นักบุญอันตนแห่งปาดัว นักบุญแห่งอัศจรรย์ โดย พ่อสุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์
มหาวิหาร นักบุญอันตน เมืองปาดัว
มหาวิหารนักบุญอันตน ที่เมืองปาดัว เขตพื้นที่นี้เป็นทรัพย์สิน ของสันตะสานัก คณะฟรังซิสกันเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ ใหญ่โต สง่างามและศักดิส์ ิทธิ์
นักบุญอันตนแห่งปาดัว มีชื่อเสียงอย่างมาก ในเรื่องอัศจรรย์ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น คริสตชนทั้งหลายต่างพากันไปขออัศจรรย์จากท่าน อยู่เสมอ ใครที่เคยไปแสวงบุญที่มหาวิหารนักบุญอันตนที่เมืองปาดัว
(Padova) คงต้องตื่นเต้นที่ได้เห็นคาขอบคุณต่อท่านนักบุญจานวน มากมายสาหรับอัศจรรย์ที่ตนได้รับ นอกจากนี้ ยังได้สวดภาวนาต่อ หน้าหลุมศพของท่านด้วยตนเอง เพราะเหตุนี้ พ่อจึงขอแนะนาให้ รู้จักกับนักบุญอันตน และมหาวิหารของท่าน
นักบุญอันตน เป็นชาวโปรตุเกส เกิดที่เมืองลิสบอน เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 1195 เดิมชื่อ Fernando de Boullion จากครอบครัวขุนนางซึ่งมาจากสงครามครูเสด ( Crusade ) อายุเพียง 15 ปี สมัครเป็นโนวิสในคณะออกัสติเนียน ที่ อาราม San Vincenzo ที่เมือง Coimbra ปี ค.ศ. 1219
บวชเป็นพระสงฆ์เมื่ออายุ 24 ปี
วัดนักบุญอันตนหลังนี้สร้างขึ้นบริเวณบ้านของท่านที่เมืองลิสบอน โปรตุเกส หลังวัดนี้เป็นอาสนวิหารของลิสบอน เรียกว่า เซะ (Se) หน้าวัดเป็นนักแสวงบุญ คนหนึ่งชื่ออันตน อีกสองคนเป็นสาวกของอันตนครับ
สาวกเพิ่มมาอีกสอง วัดนี้เล็ก แต่สวยงามมาก คนมาวัดวันอาทิตย์มากกว่าอาสนวิหารด้านหลังเสียอีก พวกเราได้ถวายมิสซาที่นี่ด้วยโดยมีอันตนเป็นประธานด้วยตนเอง
ท่านเป็นสมาชิกคณะฟรังซิสกัน พระคัมภีร์หมายถึงชีวิตภายในและนักเทศน์
การตกแต่งวัด แบบโปรตุเกส และบ้านเดิม ของท่าน นักบุญ
ส่วนนี้อยู่บริเวณหลังพระแท่น บันทึกว่าอันตนเกิดที่นี่ ชาวโปรตุเกสภูมิใจกับ ท่านนักบุญองค์นี้มาก อย่าลืมว่าท่านเป็นชาวโปรตุเกส แม้ว่าจะดังที่ปาดัว
ปี ค.ศ. 1220 มรณสักขี 5 ท่ าน คณะฟรังซิสกัน ซึ่ง ถูกตัดศี รษะที่ Morocco ถูกน ามาที่ เมื อง Coimbra เป็น แรงดลบั น ดาลใจให้ท่ านต้ องการเป็ น มรณสั กขี ในการ ประกาศพระวรสาร และด้ วยการอนุ ญาตของเจ้ าคณะ ออกั ส ติ เ นี ย น และเจ้ า คณะฟรั ง ซิ ส กั น ท่ า นได้ เ ข้ า เป็ น สมาชิก “คณะฟรังซิสกัน” ได้รับชื่อว่า “อันโตนิโอ” (Antonio) และสมั ค รเป็ น มิ ชชั น นารีใ นอั ฟริก า แต่ ท่ า น เป็นมาเลเรียระหว่างเดินทาง จึงถูกส่งกลับ
อันตนรับเสื้อเข้าคณะฟรังซิสกัน
ระหว่ า งการสมั ช ชาคณะฟรั ง ซิ ส กั น ที่ เ มื อ ง Assisi วั น ที่ 30 พฤษภาคม 1221 ท่านได้รับหน้าที่อภิบาลสมาชิกคณะที่เป็นฆราวาส ที่เมือง Montepaolo ที่นี่เองท่านได้มีโอกาสเทศน์ในระหว่างพิธีบวช พระสงฆ์ โดยไม่มีการเตรียมตัวมาก่อนและเทศน์ได้อย่างอัศจรรย์ ท่านได้รับมอบหมายจากนักบุญฟรังซิส ให้ ท่านเป็นผู้เทศน์สอน ของคณะและเป็นอาจารย์เทววิทยา ท่านได้ประจาอยู่หลายแห่งใน อิตาลีและฝรั่งเศส เป็นนักเทศน์ที่มีชื่อเสียงมาก ปี 1223 ท่านก่อตั้ง สานักเทววิทยาเพื่อสอนสมาชิกคณะ ซึ่งต่อมาสานักนี้ได้กลายเป็น ส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยโบโลญา ในระหว่างนี้เองนักบุญฟรังซิส แห่งอัสซีซีได้เสียชีวิต 3 ตุลาคม 1226 และได้ประจักษ์มาสนทนา กับท่านด้วย
อันตนเมืองไทยและสาวกทีเ่ มืองปาดัว คู่แข่งคนสาคัญของท่านนักบุญละเนี่ย
ท่านกลายเป็นนักเทศน์ที่มีชื่อเสียง ได้รับเชิญไปเทศน์ทั้งในอิตาลี และฝรัง่ เศส ท่านนักบุญฟรังซิสได้ประจักษ์มาให้ท่านเห็นด้วย
ปี ค.ศ. 1227 เจ้ า คณะแขวงอิ ต าลี ภ าคเหนื อ แต่ ข อลาออก จากตาแหน่งนี้และกลับไปประจาที่อารามที่ท่านก่อตั้งขึ้นที่ปาดัว
ปี ค.ศ. 1228 รับเชิญจากพระสันตะปาปาเกรกอรี่ ที่ 9 ให้ เทศน์ในเทศกาลมหาพรต ผู้ฟังเทศน์ในสันตะสานักมาจากประเทศ ต่างๆ และต่างก็ได้ยินบทเทศน์เป็นภาษาของตนเอง และพระกุมาร เยซูได้ประจักษ์มาหาท่านด้วย พระสันตะปาปาตั้งฉายาให้ท่านว่า หีบพระสัญญา (Ark of the Covenant) ที่ฝังศพปัจจุบันของท่าน ในมหาวิหารจึงถูกเรียกว่า The Ark
รูปนักบุญอันตนรูปนี้ ตั้งอยู่เหนือหลุมศพของท่าน อย่าลืมไปเดินลูบหลุมศพและ
สวดอ้อนวอน แต่อย่านานมากไปนะครับ จะ ทาให้คนหลัง. . . รอนาน
13 มิถุนายน 1231 ป่วยหนักและขอกลับมาที่ Padova แต่ท่านมาไม่ ถึงเพราะเสียชีวิตในอารามคณะ Clarisse ที่ Convent dell’ Arcella ใกล้ๆ เมือง Padova ด้วยอายุรวมเพียง 35 ปีเท่านั้น วัดที่ท่านเคย ประจาที่เมือง Padova ได้แก่ Convento di Santa Maria Mater Domini ดาเนินเรื่องขอศพของท่าน แต่ Convent dell’ Arcella ไม่ ยอม ในที่สุดเจ้าคณะฟรังซิสกันสั่งให้ฝังท่านที่ Santa Maria Mater Domini ปัจจุบันวัดนี้ได้กลายเป็นวัดน้อยที่อยู่ภายในมหาวิหาร นักบุญอันตน ตรงแท่น “แม่พระดา”
พระแท่นแม่พระดา แต่เดิมเป็นวัดที่นักบุญอันตน เป็นผู้ดูแล ท่านถวายมิสซา เทศน์ ฟังแก้บาป สวด ภาวนาและฝังศพท่านที่นี่ด้วย ระหว่างปี 1231-1263 ก่อนย้ายไปตั้งอยู่บริเวณแท่น กลางใหญ่ พระรูปแม่พระดานี้ เป็นรูปปั้นตั้งอยู่เหนือแท่น แบบโกธิค และเป็นฝีมอื ของศิลปินเอก ชาวฝรั่งเศส Puydarient
ภาพเดียวกันครับ แต่ให้อ่านคาอธิบาย ภาษาอังกฤษ
จะได้รายละเอียดเพิ่มขึ้นอีก
ปี ค.ศ. 1232 พระสันตะปาปา เกรกอรี่ ที่ 9 ประกาศให้ท่านเป็น “นักบุญ” เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 1232 นั่นคือ 1 ปีหลัง จากความตาย (สมัยนั้น ขบวนการแต่งตั้งนักบุญแตกต่างจากปัจจุบันมาก)
ปี ค.ศ. 1263 ย้ายศพของท่านจากที่เดิมมาอยู่กลางมหาวิหาร ในการ ย้ายครั้งนี้ มีการตรวจศพของท่าน นักบุญโบนาแวนตูราได้พบว่า ลิ้นของ ท่า นไม่เน่า เปื่อ ย จึงแยกมาเก็บ รัก ษาไว้ (ชมได้ ที่ Treasury Chapel ภายในมหาวิหาร)
ปี ค.ศ. 1946 พระสันตะปาปา ปีโอ ที่ 12 ประกาศให้ท่านเป็น “นักปราชญ์ของพระศาสนจักร”
ด้านหน้ามหาวิหารนักบุญอันตน มีผู้แสวงบุญจานวนมากทุกวัน
มองจากด้านหลัง ยังสวยเลยครับ
ภาพนี้ เป็นภาพที่เราหัน หลังให้กับวัด แปลกดีนะ เราหันหลังให้วัดบ่อยๆ เวลาไปแสวงบุญ ??? ล้อเล่น
ถ่ายจากเขตพรตอารามฟรังซิสกัน
อัศจรรย์ต่างๆ ของนักบุญอันตน มีผู้รวบรวมเรื่องราวอัศจรรย์ต่างๆ ของท่าน และพิมพ์ เป็นหนังสือ มีผู้ศรัทธาในท่านมากมาย มิใช่แต่เพียงอัศจรรย์ใน ระหว่างที่ท่านมีชีวิตอยู่ แต่รวมถึงอัศจรรย์ที่เกิดขึ้นหลังจาก ความตาย จนกระทั่งปัจจุบัน แม้เวลาจะล่วงเลยมานานถึง 800 ปีแล้วก็ตาม นักบุญอันตน เป็นองค์อุปถัมภ์ของผู้อดอยาก ผู้ที่ทาสิ่งของหาย และผู้ยากจน
ท่านเคยทาหนังสือสวด Breviary หายไป และท่านก็ได้พบโดย อัศจรรย์ เป็นที่มาขององค์อุปถัมภ์ผู้ที่ทาของหาย ท่านเคยไล่ผี ทานายเหตุการณ์ รักษาโรคต่างๆ ผู้ประสบภัยทางเท้า ขา เพราะท่านเคยต่อขาให้ชายคนหนึ่ง ซึ่งเสียใจที่เตะแม่ตนเอง เขาตัดขา ทิ้ง แต่ท่านนักบุญต่อขาให้ ผู้ที่เป็นโรคหัวใจ เทศน์ให้ปลาฟัง เพราะ พวกเฮเรติ๊กที่เมือง Rimini ไม่ยอมฟังท่าน ท่านสั่งให้ลาคุกเข่าต่อหน้า ศีลมหาสนิท มีคนเห็นท่านอยู่ในสถานที่ 2 แห่งในเวลาเดียวกัน เห็น ท่านอุ้มพระกุมารเยซู ฯลฯ อีกมากมาย
นั ก บุ ญ อั น ตนได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น นั ก บุ ญ แห่ ง อั ศ จรรย์ มี ห นั ง สื อ บรรยาย อัศจรรย์ต่างๆ ไว้ให้อ่านกัน เรามาดู อั ศ จรรย์ บ างเรื่ อ งกั น นี่ ยั ง ไม่ ร วม อัศจรรย์ที่พวกเราเองได้รับนะครับ ท่านทาอัศจรรย์ตั้งแต่เป็นเด็ก ปีศาจชอบมารบกวนท่านเวลาสวด ภาวนา ท่ า นก็ ไ ล่ มั น ด้ ว ยการท า เครื่ อ งหมายกางเขนบนพื้ น เท่ า นี้ พวกมันก็หนีหัวซุกหัวซุนแล้ว
พวกเฮเรติ๊กที่เมือง Rimini ไม่ยอมฟังท่าน อันตนจึงเรียกฝูงปลานานา ชนิดมาฟังแทน ที่สุดเฮเรติ๊กจานวนมากได้กลับใจ
อันตนต่อขาของชายหนุ่มที่เสียใจไปเตะแม่ตนเองถึงกับตัดขาตนเอง
อันตนช่วยให้เด็กหญิงทีจ่ มน้าตายกลับฟื้นคืนชีพ
อันตนทาให้เด็กแรกเกิดพูดให้การป้องกันแม่ที่ถูกกล่าวหาว่ามีชู้
อันตนทาให้เด็กแรกเกิดพูดให้การถึงแม่ที่ถูกสามีกล่าวหาว่ามีชู้ ช่วยให้แม่พ้นจากการกล่าวหาของสามีขี้หึง
พวกเฮเรติ๊กไม่เชื่อถึงการสถิตของพระเยซูเจ้าในศีลมหาสนิท ท้าอันตนให้ลาตัวหนึ่งเลือกจะเข้าหา ใคร ระหว่างอันตนถือแผ่นศีลกับอาหารลาหลังจากอดอาหาร 3 วัน ที่สุดลาเดินมายังนักบุญอันตน พร้อมทั้งคุกเข่านมัสการศีล ทาให้เฮเรติ๊กกลับใจ
อันตนไม่ฝังศพของชายขี้เหนียวกล่าวว่าสมบัติอยู่ที่ใด หัวใจเขาก็อยู่ที่นั่น เมื่อผ่าศพก็ไม่พบหัวใจของผู้ตาย แต่ไปพบหัวใจที่หบี สมบัติ
อันตนปลุกคนตายให้คืนชีพ เพื่อให้การต่อหน้าศาล ช่วยผู้บริสุทธิ์ให้พ้นผิด ท่านนักบุญได้ทาให้คนตาย กลับคืนชีพ หลายกรณีด้วยกัน
มหาวิหารนักบุญอันตน มหาวิหารนี้สร้างขึ้นตั้งแต่ท่านได้รับประกาศเป็นนักบุญ ใช้ระยะเวลาก่อสร้างและต่อเติมเรื่อยมา มีวัดเล็กวัดน้อยภายใน มากมาย พ่อขอแนะนาผู้แสวงบุญเยี่ยมชมส่วนที่สาคัญๆ ของ
มหาวิหาร ดังต่อไปนี้ :
1.วัดน้อยหลุมศพของนักบุญอันตน ที่นี่ เราจะเห็นเครื่องหมายแห่งการขอบคุณสาหรับอัศจรรย์ ที่ได้รับมากมาย ผู้แสวงบุญจะเดินสวดและราพึง พร้อมทั้งลูบ หลุมศพของท่าน มาถึงที่นี่ทั้งทีก็ควรที่จะวอนขออะไรบ้างนะ ครับ สถานที่นี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า Ark
แต่เดิม ศพท่านตั้งอยู่ที่วดั น้อย Santa Maria Mater Domini ปัจจุบันเป็นวัดน้อย “แม่พระดา” ภายในมหาวิหารนี้เอง
ค.ศ. 1231-1263 อยู่ที่วดั น้อย Santa Maria Mater Domini ค.ศ. 1263-1310 อยู่กลางมหาวิหาร ใต้โดม บริเวณที่นักบวชสวดทาวัตร (Presbytery)
ค.ศ. 1310-1350 ไม่ระบุว่าศพของท่านอยู่ที่ใด ค.ศ. 1350-ปัจจุบัน
บริเวณด้านหลังของพระแท่นนี้ มีการแสดงให้เห็นถึงชีวิตและ อัศจรรย์ต่างๆ ของท่าน เช่น ท่านรับเสื้อเข้าคณะฟรังซิสกัน สามีขี้อิจฉา เด็กหนุ่มกลับคืนชีพ เด็กสาวกลับคืนชีพ และเด็กน้อยคืนชีพ รวมถึงหลานชายของท่านด้วย ต่อขาให้หนุ่มที่ตัดขาของตนเพราะเสียใจที่ไปเตะแม่ตัวเอง เด็กเกิดใหม่พูดได้
พระแท่นเหนือหลุมศพท่านนักบุญ สังเกตุว่ามีผู้มาขอบคุณ ท่านนักบุญเป็นจานวนมาก มากจริง ๆ ๆ คนไทยมักจะขอบคุณพระด้วยดอกไม้ ชาวยุโรปนารูปหัวใจมาขอบคุณ เราจึงทราบเรื่องราวของพระพรได้เสมอ ทาไม เราไม่ทาแบบนีบ้ ้าง?
2.วัดน้อยขุมทรัพย์ (Treasury Chapel) วัดน้อยนี้ตงั้ อยู่ที่หลังพระแท่นกลาง เกือบสุดปลายมหา วิหาร ที่นี่เอง ผู้แสวงบุญทุกคนต้องการจะเห็น ได้แก่ ลิ้นที่ไม่เน่า ของท่านนักบุญ (อย่าคาดหวังว่าจะพบลิ้นสีแดงนะครับ แต่เป็น ลิ้นที่ไม่เน่าเปื่อยไปอย่างที่ควรจะเป็น), รัดประคดและตรา ประทับ ที่เคยอยู่ในโลงศพของท่าน, ผ้าคลุมทีท่ ่านเองเคยใช้ (Tunic), กรามของท่าน รวมทั้งแขนซ้ายและพระธาตุอื่นๆ อีก อย่าลืมสวดภาวนาเมื่อมาถึงที่นี่ นักบุญบอนาแวนตูรา เมื่อพบลิ้น ของท่านไม่เน่าใน ปี ค.ศ. 1263 นัน้ ท่านได้ภาวนาว่า :
“โอ ลิ้นทีไ่ ด้รับพระพร เจ้าได้สรรเสริญพระเจ้า
และนาพาคนอื่นๆ ทั้งหลายให้สรรเสริญพระองค์ พวกเราเข้าใจแจ่มแจ้งแล้วว่า. . .
เจ้าเป็นผู้มีบุญต่อเฉพาะพระพักตร์พระเจ้าได้อย่างไร”
วัดน้อยแห่งขุมทรัพย์ ( The Treasury Chapel ) หรือเป็นที่รู้จักกันว่า วัดน้อยแห่ง พระธาตุ ใช้ศิลปะแบบบารอค เน้นความยิ่งใหญ่ สง่างาม
ตามมาด้วยรูปปั้นนักบุญบอนาแวนตูรา
ที่นี่เราจะพบรูปปั้นนักบุญฟรังซิส แห่งอัสซีซีทางด้านซ้าย รูปปัน้ สัญญลักษณ์แห่ง ความเชื่อ ความสุภาพถ่อมตน ความเป็นทุกข์เสียใจ และความรัก
ด้านบนตรงกลางเป็นรูปนักบุญอันตนได้รับสิริรุ่งโรจน์
ที่เราเห็นตรงกลางนี้คือ ลิ้นของนักบุญอันตน ท่านเป็นนักบุญที่มีวาจาศักดิ์สิทธิ์ อย่างยิ่ง ไม่เน่าเปื่อยสลายไป แต่ก็ไม่ใช่ลิ้นสดๆ มองขึ้นไปอีกนิดเดียว เป็นกรามของนักบุญอันตน และมองสูงขึ้นไปอีกหน่อย เป็นส่วนหนึ่งของไม้กางเขนแท้ๆของ พระเยซูเจ้า ภาพนี้แสดงเฉพาะลิ้นเท่านั้น
ดูกันให้ชัดๆอีกครั้งหนึ่ง ลิ้นที่ไม่เน่าเปื่อยของท่านนักบุญอันตน เกือบ 800 ปีหลังความตาย
มนุษย์เราบางคนลิ้นเน่าซะแล้ว แม้ยังไม่ทันตายเลย เราสามารถใช้ลิ้นเราทาความดีได้ มากมาย
กรามของท่านนักบุญ ตั้งอยู่เหนือที่แสดงลิ้นของ ท่านเล็กน้อย
เรายังสามารถมองเห็นแนว ฟันของท่านได้อย่างชัดเจน
3.วัดน้อยแม่พระดา (Chapel of the Black Madonna) เคยเป็นวัด Santa Maria Mater Domini ท่านเคยสวดและ ประจาที่นี่ ศพของท่านเคยอยู่ที่นี่จนถึงปี ค.ศ. 1263 ก่อนย้ายไป กลางมหาวิหาร ที่นี่เอง ปัจจุบัน เป็นที่ฝังศพของบุญราศี Luca Belludi เพื่อนและผู้สืบตาแหน่งของนักบุญ อันตน นักเรียน นักศึกษามักจะมาภาวนาที่นี่เพื่อวอนขอสาหรับงานยากๆ ที่ได้รับ มอบหมาย รวมทั้งสาหรับการเตรียมสอบและการสอบ เรายัง สามารถเห็นโลงศพที่ว่างเปล่าของท่านนักบุญอันตนด้วย
วัดน้อยบุญราศี Luca Belludi เพื่อน และผูส้ ืบตาแหน่งของนักบุญอันตน เป็นที่พึ่งพาของบรรดานิสติ นักศึกษา นักเรียนโดยเฉพาะในตอนสอบหรือ ในยามยากลาบากในการเรียนเรื่องนี้ คนไทยไม่แพ้ใครในโลก ที่นี่เราจะพบ กับหลุมศพของบุญราศีและโลงศพ ว่างเปล่าของนักบุญอันตน
4.วัดแห่งพระพร (Chapel of Benedictions) ผู้ที่ซื้อรูปพระ สายประคา วัตถุต่างๆ ที่ต้องการให้เสก ก็จะ มาที่วัดน้อยแห่งนี้ เชื่อกันว่า ท่านนักบุญอันตนเป็นผู้เสกให้เอง เราจะพบภาพที่ท่านนักบุญเทศน์ให้ปลาฟังที่เมือง Rimini
มหาวิหารใหญ่มาก มีอีกหลายแห่งภายในที่น่าชม แต่เสนอให้สวดภาวนาภายในนี้ให้มากๆ เพราะคาภาวนาของเราจะได้รับการตอบสนองเสมอ ขอถวายมิสซาที่นี่ได้ที่ห้องซาคริสตี
พระสังฆราช Mattiazzo แห่งปาดัว วันฉลองนักบุญอันตน 13 มิถุนายน 2007
คุณพ่ออันตนไม่ยอมพลาดโอกาส นี้โดยเด็ดขาด ทั้งมิสซา จูบแหวน สนทนา สุขสุดๆ
ในมหาวิหาร
มีภาพวาดแม่พระ ทั้งหมดราวๆ 60 ภาพ ภาพนี้เป็นภาพที่สวยงาม ที่สุดภาพหนึ่งของมหาวิหาร
วัดน้อยนักบุญฟรังซิส
แห่งอัสซีซี มีภาพเฟรซโก ประวัติของท่านนักบุญ เป็นวัดน้อยที่มีความ สวยงามมาก
ภาพประวัตินักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี อยู่ภายในมหาวิหารนักบุญอันตน เพราะนักบุญอันตนเป็นสมาชิกคณะฟรังซิสกัน
ภาพการประชุมสมัชชาคณะที่ Mats ในเมืองอัสซีซี จากที่นี่ท่านถูก ส่งไปอภิบาลที่เมือง Montepaolo
นี่คือวัดน้อยแห่งศีลมหาสนิท เราสามารถเฝ้าศีลได้ตลอดเวลา ถ้า หากเรามาสวดภาวนาที่นี่ เราจะพบโลงหินฝังศพของ Erasmus Gattamelata ซึ่งเป็นผู้นาทางทหาร ตั้งอยู่ทางซ้ายมือ และโลงหินฝัง ศพของ Giovanni Antonio ลูก ชาย ตั้งอยู่ทางขวามือ บริเวณเสา หินต้นแรก ตรงข้ามกับวัดน้อยจะ มีภาพวาดมรณสักขีของ นักบุญอากาทา
วัดน้อยแห่งนี้ มีลักษณะศิลปะแบบโกธิค
สร้างเสร็จในปี 1457 ภาพนี้เป็นภาพแม่พระ กับพระกุมาร และนักบุญทั้งหลาย
วัดน้อยนักบุญยอร์จ เป็นวัดน้อยที่อยู่บริเวณลานหน้ามหาวิหาร สร้างเสร็จสมบูรณ์ปี 1377 ภายในมีภาพวาดเฟรซโคสวยงามมาก ภาพนี้เป็นภาพแม่พระรับสวมมงกุฏในเมืองสวรรค์
ภาพนี้เป็นภาพนักบุญยอร์จโปรดศีล ล้างบาปให้แก่กษัตรย์ Zevio
ภาพนักบุญลูซีอากาลังถูกนาตัวไป ยังคอกสัตว์
ในพิพิธภัณ ฑ์ของอารามที่นี่ เราจะพบ กั บ ศิ ล ป ะ ที่ มี ค ว า ม ง ด ง า ม แ ล ะ มี ความหมาย เช่น ไม้กางเขน นักบุญยุสติ นา การฝังพระศพพระเยซูเจ้า เป็นต้น
แท่นกลางใหญ่ ใต้โดม บริเวณนี้เรียกว่า Presbytery เคยเป็นที่ตั้งศพ ท่านนักบุญ ระหว่างปี 1263-1310 เมื่อชมด้วยตาตนเองแล้ว จะพบว่าสวยงาม และยิ่งใหญ่อลังการ
พระแท่นกลางนี้ มีรูปปัน้ นักบุญหลาย องค์ น. ฟรังซิส, ยุสตินา, หลุยส์แห่งอันจู, อันตน, ดาเนียลและโปรสโดซีมสุ สังฆราชองค์แรกแห่งปาดัว นอกจากนี้ยังมีภาพนูนแกะสลักเล่า เรื่องอัศจรรย์ของนักบุญอันตนด้วย บริเวณข้างแท่นกลาง เรียกว่า Presbytery เหนือซุ้มมีภาพวาดนักบุญต่างๆของ คณะฟรังซิสกัน ส่วนด้านหลังแท่นนั้น เรียกว่า Choir บรรดานักบวชของคณะใช้ สวด และขับร้องทาวัตร
ภายในเขตพรตของฟรังซิสกัน เราเรียกกันว่า Cloister ยังหาคาแปล ที่เหมาะสมและตรงกับความหมาย ไม่ได้
เป็นเขตอยู่ภายในอาราม มีทางเดินเป็นทรงสี่เหลี่ยมโดยรอบ และมักจะมีสวนหรือน้าพุตรงกลาง
รูปนักบุญอันตนที่ถ่ายมาจากร้านขาย ของที่ระลึกของมหาวิหาร
THE END