5 Smart Steps for tax payment

Page 1

เงินทองของต้ องรู้ Five Simple Steps To Easy Tax

ดีจงั เลยน้ าเธอ ที่เรารู้ เรื่อง ภาษี คานวณได้ ก่อน ภาษี เหรอ เรื่อง เล็ก ไม่ ต้ องสนใจ หรอก

ว่า ปี นี้ ต้ อง จ่ าย ประมาณเท่ าไร เลยไปซื้อ

แค่ท้าย ปี จ่ าย ภาษี แค่ 3-4 หมื่นเอง

กองทุนรวมไว้ นอกจากได้ มีเงินออกเก็บไว้ใช้

นิดหน่ อย +__+

แล้วยังลดหย่ อนภาษีได้ด้วย จ่ ายภาษี 3000 เอง อ่า

เคล็ดลับดีๆ จาก พี่ส่ ูน้อง จาก เครื อข่ ายแพทย์ ยุคใหม่ ใส่ ใจใฝ่ รู้ ส่ ู การสร้ างสรรค์ ส่ งิ ดีๆ ให้ สังคม


เงินทองของต้ องรู้ Five Simple Steps To Easy Tax ทางาน หนักอยูเ่ วรก็เหนื่อยมาทัง้ ปี กลับ ต้ องเสียภาษีกนั ทีหลายหมื่น แต่หาก ให้ เวลา ดูเรื่ องภาษีกนั ดีสกั นิดเรา อาจ เอาเงินไปลงทุนที่ได้ ผลตอบแทนดีแทนที่จะต้ องเสียภาษี หวั โตกันเลยทีเดียว ก่อน อื่นๆ ต้ องขอออก ตัวก่อนเลยนะค่ะ ว่าเป็ นคนที่พื ้นฐานการเงินอ่อนมาก ^_^ แต่เนื่องจากว่าปี นี ้เป็ น ปี แรกที่พวกเราๆจะต้ องเสียภาษีกนั ข้ อมูล ที่ นามา ไป อ่านจาก website ต่างๆ แล้ ว นามา modified ตาม ความ เข้ าใจนะค่ะ โปรดใช้ วิจารณณาญ ในการ อ่าน ถ้ า ผิด ตรงไหน ขออภัย ล่วงหน้ า น้ าค้ า หาก อยากช่วย แบ่งปั น แก้ ไขข้ อมูลเพิ่ม จะส่ง เข้ ามาที่ email ท้ ายบทความได้ เลยค่ะ หลายคนอาจจะอ่านมาบ้ าง เป็ นหลักการซะเป็ นส่วนใหญ่ แต่ พอทาเองจริงๆ แล้ วงงใช่ไหมค่ะ งัน้ เรามาทา ไป พร้ อมๆกันเลย ค่ะ โดย เราจะ case ตัวอย่างมาให้ ทกุ คน ดูตงแต่ ั ้ step 1-5 รับรองอ่านเสร็จ เข้ าใจ แน่นอน เรา สมมุติ ให้ พญ. สวยมาก ดวงเย็น มาร่วมคานวณ เรื่ องเงินๆทองๆกับเราในวันนี ้ค่ะ (ทาตัวอย่าง อยูใ่ นกรอบ) ศัพท์ พนื ้ ฐานที่ต้องรู้ ก่ อนจะเริ่ม เงินที่เสียภาษี แบ่งเป็ น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ 1. ภาษีท่ ห ี ักและนาส่ งไว้ (หรื อหัก ณที่จา่ ย ) คือ ตอนที่ เขาจ่ายเงินเดือน เรา เขา จะ หักเงิน เก็บไว้ สว่ น

หนึง่ เอาไว้ จา่ ยเป็ นภาษี ให้ เรา เลย 2. ภาษีท่ ต ี ้ องจ่ ายจริงๆ คือ เราได้ ของเราร่วมทังหมดทั ้ งสิ ้ ้น - กับส่วนที่ เราสามารถลดหย่อนได้ (เช่น ซื ้อ

กองทุน ซื ้อประกันชีวิตไว้ เท่าไร) แล้ วเอา เงินก้ อนนัน้ มาเข้ าสูตรการคิดภาษี ที่ไล่เป็ น % จะออกมา เป็ นเงิน ภาษี ที่ต้องจ่ายจริงๆ เมื่อได้ เงินภาษีที่ต้องจ่ายจริงๆ แล้ ว ก็เอามาเทียบดูกบั ยอดภาษี ที่หกั และนาส่งไว้ หาก ยอดที่หกั ไว้ เกิน เราจะ ได้ เงิน คืน แต่หากว่า ยอดที่หกั ไว้ ยงั ไม่พอเราก็ต้องไปจ่ายภาษีเพิ่มส่วนที่ ยังไม่ได้ จา่ ย Overview 5 steps มีดังนี ้ ค่ ะ Step 1 : ประเภทของรายได้ และการเลือกแบบฟอร์ มภาษีเงินได้ (ภ.ง.ด.) Step 2 : การคานวนรายได้ สทุ ธิที่ต้องนามาคิดภาษี Step 3 : การคานวนภาษีจากเงินได้ สทุ ธิสาหรับเสียภาษี Step 4 : การเลือกประเภทของการลดหย่อนภาษี เพิ่มเติม


Step 5: การยื่นแบบฟอร์ มภาษีเงินได้ และการจ่ายภาษี

Step 1 : ประเภทของรายได้ และการเลือกแบบฟอร์ มภาษีเงินได้ (ภ.ง.ด.) เงินได้ พงึ ประเมิน (เรี ยกง่ายๆรายรับทังหมดที ้ ่เรามีที่ ต้ องนาไปคิดภาษี ) ที่เกี่ยว ข้ องกับวิชาชีพ เรามี 3 มาตรา คือ ชีแ้ จง : มาตรา 40(1)เงินเดือนหรื อ เงินค่าจ้ างใดๆ จากโรงพยาบาลที่เป็ นนายจ้ างประจา , มาตรา 40(2) เงิน ค่าจ้ างจากนายจ้ างชัว่ คราว เช่นแพทย์ที่เป็ นลูกจ้ างโรงพยาบาลรัฐบาลไปรับจ้ างอยูเ่ วรชัว่ คราวที่โรงพยาบาล เอกชน มาตรา 40(6)เงินที่ได้ จากการทางานอิสระส่วนตัวไม่ได้ เป็ นลูกจ้ างใครเช่น เปิ ด clinic ส่วนตัว, เช่าที่ โรงพยาบาลทา clinic นอกเวลาของตนเอง) มาตรา 40(6) มีความสาคัญเนื่องจากเพียง 40% ของรายได้ จาก 40(6) เท่านันที ้ ่จะนาไปคิดภาษี แต่ 40(1) และ 40(2) ใช้ คดิ 100% ข้ อชีแ้ จง มาตรา 40(1)เงินเดือนค่าจ้ าง เพิ่มเติม ว่าเอามาจากไหน 1. เดือนข้ าราชการของเรา ประมาณ 10,900 บาท 2. เงิน พตส.(ค่าตอบแทนกาลังคนด้ านสาธารณสุข) ประมาณ 2000-3000 บาท ต่อเดือน 3. เงิน 10,000 ค่า ไม่ ทา clinic ตัวเอง หรื อ รพ . เอกชน >>>> ถ้ า ทา ก้ อ จะ ทากับ เราได้ เงิน จาก มาตารา 40 (2) หรื อ 40(6) แทนจะไม่ได้ เงินหมื่น 4. เงิน OT ค่า เวร ward ,ER ที่ เกิดขึ ้น และจ่ายเงิน จาก รพ รัฐ ที่เราทางานอยู่ การเลือกฟอร์ มภาษี เงินได้ ให้ ตรงกับประเภทรายได้ ของเรา 1. แพทย์ที่ได้ คา่ จ้ าง (เงินเดือน + OT) จากโรงพยาบาลซึ่งเป็ นนายจ้ างประจาเพียงโรงพยาบาลเดียว ไม่วา่ รัฐ หรื อเอกชน คือแพทย์ที่มีรายได้ เฉพาะจากมาตรา 40(1) เวลายื่นแบบเสียภาษี จะใช้ ฟอร์ ม ภ.ง.ด. 91 (ส่วน ใหญ่ แพทย์ใช้ ทนุ ปี หนึง่ น่าจะเป็ น ข้ อนี ้ค่ะ) 2. แพทย์ที่ได้ เงินจากทังโรงพยาบาลที ้ ่เป็ นนายจ้ างประจาและที่เป็ นนายจ้ างชัว่ คราว หรื อมีรายได้ จากการ ประกอบอาชีพอิสระเป็ นนายตนเองไม่มีนายจ้ าง (ได้ รายได้ จาก 40(1), 40(2), 40(6)) เช่น ทางานรพ.รัฐ และไป อยู่ พิเศษที่เอกชน หรื อเปิ ดคลินิกของตัวเอง เวลายื่นแบบเสียภาษี จะใช้ ฟอร์ ม ภ.ง.ด. 90 ตัวอย่ าง : คุณ หมอ สวยมาก ไป เช็ครายได้ มา (ช่ วงใกล้ เสียภาษี หรือเดือนมีนาคมของทุกปี ทาง โรงพยาบาลจะส่ งข้ อมูลรายได้ ทงั ้ หมดจาก มกราคม ถึง ธันวาคม ไปให้ ลูกจ้ างทุกคนเพื่อใช้ ในการ คานวนภาษีคะ) สรุปว่ ามี เงินเดือนจากโรงพยาบาลจังหวัด (นายจ้ างประจา) รวม 12,000 บาท ต่ อเดือน รวม 144,000 บาทต่ อปี


เงินค่ าอยู่เวรนอกเวลาราชการที่โรงพยาบาลจังหวัดรวม 20,000 บาท ต่ อเดือน รวม 240,000 บาทต่ อปี เงิน พตส. 20,000 บาทต่ อเดือน รวม 240,000 บาทต่ อปี เงินค่ าจ้ างที่ รับเป็ นที่ปรึษาปั ญหาสุขภาพของบริษัทครัง้ คราว (แบบนี ้ ถือ เป็ น 40(2) ) ประมาณ 20,000 บาทต่ อเดือน รวม 240,000 บาทต่ อปี คุณหมอมีรายได้ จากมาตรา 40(1), และ 40(2) รวมกัน จึงต้ องใช้ แบบฟอร์ ม ภ.ง.ด. 90

Step 2 : การคานวนรายได้ สุทธิท่ ีต้องนามาคิดภาษี ทุกคนที่มีรายได้ เกิน 50,000 บาทต่อปี จะต้ องเสียภาษี โดยที่ สามารถคานวนภาษี ได้ จากการกรอกแบบฟอร์ ม ภ.ง.ด. ไม่วา่ จะเป็ นทาง internet หรื อ download แล้ วพิมพ์ออกมากรอกด้ วยมือก็ได้ คะ เมื่อกรอกเสร็จก็จะทราบ จานวนเงินที่ต้องจ่ายหรื อต้ องได้ คืนทันทีเลย ช่วงที่ทกุ คนจะต้ องยื่นขอเสียภาษี คือเดือน มค.ถึง มีค.ของทุกปี การคานวนรายได้ สทุ ธิที่ต้องนามาคิดภาษี รายได้ สทุ ธิ =1. รายได้ รวมทัง้ หมด –2. เงินรายได้ ส่วนที่ได้ รับการยกเว้ น –3.ค่ าใช้ จ่าย-4.ค่ าลดหย่ อน หมายเหตุ ค่าใช้ จา่ ย ที่หกั ลดภาษีได้ ไม่ใช่รายจ่ายที่เราใช้ เงินไป จริงๆ แต่คือ 40% ของรายได้ ที่ไม่ได้ รับการ ยกเว้ น ในกรณีเป็ น 40(1) และ 40(2) หรือ 60% ของรายได้ ที่ไม่ได้ รับการยกเว้ นในกรณีเป็ น 40(6)) 1. รายได้ รวมดังเช่นที่กล่าวมาแล้ ว ในstep 1 2. เงินรายได้ สว่ นที่ได้ รับการยกเว้ นได้ แก่ (ส่วนมาก ถ้ า อาชีพ แพทย์ มัก จะมี กบข.เป็ นหลักค่ะ)  เงินสะสมกองทุนสารองเลี ้ยงชีพ  เงินสะสม กบข.  เงินสะสมกองทุนสงเคราะห์ครูโรงเรี ยนเอกชน  กรณียกเว้ นสาหรับผู้มีอายุ 65 ปี ขี ้นไป 3. ค่าลดหย่อน ผู้เสียภาษี 1 คนมีสิทธิ์ลดหย่อนคนละ 30,000 บาทเท่าเทียมกันทุกคนอยู่แล้ ว ทีนี ้ค่าลดหย่อนเพิ่มเติมที่เป็ นไปได้ มีดงั นี ้  การลดหย่อนเมื่อมีคสู่ มรสที่ไม่มีรายได้  มีบตุ รอายุไม่เกิน 25 ปี  เลี ้ยงดูบิดามารดาที่อายุมากกว่า 65 ปี และมีรายได้ สทุ ธิที่ต้องประเมินภาษีน้อยกว่า 30,000 บาท  เมื่อจ่ายเบี ้ยประกันสุขภาพให้ บดิ าและ/หรื อมารดาซึง่ มีรายได้ สทุ ธิที่ต้องประเมินภาษี น้อยกว่า 30,000 บาท


อุปการะเลี ้ยงดูคนพิการ  เบี ้ยประกันชีวิต  ค่าซื ้อหน่วยลงทุนรวมเพื่อเลี ้ยงชีพ  เงินบริจาค ต้ อง เป็ นสถานที่ๆ มีการรับรองจากสรรพากรแล้ วนะค่ะ ไม่ใช่ทกุ ที่สามารถลดหย่อนได้  ค่าเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ (ต้ อง เป็ น สถานประกอบการที่ลงทะเบียนไว้ กบั สรรพากรเท่านัน้ ถึง จะลดหย่อนได้ ) ลดหย่อนได้ ตามจริง แต่มากที่สดุ ไม่เกิน 15,000 บาท มาดูตัวอย่ างคุณหมอสวยมากกันต่ อ 1. รายได้ รวมทัง้ หมดในช่ วง 1 ปี คือ  เงินเดือนโรงพยาบาลจังหวัด (นายจ้ างประจา) 12,000บาท /เดือน รวม 144,000 บาทต่ อปี  เงินค่ าอยู่เวรนอกเวลาราชการที่โรงพยาบาลจังหวัด 20,000บาท/เดือน รวม 240,000 บาทต่ อปี  เงิน พตส. 20,000 บาทต่ อเดือน รวม 240,000 บาทต่ อปี  เงินค่ าจ้ างที่ รับเป็ นที่ปรึษาปั ญหาสุขภาพของบริษัทครัง้ คราว = 864,000 บาท 2. เงินได้ ท่ ไี ด้ รับการยกเว้ นของคุณหมอมีเงิน กบข. อย่ างเดียวคิดเป็ นเงิน 2,000 บาท 3. ค่ าใช้ จ่ายของคุณหมอคือ 40% ของรายได้ ท่ ไี ม่ ได้ รับการยกเว้ น (เนื่องจากรายได้ เป็ นประเภท 40(1) และ 40(2)) (40/100) x (864,000 – 2,000) = 344,800 บาท 4. ค่ าลดหย่ อนของคุณหมอมี ค่ าลดหย่ อนของตัวผู้เสียภาษีเอง 30,000 บาท (กาหนดตายตัวมาแล้ วจากสรรพากร) ค่ าเบีย้ ประกันชีวิต 28,500 บาท ค่ าลดหย่ อนเลีย้ งดูบิดา 30,000 บาท (เป็ นตัวเลขที่ทางกรมสรรพากรกาหนดไว้ อยู่แล้ วไม่ ได้ คิด ค่ าใช้ จ่ายการเลีย้ งดูตามจริงคะ) รวมค่ าลดหย่ อนทัง้ หมดเป็ น 88,500 บาท สรุปแล้ วเงินได้ สุทธิท่ ีต้องนามาคานวนภาษีคือ 864,000 – 2,000 – 322,800 – 88,500 = 428,700 บาท 

Step 3 การคานวนภาษีจากเงินได้ สุทธิสาหรั บเสียภาษี


จากตารางจะเห็นว่ารายได้ 150,000 บาทแรกได้ รับการยกเว้ นภาษี ส่วนที่เหลือนามาคานวนภาษีตามตาราง เรา มาดูตวั อย่างคุณหมอสวยมากกันเลยเพื่อให้ เข้ าใจได้ ง่ายขึ ้น คุณหมอสวยมากมีเงินสุทธิท่ ตี ้ องนามาคิดภาษี = 428,700 บาท (อยู่ในช่ วง 150,000-500,000) เงินสุทธิ ของคุณหมอเกิน 150,000 บาทอยู่ 278,700 บาท นาส่ วนที่เกินนีม้ าคิดภาษีซ่ งึ สรรพากรกาหนดไว้ ว่าเป็ น 10% ได้ เป็ น 27,870 บาท ถ้ ามีภาษีหัก ณ ที่จ่าย หมายถึงเงินที่นายจ้ างหักเอาไว้ ก่อนที่จะจ่ ายเงินเดือนให้ ลูกจ้ าง ให้ นาเงินส่ วนนี ้ มาหักออกด้ วย เช่ นโรงพยาบาลจังหวัดหักภาษี ณ ที่จ่ายจากเงินเดือนของคุณหมอไว้ เดือนละ 100 บาท แปลว่ า คุณหมอต้ องจ่ ายภาษีจริง 27,870-1,200 = 26,670 บาท หมายเหตุในกรณีที่รายได้ เกิน 500,000 บาทก็คดิ ภาษี ในส่วน 500,000 นี ้เป็ น 35000 บาทเต็มจานวน แล้ วนาเงิน ส่วนที่เหลือมาคิดภาษีขนถั ั ้ ดไปซึง่ คือ 20% ของเงินที่เหลือ

Step 4 เพิ่มเติม เกี่ยวกับการลดหย่ อนภาษี จาก ตัว อย่าง จะเห็นว่า คุณหมอสวยมาก ต้ องจ่ายภาษี สิ ้น ปี 26,670 บาท เป็ นจานวนพอสมควรเลยทีเดียว แต่ เราสามารถ บริหารเงินไปในการลงทุน หรื อ การออม อื่นๆ เพื่อสามารถ ลด หย่อน ภาษี เหล่านี ้เพิ่มได้ คาถามที่มักพบบ่ อย เกี่ยวกับการลดหย่ อนภาษี


1.อะไรบ้ างที่สามารถนามาลดหย่ อนภาษีได้ รัฐบาล จัดตังการลด ้ หย่อน เพื่อ ส่งเสริม การลงทุนและ อุสาหกรรมในประเทศ เช่น ค่าซื ้อหน่วยลงทุนรวมเพื่อเลี ้ยงชีพ การลดหย่อนค่าโรงแรมและที่พกั หรื อ เพื่อเพิ่ม ความปลอดภัยแก่ชีวิต , การส่งเสริมการออม เช่น ประกันชีวิต และการใช้ เงินไปในทางมนุษยธรรมจริยธรรม เช่น การอุปการะบิดามาดา การบริจาคเงินช่วยเหลือ ดังที่ได้ กล่าวมาแล้ ว แต่ ในครัง้ นี ้จะขอพูดถึงการลดหย่อนที่เรา สามารถ กาหนดการลงทุนเงินได้ คิอ 1. บิดามารดามีอายุเกิน 60 ปี และไม่มีรายได้ หรื อมีน้อยไม่พอกับการเลี ้ยงชีพ (หักได้ คนละ 30,000 บาท) 2. มีลกู (หักได้ คนละ 15,000 บาท ไม่เกิน 3 คน) - อันนี ้ยังไม่แนะนานะจ๊ ะ :D 3. LTF และ RMF หักได้ กองทุนละไม่เกิน 15% ของรายได้ และไม่เกิน 500,000 ต่อกอง (สาหรับ RMF จะต้ องไป รวมกับ กองทุนสารองเลี ้ยงชีพและ กบข.ด้ วย (ถ้ ามี)) 4. ประกันชีวิต หักตามจริ ง ไม่เกิน 100,000บาท 5. เงินบริจาค หักตามจริง ไม่เกิน 10% ของเงินได้ หลังหักค่าลดหย่อน 2.ซือ้ เท่ าไร ถึงจะพอ จริงๆ แล้ ว ขึ ้น กับความพอใจว่าเราต้ องการลดหย่อนภาษี จน เหลือ ภาษี ที่ ต้ องจ่ายเท่าไร เนื่องจากเงินได้ สุทธิ ที่เรา ต้ อง นาไป คิดในการเสียภาษีแบบก้ าวหน้ าใน step 3 เกิดจาก เงินได้ สุทธิ =1รายได้ รวมทัง้ หมด –2. เงินรายได้ ส่วนที่ได้ รับการยกเว้ น –3.ค่ าใช้ จ่าย-4.ค่ าลดหย่ อน และตามตาราง จากตารางจะเห็นว่ารายได้ 150,000 บาทแรกได้ รับการยกเว้ นภาษี ส่วนที่เหลือนามาคานวน ภาษีตามตาราง ดังนัน้ เราเลยยกตัวอย่างคุณหมอ สวยมากมายให้ ดเู ป็ น ตัวอย่าง ต่อ คุณหมอสวยมากมีเงินสุทธิท่ ตี ้ องนามาคิดภาษี = 428,700 บาท (อยู่ในช่ วง 150,000-500,000) เงินสุทธิ ของคุณหมอเกิน 150,000 บาทอยู่ 278,700 บาท นาส่ วนที่เกินนีม้ าคิดภาษีซ่ งึ สรรพากรกาหนดไว้ ว่าเป็ น 10% ได้ เป็ น 27,870 บาท คุณหมอสวยมาก คิดว่า อยากได้ การลดหย่อนภาษี เพิ่ม เพราะ เบี ้ยประกันภัยที่ ซื ้อไว้ ยังไม่ถึงเพดาน และ ยัง ไม่ได้ ซื ้อค่าซื ้อหน่วยลงทุนรวมเพื่อเลี ้ยงชีพ เลย เงินสุทธิของคุณหมอเกิน 150,000 บาทอยู่ 278,700 บาท คุญหมอ เลย ซื ้อ เบี ้ยประกันชีวิตอีก 71,500 บาท ( จน เต็มเพดาน 100,000 บาท ) และซื ้อ LTF เพิ่มอีก 100,000 บาท บริจาคเงินช่วยสินามิ (ต้ องเป็ นหน่วยงานที่สรรพากร รับรอง ดูได้ คาม website ,hotline 1161) อีก 20,000 บาท


ไปเที่ยวช่วย กระตุ้นเศรษฐกิจไทย โดยพักกับโรงแรมที่สรรพากร รับรอง อีก 20,000 บาท สรุป แล้ ว เหลือ เงินสุทธิที่เกิน 150,000 เดิม 278,700 -71,500 -100,000-20,000-20,000 =67,200 บาท นาเงินสุทธิ หลังจาก หักการลดหย่อน คือ 67,200 บาท มาคิดภาษี คือ 10 % ได้ เป็ นภาษีทงั ้ หมดที่ต้องจ่ ายคือ 6,720 บาท คาเตือน ตามชีวิต จริง ขันตอนนี ้ ้ มักจะไม่เกิด ขึ ้น เพราะ แพทย์มกั จะไม่มส่ใจภาษีเท่าที่ควร กว่าจะรู้ ตัว อีกที ก็คือ รู้วา่ เป็ น เงินที่จา่ ยแล้ ว จะย้ อนเวลากลับไปซื ้อกองทุน หรื อ ประกันชีวิต เพิ่ม ก็ไม่ทนั แล้ ว ดังนัน้ จึง อยากให้ น้ องๆ อย่าได้ ชะล่าใจค่ะ ถ้ า คิดไม่ออกว่า ต้ อง ซื ้ออะไร เท่าไร ลองไป ดาวน์โลด โปรแกรม ช่วยคานวณภาษีที่กรมสรรมภากร ทาค่ะ ไม่เกิน 15 นาทีเสร็จ ค่ะ แล้ ว เราจะรู้ เลยว่า เราควร ซื ้ออะไร เพิ่ม อีก หรื อไม่ ก่อนเริ่ม ซื ้อ ควรศึกษา ข้ อมูลให้ ดี ก่อน ว่า จริงๆ เราต้ องซื ้อ อีกเท่าไร ถ้ า ไม่ แน่ใจ ซื ้อปริมาณน้ อย ก่อน แล้ ว ค่อยมา ซื ้อ เพิ่ม ที่ หลังก็ยงั ไม่สาย แต่ อย่าชะลาใจจนเกินไป เพราะ คน ส่วนใหญ่มกั เป็ น แบบนัน้ รอจบใกล้ เสียภาษี แล้ วค่อยมาซื ้อ เพราะช่วงนัน้ ราคาอาจสูงได้ คะ่

Step 5 การยื่นใบ ภ.ง.ด. และการจ่ ายภาษี ต้ องยื่นภายใน 1 มกราคม – 31 มีนาคมของทุกปี ที กรมสรรพากร / Online ที่ web http://www.rd.go.th /ธนาคาร กรุงไทยและธนาคารพาณิชย์ไทย /ไปรษณีย์ การจ่ ายภาษี  จ่ายทางไปรษณีย์ ด้ วยธนาณัติ  จ่ายเป็ นเงินสดที่ counter service  จ่ายผ่านตู้ ATM ธนาคาร กรุงไทย กรุงเทพ กสิกร  จ่ายเป็ น cheque หรื อ draft กรณีที่จา่ ยภาษีช้า จะต้ องเสียเงินเพิ่มอีกร้ อยละ 1.5 ต่อเดือนและจะโดนปรับ 2,000 บาท เอกสารที่ใช้ ประกอบการเสียภาษี ต้องเก็บไว้ ให้ ดีเป็ นระยะเวลา 10 ปี เพื่อสรรพากรเรี ยกตรวจค่ะ สุดท้ ายนี ้หวังว่าน้ องๆทุกคนจะเข้ าใจเรื่ องภาษีมากขึน้ นะค่ะ หาก มีข้อผิดพลาดด้ านข้ อมูลประการใด ขอ อภัยมา ณที่นี ้นะค่ะ และ หาก อยากช่วย เหลือ การแนะนา น้ องใน เรื่ องนี ้ ในปี หน้ า เขียนข้ อแนะนามา บอกๆได้ เลยค่ะ บทความโดย พญ.บุรณี อย่างธารา ศิริราช109 ,นพ.ศุภชัย ปาจริ ยานนท์ ศิริราช111,พญ.เพ็ญนภา กวีวงศ์ประเสริฐ ศิริราช115 ถ้ ามีข้อสงสัยemail ที่ youth_md_power@hotmail.com มา หรื อ post ใน website ที่



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.