หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร : Doctor of Philosophy Program in Electrical and Computer Engineering
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) (ชื่อยอ) ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) (ชื่อยอ)
: : : :
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร) ปร.ด. (วิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร) Doctor of Philosophy (Electrical and Computer Engineering) Ph.D.(Electrical and Computer Engineering)
โครงสรางหลักสูตร หมวดวิชา 1. หมวดรายวิชา 1.1 กลุมวิชาบังคับ ไมนอยกวา 1.2 กลุมวิชาเลือก ไมนอยกวา 2. หมวดวิทยานิพนธ ไมนอยกวา จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา
แบบ 1.1 48 48
หนวยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.1 3 9 72 36 72 48
แบบ 2.2 3 21 48 72
หมายเหตุ : นิสิตที่เรียนแบบ 1.1 และ 1.2 อาจตองเรียนรายวิชาอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนด โดยไมนับหนวยกิต
172
คู มื อ ห ลั ก สู ต ร
ระดับบัณฑิตศึกษา 2559
รายวิชา
หมวดรายวิชา กลุมวิชาบังคับ ไมนอยกวา จํานวน 3 หนวยกิต 0307 813 สัมมนาทางวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร 1 1(0-3-0) Electrical and Computer Engineering Seminar 1 0307 814 สัมมนาทางวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร 2 2(0-6-0) Electrical and Computer Engineering Seminar 2 กลุมวิชาเลือก แบบ 2.1 จํานวน 9 หนวยกิต และ แบบ 2.2 จํานวน 21 หนวยกิต 0300 615 เซลลแสงอาทิตยและการนําไปใช 3(3-0-6) Solar Cell and Applications 0300 616 พลังงานแสงอาทิตย 3(3-0-6) Solar Energy 0300 918 ระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอร 3(3-0-6) Computer-Controlled System 0300 919 การออกแบบระบบเมคาทรอนิกส 3(3-0-6) Mechatronics System Design 0300 920 การประมวลสัญญาณดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Signal Processing 0300 921 อิเล็กทรอนิกสกําลัง และการขับ 3(3-0-6) Power Electronics and Drives 0300 922 เซนเซอรและระบบสงจายกําลัง 3(3-0-6) Sensing and Power Transmission Systems 0300 924 ไมโครโพรเซสเซอรและระบบฝงตัว 3(3-0-6) Microprocessor and Embedded System 0300 943 วงจรแปลงผันโดยใชวิธีการสวิตชกําลัง 3(3-0-6) Power Switching Converters 0300 946 การออกแบบระบบควบคุมชนิดคงทน 3(3-0-6) Robust Control System Designs 0300 947 ระบบควบคุมสโตคาสติกออพติมัล 3(3-0-6) Stochastic Optimal Control Systems 0300 948 การประยุกตใชระบบอัจฉริยะใน 3(3-0-6) วิศวกรรมควบคุม Intelligent System Applications in Control Engineering 0300 949 วิธีการคํานวณเชิงตัวเลขสําหรับ 3(3-0-6) สนามแมเหล็กไฟฟา Numerical Techniques in Electromagnetic 0300 950 การออกแบบวงจรออสซิลเลตและ 3(3-0-6) ขยายสัญญาณความถี่สูง High Frequency Amplifier and Oscillator Design 0300 951 การออกแบบวงจรและระบบไมโครเวฟ 3(3-0-6) Microwave Circuit and System Design
0300 953 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร 3(3-0-6) ขั้นสูง Advanced Selected Topic in Electrical and Computer Engineering 0300 954 การศึกษาปญหาพิเศษทางวิศวกรรมไฟฟาและ 3(3-0-6) คอมพิวเตอรขั้นสูง Advanced Special Study in Electrical and Computer Engineering 0300 964 การวิเคราะหและออกแบบขั้นตอนวิธีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Algorithm Analysis and Design 0300 965 การประมวลผลและคอมพิวเตอรวิทัศน 3(3-0-6) Image Processing and Computer Vision 0300 966 เหมืองขอมูลขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Data Mining 0300 967 การประมวลผลแบบขนานขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Parallel Processing 0300 968 การประมวลผลภาพขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Image Processing 0300 970 เทคนิคการอินเตอรเฟสไมโครโปรเซสเซอร 3(3-0-6) Microprocessor Interfacing Techniques 0307 815 เทคนิคการหาคาที่เหมาะสมที่สุด 3(3-0-6) Optimization Techniques 0307 818 การปรับปรุงคุณภาพกําลังในระบบไฟฟาขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Power Quality Improvement in Electrical Systems 0307 819 การสรางแบบจําลองและการจําลอง 3(3-0-6) วงจรอิเล็กทรอนิกส Electronic Circuit Modeling and Simulation 0307 820 ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Numerical Methods หมวดวิทยานิพนธ สําหรับแบบ 1.1 แบบ 2.1 แบบ 1.2 และ แบบ 2.2 0307 809 วิทยานิพนธ* ไมนอยกวา 48 หนวยกิต Thesis 0307 810 วิทยานิพนธ** ไมนอยกวา 72 หนวยกิต Thesis 0307 811 วิทยานิพนธ*** ไมนอยกวา 36 หนวยกิต Thesis * สําหรับนิสิตแบบ 1.1 และ แบบ 2.2 ** สําหรับนิสิตแบบ 1.2 *** สําหรับนิสิตแบบ 2.1
คู มื อ ห ลั ก สู ต ร
ระดับบัณฑิตศึกษา 2559
173
คําอธิบายรายวิชาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) หมวดวิชาเฉพาะสาขา 1) กลุมวิชาบังคับ 0307 813 สัมมนาทางวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร 1 1(0-3-0) Electrical and Computer Engineering Seminar 1 การนําเสนอผลงานใหมทนี่ า สนใจทางดานวิศวกรรมไฟฟาและ คอมพิวเตอรหรือในสาขาวิชาที่เกี่ยวของ Oral presentation of advanced topic in electrical and computer engineering or related fields 0307 814 สัมมนาทางวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร 2 2(0-6-0) Electrical and Computer Engineering Seminar 2 การนําเสนอผลงานที่นาสนใจทางดานวิศวกรรมไฟฟาและ คอมพิวเตอรหรือในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับเคาโครงวิทยานิพนธ Oral presentation of advanced topic in electrical and computer engineering or related thesis proposal 2) กลุมวิชาเลือก 0300 615 เซลลแสงอาทิตยและการนําไปใช 3(3-0-6) Solar Cell and Applications แนวความคิดของการแปลงรูปพลังงาน พื้นฐานของทฤษฎีของ สารกึ่งตัวนําและรอยตอ พีเอ็น เซลลแสงอาทิตย ลักษณะของเซลลแสง อาทิตย วัสดุและเทคโนโลยี การประยุกตใชเซลลแสงอาทิตย ขนาดและการ วิเคราะหเชิงเศรษฐศาสตร ตัวอยางการประยุกตใช Concept of energy conversion, basic semiconductor theory and PN junctions, solar cells, photovoltaic effect, solar cell characteristics, materials and technology, terrestrial application of solar cell, dimensioning and economic consideration, examples of applications 0300 616 พลังงานแสงอาทิตย 3(3-0-6) Solar Energy ธรรมชาติของการแผรงั สีอาทิตย การวัดปริมาณรังสีอาทิตยและ วิเคราะหขอมูลรังสีอาทิตยการสงผานและดูดกลืนของสื่อตางๆ การเลือก ผิววัสดุทจี่ ะใชในการรับรังสี ทฤษฎีของตัวรับรังสีอาทิตย แบบแผนแบนและ แบบรวมแสง สมการของฮอตเทล-วิลเลอร Nature of solar radiation, measurement and interpretation of local solar radiation data, transmission through and absorption by partially transparent media, selective surfaces, teories of flat plate collectors and focusing collectors, Hottel-Whillier’s equation
174
คู มื อ ห ลั ก สู ต ร
ระดับบัณฑิตศึกษา 2559
0300 918 ระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอร 3(3-0-6) Computer-Controlled System การควบคุมดวยคอมพิวเตอร การชักตัวอยางของสัญญาณ เวลาตอเนื่อง ระบบเวลาไมตอเนื่อง แบบจําลองการควบคุม การวิเคราะห ระบบเวลาไมตอเนื่อง แบบจําลองของสัญญาณรบกวน วิธีการแปลงระบบ แอนะล็อกเปนระบบดิจิทัล การออกแบบโดยวิธีปริภูมิสถานะ การออกแบบ โดยวิธีการวางตําแหนงโพล การออกแบบที่เหมาะสม การระบุ การควบคุม แบบอะแด็พทิป ทําใหเกิดผลของตัวควบคุมดิจิทัล Computer control, sampling of continuous-time signals, discrete-time systems, process-oriented models, analysis of discrete-time system, disturbance models, methods of converting an analog system to a digital system, state-space design methods, pole-placement design, optimal design, identification, adaptive control, implementation of digital controllers 0300 919 การออกแบบระบบเมคาทรอนิกส 3(3-0-6) Mechatronics System Design การออกแบบระบบเมคาทรอนิกส แบบจําลองและการจําลอง สถานการณระบบกายภาพ เครือ่ งรับรูแ ละตัวแปรเปลีย่ น กลอุปกรณควบคุม สวนสุดทาย สวนประกอบอุปกรณสว นประกอบสําหรับระบบเมคาทรอนิกส สัญญาณ ระบบ การควบคุม การใชงานขั้นสูงของระบบเมคาทรอนิกส กรณี ศึกษา Mechatronic system design, modeling and simulation of physical systems, sensors and transducers, actuation devices, hardware components for mechatronics; signals; systems; controls, advanced application in mechatronics, case studies 0300 920 การประมวลสัญญาณดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Signal Processing สัญญาณเวลาไมตอเนื่องและระบบ การชักตัวอยางสัญญาณ เวลาตอเนื่อง การแปลงซี การวิเคราะหการแปลงของระบบเชิงเสนและไม เปลีย่ นแปลงตามเวลา โครงสรางของระบบเวลาไมตอ เนือ่ ง เทคนิคออกแบบ วงจรกรองแบบผลตอบสนองอิมพัลสอนันตและแบบผลตอบสนองอิมพัลส จํากัด การแปลงฟูเรียรไมตอเนื่อง การแปลงฟูเรียรแบบรวดเร็ว Discrete-time signals and systems, sampling of continuous time signal, Fourier transform of discrete-time signal and z transform, the discrete Fourier transform and digital filter structures, infinite impulse response filter design techniques and finite impulse response filter design techniques, finite precision effects, discrete Hilbert transforms and inverse filtering, cepstrum analysis and homomorphic deconvolution
0300 921 อิเล็กทรอนิกสกําลัง และการขับ 3(3-0-6) Power Electronics and Drives ลั ก ษณะของอุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส กํ า ลั ง ต า งๆ ไดโอด กําลัง เอสซีอาร ทรานซิสเตอร สองหัวตอกําลัง มอสเฟทกําลัง ไอจีบีที ลักษณะของสารแมเหล็กและแกนแมเหล็กบางชนิด แกนหมอแปลงกําลัง แกนเฟอไรต แกนผงเหล็กอัด เครื่องแปลงผัน เครื่องแปลงผันกระแสสลับ เปนกระแสตรง เครื่องผกผัน เครื่องแปลงผัน ไซโคล เครื่องเปลี่ยนความถี่ การขับมอเตอรดวยสถานะของแข็ง การควบคุมมอเตอรกระแสตรง การ ควบคุมมอเตอรเหนี่ยวนํา การควบคุมมอเตอรประสานเวลา Characteristics of power electronics devices, power diode, SCR, GTO, power bipolar, power MOSFET, IGBT, characteristics of magnetic material, power transformer core, ferrite core, iron power core, converters, ac to dc converter, dc to dc converter, cycloconverter, inverter, dc to ac converter, frequency changer, solid state motor drive, direct current motor control, induction motor control, synchronous motor control 0300 922 เซนเซอรและระบบสงจายกําลัง 3(3-0-6) Sensor and Power Transmission Systems เซนเซอร และทรานสดิวสเซอรแบบตางๆในทางวัด ทางกล และ ทางไฟฟา คุณสมบัติของเซนเซอรแบบตางๆ การสงขอมูลระหวางเซนเซอร กับคอนโทรลเลอร เซอรโวมอเตอรแบบกระแสตรงและแบบกระแสสลับ สเตปมอเตอร ตัวกระตุนแบบไฮดรอลิกและนิวเมติก Sensor and transducer in measurement, mechanical and electrical aspects, characteristics of various sensors, data transmission between sensor and controller, DC and AC servomotor stepper motor, hydraulic and pneumatic actuators 0300 924 ไมโครโพรเซสเซอรและระบบฝงตัว 3(3-0-6) Microprocessor and Embedded System สถาปตยกรรมไมโครโพรเซสเซอร แบบชนิดขอมูล แบบ วิธีการกําหนดตําแหนงที่อยู คําสั่งตางๆ โครงสรางเรจิสเตอรแบบตางๆ การขั ด จั ง หวะ การบริ ห ารหน ว ยความจํ า การเชื่ อ มโยงกั บ อุ ป กรณ รอบนอก การสื่อสารขอมูลและเครือขาย โพรเซสเซอรรวมมัลติโปรแกรม มิงและการทํางานแบบพหุคูณ การประยุกตของโพรเซสเซอร การออกแบบ ไมโครคอมพิวเตอรเบื้องตน การใชงานไมโครคอนโทรลเลอร การเขียน โปรแกรมระบบฝงตัว Microprocessor architecture, data types, addressing modes, instructions, register organization, interrupts, memory management, interfacing the peripherals, data communication and networks, coprocessor, multiprogramming and multitasking, microprocessor applications, introduction to microcomputer design, application of micro-controller, embedded system programming
0300 943 วงจรแปลงผันโดยใชวิธีการสวิตชกําลัง 3(3-0-6) Power Switching Converters วงจรแปลงผันไฟตรง-ไฟตรง โดยใชวิธีการสวิตชแบบตางๆ และคุณสมบัติของวงจร การทํางานของ วงจรแบบกระแสตอเนื่อง และ แบบกระแสไมตอเนื่อง วงจรแบบที่ไมมีและมีการแยกจากกันทางไฟฟา วงจรแปลงผันไฟตรง-ไฟตรงที่ใชวิธีการเรโซแนนซ เชน สวิตชเรโซแนนท โหลดเรโซแนนท และตัวอยางการวิเคราะห แบบจําลองทางคณิตศาสตร และการวิเคราะหฟงกชันการโอนยายของวงจร การออกแบบวงจรควบคุม การประยุกตใชวงจรแปลงผันไฟตรง-ไฟตรง สําหรับใชเปนแหลงจายแรง ดันแบบสวิตชิ่ง หัวขอตางๆที่เกี่ยวของ เชน การออกแบบหมอแปลงแรง ดันความถี่สูง อุปกรณสารกึ่งตัวนํากําลัง การออกแบบวงจรกรองสัญญาณ รบกวนทางดานขาเขาของวงจร Switch-mode dc-dc converter topologies; buck, boost, buck-boost, CUK, SEPIC, dual SEPIC and their characteristics, mode of operation: continuous inductor current mode and discontinuous inductor current mode, converter design and circuit modeling. dc-dc converter with electrical isolation topologies, applications of switch-mode converters in switching power supply circuits, principle of switching power supply design and various related topics such as high frequency transformer, semiconductor devices, input line-filter, EMI, etc. resonant converters such as resonant-switch converter, load-resonant converter and their applications 0300 946 การออกแบบระบบควบคุมชนิดคงทน 3(3-0-6) Robust Control System Designs การวิเคราะหเสถียรภาพชนิดคงทน การวิเคราะหและการ เพิ่มสมรรถนะคงทน สเปส ของ และ การควบคุมชนิด LQG ปญหาของ ตัวควบคุม การลดแบบจําลองการสังเคราะหตัวควบคุม Robust stability analysis, robust performance analysis and enhancement, space and LQG control, regulator problem, model reduction, controller synthesis 0300 947 ระบบควบคุมสโตคาสติกออพติมัล 3(3-0-6) Stochastic Optimal Control Systems คณิตศาสตรสําหรับการควบคุมและการประมาณคา เงื่อนไขที่ จําเปนและพอเพียงสําหรับออพติมลั ลิตี การประมาณคาสเตตชนิดออพติมลั ตัวกรองคาลมานและตัวคาดคะเนออพติมลั ระบบทีม่ อี นิ พุตเปนแบบสุม และ การวัดที่ไมสมบูรณ ความคงทนของตัวควบคุมชนิดสโตคาสติกออพติมัล Mathematics of control and estimation, necessary and sufficient conditions for optimality, optimal state estimation, Kalman filter and optimal predictor, systems with random inputs and imperfect measurements, robustness of stochastic-optimal regulators คู มื อ ห ลั ก สู ต ร
ระดับบัณฑิตศึกษา 2559
175
0300 948 การประยุกตใชระบบอัจฉริยะในวิศวกรรมควบคุม 3(3-0-6) Intelligent System Applications in Control Engineering การประยุกตปญญาประดิษฐในวิศวกรรมควบคุม การสราง และการออกแบบระบบควบคุม ระบบชาญเชีย่ วชาญ โครงขายประสาทเทียม การคํานวณเชิงวิวัฒนาการและการประยุกตในระบบควบคุม Applications of artificial intelligence in control engineering; control system design and implementation, expert systems; neural network, fuzzy logic, and its applications in control systems 0300 949 วิธีการคํานวณเชิงตัวเลขสําหรับสนามแมเหล็กไฟฟา 3(3-0-6) Numerical Techniques in Electromagnetic สมการของแมกซเวล การวิเคราะหปญหาคาขอบของสนาม แมเหล็กไฟฟาดวยวิธีไฟไนทอิเลเมนต และไฟไนทดิฟเฟอเรนซ วิธีการ โมเมนต การประยุกตใชสําหรับอุปกรณไมโครเวฟ อุปกรณมิลิมิเตอรเวฟ และอุปกรณทางแสง Maxwell’s equations, finite element and finite difference analysis of electromagnetic boundary value problems, method of moment, applications for microwave, millimeter wave and optic devices 0300 950 การออกแบบวงจรออสซิลเลตและขยาย 3(3-0-6) สัญญาณความถี่สูง High Frequency Amplifier and Oscillator Design ทฤษฎีสายนําสัญญาณ แผนภาพของสมิธและเทคนิคการแมต ชิงดวยอุปกรณแบบลัมพและ สตับ พารามิเตอรของทรานซิสเตอรที่ความถี่ สูง ความเสถียรและความไมเสถียร การออกแบบวงจร ออสซิลเลตและวงจร ขยายสัญญาณโดยใชสแกตเตอริงพารามิเตอร การออปติไมซคณ ุ สมบัตขิ อง วงจร- ออสซิลเลตและวงจรขยายสัญญาณ Transmission line theory, Smith chart and matching techniques with lump elements and stubs, transistor parameters at high frequency, stability and instability, amplifier and oscillator design using scattering parameters, optimizations for amplifier and oscillator characteristics 0300 951 การออกแบบวงจรและระบบไมโครเวฟ 3(3-0-6) Microwave Circuit and System Design สารกึง่ ตัวนําไมโครเวฟ ไดแก BJT MESFET MOSFET Gunn และไดโอดไมโครเวฟ การประยุกตใชในวงจรขยายสัญญาณ วงจรออสซิล เลต วงจรมอดูเลต และวงจรผสมสัญญาณ พิจารณาการออกแบบระบบ ไมโครเวฟ กระบวนการและการออกแบบการเชื่อมตอไมโครเวฟ Microwave semiconductors: BJT, MESFET, MOSFET, Gunn and microwave diodes, applications for microwave amplifier, oscillator, modulator and mixer circuits, microwave system design considerations, microwave link design parameters and procedures
176
คู มื อ ห ลั ก สู ต ร
ระดับบัณฑิตศึกษา 2559
0300 953 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร 3(3-0-6) ขั้นสูง Advanced Selected Topic in Electrical and Computer Engineering หัวขอวิจัยดานวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอรขั้นสูงภายใต การดูแลของอาจารยที่ปรึกษา Topic of advanced electrical and computer engineering under supervision of teaching staff 0300 954 การศึกษาปญหาพิเศษทางวิศวกรรมไฟฟา 3(3-0-6) และคอมพิวเตอรขั้นสูง Advanced Special Study in Electrical and Computer Engineering การวิจยั ดานวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอรขนั้ สูง ภายใตการ ดูแลของอาจารยที่ปรึกษา Short advanced electrical and computer engineering research under supervision of teaching staff 0300 964 การวิเคราะหและออกแบบขั้นตอนวิธีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Algorithm Analysis and Design กระบวนการแกปญหาขั้นสูง และทบทวนโครงสรางขอมูล ภาษาขั้นตอน วิธีการออกแบบขั้นตอนวิธี ลักษณะการวิเคราะหขั้นตอนวิธี ขั้นสูง และความงายและความเหมาะสมที่สุด เทคนิคการออกแบบขั้นตอน วิธี เทคนิคการลําดับและคนหาขอมูล ขั้นตอนวิธีแบบสุม Advanced Problem solving processes and data structures review, algorithmic languages, advanced design of algorithms using examples from a variety of computer application areas and optimality, algorithm design techniques, sorting and searching techniques, randomized algorithm 0300 965 การประมวลผลและคอมพิวเตอรวิทัศน 3(3-0-6) Image Processing and Computer Vision การประมวลผลสัญญาณภาพ การปรุงแตงภาพ การแปลงภาพ และการแบงยอยภาพ การแบงยอยความหยาบละเอียด ความสามารถในการ มองเห็น การรูจํา การแทนวัตถุ การอธิบายวัตถุ 2 มิติ และวัตถุ 3 มิติ การ วิเคราะหรูปรางภาพ การอธิบายและการตีความภาพ Signal and image visual, image enhancement, image transformation and segmentation, texture segmentation, visual perception, pattern recognition, object representation, description of two-dimensional and three-dimensional objects, shape analysis, scene description and scene interpretation
0300 966 เหมืองขอมูลขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Data Mining ขัน้ ตอนวิธที เี่ กีย่ วกับเหมืองขอมูลขัน้ สูง การหาสารสนเทศ จาก ขอมูลขนาดใหญ โดยการใชเทคนิคตางๆ ไดแก การรูจ าํ แบบแผน ความรูท าง สถิติ การวิเคราะหขอมูลและการเรียนรูของเครื่องกล กระบวนการนําเสนอ แบบอัตโนมัตขิ อง แมแบบ กฎ และฟงกชนั จากฐานขอมูลทีซ่ บั ซอน เพือ่ ชวย ในการตัดสินใจทางธุรกิจ กลยุทธในการลดทอนขอมูล เชน การลดมิติและ การบีบอัดขอมูล โครงรางแนวคิดของเหมืองขอมูล การประยุกตใชงานของ เหมืองขอมูล Advanced data mining, extraction of information from large data by using several techniques such as pattern recognition, statistics, data analysis and machine learning, process of automated presentation of patterns, rules, and functions from complex database to make business decisions, data reduction strategies such as dimension reduction, and compression, conceptual framework of data mining, data mining applications 0300 967 การประมวลผลแบบขนานขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Parallel Processing การประมวลผลแบบขนานขั้นสูง การจัดระเบียบคอมพิวเตอร สําหรับการคํานวณแบบขนาน การสื่อสารและเครือขายคอมพิวเตอร ระบบ ปฏิบตั กิ ารสําหรับการคํานวณแบบขนาน ระบบ ฐานขอมูลแบบกระจาย ภาษา โปรแกรมแบบขนาน Advanced parallel processing, computer organization for parallel computing; communications and computer networks, operating systems for parallel computing, distributed database systems, parallel programming languages 0300 968 การประมวลผลภาพขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Image Processing ระบบการประมวลผลภาพ การเห็นภาพและแบบจําลองทาง คณิตศาสตรของภาพ การสุม และการใหคา เชิงตัวเลข การประมวลสัญญาณ และการแปลงฟูเรียรใน 2 มิติ การเขารหัสภาพ การทําใหภาพดีขึ้น การสราง ภาพจากภาพที่ไมสมบูรณและการแยกภาพเปนสวนๆ Digital image, visual perception, image model sampling and quantization, image transformation, fast transformation in one dimension and two dimensions, convolution and correlation image enhancement, histogram equalization, smoothing, homomorphic image model, Pseudo-color image processing 0300 970 เทคนิคการอินเตอรเฟสไมโครโปรเซสเซอร 3(3-0-6) Microprocessor Interfacing Techniques ไมโครคอนโทรลเลอร ตระกูลเอ็มซีเอส 51 ภาษาแอสเซมบลี เอ็มซีเอส 51 ตัวอยางภาษาแอสเซมบลีและขอเสนอแนะ การเขียนโปรแกรม รีจิสเตอรฟงกชันแบบพิเศษ การออกแบบฮารดแวรพื้นฐานเอ็มซีเอส 51
สมาชิกสวนขยายของตระกูลเอ็มซีเอส 51 ปจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลตอการออกแบบ ผลิตภัณฑ ไมโครคอนโทรลเลอรชนิดอื่นๆ การประยุกตใชงานเครื่องรับรู Microcontrollers MCS-51 family, MCS-51 assembly language, assembly language examples and suggestions, programming of special function registers, MCS-51 basic hardware design, enhanced members of MCS-51 family, factors influencing product design, other microcontrollers, sensor applications 0307 815 เทคนิคการหาคาที่เหมาะสมที่สุด 3(3-0-6) Optimization Techniques ทฤษฎี ก ารหาค า เหมาะสมที่ สุ ด ระเบี ย บวิ ธี แ บบฮิ ว รี ส ติ ก เมตาฮิวริสติกแบบตางๆ วิธีการเลียนแบบอบออนจําลอง วิธีการคนหาแบบ ตาบู จีเนติกอัลกอริทมึ การหาคาเหมาะทีส่ ดุ ดวยคอโลนีมด การหาคาเหมาะ ทีส่ ดุ ดวยการเลือ่ นทีข่ องกลุม อนุภาค การหาคาเหมาะทีส่ ดุ แบบวิธฝี งู ผึง้ การ หาคําตอบที่เหมาะสมที่สุดแบบนกกาเหวา และการประยุกตใชงาน Optimization theory, Heuristic methods, Meta heuristic methods, Simulated annealing, Tabu search, Genetic algorithm, Ant colony optimization, Particle swarm optimization, Bee colony optimization, Cuckoo search, and Application 0307 818 การปรับปรุงคุณภาพกําลังในระบบไฟฟาขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Power Quality Improvement in Electrical Systems คํ า จํ า กั ด ความและมาตรฐานของคุ ณ ภาพกํ า ลั ง ไฟฟ า อิเล็กทรอนิกสกําลังสําหรับการปรับปรุงคุณภาพกําลังไฟฟา การจําลอง คอมพิวเตอรของระบบกําลังไฟฟา ตัวกรองกําลังแบบแอคทีฟและพาสซีฟ การประยุกตใชทฤษฎีควบคุมในการปรับปรุงคุณภาพกําลังไฟฟา Definition and standards of electrical power quality, power electronics for electrical power quality improvement, computer simulation of electrical power systems, active and passive power filter, application of control theory to improve electrical power quality 0307 819 การสรางแบบจําลองและการจําลองวงจร 3(3-0-6) อิเล็กทรอนิกส Electronic Circuit Modeling and Simulation โปรแกรม SPICE การกําหนดอุปกรณพื้นฐาน การวิเคราะห ไฟฟากระแสตรง การวิเคราะหไฟฟากระแสสลับ การวิเคราะหสภาวะ ชัว่ ครู การจําลองอุปกรณ R L C แบบจําลองไดโอด แบบจําลองทรานซิสเตอร ชนิดไบโพลาร แบบจําลองทรานซิสเตอร MOSFET วงจรยอย แบบจําลอง พฤติกรรมแอนะล็อก การวิเคราะหแบบมอนติคารโล การวิเคราะหสภาวะ วิกฤต อนุกรมฟูเรียร ความผิดเพี้ยนฮารมอนิกส การวิเคราะหวงจรรวม แอนะล็อก
คู มื อ ห ลั ก สู ต ร
ระดับบัณฑิตศึกษา 2559
177
SPICE program, element statements, DC Analysis, AC Analysis, transient analysis, R L C models, diode models, bipolar junction transistor models, MOSFET models, sub-circuit, analog behavioral model, Monte Carlo analysis, worst-case analysis, Fourier series, harmonic distortion, analog integrated analysis 0307 820 ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Numerical Methods ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข ผลเฉลยของสมการหนึ่งตัวแปรแบบไม เชิงเสน ผลเฉลยเชิงตัวเลขของระบบสมการเชิงเสน การประมาณคาในชวง โดยพหุนาม ฟงกชันเสมือนพหุนาม เสนโคงกระชับแบบกําลังสองนอยที่สุด การหาคาอนุพันธเชิงตัวเลข การหาคาอินทิกรัลเชิงตัวเลขและผลเฉลยเชิง ตัวเลขของสมการเชิงอนุพันธ Numerical method, solutions of nonlinear equation, solutions of linear algebraic equation; interpolation, spline function, least-square fitting, numerical differentiation, numerical integration, and numerical of ordinary differential equation หมวดวิชาวิทยานิพนธ 0307 809 วิทยานิพนธ 48 หนวยกิต Thesis การวิจยั อิสระในการแกปญ หาหรือสรางองคความรูใ หมทเี่ กีย่ ว กับวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร ภายใตการแนะนําของคณะกรรมการ ควบคุมวิทยานิพนธ และตองเสนอความกาวหนาทุกภาคการศึกษาที่ลง ทะเบียนวิทยานิพนธ Conducting an individual research project in resolving problems or in building a new body of knowledge in the field of Applied Electrical and Computer engineering under a supervision of the thesis advisory committee, The student has to present his/ her research progress in each semester of his/her thesis enrollment 0307 810 วิทยานิพนธ 72 หนวยกิต Thesis นิสิตจะตองทํางานวิจัยอิสระในการแกปญหาหรือสรางองค ความรูใหมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร ภายใตการแนะนํา ของคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ และตองเสนอความกาวหนาทุกภาค การศึกษาที่ลงทะเบียนวิทยานิพนธ Conducting an individual research project in resolving problems or in building a new body of knowledge in the field of Applied Electrical and Computer engineering under a supervision of the thesis advisory committee, The student has to present his/ her research progress in each semester of his/her thesis enrollment
178
คู มื อ ห ลั ก สู ต ร
ระดับบัณฑิตศึกษา 2559
0307 811 วิทยานิพนธ 36 หนวยกิต Thesis การวิจยั อิสระเพือ่ สรางองคความรูใ หมในสาขาวิศวกรรมไฟฟา และคอมพิวเตอร ภายใตการแนะนําของคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ และตองรายงานความกาวหนาการทําวิจยั ตอคณะกรรมการประเมินทุกภาค การศึกษา Conducting an individual research project for generating a new body of knowledge in the field of applied electrical and computer engineering under a close supervision of the thesis advisory committee, the student has to present the research progress to an examination committee in each semester