I
นักบุญอันตนแห่งปาดัว นักบุญแห่งอัศจรรย์ โดย พ่อสุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์
นักบุญอัน ตนแห่งปาดัว มีชื่ อ เสี ยงอย่างมาก ในเรื่อ งอัศจรรย์ต่า งๆ ที่เ กิดขึ้ น คริสตชนทั้งหลายต่างพากัน ไปขออัศจรรย์จากท่านอยู่เสมอ ใครที่เ คยไปแสวงบุญที่ มหาวิหารนักบุญอันตนที่เมืองปาดัว (Padova) คงต้องตื่นเต้นที่ได้เห็นคาขอบคุณต่อท่าน นักบุญจานวนมากมายสาหรับอัศจรรย์ที่ตนได้รับ นอกจากนี้ ยังได้สวดภาวนาต่อ หน้า หลุมศพของท่านด้วยตนเอง เพราะเหตุนี้ พ่อจึงขอแนะนาให้รู้จักกับนักบุญอันตน และ มหาวิหารของท่าน นักบุญอันตน เป็นชาวโปรตุเกส เกิดที่เมืองลิสบอน เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 1195 เดิ ม ชื่ อ Fernando de Boullion จากครอบครั ว ขุ น นางซึ่ ง มาจากสงครามครู เ สด (Crusade) อายุเพียง 15 ปี สมัครเป็นโนวิสในคณะออกัสติเนียน ที่อาราม San Vincenzo ที่เมือง Coimbra ปี ค.ศ. 1219 บวชเป็นพระสงฆ์เมื่ออายุ 24 ปี ปี ค.ศ. 1220 มรณสักขี 5 ท่าน คณะฟรังซิสกัน ซึ่งถูกตัดศีรษะที่ Morocco ถูกนามาที่ เมือง Coimbra เป็นแรงดลบันดาลใจให้ท่านต้องการเป็นมรณสักขีในการ ประกาศพระวรสาร และด้วยการอนุญาตของเจ้าคณะออกัสติเนียน และ เจ้าคณะฟรังซิสกัน ท่านได้เข้าเป็นสมาชิก “คณะฟรังซิสกัน” ได้รับชื่อว่า “อันโตนิโอ” (Antonio) และสมัครเป็นมิชชันนารีในอัฟริกา แต่ท่านเป็น มาเลเรียระหว่างเดินทาง จึงถูกส่งกลับระหว่างการสมัชชาคณะฟรังซิสกัน ที่เมือง Assisi วันที่ 30 พฤษภาคม 1221 ท่านได้รับหน้าที่อภิบาลสมาชิก คณะที่เป็นฆราวาสที่เมือง Montepaolo ที่นี่เอง ท่านได้มีโอกาสเทศน์ใน ระหว่างพิธีบวชพระสงฆ์ โดยไม่มีการเตรียมตัวมาก่อนและเทศน์ได้อย่าง อัศจรรย์ ท่านได้รับมอบหมายจากนักบุญฟรังซิส ให้ท่านเป็นผู้เทศน์สอน ของคณะและเป็นอาจารย์เทววิทยา ท่านได้ประจาอยู่หลายแห่ง ในอิตาลี และฝรั่งเศส เป็นนักเทศน์ที่มีชื่อเสียงมาก ปี 1223 ท่านก่อตั้งสานักเทววิ ยาเพื่ อ สอนสมาชิก คณะ ซึ่ ง ต่อ มาส านัก นี้ ได้ ก ลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ มหาวิ ทยาลัย โบโลญา ในระหว่ างนี้เ องนั ก บุญ ฟรัง ซิ สแห่ ง อัส ซีซีไ ด้ เสียชีวิต 3 ตุลาคม 1226 และได้ประจักษ์มาสนทนากับท่านด้วย ปี ค.ศ. 1227 เจ้าคณะแขวงอิตาลีภาคเหนือ แต่ขอลาออกจากตาแหน่งนี้และกลับไป ประจาที่อารามที่ท่านก่อตั้งขึ้นที่ปาดัว ปี ค.ศ. 1228 รับเชิญจากพระสัน ตะปาปา เกรกอรี่ ที่ 9 ให้เทศน์ในเทศกาลมหาพรต ผู้ฟังเทศน์ในสันตะสานักมาจากประเทศต่าง ๆ และต่างก็ได้ยินบทเทศน์ เป็นภาษาของตนเอง และพระกุมารเยซูได้ประจักษ์มาหาท่านด้วย พระ
สันตะปาปาตั้งฉายาให้ท่านว่า หีบพระสัญญา (Ark of the Covenant) ที่ฝัง ศพปัจจุบันของท่านในมหาวิหารจึงถูกเรียกว่า The Ark 13 มิถุน ายน 1231 ป่ว ยหนัก และขอกลับมาที่ Padova แต่ท่านมาไม่ถึ ง เพราะเสียชีวิตในอารามคณะ Clarisse ที่ Convent dell’ Arcella ใกล้ ๆ เมือง Padova ด้วยอายุรวมเพียง 35 ปีเท่านั้น วัดที่ท่านเคยประจาที่เมือง Padova ได้แก่ Convento di Santa Maria Mater Domini ดาเนินเรื่องขอศพของท่าน แต่ Convent dell’ Arcella ไม่ยอม ในที่สุด เจ้าคณะฟรัง ซิสกันสั่งให้ฝัง ท่านที่ Santa Maria Mater Domini ปัจจุบัน วัดนี้ได้กลายเป็น วัดน้อยที่อยู่ ภายในมหาวิหารนักบุญอันตน ตรงแท่น “แม่พระดา” ปี ค.ศ. 1232 พระสันตะปาปา เกรกอรี่ ที่ 9 ประกาศให้ท่านเป็น “นักบุญ” เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 1232 นั่ น คื อ 1 ปี หลั ง จากความตาย (สมัยนั้ น ขบวนการ แต่งตั้งนักบุญแตกต่างจากปัจจุบันมาก) ปี ค.ศ. 1263 ย้ายศพของท่านจากที่เดิมมาอยู่ก ลางมหาวิหาร ในการย้ายครั้งนี้ มีการ ตรวจศพของท่าน นักบุญโบนาแวนตูราได้พบว่า ลิ้นของท่านไม่เน่าเปื่อย จึงแยกมาเก็บรักษาไว้ (ชมได้ที่ Treasury Chapel ภายในมหาวิหาร) ปี ค.ศ. 1946 พระสันตะปาปา ปีโอ ที่ 12 ประกาศให้ท่านเป็น “นักปราชญ์ของพระ ศาสนจักร”
อัศจรรย์ต่าง ๆ ของนักบุญอันตน
มีผู้รวบรวมเรื่องราวอัศจรรย์ต่าง ๆ ของท่าน และพิมพ์เป็นหนังสือ มีผู้ศรัทธาใน ท่านมากมาย มิใช่แต่เพียงอัศจรรย์ในระหว่างที่ท่านมีชีวิตอยู่ แต่รวมถึงอัศจรรย์ที่เกิดขึ้น หลังจากความตาย จนกระทั่งปัจจุบัน แม้เวลาจะล่วงเลยมานานถึง 800 ปีแล้วก็ตาม - นักบุญอันตน เป็นองค์อุปถัมภ์ของผู้อดอยาก ผู้ที่ทาสิ่งของหาย และผู้ยากจน - ท่านเคยทาหนังสือสวด Breviary หายไป และท่านก็ได้พบโดยอัศจรรย์ เป็นที่มาของ องค์อุปถัมภ์ผู้ที่ทาของหาย - ท่านเคยไล่ผี ทานายเหตุการณ์ รักษาโรคต่าง ๆ ผู้ประสบภัยทางเท้า ขา เพราะท่านเคย ต่อขาให้ชายคนหนึ่ง ซึ่งเสียใจที่เตะแม่ตนเอง เขาตัดขาทิ้ง แต่ท่านนักบุญต่อขาให้ ผู้ ที่เป็นโรคหัวใจ เทศน์ให้ปลาฟัง เพราะพวกเฮเรติ๊กที่เมือง Rimini ไม่ยอมฟังท่าน ท่าน สั่ง ให้ล าคุ กเข่ า ต่อ หน้ าศี ล มหาสนิ ท มี ค นเห็ น ท่ า นอยู่ ใ นสถานที่ 2 แห่ ง ในเวลา เดียวกัน เห็นท่านอุ้มพระกุมารเยซู ฯลฯ อีกมากมาย
มหาวิหารนักบุญอันตน เป็นสมบัติของนครรัฐวาติกัน ในรูปแบบ Extra Territory
2
มหาวิหารนี้สร้างขึ้นตั้งแต่ท่านได้รับประกาศเป็นนักบุญ ใช้ระยะเวลาก่อสร้างและ ต่อเติมเรื่อยมา มีวัดเล็กวัดน้อยภายในมากมาย พ่อขอแนะนาผู้แสวงบุญเยี่ยมชมส่วนที่ สาคัญ ๆ ของมหาวิหาร ดังต่อไปนี้ : 1. วัดน้อยหลุมศพของนักบุญอันตน ที่นี่ เราจะเห็นเครื่องหมายแห่งการขอบคุณสาหรับอัศจรรย์ที่ได้รับมากมาย ผู้ แสวงบุญจะเดินสวดและราพึง พร้อมทั้งลูบหลุมศพของท่าน มาถึงที่นี่ทั้งที ก็ควรที่ จะวอนขออะไรบ้างนะครับ สถานที่นี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า Ark แต่เดิม ศพท่านตั้งอยู่ที่วัดน้อย Santa Maria Mater Domini ปัจจุบัน เป็น วัดน้อย “แม่พระดา” ภายในมหาวิหารนี้เอง ค.ศ. 1231-1263 อยู่ที่วัดน้อย Santa Maria Mater Domini ค.ศ. 1263-1310 อยู่กลางมหาวิหาร ใต้โดมบริเวณที่นักบวชสวดทาวัตร (Presbytery) ค.ศ. 1310-1350 ไม่ระบุว่าศพของท่านอยู่ที่ใด ค.ศ. 1350-ปัจจุบัน บริเวณด้านหลังของพระแท่นนี้ มีการแสดงให้เห็นถึงชีวิตและอัศจรรย์ต่าง ๆ ของ ท่าน เช่น ท่านรับเสื้อเข้าคณะฟรังซิสกัน, สามีขี้อิจฉา, เด็กหนุ่มกลับคืนชีพ, เด็กสาว กลับคืนชีพ และ เด็กน้อยคืนชีพ รวมถึงหลานชายของท่านด้วย, ต่อขาให้หนุ่มที่ตัด ขาของตน เพราะเสียใจที่ไปเตะแม่ตัวเอง, เด็กเกิดใหม่พูดได้ 2. วัดน้อยขุมทรัพย์ (Treasury Chapel) วัดน้อยนี้ตั้งอยู่ที่หลังพระแท่นกลาง เกือบสุดปลายมหาวิหาร ที่นี่เอง ผู้ แสวงบุญ ทุกคนต้องการจะเห็น ได้แก่ ลิ้นที่ไม่เน่าของท่านนักบุญ (อย่าคาดหวังว่าจะพบลิ้นสี แดงนะครับ แต่เ ป็น ลิ้น ที่ไม่เ น่าเปื่อ ยไปอย่างที่ควรจะเป็น ), รัดประคดและตรา ประทับ ที่เคยอยู่ในโลงศพของท่าน, ผ้าคลุมที่ท่านเองเคยใช้ (Tunic), กรามของท่าน รวมทั้งแขนซ้ายและพระธาตุอื่น ๆ อีก อย่าลืมสวดภาวนาเมื่อมาถึงที่นี่ นักบุญ บอ นาแวนตูราเมื่อพบลิ้นของท่านไม่เน่าใน ปี ค.ศ. 1263 นั้น ท่านได้ภาวนาว่า: “โอ ลิ้นที่ได้รับพระพร เจ้าได้สรรเสริญพระเจ้า และนาพาคนอื่น ๆ ทั้งหลายให้ สรรเสริญพระองค์ พวกเราเข้าใจแจ่มแจ้งแล้วว่า เจ้าเป็นผู้มีบุญต่อเฉพาะพระพักตร์ พระเจ้าได้อย่างไร” 3. วัดน้อยแม่พระดา (Chapel of the Black Madonna) เคยเป็นวัด Santa Maria Mater Domini ท่านเคยสวดและประจาที่นี่ ศพของท่าน เคยอยู่ที่นี่จนถึงปี ค.ศ. 1263 ก่อนย้ายไปกลางมหาวิหาร ที่นี่เอง ปัจจุบัน เป็นที่ฝัง ศพของบุญราศี Luca Belludi เพื่อนและผู้สืบตาแหน่งของนักบุญอันตน นักเรียน นักศึกษามักจะมาภาวนาที่นี่ เพื่อวอนขอสาหรับงานยาก ๆ ที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้ง
3
สาหรับการเตรียมสอบและการสอบ เรายังสามารถเห็นโลงศพที่ว่างเปล่าของท่าน นักบุญอันตนด้วย 4. วัดแห่งพระพร (Chapel of Benedictions) ผู้ที่ซื้อรูปพระ สายประคา วัตถุต่าง ๆ ที่ต้อ งการให้เสก ก็จ ะมาที่วัดน้อยแห่ง นี้ เชื่อกันว่า ท่านนักบุญอันตนเป็นผู้เสกให้เอง เราจะพบภาพที่ท่านนักบุญเทศน์ให้ ปลาฟังที่เมือง Riminiมหาวิหารใหญ่มาก มีอีกหลายแห่งภายในที่น่าชม แต่เสนอให้ สวดภาวนาภายในนี้ให้มาก ๆ เพราะคาภาวนาของเราจะได้รับการตอบสนองเสมอ ขอถวายมิสซาที่นี่ได้ที่ห้องซาคริสตี มิสซาแรกของการจาริกแสวงบุญ ปีแห่ง ความเชื่อ ขอแนะนาสาหรับการรับพระคุณ การุณย์ครบบริบูรณ์ ดังนี้ครับ 1. ตั้งใจเวลานี้เลยว่า เราขอรับพระคุณการุณย์ครบบริบูรณ์วันนี้ เพื่อ ก. รับการยกโทษของบาปทั้งสิ้นของตัวเราเองหรือ ข. รับการยกโทษบาปทั้งสิ้น ของ ผู้ที่ตายไปแล้ว (วิญญาณหนึ่งดวงในไฟชาระ นั่นเอง) 2. เยี่ยมชมและราพึงถึงชีวิตของท่านนักบุญอันตน ในมหาวิหารและที่หลุมศพของท่าน 3. สวดภาวนาตามจุดประสงค์ของสมเด็จพระสันตะปาปา ก. บทข้าพเจ้าเชื่อถึงพระเจ้า ข. บทข้าแต่พระบิดา ค. บทวันทามารีย์ ง. พระสิริรุ่งโรจน์ 4. แก้บาป (กรณีที่มีบาป) และรับศีลมหาสนิทอย่ง ดี ภายใน 7 วัน (แนะน าให้แก้บาป ก่อนเดินทาง) และรับศีลมหาสนิทได้ตลอดการเดินทางทุกครั้งที่มีมิสซา ใครต้องการ แก้บาปเป็นภาษาอังกฤษ ก็เตรียมหนังสือ เตรียมรับศีลอภัยบาปที่มีภาษาอังกฤษไปด้วย)
II
Abbazia และ Basilica Santa Giustina
ไม่ไกลจากมหาวิหารนักบุญอันตนมากนัก มีวัดที่น่าสนใจมากสาหรับคาทอลิก อีกวัดหนึ่งครับ แปลให้ฟังก่อนนะครับ แปลว่า อารามฤาษีและมหาวิหารนักบุญจุสตินา ในอิตาลีและในยุโรป เราจะพบกับคาว่าBasilica หรือมหาวิหารมากมาย มหาวิหารมีทั้ง แบบ major และแบบ minor จะอธิบายตอนนี้ก็จะยาวไป มหาวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นมา จากซากปรัก หักพั ง ของวิห ารเทพเจ้า เป็น วิ หารที่เ ก่ าแก่ ที่สุด และมีค วามสาคั ญทาง สถาปัตยกรรมมากที่สุดของเมือง ปาโดวา สร้างขึ้นราวๆ ศต.ที่ 5 เหนือหลุมศพของมรณ สักขี Giustina ชาวเมืองนี้เองที่ถูกฆ่าตาย ปี 304 สมัยจักรพรรดิ Massimiliano (ปีต่อมา จัก รพรรดิ ผู้นี้พ่ ายแพ้ สงครามให้แก่ จัก รพรรดิ Constantino ซึ่ ง ชนะสงครามนี้ ด้ว ย 4
อัศจรรย์แห่งไม้กางเขน ในปี 305 ทาให้ยุติการเบียดเบียนศาสนาคริสต์ และให้คริสต์เป็น ศาสนาประจาชาติโรมัน) บิดาของ Giustina ชื่อ Vitaliano เป็นข้าราชการของจักรพรรดิ ได้กลับใจมาเป็น คริ ส ต์ โ ดยนัก บุ ญ Prosdocimo เป็ น ผู้ เ ริ่ม สร้ า งส่ ว นส าคั ญ ของวิ ห าร และต่ อ มาได้ กลายเป็นวิหารที่เป็นศูนย์กลางของเมืองๆนี้ ต่อมาวิหารนี้ ได้สร้างอารามเบเนดิกติน ซึ่ง ทาให้วิหารนี้มีความเจริญก้าวหน้า และเต็ม ไปด้วยพระธาตุของบรรดานัก บุญต่างๆ วิหารนี้ได้รับการบูรณะหลังจากแผ่นดินไหวในปี 1117 เรื่อยมาจนเป็นสถานที่เห็นใน ปัจ จุบัน นี้ สาเร็จ ลงในปี 1579 โดยสถาปนิก ที่มีชื่อ เสียงหลายคนโดยเฉพาะ Andrea Moroni และ Andrea da Valle การตกแต่ง ด้านหน้าของมหาวิหารนี้ใช้เวลานานมาก เพราะใช้หินอ่อนสีแดง ของเวโรนา ตกแต่งหลัง คาด้านหน้าอย่างเดียวถึง 85 ปี เพราะใช้เงินและวัสดุที่มีราคา แพงจานวนมาก ที่เมืองนี้ เวลาที่คิดถึงงานที่ทาแล้วไม่รู้จักเสร็จสักที เขาจะมีสานวนพูด ว่า longo come a fabrica de Santa Giustina มหาวิหารนี้ มีโดมทั้งหมด 8 โดมด้วยกัน และหอระฆังเก่าแก่ที่มีตั้งแต่สมัยกลาง ยาวทั้งหมด 122 เมตร แสงสว่างเข้าทางกระจกที่อยู่บโดมใหญ่เ ป็นอันดับที่ 9 ของโลก ภายในมี Pozzo dei Martiri (1566) มีพระธาตุของนักบุญที่เ ป็นชาวปาโดวา มากมาย ทางด้านขวา มีพระธาตุนักบุญลูกา และวัดน้อยสาหรับ น. Prosdocimo หลุมฝัง ศพของ สาวชาวเวนิช หญิงคนแรกที่จบการศึกษาสูงสุดแบบชาย ในปี 1678 ชื่อ Elena Lucrezia Cornaro Piscopia เสียชีวิต ปี 1684 อายุเพียง 38 ปีเท่านั้น (ศิลาจาริกเป็นหิน อ่อนสีดา) อารามฤาษีเ บเนดิ กติน แห่ ง นี้ถู ก ปิดไปโดย จัก รพรรดิ นโปเลียน ในปี 1818 เปลี่ยนเป็น ค่ายทหารและโรงพยาบาล พวกฤาษีได้รับคืนในปี 1919 และฟื้นฟูอารามขึ้น ใหม่ ปี 1943 ภายในอารามมีศิลปะมากมาย ห้องสมุดสมัยกลาง ตู้ ชั้นวางของนโปเลียน สั่งให้ปิด และข้าวของทรัพย์สินสาคัญๆ ทางศิลปะ สูญหายไปจานวนมาก
นักบุญลูกา ผู้นิพนธ์พระวรสาร
น้อยคนนักที่จะรู้ว่าศพของนักบุญลูกาได้ถูกย้ายมาอยู่ที่นี่ ตั้งแต่ศตวรรษที่ 5 แล้ว พระสงฆ์ชาวอิตาเลียนบางองค์ก็ยังไม่ทราบมาก่อนเลย พระธาตุของนักบุญลูกา เป็น หนึ่ ง ในจ านวนไม่ กี่ ค น ที่ ไ ด้ รั บ การยื น ยั น ว่ า เป็ น ของแท้ จากการตรวจ สอบทาง วิทยาศาสตร์ตามการสืบค้นทางประวัติศาสตร์ น.ลูกา เสียชีวิตตอนแก่ ราวๆ 74-84 ปี ที่ Bitinia ราวๆ ปี 130 A.D. ห้องทดลองระบุว่า กระดูกนี้เป็นของชายอายุประมาณ 80 ปี สูง 1.65 ม. มหาวิทยาลัย Padova,Oxford และ Tucson ของ Arizona เห็นเหมือนกันว่า อยู่ ในช่วงเวลาที่ท่านนักบุญเสียชีวิต จากการตรวจสอบ DNA มหาวิทยลัย Ferrara ระบุว่า เป็นของชาวซีเรีย (เชื้อชาติของ น.ลูก า) ย้ายจาก Constantinople มาที่ Padova ในหีบ 5
ตะกั่ว ให้นับจากการเบียดเบียน สมัย Giuliano ซึ่งต้องการทาลายพระธาตุต่างๆ ลงให้ หมด ใน ศต.ที่ 4 ภายในโลงของท่าน นักวิทยาศาสตร์พบซากโครงกระดูกของงูอยู่สิบ กว่าโครงและพบว่าเป็นงูที่มีอยู่เฉพาะในเขตเมืองปาโดวาเท่านั้นด้วย แสดงว่าศพของ ท่านได้ถูกย้ายมาอยู่ที่เ มือ งนี้แล้ว ตั้ง แต่ศตวรรษที่ห้า มีหนังสือ รับรองจากจัก รพรรดิ ชาร์ลที่ 4 ที่มอบกะโหลกศีรษะให้แก่ อาสนวิหารแห่งปราก ซึ่งเก็บรักษาไว้จนถึง ศต.ที่ 14 และพระผู้ใหญ่ของอาสนวิหารรับรู้ถึงกระดูกที่อยู่ที่ปาโดวา จึงสั่งกระโหลกมาให้ ด้วย และรอยต่อของกระโหลกกับกระดูกๆ อื่นๆ นั้น เข้ากันพอดี ทั้งหมดนี้มีหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับการบันทึกไว้
III
เวนิซ, Venice, Venezia
มาถึงแล้วครับ เมืองเวนิซ ถ้าจะเรียกให้ถูกน่าจะเรียกว่า นครเวนิซมากกว่า เพราะ เป็ น เมื อ งที่ มี อิ ท ธิ พ ลทางการเมื อ ง การค้ า เศรษฐกิ จ ทางวั ฒ นธรรม การก่ อ สร้ า ง วรรณกรรม และสาหรับ พวกเราก็คือ ทางศาสนาด้วย นับเป็นรัฐที่ได้รับเกียรติพิเศษจาก พระศาสนจักรคาทอลิกเสมอมา พระสังฆราชแห่งเวนิซ จะได้รับเกียรติเป็นพระคาร์ดนิ ลั เสมอมา รู้จักกันในตาแหน่ง Patriarch และหลายๆ องค์ที่เ รารู้จักกันดีก็ได้เป็น พระ สันตะปาปาและนักบุญด้วย เช่น พระสันตะปาปา ปีโอ ที่ 10, พระสันตะปาปา ยอห์น ที่ 23 ซึ่งเวลานี้เป็นบุญราศีแล้ว เป็นต้น เมื่อเราถึงมหาวิหารนักบุญ เปโตรที่ กรุงโรม เราก็ จะเข้าไปคานับและสวดภาวนาต่อหน้าหลุมฝังศพของพระองค์ด้วยครับ , Pope John Paul I ก็มาจากเวนิซเหมือนกันและกาลังได้รับการดาเนินเรื่องเป็นบุญราศีด้วย ผู้คนอยากมานครเวนิซ ก็เพราะเหตุผลหลายประการ เรารู้จัก เวนิซ เพราะการ ก่อ สร้ างบ้านเมือ งบนน้าอย่า งอัศจรรย์ คูคลองที่มีม ากมาย พร้อ มเรือ กอนโดลา ที่ มี ชื่อเสียงของความโรแมนติก อย่าลืมว่า เมืองนี้ เป็นเมืองที่กล่าวขวัญถึงนักรักก้องโลก อย่าง คาสโนวา ผลิตผลของงานกระจกแบบ มูราโน การเป่าแก้ว ที่เป็นเอกลักษณ์ของเว นิซ รวมไปถึงหน้ากากรูปแบบต่างๆ ซึ่งในสมัยก่อน โดยเฉพาะในยุคกลาง พวกขุนนาง เจ้าครองนครต่างชอบจัดงานเลี้ยงเต้นราแบบใส่หน้ากาก นี่แหละรวมไปถึงพระสังฆราช คาร์ดินัล ในสมัยยุคเสื่อมของศาสนาด้วย (ที่เสื่อมก็เพราะมีความร่ารวยมากไป จนลืม ฐานะทางศาสนา ไปหนทางของโลกมากไปนั้น) แต่พวกเรามาที่นครแห่งนี้มีจุดมุ่งหมาย ที่จะมาสวดภาวนาต่อหน้าหลุมศพของนักบุญ 2 องค์ครับ คือ 1. นักบุญมาร์โก ผู้นิพนธ์พระวรสาร ต้นฉบับแห่งความเชื่ออีกผู้หนึ่ง นักบุญองค์ อุปถัมภ์เมืองเวนิซ ที่จริงเราจะเห็นรูปของนักบุญ Theodore ที่เมืองเวนิซนี้ เพราะเป็น นักบุญองค์อุปถัมภ์ของเวนิ ซองค์แรก เป็นนักบุญ นักรบชาวกรีก เคยมีวัดน้อยมอบให้ ท่านนักบุญด้วย อยู่ข้างๆวัดนักบุญมาร์โกหลังปัจจุบันนั่นเอง ในปี 828-829 ได้มีการนา พระธาตุของท่านนักบุญมาร์โก มาที่เมืองเวนิซ จากเมือง Alexandria ในประเทศอียิปต์ 6
ชาวเมือ งและ Doge ผู้ครองนครรับมาเป็น นัก บุญองค์อุปถัม ภ์ของเมือ ง เพราะเป็น นักบุญที่ทาให้แถบเมืองเวนิซนี้กลับใจ และทาให้เมืองมีความสาคัญจนกระทั้งสามารถ เป็นอิสระจาก Byzantine ได้ วัดหลังแรกสร้างสมัย ศต.ที่ 9 หลังปัจจุบันนี้เป็นหลังที่ 2 สร้างในศต.ที่ 12 หินอ่อนและเสาหินต่างๆ ถูกนามาจาก Constantinople ตอนที่สงครามครูเสด เข้ายึดนครนี้และน าสิ่ง ต่ างๆ จากเมือ งนี้ม าที่ เวนิซมากมาย ปี 1204 ครูเ สดครั้ง ที่ 4 (ด้านหน้าของ มหาวิหารนี้) นอกจากนี้ก็มีรูปสาริดที่เรียกว่า Tetrarch เข้าใจว่าเป็นลูกๆ ของจักรพรรดิคอนแสตนติน (เดิมคิดว่าเป็นผู้แทน 4 คนที่ปกครองอาณาจักรโรมัน สมัย Diodetian) เท้าข้างหนึ่งที่หายไปจากรูปนี้ถูกพบที่เมืองคอนสแตนติโนเปิ้ ล เป็นหลักฐาน ชี้ว่ารูปนี้ ถูกนามาจากที่นั่นจริงๆ ม้า 4 ตัวและสิงโตทองบรอนซ์มีปีกและมีอาวุธ ที่จริ งสิงโตเป็นรูปสัญลักษณ์ ของนักบุญมาร์โก ถูกย้ายไป Paris สมัยนโปเลียน ในปี 1797 และ พอแต่งตั้งลูกเลี้ยงมา ครองนครนี้ แล้ว ได้ขยายวัดมาร์โกและอาคารรอบๆ จตุรัสอีกส่วนหน่ง นโปเลียนจึง ให้ย้ายม้าทั้งสี่ตัวนี้ กลับมาไว้ที่เวนิซทั้งหมด ในปี 1814 แต่ในระหว่างการขนย้ายสิงโต ทองบรอนซ์แตก ต้องซ่อมจนถึงปี 1816 ส่วนม้าทั้งสี่ตัวนั้น ปัจจุบันตั้งอยู่ในพิพิธภัณฑ์ ในมหาวิหาร ส่วนที่แสดงอยู่ด้านหน้ามหาวิหารนั้นเป็นรูปจาลอง * ที่จริงเวนิซมีที่ให้เที่ยวชมมากมาย เป็นเกาะเล็กเกาะน้อย นักท่องเที่ยวจะชอบไปเยี่ยม ชม มูราโน บูราโนและตอร์แชลโล มีวัดวาอารามอยู่แทบจะทุกแห่งหน มีประวัติศาสตร์ อันยาวนานมาก มีมนต์เสน่ห์ในหลากหลายรูปแบบ บางคนอยากจะหยุดเวลาไว้ที่นี่เลย อาหารทะเลที่นี่แพงมาก โรงแรมในสถานที่ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวแบบนี้ บอกได้เลยว่า ไปหาโรงแรมนอกเมืองแล้วเดินทางมาเที่ยวดีกว่ากันเยอะเลยครับ * ถนนที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ Rialto ถนนสินค้า การค้าขาย และเศรษฐกิจ ของเวนิซ ล้วน สร้างโดย Doge สินค้าที่ผู้คนสนใจจากเวนิซ ก็มีพวกเครื่องแก้วมูราโน สวยงามมากครับ แต่การขนย้าย อาจลาบากหน่อย เพราะแตกง่าย เนื่องจากการตกแต่งที่วิจิตรก็จะมีส่วนที่ หักง่ายมาก แล้วก็เป็น พวกหน้ากากรูปแบบต่างๆ แต่ราคาสูงมาก ที่ผ่านมาก็มีคนไทย ชอบซื้อนาฬิกาที่มีแก้วมูราโนประดับอยู่ สวยและเก๋ดี ราคาตกประมาณ 13 ถึง 15 ยูโร มี แบบและสีให้เลือกมากมาย 2. Basilica San Marco มหาวิหาร น.มาร์โก ภายในมหาวิหารมี Treasure และ Museum การตกแต่งมหาวิหารแห่งนี้ ล้วนถูก นามาจาก Constantinople จากผลของสงครามครูเสด ครั้งที่ 4 ซึ่งนาโดยชาวเวนิซ เข้ายึด กรุง Constantinople และนาสมบัติต่างๆมาที่เ วนิซ สงครามครั้ง นั้น ไปไม่ถึง แผ่น ดิน ศักดิ์สิทธิ์ แต่นาความยิ่งใหญ่มาให้เวนิซอย่างมาก 7
การออกแบบมหาวิหาร เป็นรูปกางเขนกรีก มีโดม 5 โดม อยู่บนกางเขนนั้น หมายถึง การประทับอยู่ของพระเจ้า ของมีค่ามากมาย แต่มากที่สุดคือ Pala d’Oro ที่ใส่พระธาตุนักบุญมาร์โก เป็น ฉากหลังแท่นบูชา ม้า 4 ตัว ทองบรอนซ์ นามาจาก Constantinople, Napoleon นาไป Paris และ นามาคืน หลังจากให้ลูกชายเป็นผู้ครองนคร เวลานี้อยู่ในพิพิธภัณฑ์ 4 ตัว ภายนอกเป็น รูปลาจอง เป็น ม้า 4 ตัว ประดับที่ Arch of Trajen สาหรับการเข้าชมมหาวิหาร มีนักท่องเที่ยวมาเวนิ ซจ านวนมากทุกวัน การเข้าแถวซื้อ บัตรเข้าชมภายใน จึง ใช้เ วลามากจนบางคนอาจท้อ ใจได้ ผู้ที่ต้อ งการชมจริง ๆ จึงควร วางแผนจัดการเวลาให้เหมาะสมด้วย ภายในเขา ห้ามการบรรยายใดๆ จึงเป็ นการเยี่ยมชม ส่วนตัวโดยส่วนใหญ่ 3. San Geremia และ Santa Lucia สถานีรถไฟที่มาถึงเวนิซชื่อว่าสถานี Santa Lucia ที่จ ริง แต่เ ดิม มีวัดน้อ ยนักบุญลูเชียที่นี่ และเมื่อ มีก ารสร้างสถานีร ถไฟที่นี่ จึง จาเป็นต้องรื้อวัดออกไป ตอนนั้นก็จาเป็นต้องย้ายพระธาตุอัฐิของนัก บุญลูเชียไปไว้ที่อื่น และที่นั่นก็คือ วัดนักบุญเยเรมีอา ไม่ห่างจากสถานีรถไฟมากนัก เดินถึงภายใน 5 นาที เท่านั้น - เรื่องที่น่าแปลกใจอยู่ตรงนี้ครับ นักบุญลูเชียเป็นชาวเมือง Siracusa ซึ่งอยู่ที่ เกาะ Sicilia ทางใต้ของประเทศอิตาลี เป็นมรณะสักขีที่เมืองนี้ เอง แต่ทาไมศพของท่าน จึงมาอยู่ที่เมืองเวนิซ นักบุญ Lucia เป็นชาวเมือง Siracusa, องค์อุปถัมภ์ผู้มีปัญหาเรื่องตา ชื่อเธอมาจากคาว่า Lux แปลว่า แสงสว่างครับ เธอมาจากครอบครัว ร่ารวย Eutichia และ Lucio เป็น มารดาและบิดาของเธอ Lucia มาจากจดหมายของ Paolo บุตรแห่งความสว่าง ถวายตัวแด่พระตั้ง แต่เด็กอย่าง ลับๆโดยแม้แต่แม่ ก็ไม่ทราบมาก่อนว่าจะถือความบริสุทธิ์ เธอกับแม่ที่ป่วยเป็นโรคที่รักษาไม่ได้ ไปที่ Catania เมืองที่อยู่ไม่ไกลจากเมือง ของเธอมากนัก ฉลองนักบุญอากาทา เพราะมีอัศจรรย์มากมาย เธอแนะนาแม่ให้ไปจับ หิน ศพของท่าน เพื่อ ให้หายจากโรค เธอและแม่ก ลับหลับไหลไปภายในวัดอากาทา นั้นเอง นักบุญอากาทามาเข้าฝันบอกว่า ทาไมมาขอให้รักษาแม่ ในเมื่อเธอเองก็ทาให้ หายได้ และที่สุดแม่ ของเธอก็มองเห็นได้อย่างดี เธอแนะนาให้แม่ขายทรัพย์สินทั้งหมด แจกจ่ายให้แก่คนยากจน ในสมัยของการเบียดเบียนศาสนา เธอถูกบังคับให้ถวายของแด่พระเท็จเทียม แต่เธอยอมตาย ไม่ยอมทาตามนั้นด้วยการถูกตัดศีรษะ ศพของเธอถูกฝังไว้ คาตาคอมบ์ ภายหลังการเบียดเบียนย้ายมาอยู่วัดน้อยที่สร้าง เป็นเกียรติให้แก่เธอ และที่สุดก็ได้สร้าง Basilica มีอารามด้วยที่ Siracusa ต่อมาอีกไม่ 8
นานนัก แขกอาหรั บ บุ ก ยึ ด Siracusa มี ค นน าศพเธอไปซ่ อ นไว้ ในปี 1039 กองทัพ Byzantine ไล่แขกอาหรับไปได้ จึงนาพระธาตุไปไว้ที่ Constantinople และในปี 1204 Doge ของเวนิซ หลัง จากยึดครองเมือ งคอนแสตนติโนเปิ้ลแล้วน าศพกลับมาที่ Venice พร้อมกับพระธาตุของอากาทาด้วย แรกทีเดีย วอยู่ที่ San Giorgio Maggiore มีคน มาแสวงบุญมาก จนเกิดโศกนาฎกรรมจมน้าตาย ย้ายมาอยู่ที่วัด S. Maria Annunziata มี การแห่อย่างยิ่งใหญ่ ปี 1280 และในปี 1313 มีวัด S.Lucia ตั้งอยู่ในที่ที่เป็นสถานีที่รถไฟ มาเวนิซ จนกระทั่งในปี 1860 ย้ายมาที่วัด S.Geremia เพราะต้องรื้อวัดซานตา ลูเชีย เพื่อ สร้างสถานีรถไฟ บุญราศี Pope John 23 เป็นผู้แนะนาให้ทาหน้ากากเงินสาหรับพระ ธาตุเธอด้วย เราจะเห็นที่ใบหน้าของท่านมีหน้ากากเงินสวมอยู่ เราอาจจะไม่สามารถถวายมิสซาที่มหาวิหารนักบุญมาร์โก แต่เราก็จะถวายมิสซา ที่วัดซานเยเรมีอา สวดขอท่านนักบุญลูเชีย ตัวอย่างความเชื่อของเราคริสตชน
IV
Firenze หรือ Florence
ผ่านมาถึงเมืองฟิเรนเซหรือที่รู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า ฟลอเรนซ์ ก็ต้องแวะให้สัก หน่อ ย ถ้าไม่ แวะเลยก็อ อกจะเสียดาย แต่ แวะนานไปก็ไม่ได้ เพราะเวลาบัง คับมาก เหลือเกิน หากจะชมฟลอเรนซ์ให้จุใจจริงๆ ก็ควรอยู่ที่นี่เลยอย่างน้อยก็สามวันครับ แต่ ถ้ารักศิลปะและศิลปินแบบที่เรียกว่าอยู่ในสายเลือด ก็ต้องอยู่เป็นเดือนๆละครับ ที่นี่มี พิพิธภัณฑ์และที่แสดงงานศิลปะอยู่เกือบร้อยแห่ง มีงานทางสถาปัตยกรรมอีกมากมาย พร้อมทั้งประวัติศาสตร์อัน ยาวนานของเมือ งนี้ มีสถานที่ที่น่าสนใจอยู่หลายแห่ ง จะ แนะนาเล็กน้อย อย่างน้อยรู้ไว้ใช่ว่านะครับ แห่งแรก ขอแนะนาให้รู้จักกับ Duomo ของเมืองนี้ เกือบทุกเมืองในอิตาลีจะมี Duomo เพราะคืออาสนวิหาร วัดประจาตาแหน่งสังฆราชของเมืองนั่นเอง ที่นี่เขาไม่ค่อย ชอบใช้คาว่า Cathedral หรือ Cattedrale เขาใช้คาว่า Duomo บางแห่งใช้จนเป็นชื่อของ วิหารไปเลยก็มี เช่น Duomo ที่มิลาน เป็นต้น
Duomo Santa Maria del Fiore
สาหรับวิหารแห่งนี้มีชื่อ เป็นทางการว่า อาสนวิหารพระนางมารีย์แห่งดอกไม้ Santa Maria del Fiore คงมีประวัติเกี่ยวกับที่มาของชื่อนี้ เพราะเป็นชื่อแม่พระที่เราไม่ ค่อยได้ยินและรู้จัก วิหารนี้สร้างโดย Giotto ศิลปินที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้น เริ่มสร้างในปี 1334 และเมื่อเขาตายไป งานนี้ก็สืบต่อโดย Andrea Pisano จนกระทั่ง มาถึงสมัยของ Brunelleschi วัดนี้สร้างในแบบโกธิคที่มีความหมายว่ า น าไปสู่สวรรค์ ครับ ลักษณะเด่นก็คือศิบปะที่มียอดแหลมนาทุก คนไปหาพระเจ้า สร้างในตาแหน่ง ที่ ครั้งหนึ่งเคยเป็นวัดของนักบุญ Santa Reparata องค์นี้ก็เหมือนกันครับ ยังไม่ค่อยรู้จัก 9
เป็นวัดเดิมที่สร้างตั้งแต่ศตวรรษที่ 7 ซากของวัดเดิมนี้ยังถูกเก็บรักษาไว้ที่วัดน้อยใต้ดิน ของอาสนวิหารนี้เอง แม้ว่าการเข้าชมอาสนวิหารจะไม่มีค่าเข้า แต่จะลงไปในคริปต์ใต้ ดินนี้จะต้องเสียสตางค์ จากภายนอกของอาสนวิหารจุดเด่นของวิหารนี้คือ การใช้หิน อ่อน 3 สีคือ สีชมพู สีขาวและสีเขียว ทาให้วิหารดูมีชีวิต ต่างจากภายในวิหารที่ใช้สีโทน เดียวกันและเรียบง่าย ทั้งนี้ เพื่อให้ล วดลายของการปูหินโมเสส Mosaic โดดเด่นขึ้น นอกจากนี้แสงสว่างที่ เ ข้ามาทางหน้าต่างของวิหาร ยัง ช่ว ยให้ ก ารชมวิหารมีร สชาติ เพิ่มขึ้นด้วย เหนือทางเข้าภายในวิหาร มีนาฬิกาเรือนหนึ่งแขวนอยู่ ออกแบบในปี 1443 โดย Paolo Uccello เวลาของอิตาลีสมัยนั้น ชั่วโมงที่ 24 ซึ่งเป็นสิ้นสุดวันคือ เวลาพระอาทิตย์ ตก นาฬิกาเรือนนี้ถูกออกแบบให้ใช้เวลาตามนั้น ปัจจุบันก็ยังคงทางานอยู่ครับ แต่ใครจะ ดูออกและเข้าใจแค่ไหนก็คงแล้วแต่การสังเกตของแต่ละคนละครับ เข้าวิหารแล้วแหงน ดูเป็นขวัญตาหน่อยก็ดีครับ แล้วมาเล่าให้ฟังหน่อยว่ามันทางานอย่างไร จุดเด่นของวิหารนี้อีกอย่างหนึ่งก็คือ โดมแปดเหลี่ยม ชาวอิตาเลียนเขาเรียกว่า Cupola สร้างโดย Filippo Brunelleschi ซึ่งชนะการประกวดออกแบบในปี 1418 เป็นรูป ไข่และในการยกโดมขึ้น ไม่มีการใช้นั่งร้านอีกด้วย โดมนี้ถือว่า เป็นโดมที่ใหญ่ที่สุดใน โลกสมัยนั้นทีเดียวครับ สร้างเสร็จในปี 1436 และทาการเสกทันที ทั้งๆที่ส่วนอื่นๆของ วิหารยังไม่เสร็จดีด้วยซ้า เข้าไปในวิหารแล้วมองขึ้นไปที่โดมก็ จะพบกับภาพวาดแบบ เฟรซโค เป็นการวาดบนปูน ที่เ ปียกหมาดๆ ต้อ งใช้ความสามารถและการเตรียมการ ล่วงหน้าอย่างดี ภาพจะติดแน่นกับ ปูนนานเท่านาน ออกแบบโดย Visari ในปี 1572 แต่ คนวาดคือลูกศิษย์ของเขาชื่อ Zuccari เสร็จในปี 1579 เป็นภาพการตัดสินครั้งสุดท้ายของ พระหรือที่เราเรียกว่า การพิพากษา ประมวลพร้อมนั่นแหละครับ ไหนๆก็แหงนหน้าดูที่ โดมแล้วก็ดูอีกนิดหนึ่ง เราจะเห็นระเบียงใต้โดมด้วย ที่น่าสังเกตก็คือระเบียงแปดเหลี่ยม นี้ มีเพียงระเบียงเดียวที่สร้างเสร็จ อีกเจ็ดด้านยังเป็นเพียงหินหยาบๆเท่านั้น ไม่ได้รับการ ตกแต่งอะไร ระเบียงสร้างโดย Baccio d’Agnolo ในปี 1507 หลังจากสร้างเสร็จไปหนึ่ง ด้าน มีคนไปถามความเห็นของ Michelangelo ซึ่งทุกคนเคารพและถือว่าเป็นปรมาจารย์ แห่งศิลปะ ไมเคิ้ล แอนเยโล ตอบว่า มันดูเหมือนกรงจิ้งหรีด คาตอบนี้ทาให้งานที่เหลือ ทั้งเจ็ดด้านหยุดไปทันทีจนถึงทุกวันนี้ ผู้ที่ต้องการขึ้นไปชมภาพวาดเฟรซโคชัดๆ และ ชมวิวเมืองฟิเรนเซก็สามารถซื้อตั๋วขึ้นไปชมได้ ที่นี่ไม่มีลิฟท์บริการ ต้องเดินขึ้นบัน ได ไป มีทั้งหมดแค่ 463 ขั้นเท่านั้นเอง ภาพเฟรซโคนี้ เพิ่งได้รับการทาความสะอาดล่าสุดใน ปี 1996 นี้เอง ใช้เงินไปมหาศาล จนกระทั่งชาวเมืองฟิเรนเซเองยังตาหนิว่า ใช้เงินไป มากมาย โดยไม่มองความจาเป็นของประชาชน ขอแนะนาเฉพาะคนหนุ่มคนสาว หากมี โอกาสก็ขึ้นไปนะครับ เป็นประสบการณ์ที่จะไม่มีวันลืมเลย แต่ถ้าอายุมากพอควรแล้ว หัวใจไม่ดีก็อย่าเสี่ยงชีวิตเลยครับ ดูรูปภาพเอาเองดีกว่า สวยกว่าที่เราจะขึ้นไปดูเองนะ ครับ 10
Baptistery สถานที่ล้างบาป
ไม่แน่ใจนักว่า จะได้เข้าชมหรือไม่เพราะต้องเสียค่าใช้จ่ายและมีผู้เข้าชมมาก แต่ สถานที่ไม่ใหญ่มากนัก นับเป็นสิ่งก่อสร้างที่เก่าแก่ที่สุดหลังหนึ่งในฟิเรนเซ ไม่รู้เวลาที่ แน่ชัด ในยุคกลางเชื่อกันว่า เป็นวิหารของชาวโรมันมอบถวายแด่ เทพอังคารโดยดูจาก การตกแต่งและการออกแบบ แต่ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดเกี่ยวกับเรื่องนี้ ในบ้านเราไม่มีที่ล้างบาปในลักษณะนี้เลย อย่างมากที่สุดก็จะมีอ่างล้างบาปที่ทา เฉพาะ เพื่อการล้างบาปเท่านั้น เช่น ที่วัดอัสสัมชัญของเรา แต่เดิมผู้ที่ยังไม่ได้รับศีลล้าง บาป ไม่สามารถเข้าร่วมในพิธีมิสซาได้เลย พวกเขาต้องอยู่ภายนอกวัด แม้แต่ผู้ที่กาลัง เตรียมตัวเป็นคริสตชนก็ยังเข้าได้เพียงบางส่วนเท่านั้น การล้างบาปจึงทากันภายนอกวัด จึงมีการสร้างที่ล้างบาปขึ้น และเนื่องจากการล้างบาปเป็นการเกิดใหม่ในพระเจ้า เป็นลูก ของพระเจ้า การสร้างนี้จึงสร้างอย่างสง่างามและสมเกียรติ ในอิตาลีที่เรายังพบเห็นอยูก่ ม็ ี ที่ ปิซา และที่เมืองซีเอนา จึงไม่น่าแปลกใจ ที่เราจะเห็นที่ล้างบาปแต่ละแห่งสร้างอย่าง วิจิตรบรรจง เพื่อต้อนรับตริสตชนใหม่นั่นเอง จากนั้นพวกเขาจะสามารถเข้าไปในวัด วิหาร ร่วมพิธีกรรมอย่างสมบูรณ์ ที่ฟิเรนเซนี้ เราจะเห็นการแกะสลักประตูของที่ล้างบาปนี้ เป็นงานแกะที่สาคัญ ที่สุด ในแคว้นทัสโคนีเลย ประตูถูกแกะสลัก ทาด้วยทองสาริด ประตูทิศใต้เป็นฝีมือของ Andrea Pisano ในปี 1336 ประตูทางทิศเหนือ และตะวัน ออกเป็น ฝีมือ ของ Lorenzo Ghiberti ในปี 1427และ 1452 มีชื่อเรียกว่า ประตูแห่งสวรรค์ Gate of Paradise นับเป็น ศิลปะที่ดีที่สุดชิ้น หนึ่ง ประตูแท้ๆ เวลานี้อยู่ในพิพิธภัณฑ์ของอาสนวิ หาร ที่แสดงอยู่ ภายนอกนี้เป็นของจาลอง อีกชิ้นหนึ่งที่แสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์ก็คือ งานสลักหิน อ่อนที่อยู่ เหนือประตูที่เป็นรูป พระเยซูเจ้ารับพิธีล้าง ฝีมือของ Andrea Sansovino ที่เห็นอยู่นี้เป็น รูปจาลองครับ ถ้าดูได้แค่ภายนอกก็แนะนาให้ไปดูประตูแห่งสวรรค์นะครับ แม้ เป็นรูปจาลอง แต่ก็คล้ายของจริงมากๆ มีทั้งหมด 10 รูปด้วยกัน เราคริสตชนดูแล้วพอนึกเรื่องออก แต่ ถ้าไม่ใช่ก็คงเข้าใจได้ยากมาก ดูเอาเองนะครับว่า รูปไหนอยู่ไหน รูปอาดัมกับเอวา กาอิน กับอาแบล นอแอเมาเหล้า อาบราฮัมและอิซาอัค เอเซากับยากอบ โยเซฟถูกขายเป็นทาส โมเสสกับบัญญัติสิบประการ เมือ งเยริโคล่มสลาย เดวิดกับโกไลแอท โซโลมอนกับ ราชินีแห่งเชบา นอกจากนี้ก็มีงานสลักอีกมากที่สามารถชมได้จากภายนอก เข้าไปภายใน กันบ้าง ถ้าเข้าได้ เราจะพบงานหินโมสาอิคทั้งที่โดมเองและที่พื้นด้วย เป็นงานในสมัย ศตวรรษที่ 12 และ 13 มีงานทางดาราศาสตร์ ชิ้นแรกอยู่ในงาน โมซาอิคครั้งนี้ด้วย และ ยังมีงานปั้นต่างๆภายในที่น่าสนใจสาหรับผู้ที่ชื่นชอบศิลปะเป็นพิเศษ รวมทั้งงานของ Cimabue ซึ่งเป็นอาจารย์ของ Giotto ผู้สร้างอาสนวิหารด้วย ภายในยังมีหลุมฝังศพของ ยอห์นที่ 23 ซึ่งเป็นแอนตี้โปป และมาตายที่เมืองฟิเรนเซในปี 1426 เรื่องของแอนตี้โปป 11
นี้ มีหลายองค์มาก เป็นเรื่องสมัยที่พระศาสนจักรมีพระสันตะปาปาพร้อมกันถึงสององค์ และต่อมาพร้อมกันถึง สามองค์ องค์ที่ไม่ใช่พระสันตะปาปาแท้ถูกเรียกว่า แอนตี้โปป ครับ คิดว่าคงจบการชมฟิเรนเซแล้ว ก็อย่างที่บอกเข้าชมอาสนวิหารไม่เสียตัง แต่เขา อาจจะขอร้องให้เช่าหูฟังเพื่อไม่ไห้ใช้เสียงมากในวิหาร การเข้าชมพิพิธภัณฑ์ การชมวัด น้อยใต้ดิน การขึ้นไปชมโดมและชมวิวเมือง การขึ้นชมวิวเมืองโดยใช้ทางขึ้นหอระฆัง ชมที่ล้างบาป ล้วนแต่ต้องซื้อตั๋ว เขามีหลายประเภท ถ้าเข้าชมทุกอย่าง ราคาก็จะถูกลง ครับ ถ้าซื้ออย่างเดียวก็แพงหน่อย อิตาเลียนไม่แพ้ใครเรื่องการค้านะครับ ก็อย่างที่บอกครับ ฟิเรนเซมีที่น่าชมอีกมากมาย แต่เฉพาะผู้ที่มีเวลาและรักศิลปะ อย่างเช่นที่ Galleria dell’ Accademia ถามใครที่นี่ต้องรู้จัก เพราะต้องการไปดูงานชิ้นเอก ของไมเคิ้ล แอนเยโล รูปสลักหินอ่อนเดวิด แต่เดิมรูปนี้ตั้งอยู่ที่ Piazza della Signoria ซึ่ง ตั้ง รูปจาลองไว้ให้ชมกัน เหมือ นกัน พิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อ เสียงอีก แห่ง หนึ่งก็คือ Galleria Uffizi อีกแห่งหนึ่งที่น่าสนใจ ก็คือ สะพานเก่า Ponte Vecchio เดิมเป็นตลาดขายเนื้อนะ ครับ ต่อมาเป็นที่ขายทองคา รูปพระทองคาที่นี่ก็ไม่เลวเลยนะครับ แต่ก็แพงมาก เป็น สะพานที่สามารถชมความงามของเมืองได้จากกลางสะพาน ว่ากันว่าเป็นสะพานเดียวที่ ไม่ได้รับความเสียหายจากสงครามโลกครั้งที่สอง เวลาเย็นคือเวลาที่สวยงามที่สุด สงสัย เราจะอยู่ไม่ถึงเย็นนะครับ ใครที่จะมาอีกครั้งหนึ่งที่นี่ ก็อย่าลืมจัดเวลาหลายวันหน่อยจะ ดีกว่า สาหรับพวกเราสวดภาวนากันที่นี่ ชมศิลปะทางศาสนาก็อิ่มใจแล้วละครับ
V
Assisi อัสซีซี
เมืองเล็กๆที่ทัวร์ไทยทั่ว ไปไม่พานัก ท่อ งเที่ยวมา ยกเว้น ทัว ร์คาทอลิก เท่านั้น ผู้ที่มาก็เ ป็นคาทอลิกที่รู้จักหรือรับรู้ความศักดิ์สิทธิ์ ของนัก บุญฟรัง ซิสแห่งอัสซีซีและ นักบุญคลารา ครั้งหนึ่ง เคยมีภาพยนตร์เรื่อง Brother Sun and Sister Moon มาฉายใน เมืองไทยด้วย จาไม่ได้ว่าตั้งชื่อเรื่องเป็นภาษาไทยว่าอย่างไร ทาให้เรารู้จักชีวิตส่วนหนึ่ง ของนักบุญทั้งสองดีขึ้น แน่นอนว่าหนังเรื่องนี้ไม่สามารถทาเงิ นได้มากนักในบ้านเรา เรา จะมาเยี่ยมนักบุญทั้งสองกันที่อัสซีซี เมืองที่นักบุญฟรังซิสเกิดและตาย เมืองที่เกิดคณะที่ เรารู้จักในนามคณะฟรังซิสกัน ชื่อคณะคือ Friars Minor หรือภราดาน้อย
Basilica Papale di San Francesco
มหาวิหารแห่งนี้วางศิลาฤกษ์โดยพระสันตะปาปา เกรโกรีที่ 9 วันที่ 16 กรกฎาคม 1228 วัน เดียวกับที่พระองค์ประกาศให้ท่านเป็นนักบุญ พระองค์ประกาศด้วยว่ามหา 12
วิหารนี้เป็นสมบัติโดยตรงของพระสันตะปาปา มหาวิหารมีสองชั้น ชั้นล่างสร้างเสร็จใน ปี 1230 และในวันสมโภชพระจิตเจ้า 25 พฤษภาคม 1230 มีพิธีแห่แหนร่างกายที่ไม่เ น่า เปื่อยของท่าน จากที่ฝังศพชั่วคราว ของท่านที่วัดนักบุญ George (ปัจจุบันก็คือมหาวิหาร นักบุญคลาราแห่งอัสซีซี )มาไว้ที่มหาวิหารชั้น ล่างนี้เ อง ทาไมศพของท่านไปอยู่ที่วัด ชั่วคราว ก็เ พราะว่า หากไม่นาไปซ่อนแล้วศพของท่าน อาจถูกขโมยได้ เพราะทุกคน ต้องการพระธาตุของท่าน ส่วนมหาวิหารชั้นบน สร้างเสร็จในปี 1253 มหาวิหารทั้งสอง ชั้นนี้เสกโดยพระสันตะปาปา อินโนเซนต์ที่ 4 ในปี 1253 จัตุรัสที่อยู่หน้ามหาวิหารเต็ม ไปด้วยเสาหินมากมายนี้ เป็นอาคารที่พักสาหรับผู้จาริกแสวงบุญมากมายมหาศาล ที่มา ยังสถานที่แห่งนี้ ในสมัยพระสันตะปาปา ปีโอที่ 9 พระองค์สั่งให้สร้างวัดน้อยใต้ดินเพื่อ เป็น ที่เก็บศพของท่านนักบุญ และสร้างเสร็จสมบูรณ์ในปี 1932 โลงศพหินเดิมพร้อม ทั้งเหล็กยึดตั้งแสดงอยู่เหนือแท่น ของวัดน้อยใต้ดิน นี้ รอบๆแท่นนี้ติดกาแพง เพื่อนๆ บราเดอร์ของท่านนักบุญ ได้ถูกนามาฝังไว้ที่นี่ด้วย มีบราเดอร์ รูฟิโน บราเดอร์อันเยโล บราเดอร์มาสเซโอ บราเดอร์เลโอเน และบริเวณทางเข้าวัดน้อยใต้ดินมีที่เก็บศพของสตรี ผู้หนึ่งชื่อ Jacopa dei Settesoli เป็นสตรีสูงศักดิ์ชาวโรมัน เป็นเพื่อนที่ซื่อสัตย์และผู้ อุปถัม ภ์นักบุญฟรัง ซิสเสมอมา เธอเป็น ผู้ที่อยู่ข้างๆท่านนักบุญในเวลาที่ท่านเสียชีวิต เมื่อพูดถึงมหาวิหารว่า เป็นมหาวิหารพระสันตะปาปา Basilica Papale ก็ย่อมหมายความ ว่า มหาวิหารนี้มีสิทธิพิเศษ การตัดสินใจเกี่ยวกับมหาวิหารนี้ การเปลี่ยนแปลง ต่อเติม การขออนุญาตต่างๆต้องมาจากพระสันตะปาปาก่อนเสมอประหนึ่งว่าพระองค์เป็นเจ้าวัด เอง ดังนั้นพรที่ได้รับจากที่นี่ก็เป็นพรพระสันตะปาปาด้วยนะครับ เรามีสิทธิ์รับพระคุณ การุณย์เสมอทุกครั้งที่มาที่นี่ วันที่ 27 ตุลาคม 1986 พระสันตะปาปา ยอห์นปอลที่ 2 จัดให้มีการสวดภาวนา สากล เพื่อสันติภาพที่อัสซีซีโดยมีผู้แทนจากศาสนาต่างๆทั่วโลก 120 ท่าน ทั้งนี้ก็เพราะ บทภาวนาของท่านนักบุญฟรังซิส ที่สวดให้เราทุกคนเป็นผู้นาสันติภาพนั่นเอง บทนี้เรา ทุกคนคงเคยได้ยิน และได้สวดมาแล้ว มีการนาไปแต่งเป็นเพลงด้วยนะครับ มีข่าวดีก็ ต้องมีข่าวร้าย วันที่ 26 กันยายน 1997 เกิดแผ่นดินไหวระดับ 5.5 และ 6.1 ริคเตอร์ทาให้ มหาวิหารเสียหายอย่างหนัก ระหว่างการสารวจความเสียหาย ก็เกิดอาฟเตอร์ช็อค ทาให้ มีผู้เชี่ยวชาญและบราเดอร์สองท่านเสียชีวิตไปด้วย ภาพเฟรซโกประวัติชีวิตของท่าน นักบุญฝีมือของ Giotto ถูกทาลายจากการล้ม ครืนของมหาวิหาร มหาวิหารถูกปิดซ่อ ม เป็น เวลาสองปี ที่สุดตามมาด้ว ยข่าวดีที่ว่า องค์ก ารสหประชาชาติให้มหาวิหารนี้เป็น มรดกโลกตั้งแต่ปี 2000 เป็นต้นมา
เรื่องราวสั้นๆเกี่ยวกับนักบุญฟรังซิส
- วันอาทิตย์ใบลานปี 1211 ที่วัด Santa Maria degli Angeli คลาราขอฟรังซิสรับเข้าคณะ ด้ว ย คลาราได้ รับมอบเสื้อ นักบวชจากท่านนัก บุญ ต่อ มามี น้อ งสาวของคลาราและ 13
เพื่อนๆอีก ขอร่วมคณะด้วย ที่สุดก็เป็นคณะคลาริสต์ จนถึงปัจจุบัน ต่อมาก็มีการปฎิรูป คณะจนมีคณะเพิ่มขึ้น เช่น คณะกาปูชิน เป็นต้น - คริสตสมภพปี 1223 ที่ Greccio ท่านได้ทาถ้าพระกุมารขึ้นเป็นครั้งแรก และใช้สัตว์ที่มี ชีวิต มาประกอบถ้าด้วย ในระหว่างมิสซารูปพระกุมารที่ท่านอุ้มอยู่ได้มีชีวิตในอ้อมแขน ของท่านด้วย ตั้งแต่นั้นมาก็มีธรรมเนียมทาถ้าพระกุมารในเทศกาลคริสตสมภพ - รอยแผลศักดิ์สิทธิ์ วันที่ 17 กันยายน 1224 สองปีก่อนที่ท่านจะตาย ขณะที่กาลังสวด ภาวนา ท่านได้เ ห็ น เทวดาเซราฟิม องค์ห นึ่ง ถูก ตรึง กางเขน ก่อ นที่ภาพนิมิต จะจบ ก็ ปรากฏรอยแผลที่มือและที่เท้าของท่าน และสีข้างด้านขวาก็ปรากฏรอยแผลที่หอกแทง ด้วย จนกระทั่งวันตายท่านพยายามที่จะปิดบังรอยแผลนี้อยู่เสมอ ด้วยเหตุนี้เอง ท่านจึง ได้รับฉายาหนึ่งว่า เป็น Alter Christus - ท่านเจ็บป่วยอยู่นาน ปี 1226 ท่านอยู่ที่เ มืองโบโลญา ท่านขอกลั บไปตายในสถานที่ ท่านชอบเป็นพิเศษคือ Porziuncola ท่านเสียชีวิตที่นี่เอง วันที่ 3 ตุลาคม 1226 ศพของ ท่านถูถนามาที่อัสซีซี มายังวัด San Damiano เพื่อให้ Chiara และนักบวชในคณะได้คา นับเป็นครั้งสุดท้าย แล้วจึงถูกนาไปที่วัด San Giorgio
Santa Maria degli Angeli: Patriarchal Basilica and Papal Chapel
มาถึงอัสซีซี ก็ควรมาเยี่ยมวัดที่สาคัญที่สุดอีกแห่งหนึ่งของพระศาสนจักรด้วยนัน่ คือ วัดแม่พระแห่งเทวดา แปลแบบไทยก็คงเชยแบบนี้ เพราะหาคาตรงๆไม่ได้ แต่ถ้าพูด ถึงเมืองลอส แอนเจอลีส Los Angeles แล้วเราก็คงคุ้นกันดีนะครับ ตอนที่ เสปนตั้งชื่อ เมือ งนี้ในทวีปอเมริกา พวกเขาน าชื่อนี้ม าจากมหาวิหารแห่ง นี้ โดยกล่าวถึงแม่พระที่ Porziuncola ซึ่งเป็นสถานที่นักบุญ ฟรังซิสพบกระแสเรียกและเป็นอารามแห่งแรกของ ท่านอีกด้วย ตั้งอยู่ภายในมหาวิหารนี้เอง ตอนนี้มารู้จักกับ Patriarchal Basilica และ Papal Chapel กันก่อนนะครับ มหาวิหารนักบุญฟรังซิสได้รับแต่งตั้งเป็น Papal Basilica แต่มหาวิหารแม่พระนี้ เป็น Patriarchal Basilica ก็หมายความว่า ขึ้นโดยตรงต่อผู้มีตาแหน่ง Patriarch หรือแปล เป็นไทยว่า สังฆอัยกา เป็นตาแหน่งเกียรติยศสาหรับเมืองสาคัญๆของพระศาสนจัก ร ใครก็ตามเป็นสังฆราชปกครองเมืองเหล่านี้ ก็จะได้รับตาแหน่งนี้ รวมถึงตาแหน่งพระ คาร์ดินัลด้วย อย่างเช่น ที่เวนิซที่เคยเล่าให้ฟังไปแล้ว ส่วน Papal Chapel ก็หมายความว่า มหาวิ หารนี้ไ ด้รับ เกีย รติเ ป็น วั ดน้อ ยของ พระสั น ตะปาปาอีก ด้ว ย ตามปกติผู้ไ ด้รั บ ตาแหน่งจิตตาภิบาลวัดน้อยแบบนี้ จะได้รับตาแหน่ง มอนซินญอร์ หวังว่าคงไม่งงกัน มากนักนะครับ มหาวิหารนี้ สร้างอยู่เหนือสถานที่สาคัญๆหลายแห่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตศักดิ์สิทธิ์ ของนัก บุญฟรังซิส ทาให้มีผู้มาแสวงบุญที่นี่มากมาย หลังจากความตายของท่านในปี 1226 เรื่อยมา จนในที่สุดพระสันตะปาปา ปีโอที่ 5 สั่งให้ย้ายสิ่งก่อสร้างต่างๆ บริเวณนี้ 14
ออกไป เพื่อสร้างมหาวิหารในปี 1569 การก่อสร้างเสร็จ สิ้นลงในปี 1679 ใช้เวลารวม นานถึง 110 ปีใกล้เคียงกับการสร้างมหาวิหารนักบุญเปโตรทีเดียว นอกจากนี้ก็มีการต่อ เติมสร้างเริ่มเรื่อยมา ในที่สุดวันที่ 11 เมษายน 1909 พระสันตะปาปา ปีโอที่ 10 ยกฐานะ ให้เป็น Patriarchal Basilica and Papal Chapel เรามาทาความรู้จักกับสถานที่สาคัญๆ ภายในกันดีกว่าครับ
Porziuncola
เป็น สถานที่สาคัญที่สุดสาหรับคณะฟรัง ซิสกัน เป็น ที่รกร้างมานาน ท่านพบ กระแสเรียกที่นี่ และก่อตั้งคณะภราดาน้อยของท่านที่นี่เอง ในปี 1209 อุทิศวัดน้อยนี้ใน ความอุปถัมภ์ของแม่พระ คณะเบเนดิกตินมอบให้ท่านทาเป็นศูนย์กลางของคณะใหม่ ในวันที่ 28 มีนาคม 1211 Chiara ขอเข้าคณะของฟรังซิสที่นี่ และเธอได้รับเสื้อนักบวช จากมือของท่านที่นี่เองและเป็นจุดเริ่มต้ นของคณะนักบวชหญิง Poor Clare หรือ clarist ต้นกาเนิดแรกของคณะกาปูชินที่เรารู้จักกันดี เป็นสถานที่ได้รับสิทธิพิเศษจากพระเยซูเจ้าและจากพระสันตะปาปาด้วย นั่นคือ สามารถรับ พระคุณ การุณ ย์ ครบบริบู ร ณ์ ไ ด้เ สมอทุ ก ครั้ ง ที่ ม าที่นี่ รู้ จั ก กั น ในนามว่ า พระคุณการุณย์แห่งการยกโทษ Indulgence of Porziuncola คืนหนึ่งในปี 1216 ฟรังซิส กาลังสวดภาวนาอยู่ พลันก็มีแสงสว่างเข้ามา ท่านเห็นพระเยซูเจ้า แม่พระและเทวดา มากมายยืนอยู่เหนือพระแท่นบูชา พระเยซูเจ้าถามท่านว่า ท่านจะขออะไร เพื่อความรอด ของวิญญาณทั้งหลาย ท่านตอบว่า ข้าพเจ้าขอให้ทุกคนที่มาที่นี่ ที่เป็นทุกข์และรับศีลอภัย บาปได้รับการยกบาปและโทษบาปทั้งหมด พระองค์ตอบว่า ที่ท่านขอนั้นยิ่งใหญ่มาก และท่านสมควรที่จะได้รับสิ่งที่ยิ่งใหญ่และมากกว่านั้นด้วย เรารับคาวอนขอนี้ แต่ท่าน ต้องไปขออนุญาตจากผู้แทนของเราบนโลกนี้ก่อนด้วย สาหรับพระคุณการุณย์นี้ ฟรังซิส ไปพบพระสันตะปาปา โอโนรีโอที่ 3 ซึ่งตั้งใจฟังท่านและที่สุดก็ให้การรับรอง พระองค์ ถามท่านว่า ฟรังซิส พระคุณการุณย์ที่ท่านขอนี้สาหรับกี่ปี ฟรังซิสตอบพระสันตะปาปา ว่า ข้าพเจ้าไม่ได้ขอจานวนปี แต่ขอวิญญาณ ( non anni, ma anime) ในวันที่ 12 สิงหาคม 1216 พระสันตะปาปาประกาศต่อหน้าพระสังฆราชของแคว้นนี้และต่อหน้าคริสตชนที่ วัดแห่งนี้ว่า พี่น้องของเรา เราต้องการส่งพวกท่านทุกคนไปสวรรค์
Il Transito : the transit
เป็นซอกหินเรียบๆ ธรรมดาๆ ใช้เป็นที่พยาบาลรักษาตัวของอาราม ท่านมาพัก ที่นี่ในช่วงปลายของชีวิต ที่นี่เ อง ท่านเปลือ ยเปล่าอยู่บนพื้น แผ่น ดินที่ว่างเปล่า และ หลังจากได้แต่งบทเพลงแห่งสิ่งสร้างที่ต้องตายแล้ว ท่านก็เสียชีวิตที่นี่เอง ในเย็นวันที่ 3 ตุลาคม 1226 ทุกวันที่ 3 ตุลาคม จะมีพิธีเฉลิมฉลองท่านนักบุญที่นี่ พร้อมทั้งขบวนแห่ ของสมาชิกฟรังซิสกัน ท่านเป็นองค์อุปถัมภ์ของอิตาลี 15
Il Roseto กุหลาบแห่งอัสซีซี
สถานที่มีกุหลาบนี้ อยู่ในส่วนที่บรรดานักพรตอาศัยอยู่ ฟรังซิสกาลังถูกประจญ ให้สงสัยและให้ตกในการประจญล่อลวงเรื่องชีวิตบริ สุทธิ์ ท่านต่อสู้และตัดสิน ใจกร โดดเข้าไปในดงกุหลาบเพื่อเอาชนะการประจญนั้น กุหลาบเหล่านั้นได้กลายเป็นกุหลาบ ไร้หนามและมีอยู่เฉพาะที่อัสซีซีเท่านั้น รู้จักกันในนาม กุหลาบแห่งอัสซีซี ที่มหาวิหารแห่งนี้เป็นสถานที่สาหรับสวดภาวนา ราพึงถึงชีวิตศักดิ์สิทธิ์ของท่าน นักบุญ และเมื่อมาถึงแล้ว ก็ควรทาพระคุณการุณย์ด้วย เพราะเป็น สิทธิพิเศษ บาปทุก บาปไม่ว่าบาปใด สามารถได้รับการยกที่นี่ด้ว ย ที่จริง ที่อัสซีซี ยัง มีสถานที่สาคัญอีก หลายแห่งสาหรับเรา เช่น วัด San Damiano วัดที่พระเยซูเจ้าตรัสกับท่านจากกางเขนของ วัด ให้ไปซ่อมแซมบ้านของพระองค์ เป็นต้น ทิ้งบางอย่างไว้บ้างก็ดีเหมือนกันนะครับ เพราะเราจะได้มีเหตุผลกลับมาเยี่ยมที่นี่อีก ดีมั้ยครับ
San Damiano Cross
กางเขนซาน ดามีอาโน หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ กางเขนนักบุญฟรังซิส สาหรับเรา กางเขนแบบนี้ อาจจะมีรูปร่างหน้าตาแปลกสักหน่อย เพราะเต็มไปด้วยเรื่องราว มีรูป บุคคลต่างๆมากหลายปรากฏในกางเขนนี้ด้วย ที่จ ริงก็เป็นกางเขนศิลปะ ไอคอน เป็น ศิล ปะที่นิยมกัน มากในศตวรรษที่ 12 ให้ความหมายของเหตุก ารณ์และให้ความเชื่อ เข้มแข็งมากขึ้น นิกายออร์โธด๊อกชอบศิลปะแบบนี้มาก ในยุโรปเองก็มีมากแถบบริเวณ แคว้นอุมเบรีย อิตาลี เมืองอัสซีซีเองก็อยู่ในแคว้นนี้ด้วย ชื่อกางเขน ซาน ดามีอาโนก็เพราว่า วันหนึ่งฟรังซิสเดินผ่านวัดนี้ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ มากและ ผุพัง ท่านได้รับการดลใจให้เข้าไปสวดภาวนา คุกเข่าต่อหน้ากางเขนนี้ ท่าน เห็นริมฝีปากของพระเยซูเจ้าตรัสว่า ฟรังซิส จงไปซ่อมบ้านของเรา ที่เจ้าก็เห็นแล้วว่า ก าลั ง ผุ พั ง เกื อ บหมดแล้ ว ฟรั ง ซิ ส ตอบว่ า ลู ก พร้ อ มที่ จ ะท าพระเจ้ า ข้ า ท่ า นท า การ ซ่อมแซมโบสถ์ซาน ดามีอาโน ต่อ มาท่าน เสริมสร้างชีวิตคริสตชน และท่านก็สร้าง พันธกิจของคณะฟรังซิสกัน พระสันตะปาปาอินโนเซนต์ ที่ 3 ฝีนเห็นมหาวิหาร ยอห์น ลาเตรันกาลังจะล้มและมีบุรุษร่างเล็กมาค้าไว้ไม่ให้ล้ม พระองค์รับรองคณะและวินยั ของ คณะฟรัง ซิสกัน ที่หน้ามหาวิ หารลาเตรัน ยังมีอ นุสาวรีย์รูปนัก บุญฟรัง ซิสขอให้พระ สันตะปาปารับรองวินัยคณะตั้งอยู่ด้วย ตั้งแต่นั้นมากางเขนนี้ได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่ง พันธกิจของคณะฟรังซิสกัน เราอาจจะไม่ได้ไปวัดซาน ดามีอาโนนี้ แต่เราสามารถพบ เห็นและเข้าใจถึงความหมายของกางเขนนี้ ปัจจุบันกางเขนที่เคยตรัสกับฟรังซิสตั้งอยู่ ที่ วัดนัก บุญกลารา เมือ งอัสซีซี ถ้าหากใครมีก างเขนนี้แล้ว ต้อ งการสวดภาวนาแบบที่ นักบุญฟรังซิสสอนก็ใช้บทนี้นะครับ
16
ข้าแต่พระเจ้าผู้ทรงพระสิริรุ่งโรจน์อันสูงสุด โปรดส่องสว่างความมืดในดวงใจ ข้า พเจ้า โปรดประทานความเชื่อ ที่ถู ก ต้ อ ง ความวางใจที่มั่ น คงและความรัก ที่ค รบ บริบูรณ์ โปรดประทานความเข้าใจและความเฉลียวฉลาด เพื่อข้าพเจ้าจะได้ปฏิบัติตาม พระบัญชาอันศักดิ์สิทธิ์และเที่ยงแท้ของพระองค์ด้วยเทอญ อาแมน
VI
บทนา
โรมา : นครอมตะ (Città Eterna)
โรมา หรือ กรุงโรม ได้รับฉายาว่า อมตะนคร หรือนครที่ไม่มีวันตาย เป็นศูน ย์ กลางแห่งอารยธรรม ศูนย์กลางแห่งศิลปวัฒนธรรม ศูนย์กลางการปกครองและอานาจ ของอาณาจักรโรมัน นอกจากนี้ ยังเป็นศูนย์กลางทางศาสนาคริสต์ นับตั้งแต่ต้นศตวรรษ ที่ 4 เป็นต้นมาอีกด้วย ผู้ที่มาเยี่ยมชมกรุงโรมจึงมีจุดประสงค์แตกต่างกัน บางคนมากรุง โรมเพราะศิลปะ บางคนมา เพราะโบราณคดี บางคนก็มาเพราะประวัติศาสตร์ และบาง คนก็ม าด้ว ยเหตุผลทางศาสนา ทุกอย่างเหล่านี้ กรุง โรมร่ารวยด้ว ยศิล ปะ โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และศาสนาคริสต์ กรุงโรมจึงเต็มไปด้วยเสน่ห์ มิใช่จากสิ่งของวัตถุแต่อย่าง เดียว แม้กับผู้คนและวัฒนธรรมความเป็นอยู่ก็มีเสน่ห์ไม่แพ้กัน ผู้คนสนใจจะมากรุงโรม สมกับคาโบราณของโรมที่ว่า : “ถนนทุกสายมุ่งสู่กรุงโรม” ใครก็ตามที่รู้เกี่ยวกับศาสตร์ แขนงต่าง ๆ เหล่านี้ ยิ่งมีความรู้มากเท่าใด ก็เที่ยวกรุงโรมด้วยความสนุกมากเท่านั้น กรุง โรมมีอะไร ๆ ให้ค้นหาไม่รู้สิ้นสุดจริง ๆ หากจะถามว่าเที่ยวกรุงโรมกี่วันจึงจะพอ ตอบ ได้เลยว่าไม่มีวันพอ ด้วยเหตุนี้ จึงมีผู้คนที่ต้องการหวนกลับมากรุงโรมอยู่เสมอ แต่จะทา อย่างไรล่ะ จึงจะได้กลับมาที่โรมอีก และนี่แหละ เป็นส่วนหนึ่งของฉายาของกรุงโรม “อมตะนคร” เพื่อจะได้พบกับคาตอบ “ทาอย่างไรล่ะ จึงจะได้กลับมาที่โรมอีก” ขอนาท่านมาให้ รู้จักกับ “น้าพุเทรวี” (Fontana di Trevi) เพราะที่นี่มีคาตอบ เป็นปรัมปราที่เล่าขานสืบต่อ กันมา แต่ก็เล่าขานไม่เหมือ นกันนัก แม้จ ะไม่เหมือนกัน แต่ก็มีสิ่งเหมือนกันก็คือ ทุก ตานานจะพูดถึงการกลับมา กรุงโรมอีกครั้งหนึ่ง ตานานเรื่องแรก เล่าว่า ผู้ที่โยนเหรียญ 1 เหรียญลงไปในน้าพุเทรวี จะได้กลับมา กรุงโรมอีกครั้ง แต่หากโยน 2 เหรียญจะพบคู่ครองและได้แต่งงาน แต่ถ้าใครอยากจะ หย่าร้างกับคู่ครอง ให้โยน 3 เหรียญ พูดง่าย ๆ ก็คือ ใครอยากจะหย่าร้างกับคู่ครอง ก็ต้อง ลงทุนมากหน่อย ใครจะไปรู้ อาจจะมีผู้คนอธิษฐานเรื่องนี้ไว้มากก็ได้นะ ตานานเรื่ อ งที่ส อง เล่าว่ า ผู้ ที่โ ยนเหรี ยญ 1 เหรียญลงไปในน้ าพุเ ทรวี จะได้ กลับมากรุงโรมอีกครั้ง แต่ใครที่ปรารถนาจะได้โชคลาภ ก็ต้องโยนเหรียญ 3 เหรียญด้วย 17
มือขวา โดยโยนผ่านไหล่ซ้ายของตน วิธีเดียวที่ทาเช่นนี้ได้ จึงต้องหันหลั งให้กับ “น้าพุ เทรวี” เพราะเหตุนี้ ปัจจุบัน ใคร ๆ ที่โยนเหรียญก็มักจะหันหลังให้กับน้าพุ ที่จริงก็ไม่ จาเป็นนัก แต่ก็สนุกดีเหมือนกัน เพราะเวลาที่เราหันหลังโยนเหรียญ จะทาให้เราถ่ายรูป ได้สวย และสามารถมองเห็นทั้งหน้าเราและก็น้าพุด้วย และก็มีหลักฐานว่า เราได้ไปโยน เหรียญที่น้าพุแห่งนี้มาแล้วด้วย ตานานเรื่องที่สาม เป็นตานานที่เล่าอยู่ในหลักสูตรและในตาราเรียนของอิตาเลียน เล่าว่า ผู้ใดปรารถนาจะพบกับรักแท้ รักเดียวใจเดียว ให้โยนเหรียญ 1 เหรียญ ผู้ใดปรารถนาจะได้โชคลาภ ให้โยนเหรียญ 2 เหรียญ เลข 2 มีความหมายเท่ากับ ทวีคูณ ผูใ้ ดปรารถนาจะกลับมาที่กรุงโรมอีกครั้ง ก็ให้โยนเหรียญ 3 เหรียญ เลข 3 มีความ หมายถึงนิรันดรกาล ความหมายนี้อาจจะมาจากความหมายในความเชื่อทางศาสนา คริสต์ด้วย ใครอยากจะเชื่อตานานใดก็เชื่อได้ เพราะทั้งหมดนี้ เป็นตานาน (Legend) แต่ที่ แน่ ๆ ก็คือ มีการประมาณกัน ว่ า แต่ล ะวัน มีผู้โ ยนเหรียญลงในน้าพุเ ฉลี่ยแล้ว วัน ละ 3,000 ยูโร เหรียญเหล่านี้ จะถูกเก็บไปโดยเจ้าหน้าที่ของกรุงโรม บางครั้งก็อาจจะหลาย ๆ วันติดกัน ในกรณีที่มีนักท่องเที่ยวมาก ๆ แต่บางครั้งก็เว้นระยะด้วย กรุงโรมนาเงิน ทั้งหมดนี้ไปสมทบกองทุนช่วยเหลือคนยากจนของกรุงโรม อย่างไรก็ตาม ก็มีคนบางคน ที่หาทางขโมยเงินเหล่านี้ด้วยวิธีต่าง ๆ อยู่เสมอ ขโมยมีอยู่ทั่วไปจริง ๆ เสน่ห์ของ “น้าพุเทรวี” ทาให้ภาพยนตร์หลายเรื่องพากันมาถ่ายทาที่นี่ เรื่องที่มี ชื่อเสียงมากหน่อย เห็นจะเป็นเรื่อง “Three coins in the fountain” และก็เรื่อง “La Dolce Vita” บางคนอ่านแล้วอาจจะรู้สึกอยากว่ายน้าหรืออาบน้าที่มีน้าพุแห่งนี้เสียเลย ที่จริง เขา ไม่มีอนุญาตให้อาบน้าที่น้าพุนี้นะครับ ข้อมูลบางอย่างที่ควรรู้เกี่ยวกับ “น้าพุเทรวี” ก็มีประโยชน์ อย่างน้อยก็รู้อะไรไว้ บ้าง เวลาเล่าให้เพื่อน ๆ ฟัง จะได้มีเสน่ห์เช่นเดียวกับ “น้าพุเทรวี” 1. ชื่อ Trevi : เทรวี มาจากคาภาษาอิตาเลียน Tre vie หมายความถึง ถนน 3 สาย น้าพุ แห่ง นี้ สร้างตรงจุดเชื่อมต่อของถนน 3 สาย และเป็นจุดปลายทางของท่อส่งน้า (Aqueduct) ที่มีชื่อว่า “Aqua Virgo” ซึ่งเป็นท่อส่งน้าที่เก่าแก่ที่สุดอันหนึ่ งของกรุง โรม จากจุดนี้ น้าได้ถูกส่งไปหล่อเลี้ยงกรุงโรมไกลถึง 13 กิโลเมตร ไปถึงบ่ออาบน้า ของอากริปป้า ซึ่งเป็นญาติของจักรพรรดิ Ottaviano ท่อส่งน้านี้ใช้งานตั้งแต่สมัย อาณาจักรโรมันรุ่งเรือง จนกระทั่งถูกพวกโกธ (Goth) ที่เข้าปล้นกรุงโรม ได้ทาลาย ไปในปี ค.ศ. 537-538 ตามปกติแล้ว ชาวโรมันจะสร้างน้าพุไว้บริเวณปลาย ทางของ ท่อส่งน้า 18
2. “น้าพุเทรวี” เป็นน้าพุที่ใหญ่ที่สุดในกรุงโรม โดยใช้ศิลปะแบบบารอค(Baroque) ศิลปะ แบบนี้ เป็นความสง่างามและความยิ่งใหญ่ 3. - พระสันตะปาปา นิโคลาส ที่ 5 ซ่อมแซมท่อส่งน้า “Aqua Virgo” ขึ้นมาใช้การใหม่ ในปี ค.ศ. 1453 และได้สร้างน้าพุขึ้นมา - พระสันตะปาปา อูร์บาโน ที่ 8 ให้ศิลปินผู้มีชื่อเสียงมาก ได้แก่ Bernini ออกแบบ บูรณะน้าพุแห่งนี้ให้ดูตระการตามากขึ้น ในปี ค.ศ. 1629 Bernini ได้ขยายน้าพุแห่ง นี้ และให้หัน หน้าน้าพุแห่ง นี้ไปยัง พระราชวัง Quirinale อัน เป็น พระราชวัง ที่ ประทับของพระสันตะปาปา ทั้งนี้ เพื่อให้พระองค์สามารถชมความงามของน้าพุแห่ง นี้ได้ (พระราชวัง Quirinale ปัจจุบัน เป็นวังของประธานาธิบดีแห่งประเทศอิตาลี) - ต่อมา ในปี ค.ศ. 1730 พระสันตะปาปา เคลเมนต์ ที่ 12 มอบหมายให้ Nicola Salvi ออกแบบและเสริมสร้างน้าพุนี้ให้เป็นศิลปะแบบบารอค งานนี้เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ. 1732 และสาเร็จบริบูรณ์ในปี ค.ศ. 1762 Nicola Salvi เสียชีวิตก่อนงานเสร็จ ผู้ที่ทา จนงานนี้สาเร็จ ได้แก่ Giuseppe Pannini 4. ปราสาทด้านหลังของน้าพุ ชื่อเต็มว่า Palazzo Conti Duca di Poli เป็น ปราสาท ประจาตระกูล Conti มีตาแหน่งเป็นท่านดยุ๊ค (Duke) 5. ชื่อท่อส่งน้า “Aqua Virgo” มาจากเรื่องเล่าที่สืบต่อกันมาว่า ทหารโรมันได้รับคา สั่ง ให้มาหาแหล่งน้า เด็กหญิงคนหนึ่งได้ชี้ให้มาพบแหล่งน้านี้ และปรากฏว่า เป็นน้า บริสุทธิ์ มีคุณภาพดีม าก จึ ง ตั้ง ชื่อ น้านี้ว่า “น้าแห่ง ผู้ บริสุทธิ์ ” หรือ Aqua Virgo เท่ากับ Virgin Water เรื่องสุดท้ายสาหรับคานานี้ ก็คือ กรุงโรมมีเสน่ห์มากขึ้นมาก โดยเฉพาะสาหรับ บรรดา คริสตชน เพราะที่นี่เป็นศูนย์กลางของศาสนาคริสต์ มีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และวัด วาอาราม มีเรื่องราวของพระสันตะปาปา บรรดานั กบุญที่มีชื่อเสียงมากมาย โรมเป็นจุด ศูนย์รวมของวิทยาการความรู้ด้านต่างๆและทางด้านศาสนาด้วย
1. มหาวิหาร (Basilica)
ก่อนจะพาชมมหาวิหาร ขออธิบายสักเล็กน้อยถึงความหมายของมหาวิหาร แต่ ก่อนจะอธิบายถึง เรื่องนี้ ก็ต้องบอกกันก่อนว่า ทางศาสนาคริสต์เขามีชื่อเรียก “วัด” หลายชื่อและแต่ละชื่อนั้นก็มีความหมายไม่เหมือนกัน ขอเริ่มตั้งแต่ - Cathedral ภาษาไทยเราเรียกว่า “อาสนวิหาร” ภาษาอิตาเลียนเขาใช้คาว่า Cattedrale (คัทเทด ราเล) หรื อ ค าว่ า Duomo (ดู โอโม) โดยทั่ว ๆ ไป เราหมายถึ งวั ดประจ าต าแหน่ ง ของ พระสังฆราชปกครอง ตามปกติแล้ว อาสนวิหารจะเป็นวัดที่ได้รับเกียรติสูง การ ก่อสร้าง การตกแต่งต่าง ๆ จึงได้รับการดูแลเอาใจใส่ และเป็นวัดที่มีความสวยงาม เด่น สง่า เป็นพิเศษ 19
- Church ภาษาไทยเราเรียกว่า วัดหรือโบสถ์ ภาษาอิตาเลียนเขาใช้คาว่ า Chiesa (คิ-เอซา) วัดหรือโบสถ์นี้จะต้องได้รับการก่อสร้างอย่างเป็นทางการ มีพระสงฆ์เจ้าอาวาส ปกครองดูแล อภิบาลสัตบุรุษของตน ขึ้นโดยตรงต่อพระสังฆราชของตนเอง - Chapel ภาษาไทยเราใช้คาว่า “วัดน้อย” ภาษาอิตาเลียนใช้คาว่า Cappella (คับ-แปล-ลา) เป็นวัดที่ตั้งขึ้น เพื่อใช้ตามจุดประสงค์ของคณะนักบวชหรื อหน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ โดยทั่ว ๆ ไป ไม่มีเ จ้าอาวาสหรือ การปกครองดูแลอภิบาลสัตบุรุษเต็ม รูปแบบของ “วัด” ส่วน Basilica ซึ่งผมใช้คาว่า “มหาวิหาร” นั้น เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของวัด ผมก็ ขออธิ บายมากหน่อ ย เวลาที่เ ราเยี่ยมชมวัด ต่าง ๆ ในยุโ รป เราก็ จ ะได้มีความเข้าใจ ความสาคัญของสถานที่ได้มากขึ้น การใช้คาว่า "มหาวิหาร" เพื่อใช้แทนความหมายของคาว่า “Basilica” อาจจะเป็น การใช้คาที่ไม่ถูกต้องตามความหมายที่แท้จริงมากนัก แต่ก็ไม่ผิดไปจากความหมายแบบ คริสตชนจนเกินไป ทั้งนี้ เป็นเพราะว่า เราจาเป็น จะต้องแยกแยะความหมายของคาๆ นี้ เป็น 2 ความหมาย คือ ความหมายดั้งเดิม และความหมายแบบคริสตชน ความหมายดั้งเดิม คาว่า Basilica เป็นคาภาษากรีก ภาษาลาตินใช้คาว่า “Basilica” หมายถึงรูปแบบ ของสิ่งก่อสร้างสาธารณะแบบโบราณ เป็นศิลปะการก่อสร้างแบบผสมผสานกันระหว่าง กรีกและโรมัน เพราะเหตุว่า ในสมัยที่จักรวรรดิโรมันเรืองอานาจนั้น อิทธิพลของกรีกได้ เข้ามาอยู่ในอารยธรรมของชาวโรมัน และในทางตรงกันข้าม อิทธิพลของโรมันก็ได้เข้าไป อยู่ในอารยธรรมของกรีกด้วย ศิลปะการก่อสร้างแบบนี้เริ่มต้นที่เมืองเอเธนส์ (Athens) ในประเทศกรีก แต่ในสมัยอาณาจักรโรมันเรืองอานาจ มหาวิหารแห่งแรกที่เราสามารถ พบได้ คือ มหาวิหารที่เมืองปอมเปอี (Pompei) ซึ่งตามหลักฐานที่ได้มาจากการศึกษา ที่ เมืองปอมเปอีนี้ ปรากฏว่า มีมหาวิหารที่นี่ ในปี 78 ก่อนคริสตศักราช แต่หากพิจารณา จากศิลปะ การเขียนตัวอักษร การตกแต่ง ฯลฯ แล้ว ก็ทาให้สรุปได้ว่า มหาวิหารแห่งนี้มีมา ตั้งแต่ศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตศักราช และถือว่าได้เ ลียนแบบมาจากมหาวิหารที่เมือง เอเธนส์ ตามความสาคัญของมหาวิหารที่เมืองปอมเปอีนี้ ยังได้แก่ การเป็นแม่แบบของมหา วิหารอื่น ๆ ทั้งในโลกตะวัน ออกและในโลกตะวั นตกด้ วย ปี 47 ก่อนคริ สตศั กราช จักรพรรดิซีซาร์ (Caesar C.) ได้สร้างมหาวิหารที่เมืองอันทิโอก (Anthioch) ในโลกตะวัน ออก เพราะต้องการให้อารยธรรมโรมันเข้ามามีอิทธิพลอย่างเต็มที่ในโลกของชาวกรีก 1. จุดมุ่งหมายของการสร้างมหาวิหารตามความหมายดั้งเดิม
20
ชาวโรมันสมัยโบราณใช้ชื่อมหาวิหาร “Basilica” เพื่อหมายถึงสิ่งก่อสร้าง สาธารณะเพื่อใช้เป็น Corpus Iuris หรือ Law Court ทาการตัดสินความต่าง ๆ และ เนื่องจาก ชาวโรมัน กุมอานาจทั้งหมดในด้านการค้าเอาไว้ การตัดสินความต่า ง ๆ ส่วนใหญ่จึงเป็นเรื่องของการค้า นอกจากนี้ ยังเป็นที่รวมของการค้าในรูปแบบต่า ง ๆ ด้วย เพราะตามโครงสร้าง มหาวิหารจะมีส่วนหนึ่งใช้สาหรับค้าขาย (Commercial Exchange) 2. โครงสร้างของมหาวิหารตามความหมายดั้งเดิม ตามกฎเกณฑ์แล้ว มหาวิหารจะต้องถูกสร้างขึ้นโดยมีช่องทางเดินตรงกลาง ใหญ่ มีกาแพงสูงประกอบอยู่ทั้ง 2 ข้าง และช่องทางเล็ก โดยมีกาแพงที่ต่ากว่าขนาน อยู่ทั้ง 2 ข้างของช่องทางเดินใหญ่นั้น ช่องทางเดินเหล่านี้จะถูกแบ่งออกโดยเสาหิน และโดยส่วนใหญ่ (แม้ว่าจะไม่เสมอไป) ตอนปลายสุดของช่องทางเดินกลางใหญ่ จะมี ที่ทาการบริหารด้านความยุติธรรมหรือศาล โดยมีบัลลังก์ผู้ตัดสินความตั้งอยู่ นอก จาก นี้ ยังมีส่ว นที่แยกออกจากช่อ งทางเดินตรงนี้ เพื่อ ใช้ด้านการค้าขาย หรือเป็น ที่ สาธารณะด้านต่างๆ เรียกรวมๆ ว่า “ฟอรุม” (Forum) หลายครั้งจึงถูกเรียกพร้อมๆ กันว่า Forum et Basilica เช่น ที่ Forum Romanum มี Basilica Giulia, Basilica di Costantino เป็นต้น ความหมายแบบคริสตชน เราไม่พบความหมายของมหาวิหารแบบคริสตชนนี้ ก่อนสมัยจักรพรรดิคอนส แตนติน (Constantine) ความหมายของมหาวิหารแบบคริสตชนนี้ เริ่มมีมาตั้งแต่ศตวรรษ ที่ 4 โดยใช้ศิลปะกรีก -โรมัน นักเขียนต่าง ๆ ในศตวรรษที่ 4 ถึง ศตวรรษที่ 6 ใช้คาว่า “มหาวิหาร” ในลักษณะต่าง ๆ กันไป เช่น ใช้ในความหมายของบ้าน ความหมายของวัด ไม่ ไ ด้ ห มายถึ ง เฉพาะสถานที่ ป ระกอบพิ ธี ท างศาสนา แต่ ยั ง หมายถึ ง ที่ อ ยู่ ข อง พระสังฆราชด้วย ความหมายของมหาวิหารจึงแตกต่างจากซีนาโก๊ก (Sinagoque) ของ ชาวยิว เพราะซีนา โก๊กหมายถึงที่ชุมนุมของหมู่คณะเพื่อประกอบพิธีทางศาสนา แต่ม หา วิหารหมายถึง การสถิ ตอยู่อ ย่างลึกลับของพระ โดยมี พระสัง ฆราชเป็ นประธาน และ ควบคุมดูแลหมู่ คริสตชน จุดมุ่งหมายของการสร้างมหาวิหารตามความหมายแบบคริสตชน จึงเป็นการสร้าง เพื่อเป็นสถานที่นมัสการพระเจ้า โครงสร้างของการสร้าง พวกคริ สตชนได้ใช้ ลักษณะของการก่ อสร้างแบบกรีก-โรมันนี้ ผสมผสานกั บ ลักษณะบางอย่างของวัดน้อย (Chapels) ที่พวกคริสตชนสมัยถูกเบียดเบียนได้สร้างไว้ในกา ตาคอมบ์ (Catacomb) และตั้ง แต่ หลัง การเบียดเบีย น คือ ตั้ง แต่ห ลัง การกลับใจของ จักรพรรดิ คอน สแตนติน พวกคริสตชนก็ได้ใช้เพื่อเป็นสถานที่นมัสการพระเจ้า โดยมี ลักษณะ การสร้างโดยทั่ว ๆ ไปดังต่อไปนี้ : 21
1. มีช่องทางเดินกลางและข้าง ๆ โดยมีแนวเสาหินแบ่งออก มีประตูที่จะนาไปสู่มหา วิหารและช่องทางเดินเหล่านี้อย่างน้อย 3 ประตู นอกจากนี้ ยังมีลานกว้างภายนอก เพื่อใช้เป็นที่สาธารณะต่างๆ (forum) 2. มีแท่น ที่ แยกออกจากกาแพง สร้ างอยู่ภายในมหาวิหาร โดยมีปะร าคลุม แท่น ไว้ ภายใต้แท่นจะเป็น Confessio ซึ่งมักจะใช้เป็นที่เก็บร่างกายหรือพระธาตุขององค์ อุปถัมภ์ หรือ เป็นตาแหน่ง ที่เกิดเหตุการณ์สาคัญ ๆ เช่น Confessio ของมหาวิหาร นักบุญ เปโตร เป็นที่ฝังศพของท่านนักบุญเปโตร เป็นต้น 3. ที่นั่งหรือ บัล ลัง ก์ของพระสัง ฆราชจะตั้ง อยู่ที่กาแพงด้านหลังที่เป็นมุขยื่นออกไป โดยมีที่นั่งของพวกนักบวชอยู่ 2 ข้าง เป็นรูปครึ่งวงกลม และพระสังฆราชหันหน้า เข้าหาสัตบุรุษ เราสามารถสังเกตได้ว่า ที่นั่งของพระสังฆราชนี้ ก็คือที่นั่งของ ผู้ พิพากษาในความหมายแบบดั้งเดิม ทั้งนี้ เพื่อควบคุมประชากรของพระ อีกประการ หนึ่ง พิธี กรรมที่พระสังฆราชจะทา ก็กระทาต่อหน้าสัตบุรุษ มิใช่หันหลังให้ การตกแต่งอื่น ๆ ภายในมหาวิหารก็มีแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของ การสร้าง และตาแหน่งทางภูมิศาสตร์ แนวทางด้านสถาปนิกก็แตกต่างกันไป ขึ้น อยู่กับ จุดประสงค์ของการสร้างด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม การสร้างมหาวิหารถูกเรียกว่า เป็น รูปแบบแรกของโครงสร้างที่ถูกสร้างขึ้นสาหรับการนมัสการพระของคริสตชน เป็น ชื่อที่ถูกมอบให้กับวัดต่างๆ ที่มีความเก่าแก่ มีศักดิ์ศรี มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ หรือทางเทววิทยา หรือมีความหมายในฐานะเป็นศูนย์กลางพิเศษของการนมัสการพระ เจ้า ชนิดของมหาวิหาร ในสมัยปัจจุบันนี้ มหาวิหารมีอยู่ 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ Major และ Minor Major Basilica มีพระแท่นของพระสันตะปาปา และอาจจะมีประตูศักดิ์สิทธิ์ด้วย เพื่อจะเปิดรับ ปีศักดิ์สิทธิ์ ในบรรดามหาวิหารแบบนี้ที่เรารู้จักกันดี ได้แก่ Patriarchal Basilicas หรือจะ แปลเป็นภาษาไทย คงแปลได้ว่า “Basilica แห่งอัยกาของพระศาสนจักร” 1. มหาวิหารนักบุญยวง ลาเตรัน (St.John Lateran) เป็นมหาวิหารเอก เป็นมารดาของ พระศาสนจักร ได้รับเกียรติสูงสุดในพระศาสนจักร เป็ นมหาวิหารของสังฆอัยกา (Patriarch) แห่งพระศาสนจักรตะวันตก หรือพระสันตะปาปา 2. มหาวิหารนักบุญเปโตร(St.Peter) เป็นมหาวิหารสาหรับสังฆอัยกา (Patriarch) แห่ง คอนสแตนติโนเปิล (Constantinople) 3. มหาวิหารนักบุญเปาโล (St.Paul) นอกกาแพง สาหรับสังฆอัยกา (Patriarch) แห่ง อเล็กซานเดรีย (Alexandria) 22
4. มหาวิหารแม่พระ (Santa Maria Maggiore) สาหรับสังฆอัยกา (Patriarch) แห่ง อันทิ โอก (Anthioch) พระแท่นของพระสันตะปาปาที่กล่าวถึงนี้ มีแต่พระสันตะปาปาและผู้รับมอบ อานาจโดยตรงเท่านั้นที่จะประกอบพิธีบนพระแท่นนี้ได้ Minor Basilica ได้รับสิทธิพิเศษต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดพิธีหลาย ๆ อย่างในมหาวิหาร มีจานวน มากมาย ทั้งที่กรุงโรมและที่อื่น ๆ ทั่วโลก เป็นที่น่าสังเกตว่า วัด St. Francis และ St. Mary of the Angels ที่เมืองอัสซีซี (Assisi) ถูกจัดเป็น Major Basilica อีกประการหนึ่ง สัง คายนาสากลที่เ มือ ง Ferrara-Firenze-Rome ปี ค.ศ. 1439 ได้รวมพระศาสนจัก ร ตะวั น ตกและตะวั น ออกเข้ า ด้ ว ยกั น ดั ง นั้ น มหาวิ ห ารที่ ถู ก มอบให้ กั บ สั ง ฆอั ย กา (Patriarch) ต่าง ๆ จึงเป็นเพียงเกียรติและศักดิ์ศรีที่มอบให้เท่านั้น
2. มหาวิหารนักบุญเปโตร (Basilica S. Pietro)
มหาวิหารนักบุญเปโตร มีความสาคัญอย่างยิ่งในพระศาสนจักรคาทอลิก เพราะ เหตุว่า : 1. เป็นสถานที่นักบุญเปโตร (St.Peter) ได้พลีชีพเป็นมรณสักขีด้วยการตรึ ง บน ไม้กางเขน โดยศีรษะลงดิน ในระหว่างการเบียดเบียนศาสนา ในสมัยของจักรพรรดิเน โร ราว ค.ศ. 64 นักบุญเปโตร เป็นผู้ที่มีความสาคัญอย่างยิ่งใน พระศาสนาจักร คาทอลิก เพราะท่านเป็น พระสัน ตะปาปาองค์แรก เป็นผู้แทนของ พระเยซูเจ้าบน แผ่นดินนี้ 2. เป็ น ผู้ แ ทนและศู น ย์ กลางของพระศาสนจัก รคาทอลิ ก ทั้ ง ทางด้ า นพิ ธี ก รรม ข้อความเชื่อและ การบริหาร อีกทั้งที่ประทับขององค์พระสันตะปาปาก็อยู่บริเวณ เดียวกัน 3. เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ และเป็นเงื่อนไขหนึ่งในการแสวงบุญของบรรดาคริสตชน 1) อนุสาวรีย์รูปเสาแหลม (Obelisk) - บริเวณปัจจุบันที่เป็นจตุรัสเซนต์ปีเตอร์ แต่เดิมเป็นสนามกีฬาของชาวโรมัน มีชอื่ ว่า สนามกีฬาคาลิโกลา ซึ่งจักรพรรดิคาลิโกลา (Caligola) ได้ทรงสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 33 และต้องการตั้งเสาหินที่เรียกว่า Obelisco นี้ที่กลางสนาม เพื่อเป็นศูนย์กลางของ สนามกีฬา เสาหินนี้ ได้ถูกสร้างขึ้น ที่ Eliopoli ในประเทศอียิปต์ โดย Pharaoh Pheros และถูกย้ายมาที่เมืองอเล็กซาน เดรีย จักรพรรดิคาลิโกลาทรงมีรับสั่งให้ย้าย จากเมืองอเล็กซานเดรีย มาที่กรุงโรม ในสมัยกลาง ที่ กรุ งโรมมี ตานานเรื่ องหนึ่ งเล่ าว่า เสาหิ นนี้ ถู กสร้ างขึ้นโดย กษัตริย์ ซาโลมอน และฝุ่นขี้เถ้าของกษัตริย์ซาโลมอนถูกเก็บรัก ษาไว้ใน กล่องทองแดง ซึ่งอยู่บนยอดเสาหินนี้ ต่อมา จูลีอุส ซีซาร์ มาที่กรุงเยรูซาแลม ได้สั่งให้ย้ายเสาหินนี้มาที่กรุงโรม และได้เอาขี้เถ้าของกษัตริย์ซาโลมอนออกไป เมื่อซีซาร์สิ้นพระชนม์แล้ว ได้มีรับสั่งให้นากระดูกของพระองค์มาใส่แทนที่ ถึงแม่ 23
ว่าเรื่องนี้จะเป็นตานานที่เล่าสืบกันมา แต่บนเสาหินนี้มีอักษรลาตินจารึกไว้ว่า : “ซี ซาร์เป็นบุคคลที่ยิ่งใหญ่เทียบเท่ากับโลก และเวลานี้ ถูกเก็บอยู่ในกล่องข้างบนนี้ ” ถึง กระนั้น ก็ดี เมื่อ มีการสร้างมหาวิหารใหม่ และต้องทาการย้ายเสาหิน นี้ โดย Domenico Fontana เขาพบว่ากล่องข้างบนนี้เป็นกล่องที่ไม่สามารถบรรจุสิ่ง ใดไว้ภายในได้เลย พระสันตะปาปา ซีสโต ที่ 5 ได้นาเอาพระธาตุไม้กางเขนของพระเยซูเจ้า มา บรรจุไว้ภายในกางเขนบรอนซ์ที่อยู่บนยอดของเสาหินนี้ - สนามกี ฬ าที่ จั กรพรรดิ คาลโกลาได้ สร้ างขึ้ น นี้ ต่ อ มา ได้ ชื่ อ ว่ าสนามกี ฬาของ จักรพรรดิ เนโร เพราะที่นี่เอง ในสมัยที่มีการเบียดเบียนพวกคริสตัง สาเหตุมาจาก จักรพรรดิ เนโรเผากรุงโรม และป้ายความผิดให้กับพวกคริสตัง ได้มีการทรมาน และฆ่าพวกคริสตังอย่างทารุณมากมาย และในสนามกีฬาแห่งนีเ้ องทีเ่ ป็นสถานทีใ่ ช้ ตรึงกางเขนนักบุญเปโตร เล่ากันว่า มีมรณสักขี ที่สนามกีฬาแห่งนี้หลายร้อยคน แต่ไม่ทราบจานวนที่แน่นอน นอกจากนี้ ยังเป็นสถานที่ใช้ฝังศพของนักบุญเปโตร ซึ่งอยู่ใกล้ ๆ กับบริเวณที่ถูกตรึงกางเขนด้วย 2. หลุมฝังศพของนักบุญเปโตร - สมัยเบียดเบียนโดยจักรพรรดิวาเลรีอาโน (Valeriano) ปี ค.ศ. 258 พวกคริสตังได้ ย้ายศพของนักบุญเปโตรมาอยู่ที่กาตาคอมบ์เซบาสเตียน และอีก 60 ปีต่อมา พระ สันตะปาปาซิลเวสโตร ที่ 1 (Silvestro I) ได้ย้ายศพมาอยู่ที่วาติกันอย่างเดิมมีเรื่อง เล่าว่า ความศรัทธาต่อนักบุญเปโตรมีมากในสมัยนั้น จนถึงกับมีการแย่งชิง พระ ธาตุกันจากพระศาสนจักรตะวันออก รวมทั้งประเทศต่า ง ๆ ในยุโรปสมัยนั้น เช่น ฝรั่งเศส อังกฤษ - อย่างไรก็ดี ความเชื่อที่ว่าศพของนักบุญเปโตรถูกฝังที่นั่น ยังคงมีอยู่ตลอดเวลา แต่ การค้นหาหลุมศพของท่านนักบุญอย่างจริงจัง เริ่มมีขึ้นในปี ค.ศ. 1939, 1950 และ ในปี ค.ศ. 1953 ก็ค้นพบหลุมศพนี้ ในปี ค.ศ. 1962 ได้มีการนาเอากระดูกออกมา เพื่อพิสูจน์ และมีการถกเถียงกันต่าง ๆ นานา ในที่สุด พระสันตะปาปา เปาโล ที่ 6 ได้ให้การรับรองอย่างไม่เป็นทางการว่ า พระธาตุเหล่านี้คือพระธาตุของนักบุญเป โตร ปัจจุบัน ก็ยังคงมีการทางานนี้ ศึกษา ค้นคว้ากันอยู่ต่อไป 3. มหาวิหารแรกเริ่ม สร้างโดยจักรพรรดิคอนสแตนติน ตามความปรารถนาของพระมารดา คือ พระนางเฮเลนา และของพระสันตะปาปา ซิลเวสโตร ที่ 1 ในปี ค.ศ. 326 และสร้าง เสร็จในปี ค.ศ. 349 (23 ปี) โดยสร้างคลุมหลุมฝังศพของนักบุญเปโตร ดังนั้น จึงต้อง รื้อ สนามกีฬาของจักรพรรดิ เนโรออกไป ด้านหน้าของมหาวิหารสร้างเป็น วัง ที่ ประทับของพระสันตะปาปา ปี ค.ศ. 848 ได้เกิดเพลิงไหม้ที่วังของพระสันตะปาปานี้ แต่มหาวิหารรอดพ้น จากเพลิงไหม้ครั้งนี้ ชาวโรมันเชื่อกันว่า นี่เป็นเพราะพระสันตะปาปา เลโอเน ที่ 4 ได้หยุดเพลิงไหม้ครั้งนี้ด้วยการทาเครื่องหมายกางเขน 4. การสร้างมหาวิหารในปัจจุบัน 24
ปี ค.ศ. 1451 พระสันตะปาปา Niccolus V (ค.ศ. 1447-1455) ได้มอบหมาย ให้ Leon Battista Alberti สารวจสภาพของมหาวิหาร พบว่า สภาพของตัวอาคารทรุด โทรมมาก จนไม่สามารถที่จะซ่อมแซมได้ สิ่งเดียวที่สามารถทาได้คือ การสร้างมหา วิหารหลังใหม่ มิฉะนั้น มหาวิหารเก่านี้อาจจะล้มพังลงมาได้ พระสันตะปาปาจึงมอบ ให้ Bernardo Rossellino เป็นผู้ออกแบบก่อสร้าง พระองค์ต้องการให้สร้างมหาวิหาร หลังใหม่โดยใช้โครงสร้างเดิม อย่างไรก็ดี พระองค์ได้สิ้นพระชนม์ก่อน เรื่องนี้จึงหยุด พักไป พระสันตะปาปา จูลีอุส ที่ 2 (ค.ศ. 1503-1513) เป็นพระสันตะปาปาที่รักงาน ก่อสร้างและงานศิลปะ พระองค์ได้รวบรวมนักศิลปะชื่อดัง หลายท่าน มาร่วมทางาน กับพระองค์ เช่น ไมเคิลแองเจลโล ราฟาแอลโล และบรามันเต ได้มอบหมายให้ บรา มันเต วางแผนสร้างมหาวิหารนักบุญเปโตรหลังใหม่ มีพิธีวางศิลาฤกษ์วันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1506 และเตรียมหาเงินสาหรับการก่อสร้างด้วยการขายพระคุณการุณย์ ซึ่งต่อมา เป็นที่วิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักโดยพวกโปรเตสแตนท์ลูเธอรัน การออกแบบมหาวิหารหลังใหม่นี้ กาหนดให้เป็น 4 ส่วน คล้ายกับรูปทรง ของ ไม้กางเขน หมายถึง 4 มุมของโลก และโดม (Cupola) ที่อยู่ตรงกลางนั้น หมายถึง สวรรค์ บรามันเตเป็นผู้ออกแบบ Cupolo หรือโดมยักษ์ที่เราเห็นในปัจจุบัน ผู้รับงาน ต่อมาได้แก่ Antonio da Sangallo ปี ค.ศ. 1546 ไมเคิล แองเจลโล ได้รับมอบหมาย และรับงานอย่างไม่เต็มใจจากพระสันตะปาปา เปาโล ที่ 3 (ค.ศ. 1534-1549) เขา ทางานชิ้น นี้โดยไม่รับเงิน และรางวัลตอบแทน แต่ทาเพราะความนบนอบต่อพระ สันตะปาปา และ "เพื่อพระสิริมงคลของพระเจ้า เพื่อเป็นเกียรติแด่นักบุญเปโตร และ เพื่อความรอดของวิญญาณ" หลังจากไมเคิล แองเจลโล แล้ว งานนี้ถูกมอบต่อ มาโดย Giacomo della Porta ในสมัยพระสันตะปาปา ซีสตุส ที่ 5 (ค.ศ. 1585-1590) งานสร้างโดมมหาวิหาร นี้สาเร็จเรียบร้อย ในวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1590 (ใช้เวลาในการก่อสร้างถึง 84 ปี) การเคลื่อนย้ายเสาหิน (Obelisco) จากด้านซ้ายของมหาวิหาร มาไว้ที่กลาง จตุรัส ทาโดย Domenico Fontana ในปี ค.ศ.1585 ตามดาริของพระสันตะปาปา ซิสโต ที่ 5 ใช้คนถึง 800 คน และม้า 140 ตัว โดยใช้กลองตีเป็นจังหวะเพื่อให้ สัญญาณ ใน ระหว่างที่ทาการเคลื่อนย้ายเสาหินนี้ ผู้ทาการเคลื่อนย้ายต้องมีสมาธิ ต้องไม่ถูกรบกวน โดยเสียงจากภายนอกเลย พระสันตะปาปาออกคาสั่งและคาดโทษถึงตาย หากผู้หนึ่ง ผู้ใดเข้ามารบกวนการเคลื่อนย้ายนี้ หรือก่อให้เกิดเสียงรบกวนก็ตาม งานก่อสร้างตัวมหาวิหารก็เริ่มต่อไป ที่สุดในปี ค.ศ. 1614 Carlo Maderno ก็ ทาการสร้างด้านหน้า (Facciata) ของมหาวิหารเสร็จ Gian Lorenzo Bernini ได้สร้าง แขนของมหาวิหารด้วยเสาหิน ระหว่างปี ค.ศ. 1656-1667 แบรนินี เป็นผู้ สร้างแนว เสาหิน ที่เราเรียกกัน ว่า “อ้อมแขนของพระศาสนจัก ร” ในระหว่างปี 1656 ถึง 1667 ทาให้มหาวิหารเป็นดังมารดาของพระศาสนจักร และอ้าแขนต้อนรับทุกคนเข้า มาในพระศาสนจักรนี้ ไม่ว่าจะเป็นบรรดาคริสตชน พวกเฮเรติ๊ก (ผู้ยึดถือความเชื่อ 25
คาทอลิกแบบไม่ถูกต้อง) หรือผู้ที่ไม่มีความเชื่อเลย หรือมีความเชื่อต่างศาสนา เป็น แนว คิ ด ที่ แ บรนิ นี เป็ น ผู้ แ สดงออกมาให้ ท ราบด้ ว ยตนอง อั น ที่ จ ริ ง แบร์ นิ นี มี โครงการที่จ ะทาแนวเสาหิน แนวที่ 3 คือ เพื่อเป็น แนวปิด Piazza หรือ ลานหน้า มหาวิหารด้วย แต่แบร์นินีก็เสียชีวิตก่อนที่จะเริ่มต้น และโครงการนี้เป็นโครงการ เดียว ซึ่งยังไม่มีใครทาให้สาเร็จเลย บริเวณกลางลานมหาวิหาร มีจุดให้ชมแนวเสาหินของทั้ง 2 ด้าน แนวเสาหิน ทั้ง 2 ด้านนี้ ประกอบไปด้วย แนวเสาหิน 4 ต้น แต่จากจุดชมแนวเสาหินนี้ จะเห็นเสา หินเพียงต้นเดียวเท่านั้น นับว่า ทั้งการออกแบบและการก่อสร้างจะต้องเป็นไปด้วย ความถูกต้อง แม่นยา และน่าอัศจรรย์ใจอย่างยิ่ง ความสมบูรณ์ของโครงสร้างมหา วิหารนี้มาเสร็จเอาจริง ๆ ในปี ค.ศ. 1784 โดย Carlo Marchionni เมื่อเขาสร้างห้องซาค ริสเตีย (Sagrestia) เสร็จลง (รวมเวลา 278 ปี) งานทั้งหมดนี้สิ้นค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง 46,800,488 scudi (มาตราเงินสมัย โบราณ) แต่พระศาสนจักรได้จ่ายสาหรับงานนี้คือการแยกตัวออกไปของโปรเตส ตันท์ลูเธอรัน นับว่า เป็นการสูญเสียความเป็นสากล (Universality) Bernini สร้าง และออกแบบวงแขนโดยใช้เสาหิน เพื่อเป็นเครื่องหมายถึงการเปิดแขนรับมนุษยชาติ เข้า มาสู่ ความรอด โดมนั้น เปรี ยบเหมื อ นกั บศีร ษะ (แต่ ดูเ หมือ นว่า โครงสร้ างนี้ ก่อให้เกิดผลตรงข้ามแล้ว) เรื่องการแยกตัวของพวกโปรเตสตันท์นี้เป็นเรื่องยาวและ ซับซ้อนมาก ผู้ที่สนใจจะต้องศึกษาเพิ่มเติม มหาวิ ห ารได้ รั บ การเสกโดยพระสั น ตะปาปา อู ร์ บั น ที่ 8 ในวั น ที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1626 นับตั้งแต่การวางศิลาฤกษ์ เมื่อปี 1506 จนถึงได้รับการเสกใน ปี 1626 รวมเวลาการก่อสร้างทั้งสิ้น 120 ปี เฉพาะการสร้างโดม (Cupola) ใช้เวลา ทั้งสิ้น 84 ปี หากนับตั้งแต่การวางศิลาฤกษ์จนถึงการสร้างอ้อมแขนเสาหินเสร็จ ใช้ เวลาทั้งสิ้น 161 ปี และหากนับการสร้างทั้งสิ้นจบสิ้นลงโดยสมบูรณ์ในปี 1784 แล้ว มหาวิหารนี้ใช้เวลาสร้างทั้งสิ้น 278 ปี มหาวิหารนี้บรรจุคนได้ 20,000 คน มีความยาว 190 เมตร กว้าง 58 เมตร ความสูงจนถึงกางเขนยอดโดม รวม 136 เมตร
5. สถานที่สาคัญๆ ในมหาวิหาร - ศิลปะที่อยู่เหนือแท่นพระจิตนั้นมีชื่อว่า Gloria ผลงานของ Bernini เป็นแท่นที่อยู่ ด้านลึกสุดของมหาวิหาร เป็นที่ตั้งบัลลังก์ของนักบุญเปโตรที่เรียกว่า Cattedra di S. Pietro แต่ผลการศึกษาในปี ค.ศ. 1969 บัลลังก์นี้เป็นบัลลังก์ที่จักรพรรดิ Carlo il Calvo มอบให้แก่พระสันตะปาปา ยอห์น ที่ 8 ในโอกาสที่พระสันตะ ปาปาทรง 26
อภิเษกพระองค์เป็นจักรพรรดิในปี ค.ศ. 875 ปะราที่อยู่เหนือพระแท่นกลาง และ Confessio สร้างโดย Bernini ทาด้วยทองบรอนซ์ทั้งหมด - Confessio เป็นสถานที่แสดงเหตุการณ์พิเศษ หรือบุคคล หรือวัตถุ ที่มีความ หมาย พิ เ ศษ อั น เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องมหาวิ ห ารเอง ในที่ นี้ หมายถึ ง เป็ น ที่ ฝั ง ศพของ นักบุญเปโตร พระสันตะปาปาองค์แรกของพระศาสนจักรคาทอลิก ในการสร้ าง ปะราที่อยู่เหนือพระแท่นกลางนี้ ต้องใช้ทองบรอนซ์จานวนมาก พระสันตะปาปา จึงได้สั่งให้วัดต่างๆ ในกรุงโรม ยอมสละทองบรอนซ์ในวัดของตน เพื่อนามาใช้ ในการสร้างครั้งนี้ เรื่องนี้ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางในสมัยนั้นด้วย หากเราไปเยี่ยมโบสถ์ต่าง ๆ ในกรุงโรม บางแห่งจะลงประวัติเกี่ยวกับเรื่องนี้เอาไว้ ด้วยว่า ในรูปนักบุญบางรูป แท่นบางแท่น เคยมีทองบรอนซ์ แต่ถูกนาไปสร้างแท่น ทองบรอนซ์ในมหาวิหารนักบุญเปโตร - ผลงานของ ไมเคิล แองเจลโล (ค.ศ. 1475-1564) มีดังต่อไปนี้ : 1. Pietà เป็นรูปที่แกะสลักจากหินอ่อนทั้งแท่ง ใช้เวลาในการทาถึง 7 ปี ใบหน้า ของแม่พระ เป็นใบหน้าของหญิงสาวชาวตะวันออก เป็นใบหน้าที่อ่อนวัยกว่า ใบหน้าของพระเยซูเจ้า เพื่อแสดงว่า แม่พระได้รับรู้ชะตากรรมของพระนาง ล่วง หน้า และราพึงอยู่นานแล้ว เป็นรูปแกะสลักที่มีชื่อเสียง มีความกลมกลืน และให้ความรู้สึกที่ดีมาก เป็นรูปพระแม่มารีอารับพระศพของพระเยซูเจ้าลงจากกางเขน ความทุกข์ ของแม่คนหนึ่งที่มีลูกชายของตนนอนตายอยู่ที่ตักของตน เป็นส่วนหนึ่งของ ความรู้สึกที่บรรดาคริสตชนมีต่อพระแม่มารีอา จนเรียกพระนางว่า “แม่พระมหา ทุกข์” (Mother of Sorows) รูปแม่พระมหาทุกข์นี้ของไมเคิ้ล แอนเจโล เป็นรูป แม่พระมหาทุกข์ที่มีชื่อเสียงที่สุด ไมเคิ้ล แอนเจโล สลักรูปนี้เสร็จเมื่อมีอายุ เพียง 24 ปีเท่านั้น ในปี ค.ศ. 1499 และเป็นผลงานเพียงชิ้นเดียวของท่านที่ได้ สลักชื่อของท่านไว้ด้วย โดยมีเหตุผลอยู่ 2 ประการ ได้แก่ : 1) เพราะท่านพอใจในผลงานชิ้นนี้มาก 2) เพราะมีศิ ล ปิ น บางคนในยุ คของท่ านไปแอบอ้างว่ าเป็ น ผู้ สลัก และ ประชาชนไม่เชื่อว่า ศิลปินหนุ่มอายุ 24 ปีจะสามารถแกะสลักรูปจาก หินแท่งเดียวได้สวยงามถึงขนาดนี้
27
ชื่อของท่านถูกสลักไว้ที่แถบผ้าที่พาดอยู่บริเวณอกของแม่พระ โดยสลัก เป็นภาษาลาตินไว้ว่า “ไมเกิ้ล บัวนารอตติ ชาวฟลอเรนซ์ เป็นผู้ทา” ต่อมา ท่าน ก็รู้สึกเสียใจที่ได้สลักชื่อไว้ เอกลักษณ์ประการหนึ่งของรูปนี้ ก็คือ ใบหน้าของแม่พระและพระเยซูเจ้า จะเป็นวัยใกล้เคียงกัน หรือวัยเดียวกัน เรื่องนี้ ไมเคิล แองเจลโล อธิบายไว้ว่า เพื่อให้ความหมายว่า พระเยซูเจ้าเป็นกษัตริย์ และพระนางมารีอาเป็นราชินีแห่ง สากลจักรวาล อีกทั้งความสาวของพระนางมารีอายังเป็นเครื่องหมายแห่งความ บริสุทธิ์ของพระนางอีกด้วย ในปี ค.ศ. 1972 ชายคนหนึ่งชื่อ Laszlo Toth ได้ใช้ฆ้อนอันหนึ่ง เข้าไป ทุบบริเวณนิ้วมือของพระนางมารีอาจนเสียหาย ต่อมา ชายคนนี้ได้ถูกจั บ แต่ก็ พบว่าเป็นคนเสียสติคนหนึ่งเท่านั้น อย่างไรก็ตาม มหาวิหารนักบุญเปโตรจึงได้ สร้างห้องกระจก และไม่ยอมให้ใครเข้าไปถึงรูปสลัก นี้อีกเลย นอกจากแขก พิเศษของมหาวิหารเท่านั้น 2. แท่นที่มุมมหาวิหาร คือ 4 ด้านของแท่นกลาง 3. โดมทั้งหมด 4. ช่องทางเดินด้านข้างทั้ง 2 ด้าน - สถานที่ฝังพระศพของพระสันตะปาปา มีพระศพของพระสันตะปาปาในสถานที่ แห่งนี้ประมาณ 130 องค์ ที่ฝังพระศพของพระสันตะปาปาที่มีชื่อเสียง และมีผู้นิยม มาเยี่ยมชมและสวดภาวนามากที่สุดในเวลานี้ ได้แก่ หลุมศพของพระสันตะปาปา ยอห์ น ที่ 23 และหลุ ม ศพของพระสั น ตะปาปา ยอห์ น ปอล ที่ 2 เพราะทั้ ง 2 พระองค์นี้ บรรดาคริสตชนให้ความเคารพยกย่องอย่างสูง และวันข้างหน้า อาจจะได้ เป็นนักบุญด้วย - รูปนักบุญเปโตรนั่งบัลลังก์ (ธรรมาสน์นักบุญเปโตร) ทาด้วยทองบรอนซ์ทั้งหมด เป็นผลงานในศตวรรษที่ 5 แต่นักศึกษาคนหนึ่ง ชื่อ Wickhoff ได้ยืน ยันว่าเป็ น ผลงาน ในศตวรรษที่ 13 ความจริง หากพิจ ารณาเปรี ยบเทียบกั บศิ ลปะในสมั ย จักรวรรดิโรมัน งานชิ้นนี้ต้องเป็นผลงานในสมัยศตวรรษที่ 5 เป็นรูปที่ถูกเก็บรักษาไว้ เพื่อเป็นสัญลักษณ์อันหมายถึงอานาจที่พระเยซูเจ้าทรงมอบให้แก่พระสันตะปาปา การยอมรับอานาจนี้ถูกแสดงออกโดยการจูบเท้าของท่านนักบุญเปโตรนี้ รูปนี้ถูก รักษาไว้จนถึงปัจจุบัน และยังมีอีกหลายมหาวิหารที่ได้สร้างเลียนแบบรูปนี้ ไปตั้ง แสดงความจงรักภักดีต่อพระสันตะปาปาด้วย นอกจากนี้ ในมหาวิหารยังมีผลงานของนักศิลปะต่าง ๆ มากมาย เฉพาะผู้ที่ สนใจศิ ล ปะเท่ านั้ น จะค้ น พบถึ ง ความสามารถและความละเอี ยดอ่ อ นของศิ ล ปะ เหล่านั้น 28
สิ่งที่น่าชมเป็นบุญตา และความชื่นใจของนักท่องเที่ยวไทย ถ้าหากมีโอกาส และมีกาลัง ก็คือ แผ่นศิลาจารึก การเสด็จเยี่ ยมมหาวิหารของพระบาทสมเด็จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี ค.ศ. 1897 ซึ่งติดตั้งไว้บนกาแพงของทางบันไดขึ้ นไปยัง โดมข้างบน (Cupola) เขียนเป็นภาษาอิตาเลียน ลองสังเกตดู คาว่า Siam ก็ได้ แต่การ ขึ้นบันไดจนถึงยอดโดม เพื่อดูทิวทัศน์ กรุงโรมนั้นก็เหนื่อยเอาการอยู่นะครับ ปัจจุบัน การเข้าชมมหาวิหารจะต้องผ่านการตรวจจากเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัยและเจ้าหน้าที่ตารวจ การเยี่ยมชมก็แบ่งช่องการเดินไว้อย่างชัดเจน คื อ ช่อง ทางสาหรับเยี่ยมชมมหาวิหาร ช่องทางเดินสาหรับเยี่ยมชมสุสาน ซึ่งอยู่ใต้ดินของมหา วิหาร สุสานนี้เป็นที่ฝังพระศพของพระสันตะปาปา ราชินี พระคาร์ดินัลผู้มีชื่อเสียง และช่องทางเดินเพื่อไปขึ้นชมโดม เพราะฉะนั้น แม้จะเป็ นเพียงมหาวิหารแห่งเดียว แต่รวมการเดินชมทั้งหมดแล้ว ก็คงต้องเหนื่อยกันหน่อย
3. มหาวิหารแม่พระ (Santa Maria Maggiore)
มหาวิหารแห่งนี้ตั้งอยู่บนเนิน Esquiline ก่อสร้างโดยพระสันตะปาปา ลิแบรีโอ (Liberio) ในปี ค.ศ. 352 พระสันตะปาปาองค์นี้มีชีวิตอยู่ระหว่างปี ค.ศ. 352-366 ใน ฐานะที่พระสันตะปาปาเป็นผู้สร้าง มหาวิหารแห่งนี้จึงถูกเรียกอีกชื่อ หนึ่งว่า Basilica Liberiana ในปี ค.ศ. 366 หลังจากที่พระสันตะปาปา ลิแบรีโอ สิ้นพระชนม์ ปรากฏว่ามี การเลือกตั้งพระสันตะปาปาขึ้นมา 2 องค์ คือ พระสันตะปาปา ดามาซุส (Damasus) และ พระสันตะปาปา อูร์ซีนุส (Antipope Ursinus) ความจริง ในสมัยของพระสันตะปาปา ลิแบ ริโอ ก็มีพระสันตะปาปา 2 องค์เช่นกัน คือมี พระสันตะปาปาเฟลิกซ์ (Antipope Felix II ค.ศ. 355-365) และเพราะเหตุนี้เอง เมื่อพระสันตะปาปาทั้งสองพระองค์นี้สิ้น พระชนม์ ผู้ ที่สนับสนุนแต่ละฝ่ายต่างก็เลือกพระสันตะปาปาของตนขึ้นมา ฝ่าย พระสันตะปาปา ลิ แบรีโอ ได้เลือกอูร์ซีนุส (ค.ศ. 366-367) ฝ่ายพระสันตะปาปา เฟริก ได้เลือกดามาซุส แต่ เนื่องจากอูร์ซีนุส ทาการอภิเษกตนเองเป็นพระสังฆราชก่อนกาหนด การอภิเษกนี้ จึงเป็น ไม่ถูกต้อง (illegal) ประชาชนต้องการให้อูร์ซีนุสออกจากกรุงโรมไป และให้ดามาซุสเป็น พระสันตะปาปาแต่เพียงผู้เดียว พระสันตะปาปา อูร์ซีนุส ได้เข้ายึดครองมหาวิหารแห่งนี้ไว้ ฝ่ายพระสัน ตะปาปา ดามาซุส ได้ว างแผนโจมตีม หาวิหาร โดยลงมาจากหลัง คามหา วิหาร และได้เกิดการสังหารหมู่ในที่นี้ ฝ่ายพระสันตะปาปา อูร์ซีนุส เสียชีวิตไป 137 คน จักรพรรดิวาเลนตีเนียน (ค.ศ. 364-375) อนุญาตให้พระสันตะปาปา อูร์ซีนุส กลับมาที่ กรุงโรมได้ และพวกนี้จึงเข้ามาตั้งหลักที่มหาวิหาร โดยถือเป็นที่ประทับ (Sede) ของ พระสันตะปาปาองค์นี้ในปี ค.ศ. 367 แต่ในปีเดียวกันนี้เอง พวกเขาก็ถูกเนรเทศอีก เพราะ เป็นตัวการยึดครองบัลลังก์ของพระสันตะปาปา ดามาซุส มหาวิหารแห่งนี้ บางครั้งถูก เรียกชื่อว่า มหาวิหารอูร์ซีนีอานาด้วย โครงสร้างของมหาวิหารปัจจุบันนี้ มาจากการสร้างขึ้นใหม่ของพระสันตะปาปา ซีกตุส ที่ 3 (ค.ศ. 432-440) และยกถวายให้แด่แม่พระ ในฐานะที่เป็นมารดาของพระเจ้า หลังจากสังคายนาที่ Efeso ปี ค.ศ. 431 ที่ยืนยันข้อความเชื่อนี้ต่อต้านพวกเนสตอเรียนที่ 29
สอนว่าพระนางมารีอ าเป็น มารดาของพระเยซู ไม่ใช่เ ป็นมารดาของพระเจ้า และนับ ตั้งแต่ในปีนั้นเป็นต้นมา มหาวิหารได้รับการซ่อมแซม ตกแต่งให้สวยงามขึ้นมาหลาย สมัย มุข ที่ยื่นออกไปด้านหลังพระแท่นกลางนั้นได้รับการตกแต่งโดยพระสันตะปาปา Niccolo IV (ค.ศ. 1288-1292) ส่วนด้านหน้าของมหาวิหารได้รับการซ่อมแซมตกแต่งโดย พระสันตะ ปาปา เคลเมนต์ ที่ 10 (ค.ศ. 1670-1676) นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1400 เป็นต้นมา มหาวิหารแห่งนี้ได้รับสิทธิ์ให้เป็นหนึ่งในสี่ของ มหาวิหารที่จาเป็น เพื่อรับพระคุณการุณย์ในปีศักดิ์สิทธิ์ ตามประเพณีนิยมในสมัยกลาง (ศตวรรษที่ 8 ถึงศตวรรษที่ 14) ได้มีตานานเล่าว่า แม่พระต้องการให้สร้างวัดถวายแด่พระนางบนเนินแห่งนี้ โดยให้เครื่องหมายคือรอยเท้า ของพระนางบนหิมะที่ตกมาในฤดูร้อนบนเนินแห่งนี้ ตานานเรื่องนี้ทาให้เกิดมีวันฉลอง The Feast of Our Lady of Snows (แม่พระแห่งภูเขาหิมะ) ทุกวันที่ 5 สิงหาคมของทุกปี และยังถือเป็นวันฉลองมหาวิหารแห่งนี้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน มหาวิหารแห่งนี้ แม้ว่าจะเป็นมหาวิหารที่เล็กกว่ามหาวิหารอีก 3 แห่งก็ตาม แต่ก็ เป็นวัดที่ยกถวายแด่แม่พระที่ใหญ่ที่สุดในกรุงโรม ในกรุงโรมมีวัดที่ถวายแด่แม่พระอยู่ ทั้งหมด 80 วัดด้วยกัน สมบัติที่ล้าค่าของมหาวิหารแห่งนี้ มีอยู่ 2 ชิ้นคือ : 1. ส่วนหนึ่งของรางหญ้าที่พระกุมารประทับ ภายหลังที่ถือกาเนิดมาในโลกนี้ 2. รูปวาดแม่พระ ที่เชื่อกันว่าเป็นของนักบุญลูกา รางหญ้าพระกุมาร รางหญ้าพระกุมารนี้ถูกนามาจากเบธเลเฮมในปี ค.ศ. 642 ในสมัยพระสันตะปาปา เทโอโดโร ที่ 1 (Teodoro I) มหาวิหารนี้จึงถูกเรียกว่า Ad praesepe และรางหญ้านี้ได้รับ การประดับประดาอย่างสวยงาม นับตั้งแต่ปีนั้นเป็นต้นมา ก็ เกิดมีธรรมเนียมที่กาหนดว่า พระสันตะปาปาจะมาถวายมิสซาเที่ยงคืนในโอกาสพระคริสตสมภพที่มหาวิหารนี้ แต่ ในปัจจุบันธรรมเนียมนี้ได้ถูกยกเลิกไป ตามธรรมเนียมนี้ มิสซาพระคริสตสมภพมี 3 มิสซาคือ : 1. มิสซาเที่ยงคืน จะทาที่มหาวิหารแม่พระ 2. มิสซารุ่งอรุณ จะทาที่มหาวิหารนักบุญอานาสตาซีโอ (Basilica di S. Anastasio) 3. มิสซาเช้า จะทาที่มหาวิหารนักบุญเปโตร หรือมหาวิหารแม่พระ ปัจจุบัน มิสซาทั้งหมดได้ทาที่มหาวิหารนักบุญเปโตร รูปวาดแม่พระ เชื่อ กัน ว่าวาดโดยนักบุญลูกาผู้เป็นทั้งแพทย์และนัก วาดภาพ พระสันตะปาปา ซีสโต ที่ 3ได้นารูปนี้มาทาพิธีแห่ที่กรุงเยรูซาแลมในโอกาสพิเศษต่างๆ ในปี ค.ศ. 590 พระสันตะปาปาเกรโกรี (Pope Gregory, the Great) ได้ทรงจัดให้มีก ารแห่รูปนี้จ าก มหาวิหารแม่พระมาที่มหาวิหารนักบุญ เปโตร เพื่อป้องกันโรคระบาด (กาฬโรค) ที่กาลัง คุกคามกรุงโรมอยู่ในเวลานั้น รูปนี้เป็นศิลปะไบแซนทีน และศิลปะนี้มีอยู่จนถึงศตวรรษ 30
ที่ 12 ซึ่งเชื่อกันว่านักบุญลูกาเป็นผู้วาด และเป็นรูปเดียวกับที่พระสันตะปาปาเกรโกรี ทรงใช้ ต่อมา วันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1835 พระสันตะปาปาเกรโกรี ที่ 16 ได้ทรงใช้รูปนี้อีก ครั้งหนึ่งในการแห่จากมหาวิหารแม่พระมาจนถึ งมหาวิหารนักบุญเปโตร เพื่อป้องกัน อหิวาต์ตกโรคที่กาลังระบาดอยู่ในเวลานั้น
Basilica di Santa Prassede
เราคนไทยคงไม่เคยได้ยินชื่อนักบุญองค์นี้แน่ๆ อย่าว่าแต่คนไทยเลยครับ ฝรั่ง หลายคนก็ ไม่รู้จัก เหมือ นกัน ตามที่บ อกแล้ว ในพระศาสนจัก รเรามีม หาวิห ารหรื อ Basilica ทั้งแบบเมเจอร์ ไมเนอร์ มากมาย ดังนั้นถ้าหากเราเดินชมเมืองต่างๆในยุโรป แล้วเห็นเขียนว่า Basilica หน้าวัดไหนก็ตาม เข้าไปชมเถอะครับจะมีบางสิ่งบางอย่างที่ พิเศษเสมอในวัดหลัง นั้น ออกจากประตูหน้ามหาวิหารแม่พระแล้วข้ามถนนด้านขวา แล้วก็เลี้ยวขวาตรงซอยแรกที่ เจอทางขวามือ เราจะพบกับมหาวิหารนักบุญ ปราซเซเด ครับ ประตูทางเข้าอาจจะแปลกตาสักหน่อยแต่ก็เป็นประตูครับ เข้าได้ ทันทีที่อยู่ภายใน เราจะรับรู้ถึงความเก่าแก่ของวัดจากบรรยากาศและศิลปะที่อยู่ในวัด มารู้จักกับนักบุญ ปราซเซเดกันเล็กน้อย นักบุญองค์นี้เป็นพี่น้องกับนักบุญ Pudentiana ทั้งสองคนเป็นลูก สาวของนักบุญ Pudens นักบุญเปาโลเคยมาพักที่บ้านของท่าน และครอบครัวนี้ก็เป็น คริสตชนที่กลับใจโดยเปาโลเป็นกลุ่มแรกๆ เลยด้วย ปราซเซเด ปละปูเดน ซีอานา ถูก ประหารชีวิตตามกฎหมายโรมันเพราะลักลอบทาพิธีฝัง ศพให้แก่มรณสักขีในสมัยนั้ น ดังนั้นสัญลักษณ์ของปราซเซเดก็คือรูปหญิงสาวที่กาลังรวบรวมเลือดของบรรดามรณ สักขี วัดน้อยหลังแรก สร้างเหนือที่ฝังศพของปราซเซเดในราวปี 112 และก็มี การ สร้างและบูรณะขึ้นใหม่เป็นระยะ หลังปัจจุบันนี้สร้างโดยพระสันตะปาปา ปาสกัลป์ที่ 1 ในปี 822 ตอนนั้น ปาสกัล และจักรพรรดิ ชาร์ลเลอมาญ ต้อ งการน าพาพระศาสนจัก ร ไปสู่ร ากฐานเดิม ของเทววิทยาและศิล ปะจึง สร้างวัดนี้ ขึ้น ใหม่ ปาสกัล ป์น าพระธาตุ กระดูกและขี้เถ้าของมรณสักขีที่อยู่ในคาตาคอมบ์ประมาณสามหมื่นคนมาไว้ที่วัดน้อย ใต้ดินที่นี่ และอีกจานวนมากมายแจกจ่ายไปอยู่วัดต่างๆในกรุงโรม ประมาณ 100 วัด หากเราไปเยี่ยมคาตาคอมบ์ที่นั่น ไม่มีพระธาตุของนัก บุญเหลือแล้ว แต่คนที่ไปและ พยายามเอาดินหรือฝุ่นดินกลับบ้านมาด้วยเล่าว่าได้พบกับอะไรๆที่ไม่อยากพบ จนต้อง ขอโทษและนากลับมาคืน สิ่งที่น่าสนใจมากอีกอย่างหนึ่ง ก็คือ ศิลปะ โมซาอิคหรือโมเสด ที่นี่ นับว่าเป็น โมเสดที่เ ก่าแก่ควรแก่การศึกษาอย่างยิ่ง เหนือ พระแท่น กลางะจมีรูปพระเยซูจ้าเป็น ศูนย์กลาง แล้วก็รูปของนักบุญเปโตรและเปาโล เปาโลกาลังถวายนักบุญปราซเซเดและ ปูเดนซีอานาแด่พระเยซู ส่วนไกลๆทางซ้ายมือเป็น รูปของพระสันตะปาปา ปาสกัล ป์ กาลังถวายวัดนี้แด่พระเยซูเจ้า ที่ศีรษะมีรัศมีสี่เหลี่ยมแทนที่จะเป็นวงกลม เพื่อบอกว่า 31
พระองค์ยังมีชีวิตอยู่ตอนที่กาลังทาโมเสดนี้ มีเขียนอธิบายไว้ด้วยว่า หวังว่าของถวายนี้ จะเพียงพอที่จะให้พระองค์มีที่ในสวรรค์ ที่ควรดูอีกอย่างหนึ่งที่นี่ก็คือวัดน้อยนักบุญ เซโน( eno สร้างขึ้น เพื่อ เป็นที่ฝัง ศพของมารดาชื่อ ธีโอโดรา ประดับประดาด้ว ยโมเสด ถ้าจะดูให้ชัด ต้อ ง จ่ายเงินก่อนครับ หยอดเหรียญแล้วไฟจะติด สวยงามมาก นอกจากโมเสดแล้วอีกมุมหนึง่ ของวัดน้อยนี้ แสดงเสาหินที่พระเยซูเจ้าถูกมัดและ บนจวนปิลาตก่อนที่จะถูกนา ตัวไปตรึงกางเขน เราจะเห็นท่าทางที่พระองค์ถูกมัดและถูกเฆี่ยน อย่าลืม สวดด้วยนะ ครับเวลาชม หินส่วนหนึ่งจากเสาหินนี้ก็ถูกนาไปไว้ที่วัด กางเขนศักดิ์สิทธิ์แห่ง เยรูซา แลม ในกรุงโรมด้วย(Basilica Santa Croce di Gerusalemme) เสาหินนั้น นักบุญเฮเลนา มารดาของจักรพรรดิ คอนสแตนตินเป็นผู้ค้นพบ ตอนอายุ 80 ปีพระนางไปแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ เพื่อรวบรวมพระธาตุต่างๆที่เกี่ยวกับ พระ เยซูเจ้าและสร้างวัดต่างๆที่นั่น พระนางพบหลายสิ่งหลายอย่าง เช่น ไม้กางเขน ตะปู มง กุฎิหนามของพระเยซูเจ้า เป็นต้น ในระหว่างสงครามครูเสด เสาหินนี้ถูกนามาจากเมือง คอนสแตนตินโนเปิ้ลในปี 1223 มีผู้พยายามพิสูจน์ว่าเป็นของแท้หรือไม่ แต่ที่สุดแล้วก็ ไม่มีหนทางทางวิทยาศาสตร์หรือทางนิติเวชศาสตร์ใดๆสามารถทาได้ ทั้งหมดจึงขึ้นอยู่ กับประเพณีปฏิบัติที่สืบต่อกันมาหรือความเชื่อนั่นเอง
วัดพระมารดานิจจานุเคราะห์
วัดนี้อยู่ไม่ห่างจากวัดนักบุญปราซเซเดเลย ออกมาถึงถนนใหญ่แล้วเลี้ยวขวาเดิน ไปไม่กี่ก้าว ก็ข้ามถนนก็ถึงวัดพระมารดานิจจานุเคราะห์แล้วละครับ รูปพระมารดานิจจา นุเคราะห์ต้นฉบับอยู่ที่นี่ครับ ตั้งแต่พระสันตะปาปามอบให้คณะสงฆ์มหาไถ่รับผิดชอบ เผยแพร่ความศรัทธาต่อพระรูปนี้ มีมีใครรู้ว่าใครวาด แต่รูปนี้มีอัศจรรย์มากมายเกิดขึ้น กรอบรูปของแม่พระได้น าไปเป็น พระธาตุและน าไปให้คริสตชนได้ภาวนา รวมถึง ประเทศไทยของเราด้ว ย เราก็จ ะไปสวดภาวนาที่นี่กัน เล็ก น้อ ย ที่ นี่ยัง มีของที่ร ะลึ ก เกี่ยวกับ พระมารดานิจจานุเคราะห์จาหน่าย น่าสนใจมากครับ
มารีย์ มารดานิจจานุเคราะห์
พระเยซู เ จ้ า ได้ ท รงประทานแม่ พ ระให้ เ ป็ น แม่ ข องพวกเราทุ ก คนคอยดู แ ล ช่วยเหลือพวกเราอยู่ตลอดเวลา แม่พระเปี่ยมไปด้วยความรัก ความเมตตา แม่พระสุภาพ และอ่อนโยนอย่างหาที่สุดมิได้ แม้ว่าเวลาจะผ่านไปปีแล้วปีเล่า แม่พระยังคอยช่ วยเหลือ พวกเราและเชื้อเชิญเราให้มาสัมผัสความรักความเมตตาอันมิรู้สิ้นสุดของ พระเยซูคริ สตเจ้าอยู่ตลอดเวลา
32
รูปแม่พระนิจานุเคราะห์ เป็นรูปไอคอนวาดบนแผ่นไม้ ขนาด 17 x 21 นิ้ว เป็น รูปที่มี ความศักดิ์สิทธิ์และผู้คนให้ความศรัทธาต่อพระรูปนี้เป็นอันมาก มีบันทึกว่ า รูป ไอคอนรูปนี้เดิมทีเดียวถูกประดิษฐานอยู่ ณ วัดแห่งหนึ่งที่เกาะครีต (Crete) เป็นรูปที่มี ชื่อเสียงและเกิดอัศจรรย์มากมายผ่านทางพระรูปนี้ ไม่มีหลักฐานบ่งชี้แน่นอนว่าใครเป็น ผู้วาดภาพนี้และมาอยู่ที่เกาะครีตได้อย่างไร เรื่องราวที่เราพอจะรู้ได้ก็คือ ในราวปี ค.ศ. 1450 พ่อค้าชาวกรีกผู้หนึ่ง ได้ขโมยพระรูปนี้และนาติดตัวไปขณะเดินทางโดยเรือมุ่ง หน้าสู่กรุงโรม หลังจากที่เขาถึงกรุงโรมแล้ว พ่อค้าผู้นี้เกิดป่วยหนัก ขณะที่ใกล้จะสิ้นใจ เขาได้สารภาพต่อเพื่อนชาวโรมันถึงรูปแม่พระที่เขาได้ขโมยมา และขอร้องให้นารูปแม่ พระนี้ไปมอบให้กับวัดที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้คนทั้งหลายได้แสดงความเคารพบูชาอย่าง สง่า เพื่อ นผู้นี้ตกลงยิน ยอมที่จ ะทาตามคาขอร้อ งนั้น แต่ภรรยาของเขาไม่ยอม ต่อ มา เพื่อนชาวโรมันผู้นี้ก็ล้มป่วยลงและสิ้นใจในที่สุด หลังจากนั้น แม่พระได้ปรากฏมาและบอกให้ลูกสาวของเขานารูปของพระแม่ ไป ประดิษฐานยังวัดนักบุญมัทธิว ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างมหาวิหารเซนต์แมรี่ เมเจอร์ และมหา วิหารเซนต์จอห์น ลาเตรัน และแล้วรูปแม่พระนิจจานุเคราะห์ได้ถูกนาไปประดิษฐานที่ วัดนักบุญมัทธิว โดยมีนักบวชเอากุสติเนียนดูแลอยู่ ในวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1499 และ อยู่ที่นี่เ กือ บ 300 ปี จนกระทั่งกองทัพนโปเลียนบุกกรุงโรม ในปี ค.ศ. 1798 ราว 5 ปี ต่อมา วัดนักบุญมัทธิวได้ถูกทาลายลง นักบวชเอากุสติเนียน ได้นาพระรูปนี้ไปซ่อนไว้ ยังอารามแห่งหนึ่งของพวกเขา อย่างไรก็ตาม บราเดอร์ท่านหนึ่งมักจะเล่าถึงเรื่องราวอัศจรรย์ต่างๆ ที่ผู้คนได้รับ ผ่านทางรูปไอคอนนี้ให้กับเด็กช่วยมิสซาที่ชื่อไมเคิล มาร์ชี่ฟังอยู่เสมอ ต่อมาภายหลังเขา ได้บวชเป็นพระสงฆ์ในคณะพระมหาไถ่ เมื่อมาร์ชี่พูดถึงเรื่องราวของพระรูปนี้ให้เพื่อน พระสงฆ์ในคณะฟัง พวกเขาพบว่าวัดนักบุญอัลฟอนโซของพวกเขานั้นถูกสร้างขึ้นใกล้ กับบริเวณเดิมของวัดนักบุญมัทธิว เมื่อได้ศึกษาประวัติศาสตร์และมีหลักฐานชัดเจนแล้ว คณะพระมหาไถ่จึงได้ถวายคาร้องต่อพระสันตะปาปาปีโอที่ 9 เพื่อนารูปแม่พระนิจจานุ เคราะห์ ม าประดิ ษ ฐานที่ วั ด นั ก บุ ญ อั ล ฟอนโซ ใกล้ กั บ บริ เ วณเดิ ม ที่ พ ระรู ป เคย ประดิษฐานอยู่ ต่อมาในวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ.1865 พระสันตะปาปา ปีโอที่ 9 ได้ให้คุณ พ่อมาร์ชี่และคณะผู้ใหญ่เข้าเฝ้า พระองค์ได้รับฟังคาบรรยายถึงความเป็นมาของพระรูป และคาร้อ งขอของคณะพระมหาไถ่ในเรื่อ งนี้ ในที่สุด พระสันตะปาปาปีโ อที่ 9 ได้ อนุมัติให้นารูปแม่พระนิจจานุเคราะห์ไปประดิษฐานยังวัดนักบุญอัลฟอนโซ และรับสั่ง แก่ คณะพระมหาไถ่ว่า “จงทารูปนี้ให้เป็นที่รู้จักทั่วโลก” รูปแม่พระนิจจานุเคราะห์ได้ ถูกนามาประดิษฐานอย่างสง่าที่วัดนักบุญอัลฟอนโซ ในวันที่ 26 เมษายน ค.ศ.1866 และ ยังคงประดิษฐานอยู่ที่นั่นจนถึงทุกวันนี้
4. มหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกาแพงกรุงโรม (St. Paul's outside the walls)
33
ตามหนังสือ Liber Pontificalis ปี ค.ศ. 251-253 สตรีใจศรัทธาชาวโรมันผู้หนึ่ง ชื่อลูซีนา (Lucina) ได้ย้ายศพของนักบุญเปาโล (รวมทั้งของนักบุญเปโตรด้วย) จาก กา ตาคอมบ์ (Catacomba) และได้นาศพของนักบุญเปาโลมาตั้งไว้ในที่ดิน ของตน ที่ถนน Ostian Way (Via Ostiense) แต่ศพของเธอถูกฝังที่ Appian Way ใน Crypt of Lucina จักรพรรดิคอนสแตนตินได้สร้างอาคารหลังแรกเหนือพระธาตุของนักบุญเปาโล ในปี ค.ศ. 324 และจักรพรรดิโฮโนรีอุส (Honorius) ได้สร้างให้เป็นมหาวิหารใหญ่โต สมบูรณ์ในปี ค.ศ. 395 ได้รับการประดับประดาด้วย เงิน ทอง และเพชรพลอยมากมาย ให้เป็นเกียรติแด่ท่านนักบุญเปาโล พวกแขกซาราเซ็น (Saracen) พยายามบุกเข้ามาปล้นมหาวิหารแห่งนี้ในหลาย ศตวรรษ จนในที่สุด พระสันตะปาปา ยอห์น ที่ 8 (ค.ศ. 872-882) ได้มีพระประสงค์ที่จะ สร้างกาแพงล้อมรอบมหาวิหารแห่งนี้เพื่อเป็นการป้องกัน สาเหตุนี้ เอง มหาวิหารแห่งนี้ จึงถูกเรียกว่า St. Paul's outside the walls เพราะกาแพงที่สร้างขึ้นได้ทาให้มหาวิหารแห่ง นี้อยู่นอกกรุงวาติกันไป อันเนื่องมาจาก การบุกปล้นและการทาลายของพวกแขก ซารา เซ็นหลายครั้ง ทาให้ต้องทาการซ่อมแซมหลายครั้ง ในการซ่อมแซมแต่ละครั้งได้มีก าร นาเอาศิลปะที่ล้าค่าต่าง ๆ มากมายเข้ามาด้วย เช่น โคมระย้าสาหรับเทียนปาสกา (ฐานตั้ง เทียนปาสกา) ของศตวรรษที่ 12 ศิลปะโมซาอิค ผลงานของ Cavallini และ Ciborio ที่มี ชื่อเสียงในปี ค.ศ. 1285 ออกแบบโดย Arnolfo di Cambio มหาวิหารแห่ง นี้ นับตั้ง แต่ปีศัก ดิ์สิ ทธิ์ค รั้ง แรกในปี ค.ศ. 1300 (สมัย พระ สันตะปาปาบอนิฟาส ที่ 8) ได้รับเกียรติเทียบเท่ากับมหาวิหารนักบุญเปโตร พวก จาริกแสวงบุญที่ต้องการรับพระคุณการุณย์ จะต้องมาเยี่ยมมหาวิหารและสวดภาวนา ทางเข้าไปสู่ห้องซาคริสเตีย มีห้องเก็บพระธาตุที่มีชื่อเสียงมาก เช่น พระคั มภีร์ โบราณ ที่เขียนด้วยลายมือของนักบุญเยโรม (ค.ศ. 342-420) นอกจากนี้ ยังมีห้องเก็บพระ ธาตุของนักบุญ สเตฟาโน (St. Stefano) และนักบุญอันนา (St. Anna) ด้วย ในห้องเก็บพระ ธาตุยังมีกางเขนเล็ก ๆ ที่มาจากกางเขนแท้ของพระเยซูเจ้า ฝุ่นกระดูกของบรรดาอัครสาวก โซ่เหล็กที่ใช้ล่ามนักบุญเปาโล(St. Paolo) ส่วนหนึ่งของไม้เท้าของนักบุญ เปาโล และ พระธาตุของนักบุญองค์อื่นๆ ด้วย นอกจากนี้ มหาวิ หารนี้ ยั ง ได้ รั บการซ่ อ มแซมอี ก หลายครั้ ง ในสมั ยของพระ สันตะปาปา ซีสโต ที่ 5 และพระสันตะปาปา เบเนดิกโต ที่ 13 พระสันตะปาปา ซีสโต ที่ 5 ทรงซ่อม แซมเพดานของมหาวิหารใหม่ ส่วนพระสันตะปาปา เบเนดิกโต ที่ 13 ทรง ซ่อมแซมเสาหินทั้งสองด้านภายในมหาวิหาร วันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1823 ได้เกิดเพลิงไหม้น านถึง 5 ชั่วโมง เพลิงได้เผา ผลาญทาลายมหาวิหารเกือ บหมด เหลือเพียงอาคารครึ่ง หนึ่ง ประตูชัย และโมซาอิค เท่านั้นที่เป็นของเก่าดั้งเดิมมาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งเราอาจเรียกได้ว่า มุขที่ยื่นออกไปหลัง แท่นนั้น ที่ตั้งเทียนปาสกา Ciborio และ Chiostro (อาราม) ที่หลงเหลือจนทุกวันนี้ 34
พระสันตะปาปา ลโอเน ที่ 12 ได้ทรงสร้างขึ้นใหม่ โดยได้รับเงินช่วยเหลือจาก กษัตริย์แห่ง Sadegna ผู้ปกครองประเทศ Paesi Bassi ฝรั่งเศส Sicily และ Zar แห่งรัสเซีย การสร้างนี้ได้ใช้โครงสร้างที่ใกล้เคียงกับโครงสร้างเดิมมากที่สุด มหาวิหารนักบุญเปาโลได้รับการเสกอีกครั้งหนึ่งในวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1854 นั่น คือ สองวันหลังจากการประกาศข้อความเชื่อ Immaculate Conception ในวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1854 โดยพระสันตะปาปาปีโอ ที่ 9 ปัจจุบัน มหาวิหารแห่งนี้ได้รับการดูแลโดยนักบวชคณะเบเนดิกติน มหาวิหาร แห่งนี้ มีความกว้างใหญ่ถึง 132×65 เมตร สองข้างระหว่างเสาหินภายในมหาวิหารนี้ มี รูปโมซาอิคของพระสันตะปาปาต่าง ๆ จนถึงองค์ปัจจุบัน เล่ าขานกันสืบต่อมาว่า เมื่อใด ก็ตาม เมื่อรูปโมซาอิคของพระสันตะปาปาต่างๆ ในมหาวิหารนี้เต็มจนไม่สามารถมีรูป โมซาอิคได้อีก เมื่อนั้นจะเป็นวันสิ้นโลก โดยที่เข้าไปชมมหาวิหารนี้ ก็มักจะชอบไปนั่ง ดูว่ายัง เหลืออีกกี่ช่อ ง และจะเหลือ อีกกี่ปี ผมไปนับมาครั้งสุดท้ายเมื่อ เดื อ นมิถุนายน 2007 นับได้ 13 ช่อง ก็ยังไม่รู้ว่าจะเหลืออีกกี่ปี บนกาแพงใหญ่ข้างพระท่านกลาง จะมีรูปวาดของศิลปินผู้หนึ่ง เป็นรูปโลงศพ ของพระนางมารีอา โดยมีบรรดาอัครสาวกของพระเยซูเจ้าอยู่ข้าง ๆ โลงศพนี้ เป็นเครื่อง หมายว่า พระนางมารีอาได้รับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณ หากเราอยู่ด้านริม สุดของรูป โลงศพก็หันมาทางเรา และหากเราเดินไปอีกด้านหนึ่งของรูป โลงศพก็จะหัน ตามเราไปเสมอ เพื่อเตือนใจเราว่า “ไม่ว่าเราจะเป็นใคร ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน เราล้วนต้อง ตาย” หากไปเยี่ยมมหาวิหารนักบุญเปาโลก็อย่าลืมไป ชมภาพนี้เป็นขวัญตา พระสันตะปาปา เบเนดิ๊กต์ ที่ 16 ได้ประกาศเพื่อเฉลิมฉลอง 2,000 ปีของนักบุญ เปาโล จึงประกาศให้ปีนักบุญเปาโลเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน 2008 จนถึงวันที่ 28 มิถุนายน 2009 ดังนั้น ตลอดปีนักบุญเปาโล จะมีกิจกรรมเฉลิมฉลองตลอดทั้งปีที่มหา วิหารนักบุญเปาโล สาหรับสถานที่ที่ท่านนักบุญเปาโลถูกตัดศีรษะนั้น อยู่ห่างออกไปจากมหาวิหาร เรียกบริเวณนั้นว่า “Tre Fontane” อันเป็นชื่อที่มาจากการตัดศีรษะของท่านนักบุญเปาโล ศีรษะของท่านได้ตกลงมาบนทางเนิน และก่อให้เกิดน้าพุขึ้น 3 แห่ง จึงเรียกสถานที่นี้ว่า “Tre Fontane” นอกจากนี้ ตรงข้ามกับสถานที่นี้ ยังเป็นบริเวณสวนสาธารณะ ซึ่ง ปัจจุบัน มีวัดน้อย ตั้งเป็นพยานถึงการประจักษ์มาของพระแม่มารีอา โดยประจักษ์ให้แก่ชายคนหนึง่ ชื่อ บรูโน เป็นที่รู้จักกันในนามของแม่พระแห่ง การเปิดเผย (Mother of Revelation) วันที่ 12 เมษายนของทุกปีเป็นวันฉลองของแม่พระแห่งการเปิดเผยนี้ มีผู้ที่เชื่อและเห็นด้วยว่า ทุก ๆ ปี ในวันนี้ จะมีปรากฏการณ์พระอาทิตย์หมุนในระหว่างมิสซาฉลองด้วย ใครบังเอิญ มาช่วงวันนี้ ก็ลองมาดูด้วยตาตนเองก็ได้
5. มหาวิหารนักบุญยวง ลาเตรัน (Basilica St. John Lateran)
เมื่อพูดถึงมหาวิหารแห่งนี้ จ าเป็นต้องพูดถึง Palazzo ที่ถูกเรียกชื่อว่า Domus Faustae ควบคู่กันไป Fausta นามสกุล Laterani ลูกสาวของ Massenzio และเป็นภรรยาคน 35
ที่สองของคอนสแตนติโน Fausta ได้มอบปราสาทนี้ให้เป็นที่จัดสังคายนาเพื่อตัดสิน Donatism และนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 313 พระสันตะปาปาก็เริ่มมาพักที่นี่ โดยถือเป็นที่อ ยู่ ถาวรของพระสันตะปาปาและคูเรียด้วย จึงต้องนับว่าเป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ถาวร และสืบมาจนหมดสมัยกลาง (Medioeval) แต่จะให้ถูก ก็คือ จนถึงปี ค.ศ. 1309 เมื่อ พระสันตะปาปาย้ายไปพานักที่อาวียอง ส่วนสถานที่ปัจจุบัน เป็นบ้านเณรใหญ่และมหาวิทยาลั ย Lateranense เป็นส่วน หนึ่งที่จักรพรรดิคอนสแตนตินได้ยกถวายแด่พระสันตะปาปา และจักรพรรดิองค์นี้เองได้ เริ่มต้นสร้างมหาวิหารแห่งนี้ขึ้นมาโดยตั้งชื่อว่ า S. Salvatore เพื่อให้ยึดถือเป็นเหมือน “หัวหน้า และสุดยอด (vertice) ของวัดทั้งหลายในโลกจักรวาลนี้” อาจกล่าวได้ว่าให้เป็น วัดเอก (Primato) เหนือวัดทั้งหลายในกรุงโรม ให้ถือเป็นมารดาของพระศาสนจักร (Mater Ecclesiae) ของพระศาสนจักรโรมัน สาหรับพระศาสนจักรตะวันออกและตะวันตก มหา วิหารนี้ถูกทาลายลงเพราะแผ่นดินไหวในปี ค.ศ. 896 พระสันตะปาปา Sergius III (ค.ศ. 904-911) ได้สร้างขึ้นมาใหม่ และเปลี่ยนชื่อจาก S. Salvatore มามอบให้แก่นักบุญยอห์น บัปติสต์ (St. John Baptist) และนักบุญยอห์นอัครสาวก (John the Apostle) เวลาเดียวกัน ก็ได้สร้างตึกบริหารงาน อารามนักบวช โรงพยาบาล และที่พักสาหรับพวกแสวงบุญ ขึ้นมาด้วย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1192 มีหลักฐานแน่ชัดว่า ที่นี่เป็นสถานที่เลือกตั้ง พระ สัน ตะปาปา และดัง นี้เ อง กลางศตวรรษที่ 12 จึงมีตัว อักษร ตัว ใหญ่เ ขียนอยู่เ หนือ ทางเดิน 2 ข้างในวัดว่า “โดยผ่านทางคาสอน Dogma ของ พระสันตะปาปาและของ จักรพรรดิ ถูกกาหนดว่า ข้าพเจ้าเป็นมารดาและหัวหน้าของวัดทั้งหลาย” ปี ค.ศ. 1308 มหาวิหารถูกไฟเผาเกือบหมด (ช่วงสมัยที่พระสันตะปาปา เคล เมนต์ ที่ 5 ย้ายจากกรุงโรมไปประทับที่อาวียอง) หลังจากซ่อมแซมแบบขอไปทีได้ ไม่ นาน ก็ถูกไฟไหม้ อีก ในปี ค.ศ. 1361 มหาวิหารถูกซ่อมแซม แต่ตัวพระราชวัง (Palazzo) ไม่สามารถใช้การได้อีก เพื่อเป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา เพราะช่วงนี้กาลังมีข่าวว่า พระสันตะปาปาจากอาวียองจะกลับมาที่กรุงโรม วาติกัน และมหาวิหารนักบุญเปโตร ในฐานะที่มีเกียรติของนักบุญเปโตร จึงได้รับเกียรติเป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา จึงมีการถกเถียงกันว่าที่ใดสาคัญกว่ากัน ระหว่างลาเตรันและเซนต์ปีเตอร์ พระสันตะปาปา เกรโกรี ที่ 11 จากอาวียอง ได้ออกกฤษฎีกา (Bull) และประกาศ อย่างเป็นทางการว่า Laterano ยังคงเป็นสานักเอก (Principal see) และเป็นที่หนึ่งเหนือวัด ทุกแห่งของกรุงโรมและของจักรวาล และเป็นที่หนึ่งเหนือมหาวิหารทั้งหลาย รวมทั้ง เหนือเซนต์ปีเตอร์ด้วย พระสันตะปาปา ปีโอ ที่ 5 ในปี ค.ศ. 1569 ได้ออก Bull ยืนยัน เช่นเดียวกับพระสันตะปาปา เกรโกรี ที่ 11 เพราะสมัยในของพระสันตะปาปา ปีโอ ที่ 5 นี้ ก็เริ่มมีการถกเถียงกันอีก ต่อมาในสมัยพระสันตะปาปา ซีสโต ที่ 5 (Sisto V) ได้ ทาการสร้างใหม่ทั้งหมด เพราะโครงสร้างเก่านั้นใช้ไม่ได้แล้ว สิ่งที่ยังเหลืออยู่ที่เป็นของ เก่าแท้ ๆ ที่เราพอจะเห็นได้ก็คือ Private Chapel ของ พระสันตะปาปาที่เรียกชื่อว่า Sancta Sanctorum ที่บรรจุพระธาตุนักบุญต่าง ๆ มากมาย และบันได 28 ขั้นที่เรียกว่า 36
Scala Santa ทั้งหมดนี้คือ Sancta Sanctorum และ Scala Santa ถูกย้ายมาอยู่ที่ตึกเล็ก ๆ ที่ สร้างและออกแบบโดย Domenico Fontana สถาปนิกและนักศิลปะที่มีชื่อเสียงในสมัย นั้น ในการออกแบบนี้ได้มีแบบที่จะสร้างพระราชวังใหม่ขึ้นมาระหว่ างปี ค.ศ. 15851589 เพื่อใช้เ ป็น ที่ประทับในฤดูร้อนของพระสันตะปาปา แต่พระสันตะปาปาไม่ได้ ประทับที่นี่ เพราะเปลี่ยนมาเป็น Quirinale มาถึงตรงนี้ก็น่าจะพูดถึง “บันไดศักดิ์สิทธิ์” (Scala Santa สักเล็กน้อย บันไดศักดิ์สิทธิ์นี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Scala Pilati หรือบันไดของ Pilato เป็นบันได ที่ท าด้ ว ยหิ น อ่ อ น มีทั้ ง หมด 28 ขั้ น ปัจ จุบั น ถูก คลุ ม ด้ว ยไม้ ตามความนิ ย มดั้ ง เดิ ม (Tradition) ได้บอกและยืนยันว่า พระเยซูเจ้าหลังจากได้ถูกตัดสินประหารชีวิตแล้ว ได้ เดินลงมาทางบัน ไดนี้ และนักบุญเฮเลนา (ค.ศ. 255-330) พระมารดาของจั กรพรรดิ คอนสแตนติน (ปี ค.ศ. 326 จาริกแสวงบุญไปที่แผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ และเป็นผู้ค้นพบ ไม้ กางเขนที่ตรึงพระเยซูเจ้าด้วย) ได้เป็นผู้นาบันไดนี้มาที่กรุงโรม ดังนั้น สถานที่แห่งนี้จึง เป็นสถานที่จาริกแสวงบุญ ผู้จาริกแสวงบุญจะเดินขึ้นไปบนบันไดนี้โดยใช้เข่าเดินขึ้นไป และบนยอดของบันไดนี้เป็นที่ตั้งของ Sancta Sanctorum ที่สร้างขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1278 ดังที่กล่าวมาแล้ว มหาวิ ห ารปั จ จุ บั น ได้ รั บ การซ่ อ มแซมและก่ อ สร้ างเพิ่ ม เติ ม ตั้ ง แต่ ส มั ย พระ สันตะปาปา อูร์บัน ที่ 5 ปี ค.ศ. 1362-1370 เรื่อยมาจนถึงปี ค.ศ. 1737 โดยใช้สถาปนิก ที่ มีชื่อเสียงในสมัยนั้นหลายคนด้วยกันเป็นผู้ออกแบบ เช่น D. Fontana (ค.ศ. 1543-1604) F. Borromini (ค.ศ. 1599-1667) และ Alessandro Galilei (ค.ศ. 1691-1737) ปัจจุบัน ยังต้องถือว่าวัดนี้เป็น Omnium urbis et orbis ecclesiarum mater et caput ดังนั้น หลังจากที่พระสันตะปาปาถูกเลือกตั้งขึ้นมา จาเป็นจะต้อ งมาทาพิธีรับเป็นเจ้าของ มหาวิหารในฐานะที่เป็น Sede ของตน (เรียกเป็นภาษาอิตาเลียนว่า presa di possesso) พระสันตะปาปา ปีโอ ที่ 12 วางแผนที่จะให้มหาวิหารแห่งนี้เป็นสถานที่ทางาน ของ สังฆมณฑลโรม แต่ต้องทาการบูรณะเสียใหม่ พระสันตะปาปา ยอห์น ที่ 23 ได้ทาการบูรณะซ่อมแซมมหาวิหารแห่งนี้ โดยมี พระประสงค์จะใช้เป็น Vicariate of Rome หมายถึงศูนย์กลางการบริหารงานสังฆมณฑล โรม พระสันตะปาปา เปาโล ที่ 6 ได้ทาตามพระประสงค์ของพระสันตะปาปาทั้งสอง องค์ที่กล่าวมาแล้ว โดยจัดให้ มหาวิหารแห่งนี้เป็น Vicariats of Rome ตามเกียรติที่มหา วิหารแห่งนี้ ควรจะได้รับ เรื่องน่ารู้อีกประการหนึ่งก็คือ ตาแหน่งของพระสันตะปาปา ที่จริงแล้วก็คือ สังฆราชแห่งสังฆมณฑลโรม ใครก็ตามที่มีตาแหน่งพระสันตะปาปาก็ เป็นสังฆราชแห่งโรมนั่นเอง มหาวิหารลาเตรัน (Laterano) ตามธรรมเนียมเก่า พระสันตะปาปาจะต้องล้างเท้าอัครสาวก 12 องค์ ในพิธีวัน พฤหัสศักดิ์สิทธิ์ที่นี่ แต่นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1834 เป็นต้นมา พระสันตะปาปา เกรโกรี ที่ 16
37
ได้ ย้ ายมาท าพิ ธี ดั ง กล่ า วที่ ม หาวิ ห ารนั ก บุ ญ เปโตร แต่ ต ามธรรมเนี ยมเก่ า นั้ น พระ สันตะปาปาจะล้างเท้าอัครสาวก 12 องค์ ณ มหาวิหารแห่งนี้ รูปนักบุญเปโตร ปกติจะต้องมีกุญแจอันเป็นสัญลักษณ์หมายถึงอานาจหน้าที่ (Autorità) แต่หลาย ๆ รูปก็แตกต่างกัน บางรูปนักบุญเปโตรถือกุญแจดอกเดียว บางรูปถือ 2 ดอก และบางรูปถือ 3 ดอกก็มี กุญแจ 1 ดอก หมายถึงพระศาสนจักรที่เป็น una, santa, catholica e apostolica ซึ่งหมายถึง พระศาสนจักรที่เ ป็น หนึ่งเดียว มีฝูง แกะฝูง เดียว และนายชุม พาบาล เพียงผู้เดียว กุญแจ 2 ดอก ดอกหนึ่งจะเป็นสีทอง และอีกดอกหนึ่งจะเป็นสีเงิน ดอกสีทอง หมายถึงอานาจด้านวิญญาณที่จะผูกหรือแก้ ที่จะเปิดหรือ ปิดประตูสวรรค์ นอกจากนี้ ยังหมายความถึง Potenza หรือการมีอานาจ บางคนให้ความหมายว่า หมายถึงความ สามารถ (Potestà) ที่จะตัดสินในเรื่องการใช้โทษบาป (Penitenza) ดอกสีเงิน หมายถึ ง อ านาจในการปกครองพระศาสนจั ก รและยั ง หมายถึ ง ความรู้ (scienza) บางคนให้ ค วามหมายว่ า หมายถึ ง อ านาจที่ จ ะก าหนด ถึ ง การตั ด สิ น เฮเรติ๊ ก (Anatema) และขับไล่ออกจากพระศาสนจักร (excommunication) ก็ได้ ในพระราชวังลาเตราโน ในส่ว นที่เรียกว่า Triclinium มีรูปนักบุญเปโตรที่ถือ กุญแจ 3 ดอก เป็นกุญแจที่หมายถึง ความรู้ (scienza) อานาจปกครอง (potenza) และ อานาจการตัดสิน (Giurisdizione) ของพระสันตะปาปา หากจะตีความหมายว่าหมาย ถึง กุญแจที่เ ปิ ดและปิดประตูส วรรค์ด้ว ย การใช้โ ทษบาป (penitenza) พระคุณ การุ ณ (indulgenza) และการขับไล่ (scomunica) ก็ถูกต้องเหมือนกัน ในระหว่างพิธีเข้ารับตาแหน่ง (presa di possesso) ที่ลาเตราโนของ พระ สัน ตะปาปาพระสันตะปาปาจะคาดเข็ม ขัดที่ประกอบไปด้วยกุญแจ 7 ดอก และตรา ประทับ (Sigilli) 7 ดวง เป็นเครื่อ งหมายถึง พระคุณของพระจิต 7 ประการ และศีล ศักดิ์สิทธิ์ 7 ศีล ซึ่งพระสันตะปาปาจะต้องเป็นผู้โปรดให้แก่ประชากร
Basilica Santa Croce di Gerusalemme แปลได้ว่า มหาวิหารน้อยกางเขนศักดิ์สิทธิ์ แห่งเยรูซาแลม ห่างจากมหาวิหารลาเตรันไม่มากนัก แต่ก็ไม่ใกล้ชนิดเดินได้นะครับ ต้องนั่งรถ ไปก็จะเป็นมหาวิหารไม้กางเขนศักดิ์สิทธิ์แห่งเยรูซาแลม มหาวิหารนี้เป็นการแสดงออก 38
ของความเชื่อและศิลปะที่ได้รับการดลใจจากกางเขนของพระเยซูเจ้าอย่างแท้จริง ตั้งอยู่ บนเนินเขาที่ชื่อว่า Esquilina แรกทีเดียวก็เป็นวัดน้อยส่วนตัวของเฮเลนา แต่หลังจากนั้น ก็ได้รับการบูรณะตกแต่งเพิ่ม เติมเรื่อยมาจนถึงสมัยนี้ พระสันตะปาปาทุกพระองค์ให้ ความสาคัญต่อที่นี่ม ากเพราะเป็นสถานที่เก็บรัก ษา พระธาตุต่างๆที่เ กี่ยวกับพระมหา ทรมานของพระเยซูเจ้าเอง นักบุญเฮเลนาเกิดปี 250 ชอบเก็บตัวมากกว่าและได้เป็นคริสตชนอย่างลับๆแล้ว จนกระทั่งลูกชายคือจักรพรรดิ คอนสแตนตินได้รับชัยชนะจากเครื่องหมายกางเขน การ สงครามที่ควรแพ้ นะครับ จากนั้นเธอได้รับตาแหน่งเป็น Augusta นักประวัติศาสตร์ ชื่อ เอวเซบีอุส 265-340 บันทึกไว้ว่า จักรพรรดิเฮเดรียนได้สร้างวิหารเทพเจ้าไว้ที่เขากัล วารีโอและที่ที่ฝังศพพระเยซู เพื่อให้คริสตชนลืมความเชื่อเรื่องนี้ไป จนกระทั่งคอนส แตนตินประกาศให้ศาสนาคริสต์พ้นจากการเบียดเบียนในปี 313 พระองค์ให้สร้างและ นาวิหารหลายแห่งของเทพเจ้ามาเป็นวัดวาอารามต่างๆของคริสต์ศาสนา ช่วงเวลานี้เองที่ เฮเลนาเริ่มเดินทางไปแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ ตอนนั้นอายุราว 80 ปีแล้ว นักบุญอัมโบรซีโอยก ย่องคุณธรรมของเฮเลนาอย่างมากและเชื่อว่าเธอเป็นผู้ที่พบกางเขนแท้ของพระเยซูเจ้า เธอพบกางเขนสามอันที่เขากัลวารีโอ มีการแห่เ ข้ากรุงเยรูซาแลมอย่างยิ่งใหญ่ นักบุญมา คารีอุส สังฆราชแห่งเยรูซาแลม ตอนนั้น ภาวนาขอเครื่องหมายจากพระเจ้า เพื่อจะได้ แยกออกว่าอันไหนเป็นกางเขนของพระเยซูเจ้า ท่านนาเด็กหนุ่มที่เสียชีวิตแล้วมาและจับ มือสัมผัสกางเขน ไม้กางเขนนี้ทาให้เด็กหนุ่มฟื้นจากความตาย เฮเลนาแบ่งกางเขนแท้ออกเป็น สามส่วน ส่ว นหนึ่ งเก็บไว้ที่เยรูซาแลม ส่วนที่ สองให้ลูกชายเก็บไว้ที่คอนสแตนติโนเปิล ส่วนที่สามเธอนากลับมาไว้ที่กรุงโรม คือที่ วัดน้อยของเธอเอง เธอนากลับมาพร้อมกับตะปูที่ตอกตรึงพระเยซูหนึ่งตัวและดินจานวน มากจากเขากัลป์วารีโอ เธอนาดินเหล่านั้นมาโปรยลงยังที่ที่จะสร้างเป็นวัดน้อยของเธอ นั่นเอง กางเขนนี้ถูกเก็บไว้ที่วัดน้อยนี้ประมาณพันปี หลังจากนั้นก็มีการย้ายไปหลาย แห่ง เพื่อให้คริสตชนได้สวดภาวนาและราพึง เคยเก็บไว้ในอารามนักพรตที่นี่ด้วย แต่ ที่สุดต้องเปลี่ยนเพราะคริสตชนเข้าชมได้ลาบากมาก ในปีศัก ดิ์สิทธิ์ปี 1925 มีโครงการ สร้างวัดให้ใหญ่ขึ้น เพื่อเก็บรักษาพระธาตุนี้ พระสันตะปาปาจอห์นปอลที่ 2 เสด็จเยี่ยม ที่นี่ 25 มี น าคม 1979 ไม่ กี่ เ ดื อ นหลั ง จากเป็ น พระสั น ตะปาปาและทรงเรี ย กที่ นี่ ว่ า Sanctuary of the Cross และเรียกด้วยชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน มีคนสงสัยทุกยุคทุกสมัยว่ากางเขนนี้เป็นของแท้หรือไม่ แต่พระสันตะปาปาทุก ยุคทุกสมัยไม่เคยสงสัยเลย เพราะประวัติศาสตร์เรื่องนี้ได้รับการตรวจสอบและเชื่อกัน มานาน ในหนังสือระเบียบพิธีของพระสันตะปาปาเองก็ระบุแนวทางปฏิบัติทางพิธกี รรม ไว้ชัดเจนด้วย ในอดีตทุกวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์พระสันตะปาปาจะนาขบวนแห่ด้วยเท้าเปล่า พร้อมกับคณะสงฆ์และมวลสัตบุรุษจากมหาวิหารลาเตรันมายังมหาวิหารน้อยแห่งนี้ เพือ่ นมัสการกางเขนนี้ และพระสันตะปาปายังได้แจกจ่ายส่ว นหนึ่งเล็กๆจากไม้กางเขนนี้ 39
ให้แก่บรรดาพระสังฆราชในสมัยก่อนด้วยเพื่อยืนยันว่า เป็นไม้กางเขนของพระเยซูเจ้า และทุกคนต้องแบกกางเขนเดียวกันนี้เช่นเดียวกับพระอาจารย์ เสียดายที่ระเบียบพิธีนี้ เปลี่ยนไปแล้ว เพราะวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์พระสันตะปาปาจะน าการเดินรูป 14 ภาคที่โ ค โลเซียมแทน ปัจจุบันการมอบชิ้นไม้กางเขนให้แก่พระสังฆราชก็ไม่มีแล้วครับ อาจเป็น เพราะไม่มีเพียงพอที่จะมอบไห้อีกต่อไปนั่นเอง ที่นี่ เ องยั ง ได้ เ ก็ บรั ก ษาตะปูที่ ต อกตรึ ง พระเยซู เ จ้า ด้ว ย นั ก ประวัติ ศ าสตร์ ใ น ศตวรรษที่ 4 บันทึกไว้ว่าเฮเลนาได้พบตะปูสามตัว ตัวหนึ่งเธอไว้ที่บังเหียนม้าของลูก ชายคือจักรพรรดิคอนสแตนติน อีกตัวหนึ่งไว้ที่มงกุฎของลูกชายและตัวที่สามเธอนามา ไว้ที่นี่ด้วย เราจะได้พบกับป้ายชื่อเหนือไม้กางเขนที่จารึกสามภาษาคือ ฮีบรู กรีกและ ลาติน ตามที่มีอยู่ในประวัติ หนามสองอันซึ่งเคยถูกย้ายไปหลายแห่งทั้งที่ คอนสแตนติ โนเปิล ที่ฝรั่งเศสในช่วงเวลาสงครามครูเสด นอกจากนี้ก็มีส่วนของหินที่มาจากถ้าที่ฝัง ศพพระเยซูเจ้า หินที่มาจากเสาหินที่มัดและเฆี่ยนพระองค์ มีกางเขนของโจรผู้เป็นทุกข์ กลับใจด้านขวาของพระองค์ ที่สุดก็มีนิ้ว มือ ของนัก บุญโทมัสมาวางไว้ที่นี่ด้ว ย ใคร พอจะบอกได้ว่าทาไมจึงเกี่ยวข้องกับนักบุญโทมัส ที่สุดใกล้ ๆ กับห้องนี้เอง เป็นที่เก็บศพของเด็กหญิงเล็กๆคนหนึ่ งชื่อ Antonietta Meo รู้จักกันในชื่อ Nennolina (1930-1937) ตั้งแต่ปี 1999แล้ว เธอเคยมีชีวิตอยู่ใกล้ชิดกับ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้ ตายด้วยโรคมะเร็งกระดูกตั้งแต่อายุหกขวบครึ่ง แต่เธอมีชีวิตที่ พิเศษมาก มีจดหมายหลายฉบับที่เธอเขี ยนถึงพระเจ้า ถึง พระเยซู พระจิตและแม่ พระ เป็น เด็กที่มีชีวิตจิตสนิทกับพระอย่างน่าประหลาด บางทีอ าจเป็น เพราะเธอมีโอกาส ใกล้ชิดกับสิ่ง ที่ใกล้ชิดกับพระเยซูเ จ้ามากที่สุดก็ได้น ะครับ ที่นี่เ ราควรขับร้อ งเพลง กางเขนชัย พร้อมกันนะครับ คงดีสาหรับความเชื่อของเราที่ได้มีโอกาสนมัสการกางเขน ที่พระเยซูเจ้าใช้ เพื่อไถ่บาปเราด้วยชีวิตของพระองค์เอง อย่าลืมแบกกางเขนของเราด้วย นะครับ
6. Colosseo หรือ Coliseum
มีชื่อเต็มว่า Flavian Amplitheatre นับว่า เป็น สนามกีฬาที่ใหญ่ที่สุดที่ถูก สร้าง ขึ้นมา ในสมัยอาณาจักรโรมัน เป็นงานที่แสดงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่ทางด้านการออก แบบสถาปัตยกรรม และวิศวกรรม (Architecture and Engineering) อาณาจักรโรมันสร้าง สนามกีฬาไว้หลายแห่งด้วยกัน อาจจะกล่าวได้ว่า เกือ บทุก แห่ง ที่อ าณาจัก รโรมัน แผ่ อิทธิพลไปถึงก็ว่าได้ แม้แต่ในกรุงโรมเองก็มีอยู่หลายแห่ง ยกตัวอย่างเช่น สนามกีฬาโค ลิโกลาที่เนินวาติกัน เป็นต้น แต่สนามกีฬาโคโลเซโอแห่งนี้นับว่ายิ่งใหญ่ที่สุด สนามกีฬาโคโลเซโอ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกของ Romano Foro ถูกสร้างขึ้นใน ระหว่าง ปี ค.ศ. 70-72 สมัยจักรพรรดิ Vespasian สาเร็จบริบูรณ์ในปี ค.ศ. 80 สมัย Titus และได้รับการปรับปรุงเพิ่มเติมในสมัยของ Domitian สามารถบรรจุผู้ชมได้ 50,000 คน 40
ใช้เพื่อชมการแข่งขันการต่อสู้ของนักสู้ซึ่งรู้จักกันในนามของ Gladiators และชมการแสดง ต่าง ๆ ถูกใช้งานเป็นเวลานานถึง 500 ปี นอกเหนือจากการชมการต่อ สู้ของนักรบแล้ว การแสดงอื่นๆ ที่น่าสนใจก็มี การแสดงการต่อสู้ทางทะเล ชาวโรมันสามารถปรั บเปลี่ยน สนามกีฬาให้เป็นสมรภูมิทางทะเลได้อย่างน่าอัศจรรย์ทีเดียว ทั้งนี้ ก็ มาจากการออกแบบ โครงสร้าง ระบบท่อส่งน้าและระบบน้าของชาวโรมันนั่นเอง นอกจาก นี้ ยังใช้เป็น ที่ ประหารชีวิตนั กโทษ นักโทษของอาณาจั ก รโรมั น มีอ ยู่ หลากหลาย เป็น ทั้ง นัก โทษ การเมือง นักโทษจากการทาสงคราม และนักโทษทางศาสนา ซึ่งหมายถึงบรรดา คริสต ชนในสมัยนั้น บรรดาคริสตชนถูก อาณาจัก รโรมันเบียดเบียนเป็นเวลาถึง 200 กว่าปี นับตั้ง แต่จักรพรรดิเนโรกล่าวร้ายว่า พวกคริสตชนเป็น ผู้ที่เ ผากรุง โรม ในปี ค.ศ. 60 เพลิงเผากรุงโรมนาน 5 วัน ทาลาย 4 เขตของโรมโดยสิ้นเชิง และเสียหายอย่างมากในอีก 7 เขต มีอ ยู่เ พียง 3 เขตของโรมเท่านั้น ที่ร อดพ้น จากไฟไหม้ค รั้ง นั้น ศาสนาคริสต์ ก็ กลายเป็นศาสนาต้องห้าม และมีโทษอย่างหนัก จนถึงประหารชีวิต คริสตชนต้องหลบ ซ่อนอยู่ในอุโมงค์ใต้ดิน ซึ่งรู้จักกันในนามของ Catacomba อุโมงค์ที่มีชื่อเสียงและเป็ น สถานที่ที่นักท่องเที่ยวไปชม ได้แก่ Catacomba di S. Callisto อันที่จริง อุโมงค์ เหล่านี้มี อยู่หลายแห่งทีเดียวในกรุงโรม การเบียดเบียนศาสนานี้มาสิ้นสุดในสมัยจักรพรรดิคอนส แตนติ น (Constantine) ซึ่ ง หลั ง จากได้ รั บ ชั ย ชนะจากสงครามอย่ า งอั ศ จรรย์ ด้ ว ย เครื่องหมายกางเขนบนท้องฟ้า ได้ประกาศให้คริสต์ศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติของอาณา จักรโรมัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 305 เป็นต้นมา ในระหว่างการเบียดเบียนศาสนา 200 กว่าปีนี้ คริสตชนถูกจับและประหารชีวิต ในรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ทั้งการตรึงกางเขน การถูกเผาทั้งเป็น การทรมานและจาคุก ตลอดชีวิต การตัดศีรษะ รวมถึง การต่อสู้กับสัตว์ร้ายที่หิวกระหายในสนามกีฬาต่าง ๆ บรรดาคริสตชนเสียชีวิตในสนามกีฬาโคลิโกลาที่เนินวาติกันมากที่สุด แต่ก็มีคริสตชน จานวนหนึ่งเสียชีวิตที่สนามกีฬาโคลิเซโอแห่งนี้ด้วย และเนื่องจาก คริสตชนเหล่านี้ยอม สละชีวิตเพื่อความเชื่อในพระเยซู ไม่ยอมประกาศละทิ้งศาสนา พระศาสนจักรคาทอลิก ประกาศให้พวกท่านเป็น มรณสักขี (Martyrs) และเพื่อ เป็น เกียรติแด่พวกท่านเหล่านี้ สมเด็จ พระสันตะปาปาจะเสด็จมาทาพิธีทางศาสนา ซึ่งเรียกกันว่ า “มรรคาศักดิ์สิทธิ์” (The Way of the Cross) ในวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ (Good Friday) ของทุกปี ปัจจุบัน สนามกีฬาแห่งนี้เป็นสัญลักษณ์แห่งความเจริญของอาณาจักรโรมัน และ ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในสิ่งมหัศจรรย์ของโลกด้วย ความยิ่งใหญ่ของอาณาจักร โรมันปรากฏอย่างชัดเจนในบริเวณที่เรียกว่า “Romano Foro” ซึ่งอยู่ใกล้ ๆ กับสนามกีฬา สาหรับผู้ที่สนใจโบราณคดีหรือประวัติศาสตร์ ก็สามารถพบกับประตูชัยต่าง ๆ ของอาณา จักรแห่งนี้ พระราชวังของจักรพรรดิเนโร วิหารเทพเจ้าต่าง ๆ และสิ่งปลูกสร้างที่น่าสน ใจอีกมากมาย Romano Foro ใหญ่มาก ปัจจุบัน ประเทศอิตาลีก็กาลังขุดหาและบูรณะ 41
เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา อันที่จริง กรุงโรมซึ่งเป็นนครหลวงของประเทศ ควรจะมีบริการ รถไฟใต้ดินมากกว่าที่เป็นอยู่นี้ แต่ก็ไม่สามารถทาได้ เพราะเกรงว่าการขุดอุโมงค์สาหรับ รถไฟใต้ดิน จะเป็นการทาลายโบราณสถานเหล่านี้นั่นเอง
วัด il Foro et il Carcere Mamertino
คุกนี้ชื่อ Mamertino ตั้งอยู่ที่ Clivo Argentario ใต้วัด S. Giuseppe dei Falegnami เป็นคุกเก่าแก่และยาวนานที่สุดของกรุงโรม Tullianum เป็ น สถานที่ นั ก โทษของรั ฐ จะถู ก ทิ้ ง และขั ง ไว้ อ ย่ า งโดดเดี่ ย ว นักบุญเปโตรและนักบุญเปาโลก็ถูกนามาขังที่นี่ด้วย ไม่มีแสงสว่างในห้องขังเลย ที่นี่เอง ในขณะที่ท่านนักบุญเปโตรและนักบุญเปาโลถูกนาตัวลงไปห้องใต้ดิน นักบุญเปโตรได้ หกล้ม และศีรษะของท่านกระแทกกาแพง ร่องรอยยังคงปรากฏอยู่ในที่ที่ท่านถูกคุมขัง ก็ได้มีตาน้าขึ้นมาอย่างน่าอัศจรรย์ (Tullus : ตาน้า, ชื่อ Tullianum มาจากเหตุนี้) ท่าน ทั้งสองที่ได้ทาให้ Processo และ Martiniano ซึ่งเป็นผู้คุมนักโทษดูแลคุกนี้กลับใจ คุก Mamertino ซึ่ง นักบุญเปโตรและเปาโลถูก น ามาขัง เป็น นัก โทษฉกรรจ์ แท่นสัญลักษณ์การจับกุม และกักขังท่านนักบุญเปโตรและนัก บุญเปาโล ตั้งอยู่บริเวณ ทางเข้าเยี่ยมชมคุก บริเวณที่นักบุญเปโตรเสียหลัก ศีรษะกระแทกกับกาแพงและเป็น ร่องรอยที่ถูกเก็บรักษาไว้ให้เห็นจนถึงปัจจุบันนี้ ห้องขังใต้ดินของนักบุญเปโตร และนักบุญเปาโลมี แผ่นหิน อ่อ นเล่าเรื่องการ กลับใจของ Processo และ Martiniano ผู้คุมคุก รวมทั้งผู้กลับใจอีก 47 คน โดยรับการรับ ศีลล้างบาปด้วยน้าจากตาน้า ที่เกิดขึ้นภายในห้องขังอย่างอัศจรรย์ คุกแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้กับ Foro Romano เวลาเราลงไปชมจะชมได้ครั้งละไม่มากเนื่อ งจากทางลงก็เล็กและแคบ บริ่วณด้านล่างนั้นก็เล็ก มาถึงที่นี่ก็ควรลงไปชมนะครับ เราจะรู้ถึงความรู้สึกของท่าน นักบุญทั้งสองก่อนที่จะรับเกรียรติเป็นมรณสักขี แบบอย่างความเชื่ อของเรา
7. Pantheon ขอแนะนาสถานที่น่าเยี่ยมชมในกรุงโรมที่น่าสนใจมากอีกแห่งหนึ่ง นั่นคือ Pantheon หากไป เยี่ยมชมประมาณ 4-5 โมงเย็นละก็ จะมีเวลาเยี่ยมชมสักครึ่งชั่วโมง ดื่มกาแฟหอม กรุ่นที่อยู่ใกล้ ๆ นั่นคือ กาแฟ Tazza d’Oro แปลว่า ถ้วยทอง จากนั้น ก็เดินลั ดไปเยี่ยม ชม Piazza Navona ดูบรรยากาศที่นั่น ตอนเย็น ๆ ก็จะมีศิลปินมานั่งวาดรูปเหมือน และ รู ป ตลกๆ ให้ ดู ม ากมาย เป็ น สถานที่ น่ า เดิ น เล่ น และดู วิ ถี ชี วิ ต ของชาว เมื อ งและ นักท่องเที่ยว บริเวณรอบๆ Piazza แห่งนี้ ก็มีร้านอาหาร ไอศกรีม และเครื่องดื่มต่างๆ มากมาย แต่ก็ค่อนข้างแพงนะครับ เพราะเป็นสถานที่ยอดนิยม 42
กลับมาที่ Pantheon ของเราดีกว่า ตั้งอยู่ใกล้มากเลยกับ Largo Argentina เดินเข้าทาง เล็ ก ๆ ก่ อ นจะถึ ง Pantheon ก็ จ ะผ่ า นร้ า นตั ด เสื้ อ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งมากร้ า นหนึ่ ง ชื่ อ ว่ า Gammarelli ซึ่งเป็นร้านตัดเสื้อของพระสันตะปาปา คาร์ดินั ล สังฆราช สงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ สืบต่อกันมานานมากทีเดียว ก็เพียงแค่รู้ไว้เท่านั้น ติดกันก็เป็น Academy สถาบันอบรม นักการทูตของรัฐวาติกัน ที่นี่มีพระสงฆ์ที่มาจากทั่วโลก เพื่อจะทาหน้าที่ทาง การทูตใน อนาคต หนึ่งในจานวนี้ก็มีพระสงฆ์ไทยรวมอยู่ด้วย 1 องค์ กลับมาที่ Pantheon ของเราอีกครั้งละกัน มาถึงซะที Pantheon เป็นภาษากรีกนะ ครับ แปลว่า “วิหารแห่งเทพเจ้า” ทั้งนี้ เพราะพวกกรีกและชาวโรมันดั้งเดิม มีความเชื่อ ถึงบรรดาเทพเจ้า วิหารนี้ถูกสร้างขึ้นเป็นเกียรติแด่เทพเจ้า 7 องค์แห่งดาวทั้ง 7 ซึ่งศาสนา ประจาชาติโรมันโบราณนั้น ได้ก ล่าวไว้ สมัยก่อ นนั้นก็รู้จักดวงดาวแค่ 7 ดวง ไม่ใช่ 9 ดวงอย่างในปัจจุบัน ได้ยินว่า ปัจจุบัน มีการค้นพบดวงที่ 10 แล้วด้วย ด้านหน้าของ Pantheon มีอักษรจารึกเป็นภาษาลาตินM·AGRIPPA·L·F·COS· TERTIUM·FECIT มาจากคาเต็ม ๆ ว่า MARCUS AGRIPPA Lucii Filius Consolatum Tertium Fecit แปลว่า MARCUS AGRIPPA บุตรชายของ Lucius เป็นผู้สร้าง ในขณะดารง ตาแหน่งเป็นกงสุลครั้งที่ 3 Agrippa สร้าง Pantheon ในปี 27 B.C. (ก่อนคริสตศักราช) เพื่อเป็น อนุสรณ์ถึง สงคราม แห่ง Actium ในปี 31 ก่อนคริสตศักราช แต่ไฟไหม้ครั้งใหญ่ ปี 80 A.D. ได้ ทาลาย Pantheon ที่ Agrippa ได้สร้างไว้ หลังที่เราเห็น ในปัจ จุบัน นี้สร้างขั้น ในปี 125 A.D. ในสมัยจักรพรรดิ Hadrian โดยใช้อักษรสลักหน้าวิหารนี้เหมือนของวิหารเดิม บาง คนอาจจะสงสัยนะครับว่า สร้างปี 27 B.C. เป็นอนุสรณ์ถึงสงครามปี 31 B.C. คาตอบก็ คือ การนับปี B.C. หรือก่อนคริสตศักราช เรานับถอยหลังจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ปี 31 B.C. เป็นเหตุการณ์ที่เกิดก่อนปี 27 B.C. ในปี ค.ศ. 609 จักรพรรดิ Phocas แห่งอาณาจักรใบซินติน ได้มอบ Pantheon นี้ ให้แก่พระสันตะปาปา Boniface ที่ 4 ซึ่งได้ทาการอภิเษกวิหารนี้ให้เป็นวิหารของคริสต์ มี ชื่อ ว่า “วิหารแห่งพระแม่มารีอาและนักบุญมรณสักขีทั้ง หลาย” ต่อ มา ในปี 663 A.D. จักรพรรดิ Constans ที่ 2 ได้สั่งให้นาทองบรอนซ์ซึ่งอยู่ในวิหารนี้กลับไปกรุงคอนสแตน ตินโนเปิ้ล (ปัจจุบัน คือ เมืองอิสตันบูล ) และตลอดเวลาหลายศตวรรษต่อ ๆ มา สมบัติ ของวิหารนี้ก็ได้ถูกนาไปยังที่ต่าง ๆ เช่น หินอ่อนตกแต่งด้านนอก รูปแกะสลักต่าง ๆ รูป ปั้นต่าง ๆ ยังโชคดีที่หินอ่อนตกแต่งภายใน และประตูทองบรอนซ์ยังคงอยู่ ในศตวรรษที่ 15 และศตวรรษที่ 16 วิหารนี้ถูกใช้เป็นที่ฝังศพของบุคคลสาคัญ เช่น ศิล ปิน Raffaelo, Annibale Caracci และ Baldassare Peruzzi ซึ่งเป็น Architect ที่มี ชื่อเสียง นอกจากนี้ ในศตวรรษที่ 15 วิหารนี้ยังได้รับการตกแต่งด้วยภาพวาดต่าง ๆ รูปที่ 43
เป็น ที่ รู้จัก ดีมีชื่ อ เสีย ง ได้แก่ Annunciation หรือ เทวดาแจ้ง สารแก่แ ม่พระ วาดโดย Melozzo da Forli, Brunelleschi เป็นผู้ออกแบบ โดมของอาสนวิหารเมื อง Florence ก็ ได้รับแรงบันดาลใจจากวิหารแห่งนี้ ต้น ๆ ศตวรรษที่ 17 พระสันตะปาปา อูรบาโน ที่ 8 สั่งให้หลอมทองบรอนซ์บน หลังคาของมุขทางเข้าวิหาร เพื่อนาไปใช้ในการสร้างปืนใหญ่สาหรับป้อมที่ปราสาท Castel Sant Angelo และส่วนหนึ่ง Bernini ได้นาไปใช้สร้างปะรา (Baldachin) ทองบรอนซ์ที่อยู่ เหนือพระแท่นหลุมศพของนักบุญเปโตร อย่างไรก็ตาม ทองบรอนซ์ส่วนใหญ่ที่ Bernini ใช้นั้น นามาจาก Venice และนี่เองจึงเป็นที่มาของคาพูดที่มีอยู่ในบทประพันธ์ของ Pasquino ที่กล่าวว่า “Quod non fecerunt barbari, fecerunt Barberini” แปลได้ว่า “สิ่งที่พวกบารเบเรียนไม่ได้ ทา พวก Barberini ได้ทา” เพราะว่า Barberini เป็นชื่อตระกูลของพระสันตะปาปา อูรบา โน ที่ 8 นั่นเอง พูดถึง เรื่องหลุมศพของศิลปิน Raffaelo ที่อ ยู่ในวิหารนี้ ผู้นากลุ่มทัวร์บางคนก็ เข้าใจผิด โดยคิดว่า Raffaelo เป็นชื่อของเทวดาองค์หนึ่ง ที่จ ริงก็เข้าใจได้ถูกต้อง เพราะ Raffaelo เป็น 1 ใน 3 เทวดาองค์ใหญ่ที่ทางศาสนาคริสต์เชื่อถือ แต่ผู้นาทัวร์บางท่านก็ อธิบายให้ลูกทัวร์คนไทยฟังว่า “นี่แหละ หลุมศพของเทวดาราฟาเอโล” ลูกทัวร์ก็เลยเพิ่ง รู้ว่าเทวดามีศพกับเขาด้วย ผู้ที่มีใจศิลปิน จึงมักชอบที่จะมาเยี่ยมหลุมศพของศิลปินผู้มี ชื่อเสียงผู้นี้ นอกจากนี้ ภายในวิหารยังเป็นที่ฝังศพของบุคคลสาคัญอีกหลายคน ได้แก่ กษัตริย์ Vittorio Emanuele ที่ 2 และกษัตริย์ Umberto ที่ 1 พร้อมทั้งราชินี Margherita เรื่อ งที่ น่ารู้ อีก เรื่อ งหนึ่ง ก็ คือ ประเทศอิ ตาลีเ ปลี่ย นแปลงการปกครองมาเป็ น ระบบ สาธารณรัฐ (Republic) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1946 แต่ก็ยังคงมีองค์กรบางองค์กรที่ ติดยึดอยู่กับ ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช พวกนี้จึงยังคงมาทาพิธีระลึกถึงระบอบนี้ ที่ หลุมศพของ กษัตริย์ในวิหารแห่งนี้ ฝ่ายสาธารณรัฐก็ต้องประท้วงเป็นธรรมดา อย่างไรก็ตาม วิหารนี้ ก็อนุญาตให้ทาพิธีระลึกถึงนี้ได้ทุกปี โครงสร้าง - ซุ้ม ประตูทางเข้า ประกอบไปด้ว ยแนวเสาหิน แบบ Corinthian เป็น เสาหิน แกรนิ ต ขนาดใหญ่ หนักประมาณ 5,000 ตัน - พื้นฐานภายในเป็นรูปทรงกลม ด้านบนเป็น Dome ทาด้วยคอนกรีต - ใจกลางของโดมเป็นช่องว่างเปิด เรียกว่า Oculus หมายถึง ดวงตาที่ยิ่งใหญ่ (Great Eye) จ้องมองท้องฟ้า - บริเวณกาแพงด้านในสุดจะเป็นช่องหินหลายช่อง เข้าใจว่า สาหรับใส่รูปปั้นของซีซาร์ , เอากุสตุส และอากริปปา หรือบรรดาเทพเจ้าต่าง ๆ - ประตูขนาดใหญ่เข้าสู่วิหารทาด้วยทองบรอนซ์ แต่ก็เคยถูกเคลือบด้วยทองคา ซึ่งปัจจุบัน นี้ ทองคาเหล่านั้นไม่มีเหลือให้เห็นแล้ว 44
- จั่วของวิหารถูกตกแต่งด้วยประติมากรรมทองบรอนซ์ เล่าเรื่องสงคราม Titans - ความสูงของโดมคือ 43.3 เมตร เมื่อเรามองขึ้นไปยัง Oculus หรือ Great Eye เราจะพบกับสัญลักษณ์ของสวรรค์ Great Eye เป็นต้นกาเนิดของแสงสว่าง และสัญลักษณ์ของพระอาทิตย์ เวลาเดียวกัน ก็ทา หน้าที่ให้ความเย็น และถ่ายเทอากาศด้วย โดยมีคาอธิบายดังนี้ ขณะที่ลมภายนอกพัดผ่า น Oculus จะทาให้ภ ายใน มีแรงดัน ออก เราเรีย กว่ า Venturi Effect ดั น อากาศออกไป ภายนอกโดยผ่าน Oculus เวลาเดียวกัน ก็ดึง ลมจากภายนอกโดยผ่านทางประตูทางเข้า ขนาดใหญ่ด้วย อย่างไรก็ตาม เมื่อฝนตก น้าฝนก็จะตกลงมาภายในวิหาร โดยผ่านทาง Oculus นี้ ด้วย แต่พื้นด้านล่างนั้นก็มีรูเล็ก ๆ เพื่อระบายน้าออกไป ดังนั้น จะไม่มีน้าฝนขังอยู่ภาย ในวิหารเลย ในสมัยโบราณ เมื่อมีการบูชาบรรดาเทพเจ้าต่าง ๆ ด้วยไฟ ควันไฟเหล่านี้จะ ทาให้น้าฝนไม่สามารถผ่านกลุ่มควันอันหนาทึบนี้ได้อีกด้วย โครงสร้างวิหารนี้ได้รับ การศึกษาจากวิศวกรหลายคน และต่างก็มีความเห็นเดียวกันว่า โครงสร้างของวิหารไม่ น่าจะรับน้า หนักทั้งหมดของวิหารได้เลย และก็ยัง ไม่เข้าใจว่าวิหารนี้สามารถตั้งอยู่ได้ หลายศตวรรษมาแล้วได้อย่างไร การตกแต่งภายในปัจจุบัน เป็นการตกแต่งแบบคริสต์ ไม่มีความเชื่อในเรื่องของเทพเจ้าต่าง ๆ โดยจะมีแท่น และรูปวาดเล่าเรื่องต่าง ๆ ในศาสนาคริสต์ รูปวาด รูปปั้นของบรรดานักบุญ โดยศิลปิน ของแต่ละสมัย ส่วนรูปแกะทองคาที่อยู่เหนือหลุมศพของกษัตริย์ Emanuele ที่ 2 นั้น ตั้ง ไว้เพื่อเป็นเกียรติแด่กษัตริย์ Vittorio Emanuele ที่ 3 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในแดนเนรเทศในปี ค.ศ. 1947 อย่าลืมนะครับ อ่านอย่างเดียว สู้ไปดูด้วย อ่านไปด้วย ไม่ได้เลย
8. บันไดสเปน (Spanish Steps)
พูดถึง “บันไดสเปน” ปัจจุบันนี้เป็นที่รู้จักในฐานะที่เป็นย่านร้านค้า บรรดาสินค้า มีชื่อแบรนด์เนมทั้งหลาย เช่น Cucci, Prada, Luis Vitton, Bulgari, Ferragamo, Valentino และ อื่น ๆ อีกมาก นอกจากนี้ ก็ยังมีร้านอาหารและร้านกาแฟที่มีชื่อเสียง ได้แก่ Caffe Greco เพราะเป็นร้านค้าเก่าแก่ ผู้ที่มีชื่อเสียงของอิตาลีต่างก็เคยมาดื่มกาแฟร้านนี้ด้วยกันทั้งนั้น ใครเดินผ่านจะแวกเข้าไปลิ้มลองดู ก็เท่ไม่เบา ที่จริง กาแฟของเขาก็อร่อยจริง ๆ ด้วย ทั้ง รสชาติและราคา แต่ “บันไดสเปน” นั้นหมายถึงบันได 138 ขั้น สร้างขึ้นด้วยเงินทุนของนักการทูต ฝรั่งเศส ที่ชื่อว่า Étienne Guffier ด้วยเงิน 20,000 Scudi บันไดนี้สร้างขี้นในระหว่างปี ค.ศ. 1723-1725 เชื่อมระหว่างวัด Trinità des Monti ซึ่งกษัตริย์ราชวงศ์ Bourbon แห่งฝรั่งเศส 45
เป็นองค์อุปถัมภ์กับสถานทูตสเปนประจาสันตะสานัก (Holy See) ซึ่งตั้ง อยู่ใน Palazzo Monaldeschi ด้านล่าง บันไดนี้ชาวอิตาเลียนเขาเรียกว่า Scalinata เป็นบันไดที่กว้างและยาว ที่สุดในทวีปยุโรป แต่ทาไมตั้งชื่ อ “บัน ไดสเปน” ก็ไม่ทราบเหมือน กัน ทั้ง ๆ ที่ผู้ออก สตางค์ก็ เ ป็ น ฝรั่ ง เศส วั ด Trinità ด้ า นบนก็ อุป ถัม ภ์โ ดยกษัต ริย์ ฝรั่ ง เศส เพีย งแต่ มี สถานทู ต สเปนอยู่ ด้ า นล่ า งเท่ า นั้ น เอง บั น ไดนี้ มี ป ระวั ติ ม ายาวนานก่ อ นการสร้ า ง นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1580 เป็นต้นมา พระสันตะปาปาหลายองค์สนพระทัยจะสร้างบันไดนี้ แต่ โครงการก็ถูกแช่แข็งไว้ด้วยเหตุผลต่าง ๆ นานา จนกระทั่งมีการประกวดออกแบบ อย่าง จริงจัง ในปี ค.ศ. 1717 ผู้ออกแบบบันไดนี้ ได้แก่ Francesco de Sanctis เรื่องที่ควรรู้อีกเรื่องหนึ่งก็คือ เทศบาลกรุงโรมออกกฎระเบียบห้ามทานอาหารที่ บันไดแห่งนี้ แต่นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ก็ชอบที่จะนั่งคุยกัน ทานอาหารจานด่วน ดื่มน้า ดื่มเครื่องดื่มต่าง ๆ กันอยู่เสมอ หลายครั้งก็มักจะมีการเล่นดนตรี การแสดงเพื่อหาสตางค์ ของพวกศิลปินจาเป็น ก็ทาให้บันไดสเปนมีบรรยากาศคึกคัก และเต็มไปด้วยผู้คน ผมก็ ยังไม่เคยเห็นตารวจมาตักเตือนพวกที่ทานอาหารกันที่นี่เลย ลานสเปน (Piazza di Spagna) ไม่รู้จะตั้งชื่อไทยว่าอย่างไรดี ก็เรียกว่า “ลานสเปน” ก็แล้วกัน เป็นลานที่อยู่ด้าน หน้าของบันไดสเปน ตรงกลางลานจะมีน้าพุซึ่งเป็นรูปเรือโบราณ เรียกเป็นภาษาอิตาเลียน ว่า La Fontana della Barcaccia แปลตรงตัวเลยว่า “น้าพุเรือโบราณ” สร้างขึ้นในระหว่าง ปี ค.ศ. 1627-1629 โดยเป็นศิ ลปะบารอคยุ คต้น สร้างโดย Pietro Bernini ซึ่ง เป็น คน ออกแบบและแต่งเติม “น้าพุเทรวี” ระวัง อย่าไปสับสนปนเปกับลูกชายของเขา คือ Gian Lorenzo Bernini ซึ่งเป็นผู้ออกแบบและสร้างอ้อมแขนของมหาวิหาร และแท่นพระจิตเจ้า ในมหาวิหารนักบุญเปโตร ที่มาของการสร้างน้าพุเรือโบราณนี้ มาจากพระสันตะปาปา อูรบาโน ที่ 8 พบเรือลาหนึ่ง ถูกน้าซึ่งท่วมแม่น้า Tiber พัดพามาจน ถึงบริเวณนี้ จึง มีความคิดที่จะสร้างเรือน้าพุนี้เป็นอนุสรณ์ นี่แหละครับ เสน่ห์ของ “บันไดสเปน” หากไม่รู้ว่าจะนัดพบกันที่ไหนหลังจาก แยกย้ายกันไปจับจ่ายใช้สอย ก็นัดกันมาเจอกันที่ “น้าพุเรือโบราณ” ก็ดีนะครับ
9. นครรัฐวาติกัน (Vatican State หรือ The Holy See)
วาติกัน เป็นศูนย์กลางของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เป็นรัฐอิสระเล็ก ๆ ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี ทางการเมืองก็ถือว่าเป็นรัฐเล็กมากจนไม่มีบทบาททาง การเมือ งในสั ง คมโลก ปกครองโดยองค์ พระสั น ตะปาปา ไม่มี ก องทัพ มี แต่ ทหาร อารักขา หรือที่รู้จักกันในชื่อ Swiss Guard ทาไมต้องเป็น Swiss Guard? เราจะเล่าให้ฟัง ต่อไป เพราะมีประวัติอันยาวนานมาถึง 500 ปีแล้ว แต่ในทางศาสนานั้น วาติกันมีความ 46
สาคัญต่อศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอย่างมาก เพราะเหตุว่า พระสันตะปาปาเป็น ผู้แทนองค์พระเยซูคริสต์บนแผ่นดินนี้ (Vicar of Christ) คริสตชนทั้งหลายเคารพ รัก พระองค์ ในฐานะที่เ ป็น “บิดาผู้ศั ก ดิ์สิทธิ์ ” (Holy Father) และยัง เป็น ความเชื่อ ของ คาทอลิกด้วยว่า เมื่อไรก็ตาม ที่พระสันตะปาปาสอนสั่งในเรื่อง “ข้อความเชื่อ” และในเรื่อง “ศีลธรรม” ค าสอนนั้นจะไม่มีผิดพลาดเลย เราเรียกเป็น ภาษาลาติ นว่า “Ex Cathedra” หมายความว่าออกมาจากบัลลังก์ อานาจหน้าที่นี้พระองค์ได้รบั สืบต่อมาจากนักบุญเปโตร ซึ่งเป็นพระสันตะปาปาองค์แรก ที่ได้รับมอบหมายโดยตรงจากองค์พระเยซูคริสต์ ดังนัน้ แม้ว่า รัฐวาติกันจะมีประชากรเป็นทางการอยู่ประมาณ 1,000 กว่าคน แต่ในทางปฏิบัติ แล้ว รัฐวาติกันมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อบรรดาคริสตชนคาทอลิกทั่วโลก 1 พันกว่าล้าน คน เรามาทาความรู้จักกับรัฐวาติกันกันหน่อย 1. วาติกัน (Vatican) เป็นภาษอิตาเลียน เป็นชื่อเนินแห่งหนึ่งในกรุงโรม แต่เดิมเป็นที่ ตั้งของสนามกีฬาคาลิโกลา (Caligola) ต่อมา เป็นที่ตั้งของมหาวิหารนักบุญเปโตร และวังพระสันตะปาปา ชื่อนี้มีคาแปลหรือไม่ ผมไม่ทราบจริง ๆ ครับ อันที่จริง จะ บอกว่า คาว่า “วาติกัน” ไม่มีคาแปลก็ไม่ถูกต้องนัก เนินวาติกันนี้ ภาษาลาตินใช้คาว่า “vaticanus mons” คาว่า “Vaticanus” มาจากคาว่า “Vates” ก็เป็นภาษาลาตินอีกนั่น แหละ แปลว่า ผู้พยากรณ์ (prophet) หรือผู้ที่มองเห็น (Seer) ชื่อ เนิน วาติกันนี้ มีม านานแล้ว นะครับ มีอ ยู่ก่อ นที่คริสต์ศาสนาจะเข้ามา เผยแพร่ในกรุงโรมตั้งนาน คือ ตั้งแต่สมัยพวก Etruscans ซึ่งเป็นที่เข้าใจว่าเป็นชน เผ่าแรก ๆ ที่เข้ามาอาศัยในภูมิภาคนี้ ตอนนั้น เป็นชื่อของเมืองของพวกเขา ซึ่งก็ คือ “เมืองวาติกุม” (Vaticum) เนินวาติกันนี้ไม่ใช่เป็นเนิน 1 ใน 7 แห่งที่มีชื่อเสียงของกรุงโรม อย่าลืมนะ ครับ กรุงโรมถูกสร้างขึ้นท่ามกลางเนิน 7 ลูก อาณาจักรโรมันสร้างสนามกีฬาขึ้นที่ เนินวาติกันก็เพื่อผนวกบริเวณนี้เข้ามาในกาแพงเมืองของโรมด้วย สนามกีฬาที่ว่านี้ เรา ก็รู้จักแล้วนั้น ก็คือ สนามกีฬาคาลิโกลา และต่อมา เปลี่ยนชื่อเป็นสนามกีฬาเนโร ที่ เนินนี้เป็นที่ฝังศพของนักบุญเปโตร พระสันตะปาปาองค์แรกของคริสต์ศาสนานิกาย โรมันคาทอลิก ดังนั้น จึงเป็นที่ตั้งของมหาวิหารนักบุญเปโตร จนกระทั่งทุกวันนี้ พูดถึงมหาวิหารแห่งนี้แล้วก็จบไม่ลง ขอเติมอีกหน่อยละกันนะครับ มีเรื่อง น่ารู้ แต่ไม่มีโอกาสได้เห็น ก็คือ ใต้ดินมหาวิหารเป็นที่ฝังศพของบรรดาคริสตชนใน ยุคที่มีการเบียดเบียนศาสนา การขุดค้นเรื่องนี้ก็ยังคงทากันอยู่ การขุดค้นทากันลึก มากถึง 3-4 ชั้น ใต้ดิน เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯเสด็จเยี่ยม พระองค์ยัง ได้มีโอกาสเข้าชมส่วนนี้ด้วย แต่พวกเราคงเข้าไปชมไม่ได้ เอาแค่รู้ไว้ก็พอ ภายใน มหาวิหารยังมี museum เล็ก ๆ อยู่ด้วย แสดงสมบัติเก่าแก่ของมหาวิหาร(Tesoro do
47
San Pietro) ใครสนใจเข้าชมก็ได้ เสียคนละ 6 ยูโร แต่ก็คุ้มค่าสตางค์ เพราะสมบั ติ เหล่านี้เก่าแก่และมีคุณ ค่าจริง ๆ ไปดูเป็นบุญตา เพราะไม่มีทางที่จะพบที่อื่น ส่วนผู้ที่สนใจจะขึ้นไปชมวิวกรุงโรมบนโดมของมหาวิหาร ก็สามารถทาได้ เช่นกัน เขาเรียกโดมมหาวิหารนี้ว่า “Cupola” ถ้าเดินขึ้นไปด้วยบั นได ซึ่งมีทั้งหมด 500 กว่าขั้น ก็เ สียสตางค์คนละ 5 ยูโ ร แต่ถ้าหากขึ้น ลิฟท์ไป ก็จ ะเสีย 7 ยูโ ร เสีย สตางค์ไม่พอ ยังต้องเดินอยู่ดี ขึ้นไปอีก 200 กว่าขั้น ใครจะขึ้นไปก็คงต้องฟิตร่างกาย กันหน่อย ใครเป็นโรคหัวใจก็แนะนาว่าดูรูปถ่ายเอาดีกว่า วิวข้างบนนั้นต้องบอกว่า สวยงามมาก ท่ า นจะได้ เ ห็ น นครวาติ กั น ทั้ ง หมด สวนอั น สวยงาม ของวาติ กั น พระราชวังพระสันตะปาปา ที่ทาการรัฐ ห้อ งสมุดวาติกัน หอจดหมายเหตุวาติกัน พิพิธภัณฑ์ นอกจากนี้ ยังสามารถมองเห็นกรุงโรมได้รอบทิศอีกด้วย บอกได้เลยว่า คุ้ม ค่าเหนื่อ ย เพราะสวยงามมากจริง ๆ และท่านจะรู้สึก ว่ากาลัง ลอยอยู่บนเมือ ง สวรรค์ ประมุขของรัฐวาติกัน ได้แก่ พระสัน ตะปาปา คาว่าสันตะปาปามาจากคา ภาษาอิตาเลียนว่า “Santo Papa” อ่านว่า “ซันโต ปาปา” เราเรียกไปเรียกมาก็กลายเป็น สันตะปาปา Santo แปลว่าศักดิ์สิทธิ์ Papa แปลว่าบิดา เพราะฉะนั้น ภาษาอังกฤษเขา จึงเรียกพระสันตะปาปาว่า Holy Father คาน าหน้าพระสันตะปาปาจึงใช้คาว่า His Holiness หรือ Your Holiness คาว่า Papa ซึ่งแปล ว่าบิดานี้ หากลง Accent ที่พยางค์ แรก ก็หมายถึง Pope แต่หากลง Accent ที่พยางค์หลัง ก็หมายถึงพ่อของลูกนะครับ (เตี่ย, Daddy) Pope องค์แรก ได้แก่ St. Peter, Pope John Paul II เป็นองค์ที่ 264 Pope Benedict XVI เป็นองค์ที่ 265 2. รัฐวาติกันเป็นรัฐอิสระเล็ก ๆ เกิดขึ้นเป็นทางการในปี ค.ศ. 1929 โดยสนธิสัญญาที่ เรียกว่า Lateran Treaty ลงนามโดยพระสันตะปาปา Pius XI และพระเจ้า Vittorio Emanuel III อาณาเขตก็ นิดเดีย วครับ ประมาณ 1 ตารางกิ โ ลเมตร ประชากรก็ ประมาณ 1,000 คนเท่านั้น อย่างไรก็ตาม รัฐวาติกันก็ยังคงมีอาณาเขตพิเศษเป็นของ ตนด้วย เรียกกันว่า Extraterritory เช่น มหาวิหารสาคัญ ๆ ในกรุงโรม ตึกสาคัญบางตึก และที่ดินบางแห่งในกรุงโรม มหาวิหารนักบุญอันตน ที่เมือง Padova ฯลฯ ขึ้นชื่อว่าเป็นรัฐอิสระ ก็ต้องมีอะไร ๆ เป็นของตนเอง นั่นก็คือมีเงินตราของ ตนเอง ปัจจุบันก็ใช้ค่าเงินยูโร มีแสตมป์ มีกองทหารสวิส มีเลขาธิการรัฐ มีกระทรวง ด้านต่าง ๆ มากมาย ผมก็จะค่อย ๆ เล่าให้ฟังพอสังเขปก็แล้วกัน เฉพาะที่น่าสนใจ สาหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาน้อยอย่างเรานะครับ 3. ทหารสวิส (Swiss Guard) วาติ กั น เป็ น รั ฐ ทางศาสนา ดั ง นั้ น จึ ง ไม่ มี ก องทั พ เรื อ กองทั พ อากาศ กองทัพบก ก็ดีเหมือนกันนะครับ จะได้ไม่มีการปฏิวัติ (Coup d’Etat วาติกันมีแต่กอง 48
ทหารองครักษ์ กองทหารนี้ก็มีจ านวนไม่มากนัก แต่ที่แปลกกว่านี้ก็คือ เป็นทหาร สวิส แทน ที่จะเป็นชาวอิตาเลียน อย่างนี้ก็ต้องอธิบายกันเล็กน้อย แม้ว่า ประวัติของ เรื่องนี้จะมีมายาวนานก็ตาม ในสมัยศตวรรษที่ 15 มีชาวสวิสเป็นทหารรับจ้าง อยู่ในกองทัพของประเทศ ต่าง ๆ ในยุโรป เพราะว่า ทหารสวิสมีชื่อเสียงมากในด้านระเบียบวินัยและความ จงรักภักดีต่อผู้ว่าจ้าง ปัจจุบัน มีอยู่เฉพาะที่วาติกันเท่านั้น ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1506 โดยพระสันตะปาปา จูเลียส ที่ 2 (1503-1513) ตอนนั้น กษัตริย์ชาร์ลที่ 8 แห่งฝรั่งเศส กาลังจะทาสงครามกับอาณาจักรเนเปิ้ล (Naples) พระสันตะปาปา จูเลียส ที่ 2 เข้าร่วม ต่อต้านอาณาจักร Naples จึงได้ขอว่าจ้างทหารสวิสไว้ 200 นาย ทหารสวิสกลุ่มแรก จานวน 150 นาย เข้าสู่วาติกัน เมื่อวันที่ 22 มกราคม 1506 และก็ถือวันนี้เอง เป็นวัน เริ่ ม ต้น กองทหารองครัก ษ์ แ ห่ง วาติกั น อย่า งเป็ น ทางการ และมี ก ารเฉลิ ม ฉลอง ครบรอบ 500 ปีอย่างยิ่งใหญ่ในปี ค.ศ. 2006 อย่างไรก็ตาม ตอนนั้นก็ไม่มีเหตุ การณ์ อะไรที่น่าตื่นเต้น เหตุการณ์ที่เ ป็น ประวัติศาสตร์ของทหารสวิสเกิดขึ้นในวันที่ 6 พฤษภาคม 1527 เมื่อจักรพรรดิชาร์ลที่ 5 เข้าปล้นกรุงโรม ทหารสวิส 147 นาย ยอม สละชีวิต เพื่อให้พระสันตะปาปา เคลเมนต์ ที่ 7 มีเวลาหลบหนีไปได้ โดยมีทหาร สวิสอีก 40 นาย คอยคุ้มกันอย่างใกล้ชิด เหตุ ก ารณ์ นี้ เป็ น เหตุก ารณ์ที่ ท าให้ท หารสวิ ส สื บสานต านานแห่ง ความ เสียสละและ กล้าหาญ ทาหน้าที่เ ป็นองครัก ษ์ของพระสันตะปาปาและรัฐวาติกัน สืบมาจนทุกวันนี้ ชาวสวิสถือเป็นเกียรติอย่างมาก หากมีโอกาสได้ทาหน้าที่นี้ในชีวติ ของตน แต่ ก็ ไ ม่ ใ ช่ ง่ า ยนะครั บ ที่ จ ะมาเป็ น ทหารสวิ ส เพราะเขามี คุ ณ สมบั ติ เหมือนกัน ก็คือต้องเป็นคาทอลิก มีสัญชาติสวิส และเป็นโสด อายุระหว่าง 19-30 ปี และสูงอย่างน้อย 174 เซนติเมตร จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะเวลาของการ ปฏิบัติหน้าที่ก็คือ 2 ถึง 25 ปี ทหารสวิสแต่งตัวกันหลายแบบ แล้วแต่ฤดูกาลและโอกาส เวลาที่แต่งตัวเต็ม ยศ ดูสง่างามมาก คล้าย ๆ กับอัศวินโบราณ ชุดที่ดูสวยงามและเป็นที่กล่าวถึงมาก ที่สุด ก็เห็นจะเป็นชุดลายทาง มีหลายสี คือ แดง น้าเงิน ส้ม เหลือง สวมหมวกแบเล่ ออกแบบเป็นแบบของยุค Renaissance หลายคนเข้าใจว่า ไมเคิ้ล แอนเจโล เป็น ผู้ออกแบบ แต่ที่จริงเป็นนายทหารคนหนึ่งเท่านั้น บางคนก็ว่าออกแบบโดยราฟาแอลโล ซึ่งก็ไม่ใช่อีก เพียงแต่ว่า ราฟาแอลโล เคยวาดรูปพระสันตะปาปา จูเลียส ที่ 2 พร้อม กับทหารสวิสเท่านั้นเอง ปกติทหารสวิสเป็นหนุ่มหน้าตาหล่อเหลาเอาการ นักท่องเที่ยวก็มักจะกล้ า ๆ กลัว ๆ จะขอถ่ายรูปกับพวกเขาได้หรือไม่ ผมมีเพื่อนเป็นทหารสวิสอยู่คนหนึ่ง ที่ว่า เป็นเพื่อนก็เพราะเขามีแฟนเป็นคนไทย เขาบอกว่า พวกเขายินดีจะถ่ายรูปเสมอ หาก ว่าไม่ทาให้เสียหน้าที่ ก็คือ ถ้าพบเห็นที่ไหนก็ขอถ่ายรูปได้ ไม่ต้องกลัว พวกเขา นี่ รวมไปถึงพวกตารวจชาวอิตาเลียนด้วยนะครับ ชาวอิตาเลียนนอกจากจะหล่อแล้ว ยัง แต่งตัวเท่ห์อีกด้วย 49
4. พิพิธภัณฑ์วาติกัน สาหรับผู้ที่รักงานด้านศิลปะ ไม่ว่าจะเป็นรูปวาด รูปปั้น รูปแกะสลัก ผู้ที่รัก โบราณคดี ไม่ ว่ า จะเป็ น ยุ ด ใด ๆ วั ต ถุ สิ่ ง ของ และความก้ า วหน้ า ทางวิ ท ยาการ ประวัติศาสตร์อันน่าสนใจ พิพิธภัณฑ์วาติกันมีทุกอย่างเหล่านี้ ภายในมีพิพิ ธภัณฑ์ ย่อ ย ๆ หลายแห่ง โดยมีชื่อ เรียกต่าง ๆ กันไป เช่น Etruscan Museum, Egyptian Museum มี Gallery อยู่หลายต่อหลายแห่ง และเมื่อเดือนกันยายน 2007 ที่ผ่านมานี้ ก็ เพิ่งจะเปิดพิพิธภัณฑ์ย่อยอีก 2 แห่งภายใน ได้แก่ พิพิธภัณฑ์แสตมป์ และพิพิธภัณฑ์ เหรียญ ซึ่งต้องขอบอกว่า แสตมป์และเหรียญของวาติกันนั้นมีชื่อเสียงไม่แพ้ชาติใด ๆ ในโลก และเป็ น ที่ ส นใจของผู้ ที่ ชื่ น ชอบแสตมป์แ ละเหรีย ญ ปลายทางของ พิพิธภัณฑ์ว าติกัน ได้แก่ โบสถ์ซิส ติ น (Sistine Chapel) โบสถ์นี้น่าสนใจมาก ๆ เพราะเป็ น สถานที่ ที่บ รรดาพระคาร์ ดิ นัล ใช้ป ระชุ ม เลื อ กตั้ง พระสั น ตะปาปา ที่ ภาษาอังกฤษใช้คาว่า Conclave ซึ่งแปลว่า ประชุมภายในห้องที่ใส่กุญแจ หมายความ ว่าเป็นความลับเฉพาะ นอกจากนี้ ภายในโบสถ์ซิสตินมีผลงานวาดภาพของจิตรกร ระดับโลกหลายต่อหลายท่าน โดยเฉพาะภาพวาด “การตัดสินครั้งสุดท้าย” ของไมเคิ้ล แอนเจโล นั้น น่าดูที่สุด เพราะภายในภาพนั้นเต็มไปด้วยความ หมายและความเชื่อ ของศาสนาคริสต์ ผมเองต้องเรียบเรียงภาพนี้ ภาพเดียวตั้ง 4 เดือน เพราะว่า ทุกอย่าง ในภาพมีความหมายไปหมด ตั้งแต่สี บุคคล ตาแหน่งของบุคคลในภาพ ความหมาย ของสวรรค์ แผ่นดิน นรก นอกจากนี้ ภาพนี้ยังเป็นภาพที่ ต่อเนื่องมาจากภาพ อื่น ๆ ภายในโบสถ์ มีความเชื่อมโยงกันตั้งแต่การสร้างโลกและมนุษย์ จนกระทั่งถึง วันสุด ท้ายของมนุษยชาติ บรรยายเท่าใดก็ไม่มีทางหมด บรรยายหมดก็ไม่เหมือนไป ชมด้วยตนเอง นักท่องเที่ยวยุโรปเขาขอบมาเยี่ยมพิพิธภัณฑ์แห่งนี้มาก มายืนรอกัน ตั้งแต่เช้าทีเดียว เขาเปิดเวลา 8.30 น. – 16.30 น. ค่าผ่านประตู 11 ยูโร แต่ถ้าหากเป็น วันอาทิตย์สุดท้ายของเดือน เขาให้เข้าฟรี ตั้งแต่ 9.00 น. – 12.30 น. จะมีคิวยาวตั้งแต่ ทางเข้ า ออกมาตาม ก าแพงวาติ กั น สุด ลู ก หู ลู ก ตาที เ ดี ย ว ฝรั่ ง ก็ ชอบของฟรี เหมือนกัน เดี๋ยวนี้ ทางเข้าพิพิธภัณฑ์ ก็ทาใหม่ สวยงามและกว้างขวางมาก บอก ได้อีกคาหนึ่งว่า ใครที่ชมพิพิธภัณฑ์วาติกันแล้วจะพบได้ทันทีว่า รัฐวาติกันไม่ใช่รัฐ เล็ก ๆ อย่างที่เรารู้ แต่เป็นรัฐแห่งจิตที่ยิ่งใหญ่จริง ๆ
10. Castel Sant’ Angelo
ไม่ทราบว่าจะตั้งชื่อภาษาไทยว่าอะไรดี ภาษาอิตาเลี ยนแปลว่า “ปราสาทนักบุญ เทวดา” เราแปลง่าย ๆ ก็คงจะราว ๆ ปราสาทเทวดาก็แล้วกัน หากเรามองจากมหาวิหาร นักบุญเปโตร ไปทางแม่น้าไทเบอร์ (ภาษาอิตาเลียนใช้คาว่า Tevere : เตเวเร) เราก็จะพบ กับปราสาทเก่ า ๆ หลัง หนึ่ง เป็น รู ปทรงกลม และมีรูปเทวดาองค์หนึ่ง ตั้ง อยู่บนยอด 50
ปราสาท นั่นแหละครับ ที่ผมหมายถึง ถ้ามีคาถามว่าปราสาทนี้คืออะไร และเข้าใจว่าคง ถามอย่างเดียว แต่ไม่เข้าชมละก็ ตอบแบบนี้นะครับ ปราสาทนี้ คือ ที่ฝัง ศพของจัก รพรรดิเ ฮเดรียน (Hadrian) และครอบครัว ของ พระองค์ ต่อมา ใช้เป็นป้อมปราการและปราสาท ปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์ แต่ถ้ าหากยอม เสียสตางค์ไปเข้าชมละก็ ต้องอธิบายให้ม ากกว่านี้หน่อย ประการแรกก็คือ ปราสาทนี้ เก่าแก่ ม าก สร้างตั้ง แต่ ปี ค.ศ. 135 หรือ 139 เก่าจนไม่รู้ว่ าปีไหนกัน แน่ จัก รพรรดิ Hadrian และพระราชินี Sabina ถูกฝัง อยู่ที่นี่ รวมทั้ง จักรพรรดิโรมันองค์ต่อ ๆ มาด้ว ย จนถึงปี ค.ศ. 401 ปราสาทนี้ถูกปรับเปลี่ยนให้เป็นป้อมปราการ แรกทีเ ดียว ก็มีชื่อ ว่า “ที่ฝัง ศพของเฮเดรียน” ต่อ มา เปลี่ยนชื่อ เป็น “ปราสาท เทวดา” ก็เพราะว่า มีตานานเล่าขานกันในปี ค.ศ. 590 ว่า อัครเทวดามีคาแอล (Michael) ซึ่ง เป็นหนึ่งใน 3 เทวดาองค์ใหญ่ในศาสนาคริสต์ ปรากฏองค์ขึ้นมาบนยอดปราสาท เพื่อ ยับยั้งกาฬโรคซึ่งกาลังระบาดอยู่ในเวลานั้น และกาฬโรคก็ได้ยุติลงอย่างอัศจรรย์ ปราสาท นี้ก็ได้รับชื่อใหม่นี้ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา รูปเทวดานี้ทาด้วยทองบรอนซ์ในปี ค.ศ. 1753 แทนรูปแรกของ Rafaello ที่ทาด้วยหินอ่อน พระสันตะปาปาหลายองค์ในศตวรรษที่ 14 ได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างของป้อม ปราการนี้ ให้มาเป็นปราสาท (Castle : Castello) และหากสังเกตดี ๆ นะครับ จากวังพระ สันตะปาปา จะมีทางเดินในช่องกาแพงไปจนถึงปราสาทเทวดาหลังนี้เลย ช่องทางเดินนี้ เขาเรียกว่า Passetto di Borgo สร้างโดย Pope Nicolas III ช่องทางนี้มีประโยชน์ในการ ติดต่อกันระหว่างวังพระสันตะปาปาและปราสาทหลังนี้ เวลาเดียวกัน ในยามฉุกเฉินก็ใช้ เป็นทางหนีภัยของพระสันตะปาปาด้วย เช่น ตอนที่ Pope Clement VII หนีภัยจากพระ เจ้า Charles V ในการบุ กยึ ดกรุง โรมใน ปี ค.ศ. 1527 เป็น ต้น และต่อ ๆ มา พระ สันตะปาปาก็ได้ปรับปรุงปราสาทนี้ให้เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปาด้วย ปราสาท หลังนี้ก็กลายเป็นปราสาทสารพัดประโยชน์ เพราะต่อมาก็ยังถูกปรับเปลี่ยนให้เป็น คุกขัง บรรดานักโทษ และขังพระสันตะปาปาบางองค์ด้วย ด้วยเหตุผลทางการเมือง และยังเป็นที่ ประหารชีวิตนักโทษบางคนอีกด้วย ปัจจุบันกลายเป็นพิพิธภัณฑ์ ใครอยากชมปราสาทที่เก่าแก่มาก ๆ จริง ๆ ก็คือที่นี่ แหละครับ ภายในก็มีบาร์ขายเครื่องดื่มให้นั่งชมทิวทัศน์ของกรุงโรม มีลานที่สวยงาม มี ประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจ สาหรับผม อะไร ๆ ก็น่าสนใจไปหมด แต่สาหรับผู้อ่าน ผมไม่ รู้ว่าจะน่าสนใจขนาดไหนนะครั บ ด้านหน้าของปราสาทก็มีสะพานข้ามแม่น้าไทเบอร์ สะพานนี้มีชื่อเดียวกับปราสาทเลยนะครับ สร้างในสมัยจักรพรรดิ Hadrian เหมือนกัน เป็น สะพานที่เก่าแก่มาก เดี๋ยวนี้ได้รับการตกแต่งด้วยศิลปะบารอค ตั้งรูปเทวดาและรูป 51
ประวัติพระเยซูเจ้าเพิ่มขึ้นมา นักท่องเที่ยวชอบมาถ่ายรู ปที่สะพานแห่งนี้มาก เพราะได้ ความเก่าแก่ของสะพาน พร้อมทั้งปราสาทที่เก่าแก่ จนทาให้รูปของเราดูหนุ่มดูสาวขึ้นตัง้ เยอะ
สักการสถาน DIVINO AMORE
ฉบับนี้พ่อขอแนะนาสักการสถานแห่งหนึ่งให้เรารู้จัก เพราะเห็นว่ามีประโยชน์ ที่จะรู้และมีประโยชน์ในการแสวงบุญ คริสตังไทยไม่ค่อยคุ้นเคยกับสักการสถานที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศ อิตาลี นั่นคือ สักการะสถาน ดิวิโน อะโมเร (Divino Amore) ถ้าจะให้แปล ก็ต้องแปลว่า สักการสถาน “ความรักของพระเจ้า” น้อยคนมากในประเทศอิตาลีที่จะไม่รู้จักสถานที่ แห่ง นี้ เป็น ความศรัท ธาที่มีต่อ รู ปภาพของแม่พระรูปหนึ่ง ไม่ได้ เ กี่ยวข้อ งกับ การ ประจักษ์ของแม่พระแต่อย่างใด แต่เกี่ยวข้องกับอัศจรรย์ที่เกิดขึ้นจากการภาวนาต่อหน้า รูปภาพรูปนี้ ซึ่งมีอยู่มากมายจนถึงปัจจุบันนี้
อัศจรรย์ครั้งแรกเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1740 สถานที่เกิดอัศจรรย์ เป็นปราสาทเก่าแก่แห่งหนึ่งที่มีชื่อว่า “ปราสาทแห่งสิงโต” (Castello dei Leoni) ปราสาทหลังนี้สร้างขึ้นบนที่ดิน ซึ่งแต่เดิม ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1081 เป็น ทรัพย์สินของอารามนักบุญเปาโล ต่อมา ตกเป็นของวัด Santa Sabina และตั้งแต่ปี ค.ศ. 1295 ตกเป็นของครอบครัว Savelli ระหว่างปีนี้เองที่ครอบครัว Savelli สร้างปราสาท หลังนี้ขึ้น บริเวณหอของกาแพงปราสาทได้ติดรูปภาพวาดรูปหนึ่ง เข้าใจว่าเป็นรูปที่วาด โดยสานักศิลปะของ Pietro Cavallini แต่ด้วยสาเหตุใดแท้จริงไม่ปรากฏ คาดเดาว่า อาจ เกิดจากแผ่นดินไหว ทาให้ปราสาทแห่งนี้พังลงมา และกลายเป็นสถานที่รกร้าง คง เหลือ ไว้แต่ส่วนหนึ่งของกาแพงและหอที่มีรูปวาดนี้ไว้เท่านั้น พวกคนเลี้ยงแกะที่เลี้ยงแกะอยู่ บริเวณนี้จึงใช้เป็นที่พักผ่อน และเป็นที่สวดสายประคาต่อหน้ารูปวาดรูปนี้ รูปภาพวาดนี้เป็นรูปของพระนางพรหมจารีมารีอาประทับนั่งบนบัลลังก์ โดยมี พระเยซูกุมารในอ้อนแขน และมีนกพิราบอยู่เหนือศีรษะ นกพิราบนี้เป็นสัญลักษณ์ของ พระจิตเจ้า พระจิตเจ้านี้เป็น “ความรักของพระเจ้า” จึงเป็นที่มาของชื่อภาพวาดนี้ “แม่ พระแห่งความรักพระเจ้า” นักเดินทางผู้หนึ่ง บางทีอาจจะเป็นนัก แสวงบุญผู้หนึ่ง เราไม่ทราบชื่อของเขา กาลังมุ่งหน้าไปมหาวิหารนักบุญเปโตร สมัยนั้นมักจะมีผู้แสวงบุญเดินทางไปสวดภาวนา หน้าหลุมศพนักบุญเปโตรบ่อย ๆ แต่การเดินทางก็เสี่ยงไม่ใช่น้อย ทั้งจากการทาร้ายและ 52
การจี้ปล้น แต่ชายคนนี้หลงทาง และกาลังวิตกกังวลไปต่าง ๆ นานา มองเห็นหอกาแพง เก่าแห่งนี้ จึงมีความหวังว่าจะได้รับความช่วยเหลือ ในขณะที่กาลังจะเดินผ่านหอเข้าไปภายในกาแพง เขาต้องเผชิญหน้ากับฝูงสุนัขดุ ร้าย ซึ่งเข้ามาล้อมเขาไว้ และดูเหมือนว่า จะไม่มีทางหลบหนีภัยมหันต์นี้ได้ ทาให้เขา ตกใจและหวาดกลัวอย่างมาก ชายผู้น่าสงสารผู้นี้ได้มองขึ้นไปยังหอ และเห็นภาพวาดของ แม่พระ เขาจึงเปล่งเสียงทั้งหมดที่มีอยู่ กล่าวว่า “พระมารดาของข้าพเจ้า โปรดช่วยด้วย” สุนัขทุกตัวหยุดขู่กรรโชก และทั้ง หมดก็สงบลงทันที ราวกับว่ามีใครสักคนหนึ่ง สั่ง พวกมันให้ทาเช่น นั้น หลังจากนั้น คนเลี้ยงแกะได้มาพบเขา และพาเขาไปชี้ทาง เพื่อ เดินทางไปกรุงโรม ชายผู้นี้ได้เล่าเรื่องที่ตนเองพบ โดยไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยเลย คนเลี้ยงแกะหลายคน ก็ได้เล่าเรื่องเหล่านี้ด้วย ทาให้มีผู้เดินทางมาสวดภาวนาต่อภาพวาดนี้มากขึ้น ๆ และที่น่า อัศจรรย์ก็คือ คาวอนขอต่าง ๆ ได้กลับกลายมาเป็นคาขอบคุณสาหรับพระหรรษทานต่าง ๆ ที่ได้รับ จนเป็นที่รู้จักกันทั่วไป ในที่สุด พระคาร์ดินัล Giovanni Antonio Guadagni ซึ่ง เป็น Vicario แห่ง Rome และเป็นสมาชิกในคณะคาร์แมลไม่สวมรองเท้า ตัดสินใจมา เยี่ยมสถานที่นี้ และกาหนดสถานที่เหมาะสมสาหรับรูปภาพศักดิ์สิทธิ์รูปนี้ - ปี ค.ศ. 1742 ย้ายรูปภาพจากหอเก่าแก่ไปประทับไว้ที่วัดน้อย Santa Maria ad Magor การย้ายรูปครั้งนั้น ทาให้เกิดความเสียหาย จนกระทั่งต้องมีการซ่อมแซมกันต่อมาอีก หลายครั้งทีเดียว - 8 มีนาคม 1743 ย้ายรูปนี้ไปเก็บไว้ที่ Conservatorio di Santa Caterina della Rota รอ ให้มีการสร้างวัดใหม่ในสถานที่ที่เกิดอัศจรรย์ - 19 เมษายน 1745 สร้างวัดเสร็จสิ้น และย้ายรูปภาพนี้ มีฝูงชนจานวนมากมาร่วม ใน ขบวนแห่ครั้งนี้ พระสันตะปาปา เบเนดิ๊กต์ ที่ 14 ได้มอบพระคุณการุญครบบริบูรณ์ แด่ ผู้ เ ข้ า ร่ว มพิ ธีใ นโอกาสนี้ ด้ ว ย และใครก็ ต ามที่ ม าเยี่ ย มสถานที่ นี้ ภ ายใ น 7 วั น หลังจากการย้ายพระรูป ก็ได้รับพระคุณการุญครบบริบูรณ์เช่นเดียวกัน - 31 พฤษภาคม 1750 โอกาสปีศักดิ์สิทธิ์ ได้มอบถวายวัดนี้แด่ Divino Amore อย่าง สง่า พร้อมทั้งให้คาอธิบายไว้ว่า “สตรีซึ่งน้อมรับที่จะเป็นมารดาของพระผู้ไถ่นั้น เต็ม เปี่ยมไปด้วยพระจิตเจ้า ” นั่น คือ Divino Amore ผู้ที่เ ป็น ประธานในวั น นั้น ได้แก่ สังฆราชแห่ง Padova คาร์ดินัล Carlo Renzonico ซึ่ง 8 ปีต่อมาได้รับเลือกเป็น Pope Clemente XIII นับแต่นั้นเป็นต้นมา สักการสถานแห่งนี้ได้กลายเป็นศูนย์กลางของการจาริกแสวง บุญ
53
โอกาสฉลองครบรอบ 100 ปีแห่งอัศจรรย์แรก 7 มิถุนายน 1840 ได้มีการสร้าง สะพานและถนนหนทางเพิ่มขึ้น และกษัตริย์แห่งโปรตุเกส (Michele) ได้เข้าร่วมพิธีด้วย
อัศจรรย์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 4 มิถุนายน 1944 กองทัพนาซีถอนกาลังออกจากกรุงโรม ฝ่ายสัมพันธมิตร เดิน เข้ากรุงโรมอย่างสง่า เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นอย่างอัศจรรย์ โดยไม่มีการสูญเสี ยเลือดเนื้อเลย ทหารนาซียึดกรุงโรมอยู่เกือบ 9 เดือน ฝ่ายสัมพันธมิตรจาเป็นต้องขับไล่ทหารนาซีออก จากกรุงโรม การหลีกเลี่ยงโจมตีกรุงโรมจึงเป็นเรื่องยากมาก พระสันตะปาปา ปีโอ ที่ 2 เชิญชวนชาวโรมแห่แหนพระรูป Divino Amore ไปตามถนนสายต่าง ๆ ในกรุงโรม และ ไปสวดภาวนาร่วมกันต่อหน้าพระรูปนี้ที่วัดนักบุญอิกญาซีโอที่กรุงโรมเอง ขอให้ กรุง โรมพ้นจากการถูกโจมตี - รูปแม่พระถูกนามาที่กรุงโรม เมื่อวันที่ 24 มกราคม 1944 - สัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่ Anzio วันที่ 22 มกราคม 1944 - รูปแม่พระได้รับการแห่แหนไปตามวัดต่าง ๆ ในกรุงโรม ตามถนนหนทาง และใน เดือนพฤษภาคม 1944 เนื่องจากมีคลื่นมหาชนซึ่งต้องการเคารพพระรูป จึงถูกนาไปตั้ง ไว้ที่วัด Lorenzo in Lucina - สัมพันธมิตรทราบดีว่า 6 มิถุนายน 1944 เป็น “วันดีเดย์” (D-Day) จะยกพลขึ้นบก ที่ Normandie ดังนั้น จาเป็นต้องขับไล่ทหารนาซีออกจากกรุงโรม เพื่อเสริมกาลังเข้า ประเทศเยอรมันนี - 11-12 พฤษภาคม เริ่มสงครามยึดกรุงโรม เวลา 23.00 น. วันที่ 11 พฤษภาคม เริ่มยิงปืนใหญ่ถล่มเขตทหาร ที่ Eur, Appio เขต ทหารใต้อาราม Montecassino - 28 พฤษภาคม Pope Pio XII เริ่มอัฐมวารและนพวารแม่พระแห่ง Divino Amore ชาว โรมมาร่วมพิธีวันละประมาณ 15,000 คน จนทาให้วัด Lorenzo ไม่สามารถรับได้ ต้อง ย้ายมาที่วัด Ignazio - 4 มิถุนายน 1944 วัน สุดท้ายของอัฐมวารพระจิตเจ้า เวลา 18.00 น. อ่านคาบนบาน (Voto) ของชาวโรมต่อพระแม่แห่ง Divino Amore สัญญาว่า ชาวโรมจะแก้ไขพฤติ กรรมทางศีลธรรม จะปฏิสั งขรณ์สั กการสถาน และจะจัดตั้ง งานเมตตาขึ้น ที่ที่ เกิ ด อัศจรรย์ ครั้งแรกนั้น Pope Pio XII ต้องการจะมาอยู่ร่วมด้วย แต่ไม่สามารถออกจาก Vatican ได้ แต่แทบจะเป็นเวลาเดียวกันนั้นเอง ฝ่ายนาซีได้รับคาสั่งให้ถอนกาลังออก จากกรุงโรม และฝ่ายสัมพันธมิตรก็เดินทางเข้ากรุงโรม เวลา 19.45 น. โดยไม่มี การ ปะทะกันเลย - 11 มิถุนายน 1944 คลื่นมหาชนชาวโรม และ Pope Pio XII ได้นาสวดขอบพระคุณ แม่ พระที่วัด Ignazio ต่อหน้ารูปพระแม่แห่ง Divino Amore “พระแม่ปกครอง กรุงโรม 54
ให้พ้นภัย” ตั้งแต่นั้น สักการสถานแห่งนี้ถือเป็นสักการสถานแห่ง Rome และของทุก คน
บุคคลสาคัญของสักการสถาน : Don Umberto Terenzi -
ฟื้นฟูสักการสถาน เป็นเจ้าอาวาสที่นี่ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1931-1974 23 มกราคม 2004 ดาเนินเรื่องเป็นบุญราศีและนักบุญ ท่านได้รับอัศจรรย์จาก Divino Amore จากอุบัติเหตุทางรถยนต์ ก่อตั้งคณะสงฆ์ Oblati di Divino Amore ก่อตั้งคณะธิดาแม่พระแห่ง Divino Amore ปัจจุบัน คณะนี้ทางานอยู่ในหลายประเทศ เช่น โคลัมเบีย บราซิล เปรู ฟิลิปปินส์ อินเดีย นิการากัว เป็นต้น
สักการสถานใหม่ - เริ่มสร้างตั้งแต่วันที่ 4 มิถุนายน 1944 - Pope John Paul II เปิดและเสกวันที่ 4 กรกฎาคม 1999 - ปัจจุบัน สักการสถานแห่งนี้มีบ้านเข้าเงียบอบรม และเป็นที่สวดภาวนา มีคณะ นักบวชที่คุณพ่อ Terenzi ตั้งขึ้น เป็นผู้ดูแลบ้านพักคนชรา
55