเลีย้ งใหญ่ เพื่อแสดงความชื่ นชมปี ติ ”
1เอกสารสําคัญของคณะมิสซังต่างประเทศ เล่ม 878 หน้า 201 ลงวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1682 2ความจริ งในภาษาฝรั่งเศสใช้คาํ "ตวส" (toise) ที่แปลคํา "ตวส" เป็ น "วา" นั้นก็เพราะว่าคํานี้เป็ นมาตราวัดฝรั่งเศส ยาว 6 ฟุต หรื อราวๆ 2 เมตร ซึ่งก็เท่ากับราวๆ 1 วา ของไทยนัน่ เอง (ผูแ้ ปล)
56 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
การกลับใจ การกลับใจซึ่งมีนอ้ ย ทําให้จาํ นวนคาทอลิกเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ ในค่ายโบสถ์ชาวญวน ซึ่ งคุณพ่อแฌฟฟรารด์ เป็ นผูด้ ูแลอยูใ่ นขณะนั้น "ผู้กลับใจที่สาํ คัญที่สุดก็คือ น้ องชายของ นายร้ อยเอกชาวโคชิ นจีน กับนายแพทย์ ผู้เชี่ ยวชาญคนหนึ่งพร้ อมกับภรรยา" ผูก้ ลับใจอีกคนหนึ่งซึ่ งมีตาํ แหน่งสู งกว่า และต่อไปจะมีชื่อเสี ยงโด่งดังมาก ชื่อ คอนสฺ ตนั ติน ฟอลคอน ได้ละทิ้งศาสนาโปรเตสแตนต์เพื่อเข้าถือศาสนาคาทอลิก เขาได้สาบาน จะละทิ้งศาสนา ดังกล่าวเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1682 ต่อหน้าพระสงฆ์เยสุ อิตองค์หนึ่ง ชื่อคุณพ่อโธมา ขุนนางชาวสยามที่ได้รับมอบหมายเป็ นพิเศษให้ดูแลชาวฝรั่งเศสและชาวญวน ได้มาหาพระสังฆราชลาโน บอกว่า "เขาจะถือศาสนาคาทอลิก ถ้ าเห็นว่ าศาสนานีด้ ีกว่ า" พระสังฆราชสนทนากับเขาเป็ นเวลาสามชัว่ โมง "ทําให้ เขาเห็นแจ่ มแจ้ งมาก" แต่เมื่อไปแล้ว เขาไม่กลับมาหาอีก
k o 3 k ในบริ เวณรอบๆ กรุ งศรี อยุธยา ได้มีกลุ่มคริ สตชนหลายกลุ่มก่อตั้งขึ้น คือที่ สามโคก (Samcok) g ซึ่งมี n โบสถ์นอ้ ยหลังหนึ่งถวายแด่นกั บุญเปโตร และที่ Tanpora (ตันโปรา ?) ทั้งสองแห่งนี้มีชาวมอญ a ; ที่ Matapam B fชาวสยาม, ชาวอารฺ เมเนีย (มาตาปาม ?) ซึ่งมีครอบครัวชาวสยามและชาวเขมร ; ที่ละโว้ มีสัตบุรุษชาวโปรตุเกส, o e่ งชื่อ Bannakan (บานนากาน?) s ่ และชาวมอญ คุณพ่อเลอ แกรลคฺ เป็ นผูด้ ูแลคริ สตชนกลุ่มหลังนี้กบั อีกกลุ ม หนึ e c มิชชันนารี ผนู ้ ้ ีพดู ภาษาสยามและมอญได้ดีมาก ท่านคุยกับคนพื้นเมืiอo งในประเทศนี้ได้อย่างออกรสทีเดียว" d ที่เมืองบางกอก คุณพ่อเดอ ชังเดอบัว ประกอบพิrธc ีศีลh ล้างบาปให้แก่คนเจ็บและคนใกล้จะตาย เป็ นต้น ในปี A ค.ศ. 1685 คุณพ่อมานูแอลมาแทน ท่านจึงเอาใจใส่ ดูแลแต่คริ สตัง ชาวสยามที่อยูห่ ่างจากเมืองบางกอกหนึ่งลีเออ s e กับชาวมอญที่อยูใ่ กล้เคียงเท่านั้น hiv rc A l พิษณุโลก a ric เอร์ได้ไปแทนคุณพ่อลังกลัวที่พิษณุโลก คุณพ่ออารฺ ดีเออ กับคุณพ่อ เลอ แกรลคฺ เพียงแต่ คุณtพ่o อโมแนสจี s i ผ่านไปเท่ H านั้น คุณพ่อโมแนสจีเอร์ได้พระสงฆ์มาเป็ นผูช้ ่วยหลายองค์คือ คุณพ่อกรอส ซึ่งได้ถึงแก่มรณภาพที่วดั นั้น กลุ่มคริสตชนน้ อยๆ ในบริเวณกรุงศรีอยุธยา
ในปี ค.ศ. 1683 "เป็ นที่เสี ยดายของคนทั้งจังหวัด", คุณพ่อเฌอนูดแ์ ละพระสงฆ์ฟรังซิสกันชาวอิตาเลียนองค์หนึ่ง ชื่อคุณพ่ออังเฌโล ท่านยังได้สามเณรเก่าจากวิทยาลัยกลางคนหนึ่งเป็ นคนสอนคําสอน ในจํานวนมิชชันนารี ท้ งั หมด ซึ่งไปแพร่ ธรรมที่พิษณุ โลก ดูเหมือนคุณพ่อโมแนสจีเอร์ เป็ นผูส้ อนให้คนกลับใจมากที่สุด ท่านประกอบพิธีศีล ล้างบาปให้แก่คนต่างศาสนาราวร้อยคนในเมืองพิษณุโลกเอง และเช่นเดียวกับคุณพ่ออังเฌโล ท่านสอนจนมี ผู้ เตรี ยมตัวรับศีลล้างบาป ทั้งผูร้ ับศีลล้างบาปใหม่ในบริ เวณข้างเคียงเมืองพิษณุโลก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ที่ Vangmedeeng (วังแม่แดง ? ), Nanjeng (นาแจง ? ), และ Bampran (บามปราน ? )
3เมืองสามโคก อยูท่ ี่วดั สิ งห์ อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ฝั่งขวาแม่น้ าํ เจ้าพระยา (ผูแ้ ปล; คัดจากประวัติศาสตร์ชาติไทย เล่ม 1 ของ พระบริ หารเทพธานี ปี พ.ศ. 2518, หน้า 519)
57
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
ตะนาวศรี ที่เมืองตะนาวศรี เกาะถลางและตะกัว่ ป่ า ชั้นแรกคุณพ่ออารฺ ดีเออ ต่อมาคุณพ่อมารฺ ตีโน ดูเหมือนจะ แพร่ ธรรมได้ผลบ้าง ทั้งนี้ก็โดยอาศัยความเชื่อและอิทธิพลของเจ้าเมืองจังหวัดนี้ ที่เป็ นฆราวาสผูช้ ่วยเก่าของพวก มิชชันนารี และได้ออกเดินทางจากประเทศฝรั่งเศสมาเมื่อปี ค.ศ. 1676 เจ้าเมืองผูน้ ้ ีคือนายเรอเน ชารฺ บอโน (Charbonneau) ซึ่ งจดหมายเหตุมิสซังเรี ยกเป็ นบางครั้งบางคราวว่า ภราดาเรอเน เขามีกาํ เนิดจากครอบครัวชาวเมืองปั วเจียร์ (Poitiers) ที่มีสกุลไม่สูง และความล่มจมบังคับให้ขายที่ดิน ของตน เพื่อไปเพาะปลูกในที่ดินของผูอ้ ื่น นายเรอเน ชารฺ บอโน เป็ นภราดาในคณะลาซาริ สต์อยูพ่ กั หนึ่ง ต่อมา ตาม คําแนะนําของจิตตาธิการ ออกจากคณะนี้มาเข้าคณะมิสซังต่างประเทศ ครั้นเดินทางมาถึงกรุ งสยาม เขาทําหน้าที่ เป็ นบุรุษพยาบาลอยูใ่ นโรงพยาบาลที่อยุธยา และต่อมาในโรงพยาบาลที่พิษณุโลก เขาได้แต่งงานตามคําแนะนําของ พระสังฆราช ลาโน แต่ยงั คงเป็ นคนใจบุญสุ นทานเสมอ จงรักภักดีต่อมิสซัง และปฏิบตั ิหน้าที่ศาสนาทุกอย่างโดย เคร่ งครัด พระเจ้ากรุ งสยามมีโอกาสเห็นคุณค่าความสุ จริ ตของเขา จึงตั้งให้เป็ นเจ้าเมืองตะนาวศรี นายชารฺ บอโน สั่งให้สร้างโบสถ์นอ้ ยแห่งหนึ่งขึ้นในเมือง "ภายใน 6 เดือนก็มีคนมาที่โบสถ์ นีก้ ว่ า 200 คน และได้ รับศีลล้ างบาป" แต่โชคร้าย ท่านป่ วยเป็ นไข้ ไม่ถูกกับอากาศที่เมืองตะนาวศรี จึงขอลาออกจากตําแหน่ง ทําให้กระแสความ เคลื่อนไหวที่มุ่งมายังศาสนาคาทอลิกแล้วหยุดชะงักไป คุณพ่อชารฺ โมต์ ซึ่ งไม่ชา้ จะเดินทางจากกรุ งสยามไปเมืองจีน เดินทางไปเมืองกาญจนบุรี (Cambouri) กับ พระสงฆ์ฟรังซิ สกันชาวมะนิลาองค์หนึ่งชื่อ คุณพ่อยวงบัปติสตา ไม่กี่สัปดาห์ ต่อมา คุณพ่อทั้งสองล้มป่ วย แล้ว กลับมาที่กรุ งศรี อยุธยา พระสังฆราชลาโน พยายามจะให้คนไปประกาศศาสนาที่หมู่เกาะนีโกบารฺ จึงส่ งคุณพ่อ กราเวไป แต่ไปไม่ถึง ต่อมาไม่นาน พระสงฆ์ฟรังซิสกันหลายองค์ไปตั้งอยูพ่ กั หนึ่ง แต่ทาํ งานไม่ได้ผล
k
ผู้สอนคาสอน
A l a
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
ตั้งแต่แรกที่มาอยูก่ รุ งสยาม พวกมิชชันนารี รู้สึกว่าจําเป็ นต้องมีผสู้ อนคําสอน ; นอกจากชาวญวนที่หา ผูส้ อนคําสอนให้ท่านได้บา้ งแล้ว ท่านหาเองที่อื่นไม่ได้ ในปี ค.ศ. 1677 ท่านยังคงมีแต่ "หญิงม่ ายคนหนึ่ง เป็ นคน ใจร้ อนรนอย่ างน่ าพิศวง เทศน์ เหมือนกับนักปราชญ์ คนหนึ่ง" พระสังฆราชลาโน ฝึ กคนหนุ่มๆ หลายคน ที่เลือก เอาในหมู่นกั เรี ยนวิทยาลัยกลางที่ไม่เรี ยนต่อไปแล้ว เป็ นต้น กับคนแต่งงานแล้วบางคน ในปี ค.ศ. 1685 ท่านฝึ กคนสอนคําสอน 12 คน โดยสอนคําสอนให้อย่างสมํ่าเสมอวันละสองครั้ง "ท่ าน อธิ บายบทสนทนาสองบทที่ท่านแต่ งเป็ นภาษาพืน้ เมือง บทหนึ่งหักล้ างศาสนา ของชาวสยาม และอีกบทหนึ่งบอก หลักและอธิ บายศาสนาคริ สตัง บทเรี ยนดังกล่ าวช่ วยให้ ผู้สอนคําสอนที่ฝึกใหม่ เหล่ านีม้ ีกาํ ลังใจ เขาเริ่ มไปยังวัด พุทธศาสนาทั่วไปอย่ างอาจหาญ โต้ เถียงกับพระภิกษุ ซึ่ งบ่ อยครั้ ง แย้ งเหตุผลที่เขาอ้ างสนับสนุนไม่ ได้ " ที่เมืองพิษณุโลกและเมืองสุ โขทัย (Sokotay) คุณพ่อโมแนสจีเอร์ คุณพ่อเฌอนูด์ และคุณพ่ออังเฌโล ถือตามแบบฉบับของพระสังฆราช
H
ic r o ist
58 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
การประกอบพิธีล้างบาปให้ แก่ลูกของคนต่ างศาสนา พร้อมๆ กับที่ทาํ งานแพร่ ศาสนาแท้ๆ กับดูแลวัดในปกครอง พวกมิชชันนารี ยงั บําเพ็ญกิจการอีกสองอย่าง ซึ่งได้ผลเป็ นที่บรรเทาใจมาก กิจการสองอย่างนั้นคือ ประกอบพิธีลา้ งบาปให้แก่ลูกของคนต่างศาสนาที่ใกล้จะตาย กับรักษาพยาบาลคนเจ็บที่เขาไปเยีย่ ม หรื อรับมาอยูใ่ นโรงพยาบาลของเขา จากวันที่ 29 สิ งหาคม ค.ศ. 1681 ถึงปลายเดือนตุลาคม ค.ศ. 1682 คุณพ่อกรอส, คุณพ่อโมแนสจีเอร์ , คุณพ่อแฟเรอ, คุณพ่อเด กัปโปนี และ คุณพ่อเปเรส ได้ประกอบพิธีศีลล้างบาปให้แก่ลูกของคนต่างศาสนาได้ราว 1,000 คน จากวันที่ 20 สิ งหาคม ค.ศ. 1682 ถึงวันที่ 8 ธันวาคม ปี เดียวกัน คุณพ่อเดอ ลีออน กับ มิชชันนารี อีกสององค์ประกอบพิธีลา้ งบาปให้แก่ลูกของคนต่างศาสนาได้ 95 คน ในปี ค.ศ. 1684 พระสังฆราชลาโนพูดถึงมิชชันนารี องค์หนึ่งซึ่ งท่านไม่บอกชื่อ มิชชันนารี ผนู้ ้ ีภายใน 6 เดือน ประกอบพิธีศีลล้างบาป ให้แก่เด็กใกล้จะตาย 500-600 คน ในปี ที่เหตุการณ์เป็ นปรกติ จํานวนเด็กที่ได้รับศีล ล้างบาปแบบนี้มีราว 1,000 คน แต่ในปี ที่มีกาฬโรค, ไข้ทรพิษ หรื อโรคอหิวาต์ระบาด จํานวนเด็กที่ได้รับศีลล้าง บาปแบบนี้ก็ยอ่ มเพิ่มขึ้นเป็ นสองเท่า
k
ko g n a fB
o e เพื่อให้การพยาบาลรักษาผูเ้ จ็บป่ วยได้ผลดียงิ่ ขึ้น พระสังฆราชลาโนสั ่งsในปี ค.ศ. 1682 ว่า "ทุกวันเวลาเช้ า e c มของแพทย์ชาวสวิสคนหนึ่ง o ให้ สอนวิชาแพทย์ แก่ พวกมิชชันนารี และให้ ทุกคนฝึ กทําศัลยกรรม"iในความควบคุ d h คุณพ่อดือแชนเขียนไว้วา่ "ความจริ ง การที่เราเป็ นที่นิยมและโปรดปรานของพระเจ้ า แผ่ นดินนั้น ก็เพราะใครๆ c r เห็นว่ าเราทําประโยชน์ ให้ แก่ ประชาชนคนธรรมดาด้ วA ยการแพทย์ และศัลยกรรม" s e ivให้มีผทู้ ูลพระเจ้าแผ่นดินว่า ท่านเสนอจะสร้างโรงพยาบาลใหญ่แห่งหนึ่ง ในปี เดียวกันนี้ พระสังฆราชใคร่ h rc เออ (Hôtel-Dieu) ที่กรุงปารีส แต่เจ้าพระยาพระคลังที่ท่านพูดให้ทราบถึงเรื่ อง คล้ายโรงพยาบาลที่เรี ยกว่า โอแตล-ดี A l นี้ "ชะรอยจะกลัiวc ว่ าaการทําดังกล่ าวจะทําให้ ศาสนานีเ้ ป็ นที่นิยมมาก จึงตอบว่ าในประเทศนีไ้ ม่ มีธรรมเนียมมี r o โรงพยาบาลเช่ นนี"้ พวกมิชชันนารี น้ นั ไม่มีน้ าํ ใจกว้างขวางเท่ากับพระสังฆราช ก็รู้สึกเสี ยใจบ้าง แต่ก็ดีใจด้วย t s i H เสธเช่นนี้ทาํ ให้มิสซังไม่ตอ้ งใช้จ่ายเงินงบประมาณหนักเกินไป เพราะการปฏิ การสอนวิชาแพทย์ - โรงพยาบาล
ฉะนั้นโรงพยาบาลน้อยๆ ทั้งสองแห่งนี้ ซึ่ งเราสั่งยามาจากฝรั่งเศส เช่น ยากวินกวีนา, ยาเซนนา 4, ยาดํา ฯลฯ มาให้ จึงดําเนินการต่อไปตามปรกติ มิชชันนารี อื่นบางคนไปพยาบาลรักษาคนเจ็บถึงที่บา้ นเขา ในปี ค.ศ. 1682 เนื่องจากโรคฝี ดาษ ทําให้มีคนล้มตายมาก พวกมิชชันนารี จึงแสดงเมตตาจิต ให้การช่วยเหลือมากขึ้น สมเด็จพระนารายณ์เมื่อทรงทราบดังนั้น ก็ทรงมอบเรื อสองลํากับคนพายสิ บคนมาให้เขาใช้ ทรงส่ งแพทย์ของ พระองค์หลายคนมาให้ไปกับเขา แต่เนื่องจากผูป้ ่ วยบางคนรักษาไม่หาย พระองค์จึงรับสั่งให้ทุกคนใช้ยาของพวก บาทหลวงฝรั่งเศส
4อังกฤษ senna, ฝรั่งเศส séné เป็ นยาระบายชนิดหนึ่ง (ผูแ้ ปล)
59
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
นา้ เสก และนา้ มันเสก ที่เมืองบางกอก คุณพ่อเดอ ชังเดอบัว ผูม้ ีความเชื่อแก่กล้าอย่างผิดปรกติธรรมดา กลับใช้ยาซื่อๆ อย่างหนึ่ง คือ คุณพ่อให้น้ าํ หรื อนํ้ามันเสกแก่คนเจ็บป่ วย ซึ่งเมื่อล้างหรื อทาหนหนึ่งแล้ว ก็รู้สึกว่าหายป่ วย บางทีก็เป็ นหญิงที่มี แผลฝี เต็ม แล้วร่ างกายหายสบายดี บางทีก็เป็ นคนตาบอดที่กลับแลเห็น คนหูหนวกที่กลับได้ยนิ คนเป็ นโรคเรื้ อน คนเป็ นโรคท้องมาร พระภิกษุ ฆราวาสซื่อๆ ผูช้ าย ผูห้ ญิง คนแก่และเด็ก คนเหล่านี้หายป่ วยด้วยยาทั้งสอง (คือ นํ้ามันและนํ้าเสก) ซึ่ งความเชื่อมีส่วนช่วยรักษายิง่ กว่าวิชาความรู้ "การที่ปีศาจเข้ าสิ งอยู่บ่อยๆ และทําการ เบียดเบียนอย่ างอื่นๆ นั้น ก็นับเป็ นวิธีที่พระเป็ นเจ้ าทรงใช้ เพื่อจิตใจคนซื่ อๆ เหล่ านีจ้ ะได้ รับความเชื่ อด้ วย"
นักบวชหญิง บางครั้งบางคราวก็ยงั มีการพูดถึงเรื่ องจะเรี ยกนักบวชหญิงชาวยุโรป ให้มาช่วยพวกมิชชันนารี ในการ ประกอบเมตตากิจ มีผเู้ ขียนเกี่ยวกับภคินีคณะพระกุมารเยซู และพวก มีรามีออน (Miramionnes) 5 ว่า "ถ้ าเลือกดีๆ นักบวชหญิงเหล่ านีอ้ าจเป็ นประโยชน์ แก่ กรุ งสยาม แต่ จะต้ องใช้ ความระมัดระวังสําหรั บการเดินทางมาของเขา เขา จะต้ องมีคุณธรรม มีจิตมัน่ คง ว่ านอนสอนง่ าย และเป็ นคนมีเหตุผล และจะต้ องมีการฝากฝั งของพระเจ้ าแผ่ นดิน สามหรื อสี่ คนก็พอ อย่ าสาวเกินไป และก็อย่ าแก่ เกินไปนัก ทั้งนีจ้ ะต้ องเป็ นคนมีอันจะดํารงชี วิตด้ วย" คุณพ่อ เดอ ลี ออน แสดงความรู ้สึกออกมาเช่นนี้ คุณพ่อเดอ บรี ซาซีเอร์ อธิการสามเณราลัยมิสซังต่างประเทศ ตอบมาอย่างสุ ขมุ คัมภีรภาพว่า "ให้ คอยจนกว่ าเหตุการณ์ ต่างๆ มีความมัน่ คงดีขึน้ " 6
k
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e ง่ายและบ่อยยิง่ ขึ้นพระสังฆราชลาโนรบเร้าอย่างหนักหน่วง เพื่อให้พวกมิชชันนารี ติดต่อกับชนชาวสยามได้ v i hนว่าหลายคนตั้งใจเรี ยนไม่พอ ท่านก็ชื่นชมที่ "สองสามคนให้ ความหวังว่า ให้เขาเรี ยนภาษาสยาม และหลังrจากบ่ c จะรู้ ได้ อย่ างดีทีเดียว" l A a c i พระสังฆราชเองทํ r าตัวเป็ นแบบอย่าง และพวกมิชชันนารี ในยุคนั้นต่างมีความเห็นพ้องกันว่า ในพวกเขาไม่ o t มีใครรู ้จiกs ั พูดและเขียนภาษาสยามได้อย่างถูกต้องเท่ากับท่าน 7 เมื่อยังเป็ นพระสงฆ์ธรรมดาอยู่ ท่านแต่งหนังสื อ H หนังสื อทีพ่ ระสั งฆราชลาโนแต่ ง
หลายเล่ม เพื่อเผยแพร่ หรื อรักษาข้อความจริ งในศาสนาคาทอลิกไว้ และเมื่อเป็ นพระสังฆราชแล้ว ท่านยังแต่ง หนังสื อต่อไป
5เอกสารสําคัญของคณะมิสซังต่างประเทศ เล่ม 11 หน้า 63 6เอกสารสําคัญของคณะมิสซังต่างประเทศ เล่ม 11 หน้า 161 จดหมายของบาทหลวงเดอ บรี ซาซีเอร์ ถึงพระสังฆราช ลาโน ลงวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1688 7เพราะฉะนั้น เมื่อฟอลคอนจะกล่าวหาในภายหลังว่า พระสังฆราชลาโนไม่รู้ภาษาสยามนั้นจึงเป็ นเรื่ องใส่ ความชัดๆ และเป็ นเรื่ องที่ไม่มีมลู ความจริ งโดยสิ้ นเชิง พระสังฆราชลาโนอาจจะพูดภาษาสยามไม่ชดั ออกเสี ยงขึ้นลงไม่ถูกเหมือนชาวยุโรปเกือบทัว่ ไป (เรื่ องนี้สมเด็จพระ นารายณ์เองก็ดูเหมือนทรงเคยบ่นว่า พระสังฆราชลาโนพูดฟังไม่ค่อยเข้าใจ) แต่ท่านรู้ภาษาสยามอย่างแตกฉาน และต้องรู้ดีกว่าฟอลคอนเอง เป็ นแน่นอน (ผูแ้ ปล)
60 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
และเมื่อถึงปี ค.ศ. 1687 หนังสื อที่เขียนออกจากปากกาของท่านมีถึง 26 เล่ม เช่น "คําสอนใหญ่ " เล่มหนึ่ง , "คําสอนเล็ก" เล่มหนึ่ง, "คําอธิ บายศีลศักดิ์สิทธิ์ และอัตถ์ ลึกซึ ้ง" เล่มหนึ่ง, "บทสนทนาเรื่ องพระศาสนา" เล่มหนึ่ง, "พระประวัติพระเยซูเจ้ า" เล่มหนึ่ง, "คําแปลพระวรสาร ทั้งสี่ ส่วนหนึ่ง" 8 เล่มหนึ่ง, "ไวยากรณ์ สยามและบาลี " เล่ม หนึ่ง, "พจนานุกรมสยาม" เล่มหนึ่ง กับ "พจนานุกรมมอญ" อีกเล่มหนึ่ง ฯลฯ
เกีย่ วกับผ้ าจีวรของพระภิกษุ พระสังฆราชลาโนไม่หยุดยั้งที่จะหาทางเผยแพร่ พระศาสนาคาทอลิก จึงมีความดําริ คิดจะสวมผ้าจีวรของ พระภิกษุ และให้พวกมิชชันนารี สวมตามด้วย ก่อนจะให้ปฏิบตั ิเช่นนี้ ท่านเห็นสมควรจะปรึ กษากรุ งโรม โดยชี้ ข้อเสี ยสําคัญ 3 ประการที่ท่านเห็นคือ 1. ผ้าจีวรมีความเกี่ยวพันกับพระพุทธศาสนา 2. ทั้งสัตบุรุษ และคนต่างศาสนาจะเห็นเป็ นเรื่ องไม่สมควร 3. สงฆ์คาทอลิก กับสงฆ์พุทธจะคล้ายกัน
ok k g n ต่อไปท่านก็ช้ ีขอ้ ดีต่างๆ ซึ่ งสรุ ปได้วา่ จะช่วยให้ทาํ การเผยแพร่ ศาสนาได้ง่ายขึ้น หนัB งสืa อของพระสังฆราช f o 1685 จากสมณกระทรวง ลาโนฉบับนี้เขียนในปี ค.ศ. 1682 ได้รับคําตอบปฏิเสธไม่อนุมตั ิ ลงวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. e s เผยแพร่ ความเชื่อ e c o i d คุณพ่อดือแชน กับสมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชืr่อ ch A คุณพ่อดือแชนมีความคิดที่น่านิยมกว่า s เป็ นความคิดที่จะทําให้ถือท่านเป็ นผูห้ นึ่งที่มีความคิดนําหน้าผูท้ ี่ e ภายหลังได้ต้ งั กิจการเผยแพร่ ความเชื่อhiv rc งกรุงปารี ส ควรตั้งสมาคมฆราวาส (confrérie) ที่มีจุดมุ่งหมายจะ "ที่สามเณราลัยมิสซังA ต่ างประเทศแห่ l คนต่างศาสนากลับใจ พระสังฆราชยินดีรับเอาความคิดนีม้ าปฏิบัติ คุณพ่อดือแชน a ภาวนาและประกาศศาสนาให้ c i r o เรี ยนท่ านว่ าt เหตุที่ขดั ขวางมิให้ เรารั บเอาความคิดดังกล่ าว ก็เพราะเกรงว่ า จะมีคนเห็นเราเป็ นผู้ได้ รับประโยชน์ แต่ s i ทางที ่ ถ ก ู H ต้องนั้น ดูเหมือนความกลัวนี้ ไม่ควรเป็ นเหตุให้ เราทําให้ คนต่างศาสนาไม่ได้รับความช่ วยเหลือของ
พระหรรษทาน ที่ เขาอาจจะได้ รับจากสมาคมศักดิ์สิทธิ์ นีแ้ ละขอให้ ท่านไตร่ ตรองดูเถิดว่ า ถ้ าขาดความช่ วยเหลือทาง วัตถุ ซึ่ งอาจจะได้ รับในขณะเดียวกัน เราจะไม่ สามารถประกาศศาสนาแก่ คนทั่วทั้งประเทศทีเดียว"
8ในจํานวนหนังสื อ 26 เล่ม ที่พระสังฆราชลาโนแต่งนั้น มีแต่เล่มนี้เล่มเดียวที่เหลือเป็ นมรดกตกทอดมาถึงเรา หนังสื อดังกล่าวเป็ นคําแปล พระวรสารทั้งสี่ เป็ นภาษาไทยสมัยอยุธยา และเขียนเป็ นอักษรไทยสมัยอยุธยา หนา 532 หน้า ขนาด 10" 7" เขียนด้วยนํ้าหมึกสี ดาํ อย่างดี ใช้กระดาษหยาบๆ แต่ยงั แข็งแรง แต่คาํ แปลของพระสังฆราชลาโนไม่ใช่คาํ แปลตรงตามตัวอักษร เป็ นแต่คาํ แปลเอาเนื้อความ ตัดเติมตาม สะดวก แล้วเอาความในพระวรสารทั้งสี่ มาปนรวมกันเข้าเป็ นพระชีวประวัติ และคําสั่งสอนของพระเยซูเจ้า หนังสื อประเสริ ฐเล่มนี้ คณะ มิสซังต่างประเทศแห่งกรุ งปารี ส ได้ถ่ายเป็ น microfiche และส่ งมาถึงมือเราแล้ว เราจะได้ถ่ายทอดเป็ นภาษาไทยปัจจุบนั ต่อไป (ผูแ้ ปล)
61
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
วิทยาลัยกลางย้ ายไปทีม่ หาพราหมณ์ ในปี ค.ศ. 1679 หรื อ ค.ศ. 1680 วิทยาลัยกลางได้ยา้ ยจากกรุ งศรี อยุธยาไปมหาพราหมณ์ อันเป็ นหมูบ่ า้ น ซึ่งอยูห่ ่างจากนครหลวงประมาณสองลีเออ (8 กม.) ผูบ้ นั ทึกเหตุการณ์คนหนึ่งบันทึกไว้วา่ เหตุที่ยา้ ยวิทยาลัยกลาง ในครั้งนี้ "เป็ นเพราะริ ้นและยุงชุมจนนักเรี ยนเรี ยนหนังสื อไม่ ได้ " นอกจากนั้น ยังมีเหตุอื่นอีก เช่น เนื่องจากวิทยาลัย กลางรวมอยูใ่ นเขตสามเณราลัย อันหมายรวมถึงสํานักพระสังฆราช บ้านพักพระสงฆ์ และโบสถ์ ซึ่ งทั้งคริ สตังและ คนต่างศาสนาพากันมาไม่ขาดสาย จึงไม่ใช่สถานที่ที่นกั เรี ยนจะมีความสงบได้เท่าที่พึงปรารถนา เรื่ องนี้ พระสังฆราชลาโนเข้าใจ ท่านจึงขอพระราชทานที่ดินแห่งหนึ่งที่มหาพราหมณ์ จัดให้สร้างบ้าน ที่ทาํ ด้วยไม้ไผ่และ ใบไม้หลายหลัง และอุทิศสิ่ งที่ก่อสร้างนี้แด่เทวดาทั้งหลาย ท่านส่ งสามเณรเล็กจํานวนราว 30 คน ไปก่อน คุณ พ่อปั สโกต์ "เป็ นผู้ดูแลวิทยาลัยกลางทุกอย่ าง เว้ นแต่ ในเรื่ องวิญญาณ ซึ่ งเป็ นหน้ าที่ของคุณพ่ อเฟเรต์ " ต่อมาไม่นาน สามเณรใหญ่ ก็ได้ยกไปอยูท่ ี่มหาพราหมณ์ดว้ ย ดังนี้ จึงมีสามเณรอยูส่ องแผนก อาจารย์ที่สาํ คัญๆ ในยุคนี้ก็มี คุณพ่อดือแชน, คุณพ่อปัสโกต์ และคุณพ่อโฌเรต์ ไม่นบั คุณพ่อแป็ ง (Pin) ซึ่ง เป็ นผูส้ อบได้ปริ ญญาเอกจากมหาวิทยาลัยซอรฺ บอน เป็ นมิชชันนารี อยูใ่ นประเทศจีนและมาอยูท่ ี่นี่พกั หนึ่ง คุณพ่อดือแชนเป็ นนักเทวศาสตร์ และนักฎหมายพระศาสนจักรที่มีชื่อทุกวันท่านบรรยายปัญหาต่างๆ สอน อย่างอ่อนโยน ไม่ข้ ึนเสี ยงดัง และมีความอดทนดีมาก ท่านเขียนข้อประเด็นของเรื่ องปัญหาต่างๆ และวิธีแก้ แล้ว ส่ งเรื่ องทั้งหมดไปยังมิสซังตังเกี๋ยและโคชินจีน ในปี ค.ศ. 1682 ท่านได้รับแต่งตั้งเป็ นอธิการวิทยาลัยกลาง และในปี เดียวกันนั้นเอง ท่านยังได้รับแต่งตั้ง เป็ นพระสังฆราชแห่งเบริ ธ เมื่อวันที่ 16 เมษายน แต่เนื่องจากมีโรคภัยไข้เจ็บ ท่านไม่สามารถรับได้ท้ งั สองตําแหน่ง วันที่ 2 มกราคม ค.ศ. 1684 ท่านมีหนังสื อทูลพระสันตะปาปา ไม่ยอมรับตําแหน่งพระสังฆราช กรุ งโรมไม่ฟังเสี ยง สมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อรบเร้าให้ท่านรับ แต่หนังสื อของสมณกระทรวงมาถึงกรุ งศรี อยุธยาเมื่อผูร้ ับเลือก เป็ นพระสังฆราชถึงแก่มรณภาพไปนานแล้ว คือ ท่านวายชนม์เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ.1684 โดยที่ทุกคน ประทับใจในเมื่อเห็นท่านนอบน้อมตามนํ้าพระทัยของพระเป็ นเจ้า วันหนึ่งมีคนถามว่าท่านมีเคล็ดลับอะไร เวลา ท่านเจ็บปวดอย่างแสนสาหัส จึงมีความอดทนเช่นนั้น ท่านตอบว่า "ฉันก็นึกอยู่ในใจเสมอ ว่ าพระเยซูคริ สตเจ้ าทรง ทนทุกข์ อะไรเวลารั บทนทรมานและตายบนกางเขน !" คุณพ่อปั สโกต์สอนวิชาปรัชญา เหมือนกับที่เคยสอนในประเทศฝรั่งเศส คุณพ่อวาเชต์ เขียนเล่าว่า "แต่ บางครั้ งท่ านอึดอัดใจกับคําโต้ แย้ งของนักเรี ยนที่ท่านไม่ เคยได้ ยินในโรงเรี ยนมาก่ อน" ทุกวันเสาร์ท่านจัดให้มีการ ทบทวนเรื่ องที่ท่านสอนมาในสัปดาห์น้ นั และทุกเดือนยังจัดให้มีการแสดงและชี้แจงความคิดอย่างใดอย่างหนึ่งให้ ทุกคนฟัง (thèse publique) ด้วย ท่านแต่งหนังสื อปรัชญาอย่างย่อๆ สําหรับนักเรี ยนของท่าน แต่ในหนังสื อนั้นมีความคิดเห็นของแดสการตฺ (Descartes) ซึ่ งดูจะไม่ถูกต้อง พระสังฆราชปั ลลือบังคับให้คุณพ่อสัญญา และสาบานจะส่ งมอบคําสอนที่สอน ให้แก่ท่าน หรื อพระสังฆราชลาโน คุณพ่อปั สโกต์ได้รับความสะเทือนใจจากคําสัง่ นี้มาก ท่านทําการทรมานกาย แบบแปลกๆ พิสดาร จนไม่สบาย สติปัญญาเสื่ อม แล้วผูใ้ หญ่ตอ้ งส่ งคุณพ่อกลับไปประเทศฝรั่งเศส
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
62 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
การยกสามเณราลัยนักบุญโยเซฟให้ แก่สามเณราลัยมิสซังต่ างประเทศ วันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1684 พระสังฆราชลาโน ยกกรรมสิ ทธิ์ และการปกครอง สามเณราลัยแห่ง กรุ งสยามให้แก่สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศที่กรุ งปารี ส9 สามเณราลัย มิสซังต่างประเทศก็รับการยกให้ดงั กล่าว เมื่อวันที่ 28 ธันวาคมปี เดียวกัน สิ่ งที่ยกให้น้ นั ได้แก่ สามเณราลัย ในฐานะเป็ นศูนย์ปกครองมิสซังต่างๆ แต่ไม่มีการ ระบุเป็ นพิเศษถึงวิทยาลัยกลาง อย่างไรก็ตาม เนื่องจากใครๆ ก็คิดว่า วิทยาลัยกลางหมายรวมถึงสิ่ งก่อสร้างที่บ่งอยูใ่ นคําว่า "สามเณราลัย" บรรดาคณาจารย์เมื่อตอบหนังสื อของพระสังฆราชลาโน ก็ส่งแผนปฏิบตั ิมาบอกว่า "จําเป็ นต้ องเขียนกฎวินัยเฉพาะ สําหรั บสํานักที่เราจะฝึ กสามเณรพืน้ เมืองเหล่ านี ้ และกฎวินัยดังกล่ าวซึ่ งเขาจะส่ งมาให้ เราอนุมตั ินั้น จะต้ องถือ ชั่วคราวไปก่ อนจนกว่ าจะมีการกําหนดแน่ นอนและได้ รับการอนุมตั ิหมดทุกอย่ าง" เรื่ องนี้ตอ้ งค่อยทําค่อยไป และ จนกว่าจะมีประสบการณ์นานๆ จนมองเห็นว่าอะไรจะต้องเพิ่ม อะไรจะต้องตัดออก แต่การที่พระสังฆราชลาโน ยกสามเณราลัยที่อยุธยาให้แก่สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศนั้น มิได้มีผล อะไรอื่น นอกจากเป็ นการแลกเปลี่ยนหนังสื อระหว่างท่านกับสามเณราลัยมิสซังต่างประเทศเท่านั้น เพราะสิ บสองปี ต่อมา การยกให้ดงั กล่าวก็ได้ถูกเพิกถอนตามคํารบเร้าของประมุขมิสซังอื่นๆ พร้อมด้วยคําแถลงต่อไปนี้วา่ "สาม เณราลัยดังกล่ าวยังคงอยู่ และต้ อง ยังคงอยู่อย่ างแท้ จริ งตลอดไปในกรรมสิ ทธิ์ การครอบครองและการใช้ ของ บรรดาพระสงฆ์ ฝรั่ งเศส มิชชันนารี ของพระสันตะปาปา10 (missionnaire apostolique) ในฐานะเป็ นสมบัติของ ส่ วนรวม" นี่แหละ คือสภาพและความเป็ นไปของมิสซังกรุ งสยาม ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1679 ถึง ค.ศ. 1685 และถึงแม้จะ เป็ นการพูดเกินความจริ งที่จะกล่าวว่า "มิสซังลุกเป็ นไฟทุกทิศทุกทาง" แต่เราปฏิเสธ ไม่ได้วา่ ในยุคนั้นมิสซัง ได้ แสดงให้เห็นว่าทํางานอย่างเข้มแข็งมิใช่นอ้ ย และทํางานได้ผลอย่าง แท้จริ ง แต่เป็ นผลที่นอ้ ยนิดแน่ เพราะจดหมาย เหตุ มิสซังบันทึกว่า มีคริ สตังชาวสยามเพียง 500-600 คน "โดยไม่ นับคริ สตังชาวยุโรป, ชาวโคชิ นจีน, ชาว อารฺ เมเนีย และชาวต่ างประเทศอื่นๆ"
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
การส่ Hงทูตครั้งแรกๆ ระหว่างกรุงฝรั่งเศสกับกรุงสยาม ค.ศ. 1679 – 1685 มูลเหตุความสั มพันธ์ ระหว่ างกรุงฝรั่งเศสกับกรุงสยาม
พระสังฆราชลาโนมีหนังสื อถึงกอลแบรต์ (Colbert) ว่า : "แต่ ก่อนเขาเกือบไม่ ร้ ู ว่ามีประเทศฝรั่ งเศสหรื อ เปล่ า โดยเฉพาะอย่ างยิ่งก่ อนที่พวกเราจะมาถึง" ความรักบ้านเกิดเมืองนอนของพวกมิชชันนารี น้ นั เป็ นความรักบ้าน เกิดเมืองนอนอย่างแก่กล้า เพราะฉะนั้น จึงคงไม่เป็ นแต่ความรู้สึกหากได้กลายเป็ นการปฏิบตั ิตามความรู้สึกนั้นด้วย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1667 พระสังฆราช ลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต ได้แสดงให้พระสังฆราชปัลลือทราบว่า 9เอกสารประวัติศาสตร์เกี่ยวกับคณะมิสซังต่างประเทศ เล่ม 1 หน้า 359 10พระสงฆ์คณะมิสซังต่างประเทศ เวลาลงนามในหนังสื อจดหมาย แทนที่จะเขียนต่อท้ายว่า MEP ซึ่งเป็ นคําย่อชื่อของคณะของเขา (Missions Etrangères de Paris)มักเขียนต่อท้ายคําเป็ น Miss. Ap.(Missionnaire Apostolique)เพื่อแสดงความภาคภูมิใจว่าเขาเป็ นธรรมทูตของพระสันตะปาปา
ธรรมทูตที่พระสันตะปาปาทรงใช้มา (ผูแ้ ปล)
63
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
มีความปรารถนาให้พระเจ้า กรุ งฝรั่งเศส ส่ งราชทูตคนหนึ่งมายังกรุ งสยาม "เพื่อจะได้ ใช้ เจรจาเรื่ องการค้ าที่เราจะทํา ได้ ใน พระราชอาณาจักรนี ้ และด้ วยวิธีเดียวกันนีเ้ อง พระเจ้ ากรุ งฝรั่ งเศสได้ ทรงเชื ้อเชิ ญพระเจ้ า กรุ งสยามมา สมัครถือศาสนาของเรา" ถ้อยคําเหล่านี้แสดงให้เห็นจุดมุ่งหมายของพระสังฆราชทั้งสองอย่างแจ่มชัด คือ ขยายอิทธิพลของประเทศ ฝรั่งเศส ใช้การค้ากับกรุ งสยามทําให้ประเทศฝรั่งเศสมัง่ คัง่ ดําเนินการให้สมเด็จพระนารายณ์ทรงเข้ารี ต และเมื่อ พระนารายณ์ทรงเข้ารี ตก็จะทําให้พระราชอาณาจักรของพระองค์ส่วนหนึ่งกลับใจมาถือศาสนาคาทอลิกด้วย พระสังฆราชปัลลือได้รับความบันดาลใจ จากความคิดเหล่านี้เอง เมื่อขอพระสมณสาสน์จากพระสันตะปาปา และ พระราชสาสน์จากพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศส พร้อมด้วยเครื่ องบรรณาการ มาถวายพระเจ้าแผ่นดินกรุ งสยามในปี ค.ศ. 1669 และเมื่อนําสิ่ งเหล่านี้เข้าทูลเกล้าฯ ถวายในปี ค.ศ. 1672
k
ko g n a fB
อันความสัมพันธ์ระหว่างกรุ งฝรั่งเศสกับกรุ งสยามอย่างหนึ่ง กับการเข้ารี ตของสมเด็จพระนารายณ์อีกอย่าง หนึ่งนั้นพวกมิชชันนารี เห็นว่าเป็ นของสองสิ่ งที่เกี่ยวโยงกันคือ เขาคิดว่า สิ่ งแรกมาแล้ว สิ่ งหลังก็ตอ้ งตามมา แล้ว ทีน้ ี สิ่ งที่ตามหลังมาก็จะทําให้สิ่งที่มาก่อนมัน่ คงเข้มแข็ง ความจริ งถ้าคิดในแง่คริ สตัง การกลับใจของพระเจ้าแผ่นดินจะเกิดผลดีสาํ หรับศาสนาคาทอลิก มิใช่ใน ประเทศที่พระองค์ทรงปกครองเท่านั้น หากจะเกิดผลดีทวั่ ทั้งภาคตะวันออกไกลด้วย ประเทศสยามเห็นจะเป็ นส่ วน ใหญ่ น่าจะตามพระเจ้าแผ่นดินของตนเข้าไปในหนทางแห่งความจริ งทางศาสนา และถ้าประเทศใกล้เคียงไม่คิดเอา อย่างพระองค์ อย่างน้อยก็น่าจะทิง้ ความรู ้สึกเกลียดชังที่เขามีต่อศาสนาของชาวต่างประเทศ
iv h rc
e c io d rch
o e s
A s e
ถ้าจะพิจารณาเหตุการณ์ตามประสามนุษย์ เรื่ องเหล่านี้คงเป็ นแต่ความฝันที่เป็ นไปได้ยากมาก จนหลายต่อ หลายคนเห็นว่าเป็ นเรื่ องที่เป็ นไปไม่ได้ แต่เมื่อเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับความเชื่อ และเป็ นผลที่ข้ ึนกับฤทธิ์ ความเชื่อ ก็จาํ เป็ นต้องหาทางให้ส่วนประกอบอย่างหนึ่งที่อยูเ่ หนือธรรมชาติคือ ฤทธิ์ อาํ นาจแห่งพระญาณสอดส่ องของ พระเป็ นเจ้าเข้ามาสอดแทรก พระเป็ นเจ้าทรงเคยทําอัศจรรย์เช่นนี้ทางภาคตะวันตกมาแล้ว จึงทรงสามารถทําทาง ภาคตะวันออกไกล ได้อีก เหตุใดคนในประเทศนี้จึงยังคงเป็ นคนต่างศาสนาอยู?่ เราจะเสี ยเวลาหาคําตอบคําถามนี้ เป็ นวันๆ เสี ยเปล่า คงไม่พบ เราอาจจะอธิบายว่าเป็ นอย่างนี้อย่างนั้น อ้างว่าเป็ นเพราะอุปนิสัยและจิตใจของ ประชาชนต่างกัน เป็ นเพราะเหตุการณ์แวดล้อมทางการเมือง หรื อเพราะสถานการณ์ทางสังคม ในที่สุดก็ตอ้ งอ้าง จนถึงคําพูดต่อไปนี้ ซึ่ งเต็มไปด้วยความลึกลับว่า "พระเป็ นเจ้ าไม่ ทรงพอพระทัยให้ เป็ นเช่ นนั้น" แต่เราก็เข้าใจดีวา่ มี ผูแ้ พร่ ธรรมที่ใจเร่ าร้อนบางคนคิดว่าจะเป็ นอย่างอื่น และหวังว่าพระเป็ นเจ้าจะทรงอนุเคราะห์ตามใจร้อนรน และ โปรดให้เป็ นไปตามคําภาวนาของเขา
A l a
ic r o ist
H
ไม่ตอ้ งแปลกใจว่าพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ได้ทรงเห็นคล้อยตามทัศนะของบรรดา ผูแ้ พร่ ธรรมใจร้อนรน การที่ พระองค์ทรงเห็นคล้อยตามนั้น นับเป็ นการแสดงความเชื่อเท่าๆ กับ ที่เป็ นการแสดงนโยบายอันเฉลียวฉลาด
64 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
เจ้านายคริ สตังองค์หนึ่งที่เป็ นราชาธิ ราชของกรุ งสยามนั้น น่าจะจําเป็ นต้องเป็ นพระสหายและสัมพันธมิตร กับประเทศฝรั่งเศส ซึ่งจะกลายเป็ นผูแ้ ทนดูแลผลประโยชน์ของชาวคาทอลิกในภาคตะวันออกไกล เหมือนกับที่ เป็ นผูแ้ ทนรักษาผลประโยชน์ของชาวคาทอลิกในทวีปยุโรป สายสัมพันธ์ทางศาสนาแทนที่จะเป็ นสายสัมพันธ์แบบ ชัว่ ครู่ และอาจจะมีหรื อไม่มีข้ ึนก็ได้น้ นั น่าจะเป็ นสายสัมพันธ์ที่ถาวร และไม่น่าจะผูกมัดแต่เพียงปัจเจกชนสองสาม คน ที่ละโมบอยากได้ผลกําไรหรื อเกียรติยศ แต่น่าจะรวมสติปัญญาและจิตวิญญาณทั้งหลายให้เป็ นอันหนึ่ง อันเดียวกัน น่าจะพัฒนาความคิดอันมีร่วมกันและทําให้เกิดอารยธรรมอันเดียวกัน สายสัมพันธ์ทางศาสนาน่าจะเป็ น ดังสายใยลึกลับที่จะนํากระแสความเห็นอกเห็นใจอย่าง ต่อเนื่องและเหนียวแน่นให้แล่นเข้าไปในดวงใจ ความเป็ นจริ งมีวา่ การมีศาสนาร่ วมกันไม่ทาํ ให้เกิดพลังแห่งความสมัครสมานกันในทวีปยุโรป แต่ทว่าทํา ให้เกิด และโดยเฉพาะอย่างยิง่ แต่ก่อนเคยทําให้เกิดขึ้นในหมู่ประชาชนชาติต่างๆ ทางภาคตะวันออก ซึ่ งถือว่า ศาสนากับสัญชาติเป็ นเรื่ องเดียวกัน แน่นอน ตั้งแต่ขยายนโยบายอาณานิคมของเราแล้ว เป็ นที่น่าปรารถนาให้รัฐบาล ฝรั่งเศสได้รับแรงบันดาลใจจากความจริ ง ข้อนี้ ซึ่ งเป็ นที่พิสูจน์ได้ง่าย กล่าวคือ ประเทศฝรั่งเศสได้พบมิตรแท้ที่ ไหนในประเทศอินโดจีน? ก็พบในหมู่คริ สตัง ใครได้สู้รบกับประเทศฝรั่งเศส? ก็พวกที่เป็ นผูน้ บั ถือพระพุทธเจ้า และขงจื๊อ อีกทั้งพวกที่ถือลัทธิ ศาสนาอื่นๆ แต่ความคิดเหล่านี้เป็ นความคิดที่อยูห่ ่างไกลแสนไกลจากพระราชดําริ ของพระเจ้าแผ่นดินกรุ งสยาม และ แนวความคิดของฟอลคอน คนโปรดของพระองค์ สมเด็จพระนารายณ์ ทรงพระราชดําริ เห็นแต่เพียงว่า การมี สัมพันธไมตรี กบั ประเทศฝรั่งเศสนั้น เป็ นหนทางที่จะมีผลประโยชน์รายได้ และเป็ นเครื่ องคุม้ ครองในการสู้รบกับ ชาวฮอลันดา ซึ่งมีอาํ นาจเป็ นที่ครั่นคร้ามของพระองค์ ในส่ วนที่เกี่ยวกับพระองค์เองนั้น พระองค์เกือบไม่มีความ ห่วงกังวลแต่ประการใด ถึงปัญหาเรื่ องศาสนา ผูท้ ี่คิดว่าความข้อนี้ไม่เป็ นความจริ ง จะเป็ นคนที่ไม่เคยศึกษาจิตใจ ของคนชาวสยาม และโดยเฉพาะอย่างยิง่ ของพระเจ้าแผ่นดินกรุ งสยามซึ่ งนอกจากมีขอ้ อ้างที่จะไม่ถือศาสนา คาทอลิกเหมือนพสกนิกรของพระองค์แล้ว ยังแถมมีขอ้ อ้างอื่นๆ ที่เกิดเพราะการมีอาํ นาจและเพราะการเมืองอีกด้วย
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
H คนโปรดของสมเด็จพระนารายณ์คือ กองสฺ ตงั สฺ หรือ คอนสฺ ตนั ติน ฟอลคอน นัน มีความคิดเหมือนกับ
ฟอลคอน
้ พระองค์ แต่ยงั แถมมีความมักใหญ่ใฝ่ สู งและมีเหตุผลต่างๆ ซึ่ งเกิดจากจิตใจของเขาที่เป็ นคนชาวตะวันตกด้วย บุรุษ ผูม้ ีความเชี่ยวชาญผูน้ ้ ีมีเชื้อสายเดิมเป็ นชาวกรี ก เกิดในราว ค.ศ. 1648 ที่เกาะเซฟาโลเนีย บางคนว่าเกิดจากพ่อแม่ที่ เราไม่รู้วา่ เป็ นใคร แต่บางคนก็วา่ เป็ นลูกของคนขายเหล้าหรื อผูม้ ีสกุลชาวเมืองเวนิส หลังจากได้ไปประจญภัยในที่ ต่างๆ แล้ว เขามาตั้งหลักฐานอยูใ่ นกรุ งสยาม ทําการค้าขายและคิดเล่ห์กลที่จะมีกาํ ไร ต่อมาไม่นานก็มีความสัมพันธ์ กับเจ้าพระยาพระคลัง (barcalon) หรื ออัครมหาเสนาบดี จนเป็ นที่ไว้เนื้อเชื่อใจ เมื่อเป็ นคนโปรดของเจ้าพระยาพระคลังแล้ว ต่อมา ฟอลคอน ก็ได้รับความชอบจาก พระเจ้าแผ่นดิน พระ เจ้าแผ่นดินทรงพระดําริ จะทรงแต่งตั้งเขาให้เป็ นเจ้าพระยาพระคลัง แต่เขา ไม่ปรารถนา พอใจที่จะมีอาํ นาจอย่าง แท้จริ งยิง่ กว่าที่จะมีชื่อเป็ นผูด้ าํ รงตําแหน่งนี้ ต่อหน้า ธารกํานัล ใครๆ เรี ยกเขาเป็ น "เจ้ าพระยาพระคลังคนที่สอง" ซึ่งตําแหน่งนี้หามีไม่ แต่ช้ ีบอกอย่างดีที่สุดว่าเขามีบทบาทและอํานาจสักเพียงใด
65
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
บันทึกฉบับหนึ่ง ที่เราพบอยูใ่ นกองเอกสารของคณะมิสซังต่างประเทศที่กรุ งปารี ส พรรณาฟอลคอนเป็ นผู้ มีลกั ษณะต่างๆ ซึ่ งไม่วา่ จะเป็ นไปในทางเสื่ อมเสี ยหรื อดีเด่น เราเห็นว่าเป็ นความจริ งถูกต้อง บันทึกนั้นบรรยาย ลักษณะต่างๆ ของฟอลคอนว่าดังนี้ "เป็ นคนที่ต้องการมีอาํ นาจบังคับบัญชาในการงานทุกอย่ าง ใจห้ าวหาญ กล้ าได้ กล้ าเสี ย กล้ าใช้ จ่ายเงินเพื่อมี หน้ ามีตา หยิ่งยโส มุทะลุ ดุดัน เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้ าย เชื่ อถืออะไรไม่ ได้ แต่ งเรื่ องร้ อยแปดพันเก้ าอย่ าง บอกว่ า เป็ นความจริ งเพราะมีเรื่ องประกอบให้ เห็นจริ งร้ อยแปดพันเก้ าอย่ าง เป็ นคนอาฆาต ขีโ้ อ่ สัญญาได้ ทุก อย่ างแต่ ไม่ ถือสักอย่ างเดียว ห่ วงแต่ ตัวเอง เป็ นผู้ร้ ู จักยืดหยุ่นเมื่อฐานะยัง ตํา่ ต้ อย แต่ บัดนีว้ างท่ าทางเย่ อหยิ่ง ทําให้ ใครๆ หมัน่ ไส้ ... "การที่เขาติดต่ อกับชาวฝรั่ งเศสนั้น ทําให้ ชาวสยามที่เชื่ อถือเขาเป็ นอันหนึ่ง อันเดียวกับชาวฝรั่ งเศส เกลียด ชังชาวฝรั่ งเศส... ถ้ าพระเจ้ าแผ่ นดินสวรรคต เมื่อใด เขาจะถูกชาวสยามแล่ เนือ้ เป็ นชิ ้นเล็กชิ ้นน้ อย...เป็ น คนที่จะไม่ ทาํ อะไรเพราะเห็นแก่ ไมตรี จิตมิตรภาพ แต่ จะทําเพราะมีความหวัง หรื อเพราะมีความกลัว... ที่สุด ต้ องนับว่ าเขาเป็ นคนมีธาตุเป็ นชนชาติกรี กและมีอุปนิสัยเป็ น ชาวกรี กอย่ างแท้ จริ ง"
k
ฟอลคอนมีสามัญสานึกและญาณรู้ดีพอทีร่ ้ ูสึกว่า
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
1. พวกขุนนางข้าราชการเกลียดชังตนเพราะเป็ นคนต่างชาติ มีอิทธิพลและทรัพย์สมบัติมาก 2. เขาต้องการเครื่ องคํ้าจุน เขาเห็นว่าประเทศฝรั่งเศสเป็ นเครื่ องคํ้าจุนเขาได้อย่างดีเลิศ
A s e
วิธีที่ดีที่สุดที่จะได้เครื่ องคํ้าจุนนั้นเห็นจะเป็ นการช่วยงานแพร่ ธรรมของพวกมิชชันนารี การช่วยนั้นจะทํา ให้พวกมิชชันนารี ไว้ใจเขามากขึ้นทั้งจะแสดงความรู้คุณโดยสนับสนุนโครงการต่างๆ ของเขา ดังนั้น ความมักใหญ่ ใฝ่ สู ง ผลประโยชน์ ความรักปิ ตุภูมิและความเชื่อ ดูประหนึ่งผนึกกําลังกันเพื่อดําเนินการให้มีความสัมพันธ์ระหว่าง กรุ งสยามกับกรุ งฝรั่งเศส และเหตุการณ์ท้ งั หลายซึ่ งเราจะเล่าสรุ ปดังต่อไปนี้ ก็จะอุบตั ิข้ ึนในระหว่างที่ทุกฝ่ ายต่างมี ความหวังเป็ นประการต่างๆ ดังนี้
iv h rc
A l a
ic r o ist
H
การส่ งคณะราชทูตสยามครั้งแรก
66 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
สมเด็จพระนารายณ์ทรงคุน้ กับการส่ งคณะราชทูตไปประเทศจีน ประเทศญวน ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ และ แม้แต่ประเทศฮอลันดามาแล้ว จึงทรงรับแผนการของประมุขมิสซังที่จะส่ งราชทูตคณะหนึ่งไปประเทศฝรั่งเศส โดยง่าย พระองค์ตรัสถึงเรื่ องนี้ต้ งั แต่ ค.ศ. 1673 และถึงกับทรงแสดงพระราชประสงค์จะให้พระสังฆราชลังแบรต์ เดอ ลา ม็อต ตามราชทูตคณะนี้ไปด้วย พระสังฆราชเขียนในปี ค.ศ. 1674 ว่า "ข้ าพเจ้ าจะพยายามขอตัวไม่ ไปอย่ าง สุดกําลังความสามารถ" อย่างไรก็ตาม สมเด็จพระนารายณ์ได้ทรงชักช้าในการตัดสิ นพระทัยขั้นเด็ดขาด ต้องรอ จนถึงปี ค.ศ. 1678 พระองค์จึงทรงมีพระบัญชาให้บรรดาเสนาบดีเลือกราชทูต สงครามระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับ ประเทศฮอลันดายังทําให้การปฏิบตั ิตามแผนการนี้เนิ่นช้าไปอีก ระหว่างนั้น พระสังฆราชปัลลือ ชี้แจงให้บรรดาผูจ้ ดั การบริ ษทั อินเดียตะวันออก เห็นประโยชน์ที่เขาจะ ได้รับจากการมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับกรุ งสยาม ในปี ค.ศ. 1680 บรรดาผูจ้ ดั การดังกล่าวได้ส่งเรื อลําหนึ่ง ชื่อ "เลอ โวตูรฺ" (Le Vautour) ซึ่งมี กอรฺ นูแอล (Cornuel) เป็ นผูบ้ งั คับการ กับผูแ้ ทนที่ดีที่สุดคนหนึ่งชื่อ บูโร แดลังดฺ (Bourreau - Deslandes) ไปกรุ งสยาม พระราชสํานักกรุ งสยามก็ได้ทาํ การต้อนรับอย่างดียงิ่ ในปี เดียวกัน นี้เอง ผูค้ นบนริ มฝั่งแม่น้ าํ เจ้าพระยาทราบว่ามีการทําสัญญาสงบศึกระหว่างฝรั่งเศสกับฮอลันดา ที่เมืองนีแมค
k
è
ko g n a fB
จึงอยูใ่ นวิสัยที่จะสําเร็ จเป็ นจริ งขึ้น คุณพ่อเกม (Gayme) เป็ นลูกของพ่อค้าที่เมืองชังเบรี เคยเป็ นเหรัญญิกของคณะที่เมือง บันตัม เคยเป็ น มิชชันนารี อยูท่ ี่เมืองพิษณุ โลก ขณะนั้นเป็ นเหรัญญิกใหญ่อยูท่ ี่กรุ งศรี อยุธยา "เป็ นคนมีเมตตาจิตมาก ทํากิจปฏิ บัติ ศรั ทธาทุกอย่ างอย่ างเคร่ งครั ด" ทั้งเป็ นคนที่ชาวสยามรักมาก เพราะเป็ นคนอ่อนโยน "จนมีคนคิดว่ าท่ านเป็ นน้ องของ พระสังฆราชลาโน" คุณพ่อเกมนี้แหละ สมเด็จพระนารายณ์ให้ร่วมไปกับคณะราชทูต พระองค์ตรัสกับ พระสังฆราชว่า "ถ้ า ท่ านไม่ อยากทําให้ เราเสี ยใจ ก็อย่ าปฏิ เสธไม่ ยอมให้ บาทหลวงคนนีน้ ะ" ราชทูตคณะนี้ประกอบด้วยขุนนางชั้นที่หนึ่ง 1 คน ขุนนางชั้นที่สอง 2 คน กับผูต้ ิดตามอีกราว 20 คน คณะทูตนําพระราชสาสน์และเครื่ องบรรณาการไปถวายพระเจ้าหลุยส์ที่14 พระสันตะปาปากับเจ้านายและเสนาบดี อีกหลายคน คุณพ่อเกมส่ งคําแนะนําในทางปฏิบตั ิ บางข้อไปถึงบรรดาคณาจารย์สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศ และในตอนท้ายคําแนะนําแสดงความหวังว่าราชทูตฝรั่งเศสคณะหนึ่งจะมายังกรุ งสยามด้วย พระสังฆราชปัลลือ ทราบข่าวนี้ที่เมืองสุ รัต ก็เขียนคําแนะนําเกี่ยวกับการปฏิบตั ิ ต่อราชทูตส่ งไปยัง คุณพ่อเกม ผูเ้ ป็ นล่าม คําแนะนําทั้งหมดนี้มุ่งจะเตือนคณะทูตให้กลับใจ หรื ออย่างน้อยทําให้เขามีความนิยมยกย่อง ศาสนาคาทอลิก ในระหว่างที่เขาเดินทางก็ดี หรื อ ในระหว่างที่เขาอยูใ่ นประเทศฝรั่งเศสก็ดี ท่านเขียนถึง คอลแบรต์ ว่า พวกมิชชันนารี ได้มีส่วนช่วยอย่างไรในการส่ งทูตคณะนี้ "ซึ่ งพวกมิชชันนารี ดาํ เนินการเป็ นเวลาหลายปี มาแล้ ว แม้ จะถูก คัดค้ านจากพวกที่ไม่ เป็ นที่รักของชาติเรา" และพวกมิชชันนารี มีความยินดีที่วา่ "ในขณะที่อุตส่ าห์ ตั้งใจ แพร่ พระวรสารอย่ างเต็มที่ เราก็ยงั หาเวลาและวิธีที่จะดําเนินการเพื่อผลประโยชน์ ของประเทศฝรั่ งเศส และเพื่อ เทิดพระเกียรติของพระเจ้ าแผ่ นดินด้ วย" (Nim gue) ดังนั้นแผนการที่จะส่ งคณะราชทูต
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
67
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
คณะทูตลงเรื อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1680 ต่อมาอีก 17 วัน เขาก็ถึงเมืองบันตัม ที่เมืองนี้เขาคอยเรื อที่จะ เดินทางไปประเทศฝรั่งเศสเป็ นเวลากว่า 6 เดือน ที่สุด ในตอนปลายเดือนสิ งหาคม เขาลงเรื อซอเลยฺ โดรี องั ต์ (Soleil d'Orient) เพื่อเดินทางไปยังเกาะมาดากัสการฺ คุณพ่อเกมส่ งข่าวมาบอกดังนี้ ในจดหมายลงวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1681 อันเป็ นจดหมายฉบับสุ ดท้ายที่เราได้รับจากคุณพ่อ เรื อถูกพายุทางชายฝั่งตะวันออกของเกาะ มาดากัสการฺ แล้วก็อบั ปางพินาศหมดสิ้ นทั้งคน เรื อและข้าวของ
ความสั มพันธ์ ระหว่ างพระเจ้ าแผ่ นดิน และพวกมิชชันนารี ระหว่างนั้น ความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้าแผ่นดินและมิชชันนารี ก็ยงั คงดําเนินต่อไป สมเด็จพระนารายณ์ ได้ทรงรับไม้กางเขนอันหนึ่งจากพระสังฆราชลาโน พระองค์ทรงปล่อยให้คนพูดกันว่าพระองค์ทรงก้มลงกราบ นมัสการกางเขน พระสังฆราชลาโนเขียนว่า "นั่นเป็ นของที่เห็นสวยงามภายนอก" คําพูดนี้ไม่วา่ จะเป็ น คําพูดที่คิดดีๆ แล้ว จึงพูดหรื อไม่ก็ตาม ต้องนับเป็ นคําพูดที่ถูกต้อง เพราะนัน่ เป็ นแต่สิ่งที่เห็น ภายนอก พระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งคําถาม เกี่ยวกับศาสนาคาทอลิกเป็ นบางครั้งบางคราว ทรงขอพระสังฆราชเทศน์ให้พระองค์ฟัง เหมือนดังที่ท่านเคยเทศน์ สําหรับสัตบุรุษ แล้วมิชา้ ก็ทรงขอเป็ นอย่างอื่น คือ ขอพระสังฆราชทํา "ทองที่เป็ นนํา้ กับทองฟ้ าผ่ า"
k
e c io d rch
(de l'or liquide et de l'or fulminant) 11
o e s
ko g n a fB
พระสังฆราชปัลลือ กลับมาถึงกรุ งศรี อยุธยาในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1682 พร้อมด้วยพระราชสาสน์ของ พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 และพระสมณสาสน์ของพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ ที่ 11 และได้ขอเข้าเฝ้ าพระเจ้าแผ่นดิน แต่เครื่ องบรรณาการที่พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ทรงส่ งมานั้น พระสังฆราชปัลลือ ได้ทูลถวายในนามของท่านเองตาม คําแนะนําของฟอลคอน "เพราะเครื่ องบรรณาการเหล่ านั้นดูไม่ ค่ ูควรกับความยิ่งใหญ่ ของพระเจ้ าแผ่ นดินทั้งสอง ฝ่ าย" สมเด็จพระนารายณ์ทรงรับเครื่ องบรรณาการดังกล่าว สิ่ งของสําคัญมี กระจก ดอกไม้และรู ปภาพ ที่แสดง พระยาสามองค์นมัสการพระกุมาร พระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ ไม้กางเขนปรากฏแก่จกั รพรรดิคอนสฺ ตนั ติน พระสันตะปาปา เลโอ ทรงหยุดยั้งอัตติลา พระคริ สตเจ้ากับหญิงชาวสะมาเรี ย หลายครั้ง สมเด็จพระนารายณ์ได้ทรงต้อนรับพระสังฆราชปัลลือ พระสังฆราชลาโน พระสังฆราชชาว อิตาเลียนองค์หนึ่ง ที่จะเดินทางไปประเทศจีน ชื่อ แบรฺ นารฺ ดีโน แดลลา คีเอซา (Bernardino della Chiesa) พระสังฆราชเกียรตินามแห่งอารฺ โคลิส กับพระสงฆ์มิชชันนารี ผหู้ นึ่งชื่อ เดอ ลีออน "เพราะมีฐานะเป็ นบุตรของอดีต เสนาบดีกระทรวงต่ างประเทศของกรุ งฝรั่ งเศส" พระองค์ได้ทรงสัญญาจะสั่งให้สร้างโบสถ์กว้างใหญ่หลังหนึ่งตาม แผนผังที่ประมุขมิสซังได้วาดไว้ และได้ทรงสั่งให้เริ่ มงานก่อสร้างในทันที ระหว่างนั้น ไม่มีใครในกรุ งสยามทราบถึงเรื่ องเรื อ "ซอเลยฺ โดรี อังต์ " ได้อบั ปางลง และกําลังรอฟังข่าวด้วย ความร้อนใจ ที่สุดเมื่อวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 1683 พระสังฆราชลาโน ทราบจากจดหมายหลายฉบับที่ส่งมาจาก ประเทศฝรั่งเศส เมื่อเดือนมกราคมปี เดียวกัน ว่าเรื อ ที่รับราชทูตไปไม่ถึง
iv h rc
A s e
A l a
ic r o ist
H
11Or fulminant, poudre grise détonant au choc, obtenue en mettant l'acide aurique au contact de l'ammoniaque; ทองฟ้ าผ่าคือ ดินปื นสี เทาที่ระเบิด เมื่อกระทบกับสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ทําได้โดยเอากรดทองคําผสมกับนํ้าประสานดีบุก (ผูแ้ ปล)
68 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
ส่ งทูตใหม่ ไปประเทศฝรั่งเศส - รับทูตกรุงสยาม ข่าวน่าสลดนี้ ซึ่ งทําให้สังหรณ์วา่ เรื อได้อบั ปางไปนั้น "แทนที่จะทําให้ เกิดผลร้ ายขึน้ ในดวงพระทัยของ พระเจ้ าแผ่ นดิน กลับได้ รับแต่ คาํ ยืนยันอย่ างแน่ นอนยิ่งขึน้ ถึงความปรารถนาที่จะผูกสัมพันธไมตรี อย่ างใกล้ ชิดกับ พระเจ้ าแผ่ นดินกรุ งฝรั่ งเศส" ทันที พระองค์ได้ทรงกําหนดตัวทูต ใหม่ แต่ไม่ทรงแต่งตั้งให้มีตาํ แหน่งเป็ นราชทูต เพียงแต่ทรงมอบหมายให้สืบถามถึงชะตากรรมของทูตพวกแรก และถ้าทูตพวกแรกเสี ยชีวติ ไป ก็ให้สาํ แดงความ ปรารถนาจะผูกความสัมพันธ์กบั ประเทศฝรั่งเศส มิชชันนารี สององค์คือ คุณพ่อวาเชต์ กับคุณพ่อปัสโกต์ ติดตามทูต คณะนี้ไป แต่เนื่องจากคุณพ่อปั สโกต์ป่วย คุณพ่อวาเชต์องค์เดียวจึงได้รับมอบหมายให้เป็ นผูน้ าํ ทางทูต และได้รับ แต่งตั้งให้มีตาํ แหน่งเป็ นทูตที่หนึ่ง แต่ครั้นพอเดินทางถึงประเทศฝรั่งเศส ท่านก็ได้ถูกทอดถอนตําแหน่งนี้เพราะ ความริ ษยาหรื อเพราะการเมือง ในคําสั่งที่มอบแก่พวกมิชชันนารี ไม่ปรากฏมีอะไรที่เน้นเป็ นพิเศษทั้งในด้านศาสนาและทั้งในด้านการ เมือง เรื่ องที่สาํ คัญที่สุดก็คือ การคาดว่าจะมีหรื อเกือบจะเป็ นการขอร้องให้มีการ ส่ งคณะทูตฝรั่งเศสคณะหนึ่ง ตามที่พระเจ้ากรุ งสยามทรงปรารถนาเป็ นอย่างยิง่ จนถึงกับมีการบ่งชัดว่า "ตัวราชทูตสมควรจะเป็ นบรรพชิ ตยิ่งกว่ า จะเป็ นฆราวาส" คณะทูตออกจากกรุ งศรี อยุธยาวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1684 ถึงประเทศฝรั่งเศสในเดือนพฤศจิกายน ปี เดียวกัน การต้อนรับคณะทูตที่เมืองกาแลส์ก่อน แล้วต่อมาที่กรุ งปารี สนั้นเป็ นไปอย่างโอ่อ่าฟู่ ฟ่ า แต่มีความกังวลใจข้อหนึ่งซ่อนเร้นอยูภ่ ายใต้ส่ิ งที่ปรากฏให้เห็นภายนอกอย่างโอ่อ่า งามตานั้น กล่าวคือ ได้ เกิดมีความสงสัย ซึ่งชาวฮอลันดาเป็ นผูแ้ พร่ ข่าวเป็ นต้น ว่า การส่ งทูตคณะแรกมานั้นมีจริ งหรื อไม่ ท่านมาร์ควีส เดอ แซเฌอเล (de Seignelay) ถาม คุณพ่อวาเชต์ ก็ให้คาํ ตอบเด็ดขาดที่โต้แย้งมิได้ โดยขอให้ท่านตรวจดูบญั ชีของ บริ ษทั อินเดีย ซึ่งแสดงค่าใช้จ่าย ของราชทูตคณะแรกอย่างละเอียด ขณะที่เขาพักอยูท่ ี่เมืองบันตัม และให้ถามอดีต หัวหน้าของสํานักงานการค้าแห่งนี้คือนายกีแลม (Guilhem) ซึ่ งขณะนั้นอยูท่ ี่กรุ งปารี ส คําตอบทําให้ท่านเสนาบดี เชื่ออย่างสนิทใจและก็ทาํ ให้พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ทรงเชื่ออย่างตระหนักเช่นเดียวกัน นับตั้งแต่น้ นั ชาวฝรั่งเศสก็ ฉลองทูตชาวสยามโดยไม่ติดใจอะไรอีก โดยพระบัญชาของพระเจ้าอยูห่ วั และโดยที่พระองค์ทรงเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่าย ที่บา้ นรับรองทูตมีการจัดโต๊ะ สําหรับคนรับประทานอาหารได้ 12 ที่ ทุกเวลาอาหารเที่ยงและทุกเวลาอาหารคํ่า บรรดาขุนนางที่ดุ๊กเอย, มาร์ควีส เอย, เคาต์เอย, จอมพลเอย ที่ปรึ กษาแผ่นดินเอย เบียดเสี ยดกันมายังบ้านรับรองทูต แม้ทูตชาวสยามจะแสดงความ แล้งนํ้าใจ จนทําให้คุณพ่อวาเชต์ เคืองหลายครั้งหลายหน ค่าที่ท่านถูกมาร์ควีส เดอ แซเฌอเล ตําหนิ บางครั้งเขาไม่ ยอมไปรับประทานอาหาร บางครั้งเขาไม่ยอมรับแขกที่มาเยีย่ ม หรื อไม่ยอมไปเยีย่ มแขก คนหนึ่งบ่นว่าปวดศีรษะ อีกคนหนึ่งแก้ตวั ว่าปวดท้อง คุณพ่อเรี ยกเขาเป็ นลิงหางด้วน (magot) ท่านอ้างว่า "เข้ าไปในอารามกาปูชินยังไม่ ยาก เท่ าบอกเขาให้ ออกจากห้ องนอน"
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
69
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
ทูตชาวสยามได้เข้าเฝ้ าพระเจ้าแผ่นดิน "ในห้ องกระจก" ที่พระราชวังแวรฺ ซาย แต่เขาไม่รู้สึกสนใจใยดี เมื่อ เห็นสิ่ งมหัศจรรย์ต่างๆ ในพระราชวังนั้น มีแต่คาํ พูดยํ้าอยูต่ ลอดเวลาว่า "พอแล้ ว เราไปกันเถอะ!" เราพาเขาไปชม มหาอุปรากรเรื่ อง โรลังต์ แต่เขาหนีออกจากโรงละครก่อนที่จะเล่นฉากแรก และเพื่อบังคับให้กลับมาดูอีกครั้งหนึ่ง ต้องคิดเล่ห์กลลวงเขา ซึ่ งนับเป็ นเรื่ องตลกสิ้ นดี เขาไปที่ปาแลส์ - รัวยาล (Palais - Royal) ที่แซ็งต์ - กลูด์ (Saint Cloud) การไปที่แซ็งต์ - กลูด์ นี้ ดูเหมือนจะเป็ นครั้งเดียวที่เขาแสดงความมีอธั ยาสัยดี เขาไปดูพิธีมิสซา ที่โบสถ์ นอตรฺ - ดาม และไปดูมิสซาเปิ ดรัฐสภา แต่เชิญเขาไปรับประทานอาหารที่บา้ นท่านประธานรัฐสภาคนที่หนึ่งไม่ สําเร็ จ เพราะฉะนั้นคุณพ่อวาเชต์โกรธจัด จึงไม่เกรงใจที่จะใช้ คําเย้ยหยันเขาว่า "คนหยาบคาย คนคุ้มดีค้ ุมร้ าย" และ ในที่สุดท่านไม่ไปหาเขาสองวัน "ซึ่ งนับเป็ นวิธีตักเตือนที่เกิดผลดีเหมือนกัน" อย่างไรก็ตาม เสนาบดีท้ งั หลายของเรามิได้ลืมเรื่ องที่จะทําอย่างไรให้สมเด็จพระนารายณ์ ทรงเข้ารี ต เมื่อ ท่านเดอ แซเฌอเล และท่านเดอ กรัวซี (Croissy) รับทูตชาวสยามนั้น ทั้งสองพยายามพูดให้เขาเห็นว่า วิธีที่ดีที่สุดที่ จะ "ผูกความเป็ นมิตรอย่ างมิร้ ู เสื่ อมคลายระหว่ างสองพระราชสํานักก็คือ ทั้งสองฝ่ ายถือศาสนาเดียวกัน" อันที่จริ งได้ มีผแู ้ พร่ ข่าวลือว่า พระเจ้ากรุ งสยามทรงพร้อมที่จะถือศาสนาคาทอลิก แต่คุณพ่อวาเชต์ซ่ ึ งเป็ นผูท้ ราบเรื่ องดีกว่า ไม่พดู ถึงเพียงนั้นและไม่พดู เร็ วเช่นนั้นด้วย แต่ถึงกระนั้น ในบันทึกช่วยจําที่ท่านยืน่ ต่อท่านเสนาบดี คุณพ่อเขียนว่า "เรามีเหตุผลที่จะหวังว่ าพระเจ้ ากรุ งสยามอาจจะทรงเข้ าถือ คริ สตศาสนา ราษฎรทั้งหมดคงจะเอาอย่ างพระองค์ และ บางทีบรรดากษัตริ ย์ประเทศข้ างเคียงด้ วย ก็เป็ นได้ " ท่านเอกอัครสมณทูตที่กรุ งปารี ส สั่งให้ คุณพ่อวาเชต์ เขียนและลงนามกํากับรายงานแสดงว่าสมเด็จ พระนารายณ์ทรงมีความรู ้สึกดีต่อสมเด็จพระสันตะปาปาอย่างไรบ้าง พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ทรงปลาบปลื้มพระทัยที่จะพิชิตกษัตราธิราชองค์หนึ่ง และบางทีแถมราชอาณาจักร ทางภาคตะวันออกไกลแห่งหนึ่งให้มาถือความเชื่อ ในขณะที่ทรงลงพระนาม ในพระราชโองการสั่งยกเลิกพระราช กฤษฎีกาเมืองนังต์12 ความหวังที่จะทําลายการค้าของประเทศฮอลันดาให้ยอ่ ยยับ ก็เป็ นเรื่ องที่มีการคํานึงถึงด้วย
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
icองต์ มาเป็ นราชทูต คุณพ่อตาชารด์ การส่ ง ม. เดอ orโชม็ t s i การส่ งทูตฝรั่งเศสมา H
อันเป็ นสิ่ งที่ปรารถนาของพระเจ้ากรุ งสยามและประมุขมิสซังนั้น จึงเป็ นเรื่ องที่ ตัดสิ นใจได้โดยง่าย ผูท้ ี่จะเป็ นหัวหน้าคณะทูตคือ เชอวาลีเอร์ 13 เดอ โชม็องต์ ขุนนางที่สืบมาจากครอบครัวที่เก่าแก่ ที่สุดครอบครัวหนึ่งในประเทศฝรั่งเศส เป็ นโปรเตสแตนต์ ที่กลับใจมาถือคาทอลิก มียศเป็ นนาวาเอก และหัวหน้า ฝ่ ายธุรการ (major-général) ของเหล่ากองทัพในภาคตะวันออก ถ้าจะพูดในด้านศาสนา จะเลือกหาใครที่ดีกว่านี้ ไม่ได้อีกแล้ว และแม้ผทู ้ ี่อยากได้บรรพชิตเป็ นราชทูตก็น่าจะมีความพอใจ
12พระราชกฤษฎีกาเมืองนังต์เป็ นพระราชกฤษฎีกาของพระเจ้าเฮนรี ที่ 4 ที่ทรงอนุญาตผ่อนผันให้ชาวฝรั่งเศสถือลัทธิโปรเตสแตนต์ได้ (ผูแ้ ปล) 13เชอวาลีเอร์ (Chevalier) ตรงกับคําในภาษาไทยว่า "อัศวิน" (ผูแ้ ปล)
70 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
ท่านราชทูตฝรั่งเศสมีผชู ้ ่วยคนหนึ่ง มีตาํ แหน่งเป็ นอุปทูตชื่อ อับเบ14 เดอ ชัวซี (de Choisy) อับเบ เดอ ชัว ซี ผูน้ ้ ีเคยมีความประพฤติค่อนข้างจะเหลวแหลก แต่ภายหลัง กลับตัว เพราะมีมิตรตักเตือนและกลัวความตาย ผูม้ ี สกุลจํานวนหนึ่งกับกองเกียรติยศกองหนึ่ง จะตามราชทูตทั้งสองไป ตลอดจนคุณพ่อบัสเซต์ (Basset) และ คุณพ่อมานูแอล(Manuel)ซึ่ งทั้งสองเป็ นพระสงฆ์ในคณะมิสซังต่างประเทศ อีกทั้งคุณพ่อวาเชต์ ซึ่ งอยูก่ บั ทูตไทยมาตลอด และพระสงฆ์เยสุ อิตนักคณิ ตศาสตร์ 6 องค์ ซึ่ งกําหนดให้ไป อยูภ่ าคเอเชียอาคเนย์และประเทศจีนคือคุณพ่อฟองตาเนย์ (Fontaney), คุณพ่อตาชารด์ 15 (Tachard), คุณพ่อเลอ กองตฺ (Lecomte), คุณพ่อบูเวต์ (Bouvet), คุณพ่อแฌรฺ บียอ็ ง (Gerbillon) และคุณพ่อวิสเดอลู (Visdelou) คุณพ่อตาชารด์น้ นั ต่อไปจะแสดงบทบาทที่ค่อนข้างจะสลับซับซ้อนในกรุ งสยาม แต่บทบาทนั้นเกิดผลไม่คุม้ กับ ความพยายามของท่าน ในหนังสื อ "การศึกษาด้ านประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่ างประเทศฝรั่ งเศสกับ พระราชอาณาจักรสยาม"16 นายลานีเอร์ (Lanier) พรรณนาว่าคุณพ่อตาชารด์มีลกั ษณะต่างๆ ซึ่ งเราไม่กล้ายืนยันว่า เหมือนกับตัวแบบทีเดียว แต่ไม่ใช่ลกั ษณะที่น่านิยมยกย่องอย่างเดียว เท่านั้น เราเห็นว่า "ท่ านมีกาํ ลังใจเข้ มแข็ง ที่ดู อ่ อนลงก็แต่ เพียงภายนอกชั่วคราว เมื่อประสบความยุ่งยากลําบากอย่ างแสนสาหัส เป็ นคนที่ร้ ู จักยืดหยุ่นและมีหัวคิด ดีในการให้ คาํ แนะนํา ไม่ ท้อถอยและไม่ ร้ ู จักเหน็ดเหนื่อยในการทํางานไม่ ยอมถอยห่ างไปจากจุดหมายที่จะต้ อง บรรลุถึง เชี่ ยวชาญเป็ นยอดในการเสแสร้ งหรื อปกปิ ดทําเป็ นไม่ ร้ ู และมีความสามารถในการใส่ ร้าย หรื อทรยศต่ อ ผู้อื่น เพื่อแก้ ไขการทําผิดพลาดหรื อกลับมีอาํ นาจที่สูญเสี ยไป"
k
o e s
ko g n a fB
e c iเอร์oเดอ โชม็องต์ ขึ้นต้นว่า ดังนี้ : d คําสัง่ ที่มาร์ ควีส เดอ แซเฌอเล เขียนและมอบให้แก่เชอวาลี h c r "จุดประสงค์ สาํ คัญของพระเจ้ าอยู่หัว ในการตั A ดสินพระทัยส่ งราชทูตไปกรุงสยาม ก็คือ ความหวังใน s ประโยชน์ ที่พระศาสนาจะได้ รับตามที่พวกมิ ชeชันนารี บอกนั้น อีกทั้งความหวังของพวกมิชชันนารี โดยมีหลักฐานที่ v i h่อทรงเห็นพระเจ้าอยู่หัวของเราแสดงความนิยมยกย่อง และสุดท้ายอาศัยพระ ค่ อนข้ างน่ าเชื่ อว่ า พระเจ้ ากรุ งสยามเมื c r หรรษทานของพระเป็ นเจ้ าlช่ วA ย ก็จะเข้ าถือพระศาสนาที่พระองค์ เคยทรงแสดงความโน้ มเอียงโปรดเป็ นอันมาก" เมื่อ a ic คิดไกลกว่าที่มิชชันนารี ไม่วา่ คนใดเคยกล้าคิดมาแล้ว เป็ นเช่นนี้ท่านเสนาบดี r o s ในวัtนสมโภชพระคริ สตเจ้าแสดงองค์ทูตชาวสยามไปที่โบสถ์ของคณะมิสซังต่างประเทศเพื่อร่ วมพิธีมิสซา i H
ที่คุณพ่อชารี ญี (Charigny) ถวายอย่างสง่า และฟังคุณพ่อ ฟูรฺนีเอร์ (Fournier) เทศน์ เขารับประทานอาหารเที่ยงที่ สามเณราลัยร่ วมกับคุณพ่อเดอ โชม็องต์, คุณพ่อฟร็ องเตอนัก (Frontenac), คุณพ่อชารี ญี, คุณพ่อชารอสต์ (Charrost), คุณพ่อปั ลลือ ดือ รื อโอ (Pallu du Ruau) กับผูม้ ีสกุลและนักบวชอีกหลายคนที่ชอบพอกับ สามเณรา ลัย
14คํา "อับเบ" (abbé) ในภาษาฝรั่งเศสเป็ นคํานําหน้าเรี ยกพระสงฆ์ประจําสังฆมณฑลทัว่ ไป และแม้แต่บรรพชิตที่ยงั ไม่ได้รับศีลบวชเป็ น พระสงฆ์ เช่น ในกรณี ของอับเบ เดอ ชัวซี ณ ที่น้ ี (ผูแ้ ปล) 15บาทหลวงกี ตาชารด์ (Guy Tachard) อดีตเจ้าคณะแขวงในประเทศกีอานา (อเมริ กาใต้) เดินทางไปอเมริ กา กับจอมพลแดสเตร (maréchal d'Estrées)
ระหว่างปี ค.ศ. 1680-1684 ถึงแก่มรณภาพที่จนั แดรฺ นากอรฺ (Chandernagor) ประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1712
16หนังสื อนี้ในภาษาฝรั่งเศส : Etude Historique sur les relations de la France et du Royaume du Siam (ผูแ้ ปล)
71
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
ทูตชาวสยามได้รับเครื่ องราชบรรณาการเป็ นอันมาก เพื่อนําไปถวายพระเจ้ากรุ งสยาม และยังได้รับ ของขวัญเป็ นอันมากสําหรับส่ วนตัวเขาเอง "สําหรั บของขวัญพิเศษของบรรดาคณาจารย์ แห่ งสามเณราลัยนั้น คนรู้ จักของเขาคนหนึ่งได้ วาดภาพนูนสองภาพ ภาพที่แสดงพระบรมวงศานุวงศ์ ทั้งหมดทรงม้ า อีกภาพหนึ่งแสดง สิ่ งที่เห็นได้ ในกรุ งปารี สเมื่อยืนอยู่กลางสะพานรั วยาล (Royal) และมองดูหอของโบสถ์ นอตรฺ - ดาม" ถ้อยคําสุ ดท้ายที่คุณพ่อวาเชต์กราบทูลพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 นั้น เห็นได้ชดั ว่าไม่ใช่ ถ้อยคําแบบที่ขา้ ราช สํานักจะกราบทูลพระเจ้าแผ่นดิน คือพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ตรัสแก่คุณพ่อว่า "หวังว่ าเราทั้งสองคงจะได้ พบกันอีก" คุณพ่อทูลตอบว่า "ขอเดชะ ถ้ าพระเป็ นเจ้ าทรงพอพระทัย คงจะได้ พบกันในสวรรค์ ไม่ ใช่ ในพระราชอาณาจักรของ พระองค์ "
การส่ งราชทูตฝรั่งเศสครั้งแรกมากรุงสยาม
k
คณะผูเ้ ดินทางลงเรื ออัวโซ (l'Oiseau) กับเรื อมาลิญ (Maligne) ที่เมืองแบรสต์ (Brest) วันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1685 เมื่อเดินทางมาถึงหน้าเมืองสงขลา (Singor) คุณพ่อวาเชต์ มีความคิดที่เกิดจากความบันดาลใจประการ หนึ่ง ซึ่งถ้าเขาปฏิบตั ิการตามความคิดนั้น ก็อาจจะเกิดผลสําคัญและดียงิ่ สําหรับประเทศฝรั่งเศสคือ คุณพ่อได้ แนะนําให้เชอวาลีเอร์ เดอ โชม็องต์ เข้าครอบครองเอาเมืองนี้ในพระนามของพระเจ้ากรุ งฝรั่งเศส และท่านมี ความสามารถพูดจา โน้มน้าวให้บรรดาขุนนางชาวสยามที่อยูใ่ นเรื อเห็นคล้อยตามคําแนะนํานั้นด้วย ชั้นแรก เชอวา ลีเอร์ เดอ โชม็องต์ เห็นดีเห็นชอบตามความคิดของคุณพ่อวาเชต์ และได้ออกคําสั่งให้ปฏิบตั ิการ เป็ นไปตาม ความคิดนั้น แต่ครั้นวันรุ่ งขึ้น เขากลับเปลี่ยนความตั้งใจ สั่งให้เดินทางต่อไป เมื่อ คุณพ่อวาเชต์ถามว่าเหตุใดจึงทํา เช่นนั้น เขาตอบว่า "นายคอนสฺฺ ตันติน (ฟอลคอน) อาจจะไม่ พอใจ ถ้ าทําไปโดยไม่ หารื อเขาก่ อน"
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
iv h เราจะต้องคิดเหมือนคุณrพ่c อวาเชต์หรื อไม่วา่ "นั่นเป็ นการทําผิดอย่ างฉกรรจ์ " และการตั้งหลักของชาว A lงดูดการค้ากับราชอาณาจักรเขมร, สยาม, โคชินจีน, ตังเกี๋ย, จีน, ญี่ปุ่น และฟิ ลิปปิ นส์ ฝรั่งเศสที่เมืองสงขลาจะดึ a iาcให้เมืองปัตตาเวียกลายเป็ น "ทะเลทราย" ไป ? นัน่ อาจจะเป็ นการคิดไกลเกินไปและเร็วเกินไปก็ r ให้เข้ามา และจะทํ o t s i เป็ นH ได้ แต่ถึงอย่างไรก็นบั เป็ นโครงการที่เย้ายวน และคนที่หา้ วหาญหรื อเพียงแต่มีความคิดริ เริ่ มดีกว่า 17
เชอวาลีเอร์ เดอ โชม็องต์ น่าจะพยายามลองทําให้เป็ นอันสําเร็ จไป วันที่ 23 กันยายน เรื อฝรั่งเศสทั้งสองทอดสมอที่ปากแม่น้ าํ เจ้าพระยา คุณพ่อวาเชต์ รี บเดินทางไปอยุธยา (Juthia) และไปถึงเวลาสี่ ทุ่ม มีผเู ้ ข้าไปกราบทูลให้พระเจ้ากรุ งสยาม ทรงทราบ พระองค์รับสั่งให้คุณพ่อวาเชต์ เข้าเฝ้ าในทันที และทรงแสดงความพอพระราชหฤทัย ในข่าวต่างๆ ที่คุณพ่อนํามา ความปรารถนาอันเร่ าร้อนที่สุด ของพระองค์และของฟอลคอนกําลังเป็ นอันสําเร็ จเป็ นจริ งขึ้นมาแล้ว คือ ทูตฝรั่งเศสคณะหนึ่งกําลังจะเดินทางเข้ามา ในนครหลวงของพระองค์ 17ในหนังสื อลงวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1686 พระสังฆราชลาโนจะชี้แจงให้คอลแบรต์เห็นประโยชน์ที่จะเกิดแก่ประเทศฝรั่งเศส ถ้าไปตั้ง หลักที่เกาะปูโล - กองดอรฺ (Poulo - Condor) ชาวอังกฤษมีความเห็นเหมือนพระสังฆราช ลาโน เพราะเขาได้ไปตั้งโรงเก็บสิ นค้าที่เกาะนี้เมื่อ ต้นศตวรรษที่ 18
72 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
ก่อนที่จะมีการต้อนรับอย่างมโหฬาร ซึ่ งชาวสยามกําลังจัดเตรี ยมอยูน่ ้ นั ราชทูตของเราจะได้รับความผิด หวังประการหนึ่งคือ เมื่อพระสังฆราชลาโนกับคุณพ่อเดอ ลีออน มาเยีย่ ม ครั้งหนึ่ง ทั้งสองบอกท่านว่าพระเจ้ากรุ ง สยามไม่มีพระราชดําริ จะทรงเข้ารี ต และคงไม่ใช่เรื่ องเล็กๆ ที่จะกราบบังคมทูลเรื่ องนี้ แม้พระสังฆราชลาโนกับคุณพ่อเดอ ลีออน เป็ นผูร้ ู้เรื่ องดีสักเพียงใด แต่เชอวาลีเอร์ เดอ โชม็องต์ ก็เชื่อท่าน เพียงครึ่ งเดียว หรื อไม่เชื่อเสี ยเลย ทั้งไม่คาํ นึงถึงคําบอกเล่าของท่านด้วย ท่านพูดและทําเหมือนดังหนึ่งว่าการเข้ารี ต ของสมเด็จพระนารายณ์เป็ นเรื่ องง่ายดาย และในการเข้าเฝ้ าอย่างสง่าในเวลาต่อมานั้น ท่านไม่กลัวที่จะกราบทูลว่า : "ขอเดชะ การลดพระเกียรติศักดิ์ของใต้ ฝ่าละอองธุลีพระบาท ยอมอยู่ใต้ อาํ นาจพระเจ้ าของพวกคริ สตชนผู้ ทรงครองฟ้ าและแผ่ นดินนั้น เป็ นสิ่ งเชิ ดชูพระเกียรติกว่ าที่จะลดพระเกียรติศักดิ์ลงยอมอยู่ใต้ อาํ นาจของ พระเจ้ าอื่นๆ ซึ่ งมีผ้ กู ราบไหว้ อยู่ทางภาคตะวันออกนี ้ และใต้ ฝ่าละอองธุลีพระบาทผู้ทรงพระปรี ชาญาณ ลึกซึ ้งยิ่งนักจะทรงเห็นแล้ วว่ าไม่ มีฤทธิ์ เดชอันใดเลยแต่ ใต้ ฝ่าละอองธุลีพระบาทจะทรงเข้ าพระทัยเรื่ องนี ้ อย่ างแจ่ มแจ้ งยิ่งขึน้ 18 ถ้ าจะทรงยินดีฟังคําอธิ บายของพระสังฆราชและมิชชันนารี ซึ่ งอยู่ในประเทศนีส้ ัก ช่ วงเวลาหนึ่ง" "ขอเดชะ ข่ าวที่น่าชื่ นชมที่สุดที่ข้าพระพุทธเจ้ าจะนําไปกราบทูลพระเจ้ าแผ่ นดิน เจ้ าเหนือหัวของ ข้ าพระพุทธเจ้ าก็คือ ข่ าวที่ว่าใต้ ฝ่าละอองธุลีพระบาท เมื่อทรงตระหนักถึงความจริ งแล้ ว ก็ทรงศึกษาหา ความรู้ ในพระคริ สตศาสนา ถ้ าใต้ ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงปฏิ บัติ ดังนี ้ ก็จะทําให้ พระเจ้ าแผ่ นดินของข้ า พระพุทธเจ้ าทรงนิยมชมชอบและยกย่ องใต้ ฝ่าละอองธุลีพระบาทยิ่งขึน้ ทั้งจะทรงกระตุ้นให้ ไพร่ ฟ้าข้ า แผ่ นดินของพระองค์ ท่านพากันมาในแผ่ นดินของใต้ ฝ่าละอองธุลีพระบาทด้ วยความกระตือรื อร้ นและมัน่ ใจ ยิ่งขึน้ และที่สุดจะทรงทําให้ ใต้ ฝ่าละอองธุลีพระบาทเองทรงเกียรติร่ ุ งโรจน์ อย่ างสมบูรณ์ "
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
พระราชสาสน์ของพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ใช้ถอ้ ยคําอ่อนกว่าคํากราบทูลของราชทูตฝรั่งเศส แต่ก็แสดงความ ปรารถนาอย่างเดียวกันเพราะมีความว่าดังนี้ :
ic r o ist
H "หม่อมฉันจะยินดีมาก
ถ้ ามีโอกาสแสดงความรู้ คุณต่ อฝ่ าพระบาท เพราะได้ ทราบว่ าฝ่ าพระบาทยังคง พระราชทานความคุ้มครอง แก่ บรรดาพระสังฆราชและมิชชันนารี อื่นๆ ผู้ทาํ งานสอนพระคริ สตศาสนา ให้ แก่ ไพร่ ฟ้าข้ าแผ่ นดินของฝ่ าพระบาท และโดยที่มีความนิยมยกย่ องฝ่ าพระบาทเป็ นพิเศษ หม่ อมฉัน ปรารถนาอย่ างเร่ าร้ อนใคร่ ให้ ฝ่าพระบาทได้ สดับและเรี ยนรู้ จากท่ านเหล่ านั้น ซึ่ งข้ อคําสอนอันเที่ยงแท้ และอัตถ์ ลา้ํ ลึกแห่ งศาสนาอันศักดิ์สิทธิ์ นี"้
18ความในประโยคนี้ ในภาษาฝรั่งเศสเขียนว่า "Mais elle le connaitra (verra) encore plus clairement" ซึ่งแปลว่า "แต่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท จะทรงเข้าพระทัยเรื่ องนี้อย่างแจ่มแจ้งยิง่ ขึ้น" แต่ใน "จดหมายเหตุการเดินทาง สู่ ประเทศสยามของบาทหลวงตาชารด์" ของกรมศิลปากร พ.ศ. 2517 หน้า 49 ต้นอนุเฉท (ย่อหน้า) ที่ 3 แปลว่า "หากใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทจักทรงเห็นพระเป็ นเจ้าได้แจ่มชัดยิง่ ขึ้น" (ผูแ้ ปล)
73
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
"ศาสนาดังกล่ าวสอนให้ ร้ ู จักพระเจ้ าเที่ยงแท้ ผู้ทรงสามารถแต่ องค์ เดียวที่จะ ดลบันดาลให้ เราเปี่ ยมไปด้ วย ความสุขนิรันดรในสวรรค์ หลังจากที่ทรงบันดาลให้ เราครองราชสมบัติอย่ างมีเกี ยรติร่ ุ งโรจน์ เป็ นเวลาช้ า นานเหนือไพร่ ฟ้าข้ าแผ่ นดินในโลกนี"้ พระสังฆราชลาโน กับคุณพ่อเดอ ลีออน ซึ่ งอยูใ่ นที่เข้าเฝ้ า โดยคนหนึ่งอยูข่ า้ งขวา อีกคนหนึ่งอยูข่ า้ งซ้าย เชอวาลีเอร์ เดอ โชม็องต์น้ นั มีความเห็นว่า ถ้อยคําแสดงความปรารถนา ให้สมเด็จพระนารายณ์ทรงเข้ารี ตชัดแจ้ง แรงเกินไป ฟอลคอนก็มีความเห็นเช่นเดียวกับท่าน ทั้งสอง จึงแปลคําพูดของเดอ โชม็องต์ และพระราชดํารัสของ เจ้าหลุยส์ ที่ 14 อย่างค่อนข้างจะไม่ตรงเนื้อความนัก และยังเขียนถึงเดอ โชม็องต์เป็ นความว่า : "ข้ าพเจ้ าคิดว่ าท่ าน เป็ นคนใจ เร่ าร้ อนยิ่งนัก เมื่อเช้ านีท้ ่ านจึงกราบทูลพระเจ้ าแผ่ นดินถึงเรื่ องต่ างๆ ที่ดีงาม และท่ านนํามาอ้ างเพื่อเตือน พระองค์ ท่านให้ หันมานับถือศาสนาศักดิ์สิทธิ์ ของเรา" แท้ที่จริ ง เดอ โชม็องต์ พูดอย่างคนมีความเชื่อมัน่ ปรารถนาให้พระเจ้าแผ่นดิน ทรงเข้ารี ตเป็ นข้อใหญ่และ อย่างเด็ดขาดแน่นอน คือท่านถือว่าศาสนาสําคัญกว่าการเมือง และสําคัญกว่ามากๆ ด้วย ส่ วนชาวสยามนั้นตรงกัน ข้าม กลับถือว่าการเมืองสําคัญกว่าศาสนาหรื อถ้าจะพูดกันจริ งๆ แล้ว น่าจะเป็ นการถูกต้องกว่าที่จะกล่าวว่า : การเมืองเป็ นแรงผลักดัน แต่ประการเดียวของชาวสยาม หลังจากการเข้าเฝ้ าอย่างสง่ามโหฬารครั้งนี้แล้ว ก็มีการ ฉลองแล้วฉลองอีกที่กรุ งศรี อยุธยา หรื อที่เมืองละโว้ คือ มีการเลี้ยงใหญ่บา้ ง มีการล่าสัตว์บา้ ง และมีการแสดงละคร ตลกบ้าง ราชทูตของเรากับเพื่อนร่ วมคณะประพฤติและปฏิบตั ิตนอย่างดีงดงามในทุกกรณี พระสังฆราชลาโน ขอบพระคุณพระเป็ นเจ้าแล้วขอบพระคุณอีก ทั้งยังขอบพระคุณพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 "ที่เลือกคนได้ ดีเช่ นนี"้ ท่านราชทูตเดอ โชม็องต์ ได้ไปเยีย่ มวิทยาลัยกลาง เพื่อนร่ วมคณะของท่านได้เป็ น พ่อทูนหัวของผูร้ ับศีล ล้างบาปใหม่ 12 คน เขาได้ไปฟังนักศึกษาในสามเณราลัยคนหนึ่งชื่อ อันโต นิโอ ปิ นโต พูดบรรยายเทวศาสตร์ เรื่ องพระคุณลักษณะต่างๆ ของพระเป็ นเจ้ากับเรื่ องพระตรี เอกภาพ ความมีระเบียบเรี ยบร้อยและความรอบรู้ของ นักศึกษาได้เป็ นที่สังเกตและรับคําสดุดีจากอับเบ เดอ ชัวซี ท่านเขียนว่า "มาเห็นแล้ ว นึกว่ ากําลังอยู่ที่สามเณรา ลัยแซ็งต์ - ลาซารฺฺ ที่ปารี สเสี ยอีก" พระสังฆราชลาโนกล่าวเสริ มว่า "คนที่พูดอย่ างเสี ยๆ หายๆ ถึงวิทยาลัยกลาง พากันอายม้ วนต้ วนไปตามๆ กัน" การประกอบพิธีบวช อับเบ เดอ ชัวซี เป็ นพระสงฆ์ โดยมีพระสังฆราชลาโนเป็ นองค์ อุปัชฌาย์น้ นั ทําให้ ความรู ้สึกที่ดีของชาวสยามที่มีต่อชาวฝรั่งเศสเพิ่มทวีข้ ึน ทั้งยังทําให้ความนิยมซึ่ งชาวสยามมีต่อศาสนาคาทอลิกเพิ่ม ทวีข้ ึนเช่นเดียวกัน
k
iv h rc
e c io d rch
o e s
ko g n a fB
A s e
A l a
ic r o ist
H
ผลจากการทีส่ ่ งทูตฝรั่งเศสมา ในขณะที่เหตุการณ์เหล่านี้อุบตั ิข้ ึน เวลาก็ผา่ นพ้นไป แต่เชอวาลีเอร์ เดอ โชม็องต์ ยังไม่ได้รับสิ่ งที่หวังไว้ อย่างแรงกล้า คือ การเข้ารี ตของสมเด็จพระนารายณ์ ทุกครั้งที่ท่านพยายามจะพูดเรื่ องนี้กบั ฟอลคอน ฟอลคอนก็ ตอบด้วยคําพูดบ่ายเบี่ยง คําสัญญาลอยๆ หรื อการบอกเล่าโครงการประหลาดพิสดาร เช่น โครงการจะขอให้สมณ กระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อเลี้ยงดูชายหนุ่มหกสิ บหรื อเจ็ดสิ บคนที่อยุธยา หรื อแม้แต่มิชชันนารี ที่ปลอมตัวจํานวน หนึ่ง "เพื่อรั บใช้ พระเจ้ าแผ่ นดินด้ วยความเสี ยสละอย่ างสูง และเตรี ยมจิตใจพระองค์ ให้ ทรงถือศาสนาคาทอลิก"
74 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
พระเจ้าแผ่นดินเอง เมื่อทรงถูกรบเร้าก็ตรัสว่า "ไม่ ทรงปรารถนาจะเปลี่ยนศาสนาที่รับและถือมาเป็ นเวลา 2,229 ปี แล้ ว โดยไม่ ขาดตอนเลย" ที่สุดอับเบ เดอ ชัวซี คิดใช้ความชํ่าชองของนักการทูตกับฟอลคอนอย่างดีที่สุด คือ หาทางให้ฟอลคอนรับ ออกมาว่าสมเด็จพระนารายณ์ "จะไม่ ทรงเข้ าเป็ นคริ สตชน และแม้ เพื่อประโยชน์ ของพระศาสนาก็ไม่ เป็ นการ สมควรที่พระองค์ จะทรงเข้ าเป็ นคริ สตชนเร็ วเช่ นนี "้ เมื่อทราบความข้อนี้ ซึ่ งฟอลคอนนํามาบอกยํ้า ท่านราชทูตฝรั่งเศสผูม้ ีความศรัทธา ในศาสนาก็ยนื่ "ประวัติ เรื่ องศาสนาที่มีหลักฐานอ้ างอิงแข็งแรงเล่ มหนึ่ง" ประวัติเรื่ องนี้ผา่ นสายพระเนตรของพระเจ้าแผ่นดินหรื อไม่? หรื อ ว่าฟอลคอนเก็บไว้ไม่ให้ใครรู ้เห็น ? อย่างไรก็ดี เพื่อให้ราชทูตฝรั่งเศสมีความพอใจ ฟอลคอนสัญญาจะกราบทูลพระเจ้า แผ่นดินให้ทรงลง พระปรมาภิไธยในสนธิสัญญาฉบับหนึ่ง ซึ่ งจะส่ งเสริ มศาสนาคาทอลิก เพราะการสัญญาจะทําอะไรต่อมิอะไรนั้น เพียงแต่พดู ไม่ตอ้ งลงทุนลงแรงอะไร
ok k g n การเจรจาเรื่ องการค้าทํากันเร็ วกว่า และได้ผลดีกว่าด้วย บริ ษทั อินเดีย(ของฝรั่งเศส)a ได้รับความเป็ น B f อิสระเสรี ในการค้าอย่างเต็มที่ ได้รับการผูกขาดในการซื้ อดีบุกที่เกาะถลาง (ภูเก็ต) และได้ ก o รรมสิทธิในท่าเรื อเมือง e s สงขลา e ในทํานองเดียวกัน ได้มีการเจรจาจะทําสนธิสัญญาทางการเมื อcง ที่มุ่งจะเป็ นพันธมิตรกันในการรุ กและ o i d h รับต่อต้านพวกฮอลันดา ฟอลคอนเสนอจะให้ต้ งั กองทหารฝรั ่งเศสกองหนึ่งที่เมืองบางกอก และอีกกองหนึ่งที่เมือง c r สัญญาแบบนี้ แต่เมื่อ ฟอลคอนขอร้องก็ยนิ ยอมพูดว่า A มะริ ด ราชทูต เดอ โชม็องต์ ไม่มีอาํ นาจที่จะลงนามในสนธิ s e สนธิ สัญญานี้มีอยู่ ที่ราชทูตฝรั่งเศส ยอมยื ivนยันโดยไม่เป็ นความจริ งเช่นนี้ ฟอลคอนยังเห็นว่าไม่พอ แต่เมื่อเกลี้ย h กล่อมให้ เดอ โชม็องต์ ทํามากกว่ rcานี้ไม่ได้ เขาก็เข้าหาคุณพ่อตาชารด์ ชี้ให้เห็นประโยชน์ต่างๆ ที่จะเกิดจากการเป็ น A พันธมิตรเช่นนี้ สําหรัaบlพระมหากษัตริ ยท์ ้ งั สองประเทศ "คุยโขมงโฉงเฉง และเกินความจริ งอย่ างสิ ้นเชิ ง" ว่า c r พวกคริ สตังจะได้ รiับประโยชน์อย่างมหาศาล และยังโอ่วา่ ตั้งแต่น้ ีไป เมื่อได้รับความคุม้ ครองจากทหารฝรั่งเศส o t s i พวกมิ Hชชันนารีจะปฏิบตั ิงานในหน้าที่ได้ดว้ ยความปลอดภัยทุกประการ ที่สุดฟอลคอนก็สรุ ปโดยขอให้คุณพ่อตา ชารด์ ไปเจรจาเรื่ องนี้ในประเทศฝรั่งเศส คุณพ่อตาชารด์ก็รับปากว่าจะช่วย
ในขณะเดียวกัน ก็เป็ นที่ตกลงระหว่างเขาทั้งสองว่า จะส่ งทูตชาวสยามอีกคณะหนึ่งไปประเทศฝรั่งเศส ได้มีการแต่งตั้งขุนนางชั้นผูใ้ หญ่ 3 นาย ซึ่งจะมีผตู้ ิดตามไปด้วย 20 คน คุณพ่อวาเชต์ กับคุณพ่อเดอ ลีออนซึ่งจะ พาสามเณรอันโตนิโอ ปิ นโต ผูเ้ ป็ นบุตรของชายชาวโปรตุเกสและ หญิงชาวสยามไปด้วยนั้นจะเป็ นล่ามของเขา คุณพ่อวาเชต์ นั้นเหมาะสมทุกประการสําหรับหน้าที่น้ ีเพราะเคยทําอย่างเป็ นผลดีในครั้งก่อนมาแล้ว สําหรับคุณพ่อ เดอ ลีออนนั้นอาศัยนามสกุลและความสัมพันธ์ที่ท่านมีกบั พระราชสํานักฝรั่งเศสดูจะทําการรับใช้ช่วยเหลือได้มาก ทีเดียว
75
ประวัติมิสซังกรุ งสยาม
สมเด็จพระนารายณ์ทรงแสดงพระราชประสงค์จะส่ งราชทูตไปยังพระสมณสํานักที่ กรุ งโรม แต่หลังจาก ลังเลพระทัยอยูเ่ ป็ นเวลานาน พระองค์ก็ "เพียงแต่ ทรงขอร้ องอับเบ เดอ ชัวซี ให้ กล่ าวคําถวายพระพรแด่ พระ สันตะปาปา และนําเครื่ องบรรณาการบางอย่ างไปทูลเกล้ าฯ ถวาย" แต่อบั เบ เดอ ชัวซี จะไม่เป็ นผูท้ าํ ภารกิจนี้ เพราะ ฟอลคอน ได้ขอร้องให้คุณพ่อตาชารด์เป็ นผูท้ าํ แทน เรื อฝรั่งเศสพร้อมที่จะออกจากกรุ งสยามในราวกลาง เดือนธันวาคม ค.ศ. 1685
สนธิสัญญาทางศาสนา ระหว่างนั้น ยังไม่มีการลงนามในสนธิสัญญาทางศาสนาอันเป็ นที่ปรารถนาอย่างยิง่ ของพวกมิชชันนารี และเดอ โชม็องต์ ก็เรี ยกร้องอยูบ่ ่อยๆ ยิง่ กว่านั้น สนธิสัญญาดังกล่าวยังมิได้ส่งมาให้พิจารณาด้วยซํ้าไป ในที่สุด ฟอลคอนก็เสนอตัวบทของสนธิ สัญญา แต่เสนอมาในลักษณะอย่างไร ท่านทราบไหม ? เขาคอยให้เดอ โชม็องต์ ลงเรื อและเรื อกําลังจะขึ้นใบแล้ว เขาจึงส่ งสนธิ สัญญามา และสนธิสัญญานั้นเขาไม่ได้จดั การให้พระเจ้าแผ่นดินทรง ลงพระปรมาภิไธยหรื อให้บรรดาเสนาบดีลงนาม สําหรับเสนาบดีน้ นั น่าเชื่อทีเดียวว่าคงไม่รู้ดว้ ยซํ้าไปว่ามี สนธิสัญญา ฉบับนั้นเป็ นอันว่า ในที่สุดเขาเขียนข้อความในสนธิสัญญาดังกล่าวให้มีขอ้ แม้ขอ้ นี้ขอ้ นั้น จนกลายเป็ น เครื่ องมือกดขี่ ไม่ใช่เครื่ องมือให้อิสระเสรี สนธิ สัญญาทางศาสนามีขอ้ ความ 5 ข้อ คือ : ข้ อหนึ่ง : อนุญาตให้เทศน์สอนศาสนาคาทอลิกและถือได้ ฟอลคอนเติมว่า "โดยมีเงื่อนไขว่ า พวก มิชชันนารี จะต้ องเพียงแต่ เทศน์ สอนบทบัญญัติของพระเป็ นเจ้ าเท่ านั้น จะเพิ่ม ข้ อเปลี่ยนใหม่ ที่ทาํ ให้ ประชาชน ต่ อต้ านรั ฐบาลและบทบัญญัติของประเทศ โดยอ้ างเหตุใดๆ ไม่ ได้ ในกรณี ที่มิชชันนารี ผ้ หู นึ่งผู้ใดประพฤติฝ่าฝื น ข้ อนี ้ พระเจ้ าแผ่ นดินถือว่ า เอกสิ ทธิ์ ข้อนีเ้ ป็ นโมฆะ มิชชันนารี ผ้ นู ั้นจะต้ องถูกเนรเทศส่ งกลับไปประเทศฝรั่ งเศส และจะกลับมาในที่แห่ งหนึ่งแห่ งใดในกรุ งสยามไม่ ได้ ถ้ ากลับมาจะต้ องโทษถึงประหารชี วิต" ข้ อสอง : อนุญาตให้สอนวิชาความรู้ "ที่ไม่ เกี่ยวกับการปกครองและกฎหมาย ของประเทศ" แต่ความในข้อ นี้ก็มีขอ้ แม้และบทลงโทษเช่นเดียวกับในข้อหนึ่ง ข้ อสาม : พวกคริ สตังได้รับการยกเว้นไม่ตอ้ งทํางานราชการในวันอาทิตย์และวันฉลอง แต่ตอ้ งอยูใ่ นความ ควบคุมของ "ผู้มีอาํ นาจสองคน" คนหนึ่งเป็ นคนที่พระเจ้าแผ่นดินทรงแต่งตั้ง อีกคนหนึ่งเป็ นคนที่พระสังฆราช แต่งตั้ง ข้ อห้ า19 : ให้ต้ งั ขุนนางผูห้ นึ่งเป็ นผูช้ าํ ระเรื่ องคดีของพวกคริ สตัง ขุนนางผูน้ ้ นั จะต้องขอความเห็นจากผู้ พิพากษาคนหนึ่งของพระเจ้าแผ่นดิน "เพื่อป้ องกันมิให้ ผ้ ถู กู ตัดสิ นลงโทษร้ อง อุธรณ์ "
k
iv h rc
e c io d rch
A s e
A l a
ic r o ist
H
19ไม่มีกล่าวถึงข้อสี่ โดยผูแ้ ต่งจงใจจะเว้นหรื อลืมไปก็ไม่ทราบได้ (ผูแ้ ปล)
o e s
ko g n a fB
76 ประวัติมิสซังกรุงสยาม
เมื่อพิจารณาดูสนธิ สัญญาฉบับนี้ คุณพ่อเดอ ลีออนแสดงความสงสัยว่าพระเจ้าแผ่นดินได้ทรงทราบและลง พระปรมาภิไธยในสนธิ สัญญาดังกล่าวหรื อเปล่า คุณพ่อถึงกับกล่าวว่า "ข้ าพเจ้ าไม่ เชื่ อเลยว่ าพระเจ้ ากรุ งสยามได้ ทรง พระราชดําริ ประทานเอกสิ ทธิ์ เหล่ านี ้ ยิ่งกว่ านั้น เป็ นเรื่ องที่เป็ นไปได้ ทีเดียวว่ า นายคอนสฺ ตันติน ได้ ตกลงกับพระ เจ้ ากรุ งสยามจะหลอก เดอ โชม็องต์ ในเรื่ องนี"้ คุณพ่อวาเชต์กล่าวว่า ฟอลคอน เป็ นผูท้ ี่คิดข้อแม้ต่างๆ ขึ้น "เพราะ เกียรติที่จะรั กษาหรื อยกเลิกเอกสิ ทธิ์ ต่างๆ เหล่ านี ้ เมื่อไรก็ได้ ที่เห็นควรนั้น เขาพอใจจะสงวนไว้ สาํ หรั บเขาแต่ ผ้ ู เดียว" สนธิ สัญญาฉบับนี้ ถึงแม้จะมีขอ้ ความที่จาํ กัดสิ ทธิพิเศษให้มีผลน้อยลง แต่ก็ไม่เคยได้ประกาศให้เป็ นที่ ทราบกันเลย ดังนั้น เราก็มีความเห็นเหมือนคุณพ่อเดอ ลีออน ได้วา่ ฟอลคอน จําเป็ นต้องเก็บสนธิสัญญาฉบับนั้นไว้ เป็ นความลับเพราะมิได้เสนอต่อพระเจ้าแผ่นดินและอัครมหาเสนาบดี แล้วเราก็สรุ ปได้เหมือนคุณพ่อวาเชต์วา่ "คน ของฝ่ ายเราที่เป็ นคนซื่ อๆ ถูกเขาหลอก ฟอลคอนคนเดียวมีชัยชนะ" แต่ความมีชยั นี้เป็ นความมีชยั อย่างเดียวที่ฟอลคอนหื่นกระหายจะมีหรื อ? ในขณะที่กาํ ลังเขียนสนธิสัญญา ทางศาสนาฉบับนี้ เขามอบบันทึกช่วยจําฉบับหนึ่งแก่คุณพ่อตาชารด์ ที่กาํ ลังจะเดินทางกลับประเทศฝรั่งเศส และ เขาได้ผกู ความสัมพันธ์กบั ท่านไว้อย่างสนิทใกล้ชิด เพื่อขอพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 พระราชทานเรื อหลายลํากับคน 60 70 คน "ที่เฉลียวฉลาดมากๆ ในการปฏิ บัติงานต่ างๆ เป็ นคนสุจริ ตอย่ างแท้ จริ ง มีทุนทรั พย์ สาํ หรั บดํารงชี พอยู่ด้วย ตนเอง และเข้ าทําการรั บใช้ พระเจ้ ากรุ งสยามโดยไม่ มีผลประโยชน์ แต่ ประการใด" ฟอลคอน ขอสิ่ งเหล่านี้ บันทึก ดังกล่าวยืนยันว่า "เพื่อช่ วยตั้งพระคริ สตศาสนาขึน้ ในพระราชอาณาจักร" เราต้องมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับคํายืนยันนี้ ซึ่งถ้าเราไว้ใจฟอลคอนและเชื่อใน ความสุ จริ ตใจของเขา ก็จะไม่สู้นึกอยากพิจารณาว่าจะจริ งหรื อไม่ ? แต่ฟอลคอนนั้นเป็ นคน มักใหญ่ใฝ่ สู งมากยิง่ กว่าเป็ นคริ สตชน และ ใจเราโน้มเอียงไปในทางอยากเชื่อว่า คนฉลาด 60 - 70 คน กับเรื อหลายลําที่เขาขอนั้น ตามความคิดเห็นของเขา จะช่วยเสริ มอํานาจที่มีอยูแ่ ล้ว ให้มนั่ คง ถ้ามิใช่ช่วยเพิ่มให้ทวียงิ่ ขึ้น นัน่ ก็เป็ นความคิดเห็นของเชอวาลีเอร์ เดอ ฟอรฺ แบ็ง ซึ่งไม่ชอบหน้าฟอลคอน แต่รู้จกั ฟอลคอนดีมาก จนถึงกับพูดว่า : "ที่เขาอยากมีกองทหารฝรั่ งเศสนั้น อาจจะ สําหรั บพยายามตั้งตัวเป็ นกษัตริ ย์เมื่อพระเจ้ าแผ่ นดินที่เขาเห็นว่ าจะทรงดํารงพระชนม์ อีกไม่ นานจะสิ ้นพระชนม์ ลง" การณ์จะเป็ นอย่างไรก็ตาม จิตใจของพระสังฆราชลาโน มุ่งไปยังเป้ าหมายซึ่ งมิชชันนารี จะต้องพยายาม บรรลุถึงอยูเ่ สมอ ท่านสรุ ปผลทางศาสนาที่ราชทูตของเราเจรจาขอได้ แล้วเขียนแจ้งไปยังบรรดาคณาจารย์แห่งสาม เณราลัยมิสซังต่างประเทศว่า "เมื่อทรงเห็นว่ าพระเจ้ า กรุ งฝรั่ งเศสทรงเชื ้อเชิ ญพระองค์ ให้ ทรงถือพระคริ สตศาสนา พระองค์ ทรงใช้ พระ วิจารณญาณอย่ างหนักหน่ วง และพระดํารั สตอบที่ทรงพระราชทานแก่ ราชทูตของเรา ก็เป็ นคําตอบที่ชวนเราให้ มี ความหวังในทางดีทุกอย่ าง อย่ างไรก็ตาม ข้ าพเจ้ าเห็นว่ าเวลาพูดหรื อเขียนถึงใคร ควรจะพูดถึงเรื่ องนีน้ ้ อยๆ หน่ อย เรายังบอกไม่ ได้ ว่าอนาคตจะเป็ นอย่ างไรแน่ และอาจจะต้ องเสี ยใจ ที่คาดการณ์ ในเรื่ องที่มีความสําคัญขนาดนี ้ เร็ วเกินไป ถ้ าหากไม่ สาํ เร็ จเป็ นจริ ง".
k
A l a
iv h rc
H
ic r o ist
A s e
e c io d rch
o e s
ko g n a fB