9 ประวัติมิสซังกรุงสยาม บทที่ 6

Page 1

บทที่ 6 สมัยพระสังฆราชลาโน (ต่อ) ค.ศ. 1679-1696 การปฏิวตั บิ ้ านเมือง และการเบียดเบียนศาสนา ค.ศ. 1688-1691 พระเพทราชาก่อการกบฏ

k

อนิจจา ! การเตรี ยมการต่างๆ ดังกล่าวมาแล้วหามีประโยชน์อนั ใดไม่ ขณะที่เสนาบดีของเรากาลัง เตรี ยมการต่างๆ การปฏิวตั ิได้อุบตั ิข้ ึนที่กรุ งศรี อยุธยา กล่าวคือ สมเด็จพระนารายณ์และฟอลคอนได้ถูกโค่นจาก อานาจและถูกฆาตกรรม1 กษัตริ ยอ์ งค์ใหม่ยดึ อานาจ ขับไล่ชาวฝรั่งเศส จับชาวยุโรป พวกมิชชันนารี และพวก คริ สตัง เข้าคุก ปล้นวัดคริ สตัง สามเณราลัย วิทยาลัยกลางและบ้านพักพระสงฆ์ทวั่ ไป จะขอเล่าพฤติการณ์ต่างๆ เหล่านี้อย่างละเอียดสักเล็กน้อย ขณะนั้นชาวสยามมีเหตุ ขุ่นเคืองใจหลาย ประการ กล่าวคือ เรื่ องฟอลคอนเป็ นที่ริษยาและเกลียดชังของขุนนางชาวสยาม ชั้นผูใ้ หญ่ ทั้งมีอานาจล้นฟ้ าหนึ่ง เรื่ องมีชาวต่างชาติถืออาวุธอยูใ่ นกรุ งสยามหนึ่ง เรื่ องเมืองบางกอกและเมืองมะริ ดถูกยึดทางทหารหนึ่ง ทั้งนี้ยงั ไม่ นับเรื่ องพวกฮอลันดาดาเนินการยุแหย่ต่างๆ นานาอย่างลับๆ อีกเรื่ องหนึ่ง พระประชวรและพระโรคชราของพระเจ้า แผ่นดินเอื้ออานวยให้การกบฏก่อตัวขึ้น และการกบฏดังกล่าวอุบตั ิข้ ึนได้อย่างสะดวกในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1688 ก็เพราะเรื อฝรั่งเศสที่นาทูตลา ลูแบรฺ กับคุณพ่อตาชารด์กลับไปประเทศฝรั่งเศสนั้น ได้ออกเดินทางไป แล้ว ขุนนางผูห้ นึ่งชื่อพระเพทราชา หรื อตามที่หนังสื อทัว่ ไปเรี ยกว่า พิทราชา (Pitracha) นั้น บางคนก็วา่ เกิด จากตระกูลที่เหมาะจะรับใช้อยูใ่ นเรื อยิง่ กว่าอยูบ่ นพระราชบังลังก์ แต่บางคนก็ ยืนยันว่ามีเชื้อสายเกิดจาก พระราชวงศ์ที่หมดอานาจ พระเพทราชารวบรวมบรรดาคนไม่พึงพอใจซึ่ งมีจานวนมากเข้าเป็ นสมัครพรรคพวก และในการก่อกบฏครั้งนี้ ผูส้ มรู ้ร่วมคิดที่ขยันขันแข็งที่สุดของพระเพทราชาก็คือ หัวหน้าของคณะราชทูตกรุ งสยาม คณะสุ ดท้ายที่เดินทางไปประเทศฝรั่งเศส2 ฝ่ ายฟอลคอน เมื่อทราบถึงความเคลื่อนไหวของศัตรู ก็เรี ยกนายพลแด ฟารฌฺ ผูบ้ งั คับกองทหารฝรั่งเศส ซึ่งเขาเชื่อว่าหวังพึ่งได้อย่างเต็มที่ ให้ข้ ึนมาที่เมืองลพบุรี

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

1หลายต่อหลายคนเชื่อว่า สมเด็จพระนารายณ์ได้ทรงถูก "ฆาตกรรม" (massacré) ในพระราชพงศาวดารกรุ งเก่า ฉบับพระจักรพรรดิ พงศ์ เล่าตอนหนึ่งว่า "พระราชรักษาให้เรี ยนถามพญาเพทราชา พญาสุ รศักดิ์วา่ พร้อมแล้วหรื อยัง บอกว่าพร้อมแล้ว ขุนองค์อยูง่ าน ถอนนิ้วจากพระองค์ พระโอษฐ์งบั ก็นิ่งไป..." เป็ นไปได้หรื อไม่วา่ ขณะที่พระนารายณ์ใกล้จะสวรรคตแล้ว พระเพทราชาและหลวง สรศักดิ์ได้ส่ังการให้พระราชรักษาและขุนองค์เค้นคอเสี ยให้เสด็จสวรรคต ? (ผูแ้ ปล) 2หมายถึงออกพระวิสูตรสุ นทร หรื อเรี ยกว่า โกษาปาน นัน่ เอง (ผูแ้ ปล)


100  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

นายพลแดฟารฌฺลงั เลใจ พระสั งฆราชลาโนและคุณพ่อลีออนให้ คาแนะนา นายพลแดฟารฌฺ สัญญาจะช่วยทุกอย่าง และก็ดูเหมือนว่าเขามีเจตนาจะถือตามที่ได้สัญญานั้น เพราะพอ กลับมาถึงเมืองบางกอก3 เมื่อวันที่ 13 เมษายน เขาก็เลือกเอาทหารชั้นเยีย่ ม 80 คน กับนายทหารที่ใจเด็ดเดี่ยวที่สุด แล้ววันรุ่ งขึ้นก็ออกเดินทางไปกรุ งศรี อยุธยา แต่เขาได้รับข่าวเท็จ ทาให้หลงเชื่อว่าสมเด็จพระนารายณ์เสด็จสวรรคต ฟอลคอนถูกโค่นอานาจพระเพทราชายึดได้อานาจ และเมืองละโว้กาลังปฏิวตั ิกนั อยู่ เขาจึงลังเลใจ แล้วไปถาม ความเห็นของพระสังฆราชลาโน กับคุณพ่อลีออน ทั้งสองท่านแนะนาให้เขากลับเมืองบางกอก ให้อยูใ่ นป้ อม และ "ในฐานะเป็ นชาวต่ างชาติ อย่ ายุ่งเกี่ยวในกิจการของพระราชอาณาจักร เว้ นแต่ เห็นอย่ างแจ่ มชัดว่ าต้ องสนับสนุน พระเจ้ าแผ่ นดิน" มีผตู ้ าหนิบ่อยๆ ในเรื่ องที่พระสังฆราชลาโน กับคุณพ่อลีออน ได้แนะนาดังนี้ ยิง่ กว่านั้น บางคนถึงกับอ้าง ว่าท่านทั้งสองเป็ นต้นเหตุที่ทาให้เกิดภัยพิบตั ิท้ งั ปวง คุณพ่อลีออนให้คาอธิบายอย่างยืดยาวเกี่ยวกับเรื่ องนี้ บันทึก ช่วยจาของท่าน ซึ่ งแบ่งเป็ น 2 ภาค กล่าวถึงปั ญหา 2 ข้อ ต่อไปนี้คือ 1. เหตุใดพระสังฆราชลาโนกับท่านจึงให้คาแนะนา ? 2. เหตุใดทั้งสองท่านจึงให้คาแนะนาเช่นนี้ ?

k

e c io d rch

A s e

o e s

ko g n a fB

ต่อไปนี้คือคาสรุ ปย่อคาตอบของคุณพ่อลีออน 1. ที่ท้ งั สองท่านได้ให้คาแนะนาก็เพราะเรื่ องนี้สาคัญอย่างยิง่ ยวด เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับ ชะตากรรมของชาว ฝรั่งเศสทุกคนที่พานักอยูใ่ นกรุ งสยาม 2. นายพลแดฟารฌฺ ได้รับคาสั่งจากพระเจ้าแผ่นดินกรุ งฝรั่งเศสให้ขอคาแนะนาจากท่านทั้งสอง และ เนื่องจากเขามีประสบการณ์นอ้ ยเกี่ยวกับกิจการในบ้านเมือง จึงไม่สามารถจะรู้อย่างแน่ชดั ว่า สถานการณ์เป็ นอย่างไร

iv h rc

A l a

ic r o ist

H

3เมืองบางกอกน่าจะหมายถึงเมืองธนบุรีในสมัยปัจจุบนั (กรรมการฯ)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 101

ทั้งสองท่านได้แนะนานายพลแดฟารฌฺ วา่ อย่าไปเมืองละโว้ (ลพบุรี) เพราะเห็นว่าเหตุผลที่ขอให้เดินทางไป ครั้งนี้ เป็ นเหตุผลไม่จริ ง การเดินทางเองก็มีอนั ตราย และการงดเว้นไม่เดินทางไปจะมีประโยชน์ ตามความคิดเห็น ของฟอลคอนนั้น นายพลแดฟารฌฺ จะต้องไปเมืองละโว้ เพื่อขัดขวางมิให้พระเพทราชาปล้นพระคลังของกรุ งสยาม ก่อนจะหนีไป และเพื่อรับใช้ช่วยเหลือ พระอนุชาสององค์ของพระเจ้าแผ่นดิน เหตุผล 2 ประการนี้ที่พระสังฆราช ลาโนและคุณพ่อลีออนเห็นว่า เป็ นเหตุผลที่ฟอลคอนประดิษฐ์คิดขึ้นเองและรับฟังไม่ได้ ฉะนั้นจะนามาอ้างเพื่อ ปฏิบตั ิการอย่างหนึ่งอย่างใดหาได้ไม่ ถ้านายพลแดฟารฌฺ อยูท่ ี่เมืองบางกอกต่อไป ก็เป็ นการ ลบล้างข่าวลือไม่ดี ต่างๆ เกี่ยวกับชาวฝรั่งเศส จะเสริ มสร้างความปลอดภัยมัน่ คงของเมืองบางกอก และจะรักษาอนาคต โดยไม่เข้ากับ ฝ่ ายใดและไม่เสี่ ยงต่อการถูกฆ่าตายพร้อมกับทหารที่นาไปบนเส้นทางเมืองละโว้ นายพลแดฟารฌฺ ปฏิบตั ิตามคาแนะนาดังกล่าว เดินทางกลับเมืองบางกอกโดยไม่นาพาต่อคาอ้อนวอนรบเร้า ของฟอลคอนที่เรี ยกให้ไปช่วยอีกครั้งหนึ่ง

k

พระเพทราชาทางานเป็ นผลสาเร็จ พระนารายณ์ สวรรคตและฟอลคอนถึงแก่กรรม

o e s

ko g n a fB

ในที่สุดฟอลคอนก็เข้าใจว่าจะหวังพึ่งได้ก็แต่ตนเองเท่านั้น เขากราบทูลสมเด็จ พระนารายณ์ให้ทรง ทราบ ถึงการคิดกบฏของพระเพทราชา พระองค์ทรงมีพระบัญชาให้จบั กุม แต่พระเพทราชารู้ตวั ก่อน วันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1688 ขุนนางผูก้ ่อการกบฏสั่งให้ลอ้ มพระราชวัง ได้กุมองค์พระมหากษัตริ ยไ์ ว้ในอานาจเด็ดขาด ถ้าฟอลคอน จะคิดหนีก็คงหนีได้ แต่เขาไม่ยอมหนี คุมทหารหยิบมือหนึ่งกับนายทหารฝรั่งเศส 3 นาย พยายามป้ องกันตัว แต่ใน ที่สุดก็ถูกจับและปลดอาวุธพร้อมกับผูท้ ี่ช่วยเขาต่อสู้ แล้วทุกคนก็ถูกนาไป ขังคุก พระเพทราชาสั่งให้บอกพวก มิชชันนารี วา่ อย่าตกใจ ในเมื่อจะได้ยนิ ข่าวต่างๆ ยืนยันว่า "เขาปฏิ บัติตาม พระประสงค์ ของพระเจ้ าแผ่ นดิน สัญญา จะเคารพพระศาสนาคาทอลิกและชาวฝรั่ งเศส และจะขอคําปรึ กษาของพระสังฆราชในเรื่ องสําคัญทุกเรื่ อง ซึ่ ง ต่ อไปนีเ้ ขาเป็ นผู้รับผิดชอบ" ในขณะเดียวกัน เขาสั่งให้เรี ยกพระสังฆราชลาโนและคุณพ่อลีออน ให้ไปหา พระสังฆราชอ้างว่า ไม่สบาย คุณพ่อลีออนจึงเดินทางไปเมืองละโว้แต่ผเู ้ ดียว กบฏผูม้ ีชยั สัง่ อย่างกระทันหันให้คุณพ่อลีออนไปเมืองบางกอก บอก นายพลแดฟารฌฺ กบั กองทหารให้ข้ ึนไปเมืองละโว้ คุณพ่อลีออนตอบว่า "ท่ านไม่ มีอาํ นาจสั่งนายพลแดฟารฌฺ อย่ าง มากที่สุดท่ านไปพูดกับนายพลได้ แล้ วพยายามเกลีย้ กล่ อมให้ มาเท่ านั้น" นายพลแดฟารฌฺ ตดั สิ นใจขึ้นไปเมืองละโว้ พระเพทราชาต้อนรับนายพลอย่างหยิง่ ทะนง บังคับให้ตอบคา ซักถามอันทาให้ละอาย แล้วสัง่ ให้กลับไปเมืองบางกอก แต่ยดึ บุตรชาย 2 คน ไว้เป็ นตัวประกัน และเอาไปจองจา ไว้ ระหว่างนั้น ตามคาสั่งของพระเพทราชา ฟอลคอนถูกทรมาน ต่อไปก็ถูกมอบตัวกับเพชฌฆาตและ "ตายโดยถูก ทรมานอย่ างโหดเหี ้ยม" สมเด็จพระนารายณ์ เสด็จสวรรคตเร็ วเกิ นกว่าที่เราจะเห็นเป็ นการสิ้ นพระชนม์ดว้ ยสาเหตุธรรมดา พระ อนุ ชาสององค์ของพระองค์ถูกจับยัดใส่ กระสอบสี แดงเข้ม แล้วถูกทุบจนสิ้ นพระชนม์ดว้ ยท่อนแก่นจันทน์ "ซึ่ งใน กรุ งสยามถือเป็ นวิธีประหารชี วิตบุคคลที่มีตาํ แหน่ งสูง"

A l a

iv h rc

H

ic r o ist

A s e

e c io d rch


102  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

พระเพทราชาประกาศตัวเป็ นพระเจ้าแผ่นดิน พยายามดาเนินการให้การแย่งชิงราชสมบัติของตนถูกต้อง ตามกฎหมาย โดยการเสกสมรสกับพระราชธิ ดาองค์เดียวของผูเ้ ป็ นเจ้าเหนือหัวของตน ผูท้ ี่พระองค์ทรงเลือกเป็ น เจ้าพระยาพระคลังก็คือ ขุนนางที่เคยเป็ นหัวหน้าคณะทูตกรุ งสยามไปกรุ งฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1685 - 1686 และเป็ นผู้ ที่แสร้งทาเป็ นสุ ภาพอ่อนโยน แต่ที่แท้เป็ นคนเฉลียวฉลาด ช่างสังเกต และเป็ นคนที่เกลียดชาวฝรั่งเศสยิง่ นัก 4

ชาวฝรั่งเศสสู้ รบกับชาวสยาม พระเพทราชาทรงเสนอเงื่อนไขบางประการต่อนายพลแดฟารฌฺ แต่นายพลแดฟารฌฺ ไม่ยอมรับ ดังนั้น ทั้ง สองฝ่ ายจึงเตรี ยมตัวสู ้รบกันอย่างเปิ ดเผย ผูบ้ งั คับการทหารฝรั่งเศสไม่ใช่นกั การทูต มีสติปัญญาค่อนข้างจะน้อย จึงไม่รู้ไม่เข้าใจเรื่ องการเมืองเสี ยเลย แต่เป็ นคนกล้าหาญ แสดงตนเป็ นคนกล้าถึงขั้นวีรบุรุษ เมื่อบุตร 2 คนของนายพลที่ตกเป็ นตัวประกันของพระเพท ราชา เขียนไปบอกว่าตนจะถูกตัดสิ นโทษถึงตายและ นาไปประหารชีวติ ถ้าชาวฝรั่งเศสไม่ยอมจานน เขาเขียน ตอบอย่างน่าสรรเสริ ญเป็ นความว่า : "เขารู้ ซึ้งถึงเคราะห์ กรรมของลูกทั้งสอง และถ้ าจะต้ องใช้ ชีวิตของเขาไถ่ ชีวิตของลูก เขาก็ยินดีจะพลีให้ แต่ ในครั้ งนีเ้ ขาทําไม่ ได้ และถ้ าทําก็จะผิดต่ อหน้ าที่ จึงเตือนลูกให้ ทาํ ตามแบบ ฉบับของเขา และให้ ถือเป็ นเกียรติอย่ าง สูงที่ลูกมีโอกาสได้ ส้ ูทนอะไรสักอย่ างเพื่อเกียรติของพระเป็ นเจ้ าและการรั บใช้ พระเจ้ าแผ่ น ดิน อีกประการหนึ่ ง ลูก ทั้งสองต้ องเชื่ อมั่นว่ าถ้ าเขาตาย ก็จะได้ รับการแก้ แค้ น และคนอื่ นจะทําให้ เขาเลือดตกยางออกโดยไม่ ต้องรั บโทษ ไม่ ได้ " วันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1688 เมืองป้ อมบางกอกถูกล้อม แม้ชาวฮอลันดาจะช่วยรบ แต่ชาวสยามก็เพลี่ยง พล้ าติดต่อกันหลายครั้ง ครั้นล่วงไป 5 เดือน เมื่อเห็นว่าจะเอาชนะ ชาวฝรั่งเศสไม่ได้ พระเพทราชา ก็ทรงประกาศ ว่าทรงพร้อมที่จะจัดเรื อสองลาเพื่อบรรทุกเขาไปส่ งที่เมืองปอนดิเชรี และทรงเชื้อเชิญนายพลให้เตรี ยมร่ างหนังสื อ ยอมจานน นายพลแดฟารฌฺ ก็ยนิ ยอมอพยพออกจากเมืองป้ อม แล้วเริ่ มนาวัตถุต่างๆ และอาวุธลงเรื อ

k

iv h rc

A s e

A l a

ic r o ist

e c io d rch

H

4หมายถึงโกษาปาน หรื อ ออกพระวิสูตรสุ นทร (ผูแ้ ปล)

o e s

ko g n a fB


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 103

ภรรยาของฟอลคอน วันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1688 คุณหญิงคีโอมารฺ เด ปี นา (dona Guyomar 5 de Pina) ผูม้ ีเชื้อสายเป็ น ชาวโปรตุเกส ภรรยาม่ายของฟอลคอนเดินทางมาถึงเมืองบางกอกพร้อมด้วยบุตรชายกับคริ สตัง 3 คน ภายใต้ความ คุม้ ครองของนายทหารฝรั่งเศสคนหนึ่งชื่อ แซ็นตฺ - มารี (Sainte - Marie) เธอถูกรังควานและถูกข่มขู่เพราะเป็ นที่ เกลียดชังของบุตรชายพระเพทราชา6 เนื่องจากไม่ยอมเป็ นภรรยาน้อยของเขา เธอจึงตัดสิ นใจมามอบตัวอยูใ่ ต้ร่มธง ฝรั่งเศส ถือเป็ น ที่พกั พิงอันมัน่ คงปลอดภัยสาหรับทุกคนที่ร้องขอ การที่ภรรยาฟอลคอนปฏิบตั ิการเช่นนี้ ทาให้สถานการณ์ยงุ่ ยากซับซ้อนขึ้นเป็ นอย่างยิง่ และทาให้ท้ งั สอง ฝ่ ายเกือบต้องสู ้รบกันอีกครั้งหนึ่ง ฝ่ ายชาวสยามเรี ยกร้องให้คืนภรรยาของฟอลคอน แต่นายพล แดฟารฌฺ ลงั เลใจ ปรึ กษาถามบรรดานายทหาร ซึ่ งเขาก็เสนอให้ปฏิเสธ คุณพ่อลีออน มีความเห็นว่า "ให้ ประกาศอย่ างเปิ ดเผยว่ า ชาว ฝรั่ งเศสตัดสิ นใจอย่ างแน่ วแน่ ที่จะไม่ คืนภรรยาของฟอลคอน และจะไม่ ยอมอ่ อนข้ อในเรื่ องนี"้ แต่พระสังฆราชลา โนให้คาแนะนาตรงกันข้าม คือท่านคิดว่า "เราต้ องฟั งบรรดาขุนนางชาวสยาม ที่กล่ าวแก่ นายพลแดฟารฌฺ​ฺ ว่ า พระมหากษัตริ ย์องค์ ใหม่ ทรงสัญญาโดยหนังสื อความตกลงว่ าจะไม่ ข่มเหงนํา้ ใจภรรยาของฟอลคอน ทั้งในเรื่ อง ศาสนาและในเรื่ องเกียรติความเป็ นหญิง จะให้ เธอดํารงชี วิตอย่ างเป็ นอิสระในค่ ายของชาวโปรตุเกสก็ได้ หรื อใน ค่ ายที่อยู่ใกล้ สามเณราลัยก็ได้ ในค่ ายนี ้ ถ้ าเธอต้ องการ เขาจะสร้ างบ้ านให้ อยู่ในความคุ้มครองของพระสังฆราช และเมื่อทําหนังสื อความตกลงนีแ้ ล้ ว ก็ให้ นายพล แดฟารฌฺส่งภรรยาของฟอลคอนกลับไปที่กรุ งศรี อยุธยา อย่ าพา เธอไปกับตนเลย" นายพลแดฟารฌฺ ก็มีความคิดเห็นเช่นนี้ เขาพอใจที่พระสังฆราชให้คาแนะนาดังกล่าว และก็ปฏิบตั ิ ตาม

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

5ในที่อื่นเขียน Dona Guimar อ่าน ดอนา คีมารฺ​ฺ แต่คนไทยมักเรี ยกเพี้ยนให้เป็ นแบบไทยๆ ว่า "ท้าวทองกีบม้า" (ผูแ้ ปล) 6ความจริ งไม่ใช่บุตรชายของพระเพทราชา แต่เป็ นบุตรบุญธรรมที่สมเด็จพระนารายณ์พระราชทานแก่พระเพทราชา บุตรบุญธรรม ผูน้ ้ ีชื่อ นายเดื่อ ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็ นหลวงสรศักดิ์ และเมื่อพระเพทราชาสิ้ นพระชนม์แล้ว ได้ข้ ึนครองราชสมบัติ โดยทรงพระนามว่า พระสรรเพชญที่ 8 หรื อสมเด็จพระสุ ริเยนทราบดี แต่เพราะความโหดร้าย ประชาชนพากันเรี ยกว่า สมเด็จพระ เจ้าเสื อ (ผูแ้ ปล)


104  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

ชาวฝรั่งเศสเดินทางไปกับตัวประกัน เมื่อตกลงเรื่ องภรรยาของฟอลคอนแล้ว การเจรจาเรื่ องอื่นๆ ก็สิ้นสุ ดลงอย่างรวดเร็ ว ตามสนธิ สัญญาที่ลง นามเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม "เพื่อแลกกับการที่พระเจ้ ากรุ งสยามทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ นายพลแดฟารฌฺ​ฺ ยืม เรื อเพื่อบรรทุกทหาร ปื นใหญ่ และวัสดุต่างๆ ไปนายพลแดฟารฌฺ​ฺ ต้ องอพยพออกจากป้ อมที่เมืองบางกอก ต้ อง เคารพกรรมสิ ทธิ์ และบุคคล และต้ องปฏิ บัติอย่ างสมควรต่ อชาวสยาม เหมือนดังว่ าไม่ เคยมีเรื่ องระหว่ างกันเลย" ผูบ้ งั คับการทหารสัญญาจะบังคับให้กองทหารฝรั่งเศสที่เมืองมะริ ดยอมจานน จะสั่งให้คืนเรื อใหญ่ ปื นคาบศิลา และลูกเรื อที่กองทหารฝรั่งเศสจับไป และแต่พอเดินทางมาถึงเมืองปอนดิเชรี ก็จะส่ งเรื อกลับมายังกรุ งสยาม ส่ วน บรรดาขุนนางและเด็กชาวสยามที่อยูใ่ นประเทศฝรั่งเศสนั้น จะต้องจัดการส่ งกลับมา โดยพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 เป็ นผู้ ออกค่าใช้จ่าย พระเพทราชาทรงสัญญาจะประทานความคุม้ ครองแก่พวกมิชชันนารี และพวกคริ สตัง จะให้ชาวฝรั่งเศส ยังคงได้รับสิ ทธิ พิเศษต่างๆ ต่อไป และจะให้บรรดาผูท้ ี่ปรารถนาจะออกจาก พระราชอาณาจักรมีความเป็ นอิสระ อย่างเต็มที่ เพื่อเป็ นการประกันสนธิ สัญญาฉบับนี้ ได้มีการให้ตวั ประกันทั้งสองฝ่ ายคือ ตัวประกันฝ่ ายฝรั่งเศสได้แก่ พระสังฆราชลาโน, นายเวเรต์ (Véret) ผูแ้ ทนบริ ษทั อินเดียตะวันออกของฝรั่งเศส, นายทหารผูบ้ งั คับการกองพัน ฝ่ ายอานวยการ (major) เดอ โบชังป์ (de Beauchamp) และเชอวาลีเอร์ แดฟารฌฺ ส่ วนตัวประกันทางฝ่ ายชาว สยามได้แก่ ขุนนาง "ชั้นสูงมาก" 3 คน การแลกเปลี่ยนตัวประกันเหล่านี้คงต้องกระทากันที่สันดอนแม่น้ าเจ้าพระยา เงื่อนไขต่างๆ เหล่านี้ ส่ วนใหญ่ได้ถูกละเมิด แต่เราบอกอย่างแน่นอนไม่ได้วา่ ต้องกล่าว โทษชาวสยาม หรื อชาวฝรั่งเศสมากกว่า ชะรอยจะเป็ นความเข้าใจผิดกันธรรมดา ที่เกิดเพราะความไม่ไว้ใจต่อกันและกันก็เป็ นได้ วันที่ 2 พฤศจิกายน บรรดานายทหารและพลทหาร, คุณพ่อ ลีออน, คุณพ่อแฟเรอ กับพ่อค้าและคนงานจานวนหนึ่ง ลงไปในเรื อทั้งสอง คือ เรื อสยาม กับเรื อละโว้ ส่ วนพลทหารที่ป่วย, ปื นใหญ่, เสบียง, เสื้ อผ้าและสัมภาระอื่นๆ นั้น อยูบ่ นเรื อบรรทุกใหญ่ แต่ครั้นมาถึงขนอนหลวง7 (tabanque) เมื่อถึงเวลาจะออกเรื อข้ามสันดอน ชาวฝรั่งเศสก็ สังเกตเห็นว่าเรื อบรรทุกถูกหน่วงไว้ขา้ งหลัง และเวลาน้ าลง ชาวสยามได้เอาหลักไปปักขวางแม่น้ า เจ้าพระยา เพื่อไม่ให้เรื อแล่นข้ามไป เขาเห็นว่าการกระทาเช่นนี้เป็ นการกระทาที่ผดิ ต่อหนังสื อ ความตกลงและคามัน่ สัญญาที่ ให้ไว้ ในจานวนตัวประกัน 4 คน ที่นายพลแดฟารฌฺ สัญญาจะให้น้ นั สามคนได้ลงไปในเรื อ กับเขาในที่ห่างจาก เมืองบางกอกเล็กน้อย แล้วเรื อฝรั่งเศสก็ข้ ึนใบแล่นไปพร้อมกับนาขุนนางชาวสยาม 3 คน ที่เป็ นตัวประกันไปด้วย พระสังฆราชลาโนยังคงอยูเ่ ป็ นตัวประกันคนเดียวที่ถือตามสัญญาที่ให้ไว้ และได้เขียนไปตาหนินายพลแดฟารฌฺ ที่ ประพฤติเช่นนี้ เขาคืนตัวประกัน ชาวสยามมาให้เพียงคนเดียว แล้วทหารฝรั่งเศสก็เดินทางต่อไปยังเมืองปอนดิเชรี

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

7ขนอน คือ ด่านเก็บอากรผ่านเขต ในสมัยนั้นเข้าใจว่ามีอยู่ 2 แห่ง คือ ด่านนอก อยูท่ ี่แถวปากน้ าเจ้าพระยา และด่านใน อยูท่ ี่แถวเกาะ เรี ยน ก่อนจะถึงกรุ งศรี อยุธยาเล็กน้อย (ผูแ้ ปล)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 105

พวกมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส และคริสตังชาวพืน้ เมืองถูกจาคุก การปล้นทาลายโบสถ์ ตามที่นายพลแดฟารฌฺ จบั เอาตัวประกันชาวสยามไปนี้ ทาให้ประชาชนชาวสยามและรัฐบาลโกรธแค้นเป็ น อย่างยิง่ บรรดามิชชันนารี เป็ นพวกแรกที่ตอ้ งรับผลอันเกิดจากความคัง่ แค้นนี้ "ชาวสยามถือเป็ นอาชญากรรม ที่เรา เป็ นตัวประกันของกองทหารฝรั่ งเศสก่ อนที่เขาจะเดินทางออกไป และถึงแม้ เขาบังคับเราให้ เป็ นตัวประกัน เขาก็ใช้ ข้ ออ้ างนีจ้ ับเราใส่ คุกให้ อยู่ร่วมกับคนชั่วช้ าสารเลวที่สุดในบ้ านเมือง" ข้อความสองสามบรรทัดของพระสังฆราชลา โนนี้ สรุ ปย่อและอธิ บายพฤติกรรม ทั้งหมดซึ่ งเราจะเล่าต่อไปนี้ แต่พอเรื อบรรทุกชาวฝรั่งเศสแล่นออกไป ชาวสยามกลุ่มหนึ่งก็พากันวิง่ กรู ไปหา พระสังฆราช กระชาก จนท่านล้มลงกับพื้น ลากท่านลงไปใน แหวน กางเขนห้อยที่อกและหมวกออก เตะ8 ชก และเอาไม้ตระบองตี โคลน จับมัด แล้วโยน "เข้ าไปในกอหนาม เหมือนกับเป็ น ที่ทิง้ ขยะมูลฝอย" สองสามชัว่ โมงต่อมา เขาให้ท่านใส่ ขื่อโซ่และตรวนหลายเส้น ที่เขาเรี ยกว่า "เครื่ องจําจองทั้งห้ า" (les cinq prisons) แล้วให้ท่านอยูใ่ นกระท่อมหลัง หนึ่งที่กว้างยาวไม่กี่ฟุต และสู งเกือบจะไม่เท่าตัวท่าน แล้วให้พวกแขนลาย (bras peints) ที่เป็ นทหารผูค้ ุมนักโทษ เป็ นผูเ้ ฝ้ าท่าน พวกนายทหารและพลทหารฝรั่งเศสที่ไม่ทนั ลงเรื อ ก็ได้รับเคราะห์กรรมเช่นเดียวกับ พระสังฆราช และถูกขังไว้ในคุกสาธารณะ ในระหว่างวันที่ 9, 10 และ 11 พฤศจิกายน มิชชันนารี 5 องค์ คือ คุณพ่อแฌฟฟรารด์, คุณพ่อเลอ เชอวาลี เอร์ , คุณพ่อป๊ อกเกต์, คุณพ่อมานูแอล และคุณพ่อแดสเตรชี (d'Estréchy) ได้ถูกนามาขังรวมกับเขา มิชชันนารี ที่ ยังอยูเ่ ป็ นอิสระคือ คุณพ่อโปมารด์ ซึ่ งมีความรู้ทางแพทย์เป็ นที่ยกย่องและรักษาขุนนางหลายคน, คุณพ่อเชอเวรย ซึ่งป่ วยและมีอายุมากแล้ว และคุณพ่อมารฺ ตีโน คุณพ่อสององค์หลังนี้ถูกบังคับให้ออกจากสามเณราลัย จึงได้รับการ ปฏิสันถารในบ้านของคริ สตังชาวญวนคนหนึ่ง จนถึงวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1689 วันนั้นบ้านหลังนี้ถูกไฟไหม้ พร้อมด้วยสิ่ งของเล็กน้อย ซึ่ งมิชชันนารี ท้ งั สองยังมีเหลืออยู่ พระสงฆ์ชาวมะนิลา 2 องค์ คือ คุณพ่อปี แอรฺ อารฺ ซิลลา กับคุณพ่อโยเซฟ ก็ถูกจับขังคุกด้วย สามเณรจานวนครึ่ งหนึ่งได้รับเคราะห์กรรมแบบเดียวกัน ที่เหลือ นอกนั้นซ่อนตัวอยูก่ บั ครอบครัวหรื อที่บา้ นเพื่อน คริ สตังชาวสยามและชาวมอญซึ่งเป็ นคนที่มีคนรู้จกั ดีที่กรุ งศรี อยุธยา ถูกจับขังคุกหมด ส่ วนบางคนที่พวก ขุนนางไม่รู้จกั แต่ถูกสามเณร 2 คน กับเสมียนคนต่างศาสนาของพระสังฆราชลาโนฟ้ อง ก็ถูกจับเช่นเดียวกัน คริ สตังชาวมอญผูห้ นึ่งชื่อ Joan (ยวน?) กับคนต่างศาสนาคนหนึ่ง มิได้เอาอย่างความประพฤติอนั น่าสลดของ สามเณร 2 คนนั้น เขาไม่ยอมฟ้ องคริ สตัง ที่เขารู้จกั ดังนั้นเขาจึงถูกเฆี่ยนอย่างโหดเหี้ ยมจนถึงกับคนที่เป็ นคนต่าง ศาสนาสิ้ นใจตาย คาหวาย ส่ วนคนที่เป็ นคริ สตังก็ตายในเวลาต่อมาไม่นาน

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ist

H

8มีผเู้ ล่าว่า ขุนนางคนหนึ่งคือ ออกญาวัง (Oya Vang) [คาว่า "ออกญา" เป็ นยศ ส่ วนคาว่า "วัง" คงจะหมายถึงกรมวัง หรื ออาจจะเป็ น เสนาบดีวงั ในสมัยนั้นก็เป็ นได้ (กรรมการฯ) ] เป็ นผูท้ ี่ได้เตะพระสังฆราชทีหนึ่ง ต่อมาเท้าข้างที่เตะนั้น ได้เกิดเป็ นแผลรักษาไม่หาย


106  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

ครอบครัวชาวโปรตุเกส ชาวสเปน และชาวอารฺ เมเนีย อีกบางครอบครัวก็เลยพลอยฟ้ าพลอยฝนถูกรังแกข่ม เหงด้วย แต่ท้ งั นี้โดยมิใช่เป็ นเจตนาของพระเจ้าแผ่นดิน หากเป็ นเพราะความละโมบของพวกขุนนางซึ่งหวังจะได้ เงินค่าไถ่ตวั เขาแต่ประการเดียว ผูเ้ ล่าความทุกข์ลาเค็ญทั้งหลายเหล่านี้กล่าวว่า "ที่สุด ขอพูดอย่ างย่ อๆ นอกจาก ครอบครั วคริ สตังบาง ครอบครั วซึ่ งเป็ นพี่น้องกับขุนนาง กับอีกบางครอบครั วซึ่ งพบวิธีซ่อนตัวแล้ ว คริ สตังอื่ นๆ ที่เหลือทั้งหมดต่ างได้ รับ ความทุกข์ ทรมาน บางคนก็มากหน่ อย บางคนก็น้อยหน่ อย" ทุกคนถูกติเตียนว่าถือศาสนาของคนต่างชาติ แต่ก็มีบาง คนที่ฉลาดพอที่จะแย้งว่า "เขาถือศาสนาของพระเจ้ าเที่ยงแท้ แต่ กย็ งั คงเป็ นคนในประเทศนีอ้ ยู่" อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ พวกขุนนางคิดร้ายต่อความเชื่อของเขา ก็ยงั น้อยกว่าคิดร้ายต่อเงินที่เขามี หมายความว่าคริ สตังที่มีเงินนิดหน่อยก็ ย่อมไถ่ตวั ได้ มีคริ สตังบางคนถูกขุนนางบังคับให้ไถ่ตวั ถึง 3 ครั้ง และ 4 ครั้งก็มี คริ สตัง 42 คน ที่พิษณุโลกถูกนามาขังคุกที่อยุธยาพร้อมด้วยมิชชันนารี 2 องค์ คือ คุณพ่อโมแนสจีเอร์ กับ คุณพ่ออังเฌโล ทรัพย์สมบัติของเขาถูกริ บ มีแต่พวกกลับใจใหม่ที่เป็ น คนลาวพวกเดียว ได้หนีพน้ การถูกจาคุก เพราะพอได้ยนิ ข่าวว่ามีการเบียดเบียน เขาก็หนีเข้าไปอยูใ่ นป่ า แต่เรื่ องถูกริ บทรัพย์น้ นั เขาหนีไม่พน้ แน่ โบสถ์ใหญ่โบสถ์นอ้ ยของเราที่อยุธยา, ละโว้, บางกอก, สามโคก (Sangcoc), Jaanne (ยาน ? ), มะขาม (Macaam) ถูกปล้นและบางแห่ งถูกทาลาย ; โบสถ์ใหญ่โบสถ์นอ ้ ยของเรา ที่พิษณุโลก, ละครไทย9 (Locontay) และสุ โขทัย ก็ได้รับชะตากรรมแบบเดียวกัน สามเณราลัยนักบุญโยเซฟ ที่อยุธยา และวิทยาลัยเทวดาทั้งหลายที่มหาพราหมณ์ ก็ถูกทาลายจนเหลือแต่ กาแพง ค่าเสี ยหายทั้งหมดคิดเป็ นเงินราว 300,000 ลิฟวรฺ (livres) ไม่นบั หนังสื อที่เขียนด้วยมือของพระสังฆราชลา โน ที่ถูกลักขโมยและหายไป หลุมฝังศพพระสังฆราช ลังแบรต์, คุณพ่อชังเดอบัว และคุณพ่อเลอแกลรคฺ ถูกระเบิด เดชะบุญสัตบุรุษชาวญวน ใจศรัทธาบางคนเก็บกระดูกมาได้อาภรณ์ของพระสงฆ์ไม่กี่ชิ้นกับหนังสื อไม่กี่เล่มรอด พ้นมาได้ และได้นาไปฝากไว้กบั พระสงฆ์เยสุ อิตชาวโปรตุเกส

k

iv h rc

e c io d rch

o e s

ko g n a fB

A s e

A l a

ic r o ความทุis กข์tทรมานของผู้ถูกขังคุก H ในขณะที่โบสถ์ของเราถูกปล้นนั้น มิชชันนารี และคริ สตังที่อยูใ่ นคุกต้องทนทุกข์ทรมาน อย่างแสนสาหัส

ที่คุมขัง "ที่เราอยู่ปะปนกับคนชั่วช้ าสามานย์ หัวขโมย และคนเลวทรามตํา่ ช้ า" นั้น เขาบอกว่าเป็ น "นรกก็ว่าได้ " ผูค้ ุมคือพวกแขนลาย "ซึ่ งไม่ มีใครจะเสมอเหมือนในเรื่ องความชั่วช้ าและความสารเลว" นั้น พูดสบประมาท เขา ดึงหนวดดึงผม เตะ ชกและเอาหวายเฆี่ยน คุณพ่อโมแนสจีเอร์มีแผลที่ศีรษะถึง 7 แผล อีกองค์หนึ่งกระดูกแขน เคลื่อน อีกองค์หนึ่งซี่โครงยุบเข้าไป ที่กล่าวมานี้เห็นจะ ไม่ใช่ความทุกข์ทรมานชนิดร้ายกาจที่สุดที่จะต้องทน มีอีก หลายเรื่ องที่เล่าไม่ได้ และผูค้ ุมจะแสดงความทะลึ่ง ความไม่มียางอายอย่างไรก็ได้ นอกจากต้องสู้ทนความทุกข์ ทรมานต่างๆ เหล่านี้แล้ว เขายังต้องหายใจสู ดเอากลิ่นเหม็น ต้องถูกแมลงร้ายและสกปรกต่างๆ กัด และต้องถูก ความหิวทรมาน เพราะเขาได้รับเงินแค่เพียงวันละ 5 เบี้ย (sols) จึงซื้ออาหารได้ไม่พอ 9ละครไทย ปัจจุบนั คือ อ. นครไทย อยูใ่ นจังหวัดพิษณุโลก (กรรมการฯ)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 107

ความทุกข์แสนลาเค็ญทาให้เกิดโรคบางอย่าง เช่น ไข้ โรคบิด ยังไม่นบั กลากและหิด ฯลฯ คุณพ่อมารฺ ตีโน เขียนไว้วา่ "เดี๋ยวนีเ้ ขารู้ โดยประสบการณ์ เองว่ า เป็ นการถูกต้ องแล้ วที่ พระศาสนจักรนับผู้ที่ชีวิตค่ อยๆ ดับไป "ด้ วย ความสกปรกโสโครกของคุก" (squalore carceris) เข้ าอยู่ในหมู่มรณสักขีที่สาํ คัญๆ ของตน" ชาวสยามไม่เพียงแต่จบั คนมาขังคุกเท่านั้น แต่ยงั บังคับคนติดคุกให้ทางานชนิดแสนต่าช้าด้วย เช่น แบกดิน , แบกอิฐ, แบกขยะมูลฝอย, ขุดคู, ขุดร่ องน้ าโสโครก ฯลฯ พระสังฆราชลาโนเขียนว่า "รู้ สึกประทับซึ ้งใจเมื่อเห็น มิชชันนารี คนมีสกุล ทหาร นักเรี ยน ซึ่ งมีโซ่ เส้ นยาวผูกติด เป็ นคู่ๆ กับขโมย ทั้งที่มีโซ่ ที่คอและที่เท้ า เดินไปตาม เมือง ลากไม้ " ถ้ามีใครคนหนึ่งหกล้มลงเพราะเหน็ดเหนื่อย ผูค้ ุมก็จะตีให้ลุกขึ้น ตามถนนหนทาง ผูค้ นเย้ยหยันเขา โดยเฉพาะอย่างยิง่ เย้ยหยันพวกสามเณรและคริ สตัง ด่าสบประมาทเขา ตี ดึงผม เอานิ้วหรื อไม้ทาเป็ นรู ปกางเขนแล้ว ก็แสดงความดูหมิ่นโดยถุยน้ าลายรด

ok k g การช่ วยเหลือผู้ถูกจาคุก n a B แต่บางครั้งบนถนนหนทาง เขาก็เคยพบคนที่มีใจเวทนา คนต่างศาสนาที่เป็ นคนสุ f จริ ต หยิบยืน่ เมล็ดข้าว o ปลาเค็มนิดหน่อย หรื อเศษเงินอันหนึ่งให้ พระภิกษุบางองค์ก็เอาอาหารที่บิณฑบาตได้ e แบ่งให้เขา s e c o คุณพ่อโปมารด์ กับนายเรอเน ชารฺ บอโน เป็ นผูท้ ี่ช่วยเหลื อiเขามาก คุณพ่อโปมารด์น้ นั นาอาหาร ยา และ d h เงิน ที่บ่อยครั้งท่านต้องไปขอทานมาให้ ส่ วนนายเรอเนrc ชารฺ บอโน ใช้ทรัพย์สมบัติที่มีอยูเ่ ล็กน้อยมาช่วยเสี ยส่ วน A s หนึ่ง ล่ามที่มีชื่อปิ นโต กับชาวอารฺ เมเนียคนหนึ ่ ง ให้ เ ขายืมเงิน หญิงสาวคนหนึ่งนาเสื้ อผ้าหลายตัวไปขายแล้วนาเงิน e v i ลาส่งเงิน 1,000 เอกู ช็อกโกแล็ต น้าตาล และของ ที่ขายได้มาให้ พระอัครสังฆราชกรุ งh มะนิ rc ต่างๆ มาให้ แต่ของเหล่านัl้ นA มาไม่ถึงเขา พวกนักบวชและคริ สตังที่กรุ งมะนิลาก็ส่งเงินมาให้ 700 เอกู ; ชาวอังกฤษ aบชาวโปรตุเกสนั้น ยกเว้นคุณพ่อมัลโดนาโดคนเดียว ไม่ค่อยให้อะไรนอกจากคาเย้ยหยัน แสดงน้ าใจกว้างr;ic สาหรั o t ส่ วนชาวฮอลั นดา "แสดงให้ เห็นว่ าเป็ นคนใจดํามาก" s i H ความมานะของผู้ถูกจาคุก

แม้ตอ้ งรับความทุกข์ลาเค็ญเช่นนี้ พวกมิชชันนารี และสามเณรก็ยงั มีความมานะมัน่ คง เหมือนเดิม เมื่อ กลับมาที่คุก หลังจากต้องทางานอย่างยากลาบากตลอดวัน เขาก็ชุมนุมกันภาวนา ขับร้อง "บทรํ่าวิงวอนแม่ พระ และ บทสรรเสริ ญอื่นๆ ของพระศาสนจักรอย่ างเลื่อมใส" อ่านหนังสื อศรัทธา บางคนก็แต่งบทเพลง บางคน เช่น สามเณรวิต (Vite) ที่อายุ 26 ปี แล้ว ภาวนาคืนละ 2 ชัว่ โมง


108  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

มิชชันนารี ผหู้ นึ่งชื่อ คุณพ่อป๊ อกเกต์ เกิดที่แบร์เน จังหวัดเออรฺ (Eure) ราวปี ค.ศ. 1655 เดินทางจาก ประเทศฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1687 และเพิ่งมาถึงกรุ งสยาม ท่านก็ถูกขังร่ วมกับพวกสามเณร แต่ท่านหาทางให้เขามา อยูใ่ กล้กนั แล้วอธิบาย "จดหมายของนักบุญเปาโล, บทเพลงสดุดี และหนังสื อของนักประพันธ์ ชาวลาตินดีๆ คนใด คนหนึ่ง" ให้เขาฟัง โดยเสี ยงลอดผ่านฝาไม้ไผ่ขดั แตะที่ก้ นั ห้องคุมขัง ภาพอาจารย์และนักเรี ยนที่ยงั สอนและเรี ยน ต่อไปในภาวการณ์เช่นนี้ เป็ นภาพที่หาดูไม่ได้ง่ายนักและเราเห็นว่าทั้งสองฝ่ ายจะต้องมีกาลังจิตใจที่หาได้ยากมาก ทีเดียว พระสงฆ์หนุ่มชาวมะนิลา คือ คุณพ่อเปโตร อารฺ ซิลลา ที่เป็ นนักโทษไปทางานอยูท่ ี่บา้ น ขุนนาง ชั้นผูใ้ หญ่ วัง10 คนที่เคยเตะพระสังฆราชลาโนนัน่ แหละ ท่านยินดีทางานโดยขอมีโซ่ติดมือและเท้าดีกว่าที่จะถอดเสื้ อหล่อ11 ออก เพราะการถอดเสื้อหล่อออกนั้น ถือเป็ นการแสดงว่าทิง้ ศาสนา

ok k ในสถานการณ์อนั ยุง่ ยากลาบากทุกด้านนี้ ได้มีผลู้ ะทิ้งศาสนา ซึ่ งถ้าไม่มีเลยนัน่ แหละก็จะเป็n นเรืg ่ องแปลกผิด a ธรรมดาทีเดียว เณรบางคนเมื่อกลับไปอยูก่ บั ครอบครัวก็ประพฤติเป็ นแบบฉบับไม่ดี คริf สB ตังชาวสยามบางคนไป บวชเป็ นพระภิกษุ พวกผูห้ ญิงและหญิงสาวคริ สตังบางคน เมื่อตกระกาลาบาก e หรื อคิo ดว่าต้องแสดงความกตัญญูที่ s e ของพวกคริ สตังนับว่าดี ดีกว่า เข้าใจแบบผิดๆ ก็ไปแต่งงานกับคนต่างศาสนา แต่กล่าวโดยทัว่ ๆ ไป ความประพฤติ c io "ที่เราหวังเสี ยอีก" และบางครั้งก็เป็ นที่น่าพิศวง d h c r A คุณธรรมของหญิงและหญิงสาวคริสตังe ทีต่ s กเป็ นทาส iนvนารี ก็ได้รับการยกเว้นไม่ตอ้ งทางานสาธารณะ แต่ชาวฝรั่งเศสอื่นๆ พวก ครั้นล่วงไป 3 เดือน พวกมิ ช ชั h rc เณรและพวกคริ สตัง ยังlต้อA งทาต่อไป ยกเว้นชาวสยามและชาวมอญที่ตกเป็ นทาสอยูใ่ นพระราชวังหรื อที่บา้ นของ a c ขุนนาง i r o t s i H การละทิง้ ศาสนา

10น่าจะเป็ นออกญาวัง (กรรมการฯ) 11เสื้ อหล่อ หมายถึง ชุดที่พระสงฆ์คาทอลิกสวมใส่ เป็ นประจา สี ขาวหรื อสี ดา คนสมัยก่อนให้ความสาคัญแก่เสื้ อ หล่อมาก (กรรมการฯ)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 109

ในจานวนทาสเหล่านี้ซ่ ึ งส่ วนใหญ่เป็ นหญิงและหญิงสาว หลายคนต้องป้ องกันความเชื่อ และเกียรติของ ความเป็ นหญิง และได้ป้องกันด้วยความกล้าหาญอย่างไม่รู้จกั ท้อถอย ผูท้ ี่ตอ้ ง กล่าวถึงเป็ นอันดับแรกก็คือ หญิง ลูกครึ่ งที่เป็ นชาวมอญคนหนึ่ง นายสั่งให้กล้อนผมเธอ จับเฆี่ยน และเอาโซ่กบั ตรวนใส่ ยังสั่งให้จบั มัดเท้าและมัด มือโยง แต่เขาก็ยงั มัน่ คงไม่ยอมท้อถอย เพื่อมิให้ใครคิดมิดีมิร้ายต่อเธอ เธอเปลี่ยนเสื้ อผ้า แล้วใส่ เสื้ อผ้าเก่าสกปรก เอาขี้เถ้าโปรยบนศีรษะ ใช้ "เขม่ าที่ติดหม้ อในครั ว" ถูหน้าตา ถูอกกับมือ และเอาสบู่ผสมกับปูนขาวทาให้เป็ นแผล บนร่ างกาย เธอเตือนเพื่อนหญิงที่ถูกจับด้วยกันให้เอาอย่างเธอ และความจริ งก็เตือนให้เขามีความกล้าหาญเหมือน เธอเป็ นผลสาเร็ จ บางคนทรมานกายชนิดที่ยากลาบากและเป็ นเวลานานๆ ทั้งอดอาหารบ่อยๆ "คนหนึ่งมีโคลนเปื ้ อน เปรอะทั้งตัว ตากแดดที่กาํ ลังร้ อนจัด เพื่อทําให้ ผิวหนัง สี ขาวกลายเป็ นสี ดาํ อีกคนหนึ่งก้ มตัวบนมือและเท้ า เดิน เหมือนกับสัตว์ ; คนนีเ้ อากิ่งไม้ และหนามเฆี่ยนตัว คนนั้นคุกเข่ าใต้ ต้นไม้ สวดสายประคําอย่ างศรั ทธา" หญิงลูกครึ่ ง จีนคนหนึ่งชื่อมารฺ เซอลีน (Marceline) แต่งงานกับคริ สตัง "เพราะชาวสยามยกย่ องหญิงที่แต่ งงานแล้ วมาก" ในบรรดาคริ สตังชายหญิงที่สู้ทนความทุกข์ทรมานอย่างกล้าหาญที่สุดนั้น จดหมายเหตุของมิสซังระบุผมู้ ี ชื่อต่อไปนี้คือ อูรฺซูลา กวด (Guet), มารี อา สันชัย หรื อสมใจ (Sanchay), มารี อา แมวดาย หรื อเมียวดี (Meoday) และเปาโล มาเดก (Madec)

k

e พระสั งฆราชลาโน c io การแต่ งหนังสื อ "De Deificatione Justorum" hd c r และหนังสื ออีกบางเล่ม A s e iv

o e s

ko g n a fB

ความศรัทธาและความอดทนของพระสังฆราชลาโนเป็ นสิ่ งที่น่าพิศวงเป็ นพิเศษ และสะท้อนให้เราเห็นใน จดหมายบางตอนที่ท่านเขียนถึงพระสังฆราชเมโกรต์ (Maigrot) ซึ่ งขณะนั้นเป็ นผูช้ ่วยผูป้ กครองบรรดามิสซังใน ประเทศจีน และเป็ นประมุขมิสซังฟูเกี้ยน พระสังฆราช ลาโนเขียนว่า "พระเป็ นเจ้ าเป็ นพระที่น่าพิศวงเสี ยนี่กระไร! พระเยซูเจ้ าเป็ นพระที่น่ากราบไหว้ สักเพียงใด! พระองค์ ช่างอยู่ใกล้ ชิดเรา และทรงบันดาลให้ พระองค์ ท่านเป็ นที่ รู้ สึกอย่ างเห็นได้ ทีเดียว เราเรี ยนรู้ สิ่งมหัศจรรย์ ในสถานที่ฝึกหัดใส่ ขื่อคาได้ มากกว่ าที่จะเรี ยนรู้ ในมหาวิทยาลัย ซอรฺ บอนเป็ นเวลาถึง 10 ปี " ท่านยังเขียนถึงคณาจารย์ผหู ้ นึ่งในสามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศว่า "พระเป็ นเจ้ าเป็ นผู้นาํ ที่ประเสริ ฐ เสี ยนี่กระไร! ความทุกข์ ทรมานช่ างเป็ นสถานที่ฝึกเรี ยนอย่ างดีสักเพียงใด! ท่ านเป็ นปราชญ์ ที่มีความรู้ สักเพียงใดก็ ตาม ท่ านไม่ ร้ ู อะไรในเรื่ องนี ้ นักเรี ยนของเรายังรู้ มากกว่ าบรรดาพระสงฆ์ องค์ สาํ คัญๆ เสี ยอีก"

t s i H

l a c ori

h c r A


110  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

เมื่ออยูใ่ นคุก พระสังฆราชลาโนแต่งหนังสื อเล่มหนึ่งชื่อ De Deificatione Justorum12 แต่ในตอนแรกมี ชื่อว่า De Mysterio Christi หรื อ De Deificatione seu de Divinisatione Justorum per Jesum Christum13 ท่านให้สามเณรหนุ่มคนหนึ่งที่ติดคุกด้วยกัน เขียนหนังสื อเล่มนี้ตามคาบอก หนังสื อดังกล่าวเป็ นตาราว่าด้วยเรื่ อง ชีวติ ฝ่ ายวิญญาณชั้นสู ง ซึ่ งพวกมิชชันนารี ในกรุ งสยามลังเลใจไม่กล้าพิมพ์เผยแพร่ "เพราะเกรงจะไม่ พ้นจากการติ ชมของคนเป็ นอันมาก" หนังสื อเล่มนี้คุณพ่อรุ สเซย์ (Rousseille) จัดให้พิมพ์ที่ฮ่องกงในปี ค.ศ. 1887 ทาให้ คนทัว่ ไปพากันพิศวงงงงวย พระสังฆราชลาโนยังแต่งหนังสื อเล็กอีก 3 เล่ม แต่ไม่ได้พิมพ์เผยแพร่ และสู ญหายไปแล้ว เมื่อท่านกล่าวถึง ต้นเหตุที่ทาให้เกิดความทุกข์ทรมานอย่างแสนสาหัสนี้ หมายความว่าเมื่อท่านยอมเป็ นตัวประกันให้นายพลแด ฟารฌฺ น้ นั ท่านเขียนกราบทูลพระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 ว่า "ผู้ที่ออกจากกรุ งสยามไป ปล่ อยให้ เราถูกจับขังคุกนั้น เราไม่ นึกเสี ยดายที่ได้ ช่วยให้ เขาเป็ นอิสระ เพราะนี่เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับผลประโยชน์ และพระเกียรติของใต้ ฝ่าละอองธุลีพระ บาทจริ งๆ ถ้ าจะให้ ทาํ ใหม่ เราก็จะทําแบบเดียวกันนีอ้ ีก"

k

ปล่อยผู้ถูกขังคุก - มิชชันนารีบางองค์ ถึงแก่มรณภาพ

o e s

ko g n a fB

ระหว่างนั้นนายพลแดฟารฌฺ เดินทางถึงเมืองปอนดิเชรี เมื่อปรึ กษาหารื อกับบรรดานายทหารและข้าหลวง มารฺ แต็ง (Martin) แล้ว เขาตัดสิ นใจจะเดินทางกลับกรุ งสยาม และจะตั้งหลักอยูท่ ี่เกาะถลาง (เกาะภูเก็ต) เกาะนี้ ตั้งอยูบ่ นฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรกรุ งสยามตรงกันข้ามกับเมืองนครศรี ธรรมราช14 (Ligor) ทหารฝรั่งเศส 330 คน ได้เข้ายึดครอง จากเกาะนี้ นายพลแดฟารฌฺ พยายามจะให้กลับมีการติดต่อกันใหม่กบั รัฐบาลของ พระเพทราชา เขาเขียน ถึงเจ้าพระยาพระคลังว่า เขาปรารถนาแต่สันติภาพ เขานาตัวประกันของกรุ งสยามกลับมา และขอคืนแต่เชลย ฝรั่งเศสกับสัมภาระเท่านั้น

iv h rc

e c io d rch

A s e

A l a

ic r o ist

H

12De Deificatione Justorum แปลว่า "การทาให้ผชู้ อบธรรมมีลกั ษณะเหมือนพระเจ้า" หนังสื อดังกล่าวพระสังฆราชลาโนเขียนเป็ นภาษา ลาติน คณะมิสซังต่างประเทศกาลังจัดให้แปลเป็ นภาษาฝรั่งเศส และต่อไปแปลจากภาษาฝรั่งเศสเป็ นภาษาไทย (ผูแ้ ปล) 13หนังสื อเล่มนี้เคยพิมพ์ใน ค.ศ. 1887 ณ โรงพิมพ์ของคณะมิสซังต่างประเทศ ที่ฮ่องกง 14สมัยนั้นคงจะเรี ยกกันว่า "เมืองละคร" โปรดสังเกตคาฝรั่งเศสก็ใช้คาว่า "Ligor" (กรรมการฯ)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 111

เมื่อคณะเสนาบดีได้รับหนังสื อฉบับนี้ ในวันที่ 20 สิ งหาคม ค.ศ. 1689 เขาสั่งให้พา พระสังฆราชลาโน เข้าไปในห้องสาธารณะ พระสังฆราชมาถึงห้องนั้นในสภาพใส่ เสื้ อผ้าฉีกขาด ไม่มีหมวก ไม่มีรองเท้า "เกือบๆ จะ เหมือนนักโทษเดนตายที่เขาถอดโซ่ ออก" มิชชันนารี ทุกองค์ ที่ใส่ โซ่เส้นยาวๆ และ "อาศัยตามพืน้ ดิน" ก็ได้ถูกนามา ที่หอ้ งนั้นด้วย เจ้าหน้าที่อ่านบันทึกยึดยาวฉบับหนึ่งให้เขาฟัง บันทึกฉบับนั้นบรรยายถึงพระมหากรุ ณาธิคุณที่พระ เจ้ากรุ งสยามทรงมีต่อชาวฝรั่งเศสเป็ นจานวนมากมายจนเกินความเป็ นจริ ง และยังบรรยายถึงข้อเจ็บแค้นที่เขาตาหนิ ชาวฝรั่งเศส ข้อเจ็บแค้นที่สาคัญและเขาจะพูดย้าจนอิ่มหนาใจก็คือ ข้อเจ็บแค้นที่วา่ นายพลแดฟารฌฺ จบั เอาขุนนางที่ เป็ นตัวประกันไป ในที่สุดเขาบอกว่า ถ้านายพลฝรั่งเศสกระทา การสิ่ งใดที่แสดงความเป็ นศัตรู เขาจะพาพวก มิชชันนารี มาข้างหน้ากองทหารแล้วจับมัดกับปากปื นใหญ่ วันที่ 26 สิ งหาคม ชาวฝรั่งเศสที่ถูกจาคุกมาปรากฏตัวอีกครั้งหนึ่ง และเนื่องจากเงื่อนไขที่กรุ งสยาม เรี ยกร้องนั้น ดูจะรุ นแรงไป พระสังฆราชจึงถามว่า "แล้ วถ้ านายพลไม่ ยอมรั บข้ อเสนอเหล่ านีเ้ ล่ า จะว่ าอย่ างไร ?" ขุนนางชาวสยามตอบว่า "ก็เอาซี ถ้ าจะรบกันอีก ก็จะรบ" ที่สุด พระสังฆราชเขียนจดหมายฉบับหนึ่งถึงนายพลแดฟารฌฺ "มีเนือ้ ความโน้ มเอียงไปตามความพอใจของ ชาวสยาม" ขอนายพลอย่าทาการสิ่ งหนึ่งสิ่ งใดที่แสดงความเป็ นศัตรู วันที่ 27 สิ งหาคม ขุนนางคนหนึ่งที่เป็ นตัวประกันเดินทางมาถึงกรุ งศรี อยุธยา "เขาปรากฏมาให้ เราเห็น เหมือนกับที่ดาวประจํารุ่ งปรากฏแก่ สายตาของคนที่อดทนน่ าสงสาร รอเฝ้ าให้ ดวงอาทิตย์ ขึน้ หรื อเหมือนกับแสง อรุ ณที่เรารอรั บพร้ อมกับวันเป็ นอิสระที่ติดตามมา แต่ ที่เราคิดว่ าเป็ นแสงอรุ ณนั้น เป็ นแต่ แสงสว่ างปลอม ราตรี อัน มืดมิดยังคงดํารงอยู่มิร้ ู จางหาย" โดยที่เกรงว่านายพลแดฟารฌฺ จะติดต่อกับมิชชันนารี ที่อยูบ่ นเกาะถลางหรื อในบริ เวณนั้น ข้าหลวงเมือง ตะนาวศรี จึงสั่งให้จบั และนาคุณพ่อเปเรส กับคุณพ่อหลุยส์ แห่งพระมารดา พระเจ้า ไปส่ งที่กรุ งศรี อยุธยา พระสงฆ์ท้ งั สองไปถึงนครหลวงวันที่ 13 กันยายน คุณพ่อเปเรสยังไม่ทนั ลงจากเรื อที่มาส่ ง ก็มีคนมามอบ พระสมณโองการของพระสันตะปาปา ตั้งท่านเป็ นพระสังฆราชเกียรตินามแห่งบูฌี (Bugie) และเป็ นประมุขมิสซัง โคชินจีน ไม่มีมิชชันนารี สักองค์ในกรุ งสยามและโคชินจีน คาดคิดว่าจะมีการแต่งตั้งที่กล่าวนี้ สามเณราลัยมิสซัง ต่างประเทศไม่เคยขอให้มีการแต่งตั้งนี้ มีผเู ้ ล่าให้ฟัง แต่โดยไม่รู้อย่างแน่นอนว่าจะมีการแต่งตั้งครั้งนี้ เพราะ พระสงฆ์เยสุ อิตเป็ นผูข้ อ แต่ถึงแม้จะได้รับตาแหน่งเป็ นพระสังฆราช คุณพ่อเปเรสก็ยงั ถูกนาไปขังคุก อย่างไรก็ ตาม เพราะท่านมีเชื้อสายโปรตุเกส ท่านจึงอยูใ่ นคุกไม่นาน คุณพ่อหลุยส์ แห่งพระมารดาพระเจ้านั้น มีบุญน้อยกว่า ท่านอ่อนระโหยโรยแรงเพราะ ความทุกข์ ยากลาบากและความเหน็ดเหนื่อยในการเดินทาง จึงถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 22 กันยายน ในระหว่างนั้นบรรดาเสนาบดีชาวสยามประชุมปรึ กษาหารื อกันบ่อยๆ ว่า จะต้องปฏิบตั ิ อย่างไรต่อนายพล แดฟารฌฺ วันหนึ่ง เขาสั่งให้เขียนหนังสื อฉบับหนึ่งตามคาบอก วันรุ่ งขึ้น เขาสั่งให้เปลี่ยนเนื้อความเป็ นอย่างอื่นไป แล้ว แต่ในที่สุด เขาตัดสิ นใจประกาศบอกแน่นอนว่าผูท้ ี่ติดคุกจะปล่อยก็ต่อเมื่อตัวประกันคนสุ ดท้ายกลับมาแล้ว

k

A l a

iv h rc

H

ic r o ist

A s e

e c io d rch

o e s

ko g n a fB


112  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

นายพลแดฟารฌฺ ยอมอ่อนข้อ วันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 1689 ตัวประกันชาวสยามทุกคนกลับมาถึงกรุ งศรี อยุธยา และมีผแู ้ จ้งให้ทราบว่าเรื อฝรั่งเศสออกจากเกาะถลางไปเบงกอลแล้ว ครั้นวันที่ 7 ธันวาคม คุณพ่อแฟเรอ กับล่ามปิ นเฮโร (Pinhero) ก็เดินทางมาถึง ท่านถูกซักไซ้ ไล่เลียงอย่างเข้มงวด "ถูกตรวจจนทั่ว ถูกจับหันตัว และ ถูกจับพลิกไปพลิกมาทุกด้ าน" เกี่ยวกับโครงการของชาวฝรั่งเศส ท่านให้คาตอบเป็ นที่พอใจและทาให้รู้พอสมควร ว่า "เพื่อนร่ วมชาติของเรามีความจริ งใจ" วันที่ 9 ธันวาคม พระสังฆราชลาโนถูกปล่อยออกจากคุก ท่านได้รับอนุญาตให้ไปอยูก่ บั คุณพ่อโปมารด์ และต้อนรับคนที่มาเยีย่ มได้ แต่ออกไปข้างนอกไม่ได้ "ดังนั้นก็เพียงแต่ เปลี่ยน จากอยู่คุกแห่ งหนึ่งไปอยู่คุกอีกแห่ ง หนึ่งที่ลาํ บากน้ อยกว่ าเท่ านั้นเอง" ส่ วนผูท้ ี่ถูกคุมขังคนอื่นๆ ก็ยงั ต้องอยูใ่ นคุกต่อไป พระสังฆราชผูใ้ จดีและอ่อนโยนพยายามวิง่ เต้นหลายครั้งกับคุณพ่อโปมารด์ เพื่อขอให้พวกเขาออกจากคุก แต่ได้รับการตอบสนองค่อนข้างไม่ดี และบางครั้งได้รับคาปฏิเสธที่หยอดคาพูดประชดว่า "พวกบาทหลวงไม่ ได้ บุญ กุศลในการสู้ทนลําบากเป็ นเวลานานมาแล้ วดอกหรื อยะ?" ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1690 ค่อยมีอะไรดีข้ ึนบ้าง : "ทางราชสํานักห้ ามไม่ ให้ ร้องเพลง ล้ อเลียนหรื อใส่ ร้ ายพวกเรา" แต่ในเดือนกรกฎาคม พวกผูค้ ุมคุกกลับแสดงความแข็งกระด้าง ขึ้นมาอีก ที่เป็ นเช่นนั้น เราเข้าใจว่า เป็ นเพราะพระเจ้างาย เวือง (Ngai - Vuang) พระเจ้า แผ่นดินของประเทศโคชินจีน15 ได้ส่งทูตคณะหนึ่งเข้ามา คือ ในพระชนม์ชีพตอนนี้ พระเจ้างาย-เวือง ทรงมีพระทัยอารี อารอบต่อพวกคริ สตัง เมื่อทรงทราบเหตุการณ์ที่อุบตั ิ ขึ้นในกรุ งสยาม พระองค์ก็ทรงส่ งทูตมา ทรงสั่งให้ทูลขอปล่อยผูถ้ ูกจองจาเป็ นอิสระในพระนามของพระองค์ กับ ให้มอบของพระราชทานและพระราชสาสน์แสดงความเสี ยใจฉบับหนึ่งแด่ พระสังฆราชลาโนด้วย การดาเนิน วิเทโศบายเช่นนี้ไม่เป็ นที่ชื่นชอบแก่กรุ งศรี อยุธยาเลย: สัญชาติของชาวฝรั่งเศสได้เป็ นเหตุให้เขา ถูกลงโทษมาครั้ง หนึ่งแล้ว บัดนี้ไมตรี จิตที่ชาวญวนแสดงต่อเขา ยังมาเป็ นเหตุให้เขาได้รับความเข้มงวดกวดขันอีก ซึ่งอันที่จริ งความ เข้มงวดกวดขันใหม่น้ ีก็ผา่ นพ้นไปเร็ ว วันที่ 15 สิ งหาคม ค.ศ. 1690 มิชชันนารี 9 องค์ กับนักเรี ยน 14 คน ถูกปล่อยออกจากคุกนครบาล ่ า 21 เดือน แต่ที่ถูกปล่อยออกมานั้น ยังไม่ใช่เป็ นการมี ความเป็ นอิสระ เพราะเขาถูกกัก (Lacouban) ที่เขาได้อยูม ให้อยูใ่ นที่แห่งหนึ่ง "คล้ ายเกาะเล็กอยู่กลางบึง ข้ างหลังคุก และอยู่ในระยะที่ปืนยิงถึงจากคุก" เกาะนี้ยาว 11 วา และ กว้าง 5 วา เขาสร้างกระท่อมหลังหนึ่ง ขึ้นบนเกาะ สิ้ นเงินไป 8 ตาลึง ไม่กี่สัปดาห์ต่อมา เขาสร้างโบสถ์นอ้ ย เล็กๆ หลังหนึ่ง "จัดให้ พวกสามเณรมาเรี ยน และทํากิจปฏิ บัติศรั ทธาทุกอย่ าง" ในวันอาทิตย์และวันฉลองต่างๆ พวก คริ สตังที่เป็ นอิสระและพวกที่ติดคุกมาชุมนุมกันได้ในโบสถ์นอ้ ยนี้ มิชชันนารี 3 องค์ ได้ถึงแก่มรณภาพที่เกาะนี้ องค์แรกคือ คุณพ่อแฌฟฟรารด์ เดอ แลสปี เน ถึงแก่ มรณภาพเมื่อวันที่ 19 กันยายน ค.ศ. 1690 "ทั้งตัวท่ านมีแต่ ฝีและกลากเกลือ้ น เมื่อยืน นอน หรื อนั่งไม่ ได้ ก็ จําเป็ นต้ องยกตัวขึน้ และใช้ มือพยุงตัวไว้ ตลอดเวลา ดังนั้นการอยู่ในอิริยาบถท่ านีท้ ่ าเดียวก็ย่อมทําให้ ข้อมือทั้งสอง ข้ างด้ านไปหมด"

k

iv h rc

e c io d rch

A s e

A l a

ic r o ist

H

15ประเทศโคชินจีน ในครั้งนั้นคงจะหมายถึงประเทศญวน หรื อ เวียดนาม (กรรมการฯ)

o e s

ko g n a fB


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 113

ไม่กี่วนั ต่อมาคือวันที่ 2 ตุลาคม คุณพ่อโมแนสจีเอร์ ก็ตามไปอยูก่ บั คุณพ่อแฌฟฟรารด์ ในหลุม เนื่องจาก หมดเรี่ ยวแรง เพราะได้รับบาดแผลที่ศีรษะหลายแห่ง และได้สู้ทนความทุกข์เข็ญอย่างสาหัสระหว่างที่อยูใ่ นคุก วันที่ 20 เดือนเดียวกัน ทีน้ ีก็ถึงเวรของคุณพ่อโปมารด์ ผูซ้ ่ ึ งยืนหยัดอยูใ่ นความมีเมตตาจิต และคอยรับใช้ ช่วยเหลือผูถ้ ูกจองจาในคุกเป็ นอย่างมากทีเดียว เมื่อเห็นว่าการเบียดเบียนศาสนาบรรเทาน้อยลงและพวกมิชชันนารี ออกจากห้องขังอันโสโครกของคุกนครบาลแล้ว ท่านก็พดู ว่า "เดี๋ยวนีฉ้ ันไม่ มีประโยชน์ อะไรแล้ ว พระสงฆ์ ของเราก็ พ้ นจากความทุกข์ ยากลําบาก อย่ างสาหัส ดูๆ ก็ร้ ู สึกฉันพอใจที่จะตายได้ แล้ ว" พระเป็ นเจ้าก็ทรงประทานความชื่น ชมนี้ให้แก่ท่าน ศพของท่านเช่นเดียวกับศพของคุณพ่อแฌฟฟรารด์และชะรอยศพของคุณพ่อโมแนสจีเอร์ดว้ ย ฝัง อยูใ่ นโบสถ์ของพระสงฆ์เยสุ อิตชาวโปรตุเกส วันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1690 กัปตันเรื อชาวอังกฤษชื่อ กิลแลสม์ (Guillesme) มาเยีย่ มพระสังฆราช และ ในนามของพวกพ่อค้าชาวอังกฤษที่มากรุ งสยามในระหว่างหน้าลมมรสุ มครั้งที่แล้ว มอบเงิน 30 ตาลึงแก่ท่าน พร้อมกับแสดงความเสี ยใจที่ถวายมากกว่านั้นไม่ได้ ชาวอารฺ เมเนียคนหนึ่งชื่อ โกยา อาบาแนส (Coja Abanès) เสนอตัวทาการรับใช้ช่วยเหลือชาวฝรั่งเศส และได้พยายามพูดขอให้พวกเขาออกจากคุก แต่ได้รับการบอกปัดจาก ชาวสยามด้วยความมุทะลุดุดนั อย่างไม่มีความละอาย หรื อด้วยคาพูดบ่ายเบี่ยงที่แดกดันประชด การมีผมู้ าแสดง ความ เห็นอกเห็นใจเช่นนี้ ย่อมทาให้บรรดาผูต้ ิดคุกมีความบรรเทาใจได้บา้ ง แต่มีความบรรเทาใจ อย่างอื่นซึ่ง เป็ นที่ซ้ ึงใจเขายิง่ กว่านั้น กล่าวคือ ประการทีห่ นึ่ง มีคนต่างศาสนาหลายคนกลับใจ และรับศีลล้างบาปในเวลา เบียดเบียนศาสนา ประการทีส่ อง ชาวอังกฤษที่เป็ นโปรเตสแตนท์ หลายคน สาบานละทิ้งลัทธิของเขาเมื่อเห็น คุณธรรมของพวกมิชชันนารี และเชื่อตระหนักถึง ความจริ งในคาสอนของเรา เพราะเห็นความประพฤติ ที่สุด มี คณะภาวนาระหว่างมิสซังกรุ งสยาม กับคณะสังฆมนตรี (chapitre) ของโบสถ์นกั บุญมาร์ติน ที่เมืองตูรฺส์ คล้ายกับ คณะภาวนาที่มีอยูร่ ะหว่างคณะที่ปรึ กษาคณะเดียวกันกับสามเณราลัยคณะมิสซังต่างประเทศ และที่เกิดมีข้ ึนก็เพราะ พระสังฆราชปัลลือ ในตอนปลายปี ค.ศ. 1690 นี้เอง ที่พระสังฆราชลาโนได้ทราบข่าวถึงเรื่ องมีการช่วยเหลือกัน ทางวิญญาณเช่นนี้ ท่านตอบเมื่อวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 1691 ว่า "ท่ านหวังจะเกิดแหล่ งกําเนิดอันไม่ ร้ ู จักเหื อดแห้ ง แห่ งพระหรรษทานจากคณะนี"้ และว่าท่าน และมิชชันนารี ของท่าน "นับตั้งแต่ บัดนีแ้ ละตลอดไปว่ า ตนร่ วมเป็ น อันหนึ่งอันเดียวกับ พระศาสนจักรอันศักดิ์สิทธิ์ ยิ่งของเขาและกับสมาชิ กทุกคนโดยทั่วไป และโดยเฉพาะภายใต้ ความ คุ้มครองของนักบุญมาร์ ติน ผู้เป็ นองค์ อุปถัมภ์ และผู้ปกครองบรรดามิสซังของเราร่ วมกัน" ในที่สุด วันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1691 พระสังฆราชกับพวกมิชชันนารี ก็กลับเข้าไปใน สามเณราลัย โดย ได้รับอนุญาตจากพระเจ้าแผ่นดิน เขาทั้งหลายได้กลับพบสามเณราลัย "ในสภาพถูกกวาดเอาเครื่ องเรื อน ไปเสี ยจนหมดเกลีย้ ง" คงพบแต่ของไม่กี่ชิ้น แปลว่า พอจะเรี ยกได้วา่ เขาเป็ นคนสิ้ นเนื้อประดาตัว ตอนปลายเดือนมิถุนายนหรื อตอนต้นเดือนกรกฎาคมปี เดียวกัน ได้มีพิธีอภิเษก พระสังฆราชเปเรส เป็ น พระสังฆราช ต่อมาท่านเดินทางไปประเทศโคชินจีน ซึ่ งท่านได้รับแต่งตั้งเป็ นประมุขมิสซังในปี ค.ศ. 1688 ตามที่ กล่าวมาแล้ว

k

A l a

iv h rc

H

ic r o ist

A s e

e c io d rch

o e s

ko g n a fB


114  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

อย่างไรก็ตาม พระเพทราชาทรงพระราชทานอภัยให้เพียงครึ่ งๆ กลางๆ กล่าวคือ ประมุขมิสซังและ มิชชันนารี ได้รับความเป็ นอิสระแล้ว แต่ชาวฝรั่งเศสยังอยูใ่ นคุก พระสังฆราชลาโน เฝ้ าวอนขอพระองค์โปรด พระราชทานอภัยโทษ แต่พระองค์ทรงปฏิเสธ พระสังฆราชรุ กหนัก รบเร้าจนเอาชนะพระพิโรธของพระเจ้าแผ่นดิน ได้ ที่สุด ชาวฝรั่งเศสทุกคนถูกปล่อยออกจากคุกในเดือนกันยายน ค.ศ. 1691 มีผทู้ ี่ลม้ ตายไปประมาณ 12 คน เพราะทนความทุกข์แสนลาเค็ญไม่ไหว พระสังฆราชพยายามช่วยให้เขาลืมเวลาที่ได้ลาบากมา ขณะนั้นเขาไม่มี ทรัพย์สิน ไม่มีที่อยู่ และเกือบไม่มีเสื้ อผ้าเลย ท่านรับคนเหล่านั้นมาอยูใ่ นสามเณราลัย ให้อาหาร ให้เสื้ อผ้า และ เมื่อใช้ทุนทรัพย์หมดแล้ว ท่านก็ขอยืม และถึงกับขอทานจากผูท้ ี่เบียดเบียนท่านคือ พระเพทราชาเอง ในที่สุด พระองค์ก็พระทัยอ่อน ทรงส่ งเงินมาให้ท่าน 500 เอกู ผูม้ ีเคราะห์กรรม เหล่านั้นส่ วนใหญ่ได้ทะยอยกันเดินทาง กลับประเทศฝรั่งเศส สองหรื อสามคนเท่านั้นตกค้างอยูท่ ี่กรุ งศรี อยุธยา แต่ก็ยงั ต้องขอและได้รับสิ่ งที่ตอ้ งการจาก เมตตาจิตของมิชชันนารี

ok k g ข้ อสรุป n aกรุงสยาม ตั้งแต่ B นี่แหละคือผลสุ ดท้ายอันน่าเศร้าสลด ที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างกรุ งฝรั่งเศสกั บ oงfว่าจะเป็ นคุณประโยชน์ต่อ ค.ศ. 1687 ถึง ค.ศ. 1691 เป็ นความสัมพันธ์ที่บรรดาพระสังฆราชมิชชันนารีe หวั s พระศาสนาคาทอลิก ส่ วนนักการเมืองก็หวังว่าจะเพิ่มอิทธิพลให้แก่ประเทศของเรา e iocย ซึ่งเราเคยเชื่อว่าเกิดจากอุปนิสัยของชาว พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 นั้น ทรงมีท้ งั ลักษณะดีและลักd ษณะเสี นสูh งด้วย ทรงรู้สึกทะนงและลืมพระองค์ เมื่อทรงเห็นว่า ฝรั่งเศส และลักษณะทั้งดีและเสี ยนั้น พระองค์ทรงมีถึงrขั้c Aปยุโรป เกียรติทางทหารกลับเฟื่ องฟูข้ึน และฐานะของ พระราชอาณาจักรของพระองค์ขยายกว้างออกไปในทวี s พระองค์สูงเด่นกว่าฐานะของพระราชาธิiรv าชอืe ่นๆ แต่พระองค์ไม่โปรดการงานที่ตอ้ งทรงใช้เวลาควบคุมดูเป็ น h เวลานานๆ และต้องทรงพากเพีrยรc คอยให้เจริ ญงอกงาม พระองค์ทรงทาสิ่ งใดก็ปรารถนาทาอย่างใหญ่โตและ A รวดเร็ ว l a้น การทาอย่างใหญ่โตนั้น ทาได้ แต่การทาอย่างรวดเร็วสิลาบาก การเดินทางมายังอินโดจีน c อันว่าในสมั ย นั i r o t ต้องใช้เiวลา 5 6 เดือน การทาสงครามทางทะเลกับประเทศฮอลันดาหรื อกับประเทศอังกฤษ ทาให้กองทัพเรื อของ s H

เราหยุดชะงัก และบางครั้งก็ทาลายให้พินาศไป แม้มีอุปสรรคดังกล่าว ถ้าเราอยากลองเสี่ ยงงานในดินแดนห่างไกล เหล่านี้ ซึ่งอาจได้ผลอย่างมหาศาล ทั้งสามด้านคือ ด้านศาสนา ด้านการเมือง และการค้า ก็ตอ้ งมอบงานให้กบั หัว หน้าที่มีความเฉลียวฉลาดและจัดเจนมากๆ ทั้งมีความรู้เกี่ยวกับภาคตะวันออกไกลอย่างกว้างขวางด้วย ข้อพิสูจน์ในเรื่ องนี้ปรากฏให้เห็นในการส่ งทหารมา และเกิดผลร้ายในครั้งนี้ เพราะเซเบเรต์ ผูจ้ ดั การบริ ษทั อินเดียตะวันออก ที่คุน้ เคยกับกิจการฝ่ ายตะวันออกนั้น ทางานได้ผล ส่ วนเพื่อนที่มาด้วยกันอีกสองคน16 ที่ไม่ได้ เตรี ยมตัวและมาพบกับสถานการณ์ที่เป็ นเรื่ องใหม่สาหรับเขานั้น ก็ตอ้ งพบกับความล้มเหลว งานของธรรมทูตได้สูญเสี ยความสง่าราศีไปบ้าง หลายคนคงจะเถียงว่างานของเขาได้รับผลดีทางความ มัน่ คง อย่างน้อยเมื่อจะพิจารณาเหตุการณ์ต่างๆ ในบางแง่บางมุม

16หมายถึง ลา ลูแบรฺ กับนายพลแดฟารฌฺ (ผูแ้ ปล)


ประวัติมิสซังกรุ งสยาม 115

ความจริ งพวกมิชชันนารี ได้รับการต้อนรับดีในกรุ งสยาม เขาเรี ยกเพื่อนร่ วมชาติมาและทาให้อิทธิพลทาง ศาสนาทวีข้ ึนด้วยกาลังทางเรื อและทางบกของประเทศฝรั่งเศส ชาติต่างๆ ในภาคตะวันออกไกลที่ไม่ทราบถึงความ เสี ยสละของชาวคาทอลิก ทั้งไม่ทราบถึงกาลังอันลึกซึ้ง แห่งพระหรรษทานของพระเป็ นเจ้า จะสรุ ปเกี่ยวกับเรื่ อง นี้ได้อย่างไร ? ชะรอยเขาจะสรุ ปว่า พวกมิชชันนารี มาในกรุ งสยาม เพื่อเขาเองจะได้รับเกียรติ และประเทศของเขา จะได้รับผลประโยชน์ ชะรอยเขาจะสรุ ปว่า ก่อนอื่นทั้งปวง มิชชันนารี เป็ นตัวแทนทางการเมืองและการค้า แต่เอา ศาสนาบังหน้า ชาวตะวันออกนั้นไม่เคยเข้าใจ และทุกวันนี้ก็ยงั เข้าใจค่อนข้างน้อยว่า ก่อนอื่น พระสงฆ์เป็ นผูแ้ พร่ ธรรม จึงแสวงหาพระอาณาจักรของพระเป็ นเจ้า และไม่วา่ จะ ได้รับเกียรติหรื อเป็ นที่ดูหมิ่นในดินแดนต่างชาติ เขาก็ ยังอยูต่ ่อไป เพราะความรักต้องมาก่อนการค้า การประกาศศาสนาต้องมาก่อนการเมือง และเรื่ องวิญญาณต้องมา ก่อนเรื่ องบ้านเกิดเมืองนอน ทหารฝรั่งเศสได้ออกจากกรุ งสยามไป ปล่อยให้พวกมิชชันนารี รับหน้าความโกรธเคืองและความเจ็บแค้น ทุกอย่างทุกประการของประชาชน โดยไม่มีอะไรป้ องกันตัว พวกมิชชันนารี มิได้ตามเขาไป และก็มิได้เรี ยกเขา ให้มาแก้แค้นที่ถูกสบประมาทและต้องทนทุกข์ทรมาน เขาคงอยูต่ ่อไปในกรุ งสยาม ถูกรังแกเพราะเรื่ องของชาว ฝรั่งเศส แต่ก็สู้ทนเงียบๆ ยังสอนคาสอน แก่คนต่าต้อย ยังเป็ นแบบฉบับดีแก่ผใู้ หญ่ผโู้ ต ยังบรรเทาความลาเค็ญของ ผูท้ ุกข์ยากลาบากต่อไป สาหรับผูท้ ี่ต่อไปนี้ยงั จะเรี ยกพวกมิชชันนารี วา่ เป็ นคนต่างชาติและตัวแทนคนต่างชาติน้ นั ซึ่งเรื่ องนี้ก็ยงั คงจะมีอยูบ่ ่อยๆ เพราะเรื่ องความจริ งจะมีชยั นั้น เป็ นเรื่ องไม่ใช่ง่าย มิชชันนารี ก็จะสามารถพิสูจน์ได้ ด้วยพฤติกรรมว่า อะไรเป็ นแรงบันดาลใจที่แท้จริ งในชีวติ ของเขา อีกทั้งแสดงให้เห็นว่ากิจกรรมของเขากับความ ประพฤติของพ่อค้าและนักการเมืองนั้นต่างกันอย่างไร

k

o e s

ko g n a fB

e c io d "ขณะที่กรุ งสยาม พวกมิชชันนารี กาํ ลังทุกข์ เวทนาอย่ hางแสนสาหัสนั้น ที่เมืองแวรฺ ซาย เขากลับโยน c r ความผิดที่นายพลแดฟารฌฺ​ฺ กับ ลา ลูแบรฺ​ฺ A ทํา ให้ พวกมิชชันนารี เพราะบ่อยเหลือเกินที่มนุษย์พูดหา s เหตุผลกันเช่ นนี ้ ในภาคตะวันออกนัe้น มีคนกล่ าวหาพวกมิชชันนารี เป็ นตัวแทนประเทศฝรั่ งเศส ส่ วนใน v ประเทศฝรั่ งเศสเล่ า มีคนสัcงh สัยiว่ ามิชชันนารี มีความรั กชาติบ้านเมืองหรื อไม่ นั่นเป็ น หิ นโสโครกที่ r เกิดขึน้ บ่ อยๆ ในชี วA ิตของผู้ประกาศพระวรสาร เป็ นหิ นโสโครกที่หลีกได้ ยากกว่ าโขดหิ นตามชายฝั่ ง ใน l aร้ายเสียอีก ท่ ามกลางพายุ c i r 20 ปี พวกมิชชันนารี ได้พยายามดําเนินการให้ กรุงฝรั่งเศสกับกรุงสยามมีความสัมพันธ์ กัน ; "ตลอดเวลา o t s i H เพื่อรักษาผลประโยชน์ของสองประเทศนี้ เขาได้ ขัดขวางอิทธิพลแก่งแย่งของชาวโปรตุเกส ชาวฮอลันดา และชาวอังกฤษ ; เขาได้ ทาํ หน้ าที่เป็ นล่ าม และบอกเรื่ องราวต่ างๆ ที่ต้องการทราบ จะติเตียนพวก มิชชันนารี ในเรื่ องอะไรได้ ? เวลาแพ้ ประมุขของเขาเป็ นคนเดียวที่รักษาคําพูด กู้เกียรติของเพื่อนร่ วมชาติ ไว้ ด้วยการปฏิ บัติเยี่ยงวีรบุรุษ แล้ วเดี๋ยวนีจ้ ะมาให้ เขาเป็ นผู้รับผิดชอบในความผิดของตัวแทน ที่รัฐบาล กลางเลือกเอาคนไม่ เหมาะสม เราไม่ เข้ าใจจริ งๆ ว่ า ทําไมมนุษย์ ซึ่งรู้ จักคิดพิจารณา จึงลงความเห็นเป็ น อย่ างนี ้ "เขายังตําหนิพวกมิชชันนารี ด้วยว่ า พวกคริ สตังของมิชชันนารี ไม่ ได้ ช่วยชาวฝรั่ งเศสสู้รบกับเพื่อนร่ วมชาติ เดียวกัน แต่ เขามีสิทธิ์ อะไรที่ จะประพฤติเช่ นนั้นได้ ?


116  ประวัติมิสซังกรุงสยาม

"เมื่อเขามาเป็ นคริ สตัง เขาได้ สูญเสี ยสัญชาติชาวสยาม หรื อความรั กประเทศชาติของเขาไป แล้ วกระนั้น หรื อ ? ถ้ าพระเจ้ าแผ่ นดินองค์ ใหม่ ทรงเบียดเบียนศาสนาคาทอลิกอย่ างร้ ายแรงเป็ นเวลานานปี มาแล้ ว ถ้ า หากว่ าประเทศฝรั่ งเศสได้ ทาํ สนธิ สัญญาและมีอาํ นาจเหนือกรุ งสยามละก็ ก็อาจจะถามเช่ นนีไ้ ด้ แต่ การณ์ มิได้ เป็ นดังที่กล่ าวเลย พวกมิชชันนารี จึงถือตามหน้ าที่และความยุติธรรมอย่ าง เคร่ งครั ด คือ ไม่ อ่อนแอ และไม่ โอ้ อวด ได้ แสดงตนเป็ นผู้แพร่ ธรรมที่แท้ จริ ง โดยให้ เรื่ องของพระเป็ นเจ้ าต้ องมาก่ อนเรื่ องของ ประเทศฝรั่ งเศส ได้ แสดงตนเป็ นพระสงฆ์ ที่แท้ จริ ง โดยเป็ นแบบฉบับสอนคริ สตังของเขาให้ เคารพและรั ก ประเทศของเขา ได้ แสดงตนเป็ นผู้รักปิ ตุภูมิอย่ างแท้ จริ ง โดยนําสติปัญญาและความคิดจิตใจของเขามารั บ ใช้ รัฐบาลและผู้แทนรั ฐบาลของเขา" ข้อความสี่ หา้ ตอนข้างบนนี้เราเขียนมา ไม่ชา้ ก็จะได้ 30 ปี แล้ว เราเขียนตั้งแต่เมื่อสรุ ปย่อเรื่ องราวต่างๆ เรื่ อง เดียวกันในหนังสื อ "ประวัติทั่วไปแห่ งคณะมิสซังต่ างประเทศ" บัดนี้ หลังจากที่ได้ศึกษาเอกสารต่างๆ และคาอธิบาย ลึกซึ้ งยิง่ ขึ้น เราไม่พบถ้อยคาใดจะต้องเปลี่ยน ข้อความ ข้างต้นนี้แสดงความคิดของเราทั้งหมด และเราเชื่อว่ายัง แสดงความจริ งด้วย

k

A l a

iv h rc

H

ic r o ist

A s e

e c io d rch

o e s

ko g n a fB


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.