2
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
3
4
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
5
6
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
คำ�นำ� การขับเคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนาตามแผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ให้สำ�เร็จตามที่วางไว้ ตามกรอบภารกิจงานของคณะสงฆ์ ๖ ด้านนั้น ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม มีหน้าที่ในการดำ�เนินการ กำ�กับ สอดส่อง ดูแล สนับสนุน ส่งเสริม แนะนำ� การสาธารณสงเคราะห์ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยดีงาม ตามความเหมาะสมแก่ทอ้ งถิน่ เกิดประโยชน์ ต่อการพระศาสนาและสังคมโดยส่วนรวม และกำ�กับ ดูแลการสาธารณสงเคราะห์ให้สอดคล้องกับ พระธรรมวินัยและวัตรปฏิบัติของพระภิกษุสามเณร คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ จึงได้ จัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการ ดำ�เนินการให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย คู่มือการดำ�เนินงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ถือเป็นแนวทาง ในการ ดำ�เนินการกิจกรรมต่างๆ ของฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากมหาเถรสมาคม ให้บรรลุ เป้าประสงค์ตามแผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา และเป็นคู่มือในการปฏิบัติงาน เพือ่ ขับเคลือ่ นงานปฏิรปู กิจการพระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์ให้เป็นไปอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ เป็นเอกภาพ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ขออนุโมทนาต่อคณะทำ�งานทุกท่านที่ได้ทุ่มเทกำ�ลังแรงกายและสติปัญญาความสามารถ จัดทำ� “คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม” เล่มนี้ ให้สำ�เร็จลุลวงได้ ขออำ�นาจคุณพระศรีรตั นตรัย ได้โปรดอภิบาลประทานพรให้คณะทำ�งานและประธานคณะกรรมการ ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ประจำ�จังหวัด และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน จงเจริญด้วยจตุรพิธพรชัย ทั้ง ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พะละ และปฏิภาณ ธรรมสารสมบัติ ธนสารสมบัติ จงประสบ กับสิ่งที่พึงปรารถนาสมดังมโนรถทุกประการเทอญ.
(พระพรหมวชิรญาณ) กรรมการมหาเถรสมาคม ประธานคณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
7
คำนิยม ในบริบทของสังคมไทยนับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันวัดและพระสงฆ์เป็นสถาบันหลักทางสังคม ที่ได้รับการยอมรับและไว้วางใจจากทุกฝ่ายเสมอมา งานด้านสาธารณสงเคราะห์เป็นอีกหนึ่งบทบาทของคณะ สงฆ์ไทย ที่ได้รับการยอมรับและประจัก ษ์ชัดในพันธะหน้าที่และภารกิจของคณะสงฆ์ที่มี บ ทบาทส าคัญต่อ ชุมชนและสังคมในภาพรวม เนื่องด้วยความเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและการได้รับความไว้วางใจจากคนใน ชุมชน จึงเป็นการง่ายทีว่ ัดและพระสงฆ์จะทาหน้าที่เป็นแกนกลางในการประสานงานและสร้างความร่วมมือใน การสร้างประโยชน์แก่ส่วนรวม และการเข้าร่วมพัฒนาชุมชนของพระสงฆ์ ยังถือเป็นการสืบทอดเจตนารมณ์ ของพระศาสดา ซึ่งทรงมุ่งหวังให้พระสงฆ์และสังฆมณฑลเข้าไปช่วยเหลือสังคมเท่าที่จะทาได้ ดังพุทธพจน์ที่ พระพุทธองค์ตรัสไว้ในคราวส่งพระภิกษุสงฆ์เป็นพระธรรมทูตชุดแรกออกไปประกาศพระศาสนาว่า “พระภิกษุ ทั้งหลาย พวกเธอจงเที่ยวจาริกไปตามจุดประสงค์ เพื่อการบาเพ็ญประโยชน์ต่อปวงชน เพื่อการเสริมสร้าง ความสุขต่อปวงชน และเพื่อเมตตานุเคราะห์ต่อประชาชนชาวโลกทั้งปวง” (วิ.ม.(ไทย) 4/32/4๐) ในส่วนของรัฐบาล การดาเนินงานตามนโยบายแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสัง คมแห่งชาติ (ฉบั บที่ ๑ ๒) ( พ. ศ.๒ ๕๖ ๐ – ๒ ๕๖ ๔) ที่ มุ่ ง เน้ นแ ละ ยึ ด หลั ก “ปรั ชญ าเ ศร ษฐ กิ จ พอ เพี ยง ” “การพัฒนาที่ยั่งยืน” และ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” วัดและพระสงฆ์จึงมีบทบาทความสาคัญในการเป็น ส่วนหนึ่งในการพัฒนาคนในชุมชน ซึ่งจะนาไปสู่การจัดระเบียบสังคม การสร้างขวัญและกาลังใจ และการ บริหารกิจการต่าง ๆ ในชุมชนอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะพระสงฆ์ที่เป็นผูน้ าชุมชน ซึ่งเป็นศูนย์รวมทางจิตใจ เป็นที่ ปรึ ก ษาให้ ค าแนะน า และชั ก ชวนประชาชนให้ เ ข้ า มามี ส่ ว นร่ ว ม ในกิ จ กรรมต่ า ง ๆ เช่ น การบ าเพ็ ญ สาธารณประโยชน์ เป็นต้น เป็นการสร้างบทบาทความสาคัญของพระสงฆ์ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ตามนโยบายหลักของรัฐบาล ทั้งนี้ภารกิจเหล่านี้ของพระสงฆ์มาจากการเข้าใจปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคม และพยายามปรับบทบาทสถาบัน พระศาสนาและวัดให้มีหน้าที่สอดคล้องกับบริบทของสังคมทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป จะเห็นได้ว่า การสาธารณสงเคราะห์ เป็นงานสาคัญของคณะสงฆ์ เป็นกิจการอันดับต้น ๆ ของคณะสงฆ์ เช่นเดียวกันกับการสงเคราะห์ด้านอื่นๆ ทั้งนี้ วิธีการดาเนินงานนั้นจะต้องเป็นไปตามแผนแม่บท การสาธารณะสงเคราะห์ ข องคณะสงฆ์ ไ ทย และสอดคล้ อ งกั บ แผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารปฏิ รู ป กิ จ การ พระพุทธศาสนา ตามดาริของมหาเถรสมาคม ซึ่งมีอานาจหน้าที่ในการกาหนดบทบาทของพระภิกษุ สงฆ์ต่อ การขับเคลื่อนงานด้านสาธารณสงเคราะห์ จะกล่าวได้ว่าเป็นหนึ่งในภารหน้าที่ของคณะสงฆ์ต่อการจรรโลงและ พัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน คู่มือการปฏิบัติงานสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ไทย ฉบับนี้จึงเป็นเป้าหมายอันสาคัญ ที่จะนาไปสู่การดาเนินงานและการสร้างเครือข่ายการพัฒนาการสาธารณะสงเคราะห์อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน และเป็นอีกหนึ่งก้าวที่สาคัญของคณะสงฆ์ไทยภายใต้การนาของมหาเถรสมาคม ในการสร้างมาตรฐานการ ดาเนินงานกิจการพระพุทธศาสนาอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะนาไปสู่การบูรณาการความร่วมมือระหว่างสังฆมณฑล และรัฐบาลในการพัฒนาประเทศชาติอย่างยั่งยืนสืบไป พลเอก
8
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
(ฉัตรชัย สาริกลั ยะ) รองนายกรัฐมนตรี
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
9
คำ�นิยม สำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ภายใต้การนำ�ของมหาเถรสมาคม ได้ดำ�เนินการปฏิรูปกิจการ พระพุทธศาสนาและจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ตามมติมหาเถรสมาคม ที่ ๑๐๖/๒๕๕๙ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา ได้กำ�หนดยุทธศาสตร์ที่สำ�คัญคือการ บริหารจัดการตามกรอบการพัฒนาออกเป็น ๖ ด้าน ประกอบด้วย การปกครอง การศาสนศึกษา การเผยแผ่ การสาธารณูปการ การศึกษาสงเคราะห์ และการสาธารณสงเคราะห์ ในฐานะองค์กรหลักในการขับเคลื่อนกิจการด้านพระพุทธศาสนาและสนองงานคณะสงฆ์ ได้กำ�หนด กรอบการดำ�เนินงานของสำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ด้านการสาธารณสงเคราะห์ไว้ดงั นี้ การสาธารณ สงเคราะห์ หมายถึง การช่วยเหลือเพื่อประชาชนทั่วไป โดยที่หลักการ สาธารณสงเคราะห์ เป็นภารกิจที่วัด หรือพระภิกษุสงฆ์ ดําเนินการช่วยเหลือสังคมในรูปแบบต่างๆ ที่ไม่ขัดต่อพระธรรมวินัย ทั้งนี้ โดยมุ่งเน้นเพื่อ ประโยชน์และความสุข แก่ประชาชนเป็นสาํ คัญ ได้แก่ การสงเคราะห์พระภิกษุสามเณร และวัดทีป่ ระสบภัยและ ขาดแคลน การให้วัดเป็นสถานที่ประกอบการกุศลเกี่ยวกับเรื่องเกิด แก่ เจ็บ ตาย เช่น การสวดศพ การเผาศพ การทําบุญอุทิศ การถวายสังฆทาน เป็นต้น การให้วัดเป็นสถานที่จัดฝึกอบรมประชาชนด้านอาชีพต่างๆ การช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยหรือการบําเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่างๆ การดําเนินการด้านการสาธารณ สงเคราะห์ มีแนวทางการดําเนินการ ดังนี้ ๑. การให้ความช่วยเหลือหรือสงเคราะห์ด้านต่างๆ แก่ประชาชน ได้แก่ การสงเคราะห์ผู้ ยากไร้ การช่ วยเหลือผู้ป ระสบภัยต่างๆ การระงับข้อพิพาทหรือข้อขัดแย้งของชาวบ้าน การดําเนินการด้าน การสาธารณสงเคราะห์อื่นๆ ๒. การมีสว่ นร่วมหรือสนับสนุน ด้านการสาธารณสงเคราะห์ ได้แก่ การอํานวยความสะดวกในการให้ใช้ สถานทีข่ องวัดจัดกิจกรรมต่างๆ การจัดตัง้ มูลนิธหิ รือกองทุนเพือ่ การกุศล การมี ส่วนร่วมในการส่งเสริมอาชีพ ของประชาชน การให้ความร่วมมือกับทางราชการเพื่อเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ ๓. การสร้างเครือข่าย/แนวร่วม/อาสาสมัคร/จิตอาสา เพื่อดําเนินกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ วัดสร้าง เครือข่ายการดําเนินงานด้านสาธารณะกับองค์กรต่างๆ วัดส่งเสริม/สนับสนุน ให้มีจิตอาสา เพื่อเผยแผ่ พระพุทธศาสนา วัดจัดให้มีอาสาสมัคร/แนวร่วมในการสอดส่อง ดูแล และพิทักษ์ พระพุทธศาสนา ๔. การมีส่วนร่วมของประชาชน/ส่วนราชการ ได้แก่ วัดเป็นศูนย์กลางการดําเนินกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน และส่วนราชการให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการดําเนินกิจกรรมต่างๆ การจัดทำ�แผนแม่บทการสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ไทยฉบับนี้ จึงเป็นเสมือนปฐมบทที่สำ�คัญ ในการวางรากฐานแนวทางการปฏิรูปกิจการคณะสงฆ์ให้สามารถขับเคลื่อนได้อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน และ สำ�นักงานพระพุทธศาสนาพร้อมเป็นกำ�ลังหลักในการสนับสนุนส่งเสริม การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การ ปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา อันจะนำ�ไปสู่ความมั่นคงแห่งบวรพระพุทธศาสนาสืบไป
พันตำ�รวจโท
(พงศ์พร พราหมณ์เสน่ห์) ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
10
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
11
คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
พระพรหมวชิรญาณ ประธาน
พระพรหมเมธาจารย์ รองประธาน
พระพรหมจริยาจารย์ กรรมการ
พระธรรมเสนานุวัตร กรรมการ
พระธรรมบัณฑิต กรรมการ
พระธรรมเสนาบดี กรรมการ
พระธรรมสุธี กรรมการ
พระเทพกิตติเวที กรรมการ
พระเทพวรมุนี กรรมการ
พระเทพวราจารย์ กรรมการ
พระราชปัญญาสุธี กรรมการ
พระราชภาวนาพิธาน กรรมการ
ผู้ตรวจการราชการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กรรมการ
12
พระมงคลวชิรากร กรรมการและเลขานุการ
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
ผู้อ�ำนวยการกองพุทธสถาน ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
สารบัญ 14
บทน�ำ
26
หน้าที่ความรับผิดชอบ
17
ความหมาย
30
19
ความส�ำคัญ
แผนการด�ำเนินการระยะ ๕ ปี ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
22
วัตถุประสงค์
31
22
ขอบเขต
แนวทางการปฏิบัติงาน สาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคมที่ยั่งยืน
23
ค�ำจ�ำกัดความ
34
การรายงานผลการด�ำเนินงาน
25
โครงสร้างการบริหาร
35
ภาคผนวก
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
13
๑ บทนำ�
ปัจจุบนั สังคมไทยเปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ที่ทันสมัย ส่งผลให้องค์กรเครือข่ายต่างๆ พัฒนาไปอย่างสุดขีดความสามารถ การพัฒนา ประเทศในปัจจุบัน อยู่ในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ เป็น จุดเปลี่ยนที่สำ�คัญในการเชื่อมต่อกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ในลักษณะของการแปลง ยุทธศาสตร์ระยะยาวสู่การปฏิบัติในช่วง ๕ ปีแรกของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติเพื่อ เตรียมความพร้อมทรัพยากรมนุษย์ สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศ ให้มกี ารพัฒนา เป็นไปอย่างมีทิศทางและเกิดประสิทธิภาพนำ�ไปสู่การพัฒนาประเทศเพื่อประโยชน์สุขที่ ยั่งยืนของสังคมไทย การบริหารกิจการพระพุทธศาสนา เป็นอีกกิจการหนึ่งที่จะเป็นตัวช่วยขับเคลื่อนการ พัฒนาประเทศไทยภายในแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ในปัจจุบัน มีการปฏิรูปกิจการต่างๆ ของประเทศไทย การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนาถือเป็นวาระแห่งชาติ เพราะได้กำ�หนด ไว้ในรัฐธรรมนูญ ฉบับชั่วคราว พ.ศ.๒๕๕๗ ที่กำ�หนดให้สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ทำ�การ ศึกษาวิเคราะห์ และจัดทำ�แนวทางและข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปด้านต่างๆ เสนอต่อ
14
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ (สนช.) คณะรัฐมนตรี (ครม.) คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (คสช.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการนีม้ หาเถรสมาคม องค์กรปกครองสูงสุดของคณะสงฆ์ไทย ได้มคี �ำ สัง่ ที่ ๒/๒๕๕๙ แต่งตั้งคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ของมหาเถรสมาคม ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๙ จากนั้น คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ได้มีการประชุมจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการพระพุทธ ศาสนา ตามภารกิจกรอบงานคณะสงฆ์ ๖ ด้าน ประกอบด้วย ๑) ด้านปกครอง ๒) ด้าน ศาสนศึกษา ๓) ด้านศึกษาสงเคราะห์ ๔) ด้านเผยแผ่ ๕) ด้านสาธารณูปการ ๖) ด้านสาธารณ สงเคราะห์ โดยฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ มหาเถรสมาคม มีพระพรหมวชิรญาณ กรรมการ มหาเถรสมาคม เป็นประธานคณะกรรมการ พร้อมคณะกรรมการอีก ๑๕ รูป/คน เพื่อขับ เคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนาด้านสาธารณสงเคราะห์ และเมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๐ ที่ประชุมมหาเถรสมาคม ได้พิจารณา มีมติเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการ พระพุทธศาสนา และให้ดำ�เนินการได้ทันที
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
15
16
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เป้าหมายการเติบโตของพระพุทธศาสนาสู่ความยั่งยืน
2
ความหมาย
การสาธารณสงเคราะห์ หมายถึง การดำ�เนินกิจการต่างๆ ที่ช่วยเหลือและพัฒนา สังคมทั้งด้านกายภาพและทางด้านจิตใจ เป็นเครื่องมือขององค์กรทางพุทธศาสนาที่ทรง พลังและมีประสิทธิภาพสูงที่สามารถขับเคลื่อนสังคมให้ก้าวหน้าต่อไปได้
การสาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคมที่ยั่งยืน หมายถึง การยกระดับการดำ�เนินงาน สาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ เกิดประสิทธิภาพ จากการดำ�เนินงาน และมีประสิทธิผลต่อสังคมในภาพรวม คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
17
การจัดการสาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคมที่ยั่งยืน
สาธารณสงเคราะห์ 1.0 สาธารณสงเคราะห์ 2.0 สาธารณสงเคราะห์ 3.0 สาธารณสงเคราะห์ 4.0
กิจกรรม - การให้ความ ช่วยเหลือในภาวะ วิกฤต (การประสบ สาธารณภัย มี อุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย เป็นต้น
สงเคราะห์
กิจกรรม - การจัดการป่า ปลูกป่า/บวชป่า - การจัดการ สิ่งแวดล้อมชุมชน - การป้องกันและแก้ไข ยาเสพติดชุมชน - สมุนไพรและ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน - ไถ่ชีวิตโค กระบือ เพื่อเกษตรกร
กิจกรรม - การสร้างวัฒนธรรม จิตอาสา - การสร้างศูนย์กลาง ให้การช่วยเหลือ ชุมชน - การเกษตรวิถีพุทธ - กลุ่มสัจจะสะสม ทรัพย์ - การส่งเสริมสัมมาชีพ - ศาสตร์พระราชา - คิลานุปัฏฐาก - พิพิธภัณฑ์ชุมชน
กิจกรรม - เครือข่ายการ สาธารณสงเคราะห์ - ธรรมนูญสุขภาพ พระสงฆ์ - โรงเรียน/ชมรม ผู้สูงอายุ - การอนุรักษ์วิถี วัฒนธรรม - กองทุนช่วย เหลือสงเคราะห์ สาธารณภัย - เครือข่ายจิตอาสา - สังฆพัฒนาวิชชาลัย
เกื้อกูล
พัฒนา
บูรณาการ
การจั ด การสาธารณสงเคราะห์ เ พื่ อ สั ง คมของคณะสงฆ์ ไ ทยเพื่ อ ความยั่ ง ยื น คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ได้ก�ำ หนดกรอบในการดำ�เนินการ จำ�นวน ๔ ด้าน ดังนี้ 1) สาธารณสงเคราะห์ ๑.๐ (สงเคราะห์) หมายถึง การให้การสงเคราะห์สาธารณชน เพื่อบรรเทาทุกข์เบื้องต้น โดยเข้าไปให้ความช่วยเหลือวัดและประชาชนผู้ประสบ สาธารณภัยต่างๆ มีอุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย เป็นต้น ทั้งด้านกายภาพ โดยการ มอบปัจจัย ๔ มีการช่วยเหลือด้วยสิ่งของ ข้าวสาร อาหารแห้ง และ ด้านจิตใจ โดยการมอบธรรมะเป็นกำ�ลังใจในคราวประสบสาธารณภัย 18
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
2) สาธารณสงเคราะห์ ๒.๐ (เกื้อกูล) หมายถึง การที่คณะสงฆ์เข้าไปมีส่วนร่วมใน การจัดการพื้นที่ให้มีทรัพยากรเพียงพอกับการอยู่อาศัยและดำ�เนินชีวิตของคน ชุมชน เช่น การจัดการป่า (ปลูกป่า, บวชป่า, อนุรกั ษ์ปา่ ) การจัดการน้�ำ (ฝายต้นน้�ำ , ขุดบ่อน้ำ�) การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน การไถ่ชีวิตโค-กระบือ เพื่อการเกษตร 3) สาธารณสงเคราะห์ ๓.๐ (พัฒนา) หมายถึง คณะสงฆ์เป็นผู้นำ�ในการพัฒนา พื้นที่โดยใช้หลักธรรมมาประยุกต์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เช่น จัดพื้นที่ วัดเป็นศูนย์การช่วยเหลือชุมชน การเกษตรวิถีพุทธ ศาสตร์พระราชา กลุ่มสัจจะ ออมทรัพย์ การส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน 4) สาธารณสงเคราะห์ ๔.๐ (บูรณาการ) หมายถึง คณะสงฆ์ส่งเสริมความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายให้เกิดการพัฒนาที่ยังยืน เป็นการร่วมกันพัฒนา แก้ไขปัญหาอย่าง เป็นระบบ ผสานพลังผ่านภาคีเครือข่าย เช่น ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์ โรงเรียน ผู้สูงอายุ การท่องเที่ยวเชิงพุทธ การอนุรักษ์วิถีวัฒนธรรมเชิงพุทธ การตั้งกองทุน ช่วยเหลือผู้ประสบภัย และเครือข่ายจิตอาสาด้านสาธารณสงเคราะห์
3
ความสำ�คัญ
พระสงฆ์กบั งานการสงเคราะห์เป็นเรือ่ งทีม่ มี าตัง้ แต่สมัยพุทธกาล ดังพระพุทธพจน์ ว่า “จรถ ภิกขฺ เว จาริกํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย” แปลว่า “ภิกษุทง้ั หลาย เธอทัง้ หลายจงเทีย่ วจาริกไปเพือ่ ประโยชน์ เพือ่ ความสุขแก่คนเป็นอันมาก เพือ่ อนุเคราะห์แก่ชาวโลก”
ในสถานการณ์ปจั จุบนั สถานการณ์โลกมีความเปลีย่ นแปลงมีสาธารณภัยเกิดขึน้ บ่อยครัง้ การดำ�เนินงานด้านสาธารณสงเคราะห์จงึ เป็นกรณีกจิ หนึง่ ของคณะสงฆ์ทจ่ี ะให้การสงเคราะห์ ช่วยเหลือแก่ชมุ ชนและสังคม เพือ่ ให้การดำ�เนินงานเป็นไปอย่างมีเอกภาพ คณะกรรมการ ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม จึงได้จัดทำ�คู่มือเพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติให้กับ คณะสงฆ์ไทย คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
19
ความเกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา คณะสงฆ์โดยมหาเถรสมาคม ได้มีการดำ�เนินการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา โดย ได้กำ�หนดจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา และมีมติเห็นชอบแผน ยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ตามกรอบงาน คณะสงฆ์ ๖ ด้าน คือ ด้าน ปกครอง ด้านศาสนศึกษา ด้านเผยแผ่ ด้านสาธารณูปการ ด้านศึกษาสงเคราะห์ ด้านสาธารณ สงเคราะห์ และการพัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลก โดยมีโครงการที่ดำ�เนินการจำ�นวน ๑๔ โครงการ ดังนี้ ๑) โครงการขยายโอกาสทางการศึกษาสู่สังคม ๒) โครงการยกระดับหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ๓) โครงการวิปัสสนากรรมฐานเพื่อพัฒนาทุนมนุษย์ ๔) โครงการยกระดับโรงเรียนพระปริยัติธรรม ๕) โครงการส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ๖) การพัฒนาระบบการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลเชิงพุทธ ๗) โครงการ Smart Card Smart Buddhism สู่พระพุทธศาสนา ๔.๐ ๘) โครงการส่งเสริมนวัตกรรมเชิงพุทธ ๙) โครงการยกระดับขีดความสามารถศาสนบุคคล ๑๐) โครงการศูนย์รวมองค์ความรู้และแหล่งเรียนรู้พระพุทธศาสนา ๑๑) โครงการบริหารศาสนสมบัติระบบการเงิน-การบัญชี ๑๒) โครงการวัดสร้างสุขด้วยกิจกรรม ๕ ส ๑๓) โครงการสาธารณสงเคราะห์เพื่อพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน ๑๔) โครงการพัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนา ฝ่ายการสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม โดย พระพรหมวชิรญาณ กรรมการ มหาเถรสมาคม เป็นประธานคณะกรรมการฯ นั้น มหาเถรสมาคมได้มอบหมายภารกิจให้ ดำ�เนินการ จำ�นวน ๒ โครงการ คือ ๑) โครงการส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ๒) โครงการสาธารณสงเคราะห์เพื่อพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน 20
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
๑. โครงการส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ตอบสนองประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ตอบสนองยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ยกระดับกระบวนการบริหารจัดการภายใน กลยุทธ์ ๓ : ร่วมมือภาคีเครือข่ายให้เกิดสัมฤทธิ์ผล ตัวชี้วัด : จำ�นวนเครือข่ายที่เพิ่มขึ้น (เครือข่าย=องค์กรทางศาสนา, สถานศึกษา หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน) แผนงานเชิงยุทธศาสตร์ : แผนงานส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ผู้รับผิดชอบหลัก : คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม วัตถุประสงค์โครงการ ๑) เพื่อส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่ายทางพระพุทธศาสนา ๒) เพื่อบูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่ายทั้งหน่วยงานภายในภายนอก ๓) เพื่อพัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่ายให้มั่นคง ต่อเนื่อง ยั่งยืน
๒. โครงการสาธารณสงเคราะห์เพื่อพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน ตอบสนองประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ตอบสนองยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ยุทธศาสตร์ ๔ : มีทรัพยากรเพียงพอในการขับเคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนา กลยุทธ์ ๑๐ : จัดหาแหล่งงบประมาณสนับสนุนกิจการพระพุทธศาสนา ตัวชี้วัด : ร้อยละอัตราการคงอยู่ของกองทุนเพื่อกิจการพระพุทธศาสนา แผนงานเชิงยุทธศาสตร์ : แผนงานพระพุทธศาสนาเพื่อสังคม ผู้รับผิดชอบหลัก : คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถรสมาคม วัตถุประสงค์โครงการ ๑) เพื่อกำ�หนดรูปแบบ วิธีการ และแนวทางสาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคม ๒) เพื่อพัฒนางานสาธารณสงเคราะห์ให้เป็นระบบอย่างมีประสิทธิภาพ ๓) เพื่อจัดตั้งและบริหารกองทุนด้านสาธารณสงเคราะห์ เพื่อสนับสนุนกิจการ พระพุทธศาสนาให้ยั่งยืน คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
21
4 5
วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อให้คณะสงฆ์ใช้เป็นคู่มือในการดำ�เนินงานด้านสาธารณสงเคราะห์ ๒) เพื่อให้การดำ�เนินงานด้านสาธารณสงเคราะห์มีมาตรฐานเป็นเอกภาพ ๓) เพื่อให้มีกระบวนการทำ�งานร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกอย่าง ชัดเจน
ขอบเขต
คูม่ อื การปฏิบตั งิ านของศูนย์การสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ครอบคลุม การปฏิบัติงานของคณะสงฆ์ไทยทั่วประเทศ
22
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
6
คำ�จำ�กัดความ การสาธารณสงเคราะห์ หมายถึง การดำ�เนินกิจการต่างๆ ที่ช่วยเหลือและ พัฒนาสังคมทั้งด้านกายภาพและทางด้านจิตใจ มหาเถรสมาคม
หมายถึง องค์กรบริหารกิจการพระพุทธศาสนาสูงสุด ของคณะสงฆ์ ไ ทย ตามพระราชบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม หมายถึง คณะกรรมการที่มหาเถรสมาคมแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม หมายถึง อนุกรรมการฝ่ายต่างๆ ที่ประธานคณะ กรรมการฝ่ า ยสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถร สมาคม แต่งตั้งขึ้นมาเพื่อขับเคลื่อนงานด้านสาธารณ สงเคราะห์ ศูนย์การสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม หมายถึ ง สำ � นั กงานที่ ทำ� หน้ า ที่ บ ริ ห ารจั ด การงาน สาธารณสงเคราะห์สว่ นกลาง ทำ�หน้าทีส่ อื่ สารนโยบาย สู่การปฏิบัติ ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่ายใน การดำ�เนินงานทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน และ เป็นสำ�นักงานเลขานุการคณะกรรมการฝ่ายสาธารณ สงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
23
ศูนย์การสาธารณสงเคราะห์ ประจำ�จังหวัด หมายถึง สำ�นักงานที่ทำ�หน้าที่บริหารจัดการและ ดำ�เนินการงานสาธารณสงเคราะห์ ประจำ�จังหวัด และเป็นสำ�นักงานเลขานุการคณะกรรมการฯ ประจำ� จังหวัด หมายถึง กลุ่มบุคคล องค์กร ที่ร่วมคิด ร่วมทำ� ร่วม วางแผน ร่วมรับผลประโยชน์ มารวมกันด้วยความ สมัครใจ เพื่อทำ� กิจกรรมให้บรรลุเป้าหมายและมีการ เรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง โดยในแผนยุทธศาสตร์ การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ภาคีเครือข่ายมี ๒ กลุ่ม คือ ๑) ภาคีเครือข่ายภายในคณะสงฆ์ ๒) ภาคีเครือข่ายนอกคณะสงฆ์ ภาคีเครือข่าย
อภิธานศัพท์ คำ�ย่อ จร. หมายถึง จล. หมายถึง จต. หมายถึง จอ. หมายถึง จจ. หมายถึง สธส.จ. หมายถึง จภ. หมายถึง สธส.มส. หมายถึง
24
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ เจ้าอาวาสวัดพระอารามหลวง เจ้าคณะตำ�บล เจ้าคณะอำ�เภอ เจ้าคณะจังหวัด คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ประจำ�จังหวัด เจ้าคณะภาค คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
7
โครงสร้างการบริหาร โครงสร้างการบริหารจัดการงานสาธารณสงเคราะห์ มหาเถรสมาคม บทบาท : เห็นชอบ มอบหมายนโยบาย
คณะกรรมการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา (๖ ด้าน + ๑) แผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา คณะกรรมการประสานงานแผนยุทธศาสตร์ การปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา คปพ.
เจ้าคณะหน, เจ้าคณะภาค บทบาท : กำ�กับ สนับสนุน ส่งเสริมนโยบายสู่การปฏิบัติ คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ บทบาท : จัดทำ�แผน แนวทาง ดำ�เนินงานในส่วนกลาง กำ�กับ ติดตาม รายงาน
• ร่วมวางแผน วางแนวทาง การขับเคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนา ผ่านงานสาธารณสงเคราะห์ • กำ�หนดแนวปฏิบัติและจัดทำ�คู่มือปฏิบัติงาน สื่อสารเพื่อให้เกิดการนำ�ไปปฏิบัติทั่วทุกพื้นที่ • สนับสนุนการดำ�เนินงานในพื้นที่ • จัดตั้งกองทุนเพื่อกิจการพระพุทธศาสนา • ระดมทุน เพื่อสนับสนุนกิจการสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ • คัดเลือกผลงานดีเด่นในพื้นที่เข้ารับรางวัล “เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์” สาธารณสงเคราะห์ระดับจังหวัด บทบาท : นำ�นโยบายสู่การปฏิบัติ
• น�ำนโยบายสู่การปฏิบัติ • ประเมินความเสีย่ ง ความต้องการงานด้านสาธารณสงเคราะห์ของพืน้ ที่ ทัง้ ในภาวะวิกฤตและ ภาวะปกติ • ด�ำเนินงานสาธารณสงเคราะห์ในภาวะวิกฤต • ด�ำเนินงานสร้างความยั่งยืนในพื้นที่ผ่านกิจกรรมสาธารณสงเคราะห์ • รายงานผลการด�ำเนินงานต่อเจ้าคณะผู้ปกครองและคณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ปีละ 2 ครั้ง คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
25
8
หน้าที่ความรับผิดชอบ
การปฏิบัติงานตามคู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้ ตำ�แหน่ง/กลุ่มงาน
บทบาท/หน้าที่
มหาเถรสมาคม
๏ มอบนโยบายหลัก และให้ความเห็นชอบ
เจ้าคณะภาค
๏ กำ�กับสนับสนุนส่งเสริมนโยบายสู่การปฏิบัติระดับจังหวัด
เจ้าคณะจังหวัด
๏ นำ�นโยบายสู่ภาคปฏิบัติระดับจังหวัด
เจ้าคณะอำ�เภอ, ๏ นำ�นโยบายสู่ภาคปฏิบัติระดับจังหวัด เจ้าคณะตำ�บล, เจ้าอาวาส คณะกรรมการ ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
๏ กำ�กับ สอดส่อง ดูแล แนะนำ�การสาธารณสงเคราะห์ ให้เป็นไปด้วย ความเรียบร้อยดีงามเกิดประโยชน์ต่อพระศาสนาและสังคม ๏ สนับสนุนและส่งเสริมให้มกี ารสาธารณสงเคราะห์ตามความเหมาะ สมแก่ท้องถิ่น ๏ กำ�กับ ดูแล การสาธารณสงเคราะห์ให้สอดคล้องกับพระธรรมวินัย และวัตรปฏิบัติของพระภิกษุสามเณร ๏ เสนอมหาเถรสมาคม เพื่อตรากฎ ออกข้อบังคับ วางระเบียบ ออกคำ�สั่ง หรือออกประกาศมหาเถรสมาคม ๏ ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่มหาเถรสมาคมมอบหมาย
ศูนย์การสาธารณสงเคราะห์ ๏ เป็นสำ�นักงานกลางและศูนย์ประสานงานสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ๏ จัดทำ�นโยบาย ข้อกำ�หนด ข้อบังคับ โครงการ เป้าหมาย แนวทาง การปฏิบัติงานสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคมตามที่ คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถรสมาคม กำ�หนด ๏ สนับสนุนส่งเสริมการสาธารณสงเคราะห์ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ๏ จัดทำ�งบประมาณสนับสนุนกิจกรรมของศูนย์ประสานงานประจำ� จังหวัด 26
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
ตำ�แหน่ง/กลุ่มงาน
บทบาท/หน้าที่ ๏ จั ด ทำ � รายงานผลการดำ � เนิ น งานสาธารณสงเคราะห์ เสนอ คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ๏ รวบรวมผลการดำ�เนินงาน ของฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ประจำ� จังหวัด เสนอมหาเถรสมาคม ๏ ดำ�เนินการเกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ๏ จัดตั้งกองทุนเพื่อกิจการพระพุทธศาสนา ๏ เรื่องอื่นๆ ที่ได้รับมอบจากคณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
คณะกรรมการฝ่ายสาธารณ ๏ ดำ�เนินการการสาธารณสงเคราะห์ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สงเคราะห์ ประจำ�จังหวัด ดีงามเกิดประโยชน์ต่อพระศาสนาและสังคม ๏ สนับสนุนและส่งเสริมให้มีการดำ�เนินการสาธารณสงเคราะห์ตาม ความเหมาะสมแก่ท้องถิ่น ๏ กำ�กับ ดูแล การสาธารณสงเคราะห์ให้สอดคล้องกับพระธรรมวินัย และวัตรปฏิบัติของพระภิกษุสามเณร ๏ เสนอคณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม เพือ่ วางระเบียบ กำ�หนดแนวทาง ให้งานสาธารณสงเคราะห์ให้เป็น ไปด้วยดี ๏ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ตามที่ ค ณะกรรมการฝ่ า ยสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม มอบหมาย ๏ แต่งตัง้ คณะกรรมการประจำ�จังหวัด หรือคณะทำ�งานเพือ่ การปฏิบตั ิ หน้าที่ตามที่เห็นสมควร ศูนย์การสาธารณสงเคราะห์ ๏ เป็นศูนย์กลางและประสานงานสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถร ของมหาเถรสมาคม ประจำ� สมาคม ในจังหวัด จังหวัด ๏ ปฏิบตั ติ ามนโยบาย ข้อกำ�หนด ข้อบังคับ โครงการ เป้าหมาย แนวทาง การปฏิบตั งิ านสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถรสมาคมตามที่ คณะ กรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถรสมาคม กำ�หนด ๏ จัดทำ� รวบรวม ผลการดำ�เนินงาน และภาคีเครือข่ายด้านสาธารณ สงเคราะห์ ประจำ�จังหวัด ๏ อำ�นวยความสะดวกและเป็นที่ปรึกษาในการดำ�เนินงานสาธารณ สงเคราะห์ในจังหวัด คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
27
ตำ�แหน่ง/กลุ่มงาน
บทบาท/หน้าที่ ๏ ส่งเสริมสนับสนุนและเป็นที่ปรึกษาให้วัดในจังหวัดดำ�เนินงาน สาธารณสงเคราะห์ ๏ ติดตามประเมินผลการดำ�เนินงานสาธารณสงเคราะห์ในจังหวัด ๏ จัดทำ�รายงานผลการดำ�เนินงานสาธารณสงเคราะห์เสนอผู้บังคับ บัญชาตามลำ�ดับชั้น ดังนี้ ๑) เจ้าคณะจังหวัด ๒) เจ้าคณะภาค ๓) ประธานคณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ๏ จัดหางบประมาณสนับสนุนกองทุนเพื่อกิจการพระพุทธศาสนา จังหวัด
28
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
แนวทางการยกระดับงานสาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคมที่ยั่งยืน
คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ได้ก�ำ หนดแนวทางการยก ระดับงานสาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคมให้มีความยั่งยืน ดังนี้ ๑. พัฒนาระเบียบการสาธารณสงเคราะห์ ๒. จัดทำ�คู่มือการดำ�เนินงานสาธารณสงเคราะห์ ๓. จัดตั้งกองทุนพระพุทธศาสนาเพื่อสังคม ๔. จัดทำ�คู่มือบริหารกองทุนพระพุทธศาสนาเพื่อสังคม ๕. จัดทำ�กระบวนการติดตามประเมินผลการทำ�งานให้มีประสิทธิภาพ ๖. จัดโครงการพัฒนาพระสงฆ์ให้เป็นพระสงฆ์นักพัฒนา,พระสงฆ์จิตอาสา ๗. จัดทำ�คู่มือการพัฒนางานสาธารณสงเคราะห์ ๘. จัดทำ�คู่มือการสงเคราะห์สังคมในภาวะวิกฤติ ๙. รวบรวมแนวทางการทำ�งานด้านสาธารณสงเคราะห์ที่มีความเป็นเลิศ ๑๐. สื่อสารองค์ความรู้ด้านสาธารณสงเคราะห์ที่ประสบความสำ�เร็จสู่สาธารณะ
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
29
9
แผนการดำ�เนินการระยะ ๕ ปี ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
โครงการ : ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย รายละเอียด
ปี 25๖๑
โครงการส่ง เสริมความ ร่วมมือภาคี เครือข่าย
- จัดทำ�แผน ยุทธศาสตร์ การปฏิรูป กิจการ พระพุทธ ศาสนา - ธรรมนูญ สุขภาพ พระสงฆ์
สิ่งที่คาดว่าจะ ได้รับ
แผนยุทธศาสตร์ ระบบฐานข้อมูล การปฏิรูป ภาคีเครือข่าย กิจการพระพุทธ พระพุทธศาสนา ศาสนา
รายละเอียด
30
ปี 25๖๐
ปี 25๖๐
ปี 25๖๒
ปี 25๖๓
ปี 25๖๔
- จัดทำ�ฐาน - ส่งเสริม - ส่งเสริม - แลกเปลี่ยน ข้อมูลภาคี กิจกรรมความ กิจกรรมความ เรียนรู้สร้าง เครือข่าย ร่วมมือภาคี ร่วมมือภาคี แนวปฏิบัติ พระพุทธ เครือข่ายเพื่อ เครือข่ายเพื่อ ที่เป็นเลิศ ศาสนา ทั้ง การสาธารณ การสาธารณ ของสาธารณ ภาคีเครือข่าย สงเคราะห์ สงเคราะห์ สงเคราะห์จาก ในองค์กร และ อย่างยั่งยืน อย่างยั่งยืน ภาคีเครือข่าย ภาคีเครือข่าย นอกองค์กร
ปี 25๖๑
กิจกรรมจาก ความร่วมมือ ภาคีเครือข่าย ใน-นอกองค์กร เพิ่มขึ้น
กิจกรรมจาก ความร่วมมือ ภาคีเครือข่าย ใน-นอกองค์กร เพิ่มขึ้น
แนววิธีปฏิบัติ ของกิจกรรม ความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายที่ เป็นเลิศ
ปี 25๖๒
ปี 25๖๓
ปี 25๖๔
โครงการ สาธารณ สงเคราะห์ เพื่อสังคม
- จัดทำ�แผน ยุทธศาสตร์ การปฏิรูป กิจการ พระพุทธ ศาสนา
- พัฒนา - จัดตั้งศูนย์ - ยกระดับพระ - รวบรวมองค์ ระเบียบ คู่มือ การสาธารณ นักพัฒนาและ ความรู้ ที่ การทำ�งาน สงเคราะห์ สนับสนุนผู้มี เกี่ยวข้องใน ด้านสาธารณ ประจำ�จังหวัด จิตอาสาเพื่อ พื้นที่รูปแบบ สงเคราะห์ สังคม ต่างๆ
สิ่งที่คาดว่าจะ ได้รับ
- แผน ยุทธศาสตร์ การปฏิรูป กิจการ พระพุทธ ศาสนา
- คู่มือการ ทำ�งานด้าน สาธารณ สงเคราะห์
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
- มีศูนย์การ - จำ�นวนพระ สาธารณ นักพัฒนา สงเคราะห์ เพิ่มขึ้น ประจำ�จังหวัด - จำ�นวน ครบทุกจังหวัด จิตอาสา เพิ่มขึ้น
- จำ�นวนแนว วิธีปฏิบัติที่ เป็นเลิศด้าน การสาธารณ สงเคราะห์
10
แนวทางการปฏิบัติงาน สาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคมที่ยั่งยืน
แนวทางการปฏิบัติงานสาธารณสงเคราะห์ ในภาวะปกติ ที่
รายละเอียด
ผู้รับผิดชอบ
๑. วิเคราะห์ความสามารถและความเหมาะสม จร., จต. จอ. สธส. ของพื้นที่ จล. จจ.
ผลผลิต มีข้อมูลพร้อม ใช้งาน
๒. วางแผนดำ�เนินงานสาธารณสงเคราะห์เพื่อ จร., จต. จอ. สธส. สังคม โดยมีแนวทางการดำ�เนินการดังนี้ จล. จจ. ๑) ด้านการเกื้อกูล เช่น การจัดการป่า การจัดการน้ำ� การจัดการสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
มีแผนการ ดำ�เนินงาน
๒) ด้านการพัฒนา เช่น ศูนย์สัมมาชีพ กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ ฯลฯ ๓) ด้านการบูรณาการ เช่น ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์ กองทุนสาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคม เครือข่ายจิตอาสา ฯลฯ ๓. ดำ�เนินการสาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคมที่ จร., จต. จอ. สธส. ยั่งยืนตามแผน จล. จจ.
ผลการ ดำ�เนินงาน
๔. สรุปผลการดำ�เนินงาน
จร., จต. จอ. สธส. จล. จจ.
สรุปผลการ ดำ�เนินการ
๕. รายงานผลการดำ�เนินงานให้ เจ้าคณะ ผู้ปกครองตามลำ�ดับ
จร., จต. จอ. สธส. จจ. จภ. สธส. รายงานผล จล. จจ. มส. ปีละ 2 ครั้ง (แบบฟอร์ม รายงาน) คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
31
แนวทางการปฏิบัติงานสาธารณสงเคราะห์ ในภาวะวิกฤต ที่
รายละเอียด
ระยะ เวลา
ผู้รับผิดชอบ
ผลผลิต
๑. มีสาธารณภัยเกิดขึ้น จร., ระดับที่ ๑ (๑ หมู่บ้าน) จล. จต. ระดับที่ ๒ (๓ หมู่บ้านขึ้นไป) ๒๔ จอ. สธส. จจ. ระดับที่ ๓ (ทั้งตำ�บล) ชั่วโมง จจ. ให้เจ้าคณะฯ ผู้รับผิดชอบ ประเมินความเสียหายและ ความพร้อมในการช่วยเหลือ
มีแผนการ ช่วยเหลือให้การ สงเคราะห์ โดยมุ่งเน้นให้วัด เป็นศูนย์กลาง ช่วยเหลือชุมชน
๑ วัน จร., จต. จอ. สธส. ๒. รวบรวมข้อมูลสถานการณ์ จล. จจ. สาธารณภัย และความต้องการ ความช่วยเหลือ
จัดแผนให้ความ ช่วยเหลือ
๓. ในกรณีที่พื้นที่มีความพร้อม ในการช่วยเหลือเบื้องต้น ให้ดำ�เนินการ ๑) ช่วยเหลือเครื่องอุปโภค และบริโภคเบื้องต้น ๒) จัดสรรพืน้ ทีว่ ดั เป็นพืน้ ที่ พักพิงชัว่ คราว เป็นต้น
๑ วัน จร., จต. จอ. สธส. จล. จจ.
ผู้ประสบภัยได้รับ ความช่วยเหลือ เบื้องต้น
๔. ในกรณีมสี าธารณภัยเกินขีด ความสามารถของพืน้ ที่ ให้รายงานเจ้าคณะผูป้ กครอง ตามลำ�ดับชัน้
๑ วัน จร., จต. จอ. สธส. จจ. จภ. สธส. รายงานเจ้าคณะ จล. จจ. มส. ผู้ปกครองตาม ลำ�ดับ
๕. ประสานความร่วมมือภาคีเครือ ๒ วัน จร., จต. จอ. สธส. จจ. จภ. สธส. มีทรัพยากรพร้อม ข่ายสนับสนุนการช่วยเหลือ จล. จจ. มส. ให้การสงเคราะห์ ๖. ดำ�เนินการเข้าไปให้การ สาธารณสงเคราะห์
๑ วัน จร., จต. จอ. สธส. จล. จจ.
ผลการดำ�เนินการ
๗. สรุปผลการดำ�เนินงาน
๑ วัน จร., จต. จอ. สธส. จล. จจ.
สรุปผลการ ดำ�เนินการ
๘. รายงานเจ้าคณะผู้ปกครองตาม ลำ�ดับ 32
จร., จต. จอ. สธส. จจ. จภ. สธส. รายงานผลการ จล. จจ. มส. ดำ�เนินงานตาม แบบฟอร์มที่ 001
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
แนวทางการปฏิบัติงานรวบรวมข้อมูลภาคีเครือข่าย ที่
รายละเอียด
ผู้รับผิดชอบ
๑. จัดทำ�ฐานข้อมูลภาคีเครือข่าย - ภายใน - ภายนอก
สธส. จจ.
๒. รวบรวมฐานข้อมูลภาคีเครือข่ายไว้ใน ระบบสารสนเทศ
สธส. จจ.
3. กำ�หนดแผนสร้างความสัมพันธ์และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ - เครือข่ายภายใน - เครือข่ายภายนอก
ผลผลิต ฐานข้อมูลภาคี เครือข่าย สธส. ระบบฐานข้อมูล มส. ภาคีเครือข่าย สธส. ประชุม มส. ปีละ ๑ ครั้ง
4. ส่งเสริมให้มีโครงการความร่วมมือกับ ภาคีเครือข่าย ภายในภายนอก ย่างน้อย จังหวัดละ ๑ โครงการ
สธส. จจ.
๕. ส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภาคี เครือข่ายภายใน
สธส. จจ.
จังหวัดละ ๑ โครงการ สธส. แลกเปลี่ยนเรียน มส. รู้ปีละ ๑ ครั้ง
๖. สรุปผลการดำ�เนินงาน
จร., จต. จอ. สธส. จล. จจ.
ปีละ 2 ครั้ง
๗. รายงานเจ้าคณะผู้ปกครองตามลำ�ดับ
จร., จต. จอ. สธส. จจ. จภ. สธส. รายงานผลการ จล. จจ. มส. ดำ�เนินงานตาม แบบฟอร์มที่ 002
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
33
11
การรายงานผลการดำ�เนินงาน ๑) ศูนย์การสาธารณสงเคราะห์ ประจำ�จังหวัด ดำ�เนินการจัดทำ�รายงานผลการดำ�เนินงานที่คณะสงฆ์ภายในจังหวัดดำ�เนินงานด้าน สาธารณสงเคราะห์ รายงานต่อเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะภาค และประธานคณะกรรมการฝ่าย สาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคมตามลำ�ดับ รายงานผลครัง้ ที่ ๑ รายงานผลครัง้ ที่ ๒
ภายในวันที่ ๒๐ มิถนุ ายน ภายในวันที่ ๒๐ ธันวาคม
๒) ศูนย์การสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ดำ�เนินการรวบรวมรายงานผลการดำ�เนินงานของศูนย์การสาธารณสงเคราะห์ ประจำ� จังหวัดทุกจังหวัด ทีป่ ระธานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ประจำ�จังหวัด รายงานผลต่อ เจ้าคณะ จังหวัด เจ้าคณะภาค ประธานคณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ตามลำ�ดับนัน้ เพือ่ เสนอให้มหาเถรสมาคมได้รบั ทราบ รายงานผลครัง้ ที่ ๑ รายงานผลครัง้ ที่ ๒
34
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
ภายในวันที่ ๓๐ มิถนุ ายน ภายในวันที่ ๓๐ ธันวาคม
ภาคผนวก
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
35
ภาคผนวก ๑
แบบรายงานผลการดําเนินงาน ศูนยการสาธารณสงเคราะห ของมหาเถรสมาคม ประจําจังหวัด...................................................... ผลการดําเนินการตามแผนยุทธศาสตร ประจําป....................................................... ครั้งที่................................................ วัน.....................เดือน...................พ.ศ............. โครงการที่ ๑ สงเสริมความรวมมือภาคีเครือขาย กิจกรรม ๑).................................................................. ผลที่ไดรับ......................... ๒)................................................................. ........................................ ๓).................................................................. ........................................ ๔).................................................................. ........................................ โครงการที่ ๒ สาธารณสงเคราะหเพื่อพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน สาธารณสงเคราะห ๑.๐ กิจกรรม ผลที่ไดรับ ๑..................................... ๑..................................... ๒..................................... ๒..................................... ๓..................................... ๓..................................... สาธารณสงเคราะห ๒.๐ กิจกรรม ผลที่ไดรับ ๑..................................... ๑..................................... ๒..................................... ๒..................................... ๓..................................... ๓..................................... สาธารณสงเคราะห ๓.๐ กิจกรรม ผลที่ไดรับ ๑..................................... ๑..................................... ๒..................................... ๒..................................... ๓..................................... ๓..................................... สาธารณสงเคราะห ๔.๐ กิจกรรม ผลที่ไดรับ ๑..................................... ๑..................................... ๒..................................... ๒..................................... ๓..................................... ๓..................................... แบบฟอรมที่ ๐๐๑
36
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
แบบรายงานผลการดําเนินงานสาธารณสงเคราะห
ภาคผนวก ๑
สรุปภาพรวมผลการดําเนินงาน สิ่งที่ไดรับจาการดําเนินงาน ๑...................................................................................................................... ๒...................................................................................................................... ๓...................................................................................................................... ๔...................................................................................................................... ๕...................................................................................................................... สิ่งที่ควรปรับปรุง ๑...................................................................................................................... ๒...................................................................................................................... ๓...................................................................................................................... ๔...................................................................................................................... ๕...................................................................................................................... ลงนาม
(............................................................) ประธานคณะกรรมการฝายสาธารณสงเคราะห ประจําจังหวัด ลงนาม
ลงนาม
แบบฟอรมที่ ๐๐๑
(............................................................) เจาคณะจังหวัด
(.............................................................) เจาคณะภาค
แบบรายงานผลการดําเนินงานสาธารณสงเคราะห
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
37
ภาคผนวก ๒
สรุปภาพรวมผลการดําเนินงาน ภาพประกอบการรายงานผล สิ่งที่ไดรับจาการดํ าเนินงาน กิจกรรม__________________________________________ ๑...................................................................................................................... วันที่_______ เดือน_________________ พ.ศ. __________ ๒...................................................................................................................... สถานที่ ๓...................................................................................................................... ภาคีเครื๔...................................................................................................................... อข่าย
๕...................................................................................................................... จำ�นวนผู้ร่วมกิจกรรม สิ่งที่ควรปรับปรุง ๑...................................................................................................................... ๒...................................................................................................................... ๓...................................................................................................................... ๔...................................................................................................................... ๕...................................................................................................................... ลงนาม
(............................................................) ประธานคณะกรรมการฝายสาธารณสงเคราะห ประจําจังหวัด ลงนาม
ลงนาม
38
(............................................................) เจาคณะจังหวัด
(.............................................................) เจาคณะภาค
คู่มแบบฟอร ือการปฏิบมัตทีิงานฝ่ ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ่ ๐๐๑
แบบรายงานผลการดําเนินงานสาธารณสงเคราะห
ภาคผนวก ๓
สรุปภาพรวมผลการดํ าเนิเนครื งาน แบบฟอร์ มเก็บข้อมูลภาคี อข่าย สิ่งที่ไดรับจาการดําเนินงาน สนับสนุนงาน ๖ ด้าน ระสาน ลำ�ดับ ชื่อ-สกุล หน่วยงาน ที่อยู่ เบอร์โทร ผู้ปงาน ศาสน สาธาร สาธารณ ๑...................................................................................................................... ปกครอง ศาสน ศึกษา เผยแผ่ ศึกษา ณูปการ สงเคราะห์ ๒...................................................................................................................... ๓...................................................................................................................... ๔...................................................................................................................... ๕...................................................................................................................... สิ่งที่ควรปรับปรุง ๑...................................................................................................................... ๒...................................................................................................................... ๓...................................................................................................................... ๔...................................................................................................................... ๕...................................................................................................................... ลงนาม
(............................................................) ประธานคณะกรรมการฝายสาธารณสงเคราะห ประจําจังหวัด ลงนาม
ลงนาม แบบฟอร์มที่ 002
แบบฟอรมที่ ๐๐๑
(............................................................) เจาคณะจังหวัด
(.............................................................) เจาคณะภาค
คู่มือแบบรายงานผลการดํ การปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม าเนินงานสาธารณสงเคราะห
39
ภาคผนวก ๔
40
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
ภาคผนวก ๔
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
41
ภาคผนวก ๕
42
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
ภาคผนวก ๖
คาสั่ง ประธานคณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ที่ สธ.๐๑/๒๕๖๐ เรื่อง ตั้งคณะอนุกรรมการและสานักงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ตามคาสั่งมหาเถรสมาคมที่ ๒/๒๕๕๙ แต่งตั้งคณะกรรมการของมหาเถรสมาคมฝ่ายต่างๆ ของมหาเถรสมาคม โดยแต่ ง ตั้ ง พระพรหมวชิ ร ญาณ วั ด ยานนาวา กรุ ง เทพมหานคร เป็ น ประธาน คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม เพื่อให้งานสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เป็นประโยชน์ ต่อการพระศาสนาโดยส่วนรวม ประธานคณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม จึงแต่งตั้ง ๑. คณะอนุกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม จานวน ๒๑ รูป/คน ประกอบด้วย ๑.๑ พระเทพรัตนากร วัดเทพลีลา ประธานอนุกรรมการ ๑.๒ พระเทพปัญญามุนี วัดอาวุธวิกสิตาราม รองประธานอนุกรรมการ ๑.๓ พระเทพมุนี วัดปากน้า อนุกรรมการ ๑.๔ พระราชรัตนาลงกรณ์ วัดโพธิ์ชัย/หนองคาย อนุกรรมการ ๑.๕ พระราชญาณกวี วัดพระราม ๙ อนุกรรมการ ๑.๖ พระปัญญานันทมุนี วัดชลประทานรังสฤษฎิ์/นนทบุรี อนุกรรมการ ๑.๗ พระประสิทธิโสภณ วัดประสิทธิชัย/ตรัง อนุกรรมการ ๑.๘ พระศรีรัตนมุนี วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ/พิษณุโลก อนุกรรมการ ๑.๙ พระศรีวชิราภรณ์ วัดยานนาวา อนุกรรมการ ๑.๑๐ พระอุดมปรีชาญาณ วัดไตรมิตรวิทยาราม อนุกรรมการ ๑.๑๑ พระอุดมบัณฑิต วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อนุกรรมการ ๑.๑๒ พระสุธีรัตนบัณฑิต วัดสุทธิวราราม อนุกรรมการ ๑.๑๓ พระศรีรัตนโมลี วัดราชสิทธาราม อนุกรรมการ ๑.๑๔ พระครูสุตภาวนาภิธาน วัดโสธรวรารามวรวิหาร อนุกรรมการ ๑.๑๕ พระครูศรีปริยัตยาภิมณฑ์ วัดปทุมคงคา อนุกรรมการ ๑.๑๖ ผู้แทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อนุกรรมการ ๑.๑๗ ผู้แทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อนุกรรมการ ๑.๑๘ ผู้แทนผูบ้ ัญชาการกองทัพบก อนุกรรมการ ๑.๑๙ นายแพทย์ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์ ผู้อานวยการสานักงานสนับสนุนสุขภาวะองค์กร (สสส.) อนุกรรมการ ๑.๒๐ พระครูปลัดสุวัฒนวชิรคุณ วัดยานนาวา อนุกรรมการและเลขานุการ ๑.๒๑ พระครูปลัดโพธิวรวัฒน์ วัดไร่ขิง/นครปฐม อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
43
ภาคผนวก ๖
๒. เลขานุการประธานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถรสมาคม ๒.๑ พระมงคลวชิรากร วัดยานนาวา ๒.๒ พระครูศรีวชิรวงศ์ วัดยานนาวา ๒.๓ พระครูปลัดสุวัฒนวชิรคุณ วัดยานนาวา ๓. สานักงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถรสมาคม ๓.๑ พระมหาเอก เมธิกญาโณ วัดยานนาวา ๓.๒ พระมหาเป็นเกียรติ กิตฺติวิสุทฺโธ วัดยานนาวา ๓.๓ พระมหาศิริชัย สิรินฺทญาโณ วัดยานนาวา ๓.๔ พระมหาชาครินทร์ กิตฺติเมธี วัดยานนาวา ๓.๕ พระมหาอดิศักดิ์ อภิปญฺโญ วัดบรมสถล ๓.๖ พระมหาอดุลย์ เขมปญฺโญ วัดยานนาวา ๓.๗ นายณฐ ทะสังขา ไวยาวัจกรวัดยานนาวา
เป็นเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นหัวหน้าสานักงาน เป็นผู้ช่วยหัวหน้าสานักงาน เป็นผู้ช่วยหัวหน้าสานักงาน เป็นเจ้าหน้าที่ประจาสานักงาน เป็นเจ้าหน้าที่ประจาสานักงาน เป็นเจ้าหน้าที่ประจาสานักงาน เป็นเจ้าหน้าที่ประจาสานักงาน
โดยคณะอนุกรรมการมีหน้าที่ดังนี้ ๑) ช่วยคณะกรรมการ สนับสนุน ส่งเสริมงานสาธารณสงเคราะห์ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยดีงาม ๒) ประสานงานการขับเคลื่อนงานสาธารณสงเคราะห์ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์ ๓) งานอื่นๆ ที่คณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถรสมาคม มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๓๐
สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐
(พระพรหมวชิรญาณ) ประธานคณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
44
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
ภาคผนวก ๗
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
45
ภาคผนวก ๘
46
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
ภาคผนวก ๙
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
47
รางวั ล เพชรงาม การสาธารณ
สงเคราะห์
48
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
สรุปพระสงฆ์ ภาพรวมผลการดํ ประกาศรายนาม และองค์ากเนิรนทีงาน ่ผ่านการพิจารณา สมควรเข้ารับประทานรางวัล “เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์” สิ่งที่ไดรับจาการดําเนินงาน ประจำ�ปี พุทธศักราช ๒๕๖๑ ๑...................................................................................................................... ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ๒...................................................................................................................... ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ๓......................................................................................................................
๔...................................................................................................................... 1) พระพรหมมงคล วัดพระธาตุศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ๕......................................................................................................................
2) พระสุธรรมาธิบดี วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ 3) วัดศาลาลอย จังหวัดสุรินทร์ สิ่งที่คพระธรรมโมลี วรปรับปรุง 4) พระเทพศี ลวิสุทธิ์ วัดประชุมชลธารา จังหวัดนราธิวาส ๑...................................................................................................................... 5) พระเทพโกศล วัดศรีโสดา จังหวัดเชียงใหม่ ๒...................................................................................................................... 6) พระเทพประสิ ทธิมนต์ วัดศรีสุดาราม กรุงเทพฯ ๓...................................................................................................................... 7) พระเทพศาสนาภิบาล วัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม ๔...................................................................................................................... 8) พระภาวนาวิสุทธิญาณเถร วัดดอยธรรมเจดีย์ จังหวัดสกลนคร ๕...................................................................................................................... 9) พระพุทธิญาณมุนี วัดพระธาตุผาเงา จังหวัดเชียงราย 10) พระสิริพัฒโนดม วัดเอก จังหวัดสงขลา 11) พระครูอุภัยโกศล วัดกรับพวงเหนือ จังหวัดพิษณุโลก ลงนาม 12) พระครูพิทักษ์นันทคุณ(............................................................) วัดอรัญญาวาส จังหวัดน่าน 13) พระครูวิมลปั ญญาคุณ วัดป่าศรีแสงธรรม จังาหวั อุบดลราชธานี ประธานคณะกรรมการฝ ายสาธารณสงเคราะห ประจํ จังดหวั 14) พระครูโพธิวีรคุณ วัดโพธิการาม จังหวัดร้อยเอ็ด 15) พระครูอดุลคุณาธาร วัดนิคมประทีป จังหวัดตรัง 16) พระครูอมรชัยคุณ วัดสุชัยคุณาราม จังหวัดนครราชสีมา ลงนาม 17) พระครูสุวรรณโพธิวรธรรม วัดโพธิ์ทอง จังหวัดจันทบุรี (............................................................) 18) พระสุบิณ ปณีโต วัดไผ่ล้อม จังหวัดตราด เจาคณะจังหวัด 19) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 20) บริษัท เนเจอร์กิฟ จำ�กัด
ลงนาม
(.............................................................) เจาคณะภาค
(พระพรหมวชิรญาณ) กรรมการมหาเถรสมาคม ประธานคณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
แบบฟอรมที่ ๐๐๑
แบบรายงานผลการดําเนินงานสาธารณสงเคราะห
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
49
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล) วัดพระธาตุศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ พระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล) เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ ๒๑ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๖ บ้านนาแก่ง ตำ�บลบ้านแอ่น อำ�เภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ ท่านอุปสมบทเมื่อวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๗ ณ บ้านแอ่น โดยมีพระครูคัมภีรธรรม (ครูบาอินตา พรหฺมปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดชัยพระเกียรติ เป็น พระอุปัชฌาย์ ตำ�แหน่งด้านการปกครองเคยดำ�รงตำ�แหน่งเป็นเจ้าคณะอำ�เภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ และปัจจุบนั ดำ�รงตำ�แหน่งทีป่ รึกษาเจ้าคณะภาค ๗ และเป็นประธานขับเคลือ่ นโครงการหมูบ่ า้ นรักษา ศีลห้า ประจำ�หนเหนือ ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระพรหมมงคล มีหลายประการ โดยการพัฒนาศาสน บุคคลและงานสาธารณสงเคราะห์เพื่อองค์กรพระพุทธศาสนา พระพรหมมงคล เป็นผู้จัดให้มีการ ส่งเสริมการศึกษา โดยจัดตัง้ กองทุนส่งเสริมนักเรียนบาลี เพือ่ เป็นสวัสดิการด้านอุปกรณ์การเรียนการ สอน เครือ่ งอุปโภคบริโภค รวมทัง้ จัดทุนการศึกษาให้แก่นกั เรียนผูส้ อบได้แผนกธรรมบาลี และอภิธรรม และจัดหางบประมาณดำ�เนินการตามโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ้ นให้ส�ำ นักศาสนศึกษา และ การจัดหาทุนทรัพย์ในการก่อสร้างกุฏิวิปัสสนากรรมฐาน ห้องสอบอารมณ์มหาศาลา “หทัยนเรศว์ร” และศาลาอเนกประสงค์ “ประชาสามัคคี” และศาลาปฏิบัติธรรม “บุญญาภิภัทร” นอกจากนี้ท่านได้ ร่วมกับคณะสงฆ์เป็นประธานกรรมการจัดหาทุนทรัพย์ในการสร้างตึกเรียนเฉลิมพระเกียรติโรงเรียน ศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ และเป็นประธานก่อสร้างอาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา (ตึกสงฆ์ อาพาธ) โรงพยาบาลจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ พร้อมจัดซือ้ อุปกรณ์การแพทย์เพือ่ การรักษาพยาบาล ท่านมีความโดดเด่นอย่างมากในงานสาธารณะสงเคราะห์ทั้งการหาจัดทุนทรัพย์บูรณะต่อเติมศาลา ธรรม ระบบประปาของวัด รวมไปถึงอาคารสำ�นักงานวิปัสสนากรรมฐาน ร้านค้าชุมชน ห้องสุขา รั้วศิลาแลงอีกด้วย
50
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระสุธรรมาธิบดี (แบน กิตติสาโร) วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร พระสุธรรมาธิบดี (แบน กิตฺติสาโร) เกิดเมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ บ้านเกาะจาก ต.เกาะทวด อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช ท่านอุปสมบท ณ วัดเกาะจาก เมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๑ โดยมี พระรัตนธัชมุนี (แบน คณฺฐาภรฺณ) เป็นพระอุปัชฌาย์ ตำ�แหน่งด้านการปกครอง เคยดำ�รงตำ�แหน่งรองเจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ (ธ) และปัจจุบนั ดำ�รงตำ�แหน่งผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดบวร นิเวศวิหาร และที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ (ธ) ร่วมด้วย ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระสุธรรมาธิบดีมีมากมายหลายประการ โดยการ พัฒนาศาสนบุคคลและงานสาธารณสงเคราะห์เพื่อองค์กรพระพุทธศาสนา พระสุธรรมธิบดี ได้เป็น ผูร้ เิ ริม่ ก่อสร้างวัดสิรนิ ธรเทพรัตนารามในพระราชูปถัมภ์ รวมทัง้ การพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราช วิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัยในพระราชูปถัมป์ สำ�หรับงานสาธารณสงเคราะห์เพื่อสังคม ท่านได้รเิ ริม่ และสนองงานเพือ่ การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กสำ�หรับการให้ความช่วยเหลือและให้การอุปถัมภ์ การศึกษาให้กับชุมชนที่มีความต้องการพัฒนาการเรียนรู้ให้กับเยาวชนในพื้นที่ นอกจากนี้ศูนย์เด็ก เล็กท่านได้สนับสนุนการก่อสร้างยังมีสว่ นสำ�คัญต่อการยกระดับคุณภาพชีวติ ของครอบครัวผูม้ รี ายได้ น้อย ปัจจุบันท่านได้มีส่วนสำ�คัญในการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กทั้งในจังหวัดนครปฐม สมุทรปราการและ พระนครศรีอยุธยา สำ�หรับการพัฒนาและสงเคราะห์พนื้ ทีช่ นบทผลงานของท่านมีความโดดเด่นอย่าง มาก ในการนำ�งานจิตอาสาตามแนวพระพุทธศาสนาคือการระดมความช่วยเหลือเพือ่ การก่อสร้างและ ปรับปรุงการเชื่อมต่อถนนนครศรีธรรมราช-ปากพนัง ตลอดจนการนำ�ประชาชนในพื้นที่ร่วมขุดลอก คลองบางไทร เพื่อนำ�ดินถวายก่อสร้างวัดเกาะจาก และวัดโศภณคณาภรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช จะเห็นได้ว่าผลงานของท่านด้านสาธารณสงเคราะห์ถือเป็นแรงบันดาลใจให้กับศาสนทายาทในรุ่น ต่อมา ให้คำ�นึงถึงงานจิตอาสาและเห็นคุณค่าของการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นตามแนวพระพุทธศาสนา
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
51
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ) วัดศาลาลอย จังหวัดสุรินทร์ พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสทุ โฺ ธ) เกิดเมือ่ วันอังคารที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ พุทธศักราช หมู่ ๕ บ้านตะตึงไถง ตำ�บลนอกเมือง อำ�เภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ท่านอุปสมบทเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ ณ พัทธสีมา วัดกลางสุรินทร์ โดยมีพระประภากรคณาจารย์ (เดื่อ ปภากโร) เป็นพระอุปัชฌาย์ ตำ�แหน่งด้านการปกครองเคยดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ และปัจจุบัน ดำ�รงตำ�แหน่งที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11 ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระธรรมโมลี มีหลายประการ โดยจัดตั้งศูนย์อบรมเด็ก ก่อนเกณฑ์ในวัด และจัดตัง้ ทุนศึกษาสงเคราะห์นกั เรียนยากจนเรียนดีประพฤติดี ตลอดจนจัดซือ้ จัดหา วัสดุอปุ กรณ์การเรียนการสอนมอบให้โรงเรียนแถบชายแดนกัมพูชา และมอบทุนการศึกษาแก่นกั เรียน ระดับประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลสุรินทร์ และยังจัดกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพโครงการตรวจ สุขภาพเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดศาลาลอยร่วมกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนีสรุ นิ ทร์ นอกจากนีด้ �ำ เนิน การก่อสร้างศาลาการเปรียญวัดศาลาลอย และก่อสร้างศาลา “โสวภาค” และศาลา “นิตยา” รวมถึง โรงครัว และ ท่านได้สงเคราะห์ชาวบ้านด้านความรู้ข่าวสาร ความรู้ทั่วไปในการจัดโครงการประหยัด ช่วยชาติ และการอบรมอาชีพเสริม เช่น การทำ�ยาสระผม การทำ�สบู่ และดอกไม้จันทน์ โดยดำ�เนิน การสร้างโรงอบยาสมุนไพร และนวดเพือ่ สุขภาพโดยการควบคุมดูแลของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาล กราบเชิงและจัดโครงการตรวจสุขภาพผูส้ งู อายุโดยเชิญนายแพทย์และพยาบาลจากโรงพยาบาลสุรนิ ทร์ มาบริการแก่ผู้สูงอายุ รวมถึงการก่อสร้างศาลาบำ�เพ็ญกุศลศพวัดศรีรัตนาราม จังหวัดสุรินทร์
52
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระเทพศีลวิสุทธิ์ (อ่อน ทนฺตจิตฺโต) วัดประชุมชลธารา จังหวัดนราธิวาส พระเทพศีลวิสุทธิ์ (อ่อน ทนฺตจิตฺโต) เกิดเมื่อวันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ที่บ้านต้นไทร หมู่ ๒ ตำ�บลสุไหงปาดี อำ�เภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส อุปสมบท ณ วัดประชุมชลธารา โดยมี พระครูสุวรรณคุณากรเป็นพระอุปัชฌา เคยดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดโบราณสถิตย์ และรักษาการ เจ้าคณะอำ�เภอสุไหงปาดี ก่อนเป็นเจ้าอาวาสวัดประชุมธารา และดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะจังหวัด นราธิวาส ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๗ ถึง ปัจจุบัน ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระเทพศีลวิสุทธิ์ ท่านเป็นพระสงฆ์ที่มีความเป็นผู้นำ� ชุมชนภายใต้สังคมแห่งความหลากหลายทางภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมอย่างแท้จริงรูปหนึ่งสังคม ไทย ตลอดช่วงเวลาของการทำ�หน้าทีเ่ จ้าคณะปกครอง ท่านสนับสนุนให้เกิดหมูบ่ า้ นเฉลิมพระเกียรติฯ ในจังหวัดนราธิวาสเพือ่ เป็นต้นแบบของหมูบ่ า้ นรักสันติสขุ ส่งเสริมการอยูร่ ว่ มกันอย่างสงบสุขในพืน้ ที่ ชายแดนภายใต้อย่างเป็นรูปธรรม จะเห็นได้จากการทีท่ า่ นมีอดุ มการณ์ทชี่ ดั เจนในการพัฒนากิจกรรม และศาสนบุคคลเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข สำ�หรับงานด้านสาธารณสงเคราะห์ ท่านได้ สนับสนุนและสงเคราะห์ให้พฒ ั นาทีด่ นิ ของวัดเป็นธนาคารข้าวสำ�หรับประชาชน เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยและ สนับสนุนการทำ�เกษตรกรรมภายในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังได้จัดตั้งหน่วยบริการเพื่อการสงเคราะห์ ประชาชน โดยมีกิจกรรมรับอุปการะเด็ก คนชรา นักเรียนที่มีผลการเรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ รวมทัง้ ท่านยังจัดกิจกรรมบริจาคเครือ่ งอุปโภคและบริโภคแก่ประชาชนในพืน้ ทีอ่ ย่างสม่�ำ เสมอ ปัจจุบนั การทีป่ ระชาชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้ได้รบั ผลกระทบเรือ่ งการประกอบอาชีพ ท่านได้จดั สรร ทีด่ นิ ธรณีสงฆ์ให้ประชาชนได้เข้ามาประกอบอาชีพด้านการเกษตรกรรมอย่างสุจริต เพือ่ ส่งเสริมให้เกิด ความกินดีอยู่ดีในพื้นที่ สอดคล้องกับหลักการของหน่วยงานภาครัฐที่ต้องการสร้างสันติสุขให้เกิดขึ้น อย่างเป็นรูปธรรม ถือได้ว่าพระเทพศีลวิสุทธิคือต้นแบบของการส่งเสริมกิจกรรมสาธารณสงเคราะห์ เพือ่ การพัฒนาสังคมอย่างยัง่ ยืน ซึง่ ปรากฏผลงานอย่างเด่นชัด ทัง้ แก่องค์กรทางพระพุทธศาสนา การ ส่งเสริมนโยบายหน่วยงานภาครัฐและประชาชนในพื้นที่ คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
53
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระเทพโกศล วัดศรีโสดา จังหวัดเชียงใหม่ พระเทพโกศล นามเดิม สังวาลย์ ฉายา พฺรหฺมวณฺโณ นามสกุล ของฉัน เกิดเมือ่ วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๘ ที่อำ�เภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ ๒๙ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๓ ณ วัดอุดมชัยราษฎร์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี เจ้าอธิการคุณา คุณวโร วัดสันคะยอม พระอุปัชฌาย์ อุปสมบท เมื่อวันที่ ๑๘ เดือน มิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๘ ณ วัดสำ�เภา จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพระเทพสิทธาจารย์ วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร เป็นพระอุปัชฌาย์ มีวิทยฐานะ เป็น นักธรรมชั้นเอก, เปรียญธรรม ๖ ประโยค ปริญญาโท สาขาวิชาประวัติศาสตร์และโบราณคดี มหาวิทยาลัยมคธ ประเทศอินเดีย ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งเป็น เจ้าอาวาสวัดศรีโสดา ผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานพระธรรมจาริกส่วนภูมิภาค วัดศรีโสดา ผู้รับอนุญาตจัดตั้งโรงเรียนสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิวัดศรีโสดา และประธานกรรมการบริหารมูลนิธิการศึกษาและเผยแผ่ พระพุทธศาสนาภูมิภาคลุ่มแม่น้ำ�โขง มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาเขตเชียงใหม่ ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระเทพโกศล มีหลายประการ โดยเป็นพระธรรมจาริก รุ่นแรกเดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่ชาวเขาในถิ่นทุรกันดารของภาคเหนือและภาคกลางบาง จังหวัด เป็นหัวหน้า “ศูนย์อบรมพระพุทธศาสนาพระภิกษุสามเณรชาวเขา” มีภารกิจ ควบคุม ดูแลเอาใจใส่ ฝึกอบรมพระภิกษุสามเณรชาวเขา ที่อยู่ประจำ�วัดศรีโสดา ปีละ ๓๐๐ – ๕๐๐ รูป ให้เป็นพลเมือง ที่ดีของชาติ เป็นทายาทที่ดี ของพระพุทธศาสนา เป็นผู้อำ�นวยการสำ�นักงานบริหารงานโครงการ พระธรรมจาริก ส่วนภูมภิ าค วัดศรีโสดา จังหวัดเชียงใหม่ เป็นผูจ้ ดั การโรงเรียนสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ พระปริยตั ธิ รรมแผนก สามัญศึกษา มุง่ สัง่ สอน อบรมเยาวชนให้อยูใ่ นศีลธรรม มีความรูส้ กึ เป็นคนไทย เพียงหนึ่งเดียว เสริมสร้างฝึกฝน พระภิกษุสามเณรให้มีความรู้ ทักษะประพฤติดีและเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาในโครงการพระธรรมจาริก พระภิกษุสามเณรใฝ่เรียน ใฝ่รู้ มีสมณสัญญา สุขภาพร่างกาย จิตใจดี รู้จักบำ�รุงรักษาศาสนสมบัติ อนุรักษ์วัฒนธรรมชาติพันธ์ พระภิกษุสามเณรเป็นพระนักเผยแผ่ ที่มีอุดมการณ์ แตกฉานใน อรรถ พยัญชนะ สามารถนำ�ศีลธรรมจาริกไปเผยแผ่แก่ชาวเขาได้ 54
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระเทพประสิทธิมนต์ (โกศล มหาวีโร) วัดศรีสุดาราม กรุงเทพมหานคร พระเทพประสิทธิมนต์ (โกศล มหาวีโร) เกิดเมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ตำ�บล ท่าวาสุกรี อำ�เภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่านอุปสมบท เมือ่ วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๓ ที่วัดอินประชาราม ตำ�บลบ้านพร้าว อำ�เภอบ้านนา จังหวัดนครนายก โดยมีสมเด็จพระ อริยวงศาคตญาณ สกลมหาสังฆปริณายก (ปุ่น) เป็นพระอุปัชฌาย์ ตำ�แหน่งด้านการปกครองเคย ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะแขวงบ้านช่างหล่อ ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งที่ปรึกษาเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร และเจ้าอาวาสวัดศรีสุดาราม ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระเทพประสิทธิมนต์ มีหลายประการ โดยท่านเป็น หัวเรี่ยวหัวแรงดำ�เนินการซ่อมแซมหอประชุมพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมที่ทรุดโทรมอย่างหนัก ไม่ สามารถดำ�เนินงานและใช้อาคารหอประชุมพุทธมณฑลประกอบกิจกรรมใดๆ ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๒ และ ท่านได้ให้การอนุเคราะห์ต่อสำ�นักการแพทย์เป็นอย่างมาก ตั้งแต่การสร้างโรงพยาบาลราชพิพัฒน์ เปิดให้บริการเมื่อวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๒ และโรงพยาบาล ๘๔ พรรษามหาราช คลองสามวา ซึ่งเปิดบริการเมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ และเมื่อปี ๒๕๕๗ ท่านได้เป็นประธานโครงการ ก่อสร้างศูนย์สง่ เสริมและคุณภาพชีวติ คนพิการทางสติปญ ั ญาแบบครบวงจร โดยสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จฯ เปิดศูนย์ส่งเสริมและคุณภาพชีวิตคนพิการทางสติปัญญา แบบครบวงจร นอกจากนี้ท่านดำ�เนินการสร้างศูนย์แพทย์ศาสตร์และการเรียนรู้เพื่อผู้สูงอายุ บน พื้นที่ที่ดิน ๕ ไร่ บริเวณถนนเลียบคลองปทุม แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้ รับบริจาคมาจาก นางสาวพะเยาว์ จิตกระโชติ โดยการจัดสร้างขึ้นท่านเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของ ผู้สูงอายุชาวไทยที่มีจำ�นวนเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งสังคมไทยกำ�ลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งศูนย์แพทย์นี้ นอกจากจะให้บริการสำ�หรับผู้สูงอายุแล้ว ยังเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับประชาชนได้ศึกษาเรียนรู้ในการ ดูแลผู้สูงอายุอย่างถูกวิธีด้วย คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
55
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตฺตินฺธโร) วัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม พระเทพศาสนาภิบาล (แย้ม กิตตฺ นิ ธฺ โร) เกิดเมือ่ วันที่ ๒๗ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๙๘ บ้านคลองราง ไทร หมู่ที่ ๘ ตำ�บลบางภาษี อำ�เภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ท่านอุปสมบท เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ณ วัดไร่ขิง โดยมีพระปฐมนคราภิรักษ์ (ชุณห์ กิตฺติวณฺโณ) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัด นครปฐม วัดวังตะกู อำ�เภอเมืองนครปฐม เป็นพระอุปัชฌาย์ ตำ�แหน่งด้านการปกครองเคยดำ�รง ตำ� แหน่งเจ้า คณะอำ�เภอพุทธมณฑล และปัจ จุบันดำ� รงตำ� แหน่งรองเจ้า คณะจั งหวั ดนครปฐม, เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง, กรรมการขับเคลื่อนหมู่บ้านรักษาศีล 5 ส่วนกลาง ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระเทพศาสนาภิบาล มีหลายประการ โดยท่านได้ให้การ สงเคราะห์ชุมชนและสังคมทั้งดำ�เนินกิจการช่วยเหลือเกื้อกูล ช่วยเหลือกิจการสาธารณะประโยชน์ จัดทำ�ให้เป็นสาธารณสถานและการช่วยเหลือบุคคลทั่วไป โดยจัดหาทุนและควบคุมการก่อสร้าง ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” และจัดหาทุนและควบคุมการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำ�ท่า จีนระหว่างวัดไร่ขิง “สะพานมงคลรัฐ ประชานุกูล” รวมทั้งปรับปรุงถนนลาดยาง และยังบูรณะศาลา อเนกประสงค์ และจัดหาทุนและควบคุมการก่อสร้างอาคารปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชินี นอกจากนี้ท่านได้อนุญาตให้โรงพยาบาลสามพราน สำ�นักงานสรรพกร ชมรมผู้สูงอายุ ใช้ ทีด่ นิ วัดโดยมิได้เรียกค่าตอบแทนใดๆ อีกด้วย อีกทัง้ ท่านได้ชว่ ยเหลือเกือ้ กูลประชาชนทัว่ ไปโดยจัดทำ� ตลาดวัดไร่ขงิ บนพืน้ ทีล่ านวัดไร่ขงิ เพือ่ เป็นการสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรและประชาชนทัว่ ไป และเมือ่ จังหวัดนครปฐมประสบภัยทางธรรมขาติสง่ ผลให้น�้ำ ท่วมบริเวณพืน้ ทีต่ �ำ บลไร่ขงิ ทำ�ให้ชาวชุมชนไร่ขงิ และพืน้ ทีใ่ กล้เคียงเดือดร้อน ท่านได้ให้ความอนุเคราะห์ผปู้ ระสบภัยมาอาศัยพักบนอาคารปฏิบตั ธิ รรม เฉลิมพระเกียรติของวัดไร่ขิง และจัดตั้งเป็นศูนย์พักพิงชั่วคราวของชุมชนไร่ขิง และท่านพัฒนาชุมชน ให้เกิดความสะดวกสบายในการเดินทางนำ�รถเมล์สาย ๘๔ เข้ามาในวัดไร่ขิง และเส้นทางคมนาคมที่ สะดวกขึ้นโดยการสร้างสะพานข้ามแม่น้ำ� และปรับปรุงโรงพยาบาลให้เพียงพอต่อการรักษาส่งผลให้ สภาพความเป็นอยู่ของชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 56
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระภาวนาวิสุทธิญาณเถร (แบน ธนากโร) วัดดอยธรรมเจดีย์ จังหวัดสกลนคร พระภาวนาวิสุทธิญาณเถร (แบน ธนากโร) เกิดเมื่อวันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ ณ บ้าน หนองบัว ตำ�บลหนองบัว อำ�เภอเมือง จังหวัดจันทบุรี ท่านได้อุปสมบท เมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ณ วัดเกาะตะเคียน ตำ�บลหนองบัว อำ�เภอเมือง จังหวัดจันทบุรี โดยมีพระอมรโมลี เป็นพระอุปัชฌาย์ ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระภาวนาวิสทุ ธิญาณเถร มีหลายประการ ท่านได้เมตตา สงเคราะห์คนหมู่มาก ทั้งพระและฆราวาส ท่านได้เมตตาสร้างตึกร่มฟ้า ให้แก่โรงพยาบาลจังหวัด สกลนคร พร้อมทั้งถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ พระบรมราชินีนาถ และสร้างตึก ร่มฉัตร เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ท่าน ได้สร้าง โรงพยาบาลพระอาจารย์แบน ธนากโร ที่อำ�เภอภูพาน จังหวัดสกลนคร เพื่อถวายเป็นพระ ราชกุศลแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวาระที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๕ รอบ ๖๐ พรรษา และนอกจากท่านจะเมตตาสงเคราะห์แก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ท่านยังได้เมตตา สร้างวัดเพือ่ เป็นสำ�นักปฏิบตั ธิ รรมกรรมฐานเจริญรอยตามพระบูรพาจารย์ มีหลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตฺโต และ หลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ เป็นอาทิ ให้พระภิกษุสามเณรได้มีที่อยู่ศึกษาข้อวัตร ปฏิบัติธรรม เพื่อรักษา ป่าไม้ ต้นน้�ำ ลำ�ธาร รักษาสัตว์ปา่ และรักษาธรรมชาติเอาไว้ ซึง่ นับวันจะถูกผูค้ นทำ�ลายมากขึน้ เรือ่ ยๆ มีอยู่หลายแห่งด้วยกัน ตัวอย่างเช่น วัดป่าภูผาผึ้ง ตำ�บลกกตูม อำ�เภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร วัดป่าวังเพิ่ม-พระภาวนา ตำ�บลพญาเย็น อำ�เภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี เป็นต้น
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
57
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระพุทธิญาณมุนี (ประเสริฐ ปญฺญาวชิโร) วัดพระธาตุผาเงา จังหวัดเชียงราย พระพุทธิญาณมุนี (ประเสริฐ ปญฺญาวชิโร) เกิดที่อำ�เภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ท่านได้เข้า รับการอุปสมบทเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระพุทธิญาณมุนี ด้านสิง่ แวดล้อมของพระพุทธิญาณมุนี ส่งผลให้เกิดกลุ่มอนุรักษ์ป่าดอยจันอย่างเป็นระบบ มีกฎ กติกาในการดูแลผืนป่า ชุมชนมีจิตสำ�นึก ในเรื่องการดูแลทรัพยากรธรรมชาติที่ดีขึ้น พื้นที่ป่าขยายเพิ่มเติมมากขึ้น เกิดเครือข่ายความร่วมมือ ในเรื่องงานอนุรักษ์ป่า และการประสานการทำ�งานเป็นเครือข่ายหมอเมืองล้านนา อีกทั้งท่านเป็น ผู้ที่ตระหนักอยู่เสมอว่า “ถึงแม้จะเป็นภิกษุสงฆ์ก็สามารถทำ�คุณประโยชน์ได้” เมื่อครั้งหนึ่งที่ท่าน เคยเดินธุดงค์ในเขตผืนป่าดอยจัน อำ�เภอเชียงแสน แล้วพบเห็นว่าสภาพแวดล้อมและธรรมชาติเริ่ม เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ จากการขยายตัวของชุมชนและการ ตัดต้นไม้เพื่อเป็นฟืนในโรงงานบ่มยาสูบในพื้นที่แล้ว ท่านจึงมีความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติศาสนกิจที่เป็น คุณประโยชน์ตอ่ ชุมชน ต่อมาจึงได้แสวงหานำ�หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นฐานคิดในการฟืน้ ฟู ป่าดอยจัน โดยได้เริ่มดำ�เนินการขับเคลื่อนในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ เกิดการจัดทำ�แนวเขตป่าที่ชัดเจนสร้าง กิจกรรมที่ใช้ธรรมะเป็นเครื่องกำ�หนด เพื่อให้ชุมชนตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ และ เพื่อให้ธรรมชาติที่ร่วมกันสร้างสรรค์ เป็นสื่อให้คนเข้าถึงธรรมะของพระพุทธองค์ จึงได้กิจกรรม เช่น การสืบชะตาและบวชป่า การปลูกป่าในวันสำ�คัญต่างๆ การสำ�รวจป่า การจัดทำ�แผนทีแ่ ละออกเอกสาร สิทธิให้ชัดเจนเพื่อป้องกันการบุกรุก การจัดทำ�หลักสูตรด้านงานอนุรักษ์เพื่ออบรมเยาวชน การสร้าง เครือข่ายหมอเมืองล้านนาเพื่อผลิตยาสมุนไพร เป็นต้น
58
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระสิริพัฒนโนดม (มนัส คุณธมฺโม) วัดเอก จังหวัดสงขลา พระสิริพัฒโนดม (มนัส คุณธมฺโม) เจ้าคุณอำ�เภอกระแสสินธุ์ เจ้าอาวาสวัดเอก ตำ�บลเชิงแส อำ�เภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระสิรพิ ฒ ั โนดม ท่านเป็นพระนักพัฒนาทีเ่ ป็นทีย่ อมรับ และรับรู้โดยทั่วกัน ท่านมีการพัฒนาวัดและชุมชนที่เด่นชัดในหลายด้าน เช่น การเปลี่ยนแปลง ด้านถาวรวัตถุภายในวัดอย่างต่อเนื่อง จนเป็นที่ประจักษ์ชัดแก่คนในพื้นที่และบริเวณใกล้เคียง การก่อตัง้ โรงเรียนปริยตั สิ ายสามัญ การจัดสร้างทีพ่ กั อาศัยสำ�หรับคนชราและผูย้ ากไร้บนพืน้ ที่ ๒๐ ไร่ จุคนมาพักได้หลายร้อยคน การฝึกอบรมสร้างอาชีพให้กบั ประชาชนในพืน้ ทีต่ ามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และงานอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งการทำ�งานทั้งหมดที่ว่ามานี้สอดคล้องกับหลักวิชาการจัดและการสร้าง สวัสดิการให้กบั คนในชุมชน จึงทำ�ให้ทา่ นได้รบั พระราชทานปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา)
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
59
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระครูอุภัยโกศล (เจริญ) วัดกรับพวงเหนือ จังหวัดพิษณุโลก พระครู อุ ภัยโกศล (เจริญ) ได้รับการขนานนามจากชาวบ้ า น “หลวงพี่ ช้า งนัก พัฒ นาแห่ง พรหมพิราม” ตำ�แหน่งด้านการปกครองท่านดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะตำ�บลพรหมพิราม และเจ้าอาวาส วัดกรับพวงเหนือ ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระครูอุภัยโกศล ท่านจัดกิจกรรมเดลิเวอรี่บุญเพื่อ สงเคราะห์และอนุเคราะห์ประชาชนในท้องถิ่น เพื่อให้มีทุนทรัพย์ในการหล่อเลี้ยงชีวิตให้ดำ�เนินต่อ นอกจากนี้วัดได้รับการพัฒนาเป็นศูนย์กลางในการเผยแผ่ธรรมและสงเคราะห์เกื้อกูลชุมชนในทุกๆ ด้าน และท่านใช้กระบวนการอริยสัจ ๔ ในการพัฒนาคน ชุมชน สังคมโดยเฉพาะกลุม่ ทีม่ คี วามอ่อนแอ และยากจน เช่น เด็ก สตรี ผู้พิการ โดยเน้นการทำ�ประโยชน์ ช่วยเหลือและให้โอกาสในการพัฒนา ตนเองและยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคลและชุมชน โดยยึดคติที่ว่า “เพราะชีวิตเลือกเกิดไม่ได้ แต่ เลือกที่จะเป็นคนดีหรือเลวได้” นอกจากนี้ท่านจัดกิจกรรมการทำ�เห็ดฟางแบบโรงเรือน กิจกรรมผลิต แผงสัญญาณทีวี กิจกรรมไม้กวาดดอกหญ้าทางมะพร้าว กิจกรรมขนมไทย กิจกรรมเลี้ยงโค กิจกรรม จัดสวน กิจกรรมเยี่ยมคนไข้ กิจกรรมลานวัดลานกีฬา กิจกรรมธนาคารเครื่องมือการแพทย์ตำ�บล พรหมพิราม กิจกรรมสร้างอาคารผู้ป่วยในโรงพยาบาลพรหมพิราม และส่งเสริมสนับสนุนสิ่งที่เป็น สาธารณประโยชน์ที่ประชาชนส่วนใหญ่ขาดแคลนอีกด้วย
60
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระครูพิทักษ์นันคุณ (สงวน จารุวณฺโณ) วัดอรัญญาวาส จังหวัดน่าน พระครูพิทักษ์นันทคุณ (สงวน จารุวณฺโณ) เกิดเมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๑ ที่อำ�เภอ เมือง จังหวดน่าน ท่านได้เข้ารับการอุปสมบทตั้งแต่อายุยังน้อย ซึ่งเมื่ออุปสมบทแล้ว ได้เป็นตัวแทน เข้าร่วมโครงการอบรมพระธรรมทายาทของวัดชลประทานรังสฤษฏ์ จังหวัดนนทบุรี ร่วมกับวัดสวน โมกขพลาราม จังหวัดสุราษฎร์ธานี หลังจากการอบรมโครงการพระธรรมทายาทแล้ว จึงเริม่ ปฏิบตั งิ าน พระธรรมทายาท (พระธรรมฑูต) ณ วัดอรัญญวาส จังหวัดน่าน และเริ่มออกประกาศเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาไปตามโรงเรียน หมู่บ้าน และชุมชนต่างๆ โดยอาศัยการทำ�งานเป็นหมู่คณะและประสานงาน ขอความร่วมมือจากหน่วยงาน เป็นระยะเวลาหนึง่ ต่อมาท่านได้จดั ตัง้ กลุม่ องค์การพัฒนา โดยรวบรวม บุคคลและหน่วยงานต่างๆ เช่น ส่วนราชการ ชาวบ้าน องค์กรสงฆ์ เข้าเป็นหน่วยการทำ�งานเดียวกัน โดยใช้ชอื่ ว่า “กลุม่ ฮักเมืองน่าน” เพือ่ ดำ�เนินกิจการด้านต่างๆ เช่น การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม อนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม ภาษา การละเล่นพืน้ บ้าน สนับสนุนให้มกี ารตัง้ กลุม่ ชมรมต่างๆ เป็นต้น ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระครูพทิ กั ษ์นนั ทคุณ เนือ่ งจากท่านได้ด�ำ เนินการตัง้ แต่ การรณรงค์ให้มีการอนุรักษ์ป่าไม้ ภูเขา แม่น้ำ�ลำ�ธาร ตลอดถึงพันธุ์สัตว์น้ำ� และประยุกต์พิธีกรรมทาง ศาสนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการอนุรักษ์ เช่น การบวชป่า ถวายผ้าป่าต้นไม้ ทำ�พิธีสืบชะตาแม่น้ำ� ถวายผ้าป่าพันธุป์ ลา การกันเขตลำ�น้�ำ เป็นเขตอภัยทาน ห้ามจับสัตว์น�้ำ ทุกชนิด จนสามารถฟืน้ ฟูแหล่ง น้ำ�ที่เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ� ให้สัตว์น้ำ�มาอาศัยชุกชุม ขยายเขตอนุรักษ์จนทั่วทุกอำ�เภอในเขต จังหวัดน่าน ซึ่งทุกวิธีเป็นเพียงกุศโลบายให้คนเห็นความสำ�คัญ รักและหวงแหนป่าไม้ แม่น้ำ�ลำ�ธาร และสัตว์น้ำ�มากขึ้น
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
61
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระครูวิมลปัญญาคุณ วัดป่าศรีแสงธรรม จังหวัดอุบลราชธานี พระครูวิมลปัญญาคุณ เจ้าอาวาสวัดป่าศรีแสงธรรม ก่อตั้งโรงเรียนศรีแสงธรรม ในปี ๒๕๕๓ เปิดสอนทัง้ ม.ต้น-ปลาย ทีบ่ า้ นดงดิบ อำ�เภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี โรงเรียนแห่งนีม้ โี จทย์มา จาก “ความขาดแคลน” ซึง่ เป็นปัญหาใหญ่ของคนทัง้ ประเทศ โดยท่านได้น�ำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง หลักธรรม และเทคโนโลยี มาผสมผสาน เพื่อเป็นต้นแบบในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จำ�กัดให้เกิดความสมดุลต่อชีวติ และสิง่ แวดล้อม เพือ่ หวังว่าคำ�ตอบจากการสร้างโรงเรียนแห่งนีจ้ ะเป็น มีส่วนในการช่วยชาติ นั่นคือ การผลิตคนดีเข้าสู่สังคม ผลงานด้านการสาธารณสงเคราะห์ของพระครูวมิ ลปัญญาคุณ ท่านให้ความสำ�คัญเรือ่ งพลังงาน ทดแทน ท่านใช้แผ่นโซลาเซลล์เก่าๆ ทดลองใช้ในรูปแบบที่ชาร์จมือถือ โคมไฟ และได้พัฒนาต่อย อดเข้าประกวดโครงการงานต่างๆ ได้รับรางวัล จนสามารถติดตั้งโซลาเซลล์ขนาด ๖ กิโลวัตต์เพื่อ ใช้ผลิตไฟฟ้าทั้งหมด และประยุกต์ตู้น้ำ�ดื่มพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องสูบน้ำ�พลังแสงอาทิตย์เข้า แปลงผัก และท่านได้ชว่ ยเหลือชุมชนโดยนำ�โซลาเซลล์ประยุกต์ใช้กบั การเกษตร เช่น โซลาเซลล์เคลือ่ นที่ “รถเข็นผลิตไฟฟ้าชุดนอนนา” ทีส่ ามารถใช้กบั เครือ่ งสูบน้�ำ และเครือ่ งใช้ไฟฟ้า รวมถึงการติดตัง้ ระบบไฟฟ้า ออฟกริด ๓,๐๐๐ วัตต์แก่สำ�นักสงฆ์พุทธอุทยานเขาคอก จังหวัดบุรีรัมย์ และระบบสูบน้ำ�ลึกพลังแสง อาทิตย์เพื่อใช้ระบบประปาหมู่บ้านที่ติดตั้งให้กับสองหมู่บ้านในอำ�เภอพิบูลมังสาหาร และอำ�เภอ สว่างวีรวงศ์ซึ่งสามารถบรรเทาความเดือดร้อนให้กับชาวบ้านอีกด้วย นอกจากนี้ท่านยังประดิษฐ์ รถยนต์ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์หรือโซลาร์เซลล์ ทีไ่ ด้รบั การประสานจากทางโรงครัวท้องสนามหลวง ว่าต้องการรถขนส่งอาหาร เพื่อบริการประชาชนที่เดินทางมาสักการะพระบรมศพพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งรถคันนี้ใช้งบประมาณในการประดิษฐ์ ๑๔๗,๐๐๐ บาท และ รถไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์คันนี้สามารถทำ�ความเร็วได้ ๔๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง บรรทุกน้ำ�หนักได้ ๕๐๐ กิโลกรัม ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าขนาด ๘๐๐ วัตต์ ใช้แผงโซลาร์เซลล์ จำ�นวน ๔ แผง และ สามารถชาร์ตแบตเตอรี่ด้วยระบบไฟฟ้าปกติ 62
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระครูโพธิวีรคุณ (สมศรี คุณวีโร) วัดโพธิการาม จังหวัดร้อยเอ็ด พระครูโพธิวีรคุณ (สมศรี คุณวีโร) เจ้าอาวาสวัดโพธิการาม ท่านได้อุปสมบทเมื่อปี ๒๕๓๒ ปัจจุบันท่านดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะอำ�เภอปทุมรัตต์ เมื่อวัยเด็กท่านได้ติดตามครอบครัวและพระปู่ เข้าวัดเป็นประจำ� จนซึมซับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและเห็นว่าสามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ให้เกิด ประโยชน์แก่ชมุ ชน ทัง้ ด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคมได้ ท่านจึงได้ศกึ ษาเรียน รูใ้ นห้องเรียนและนอกห้องเรียนจนสำ�เร็จในระดับชัน้ ปริญญาตรีพทุ ธศาสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย แล้วกลับไปภูมลิ �ำ เนาเดิมทีจ่ งั หวัดร้อยเอ็ด ด้วยความพร้อมทัง้ ความรู้ ความมัน่ ใจ และความตั้งใจที่จะพัฒนาชุมชนตั้งแต่วัยเด็ก ผลงานสาธารณสงเคราะห์ของพระครูโพธิวรี คุณ ท่านได้เป็นผูน้ �ำ พัฒนาให้วดั โพธิการามเป็นศูนย์ การเรียนรูข้ องชุมชน สังคมแห่งการเรียนรูต้ น้ แบบ ได้แก่ การจัดตัง้ ศูนย์การเรียนชุมชนเฉลิมพระเกียรติ วัดโพธิการาม ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนเฉลิมพระเกียรติวัดโพธิการาม จัดตั้งกองทุนหมู่บ้าน ศูนย์ อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดวัดโพธิการาม ศูนย์เรียนรู้มหาวิทยาลัยชีวิตร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนคร ร้านจำ�หน่ายสินค้าชุมชน “เซาเซ็น” และจัดตั้งกลุ่มการพัฒนาอาชีพต่างๆ ที่สอดคล้องกับ วิถีชีวิตของชาวบ้าน ซึ่งท่านถือเป็นผู้นำ�การพัฒนาและความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นกับชุมชน โดยได้ ริเริ่มโครงการใหม่ๆ อยู่เสมอ
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
63
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระครูอดุลย์คุณาธาร (หวล) วัดนิคมประทีป จังหวัดตรัง พระครูอดุลคุณาธาร ฉายา ขนฺตโิ ก เกิดเมือ่ วันจันทร์ ที่ ๓๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ ปัจจุบนั อายุ ๙๐ ปี พรรษา ๗๐ วิทยฐานะ นักธรรมเอก, เปรียญธรรม ๔ ประโยค วัดนิคมประทีป จังหวัดตรัง ปัจจุบนั ดำ�รงตำ�แหน่ง เจ้าอาวาสวัดนิคมประทีป, ทีป่ รึกษาเจ้าคณะอำ�เภอปะเหลียน บรรพชา เมือ่ วันที่ ๒๔ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ วัดโพธาราม จังหวัดตรัง โดยมี พระครูสทิ ธารามกรณีย์ พระอุปชั ฌาย์ และอุปสมบท เมือ่ วันที่ ๒ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ โดยมีพระครูอดุลย์ธารคณาธร วัดควน เป็นพระอุปชั ฌาย์ ผลงานด้านสาธารณสงเคราะห์ ของพระครูอดุลคุณาธาร ท่านเคยดำ�รงตำ�แหน่ง เป็นเจ้าคณะ ตำ�บลโคกหล่อ เป็นเจ้าอาวาสวัดนิคมประทีป เป็นพระอุปชั ฌาย์ประเภทสามัญ เป็นเจ้าคณะอำ�เภอ ปะเหลียน อำ�เภอปะเหลียน และเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอปะเหลียน จังหวัดตรัง มาตามลำ�ดับ ท่านเป็นเป็นผู้จัดการโรงเรียน และเจ้าของโรงเรียนธรรมประทีป (แผนกสามัญศึกษา) เป็นผู้ดำ�เนิน การก่อสร้างศาลาการเปรียญลักษณะทรงไทยประยุกต์ งบประมาณเป็นเงิน ๑๓,๖๑๒,๐๑๓ บาท ซือ้ ทีด่ นิ ขยายวัดเนือ้ ทีห่ า้ ไร่ จำ�นวนเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท เพือ่ พัฒนาพืน้ ทีว่ ดั รับรองพุทธศาสนิกชน เป็น ผูน้ �ำ ในการการพัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลางชุมชน เป็นทีร่ วมจิตใจของประชาชนในละแวกใกล้เคียงและ รอบนอก โดยมีสถิตปิ ระชาชนมาบำ�เพ็ญบุญเป็นจำ�นวนมากตลอดปี โดยเฉพาะวันสำ�คัญทางศาสนา ด้านเสนาสนะก็พยายามปรับปรุงจนมีความสัปปายะทัง้ วัด และเพียงพอในการพักอาศัยของพระภิกษุ สามเณร พื้นที่บริเวณวัด รักษาความสะอาดเรียบร้อย มีการปลูกต้นไม้ ไม้ยืนต้น ปรับพื้นที่บริเวณ ลานวัดโดยตกแต่งถมดินให้มีระดับสูงขึ้นเพื่อป้องกันน้ำ�ท่วม และจัดสภาพแวดล้อมภายในวัดให้เกิด ความร่มรืน่ สะอาดเรียบร้อยสวยงามเหมาะกับการบำ�เพ็ญกุศล และเป็นแรงดึงดูดให้พทุ ธบริษทั เข้าวัด มากยิง่ ขึน้ มีการอนุรกั ษ์เขตโบราณสถานซึง่ มีความสำ�คัญเป็นแหล่งศิลปกรรมท้องถิน่ โดยเฉพาะอุโบสถ ศิลปะแบบไทยพืน้ ถิน่ ปักษ์ใต้อายุรว่ มร้อยปี พระพุทธรูปเก่าแก่ และภาพเขียนสีโบราณ ซึง่ พระองค์เจ้า เฉลิมพลทิฆมั พร กรมพระนครสวรรค์วรพินติ เป็นผูน้ �ำ มาถวาย เมือ่ เกือบร้อยปีทผ่ี า่ นมา และเป็นผูน้ �ำ ประสานศรัทธาสาธุชน ในการช่วยเหลือประชาชนเมือ่ มีสาธารณภัยเกิดขึน้ ในพืน้ ทีเ่ สมอมา 64
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระครูอมรชัยคุณ (อมรปญฺโญ) วัดสุชัยคณาราม จังหวัดนครราชสีมา พระครูอมรชัยคุณ (อมรปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดสุชัยคณาราม ตำ�แหน่งด้านการปกครอง ท่านดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะตำ�บลสีค่ วิ้ เขต ๑ และเป็นประธานศูนย์เรียนรูว้ ดั อาศรมธรรมทายาท และ เป็นผู้อำ�นวยการศูนย์ปฏิบัติธรรมและธรรมศึกษาประจำ�ตำ�บลสี่คิ้ว และเป็นคณะกรรมการสุขภาพ แห่งชาติ (คสช.) ผลงานสาธารณสงเคราะห์ของพระครูอมรชัยคุณ ท่านได้เข้ารับพระราชทาน “เสาเสมาธรรมจักร” จากสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในงานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในวันวิสาขบูชาประจำ�ปี ๒๕๕๕ ท่านได้จัดทำ�โครงการสวัสดิการชุมชนอย่างยั่งยืน และจัดทำ� โครงการอนุรักษ์ป่าเพื่อชาวโคราช และจัดทำ�โครงการสถาบันพระสังฆพัฒนาโคราช รวมถึงโครงการ ถอดองค์ความรู้เครือข่ายพระสงฆ์เพื่อการจัดสวัสดิการชุมชนอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ท่านก่อตั้ง “อาศรมธรรมทายาท” เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๖ ได้มีการขยายพื้นที่ของวัดในปี ๒๕๕๓ มี การสร้างอาคารสถานที่ให้เหมาะสมกับการจัดศาสนพิธี และพัฒนาเป็น “ศูนย์เรียนรู้” และได้รับการ จดทะเบียนรับรองเป็นองค์กรสาธารณะประโยชน์จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ เมื่อปี ๒๕๕๑ ดำ�เนินกิจกรรมตามเป้าหมายเพื่อการพัฒนาชุมชน สังคมและกลุ่มองค์กร ต่างๆ ให้มคี วามเข้มแข็ง มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีม่ นั่ คง โดยการนำ�ศาสนธรรม การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาวิถีชีวิตและชุมชนแบบยั่งยืน
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
65
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระครูสุวรรณโพธิวรธรรม (มนัส ขนฺติธมฺโม) วัดโพธิ์ทอง จังหวัดจันทบุรี พระครูสุวรรณโพธิวรธรรม (มนัส ขนฺติธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ทอง ตำ�บลแสลง อำ�เภอเมือง จังหวัดจันทบุรี เป็นผู้ก่อตั้งกลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์จันทบุรี เนื่องจากท่านได้ศึกษาแนวคิดการทำ�งาน กลุม่ ออมทรัพย์ของครูชบ ยอดแก้ว รวมทัง้ ได้ไปศึกษาดูงานกลุม่ สัจจะออมทรัพย์ของพระสุบณ ิ ปณีโต ณ วัดไผ่ล้อม จังหวัดตราด จึงนำ�มาต่อยอดทางความคิดพัฒนาปรับใช้ให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ ในจังหวัดจันทบุรี ส่งผลให้คุณภาพชีวิตคนในชุมชนดีขั้น ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเอง ได้ นอกจากนี้ท่านมีบทบาทสำ�คัญในการขับเคลื่อนงานสวัสดิการชุมชน อาทิ เป็นคณะกรรมการ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมทั่วประเทศ ผู้ทรงคุณวุฒิคณะกรรมการขับเคลื่อนสวัสดิการชุมชน จังหวัดจันทบุรี และเป็นคณะทำ�งานพิจารณากลั่นกรองพื้นที่กองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดจันทบุรี เป็นต้น ผลงานของท่านมีส่วนสำ�คัญในการพัฒนาชุมชนให้มีสุขภาวะที่ดียิ่งขึ้น
66
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
พระสุบิน ปณีโต วัดไผ่ล้อม จังหวัดตราด พระสุบนิ ปณีโต ผูร้ เิ ริม่ ก่อตัง้ กลุม่ สัจจะออมทรัพย์ทแี่ ผ่ขยายครอบคลุมในจังหวัดตราด ภายใต้ชอื่ “เครือข่ายสัจจะออมทรัพย์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตครบวงจร จังหวัดตราด” ท่านเกิดเมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๖ ในครอบครัวของชาวเกษตรกรจังหวัดตราด และได้เข้ารับการอุปสมบทเมื่อ อายุครบ ๒๐ ปี หลังจากนัน้ จึงได้เริม่ ศึกษาเรียนรูท้ างธรรมเรือ่ ยมา และพบว่าหลักธรรมทางพระพุทธ ศาสนาสามารถพัฒนาคุณภาพชีวติ มนุษย์ได้ หลังจากทีท่ า่ นได้เผยแผ่หลักธรรมจนคนในชุมชนจังหวัด สตูล สามารถลด ละ เลิกอบายมุขได้ ท่านจึงได้มสี ว่ นร่วมและริเริม่ โครงการต่างๆ แต่ได้ให้ความสำ�คัญ ในเรื่องของการออมทรัพย์ เนื่องจากในเวลานั้นประชาชนยังมองไม่เห็นถึงผลประโยชน์ระยะยาว จากการออมและไม่มีการรวมตัวกันแต่อย่างใด จึงได้ศึกษาค้นคว้า โดยมีเอกสารของครูชบ ยอดแก้ว เป็นข้อมูลหลัก ด้วยระยะเวลาการศึกษาอย่างยาวนาน จึงได้นำ�หลักธรรม “ทิฎฐธัมมิกิตถประโยชน์” ซึ่งเป็นหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สอนให้สร้างประโยชน์ในปัจจุบันก่อน มาเป็นแนวทางในการ ตั้งกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ เพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน โดยใช้ “สัจจะ” เป็นฐานร่วมอันสำ�คัญของทุกคน ทำ�ให้กลุม่ สัจจะออมทรัพย์มคี วามเข้มแข็งเป็นแบบอย่างทีด่ ขี องการ สร้างความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจ และจิตใจ แล้วจึงจัดตั้งกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ขึ้น แต่ก็มีบางกลุ่ม สัจจะออมทรัพย์ที่ไม่ประสบผลสำ�เร็จ เนื่องจากประชาชนไม่มีความไว้วางใจซึ่งกันและกัน ท่านจึงได้ ทำ�การเทศน์สอดแทรกแนวคิดในเรื่องกลุ่มสัจจะออมทรัพย์เพื่อให้ความรู้พื้นฐานแก่ประชาชนก่อน ในขั้นแรกของการจัดตั้งกลุ่มเรื่อยมา
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
67
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีภารกิจหน้าทีใ่ นการจัดทำ�แผนแม่บท วางมาตรการ ส่งเสริม สนับสนุน การป้องกัน บรรเทาและฟื้นฟูจากสาธารณภัย โดยกำ�หนดนโยบายด้านความปลอดภัย สร้างระบบป้องกัน เตือนภัย ฟืน้ ฟูหลังเกิดภัย และการติดตามประเมินผล เพือ่ ให้หลักประกันในด้าน ความมัน่ คงปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ซึง่ บุคลากรจากหน่วยงานเหล่านีจ้ ะเป็นน้�ำ หนึง่ ใจเดียวกันใจ การปฏิบตั งิ านป้องกัน บรรเทา และฟืน้ ฟู ด้วยระบบการบริหารจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ และ เกิดผลสัมฤทธิใ์ นการลดความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ จากสาธารณภัยทุกประเภทอย่างเป็นรูปธรรม ส่วนราชการ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประกอบด้วย สำ�นักผูต้ รวจราชการกรม สำ�นักงานเลขานุการกรม กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กองมาตรการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กองส่งเสริม การป้องกันสาธารณภัย ศูนย์อ�ำ นวยการบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์เตือนภัยพิบตั แิ ห่งชาติ สำ�นักช่วยเหลือ ผูป้ ระสบภัย สำ�นักวิจยั และความร่วมมือระหว่างประเทศ กองบูรณาการความปลอดภัยทางถนน เป็นต้น รวมถึงในส่วนภูมภิ าค ได้แบ่งเขตพืน้ ทีก่ ารรับผิดชอบเป็น ๑๘ กลุม่ จังหวัด ได้แก่ ศูนย์ปอ้ งกันและบรรเทา สาธารณภัยเขต ๑-๑๘ (เขต ๑ ปทุมธานี, เขต ๒ สุพรรณบุร,ี เขต ๓ ปราจีนบุร,ี เขต ๔ ประจวบคีรขี นั ธ์, เขต ๕ นครราชสีมา, เขต ๖ ขอนแก่น, เขต ๗ อุบลราชธานี, เขต ๘ กำ�แพงเพชร, เขต ๙ พิษณุโลก, เขต ๑๐ ลำ�ปาง, เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี, เขต ๑๒ สงขลา, เขต ๑๓ อุบลราชธานี, เขต ๑๔ อุดรธานี, เขต ๑๕ เชียงราย, เขต ๑๖ ชัยนาท, เขต ๑๗ จันทบุร,ี เขต ๑๘ ภูเก็ต) อีกทั้งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ยังเตรียมความพร้อมในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยด้วยการพัฒนาทรัพยากรบุคคลโดยมี สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย และวิทยาเขตต่างๆ ในส่วนภูมภิ าค (วิทยาเขตปทุมธานี, วิทยาเขตขอนแก่น, วิทยาเขต เชียงใหม่, วิทยาเขตปราจีนบุร,ี วิทยาเขตพิษณุโลก, วิทยาเขตภูเก็ต, วิทยาเขตสงขลา) เมือ่ มีกรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย เป็นหน่วยงานหลักในการจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ ซึง่ จะเป็นศูนย์กลาง ในการพัฒนาประสิทธิภาพระบบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพือ่ ให้ประชาชนได้รบั การดูแล เอาใจใส่ ให้มคี วามปลอดภัย และไม่ได้รบั ความสูญเสียด้านชีวติ และทรัพย์สนิ ทีส่ บื เนือ่ งจากสาธารณภัย 68
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
เพชรงามการสาธารณสงเคราะห์ 2561
บริษัท เนเจอร์กิฟ จ�ำกัด โดย ดร.กฤษฎา จ่างใจมนต์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เนเจอร์กิฟ จำ�กัด ได้ก่อตั้ง บริษัท เนเจอร์กิฟ จำ�กัด ขึ้นมาเพื่อเป็นบริษัทผู้ผลิตสินค้าเพื่อสุขภาพชั้นนำ�ของโลก ควบคู่ไปกับการ ช่วยเหลือสังคมในด้านต่างๆ ตามอุดมการณ์ของ ดร.กฤษฎา จ่างใจมนต์ ที่ต้องการช่วย ผู้คนให้พ้น จากความทุกข์กาย ทุกข์ใจ บริษัท เนเจอร์กิฟ จำ�กัด และครอบครัว ดร.กฤษฎา จ่างใจมนต์ ได้ให้ความช่วยเหลือสังคม ในด้านต่างๆ มาอย่างต่อเนื่องยาวนาน เช่น ในด้านสังคมสงเคราะห์ ได้บริจาคเงิน สร้างโรงพยาบาล และซื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์ เพื่อสงเคราะห์ผู้ป่วย ตลอดจนบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ต่างๆ เป็นเงินรวมแล้วกว่า ๒๘ ล้านบาท เช่น เมือ่ ปลายปี ๒๕๖๐ ได้บริจาคเงินจำ�นวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท (สองล้ า นบาทถ้ ว น) ให้ แ ก่ โ ครงการ “ปั น น้ำ � ใจสู่ ผู้ ป ระสบภั ย น้ำ � ท่ ว ม” ฝ่ า ยสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม เป็นต้น ในด้านการศึกษา ได้ให้ทนุ การศึกษา ทัง้ ทางโลก และทางธรรม ได้บริจาค เงินให้สถาบันการศึกษา ทั้งทางโลก และทางธรรม เป็นเงินรวมกันกว่า ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ ล้านบาท ในด้านการสร้างศาสนสถานต่างๆ เช่น การสร้างโบสถ์ วิหาร เจดีย์ สร้างพระพุทธรูป สร้างที่พักสงฆ์ และอาคารปฏิบัติธรรม รวมทั้งเป็นประธานฝ่ายฆราวาสในการสร้างพุทธมณฑล ประจำ�จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เป็นต้น ดร.กฤษฎา จ่างใจมนต์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เนเจอร์กิฟ จำ�กัด ได้รับรางวัลดังนี้ พ.ศ. ๒๕๕๔ รางวัล “พุทธคุณูปการ กาญจนเกียรติคุณ” จากสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รับ รางวัล “ผู้นำ�พุทธโลก” พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับรางวัล “เหมราช” บุคคลต้นแบบ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับรางวัล “พุทธศาสนทูตแห่งโลก” พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รบั รางวัล “บุคคลตัวอย่าง ในภาคธุรกิจอาหาร และเครือ่ งดืม่ ” จากมูลนิธิ สภาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้รับรางวัล “วิศวจุฬา ดีเด่น” พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับรางวัล “ระฆังทอง” บุคคลดีเด่นแห่งปี, รางวัล “คนดีศรีสยาม”, รางวัล “ธรรมาภิบาลธุรกิจดีเด่นระดับจังหวัด”, จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
69
ต้ศูนย์นการเรี แบบ ยนรู้
สุขภาวะตามแนว พระพุทธศาสนา
70
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
ศูนย์การเรียนรู้ธรรมชาติเพื่อการเสริมสร้าง สุขภาวะตามแนวพระพุทธศาสนา ป่าชุมชนดงทำ�เล-ดอนใหญ่ บ้านหนองบั่ว จังหวัดร้อยเอ็ด
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและสุขภาวะ วิถีพุทธจังหวัดขอนแก่น
ศูนย์การเรียนรู้สุขภาวะผู้สูงอายุตามแนว พระพุทธศาสนาจังหวัดสุรินทร์
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาวะภายใต้หลักภาวนา 4 ของพระสงฆ์จังหวัดพิจิตร
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม
71
คณะผู้จัดทำ� ที่ปรึกษา พระพรหมวชิรญาณ พระสุธีรัตนบัณฑิต รศ.ดร. ดร.สายพิรุณ เพิ่มพูล นพ.ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์ บรรณาธิการ พระมงคลวชิรากร กองบรรณาธิการ พระครูศรีวชิรวงศ์ พระมหาชาครินทร์ กิตฺติเมธี พระมหาเป็นเกียติ กิตฺติวิสุทฺโธ นายณฐ ทะสังขา นายภูเบศ วณิชชานนท์
พระครูปลัดสุวัฒนวชิรคุณ พระมหาเอก เมธิกญาโณ พระมหาศิริชัย สิรินฺทญาโณ นายสายชล ปัญญชิต นางสาวนัชชา ทากุดเรือ
สนับสนุนการจัดพิมพ์โดย โครงการพัฒนาสุขภาวะและการเรียนรู้ตามแนวพระพุทธศาสนา สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ติดต่อประสานงาน สำ�นักงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม เลขที่ 40 วัดยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร โทร. ๐๒ ๖๗๒ ๓๒๑๖ โทรสาร 02 672 3206 FB: ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม ติดต่อขอสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อการพัฒนางานสาธารณสงเคราะห์และสุขภาวะตามแนวพระพุทธศาสนา โครงการพัฒนาสุขภาวะและการเรียนรู้ตามแนวพระพุทธศาสนา สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย Website: www.buddhistfordev.com FB: ชุดโครงการวิจัยพระพุทธศาสนาเพื่อสังคม มจร คุณพงษ์พัฒน์ ใหม่จันทร์ดี ผู้ประสานงานโครงการ 06-1919-4087 72
คู่มือการปฏิบัติงานฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม