หัตถกรรมชาวใต
เครื่องถมเมืองนคร Nielloware of Nakhon Si Thammarat
หล่อเงินตีเงินจำ�เริญรูป ประจำ�ยามก้านขดกำ�หนดทรง ตีแต่งตามรูปเก็บรูปพรรณ วงจรรอบขอบสลักลายบัวคว่ำ� ยาถมลงถมบรรทัดพื้น ปรอททองทาทองขึ้นผ่องพราย แรเงาเพลาลายขึ้นฉายชัด ถมเงินทองลือฝีมือเมือง เงินขาววาบวูบขึ้นรูปขัน สลักลายวิลาวัณย์ลงแวววง แล้วบัวหงายรายร่ำ�จำ�แลงหลง บุษบงใบเทศบรรเทิงลาย ขัดเค้าเงารื่นร่ำ�จำ�รัสฉาย ไฟปลายเปลวไล่ปรอทเรือง ค่อยขัดเงางามอร่ามเหลือง งามเครื่องถมครูคู่เมืองคอน …. เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
บทนำ� เครื่องถมเงิน ถมทอง เป็นงานศิลปะเชิงช่างฝีมือชั้นสูงที่ถูก สืบทอดมารุ่นต่อรุ่น นับแต่สมัยโบราณในดินแดนนครศรีธรรมราช ในอดีตผลิตภัณฑ์เครื่องถมเป็นงานศิลปะที่ถูกส่งเป็นเครื่องราช บรรณาการแก่ พระมหากษัตริย์ในต่างแดน เครื่องถมเงิน ถมทอง มีความโดดเด่นจากลวดลายที่วิจิตร รวมไปถึงตัวเนื้อเงินที่มีคุณค่า เครื่องถมเงินเป็นรูปพรรณที่ทำ�ด้วยเงินแล้วลงยาถม เครื่องถมจะ โดดเด่นเพราะมีรูปทรงดี มีลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ เนื่องจาก สถานการณ์ในปัจจุบันนนั้น สิ่งที่กำ�ลังวิตกโดยเฉพาะในหมู่ช่างถม คือ การสืบทอดวิชาช่างถม เด็กรุ่นใหม่ไม่ค่อยจะให้ความสนใจใน วิชานี้ ทำ�ให้ช่างที่จะสืบทอดภูมิวิจิตรปัญญาของบรรพบุรุษชาว นครศรีธรรมราชเหลือน้อยลงทุกวัน ในฐานะที่ผู้จัดทำ�เป็นชาว จังหวัดนครศรีธรรมราช จึงได้มีความสนใจที่จะนำ�เสนอเนื้อหา เรื่องเครื่องถมเมืองขึ้นมาเพื่อเป็นการส่งเสริมและอนุรักษ์ ศิลปะ หัตถกรรมชนิดนีเ้ อาไว้ ให้ผทู้ สี่ นใจหรือเยาวชนรุน่ หลังได้ศกึ ษาเรียน รู้ และรู้จักกับเครื่องถมมากขึ้น
เพชรานันท์ กระโหมวงศ์
เครื่องถมเมืองนคร
สารบัญ 1
ประวัติเครื่องถมเมืองนคร
ขั้นตอนการผลิตเครื่องถม 9
ขั้นตอนการผลิตเครื่องถม 10 - ขั้นตอนการทำ�เครื่องถมมี 6 ขั้นตอน
ช่างเครื่องถมเมืองนคร 13 5
ประเภทของเครื่องถม - เครื่องถมเงิน - เครือ่ งถมทอง - เครือ่ งถมตะทอง
ช่างเครื่องถม 17 - ลักษณะเด่นของ “เครื่องถมนคร”
ประวัติเครื่องถมเมืองนคร
1 I เครื่องถมเมืองนคร
ประวัติเครื่องถมเมืองนคร
เครื่องถมนครศรีธรรมราช เป็นศิลปหัตถกรรมสำ�คัญ
ของชาวนครศรี ธ รรมราชที่ รู้ จั ก กั น แพร่ ห ลายมากที่ สุ ด มา ตั้งแต่สมัยโบราณ คำ�ว่า “เครื่องถม” จากพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้นิยายคำ� “ถม” ว่า “เรียก ภาชนะหรือเครื่องประดับที่ทำ�โดยใช้ผงยาถมผสมน้ำ�ประสาน ทองถมลงบนลวดลายที่แกะสลักบนภาชนะหรือเครื่องประดับ นั้น แล้วขัดผิวให้เป็นเงางามว่าเครื่องถมหรือถม เช่น ถมนคร ถมเงิน ถมทอง” “เครื่องถม” คือวัตถุที่ทำ�หรือประกอบขึ้นด้วยโลหะเงิน และลงยาถม คำ�ว่า “ยาถม” หมายความว่าสารเคมีทมี่ โี ลหะเงิน และเป็นส่วยผสมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘ ของน้ำ�หนัก เครื่องถมนครมีกำ�เนิดมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็น ราชธานี ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ ราว พ.ศ.2061 แต่ เรื่องที่มายังเห็นแย่งกันอยู่ บ้างว่าได้รับการถ่ายทอดมาจาก ชาวโปรตุเกสเพราะชาวโปรตุเกสเป็นชาติแรกที่ได้รับอนุญาติ ให้เข้ามาทำ�การค้าขายในราชอาณาจักรไทยได้ 4 เมือง คือ กรุง ศรีอยุธยา นครศรีธรรมราช ปัตตานี และมะริด สมเด็จฯกรม พระยานริศรานุวดั ติวงศ์ทรงมีความเห็นว่า ชาวนครศรีธรรมราช ได้ รั บ รู้ เรื่ อ งเครื่ อ งถมจากชาวอิ น เดี ย ศาสตราจารย์ วิ ศ าล ศิลปกรรมว่า ยาถมไทยมิได้รับต้นตำ�รับจากประเทศใด เกิดขึ้น ในประเทศไทยโดยแท้ คือเกิดที่นครศรีธรรมราช และบ้างว่ารับ มาจากอิหร่านบ้าง จากกรีกบ้าง จึงยังยุติไม่ได้ ในอดีต เครื่องถมนั้นถือว่าเป็นของสูงเหมาะจะเป็น เครื่องราชูปโภคของกษัตริย์หรืออย่างน้อยก็เป็นเครื่องยศของ ขุนนางชั้นสูง ทั้งยังใช้เป็นเครื่องราชบรรณาการสำ�หรับกษัตริย์ ต่างประเทศด้วย ทั้งนี้เพราะเครื่องถมแต่ละชิ้นนั้นเป็นเงินแท้ ทำ�ด้วยกรรมวิธที สี่ ลับซับซ้อน ต้องใช้ความละเอียดประณีตมาก เท่าที่มีหลักฐาน ไทยเราใช้เครื่องถมเป็นเครื่องยศขุนนาง มาตัง้ แต่สมัยพระบรมไตรโลกนาถ ในสมัยพระนารายณ์มหาราช ก็มีหลักฐานปรากฏว่ามีรับสั่งให้เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชจัดหา ช่างถมที่มีฝีมือเข้าไปทำ�เครื่องถม ณ กรุงศรีอยุธยา เพื่อส่งไป บรรณาการแด่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และพระสันตะปาปาแห่งกรุง โรม แสดงว่าเครือ่ งถมนครนัน้ มีชอื่ เสียงมาตัง้ แต่สมัยอยุธยาตอน กลางเป็นอย่างน้อย
เครื่องถมเมืองนคร I 2
เครื่องถมเมืองนครรุ่งเรืองขึ้นมาอีกครั้งในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้า เจ้ า อยู่ หั ว เจ้ า พระยานคร (น้อย) ได้นำ�พระเสลี่ ย ง หรือพระราชยานถม และพระแท่นถมสำ�หรับออกขุนนาง ขึ้น น้อ มเกล้ า ฯ ถวายในรัชสมัยพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หั ว เจ้าพระยานคร (น้อยกลาง) ก็ได้น�ำ เรือพระทีน่ งั่ กราบถม กับ พระเก้าอี้ถมซึ่งใช้เป็นพระที่นั่งถัทรบิฐขึ้นน้อมเกล้าฯ ถวาย ครั้นมาถึงรัชสมัยของสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ โปรดให้เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนูพร้อม) ทำ�พระแท่น พุดตานถมถวาย สำ�หรับตัง้ ในท้องพระโรงกลางพระทีน่ งั่ จักรี มหาประสาท ว่ากันว่า แหล่งผลิตเครือ่ งถมทีเ่ ฟือ่ งฟูมากทีส่ ดุ อยู่ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช และยังเป็นที่เลื่องลือกันมา จนถึงปัจจุบนั ว่า ช่างถมฝีมอื ดีมอี ยูท่ นี่ เี่ พียงแห่งเดียวเท่านัน้ โดยที่เจ้าเมืองในเป็นผู้ให้การสนับสนุนเสริมมาตลอด ส่วน ช่างฝีมือชาวนครศรีธรรมราช ก็ได้พัฒนางานเครื่องถมของ ตนเรื่อยมาจนกลายเป็นเอกลักษณ์ประจำ�ท้องถิ่น จนเรียก 3 I เครื่องถมเมืองนคร
กันติดปากว่า “ เครื่องถมนคร ” ซึ่งมีอยู่ 2 ชนิด คือ เครื่องถมเงิน และเครื่องถมทอง โดยที่ เครื่ อ งถมเป็ น ศิ ล ปหั ต ถกรรมที่ สำ � คั ญ และสวยงามอย่ า ง หนึ่งจากช่างฝีมือของคนไทย สมเด็จพระนางเจ้าพระบรม ราชินีนาถได้ทรงอนุรักษ์เครื่องถมไว้ในกองศิลปาชีพและได้ ทรงเผยแพร่ไปให้ชาวโลกได้เห็นและชืน่ ชมในความสามารถ ของคนไทย ด้านศิลปหัตถกรรมและวัฒนธรรมไทย การทำ� เครือ่ งถมทีม่ คี ณ ุ ภาพดีและงดงามทีส่ ดุ คือเครือ่ งถมของเมือง นครศรีธรรมราช ได้มีการส่งเสริมขึ้นในรัชสมัยองพระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โดยเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี ( หนูพร้อม )แต่ครัง้ ยังเป็นพระยานครศรีธรรมราช ได้หาช่าง ไปจากกรุงเทพมหานคร ไปทำ�การฝึกฝนและกวดขันจนช่าง ถมเมืองนครศรีธรรมราชฝีมอื สูงตัง้ แต่นนั้ มา และได้สร้างงาน ศิลปะชิน้ สำ�คัญต่าง ๆ เช่น พระราชยานถม พระทีน่ งั่ ภัทรปิฐ และพระที่นั่งพุดตานถม เป็นต้น
“เครื่องถมเงิน ถมทองมีความโดดเด่นจากลวดลายที่วิจิตร รวมไป ถึงตัวเนื้อเงินที่มีคุณค่า เครื่องถมเงินเป็นรูปพรรณที่ทำ�ด้วยเงินแล้ว ลงยาถม เครื่องถมจะโดดเด่นเพราะมีรูปทรงดี มีลวดลายที่เป็น เอกลักษณ์ของเรา และเรามียาถมที่ไม่มีที่ไหนทำ�ได้ เราหลอมเองทำ� เองได้ ทีไ่ หนก็ตามเมือ่ เราไปดูปรากฏว่าไม่มเี หมือนทีน่ ครศรีธรรมราช และเครือ่ งถมทองจะเป็นภูมปิ ญ ั ญาทีเ่ ราต้องอนุรกั ษ์ไว้ เครือ่ งถมทอง เราทำ�ทองให้เป็นแป้งเปียกแล้วทาทับเครื่องเงินไว้เราเรียกว่าถม ทอง สิ่งเหล่านี้เป็นศิลปะประจำ�ชาติไปแล้ว เป็นเอกลักษณ์ของประเทศมา ตัง้ แต่สมัยอยุธยา พบว่ามีเครือ่ งถมปรากฏไปเป็นเครือ่ งบรรณาการ พระสันตะปาปา หรือสมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรีย ในสมัยนั้น” ...ครูระไว สุดเฉลย ครูช่างเครื่องถมแห่งวิทยาลัยศิลปหัตถกรรม นครศรีธรรมราช
เครื่องถมเมืองนคร I 4
ประเภทเครื่องถมเมื งถมเมืองนคร
5 I เครื่องถมเมืองนคร
เครื่องถมเมืองนคร มี 2 แบบ “ลงยาถม” ที่เรียก
ว่า “ถมเงิน” อย่างหนึ่ง และแบบ “ลงยาสี” ที่เรียกว่า “ถมทอง” หรือ “ถมตะทอง” โดยแบบแรกทำ�มาแต่โบราณ ส่วนแบบหลังเพิ่งมีในช่วงหลัง ว่ากันว่า แหล่งผลิตเครื่องถมที่เฟื่องฟูมากที่สุด อยู่ที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช และยังเป็นที่เลื่องลือกันมาจนถึง ปัจจุบนั ว่า ช่างถมฝีมอื ดีมอี ยูท่ นี่ เี่ พียงแห่งเดียวเท่านัน้ โดยที่ เจ้าเมืองในเป็นผู้ให้การสนับสนุนเสริมมาตลอด ส่วนช่าง ฝีมือชาวนครศรีธรรมราช ก็ได้พัฒนางานเครื่องถมของตน เรื่อยมาจนกลายเป็นเอกลักษณ์ประจำ�ท้องถิ่น จนเรียกกัน ติดปากว่า “ เครื่องถมนคร ” ซึ่งมีอยู่ 2 ชนิด คือ เครื่องถมเงิน และเครื่องถมทอง โดยที่เครื่องถมเป็นศิลป หัตถกรรมที่สำ�คัญและสวบงามอย่างหนึ่งจากช่างฝีมือจาก ช่างฝีมือของคนไทย สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้ทรงอนุรักษ์เครื่องถมไว้ในกองศิลปาชีพและได้ทรงเผย แพร่ไปให้ชาวโลกได้เห็นและชื่นชมในความสามารถของ คนไทย เครื่องถมเมืองนคร I 6
1. เครื่องถมเงิน (ถมดำ� หรือ ถมธรรมดา) ลักษณะเป็นเนื้อถมที่ถมลงไปบนพื้นตามร่อง ของลวดลายเป็ น สี ดำ � มั น ซึ่ ง เนื้ อ ถมจะขั บ ลวดลายให้เด่นงดงามอยู่บนพื้นสีเงิน ถมเงิน จัดเป็นเครื่องถมที่เก่าแก่ที่สุด ตามความนิยม ถมดำ�หรือถมเงินที่ดีจะต้องมีสีดำ�สนิท ไม่มีจุด ขาวบนสีดำ�
2. เครื่องถมทอง (ถมทอง) ถมทอง คือถมดำ� หรือถมเงิน ที่ใช้วิธีตะทองหรือเปียกทอง ทำ�ให้ ลายสีเงินเป็นสีทองตามทองที่แต้มไว้นั้นเอง แต่ แตกต่างกันตรงที่ลวดลาย คือลายสีเงินเปลี่ยน เป็นสีทอง ช่างถมจะละลายทองดำ�ให้เหลวเป็น น้ำ� โดยการใส่ทองแท่งลงในปรอทแล้วช่างถม จะนำ�พู่กันมาจุ่มลงในน้ำ�ทองผสมปรอทเขียน ทับลงบนลวดลายสีเงิน การเขียนนี้ต้องใช้ความ ประณีตอย่างมาก เขียนทับลงบนเส้นเงินเท่านัน้ เมื่อเขียนเสร็จแล้วจะใช้ความเผาไล่ปรอทออก จากทอง ทองก็จะติดแน่นอยู่บนพื้นที่เขียนด้วย น้ำ�ทองนั้น
7 I เครื่องถมเมืองนคร
3. เครือ่ งถมตะทอง ถมตะทอง คือ การนำ�ทองคำ�บริสทุ ธิ์ ผสมปรอทเขียนทับลงบนลวดลายเนื้อเงินเนื้อทอง โดยการ ระบายเป็นแห่งๆเฉพาะที่ ไม่ใช่การระบายจะเต็มเนือ้ เหมือน การทำ�ถมทอง แต่เป็นการแต้มทองหรือระบายทองในทีบ่ าง แห่งของถมดำ� เพื่อเน้นจุดเด่นหรืออวดลายภาพ การทำ�ถม ตะทองทำ�ให้ได้เครื่องถมที่มีพื้นดำ�ลวดลายสีทอง การตะ ทองเป็นภาษาเรียกกรรมวิธีดังกล่าว ดังนั้น ถมตะทองจึง เป็นเครื่องถมที่มีพื้นลายสีดำ�และมีลวดลายเป็นสีเงินสลับ กับทองเป็นแห่งๆตามแต่ช่างจะเลือกสรร เครื่องถมตะทอง เป็นของทีห่ ายากว่าถมเงินหรือถมทอง กรรมวิธกี ารทำ�ก็ยาก กว่า ถมตะทองที่มีคุณภาพดีเนื้อทองจะติดแน่น ใช้งานนับ ร้อยปีก็ไม่หลุดลอกหรือสีจางลงโดยง่าย เพราะต้องใช้ทอง ที่บริสุทธิ์ ดังนั้นในสมัยก่อนจึงนิยมมาก ตัวอย่างถมตะทอง ที่หลงเหลืออยู่ ได้แก่ กระโถน คนโท กล่องยาเส้น คันฉ่อง เชี่ยนหมาก เป็นต้น
เครื่องถมเมืองนคร I 8
ขั้นตอนการผลิตเครื่องถม
9 I เครื่องถมเมืองนคร
ขั้นตอนการทำ�เครื่องถมเมืองนคร มี 6 ขั้นตอน ได้แก่
1. การทำ�น้ำ�ยาถม มีส่วนผสมของโลหะ 3 ชนิด คือ ตะกั่ว ทองแดง เงิน หลอมรวมกันในเบ้า หลอม ให้เนื้อโลหะผสมเข้ากันเป็นอย่างดี อัตราส่วนผสมและเวลาที่หลอมของช่างแต่ละคน จะเป็นความลับแตกต่างกันไปตามสูตรทีเ่ ป็นมรดกทีถ่ กู ถ่ายทอดต่อกันมา หลังจากนัน้ ซัดด้วย กำ�มะถันเหลืองให้โลหะผสมขึ้นสีดำ�ใส ไม่มีฟอง ทิ้งไว้ให้แห้ง แล้วนำ�ไปบดจนละเอียด เรียกว่า “เนื้อถม” หรือ “น้ำ�ยาถม” น้ำ�ยาถมที่ดีจะมีสีดำ�ขึ้นเงาเหลือบสีเงิน เนื้อคล้ายโลหะชนิดหนึ่ง
2. การเคาะขึ้นรูปพรรณ คือการนำ�แผ่นเงินมาทำ�เป็นรูปทรงตามต้องการ รูปทรงของเครื่องถม มี 6 แบบ คือ แบบกลม เช่น แหวน กำ�ไล ขันน้ำ� ตลับ แป้ง แบบเหลี่ยม เช่น กระเป๋าถือ หีบบุหรี่ ซองบุหรี่ กรอบรูป แบบกระบอก มีลกั ษณะเป็นแท่งกลม แต่กลวง เช่น แก้วน้�ำ ถ้�ำ ยาดม แบบรี กำ�หนดรูปแบบ มีสว่ นเรียวและส่วนโค้งมนประกอบเป็นส่วนใหญ่ เช่น เข็มหนีบเนคไท กิฟ๊ ติด ผม ถาดรองแก้ว แบบผสม มีลักษณะผสมผสานหลายรูปทรง โดยนำ�รูปทรง ต่างๆ มารวมกัน เช่น โถกรวดน้ำ� ทัพพี กาน้ำ�ชา พานรอง และรูปแบบ อื่นๆ เป็นรูปแบบเฉพาะตัว ของผูผ้ ลิต เช่น สร้อยคอ สร้อยข้อมือ รูปแบบของเครือ่ ง รูปทรงจะงดงามเพียงไร อยู่ที่ฝีมือของช่างผู้ออกแบบ เมื่อขึ้นรูปทรงแล้วจะ ขัดผิวโลหะให้เรียบด้วยกระดาษทรายน้ำ� เครื่องถมเมืองนคร I 10
3. การเขียนและแกะสลักลาย หลังจากการขึ้นรูปเป็น ภาชนะหรื อ เครื่ อ งประดั บ แล้ ว ผิ ว ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ะมี ลักษณะเกลี้ยง การแกะสลักจะเขียนลวดลายทั้งหมดด้วย หมึกก่อน แล้วจึงสลักลายให้เป็นร่องลึกด้วยสิ่วหรือกรด ตามลวดลายทีเ่ ขียนไว้ บริเวณทีแ่ กะสลักเป็นร่องคือบริเวณ ที่จะใส่น้ำ�ยาถมลาย ลายที่นิยมได้แก่ ลายไทย เช่น ลายก ยก กระจัง ดอกไม้ เป็นต้น
11 I เครื่องถมเมืองนคร
4. การถมลายคือการนำ�ภาชนะที่ได้แกะสลักหรือกัดลาย เรียบร้อยแล้ว นำ�ไปเคลือบด้วยยาถม โดยการใส่น้ำ�ยาถม ต้องใส่ให้เต็มส่วนที่ได้แกะสลักไว้ เกลี่ยให้เสมอกัน และเป่า ให้ความร้อนด้วย เครือ่ ง “เป่าแล่น” ความร้อนจะทำ�ให้น�้ำ ยา ทีถ่ มละลายไหลไปตามร่องทีไ่ ด้แกะสลักไว้เกาะติดกับ โลหะ เงิน ทิ้งไว้ให้เย็น หลังจากนั้นใช้ตะใบหรือกระดาษทรายแต่ง ผิวภาชนะทีน่ �้ำ ยาถมไหลไปบน ส่วนทีไ่ ม่ตอ้ งการออกให้หมด จะปรากฏลายทีช่ ดั เจน “การลงถม” ถือเป็นหัวใจสำ�คัญของ เครือ่ งถม เครือ่ งถมชัน้ ดี เนือ้ ถมต้องเคลือบติดกับเนือ้ เงิน(ผิว ภาชนะ) ในลักษณะเป็นก้อนเนือ้ เดียวกัน ต้องไม่ กระเทาหรือ หลุดง่าย จึงขึ้นอยู่กับความชำ�นาญของช่างเป็นพิเศษ
5. การปรับแต่งรูป ผลิตภัณฑ์ในขณะที่ลงน้ำ�ยา ถมนั้ น ต้ อ งถู ก ความร้ อ นสู ง อยู่ เ ป็ นเวลานาน ฉะนั้นรูปลักษณะของผลิตภัณฑ์อาจบิดเบี้ยว เพราะเหตุนี้เมื่อเสร็จจากการลงถมแล้ว จำ�เป็น ต้องส่งผลิตภัณฑ์ที่ลงถมแล้วนั้นไปให้ “ช่างรูป” ตบแต่งรูปให้คงสภาพเดิม
6. การขัดผิวและแต่งลาย ภาชนะซึ่งเป็นผิวของโลหะเมื่อถูกความร้อน อาจ จะขรุขระหยาบเป็นเม็ดด้วยน้�ำ ยาถมหรือน้�ำ ต้องขัดด้วยกระดาษทรายให้ผวิ โลหะเรียบสะอาดแล้วขัดซ้ำ�ด้วยถ่านไม้เนื้ออ่อนให้ผิวขึ้นเงา หากลวดลายที่ ปรากฏแข็งไม่อ่อนช้อยช่างแกะจะแกะต่อเติมลายเส้นเบา ๆ บนโลหะได้อีก เรียกการแกะนี้ว่า “แกะแร” แล้วขัดให้ขึ้นเงาเป็นมันด้วยผ้านุ่ม ก่อนบรรจุ หีบห่อหรือใช้สอยต่อไป
เครื่องถมเมืองนคร I 12
ชางเครื่องถมเมืองนคร
13 I เครื่องถมเมืองนคร
ช่างเครื่องถมเมืองนคร ตำ�นานช่างถมเมืองนคร – ถมนคร หัตถกรรมที่เชิดหน้าชูตาของเมืองนคร
ด้
านช่างถมนครศรีธรรมราชก็มีหลักฐานว่า ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ทรงมีรับสั่งให้ เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชจัดหาช่างถมฝีมือดีที่สุดของ จังหวัดส่งไปยังกรุงศรีอยุธยา เพื่อทำ� ไม้กางเขนถม ส่ง ไปถวายสัตปาปาทีก่ รุงโรมประเทศอิตาลี และเป็นช่างชุด เดียวกับทีท่ �ำ เครือ่ งถมส่งไปถวายพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่ง ประเทศฝรัง่ เศส ช่างกลุม่ นีพ้ �ำ นักอยูท่ กี่ รุงศรีอยุธยาตลอด ไปจนเสียชีวติ มีลกู หลานรับมรดกตกทอดมา และต่อมาได้ โยกย้ายเข้ามาอยู่ในกรุงเทพมหานคร ได้ฟื้นฟูงานเครื่อง ถมนครขึ้นมาเป็นธุรกิจที่ทำ�การค้าขายกับต่างประเทศ ด้วย รวบรวมช่างถมนครศรีธรรมราช5-6 คนเข้าทำ�กิจการ อุตสาหกรรมเครื่องถมใช้ชื่อว่า “ไทยนคร” กิจการต่าง ๆ เจริญรุดหน้ามาจนปัจจุบันนี้มีช่างผลิดเครื่องถมเครื่อง เงินไทยเพื่อนำ�ส่งจำ�หน่ายไปต่างประเทศ ประมาณ 100 คน นอกจากนีก้ ารทำ�เครือ่ งถมนครในกรุงเทพฯ มีการทำ� กันมากพอสมควรราว ๆ สมัยต้นรัตนโกสินทร์ มีหมู่บ้าน แห่งหนึ่งเรียกชื่อว่า “บ้านถม” หรือ “บ้านพานถม” อยู่ ใกล้ ๆ สะพานเฉลิมวันชาติ ถนนพระสุเมรุชาวบ้านใน กลุ่มนี้ทำ�พานถม ขันถมขาย แต่ไม่มีหลักฐานว่าทำ�กันมา ตัง้ แต่เมือ่ ไร แต่มผี สู้ งู อายุคนหนึง่ เล่าว่าชาวบ้านใน “บ้าน พานถม” นี้อพยบมาจากจังหวัดนครศรีธรรมราช ในสมัย รัชกาลที่ 1 ได้ประกอบอาชีพทำ�พานถม ขันถม เป็นแบบ เครื่องถมนคร แต่ฝีมือไม่อยู่ในขั้นดีเยี่ยม ใน พ.ศ.2443 เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ได้ฟื้นฟูส่งเสริมศิลปหัตถกรรม เครื่องถมนครศรีธรรมราชขึ้นในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2456 ได้เปิดแผนกช่างถมขึ้นเป็นกองและแผนกหนึ่ง ใน “โรงเรียนเพาะช่าง” ได้รับความร่วมมือจากพระยา เพชรปราณี เจ้ากรมอำ�เภอ กระทรวงนครบาลในขณะนัน้ จัดหาตำ�รา “ถมนคร” มาใช้สอนในโรงเรียน เพาะช่าง ใน แผนกช่างถม สำ�เร็จทำ�การทดลองใช้ต�ำ ราเล่มนัน้ โดยเริม่ ให้ศาสตราจารย์หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปัทมจินดา) เป็นผู้รับหน้าที่ทดลองใช้ และเรียกขุนปราณีถมพิจ (หยุบ เครื่องถมเมืองนคร I 14
ที่ไม่น้อยหน้าไปกว่าชาติใดในโลก แต่มา ถึงพุทธศักราชนี้ บางที เราอาจต้ อ งอธิ บ ายกั น ใหม่ ว่ า เครื่องถมคืออะไร และมีความสำ�คัญเช่น ไร เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ทำ�ความเข้าใจและ เรียนรู้เรื่องของบรรพชนไปหร้อมๆกัน แต่ สิ่งที่สำ�คัญที่ทุกคนควรจะได้รับรู้ร่วมกัน เป็นอันดับแรกสุดก็คือ ณ เวลานี้เพียงแต่ จะหาชมเครื่องถมที่งดงามหมดจดเหมือน ในอดีตยังเป็นไปยากยิ่ง แล้วช่างถมของ ไทยที่ยอมอุทิศทั้งกายและใจให้แก่วิชาชีพ นีก้ ค็ งยิง่ เหลือน้อยลงทุกขณะ และคงเหลือ อยู่เพียงไม่กี่รายเท่านั้นที่พอจะถ่ายทอด งานฝีมือเหล่านี้ออกมาได้ด้วยจิตวิญญาณ จิตตะกิตติ) เป็นช่างถมอยู่บ้านพานถมให้เข้ามารับราชการเป็น ผู้สอนร่วมกับขุนประดิษฐ์ถมการ (รื่น ทัพวัฒน์) วิชาเครื่องถม นี้ได้รับการส่งเสริมโดยให้มีการเรียนการสอนในโรงเรียนเพาะ ช่างจนถึง พ.ศ.2480 ก็ระงับไป ส่ ว นทางเมื อ งนครศรี ธ รรมราช พ.ศ.2456 ได้ ตั้ ง โรงเรียนช่างถมของจังหวัดนครศรีธรรมราชขึ้นโดยพระรัตนธัช มุนีศรีธรรมราช(ม่วง รัตนธัชโช) เจ้าอาวาสวัดท่าโพธิ์ อำ�เภอ เมืองนครศรีธรรมราช หรือชาวนครศรีธรรมราชเรียก ท่านว่า “เจ้าคุณท่าโพธิ์” เป็นผู้ริเริ่มในพ.ศ.2456 ทำ�ให้กิจการเครื่อง ถมนครในขณะนั้นซึ่งซบเซาอยู่ก็ได้ตื่นตัวขึ้น ท่านสละเงินนิตย ภัตทีไ่ ด้รบั พระราชทานจ่ายให้เป็นเงินเดือนแก่ครูผสู้ อน กิจการ ของโรงเรียนได้ด�ำ เนินมาหลายปี จนกระทัง้ กระทรวงศึกษาธิการ เห็นความสำ�คัญของศิลปหัตถกรรมด้านนี้ขึ้น จึงรับโรงเรียนให้ เป็นโรงเรียนของรัฐ พัฒนายกระดับเป็นโรงเรียนช่างโลหะรูป พรรณของจังหวัดนครศรีธรรมราชในระยะต่อมา จนปัจจุบันนี้ มีฐานะเป็นวิทยาลัยศิลปหัตถกรรมนครศรีธรรมราช จากการทำ� ถมนครสืบต่อ ๆ กันมาในหมูช่ า่ งถม และจากความพยายามของ รัฐที่จะเปิดสอนวิชานี้ จึงเชื่อได้ว่า ถมนคร จะยังเป็นหัตถกรรม ที่เชิดหน้าชูตาของเมืองนครได้สืบไป เครื่องถม นับเป็นหนึ่งในงานศิลปหัตถกรรมชั้นเลิศ ของงานประเภทช่างทองของไทย ในอดีตถือกันว่าเครื่องถม เป็นของสูงที่เกิดมาเพื่อรับใช้งานในราชสำ�นักโดยแท้ โดยเป็น เครื่องราชูปโภคของกษัตริย์ เครื่องประกอบยุคของขุนนางชั้น สูง เครื่องบรรณาการสำ�หรับกษัตริย์ต่างประเทศ และเป็นสิ่งที่ เชิดหน้าชูตาว่าคนไทยนี้มีเอกลักษณ์และวัฒนธรรมเป็นของตน 15 I เครื่องถมเมืองนคร
ความเป็นช่างศิลป์ไทยอย่างแท้จริง ส่วนในยุคสมัยปัจจุบันนั้น สิ่งที่กำ�ลังวิตกโดยเฉพาะในหมู่ช่าง ถม คือ การสืบทอดวิชาช่างกลับน้อยนักที่เด็กรุ่นใหม่จะสนใจ ในวิชานี้ และตั้งใจที่จะสืบทอดภูมิวิจิตรปัญญาของบรรพบุรุษ ชาวนครศรีธรรมราช แม้ว่าเขาเหล่านั้นจะไม่เคยผ่านการเรียน รู้อย่างเป็นทางการ แต่เรียนรู้ด้วยใจรัก หรือแบบครูพักลักจำ� เพาะบ่มฝีมือด้านศิลปะเชิงช่างด้วยตัวเองมากกว่า 20 ปี จนมี ความเชี่ยวชาญสร้างสรรค์ชิ้นงานหาเลี้ยงชีพด้วยศิลปะการทำ�
กระแสพระราชดำ�รัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ได้พระราชทานไว้ “เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๐๘ ว่า จงรักษาศิลปะของชาติอันนี้ไว้ให้ดี “
ปัจจุบนั บุคลากรช่างถมมีนอ้ ยลง ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากงานหัตถกรรมเครือ่ งถมเป็นงานศิลปะ มีความประณีตสูง ผู้ที่จะเป็นช่างถมต้องมีความรักในศิลปหัตถกรรมแขนงนี้ อีกทั้งจะ ต้องมีความอุตาหะอดทน เรียนรูป้ ระสบการณ์ทถี่ า่ ยทอดจากช่างถมรุน่ ก่อนๆ โดยปกติ วิชาช่างถมจะถ่ายทอดสูบ่ คุ คลในครอบครัว การเรียนการสอนในโรงเรียนก็มผี ศู้ กึ ษากัน น้อยลง เด็กรุน่ ใหม่ไม่คอ่ ยสนใจเรียนวิชาการทำ�เครือ่ งถม หรือทีเ่ รียนจบไปแล้วก็ไม่ได้ ประกอบอาชีพช่างถม วิธีการแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ ดร. ไสว สุทธิพิทักษ์ ผู้ซึ่งมีบทบาท ในวงการศึกษาเรือ่ งเครือ่ งถม กล่าวว่า “การสอนช่างถมทีโ่ รงเรียนศิลปหัตถกรรมหรือ ทีไ่ หนก็ตาม หากเอาพวกทีจ่ บมัธยมศึกษาแล้วมาเรียน ปวช. ดังทีเ่ ป็นอยูท่ กุ วันนีน้ นั้ ไม่ ได้ผล เพราะจบแล้วเกือบไม่ได้ทำ�อาชีพนี้เลย แต่เมื่อทดลองเอาคนที่สนใจ ไม่ต้องจบ มัธยมศึกษาก็ได้มาฝึกมาเรียน เขาจะยึดเป็นอาชีพมากกว่า ขณะนี้กำ�ลังทดลองวิธีนี้ และได้ผลดีอยู่ ” ดังนั้นการแก้ไขปัญหาด้านบุคลากรช่างถม จึงเป็นหน้าที่ของหน่วย งานการศึกษาของรัฐที่รับผิดชอบ ปรับเปลี่ยนนโยบายการศึกษาโดยเฉพาะด้านสาย อาชีวศึกษา ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาการศึกษาวิชาชีพช่างถมได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ ในสามเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถโปรดเกล้าให้เปิดสอนศิลปะการทำ�ถมเงิน
เครื่องถมเมืองนคร I 16
และถมทอง ในศูนย์ศิลปาชีพสวนจิตรลดา เป็นต้น ในอดีต เครื่องถมนั้นถือว่าเป็นของสูง เหมาะจะเป็นเครื่อง ราชูปโภคของกษัตริย์ หรืออย่างน้อยก็เป็นเครือ่ งยศของขุนนาง ชั้นสูง ทั้งยังใช้เป็นเครื่องราชบรรณาการสำ�หรับกษัตริย์ต่าง ประเทศด้วย ทั้งนี้ เพราะเครื่องถมแต่ละชิ้นนั้นเป็นเงินแท้ ทำ� ด้วยกรรมวิธีที่สลับซับซ้อน ต้องใช้ความละเอียดประณีตมาก เท่าที่มีหลักฐานมีการใช้เครื่องถมเป็นเครื่องยศขุนนางมาตั้งแต่ สมัยพระบรม ไตรโลกนาถ ในสมัยพระนารายณ์มหาราช ก็มหี ลัก ฐานปรากฏว่ามีรบั สัง่ ให้เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช จัดหาช่างถมที่ มีฝมี อื เข้าไปทำ�เครือ่ งถม ณ กรุงศรีอยุธยา เพือ่ ส่งไปบรรณาการ แด่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และพระสันตะปาปาแห่งกรุงโรม แสดง ว่าเครื่องถมนครนั้น มีชื่อเสียงมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนกลาง เป็นอย่างน้อย เครื่องถมเมืองนครรุ่งเรืองขึ้นมาอีกครั้งในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยูห่ วั เจ้าพระยานคร (น้อย) ได้น�ำ พระเสลีย่ ง หรือพระราชยาน ถม และพระแท่นถมสำ�หรับออกขุนนางขึ้นน้อมเกล้าฯ ถวาย ในรัชสมัยพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าพระยานคร (น้อยกลาง) ก็ได้นำ�เรือพระที่นั่งกราบถม กับพระเก้าอี้ถมซึ่งใช้เป็นพระที่นั่ง ถัทรบิฐขึ้นน้อมเกล้าฯถวาย ครั้นมาถึงรัชสมัยของสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนู พร้อม) ทำ�พระแท่นพุดตานถมถวาย สำ�หรับตั้งในท้องพระโรง กลางพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ลักษณะของงานเครื่องถม เหล่านี้ จะเป็นศิลปะเชิงช่างสกุลนครศรีธรรมราชเท่านั้น ที่ไม่มี สกุลช่างฝีมือใดๆ ในโลกมาเสมอเหมือน จึงถือเป็นศิลปะที่ควร อนุรักษ์ ทั้งการอนุรักษ์งานศิลปะที่จะต้องสืบทอดรูปลักษณ์ที่ สะท้อนถึงฝีมือของสกุล ช่างนครศรีธรรมราช และช่างฝีมือที่ จะต้องถ่ายทอดศิลปะจากเชิงช่างชัน้ สูงเหล่านี้ ให้อยูบ่ นชิน้ งาน หากขาดส่วนใดส่วนหนึ่งไป งานถมเหล่านี้จะไม่สามารถอยู่รอด ได้เป็นแน่แท้ ลักษณะเด่นของ “เครื่องถมนคร” ของช่างฝีมือชาวนครศรีธรรมราช สามารถแบ่งออกได้ 2 ลักษณะ ที่สำ�คัญ ได้แก่ - การแกะสลักลวดลาย จะใช้วิธีเขียนร่างลวดลายลงในรูปพรรณของเนื้อเงิน แล้วใช้ค้อนและสิ่วสลักตามลวดลายที่ร่างเอาไว้ วิธี การนีเ้ ป็นการย้�ำ เนือ้ โลหะให้ลกึ ลงไปเท่านัน้ ไม่ได้สญ ู เสียเนือ้ เงินไปแต่อย่างใด และจะมีรอยสลักอยูท่ างด้านหลังของรูปพรรณ ซึง่ จะต้องใช้ฝีมือของช่างเป็นอย่างมากเพื่อที่จะให้ผลงานออกมาดีและมีคุณค่า - เนือ้ ยาถม เนือ้ ยาถมทีด่ จี ะต้องเป็นสีด�ำ มัน เวลาลงเนือ้ ยาถมจะติดแน่น ไม่มรี พู รุน หรือทีเ่ รียกกันว่า “ตามด” ยาถมเป็นโลหะผสม ระหว่างเงิน ทองแดง ตะกัว่ และกำ�มะถัน ซึง่ เป็นตัวทำ�ให้เกิดสีด�ำ สูตรในการผสมไม่ตายตัว ขึน้ อยูค่ วามชำ�นาญและประสบการณ์ ของช่างแต่ละคน แม้ว่ามีตำ�ราว่าต้องใช้เนื้อโลหะเป็นเท่าไร แต่ก็ไม่แน่เสมอไปว่าเมื่อผสมตามนั้นแล้วจะได้ยาถมที่ดี 17 I เครื่องถมเมืองนคร
เครื่องถมนครศรีธรรมราช แม้จะผลิตได้ไม่มาก แต่ก็ได้รับความนิยมแพร่ หลาย ทั้งนี้เพราะ เครื่องถมเมืองนคร ยังคงรักษาคุณภาพของตัวเอง โดยที่ มีเนื้อเงินแท้ไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ ๙๕ ลวดลายต่างๆ ยังคงสลักด้วยมือ น้ำ�ยา ถมก็มีสีดำ�สนิทเป็นเงา เครื่องถมไทย จึงถือได้ว่าเป็นงานประณีตศิลป์ขั้นสูง ที่ต้องใช้ทั้งฝีมือและ ความประณีต ซึ่งนับวัน งานช่างแขนงนี้ เหลือช่างฝีมือดีน้อยลงทุกทีจึง สมควรอย่างยิ่งที่ต้องมีการอนุรักษ์ และส่งเสริมฟื้นฟู เพื่อสืบสานงาน หัตถศิลป์ไทย สาขานีใ้ ห้ด�ำ รงอยูส่ บื ไป ดังกระแสพระราชดำ�รัส ของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ได้พระราชทานไว้ “เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๐๘ ว่า จงรักษาศิลปะของชาติอันนี้ไว้ให้ดี “ เครื่องถมเมืองนคร I 18
อ้างอิง
กรรณิการ์ ห่อหุ้ม. (2557). niello. พัทลุง : มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2557, จาก http://std.csit.sci.tsu.ac.th/532021311/niello/ about.php. ประสาท เสมาพัฒน์. (2557). ถมนคร. นครศรีธรรมราช สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2557, จาก http://thomnakhon.com/. ห้างเพชรทองบุญรัตน์. (2557). เครื่องถม. นครศรีธรรมราช สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2557, จาก http://www.boonyarat.com/_index.html. พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. (2557). ประวัติความเป็นมาของเครื่อง ถม. ปทุมธานี : คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2557, จาก http://museum.socanth.tu.ac.th/ สุริยา จิรสูตรสกุล (ผู้ให้สัมภาษณ์), เพชรานันท์ กระโหมวงศ์ (ผู้สัมภาษณ์), ที่ บ้านเลขที่ 875/13 ถนนท่าช้าง ตำ�บลคลัง อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2557.
....................................................................
ผูจัดทำ : นางสาวเพชรานันท กระโหมวงศ อาจารยที่ปรึกษา : อาจารยนวพรรษ เพชรมณี สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ
“ กวาชางคนหนึ่งจะเสกสรรปนแตง เครื่องถมใหมีลักษณะที่เรียกวา สมบูรณไดนั้นตองอาศัยทั้งฝมือ ความอดทนและความประณีต ในการแกะสลักลวดลายบวกกับ ความชำนาญในการถมน้ำยา จนมาเปนเครื่องถมเมืองนคร ”