การเลี้ยงสุนัข note2

Page 1

การเลี้ยงสุนัข พันธุสุนัข 1.สุนัขพันธุในกลุมกีฬา (Sporting Breeds) - สรางขึ้นสําหรับใชในกีฬาลานก (feather birds) 2. สุนัขในกลุม ฮาวด (Hound Breeds) - สรางขึ้นเพื่อใชในการลาสัตว หรือดมกลิ่นสะกดรอย (scent) 3. กลุมสุนัขใชงาน (Working Breeds) -สรางขึ้นสําหรับการใชงาน เชน การลากเลื่อน เกวียนบรรทุก(pull carts) หรือ เปนสุนัขอารักขา (guard property) เปนตน 4. สุนัขในกลุม ที่ใชคุมฝูงสัตว (Herding Breeds) - เปนสุนัขที่ถกู สรางขึ้นมาเพื่อใชใชในการควบคุมการเคลื่อนยายฝูงสัตว 5. สุนัขในกลุม เทอรเรีย (Terrier Breeds) - สรางขึ้นเพื่อการลาเหยื่อ หรือ สัตวที่มาทําลายพืชผลทางการเกษตร เชน นก หนู เปนตน 6. สุนัขในกลุม ทอย (Toy Breeds) - เปนสุนัขขนาดเล็ก 7. สุนัขในกลุม ทั่วไป (Non-Sporting Breeds) - จุดกําเนิดสายพันธุที่ไมชัดเจน หรือไมสามารถจัดใหเขากลุมอื่นๆ ได

ชนิดพันธุสุนัข กลุมสุนัขเพื่อใชในเกมกีฬา (Sporting Breeds): Pointer German Shorthaired Pointer , German Wirehaired Pointer Retriever Golden , Labrador Setters English , Irish Spaniels American Water , Clumber Cocker English Cocker ,English Springer


กลุมสุนัขฮาวด (Hound Breeds): Afghan , Basset , Beagle , Black & Tan Coonhound , Bloodhound ,Dachshund , Foxhound , Greyhound , Norwegian Elkhound กลุมสุนัขใชงาน (Working Breeds): Alaskan Malamute , Boxer , Doberman Pinscher , Great Dane, Great Pyrenees , Komondor, Rottweiler , Saint Bernard , Samoyed , Siberian Husky , Standard Schnauzer กลุมสุนัขเทอรเรีย (Terrier Breeds): Airedale , Border Terrier , Bull Terrier , Dandie Dinmont, Fox Terrier, Skye Terrier, Welsh Terrier , กลุมสุนัขทอย (Toy Breeds): Chihuahua ชิวาวา , Italian Greyhound , Manchester Terrier , Pomeranian , Poodle , Pug , Shih Tzu ,Yorkshire Terrier กลุมสุนัขที่ไมใชสุนัขที่ใชในเกมกีฬา (Non-Sporting Breeds): Boston Terrier ,Bulldog , Chow Chow , Dalmatian , Lhasa Apso , Poodle กลุมสุนัขใชคมุ ฝูงสัตว (Herding Breeds): Australian Shepherd , German Shepherd , Old English Sheepdog , Collie , Shetland Sheepdog สุนัขพันธุไ ทย (Thai Breeds) พันธุไทยหลังอาน (Thai Ridgeback) , พันธุบางแกว (Bangkaew) การตัดสินใจเลือกสุนัข ตองการแบบไหน 1. ตัวใหญ-เล็ก 2. Active / Quiet 3. ขนยาว / ขนสั้น 4. เลี้ยงเพื่ออะไร(ขาย-พันธุ- เพื่อน) 5. พันธุแท/ลูกผสม 6. ราคา


การตัดสินใจเลือกสุนัข ควรแนใจวาเหมาะสมกับชีวิตของผูเลี้ยงสุนัข แตละตัวตองการการดูแลที่แตกตางกัน สุนัขพันธุแท ควรรูถึงลักษณะอารมณของสุนัขแตละพันธุ ควรเลือกสุนขั ที่มีนิสัยและอารมณที่เขากับผูเลี้ยงได สุนัขพันธุทาง /ลูกผสม สุนัขพันธุทางมักฉลาดและชางประจบ เหมาะสําหรับการเปนสุนัขเลี้ยง สุนัขพันธุทางมักทนโรค ขนาดของสุนขั สุนัขขนาดใหญและชอบออกกําลังกาย สุนัขพันธุรอตตไวเลอรใชพนื้ ที่ออกกําลังมาก และดุ เจาของควรฝกใหเชื่อฟงคําสั่งตั้งแตยังเล็ก สุนัขขนาดเล็กเชนพันธุชิวาวา เปนเพื่อนเลนไดดี เฝายาม/เหาเกง แหลงหาซื้อสุนัขมาเลี้ยง สถานสงเคราะหสัตว สุนัขที่นี่สามารถเปนสุนัขเลี้ยงที่ดีมาก แตบางตัวอาจมีพฤติกรรมอื่นที่ตองแกไข เชน เจาของเดิมละเลยทอดทิง้ ฟารมคอกเลี้ยง ควรหาจากฟารมเลี้ยงสุนัขที่เชื่อถือได รานจําหนาย ไมควรซื้อจากรานที่ไมทราบประวัติมากอน เพื่อน/ญาติ ของฟรี vs ของดี


การเลือกลูกสุนัข เริ่มดูจากแมซึ่งสามารถบอกนิสัยของลูกได ลูกสุนัขที่เลือกมาควรมีลักษณะนิสัยที่ราเริง อยากรูอยากเห็น ไมตึงเครียด ไมกลัวคนแปลกหนา บงบอกถึงลักษณะความเชื่อมั่นในคัวเอง แตถาเชื่อมั่นในตัวเองมากเกินไป อาจ กลายเปนสุนัขดื้อในอนาคตก็ได 1. ตามีประกายแจมใส สีถูกตองตามลักษณะ ไมมีขี้ตา รวมทั้งอาการอักเสบระคายเคือง 2. ใบหูดานในมีสีชมพูไมมีกลิ่นเหม็น ไมมีสะเก็ดซึ่งอาจเปนเพราะมีไรหูหรือความผิดปกติอยางอื่น 3. ผิวหนังไมมนั เยิ้มหรือแหงเปนสะเก็ดสุนัข ไมมีแผลหรือกอนนูนที่ผวิ หนัง ขนแข็งแรงไมหลุด รวงงาย 4. เหงือกมีสีชมพูและไมมกี ลิ่น ฟนเรียงตัวสบกันพอดี 5. บริเวณทวารหนักควรสะอาดและแหง ไมมีลักษณะทองเสียหรือมีสิ่งผิดปกติออกมาจากอวัยวะ เพศ 6. เมื่อยกสุนขั ขึน้ ควรรูสึกหนักไมดิ้นรน บงบอกวาเปนสุนักที่เชื่อฟงคําสั่งที่ดี เครื่องใชที่จําเปน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

เบาะรองนอน สุนัขสวนใหญมักชอบ ปายชื่อ สุนัขควรมีปายชื่อทีต่ ิดปลอกคอพรอมกับหมายเลขโทรศัพท ที่อยูของเจาของ กระดูกเทียม การกัดแทะกระดูกไนลอนเปนการบริหารกรามและชวยทําความสะอาดฟนใหสนุ ัข ของเลนยาง ควรเปนวัสดุทสี่ ุนัขกัดแทะไดเมื่อโยนลงพืน้ จะกระดอนได กระตุนใหสุนัขวิ่งไลงับ ของเลนที่มีเสียง เมื่อสุนขั กัดแทะจะเกดเสียงดัง เปนการกระตุนสัญชาตญาณในการลาสัตว ขลุมครอบปากสุนัข ปองกันไมไหสุนัขไปกินสิ่งสกปรก หรือสุนัขดุ แปรงขนสัตวสําหรับขนสั้นละเอียด แปรงเหล็ก หวีเหล็กสําหรับขนยาว ควรใชแปรงที่เหมาะกับ สุนัขแตละพันธ 8. ชามอาหารและน้ํา สุนัขควรมีชามอาหารของตนเองตองดูแลอยูเสมอ อาจเปนชามทีท่ ําจากเซรา มิกหรือสเตนเลส รองกนชามดวยยางปองกันการลื่น 9. ปลอกคอและสายจูง สุนัขควรใสปลอกคอที่มีปายชื่ออยูดวยเสมอ

การนําเขาบานครั้งแรก ควรจํากัดบริเวณทีจ่ ะเปนทีอ่ ยูของสุนัขและปลอยใหสํารวจสิ่งแวดลอมใหมในบริเวณนั้นและควรอยูกับ ลูกสุนัขกอนในระยะแรก ไมควรทิ้งใหอยูต ามลําพัง ใน 2-3 วันแรกควรใหอาหารเดิม ที่สุนัขคุนเคยแลวจึงคอยๆเปลี่ยน


การใหลูกสุนขั อยูในกรงตั้งแตแรกจะชวยใหรูสึกปลอดภัยมากกวาในหองโลงๆและควรหัดใหถาย ปสสาวะบนกระดาษหนังสือพิมพ ความปลอดภัยภายในบาน ลูกสุนัขมีนิสัยอยากรูอยากเห็น จึงตองระวังสิ่งที่สามารถทําอันตรายตอลูกสุนัขได โดยการนําสิ่งของที่ แตกงายและเครื่องใชไฟฟาไปเก็บไวในที่ปลอดภัย สัตวเลี้ยงอื่นในบาน กับแมว สุนัขและแมวสามารถอยูรวมกันได ถาการพบกันครั้งแรกไมเปนลักษณะการขมขู ควรใหแมวได สํารวจลูกสุนขั ขณะที่กําลังหลับอยู กับสุนัขอื่นในบาน สุนัขตัวอื่นมักรูสึกไมพอใจเมื่อมีสุนัขตัวใหมเขามา ควรเปดโอกาสใหสุนัขที่อยูก อน ไดสํารวจลูกสุนัขขณะทีก่ ําลังหลับอยู

โภชนศาสตรสําหรับสุนขั ชนิดอาหาร อาหารสวนใหญพลังงานจะใกลเคียงกันตางแตระดับโปรตีน 1. อาหารอัดเม็ดแหง (Dry) สวนประกอบมีทั้งจากพืชและสัตว โปรตีน 23% ไขมัน 9% เยื่อใย 6% 2. อาหารกึ่งเปยก (Semi-moist) ขาวโพด เศษเนื้อสัตว โปรตีน 25% ไขมัน 9% เยื่อใย 4% 3. อาหารกระปอง(Canned) 3.1 ทําจากเศษเนื้อสัตวเปนหลักเชนเนื้อ-กระดูกไก/โค และ แปงถั่ว โปรตีน 44 % ไขมัน 32% เยือ่ ใย 4% 3.2 ทําจากพืชเปนหลัก ขาว ขาวโพด ถั่วและเศษเนื้อสัตว โปรตีน 30 % ไขมัน 16% เยือ่ ใย 8% โปรตีนเปนสารอาหารที่สําคัญ สุนัขจะกินเนือ้ เปนอาหาร มีเปอรเซนตของโปรตีนสูง ไขมันพอเหมาะ เยื่อใยเล็กนอย และคารโบไฮเดรต แตแมวจะเปนสัตวกินเนื้อ ไมยอมกินคารโบไฮเดรต กรดอะมิโน


ทําไมสุนัขและแมวจึงตองการโปรตีน ? เพราะโปรตีนเปนสิ่งจําเปนทีใ่ ชในการเจริญเติบโต กรดอะมิโนทีส่ ัตวตองการมี 22 ตัว สัตวสังเคราะหเองได 12 ตัว และกรดอะมิโนจําเปน คือ อารจินีน ฮีสทิดนี ไอโซลิวซีน ลิวซีน ไลซีน เมทไทโอนีน ฟนีลอะละนีน ทรี โอนีน ทริปโตเฟน วาลีน และในแมว(ทอลีน) สุนัขสามารถสังเคราะหทอลีนได ทําใหสุนัขสามารถกินอาหารแมวได แตแมวกินอาหารสุนัขไมได ความตองการโปรตีน ความตองการโปรตีนจะขึ้นกับสปชีส ระยะการเจริญเติบโตที่รวดเร็วและชวงอายุสัตว ซึ่งสภาพที่สัตว ตองการโปรตีนจะประยุกตเปนระดับดังนี้ ชนิดสัตว/ระยะการ เจริญเติบโต

เปอรเซนต โปรตีน

เปอรเซ็นต ไขมัน

ลูกสุนัข

28%

17%

สุนัขโต

18%

9-15%

สุนัขการแสดง

25%

20%

สุนัขลากรถเลื่อน

35%

50%

สุนัขที่ใหน้ํานม

28%

17%

ลูกแมว

30%

20%

แมวโต

25-30%

15-20%

สุนัขและแมวที่ตั้งทองและใหน้ํานม ตองใหน้ํานมกับลูก ซึ่งสวนประกอบที่สําคัญของน้ํานมคือโปรตีน ในสัตวปว ย สัตวไมแข็งแรงจะมีความตองการโปรตีนมากเปนพิเศษ สัตวที่เปนโรคไตจะตองจํากัดปริมาณโปรตีน ซึ่งถาสูงไปจะมีผลกระทบตอไตได เราสามารถใหสัตวกินอาหารโปรตีนมากเกินไปไดหรือไม สัตวที่ไดรับโปรตีนมากเกินไปก็จะไมมีผลเสียอะไร เพราะบางสวนจะขับถายเปนปสสาวะ แตพบวาอาจมีผลตอไตทํางานหนักขึ้น


อีกเหตุผลคือดานการเงิน

ฉลากอาหารสัตว การเลือกซื้ออาหารสุนัข ซื้ออาหารยี่หอดัง/ราคาแพง ซื้อใหเหมาะสมกับสุนัข ตองอานฉลากอาหารเปน อาหารสัตวที่มคี ุณภาพจะยอยไดระหวาง 70-80% ถาดอยคุณภาพลงมาอาจมี 60% หรือนอยกวา ถาสวนประกอบเปนไกหรือลูกแพะ เราสันนิษฐานไดวา อาหารนี้มีแหลงที่มาของโปรตีนไดดี

ฉลากอาหารสัตวเลี้ยงบอกอะไรแกเราบาง สิ่งที่ตองพิจารณาคือราคา การคํานวณราคาตอน้ําหนักอาหาร 1ปอนด หรือราคาอาหารตอ 1 วัน อาหารแหงจะมีราคาถูกกวาและมีขนาดถุงใหญกวา ซื้ออาหารที่ครบคุณคาความตองการของสุนัข การดัดแปลงมาตรฐานของวัตถุดิบแหง อาหารสัตวเลีย้ งทั้งหมดตางก็มีระดับของความชื้น เปอรเซนตความชื้น จะชวยเปรียบเทียบราคา ระดับโปรตีนหยาบและไขมันระหวางยี่หอ ยกตัวอยางเชน ถาอาหารแหงมีความชื้น 10% เราก็จะรูวา 90% เปนวัตถุดิบ


ดังนั้นระดับโปรตีนได 20% จากนั้นเราแยก 20%จาก 90% ของวัตถุดิบแหง เราก็จะได 22% ของโปรตีน โดยประมาณ ลองเปรียบเทียบอาหารกระปองที่มีความชืน้ 80% เราก็จะรูวา 20% เปนวัตถุดิบแหง ถาฉลากบอกวามี 5% ของโปรตีน เราก็ตองคิด 5% นั้นแยกจาก 20% ของวัตถุดบิ แหง เราจะได 25% โปรตีน ของวัตถุดิบแหง

สวนประกอบอาหาร มีหลายสวนผสมที่เราไมตองการเลย ตัวอยางเชน ผลิตภัณฑที่บอกวาประกอบดวยเนือ้ ไก ขาวโพด แปงเปยกขาวโพด ขาวสาลีบด รําขาว แปงสาลีและอื่นๆ o

o o o o o o o o o

เนื้อที่นํามาทําผลิตภัณฑ ตองเปนเนื้อที่สะอาด ฆาโดยตรง ไมรวมเนื้อวัว แตจะรวมปอด มาม ไต สมอง ตับ เลือด กระดูก กระเพาะ ลําไส ไมรวมผม เขา ฟนและกีบ พวกเปด ไก ทีน่ ํามาทําผลิตภัณฑ จะใชหัว ขา และพวกเครื่องใน แตไมรวมถึงขน เนื้อปลา จะใชปลาทั้งตัว โดยไมมีการใสนา้ํ มัน ไขวัว เปนไขมันจากวัว ขาวโพดบด เปนขาวโพดทัง้ หมดหรือแคเมล็ดที่นํามาบด แปงเปยกขาวโพด กากทีไ่ ดจากการนําขาวโพดไปทําน้ําเชื่อมหรือแปง ขาวกลอง เปนสวนเล็กๆของเมล็ดขาวที่แยกออกจากขาวบดที่มีขนาดใหญกวา เมล็ดถั่วเหลือง เปนสวนที่เหลือจากการทําน้ํามันถั่วเหลือง BHA มาจากคําวา Butylated Hydroxyanisole , preservative Ethoxyguin เปนวัตถุกันเสียทางเคมีชนิดหนึ่งที่ใสในอาหารสุนัข

วิธีใหอาหาร วิธีใหอาหารจะมีอยูบนถุงและกระปองของอาหารสัตว สัตวตองการเพิ่มอาหารจากระดับกิจกรรม เมตาบอริซึม และสภาวะแวดลอม อุณหภูมิตางกัน รวมถึง กรรมพันธุ อายุ และความเครียดจากสภาพแวดลอม คําแนะนําขางถุงจะชวยระยะแรก ถาสัตวผอมและหิวใหเพิ่มอาหารใหบอยขึ้น


การใหอาหารสุนัขตัง้ ทอง(Pregnant) และใหน้ํานม( Lactation) สุนัขตองการอาหารเพิ่มตามอายุตั้งทอง น้ําหนักจะเพิ่มชวง 4 สัปดาหเปนไป ระยะนี้กนิ เพิ่ม 35-50% ระยะเลี้ยงลูก(Whelping) ตองการอาหาร 3-4 เทาปกติ ภายใน3 สัปดาหหลังคลอด ลูกสุนัขจะหัดเลีย-กินอาหารกับแม ใหพิจารณาหยานมได หยานมเมื่อลูกสุนัขอายุได 6 สัปดาห การใหอาหารลูกสุนัข( Puppies) กินอาหารสด-แหงไดเมื่ออายุ 3 สัปดาห น้ํานม ไข ชีส คืออาหารที่ดี ยอยงาย โภชนะเขมขนสูง ใหกนิ น้ํานมมากอาจถายเหลว หรือทองเสียไดหากไมสะอาด ใหอาหารวันละ 3-4 ครั้งตอวัน ไมควรใหกินมากไป จะอวนมาก กดรูดผิวหนังขางซี่โครงหากสัมผัสซี่โครงไมไดแสดงวาอวนมาก อวนมากมีผลตอการพัฒนาโครงรางและกระดูก การใหอาหารสุนัขโต ( Older dogs ) สุนัขโตมีกิจกรรมต่ําลง จึงตองการอาหารนอยลง เนนอาหารโปรตีนมากกวาพลังงานหรือคารโบไฮเดรท ใหอาหารมื้อเดียว ลดปริมาณอาหารลง คําแนะนําดานอาหารอื่นๆ บางคนเชื่อวาใหไขดิบบํารุงขน ควรใหไขตม เพราะไขขาวดิบจะขัดขวางการดูดซึม Biotin กระดูกหมูตมทอนใหญใหได แตกระดูกไกควรงดใหแทะเลน อาหารเม็ดและกระดูกทอนใหญชวยลดคราบหินปูน


สัตวเลี้ยงของเราอวนหรือยัง สุนัขปกติ o o o

สามารถคลําพบกระดูกซี่โครงได (โดยไมตองกด) ชวงทองตองแคบกวาชวงอกเมื่อมองจากดานขาง เห็นชวงคอดของเอวหลังซี่โครงซี่สุดทายเมื่อมองจากดานบน

สุนัขอวน o o o o

ตองออกแรงมากกวาปกติในการคลําซี่โครง ชวงทองขนาดเทาหรืออวนกวาชวงอก มีไขมันสะสมที่สะโพก โคนหาง พื้นทอง ผิวหนังรอบคอและหัวไหลหนากวาปกติ

วิธีการลดความอวนสําหรับสุนัข o

o

เลือกชนิดของวัตถุดิบในการทําอาหารใหมไี ขมันนอย มีกากใยมาก และเพิ่มปริมาณน้ําในอาหาร ใหมากขึน้ ลดปริมาณอาหารในแตละมือ้ ใหนอยกวาปกติ แตมาเพิม่ ความถี่ในการใหเปนมื้อมากขึ้น

ควรใหสุนัขออกกําลังกายมากขึ้น

การผสมพันธุ สุนัขจะเปนสัดครั้งทั่วไปภายใน 6-12 เดือน สุนัขเล็กอาจเปนภายใน 6 เดือน แตสุนัขใหญอาจอายุถึง 2 ป วงรอบการเปนสัดหนึ่งๆมี 11-13 วัน ประกอบดวยระยะ Pro estrus, estrus, ovulation Pro estrus คือระยะกอนผสมพันธุ สุนัขจะแสดงอาการมีเลือดออก(Menopause ) ใหนับวันทีพ่ บเห็นเลือดออก หลังจากนัน้ อีก 9 วัน สุนัขจะเริ่มสนใจ ไมอยูกับที่ วิง่ หาสุนัขทุกเพศและเปนที่สนใจของสุนัขเพศผูทุกตัวที่เดิน ผาน อวัยวะเพศบวม มีน้ําเมือกออกมา สุนัขเพศผูอาจกระโดดขึ้นผสมแตเขาจะหันหนี ไมยอมใหผสม จะเปนแบบ นี้อยูนาน 2-3 วัน ( วันที่ 10-11)


ระยะ Estrus คือระยะที่ตอมาจากชวงแรก (วันที่ 12-13) เปนระยะที่จะมีการตกไขภายใน 48 ชั่วโมง ( Ovulation ) ซึ่งจะเปนชวงที่ตองผสมพันธุสุนัข สังเกตไดจาก สุนัขจะยืนนิ่งไมไปไหน หางยกบิดไปดานขางหากมีสุนัขอื่นโดด ขึ้นทับ หลักการผสมพันธุ จะขึ้นอยูกับสุนัขและประสบการณเจาของ ทั่วไป จะนําสุนัขไปผสมในชวงวันที่ 10-12 หลังจากเห็น เลือดออก บางคนอาจใช การผสมสองครั้งคือผสมในวันที่ 10 กับ 12 หรือผสมในวันที่ 11 กับ 13 ขณะที่สุนัขผสมพันธุกัน ตัวผูปนขึ้นผสมอวัยวะเพศ(Penis)ของเพศผูตรงโคนอวัยวะ( bulbus glandis ) จะ ขยายบวมขึ้นตามธรรมชาติ เพื่อทําหนาทีล่ ็อดอวัยวะเพศของทั้งสองตัวใหอยูติดกัน เปนเรื่องปกติ และสุนัขเพศผู จะหันลงมาอยูใ นสภาพเดินหันหลังติดกัน แตโดยพฤติกรรม สุนัขจะเดินหันหนามาหากัน เดินไปดวยกัน ตอง ปลอยใหเปนเชนนี้จนกวาจะเสร็จสิ้น ไมตองไปกระตุน หาม หรือ ชวยอะไรทั้งสิ้น สุนัขจะใชเวลาอยูติดกันนาน 15-30 นาทีหรือนานกวานี้ได กวาจะแยกจากกันไดเอง เมื่อเสร็จก็นําสุนขั กลับบาน เพราะปกติจะนิยมนําสุนัขเพศ เมียไปหาสุนัขเพศผู จะทําใหผสมไดงายกวา การตั้งทอง สุนัขใชเวลาตัง้ ทองนาน 63 วัน (56-70 วัน) มีอาการกินมาก น้ําหนักเพิม่ หัวนมเปนสีชมพูบวมขึ้น จะเห็นการ เปลี่ยนแปลงชัดเจนตั้งแตวันที่ 30 หลังผสมพันธุเปนตนไป กลองไมนอนคลอดควรจัดเขามาเพื่อฝกหัดใหรูจกั นอนคลอดในกลอง ในชวง 3 สัปดาหกอนคลอด กลองควรมี กระดาษหนังสือพิมพที่ตัดขาดเปนเสนๆรองนอน เพราะชวยรักษาความอบอุนใหลูกสุนัขไดดีกวาผา กอนคลอด 24 ชั่วโมง อุณหภูมิรางกายสุนัขจะลดลง จาก 100.4 F -> 96.8 F แมสุนัขจะไมกนิ อาหารใดๆภายใน 24 ชั่วโมงนี้ กอนคลอดเล็กนอย แมสุนัขอาจอาเจียน และขับเมือกเขียวๆออกมากอน เนื่องจากรกเริ่มแยกตัวจากกัน แมที่แข็งแรงจะคลอดไดเองไมตองชวยอะไร การคลอด แมจะคลอดถุงรกพรอมลูกออกมาและแมสุนัขจะกัดถุงรกเพื่อใหน้ําคร่ําแตกออกและกัดสายสะดือใหขาด จากถุงรก เพื่อใหลูกหลุดออกมาและหายใจไดเอง ลูกสุนขั หนึ่งตัวจะออกมาพรอมถุงรกตัวเอง และแมจะขับสายรก ที่คางอยูภายในใหออกมาภายหลังคลอดลูกออกมาแลวเปนตัวๆไป(เราตองสังเกตนับ จะไดรูวาคลอดลูกออกมา หมดแลวยัง) แมจะมีพฤติกรรมกินรกตัวเอง เลียลูกกระตุนหายใจ ทําความสะอาดตัวลูก พาลูกมาดูดน้ํานมและให ความอบอุน


หากเราเขาไปยุงอาจโดนกัดหรือขู ทําใหเกิดการแยงลูก อาจเปนอันตรายตอลูก ควรปลอยใหลูก อยูกับแม เพราะการที่ลูกดูดน้ํานมจะกระตุน ใหฮอรโมนออกซิโตซินหลั่งออกมามาก กระตุนใหใหเกิดการคลอด ตอมางายไดตอ เนื่อง การชวยเหลือ หากเจาของจะชวยคือการทําความสะอาดสายสะดือ และมัดสายสายสะดือลูกสุนัขดวยดาย( ระยะหาง 1-2 ซม.จากโคนสะดือ) ใชน้ํายาทิงเจอรไอโอดีนที่มีขายในทองตลาดทั่วไปไดเพื่อเช็ดแผลหรือทําความ สะอาด และควรเช็ดสะดือลูกสุนัขวันละสองครั้งแตใหระวังแมจะกัดเพราะหวงลูก ควรถือสําลีเขาไปทา มากกวา เอาลูกออกมาทายา การเลนและการออกกําลังกาย สุนัขทุกเพศทุกวัยทุกขนาดชอบเลนกับสุนัขดวยกัน หรือกับคนเลี้ยง แตถาสุนัขไมมีกิจกรรม จะทําลายหรือมีพฤติกรรมไมพึงประสงคแทน ชนิดการออกกําลังกาย 1. ออกกําลังกายโดยไมมีสายจูง สุนัขพันธุแข็งแรงและตื่นตัวอยูเสมอ เชน พันธุสเปเนียล ชอบออกกําลังกายทุกวัน ถาสุนัขเชื่องและเปนมิตรสามารถปลอยใหวิ่งเลนโดยไมมีสายจูงได 2. ออกกําลังกายโดยมีสายจูง นอกบริเวณบานควรใชสายจูงกับสุนัข โดยใชสายจูงปรับความยาวได 3. การเลนเกมตางๆ การเลนกับสุนขั เปนการเนนความเปนผูนําของเจาของ เพราะสุนัขจะรอใหโยนของเลนให สุนัขจะไดออกกําลังกายลดความเหงา เครียด 4. การกัดแทะของเลน สุนัขที่มีของเลนจะสุขภาพจิตดีกวาสุนัขที่ไมมีของเลน ของเลนที่กัดแทะไดจะชวยฆาเวลาของสุนัข ในขณะทีไ่ มไดเลนกับเจาของ


ของเลนของสุนัข สุนัขชอบเลนกับสิ่งของที่เคลื่อนที่ไดเชน ลูกบอล จานรอน โดยการวิ่งไลงับและนํากลับมาใหเจาของ ของเลนยางบางชนิดจะมีเสียงดังเมื่อถูกกัดสุนัขจะชอบเนื่องจากเลียนแบบสัญชาตญาณของการลาสัตว เชือกที่ผูกเปนปมหรือของเลนสําหรับงับและดึงจะเปนของเลนที่เหมาะกับสุนัข ยังชวยบริหารเหงือกและ ฟนของสุนัข

การฝกสุนัข สุนัขควรเรียนรูคําสั่งพื้นฐาน 6 คําสั่ง ชิด-นั่ง –คอย-ยืน-หมอบ-มา รางวัลที่ดีคือ รูจักคําวา ‘ดี’ และ’ไม’ ทําดี(ตบไหล ทําหนายิ้ม เสียงเบานิ่ม) และ ไม (ทําหนาดุๆ เสียงดังๆ) การฝกใหเริ่มทันทีที่มันเขามาอยูในบาน ลูกสุนัขตองเรียนรูการเรียกชือ่ มัน (ตั้งสั้นๆ จํางาย อยายาวมาก) ทุกครั้งที่มันทําถูกใหพดู “ดีๆๆ” แตหากผิด ตองพูด “ไมๆๆ” ทันที ไมตองพูดอยางอืน่ ๆ หามตี แตะ ในทุกกรณี การฝกนอกบาน เมื่ออายุได6 เดือนสามรถเริ่มการฝกหนักไดแลว ฝกในสายจูง ควรฝกวันละหนึ่งถึงสองครั้งทุกวัน ครั้งละ15- 30 นาที อุปกรณ: โซคอ สายเชือกฝก ครั้งแรกๆควรใสโซฝกใหคุนเคย1-2 วัน หลังจากนัน้ จึงเริ่มใสสายจูงฝก สายเชือกฝกหรือโซฝกจะตองตางจากสายจูงเดินเลน ไมใชปนกันและ หามใชสายจูงลงโทษสุนัข จะทําให กลัว


คําสั่งแรกคือ ชิด ดวยการเดินจูงสุนัขทางซายมือของผูฝก เรียกชื่อมัน และกลาวคําวา ชิด พรอมดึงสายจูง ใหสั้นๆเขาติดใกลเขา เปนการสอนใหสุนขั เดินตามใกลๆแตไมใหเดินล้ําหนาผูฝก หรือเดินลอมหนาหลัง ฝกเดิน ตามไปเรื่อยๆ หากหยุดก็ใหสนุขยืนนิ่งอยูข างๆเขาเรา หากทําไดใหกลาวคําวา ‘ดี’ หากเดินยังไมไดระเบียบหรือ เดินล้ําหนาใหกระตุกสายจูงและบอกวา ‘ไม’ คําสั่งสอง คือ นั่ง เมื่อเราพาเดินในสายจูง แลวหยุดเดิน สุนัขตองยิ่งนิง่ จากนั่งออกคําสั่ง เรียกชื่อมัน และ กลาวคําวา นั่ง พรอมดึงสายจูงไปขางหลัง ในครั้งแรกๆหลังดึงสายจูงแลวใหใชมือขวาถือสาย มือซายกดเบาๆที่ บั้นทายสุนัขกดใหนั่งลง เมื่อมันนั่ง หากทําไดใหกลาวคําวา ‘ดี’ หากยังทําไมไดใหบอกวา ‘ไม’ และเริ่มใหม ไป เรื่อยๆจนสุนัขทําได คําสั่งสาม คือ คอย เมื่อสุนัขทําคําสั่งที่หนึ่งและสองไดดแี ลว ในทานั่งใหออกคําสั่ง เรียกชื่อมัน และกลาว คําวา คอย พรอมกับใชมือซายแบออกไปสัมผัสเบาที่หนาจมูก(ตบเบาๆ) คอย-คอย ดึงสายจูงใหตงึ สูงตลอดเวลา และออกทางขวาไปยืนตรงหนาสุนัข ยังกลาวคําวา คอย-ดี สลับกันตลอดเวลา หากยังทําไมไดใหบอกวา ‘ไม’ และ เริ่มใหม ไปเรือ่ ยๆจนสุนัขทําได หากดีปลอยใหคอยนานถึง 3 นาทีถือวาสอบผาน คําสั่งสี่ คือ ยืน เมื่อสุนัขทําคําสั่งที่หนึ่งและสอง สามไดดีแลว ใหพาจูงเดิน และเมื่อเราหยุดเดินสุนขั จะนั่ง ทันทีเพราะคําสั่งสอง แตเราจะออกคําสั่ง เรียกชื่อมัน และกลาวคําวา ยืน หากสุนัขจะนั่งใหพาเดินทันที พรอม กลาวคําวา ชิด จากนั้นเริ่มหยุดเดินใหมพรอมกลาววา ยืน ไปเรื่อยๆ หากสุนัขยืนและทําได ใหกลาวคําวา ยืน-ดี สลับกันตลอดเวลา ถึงขณะนี้รอบการฝกใหทําซ้ําตามลําดับเปนเรื่องสําคัญ อยาทําสลับคําสั่งจะทําใหสุนัขงง หาก สุนัขเขาใจดีแลวเขาจะทําตามคําสั่งที่ดีไดเองอัตโนมัติ ไมตองไปทดสอบสลับคําสั่งใหงงไปเฉยๆๆจะใหฝก ยาก โดยไมจําเปน คําสั่งหา คือ หมอบ เมื่อสุนัขทําคําสั่งที่หนึ่งถึงสี่ไดดีแลว ใหพาจูงเดิน และเมื่อเราหยุดเดินสุนัขจะนั่งทันที หรือสั่งใหนงั่ จากนั้นเราจะออกคําสั่ง เรียกชื่อมัน และกลาวคําวา หมอบ เสร็จแลวผูฝกนั่งลงขางๆใชมือซายโอบ ไหลซายสุนัขขามไปจับขาซาย และมือขวาจับปลายขาขวาดึงไปขางหนาคอยๆชาๆและออกคําสั่ง หมอบ ตลอดเวลา สุนัขจะคอยหมอบนอนลง (อาจตองจัดทาทีจ่ ะใหนอนดวย เชนนอน หมอบยืดขาหนาไปขางหนา ขา หลังคู ไมเชนนั้นอาจนอนหงาย นอนแผ) หากสุนัขยังทําไมไดใหเริ่มคําสั่งหนึ่ง สองใหมหากทําได ใหกลาวคําวา หมอบ-ดี สลับกันตลอดเวลา ในขั้นนีเ้ มื่อสุนัขหมอบไดดแี ลว ใหออกคําสั่งตอเนื่องคือ คําสั่ง คอย (จะเปนการหมอบ-คอย) แลวเรายืน ขึ้นดูอยูขาง หากทําได ใหกลาวคําวา หมอบ-ดี สลับกันตลอดเวลา อีกขั้นหนึ่งใหทดสอบปลดสายจูงและออกสั่ง หมอบ-คอย หากทําไดดเี ราก็กลับมาจูงตอ


คําสั่งหก คือ มา เมื่อสุนัขทําคําสั่งที่หนึ่งถึงหาไดดีแลว ใหพาจูงเดิน และเมื่อเราหยุดเดินสุนัขจะนั่งทันที หรือสั่งใหนงั่ -คอย จากนั้นเราเดินออกไปขางหนามัน สองสามกาว มือยกสายจูงไว แลวออกคําสั่ง เรียกชื่อมัน และกลาวคําวา มา หากสุนัขงงใหดึงสายจูงมาหาตัวสุนัขก็จะเดินมาหาทันที ทําอยางนี้ไปเรื่อยๆ อยาลืมชมเขาทุก ครั้ง การฝกภายในบาน การฝกขับถายบนกระดาษ 1. ลูกสุนัขอาจถายทุกๆ 2-3 ชั่วโมง ในชวงแรกจะเปนปญหาเรื่องการถายเลอะเทอะ 2. เมือ่ ลูกสุนัขรูสึกอยากถาย มักจะดมกลิ่นกับพื้นและวิ่งวนไปรอบๆ ใหรีบจับสุนัขไปที่จัดไวทันที วางสุนัขลงบนกระดาษหนังสือพิมพ และการเปลี่ยนกระดาษควรเหลือแผนเกาไวบา งเพื่อใหสุนัข จํากลิ่นไดงายและกลับมาถายที่เดิมอีก 3. เมื่อสุนัขถายแลวเจาของควรชื่นชมสุนัข ควรรีบทําความสะอาดโดยน้ํายาฆาเชื้อและกําจัดกลิ่น อยาใชที่มีแอมโมเนียผสมเพราะจะทําใหสนุ ัขคิดวาเปนกลิ่น ปสสาวะของมันเอง การขับถายนอกบาน 1. 2. 3. 4.

ฝกใหสุนัขขับถายเปนชวงเวลาจนสุนัขพอใจและเปนนิสยั พยายามใหสุนขั ขับถายบริเวณที่หางจากตัวบาน ปสสาวะมีลักษณะเปนกรด อาจทําใหหญาตายได ควรเก็บอุจาระสุนัขทันที ไมพาไปถายหนาบานคนอื่นหรือที่สาธารณะ

การอุมสุนัข การอุมสุนัขขนาดใหญ 1. ใหใชแขนขางหนึ่งโอบรอบหนาอก ขณะที่แขนอีกขางโอบรอบขาหลัง แลวดึงตัวสุนัขมาติด หนาอก 2. จับใหมนั่ คงแลวยกขึ้น กรณีสุนัขมีอาการตื่นกลัวควรวางลงกอน การอุมสุนัขขนาดเล็ก 1. ใชมือขางหนึ่งสอดเขาหวางขาขณะที่อีกขางโอบรอบขาหลังและสะโพก เพื่อไมใหสุนัขบิดตัว หรือถีบ


2. ยกสุนัขขึ้นโดยที่มือขางหนึง่ อยูรอบหนาอก และอีกขางอยูที่บั้นทาย ปองกันไมใหสุนัขกระโดด ลงไปได สังคมสุนขั ควรฝกใหสุนขั อยูรวมกับสุนัขอื่นได หรือไมแสดงพฤติกรรมกาวราวกับสุนัขแปลกหนา การใหสนุ ัข คุนเคยกันกับสุนัขอื่นๆตั้งแตเล็กชวยใหสนุ ัขเรียนรูการเขาสังคมไดดีขึ้น หากสุนัข เหาขูกันใหดุทนั ที อยาเสริมสง การพาสุนัขไปพบสัตวแพทย สุนัขควรไดรบั การตรวจรางกายทุกป และควรถายพยาธิปละ 4 ครั้ง รวมทั้ง การฉีดวัคซีนปองกันโรคตางๆครบถวน การอาบน้ําสุนขั สุนัขไมจําเปนตองอาบน้ําทุกวัน อาบใหเมือ่ สุนัขสกปรกเทานั้น ควรใชน้ําอุนและแชมพูสําหรับสุนัข โดยใหสุนัขยืนในอางอาบน้ํา หรือที่พื้นไมลื่น กอนราดน้ําทําความสะอาด ใหจับหัวสุนัขเชิดสูงขึ้น เพื่อปองกันน้ําเขาตาและหูของสุนัข ใหราดน้ําหรืออาบหัวและหูเปนรายการสุดทายเพราะสุนขั จะสะบัดขนไลน้ําหากหนาตาเปยก ลางแชมพูออกใหหมด เช็ดตัวสุนัขใหแหง ใหระวังสุนขั หนาวสั่น สําหรับสุนัขพันธุขนยาวควรเปาขนใหแหงกอนแปรงขน


ขั้นตอนการอาบน้ําสุนขั

1.

2.

4.

5.

3.

6.

การตัดแตงขนสุนัข การตัดแตงขนมี 2 แบบ คือ แบบสิงโตอังกฤษและแบบสิงโตคอนติเนนทัล สําหรับสุนัขที่อายุนอยกวา 1 ป อาจตัดแตงขนแบบลูกสุนขั สุนัขพันธุพูเดิลทั่วไปที่ไมไดสงเขาประกวดนิยมตัดแตงขนในรูปแบบที่เรียบงายกวา คือ แบบทรงแกะ การดูแลขนสุนัข สุนัขพันธุขนยาวตองเพิ่มความระมัดระวังเปนพิเศษ สุนัข พันธุยอรกไชร เทอรเรียร หลังจากอาบน้ําแลว ควรจะรวบขนไวเปนจุดๆ จึงแกะขนที่รวบไวออกแลวหวี จะพบวาขนไมพันกัน และเรียงตัวเปนระเบียบ สุนัขพันธุข นเรียบ

ลาซา แอปโซ

มอลตีส

ปกกิ่ง

สุนัขที่มีขนเรียบนั้นดูแลงาย แปรงขนใหสปั ดาหละ 1-2 ครั้งก็พอแลว ขั้นแรกควรใชแปรงยางแปรงยอนขน เพือ่ ขจัดขนที่หมดอายุและสิ่งสกปรก

ชิสุ


แลวแปรงตามขนอีกครั้ง ถาอยากใหสนุ ขั มีขนเงางามก็ใหใชผาชามัวรขัดขนอีกครั้ง สุนัขพันธุข นสั้น

บีเกิล

บาสเซต ฮาวนด

บูล เทอรเรียร 

สุนัขที่มีขนสั้นจะดูแลจะดูแลไมยากนัก ใหใชแปรงสลิกเกอรแปรงขนไมใหพันกันกอน แลวใชแปรงขนสัตวแปรงขจัดขนที่หมดอายุและสิ่งสกปรกบริเวณหางและขา ควรใชหวีซี่ละเอียดแปรงซ้ําอีกครั้ง และใชกรรไกรเล็มขนที่ไมเปนระเบียบออก

สุนัขพันธุข นแข็ง สุนัขที่มีขนแข็งและหนานี้ตอ งดูแลเปนพิเศษ ควรแปรงขนใหทุกวัน เพื่อไมใหขนพันกัน และไมควรใชครีมปรับสภาพขน เพราะจะทําใหขนนิ่ม เจาของตองหมั่นดูแลถอนขนใหสม่ําเสมออยางนอยทุก 3-4 เดือน


การตัดแตงขนสุนัขตามแฟชัน่ มีขอดีตรงที่ดูแลขนสุนัขไปดวย เพราะสุนขั จะไดรับการดูแลขนอยางสม่ําเสมอ ชวยไมใหขนพันกัน โดยเฉพาะสุนัขที่มีขนยาวจะชวยไมใหสุนัขรอน หากไมชอบตัดแตงขนสุนัขก็ควรเล็มขนใหทุก 6-8 สัปดาห อุปกรณที่ใชในการตัดแตงขน

หวีฟน ถี่และหางชนิดโลหะ แปรง

กรรไกรตัดเล็บ

การจัดการทั่วไป การปอนยา สุนัขที่ปวยหรือไดรับบาดเจ็บอาจจําเปนตองไดรับยาที่สตั วแพทยสั่งจายใหการปอนยาสุนัขตองทําอยาง นุมนวล ทั้งนี้การหยอนยาลงในชามอาหารของสุนัขไมไดรับประกันวาสุนัขจะกิน ยานั้นเขาไปดวย จงอยาเรียกสุนัขใหมาหาคุณเพื่อเพียงปอนยา ควรเขาไปหาสุนัขเอง การปอนยาเม็ด 1. สั่งใหสุนัขนั่ง ใชมือขางหนึ่งเปดปากสุนัขอยางนุมนวล โดยจับปากสุนัข จากดานบน 2.ใชมืออีกขางหนึ่งหยอนเม็ดยาลงไปในคอใหลึกที่สุดเทาที่จะเปนไปได โดยใหวางอยูเหนือโคนลิน้ สวน ที่โปงขึ้นมา


3.ใชมือจับปากสุนัขใหปด และจับหัวใหเงยขึ้นชา ๆ แลวลูบคอลงมาดวยมืออีกขาง หนึ่ง 4.เมื่อสุนัขกลืนยาและเลียริมฝปาก แสดงวาการปอนยาเสร็จเรียบรอย และจงชม สุนัขทุกครั้งที่กินยาสําเร็จ

การปอนยาน้ํา วิธีการปอนยาน้ําที่ถูกตองและไดผลดี คือ การใชหลอดฉีดยาเปนอุปกรณชวย ปอน ถาสุนัขไมยอมกลืนยาเม็ด คุณอาจนํายาเม็ดไปบดและผสมกับน้ําหวาน และฉีดยาน้ําเขาไปตรงขางปาก ทั้งนี้ยาน้าํ แกไอก็สามารถปอนดวยหลอดฉีด ยาไดเชนกัน

การหยอดหู

1.จับหัวสุนัขใหอยูนิ่ง ๆ และเปดหู 2.อยาใหสุนัขสะบัดศีรษะ 3.ใชมือนวดคลึงหูสุนัขอยางนุมนวล สุนัขขึ้น แลวสอดปลายขวดยาหยอด แลวนําขวดยาออกมาจากหู วิธีนี้จะชวยใหตัวยากระจายไปทั่วหู หูไปในทิศทางปลายจมูกสุนัข และพับหูกลับลงมาใน ตําแหนงปกติ


การหยอดตา

1.ทําความสะอาดบริเวณรอบ ๆ ดวงตา โดยใชสําลีชุบน้ําเช็ด คราบขี้ตาและสิ่งสกปรก ออกไปใหหมด

2.ควบคุมสุนัขใหอยูน ิ่ง ๆ อยางนุมนวล 3.บีบขวดยาใหไดจํานวนหยด ใหสุนัขลืมตากวาง แลวนําขวดยามา ยาลงสูด วงตาตามที่ตองการ หยอดตาจากดานบนและดานหลังเพื่อ และใหตาชุมไปดวยยา ไมใหสุนัขหวาดกลัว

การดูแลบาดแผลเบื้องตน การดูแลบาดแผลปด 1.ถาสุนัขมีบาดแผลปดใหประคบบาดแผลใหเร็วที่สุด โดยใหนําผาขนหนูผืนเล็กๆมาวางเหนือบาดแผล ดวย (เพื่อปองกันไมใหผาประคบแผลแข็งตัวติดผิวหนัง) จากนั้นนําน้ําแข็งมาวางทับไว 15 นาที 2.สุนัขอาจกระดูกหัก และตองไดรับการรักษาจากสัตวแพทยโดยดวน การนําผาเย็นประคบบาดแผลมาวางบนบริเวณทีไ่ ดรับบาดเจ็บ จะชวยลด อาการปวดและการบวม อยางไรก็ตามถาสุนัขปวดบาดแผลมาก ใหเลิก ประคบแผล

อาการของบาดแผลเปด บาดแผลเปดตองไดรับการทําความสะอาดใหทวั่ เพื่อปองกันการติดเชื้อ ตองตรวจสอบบาดแผลเปดใหดี เพราะถามีเลือดออกเล็กนอยหรือไมมีเลือดออกเลย บาดแผลอาจจะเห็นไมชัด อาการของบาดแผลเปดมีดังนี้: สุนัขเลียหรือใหความสนใจสวนใดสวนหนึ่งของรางกายมากผิดกติ


มีสะเก็ดแผลใหมๆที่ผิวหนัง ผิวหนังมีรูทะลุ มีรอยเลือดบนผิวหนัง เดินกะเผลก ถาพบอาการขางตน ควรหาบาดแผลเปด หากพบบาดแผลจง ทําความสะอาด และนําไปหาสัตวแพทย การดูแลบาดแผลเปด 1.ถาสุนัขมีบาดแผลเปดและไมใหญมาก ใหดึงสิ่งสกปรก ตางๆกรวดเสีย้ น และวัตถุแปลกปลอมใดๆโดยใชนวิ้ หรือ ปากคีบ 2.ลางบาดแผลดวยน้ําเกลือออนๆ น้ําสะอาดหรือ ไฮโดรเจนเปอรออกไซด 3 เปอรเซ็นต 3.ถาขนสุนัขเขาไปอยูในบาดแผล ตัดขนรอบๆปากแผลใหเกลี้ยง แตกอ นจะตัดขน ใหหลอเลี้ยงกรรไกรดวยสาร หลอลื่นที่ละลายน้ําได วิธีนี้จะชวยใหขนมาติดที่กรรไกร โดยไมไปติดบาดแผล

โรคที่สําคัญในสุนัข โรคลําไสอักเสบติดตอ หรือการติดเชื้อพาโวไวรัสในสุนขั มีรายงานพบวาสุนัขทุกอายุ ทุกเพศและทุกพันธุสามารถเปนไวรัสทีส่ ามารถติดตอที่ รุนแรงที่ทําลายระบบทางเดินอาหาร เม็ดเลือดขาว และในสุนัขบางตัวจะมีผลตอกลามเนื้อหัวใจ เกิดจากการติดเชื้อพาโวไวรัส (parvovirus: CPV)ปจจุบันเรียกโรคนี้วา โรคติดเชื้อพาโวไวรัสใน สุนัข หรือโรคลําไสอักเสบติดตอ (canine parvoviral infection) ซึ่งมีการระบาดทั่วโลก รวมทั้ง ประเทศไทยดวย การติดเชื้อพาโวไวรัสสามารถแพรกระจายจากสุนัขตัวหนึ่งไปอีกตัวหนึ่ง การติดตอมีโอกาสมากขึ้นเมื่อ สุนัขไปอยูรวมกันมาก เราจะทราบไดอยางไรวาสุนขั ติดเชื้อพาโวไวรัส

อาการเริ่มแรกของสุนัขที่ติดเชื้อพาโวไวรัสคือ ซึม เบื่ออาหาร อาเจียนและทองเสีย อยางรุนแรง อุณหภูมิ ของรางกายอาจจะสูงขึ้น อุณหภูมิของรางกายที่วดั จากทวารหนักของสุนัข มีคาประมาณ 101º - 102ºF


อาการปวยพบไดประมาณ 5-7 วัน ในระยะแรกของการติดเชื้อ(แสดงอาการแลว) อุจจาระของสุนขั จะมี ลักษณะเหลวมีสีออกเทา หรือเหลืองเทา (yellow-gray) ในบางครั้งอาการแรกเริ่มสุนัขอาจจะถายเหลวโดยมีเลือด ปนออกมาได เมื่อสุนัขมีการถายเหลว หรืออาเจียนอยางรุนแรง ทําใหสุนัขสูญเสียน้ําและเกลือแรออกจากรางกายอยาง รวดเร็ว สุนัขปวยบางตัวจะมีอาการอาเจียนอยางรุนแรงและถายอุจจาระเปนน้าํ สีน้ําตาลจนถึงสีแดง(มีเลือดปน)พุง จนตายได ในสุนัขบางตัวอุจจาระอาจจะมีลักษณะเหลวเทานั้นและสามารถฟนตัวจากการปวย ได อาการปวยมักพบวา ลูกสุนัขจะแสดงอาการปวยรุนแรงกวาสุนัขโต สุนัขมักจะตายภายใน 48-72 ชั่วโมงหลังจากที่เริ่มแสดงอาการ ลูกสุนัขมักจะตายดวย ภาวะชอค โดยมักจะเกิดขึ้นหลังการติดเชื้อประมาณ 1-2 วัน ในอดีตพบวาลูกสุนขั อายุนอยกวา 5 เดือนมีอัตราการปวยคอนขางสูง การฉีดวัคซีนกันชวยลด อัตราการปวยและอัตราการตายจากการติดเชื้อ ลูกสุนัขชวงระหวางหยานม (1 เดือน)ถึงอายุ 6 เดือนเปนชวงอายุที่มีความเสี่ยงตอการปวยเปนโรค สุนัขบางพันธุจะแสดงอาการปวยที่มีความรุนแรงในบางสายพันธุ เชน รอตไวเลอร และโดเบอรแมนพิ้น เชอร การปองกันโรคลําไสอักเสบติดตอในสุนขั การปองกันโรคลําไสอักเสบจากการติดเชื้อพาโวไวรัสสามารถทําไดดวยการฉีดวัคซีนปองกัน โดยปกติใน ลูกสุนัขมักจะเริ่มตนฉีดเมื่ออายุประมาณ 6-8 สัปดาห กรณีที่สุนัขที่เลี้ยงเกิดปวยติดเชื้อพาโวไวรัส ตองทําความสะอาดบริเวณกรง หรือคอก หรือที่อยูของสุนัข ปวย ฆาเชื้อดวยยาฆาเชื้อ พวกสารละลายโซเดียมไฮโดรคลอไรต ซึ่งเปนสวนประกอบของยาฆาเชื้อทีม่ ีใชอยู ในบาน อยูแลว(ยาทําความหองน้ํา ครัว) อยาลืมวาเชื้อพาโวไวรัสนี้สามารถมีชีวิตอยูไดในสิ่งแวดลอมได เวลานานเปนเดือนๆ


โดยเฉพาะอยางยิ่งสุนัขที่มีอายุไมเกิน 6 เดือนควรระมัดระวังอยางยิ่ง สิ่งปฏิกูล หรือสิ่งขับถายของสุนัข ควรกําจัดทิ้งใหเร็วที่สุดไมควรกัก หมักหมมไว ถาไมแนใจวาสุนัขของเรากําลังจะปวยดวยการติดเชื้อพาโวไวรัส หรือโรคลําไสอักเสบหรือไม ควร ปรึกษาสัตวแพทย การลดความเสี่ยงตอการติดเชื้อพาโวไวรัสที่ดีที่สุดคือปองกันสุนขั ไมใหไปสัมผัสกับ สุนัขอื่นๆ โดยเฉพาะในบริเวณที่มีการแพรระบาดของโรคนี้ เจาของสุนัขควรปรึกษา หรือนําสัตวไปพบสัตวแพทย เมื่อพบวา สุนัขมีอาการตางๆ เหลานี้ • • • • • •

พบมีสิ่งคัดหลั่งที่ผิดปกติออกจากจมูก ตา หรือชองเปดอืน่ ๆของรางกาย สัตวเลี้ยงไมกนิ อาหาร มีน้ําหนักลดลง หรือกินน้ํามากขึ้นกวาปกติ ขับถายลําบาก หรือผิดปกติ หรือไมสามารถควบคุมการขับถายได พบมีพฤติกรรมที่ผิดปกติ หรือพบมีความดุรายขึ้นอยางกระทันหัน หรือออนเพลีย พบมีกอนผิดปกติ เดินกระโผลกกระเผลก ลุกหรือนอนลําบาก มีการสั่นหัวมากผิดปกติ เกา หรือเลีย หรือกัดแทะตามลําตัวมากผิดปกติ

พยาธิหนอนหัวใจ ชีพจักรของพยาธิหนอนหัวใจของสุนัขเริม่ ตนเมื่อสุนัขที่ปวยดวยโรคพยาธิหนอนหัวใจ ซึ่งจะมีตวั ออน ของพยาธิหนอนหัวใจอยูในกระแสเลือด (microfilariae) ถูกยุงดูดกินเลือด ทําใหยุงไดรับเอาตัวออนของพยาธิ หนอนหัวใจไปดวยเมื่อดูดกินเลือดสุนัขปวยเปนอาหาร หลังจากนัน้ ตัวออนของพยาธิหนอนหัวใจจะใชระยะเวลาภายหลังจากถูกดูดกินจากตัวสุนัข ประมาณ 2-3 สัปดาหในการพัฒนาเปนตัวออนระยะติดตอในตัวยุง เมื่อยุงมีการดูดกินเลือดของสุนัขอีกครั้ง โดยเฉพาะสุนัขที่มีสุขภาพปกติ (ไมไดปวยเปนโรค) ยุงจะมีการ ถายเทตัวออนระยะติดตอที่ไดมีการพัฒนาอยางสมบูรณแลวในยุงไปยังสุนัขอีกตัวหนึ่ง จากนัน้ ตัวออน ระยะติดตอจะชอนไชไปตามเนื้อเยื่อตางๆ ของสุนัข และเจริญเติบโตตอไปอีก 2-3 เดือนและพัฒนาเปน ตัวแกในที่สุดในหัวใจของสุนัขตัวใหม

เมื่อตัวพยาธิอยูในหัวใจของสุนัข และมีการเจริญเติบโตในหัวใจของสุนัข มันจะมีขนาดยาวประมาณ 14 นิ้ว และทําความเสียหายใหกับเนือเ ยื่อหัวใจ เนื้อเยื่อปอดและอวัยวะที่สําคัญอื่นๆ ถาสุนัขปวยไมได รับการรักษา การพัฒนาของโรคจะมีความรุนแรงมากขึน้ และที่สุดสุนขั จะตายได


โรคพิษสุนัขบา โรคพิษสุนัขบา เปนโรคที่มีอันตรายรายแรง ทําใหคนหรือสัตวที่ปวยดวยโรคนี้ตองตายดวยความทุรนทุ ราย โรคนี้เกิดจากเชื้อไวรัสที่มีชอื่ วา เรบีสไวรัส สัตวเลือดอุนทุกชนิดโดยเฉพาะ สัตวเลีย้ งลูกดวยนม เชน วัว ควาย มา หมู ลิง ชะนี กระรอก กระแต เสือ คางคาว คน ฯลฯ สัตวที่พบวาเปน โรคพิษสุนัขบา มากที่สุด คือ สุนัข ( 96 % ของจํานวนทีพ่ บเชื้อจากการวินิจฉัย ในหอง -ปฏิบัติการ ) รองลงมา คือ แมว ( 3% ) การติดตอของโรคพิษสุนัขบามาสูคน โดยการไดรับเชื้อไวรัสที่อยูในน้ําลายสัตว เขาทางบาดแผลที่เกิดจากการถูกกัด ขวน หรือถูกเลียบริเวณ บาดแผลที่มีอยูเดิม หรือไดรบั เชื้อเขาทางเยือ่ ตา เยื่อปาก คนถูกสุนัขที่เปนโรคพิษสุนขั บากัด ใชเวลานานเทาไรจึงจะแสดงอาการ ระยะเวลาตั้งแตไดรับเชื้อ จนกระทั่งปรากฏอาการ หรือระยะฟกตัวจะกินเวลาตั้งแต 7 วัน ถึง 2 ป ขึ้นอยูกับ ลักษณะบาดแผลและบริเวณที่ถูกกัด ถาถูกกัดบริเวณใบหนาหรือใกลสมองและบาดแผลฉกรรจ ระยะฟกตัวจะเร็ว ถาถูกกัดบริเวณขา ระยะฟกตัวนานกวา เพราะเชื้อจะเดินทางมาถึงสมองโดยเฉลี่ยประมาณ 2 - 6 อาทิตย อาการของผูปว ยโรคพิษสุนขั บา มี 2 แบบ คือ แบบกาวราว ดุราย และแบบอัมพาต อาการของโรคแบงเปน 3 ระยะ คือ ระยะอาการเริม่ แรก อาจมีอาการไมสบาย ครั่นเนื้อครั่นตัว มีไขต่ํา ๆ ออนเพลีย เบื่ออาหาร เจ็บคอคลาย เปนหวัด อาจมีอาการคลื่นไส ปวดทอง และที่พบบอย คือ อาการคัน เสียว หรือชาบริเวณแผลที่ถูกกัด ระยะอาการทางระบบประสาท อาจคลุมคลั่ง ดุราย กลัวน้าํ กลัวลม ความรูสึกไวกวาปกติ ทุรนทุราย หรือมี อาการซึม เปนอัมพาต น้ําลายไหลตองบวนทิ้ง กลืนน้ําไมได ระยะสุดทาย ไมรูสึกตัว หายใจกระตุก ผูปวยสวนมากมักจะตายภายใน 7 วัน หลังจากเริ่มแสดงอาการ ถาเชื้อไวรัสเพิม่ จํานวนในสมองมาก ก็จะแสดงอาการแบบคลุมคลั่ง ดุราย แตถาเชื้อ ไวรัสเพิ่มจํานวนมาก ในไขสันหลัง จะแสดงอาการอัมพาต


อาการโรคพิษสุนัขบาในสุนขั แบงไดเปน 2 แบบ คือ แบบดุราย แสดงอาการชัดเจนและพบบอย และแบบซึมซึ่งแสดงอาการไมชัดเจน อาการของโรคมี 3 ระยะ คือ ระยะอาการเริ่มแรก สุนัขจะมีนิสัยแปลกไปจากเดิม ตัวที่เคยขลาดกลัวจะเขามา คลอเคลีย ตัวที่เคยเชื่องชอบเลน จะ หงุดหงิด หลบไปตามมุมมืด เงียบ กินอาหารและน้ํานอยลง ระยะนี้มีอาการ 2 - 3 วัน จะเขาสูระยะที่ 2 ระยะตื่นเตน จะมีอาการทางประสาท มีความรูสึกไวกวาปกติ กระวนกระวาย หงุดหงิด ไมอยูนิ่ง กัดแทะสิ่งของ ตัวแข็ง ขากรรไกรแข็ง ปากอา ลิ้นหอย น้ําลายไหล มานตาขยาย บางตัววิ่งพลานไปทั่ว เมื่อพบสัตวหรือคนขวางหนาจะกัด สงเสียงเหา หอน ในระยะที่แสดงอาการแบบซึมอาจไมแสดงอาการเชนนี้ แตเมื่อถูกรบกวนอาจกัด ตอมา กลามเนื้อจะเริ่มออนแรงลง ทรงตัว ไมได ลมแลวลุกไมได บางตัวชักกระตุก อาการระยะนี้พบได 1 - 7 วัน จึงจะเขาระยะสุดทาย ระยะอัมพาต เกิดอาการอัมพาตลามทั้งตัวเริ่มจากขาหลัง ตอมากลามเนื้อคอจะเปนอัมพาต กลืนอาหารไมได ระบบหายใจ ลมเหลวและตายในที่สุด รวมระยะเวลาเริ่มแสดงอาการจนตายประมาณ 10 วัน อาการโรคพิษสุนัขบาในแมว ในระยะที่มีอาการชัดเจน แบงไดเปน 3 ระยะ เชนกัน คือ ระยะอาการนํา มีอาการหงุดหงิด นิสัยเปลี่ยนไป ชอบหลบซุกในที่มืด ระยะนี้มักสั้น ไมเกิน 1 วัน ระยะตื่นเตน แสดงอาการดุราย กัด หรือขวนคนหรือสัตวที่เขามาใกล กลามเนื้อสั่น น้ําลายไหล กลืนลําบาก ระยะนี้กิน เวลาประมาณ 2 - 4 วัน ระยะอัมพาต เริ่มเปนอัมพาตจากขาหลัง แลวลามมายังลําตัว ขาหนาและหัว จนทั่วตัวอยางรวดเร็ว แลวถึงแกความตาย อาการในแมวมักไมชัดเจน อาจเปนแบบซึม มีระยะตื่นเตนสั้นมาก หรือไมแสดงอาการเลย อาจพบวากินอาหารและน้ําลําบาก แลว เปนอัมพาตลามไปทั่วตัว ตายในเวลา 3 - 4 วัน หลังจากเริ่มมีอาการ เมื่อถูกสัตวที่สงสัยวาเปนโรคพิษสุนัขบากัดควรทําอยางไร 1. รีบลางแผลดวยน้ํากับสบูหลาย ๆ ครั้ง เพื่อลางเชื้อออกจากบาดแผล ถามีเลือดออกควรปลอยใหเลือดไหลออก อยาบีบหรือเคน แผล เพราะจะทําใหเชื้อแพรกระจายไปสวนอื่น 2. เช็ดแผลดวยน้ํายาฆาเชื้อโรค ควรใชสารละลายโพวีโดนไอโอดีน เชน เบตาดีน ถาไมมี อาจใชแอลกอฮอล 70 % หรือทิงเจอร ไอโอดีน 3. ไมควรเย็บแผล ถาจําเปนควรรอไว 3 - 4 วัน ถาเลือดออกมากหรือแผลใหญอาจเย็บหลวม ๆ และใสทอระบายไว 4. กักสัตวไวดูอาการอยางนอย 10 วัน โดยใหน้ําและอาหารตามปกติ อยาฆาสัตวใหตายทันที เวนแตสัตวดุราย กัดคนและสัตวอื่น หรือไมสามารถกักสัตวได ถาสัตวหนีหายไป ใหถือวาสัตวนั้นเปนโรคพิษสุนัขบา 5. รีบไปพบแพทยทันที หลังจากถูกสัตวกัด เพื่อขอคําแนะนําเรื่องการฉีดวัคซีน อยารอจนกระทั่งสัตวที่กัดตาย อาจพิจารณาใหการ ปองกันบาดทะยัก และยาปฏิชีวนะเพื่อปองกันการติดเชื้ออื่น ๆ ดวย 6. พบสัตวแพทย กรมปศุสัตวหรือเจาหนาที่สาธารณสุขในชุมชน เพื่อแจงรายละเอียดเกี่ยวกับตัวสัตว เชน ชนิดสัตว สี เพศ พันธุ อายุ สถานที่ถูกกัด เพื่อวางมาตรการปองกันและควบคุมโรคตอไป 7. เมื่อสัตวตาย ตัดหัวสงตรวจโรคพิษสุนัขบา 8. ตองซักประวัติโดยละเอียดและสงไปพรอมซากสัตว เพื่อเปนแนวทางในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลผูสัมผัสโรค ความเชื่อเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบา ในปจจุบัน แมวาคนจะตายดวยโรคพิษสุนัขบานอยลง เนื่องจากคนมีความรูมากขึ้น วัคซีนมีคุณภาพดีขึ้น มีความปลอดภัย มากขึ้น ราคาถูกและหาไดงายขึ้น รวมทั้งวัคซีนสัตวดวย ประการสําคัญ รัฐไดใหความสนใจตอการปองกันและกําจัดโรคนี้อยาง


จริงจัง แตสิ่งหนึ่งที่ทําใหคนจํานวนไมนอยตองตายดวยโรคพิษสุนัขบา เพราะความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบา โดยเฉพาะ เกี่ยวกับการรักษาโรคพิษสุนัขบา ความเชื่อ

ความจริง

โรคพิษสุนัขบาเปนในหนารอนเทานั้น โรคพิษสุนัขบาเกิดไดทั้งป เนื่องจากเกิดจากเชื้อไวรัส ติดตอโดย ไดรับเชื้อจากน้ําลายสัตวปวย ไมใชเกิดเพราะความเครียดเนื่องจาก ความรอน เมื่อถูกสุนัขกัดตองใชรองเทาตบแผล การใชรองเทาตบแผล จะทําใหแผลช้ํา เชื้อกระจายไปรอบบริเวณ หรือใชเกลือขี้ผึ้งบาลมหรือยาฉุนยัดลง แผลไดงายและอาจมีเชื้อโรคอื่น ทําใหเกิดการอักเสบของบาดแผล หรือเกิดบาดทะยักได เกลือหรือยาฉุน อาจมีสิ่งสกปรกปะปนอยู ไม ในแผล ควรใสลงในแผล ควรลางแผลดวยน้ําสะอาดกับสบูหลาย ๆ ครั้ง เพื่อ ชวยลางเชื้อออก แลวใสยาใสแผล เชน ทิงเจอรไอโอดีนหรือ แอลกอฮอล ซึ่งสามารถฆาเชื้อโรคพิษสุนัขบาได การรดน้ํามนตชวยรักษาโรคพิษสุนัขบา การรักษาผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา ที่ไดผลดีที่สุด คือ ไดรับการฉีด ได เมื่อถูกสุนัขกัด การฆาสุนัขนั้นให วัคซีนทันทีเมื่อสัมผัสโรค เพื่อใหรางกายสรางภูมิคุมกันโรค แตถา ตายแลวนําตับสุนัขมารับประทาน คน ไมไดรับการฉีดวัคซีน ปลอยใหเชื้อเขาสูสมองจนถึงขั้นแสดงอาการ จะไมเปนโรคพิษสุนัขบา ของโรคพิษสุนัขบาแลว ไมมียาใด ๆ รักษาได เนื่องจากเชื้อไปทําลาย สมอง ทําใหผูปวยแสดงอาการคลุมคลั่งและตายในที่สุด เนื่องจาก กลามเนื้อทุกสวนเปนอัมพาต ดังนั้น การรดน้ํามนตไมสามารถรักษา โรคพิษสุนัขบาได เมื่อถูกสุนัขบากัด การตัดหู ตัดหางสุนัข สุนัขหรือสัตวอื่นที่ถูกสัตวที่เปนโรคพิษสุนัขบากัด หากไมเคยฉีด นั้น จะชวยใหสุนัขไมเปนโรคพิษสุนัข วัคซีนมากอน ควรทําลายทิ้ง แตหากตองการรักษาชีวิตสัตวนั้นไว ควรฉีดวัคซีนทันที แลวกักสัตวไวดูอาการ อยางนอย 6 เดือน หรือขอ บา คําแนะนําจากสัตวแพทย คนทองไมควรฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษ วัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาปจจุบัน มีความปลอดภัยสูง ฉีดไดแม สุนัขบา ในคนทอง สุนัขที่เปนโรคพิษสุนัขบาจะมีอาการดุ อาการโรคพิษสุนัขบาในสุนัข มีทั้งแบบซึมและแบบดุราย แบบซึม ราย ตัวแข็ง หางตกเทานั้น สุนัขจะหลบซุกตัวในมุมมืด ถาถูกรบกวนอาจจะกัด ตอมาจะเปน อัมพาต แลวตาย บางตัวอาจแสดงอาการคลายกระดูกหรือกางติดคอ ทําใหเจาของเขาใจผิดพยายามลวงปากสุนัข เพื่อหาเศษกระดูก จึงไม ควรลวงคอสุนัข หากจําเปน ควรใสถุงมือทุกครั้ง โรคพิษสุนัขบาเปนในสุนัขเทานั้น

โรคพิษสุนัขบา เปนไดในสัตวเลือดอุน เลี้ยงลูกดวยนมทุกชนิด แต พบมากที่สุดในสุนัข

วัคซีนโรคพิษสุนัขบา ฉีดรอบสะดือ 14 วัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในปจจุบัน มีคุณภาพดี ฉีดเขากลามเนื้อ เข็ม หรือ 21 เข็ม ถาหยุดตองเริ่มตน แขนหรือใตผิวหนัง เพียง 5 เข็ม และไมตองฉีดทุกวัน ใหม


โปรแกรมวัคซีน วัคซีน โรคหวัดและหลอดลมอักเสบ ติดตอ (Kennel Cough Syndrome)

o o o

ชวงอายุ 4-6 สัปดาห กระตุนซ้ําที่ 10-14 สัปดาห

โรคลําไสอักเสบติดตอ (Canine Parvovirus)

4-6 สัปดาห กระตุนซ้ําที่ 10-14 สัปดาห

โรคไขหัด ตับอักเสบและเลพโต สไปโรซิส (Canine Distemper, Infectious Hepatitis and Leptospirosis)

14-6 สัปดาห กระตุนซ้ําทีอ่ ายุ 10-14 สัปดาห

โรคพิษสุนัขบา (Rabies)

12 สัปดาห กระตุนซ้ําทีอ่ ายุ 6 เดือน

ควรงดการอาบน้ํา 7 วันหลังการฉีดวัคซีน ควรถายพยาธิเมื่อลูกสุนัขอายุ 3-4 สัปดาห และทุก 6 เดือน


การเพาะขยายพันธุสุนัข

พันธุบอสตันเทอเรีย

พันธุปกกิ่ง

พันธุเชา เชา

สุนัขตัวเมียถึงวัยผสมพันธุและมีสัดครั้งแรกเมื่ออายุประมาณแปดหรือเกาเดือน แตสุนัขพันธุ "เชา เชา" จะมีสัดครั้งแรกเมือ่ มันมีอายุเพียงหาหรือหกเดือนเทานั้น และสุนัขบางพันธุก็อาจจะใชเวลาเปนปหรือมากกวานั้น ควรถายพยาธิใหแมสุนัขสักสองหรือสี่สัปดาหกอนแมสนุ ัขมีสัด

สุนัขตัวเมียสวนใหญเขาสูฤดูการเปนสัดสองครั้งตอป ถาคุณตองการใหสุนัขคุณมีลกู จะตองคัดเลือกพอพันธุใหเปนพอพันธุทดี่ ี ไมนิยมผสมพันธุในสุนัขที่เปนสัดครั้งแรกหรืออายุนอยจนเกินไป ระยะที่สนุ ัขตัวเมียพรอมจะผสมพันธุ น้ําที่ชองคลอดจะเริ่มใส ซึ่งจะอยูในชวงตรงกับวันทีส่ ิบเอ็ดหรือวันที่สิบสามของการเริ่มเปนสัด การมือกดทับบั้นทาย ถามันนิ่ง และเคลื่อนหางของมันจากขางหนึ่งไปอีกขางหนึ่ง แสดงวามันพรอมที่จะ ผสมพันธุแลว เราควรนําสุนขั ตัวเมียไปผสมกับพอพันธุตามคอกผสมพันธุ (ซึ่งตองเสียคาผสมพันธุ) เมื่อไดดูพอพันธุควรปลอยใหตัวผูและตัวเมียอยูดว ยกันตามลําพังมันจะผสมกันเอง เวนแตเจาของคตัวผูที่มีความชํานาญเขาจะมีวิธีจดั การชวยพอสุนัขผสมไดเร็วขึ้น หลังการผสมพันธุควรใหสนุ ัขตัวเมียพักกอนที่จะเดินทางกลับ


และใหมันอยูใ นที่เงียบสงบสักสองสามวันหลังการผสมพันธุ สุนัขตัวเมียจะหมดการเปนสัดประมาณสามสัปดาหหลังจากเริ่มเปนสัด สุนัขบางตัวอาจจะยังมีน้ําจากชองคลอดออกมาอีกแมวาจะผสมพันธุแลว ตามปกติจะใชเวลาประมาณสี่สัปดาหกวาที่ จะรูวาสุนัขตั้งทองหรือไม ชวงระยะแรกที่สุนัขตั้งทองใหอาหารปกติ ไมจําเปนตองใหอาหารเสริม อาหารตองประกอบดวยเนื้อ 225 กรัม เปนอยางนอย ในแตละวันควรออกกําลังกายมากพอควรหาม เรากําจัดเห็บหมัดไดโดยการโรยแปงกําจัดเห็บหมัดใน ไมควรเสี่ยงอาบน้ําในชวงหาถึงหกสัปดาหหลังผสมพันธุ

แมสุนัขสวนใหญจะคลอดลูกหลังผสมพันธุ 60-63 วัน สุนัขที่ตั้งทองตองการอาหารสองมื้อตอวัน อาหารเสริม ไดแก น้ํามันตับปลา ไขตม และอาหารเสริมสรางกระดูก น้ํานมจะชวยเสริมธาตุแคลเซียม ซึ่ง ชวยสรางกระดูก แมสุนัขที่อุมทองขนาดใหญ ไมเพียงแตจะตองการอาหารมากขึ้นในระยะหลังของการตั้งทอง แตมันยัง ตองการอาหารบอยครั้งมากขึ้น เพราะลูกสุนขั ในทองจะทําใหแมสุนัขกินไดคราวละไมมาก

เมื่อเขาชวงสัปดาหสุดทายกอนคลอดคุณตองตัดขนบริเวณรอบๆนมของแมสุนัขออก และทําความสะอาด รวมทัง้ ตองขริบขนบริเวณดานหลังของมันดวยกรรไกรขริบขน (ซึ่งจะชวยรักษา รูปทรงของมันใหดูดีอยู)


และลางใหสะอาด เมื่อเวลาลูกสุนัขตองการกินนมจะไดกนิ สะดวก แมสุนัขที่คลอดกอนวันที่ 58 เปนลูกสุนัขทีย่ ังไมเจริญเติบโตเต็มที่ และตองไดรับการดูแลเอาใจใสอยาง ระมัดระวังและใกลชิด ปกติการดูวาแมพรอมที่จะคลอดลูกหรือไมนั้น ใหดูจากอุณหภูมิของมัน ตามปกติของแมสุนัขกอนคลอด ลูก 12 ชั่วโมง อุณหภูมิจะต่ําลงประมาณสองหรือสามองศา จากสามสิบแปดองศาเซลเซียส เราตองเตรียมกลองที่สําหรับไวใหแมสุนขั คลอดลูก ควรมีไฟใหความอบอุนแกลูกสุนัขที่เพิ่งคลอดออกมา เหตุผลสวนใหญที่ทําใหลูกสุนัขจํานวนมากตายไป ก็เนื่องจากขาดความอบอุนอยางเพียงพอ เมื่อใกลระยะคลอดลูกหนึ่งหรือสองวัน ควรใหแมสุนัขนอนในกลองปูพื้นดวยกระดาษหนังสือพิมพ กระดาษตัดจะดีกวาใชผารองนอนเพราะลดอันตรายลูกสุนัข การคลอดลูกจริงๆจะเริ่มขึ้นเมื่อสุนัขเริ่มเบงซึ่งจะถี่ขึ้นเรือ่ ยๆจนถุงน้ําคร่ําโผลออกมา ตาม ปกติแมสุนัขจะฉีกถุงน้ําคร่ําโดยการเลียอยางแรง และเลียน้ําที่ไหลออกจากถุงน้ําคร่ําหลังจากนั้นไม นาน ลูกสุนัขตัวแรกก็จะคลอดออกมา

ถุงน้ําคร่ําที่คลุมลูกสุนัขออกมาแลว แมสุนัขฉีกถุงน้ําคร่ําเพื่อใหลูกสุนัขออกมา บางครั้งเมื่อแมสุนัขคลอดลูกสุนัขตัวแรก มันจะปฏิเสธที่จะชวยเหลือลูกของมัน เราตองรีบนําลูกสุนัขออกจากถุงน้ําคร่ํา โดยใหหัวหลุดออกจากถุงกอน เยื่อถุงน้ําคร่ําที่ปกคลุมลูกสุนัขจะ มีลักษณะโปรงใส แตถาไมรีบเอาลูกสุนัขออกจากถุงน้ําคร่ําโดย เร็วลูกสุนัขจะสําลักน้ําคร่ํา ถุงน้ําคร่ําที่หุมตัวอยูสามารถตัดออกดวยกรรไกรที่ปลายมน และหลังจากนัน้ เช็ดตัวของมันดวยผาชุบน้ําอุนเพื่อกระตุนใหลูกสุนัขหายใจ


แมสุนัขมักมีปฏิกิริยาเมื่อไดยินเสียงรองของลูกสุนัข และตองกระตุน ใหมนั เลียลูกของมันดวยความรักและความเอ็นดู กระตุนใหมันเลี้ยงลูกใหมีชวี ติ รอดจนกวาลูกสุนัขตัวที่สองคลอดออกมา แมสุนัขอาจจะยังไมใหความสนใจตอลูกตัวแรกจนกวาเมื่อลูกสุนัขตัวที่สองคลอดออกมา มันจึงจะเริ่มทํา หนาที่ของความเปนแม ถาชวงการคลอดระหวางลูกสุนัขแตละตัวหางมากผิดปกติ และแมสนุ ัขมีอาการปวดเบงมากโดยไมรสู าเหตุ ควรนําไปพบสัตวแพทย แตถามันนอนพักระหวางคลอดลูก และไมมีอาการเจ็บปวดคุณควรปลอยมันไวตามลําพัง และใหมนั ไดรับ การพักผอน ในกรณีแมสุนขั คลอดลูกหลายตัว เราอาจจะนําตัวที่เกิดแรกๆ ไปไวในกลองที่ใหความอบอุนดวยดวงไฟ ทําความสะอาด เช็ดใหแหงดวยผาสะอาดยายลูกสุนัขแตละตัวในขณะที่มันกําลังคลอดตัวตอไปและคืนให แมสุนัขเมื่อมันคนหาลูก

ลูกสุนัขแตละตัวที่คลอดออกมาจะมีรกติดตัวออกมาดวย ซึ่งเปนเรื่องปกติธรรมดาที่สุนัขจะกินเพือ่ ใหลูก สุนัขหลุดจากสายสะดือของมัน ลูกสุนัขแตละตัวจะมีรกหนึง่ อันซึ่งจะออกมาพรอมกับลูกสุนัขหรือออกมาภายหลัง สิ่งที่สําคัญที่สุดคือเราตองดูวารกนัน้ ออกมากับลูกสุนัขหรือไม เพราะรกที่คางอยูในทองอาจจะทําใหแมสนุ ัขติดเชื้ออยางรุนแรงจนโลหิตเปนพิษ ซึ่ง จะทําใหแมสนุ ัขเสียชีวิตได ปกติ มดลูกแมสุนัขจะบีบตัวขับทุกสิ่งออกมาภายใน 20-24 ชั่วโมงหลังคลอด

การคลอดลูกจะเสร็จสิ้นโดยสมบูรณโดยดูจากแมสุนัขทีผ่ อนคลายและสงบ ซึ่งจะนอนเหยียดตัวยาวและ ถอนหายใจเฮือกใหญ ในขั้นตอนนี้คณ ุ ตองเอากระดาษหนังสือพิมพที่สกปรกหรือเปยกชื้นออก


เมื่อคุณรูสึกวาแมสุนัขไดคลอดลูกตัวสุดทายออกมาแลว ใหนมสดปริมาณ 200 c.c. ใหแมสุนัขกิน แมสุนัขอาจไมกินอาหารในวันแรกหลังคลอดใหม ควรใหอาหารนมเหลวจะดี หลังจากวันทีส่ องของการคลอดลูกแลวเราควรใหอาหารแกแมสุนัขสองหรือสามมื้อตอวัน ขึ้นอยูก ับ จํานวนลูกสุนขั อาหารสําหรับสุนัขขนาดกลางควรมีเนื้อสดสัก 580 กรัม และนมสดครึง่ ลิตรในแตละวัน และเสริมดวยอาหารเสริมกระดูก มีวิตามินรวม และการใหแมสุนัขดื่มน้ํามากๆ จะเปนการชวยใหมันผลิตน้ํานม อยางเพียงพอ ถาสังเกตเห็นวาลูกสุนัขไมเปนปกติหรือดูดนมไมไดตามปกติ ใหชวยเหลือมันโดยใหมันกินนมจากขวดวันละสามเวลาเพื่อใหมนั แข็งแรงและมีชีวิตรอด ใชผงทารกหรือนมสูตรพิเศษสําหรับลูกสุนัขได นมควรรอนกวาอุณหภูมใิ นตัวเล็กนอย ในสุนัขบางพันธุนิยมตัดหรือขริบหางออก ควรทําเมื่อลูกสุนัขอายุไดสวี่ ัน ควรตัดนิว้ ติ่งของสุนัขเกือบทุกพันธุออก ตัดออกโดยใชกรรไกรที่คม และหามเลือดโดยการพันแผล เช็ดดวยดางทับทิม

สุนัขพันธุ Miniature Pinscher นิยมตัดหาง สุนัขพันธุ Dalmatian นิยมตัดนิ้วติ่ง


อาหารสําหรับลูกสุนัข เชน นมผสมกับเนือ้ สัตวพวกเนื้อไกหรือเนื้อ ก็เปนอาหารที่เหมาะกับลูกสุนขั เล็กๆ เมื่อลูกสุนัขมีอายุไดประมาณหกสัปดาหกส็ ามารถใหอาหารสี่มื้อตอหนึ่งวัน ควรใหขาวหรือธัญพืช นมในมื้อกลางวัน มื้อเย็นใหเนื้อสับอาจจะสุก และมื้อค่ําใหนมและอาหารเสริม ประเภทวิตามินและแคลเซียม คุณไมควรใหอาหารลูกสุนัขมากเกินไปจนมันอวน หามปลอยใหลูกสุนัขออกวิง่ อยางรวดเร็วหลังกินอาหารทันที ควรปลอยใหมันออกมาถาย แตใหมนั ไดรบั การพักสักครูหลังกินอาหาร เมื่อลูกสุนัขมีอายุไดส-ี่ หกสัปดาห นํามันไปฉีดยาวัคซีน และพออายุแปดสัปดาหก็สามารถนํามันไปแยกเลี้ยงที่อนื่ ได

ความรับผิดชอบของเจาของสุนัข มนุษยไดรับความรัก ความซื่อสัตย และความเปนมิตรจากสุนัข ความผูกพันดังกลาวจึงเปนความ รับผิดชอบในการจัดการหาสิ่งจําเปนพื้นฐานใหกับสุนัข สุนัขเปนสัตวสังคมและควรไดรับการปฏิบัติเสมือนเปน สมาชิกในครอบครัว การฝกสุนัขตั้งแตยงั เล็กเปนสิ่งจําเปน เพื่อใหสนุ ัขสามารถเขากับมนุษยและสุนัขอื่นได

ขอมูลที่ไดในเอกสารนี้เกิดจากการแปลตํารา และรวบรวมจากแหลงขอมูลตางๆ ขอขอบคุณแหลงขอมูลตางๆที่ได นํามาใชในครั้งนี้


ลูกสุนัขพันธุ Bull Terrier

ลูกสุนัขพันธุ Siberian Husky

ลูกสุนัขพันธุ Bearded Collie

ลูกสุนัขพันธุ Pomeranian

ลูกสุนัขพันธุ Poodle

ลูกสุนัขพันธุ Shizu

แมและลูกสุนขั พันธุ collie

ลูกสุนัขพันธุ Beagle


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.