ธรรมะตางมุม วัดประจําราชวงศจักรีทั้ง ๙ รัชกาล สถาปตยกรรมที่สําคัญแตละวัด ภาพถายบรรยากาศรอบวัด ประวัติความเปนมา
คำ�นำ�
ประเทศไทยนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำ�ชาติมาช้านาน โดยมีวัดเป็นศูนย์กลางของชุมชนในการประกอบ พิธีการทางศาสนา รวมถึงเป็นที่จำ�วัดของพระภิกษุ สามเณร การสร้างวัดถือเป็นศรัทธาของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะการ สร้างวัดของพระมหากษัตริยเ์ พือ่ แสดงว่าทรงเป็นผูท้ รงไว้ซงึ่ ธรรมโดยมักจะแสดงออกเป็น ๓ ลักษณะ คือ อุปถัมภ์ศาสนธรรม เช่นสังคายนาพระไตรปิฎก อุปถัมภ์ศาสนบุคคลโดยการให้การบำ�รุงพระภิกษุสามเณร และอุปถัมภ์ศาสนวัตถุโดยการสร้าง บูรณะปฏิสังขรณ์วัด สำ�หรับพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีไทย ได้มีการสร้างวัดประจำ�พระองค์ขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๑ เป็นต้นมา จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันนี้ประเพณีวัฒนธรรมทางพุทธศาสนาหรือความสำ�คัญของศาสนสถานนั้น ได้ค่อยๆเลือน จางหายไปจากกลุ่มเด็กสมัยใหม่ ที่มีเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาแทรกแซงทำ�ให้ความรู้เกี่ยวกับความสำ�คัญของพุทธศาสนาและ ศาสนสถานของเด็กในยุคสมัยนี้น้อยมาก ไม่รู้จักแม้กระทั้ง โบสถ์ใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาด้านใดบ้าง ศาสนสถานที่สำ�คัญ ในประเทศไทย คือที่ใด และวัดที่ประจำ�แต่ละรัชกาลที่ 1-9 มีวัดอะไรบ้าง และวัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงามไม่แพ้กับ ห้างสรรพสินค้าเลย หนังสือธรรมะต่างมุม ( Book “Buddhism’s New World” ) เล่มนี้จะเป็นหนังสือเชิงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมทาง พุทธศาสนาและศาสนสถานที่สำ�คัญต่างๆเอาให้คนเด็กสมัยใหม่ ยุคIT ได้ศึกษา ร่วมไปถึงภาพถ่ายสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ที่เกี่ยวกับศาสนสถานที่มีความสวยงามเหมาะสำ�หรับคนที่ชอบท่องเที่ยวในประเทศไทยและเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว ในประเทศไทยอีกด้วย และเทคนิคการถ่ายภาพที่มีบอกไว้ให้อย่างละเอียดเหมาะสำ�หรับบุคคลที่หลงใหลในการถ่ายภาพ หนังสือจะเป็น 4 สีทั้งเล่ม ผู้จัดทำ�จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่บุคคลทุกเพศทุกวัย ไม่ว่าจะเป็น ด้านพุทธศาสนาในแง่ประวัติศาสตร์ของคนไทย
นาย พีรติ จึงประกอบ ผู้จัดทำ�
สารบัญ
รัชกาลที่ ๑
๑
รัชกาลที่ ๒
๑๓
รัชกาลที่ ๓
๒๕
รัชกาลที่ ๔
๓๕
รัชกาลที่ ๕ , ๗
๔๕
รัชกาลที่ ๖
๕๙
รัชกาลที่ ๘
๗๑
รัชกาลที่ ๙
๘๓
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร สำ � ห รั บ วั ด ป ร ะ จำ � รั ช ก า ล ที่ ๑ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ ย อ ด ฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช บางคนอาจเข้ า ใจผิ ด คิ ด ว่ า เป็ น วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม ( วั ด พ ร ะ แ ก้ ว ) แ ต่ จ ริ ง ๆ แ ล้ ว วั ด พ ร ะ ศ รี รั ต น ศ า ส ด า ร า ม เ ป็ น วั ด ป ร ะ จำ � พ ร ะ บ ร ม ม ห า ร า ช วั ง เ ท่ า นั้ น ส่ ว น วั ด ป ร ะ จำ � รั ช ก า ล ที่ ๑ จ ริ ง ๆ แ ล้ ว ก็คือ “วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร” หรือ “วัดโพธิ์” วัดโบราณ เก่ า แก่ ส ร้ า งมาตั้ ง แต่ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ที่ ตั้ ง อยู่ ใ กล้ กั บ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม ( วั ด พ ร ะ แ ก้ ว ) แ ล ะ พ ร ะ บ ร ม ม ห า ร า ช วั ง ซึ่ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ ย อ ด ฟ้ า จุ ฬ า โ ล ก ม ห า ร า ช ไ ด้ เ ข้ า ม า บู ร ณ ป ฏิ สั ง ข ร ณ์ ค รั้ ง ใ ห ญ่
๓ ๓
“เมื่ อ ลอดซุ้ ม ประตู ท รง มงกุฎเข้าไปทุกประตู เมื่อ ท่ า นหั น หลั ง กลั บ จะเห็ น ตุ๊ ก ตารู ป สลั ก ศิ ล าหน้ า ตา เป็นจีน มือถือศาสตราวุธ ยืนเฝ้าด้านซ้ายขวาเรียกว่า “ลั่นถัน นายทวารบาล””
๔ ๔
“วั ด โพธิ์ ” หรื อ มี น ามทางราชการว่ า “วั ด พระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร” เป็นพระอารามหลวงชัน้ เอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมชื่อว่า “วัดโพธาราม” เป็นวัดโบราณเก่าแก่ ที่ ร าษฎรสร้ า งขึ้ น มาตั้ ง แต่ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เป็นราชธานี แม้ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างที่ แน่ชัด แต่สันนิษฐานว่าน่าจะสร้างขึ้นหลังจาก ปีพุทธศักราช ๒๒๓๑ ในรัชกาลสมเด็จพระเพท ราชาต่อกับรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เป็นวัดราษฎร์ขนาดเล็กอยู่ในเขตตำ�บลบางกอก ปากนํ้าเจ้าพระยา เมืองธนบุรี ชาวบ้านเรียกกัน ว่า “วัดโพธิ์” มาจนถึงกระทั่งทุกวันนี้ครั้นมาใน สมัยกรุงธนบุรี เมือ่ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงสถาปนาเมือง ธนบุรีเป็นนครหลวง ได้ทรงกำ�หนดเขตเมือง หลวงทัง้ สองฝัง่ มีแม่นาํ้ เจ้าพระยาอยูใ่ นเขตกลาง เมืองหลวง วัดโพธารามตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออก ของแม่นํ้าเจ้าพระยาจึงอยู่ในเขตพระมหานคร
๕
และได้ยกขึ้นเป็นพระอารามหลวง มีพระราชา คณะปกครองตั้งแต่นั้นมาจนกระทั่งในสมัยต้น กรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ องค์ปฐมกษัตริย์ แห่งราชวงศ์จักรี ขึ้นเสวยราชสมบัติ และได้ย้าย เมืองหลวงมายังฝั่งพระนคร มีการสร้างพระบรม มหาราชวังขึ้นใหม่ จึงทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัด โพธารามที่อยู่ในบริเวณเดียวกันไปด้วย และ โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาวัดโพธารามเป็นวัดหลวง
๖
๖
ข้างพระบรมมหาราชวัง ภายหลังวัดแห่งนี้ก็ได้ ถือว่าเป็นพระอารามหลวงประจำ�รัชกาลที่ ๑วัด พระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระอารามหลวง แห่งนี้ มีเนื้อที่ทั้งหมด ๕๐ ไร่ ๓๘ ตารางวา ตั้ง อยู่ด้านทิศใต้ของพระบรมมหาราชวัง ทิศเหนือ จดถนนท้ายวัง ทิศตะวันออกจดถนนสนามไชย ทิศใต้จดถนนเศรษฐการ ทิศตะวันตกจดถนน มหาราช มีถนนเชตุพนขนาบด้วยกำ�แพงสูงสีขาว แบ่งเขตพุทธาวาสและเขตสังฆาวาสแยกจากกัน
“พระอุโบสถ ตามคติความ เชื่อของพุทธศาสนิกชน เขต วิสงุ คามสีมา หรือพระอุโบสถ เป็นพุทธศาสนสถานที่สำ�คัญ ที่ สุ ด ถ้ า วั ด ใดไม่ มี อุ โ บสถ หรื อ มี อุ โ บสถแต่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ผู ก พั ท ธสี ม าจะเป็ น วั ด ที่ สำ � คั ญ ยังไม่ได้”
๗ ๗
ไว้อย่างชัดเจนมีหลักฐานปรากฏใน ‘ศิลาจารึกวัด โพธิ์’ ไว้ว่า หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ ทรงสถาปนา พระบรมมหาราชวังแล้ว ทรงพระราชดำ�ริว่า มี วัดเก่าแก่ขนาบพระบรมมหาราชวัง ๒ วัด ด้าน เหนือ คือ วัดสลัก (วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์) ส่วนด้านใต้ คือ วัดโพธาราม จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ฯ ให้ ขุ น นางเจ้ า ทรงกรม ช่ า งสิ บ หมู่ ฝี มื อ เยี่ ย ม มาร่ ว มอำ � นวยการบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ เพื่อสถาปนาให้เป็นวัดหลวง โดยเริ่มการบูรณ ปฏิสังขรณ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๓๑ ใช้เวลาถึง ๗ ปี ๕ เดือน ๒๘ วัน จึงแล้วเสร็จและโปรดเกล้าฯ ให้ มี ก ารเฉลิ ม ฉลองเมื่ อ ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๓๔๔ แล้ ว พระราชทานนาม “วั ด โพธาราม” ใหม่ ว่ า “วั ด พระเชตุ พ นวิ ม ลมั ง คลาวาศ” ครั้ น ต่ อ มา ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว
รัชกาลที่ ๔ ได้โปรดเกล้าฯ
ให้เปลี่ยนท้ายนามวัดเป็น “วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม”
๘ ๙
“พระมหาเจดี ย์ สี่ รั ช ก า ล พ ร ะ ม ห า เ จ ดี ย์ ทั้ ง สี่ องค์ อ ยู่ ใ นบริ เวณ กำ � แพงสี ข าว ซุ้ ม ประตู ท างเข้ า เป็ น สถาปัตยกรรมไทย ประยุกต์แบบจีน
๑๑ “พระเจดีย์หมู่ห้าฐานเดียว ประดิษฐานอยู่ตรงมุมพระวิหารคดทั้งสี่ด้าน ประกอบด้วยพระเจดีย์ใหญ่ ตรงกลางล้อมรอบด้วยพระเจดีย์เล็กสี่องค์ รวมห้าองค์อยู่บนฐานเดียวกัน เป็นสถาปัตยกรรมเจดีย์ย่อ ไม้สิบสองและเจดีย์แบบไม้สิบสองเพิ่มมุม พระเจดีย์หมู่ห้าฐานเดียวนี้ สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๑”
๑๑
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร วัดประจำ�รัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย คือ “วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร” หรือ “วัด แจ้ง” เมื่อครั้งที่พระองค์ท่านดำ�รงตำ�แหน่งเป็นวังหน้าในรัชกาล ที่ ๑ ที่ประทับของท่านจะอยู่ที่พระราชวังเดิม ฝั่งธนบุรี และวัด ที่อยู่ใกล้กับ พระราชวังเดิมที่สุดก็คือวัดอรุณราชวราราม พระองค์ ท่านจึงได้โปรดเกล้าฯ ให้มกี ารบูรณปฏิสงั ขรณ์วดั อรุณฯ และยังได้ ทรงลงมือปั้นหุ่นพระพักตร์ ‘พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก’ พระประธานในพระอุโบสถ ด้วยฝีพระหัตถ์ของพระองค์เองอีกด้วย และเมื่อพระองค์ท่านทรงเสด็จสวรรคต พระบรมอัฐิของพระองค์ ก็ถูกนำ�มาประดิษฐานไว้ที่พระอุโบสถวัดอรุณราชวรารามแห่งนี้ วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้น เอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เป็นวัดโบราณเก่าแก่สร้างมาตั้งแต่สมัย กรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของฝั่งแม่นํ้าเจ้าพระยา ไม่พบหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้างวัดในสมัยโบราณ ตามหลักฐาน เท่ า ที่ ปรากฏมี เ พี ย งว่ า เป็ นวั ด ที่ ส ร้ า งขึ้ นในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา
๑๕
มีมาก่อนรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พุทธศักราช ๒๑๙๙-๒๒๓๑) เพราะมีแผนที่ เมืองธนบุรีซึ่งเรือเอก เดอฟอร์บัง (Claude de Forbin) กับนายช่าง เดอ ลามาร์ (de Lamare) ชาวฝรั่ ง เศส ทำ � ขึ้ น ไว้ เ ป็ น หลั ก ฐานในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อี ก ทั้ ง วั ด แห่ ง นี้ ยั ง มี พ ระอุ โ บสถและพระ วิหารของเก่าที่ตั้งอยู่ ณ บริเวณหน้าพระ ปรางค์ ซึ่ ง สั นนิ ษ ฐานว่ า เป็ นฝี มื อ ช่ า งสมั ย กรุงศรีอยุธยามูลเหตุที่เรียกชื่อวัดนี้แต่เดิมว่า “วัดมะกอก” นั้น ตามทางสันนิษฐานเข้าใจ ว่า คงจะเรียกคล้อยตามชื่อตำ�บลที่ตั้งวัด ซึ่ง สมัยนั้นมีชื่อว่า ‘ตำ�บลบางมะกอก’ (เมื่อ นำ�มาเรียกรวมกับคำ�ว่า ‘วัด’ ในตอนแรกๆ คงเรียกว่า ‘วัดบางมะกอก’ ภายหลังเสียง หดลงคงเรียกสั้นๆ ว่า ‘วัดมะกอก’) ตามคติ เรียกชื่อวัดของไทยสมัยโบราณ เพราะชื่อ วัดที่แท้จริงมักจะไม่มี จึงเรียกชื่อวัดตามชื่อ
ตำ�บลที สำ�หรั ่ ๑ พระบาท ่ตั้งบ วัต่ดอประจำ มาเมื�่อรัชได้กาลที มีการสร้ างวัดขึ้น สมเด็ใหม่ จพระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช บางคน อีกวัดหนึ่งในตำ�บลเดียวกันนี้ แต่อยู่ลึก อาจเข้ า ใจผิ ดคิดว่าเป็น วัดพระศรีรตั ชาวบ้ นศาสดาราม เข้าไปในคลองบางกอกใหญ่ านเรียก (วั ดชืพระ แก้ ว ) แต่ จ ริ ง ๆ แล้ ว วั ด พ ร(ในะ ่อวัดที่สร้างใหม่ ว่า “วัดมะกอกใน” ศรี รปัั ตจนศาสดารามเป็ น วั ศดวรวิ ประจำ จุบันคือ วัดนวลนรดิ หาร)� พระบรม แล้วเลย มหาราชวั ง เท่ า นั ้ น ส่ ว นวั ด ประจำ � รั ช กาลที ่๑ เรียก ‘วัดมะกอก’ เดิมซึ่งอยู่ตอนปากคลอง จริงๆบางกอกใหญ่ แล้วก็คือ “วัว่ดาพระเชตุ พนวิมลมังคลาราม “วัดมะกอกนอก” เพื่อให้ ราชวรมหาวิหาร” หรือ “วัดโพธิ์” วัดโบราณ เก่ า แก่ ส ร้ า งมาตั้ ง แต่ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ที่
ตั้ ง อยูา่ เป็ ใ กล้ กั บ วั ดดพระศรี รั ตพนศาสดาราม ทราบว่ นคนละวั ต่อมาในปี ุทธศักราช (วั ด พระแก้ ว ) และพระบรมมหาราชวั ๒๓๑๐ เมื่อ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชง ซึ่ ง า จุ ฬ าโลก หรืพระบาทสมเด็ อสมเด็จพระเจ้าจกรุพระพุ งธนบุทรี ธยอดฟ้ ทรงมีพระราช มหาราชได้ เข้ า มาบู รมาตั ณปฏิ้ง สณั ง ขรณ์ ค รั้ รงี ใหญ่ ประสงค์ จะย้ายราชธานี กรุงธนบุ ด โพธิ หรืพอล่มีอนงลงมาทางชลมารคถึ ามทางราชการว่ า ง “วั ด จึง“วัเสด็ จกรี์ ”ฑาทั พนวิมลมังคลาราม หน้พระเชตุ า ‘วัดมะกอกนอก’ แห่งนีเ้ มืราชวรมหาวิ อ่ เวลารุง่ อรุณหาร” เป็นพระอารามหลวงชั ชนิดราชวรมหาวิ พอดี จึงทรงเปลี่ยนชื่อวัน้ ดเอก มะกอกนอก เป็น หาร เดิมชื่อว่า “วัดโพธาราม” เป็นวัดโบราณเก่าแก่ ที่ ร าษฎรสร้ า งขึ้ น มาตั้ ง แต่ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา
๑๗ ๕
‘วัดแจ้ง’ เพื่อเป็นอนุสรณ์ถึงการได้เสด็จมาถึงวัดนี้ เมือ่ เวลาอรุณรุง่ เมือ่ พระเจ้าตากสินมหาราชโปรดให้ ย้ายราชธานีจากกรุงศรีอยุธยา มาตั้ง ณ กรุงธนบุรี ในปี พ.ศ.๒๓๑๑ และได้ทรงสร้างพระราชวังใหม่ มี การขยายเขตพระราชฐาน เป็นเหตุให้วัดแจ้งตกเข้า มาอยูก่ ลางพระราชวัง จึงโปรดไม่ให้มพี ระสงฆ์อยูจ่ �ำ พรรษา การที่เอาวัดแจ้งเป็นวัดภายในพระราชวัง นั้น คงจะทรงถือแบบอย่างพระราชวังในสมัยกรุง ศรีอยุธยา ที่มีวัดพระศรีสรรเพชญ์อยู่ในพระราชวัง การปฏิสังขรณ์วัดเท่าที่ปรากฏอยู่ตามหลักฐานใน
๑๘
พระราชพงศาวดาร ก็คือ ปฏิสังขรณ์พระอุโบสถ และพระวิหารหลังเก่าทีอ่ ยูห่ น้าพระปรางค์ กับโปรด ให้สร้างกำ�แพงพระราชวังโอบล้อมวัด เพือ่ ให้สมกับ ที่เป็นวัดภายในพระราชวัง แต่ไม่ปรากฏรายการว่า ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์หรือก่อสร้างสิ่งใดขึ้นบ้างใน สมัยกรุงธนบุรีเป็นราชธานี ถือกันว่าวัดแจ้งเป็นวัด คูบ่ า้ นคูเ่ มือง เนือ่ งจากเป็นวัดทีป่ ระดิษฐานพระแก้ว มรกตและพระบาง ซึง่ สมเด็จพระยามหากษัตริยศ์ กึ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑) ไปตีเมืองเวียงจันทน์ได้ในปีกุน เอกศก
จุลศักราช ๑๑๔๑ (พ.ศ.๒๓๒๒) แล้ว อัญเชิญพระพุทธรูปสำ�คัญ ๒ องค์คือ พระ แก้วมรกตและพระบาง ลงมากรุงธนบุรี ด้วย และมีการสมโภชเป็นเวลา ๒ เดือน ๑๒ วัน จนกระทั่งถึงวันวิสาขปุณณมี วัน เพ็ญกลางเดือน ๖ ปีชวด โทศก จุลศักราช ๑๑๔๒ (พุทธศักราช ๒๓๒๓) โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระแก้วมรกตและพระบางขึ้น ประดิษฐานไว้ในมณฑป ซึง่ ตัง้ อยูด่ า้ นหลัง พระอุโบสถเก่าและพระวิหารเก่า หน้าพระ ปรางค์ อยู่ในระยะกึ่งกลางพอดี มีการจัด งานสมโภชใหญ่ ๗ คืน ๗ วันด้วยกันเมื่อ
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช รัชกาลที่ ๑ เสด็จเถลิงถวัลยราช สมบัติ ได้โปรดให้สร้างพระนครใหม่ข้าง ฝั่งตะวันออก ของแม่น้าเจ้าพระยา และ รื้อกำ�แพงพระราชวังกรุงธนบุรีออก ด้วย เหตุนี้วัดแจ้งจึงไม่ได้อยู่ในเขตพระราชวัง อีกต่อไป พระองค์จึงโปรดให้วัดแจ้งเป็น วัดที่มีพระสงฆ์จำ�พรรษาอีกครั้งหนึ่ง โดย นิมนต์ พระโพธิวงศาจารย์ จากวัดบางหญ้า ใหญ่ (วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ) มา ครองวัด พร้อมทั้ง พระศรีสมโพธิและพระ ภิ ก ษุ ส งฆ์ จำ � นวนหนึ่ ง มาเป็ น พระอั น ดั บ
๒๑
๒๒ นอกจากนั้ น พระองค์ ท รงมอบหมายให้ สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก ยาเธอ เจ้ า ฟ้ า กรมหลวงอิ ศ รสุ น ทร (รัชกาลที่ ๒) เป็นผู้ดำ�เนินการปฏิสังขรณ์วัดแจ้ง แต่การปฏิสังขรณ์คงสำ�เร็จเพียงกุฏิสงฆ์ ส่วนพระ อุโบสถและพระวิหาร ยังไม่ทันแล้วเสร็จ ก็พอดี สิ้นรัชกาลที่ ๑ ในปี พ.ศ.๒๓๕๒ เสียก่อน (เมื่อปี พ.ศ.๒๓๒๗ พระแก้วมรกตได้ย้ายมาประดิษฐาน ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราช วัง ส่วนพระบางนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด
ฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดพระราชทานคืนไป ยังนครเวียงจันทร์ ประเทศลาว)ต่อมาในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาล ที่ ๒ พระองค์ ท รงดำ � เนิ น การปฏิ สั ง ขรณ์ ต่ อ จน เสร็จ มีการจัดงานสมโภชใหญ่ถึง ๗ วัน ๗ คืน แล้วโปรดพระราชทานพระนามวัดว่า ‘วัดอรุณราช ธาราม’ส่วนยอดสุดขององค์พระปรางค์ใหญ่ เป็น ‘ยอดนภศูล’ ครอบด้วยมงกุฎปิดทองอีกชั้นหนึ่ง ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว
รัชกาลที่ ๓ ได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดอรุณฯ ใหม่หมด ทั้งวัด พร้อมทั้งโปรด ให้ลงมือก่อสร้างพระปรางค์ ตามแบบที่ทรงคิดขึ้นด้วย ซึ่งการก่อสร้างและ ปฏิสังขรณ์สิ่งต่างๆ ภายในวัดอรุณฯ นี้สำ�เร็จลง แล้ว แต่ยังไม่ทันมีงานฉลองก็สิ้นรัชกาลที่ ๓ ในปี พ.ศ.๒๓๙๔เมื่อ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว รัชกาลที่ ๔ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ในปี พ.ศ.๒๓๙๔ พระองค์ได้โปรดให้สร้างและปฏิสงั ขรณ์
สิ่งต่างๆ ในวัดอรุณฯ เพิ่มเติมอีกหลายอย่าง อีก ทั้งยังได้อัญเชิญ พระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย มาบรรจุไว้ที่ พระพุทธ อาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถ ที่พระองค์ ทรงพระราชทานนามว่า ‘พระพุทธธรรมมิศรราช โลกธาตุดิลก’ และเมื่อได้ทรงปฏิสังขรณ์เสร็จ เรียบร้อยแล้ว จึงได้พระราชทานนามวัดเสียใหม่วา่ ‘วัดอรุณราชวราราม’ ดังทีเ่ รียกกันมาจนถึงปัจจุบนั
๒๓
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร
๒๖
วัดราชโอรสาราม หรือ วัดราชโอรส ตั้งอยู่ริมคลองสนามไชย ฝั่งตะวันตก (ฝั่ง ธนบุร)ี และติดคลองบางหว้า ทางด้านทิศเหนือของวัด ตัง้ อยูเ่ ลขที่ ๒๕๘ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร วัดราชโอรสเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร และถือเป็น วัดประจำ�รัชกาลที่ ๓ แห่งบรมราชวงศ์จักรี เป็นวัดโบราณมีมาก่อนสร้างกรุงสร้างกรุง รัตนโกสินทร์ คือ เป็นวัดราษฎร์ทสี่ ร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เดิมเรียกว่า “วัด จอมทอง” บ้าง “วัดเจ้าทอง” บ้าง หรือ “วัดกองทอง” บ้าง
ในสมัยราชกาลที่ ๓ พ.ศ. ๒๓๖๓ มี ข่าวว่าพม่าตระเตรียมกำ�ลังจะยกเข้า มาตีประเทศสยาม พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงโปรดให้ สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก ยาเธอกรมหมื่ น เจษฎาบดินทร์ (พระบาทสมเด็จพระ นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๓) ทรง เป็นแม่ทพั คุมพลไปขัดตาทัพพม่าทาง เจดีย์ ๓ องค์ จังหวัดกาญจนบุรี ได้ เสด็จประทับแรมที่หน้าวัดจอมทอง นี้ และทรงทำ�พิธีเบิกโขลนทวาร ตาม ลักษณะพิชัยสงคราม ทรงอธิษฐาน ให้ ป ระสบความสำ � เร็ จ กลั บ มาโดย สวัสดิภาพ แต่พม่าไม่ได้ยกทัพมาตาม ที่เล่าลือกันและเมื่อพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ทรงเลิกทัพ เสด็จกลับพระนครแล้ว จึงโปรดให้ ปฏิสงั ขรณ์วดั จอมทองใหม่ทงั้ วัด และ ถวายเป็นพระอารามหลวง พระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรด
เกล้าฯ พระราชทานนามใหม่วา่ “วัดราชโอรส” ถึงแม้วา่ พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจะทรงสถาปนาวัดนี้ ในขณะที่ทรงเป็นพระเจ้าลูก ยาเธอก็ตาม แต่เนื่องจากทรงสถาปนาเป็นการส่วนพระองค์ จึงทรงพระ ราชดำ�ริเปลีย่ นแปลงแบบอย่างศิลปกรรมตามความพระราชหฤทัย ดังนัน้ วัดราชโอรสจึงตกแต่งด้วยศิลปะจีนเป็นส่วนมาก นับเป็นวัดแรกทีเ่ ป็นวัด ที่คิดสร้างออกนอกแบบอย่างวัด ซึ่งสร้างกันอย่างสามัญ ศิลปกรรมไทย ที่มีอยู่ในวัดนี้ พระองค์ทรงสร้างได้อย่างเหมาะสมกลมกลืนงดงามยิ่งนัก อย่างหาที่ติมิได้ เช่น โบสถ์ วิหาร ไม่มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ แต่หลังคา โบสถ์เป็นกระเบือ้ งเคลือบแบบไทย กุฏพิ ระสงฆ์เป็นอาคารตึกแทนเรือน ไม้แบบของเดิมการประดับตกแต่งต่างๆ เป็นแบบจีนผสมไทย เช่น บาน ประตูหน้าต่างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ ประดับด้วยเสีย้ วกางแทนลาย เทพนม หรือลายไทยแบบของเดิม หน้าบันพระอุโบสถ และพระวิหาร ประดับพระเบื้องเคลือบสี จึงนับเป็นครั้งแรกที่มีการประยุกต์ศิลปกรรม ได้อย่างประณีต เหมาะสม เป็นสัญลักษณ์แห่งศาสนสถานได้อย่างสง่า และงดงาม สิ่งสำ�คัญในพระอาราม ๑. พระอุโบสถ มีลกั ษณะทางสถาปัตยกรรม และศิลปกรรมผสม ระหว่างไทย และจีน หลังคาเป็นแบบจีนแต่มุงกระเบื้องสีแบบไทย ไม่มี ช่อฟ้าใบระกา หน้าบันประดับกระเบื้องเคลือบสีต่างๆ สวยงาม แต่งเป็น รูปแจกันดอกเบญจมาศ มีรูปสัตว์มงคลตามคติของจีน คือ มังกร หงส์ และนกยูง ตอนล่างเป็นภาพทิวทัศน์มีบ้านเรือน สัตว์เลี้ยงภูเขา ต้นไม้ ตามขอบหลังคาประดับกระเบื้องสี และถ้วยชามโดยรอบ ซุ้มประตู
๒๙
๓๐
หน้าต่างประดับกระเบื้องสีซุ้มประตูหน้าต่างประดับ ปูนปัน้ ประดิษฐ์เป็นลวดลายดอกเบญจมาศ บานประตู ด้านนอกประดับมุกลายมังกรดั้นเมฆ ฝีมือละเอียด ประณีต ด้านในเขียนรูปทวารบาลแบบจีน ผนังด้านใน พระอุโบสถเขียนเป็นลายเครือ่ งบูชาแบบจีน บางช่วงมี ความหมายในการให้พร ฮก ลก ซิว่ ตามคติของจีน บน เพดานเขียนดอกเบญจมาศ ทองบนพื้นสีแดง ๒. พระพุทธอนันตคุณอดุลญาณบพิตร พระ ประธานในพระอุ โ บสถเป็ น พระพุ ท ธรู ป ปางสมาธิ หน้าตักกว้างประมาณ ๑ วา ๒ ศอก หรือประมาณ ๓.๑๐ เมตร สูงประมาณ ๒ วา ๑ ศอก หรือ ประมาณ ๔.๕๐ เมตร พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฏ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระ สรีรังคาร ของพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทร มหาเจษฎาบดินทร์ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ประดิษฐาน ไว้ที่ฐานพระพุทธรูป พร้อมกับถวายพระปรมาภิไธย ประจำ�รัชกาล และศิลาจารึกดวงชันษา พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานนพปฎลมหา เศวตฉัตร ( ฉัตร ๙ ชั้น ) พ.ศ. ๒๕๐๔ พระพุทธรูป องค์นี้กล่าวว่า เป็นพระพุทธรูปที่สร้างได้งดงามกว่า พระพุทธรูปองค์อื่นที่สร้างในสมัยเดียวกัน ๓. พระแท่นที่ประทับใต้ต้นพิกุล พระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะดำ�รงพระอิสริยยศ
เป็นหมื่นเจษฎาบดินทร์ เมื่อทรงเสด็จมาทรงคุมงาน และตรวจการก่อสร้าง ได้ประทับที่พระแท่นใต้ต้น พิ กุ ล ใหญ่ ที่ อ ยู่ ต รงด้ า นหน้ า ทางด้ า นซ้ า ยของพระ อุโบสถ และเล่ากันว่าเคยรับสัง่ ไว้วา่ “ถ้าฉันตายจะมา อยู่ที่ใต้ต้นพิกุลนี้ “ อาจจะเป็นเพราะพระราชดำ�รัสนี้ เมือ่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และพระบรมวงศา นุวงศ์ที่เสด็จมาพระอารามนี้ จะมาทรงถวายสักกา ระที่พระแท่นนี้เสมอจนกลายเป็นประเพณี และเวลา เสด็จพระราชดำ�เนินถวายผ้าพระราชกฐินหรือเจ้า นายเสด็จในการทอดกฐินพระราชทาน เจ้าหน้าที่จะ ตั้งเครื่องมุกไว้ทรงสักการะ ณ ต้นพิกุลนี้ทุกครั้ง ๔. ถะ (สถูปเจดีย์) อยู่ด้านหลังพระอุโบสถ
๓๒
เป็นสถูปแบบจีน มีทรงเหลี่ยมซ้อนกัน ๕ ชั้น สูง ประมาณ ๕-๖ วา ยอดเป็นรูปทรงน้าเต้า ถัดมาเป้ นทรงเหลี่ยมซ้อนกันเป็นชั้นๆ ในแต่ละเหลี่ยมเจาะ เป็นช่อง เว้นระยะโดยรอบ ถะ หรือ สถูปองค์นี้ ก่อ ด้วยอิฐถือปูนปิดทึบ ภายนอกเป็นแผ่นหินอ่อนสลัก รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และลวดลายปะติดไว้ด้านนอก ๕. พระวิหารพระพุทธไสยาสน์ ตั้งอยู่ด้าน หลังพระอุโบสถในเขตกำ�แพงแก้วเช่นเดียวกัน แต่ พระวิหารมีก�ำ แพงแก้วล้อมรอบโดยเฉพาะอีกชัน้ หนึง่ เป็นพระวิหารขนาดใหญ่ ภายในประดิษฐานพระพุทธ ไสยาสน์ปูนปั้นขนาดยาว ๒๐ เมตร ที่บานประตู และ บานหน้าต่างด้านนอกประดับด้วยลายปูนปั้นที่เรียก
ว่า กระแหนะ เป็นรูปเลี้ยวกางแบบไทย ยืนอยู่บน ประแจจีน ประดับด้วยแจกันดอกเบญจมาศและพาน ผลไม้ เช่น ทับทิม ส้มมือ ลิ้นจี่ มังคุด และน้อยหน่า เป็นต้น เพดานพระวิหารเขียนลายดอกเบญจมาศ นก และผีเสือ้ สีสวยงาม และหน้าบันประดับด้วยกระเบือ้ ง สีเป็นลายดอกเบญจมาศและรูปสัตว์มงคลของจีน เช่น เดียวกับหน้าบันพระอุโบสถ โดยรอบลานพระวิหารมี สี่เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสองประดิษฐานอยู่ ๓๒ องค์ ที่ ผนังพระระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ มีแผ่น หินอ่อนจารึกตำ�รายาและตำ�ราหมอนวด ติดเป็นระ ยะๆ จำ�นวนทั้งสิ้น ๙๒ แผ่น โดยพระราชประสงค์ของ
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ๖. ศาลาการเปรี ย ญ อยู่ ท างด้ า นขวาของ พระอุโบสถ เป็นอาคารที่มีลักษณะผสมทางศิลปกรรม ระหว่างไทยและจีน เช่นเดียวกัน หลังคาเป็นแบบจีน ลด ๒ ชั้น แต่มุงกระเบื้องแบบไทย บนหลังคาประดับรูปถะ ระหว่างมังกรกระเบือ้ งเคลือบสีอย่างศาลเจ้าจีน ผนังด้าน นอกตอนบนเขียนรูปผลไม้ เป็นสัญลักษณ์ของความเป็น สิริมงคล (ฮก ลก ซิ่ว) เช่น ส้มมือ หมายถึง การมีวาสนา สูง ทับทิมหมายถึง ความมั่นคงอุดมสมบูรณ์ และผลท้อ หมายถึง การมีอายุยืนพระประธานในศาลาการเปรียญ เป็นพระพุทธรูปปั้นปางประทาน พระธรรมเทศนา ถือ ตาลปัตร
๓๓
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
๓๖
วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร เป็นอารามหลวงชั้นเอกที่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นพระอารามหลวงของพระมหากษัตริย์ ตามโบราณราช ประเพณีและทรงรับเข้าอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ของพระกษัตริย์ทุกพระองค์สืบมาจนถึง ปัจจุบันนี้ นับได้ว่า วัดราชประดิษฐฯเป็นพระอารามหลวงที่สำ�คัญยิ่งพระอารามหนึ่งใน พระบรมราชจักรีวงศ์พระราชประสงค์อีกประการหนึ่งในการสร้างวัดราชประดิษฐ์ฯขึ้น ก็ เพื่ออุทิศถวายแด่พระสงฆ์คณะธรรมยุติกนิกายโดยเฉพาะ เนื่องจากครั้งยังทรงผนวชอยู่ ทรงเป็นหัวหน้านำ�พระสงฆ์ชำ�ระข้อปฏิบัติ ก่อตั้งคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิกายขึ้น พระ อารามนี้จึงนับเป็นพระอารามแรกของคณะสงฆ์ธรรมยุติ เพราะวัดธรรมยุติก่อนๆนั้น วัดประดิษฐ์ฯ จึงเป็นเสมือนวัดต้นแบบของคณะธรรมยุติกนิกายที่มีอยู่ใน พุทธอาณาจักรบนแผ่นดินไทยนับแต่สมัยนัน้ เป็นต้นมา อาณาเขตวัดวัดราช ประดิษฐ์ฯ ตั้งอยู่ท่ามกลางใจเมืองของกรุงเทพมหานคร ใกล้กับพระบรม มหานครราชวัง ตามที่ปรากฏในทะเบียนบ้าน อยู่ในท้องที่กรุงเทพมหานคร เขต ๒ บ้านเลขที่ ๒ (วัดราชประดิษฐ์ฯ) ตำ�บลพระบรมมหาราชวัง อำ�เภอ พระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยมีอาณาเขตดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ : ติดต่อกับถนนสราญรมย์ และกรมแผนที่ทหารบก ทิศใต้ : ติดต่อกับพระราช อุทยานสราญรมย์ ทิศตะวันออก : ติดต่อกับ ถนนราชินีและคลองหลอด ทิ ศ ตะวั น ตก : ติ ด ต่ อ กั บ ทำ�เนียบองค์มนตรี ปู ช นี ย วั ต ถุ - ปู ช นี ย สถาน ของวัดราชประดิษฐ์ วัดราชประดิษฐ์ ถึงแม้จะเป็นพระ อารามหลวงที่มีขนาดเล็ก ซึ่งมีเนื้อที่ ตั้งวัดอยู่เพียง ๒ ไร่ ๒ งาน กับ ๙๘ ตารางวาเท่านั้น แต่ภายในบริเวณ วัดได้บรรจุเอาความสวยงามวิจิตร ตระการตา เป็นสง่าภาคภูมไิ ม่นอ้ ยไป กว่าพระอารามหลวงอืน่ ๆ ทีม่ บี ริเวณ พระอารามใหญ่กว่าเลย ดังจะเห็นว่า เมือ่ ก้าวพ้นประตูวดั ทางด้านทิศเหนือ ซึ่งมีบานประตูเป็นไม้สักสลักเป็นรูป
๓๙ “เสี้ยวกาง” กำ�ลังรำ�ง้าวอยู่บนหลังสิงห์โต จะเห็น “พระ วิหารหลวง” ตั้งตระหง่านอยู่บนพื้นไพที ทรวดทรงทั่วไป สวยงามมาก มีมขุ หน้าและหลัง ทัง้ หลังประดับด้วยหินอ่อน ตลอด หลังคามุงด้วยกระเบื้องสีส้มอ่อนๆ มีช่อฟ้าใบระกา ประดับเสริมด้วยพระวิหารให้เด่นประดุจตั้งตระหง่านอยู่ บนฟากฟ้านภาลัย หน้าบันทั้งด้านหน้าและด้านหลัง เป็น รูปมหาพิชยั มงกุฎบนพระแสงขรรค์ ซึง่ มีพานแว่นฟ้ารองรับ มหาพิชัยมงกุฎและพระขรรค์นั้น พานแว่นฟ้าประดิษฐาน
อยู่บนหลังช้าง ๖ เชือก ทั้งสองข้างประดับด้วยฉัตรห้าชั้น พืน้ ของหน้าบันเป็นลายกนกลงรักปิดทองทัง้ หมด ตังหน้าบัน เป็นไม้สกั แกะสลักเป็นลวดลายดังกล่าวนัน้ นับว่าเป็นหน้าบัน ที่วิจิตรพิสดาร เป็นยอดของสถาปัตยกรรมอันดับหนึ่งของ ประเทศไทย ซุม้ ประตูหน้าต่างประดับรูปลายปูนปัน้ ลงรักปิด ทองติดกระจกสีเป็นรูปมงกุฎทุกบาน ตัวบานประตูหน้าต่าง สลักด้วยไม้สักเป็นลายก้านแย่ง ซ้อนกันสองชั้นลงรักปิดทอง ติดกระจกสี ทำ�ให้ดูงดงามยิ่งขึ้น ด้านหลังพระวิหาร
แกะสลั ก ด้ ว ยหิ น อ่ อ นทั้ ง แผ่ น ภายในซุ้ ม เป็ น ที่ ประดิษฐานศิลาจารึก ประกาศในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ๒ ฉบับ ฉบับแรกเป็นประกาศสร้างวัดถวายพระสงฆ์ ธรรมยุกติกนิกาย ลง พ.ศ. ๒๔๐๗ ฉบับหลังเป็นประกาศงาน พระราชพิธีผูกพัทธสีมา ลง พ.ศ. ๒๔๐๘ ข้อความในศิลาจารึก ทัง้ ๒ ฉบับ นัน้ นับว่ามีความสำ�คัญซึง่ เป็นมหามรดกล้�ำ ค่า ทีเ่ ป็น มหาสมบัตขิ องคณะธรรมยุตกิ ายทีไ่ ด้รบั พระราชตกทอดมาจาก ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๔
พระพุทธสิหิงค์ปฏิมากร หล่อด้วยโลหะ รัชกาลที่ 4 โปรดพุทธลักษณะและมีพระราชศรัทธาเป็นพิเศษ พระพุทธรูป องค์นี้มีขนาดหน้าตักกว้าง 1 ศอก 6 นิ้ว สูง 1 ศอก 8 นิ้ว พระ เกตุสงู 5 นิว้ ประดิษฐานอยูบ่ นฐานชุกชีภายใต้บษุ บก ภายในฐาน องค์พระประดิษฐานพระบรมอัฐิส่วนหนึ่งของรัชกาลที่ 4 ที่ด้าน หน้าขององค์พระเป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธสิหงิ ค์จ�ำ ลองอีกองค์ หนึ่งซึ่งมีขนาดย่อมลงมา และทางด้านซ้ายประดิษฐานพระพุทธ ชินสีห์จำ�ลอง
๔๑
ส่วนทางด้านขวาประดิษฐานพระพุทธชินราช จำ�ลอง ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่มีความสวยงาม และศักดิ์สิทธิ์อีกองค์หนึ่งของเมืองไทยเรา มี ประชาชนเข้ า มากราบไหว้ จำ � นวนมากพอ สมควร ภายในวิหารสวยงามมาก ๆ โดยเฉพาะ ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ไม่เหมือนวัดอื่นที่เคย เห็นมา สวยงามวิจิตรมาก เนื่องจากวัดราชประดิษฐ์เป็นวัดที่มีมหาสีมา ล้อมรอบตรงกำ�แพงวัด ภายในวัดจึงไม่มีพระ อุโบสถ หากแต่ใช้พระวิหารหลวงแทน พระ วิหารหลวงเป็นอาคารทรงไทย มีมุขด้านหน้า และหลัง ผนังภายนอกประดับด้วยหินอ่อน
สลับเป็นลวดลายสวยงาม หลังคามุงกระเบื้องเคลือบสี ประดับด้วยช่อฟ้า ใบระกา ซึ่งปิดทองประดับกระจก อย่างวิจติ รงดงาม ซุม้ ประตูหน้าต่างทุกบานเป็นลายปูนปัน้ ลงรักปิดทอง ประดับกระจกสี เป็นรูปมงกุฎ ส่วน บานประตูและหน้าต่างสลักด้วยไม้สักเป็นลายก้านแย่งซ้อนกัน 2 ชั้น ปิดทองประดับกระจก เป็นพระวิหารที่ ทรงคุณค่าอีกแห่งหนึ่ง ซึ่งงามด้วยศิลปกรรม ต่าง ๆ ของไทย ภายในพระวิหารหลวงมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง เป็นภาพเขียนด้วยสีฝุ่น เขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งบูรณะปฏิสังขรณ์วัด แบ่งภาพเป็นสองตอน ตอนบนเป็นรูปเทวดาและนางฟ้าเหาะอยู่ตามกลีบเมฆ และทิพย์วิมาน ตอนล่างเป็นภาพพระราชพิธีสิบสองเดือนทั้งโล้ชิงช้า สงกรานต์ วิสาขบูชา ส่วนภาพที่ผนัง ด้านหน้าพระประธาน เป็นภาพรัชกาลที่ 4 ทรงส่องกล้องดูสรุ ยิ ปุ ราคาทีต่ �ำ บลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ภาพนี้จึงเป็นภาพประวัติศาสตร์ที่บันทึกความทรงจำ�ให้น้อมรำ�ลึกถึงพระปรีชาสามารถของพระองค์ ภาพ จิตรกรรมเขียนได้สวยสดงดงามเป็นอย่างยิ่ง
๔๓
พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร ตัง้ อยูถ่ นนเฟือ่ งนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนครบริเวณวัดนีเ้ ดิมเป็นวังของพระบรม วงศ์เธอกรมหลวง บดินทร ไพศาลโสภณ รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นวัดแรกหลัง จากทรงเสด็จขึ้นครองราชย์ เพื่อเป็นที่ระลึกแก่พระอัครมเหสีพระราชเทวีและเจ้าจอมพระ สนมเอกของพระองค์ วัดราชบพิธฯ มีความโดดเด่นในศิลปะการก่อสร้างและการวางผังที่ เหมาะสมลงตัว สิ่งที่พิมพ์พิเศษอีกอย่างคือ ไม่มีเสมาที่พระอุโบสถ แต่มีมหาเสนาซึ่งทำ�เป็น รูปเสมาธรรมจักรจำ�หลักติดเสาศิลาซึ่งอยู่บนกำ�แพงทั้ง 8 ทิศแทนบริเวณวัดนี้เดิมเป็นวังของ พระบรมวงศ์เธอกรมหลวง บดินทร ไพศาลโสภณ วัดราชบพิธฯ เริ่มก่อสร้าง เมื่อ พ.ศ. 2412 (สมัยรัชกาลที่ 5) เสร็จในปี พ.ศ. 2413 แล้วนิมนต์พระสงฆ์จากวัดโสมนัสวรวิหารมาจำ�พรรษา อยู่ พร้อมกับอัญเชิญพระพุทธนิรันตรายมาประดิษฐานไว้ในพระอุโบสถ วัดราชบพิธสถิต มหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ร.๕ โปรดให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นวัด ประจำ�รัชกาลของพระองค์ โดยสร้างเลียนแบบ ๒ วัดคือ วัดพระปฐมเจดีย์กับวัดราชประดิษฐ์
๔๗
๔๘ สถิตมหาสีมารามซึ่งเป็นวัดประจำ�รัชกาลที่ ๔ โดย ภายในวัดแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ เขตพุทธาวาส เขตสังฆาวาส และเขตสุสานหลวง ตัวพระอุโบสถ ภายนอกสถาปัตยกรรมแบบไทยแท้ ประกอบด้วย ลวดลายกระเบื้องเคลือบเบญจรงค์รูปเทพประนม (มือ) ภายในเป็นสถาปัตยกรรมโกธิค พระประธาน คือ พระพุทธอังคีรส ภายใต้พระประธานมิได้เพียง
บรรจุพระสรีรังคารของ ร.๕ เพียงเท่านั้นยังบรรจุพระ สรีรังคารของพระมหากษัตริย์พระองค์อื่น ๆ ด้วย การ วางตัวของพระอุโบสถกับพระวิหารเป็นแบบวัดพระปฐม เจดีย์ คือวางแนวทิศตรงกันข้าม โดยด้านข้างจะมีทาง เข้าไปในรอบ ๆพระเจดีย์ ข้างในพระเจดียม์ พี ระพุทธรูป ปางนาคปรกอยูด่ ว้ ย ซึง่ เล่ากันมาว่าขุดพบใต้ตน้ ตะเคียน ริมคลองหลอด ซึ่งเชื่อกันว่าคนที่อยากมีลูกมาขอพร
๔๙ ก็จะมีลูกสมใจ ภายในพระเจดีย์ยังมีทางขึ้นไปบน ฐานเจดีย์ด้วย ในอดีตสามารถมองเห็นภูเขาทองได้ ด้วยศิลปกรรมที่สำ�คัญในวัดได้แก่ บานประตู และ หน้าต่างของพระอุโบสถทีม่ ลี ายไทยลงรักประดับมุก เป็นรูปดวงตราครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ตา่ ง ๆ สวยงาม มาก วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม คำ�ว่าสถิตมหา
สีมาราม หมายถึงการมีเขตเสมาใหญ่มากล้อมรอบทั้งวัด แทนที่ จะมีแค่ เสมารอบ ๆ พระอุโบสถเท่านั้น และที่น่าสนใจอีกอย่าง คือกระเบื้องเบ็ญจรงค์ ทั้งพระอุโบสถ วิหารและเจดีย์ ระเบียง แก้ว ล้วนตกแต่งด้วย ลายกระเบือ้ งเคลือบเบญจรงค์ทงั้ สิน้ และ ทุกแผ่นเขียนด้วยมือ และออกแบบรูปทรงกระเบื้องขนาดต่างๆ ลงตัวอย่างน่าอัศจรรย์ ไม่ว่าเจดีย์ ระเบียง พระอุโบสถ
๕๐
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่สำ�คัญ พระอุโบสถ รูปทรงภายนอกเป็นสถาปัตยกรรมแบบไทย หลังคาด้านหน้า มีมุขเด็จมุงด้วยกระเบื้องเคลือบสี ติดช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ หน้าบันมุขเป็นรูปช้าง 7 เศียร เทิดพานทองรองรับใส่มงกุฎขนาบ สองข้างด้วยฉัตรมีราชสีหแ์ ละคชสีหป์ ระคอง หน้าบันมุขเด็จเป็น รูปนารายณ์ทรงครุฑ ประตูหน้าต่างมีซุ้มยอดมณฑปครึ่งซีกติด ลวดลายปูนปั้นปิดทอง บานประตู 10 บาน บานหน้าต่าง 28 บาน ด้านในเป็นลายรดน้ำ�พุ่มข้าวบิณฑ์ ด้านนอกเป็นตราราช อิสริยาภรณ์ชั้นที่หนึ่งรวม 5 ดวง เฉพาะที่บานประตูเครื่องราช อิสริยาภรณ์ทั้ง 5 นี้ มีสายสะพายล้อมวงกลมและสร้อยทับอยู่ บนสายสะพายกับมีโบว์ห้อยดวงตราอีกชั้นหนึ่ง ลายประดับมุข ที่บานประตูและหน้าต่างนี้ยกย่องว่าเป็นศิลปะชิ้นสำ�คัญที่สุด ชิน้ หนึง่ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ด้านข้างของซุม้ แต่ะด้านเป็นรูป เซีย่ วกางถือง้าวยืนอยูบ่ นหลังสิงห์ ด้านข้างของซุม้ หน้าต่างแต่ละ ด้านเป็นรูปเทวดาถือพระขรรค์ยนื อยูก่ ลางลายกนก ภายในพระ อุโบสถเป็นแบบยุโรปผสมแบบไทย เพดานเป็นลายเครือเถาสี ทอง ผนังระหว่างช่องหน้าต่างเป็นรูปอุณาโลม และมีอักษร จ. สลับเหนือซุ้มกลางประตู ภายในปั้นเป็นรูปตราแผ่นดินประจำ� พระองค์ของรัชกาลที่ 5 โดนจำ�ลองแบบจากตรางาประจำ� พระองค์ การตกแต่งภายในพระอุโบสถและผนังชั้นบนระหว่าง เสาคูหาเป็นภาพพุทธประวัติ ส่วนการให้สีภายในพระอุโบสถ งดงามและปิดทองบางแห่ง
พระวิหาร มีรูปทรงแบบเดียวกับพระอุโบสถทั้งภายใน และภายนอก แตกต่างกันตรงที่บานประตูและหน้าต่างสลัก ด้วยไม้เป็นลายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในขณะที่พระอุโบสถ เป็นลายประดับมุข นอกจากนี้ลวดลายภายในพระวิหารจะ มีเฉพาะที่เพดานบัวกั้นผนังชั้นล่างและชั้นบน และกรอบ หน้าต่างเท่านั้น นอกนั้นผนังเป็นสีทองไม่มีลวดลาย ภายใน พระวิหาร ผนังด้านบนทาสีชมพูเขียนลายดอกไม้รว่ ง ตอนล่าง ทำ�เป็นอุณาโลมสลับกับอักษร จ บานหน้าต่างด้านในเป็นลาย รน้ำ�พุ่มข้าวบิณฑ์ พระประธานป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย นามว่าพระประทีปวโรทัย พระเจดีย์ เป็นพระเจดียท์ รงไทยย่อ เหลีย่ มฐานคูหาประดับกระเบือ้ งเคลือบลายเบญจรงค์ทงั้ องค์ ประดิษฐานอยูก่ งึ่ กลางเป็นประธานของสิง่ ก่อสร้างทัง้ หมดบน พื้นไพที ยอดปลีพระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ 6,018 องค์ ลูกแก้วยอดปลีพระเจดีย์ทำ�ด้วยกระเบื้องดินเผาเคลือบ ทอง เหนือฐานพระเจดีย์มีซุ้มโดยรอบ รวม 14 ซุ้ม นับตั้งแต่ ซุม้ พระรูปหล่อของพระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหลวงชินวรสิรวิ ฒ ั น์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า และพระพุทธรูปเหนือซุ้ม มีชานและ กำ�แพแก้วสำ�หรับเดินรอบเจดีย์ ตรงกลางองค์พระเจดีย์มี ชุกชีประดิษฐานพระพุทธรูปศิลาปางนาคปรกสมัยลพบุรี 2 องค์ นอกจากนี้ผนังด้านในองค์พระเจดีย์มีช่องประดิษฐาน พระพุทธรูปขนาดย่อม 6 องค์พระระเบียงหรือพระวิหารคต ผนังประดับกระเบื้องลายเบญจรงค์เชื่อมพระอุโบสถกับพระ วิหารมุขและพระวิหารล้อมองค์พระเจดีย์ใหญ่ ด้านนอกมี ทางเดินปูด้วยหินอ่อนและมีเสากลมรับกับเชิงชาย ส่วนด้าน ในเป็นพื้นสองชั้นมีเสาก่ออิฐถือปูนย่อเหลี่ยมรับเครื่องบน และเชิงชาย
๕๓
พระอุโบสถ ภายนอก เ ป็ น ศิ ล ป ะ ไ ท ย แ ต่ ภายในเป็ น แบบฝรั่ ง ลวดลายจำ�ลองเครื่อง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ์ ประดับมุกที่บานประตู ย ก ย่ อ ง กั น ว่ า เ ป็ น “ศิลปะชิ้นสำ�คัญของ กรุงรัตนโกสินทร์”
วิหารทิศหรือวิหารมุข อยู่ทางทิศตะวันออกและทิศ ตะวันตก ตรงกับพระเจดีย์ใหญ่เป็นทางเข้าสู่บริเวณภายใน พระระเบียงรอบเจดีย์ หน้าบันมุขชั้นบนเป็นรูปนารายณ์ทรง ครุฑ หน้าบันมุขชั้นล่างเป็นรูปช้างสามเศียรเทิดบุษบกและ ซุ้มประตูทางเข้าเป็นทรงมณฑปครึ่งซีก บานประตูเป็นภาพ เขียนสีรูปเซี่ยวกาง ศาลาราย เป็นศาลารายหลังเล็ก ๆ ขนาด 2 ห้อง รอบ ไพทีมที งั้ หมดจำ�นวน 8 หลัง อยูท่ างด้านหน้าพระโบสถ 2 หลัง หน้าพระวิหาร 2 หลัง และหน้าพระวิหารทิศทั้งด้านตะวันตก และตะวันออก ด้านละ 2 หลัง หน้าบันของศาลารายเป็นรูป เทพพนมล้อมรอบด้วยลายกนก
หอระฆังและหอกลอง หอระฆังมีลกั ษณะ 2 ชั้น ชั้นล่าง ก่ออิฐถือปูนชั้นบนทำ�เป็นซุ้มมงกุฎโปร่งทั้ง 4 ด้าน ตรงมุม ย่อเหลี่ยมไม้สิบสอง ยอดเป็นรูปพระเกี้ยวประดับด้วยกระ เบื้อลายเบญจรงค์ ส่วนหอกลอง มีลักษณะเช่นเดียวกับหอ ระฆัง แต่มีกระจกสี 3 ด้าน เกยและพลับพลาเปลื้องเครื่อง อยู่มุมกำ�แพงวัดด้าน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัวพลับพลาก่ออิฐถือปูนหลังคาลด 2 ชั้น มุงด้วยกระเบื้องเคลือบสี มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ หนาบันเป็นตราราชวัลลภ ประกอบด้วยโล่ ช้างสมาเศียร เทิดพานแว่นฟ้าประดิษฐานพระเกี้ยวและมีราชสีห์คชสีห์ ถือฉัตร 7 ชั้น อยู่ทางซ้ายและขวา
๕๕
บานหน้าต่างและบานประตูพลับพลาประดับด้วยกระจกสี ด้านหน้าพลับพลาเป็นเกยก่ออิฐถือปูน เกยและพลับพลา นี้สร้างไว้สำ�หรับพระเจ้าแผ่นดินเสด็จพระราชดำ�เนินมา พระราชทานผ้ากฐินโดยทางสถลมารค (ทางบก) ตามโบราณ ราชประเพณี จะทรงฉลองพระองค์ด้วยขัตติยราชภูษิตาภ รณ์ ประทับพระราชยานมีพนักงานเจ้าหน้าที่หามมาเทียบ ที่เกยเสด็จขึ้นพลับพลาทรงเปลื้องเครื่องขัตติยาราชภูษิตาภ รณ์เปลี่ยนฉลองพฃพระองค์ใหม่ แล้วจึงเสด็จไปพระอุโบสถ
๕๗
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรวิหาร ประวัติและที่ตั้ง ของวัดบวรนิเวศวิหาร วัดบวรนิเวศ วิหารเป็นวัดชั้นเอกชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ต้นถนนตะนาวและ ถนนเฟื่องนคร บางลำ�ภู กรุงเทพฯ แต่เดิมวัดนี้เป็นวัดใหม่อยุ่ ใกล้กับวัดรังษีสุทธาวาส ต่อมาได้รวมเข้าเป็น วัดเดียวกัน โดย กรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย์ ในรัชกาลที่ ๓ ทรงสร้าง ขั้นใหม่ วัดนี้ ได้รับการทะนุบำ�รุง และสร้างสิ่งก่อสร้างต่างๆ ขึ้นจนเป็นวัดสำ�คัญวัดหนึ่ง โดยเฉพาะในสมัย ปลายรัชกาลที่ ๓ เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงอาราธนา สมเด็จพระ อนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฏ ซึ่งผนวชเป็นพระภิกษุ อยู่ วัดสมอราย (วัดราชาธิวาส) เสด็จมาครอง เมื่อ พ.ศ.๒๓๗๕ ทำ�ให้วดั นีไ้ ด้รบั การบูรณะ ปฏิสงั ขรณ์ และเสริมสร้างสิง่ ต่างๆขึน้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระราชา คณะเสด็จประทับที่วัดนี้แล้วทรง บูรณะปฏิสังขรณ์และสร้าง ถาวรวัตถุต่างๆเพิ่มเติมขึ้นหลายอย่าง
๖๑ พร้อมทัง้ ได้รบั พระราชทาน ตำ�หนักจากรัชกาลที่ ๓ ด้วย ในสมัยต่อมาวัดนี้ เป็นวัดทีป่ ระทับของพระมหากษัตริย์ เมื่อทรง ผนวชหลายพระองค์ เช่นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ และ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาล ปัจจุบนั จึงทำ�ให้วดั นีไ้ ด้รบั การทะนุบ�ำ รุงให้คงสภาพดีอยูเ่ สมอ ในปัจจุบนั นี้ ศิลปกรรมโบราณวัตถุ และ ศิลปวัตถุ หลาย สิ่งหลายอย่างอยู่ในสภาพดีพอที่จะชม และ ศึกษาได้ เป็นจำ�นวนไม่น้อย ศิลปกรรมที่ควรชมภายในวัดบวรนิเวศวิหาร วัดบวรนิเวศวิหารนี้มีศิลปกรรม และถาวรวัตถุที่มีค่าควรแก่การศึกษาไม่น้อย แบ่งออกเป็น ศิลปกรรมในเขต พุทธาวาสและศิลปกรรมในเขตสังฆวาส เขตทั้งสองนี้ถูกแบ่งโดย กำ�แพง และ คูน้ามีสะพานเชื่อมถึงกันเดินข้ามไปมาได้ สะดวก ศิลปกรรมที่สำ�คัญ ของวัดนี้ที่น่า สนใจ มีดังนี้
ศิลปกรรมในเขตพุทธาวาส ศิลปกรรมในเขตพุทธาวาสที่สำ�คัญเริ่มจากพระอุโบสถซึ่ง สร้างขึน้ ตัง้ แต่สร้างวัดในรัชกาลที่ ๓ แต่ได้รบั การบูรณะซ่อมแซมต่อ มาอีกหลายครั้ง รูปแบบของพระอุโบสถ ที่สร้างตามแบบ พระราช นิยมในสมัยรัชกาลที่ ๓ มีมุขหน้ายื่นออกมา เป็นพระอุโบสถและมี ปีกยืน่ ออก ซ้ายขวา เป็นวิหารมุขหน้าทีเ่ ป็นพระอุโบสถมีเสาเหลีย่ ม มีพาไลรอบซุ้มประต?หน้าต่าง และ หน้าบันประดับด้วยลายปูนปั้น พระอุโบสถหลังนีไ้ ด้รบั การบูรณะในสมัย รัชกาลที่ ๔ โดย โปรดฯ ให้ มุงกระเบือ้ งเคลือบลูกฟูก ประดับ ลายหน้าบันด้วยกระเบือ้ งเคลือบ สี และโปรดฯให้ ขรัวอินโข่งเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง ภายในพระ อุโบสถ ส่วนภายนอกได้รับการบูรณะ บุผนัง ด้วยหินอ่อนทั้งหมด เสาด้านหน้าเป็นเสาเหลืย่ มมีบวั หัวเสาเป็นลายฝรัง่ ซุม้ ประตูหน้าต่าง ปิด ทองประดับกระจก ด้านหน้ามีใบเสมารุ่นเก่าสมัยอู่ทองทำ�ด้วย หินทรายแดงนำ�มาจากวัดวังเก่า เพชรบุรี ส่วนใบเสมาอื่นทำ�แปลก คือติดไว้กับผนังพระอุโบสถแทน การตั้งไว้บนลานรอบ พระอุโบสถ หลังพระอุโบสถเป็นเจดียก์ ลทสมัยรัชกาลที่ ๔ ต่อมาได้หมุ้ กระเบือ้ ง สีทอง ใน รัชกาลปัจจุบันพระอุโบสถหลังนี้มีรูปแบบที่มีลักษณะ เฉพาะต่างไปจากพระอุโบสถทั่วไป เพราะเป็นการผสมกันระหว่าง ศิลปะแบบพระราชนิยมของรัชกาลที่ ๓ ซึ่งกระเดียดไปทาง ศิลปะ จึนและศิลปะแบบรัชกาล ที่ ๔ ซึง่ เป็นศิลปะทีม่ อี ทิ ธิพลฝรัง่ จึงทำ�ให้ พระอุโบสถหลังนี้ีมีลักษณะผสมของอิทธิพลศิลปะต่างชาติทั้งสอง แบบ แต่ทั้งหมดตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของศิลปะ ไทย เมื่อโดยรวมแล้ว พระอุโบสถหลังนี้ มีเอกลักษณ์เฉพาะตนที่งดงามแปลกตาไม่น้อยที เดียว
๖๓
ศิ ล ปกรรมภายในพระอุ โ บสถ นอกเหนื อ ไปจาก พระพุทธรูปแล้วก็มภี าพจิตรกรรมฝาผนัง ที่ พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯให้ขรัวอินโข่ง เขียนขึ้น เป็นงานจิตรกรรม ฝาผนัง ที่มีค่ายิ่ง
๖๔
เพราะเป็นรูปแบบของ จิตรกรรมหัวเลี้ยวหัวต่อของ การรับอิทธิพลยุโรป หรือ ฝรั่งเข้า มาผสมผสานกับ แนวคิดตามขนบนิยมของไทย ภาพจิตรกรรมฝาผนัง นี้ สันนิษฐานว่าเขียน ตั้งแต่สมัยที่ พระภิกษุเจ้าฟ้าม งกุฏฯเข้าครองวัด
มหามกุฏราชวิทยาลัย รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งเป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ เปิด ทำ�การสอน 4 คณะคือ ศาสนา และปรั ช ญา มนุ ษ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศึกษาศาสตร์
๖๖
โดยเขียนบนผนังเหนือ ประตูหน้าต่าง ขึ้นไป มีอยู่ ๑๖ ตอน เริ่มต้นจากทางหลังของ ผนังด้านซ้ายทางทิศตะวันตก นับเป็น ผนังที่ ๑ วนทักษิณาวัตพระพุทธรูปในพระอุโบสถตาม ลำ�ดับ มีคำ�จารึก พรรณาเขียน ไว้ที่ช่องประตู หน้าต่างรวม ๑๖ บานนอกจากภาพจิตรกรรม ฝาผนังแล้วทีเ่ สาพระอุโบสถเขียนภาพแสดงปริศนาธรรมเปรียบด้วย น้าใจคน ๖ ประเภทเรียก ว่า ฉฬาภิชาติ ด้วย ภายในพระอุโบสถนี้ มีพระพุทธรูปสำ�คัญอยู่ ๒ องค์ คือ พระประธานเป็น พระพุทธรูปหล่อ โลหะขนาดใหญ่หน้าพระเพลากว้าง ๙ ศอก ๑๒ นิ้ว กรมพระราชวังบวรฯ ผู้สร้างวัดได้ทรง อัญเชิญมาจากวัดสระตะพาน เพชรบุรี โดยรื้อออกเป็น ท่อนๆ แล้วนำ�มา ประกอบขึน้ ใหม่ สันนิษฐานว่าเดิมเป็นพระทวาราวดี พระศกเดิมโต พระยาชำ�นิหตั ถการ นาย ช่างกรม พระราชวังบวรฯ เลาะออกทำ�พระศกใหม่ด้วยดินเผาให้เล็กลง ลงรักปิดทองมีพระ สาวกใหญ่ นั่งคู่หนึ่งเป็นพระปั้นหน้าตัก ๒ ศอกส่วนพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่งคือ พระพุทธชิน สีห์ ซึง่ อัญเชิญมาจากวิหารทิศเหนือ วัดพระศรีรตั น มหาธาตุ พิษณุโลก โดยอัญเชิญมาทัง้ องค์ เมื่อฤดูน้ำ�ปี พ.ศ.๒๓๗๓ และ ในปีต่อมาได้ปิดทอง กาไหล่ พระรัศมี ฝังพระเนตรใหม่ และ ตัดพระอุณาโลม พระพุทธรูปองค์ นี้ เป็นพระพุทธรูป ที่งดงามอย่างยิ่ง องค์หนึ่ง ถัดจากพระ อุโบสถออกไปเป็นเจดีย์กลม ขนาดใหญ่สร้างสมัยรัชกาลที่ ๔ หุ้มกระเบื้องสีทอง ในรัชกาล ปัจจุบัน รอบฐานพระเจดีย์มี ศาลาจีนและซุ้มจีน หลังเจดีย์ออกไปเป็นวิหารเก๋งจีน ข้างในมี ภาพเขียน ฝีมือช่างจีน เทคนิค และฝีมืออยู่ในเกณฑ์ดี ถัดเก๋งจีนเป็น วิหารพระศาสดา เป็น วิหารใหญ่แบ่งเป็น ๒ ห้อง ด้านหลัง เป็นพระพุทธไสยาสน์ สมัยสุโขทัย ฝาผนังมีจิตรกรรม เรื่องพระพุทธประวัติและชาดก ด้านหน้าประดิษฐานพระศาสดา รัชกาลที่ ๔ โปรดฯให้ อัญเชิญมาจากวัดสุทศั น์เทพวรารามในบริเวณพุทธาวาสนัน้ มีศลิ ปกรรมน่าสนใจอีกหลายอย่าง เช่น พระพุทธบาทจำ�ลอง ซึ่งเป็น พระ พุทธบาทโบราณสมัยสุโขทัย ประดิษฐานอยู่ในศาลา ข้าง พระอุโบสถพลับพลา เปลื้อง เครื่อง สร้างเป็นเครื่องแสดงว่าวัด นี้รับพระกฐินโดยขบวน พยุหยาตรา ที่พระเจ้าแผ่นดิน เสด็จ
พระอุโบสถ มีแบบแปลนแผนผังที่แปลก คือ เป็นอาคารแบบตรีมุขมีปีกยื่น ออกมาสองข้าง หลังคามุงกระเบือ้ ง เคลื อ บลู ก ฟู ก แบบจี น หน้ า บั น ประดับกระเบื้องเคลือบ ตรงกลาง มี ต รามหามงกุ ฏ ซุ้ ม ประตู แ ละ หน้ า ต่ า งเป็ น ลายปู น ปั้ น ปิ ด ทอง ผนั ง ภายในเขี ย นภาพฝรั่ ง แสดง ปริศนาธรรมฝีมอื ขรัวอินโข่งภายใน ประดิษฐานพระพุทธรูปสำ�คัญ เช่น พระสุวรรณเขต พระพุทธชินสิงห์ พระนิรันตราย พระพุทธนินนาท เป็นต้น
๖๘ เปลือ้ งเครือ่ งทรงในศาลานีก้ อ่ นเสด็จเข้าวัดนอกจากนีท้ ซี่ มุ้ ประตูด้านหน้าพระอุโบสถบานประตูมีรูปเซี่ยวกาง แกะ สลักปิดทอง เป็นฝีมือช่างงดงามทีเดียว ศิลปกรรมในเขตสังฆวาส ศิลปกรรมในเขตสังฆวาสส่วนใหญ่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาล ที่ ๓ และรัชกาลที่ ๔ เพื่อเป็น ตำ�หนักที่ประทับของพระ มหากษัตริยท์ ผี่ นวชในวัดนี้ เริม่ จากตำ�หนักปัน้ หยา ซึง่ เป็น ตึกฝรั่ง ๓ ชั้น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง
สร้างพระราชทานพระภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฏ เมือ่ ทรงอาราธนา ให้เสด็จมาประทับที่วัดนี้ และประทับอยู่ที่ตำ�หนักปั้นห ยาตลอดเวลาผนวช ต่อมา ตำ�หนักนี้ได้เป็นที่ประทับของ เจ้านายหลายพระองค์ที่ผนวชและประทับอยู่ที่วัดนี้ รูป ทรงของ ตำ�หนักเป็นตึกก่ออิฐถือปูนหน้าจั่วประดับด้วย กระเบือ้ งเคลือบอยูซ่ า้ ยมือของกลุม่ ตำ�หนัก ต่างๆ ถัดจาก ตำ�หนักปั้นหยาคือ ตำ�หนักจันทร์ เป็นตำ�หนักที่พระบาท สมเด็จ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงสร้างด้วยทรัพย์
๖๙ ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจันทราสรัทธาวาส กรมขุน พิจิตเจษฐฃฏาจันทร์ถวายเป็นที่ประทับของสมเด็จพระ มหาสมณเจ้ากรมพระวชิรญาณวโรรส ในบริเวณตำ�หนักจันทร์ดา้ น ทิศตะวันออกติดกับรัว้ เหล็กมีศาลาเล็กๆ มีพาไล ๒ ด้าน ฝาล่องถุนก่ออิฐถือปูนโถงเป็นเครื่องไม้ หลังคามุงกระเบื้อง ศาลาหลังนี้เดิมเป็นพลับพลา ที่ ประทับของสมเด็จ พระศรีสุริเยนทราบรมราชินี ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง สร้างไว้ในสวนพระราชวังเดิม โปรดให้ ย้ายมาปลูกไว้ เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๒ ในกลุ่มพระตำ�หนัก นี้ ยังมี พระตำ�หนักเพชร อีกตำ�หนักหนึ่งอยู่ขวามือเมื่อเข้าจาก หน้าวัด เป็นตำ�หนัก สองชั้นแบบ ฝรั่ง มุขหน้าประดับด้วยลวดลายไม้ฉลุงดงาม ตำ�หนักนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏ เกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงสร้างถวายเป็นท้องพระโรง ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา วชิรญาณวโรรส อย่างไร ก็ตามศิลปกรรมและถาวรวัตถุของวัดบวรนิเวศวิหารยังมีอีกหลายอย่างส่วนใหญ่ ยังคงอยู่ ในสภาพดี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล วัดสุทัศนเทพวราราม เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึน้ ใน พ.ศ. 2350 เดิมพระราชทานนามว่า “วัด มหาสุทธาวาส” โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระวิหารขึ้นก่อนเพื่อประดิษฐาน พระศรีศากยมุนี (พระโต) ซึ่งอัญเชิญมาจากพระวิหารหลวงวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย แต่สนิ้ รัชกาลก่อนทีจ่ ะประดิษฐานเป็นสังฆาราม จึงเรียก กันว่า วัดพระโต วัดพระใหญ่ หรือวัดเสาชิงช้าบ้าง จนกระทั่งในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้สร้างต่อ และ ทรงจำ�หลักบานประตูพระวิหารด้วยพระองค์เอง แต่กส็ นิ้ รัชกาลเสียก่อน ที่การก่อสร้างจะแล้วเสร็จ การก่อสร้างวัด มาเสร็จบริบูรณ์ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ใน พ.ศ. 2390 และพระราชทาน นามว่า “วัดสุทัศนเทพวราราม” ปรากฏในจดหมายเหตุว่า “วัดสุทัศน เทพธาราม” และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรง ผูกนามพระประธานในพระวิหาร พระอุโบสถ และศาลาการเปรียญ ให้ คล้องกันว่า “พระศรีศากยมุน”ี “พระพุทธตรีโลกเชษฐ์” และ “พระพุทธ เสรฏฐมุน”ี ภายในวัดสุทศั นเทพวรารามเป็นทีป่ ระดิษฐานพระบรมราชา นุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดิ นทร และได้อัญเชิญ พระบรมราชสรีรางคารของพระองค์
๗๓
มาบรรจุที่ผ้าทิพย์ด้านหน้าพุทธบัลลังก์พระ ศรีศากยมุนีเมื่อ พ.ศ. 2493 และมีพระราช พิธีทรงบำ�เพ็ญพระราชกุศลคล้ายวันสวรรคต ของพระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรมหาอา นันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรในวันที่ 9 มิถุนายนของทุกปีพระอุโบสถพระอุโบสถ ของวั ด สุ ทั ศ น์ จั ด ว่ า เป็ น พระอุ โ บสถที่ ย าว ที่สุดในประเทศไทย พระประธานภายในพระ อุโบสถ คือ พระพุทธตรีโลกเชษฐ์ เป็นพระพุทธ รู ป ปางมารวิ ชั ย ทั้ ง พระอุ โ บสถและพระ ประธานนีส้ ร้างขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ผนังด้าน ในของพระอุโบสถมีภาพจิตกรรมฝาผนังฝีมือ ช่าง ในสมัยรัชกาลที่ 3 ซุ้มประตูและหน้าต่าง เป็นซุ้มยอด มีลัดษณะแปลกและงดงามมาก รอบ ๆ พระอุโบสถ มีซุ้มเสมา 8 ซุ้ม ตั้งอยู่บน กำ�แพงแก้ว เป็นใบเสมาคู่ซึ่งทำ�จากหินอ่อนสี เทา สลักเป็นภาพช้าง 3 เศียร งวงชูดอกบัว ตูมเศียรละ 1 ดอก เบื้องบนมีดอกบัวบาน 3 ดอก บนกำ�แพงแก้วด้านทิศเหนือและทิศใต้ มีเกยอยู่ด้านละ 4 เกย
ซึ่งใช้เป็นที่สำ�หรับประทับโปรยทานแก่ประชาชนในงาน พระราชพิธี เรียกว่า เกยโปรยทาน ภาพวาดบนฝาผนัง ในอุโบสถ ที่เป็นรูป เปรต ตนหนึ่งนอนพาดกายอยู่ และ มีพระสงฆ์ยืนพิจารณาอยู่ ซึ่งภาพนี้มีชื่อเสียงมากในสมัย อดีต เป็นที่เลื่องลือกันของผู้ที่ไปที่วัดแห่งนี้ว่าต้องไปดู
สถาปัตยกรรมที่สำ�คัญ พระอุ โ บสถ มี ค วามงามตามแบบสถาปั ต ยกรรมไทย โบราณสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น กล่าวคือ ตัวพระอุโบสถ ก่ออิฐถือปูน กว้าง 22.60 เมตร ยาว 72.25 หน้ามุข กระสันกว้าง 14.00 เมตร ยาว 10.40 เมตร สร้างอยู่บน
๗๕
ฐานไพทีชั้นที่ 2 มีเฉลียงรอบทั้ง 4 ด้าน มีเสาพระอุโบสถมี ทั้งหมด 62 ต้น เสาแต่ละต้นมีลักษณะ 4 เหลี่ยมเท่ากัน ปิด ทองล่องชาดลายดอกไม้ ซุ้มประตูหน้าต่างทรงบัวเจิมยอด แหลมคล้ายทรงมงกุฎ ปิดทองประดับกระจกฐานพระอุโบสถ ประกอบด้วยกระดานฐานสิงห์ค่ันปัดลูกแก้ว ไม่มีลวดลาย ระหว่างโคนเสาเฉลียงด้านนอกมีผนังก่ออิฐ คั่นเป็นห้อง ๆ สูง 1.22 เมตร ด้านในเจาะคูหาเล็ก ๆ สำ�หรับใส่ตะเกียง บูชา เพื่อบูชาประทีปในงานนักขัตฤกษ์สมัยโบราณห้องละ 5 คูหาหลังคาอุโบสถมีลักษณะเป็นทรงไทยโบราณ 4 ชั้น 3 ลด มีมขุ กระสันหน้าหลังมุงกระเบือ้ งเคลือบสามสี ประกอบ ด้วยช่อฟ้ากระจกมุขหน้า 4 ตัว รวม 8 ตัว หางหงส์ 64 ตัว ไม่มีคันทวย หน้าบันด้านทิศตะวันออกมีภาพพระอาทิตย์ เทพเจ้าให้แสงสว่าง มีผิวกายแดง หน้าบันด้านทิศตะวันตก มีภาพพระจันทร์มีผิวกายขาว พื้นลายหน้าบันทั้งสองข้างมี ลายกรอบคั่นกลางเหมือนลายพระอาทิตย์ พระจันทร์และ ลายใบเทศหางโตประดับดัวยกระจกสีน้ำ�เงิน สีแดง สีขาว สี เหลือง สีเขียวสลับกัน ซุม้ เสมา ชัน้ ล่างเป็นฐานหน้ากระดาน มีดอกบัวคว่�ำ ถัดขึน้ ไปเป็นท้องไม้ใส่ลกู ฟักหินดุนทีส่ ลักลาย ดอกกลาง ถัดขึ้นไปเป็นบัวหงายและหน้ากระดานเป็นบัว ท้องปลิง ชัน้ กลางซุม้ เป็นทีป่ ระดิษฐานใบเสมาหินอ่อนสีขาว เทา ชัน้ ปลายเป็นลายดอกไม้ทรงโค้ง ประดุจกระจังหน้านาง
๗๗
ด้านบนเป็นบัวหงายกลีบซ้อน ข้างบนมียอดปล้อง ๆ เรียวเล็กตามลำ�ดับดุจปล้องไฉน 5 ปล้อง ปล้องที่ 6 เป็นปลีบัวหงายคั่นด้วยลูกแก้วระหว่างปลีบัวหงาย ปลายยอดสุดเป็นหยาดนํ้าค้าง พระวิหาร มีความงามตามแบบสถาปัตยกรรม ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยถ่ายทอดมาจากพระ วิหารมงคลบพิตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กล่าวคือ พระวิหารมีขนาดกว้าง 23.84 เมตร ขนาดยาว 26.35 เมตร สร้างบนฐานไพทีชั้นที่ 2 ซึ่งก่ออิฐถือปูนมั่นคง ฐานไพทีประกอบด้วยกระดานฐานสิงห์บัวลูกแก้ว สูง
๗๘
62 เซนติเมตร มีพนักสูง 85 เซนติเมตร ก่ออิฐกระเบือ้ ง ปรุตาโปร่งเคลือบสีเขียวพืน้ ฐานไพทีปกู ระเบือ้ งดินเผา สีแดง 8 เหลีย่ ม หลังคาพระวิหารเป็นทรงไทยโบราณ 2 ชัน้ ลด 1 มีเฉลียงซ้ายขวามุงกระเบือ้ งเคลือบสี ประดับ ด้วยช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ด้านหน้าและด้านหลัง พระวิหารมีประตูเข้าสู่พระวิหารด้านละ 3 ประตู เป็น ประตูสลักไม้ สร้างในรัชกาลที่ 2 กล่าวกันว่าบานประตู พระวิหารของวัดสุทัศน์เป็นฝีพระหัตถ์รัชกาลที่ 2 นับ เป็นสถาปัตยกรรมชิ้นเอกชิ้นหนึ่งในสมัยรัชกาลที่ 2 พระวิหารคต หรือพระระเบียง สร้างในสมัยรัชกาลที่
3 ล้อมพระวิหารพระศรีศากยมุนีทั้งสี่ด้าน มีหลังคา เป็นทรงไทยโบราณกระเบือ้ งเคลือบพืน้ สีเหลือง ขอบ สีเขียวใบไม้ และมีช่อฟ้า หางหงส์ หน้าบันพระวิหาร คตสลักภาพพระนารายณ์ทรงสุบรรณ มีโคมกรอบลาย คั่นพื้นลายทั้งหมด ประกอบด้วยลายใบเทศหางโตก นกเปลวและหางโตก้านขด สลักบนไม้แรเงาลวดลาย ปิดทองประดับกระจกทั้งหมด ใต้ลายหน้าบันลงมา ประกอบด้วยกระจังฐานพระซึ่งประกอบด้วยกระจัง
ใบเทศหน้ากระดาน บัวหงาย ลูกแก้ว และกระจังรวน ฯลฯ ความวิจติ รสวยงามของลวดลายหน้าบันนีย้ ากที่ จะหาหน้าบันวิหารคตใดมาเทียบได้ พระวิ ห ารคดด้ า นในมี เ สารายรั บ หลั ง คา เฉลียงลดเป็นห้อง ๆ เสาทุกต้นเป็นสี่เหลี่ยม มีบัว ท้องปลิง ท้องสะพานเหนือปลายเสาทาสีแดง ปิดทอง ฉลุลายดอกแก้วแกมกนกเกลียว เพดานทาสีแดงมีลาย กรอบแว่นประดับดาวทองล้อมเดือนทุกห้อง
๗๙
๘๐ ขื่อทาสีเขียวปิดทองประดับลายกรวยเชิง ตำ � หนั ก สมเด็ จ พระสั ง ฆราช เดิ ม ใช้ เ ป็ น ที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสสเทว มหาเถร) ซึ่งเป็นพระสังฆราชองค์ที่ 12 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ เป็นตึกหลังใหญ่ชั้นเดียว ศาลาวิหารทิศ เป็นศาลาทรงไทย 4 หลัง อยู่บนพื้นไพทีรอบมุมพระวิหารทั้ง 4 ทิศ เป็นศาลา โถง ด้านสกัดและด้านหลังก่ออิฐถือปูนด้วยกระเบือ้ ง ปรุตาโปร่ง เครื่องบนทำ�ด้วยไม้ทั้งหมด ใบระกา หาง หงส์ เชิงชายทั้งหมดเป็นไม้สัก หน้าบันแกะสลักด้วย
ลายดอกไม้ ประดับด้วยกระจังฐานพระปิดทอง ประดับกระจก ศาลาลอย มี 4 แห่ง สร้างชิดแนวกำ�แพงด้านหน้า พระวิหารแถบเหนือทีเ่ รียกกันว่า ศาลาลอย เพราะ มีพื้นสูงตั้งอยู่เหนือกำ�แพงมองดูเด่นเป็นสง่า มี หลังคาเป็นทรงไทยมุงกระเบื้องเคลือบสี ไม่มี ช่อฟ้า หางหงส์ หน้าบันปัน้ ด้วยปูนลายดอกไม้ เสา ทั้งหมดสี่เหลี่ยมมีบัวทองเปลวทาสีขาว โดยรอบ เฉลียงไม่มีฝาเปิดโล่งทั้ง 4 ด้าน หอระฆัง สร้างอยูใ่ นเขตสังฆาวาส ก่อด้วยอิฐถือปูน
ลักษณะเป็นแปดเหลี่ยมตั้งแต่ฐาน แต่พื้นดินขึ้นไปเป็นหน้ากระดานบัวคว่ำ�ท่อนที่ 2 เป็นหน้ากระดานบัว หงาย ผนังคูหาแต่ละมุมก่ออิฐตัน สร้างเป็นซุ้มคูหา ด้านนอก ชั้นที่ 3 เจาะช่องเป็นคูหา 8 ช่องเพื่อให้แล เห็นระฆังที่แขวนหลังคา ก่ออิฐถือปูนทำ�เป็นทรงบัวตูมอ่อน ประวัติ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ริมถนน ตีทองและถนนบำ�รุงเมืองหน้าวัดหันออกทางถนนอุณากรรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงดำ�รัสให้สร้างขึ้น (ประมาณ พ.ศ. 2350-2351) เดิมพระราชทานนามว่า “วัดมหาสุทธาวาส” โปรด เกล้าฯ ให้สร้างพระวิหารขึ้นก่อนเพื่อประดิษฐานพระศรีศากยมุนี (พระโต) ซึ่งอัญเชิญมาจากพระวิหาร หลวงวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย เป็นพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์พระร่วง ครั้นเวลาผ่านไปพระ วิหารหลวงของวัดก็หกั พังลงทำ�ให้พระพุทธรูปองค์นต้ี อ้ งตากแดดกรำ�ฝน จนกระทัง่ มาในสมัยของพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ไปพบเข้าก็ทรงมีพระดำ�รัสให้อัญเชิญเข้ามายังพระวิหารของวัด สุทัศน์ ฯ ในพระนคร แต่เมื่ออัญเชิญเข้ามาแล้วพระวิหารในวัดนี้ยังสร้างไม่เสร็จ แต่สิ้นรัชกาลก่อนที่จะ ประดิษฐานเป็นสังฆาราม จึงเรียกกันว่า วัดพระโต วัดพระใหญ่ หรือวัดเสาชิงช้าบ้าง
๘๑
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก เป็นวัดที่เกิดขึ้นจากพระราชดำ�ริเริ่ม แรกของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช ทีท่ รงให้แก้ ปัญหานาํ้ เน่าเสียในชุมชนริมคลองลาดพร้าวย่านพระราม ๙ เริม่ มาจากทีแ่ ต่ ก่อนนี้ชุมชนริมคลองลาดพร้าวย่านพระราม ๙ นี้ ต้องประสบกับปัญหานํ้า เน่าเสีย ส่งกลิน่ เหม็น ซึง่ นํา้ ในคลองนัน้ เป็นนํา้ ทีไ่ หลมาจากคลองรังสิต ผ่าน สะพานใหม่ดอนเมือง บางซื่อ สามเสน และมารวมที่คลองลาดพร้าว ก่อนที่ จะไหลลงคลองแสนแสบต่อไป จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั จึงมีพระราชดำ�ริให้แก้ปญ ั หานาํ้ เน่าเสียด้วยวิธกี ารเติมอากาศ ที่บึงพระราม ๙ ซึ่งเป็นที่ดินของสำ�นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยมีวตั ถุประสงค์คอื ทำ�การทดสอบการบำ�บัดนํา้ เน่าเสียทีไ่ หลมาตามคลอง ลาดพร้าวส่วนหนึ่งให้มีคุณภาพดีขึ้น โดยวิธีการเติมอากาศลงไปในนํ้า แล้ว ปล่อยให้นาํ้ ตกตะกอน และปรับสภาพนาํ้ ก่อนระบายลงสูค่ ลองตามเดิม จาก แนวพระราชดำ�รินี้เองทำ�ให้ชาวชุมชนริมคลองลาดพร้าวย่านพระราม ๙ มี สภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ต่อมาได้มพี ระราชดำ�ริเพิม่ เติมให้ท�ำ การปรับปรุงพืน้ ทีแ่ ละ พัฒนาชุมชนบริเวณบึงพระราม ๙ และมีพระราชประสงค์ให้ด�ำ เนินการจัดตัง้ วัดขึ้นในบริเวณชุมชนบึงพระราม ๙ เพื่อเป็นทั้งพุทธสถานในการประกอบ กิจของพระสงฆ์ในการสืบทอดและเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในขณะเดียวกัน ก็เป็นศูนย์รวมแห่งจิตใจของราษฎรในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ทั้งที่เป็น กิจกรรมที่เกี่ยวข้องทางศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนการ พัฒนาชุมชนบริเวณบึงพระราม ๙ ร่วมกับทางโรงเรียนหรือส่วนราชการต่างๆ
บรรยากาศร่มรืน่ ภายในวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก“วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก” พระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ เป็นวัดตามแนวพระราชดำ�ริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช รัชกาล ๙ แห่งบรมราชจักรีวงศ์ ตั้งอยู่เลขที่ ๙๙๙ ซอยพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ๑๙ ถนนพระราม ๙ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๒๐ วัดเริ่มดำ�เนินการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ จนกระทั่งเมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ แทนพระองค์ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์พระอุโบสถ วัดพระราม ๙ กาญจนา ภิเษก และเมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ เป็นองค์ประธานประกอบพิธผี กู พัทธสีมา-ฝังลูกนิมติ ตามประเพณี บริเวณทีต่ งั้ ของวัดเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า มี เนื้อที่ทั้งหมด ๘ ไร่ ๒ งาน ๕๔ ตารางวา ด้านทิศเหนือยาว ๒๓๔ เมตร ติดกับโรงเรียนสมาคมไทย-ญี่ปุ่น ด้าน ทิศตะวันออกยาว ๖๑.๕ เมตร ติดคลองลาดพร้าว ด้านทิศใต้ยาว ๒๑๗ เมตร ติดกับที่ดินที่กั้นไว้เป็นถนนทาง เข้า ด้านทิศตะวันตกยาว ๖๕ เมตร ติดกับโรงเรียนพระราม ๙ กาญจนาภิเษก สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) ได้ประทานอนุญาต ให้ พระเทพญาณวิศิษฏ์ (อภิพล อภิพโล) เมื่อครั้งดำ�รงสมณศักดิ์ที่ พระราชสุมนต์มุนี เลขานุการในพระองค์ และผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ มาดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก เป็น องค์ปฐมแห่งอาราม ตั้งแต่วันอาสาฬหบูชาที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นต้นมา พร้อมด้วยคณะสงฆ์ภิกษุ สามเณรจำ�นวนหนึ่ง พระเทพญาณวิศิษฏ์ (อภิพล อภิพโล) เจ้าอาวาสวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ได้เล่าให้ เราฟังว่า เมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำ�ริเพิ่ม เติมเกี่ยวกับการขยายโครงการในพื้นที่ของสำ�นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และบริเวณข้างเคียง โดย ให้ทำ�การปรับปรุงสภาพพื้นที่และพัฒนาชุมชน บริเวณบึงพระราม ๙ ดำ�เนินการจัดตั้งวัดเพื่อเป็นพุทธสถาน ในการประกอบกิจของสงฆ์ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของราษฎรที่จะประกอบพิธีกรรมต่างๆ ร่วมกัน สำ�หรับที่ดินของวัด น.ส.จวงจันทร์ สิงหเสนี เจ้าของที่ดินได้ถวายที่ดินบริเวณดังกล่าวให้แก่มูลนิธิชัย พัฒนาเพื่อดำ�เนินการสร้างวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก และเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔
๘๕
มูลนิธชิ ยั พัฒนาได้รบั อนุญาตจากกรมศาสนา ให้จัดสร้างวัด โดยมีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก เป็นองค์อุปถัมภ์ฝ่ายสงฆ์ และสมเด็จพระ เทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เป็นองค์อุปถัมภ์ฝ่ายฆราวาสวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก เป็นชื่อที่ได้รับพระราชทาน พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว วัดนี้มีลักษณะเฉพาะที่แตก ต่างจากวัดอื่นหลายประการ ที่สังเกตเห็นได้ ชัดก็คือวัดนี้เป็นวัดขนาดเล็ก ใช้งบประมาณ อย่างประหยัด และเรียบง่ายที่สุด โดยยึด หลั ก ความพอดี แ ละพอเพี ย งเป็ น พื้ น ฐาน ภายในวัดประกอบด้วยพระอุโบสถ ศาลา เอนกประสงค์ สระนํ้า กุฎิเจ้าอาวาส กุฏิพระ จำ�นวน ๕ หลัง โรงครัว สระนํ้า กังหันนํ้าชัย พัฒนา บ่อบำ�บัด ห้องสมุด
ด้านหน้าพระอุโบสถ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก สำ�หรับ “พระอุโบสถ” ซึ่งเป็นศูนย์กลางของ พุทธศาสนิกชนที่เข้ามาปฏิบัติธรรมหรือมาร่วมกิจกรรมในวันสำ�คัญทางพระพุทธศาสนาหรือวันสำ�คัญของ ชาติ นับว่าเป็นพระอุโบสถเพียงวัดเดียวในกรุงเทพมหานคร ที่ปลูกสร้างแบบสมัยใหม่ โดยคำ�นึงถึงประโยชน์ การใช้สอยเป็นสำ�คัญ และบริเวณโดยรอบเป็นสีขาวทัง้ หลังซึง่ สามารถจุคนได้ประมาณไม่เกิน ๑๐๐ คนส่วนรูป แบบทางศิลปกรรม เป็นการผสมผสานรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยสมัยโบราณกับสถาปัตยกรรมร่วมสมัย เน้น ความเป็นเฉพาะตัวในแบบอย่างสถาปัตยกรรมปัจจุบัน โดยได้ต้นเค้าของการออกแบบพระอุโบสถมาจากพระ อุโบสถ ๓ แห่ง ในสมัยรัตนโกสินทร์ ได้แก่ พระอุโบสถวัดราชาธิวาส กรุงเทพมหานคร ในเรื่องรูปเสาของพระ อุโบสถ สำ�หรับความเรียบง่าย ส่วนมุขประเจิดจำ�ลองแบบมาจากพระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม และได้น�ำ เอาต้นแบบในการผูกลายปูนปัน้ ประดับหน้าบันมาจากพระอุโบสถวัดเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนนทบุรี วัสดุก่อสร้างทั้งหมดเป็นของที่ผลิตภายในประเทศโครงสร้างพระอุโบสถวัดพระราม ๙ หลังคามุงกระเบื้องทำ� ด้วยแผ่นเหล็กสีขาว องค์ประกอบเครื่องบนหลังคาเป็นปูนปั้นลายดอกพุดตาน ประดับหน้าบันด้วยลายปูนปั้น ปิดทองเฉพาะที่ตราพระราชลัญจกร ประจำ�พระองค์รัชกาลที่ ๙ ช่อฟ้าใบระกาเป็นลวดลายปูนปั้น ไม่ปิดทอง ประดับกระจก ผนังและเสาก่ออิฐฉาบปูนเรียบทาสีขาว หน้าต่างใช้กรอบอะลูมิเนียม ลูกฟักเป็นกระจก เพดาน
๘๗
๘๘
พระอุโบสถเป็นไม้แบบเรียบ ฝังไฟเป็นระยะ โคมไฟในแนวกลางเดิมออกแบบเป็นโคมหวดหรืออัจกลับแบบเรียบ แต่ได้มผี มู้ จี ติ ศรัทธาถวายโคมระย้าเป็นพุทธบูชาประดับไว้แทนรวม ๔ ช่อ สำ�หรับส่วนพืน้ พระอุโบสถเป็นพืน้ ปูน แกรนิต ตลอดถึงพืน้ โถงและบันไดหน้าหลังดูเรียบง่ายแต่สวยงามคลาสสิคสมเป็นสถาปัตยกรรมปัจจุบนั สำ�หรับการ ประดับ ตราพระราชลัญจกร ประจำ�พระองค์รัชกาลที่ ๙ ที่หน้าบันพระอุโบสถนั้น เป็นพระราชกระแสรับสั่งใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติและแสดงถึงพระราชอำ�นาจแห่ง องค์พระมหากษัตริย์ รวมถึงเพื่อให้เป็นสิริมงคลแก่วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก พระพุทธกาญจนธรรมสถิต พระประธานในพระอุโบสถ สำ�หรับพระประทานที่ประดิษฐานภายในพระ อุโบสถวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษกนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน พระบรมราชวินิจฉัยเลือกแบบพระพุทธรูปปางมารวิชัย (ปางชนะมาร) จากการออกแบบเสนอโดยนาวาอากาศ เอกอาวุธ เงินชูกลิ่น อธิบดีกรมศิลปากร (ในขณะนั้น) และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม ทั้งหมด ๗ แบบ โดยพระองค์ทรงแก้ไขแบบเล็กน้อยด้วยพระองค์เอง พระพุทธรูปปางมารวิชยั นีม้ ลี กั ษณะแบบรัตนโกสินทร์
๘๙ มีขนาดความสูงจากทับเสร็จ (หน้ากระดาน) ถึงปลายรัศมี ๑๘๐ เซนติเมตร ขนาดหน้าพระเพลา ๑๒๐ เซนติเมตร โดยมีพระพุทธสาวกเบื้องซ้าย และเบื้องขวาของพระประธาน ฐานชุดชีทำ�ด้วยหินอ่อน ส่วนองค์พระพุทธรูปทำ� ด้วยทองเหลือผสมทองที่มีลักษณะผสมผสานระหว่างอุดมคติ และเหมือนจริงด้วยการห่มจีวรแบบพระสงฆ์ แต่มี พระเกศาแบบอุดมคติ สวยงาม กลมกลืนและปราณีตยิ่งนัก และทรงพระราชทานนามว่า พระพุทธกาญจนธรรม สถิตและเมื่อวันที่ ๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ แทนพระองค์ทรงประกอบพิธีเททองหล่อองค์พระประธาน ประจำ�พระอุโบสถวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก
บรรณานุกรม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนสนามไชยและถนนมหาราช ติดกับพระบรมมหาราชวัง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของแม่น�้ำเจ้าพระยา เลขที่ ๓๔ ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร ถนนเอกชัย แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร ๒ ถ.สราญรมณ์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร ถนนเฟื่องนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรวิหาร 248 ถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร แขวงราชบพิตร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ตั้งอยู่เลขที่ ๙๙๙ ซอยพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ๑๙ ถนนพระราม ๙ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร
ชื่อหนังสือ
"ธรรมะต่างมุม"
อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ธีระชัย สุขสวัสดิ์ ออกแบบและจัดพิมพ์ นาย พีรติ จึงประกอบ ถ่ายภาพโดย นายพีรติ จึงประกอบ ข้อมูลอ้างอิงจาก http://www.dhammajak.net/ http://www.dhammathai.org/
สงเสริมการทองเที่ยวแหงประเทศไทย อนุรักษศิลปะวัฒนธรรมไทย