8 ประวัติมิสซังกรุงสยาม บทที่ 5

Page 1

บทที่ 5 สมัยพระสังฆราชลาโน ค.ศ. 1679-1696 (ต่อ)

กรุงฝรั่งเศสกับกรุงสยามมีความสั มพันธ์ กนั ต่ อไป สภาพการณ์ ของมิสซัง ค.ศ. 1686-1689 คณะราชทูตชุดใหม่ ไปถึงกรุงฝรั่งเศส ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1686 คณะราชทูตกรุ งสยามเดินทางถึงเมืองแบรสต์ และจากนั้นก็เดินทางไป กรุ งปารี ส โดยไปเป็ นช่วงๆ พวกเขาเดินทางเข้ากรุ งปารี สอย่างสง่าเมื่อวันที่ 12 สิ งหาคม โดยมีรถเทียมม้าหกตัว ติดตามเป็ นเกียรติยศถึง 60 คัน พวกเขาเข้าเฝ้ าพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 เมื่อวันที่ 1 กันยายน กราบบังคมทูลเป็ นคา สรรเสริ ญที่ค่อนข้างจะเกินความจริ ง แต่เขา ไม่ใช่เป็ นผูแ้ ต่งแต่ลาพังพวกเดียว อับเบ เดอ ชัวซี ได้บนั ทึกไว้เป็ น ถ้อยคาสานวนขบขันว่า "ความจริ งมีว่า ทูตทั้งสามได้ แสดงความคิดส่ วนหนึ่งเป็ นภาษาของเขา คุณพ่ อลีออนแปล เป็ นภาษาฝรั่ งเศส คุณพ่ อตีแบรฌฺ​ฺ (Tiberge) แต่ งให้ เป็ นภาษาสานวนซื่ อๆ ตามธรรมชาติ และมีสกุลตามที่ท่าน รู้ จักทาให้ ทุกสิ่ งที่ท่านทาเป็ นเช่ นนั้น ส่ วนข้ าพเจ้ าก็ช่วยใส่ เครื่ องหมายวรรคตอน มหัพภาค ( . ) และจุลภาค ( , ) สองสามแห่ ง" ตลอดเวลาหลายเดือน ผูจ้ ดั การต้อนรับมิได้ละเลยสิ่ งใดที่จะทาให้คณะทูตกรุ งสยาม งงงวย แปลกตาแปลก ใจ มีการเลี้ยง การเต้นรา การกล่าวสุ นทรพจน์ การชมวัง และการเดินทางไปชมดินแดนที่พิชิตได้ใหม่ และมีอย่าง ต่อเนื่องกันจนเกือบไม่เคยขาดตอนเลย สิ่ งสวยงามและการแสดงความมีมารยาททั้งหลายเหล่านี้ แตกต่างกันไกลแสนไกลกับการล่าเสื อหรื อช้าง ในป่ าดงกรุ งสยาม แต่ทูตทั้งสามก็แสดงว่ามีความชื่นชอบเหมือนดังว่าคุน้ เคยมาตั้งแต่เมื่อเป็ นเด็กแล้ว เขาเป็ นคน สุ ภาพน่ารักเท่าๆ กับที่ทูตสองคนแรกเป็ นคนหยาบคาย เป็ นความจริ งที่มีคนพูดแกมเย้ยหยันและดูจะถูกต้องด้วยว่า เครื่ องราชบรรณาการอันมีค่าสู งของเขาได้มีส่วนช่วยให้เราเห็นว่า เขาเป็ นคนรู้จกั กาลเทศะและมีรสนิยมสู ง

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

ทีส่ H ามเณราลัยมิสซังต่ างประเทศ อันโตนิโอ ปิ นโต ทูตกรุ งสยามทั้งสามได้ไปเยีย่ มและรับประทานอาหารที่สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศ ท่านอธิการสามเณ ราลัยคือ คุณพ่อเดอ บรี ซาซีเอร์ (de Brisacier) บอกเขาเป็ นภาษาฝรั่งเศสว่า "เพื่อสรรเสริ ญเขาอย่ างเหมาะสม เท่ าที่ควร พระสงฆ์ ในสามเณราลัยตั้งใจจะผลัดกันพูดเป็ นภาษาต่ างๆ คือ องค์ หนึ่งจะพูดเป็ นภาษาฮี บรู ซึ่ งเป็ น ภาษานักปราชญ์ องค์ หนึ่งจะพูดเป็ นภาษากรี ก ซึ่ งเป็ นภาษาสุภาพ องค์ หนึ่งจะพูดเป็ นภาษาลาติน ซึ่ งเป็ นภาษาหนัก แน่ น และองค์ หนึ่งจะพูดเป็ นภาษาสยาม ซึ่ งจะต้ องเป็ นที่ชื่นชอบของเขา" ผูท้ ี่แต่งสุ นทรพจน์เหล่านี้ คือ สาหรับภาษาฮีบรู ได้แก่ คุณพ่อเดอ ลา โนเอ (de la Noé), ภาษากรี กได้แก่ คุณพ่อป๊ อกเกต์ (Pocquet), ภาษาลาตินได้แก่ คุณพ่อตีแบรฌฺ และสาหรับภาษาสยามได้แก่ คุณพ่อลีออน


86

 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม

มาดาม เดอ มีรามีออ็ ง เป็ นผูอ้ อกค่าเลี้ยงอาหารทูตกรุ งสยาม ค่าเลี้ยงอาหารครั้งนี้เป็ นเงิน 80 ปิ สตอล (pistoles) เครื่ องถ้วยชามและผ้าต่างๆ ที่ใช้ในการเลี้ยงเป็ นของตระกูล แนสม็องด์ (Nesmond) "การเลีย้ งครั้ งนี ้ เป็ นการเลีย้ งที่อร่ อย" และท่านมาร์ ควีส ดาลีครฺ (d'Aligre) ได้มีไมตรี จิตบอกคุณพ่อบรี ซาซีเอร์วา่ "การเลีย้ ง ดังกล่ าวมีบรรยากาศและความ มีระเบียบเหมือนการเลีย้ งที่พระราชวังแวรฺ ซายทีเดียว" ทูตกรุ งสยามทั้งสามได้ไปฟังสามเณรอันโตนิโอ ปิ นโต พูดบรรยายเทวศาสตร์เรื่ องหนึ่ง ที่มหาวิทยาลัย ซอรฺ บอน “การบรรยายครั้ งนี ้ ผู้บรรยายขออุทิศแด่ พระเจ้ าแผ่ นดิน คนทั้งกรุ งปารี สแห่ กันมาฟั ง บรรดาสมณะชั้น ผู้ใหญ่ กพ็ ากันมาฟั งเป็ นอันมาก ทุกคนยอมรั บว่ าไม่ มีใครพูดได้ ดีกว่ าชาวสยามคนนี "้ เมื่อจบการซักถามกันแล้ว ประธานได้กล่าวสุ นทรพจน์เป็ นภาษาลาติน สรรเสริ ญผูส้ มัครทาการบรรยายและพวกมิชชันนารี วันรุ่ งขึ้นได้มีการ บรรยายเรื่ องเดียวกันในห้องของศาลฝ่ ายศาสนาที่โบสถ์นอตรฺ - ดามด้วย สองสามเดือนต่อมา เขาส่ งปิ นโตไปกรุ งโรม ปิ นโตได้บรรยายเรื่ องหนึ่งต่อเบื้อง พระพักตร์สมเด็จ พระสันตะปาปา และต่อหน้าคณะพระคาร์ ดินลั 1 ตลอดจน "ไม่ ว่าใครต่ อใคร ที่เรี ยกว่ าเป็ นผู้ปราดเปรื่ อง" พระสันตะปาปาทรงชื่นชอบพระทัยเป็ นอย่างยิง่ จนถึงกับว่า แม้สามเณรปิ นโตอายุเพียง 22 ปี พระองค์ก็ ทรงมีพระประสงค์ให้บวชเป็ นพระสงฆ์ก่อนที่จะกลับประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้โดยได้รับการยกเว้นอย่างที่ไม่มีใครเคย ได้ยนิ ว่ามีเช่นนี้เลย ยิง่ กว่านั้นพระองค์ทรงถือว่าปิ นโต เป็ นผูท้ ี่สมจะเป็ นพระสังฆราชเพื่อสื บตาแหน่งต่อจาก ประมุขมิสซังองค์ใดองค์หนึ่ง

k

o e s

ko g n a fB

e c ระหว่างนั้นได้มีการเจรจากันระหว่างบรรดาเสนาบดีฝรั่งเศสกั ioบทูตทั้งสามของกรุ งสยาม และโดยเฉพาะ d hญหาสาคัญต่างๆ คุณพ่อลีออน เขียนว่า "เป็ นที่ร้ ูกัน อย่างยิง่ กับคุณพ่อตาชารด์ ซึ่ งฟอลคอนมอบหมายให้ตกลงในปั c r A พระสงฆ์เยสุอิต ซึ่งก็มีความภาคภูมิใจมิใช่ น้อ ก่อนอื่น โดยทั่วไปว่ า กิจธุระและการเจรจาทุกอย่ างทาผ่ านทางพวก s จะทาโดยจงใจหรื อทาโดยไม่ คิดก็ตาม คุณv พ่ อe ตาชารด์ จัดการให้ คุณพ่ อวาเชต์ ออกห่ างๆ ไปจากทูตทั้งสาม" i ่ วนร่hวม "ในการตัดสิ นใจทุกอย่ างที่เขาทา และข้ าพเจ้ าสาบานได้ ว่าเขาไม่ ถาม คุณพ่อลีออนเองก็มิได้มrีสc Aทั้งสิ้น" นอกนั้นคุณพ่อเสริ มว่า "ที่เป็ นเช่ นนีก้ ด็ ีแล้ว เพราะข้าพเจ้ามีความคิดเห็น ความเห็นข้ าพเจ้ าในเรื่ องใดๆ l aสยามและเกี่ยวกับ นายฟอลคอน ต่างกันไกลกับความคิดเห็นของคุณพ่อตาชารด์ " c เกี่ยวกับกิจการของกรุ ง i rจากการเจรจาเหล่านี้ก็คือ ให้ส่งทหารที่ติดอาวุธกองหนึ่งไปกรุ งสยาม เพื่อเข้าครอบครองจุดที่ o t ผลที ่ เ กิ ด s i สาคัH ญบางจุดและเพื่อเป็ นการประกันให้มีการถือตามสนธิสัญญา บทบาทของคุณพ่อตาชารด์

ฝ่ ายเรา (ฝรั่งเศส) จัดให้เรื อ 5 ลา มีอุปกรณ์เครื่ องใช้ เพื่อบรรทุกทหารหนึ่งกองพันที่บงั คับบัญชาโดย นายพลจัตวา แดฟารฌฺ (maréchal - de - camps DESFARGES) นักการทูตสองคนติดตามกองทหารนี้ไป คือ เดอ ลา ลูแบรฺ (de la Loubฺ่re) เพื่อปฏิบตั ิการเกี่ยวกับกิจการด้านการเมือง และเซเบเรต์ ดือ บุลเล (Cébéret du Boullay) ซึ่ งเป็ นผูจ้ ดั การผูห ้ นึ่งของบริ ษทั อินเดียตะวันออก เพื่อตกลงในปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการค้า

1วิทยานิพนธ์น้ ี อันโตนิโอ ปิ นโต ทาเป็ นภาษาลาติน พระสงฆ์เยสุ อิตองค์หนึ่งยืนยันว่ายังรักษาไว้ที่กรุ งโรม น่าจะ ดาเนินการขอมาแปลเป็ น ภาษาไทย เพื่อพิสูจน์วา่ คารมของอันโตนิโอ ปิ นโต คมคายและไพเราะสักเพียงใด (ผูแ้ ปล)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม  87

คาสั่งที่มอบแก่นายพลแดฟารฌฺ น้ นั มีความว่า "แม้ การตั้งการค้ าจะเป็ นหัวใจของการมาดาเนินการครั้ งนี ้ และแม้ ว่าผลสาเร็ จซึ่ งเราต้ องมุ่งหวังย่ อมขึน้ กับเรื่ องนี ้ นายพลแดฟารฌฺ ต้ องรู้ ไว้ ว่า เหตุผลสาคัญที่พระเจ้ าแผ่ นดิน ต้ องทรงจัดให้ ชาวฝรั่ งเศสมีสถาบันมัน่ คงอันหนึ่งในประเทศนีก้ ค็ ือ พระองค์ ทรงมีจุดหมายจะดาเนินการให้ กิจการ พระศาสนาเจริ ญก้ าวหน้ า" คาสั่งสาหรับทูตลา ลูแบรฺ ก็มีความไปในแนวทางเดียวกันว่า "ส่ วนกิจการต่ างๆ ซึ่ งต้ องเป็ นความห่ วงกังวล สาคัญของท่ านนั้น กิจการประการแรกที่พระเจ้ าอยู่หัวทรงเอาพระทัยใส่ มากที่สุด ก็คือ การปลูกฝั งพระศาสนาขึน้ ในพระราชอาณาจักรสยาม" มาร์ควีส เดอ เซเฌอเล สั่งทูตให้ปฏิบตั ิการโดยประสานสอดคล้องกับพระสังฆราช ลาโน "และให้ ชี้แจงแก่ พวกมิชชันนารี และพระสงฆ์ เยสุอิตว่ า จาเป็ นต้ องดารงชี วิตอยู่ร่วมกันด้ วยความสมัครสมานและเข้ าใจกันอย่ างดี ที่สุด เพื่อประโยชน์ ของพระศาสนา" ความสมัครสมานกันนี้ พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ก็ยงั ทรงกาชับสัง่ แก่คุณพ่อลีออน และเมื่อเดินทางมาถึงกรุ งสยามแล้ว คุณพ่อจะเขียนไว้วา่ สาหรับพระสังฆราชลาโน "แต่ ก่อนท่ านทาอะไรก็ทาด้ วย ใจรั กชอบนั้น เดี๋ยวนี ้ ท่ านยินดียิ่งนักที่ทาได้ ด้วยความนอบน้ อมเชื่ อฟั ง" เกี่ยวกับปั ญหาเรื่ องทหาร รัฐบาลฝรั่งเศสสั่งอย่างเด็ดขาดคือ สั่งให้เข้าครอบครองเมือง มะริ ดและเมือง บางกอก2 แม้ดว้ ยการใช้กาลัง ถ้าพระเจ้ากรุ งสยามไม่ทรงถือตามที่ได้ทรงสัญญา วันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1687 ราชทูตกรุ งสยามไปยังพระราชวังแวรฺ ซาย เพื่อกราบบังคมลาพระเจ้าแผ่นดิน โดยคุณพ่อลีออนทาหน้าที่เป็ นล่าม ตั้งแต่คุณพ่อตาชารด์เข้าทาหน้าที่เจรจาแล้ว คุณพ่อวาเชต์ก็ไม่มีบทบาทอะไรอีก คุณพ่อจะไม่กลับไปกรุ งสยาม และนอกจากเดินทางไปประเทศเปอร์เซียครั้งหนึ่ง เพื่อจัดการบางอย่างที่ยงุ่ ยาก พอสมควรแล้ว ท่านก็อยู่ ที่สามเณราลัยจนกระทัง่ วันสิ้ นชีพ เขียนบันทึกความจาเป็ นเรื่ องสนุกมากกว่าที่จะเป็ นเรื่ อง ถูกต้อง และเป็ นผูด้ ูแลวิญญาณของภคินี ส่ วนเด็กชาวสยามที่มากับคณะทูตเพื่อศึกษาเล่าเรี ยนในประเทศฝรั่งเศส หรื อฝึ กวิชาชีพต่างๆ นั้น บางคนก็ ไปอยูท่ ี่วทิ ยาลัยหลุยส์มหาราช บางคนก็ไปอยูต่ ามโรงงานที่เป็ นของคริ สตัง ในจานวนเด็กเหล่านี้ สิ บเอ็ดคนได้รับ ศีลล้างบาปเมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1687 ในโบสถ์แซ็งต์ - ซุลปิ ส กรุ งปารี ส ส่ วนเด็กอีกคนหนึ่งเตรี ยมตัวจะรับ ศีลล้างบาปเหมือนกัน แต่ขณะนั้นป่ วย จึงได้รับศีลล้างบาปในเวลาต่อมาอีกสองสามสัปดาห์ ในจดหมายหลายฉบับ บรรดาคณาจารย์สามเณราลัยอวดชมความศรัทธาของผูร้ ับศีลล้างบาปใหม่เหล่านี้ เขามาขอ สายประคาและเอาสวม ไว้ที่คอ "ประหนึ่งเป็ นสร้ อยคอของกลุ่มผู้ศรั ทธาต่ อพระเยซูเจ้ าและพระแม่ มารี ย์" ในเวลาต่อมามิชา้ คนหนึ่งในเด็กพวกนี้ชื่อ Jean - François CONLEC 3 ถึงแก่กรรม ศพฝังไว้ในโบสถ์ ของสามเณราลัยมิสซังต่างประเทศ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

2เมืองบางกอกนี้น่าจะหมายถึงเมืองธนบุรีมากกว่ากรุ งเทพฯ ในปัจจุบนั เพราะในสมัยพระนารายณ์ได้มีการสร้างป้ อม ที่เมืองบางกอกธนบุรี โปรดสังเกตด้วยว่าทางฝั่งธนบุรีมีอาเภอที่ข้ ึนต้นด้วยคาว่า "บางกอก" ถึงสองอาเภอ คือ อาเภอบางกอกน้อย และอาเภอบางกอกใหญ่ (กรรมการฯ) 3Jean François เป็ นชื่อนักบุญคือ ยวง ฟรังซิสโก แต่เฉพาะคา Conlec ไม่ทราบจะอ่านว่าคนเล็ก ? หรื อกองเล็ก ? หรื อคุณเล็ก ? (ผูแ้ ปล)


88

 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม

สภาพของมิสซังกรุงสยาม - กลุ่มคริสตังในทีต่ ่ างๆ ในขณะที่คณะทูตของสมเด็จพระนารายณ์พานักอยูใ่ นประเทศฝรั่งเศสนั้น มิสซังกรุ งสยามเป็ นอย่างไร? สนธิสัญญาทางศาสนาซึ่ งท่านราชทูตเดอ โชม็องต์ ขอได้ดว้ ยความยากลาบาก และฟอลคอนยอมให้โดยมีขอ้ แม้ มากมายหลายประการนั้น ได้เกิดผลเป็ นประการใดบ้างหรื อไม่ ? อนิจจา ! แม้พวกมิชชันนารี จะมีใจเร่ าร้อน และแม้พระเจ้ากรุ งสยามและเสนาบดี คนโปรดของพระองค์ดู ภายนอกก็ให้ความคุม้ ครอง แต่ศาสนาคาทอลิกก็เจริ ญแต่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ส่ วนสนธิสัญญาทางศาสนาเล่าก็ยงั มิได้ประกาศ พระสังฆราชลาโนขอร้องให้ประกาศหลายครั้งหลายหนก็ไม่เป็ นผล ฟอลคอนตอบปฏิเสธ หรื อ มิฉะนั้น ก็ให้เหตุผลที่ฟังไม่ข้ ึน หรื อดูภายนอกก็น่าเห็นด้วย แต่ที่แท้เป็ นแต่ขอ้ อ้างเท่านั้น พวกมิชชันนารี ยงั คงทางานที่เคยทาอย่างนี้แล้วก็ทาอย่างนั้นต่อไปที่กรุ งศรี อยุธยาที่ เมืองละโว้, ที่เมือง บางกอก, ที่เมืองพิษณุโลก และที่ตะนาวศรี ที่กรุ งศรี อยุธยา เขาได้ประกอบพิธีศีลล้างบาปแก่ชาวญวน 12 คน ชาวมอญ 4 - 5 คน กับแขกมักกะสัน (Macassars) 3 คน ที่กลับใจหลังจากเพื่อนร่ วมชาติของเขาก่อการกบฎ ในปี ค.ศ. 1687 แต่ถูกฟอลคอน ปราบปรามอย่างโหดเหี้ ยมและรวดเร็ ว โดยได้รับความ ช่วยเหลือจากเชอวาลีเอร์ เดอ ฟอรฺ แบ็ง โบสถ์นกั บุญโยเซฟยังคงสร้างต่อไปตามแผนผังของประมุขมิสซังในแบบที่พระเจ้าแผ่นดินได้ทรงรับ ฟอล คอนได้จดั การให้ "สร้ างบ้ านสวยงามหลังหนึ่งกับโบสถ์ หลังหนึ่งให้ แก่ พวกพระสงฆ์ เยสุอิตชาวโปรตุเกส อีกทั้ง โบสถ์ ที่สวยงามมากอีกหลังหนึ่ง4 ให้ แก่ พวกนักพรตคณะดอมินิกันที่เป็ นชาติเดียวกัน" ที่เมืองละโว้ (ลพบุรี) ซึ่ งขณะนั้นมีคาทอลิก 190 คน ฟอลคอนบงการให้สร้างโบสถ์นอ้ ยหลังหนึ่งสาหรับ ตนเอง "โบสถ์ หลังนี ้5ไม่ มีความกลมกลื นและความมีสัดส่ วนที่ ถูกต้ องตามรสนิ ยมของผู้เชี่ ยวชาญทางสถาปั ตย กรรม เพราะเมื่อไม่ มีช่างสถาปั ตย์ ฟอลคอน ก็สั่งให้ สร้ างขึน้ ตามที่ ใจจะนึกชอบ แต่ ถึงกระนั้น ก็หาที่ ติได้ ยาก หิ นอ่ อนนั้นเป็ นของประเสริ ฐ ในเอเชี ยอาคเนย์ ยังเป็ นที่ ร้ ู จักน้ อยและเป็ นที่ นิยมมาก แต่ ในการสร้ าง โบสถ์ นีไ้ ด้ นามาใช้ อย่ างไม่ กลัวหมดเปลือง ไม่ ว่าจะมองไปทางไหน ตั้งแต่ ยอดโบสถ์ น้อยจนถึงราก เห็น แต่ ทองกับสี รู ปภาพที่ แสดงเรื่ องในพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ ต่อๆ กันและตามลาดับนั้น ไม่ เด่ น สะดุดตา แต่ ให้ สีอย่ างดีเลิศ ตู้ศีลที่ เขากาลังทาและแต่ งอยู่อย่ างไม่ หยุดยั้งนั้น จะใหญ่ โตมาก และทาด้ วย เงินทึบ ไม่ มีการเย็บปั กถักร้ อยบนเครื่ องประดับ แต่ ผ้าที่ใช้ ทาเครื่ องประดับนั้นมีค่าและเบาอย่ างเหลือหลาย หลังคาของโบสถ์ น้อยที่ มีสามชั้นแบบเดียวกับวัดไทย มุงด้ วยแร่ กาลีนา (Calin) ซึ่ งเป็ นแร่ ขาวชนิดหนึ่ง จะว่ าเป็ นดีบุกก็ไม่ ใช่ จะว่ าเป็ นตะกั่วก็ไม่ เชิ ง แต่ เบากว่ าดีบุกและตะกั่วมาก"

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

4โบสถ์สองหลังนี้อยูใ่ นค่ายชาวโปรตุเกส ซึ่งอยูท่ างทิศใต้ของเกาะที่เป็ นตัวเมืองอยุธยา ทุกวันนี้ถูกทาลายสิ้ นแล้ว แต่มี ผูย้ นื ยันว่ายังเหลือ ขั้นบันไดที่เป็ นหินอยู่ ถ้าท่านอยากไปชมสถานที่สลักหักพังนี้ ให้ไปที่ท่าป้ อมเพชร ซึ่งอยูร่ ิ มฝั่งแม่น้ า ทิศใต้สุดของตัวเมืองอยุธยา ว่าจ้างเรื อ จ้างไปส่ งที่ "บ้านญวน" ที่นนั่ มีคริ สตังที่เป็ นเชื้อสายของชาวญวนแต่ด้ งั เดิม เขาจะชี้ให้ดูสถานที่ด้ งั เดิมของโบสถ์ท้ งั สอง (ผูแ้ ปล) 5อ่านหนังสื อ "การเดินทางครั้งที่สองของบาทหลวงตาชารด์และพระสงฆ์เยสุ อิต ไปยังกรุ งสยาม" ภาษาฝรั่งเศส หน้า 210 (พิมพ์หน้าผิด ที่ถูก เป็ นหน้า 196) ภาษาไทยแปลโดยนายสันต์ โกมลบุตร หน้า 139 (ผูแ้ ปล)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม  89

พระสังฆราชลาโนเป็ นผูไ้ ปเสกโบสถ์นอ้ ยนี้ ห้อมล้อมด้วยพระสงฆ์และนักพรตทุกคน ซึ่งมาจากอยุธยา หรื อบางกอก เพื่อร่ วมในงานฉลองนี้ที่เมืองละโว้ ขณะเดียวกัน ในที่ไม่ไกลจากโบสถ์นอ้ ยนี้ ฟอลคอนเริ่ มสร้าง วิทยาลัยหลังหนึ่งกับหอดูดาวแห่งหนึ่ง ซึ่งพระสงฆ์เยสุ อิตจะเป็ นผูด้ ูแลควบคุม 6 กลุ่มคริ สตังหลายแห่งที่เมืองพิษณุ โลกเจริ ญก้าวหน้า ภายใต้การดูแลของ คุณพ่อโมแนสจีเอร์ และคุณพ่อ อังเฌโล วันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1685 คุณพ่อโมแนสจีเอร์ ประกอบพิธีศีลล้างบาปให้แก่คนต่างศาสนา 23 คน และต่อมาอีกไม่กี่วนั ให้แก่คนต่างศาสนาอีก 15 คน ที่วงั แม่แดง มีคริ สตัง 53 คน และที่ Nanjeng (นาแจง ?) มีราว 60 คน กับมีโบสถ์ หลังหนึ่งถวายแด่ นักบุญเทเรซา ที่เมืองพิษณุโลกมี "โบสถ์ ใหญ่ ที่ทาด้ วยไม้ 2 หลัง พวกคริ สตัง ได้ มีส่วนในการสร้ างโบสถ์ 2 หลัง ดังกล่ าว" ในภูมิภาคนี้ เมื่อปี ค.ศ. 1687 จานวนผูไ้ ด้รับศีล ล้างบาปมีราว 400 คน ในขณะเดียวกับที่สอนให้คน กลับใจ พวกมิชชันนารี ก็บาเพ็ญตนเป็ นครู โรงเรี ยน สอนให้อ่านและเขียนภาษาไทยและภาษาลาติน ยิง่ กว่านั้นยัง สอนให้ร้องเพลงโบสถ์ (plain-chant) หรื อที่เรี ยกเพลงเกรโกเรี ยนด้วย ผลที่นบั ว่าเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ วและผิดปรกติน้ นั เตือนเราให้กลับนึกถึงคุณพ่อลังกลัว ที่เคยมีโครงการจะ ดาเนินการให้เมืองพิษณุโลกเป็ นศูนย์กลางที่สองของมิสซัง คือ ให้พระสังฆราชมาอยูส่ ักปี ละ 4-5 เดือน และให้ต้ งั สามเณราลัยขึ้นสักแห่งหนึ่ง "ซึ่ งจะทาให้ วดั พิษณุโลกมีแสงลุกวูบวาบขึน้ มาบ้ าง" แต่เราเพียงแต่คิดเท่านั้น ไม่มีการ ปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามที่คิดนั้น ทางทิศใต้ กลุ่มคริ สตชนที่เกาะถลาง (ภูเก็ต) เมืองเบนคาริ ม 7 และเมืองตะกัว่ ทุ่ง เจริ ญช้ากว่า คุณพ่อมารฺ ตี โน ที่เป็ นผูด้ ูแลกลุ่มคริ สตชน 3 แห่งนี้ ได้ไปประจาอยูท่ ี่เกาะถลาง ท่านคิดจะรวบรวมพวกคริ สตังซึ่ งท่านเห็นว่า อยูก่ ระจัดกระจายกันเกินไป ให้มาอยูร่ วมกันที่เกาะนี้ คาที่คุณพ่อกล่าวว่าคริ สตังน่าสงสารเหล่านี้เป็ นคนอย่างไรนั้น ไม่เป็ นที่น่าชื่นชมเลย ท่านกล่าวว่า เขาส่ วนใหญ่เป็ นคนไม่มีความรู้และประพฤติผดิ ในเรื่ องฉาวโฉ่ อย่างไรก็ตาม ท่านหวังว่าเขาจะประพฤติดีข้ ึน และคนต่างศาสนาเองก็จะกลับใจด้วย เพราะคนที่เป็ นลูกครึ่ ง "ซึ่ งเป็ นลูกหรื อหลานของชาวฝรั่ งเศสหรื อชาวโปรตุเกสนั้น มักโอนเอนไปทางพวกคริ สตังและศาสนา คริ สตัง" "ด้ วยว่ าเลือดย่ อมโอนเอียงไปทางด้ านที่มนั ออกมาเสมอ"

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

cอง พระสงฆ์ ชาวพืrน้ iเมื

o t กิ จ การส าคัญคือการอบรมพระสงฆ์พ้ืนเมืองนั้น ยังคงดาเนินต่อไปอย่างสม่าเสมอ แม้วา่ สภาพของวิทยาลัย s i H

กลางจะเปลี่ยนไป ในปี ค.ศ. 1686 วิทยาลัยกลางมีสามเณร 58 คน แบ่งเป็ น 6 ชั้น คุณพ่อเลอ เชอวาลีเอร์ สอนภาษาลาตินใน สามชั้นต้น คุณพ่อมองโดรี สอนวรรณคดีลาติน (humanités) ในชั้นที่สี่และชั้นที่หา้ ส่ วนคุณพ่อโฌเรต์ สอน เทวศาสตร์ ในชั้นที่หก

6อ่านหนังสื อ"การเดินทางครั้งที่สองของบาทหลวงตาชารด์และพระสงฆ์เยสุ อิต ไปยังกรุ งสยาม" ภาษาฝรั่งเศส หน้า 254 (พิมพ์หน้าผิด ที่ถูก เป็ นหน้า 240) ภาษาไทยแปลโดยนายสันต์ โกมลบุตร หน้า 186 (ผูแ้ ปล) 7เบนคาริ ม เป็ นเมืองหรื อตาบลแถวๆ ภูเก็ตกระมัง ? (กรรมการฯ)


90

 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม

วันหนึ่ง ฟอลคอนไปเยีย่ มวิทยาลัยกลางที่มหาพราหมณ์ "เขาแสดงอาการว่ ามีความ พึงพอใจมาก" เขาอยาก ตั้งวิทยาลัยกลางขึ้นใหม่ที่อยุธยา โดยมีเหตุผลประการหนึ่ง ซึ่งเราทาย ไม่ถูกว่าเป็ นเหตุผลอะไร พวกมิชชันนารี ยอมโอนอ่อนตามความปรารถนาของเขา แต่หลายคนเสี ยดายที่ได้ปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามความปรารถนาดังกล่าว ตาม คากราบทูลขอของฟอลคอน สมเด็จพระนารายณ์พระราชทานที่ดินให้แปลงหนึ่ง แต่เป็ นที่ดินต่ามาก ต้องใช้คนงาน 4,000-5,000 คน แบกดินไปถมที่ดินนั้นให้สูงขึ้นเป็ นเวลาหลายเดือน ครั้งแรกสิ่ งปลูกสร้างต่างๆ ทา "ด้ วยไม้ กระดานและไม้ ไผ่ " แต่ฟอลคอนสัญญาจะสร้างให้ใหม่เป็ นอิฐ เพื่อให้เป็ นที่พอใจแก่ ผูต้ ้ งั เราตั้งชื่อสานักใหม่น้ ีวา่ "วิทยาลัยคอนสฺ​ฺ ตันติเนียน" พระสังฆราชลาโน "ได้ พยายามด้ วยความเอาใจใส่ เป็ นอย่ างยิ่งที่จะจัดวิทยาลัยให้ มี ระเบียบดี" ท่านไม่ให้สามเณรใหญ่มาอยูท่ ี่วทิ ยาลัยนี้ท้ งั หมด แต่ให้สามเณรใหญ่ที่เรี ยนเทวศาสตร์จบแล้ว อยูก่ บั ท่านที่สามเณราลัยนักบุญโยเซฟ และให้คุณพ่อบัสเซต์เป็ นอธิการของเขา จานวนสามเณรทั้งหมดมีเกือบถึง 80 คน มีพระสงฆ์ชาวโคชินจีน 4 องค์ และพระสงฆ์ชาวตังเกี๋ย 3 องค์ ซึ่งกลับทบทวนดูเทวศาสตร์ และกาลังเรี ยนวิชาอภิบาลสัตบุรุษ รวมทั้งหมด มีสามเณรใหญ่ 22 คน กับสามเณรเล็ก 47 คน ฟอลคอนสัญญาจะให้เงินอุดหนุนปี ละ 1,500 เอกู แล้วเขาก็ถวายให้โดยไม่ขาดตกบกพร่ อง การหาอาจารย์ มาสอนเป็ นเรื่ องยากยิง่ กว่าหาปั จจัยที่เป็ นวัตถุ ทั้งเป็ นความกังวลประการหนึ่งของพระสังฆราชลาโน ผูไ้ ม่มี พระสงฆ์มากพอจะประกาศศาสนาและสอนเรี ยน ด้วยเหตุน้ ี ท่านจึงขอสามเณราลัยมิสซังต่างประเทศ "ให้ ส่งคนใด คนหนึ่งที่มีอายุแล้ ว ไม่ สามารถจะเรี ยนภาษาต่ างๆ ได้ อีก แต่ เข้ าใจและรั กวิชาครู ซึ่งเป็ นวิชาที่ยากไม่ ใช่ น้อย เพื่อจะ ได้ ไม่ คิดอะไรอื่น นอกจากเอาใจใส่ ในวิชาครู จนกว่ าชี วิตจะหาไม่ " สามเณราลัยมิสซังต่างประเทศปฏิบตั ิให้เป็ นไป ตามความปรารถนานี้ไม่ได้ แม้จะได้ยา้ ยอาจารย์และสามเณรมาที่อยุธยาแล้ว วิทยาลัยกลางที่มหาพราหมณ์ก็ดูเหมือนยังไม่ได้ถูกละทิ้ง ไปโดยสิ้ นเชิง มิชชันนารี หลายองค์เมื่อเหน็ดเหนื่อยก็ยงั ไปพักผ่อนที่นน่ั และเครื่ องเรื อนส่ วนหนึ่งก็ยงั อยูใ่ นอาคาร ต่างๆ ที่เราเก็บรักษาไว้

k

iv h rc

พระสั งฆราชผู้ช่วยและผู l ้สAืบตาแหน่ ง

a c i or

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

กฤษฎีกาของสมณกระทรวงเผยแพร่ ความเชื่อฉบับหนึ่งลงวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1679 อนุญาตให้ พระสังฆราชลาโน หาสังฆราชผูช้ ่วยและทายาท (coadjuteur) ผูห้ นึ่ง เพื่อช่วย ทาหน้าที่ พระสังฆราชลาโนเลือก เอาคุณพ่อลีออน "เพราะคุณพ่ อเป็ นที่นิยมยกย่ องของพระเจ้ า แผ่ นดินมาก ทั้งรู้ จักภาษาต่ างๆ ที่พูดกันในพระ ราชอาณาจักรนี"้ กรุ งโรมได้ให้สัตยาบันการ เลือกนี้เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1686 ขณะนั้น คุณพ่อลีออนผูไ้ ด้รับเลือก กาลังอยูใ่ นประเทศฝรั่งเศสกับคณะทูตของกรุ งสยาม ท่านปฏิเสธไม่ยอมรับตาแหน่งดังกล่าว บรรดาคณาจารย์สาม เณราลัยมิสซังต่างประเทศ ตลอดจนพระสังฆราชลาโนต่างรบเร้าให้คุณพ่อรับ แต่เอาชนะการขัดขืนของคุณพ่อ ไม่ได้ ยิง่ กว่านั้น คุณพ่อยังไม่ยอมตามความปรารถนาของ พระสันตะปาปาอินโนเซนต์ ที่ 11 ที่ทรงตั้งท่านเป็ น พระสังฆราชเกียรตินามแห่งโรซาลี เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1687 ด้วย

t s i H


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม  91

แต่การแต่งตั้งครั้งสุ ดท้ายนี้ เมื่อทาซ้ าอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 1696 ในที่สุดก็เกิดเป็ นผลใน ปี ค.ศ. 1700 คุณพ่อลีออน ยอมบวชเป็ นพระสังฆราช ขณะนั้น คุณพ่ออยูใ่ นประเทศจีน แต่แทนที่จะได้เป็ น พระสังฆราชผูช้ ่วยของพระสังฆราชลาโน แล้วต่อไปเป็ นประมุขมิสซัง ท่านกลับได้เป็ นประมุขมิสซังเสฉวน ถึงแม้ ท่านปฏิเสธไม่ยอมเป็ นพระสังฆราช แต่บรรดามิชชันนารี ในกรุ งสยามพากันเรี ยกท่านเป็ น "พระสังฆราชแห่ งโรซา ลี" เป็ นเวลาหลายปี และเมื่อเขาพูดถึง "พระสังฆราชทั้งสอง" ก็ยอ่ มหมายถึงท่านกับพระสังฆราชลาโน

กองทหารฝรั่งเศสทีส่ ่ งมากรุงสยามเวลาเริ่มแรก กองทหารฝรั่งเศสออกเดินทางจากเมืองแบรสต์เมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1687 ถึงสันดอนแม่น้ าเจ้าพระยา เมื่อวันที่ 27 กันยายนปี เดียวกัน พระสังฆราชลาโนกับพวกมิชชันนารี พากันไปคานับคณะทูตของเรา พระสังฆราช ลาโนทราบจากคุณพ่อลีออนว่า ท่านและพระสงฆ์ของท่านจะมีส่วนร่ วมแต่นอ้ ยเต็มทีในกิจการต่างๆ ที่จะเจรจากัน คาบอกเล่านี้เป็ นที่พอใจพระสังฆราชผูม้ ีความเสงี่ยมเจียมตัว บทบาทสาคัญจะต้องได้แก่คุณพ่อตาชารด์ นัน่ เป็ นความคิดเห็นของคนโดยทัว่ ไป "ไม่ ว่าใครต่ อใครในกองเรื อฝรั่ งเศส ตลอดจนบรรดาทูตของพระเจ้ าแผ่ นดิน ต่ างถือว่ าคุณพ่ อตาชารด์ เป็ นตัวจักรใหญ่ ของการส่ งอะไรมาทุกอย่ าง" คุณพ่อตาชารด์นกั การทูต ขึ้นบกเป็ นคนแรก เดินทางไปกรุ งศรี อยุธยา ปรึ กษาหารื อกับฟอลคอน แล้วก็นา เงื่อนไขต่างๆ ที่ฟอลคอนตั้งขึ้นในการจะเข้าครอบครองเมืองมะริ ดและเมืองบางกอก มาแจ้งแก่คณะทูตฝรั่งเศส เงื่อนไขเหล่านี้ไม่เป็ นที่พอใจแก่คณะทูตฝรั่งเศสผูม้ ีอานาจเต็มเป็ นอย่างยิง่ เพราะเงื่อนไขดังกล่าวเหมือนกับมอบ กองทหารฝรั่งเศสให้ข้ ึนกับฟอลคอน อย่างไรก็ตาม เขาจาเป็ นต้องรับ ครั้นวันที่ 18 ตุลาคม นายพลแดฟารฌฺ ก็ นาทหารในกองพัน ของตนที่ลม้ ตายเป็ นอันมากยาตราเข้าไปในเมืองบางกอก 8 คณะทูตฝรั่งเศสเข้าเฝ้ าพระเจ้ากรุ งสยามวันที่ 2 พฤศจิกายน ปี เดียวกัน ถ้าจะดูกนั ภายนอก การเข้าเฝ้ าครั้ง นี้เป็ นไปอย่างสง่าเหมือนครั้งก่อนๆ แต่ถา้ ดูกนั ถึงภายในก็เป็ นไปอย่างธรรมดาแท้ๆ เหมือนครั้งก่อนๆ ด้วย พระสังฆราชลาโนกับคุณพ่อตาชารด์อยูใ่ นที่เข้าเฝ้ า ฟอลคอนทาหน้าที่เป็ นล่าม พระราชสาสน์ของพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ลงวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1687 ไม่มีน้ าเสี ยงเหมือนกับพระราชสาสน์ฉบับแรกเลย : ในพระราชสาสน์ฉบับนี้ พระองค์ ทรงขอบพระทัยที่ได้รับเครื่ องราชบรรณาการ ตรัสเพียงสั้นๆ ถึงเครื่ องราชบรรณาการที่ทรงส่ งมาทูลถวาย ครั้งนี้ ทรงฝากฝัง เดอ ลา ลูแบรฺ และเซเบเรต์ และทรงแสดงความหวังว่าพวกพระสงฆ์ เยสุ อิตจะทาการรับใช้ ช่วยเหลือพระราชอาณาจักรกรุ งสยามในด้านวิชาความรู้มิได้ตรัสแย้มถึงปัญหาเรื่ องศาสนาแต่อย่างหนึ่งประการใด เลย คุณพ่อเดอ ลา แชส (de la Chaise) แต่ผเู ้ ดียว เมื่อทูลฝากฝังพวกพระสงฆ์เยสุ อิตและโดยเฉพาะพิเศษคุณพ่อตา ชารด์ แด่สมเด็จพระนารายณ์ กล่าวถึงการเข้ารี ตและทูลว่า "ไม่ มีอะไรจะทาให้ พระราชอาณาจักรของพระราชบพิตร มีชื่อเสี ยงยิ่งกว่ า (การเข้ ารี ต)"

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

8เมืองบางกอกนี้น่าจะหมายถึงเมืองธนบุรีมากกว่า เพราะบางกอก (กรุ งเทพฯ) ในปัจจุบนั ยังไม่ได้ถูกสร้าง มีลกั ษณะเป็ นเกาะ ซึ่งแต่เดิมน่าจะ เรี ยกว่า "บางเกาะ" มากกว่า คาว่า "บาง" โดยทัว่ ไปหมายถึงที่ริมน้ า (กรรมการฯ)


92

 ประวัติมิสซังกรุ งสยาม

ความล้มเหลว มิชา้ ลา ลูแบรฺ กับเซเบเรต์ ก็มองเห็นว่าฟอลคอนไม่ถือตามคาสัญญา ฟอลคอนห้าม เป็ นเวลานาน พอสมควรมิให้เข้าไปตั้งอยูท่ ี่เมืองมะริ ด อนุญาตให้เขาส่ งกองทหารไปที่เมืองนั้น ก็ต่อเมื่อได้ทุ่มเถียงกันอย่าง รุ นแรง ไม่ให้บริ ษทั อินเดียของฝรั่งเศสมีสิทธิ พิเศษใดๆ ที่ให้ไปใหม่ๆ ทั้งไม่ยอมประกาศสนธิสัญญาทางศาสนา ด้วย การจัดให้มีงานรื่ นเริ งและงานฉลองต่างๆ ก็ปิดบังเรื่ องที่ทูตผูม้ ีอานาจเต็มของเราประสบความยุง่ ยาก และ โต้เถียงในพวกเดียวกันเองและกับคุณพ่อตาชารด์ ไม่มิด พระสังฆราชลาโนรบเร้าทูตของเราที่ได้รับคาสั่ง "ให้ ขอให้ เราได้ รับผลประโยชน์ ที่รับอยู่ในปี ค.ศ. 1685 ต่ อไป และให้ เราปฏิ บัติการโดยประสานสอดคล้ องกับพระสังฆราชลาโน" การประชุมใหญ่จึงมีข้ ึน ในการประชุม ครั้งนี้ ฟอลคอนอธิ บายว่าการประกาศสนธิ สัญญาทางศาสนาไม่มีประโยชน์ และการขัดขวางของเขาในเรื่ องนี้ไม่มี ทางจะเปลี่ยนเป็ นอย่างอื่นได้ เป็ นอันว่า พระสังฆราชอยูท่ ี่เมืองละโว้ต่อไป "ก็เพื่อจะได้มีความอดทนและความ อ่อนโยนแบบที่เรี ยกได้วา่ เหมือนอย่างเทวดา แล้วจะได้ทนฟังคาบริ ภาษอย่างหยาบๆ คายๆ ซึ่งสารากออกจากปาก ของคนเจ้าโมโหโทโสอย่างฟอลคอน ซึ่ งความหยิง่ ยโสของเขาเวลานี้ดูเหมือนขึ้นถึงขีดสุ ดแล้ว" ในทางตรงกันข้าม ฟอลคอนทาทุกอย่างเพื่อให้บรรดานายทหารและพลทหารมีใจ ผูกพันกับเขา เขาทาให้ นายพลแดฟารฌฺ ลุ่มหลงอย่างสิ้ นเชิง จนถึงกับกลายเป็ นเพื่อนร่ วมโต๊ะ รับประทานอาหารกับเขาเป็ นประจา ส่ วน เซเบเรต์ นั้นเป็ นทูตฝรั่งเศสที่โชคดีกว่าเพื่อน ที่เป็ น เช่นนั้นเห็นจะเป็ นเพราะเขาเป็ นคนมีฝีมือกว่าหมด หรื อเป็ น เพราะฟอลคอนได้ผลประโยชน์ จากข้อเสนอของเขาง่ายกว่า อย่างไรก็ตามเขาได้ลงนามในสนธิสัญญาการค้าที่เป็ น ประโยชน์แก่ประเทศฝรั่งเศสมากยิง่ กว่าสนธิ สัญญาที่ทาในปี ค.ศ. 1685 แล้วเขาก็เดินทางกลับไปในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1687 ลา ลูแบรฺ ทาการไม่ประสบความสาเร็ จสักอย่าง หลังจากเซเบเรต์เดินทางกลับไป 15 วัน เขาโกรธจน แตกหักกับฟอลคอนอย่างสิ้ นเชิง ฟอลคอนไม่รู้สึกสะดุง้ สะเทือน เขาหาคนแทน ลาลูแบรฺ โดยขอให้คุณพ่อตาชารด์ รับบทบาทเป็ นราชทูตไปประเทศฝรั่งเศสเพื่อ "ดาเนินงานที่เริ่ มอย่ างเป็ นผลดีเช่ นนีใ้ ห้ สาเร็ จ" สมเด็จพระนารายณ์ ทรงยืนยันรับรองคาพูดของฟอลคอน แล้วคุณพ่อตาชารด์ก็โดยสารไปกับเรื อ "เลอ กัยยารด์ " (Le Gaillard) ซึ่งนา ลา ลูแบรฺ กลับไปด้วย ผูท้ ี่คุณพ่อตาชารด์พาไปด้วยนั้นมีขนุ นางชาวสยาม 3 คน คนสอนคาสอนชาวตังเกี๋ย 2 คน กับเด็กชาวสยาม อีก 5 คน ซึ่งต้องไปรับการอบรมที่วทิ ยาลัยหลุยส์มหาราช "โดยทาการฝึ กหัดทุกอย่ างของบรรดาผู้มีสกุลชาว ฝรั่ งเศส" เรื อ กัยยารด์ เดินทางถึงเมืองแบรสต์ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1688

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

การเจรจาของคุณพ่อตาชารด์ หลังจากเดินทางไปกรุ งโรมกับขุนนางชาวสยามและคนสอนคาสอนชาวตังเกี๋ยแล้ว คุณพ่อตาชารด์กก็ ลับ ไปประเทศฝรั่งเศส เข้าเฝ้ าพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 และได้ทูลถวาย พระราชสาสน์ของสมเด็จพระนารายณ์ฉบับหนึ่ง แด่พระองค์ ท่านปรึ กษาหารื อกับบรรดาเสนาบดีและชี้แจงทัศนะต่างๆ ให้ฟัง วันที่ 1 มีนาคม ค.ศ.1689 ท่านทา สนธิ สัญญากับมาร์ ควีส เดอ เซเฌอเล ฉบับหนึ่ง มี 9 มาตราข้อความในอนุสัญญาฉบับนี้ก็เช่นเดียวกับคาสั่งที่ ให้แก่ มาร์ควีส เดราญี (d’Eragny) ทูตคนใหม่ของเรา บ่งบอกเจตนาแน่วแน่ของรัฐบาลฝรั่งเศสที่จะเข้าให้ความ


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม  93

อารักขาอะไรทานองนั้น แก่พระราชอาณาจักรสยาม หมายความว่ากองทหารฝรั่งเศส จะมีแต่นายทหารฝรั่งเศสเป็ น ผูบ้ งั คับบัญชา ทหารฝรั่งเศสแต่พวกเดียวเท่านั้น จะครอบครองป้ อมและบริ เวณป้ อมที่เขาเป็ นผูร้ ักษา เขาจะสาบาน ปฏิญาณจะรับใช้พระเจ้าแผ่นดินกรุ งสยามพร้อมกับพระเจ้ากรุ งฝรั่งเศส สู้กบั ศัตรู ร่วมกัน จะมีการสร้างเมืองป้ อม หนึ่งแห่งกับป้ อมปราการอีก 4 แห่ง ที่เมืองบางกอกในทันที ทหารกองหนึ่งซึ่งมีจานวนทหาร 50 คน และส่ วน ใหญ่เลือกเอาในหมู่ผมู ้ ีสกุล จะจัดตั้งเป็ นกองทหารรักษาพระเจ้ากรุ งสยาม มาร์ควีส เดราญี จะเป็ นนายทหารบังคับ บัญชาทหารกองนี้ มาร์ควีส เดราญี ได้รับแต่งตั้งเป็ นผูต้ รวจการใหญ่ ของกองทหารฝรั่งเศสทุกกองใน พระราชอาณาจักรสยาม ในขณะเดียวกันมาร์ ควีส เดราญี ยังมีอานาจฝ่ ายพลเรื อน ทั้งต้องมีอานาจจริ งๆ ซึ่งปิ ดบัง เรี ยกเป็ นมิตรภาพ และถ้าจาเป็ นก็ตอ้ งใช้กาลังบังคับให้รับอานาจของพระเจ้ากรุ งฝรั่งเศส ในคาแนะสั่งที่ตอ้ งมอบให้แก่นายพลแดฟารฌฺ นั้น มีคาสั่งว่า "ในกรณี ที่พระเจ้ า กรุ งสยามทรงเปลี่ยน นโยบาย และปฏิ บัติหรื อสั่งให้ ปฏิ บัติการสิ่ งใดเป็ นผลร้ ายต่ อพระเจ้ าอยู่หัวไซร้ ก็ให้ ใช้ กาลังปั กหลักอยู่ในสถานที่ ต่ างๆ ซึ่ งต้ องเฝ้ า ให้ ยึดรายได้ และผลไม้ ในที่ดินเพาะปลูกของเมืองบางกอก และให้ ครอบครองป้ อมเมืองตลาดขวัญ 9 กับเมืองพิพลี 10" ได้มีการคาดการณ์ล่วงหน้าถึงเหตุการณ์อื่นๆ คือ การเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระนารายณ์ การสิ้ นชีวติ หรื อความประพฤติไม่ซื่อสัตย์ของฟอลคอน ฯลฯ ที่สุดไม่มีการละเลยสิ่ งใด เพื่อให้กรุ งฝรั่งเศสมีอานาจเหนือ พระราชอาณาจักรสยาม.

k

iv h rc

A s e

A l a

ic r o ist

e c io d rch

H

9ตลาดขวัญ (Talanquan) ชื่อเดิมของเมืองนนทบุรี (ผูแ้ ปล) 10พิพลี (Piply) ชื่อเดิมของเมืองเพชรบุรี (ผูแ้ ปล)

o e s

ko g n a fB


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.