Farisi new4

Page 1

ฟาริสีกระหายเลือด เปาโลกระหายรัก โดยคุณพ่อสุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์


ปีนักบุญเปาโล ( 28 มิ.ย. 2008 - 29 มิ.ย. 2009 ) • เป็นปีศักดิ์สิทธิ์เพื่อระลึกถึงการ ครบรอบ 2000 ปี การกาเนิดของ นักบุญเปาโล อัครสาวกผู้ยิ่งใหญ่ของพระศาสนจักร • ความคิดและการเตรียมการสาหรับปีนักบุญเปาโลนี้เริ่มมาตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2000 มหาวิหารนักบุญเปาโลเป็นผู้รับหน้าที่ในการดาเนินการ • นักบุญเปาโลเป็นนักบุญองค์แรกในพระศาสนจักร ซึ่งได้รับการประกาศ ให้มีปีศักดิ์สิทธิ์ ทั้งนี้หากคานึงถึงปีศักดิ์สิทธิ์ของแม่พระแล้ว เป็นที่ยอมรับกันเสมอ มาว่า พระมารดามารีอานั้นได้รับเกียรติสูงส่งเป็นมารดาพระเจ้า จึง ได้รับการเทิดทูนขึ้นเหนือกว่าบรรดาเทวดาและนักบุญทั้งหลาย



• พระสันตะปาปาเบเนดิ๊กที่ 16 ประกาศปีนักบุญเปาโล เมื่อวันที่ 28 มิ.ย. 2007 ณ หลุมฝังศพท่านนักบุญเปาโลในมหาวิหารนักบุญเปาโล • พระสันตะปาปาเบเนดิ๊กที่ 16 เปิดปีนักบุญเปาโล เมื่อวันที่ 28 มิ.ย. 2008 ที่มหาวิหารนักบุญเปาโลอย่างสง่า

ปีศักดิ์สิทธิน์ ักบุญเปาโล • พระศาสนจักรมอบพระคุณการุณครบบริบูรณ์ แก่บรรดาคริสตชนซึ่ง ปฏิบัติตามเงื่อนไขแห่งพระคุณนี้ ในโอกาสจาริกแสวงบุญไปยังมหา วิหารนักบุญเปาโล หรือวัด รวมถึงสถาบันที่มีนามนักบุญเปาโลเป็นองค์ อุปถัมภ์ • พระศาสนจักรให้ความรู้อย่างกว้างขวางเกี่ยวกับ ชีวิต บทจดหมาย ทั้ง 13 ฉบับ สถานที่ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ของท่านนักบุญเปาโล



พระศาสนจักรสนับสนุนให้มีการจาริกแสวงบุญ ปีนักบุญเปาโลอย่างกว้างขวาง รวมถึงสนับสนุนให้มี การจัดกิจกรรมต่างๆสาหรับปีศักดิ์สิทธิ์นี้เป็นพิเศษ ปีนักบุญเปาโลในประเทศไทย • สิ่งพิมพ์ให้ความรู้ คาสั่งสอนและบทจดหมายนักบุญเปาโล • การจัดอบรม สัมมนาโดยวิทยากร รวมถึงการจัดกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับนักบุญเปาโล • การจัดจาริกแสวงบุญทั้งในประเทศและต่างประเทศ


สิ่งพิมพ์หลากหลายส่วนหนึ่ง ยังมีมากกว่านี้อีกมาก



ตัวอย่างสิ่งพิมพ์



I มหาวิหารนักบุญเปาโล สตรีใจศรัทธาชาวโรมัน ชื่อ Lucina ย้ายศพนักบุญเปาโลจาก Catacomba ระหว่างปี 251-253 ไว้ในที่ดินส่วนตัว ที่ Ostian Way ( เปาโลเกิด ระหว่างปี 7 - 10 A.D. เปาโลตาย ระหว่างปี 64 - 67 A.D. )


เซาโลกับนักบุญเปาโล


จักรพรรดิ Constantine สร้างอาคารหลังแรกเหนือ พระธาตุนักบุญเปาโล ปี 324 จักรพรรดิ Honorius สร้าง Basilica ปี 395 ประดับ ประดาด้วย เงิน ทอง เพชรพลอย ถูกปล้นโดยแขก Saracen หลายครั้ง Pope John VIII (872-882) สร้างกาแพงล้อมรอบ มหาวิหารทาให้มหาวิหารแยกออกจากกรุงวาติกัน


ต่อไปนี้ เป็นรูปมหาวิหารนักบุญเปาโล


ด้านหน้ามหาวิหาร

ระหว่างการเตรียมปีนักบุญเปาโล



มุมภาพต่างๆภายในมหาวิหาร




เพดานทองคาที่มีคุณค่า ด้วยศิลปะอันละเอียดอ่อน ใต้เพดานนี้ มีรูปบรรดา พระสันตะปาปา ทาด้วยโมซาอิก ตั้งแต่นกั บุญเปโตร จนถึง พระสันตะปาปา เบเนดิ๊กที่ 16 ซึ่งเป็นองค์ที่ 265




สิ่งน่าชมในมหาวิหาร หลุมฝังศพนักบุญเปาโล ฐานตั้งเทียนปาสกา (ศต.12)

ห้องเก็บพระธาตุ รูปโมซาอิกของ Pope ภาพวาดแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณ

Infallibility ของ Pope

ครั้งแรกและครั้งเดียว 1 พ.ย.1950


เชิงเทียนปาสกา ในศตวรรษ 12 ยิ่งใหญ่และสง่างาม พร้อมทั้ง รูปสลักโดยรอบเล่าเรื่องราว ต่างๆ หากมีโอกาส ควรใช้เวลาสักนิด เพื่อชมโดยละเอียด


ตัวอย่างเรื่องราว...............รอบขาตั้งเทียนฯ




โมซาอิกรูป พระสันตะปาปาเบเนดิ๊ก ที่ 16 องค์ที่ 265 มีคาถามว่า ยังเหลือช่องวงกลมสาหรับ พระสันตะปาปา อีกกี่พระองค์? นับครั้งสุดท้ายได้ 22 ช่อง


ภาพวาดแม่พระ รับสวมมงกุฎบนสวรรค์ วาดโดยราฟาแอลโล ภาพต้นฉบับ เก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วาติกัน หลุมฝังศพนี้ จะหันไปตามผู้ชม ไม่ว่าผู้ชมนั้นจะเดินไปทางใดก็ ตาม ไม่เชื่อ ก็ลองดูและลองเดิน




ภาพวาดแม่พระ รับสวมมงกุฎบน สวรรค์ เห็นแบบใกล้ๆๆ


หลุมฝังศพนักบุญเปาโล ใต้แท่นกลาง

บริเวณนี้เราเรียกว่า confessio


วัดน้อย ภายในมหาวิหาร ไม้กางเขนนี้ มีรูปพระเยซูเจ้าทา ด้วยไม้ ศีรษะเอนลงมาผิด ธรรมดา


ห้องเก็บพระธาตุนักบุญต่างๆ ใน cloister ฤษีเบเนดิ๊กติน


จะมีชื่อนักบุญต่างๆกากับ แต่ตาต้องดี เพราะตัวเล็กมาก


Constantine and Helena


จักรพรรดิคอนสแตนตินและพระมารดาเฮเลนา มีส่วนสาคัญในการสร้างมหาวิหารนักบุญเปาโล และการค้นพบไม้กางเขนแท้ของพระเยซูเจ้า ไม้กางเขนแท้ของพระเยซูเจ้า ไม้กางเขนของโจรกลับใจ

มงกุฎหนาม ตะปู

เก็บรักษาไว้ภายในวัด Santa Croce di Gerusalemme พระศาสนจักรมอบพระคุณการุญสาหรับผู้มาแสวงบุญ ณ วัดแห่งนี้


พระนางเฮเลนากับการค้นหาไม้กางเขนแท้ของพระเยซูเจ้า และของโจรกลับใจ


วัดน้อยภายใน Basilica Santa Croce di Gerusalemme แสดงไม้กางเขนแท้ของพระ เยซูเจ้า รวมทั้งไม้กางเขน ของโจรกลับใจ ตะปู มงกุฎหนาม ป้ายเหนือไม้กางเขนของพระ เยซูเจ้า


ซ้ายมือ ตะปูตรึงพระเยซูเจ้า

ขวามือ แผ่นป้าย INRI เป็นภาษาต่างๆ


ไม้กางเขนแท้ของพระเยซูเจ้าและมงกุฎหนาม


ก้อนหิน 3 ก้อน นามาจาก เสาหินที่มัดตรึง พระเยซูเจ้าขณะที่ถกู เฆี่ยนตีบนจวนปิลาโต ปัจจุบันเสาหินนี้เก็บ รักษาอยู่ที่วัด Santa Prassede


นิ้วของนักบุญโทมัส นามาจาก ประเทศอินเดีย


II ปีนักบุญเปาโล ปฏิบัติตามแนวทางการแสวงบุญทางการของมหาวิหาร

1) ถวายเทียน เพื่อเป็นหนึ่งเดียวกันกับกลุ่มคริสตชนต่างๆ ซึ่งนักบุญ เปาโลได้เคยนาความเชื่อไปให้ เทียนนี้ บรรดาฤษีในอารามเบเนดิ๊กติน จะเป็นผู้จุดเทียนและดับเทียน นี่เป็นธรรมเนียมปฏิบัติของพระศาสนจักร การจุดเทียนนี้ เป็นการระลึกถึง แสงสว่างข้างๆ หลุมศพของท่าน นักบุญเปาโล ตลอดปีนักบุญเปาโลนี้ วัด 14 แห่งตามเส้นทางแสวงบุญจะมีการถวายเทียนและจุดเทียนตามธรรม เนียมนี้ (อฟ.บทที่ 5 ข้อ 8)


ปีนักบุญเปาโลและภาพไอคอน พระอัครสังฆราชเอเธนส์ ในนาม ประเทศกรีกมอบแด่มหาวิหารในโอกาสนี้


แผนผังแสดงเส้นทางการแสวงบุญพร้อมคาอธิบาย


ที่อยู่และการติดต่อกับมหาวิหารนักบุญเปาโล


ผู้แสวงบุญถวายเทียน ตามธรรมเนียมปฏิบตั ิ ของเบเนดิ๊กติน


2) เดินเข้ามหาวิหาร โดยผ่านประตูนักบุญเปาโล

ทุกคนจะต้องเดินผ่านประตูนี้ เพื่อไปยังหลุมศพของท่าน นักบุ ญเปาโล ศิลปะต่ างๆ ที่ประตู นี้เ ป็นการเล่ าเรื่อง สาคัญๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตของท่านนักบุญเปาโล

ในขณะที่กาลังเดินผ่านประตูนี้ ให้เราได้น้อมรับหน้าที่ ที่จะเป็นผู้ประกาศข่าวดีเช่นเดียวกับ ท่านนักบุญเปาโล (2 คร. 2 : 12)


ประตูนักบุญเปาโล เล่าประวัติตอนสาคัญๆ ของท่านนักบุญ


3) ชมความสวยงามของมหาวิหาร และในขณะที่ชื่นชม ความงามของมหาวิหารนั้น ให้ระลึกถึงบรรดาคริสตชน จานวนมากมาย ซึ่งอยู่ภายใต้มหาวิหารนี้ เป็นพวกเขาซึ่ง ได้ติดตามและเลียนแบบอย่างท่านอัครสาวกเปาโล ( 2 ทบ. 2 : 11)

4) สวดภาวนาร่วมกันต่อหน้าโลงหินของนักบุญเปาโล มหาวิหารเพิ่งจะนามาแสดงเมื่อไม่นานมานี้ ราพึงถึง โซ่ซึ่งจองจาท่านนักบุญเปาโลที่กรุงโรม โซ่ซึ่งผูกพัน เรากับองค์พระคริสตเจ้า ( 1 ทส. 5 : 17 )


เยี่ยมชมมหาวิหาร พร้อมทั้งราพึงถึงผู้ดาเนินชีวิตตามพระวรสาร


Confessio หลุมฝังศพนักบุญเปาโล โลงหินและโซ่ล่ามนักบุญเปาโล

ซึ่งนาออกแสดงเป็นครั้งแรกในโอกาสปีนกั บุญเปาโล


ภาวนาและราพึง บริเวณที่ฝังศพท่าน นักบุญเปาโล

เป็นส่วนหนึ่งในเส้นทาง การแสวงบุญซึ่งทาง มหาวิหารได้กาหนดไว้


โซ่ล่ามนักบุญเปาโล โลงหินฝังศพ ของท่านนักบุญเปาโล ปัจจุบันผู้แสวงบุญ ไม่สามารถลงไปถึง โลงหินฝังศพนี้ได้


5) เพื่อรับพระคุณการุณย์ครบบริบูรณ์ในโอกาสนี้ ผู้จาริกแสวงบุญภาวนาหน้าหลุมศพท่านนักบุญเปาโล * * * *

สวดภาวนาเพื่อพระสันตะปาปาและเพื่อพระศาสนจักร รับศีลอภัยบาป(จากพระสงฆ์จิตตาธิการหรือจากพระสงฆ์ในมหาวิหาร) ร่วมถวายมิสซาบูชาขอบพระคุณและรับศีลมหาสนิท หากเป็นไปได้ ร่วมสวด “ลีตานีอา” ร่วมกับบรรดาฤษี ของคณะเบเนดิ๊กติน ( รม. 15 : 24)


ผู้แสวงบุญแก้บาปและรับศีลมหาสนิทเพื่อรับพระคุณการุณย์ ครบบริบูรณ์ ภาพนี้ผู้แสวงบุญคนไทยร่วมใจกันถวายมิสซาใน วัดน้อยนักบุญเบเนดิ๊ก ภายในมหาวิหาร












วัดนักบุญเปาโล Tre Fontane สถานที่ท่านนักบุญเปาโลถูกตัดศีรษะ เป็น 1 ใน 14 วัด ตามเส้นทางของท่านนักบุญเปาโล แต่ ขอนาท่านไปสวดภาวนาสถานที่แม่พระประจักษ์ ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับวัดนี้เสียก่อน


วัดน้อยพระนางพรหมจารีแห่งการเปิดเผย สถานที่แม่พระประจักษ์


บรรยากาศภายในวัดน้อยหน้าสถานที่ที่แม่พระประจักษ์แก่ นาย Bruno



คาภาวนาขอบคุณ (ex voto) และคาภาวนาวอนขอหลังถ้าประจักษ์


วัดนักบุญเปาโล สร้าง ขึ้นเหนือสถานที่ท่าน นักบุญถูกตัดศีรษะ



ภาพสลักมรณสักขีของนักบุญเปาโล ภายในวัดของท่าน


ภายในวัดนี้ยังมีภาพสลักและภาพวาดมรณสักขีของ ท่านนักบุญเปโตร ควบคู่ไปกับมรณสักขีของท่านนักบุญเปาโล


เสาหินแห่งมรณสักขีและภาพวาดการประหารชีวิต


แท่นนักบุญเปโตร ปกติจะได้รับอนุญาตให้ถวายมิสซาที่นี้




ภาพวาดมรณสักขีของท่าน นักบุญเปาโล ภายในห้อง Sacristy




แท่นระลึกถึงมรณสักขีของท่านนักบุญเปาโล ศีรษะของท่านกลิ้งลงมาตามเนิน เขาเล็กๆ 3 จุด และทั้ง 3 จุดนั้น ได้มีน้าพุเกิดขึ้นอย่างอัศจรรย์ เป็นที่มา ของชื่อบริเวณนี้ Tre Fontane แปลว่า น้าพุ 3 แห่ง




แท่นนักบุญเปาโล


แท่นนักบุญเป โตร


ถนนทางขึ้น-ลง และบรรยากาศของวัด นักบุญเปาโล ถูกตัดศีรษะ


วัด San Paolo Alla Regola วัดทีส่ ร้าง ณ สถานที่ทา่ นนักบุญเปาโลเคยอาศัยอยู่ กิจการอัครสาวกเล่า ว่า นั กบุ ญ เปาโลได้ รั บ อนุ ญาตให้เช่ า บ้านและจัด ประชุม ผู้คนที่ สนใจ และท่ า นได้ สอนคาสอน คริสตชนแรกเริ่มของโรม ในขณะที่รอคอยการสอบสวน ต่อ หน้ า จั ก รพรรดิ วั ด ได้ ถู ก สร้ า งขึ้ น ในบริ เ วณบ้ า นหลั ง นี้ เชื่อกันว่า ห้องของท่านก็ยังได้รับการดูแลรักษาไว้ ปกติผู้ทาอาชีพทา Tent ขายจะอยู่อาศัยในบริเวณนี้


วัดหลังนี้สร้างขึ้นเหนือบ้านที่นักบุญเปาโลเคยอาศัยอยู่ ในระหว่างถูกกักบริเวณ รอการตัดสินคดี ท่านใช้เป็นที่สอนคาสอนแห่งแรกในกรุงโรม


ภาพปัจจุบันของวัด S. Paolo Alla Regola


ด้านหน้าวัดนักบุญเปาโล Regola สร้างเหนือบ้านท่านนักบุญที่กรุงโรม


บรรยากาศภายในวัดขณะที่ผู้แสวงบุญกาลังภาวนาถึงชีวิต ท่านนักบุญเปาโล


ห้องพักนักบุญเปาโล ปัจจุบันเป็นวัดน้อย



วัด il Foro et il Carcere Mamertino Mamertino ตั้งอยู่ที่ Clivo Argentario ใต้วัด S. Giuseppe dei Falegnami เป็นคุกเก่าแก่และยาวนานที่สุดของกรุงโรม

Tullianum เป็ น สถานที่ นั ก โทษของรั ฐ จะถู ก ทิ้ ง และขั ง ไว้ อ ย่ า งโดดเดี่ ย ว นักบุญเปโตรและนักบุญเปาโลก็ถูกนามาขังที่นี่ด้วย ไม่มีแสงสว่างในห้องขัง เลย ที่นี่เอง ในขณะที่ท่านนักบุญเปโตรและนักบุญเปาโลถูกนาตัวลงไปห้อง ใต้ดิน นักบุญเปโตรได้หกล้ม และศีรษะของท่านกระแทกกาแพง ร่องรอย ยั ง คงปรากฏอยู่ ใ นที่ ที่ ท่ า นถู ก คุ ม ขั ง ก็ ไ ด้ มี ต าน้ าขึ้ น มาอย่ า งน่ า อั ศ จรรย์ (Tullus : ตาน้า, ชื่อ Tullianum มาจากเหตุนี้) ท่านทั้งสองที่ได้ทาให้ Processo และ Martiniano ซึ่งเป็นผู้คุมนักโทษดูแลคุกนี้กลับใจ


คุก Mamertino

ซึ่งนักบุญเปโตรและเปาโลถูกนามาขังเป็นนักโทษฉกรรจ์


แท่นสัญลักษณ์ การจับกุมและกักขัง ท่านนักบุญเปโตร และนักบุญเปาโล ตั้งอยู่บริเวณทางเข้า เยี่ยมชมคุก


บริเวณที่ นักบุญเปโตรเสียหลัก ศีรษะกระแทก กับกาแพง และเป็นร่องรอย ที่ถูกเก็บรักษาไว้ให้เห็น จนถึงปัจจุบันนี้



ห้องขังใต้ดินของนักบุญเปโตร และนักบุญ เปาโล แผ่นหินอ่อนเล่าเรื่องการกลับใจ ของ Processo และ Martiniano ผู้คุมคุก รวมทั้งผู้กลับใจอีก 47 คน โดยรับการรับ ศีลล้างบาปด้วยน้าจากตาน้า ทีเ่ กิดขึ้น ภายในห้องขังอย่างอัศจรรย์



บรรยกาศภายในคุกใต้ดิน และห้องซึ่งนักบุญเปโตรและเปาโล ถูกกักขัง ท่านได้ทาให้ผู้คุม 2 คน และผู้ต้องหา 47คน กลับใจ และท่านได้โปรดศีล ล้างบาปด้วยน้าที่เกิดขึ้นภายในห้องขังอย่างอัศจรรย์


คุกแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้กับ Foro Romano


III เปาโลกับบาร์นาบัส ในกิจการอัครสาวก ชื่อ เซาโล ปรากฏขึ้นครั้งแรก เซาโลเป็นภาษายิว แปลว่า ผู้ที่เป็นที่รัก ที่ปรารถนา (เปาโลเป็นภาษาลาติน แปลว่า เล็ก) กจ. 7 : 58 พยานในการทุ่มหินนักบุญสเตเฟน นาเสื้อคลุม ของตนมาวางไว้ที่เท้าของชายหนุ่มชื่อ เซาโล กจ. 8 : 1 เซาโลเห็นชอบกับการฆ่าสเตเฟน กจ. 9 เซาโลกลับใจ

เซาโล ฟาริสีผู้กลับใจ เคยเป็นผู้กระหายเลือดศิษย์พระเยซูเจ้า


ชาวยิวกลับใจ, ฟาริสีกลับใจ สอนว่า “คนต่างศาสนาต้องเข้าสุหนัตและถือกฎของโมเสส” เปาโลและบาร์นาบัสไม่เห็นด้วย เปโตร, ยากอบ เห็นด้วยกับเปาโลและบาร์นาบัส บังคับเฉพาะ งดการกินเนื้อสัตว์ที่ถวายแก่รูปปฏิมาแล้ว งดการกินเลือดและเนื้อสัตว์ที่ถูกรัดคอตาย งดการแต่งงานที่ไม่ถูกต้องตามกฏหมาย ขอแต่เพียงไม่ให้เราลืมคนยากจน (กท.2:10)


ความขัดแย้งกับบาร์นาบัส เปาโลชวนบาร์นาบัส ให้ไปเยี่ยมพี่น้องในทุกเมืองที่ได้ไป ประกาศ บาร์นาบัสเห็นด้วย แต่ต้องการนา มาระโก ไปด้วย แต่เปาโล เห็นว่า ไม่สมควร เพราะมาระโก เคยถอนตัวจากเขาทั้ง สองมาแล้ว เปาโลและบาร์นาบัสขัดแย้งกันอย่างมาก (กจ. 15 : 36 - 41) บาร์นาบัสกับมาระโกไปไซปรัสเปาโลกับสีลาสไปซีเรียและซิลีเซีย

ชีวิตของท่านเป็นบทเรียนที่ดใี นเรื่องความเป็นมนุษย์


ความขัดแย้งกับเปโตร จากจดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวกาลาเทีย (กท.2 : 11-14) เคฟาสรับประทานอาหารร่วมกับคนต่างชาติ เคฟาสแยกตัวออกมาเพราะกลัวพวกที่เข้าสุหนัต บารนาบาสเองก็หลงแสร้งทาตาม เปาโลตาหนิคนทั้งสอง เปาโลยืนยันอานาจและหน้าที่ของเปโตรเสมอ ชีวิตธรรมทูตเต็มไปด้วยการต่อสู้กับตนเองและอุปสรรคต่างๆ นักบุญเปาโลกลับ มาเป็นผู้กระหายรัก ให้เราเรียนรู้ชีวิตจากท่านเถิด



นักบุญเปโตรและเปาโล เป็นอัครสาวกและมรณสักขี ได้รับ เกียรติควบคู่กันเสมอในพระศาสนจักร


พระสันตะปาปาเบเนดิ๊กที่ 16 ผู้สืบตาแหน่งต่อจาก นักบุญเปโตร

ผู้ประกาศปีนักบุญเปาโล เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2007


-THE END-


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.