ประวัติศาสตร์พระศาสนจักรคาทอลิกสมัยรัตนโกสินทร์ยุคต้น

Page 1

ประวัติศาสตร์ พระศาสนจักรคาทอลิกสมัยรัตนโกสิ นทร์ ยุคต้ น

บาทหลวงโรแบต์ กอสเต

Hi sto

ric al A

rch ive

sA

rch

dio

ces e

of

Ba ngk o

k

ราวปี ค.ศ. 1783 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกได้ทรงโปรดให้ชาวคริ สต์ในกรุ งเทพฯ ได้เข้า เฝ้ าเป็ นครั้งแรก ในครั้งนั้น พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้พระสังฆราชและบาทหลวงซึ่ งได้ถูกเนรเทศใน รัชกาลก่อนกลับคืนเข้าสู่ กรุ งเทพฯ และได้ทรงโปรดให้นาํ พระบรมราชโองการไปยังเจ้านครภูเก็ต เพื่อให้นาํ พระคุณเจ้ากูเดย์ (Coudé) กลับคืนสู่ กรุ งเทพฯ เพราะท่านอยูท่ ี่ภูเก็ต พระคุณเจ้ากูเดย์มาถึงกรุ งเทพฯ เมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1784 หลังจากนั้นสองสามวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกได้โปรดให้พระคุณเจ้ากูเดย์ เข้าเฝ้ า รวมเวลาที่พระคุณเจ้าได้ถูกพระเจ้าตากสิ นส่ งไปพร้อมกับสังฆราชและบาทหลวงอีกองค์หนึ่งไปสุ รัต (Surate) ในอินเดียเป็ นเวลา 4 ปี 5 เดือน (วันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1779) เมื่อพระคุณเจ้ากูเดย์มาถึงกรุ งเทพฯ นั้น มีชาวคริ สต์อยูใ่ นกรุ งเทพฯ ประมาณ 400 คน สังกัดวัดซางตาครู ้ส (Sainte Croix) หรื อวัดกุฎีจีน และวัดคอนเซปชัญ (Conception) หรื อวัดเขมร เป็ นการยากที่จะเข้าใจสถานการณ์ชาวคริ สต์ในสมัยนั้นโดยไม่ยอ้ นกลับไปดูอดีต แท้ที่จริ งแล้วเป็ นเวลา อย่างน้อย 217 ปี มาแล้ว ที่สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ได้ทรงขอให้มิชชันนารี ชาวโปรตุเกสที่มะละกาเข้ามา มิชชันนารี เหล่านี้ มาถึงอยุธยาคงประมาณปี ค.ศ. 1567 ยังเป็ นเวลานับได้ 120 ปี ตั้งแต่สมเด็จพระนารายณ์ฯ ขึ้น ครองราชย์ โดยการปราบดาภิเษกในปี ค.ศ. 1656 โดยมีชาวโปรตุเกสช่วย มิชชันนารี รุ่นแรกจากคณะมิสซัง ต่างประเทศได้เริ่ มมาถึงอยุธยานับตั้งแต่วนั ที่ 22 สิ งหาคม ค.ศ. 1662 ในการประชุมสมัชชาในปี ค.ศ. 1664 ที่ ประชุ มได้ต้ งั แนวปฏิ บตั ิ ที่จะไม่ยุ่งเกี่ ยวกับการเมือง และไม่ใช้อิทธิ พลเพื่อจะได้ไม่สร้ างความขุ่นเคืองให้กบั เจ้าหน้าที่บา้ นเมือง หลังจากนั้นสองสามปี พระคุณเจ้าลาโน (Laneau) ซึ่ งเป็ นสังฆราชองค์แรกแห่งสยาม ยอมรับ ว่าถ้าเราต้องการเป็ นที่ยอมรับ ก็ต้องทําตัวของเราให้เป็ นประโยชน์ต่อประเทศ ดัง นั้นพระคุ ณเจ้า ได้ส ร้ า ง โรงพยาบาลแห่งแรกในประเทศ ได้แก่ โรงพยาบาลเซนต์โยเซฟ ที่อยุธยา ซึ่ งเปิ ดประมาณปี ค.ศ. 1666 และต่อมา ได้เปิ ดที่พิษณุ โลก เหล่านี้เป็ นผลงานสังคมสงเคราะห์ของชาวคาทอลิกในยุคต้น ซึ่ งได้เป็ นที่นิยมเป็ นอย่างยิ่งใน สมัยนั้น เมื่อมาถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ท้ายสระ พระคลังในสมัยนั้นได้ออกประกาศเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1731 ห้ามชาวคริ สต์ใช้ตวั อักษรไทยหรื อขอมในการเขียนหนังสื อที่เกี่ ยวกับศาสนา ห้ามมิชชันนารี สอนศาสนา คริ สต์แก่คนไทย ห้ามคนไทยเปลี่ยนศาสนาเป็ นคริ สต์ และห้ามวิพากษ์ วิจารณ์ศาสนาของคนไทย ทั้งนี้ก็เพราะว่า พระคุณเจ้าลาโนได้เขียนวิพากษ์วจิ ารณ์ศาสนาพุทธใน หนังสื อของท่าน ข้อห้ามต่างๆ เหล่านี้เพียงได้ถูกประกาศใช้มา ทําให้การเผยแพร่ ศาสนาคริ สต์ในหมู่คนไทยนั้นเป็ นไป ไม่ได้ จนกระทัง่ ถึงสมัยรัชกาลที่ 4 แต่ในทางตรงกันข้ามพระมหากษัตริ ยไ์ ม่เคยขัดขวางการที่คนจีนและเวียดนาม เข้าสู่ ศาสนาคริ สต์ ซึ่ งในยุคนั้นมีคนจีนและเวียดนามมาสู่ สยามเป็ นจํานวนมาก พระมหากษัตริ ยใ์ ห้การสนับสนุน การเปลี่ยนศาสนาของคนเหล่านี้เสี ยด้วยซํ้าไป


.

ประวัติพระศาสนจักรไทย สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ยุคต้ น 147

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

rch

1.

dio

ces e

of

Ba ngk o

k

เมื่อตอนเสี ยกรุ งศรี อยุธยาในปี ค.ศ. 1767 วัดคริ สต์ในสยามก็ถูกทําลายลง ยกเว้นที่จนั ทบุรี และชาวคริ สต์ เป็ นจํานวนมากได้ถูกกวาดต้อนไปประเทศพม่า แต่ในจํานวนนั้นมี 300 คน ที่หลบหนีไปเขมรพร้อมกับ คุณพ่อกอร์ (Corre) เมื่อท่านได้กลับมากรุ งเทพฯ ในปี ค.ศ. 1769 เพื่อมารื้ อฟื้ นงานสอนศาสนาคริ สต์ มีคริ สตชน เหลื อเพียงแค่ 14 คนเท่านั้น แต่พระมหากษัตริ ยอ์ งค์ใหม่ซ่ ึ งได้แก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสิ น ได้ทรง พระราชทานที่ดินเพื่อให้สร้างวัด ซึ่งได้แก่ วัดซางตาครู ้ส จนปั จจุบนั นี้ คริ สตชนที่ได้ไปลี้ภยั ในเขมรได้ กลับมาตั้งถิ่นฐานบ้านเรื อนอยูร่ อบๆ วัดใหม่ พระมหากษัตริ ยไ์ ด้ทรงโปรดปรานชาวคริ สต์ที่เป็ นผูม้ ีความสามารถ สู งทางด้านงานฝี มือ กล้าหาญ ขยัน และมีความซื่ อสัตย์ พระองค์ได้ทรงรับคริ สตชนเข้าเป็ นทหาร เป็ นมหาดเล็กเฝ้ า พระราชวัง เป็ นล่าม และเป็ นหมอรักษาโรค ในฐานะที่พวกเขาเป็ นข้าราชการจึงต้องให้สัตย์ปฏิญาณแสดงความ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริ ยท์ ุกๆ ปี โดยเข้าพิธีถือนํ้าพระพิพฒั น์สัตยา นอกจากนี้พระมหากษัตริ ยไ์ ด้บงั คับให้พวกเขาเข้าร่ วมพิธีทางศาสนาพุทธบางอย่าง พระคุณเจ้าเลอบ็อง (Le bon) ได้ห้ามการเข้าร่ วมพิธีน้ ี ซ่ ึ งเป็ นพิธีที่เก่าแก่ของบ้านเมือง จึงทําให้พระมหากษัตริ ยเ์ คืองพระราชหฤทัย และ กลับมาห้ามคนไทยไม่ให้เข้านับถื อศาสนาคริ สต์อีกทั้งในที่สุดได้ขบั ไล่พระสังฆราชและมิชชันนารี สององค์ที่อยู่ กรุ งเทพฯ นั้น ออกนอกประเทศ นี่คือสถานการณ์ของชาวคริ สต์ในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ยคุ ต้น

Hi sto

ric al A

rch ive

sA

พระคุณเจ้ากูเดย์มีความยินดีเป็ นอย่างยิ่งที่พระมหากษัตริ ยอ์ งค์ใหม่ได้ทรงเริ่ มมีนโยบายใหม่ต่อชาวคริ สต์ พระองค์ได้ปล่อยให้หญิงสาวชาวคริ สต์ที่พระเจ้าตากสิ นกักกันไว้ในวัง ให้กลับคืนสู่ ครอบครัว พระองค์ได้ ทรงอนุ ญาตให้ทหารคริ สต์ไม่ตอ้ งเข้าร่ วมพิธีถือนํ้าพระพิพฒั น์สัตยา แต่หัวหน้าครอบครัวไม่ได้รับการยกเว้น เช่นเดียวกันนี้ หลังจากที่พระองค์ได้ข้ ึนครองราชย์เรี ยบร้อยแล้ว พระองค์ได้ส่งข้าราชการที่เป็ นคริ สต์คนหนึ่ งพร้อมกับ สาสน์ จากพระคลังไปถึ ง เจ้าครองนครมาเก๊า ในสาสน์ฉบับนี้ ไ ด้ขอให้มีก ารเชื่ อมสัมพันธ์ทางการค้ากับชาว โปรตุเกสเสี ยใหม่ ในขณะเดียวกันก็ได้ขอมิชชันนารี สิ่ งนี้เป็ นนโยบายของพระมหากษัตริ ยซ์ ่ ึ งมีพระราชประสงค์ เปิ ดประเทศสยามไปสู่ การค้ากับต่างประเทศ ข้อเสนอของพระมหากษัตริ ยเ์ หล่านี้ ถูกส่ งไปยังนครกัว แต่ไม่มี คําตอบใดๆ เพื่อเป็ นการตอบสนองการเชื้ อเชิ ญ มิชชันนารี บาทหลวงโดมินิกนั องค์หนึ่ งมาศึกษาสถานการณ์ใน กรุ งเทพฯ ยังผลให้เกิดความพึงพอใจเป็ นอย่างยิ่งต่อชนชาวโปรตุเกส ผูซ้ ่ ึ งไม่ชอบพระสงฆ์ชาวฝรั่งเศส และ ยังผลให้มีการแตกแยกในบรรดาชาวคริ สต์แห่งซางตาครู ้ส ชาวคริ สต์นิยมโปรตุเกสผูซ้ ่ ึ งถื อว่าตนเองเป็ นข้าราชบริ พารแห่ งกษัตริ ยโ์ ปรตุเกส และใช้เฉพาะภาษา โปรตุเกสเท่านั้นในการชุมนุมทางศาสนา พวกเขาไม่ปรารถนาเชื่อฟังพระสังฆราช อีกทั้งเรี ยกร้องกรรมสิ ทธิ์ ใน วัด ส่ วนชาวคริ สต์อื่นๆ พระคุณเจ้ากูเดย์ตอ้ งการที่จะให้พวกเขาถือว่าตนเองเป็ นข้าราชบริ พารแห่ งราชสํานักไทย ท่านจึงเทศน์ สอนคําสอน และนําสวดเป็ นภาษาไทย พวกเขาเหล่านั้นมีจาํ นวนประมาณหนึ่ งในสี่ ของคริ สตชน ทั้งหมด เนื่องจากว่าชาวคริ สต์ไม่สามารถปรองดองกันได้ คริ สตชนที่สนับสนุนโปรตุเกสหันไปพึ่งบารมีของพระ อนุ ชา ซึ่ งได้แก่เจ้าชาย บุญมา เพื่อให้เกิดความสงบสุ ข เจ้าชายบุญมาได้ขอพระราชทานที่ดินบนฝั่งตรงกันข้าม


.

ประวัติพระศาสนจักรไทย สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ยุคต้ น 148

Hi sto

ric al A

rch ive

sA

rch

dio

ces e

of

Ba ngk o

k

ของแม่น้ าํ เจ้าพระยา สําหรับสร้ างเป็ นวัดใหม่ข้ ึนมา เพื่อเป็ นการแยกชาวคริ สต์ท้ งั สองฝ่ าย คริ สตชนที่นิยม โปรตุเกสเป็ นฝ่ ายที่ไปตั้งรกรากอยูร่ อบๆ วัดใหม่ ซึ่ งสมัยนั้นเรี ยกว่าวัด "เอเรมิด้า" ต่อมาภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็ นวัด กาลหว่าร์ อยูใ่ กล้ตลาดน้อย บาทหลวงโดมินิกนั ได้ติดตามชาวคริ สต์ที่ไม่ยอมรับพระสังฆราช แต่ท่านไม่ปรารถนาที่จะแยกตัวออกจาก พระสังฆราช เมื่อท่านเห็นว่าคริ สตชนกลุ่มนั้นไม่ตอ้ งการเชื่อฟังพระสังฆราช ท่านก็เลยออกจากประเทศสยามไป จะต้องใช้เวลาถึง 40 ปี กว่าคริ สตชนจะสามารถกลับมาปรองดองกันได้อีก หลังจากการมรณภาพของพระคุณเจ้ากูเดย์ในปี ค.ศ. 1785 พระคุณเจ้าการ์โนลต์ (Garnault) ก็ได้ดาํ รง ตําแหน่งต่อจากท่าน ในสมัยที่พระคุณเจ้าการ์ โนลต์เป็ นพระสังฆราชนั้น การติดต่องานระหว่างสํานักพระราชวังกับ พระคุณเจ้าก็ได้ออกห่างกัน ก่อนหน้านั้นพระคุณเจ้าได้ใช้ชีวติ อยูท่ างภาคใต้เป็ นเวลา 9 ปี ก่อนที่จะกลับมายัง กรุ งเทพฯ เจ้าเมืองภูเก็ตสนับสนุนชาวคริ สต์เป็ นอย่างดี รวมทั้งผูป้ กครองเมืองนครศรี ธรรมราชที่ขอมิชชันนารี ดว้ ย แต่เจ้าเมืองตะกัว่ ทุ่งกลับแสดงความเป็ นปฏิปักษ์ต่อชาวคริ สต์เป็ นอย่างยิง่ นอกจากนั้นกลุ่มชาวคริ สต์ที่สนับสนุ นโปรตุเกสได้ไปแจ้งความเมื่อพระสงฆ์โปรดศีลล้างบาปแก่คนไทย ซึ่งทําให้ทางราชการเกิดความไม่ไว้วางใจต่อชาวคริ สต์ที่ยงั คงซื่ อสัตย์ต่อพระ สังฆราช และเป็ นการทําให้คนไทยที่ ปรารถนาจะเปลี่ยนมานับถือศาสนาคิสต์หมดกําลังใจ พระคุณเจ้าการ์ โนลต์มาถึงกรุ งเทพฯ ประมาณปลายปี ค.ศ. 1795 หรื อต้นปี ค.ศ. 1796 ตอนที่ท่านมาถึง มี ชาวคริ สต์อยูใ่ นเมืองหลวงประมาณ 1,000 คน โดย 400 คน เป็ นคนดั้งเดิมของสยาม และอีก 600 คน เป็ นผูล้ ้ ีภยั ในปี ค.ศ. 1785 เมื่อกองทัพสยามได้กลับมาจากกัมพูชาและเวียดนามใต้ที่ได้ไปรบต่อต้านพวกไต้-ซ้อง ได้นาํ คริ สต ชนโปรตุเกสจากกัมพูชามาเป็ นจํานวน 450 คน พร้อมกับชาวกัมพูชาที่ตอ้ งการหลบหนีพวกไต้ซอ้ งอีก 100 คน นอกจากนี้ได้มีคริ สตชนอีก 250 คน ซึ่ งได้มาลี้ภยั อยูท่ างตอนเหนือของประเทศกัมพูชา ในปี ค.ศ. 1793 พระมหากษัตริ ยไ์ ด้ส่งคนไปตามกลุ่มนี้พร้อมกับครอบครัวของเขา นํามากรุ งเทพฯ ด้วย ชาวคริ สต์ท้งั หมดนี้ได้มา ตั้งรกรากอยูล่ ะแวกวัดคอนเซปชัญ เมื่อพระคุณเจ้าการ์ โนลต์กลับมาถึงกรุ งเทพฯ ได้ต้ งั โรงพิมพ์เล็กๆ ขึ้นที่ซางตาครู้สในปี ค.ศ. 1796 โรง พิมพ์ซางตาครู้สได้พิมพ์หนังสื อเล่มแรกที่พิมพ์ข้ ึนในสยาม เป็ นหนังสื อคําสอน พิมพ์ดว้ ยตัวอักษรโรมัน พระคุณ เจ้าได้มีความตั้งใจที่จะพิมพ์หนังสื อเป็ นภาษาไทยด้วย แต่โรงพิมพ์น้ ีได้ถูกทอดทิง้ ไปภายหลัง ในสมัยนี้คุณพ่อฟลอ รังส์ (Florens) และคุณพ่อลีโอ (Liot) ได้ไปสํารวจภูมิภาคแถบอยุธยา เพื่อที่จะศึกษาดูความเป็ นไปได้ของการ ประกาศพระศาสนาที่นน่ั เจ้าครองนครอยุธยาได้เชิ ญบาทหลวงทั้งสองทําการบูรณะวัดเก่าที่อยู่ในสภาพที่เสื่ อม โทรมแต่คนไทยที่เป็ นหัวหน้าค่ายของคนลาวที่นาํ มาจากภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ได้ห้ามบาทหลวงทั้งสองไม่ให้ ทําการเผยแพร่ พระศาสนากับคนลาวที่อยูใ่ นค่าย เนื่องจากว่าเขาเหล่านั้นมีศาสนาที่ใกล้เคียงกับศาสนาของคนไทย ตลอดสมัยที่พระคุณเจ้าการ์ โนลต์เป็ นพระสังฆราช ซึ่ งกินเวลา 25 ปี ท่านได้ทาํ พิธีบวชพระสงฆ์ 8 องค์ พระสงฆ์ เหล่านั้นเป็ นชาวพื้นเมืองแต่ไม่ใช่คนไทย ก็เนื่ องจากว่าในสมัยนั้นมี ชาวคริ สต์ที่เป็ นคนไทยน้อยมาก พระสงฆ์ บางองค์มีพ้ืนเพดั้งเดิ มเป็ นชาวโปรตุเกส ชาวเวียดนาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาจากวัดจันทบุรีที่อยู่รอดมาตลอด นับตั้งแต่ได้ก่อตั้งวัดนี้ข้ ึนมาในปี ค.ศ. 1750 และก็มีพระสงฆ์บางองค์ที่เป็ นลูกวัดของคนจีนหรื อเป็ นลูกครึ่ ง


.

ประวัติพระศาสนจักรไทย สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ยุคต้ น 149

2.

dio

ces e

of

Ba ngk o

k

ในปี ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกสวรรคตนั้น จํานวนของชาวคริ สต์มีประมาณ 3,000 คน รวมทั้งชาวคริ สต์มาเลเซี ยในสยาม ชาวคริ สต์เหล่านี้อยูใ่ นค่ายหรื ออยูใ่ นย่านที่อยูอ่ าศัยแยกออกจากประชากรส่ วน อื่นๆ อาจจะด้วยความจําเป็ นหรื อด้วยความประสงค์ของเจ้าหน้าที่ปกครองบ้านเมืองในสมัยนั้น คริ สตังจึงไม่มี นํ้าหนักอะไรในด้านสังคมและการเมืองของประเทศ ประวัติศาสตร์ และวรรณคดีก็ไม่เคยเอ่ยถึงพวกเขาเหล่านั้นเลย แต่พระมหากษัตริ ยก์ ็ยงั เคารพในความเชื่อของเขา ตัวอย่างเช่น พวกเขาเหล่านั้นไม่จาํ เป็ นที่จะต้องมาก่อสร้างโบสถ์ หรื อเจดียข์ องศาสนาพุทธ พวกเขาสามารถอยูใ่ นค่ายอย่างสงบและเป็ นอิสระในข้อแม้ที่วา่ พวกเขาจะไม่ชวนคน ไทยมานับถือศาสนาคริ สต์ ในเรื่ องนี้การที่ชาวโปรตุเกสคอยแจ้งเจ้าหน้าที่เมื่อมีคนไทยเปลี่ยนศาสนา ทําให้ฝ่าย บ้านเมืองมีความระแวง และคงจะด้วยเหตุผลนี้ เองที่พระคุณเจ้า การ์ โนลต์ไม่เคยได้รับพระราชโองการเข้าเฝ้ า ซึ่ ง ต่างจากพระคุณเจ้ากูเดย์ มีพระราชโองการให้ไปเชิญกลับมากรุ งเทพฯ และได้เข้าเฝ้ าในพระบรมมหาราชวัง สรุ ปได้วา่ ชาวคริ สต์ถูกถือว่าเป็ นคนต่างชาติในประเทศ อย่างไรก็ตาม เช่นเดียวกับในสมัยของพระเจ้าตาก สิ นนั้น ชาวคริ สต์มีชื่อเสี ยงดีในความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริ ย ์ พวกเขาเหล่านั้นยังได้เป็ นมหาดเล็กเฝ้ า พระราชวัง ส่ วนพวกมิชชันนารี ในสมัยนั้น ก็ไม่มีความกลัวแต่อย่างใดว่าจะได้รับอันตรายจากการเบียดเบียนทาง ศาสนา พวกเขามีเสรี ภาพในการเดินทางตามความปรารถนา

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย

Hi sto

ric al A

rch ive

sA

rch

เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยขึ้นครองราชย์ พระคุณเจ้าการ์โนลต์ได้รับ พระบรมรา ชานุญาตให้เข้าเฝ้ าอย่างเป็ นทางการ ท่านสังฆราชได้ถือโอกาสนี้กราบบังคมทูลถวายบทสรุ ปคําสอนคริ สตศาสนา กับพระองค์ พระองค์ได้ทรงพระสรวลและตรัสถามพระสังฆราชว่าต้องการจะเชิญพระองค์ให้เป็ นคริ สต์หรื อ รัชกาลที่ 2 ครองราชย์ได้เป็ นเวลาหนึ่งปี พระคุณเจ้า การ์ โนลต์ก็มรณภาพ และพระคุณเจ้าฟลอรังส์ก็มาสื บ ตําแหน่งต่อ ในยุคนี้มีการลดจํานวนมิชชันนารี เนื่องมาจากการปฏิวตั ิฝรั่งเศส ทําให้บา้ นเณรทุกแห่งในประเทศฝรั่งเศส ต้องปิ ดลง เงินช่วยเหลือก็ลดลงด้วย ทําให้มิสซังตกอยูใ่ นสภาพยากจนมาก พระคุณเจ้าฟลอรังส์ตอ้ งคอยเป็ น เวลา 14 ปี กว่าจะมีโอกาสต้อนรับมิชชันนารี องค์แรกซึ่ งได้แก่ คุณพ่อปี โก (Picot) ท่านได้มาถึงกรุ งเทพฯ ปี ค.ศ. 1822 ท่านอยูใ่ นกรุ งเทพฯ แค่ 7 เดือนเท่านั้น แต่ในเวลาอันสั้นนี้ ท่านก็ยงั สามารถชนะคดีเป็ นความกันกับชาว คริ สต์โปรตุเกส เมื่อเรี ยกร้องให้เอาวัดกาลหว่าร์ กลับคืนมาสู่ ความรับผิดชอบของพระสังฆราช คดีน้ ีศาลไทยเป็ นผู้ ตัดสิ น เมื่อได้วดั กลับคืนมา คุณพ่อปี โกก็เป็ นเจ้าวัดองค์แรก ก่อนที่ท่านจะออกเดินทางไปปี นัง พระสังฆราชต้อง คอยอีกเป็ นเวลานาน 4 ปี กว่าจะมีโอกาสต้อนรับมิชชันนารี องค์ที่สอง ท่านเองได้เป็ นมิชชันนารี ในประเทศจีน และ ได้มาที่กรุ งเทพฯ เพื่อสอนเณรในกรุ งเทพฯ พระสงฆ์ 5 องค์ บวชโดยพระคุณเจ้าการ์ โนลต์ปฏิบตั ิหน้าที่ตามวัด ต่างๆ ในเมืองหลวง ในช่วงเวลา 12 ปี ในการดํารงตําแหน่งของพระสังฆราชฟลอรังส์ พระศาสนจักรในประเทศสยามไม่ได้ ก้าวหน้าไปเท่าไรนัก อย่างไรก็ดี ได้พบสังคมใหม่ที่จะแพร่ ธรรม เนื่องจากว่ามีคนจีนเข้ามาในสยามมากขึ้นทุกที


.

ประวัติพระศาสนจักรไทย สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ยุคต้ น 150

3.

rch ive

sA

rch

dio

ces e

of

Ba ngk o

k

คนจีนเหล่านี้สนใจในคริ สตศาสนาและไม่ได้อยูใ่ นขอบข่ายของการห้ามเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริ สต์ คุณพ่อราโบ (Rabeau) โปรดศีลล้างบาปแก่คนจีนเป็ นจํานวนนับร้อยคนในปี ค.ศ. 1810 ในยุคนี้ เองที่ชาวอังกฤษเริ่ มแสดงอานุ ภาพในเอเชี ยอาคเนย์ อังกฤษได้ครองเกาะปี นังในปี ค.ศ. 1786 พระคุ ณเจ้าการ์ โนลต์ได้จดั ตั้งวัดชาวคริ สต์ข้ ึ นทันที โดยนําชาวคริ สต์ที่อาศัยในรัฐ เกดาห์ไปอยู่ที่ปีนัง เนื่องจากว่าท่านมีความมัน่ ใจได้มากกว่าที่อิสรภาพทางศาสนาของคริ สตัง จะได้รับการปกป้ อง ในปี ค.ศ. 1819 ชาวสยามเริ่ มกระทบกระทัง่ ชาวอังกฤษเป็ นครั้งแรก เมื่อชาวอังกฤษปฏิเสธที่จะส่ งตัวกษัตริ ยแ์ ห่งเกดาห์ที่ได้มาลี้ภยั อยูท่ ี่ปีนัง ความเป็ นปฏิปักษ์น้ ี ทาํ ให้เกิดความล่าช้าในการที่คุณพ่อปี โกมาสู่ สยาม ส่ วนมิชชันนารี ในสมัยนั้นก็ได้ เฝ้ าดูเหตุการณ์อย่างใจจดใจจ่อ ในตอนแรกพวกเขาค่อนข้างจะระแวงชาวอังกฤษ เพราะถือศาสนาแองกลิกนั แต่ ชาวอังกฤษปฏิบตั ิกบั มิชชันนารี และให้ความสะดวกในการแพร่ พระธรรม มิชชันนารี จึงเริ่ มเห็นว่าชาวอังกฤษเป็ นผู้ พิทกั ษ์เสรี ภาพทางศาสนาของชาวคริ สต์ เพราะเหตุดงั กล่าว ชุ มชนชาวคริ สต์ในปี นังซึ่ งขึ้นตรงต่อสยามนั้นได้ ขยายตัวอย่างรวดเร็ ว ในสยามตลอดช่วงเวลานี้ ชาวคริ สต์ค่อนข้างจะเก็บตัว พระสงฆ์ไม่ค่อยออกนอกกรุ งเทพฯ สาเหตุ เนื่องมาจากขาดบุคลากร ขาดทุนทรัพย์ อีกทั้งชาวคริ สต์มีความรู ้สึกว่าถูกจับตามอง เนื่องจากการห้ามเผยแพร่ ศาสนาในบรรดาคนไทย กิจการของศาสนาคริ สต์จึงไม่ได้กา้ วหน้า ฉะนั้นก็ดี พระคุณเจ้าฟลอรังส์ก็ยงั ได้แจ้งว่าได้ โปรดศีลล้างบาปแก่ผใู ้ หญ่ 29 คน ในปี ค.ศ. 1823 หลังจากความพยายามในการเปิ ดประเทศในรัชกาลก่อน สยามก็กลับเริ่ มปิ ดประตูไม่ตอ้ น รับคนต่างชาติ มากขึ้นทุกที ชาวสยามรู ้สึกผิดหวังในสนธิ สัญญาทางการค้ากับประเทศโปรตุเกส ปี ค.ศ. 1820 ในปี ค.ศ. 1822 ความพยายามของจอห์น คอร์ ฟอร์ ด (John Crowford) ที่จะทําการค้ากับประเทศสยามก็ลม้ เหลว

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้ าเจ้ าอยู่หัว

Hi sto

ric al A

พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงดําเนิ นนโยบายปิ ดประเทศเหมือนกับรัชกาลก่อน เมื่อเริ่ มรู้สึก ถึงอันตรายจากพวกล่าอาณานิ คมอังกฤษ แต่ก็ได้เริ่ มสร้างป้ อมปราการเพื่อป้ องกันกรุ งเทพฯ และจันทบุรีจากการ โจมตีทางเรื อ ในปี ค.ศ. 1826 ชาวอังกฤษได้ผนวกเอาแคว้นตะนาวศรี ชาวสยามเริ่ มรู้วา่ มหาอํานาจอังกฤษเป็ น อันตรายที่แท้จริ ง และเริ่ มอ่อนข้อในการเจรจากับชาวอังกฤษลง พระมหากษัตริ ยเ์ กรงเขาจะเข้ายึดครองประเทศ เลย เริ่ มมีการระแวงมิชชันนารี คุณพ่อ บรู ยีแอร์ (Brugi◌่ re) ได้เขียนไว้วา่ "พระองค์ เชื่ อว่ าทุกคนเป็ นผู้แทนจากประเทศ อังกฤษ" พระองค์ไม่ได้แยกว่าใครเป็ นพระสงฆ์ ใครเป็ นฆราวาส พระองค์ทรงเรี ยกทุกคนว่าเป็ น "ฝรั่ ง" ไม่วา่ จะเป็ น อังกฤษ ฝรั่งเศส หรื อฮอลันดา เป็ นพวกเดียวกันหมด ราวกับว่ามาจากชาติเดียวกันหมด ชาวสยามถึงกับเห็นว่ามิชนั นารี เป็ นจารชนที่ กษัตริ ยย์ ุโรปส่ งมาเพื่อตั้งพรรคพวกโดยเอาศาสนาบังหน้า และยังเชื่ อไปอี กว่าในกรณี ที่เกิ ด สงครามขึ้นมากับยุโรปชาติใดชาติหนึ่ง ชาวคริ สต์พ้นื เมืองจะทรยศต่อประเทศและหันไปเข้าข้างชาวยุโรป ด้วยเหตุน้ ีถา้ ใครต้องการออกมาจากกรุ งเทพฯ ต้องมีใบอนุญาตเสี ยก่อน มิฉะนั้นแล้วอาจจะถูกจับและ ตํารวจจะนํากลับมาเมืองหลวงเหมือนกับที่เกิดกับคุณพ่อบาร์ แดล (Bardailh) ผูเ้ ดินทางไปถึงสระบุรี และถูกจับโดย


.

ประวัติพระศาสนจักรไทย สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ยุคต้ น 151

Hi sto

ric al A

rch ive

sA

rch

dio

ces e

of

Ba ngk o

k

ข้าหลวงสระบุรี โดยเกรงว่าท่านจะเป็ นชาวอังกฤษปลอมตัวมาเพื่อสํารวจประเทศ ท่านได้ถูกนํากลับมากรุ งเทพฯ และปล่อยตัวเป็ นอิสระ ในปี ค.ศ. 1831 ชาวสยามต้องการลงโทษเวียดนามที่ได้สนับสนุนพระอนุวงศ์แห่ งเวียงจันทน์ในการก่อ การกบฏต่อต้านสยาม ชาวสยามได้เข้ายึดครองกัมพูชา และได้ขบั ไล่กษัตริ ยพ์ ระอังจัน พระเจ้ามิ่งม่างจากเวียดนาม ได้ทรงตั้งพระอังจันบนราชบัลลังก์เสี ยใหม่ พระเจ้ามิ่งม่างได้เริ่ มเบียดเบียนมิชชันนารี และชาวคริ สต์ในปี ค.ศ. 1833 พระคุ ณเจ้าตาแบรด์ (Taberd) พร้อมกับมิชชันนารี 2-3 องค์ และเณร 20 คน ได้มาลี้ ภยั อยู่ที่จนั ทบุรี พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้เชิ ญพระสังฆราชไปกรุ งเทพฯ เพื่อขอทราบเรื่ องการเบียดเบียนและการลุก ขึ้นต่อต้านจักรพรรดิ มิ่งม่างในเวียดนาม แล้วพระองค์ก็ทรงอนุ ญาตให้พระสังฆราชและมิชชันนารี อยู่ในสยาม พระมหากษัตริ ยผ์ ซู ้ ่ ึ งเตรี ยมตัวที่จะทําสงครามกับเวียดนาม ได้ขอให้พระคุณเจ้าตาแบรด์ ใช้อิทธิ พลกับชาวเวียดนาม หรื ออย่างน้อยให้แต่งตั้งมิชชันนารี ไปกับกองทัพสยาม พระคุณเจ้าตาแบรด์ยอมทําตามโดยมีขอ้ แม้ว่าให้พระองค์ ทรงอนุ ญาตให้ท่านออกจากกรุ งเทพฯ เพื่อไม่ให้ถูกสงสัยว่าท่าน ทรยศต่อเวียดนาม โดยมารับทัพสยามไป เวียดนาม พระมหากษัตริ ยร์ ู ้สึกไม่พอพระทัยเป็ นอย่างยิง่ ต่อข้อแม้น้ ี เพราะพระองค์ไม่เคยมีใครปฏิบตั ิตามคําสั่งโดย มีขอ้ แม้ พระองค์จึงไม่ทรงอนุญาตให้พระสังฆราชออกจากกรุ งเทพฯ กองทัพสองเหล่าได้ถูกส่ งไปในปี ค.ศ. 1833 พระยาชาวคริ สต์ 2 ท่าน ได้ขอบาทหลวงประจํากองทัพกับ พระคุณเจ้าฟลอรังส์ พระคุณเจ้าฟลอรังส์ทีแรกปฏิเสธ แต่ต่อมาก็ยอมส่ งคุณพ่อเคลมังโซ (Clémenceau) คุณพ่อ เคลมังโซยอมไปแบบเสี ยไม่ได้ และซ่อนตัวอยูใ่ นเรื อที่เวียดนามเป็ นเวลา 15 วัน ชาวคริ สต์ที่เวียดนามจากจังหวัด ฮาเตียน (Ha-Tien) และเจาดอก (Chao-Doc) เมื่อทราบว่ามีพระสงฆ์คาทอลิกในกองทัพสยาม ก็รีบเข้ามาขอพึ่ง กองทัพสยามเพื่อให้รอดพ้นจากการถูกกลัน่ แกล้งสังหาร ด้วยเหตุน้ ีเอง ชาวเวียดนาม 1,600 คน มากรุ งเทพฯพร้อม กับกองทัพสยาม ในบรรดา คริ สตชนเหล่านี้ มีบาทหลวง 1 องค์ และซิสเตอร์ 2 รู ป เมื่อมาถึงกรุ งเทพฯ ในปี ค.ศ. 1834 พระยาชาวคริ สต์ท้ งั สองท่านได้ทูลเกล้าฯ ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้พวกเขาปั กรกรากในที่ดิน ว่างเปล่าทางด้านทิศเหนือของกรุ งเทพฯ ที่เรี ยกว่าสามเสน พระเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงมอบภาระการดูแลชาวคริ สต์เหล่านี้ ให้กบั มิสซังคาทอลิก พระองค์โปรดให้สร้างโรงเรื อนใหญ่ พระราชทานเครื่ องนุ่งห่ม ที่ดินทํามาหากิน พร้อมกับ โค-กระบือ อีกทั้งยังให้ยกเว้นการส่ งส่ วยงาน สงครามกับเวียดนามจึงเป็ นต้นกําเนิดของวัดแซงต์ฟรังซิ ส ซาเวียร์ ที่ต้งั อยูส่ ามเสนจนถึงในปัจจุบนั นี้ แม้วา่ การทําสงครามครั้งนี้ ทําให้สามารถเพิ่มจํานวนคริ สตชนในกรุ งเทพฯ เป็ นสองเท่า มันก็ยงั มีผลเสี ย ตามมาอีกมาก มันทําให้เกิ ดการห้ามการเผยแพร่ พระธรรมในภาคตะวันออกของประเทศ คุ ณพ่อปั ลเลอกัว ้ ่ ึ งมาถึงสยามในปี ค.ศ. 1830 มีความรู ้สึกว่าไม่ควรจะจํากัดขอบเขตการเผยแพร่ พระธรรมให้อยูแ่ ต่ใน (Pallegoix) ผูซ กรุ งเทพฯ ท่านได้พยายามไปตรวจพื้นที่ทางภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อของเมืองหลวง แต่ท่านถูกจับกุมโดยข้าหลวง ลพบุรี และถูกนําตัวมากรุ งเทพฯ คริ สตชนกลุ่มหนึ่ งในสระบุรีถูกจําคุกในปี ค.ศ. 1834 และถูกปล่อยตัวเป็ นอิสระ เพราะพระคุณเจ้ากูร์เวอซี (Courvezy) ผูส้ ื บทอดการปกครองต่อจากพระคุณเจ้าฟลอรังส์ เป็ นผูข้ ออิสรภาพสําหรับ เขา


.

ประวัติพระศาสนจักรไทย สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ยุคต้ น 152

Hi sto

ric al A

rch ive

sA

rch

dio

ces e

of

Ba ngk o

k

ผูเ้ ขียนมีความยินดีบอกด้วยว่าในปี ค.ศ.1833 ก่อนที่พระคุณเจ้าฟลอรังส์จะมรณภาพหนึ่งปี พระคุณเจ้าได้ กล่าวไว้ในจดหมายฉบับหนึ่งว่า ท่านได้ให้การต้อนรับแก่ชาวโปรเตสตันท์ อนาบาติสที่มาจากเมือง Boston ซึ่งมา เยีย่ มคารวะท่าน เราคิดว่าคงจะเป็ น John Taylor Jones ก่อนที่พระคุ ณเจ้ากูร์เวอซี จะออกจากสยามเพื่อไปอยู่สิงคโปร์ ท่านได้ทิ้งรายงานสรุ ปไว้อย่างละเอียดถึง ชีวติ คริ สตชนในสยามในปี ค.ศ. 1838 จะพิจารณาแค่วดั ที่เก่าแก่ที่สุดทั้งสองแห่งของนครหลวง เราสามารถทราบ จากรายงานของพระคุณเจ้าเกี่ยวกับวัดซางตาครู้ส ซึ่ งเป็ นวัดที่มีลูกวัด 480 คน ว่ากลุ่มคริ สตชนนี้แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม กลุ่มที่เป็ นนายแพทย์มีแพทย์ประจําราชสํานัก 2 คน และประจํากองทัพ 18 คน กลุ่มล่ามแปลภาษามีจาํ นวน 18 คน มีหน้าที่ประจําการที่ท่าเรื อที่มีเรื อต่างชาติเข้ามา และกลุ่มทหารมีนายทหารผูน้ ้อย ทหารปื นใหญ่และ มหาดเล็กเฝ้ าพระราชวัง นัน่ หมายความว่าคนส่ วนใหญ่เป็ นข้าราชการของพระมหากษัติรย์ที่มีเงินเบี้ยหวัดประจํา ส่ วนวัดคอนเซปชัญ (Conception) ที่มีคริ สตชน 697 คนนั้น ประกอบด้วยทหารเป็ นส่ วนใหญ่ และทหารผูใ้ หญ่ที่ เข้าเฝ้ าพระเจ้าอยูห่ วั เป็ นประจํา ทหารผูน้ อ้ ยมีท้งั ทหารประจําปื นใหญ่ หรื อมหาดเล็กเฝ้ าพระราชวัง คริ สตชนเหล่านี้ จึงนับว่ามีฐานะดี คุณพ่ออัลบรังด์ (Albrand) ได้มาจากสิ งคโปร์ ในปี ค.ศ. 1835 เพื่อจะแพร่ พระธรรมให้กบั ชาวจีนโดย เฉพาะที่เข้ามาจากสยาม ท่านได้ต้ งั ศูนย์ใกล้โบสถ์กาลหว่าร์ (Calvaire) บาทหลวงหลายองค์ได้เรี ยนภาษาจีนและได้ ทําการแพร่ พระธรรมกับชาวจีนโดยเฉพาะ ท่านเหล่านี้ประสบความ สําเร็ จดียงิ่ พระเจ้าอยูห่ วั ไม่เคยขัดขวางการที่ เขาเหล่านั้นจะเข้ามานับถือคริ สตศาสนา เพราะเขาเหล่านั้นถอนรกรากตนเองออกมาจากถิ่นฐานดั้งเดิม และแทบจะ ไม่มีศาสนาเลยก็วา่ ได้ พระเจ้า อยูห่ วั ต้องการให้ขา้ ราชบริ พารของพระองค์ไม่มีศาสนา พระคุณเจ้าปั ลเลอกัวได้รับการแต่งตั้งเป็ นพระสังฆราชแห่งสยามในปี ค.ศ. 1841 ท่านได้พยายามส่ ง มิชชันนารี ไปจังหวัดห่างไกลทั้งทางภาคเหนือและภาคใต้ สถานการณ์ทางการเมืองในยุค นั้นจะไม่อาํ นวย จึง ประสบความล้มเหลวอยูเ่ ป็ นนิจ เช่น ท่านได้ส่งมิชชันนารี 2 องค์ ไปเชียงใหม่ในปี ค.ศ. 1846 แต่มิชชันนารี 2 องค์น้ ีอยูไ่ ด้แค่ 2 เดือน กษัตริ ยเ์ ชียงใหม่หา้ มพสกนิกรเปลี่ยนไปนับถือคริ สตศาสนา ก็เลยต้องกลับกรุ งเทพฯ จะต้องคอยอีกเป็ นเวลาเกือบ 100 ปี ก่อนที่จะกลับไปเชียงใหม่อีกในปี ค.ศ. 1933 ในขณะนั้นชาวสยามยังคงกลัวที่จะถูกชาวอังกฤษบุกเข้ายึดครอง ชาวสยามรู้ สึกกลัวมากเมื่อเห็ นชาว อังกฤษเอาชนะประเทศจีนในสงครามฝิ่ นในปี ค.ศ. 1842 สยามได้เซ็นสัญญาทางการค้ากับสหรัฐอเมริ กาในปี ค.ศ. 1833 เพื่อให้เป็ นการถ่วงดุลอํานาจกับอังกฤษ ซึ่ งสยามอยูใ่ นภาวะจํายอมต้องเซ็นสัญญาในปี ค.ศ. 1826 อย่างไรก็ ดี นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1838 ไม่มีเรื อสหรัฐอเมริ กามาประเทศสยามเลย และการค้ากับประเทศอังกฤษก็เริ่ มถดถอย ด้วย เหตุน้ ี เอง ประมาณปี ค.ศ. 1840 พระมหากษัตริ ยไ์ ด้ให้พระอนุชาไปขอให้พระคุณเจ้าปั ลเลอกัวเชิญชวนกษัตริ ย ์ ฝรั่งเศสให้มาทําการค้ากับสยาม โดยมีจุดประสงค์จะปลีกออกจากอิทธิ พลของอังกฤษ หลังจากสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ คณะมิสซังคาทอลิกมีความสัมพันธ์กบั พระราชสํานักน้อยมาก นอกจาก สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ซึ่งไม่ได้อยูใ่ นขอบข่ายของบทความเรื่ องนี้ มิตรภาพระหว่างพระคุณ เจ้าปั ลเลอกัวและเจ้าฟ้ ามงกุฎที่ได้เริ่ มก่อนที่ฝ่ายหนึ่ งจะเป็ นพระสังฆราช และก่อนรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ จอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว มิตรภาพนี้ เป็ นประโยชน์กบั คณะมิสซัง มิตรภาพนี้ ได้เริ่ มตั้งแต่คุณพ่อปั ลเลอกัวเป็ นเจ้าวัดอยู่


.

ประวัติพระศาสนจักรไทย สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ยุคต้ น 153

rch

dio

ces e

of

Ba ngk o

k

คอนเซปชัญ และเจ้าฟ้ ามงกุฎผนวชอยูท่ ี่วดั ราชาธิ วาส คุณพ่อปั ลเลอกัวได้มีโอกาสถวายการสอนแด่เจ้าฟ้ ามงกุฎ หลายวิชา อิทธิพลของพระคุณเจ้าปั ลเลอกัวและอิทธิ พลของอาจารย์โปรเตสตันท์ที่สอนภาษาอังกฤษให้กบั เจ้าฟ้ า มงกุฎ ซึ่ งได้วจิ ารณ์การปฏิบตั ิตนของชาวพุทธอย่างนุ่มนวลแต่ตรงไปตรงมา คงมีส่วนผลักดันให้เจ้าฟ้ ามงกุฎแก้ไข ปรับปรุ งพุทธศาสนาและจัดตั้งธรรมยุติกนิกายขึ้นมา ก่อนจบบทความนี้ ผูเ้ ขียนขอเอ่ยถึงเหตุการณ์สําคัญอันหนึ่ งซึ่ งเกิดขึ้นในปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หัว ทําให้ราชสํานักและคณะมิสซังคาทอลิกเกิ ดขัดแย้งกัน ในตอนต้นปี ค.ศ. 1849 อหิ วาตกโรคได้เกิดขึ้นที่กรุ งเทพฯ คนตายวันละเป็ นพันๆ คน โหรได้กราบทูลว่าสาเหตุมาจากฝรั่งในกรุ งเทพฯ ฆ่า สัตว์เป็ นจํานวนมาก เพื่อที่จะให้โรคระบาดนี้ หยุด โหรเสนอให้ชาวต่างชาติเหล่านี้เอาสัตว์มากราบบังคมทูลถวาย เพื่อพระองค์จะทรงเลี้ยงไว้ คําขอนี้ ทาํ ให้เกิดการแตกแยกในหมู่บาทหลวง บาทหลวงส่ วนใหญ่ถือว่าการเอาสัตว์ เหล่านี้ไปถวายนั้นเป็ นสิ่ งที่ทางคริ สตศาสนาไม่อนุญาตให้กระทําก็เลยปฏิเสธ พระเจ้าอยูห่ วั ได้เนรเทศบาทหลวง 8 องค์ ที่ไม่ยอมเอาสัตว์เหล่านั้นไปถวาย พระคุ ณเจ้าปั ลเลอกัวเป็ นบาทหลวงชาวยุโรปองค์เดี ยวที่เหลื ออยู่ใน กรุ งเทพฯ กับพระสงฆ์ชาวพื้นเมือง มิชชันนารี กว่าจะได้รับอนุญาตให้เข้ามาอีกก็ในรัชกาลต่อมา นอกจากนั้นแล้ว เรากล่าวได้วา่ คริ สตชนได้ใช้ชีวติ อย่างสงบสุ ข มีเสรี ภาพในการปฏิบตั ิศาสนาในข้อแม้ที่วา่ ไม่ทาํ การเปลี่ยนศาสนา คนไทย

บทสรุ ป

Hi sto

ric al A

rch ive

sA

ในการสรุ ปยุคสมัยที่ยาวเป็ นเวลา 84 ปี เริ่ มตั้งแต่รัชกาลที่ 1 จนสิ้ นสมัยรัชกาลที่ 3 เราสามารถพูด ได้ว่า เป็ นยุค แห่ ง ความสงบสุ ข สํา หรั บ คริ ส ตชนที่ ไทยถื อว่า เป็ นชาวต่ า งชาติ ที่ รัฐบาลยอมรับ ไว้เป็ นอย่า งดี ใ น ประเทศ พระมหากษัตริ ยซ์ ่ ึ งตระหนักดีถึงคุ ณสมบัติของคริ สตชน เต็มพระทัยที่จะใช้พวกเขาเป็ นข้าราช บริ พาร แต่มนั เป็ นเรื่ องที่เป็ นไปไม่ได้เลย ที่องค์พระมหากษัตริ ยท์ ี่เคร่ งครัดศาสนาพุทธจะยอมให้คนไทยเปลี่ยนมา นับถือศาสนาคริ สต์ ความยึดมัน่ ในอํานาจขององค์พระมหากษัตริ ยข์ ดั กับการที่จะยอมให้ชาวไทยเปลี่ยนศาสนา พระมหากษัตริ ยท์ ี่ถือว่าเป็ นเจ้าแต่องค์เดียวของพสกนิกร ไม่สามารถยอมให้พวกเขาไปขึ้นต่อองค์อาํ นาจอื่นซึ่ งอยู่ นอกประเทศ (พระสันตะปาปา) และพระมหากษัตริ ยไ์ ม่สามารถยอมรับได้ที่จะให้มีการตั้งข้อแม้ในการปฏิบตั ิตาม พระราชโองการ ยิง่ ไปกว่านั้น ศาสนาพุทธเป็ นองค์ประกอบหลักในการทําให้เกิดความสามัคคีในชาติ และเป็ น ศาสนาที่อยู่ในการอุปถัมภ์ของพระมหากษัตริ ยผ์ เู้ ป็ นองค์ประมุขของศาสนา จะต้องใช้เวลาอีกนาน กว่าที่จะ สามารถยอมรับว่าคนไทยสามารถเป็ นคาทอลิกและรักประเทศชาติและองค์พระมหากษัตริ ยใ์ นขณะเดียวกันได้.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.