ปริญญาโท สาขาวิชาความหลากหลายทางชีวภาพ

Page 1

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)

สาขาวิชาความหลากหลายทางชีวภาพ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

: หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความหลากหลายทางชีวภาพ : Master of Science Program in Biodiversity

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) (ชื่อยอ) ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) (ชื่อยอ)

: : : :

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ความหลากหลายทางชีวภาพ) วท.ม. (ความหลากหลายทางชีวภาพ) Master of Science (Biodiversity) M.Sc. (Biodiversity)

โครงสรางหลักสูตร หนวยกิต แผน ก

หมวดวิชา 1. หมวดวิชาบังคับ 2. หมวดวิชาเลือก 3. หมวดวิชาประสบการณการวิจัย วิทยานิพนธ รวมหนวยกิต

แบบ ก1 9* 36

แบบ ก2 12 ไมนอยกวา 13** 15

ไมนอยกวา 36

ไมนอยกวา 40

* ใหเรียนรายวิชาวิทยาระเบียบวิธีวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สถิติประยุกตสําหรับการวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สัมมนาดานความ หลากหลายทางชีวภาพ และภูมิปญญาทองถิ่นดานความหลากหลายทางชีวภาพ โดยไมนับหนวยกิต ** สามารถเรียนหมวดวิชาเลือกเพิ่มเติมไดขึ้นอยูกับดุลยพินิจของอาจารยที่ปรึกษา

คู มื อ ห ลั ก สู ต ร

ระดับบัณฑิตศึกษา 2559

833


รายวิชา

(1) หมวดวิชาบังคับ แผน ก แบบ ก1 กําหนดใหเรียนรายวิชาตอไปนี้ โดยไมนับ หนวยกิต และตองไดผลการประเมินระดับขั้น S (Satisfactory) 1605 602 วิทยาระเบียบวิธีวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ 3(2-2-5) Research Methodology in Biodiversity 1605 605 สถิติประยุกตสําหรับการวิจัยความหลากหลาย 3(2-2-5) ทางชีวภาพ Applied Statistics for Biodiversity Research 1605 631 สัมมนาดานความหลากหลายทางชีวภาพ 1(0-2-1) Seminar in Topics of Biodiversity 1605 632 ภูมิปญญาทองถิ่นดานความหลากหลายทางชีวภาพ 2(1-2-3) Local Wisdom in Biodiversity 1605 601

1605 602 1605 605 1605 631 1605 632

แผน ก แบบ ก2 กําหนดใหเรียนจํานวน 12 หนวยกิต ดังนี้ ความหลากหลายทางชีวภาพของโลกและการอนุรักษ 3(3-0-6) Global Biodiversity and Conservation วิทยาระเบียบวิธีวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ 3(2-2-5) Research Methodology in Biodiversity สถิติประยุกตสําหรับการวิจัยความหลากหลาย 3(2-2-5) ทางชีวภาพ Applied Statistics for Biodiversity Research สัมมนาดานความหลากหลายทางชีวภาพ 1(0-2-1) Seminar in Topics of Biodiversity ภูมิปญญาทองถิ่นดานความหลากหลายทางชีวภาพ 2(1-2-3) Local Wisdom in Biodiversity

(2) หมวดวิชาเลือก แผน ก แบบ ก2 กําหนดใหเรียนไมนอยกวา 13 หนวยกิต รายวิชาเลือกมีดังตอไปนี้ กลุมรายวิชาพื้นฐานทางดานความหลากหลายทางชีวภาพ 1605 606 ชีวสนเทศศาสตร 3(2-2-5) Bioinformatics 1605 608 หลักเกณฑทางชีวเคมีของการตรวจสอบฤทธิ์ 2(2-0-4) ทางชีวภาพ Biochemical Aspects of Bioassay 1605 609 เทคนิควิเคราะหในการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า 3(2-2-5) Analytical Techniques in Aquaculture 1605 615 เทคนิคทางโมเลกุลสําหรับศึกษาพันธุศาสตร 3(2-2-5) ของประชากร Molecular Techniques for Genetic Studies of Populations 1605 616 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาโครงราง 2(1-2-3) วิทยานิพนธ Thesis Proposal Development Workshop

834

คู มื อ ห ลั ก สู ต ร

ระดับบัณฑิตศึกษา 2559

1605 621 เอนไซมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 3(3-0-6) Enzyme and DNA Technology 1605 622 ชีววิทยาระดับโมเลกุลของระบบภายใตสภาวะ 2(1-2-3) กดดันของสิ่งแวดลอม Molecular Biology of Systems under Environmental Stress 1605 627 ความหลากหลายทางชีวภาพของไหมปา 2(2-0-4) Biodiversity of Bombyx Silk 1605 628 ความหลากหลายทางชีวภาพและการทํางาน 2(2-0-4) ในระบบนิเวศ Biodiversity and Ecosystem Functions 1605 633 การจําแนกประเภทสิ่งมีชีวิตอยางเปนระบบ 3(2-2-5) Systematic Classification of Organism 1605 638 ความหลากหลายทางพันธุกรรมและวิวัฒนาการ 2(2-0-4) ของจุลินทรียและปรสิต Genetic Diversity and Evolution of Microorganisms and Parasites 1605 639 พันธุศาสตรปาไม 3(2-2-5) Forest Genetic 1605 643 อนุกรมวิธานพืชสมุนไพร 3(2-2-5) Taxonomy of Medicinal Plants 1605 644 พฤกษศาสตรพื้นบาน 3(2-2-5) Ethnobotany 1605 645 เรณูวิทยา 3(2-2-5) Palynology กลุมรายวิชาประยุกตทางดานความหลากหลายทางชีวภาพ 1605 607 ความหลากหลายทางชีวภาพและผลิตภัณฑธรรมชาติ 3(2-2-5) Biodiversity and Natural Products 1605 610 ทรัพยากรพันธุกรรมและการจัดการ 2(2-0-4) Genetic Resources and Management 1605 611 การจัดการประมงในบอเลี้ยงและในแหลงนํ้า 2(2-0-4) ธรรมชาติ Natural Reservoirs and Inland Fisheries Management 1605 612 การจัดการระบบนิเวศพื้นที่ชุมนํ้า 2(2-0-4) Wetland Ecosystem Management 1605 613 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อการวางแผน 3(2-2-5) และการจัดการพื้นที่ชุมนํ้า Geographic Information System for Wetland Planning and Management 1605 614 ความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากร 2(2-0-4) ในระบบนิเวศ Genetic Diversity of Populations in Ecosystems 1605 617 ทรัพยากรทางนํ้าและการประเมินสิ่งแวดลอม 2(2-0-4) Aquatic Resources and Environmental Assessment


1605 618 พันธุศาสตรประยุกตสําหรับการวิจัยปลา 1(1-0-2) Applied Genetics on Fish Research 1605 620 การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าและระบบของทรัพยากรทางนํ้า 2(2-0-4) Aquaculture and Aquatic Resource Systems 1605 625 ระบบสารสนเทศขอมูลเชิงพื้นที่ในการจัดการ 3(2-2-5) ทรัพยากรธรรมชาติ Spatial Information Systems in Natural Resources Management 1605 629 หลักการทางนิเวศวิทยาเพื่อการจัดการ 3(3-0-6) ทรัพยากรธรรมชาติ Ecological Principles for Natural Resources Management 1605 630 การอนุรักษพันธุกรรมพืชโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 3(2-2-5) Plant Genetic Conservation through Tissue Culture 1605 634 วิทยาระเบียบวิธีแผนใหมในทางอนุกรมวิธานพืช 3(2-2-5) Modern Methodology in Plant Taxonomy 1605 635 เทคโนโลยีชีวภาพและผลิตภัณฑอุตสาหกรรมชีวภาพ 3(2-2-5) Biotechnology and Bio-based Industrial Products 1605 636 ชีววิทยาของกลวยไมทองถิ่น 3(2-2-5) Biology of Local Orchids 1605 641 พฤกษภูมิศาสตรขั้นสูง 2(1-2-3) Advanced Phytogeography 1605 642 พฤกษศาสตรประยุกต 3(2-2-5) Applied Botany 1605 646 เทคโนโลยีนิเวศ 3(2-2-5) Ecotechnology

(3) หมวดวิชาประสบการณการวิจัย แผน ก แบบ ก1 1605 696 วิทยานิพนธ Thesis แผน ก แบบ ก2 1605 697 วิทยานิพนธ Thesis

36 หนวยกิต

15 หนวยกิต

กลุมรายวิชาบูรณาการระหวางสาขาวิทยาศาสตรและสังคมศาสตร 1605 619 ความหลากหลายทางชีวภาพในแมนํ้าและการอนุรักษ 3(3-0-6) Riverine Biodiversity and Conservation 1605 623 แนวทางการจัดการทรัพยากรชีวภาพในเอเชีย 1(1-0-2) Biological Resources Management Issues in Asia 1605 624 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชน 3(2-2-5) Community-Based Natural Resources Management 1605 626 มูลคาในเชิงเศรษฐศาสตรของความหลากหลาย 3(3-0-6) ทางชีวภาพ Economic Values of Biodiversity 1605 637 ภูมิปญญาทองถิ่นในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 3(2-2-5) และสิ่งแวดลอมชุมชน Local Wisdom in Natural Resources and Community Environment Management 1605 640 นิเวศวิทยาของวัชพืช 3(2-2-5) Weed Ecology

คู มื อ ห ลั ก สู ต ร

ระดับบัณฑิตศึกษา 2559

835


คําอธิบายรายวิชาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความหลากหลายทางชีวภาพ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558)

หมวดวิชาบังคับ 1605 601 ความหลากหลายทางชีวภาพของโลกและการอนุรักษ 3(3-0-6) Global Biodiversity and Conservation ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ การอภิปรายระดับ โลกในประเด็น แนวคิดในการอนุรกั ษความหลากหลายทางชีวภาพ การวิจยั การประเมินความหลากหลายทางชีวภาพ ภาพรวมสถานการณ โครงการ และ การริเริ่มที่เกี่ยวของกับความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งในระดับโลกและ ระดับทองถิ่น แนวทางการวางแผน การอนุรักษและการจัดการความหลาก หลายทางชีวภาพทั้งใน และนอกพื้นที่อนุรักษ การนําสูขอตกลงรวมระหวาง ประเทศและกฎหมายที่เกี่ยวของกับความหลากหลายทางชีวภาพ Definition of biodiversity; global debate related to the concepts on biodiversity conservation, research on utilizations and assessment of biodiversity; overviews of status, programs and initiatives on biodiversity both at the global and local levels; guidelines on planning for conservation and management of biodiversity both within and outside protected areas; introduction of international agreements and measures related to Conservation of Biological Diversity (CBD) 1605 602 วิทยาระเบียบวิธีวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ 3(2-2-5) Research Methodology in Biodiversity ทฤษฎีและความหมายของวิธีวิทยา ระเบียบวิธีวิจัยโดยทั่วไป ดานความหลากหลายทางชีวภาพ ในระดับโมเลกุล ระดับชนิดพันธุ และระดับ ระบบนิเวศ ตัวอยางวิธีวิจัยดานความหลากหลายทางชีวภาพ การอนุรักษ ความหลากหลายทางชีวภาพและการจัดการ รวมถึงตัวอยางการวิจัยแบบ สหวิทยาการ และการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม การใชชุดวิเคราะห ทางสถิติในการวิจัยดานความหลากหลายทางชีวภาพ Theories and definitions of methodology; common research methods in biodiversity at genetic, species and ecosystem levels; examples of methods used in the research issues on biodiversity, biodiversity conservation and management including interdisciplinary research and participatory action research; uses of statistical packages in biodiversity research 1605 605 สถิติประยุกตสําหรับการวิจัยความหลากหลาย 3(2-2-5) ทางชีวภาพ Applied Statistics for Biodiversity Research เทคนิคการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณที่ไดจากการสํารวจหรือ สังเกต และจากการทดลองทางดานวิทยาศาสตรชีวภาพ เทคนิคตางๆ ทาง

836

คู มื อ ห ลั ก สู ต ร

ระดับบัณฑิตศึกษา 2559

สถิติสําหรับการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการ วางแผนการทดลองหรือการ สังเกต การประยุกตใชโปรแกรมสําเร็จรูปดานสถิติสําหรับวิเคราะหขอมูล Quantitative techniques for analyses of data derived from field observations (surveys) and experiments in biological sciences; application of statistical packages for analysis of data 1605 631 สัมมนาดานความหลากหลายทางชีวภาพ 1(0-2-1) Seminar in Topics of Biodiversity การสัมมนาทางวิชาการที่เกี่ยวของกับงานวิจัยดานความหลาก หลายทางชีวภาพที่เปนหัวขอปจจุบัน ทันสมัยและเปนที่สนใจโดยผูเรียน และผูทรงคุณวุฒิ Academic seminar presented by students and guest speakers on contemporary and interesting topics and modern issues in biodiversity research 1605 632 ภูมิปญญาทองถิ่นดานความหลากหลายทางชีวภาพ 2(1-2-3) Local Wisdom in Biodiversity ความหลากหลายทางชีวภาพกับภูมิปญญาทองถิ่นในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ การเกี่ยวโยงภูมิปญญาทองถิ่นในดานวิทยาศาสตร และสังคมศาสตร การศึกษาดูงานนอกสถานที่ การคนควาเอกสาร วิจารณ และนําเสนอหัวขอภูมิปญญาทองถิ่นดานความหลากหลายทางชีวภาพ ที่ นาสนใจ Biodiversity and local wisdom in North-East Thailand, relevance of local wisdom with sciences and social sciences, field studies, searching literatures, scrutinizing and presenting interesting topics of local wisdom in biodiversity หมวดวิชาเลือก 1605 606 ชีวสนเทศศาสตร 3(2-2-5) Bioinformatics การใชเครื่องคอมพิวเตอรในการสืบคนขอมูลทางชีววิทยาจาก ระบบฐานขอมูลการจัดเก็บ การวิเคราะหขอ มูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูปตางๆ ดวยคอมพิวเตอร Use of computer-based system to retrieve, collect, store, display, manipulate, and analyze biological data


1605 607 ความหลากหลายทางชีวภาพและผลิตภัณฑธรรมชาติ 3(2-2-5) Biodiversity and Natural Products ผลิ ต ภั ณ ฑ ธ รรมชาติ ที่ เ ป น สารต า งๆ ได แ ก โพลี คี ไ ทด อัลคาลอยด ซิกิเมท เทอรปนอยด สเตียรอยด และยาปฏิชีวนะที่ไดจาก แหลงตางๆ การผลิตสารโดยใชเทคโนโลยีชีวภาพ ชีวสังเคราะห โครงสราง และคุณสมบัติทางเคมี ชีวภาพและกายภาพของสาร การใชประโยชนของ สารในทางยาและอาหาร Natural products of polyketides, alkaliods, shikimates, terpenoids, steroids, and antibiotic with an emphasis on their resources, biological production, biosynthesis and their properties and its benefit in foods and medical industries 1605 608 หลักเกณฑทางชีวเคมีของการตรวจสอบฤทธิ์ 2(2-0-4) ทางชีวภาพ Biochemical Aspects of Bioassay หลักเกณฑพื้นฐานของชีวสังเคราะห การเปรียบเทียบการ ตรวจวิเคราะหในหลอดทดลองกับการตรวจวิเคราะหในสัตวทดลอง การ ประเมินผลทางชีวภาพของฤทธิย์ า วิธกี ารทางสถิติ ทีใ่ ชในการตรวจวิเคราะห ชีวสังเคราะห การประยุกตใชโมโนโคลนอลแอนติบอดีในชีวสังเคราะห วิธีการคัดเลือกสารมีฤทธิ์ตานแบคทีเรีย ตานราและตานไวรัส การทดลอง วิเคราะหหาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารตางๆ Fundamental aspects of bioassay; comparison between in vitro assays and animal testing; biological assessment of drug action; statistical methods in biological assays; application of monoclonal antibodies in bioassay; screening methods for anti-microbial assays and assays for other biological activities 1605 609 เทคนิควิเคราะหสําหรับการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า 3(2-2-5) Analytical Techniques in Aquaculture ขอบเขต เหตุผล ความจําเปน และการตรวจวัดคุณลักษณะทาง กายภาพ เคมีและ ชีวภาพทีเ่ กีย่ วพันกันในระบบการเพาะเลีย้ งสัตวนาํ้ เทคนิค การวัดคุณลักษณะของนํา้ และภูมอิ ากาศ การสุม เก็บตัวอยางนํา้ ดิน ปลา และ อาหารตามธรรมชาติ การวัดผลผลิตมวลรวมทางชีวภาพ เชิงปริมาณ การ วิเคราะหคุณภาพดินและนํ้า วิธีวิเคราะหทางโภชนาการในหองปฏิบัติการ Rationale and scope for measurements of relevant physical, chemical and biological properties in aquaculture systems; techniques for measuring hydrological and meteorological features; field methods for sampling water, soil, fish, and natural foods; quantitative determination of biological productivity; analyses of water quality and soil; laboratory methods for nutritional studies

1605 610 ทรัพยากรพันธุกรรมและการจัดการ 2(2-0-4) Genetic Resources and Management หลักการถายทอดทางพันธุกรรมระดับโมเลกุล และการผันแปร ธรรมชาติและคุณคาของความหลากหลายทางพันธุกรรมในพืช สัตวและ จุลินทรีย เทคนิคตางๆ สําหรับวินิจฉัยตรวจวัดความหลากหลายทาง พันธุกรรม หลักการปรับปรุงพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต Molecular basis of heredity and variation; the nature and value of genetic diversity in plants, animals and microorganisms; techniques for characterizing genetic diversity; genetic improvement strategies 1605 611 การจัดการประมงในบอเลี้ยงและในแหลงนํ้า 2(2-0-4) ธรรมชาติ Natural Reservoirs and Inland Fisheries Management หลักการและประเด็นการจัดการที่นําไปใชเปนขอเสนอแนะ การประเมินผลทาง ชีวภาพ นโยบายและแผนพัฒนาการจัดการประมง การจัดการประมงที่ถูกตองตามกฎหมาย บทบาทของผูมีสวนไดเสีย ความ สัมพันธในเชิงเศรษฐกิจการเพาะเลี้ยงปลา และการวางระเบียบในเชิง เศรษฐกิจอยางมีประสิทธิภาพ การติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวัง บทบาท หนาที่ของฝายบริหารของรัฐ Management issues and concepts that can exert formulating management advices; the biological assessment; policy and plan development for fisheries management; management of legal issues; stakeholder roles; the economic relationships in the fishery and efficiency of those economic arrangements; monitoring, control and surveillance over government administration functions 1605 612 การจัดการระบบนิเวศพื้นที่ชุมนํ้า 2(2-0-4) Wetland Ecosystem Management ความหมายและประเภทของพื้นที่ชุมนํ้า ความสําคัญของพื้นที่ ชุมนํ้าในเขตรอน สาเหตุและผลกระทบจากการลดคุณภาพพื้นที่ชุมนํ้า การ ดําเนินการอนุรักษพ้นื ที่ชุมนํ้า ในระดับนานาชาติและระดับชาติ การมีสวน รวมของผูมีสวนไดเสีย การจัดการพื้นที่ชุมนํ้าแบบยั่งยืน Definition and types of wetland; importance of tropical wetlands; causes to and impacts on wetland degradation; international and national implementations on wetland conservation; sustainable wetland management and stakeholder participation

คู มื อ ห ลั ก สู ต ร

ระดับบัณฑิตศึกษา 2559

837


1605 613 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อการวางแผน 3(2-2-5) และการจัดการพื้นที่ชุมนํ้า Geographic Information System for Wetland Planning and Management การใชระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร จากขอมูลภาพถาย ดาวเทียม การสํารวจระยะไกลและ ภาพถายทางอากาศ ตลอดจนการใช ขอมูลเชิงพื้นที่ที่บูรณาการขอมูลดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อการวางแผนและการจัดการพื้นที่ชุมนํ้า ประสบการณ และบทเรียนจาก โครงการตางๆ ที่ใชระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร เพื่อสรางการมีสวนรวม และเสริมสรางพลังชุมชน ในการจัดการพื้นที่ชุมนํ้าแบบยั่งยืน Definitions; data used in Geographic Information System (GIS): remote sensing data, aerial photographs and other spatial information; integration of socio-economic and environmental data in GIS for wetland planning and management; learning lessons and experiences from projects and programs that focused on the use of GIS and spatial information system, people participation and community empowerment for sustainable wetland management 1605 614 ความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากร 2(2-0-4) ในระบบนิเวศ Genetic Diversity of Populations in Ecosystems หลักการพืน้ ฐานและสถิตขิ องพันธุศาสตรประชากร ความหลาก หลายทางพันธุกรรมและจีโนไทปในประชากร โครงสรางทางพันธุกรรมของ ประชากร ปจจัยที่มีผลตอความหลากหลายทางพันธุกรรม กรณีศึกษาการ ประยุกตใชพันธุศาสตรประชากรสําหรับวิเคราะหขอมูลทางพันธุกรรม A tailored primer of population genetics building concepts from basic genetic and statistical principles to the primary data of population genetics, organization of genetic variation into genotypes in populations, population structure and the forces that have an impact on levels of genetic variation. Case studies will emphasize the application of population genetic analysis 1605 615 เทคนิคทางโมเลกุลสําหรับศึกษาพันธุศาสตร 3(2-2-5) ของประชากร Molecular Techniques for Genetic Studies of Populations เทคนิคระดับโมเลกุลสําหรับใชศึกษาความหลากหลายทาง พันธุกรรมระดับดีเอ็นเอ เทคนิคพีซีอาร การวิเคราะหแบบแผนดีเอ็นเอจาก การตัดดวยเอนไซมตัดจําเพาะ ไมโครแซทเทลไลท ดีเอ็นเอ เทคนิค RAPD และ AFLP การวิเคราะหลําดับเบส อัลโลไซมอิเล็กโตรโฟรีซิส และ การ ประยุกตใชเทคนิคเหลานี้ในการศึกษาและการจัดการประชากรและระบบ นิเวศ

838

คู มื อ ห ลั ก สู ต ร

ระดับบัณฑิตศึกษา 2559

Molecular techniques for studying genetic diversity at the DNA level, the polymerase chain reaction, restriction fragment length analysis, microsatellite DNA, Random Amplified Polymeric DNA (RAPD), Amplified Fragment Length Polymorphism (AFLP) analysis, DNA sequencing, allozyme electrophoresis and the application of these techniques to management of population and ecosystems 1605 616 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาโครงรางวิทยานิพนธ 2(1-2-3) Thesis Proposal Development Workshop การเขาสูกระบวนการวิจัย แหลงสารสนเทศ แนวทางการตั้ง โจทยวจิ ยั เครือ่ งมือใชในการวิจยั การวางแผนและการออกแบบการทดลอง การรวบรวมขอมูล การบริหารการจัดการขอมูล การทดลองและประเมินผล การพัฒนาเคาโครงการวิจยั เพือ่ ทําวิทยานิพนธ การเขียนรายงานการวิจยั ใน รูปแบบบทความวิจัย Research approaches; information sources; tools for identifying research problems; research project planning; experimental and survey design; data collection and management; monitoring and evaluation; development of thesis research proposal; writing scientific research paper 1605 617 ทรัพยากรทางนํ้าและการประเมินสิ่งแวดลอม 2(2-0-4) Aquatic Resources and Environmental Assessment ภาพรวมของการจัดขอมูลทรัพยากรธรรมชาติทางนํ้า การ ประเมินตนทุนทางธรรมชาติ และการเปรียบเทียบศักยภาพการผลิตดาน ประมง และระบบการผลิตอื่นๆ ของทรัพยากรทางนํ้าตอการผลิตดาน อาหาร วิเคราะหและสรางตนแบบการไหลของทรัพยากรและการเปลี่ยน ถาย ในระบบการผลิตสัตวนาํ้ หลักการและแนวทางการจัดการตามมาตรฐาน สากลวาดวยความปลอดภัยและการปฏิบตั ทิ ดี่ ี หลักการและการนําเขาสูก าร ประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมในการประมงหรือภารกิจอื่นใดที่สงผลกระ ทบตอการประมงและถิ่นที่อยูของสัตวนํ้าในระบบนิเวศสัตวนํ้าจืด Overview of organization and assimilation of data on natural resources; stock assessment and comparison of productive potentials for fishery and other production systems; carrying capacity of aquatic resources production; analysis and modeling of resource flows and transformation in aquaculture production systems; principles and guidelines on international standards for food safety and good practice; principles and approaches on environmental assessment on fishery or any activities that impact fishery and aquatic creatures’ habitats in freshwater ecological systems


1605 618 พันธุศาสตรประยุกตสําหรับการวิจัยปลา 1(1-0-2) Applied Genetics on Fish Research พันธุศาสตรพนื้ ฐาน บทบาทของพันธุกรรมตอการสืบพันธุแ ละ การเจริญเติบโต ของปลา กระบวนการเพาะเลีย้ ง การปรับตัวในสภาพทองถิน่ การจัดการพันธุป ลา เทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุกรรมของปลาประกอบดวย การคัดเลือก การผสมพันธุ พันธุกรรมการกําหนดเพศ การถายเทลักษณะ ทางพันธุกรรม พันธุศาสตรประชากรและธนาคารพันธุกรรม Basic genetics and its role in reproduction and growth of fish; domestication processes, local adaptation and broodstock management; genetic improvement technologies including selection, hybridization, sex control, genetic manipulations (including transgenesis); genetic diversity, population genetics and gene banking 1605 619 ความหลากหลายทางชีวภาพในแมนํ้าและการอนุรักษ 3(3-0-6) Riverine Biodiversity and Conservation คุ ณ ค า ของแม นํ้ า และพื้ น ที่ ริ ม นํ้ า ต อ ความหลากหลายทาง ชีวภาพ ภาวะคุกคามตอความหลากหลายทางชีวภาพของลุมนํ้าและพื้นที่ ริมนํา้ แนวคิดและบทเรียนการฟน ฟูพนื้ ทีร่ มิ นํา้ และการจัดการ การอนุรกั ษ ความหลากหลายทางชีวภาพ เนนสถานการณ และบทเรียนในลุมนํ้าโขง Values of river and riverine habitats biodiversity; threats on biological diversity on river basins and riverine areas; concepts and lessons on river bank restoration and management on biodiversity conservation, emphasizing situations and lessons in the Mekong Basin 1605 620 การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าและระบบของทรัพยากรทางนํ้า 2(2-0-4) Aquaculture and Aquatic Resource Systems ความหมายของการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า และระบบทรัพยากรทาง นํา้ การจําแนกระบบการเพาะเลีย้ งสัตวนํ้าและระบบทรัพยากรทางนํา้ ระบบ ของทรัพยากรทางนํ้าในบริบทการพัฒนา ในเรื่องประชากร ความมั่นคง ทางอาหาร การบรรเทาความยากจนและความยั่งยืน การมองแบบองครวม เพื่อความเขาใจระบบวิถีชีวิตในพื้นที่ทรัพยากรจํากัด สถานภาพ สถาบัน และระบบสงเสริมสนับสนุนดานการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าในประเทศลุมนํ้าโขง ยุทธศาสตรการสงเสริมการพัฒนาแบบยัง่ ยืนในกลุม เพาะเลีย้ งรายยอย และ ระบบทรัพยากรทางนํ้าในเอเชีย Definitions of aquaculture and aquatic resource systems; aquacultural and aquatic resource systems classification; aquatic resource systems in the development context such as population, food security, poverty alleviation and sustainability; holistic approach to understanding resource-poor livelihood systems; status, institutions and supporting services of aquaculture in the Mekong countries; strategies of promoting the sustainable development of Asian small-holder aquaculture and aquatic resource systems

1605 621 เอนไซมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ 3(3-0-6) Enzyme and DNA Technology หลักการทางเคมีของโปรตีน การทําใหโปรตีนบริสุทธิ์ การ วินจิ ฉัยโปรตีน เอนไซม ทีเ่ กีย่ วของกับเมทาบอลิซมึ ทัว่ ไปและในเมทาบอลิซมึ ของกรดนิวคลีอิก เอนไซมที่เกี่ยวของกับการสังเคราะหสารทุติยภูมิ กลไก ระดับโมเลกุลในการทํางานของเอนไซม การควบคุมการทํางานของเอนไซม ระดับเอนไซมและระดับยีน การจัดระบบของเซลล กระบวนการตางๆ ทาง ชีวเคมีของเซลล โครงสรางดีเอ็นเอและหนาทีข่ องดีเอ็นเอ การแสดงออกของ ยีนในเซลลจุลินทรีย พืช และสัตว Principles of protein chemistry, protein purification, protein identification; enzymes involved in general metabolism and nucleic acid metabolism, enzymes responsible for secondary metabolite formation; molecular mechanism of enzyme action; control of enzyme activity at the enzyme level and genetic level; cellular organization, biochemistry of cellular processes; DNA structure and DNA rearrangement, DNA replication and DNA engineering; mechanism of protein synthesis, intracellular transport, DNA expression in microorganisms and in plants and mammalian cells 1605 622 ชีววิทยาระดับโมเลกุลของระบบภายใตสภาวะ 2(1-2-3) กดดันของสิ่งแวดลอม Molecular Biology of Systems under Environmental Stress การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตระดับอณู ระบบการปองกันและ ซอมแซม กลไกการแสดงออกของยีน โปรตีนตางๆ ที่สรางขึ้นภายในเซลล ในสภาวะกดดันและการตรวจวัดทางชีวภาพ Stress responses at the molecular level, protective and repairable process; mechanism of gene expression; expression of stress proteins in stress condition of prokaryotic cells and biosensors 1605 623 แนวทางการจัดการทรัพยากรชีวภาพในเอเชีย 1(1-0-2) Biological Resources Management Issues in Asia ประเด็นและสถานการณการจัดการทรัพยากรชีวภาพของ ประเทศตางๆ ในเอเชีย เนนดานนโยบายและการจัดการทรัพยากรชีวภาพ ในไทย แนวคิดและการดําเนินการบริหารจัดการทรัพยากรชีวภาพในระดับ ภูมิภาค มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่ Issues and situations of biological resources management in Asia, focusing on policies and implementation in Thailand; regional concepts and implementation on bio-resource management; direct experiencing through field trip

คู มื อ ห ลั ก สู ต ร

ระดับบัณฑิตศึกษา 2559

839


1605 624 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชน 3(2-2-5) Community-Based Natural Resources Management แนวคิดการจัดการปาไมดั้งเดิม พัฒนาการการจัดการปาไม และการมีสวนรวม ของชุมชน ความหมายของการมีสวนรวม ความหมาย ของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชน การประเมินสภาพชุมชนและ ทรัพยากรธรรมชาติอยางมีสวนรวมโดยชุมชน เทคนิคการประเมิน ติดตาม สภาพปาไมและทรัพยากรธรรมชาติอยางมีสว นรวม การประยุกตความรูด า น นิเวศวิทยา และวนวัฒนวิทยาในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ Concept on conventional forest management; evolution of forest management and people participation; definitions and levels of people participation; definitions of community-based natural resources management; using participatory tools and approaches in community and natural resources assessment; participatory techniques to assess and monitor forest conditions and natural resources; application of ecology and civil culture in natural resources management 1605 625 ระบบสารสนเทศขอมูลเชิงพื้นที่ในการจัดการ 3(2-2-5) ทรัพยากรธรรมชาติ Spatial Information Systems in Natural Resources Management ความสําคัญของขอมูลเชิงพื้นที่ และขอมูลทางภูมิศาสตร เทคนิคการเก็บรวบรวมขอมูลเชิงพืน้ ที่ คุณภาพและความถูกตองของขอมูล ชองวางของขอมูลและการเทียบมาตรฐานการคนหาขอมูลที่ขาด และทําให ขอมูลไดมาตรฐาน การจัดการระบบขอมูลเชิงพื้นที่การใชภาพถาย ทาง อากาศ และการสํารวจระยะไกล ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร Concepts and definitions of Spatial Information Systems; basics of spatial/geographic data; spatial data collection techniques; data quality and accuracy, data gaps and standardization; spatial information management using aerial photographs; remote sensing, and Geographical Information System (GIS) 1605 626 มูลคาในเชิงเศรษฐศาสตรของความหลากหลาย 3(3-0-6) ทางชีวภาพ Economic Values of Biodiversity ทฤษฎีและแนวคิดดานเศรษฐศาสตรทเี่ กีย่ วของกับการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ การประเมินมูลคา ทางเศรษฐกิจของทรัพยากรชีวภาพ โดยเฉพาะผลผลิตจากปา ประเภทของ ทรัพยากรในมุมมองทางเศรษฐศาสตร (ทรัพยากรสาธารณะ ทรัพยากรสวน บุคคล และทรัพยากรสวนรวม) การใชประโยชนและจัดการทรัพยากรชีวภาพ นโยบายและการเมืองในการจัดการทรัพยากรทีฟ่ น สภาพได และการพัฒนา แบบยั่งยืน

840

คู มื อ ห ลั ก สู ต ร

ระดับบัณฑิตศึกษา 2559

Resource economic theories and concepts related to natural resource management and biodiversity; assessment of economic values of bio-resource focusing on forest products; considerations of types of resources (public, private, common) and access on the uses and management; policies and politics of renewable resources management and sustainable development 1605 627 ความหลากหลายทางชีวภาพของไหมปา 2(2-0-4) Biodiversity of Bombyx Silk ชี ว วิ ท ยาของไหมป า และผี เ สื้ อ ไหมป า ในประเทศไทยและ ประเทศตางๆ ศักยภาพการนําไปใชประโยชนทั้งในระดับอุตสาหกรรมใน ครัวเรือน และอุตสาหกรรม Biology of Bombyx silk and wild silk-moths in Thailand and other countries; potential utilizations of Bombyx Silk and its products in household cottages and industries 1605 628 ความหลากหลายทางชีวภาพและการทํางาน 2(2-0-4) ในระบบนิเวศ Biodiversity and Ecosystem Functions ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพและการทํางาน ในระบบนิเวศ บทบาทของความหลากหลายทางชีวภาพตอการทํางานใน ระบบนิเวศ ความหลากหลายของชนิดพันธุ ความหลากหลายของหนาที่ และการทํางานในระบบนิเวศ ผลกระทบของความหลากหลายทางชีวภาพ ตอการทํางานในระบบนิเวศในเชิงการจัดการระบบนิเวศ แนวคิดใหมดาน เสถียรภาพในระบบนิเวศและความทาทายในอนาคต Definition of biodiversity and ecosystem functions; the role of biodiversity in ecosystem functioning; species diversity, functional diversity and ecosystem functioning; effect of biodiversity on ecosystem functioning in managed ecosystems, new perspectives on ecosystem; stability and future challenges 1605 629 หลักการทางนิเวศวิทยาเพื่อการจัดการ 3(3-0-6) ทรัพยากรธรรมชาติ Ecological Principles for Natural Resources Management กระบวนการและรูปแบบของระบบนิเวศปาเขตรอนและเขต กึ่งรอนของเอเชีย ความเชื่อมโยงอยางแนบแนนระหวางระบบนิเวศทางบก ของปาเขตรอน และระบบนิเวศใกลเคียงในระดับภูมิทัศน การประยุกตใช นําหลักการและความสัมพันธเชิงนิเวศในการวางแผนและการตัดสินใจดาน การจัดการระบบนิเวศอยางยั่งยืน An overview of the patterns and ecological processes that occur across tropical and subtropical forest ecosystems of Asia; strong linkages between the ecology of terrestrial ecosystems in the tropics and nearby ecosystems in the landscape level; applications of ecological principles and relationships to planning and decision-making for sustainable ecosystem management


1605 630 การอนุรักษพันธุกรรมพืชโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 3(2-2-5) Plant Genetic Conservation through Tissue Culture รูปแบบการอนุรักษพันธุกรรมพืช หลักเกณฑทั่วไปในการ รวบรวมและเลือกชนิดของพืชเพื่อการอนุรักษ หลักการและวิธีการอนุรักษ พันธุกรรมพืชโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ Type of plant genetic conservation; general aspect of collection and selection for plant germplasm; principles and methods for genetic preservation of plant cells 1605 633 การจําแนกประเภทสิ่งมีชีวิตอยางเปนระบบ 3(2-2-5) Systematic Classification of Organism หลักการการจําแนกประเภทสิ่งมีชีวิต การตั้งชื่อและการตรวจ สอบหาชื่อวิทยาศาสตรที่ถูกตอง หลักเกณฑนานาชาติที่ใชในการตั้งชื่อทาง สัตววิทยา พฤกษศาสตรและจุลชีววิทยา อนุกรมวิธานและวิวัฒนาการ และ อนุกรมวิธานระดับโมเลกุล Principles of classification of organism, nomenclature and identification international of zoological, botanical and microbiological codes; taxonomy and evolution, and molecular taxonomy 1605 634 ระเบียบวิธีแผนใหมในอนุกรมวิธานพืช 3(2-2-5) Modern Methodology in Plant Taxonomy หลักการทางอนุกรมวิธานพืชและความสัมพันธของพืช โดย อาศัยแหลงขอมูลทางโครโมโซมและเคมี และความรูทางดานภูมิศาสตรพืช นิเวศวิทยา เรณูวิทยา และระบบการสืบพันธุ Principles of plant taxonomy and the relationship among the plants based on chromosomal and chemical information and knowledge of plant geography, ecology, palynology and breeding systems 1605 635 เทคโนโลยีชีวภาพและผลิตภัณฑอุตสาหกรรม 3(2-2-5) ชีวภาพ Biotechnology and Bio-based Industrial Products เทคโนโลยีชีวภาพ ภูมิปญญาพื้นบาน การวิจัยและพัฒนา วัตถุดิบ ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมชีวภาพและการนําไปใชประโยชน ผลิต ภาพ นวัตกรรม การปรับปรุงพันธุพ ชื เศรษฐกิจ สัตวเศรษฐกิจ และจุลนิ ทรีย เศรษฐกิจ การประยุกตใชเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑ ธรรมชาติ ผลของเทคโนโลยีชวี ภาพตอสภาพแวดลอมและสุขภาพ การศึกษา ดูงานนอกสถานที่ Biotechnology, indigenous knowledge, research and development, raw materials, bio-based industrial products and utilization, productivity, innovation, economic crops, animals and microorganism breeding, application of biotechnology for value added of natural products, biotechnology affecting environmental condition and health, field studies

1605 636 ชีววิทยาของกลวยไมทองถิ่น 3(2-2-5) Biology of Local Orchids การจําแนกและการตั้งชื่อ วิวัฒนาการ วิทยาเซลล สรีรวิทยา พฤกษเคมี สัณฐานวิทยา กายวิภาคศาสตร ภาวะอยูรวมกันกับไมคอรไรซา การถายละอองเรณู วิทยาเอ็มบริโอ การสืบพันธุ พันธุกรรมและการผสม พันธุ นิเวศวิทยา การกระจายพันธุ การขยายพันธุกลวยไมทองถิ่นดวยวิธี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการอนุรักษและการคา Classification and naming, evolution, cytology, physiology, phytochemistry, morphology, anatomy, mycorrhyzal symbiosis, pollination, embryology, reproduction, heredity and breeding, ecology, distribution, micropropagation of local orchids for conservation and commerce 1605 637 ภูมิปญญาทองถิ่นในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 3(2-2-5) และสิ่งแวดลอมชุมชน Local Wisdom in Natural Resources and Community Environment Management มโนทัศน หลักการ ระบบ กลไก กระบวนการ การพัฒนา และ การถายทอดดานภูมิปญญาทองถิ่นในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมชุมชน เนนการประยุกตใชสําหรับทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอมทางกายภาพ ชีวภาพ วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ สังคม และความ สอดคลองของคุณคาทางนิเวศวิทยากับวิถีชุมชน Concepts, principles, systems, mechanism, processes, developments and transfer of local wisdom in natural resources and community environment management; emphasis on application for physical, biological, cultural and socio-economic resources and environment; confluence of ecological values with traditional lifestyle 1605 638 ความหลากหลายทางพันธุกรรมและวิวัฒนาการ 2(2-0-4) ของจุลินทรียและปรสิต Genetic Diversity and Evolution of Microorganisms and Parasites โครงสรางทั่วไปของสารพันธุกรรมของจุลินทรียและปรสิต ความหลากหลายทางพันธุกรรมและวิวัฒนาการของเชื้อไวรัส แบคทีเรีย หนอนพยาธิ และปรสิตตางๆ การวิวัฒนาการรวมกันระหวางจุลินทรียและ ตัวใหอาศัย การประยุกตใชความหลากหลายทางพันธุกรรมในการตรวจ สอบและจําแนกจุลินทรียและปรสิต General genetic structure of microorganism and parasites; genetic diversity and evolution of virus, bacteria, helminthes and other parasites; co-evolution between microorganism, parasites and their host; application of genetic diversity for diagnosis and classification of microorganism and parasites คู มื อ ห ลั ก สู ต ร

ระดับบัณฑิตศึกษา 2559

841


1605 639 พันธุศาสตรปาไม 3(2-2-5) Forest Genetics กรอบแนวคิด และการประยุกตดานพันธุศาสตรในปาไมทุก ประเภท ตั้งแตปาไมธรรมชาติจนถึงการปลูกปาเชิงเดี่ยว การประยุกตดาน ชีวโมเลกุลของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม พันธุศาสตรประชากร การปรับปรุงไมตน วิวัฒนาการและศักยภาพของเทคโนโลยีชีวภาพในการ อนุรักษไมปา Concept and application of genetics in all types of forest ranging from pristine natural forests to monoculture plantations. Applications of molecular of inheritance, population genetic, tree improvement, evolution and potential of biotechnology in forest plants for conservation 1605 640 นิเวศวิทยาของวัชพืช 3(2-2-5) Weed Ecology ความหมายของวัชพืช การจําแนกวัชพืช วัชพืชศาสตร หลักการ ของนิเวศวิทยาวัชพืช; ชีววิทยาวัชพืช: พันธุกรรมและวิวัฒนาการของวัชพืช พลวัตของวัชพืชและการเปลีย่ นแปลงองคประกอบของชนิดวัชพืช สรีรวิทยา ของการแขงขันระหวางพืชกับวัชพืช; หลักการพื้นฐานในการจัดการวัชพืช: วิธีการและเครื่องมือของการจัดการวัชพืช การใชสารกําจัดวัชพืชและการ ประยุกตใช Definitions of Weeds, Weed classification, Weed Science, Principles of Weed Ecology; Weed Biology: Genetic and Evolution of Weeds, Weed Demography and Population Dynamics, Associations of Weeds and Crops, Physiological Aspects of Competition; Technology of Weed Science: Methods and Tools of Weed Management, Herbicide Use and Application 1605 641 พฤกษภูมิศาสตรขั้นสูง 2(1-2-3) Advanced Phytogeography รูปแบบการกระจายของพืชในธรรมชาติทงั้ ในอดีตและปจจุบนั ปจจัยที่เปนตัวกําหนดการกระจาย Distribution patterns of plants both in the past and in the present and the factors that determine these patterns 1605 642 พฤกษศาสตรประยุกต 3(2-2-5) Applied Botany การประยุกตความรู การสังเคราะห การวิเคราะห ความกาวหนา และพัฒนาการ ทางพฤกษศาสตรสาขาตางๆทั้งระดับเซลล เนื้อเยื่อ และ อวัยวะ เทคนิคทางดานเคมี คณิตศาสตร หรือชีววิทยาโมเลกุลใหสอดคลอง กับความจําเปนพื้นฐานแหงวิถีชีวิต และความเปนอยูของมนุษย การใช ประโยชนจากพืชอยางคุมคาทางดานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม โภชนาการ การแพทยตลอดจนดานสังคม และมานุษยวิทยา มีการศึกษาภาคสนาม

842

คู มื อ ห ลั ก สู ต ร

ระดับบัณฑิตศึกษา 2559

Application of knowledge, synthesis, analysis, progress and development of various fields of botany including cell, tissue and organ chemical, mathematical and molecular techniques. relevant to basic needs for life of human beings; valuable usage of plants and plant products in industry, agriculture, nutrition, medicine and social and anthropological dimensions; field study required 1605 643 อนุกรมวิธานพืชสมุนไพร 3(2-2-5) Taxonomy of Medicinal Plants สัณฐานวิทยา การจัดจําแนก การตรวจสอบเอกลักษณ การ ระบุชอื่ วิทยาศาสตร และอนุกรมวิธานระดับวงศของพืชสมุนไพร พัฒนาการ ของปรัชญาของการจัดระบบในทางอนุกรมวิธานพืชสมุนไพร ขอปญหาทาง อนุกรมวิธานพืชสมุนไพร และแนวทางแกปญหา การศึกษาทบทวนในทาง อนุกรมวิธานพืชสมุนไพร การอนุรักษพืชสมุนไพร มีการศึกษานอกสถานที่ Morphology of medicinal plants; classification, identification, the scientific name and taxonomy to the families of medicinal plants, development of philosophy of classification systems of plants, plant taxonomic problems and the solution techniques, taxonomic revision works, conservation medicinal native plants, field trip is required 1605 644 พฤกษศาสตรพื้นบาน 3(2-2-5) Ethnobotany การศึ ก ษาองค ค วามรู  พื้ น ฐานด า นพฤกษศาสตร ข องกลุ  ม ชาติพันธุในทองถิ่น จัดหมวดหมูการใชประโยชนจากพืชในทองถิ่น รวม ทั้งชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร รวบรวมตัวอยางพืชทองถิ่น การอนุรักษ ภูมิปญญาพื้นบาน มีการศึกษานอกสถานที่ Study the basic knowledge of botany of the local ethnic groups, the category of traditional native plant uses including the common name and the scientific name, Collection of native plants, conservation of indigenous knowledge, field trip is required 1605 645 เรณูวิทยา 3(2-2-5) Palynology รูปราง ลักษณะ ของสปอรและเรณู แนววิวฒ ั นาการและรูปแบบ ของละอองเรณูและสปอร การจัดจําแนกรูปแบบของละอองเรณูและสปอร พืชบางวงศ การนําความรูไ ปประยุกตใชกบั งานในสาขาอืน่ ไดแก นิเวศวิทยา และชีววิทยาของการถายละอองเรณู พฤกษภูมศิ าสตร ธรณีวทิ ยา โบราณคดี บรรพชีววิทยา นิติวิทยาศาสตรและการแพทย ปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคนิค การเตรียมสไลดละอองเรณูและสปอรจากตัวอยางตางๆ แบบประยุกต สาหรับการศึกษาดวยกลองจุลทรรศนแบบใชแสงและกลองจุลทรรศนแบบ สองกราด


Spore and pollen morphology, evolutionary and morphological trends of spore and angiosperm pollen, pollen and spore morphology of some selected families, applied to the pollination ecology and biology, plant geography, geology, archeology, paleontology, forensic science and medical science including the preparation of applied acetolysis method through permanent slide for light and scanning microscope 1605 646 เทคโนโลยีนิเวศ 3(2-2-5) Ecotechnology แนวคิด เทคโนโลยีนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพกับ วัฒนธรรมและภูมิปญญาดั้งเดิม ความเกี่ยวพันของศาสตรตางๆ กับ ทรัพยากรธรรมชาติและชุมชนทองถิ่น ทุนทางธรรมชาติ เทคโนโลยีพื้นบาน และภูมิปญญาทองถิ่น การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโดย อาศัยเศรษฐกิจและสังคมจากฐานชีวภาพควบคูก บั คุณธรรมและจริยธรรม แบบบูรณาการ Concept of Eco-technology, biodiversity, culture and traditional knowledge, linkage of sciences, natural resources and local community, natural capital, local technology and local wisdom, management of natural resources and environment by integration of biodiversity-based economy and society together with economics, local wisdom, integrity and social ethics

1605 697 วิทยานิพนธ 15 หนวยกิต Thesis การทําวิจยั ขัน้ สูงในสาขาวิชาความหลากหลายทางชีวภาพ ภาย ใตการแนะนําของคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ และผลงานวิจยั ควรมี คุณภาพสูงพอที่จะตีพิมพในวารสารวิจัยระดับชาติหรือนานาชาติ A master’s student must conduct an advanced research work in the field of biodiversity under supervision of a thesis advisory committee. The research quality should be high to be published in national or international (peer-reviewed) journals

หมวดวิชาประสบการณการวิจัย 1605 696 วิทยานิพนธ 36 (หนวยกิต) Thesis การทําวิจัยขั้นสูงในสาขาวิชาความหลากหลายทางชีวภาพ ภายใตการแนะนําของคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ มีการนําเสนอ ผลงานในระดับชาติหรือนานาชาติและผลงานวิจัยควรมีคุณภาพสูงพอที่จะ ตีพิมพในวารสารวิจัยระดับชาติหรือนานาชาติ A master’s student must conduct an advanced research work in the field of biodiversity under supervision of a thesis advisory committee. The results must be presented nationally or internationally, and the research quality should be high to be published in national or international (peer- reviewed) journals

คู มื อ ห ลั ก สู ต ร

ระดับบัณฑิตศึกษา 2559

843


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.