ความเจริญก้ าวหน้ าและอุปสรรคของงานเผยแพร่ ความเชื่อ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ces e
of
Ba ngk o
k
มิสซังสยามเจริ ญก้าวหน้าอย่างเห็นได้ชดั ในสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เพราะนโยบายทางการ เมืองในการเปิ ดประเทศให้แก่ชาวตะวันตก รวมทั้งให้เสรี ภาพในการเผยแพร่ พระศาสนาด้วย นอกจากนี้ เวลานั้น ประเทศฝรั่งเศสกําลังเริ่ มมีอิทธิ พลอยูใ่ นดินแดนแถบนี้ ซึ่ งมีผล ทําให้การประกาศพระวรสารเป็ นไปได้ง่ายขึ้น และบทบาทของบรรดามิ ช ชันนารี เด่ นชัดขึ้ นด้วย คุ ณพ่อ Marini ได้บรรยายเกี่ ยวกับงานแพร่ ธ รรมของ Valguarnera ไว้ดงั นี้ ในปี ค.ศ. 1657 ชาวเมือง 8 คน ได้ รับศีลล้ างบาป... ชาวโคจิ นจี นอี กประมาณ 30 คน ซึ่ งหนีภัย สงครามครั้ งสุ ดท้ ายมา ก็ได้ เข้ ารั บศีลล้ างบาปในสยาม... ยิ่งกว่ านั้น คุณพ่ อธิ การ (คุณพ่ อ Valguarnera) ก็ไม่ ยอมเสี ยเวลาให้ น่าเบื่ อ... ท่ านออกเยี่ยมตามคุกต่ างๆ ไปตามวัดวาอารามต่ างๆ ของ พระภิกษุพุทธ ซึ่ งท่ านก็ได้ สนทนาเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ ของทางคริ สตศาสนา ซึ่ งก็ไม่ ไร้ ผล ท่ านทําให้ มี จิ ตตารมณ์ เดียวกัน 1 คุณพ่อ Marini ยังเสริ มด้วยว่าคุณพ่อ Valguarnera ยังได้พยายามทุกวิถีทางที่จะกลับใจพระภิกษุพุทธ เพราะ การกลับใจพระภิกษุพุทธนั้นมีความสําคัญมาก เนื่องจากจะมีอิทธิ พล อย่างลึกซึ้ งเหนือคนอื่นๆ ทั้งหลาย คุณ พ่อ Launay ก็ได้เล่าให้เราฟังถึงเหตุผลของคุณพ่อ Laneau และความสําเร็ จของท่านในการกลับใจพระภิกษุพุทธ เราทราบกันดีว่ามีการขัดขวางการเปลี่ยนศาสนามาก โดยเฉพาะการเปลี่ยนศาสนาของพระภิกษุ เพราะถือ ว่ าพระภิ กษุนั้นได้ ก้าวเข้ าสู่ วัยกลางคนโดยยึดถือความเชื่ อเหล่ านั้นเป็ นวิถีของชี วิต อี กทั้งเป็ นผู้ที่ต้อง ถ่ ายทอดความเชื่ อนี ใ้ ห้ กับชนรุ่ นหลังด้ วยด้ วยพระเมตตาของพระผู้เป็ นเจ้ า ประกอบกับพลังจิ ตและสติ พระบิดาของคุณพ่ อลาโน ทําให้ อุปสรรคต่ างๆ ผ่ านพ้ นไปได้ ปรากฏว่ ามีพระภิกษุมาขอรั บศีลล้ างบาป และกลายเป็ นสาวกของพระองค์ ตัวอย่ างนี แ้ ละการแพร่ ธรรมอย่ างจริ งจังของคุณพ่ อ ทําให้ ชาวสยาม หลายคนเปลี่ยนมานับถือศาสนาคาทอลิก บ้ าง 2 เกี่ยวกับเรื่ องนี้ เรายังไม่สามารถพูดได้เต็มปากว่า นี่คือความสําเร็ จและความก้าวหน้า เพราะจากท่าที ภายหลังจะเป็ นอุปสรรคประการสําคัญประการหนึ่งต่องานเผยแพร่ พระศาสนา คุณพ่อ Robert Costet ได้ศึกษาถึง ท่าทีประการนี้ และได้เขียนไว้อย่างน่าสนใจดังนี้ 1
ric al A
rch ive
sA
rch
dio
0
Hi sto
ความคิดด้ านเทวศาสตร์ ของคนสมัยนั้นเกีย่ วกับศาสนาที่ไม่ ใช่ คริสตศาสนา
เราทุกคนเป็ นผลผลิตของสมัยของเรา คริ สตศาสนาที่ได้มาแพร่ ในเมืองไทย 300 ปี ก่อนนี้ มาจากยุโรป เรา ควรจะได้ศึกษาความคิ ดของนักเทวศาสตร์ ของยุโรปสมัยโน้นเกี่ ยวกับคนต่างศาสนาบ้าง เพราะธรรมทูตที่มา
1MARINI, op. cit., pp. 411, 418. 2 A. LAUNAY, Siam et les Missionaires Français, Tours: Alfred Mame et File, 1846, p. 75.