Issue08

Page 1

- จากพิธีสารเกียวโตสู่การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย - เทคโนโลยีการดักจับคาร์บอน (Carbon Capture) เพื่อ่ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีสีเขียว - โปรแกรมวิจยั ด้านอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเพือ่ สิง่ แวดล้อม


PETROMAT’s Editor Corner

สวัสดีปีใหม่คะ่ เผลอแว้บเดียววารสารของเรากําลังจะก้าวขึน้ สูป่ ี ท่ี 3 แล้ว เวลาช่ างผ่านไปไวเหมือนโกหกจริง ๆ เลยนะคะ ท่านผู ้อ่านเคยเห็นแต่เบื้องหน้าของวารสาร คงจะสงสัยไม่น้อยว่าทีมงาน PETROMAT Today มีใครกันบ้าง วารสารฉบับนี้ จะขอนําเสนอรู ปทีมงาน เบื้องหลังความสําเร็จให้ท่านผู ้อ่านได้รู้จักไปพร้อม ๆ กับ การเปิ ดตัว “น้องปี โต้” Mascot ตัวแทนเชิ ง สั ญ ลั ก ษณ์ สมาชิ กใหม่ ข อง PETROMAT ซึ่ งต่ อไปท่ า นผู ้ อ่ า นก็ค งจะได้ เ ห็ น น้ อ งปี โต้ บ่ อ ย ๆ ตามสื่อ ต่ า ง ๆ อยากให้ ผู้อ่า น เป็นกําลังใจติดตามน้องปี โต้ไปด้วยกันนะคะ วารสารฉบับนี้นําเสนอเกี่ยวกับการดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Capture) หรือที่รู้จักดีว่า “ก๊าซเรือนกระจก” ซึ่ งเป็นสาเหตุหลักที่ทําให้เกิดภาวะโลกร้อน นอกจากการดักจับแล้วยังมีวิธีการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในรู ปแบบต่าง ๆ ซึ่ งเป็นงานวิจัยภายใต้โปรแกรมวิจัยอุ ตสาหกรรมปิ โตรเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม อีกทัง้ PETROMAT ยังได้รับเกียรติจากผู ้อํานวยการองค์การบริหารจัดการก๊ า ซเรื อ นกระจกที่ ม าเล่ า ถึ ง มาตรการการ ควบคุมการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงการกําหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องที่จะสามารถนําไปสู่โจทย์วิจัยได้.. แก้วใจ คําวิลัยศักดิ์ kaewjai.k@chula.ac.th

คณะที่ปรึกษา

รศ. ดร.ปราโมช รังสรรค์วิจิตร ผศ. ดร.ศิริพร จงผาติวุฒิ

บรรณาธิการ

แก้วใจ คําวิลัยศักดิ์

ผู ้ช่วยบรรณาธิการ ฤทธิเดช แววนุกูล

กองบรรณาธิการ

ชญานิศค์ ศิริวงศ์นภา พรพิมล ชุ่ มแจ่ม ธีรยา เชาว์ขุนทด ภัสร์ชาพร สีเขียว กุลนาถ ศรีสุข

Carbon Capture

กํากับศิลป์

อมรฤทธิ์ หมอนทอง

จัดทําโดย

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ อาคารวิจัยจุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้น 7 ซ.จุ ฬาฯ 12 ถ.พญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุ งเทพฯ 10330 โทร : 0-2218-4141-2 แฟ็ กซ์ : 0-2611-7619 Email: info@petromat.org WWW.PETROMAT.ORG

ที่มาภาพหน้าปก 1. http://s.wallpaperhere.com/wallpapers/1920x1080/20110720/4e2669a062b10.jpg 2. http://www.clker.com/cliparts/3/2/9/c/1334866783945475122tree.jpg



INTRODUCTION

CCS Technology

เทคโนโลยีสีเขียวเพื่อโลกของเรา เรื่องโดย : ฤทธิเดช แววนุกูล

ช่

วงที่ผมเขียนบทความเรื่องนี้ พี่นอ้ งในหลายจังหวัดกําลังได้รับผลกระทบจากอุ ทกภัย โดยเฉพาะพี่น้องในจังหวัดปราจีนบุ รี ฉะเชิ งเทรา สระแก้ว ชลบุ รี ระยอง ในขณะที่ผมและคนกรุ งเทพฯ ต้องติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดเพราะภาพฝั นร้ายในปี 2554 ยังคง ติดตาตรึงใจอยู ่ เหตุการณ์น้าํ ท่วมใหญ่ท่เี มื่อก่อน 10 ปี จะเกิดขึ้นสักครัง้ กลับตามมาหลอกหลอนในอีก 2 ปี ถัดมา เป็นตลกร้ายส่งท้ายปี 2556 ตอนนี้ปล่อยให้น้าํ ไหลลงทะเลไป เรามาเข้าเรื่องบทความของฉบับนี้ดีกว่าก่อนที่จะออกทะเลตามไปกับนํ้า..... การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) จากภาวะโลกร้อน (Global Warming) เริ่มเห็นผลชัดเจนขึน้ เรื่อย ๆ จากไม่ก่ปี ี กอ่ นหลาย ๆ คนยังมองว่าเป็นเรื่องไกลตัว ต่างก็ตระหนักและรับผลกระทบกันถ้วนหน้า สาเหตุหลักของภาวะโลกร้อนที่เรารู ้กันดี คือ ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ซึ่ งเกิดจากก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas, GHG) ไปปกคลุมชั้ นบรรยากาศของโลกทําให้ถูกกักเก็บเอาไว้ เหมือนกับเรือนกระจก ที่ ใ ช้ สํ า หรั บ ปลู ก พื ช ในเขตหนาว ก๊ า ซเรื อ นกระจกมี ด้ ว ยกั น หลายตั ว เช่ น ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ (CO 2 ) ก๊ า ซมี เ ทน (CH 4 ) ก๊ า ซไนตรั ส ออกไซด์ (N 2O) สารซี เอฟซี (CFC หรื อ Chlorofluorocarbon) เป็นต้น แต่ก๊าซที่นักวิทยาศาสตร์ให้ความสนใจมากและเป็นที่รู้จักกันดีคือ CO2 ซึ่ งมนุษย์ทุกคนต่างก็มีส่วนในการปล่อย CO2 สู่บรรยากาศ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่ น การผลิตไฟฟ้า การขนส่ง โรงงานอุ ตสาหกรรม การทําอาหาร การทําเกษตรกรรม หรือแม้แต่การที่เราหายใจ ถ้าเราจําแนกปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามภาคเศรษฐกิจต่าง ๆ ซึ่ งผมขออ้างอิงตัวเลขของ สหรัฐอเมริกาปี 2554 ตามรู ปที่ 1 จะพบว่าโรงไฟฟ้า การขนส่ง และอุ ตสาหกรรม เป็น 3 ภาคหลักที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมกันถึง 81% โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคอุ ตสาหกรรมที่จะต้องแสดงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

รูปที่ 1 Total U.S. Greenhouse Gas Emissions by Economic Sector in 2011

หนึ่งในวิธีการลดการปล่อย CO2 สู่บรรยากาศที่กําลังถูกพัฒนา มาใช้ในภาคอุ ตสาหกรรมและเป็น Theme ของ PETROMAT Today ฉบับ นี้ก็คือ “เทคโนโลยีการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (Carbon Capture and Storage: CCS)” ซึ่ งเป็นเทคโนโลยีท่ใี หม่และสหภาพยุ โรปให้ความสําคัญมาก เทคโนโลยี CCS แบ่งเป็น 2 ขัน้ ตอนหลัก ๆ คือ (ดูภาพประกอบตามรู ปที่ 2) 1) ดักจับคาร์บอน (Carbon Capture) เป็นการดักจับ CO2 ออก จากกระบวนการเผาไหม้ ไม่ว่าจะเป็นก่อนการเผาไหม้ (Pre-combustion) หลั ง การเผาไหม้ (Post-combustion) หรื อ ระหว่ า งการเผาไหม้ (Oxy-combustion) โดยใช้ สารเคมีดูดซั บ ใช้เมมเบรน ลดอุ ณหภูมิ หรือ ใช้สารที่มีพื้นที่ผิวสูงดูดซั บ 2) การกักเก็บคาร์บอน (Carbon Storage) แบ่งได้เป็น 2 แบบ ได้แก่ การกักเก็บทางอ้อม (Indirect Storage) ซึ่ งก็คือการให้ต้นไม้นํา CO2 ไปใช้ในการสังเคราะห์แสง และ การกักเก็บทางตรง (Direct Storage) คือ การเก็บ CO2 ในรู ปของก๊าซในใต้ดิน ในรู ปของเหลวในมหาสมุ ทรโดยส่ง CO2 ลงไปลึกประมาณ 1 กิโลเมตรแล้วละลายนํ้า หรือส่ง CO2 ลงไปลึกกว่า 3 กิ โ ลเมตร เพื่ อให้ ก ลายเป็ น ของเหลวที่ มี ค วามหนาแน่ น มากกว่ า นํ้ า สุดท้ายคือกักเก็บในรู ปของแข็งโดยทําให้เป็นสารประกอบคาร์บอเนต


สําหรับเทคโนโลยี CCS นี้ ทาง PETROMAT เห็นว่า เป็ น เทคโนโลยี ท่ี จ ะมี บ ทบาทอย่ า งมากสํ า หรั บ ภาค อุ ตสาหกรรมในอนาคตและสอดคล้องกับทิศทางการ วิจัยโปรแกรมวิจัยด้านอุ ตสาหกรรมปิ โตรเคมีเพื่อสิ่ง แวดล้อม (Green Petrochemical Industries; GPI) ในปั จจุ บัน PETROMAT มีงานวิจัยด้านเทคโนโลยี CCS ที่อยู ่ระหว่างการพัฒนาและที่สําเร็จแล้ว รวมถึงงาน วิจัยที่ทําร่วมกับภาคเอกชน โดยท่านผู ้อ่านสามารถ ติดตามรายละเอียดได้ใน PETROMAT Today ฉบับนีค้ รับ

รูปที่ 2 เทคโนโลยีการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (Carbon Capture and Storage: CCS)

สุดท้ายนี้ผมและ PETROMAT ขอเป็นกําลังใจให้ท่านผู ้อ่านทุกท่านที่ได้รับผลกระทบจากอุ ทกภัยปี นี้ อะไรที่ร้าย ๆ ขอให้ผ่านพ้นไป ขอให้พบแต่ส่งิ ดี ๆ ในปี 2557 “Happy New Year” ครับ เอกสารอ้างอิง 1.http://www.epa.gov/climatechange/ghgemissions/sources.html 2.กมลพร อยู ่สบาย “เทคโนโลยีการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (Carbon Capture and Storage: CCS)”, ส่วนนํ้าเสียเกษตรกรรม, สํานักจัดการคุณภาพนํ้า กรมควบคุมมลพิษ, เมษายน 2555 3.http://en.wikipedia.org/wiki/Carbon_capture_and_storage

AWARDS PETROMAT ¢ÍáÊ´§¤ÇÒÁÂÔ ¹ ´Õ ¡Ñ º È. ´Ã.ÊØ Ç ºØ Þ ¨Ô à ªÒÞªÑ Â (CU-PPC) ·Õ่ ä ´Œ ÃÑ º ÃÒ§ÇÑ Å ÍÒ¨Òà´Õ à ´‹ ¹ áË‹ § ªÒμÔ ÊÒ¢ÒÇÔ · ÂÒÈÒÊμà á ÅÐà·¤â¹âÅÂÕ àÁ×่ Í ÇÑ ¹ ·Õ่ 14 ¾ÄÈ¨Ô ¡ Ò¹ 2556 â´Â¹Ò¨ÒμØ Ã ¹μ ©ÒÂáʧ ÃÁμ.¡ÃзÃǧÈÖ ¡ ÉÒ¸Ô ¡ ÒÃ໚ ¹ ¼Ù Œ Á ͺÃÒ§ÇÑ Å PETROMAT ¢ÍáÊ´§¤ÇÒÁÂÔ¹´Õ¡Ñº ÃÈ. ´Ã.¾Ã¾¨¹ ໂ›ÂÁÊÁºÙó (CU-CT) áÅÐ ¼È. ´Ã.»Á·Í§ ÁÒÅÒ¡ØÅ ³ ÍÂظÂÒ (CU-PPC) ·Õ่ä´ŒÃѺÃÒ§ÇÑżŧҹ/â¤Ã§¡Òà ÇÔ¨ÂÑ à´‹¹ »ÃШํÒ»‚ 2556 ¡ÅØÁ‹ §Ò¹ÇÔ¨ÂÑ áÅоѲ¹Ò ¨Ò¡ Ê¡Ç.

PETROMAT ¢ÍáÊ´§¤ÇÒÁÂÔ ¹ ´Õ ¡Ñ º Í. ´Ã.Á¹μÃÕ ÊÇ Ò‹ §¾Ä¡É (KU-ChE) ·Õä่ ´ ÃŒ Ñ ºÃÒ§ÇÑ Å¹Ñ¡ ÇÔ ¨Ñ  ÃØ ¹ ‹ àÂÒÇ ¼Ù Ê Œ à Ҍ §ÊÃä ¼ ŧҹÇÔ¨Â Ñ μÕ¾Á Ô ¾ à дѺ¹Ò¹ÒªÒμÔ »ÃШํÒ»‚ 2555 à¹×่ͧ㹧ҹ 35 »‚ ʶҺѹÇÔ ¨Ñ áÅоѲ¹Òá˧‹ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà¡ÉμÃÈÒÊμÃ

PETROMAT ¢ÍáÊ´§¤ÇÒÁÂÔ¹´Õ¡Ñº ¼È. ´Ã.¸§ä·Â ÇÔ±Ùà·Õ่ä´ŒÃѺÃÒ§ÇÑÅ¡ÒùํÒàʹͼŧҹÇԨѴÕàÂÕ่ÂÁ Ẻâ»ÊàμÍà 㹡ÒûÃЪØÁ “¹Ñ¡ÇÔ¨ÂÑ Ãع‹ ãËÁ‹...¾º...àÁ¸Õ ÇÔ¨ÂÑ ÍÒÇØâÊ Ê¡Ç.” ¤Ãѧ้ ·Õ่ 13 àÁ×Í่ Çѹ·Õ่ 16 - 18 μØÅÒ¤Á 2556

1


NEWS

Research Program Seminar 2013 ASEAN Ceramics 2013

เสร็จสิ้นไปด้วยดีสําหรับงานสัมมนาย่อยประจําปี นี้ของโปรแกรมวิจัยทั้ง 4 ด้าน โดยล่าสุดจัดสัมมนาในเดือนตุลาคมสําหรับโปรแกรมวิจัย MFE, HPSM และ SP นักวิจัย และผู ช้ ่ วยวิจยั ได้นาํ เสนอผลงานวิจยั และพบปะกันระหว่างสมาชิ กโปรแกรมวิจยั จากต่างสถาบัน ทําให้เกิดการบู รณาการองค์ความรู ้และเกิดความร่วมมือในการทําวิจัยในอนาคต

เยี่ยมชมโรงงานของบริษัท ไทยโอลีโอเคมี จํากัด ภาควิชาวัสดุศาสตร์ จุ ฬาฯ หนึ่งในสถาบันร่วมของ PETROMAT โดยความร่วมมือกับสมาคมเซรามิกส์ไทย MTEC สวทช. และบริษทั เอกชนชัน้ นําด้านเซรามิก ร่วมกัน จัดงาน ASEAN Ceramics 2013 ในระหว่างวันที่ 11 - 13 กันยายน 2556 ณ ศูนย์ประชุมไบเทค บางนา ภายในงานประกอบไปด้วย การแสดงนวัตกรรม เทคโนโลยี เครื่องจักร ตลอดจนวัตถุดบิ ต่าง ๆ ของอุ ตสาหกรรม เซรามิกจากบริษทั ชั้นนํามากกว่า 22 ประเทศทั่วโลก

การประชุมปรึกษาหารือการดําเนินงาน ของศูนย์ฯ ในระยะท่ี 3

ผู ้อํานวยการสํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาฯ (PERDO) พร้อมด้วยผู บ้ ริหารศูนย์ความเป็นเลิศทัง้ 11 ศูนย์ เข้าพบนายจาตุรนต์ ฉายแสง เพื่อปรึกษาหารือการดําเนินงานในระยะที่ 3 และแสดง ความยินดีในโอกาสรับตําแหน่งรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ในวันที่ 14 ตุลาคม 2556 ณ กระทรวงศึกษาธิการ

2 Carbon Capture

รองผู อ้ าํ นวยการ พร้อมทีมงาน PETROMAT เข้าเยี่ยมชมโรงงานของ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จํากัด ที่นิคม อุ ตสาหกรรมมาบตาพุ ด จังหวัดระยอง เมื่อวั นที่ 30 ตุลาคม 2556 ที่ผ่านมา

แสดงความยินดีกับ รองอธิการบดี จุ ฬาฯ (ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.มงคล เตชะกําพุ )

ผู อ้ าํ นวยการศูนย์ความเป็นเลิศทัง้ 3 ศูนย์ (ศูนย์ความเป็นเลิศด้าน เทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของ เสียอันตราย และศูนย์ความเป็นเลิศด้านความหลากหลายทางชี วภาพ) ร่วม ความแสดงยินดีกับ รองอธิการบดี จุ ฬาฯ (ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.มงคล เตชะกําพุ ) ที่ดแู ลกํากับศูนย์ความเป็นเลิศ และเข้ารับตําแหน่งใหม่ ตัง้ แต่วันที่ 1 ตุลาคม 2556 เป็นต้นมา


EVENTS


COVER STORY

จากพิธีสารเกียวโตสู่การบริหารจัดการ

ก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย บทสัมภาษณ์ รองฯ ประเสริฐสุข จามรมาน รองผู ้อํานวยการ รักษาการผู ้อํานวยการ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ท่านผูอ้ า่ นคงเคยได้ยนิ ได้ฟงั เรือ่ งก๊าซเรือนกระจกตลอดจนภาวะโลกร้อนมานานมากแล้ว ท่านผูอ้ า่ นทราบหรือไม่ครับว่า ประเทศไทยเรามีหน่วยงานทีด่ แู ลเรือ่ งก๊าซเรือนกระจกนีโ้ ดยตรง เป็นเรือ่ งที่ นา่ ยินดีมากครับที่ทมี งาน PETROMAT ได้รบั เกียรติอย่าง สูงจากท่านรองฯ ประเสริฐสุข จามรมาน รองผู้อํานวยการ รักษาการผู้อํานวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ในการเข้าพบและอนุญาตให้บทสัมภาษณ์ดงั กล่าวมาลงในวารสารฉบับนีค้ รับ 4 Carbon Capture


PETROMAT : ก่อนอื่นอยากให้ท่านรองฯ ช่ วยเล่าความเป็นมาของ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกให้พวกเรารู ้จักกันมากขึ้นสักนิด : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)” เรียกโดยย่อว่า “อบก.” จัดตัง้ ขึน้ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2007 ด้วยความ ไม่เจตนาเลยนะคะ ก็เลยจําง่าย ก่อนหน้านัน้ ประเทศไทยไปร่วมลงนามใน อนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศในปี พ.ศ. 2535 ประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิ กตอนนัน้ ก็เห็นว่าน่าจะมีกฎอะไรที่เป็นข้อผู กพันทาง กฎหมาย (Legally binding) จึงเกิดเป็น “พิธสี ารเกียวโต” ขึน้ มา กําหนดว่าใน ระยะที่ 1 (2008 -2012) กลุม่ ประเทศที่เป็น Annex I countries ประเทศไทย ไม่ได้อยู ใ่ นกลุม่ Annex I countries ซึ่ งในพิธสี ารเกียวโตบอกว่าแทนที่ประเทศ ั นาแล้วจะต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอยู ฝ่ ่ ายเดียว ควรให้ประเทศ ที่พฒ กําลังพัฒนาที่เรียกว่า Non-Annex countries ได้ประโยชน์รว่ มด้วย จึงพัฒนา กลไกการพัฒนาทีส่ ะอาด หรือ Clean Development Mechanism (CDM) หมายถึง การทําโครงการลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศกําลังพัฒนา พอเกิดคาร์บอนเครดิต แล้วสามารถซื้ อขายถ่ายโอนให้ประเทศที่พัฒนาแล้วได้หโดยประโยชน์ท่ีประเทศ กําลังพัฒนาได้รับคือการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการลดก๊าซเรือนกระจกใน ประเทศกําลังพัฒนาก็จะดีขนึ้ ด้วย รองฯ ประเสริฐสุข

เครดิตตรงนีเ้ นื่องจากประเทศที่พฒ ั นาแล้วเป็นผู ม้ าลงทุนก็จะอนุญาต ให้โอนเครดิตโดยการซื้ อขายกันได้ แต่กติกาของสหประชาชาติบอกว่าจะต้องมี หน่วยงานที่เป็น Designated National Authorities (DNA) ทําหน้าที่กลั่นกรอง ขณะนัน้ เมืองไทยยังไม่มหี น่วยงานนี้ งานเรื่อง Climate Change จะอยู ภ่ ายใต้ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ซึ่ งเดิมพี่ก็ ทํางานอยู ใ่ นนัน้ ดูเรื่อง Climate Change ในภาพใหญ่ ในเชิ งนโยบาย แต่เรื่อง การทําโครงการ CDM เป็นเรื่องเทคนิคเฉพาะทางและต้องเตรียมความพร้อมใน ระดับหนึ่ง ประเทศไทยเริ่มต้นช้ากว่าเพื่อนบ้านไป 2 – 3 ปี ในขณะที่ภาคเอกชนได้ รับการทาบทามและร่วมมือกับต่างประเทศไปหลายรายแล้ว ในระยะต้น ๆ ประเทศ เดนมาร์ก สหราชอาณาจักร หรือสวิตเซอร์แลนด์ เข้ามาชวนภาคเอกชนไทยทํา โครงการลดก๊าซเรือนกระจก มาช่ วยลงทุน แล้วพอได้คาร์บอนเครดิตจะขอซื้ อไป แต่พอถึงขัน้ ตอนการซื้ อขายกันกลับทําไม่ได้เพราะกติกาของสหประชาชาติบอกว่า โครงการที่จะทําการซื้ อขายกันต้องมีหนังสือรับรองจากหน่วยงาน DNA ซึ่ งขณะ นั้ น ประเทศไทยยั งไม่ มี พี่ ก็ ไ ด้ รั บ assign จากรั ฐ บาลให้ ม าช่ วยดู เ รื่ อ งนี้ หลังจากปรึกษากันและได้คาํ แนะนําว่ามี พรบ. องค์การมหาชน อยู แ่ ล้ว จึงจัดตัง้ เป็นองค์การมหาชนขึน้ มา และตัง้ ชื่ อเป็น “องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)”

“...ซึ่ งในพิธสี ารเกียวโตบอกว่าแทนที่ประเทศที่พฒ ั นาแล้ว จะต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอยู ฝ่ ่ ายเดียว ควรให้ประเทศกําลังพัฒนาที่เรียกว่า Non-Annex countries ได้ประโยชน์รว่ มด้วย...”

5


COVER STORY

PETROMAT : ปั จจุ บันปั ญหาเรื่องก๊าซเรือนกระจกกระทบต่อภาวะ โลกร้อนอย่างรุ นแรง ทาง อบก. มีการกําหนดมาตรการด้านการ ควบคุมการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงการกําหนดนโยบาย ที่เกี่ยวข้องที่จะสามารถนําไปสู่โจทย์วิจัยได้อย่างไร รองฯ ประเสริ ฐ สุ ข : หน้ า ที่ ห ลั ก คื อ การไปพั ฒ นาวิ ธี บ ริ ห ารจั ด การ ในเรื่องของศูนย์ขอ้ มู ลก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ข้อมู ลสถิติ ทําในเรื่อง การส่งเสริมตลาดคาร์บอน เพราะบ้านเรายังไม่มอี งค์ความรู พ ้ วกนีเ้ ลย ในเรื่องนโยบายเราจะทําหน้าที่เสนอแนะว่า ถ้าประเทศไทยจะต้องทําในเรื่อง การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกแล้ว เครื่องมือที่จะใช้ควรจะเป็นอะไรบ้าง รวมทั้ ง กลไกใหม่ ๆ เช่ น Market Mechanism เช่ น Domestic Carbon Market TVER Thailand Voluntary Emission Reduction และ Non Market Mechanism เช่ น Incentives รวมทัง้ กฎ ระเบียบ Inventory Report System อีกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการจัดการก๊าซเรือน กระจกคือ ระบบ Carbon Footprint อันนีก้ เ็ ป็นสิ่งที่ อบก. ได้มาทํางาน และทําให้ไ ด้รู้จัก กับ รศ. ดร.ธํ ารงรัตน์ มุ ่งเจริญ เราได้พั ฒนาระบบ Carbon Footprint ขึน้ มาได้ ซึ่ งเราพู ดได้เลยว่าเราเป็นประเทศแรก ในอาเซี ยน ตอนนีท้ ่ี อบก. เริ่มทําอย่างจริงจังก็คอื Climate Change International Technical and Training Center (CITC) ซึ่ งประเทศไทยน่า จะเป็นศูนย์กลางของอาเซี ยนได้

PETROMAT : อบก. เป็นศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์การระหว่างประเทศ ที่ผ่าน มาใช้หลักในการบริหารจัดการอย่างไร เพื่อให้เกิดความร่วมมือ กันระหว่างหน่วยงาน รองฯ ประเสริฐสุข : ภารกิจของเราไม่ได้ทาํ เฉพาะภายในประเทศ อย่างเดียว ในช่ วงแรกเราต้องมี Connection กับต่างประเทศค่อนข้าง เยอะ เพราะองค์ความรู ม้ าจากต่างประเทศ และเราทํางานในเชิ ง Active ส่วนหนึ่งก็มาจากการที่เอกชนหลายรายได้รับการสนับสนุนจากต่าง ประเทศ ก็เลยต่อเนื่องกันไป แต่จากนีไ้ ป อบก. จะให้ความสําคัญกับ ภายในประเทศให้มากขึน้ เพราะถ้าประเทศของเราจัดการกับเรื่องนีไ้ ด้ก็ จะเกิดประโยชน์กบั ตัวเราประเทศเอง PETROMAT : มุมมองเกี่ยวกับการทําวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ ทางด้านก๊าซเรือนกระจกเป็นอย่างไร และ อยากเห็นแนวโน้มงาน วิจัยด้านนี้ไปในทิศทางใด รองฯ ประเสริฐสุข : หลายโครงการยังต้องพึ่งพิงเทคโนโลยีตา่ ง ประเทศ เพราะฉะนัน้ งานวิจยั ที่จะมาช่ วยตอบโจทย์หรือมาช่ วยสนับสนุน ยังมีไม่มากพอ ยกตัวอย่าง เช่ น แวดวงปิ โตรเคมีท่ี PETROMAT เชี่ ยวชาญ งานวิจยั ในเชิ งบริหารจัดการก็เป็นส่วนหนึ่งที่พ่อี ยากจะให้ Focus มากกว่าเรื่องเทคโนโลยี เพราะงานวิจยั เชิ งเทคโนโลยีเราอาจจะ ทําได้ไม่เท่าเทียมกับต่างประเทศ เพราะเรามีขอ้ จํากัด แต่งานวิจยั ในเชิ ง บริหารจัดการตรงนี้ น่าจะเป็นการคิดวางระบบของการบริหารจัดการ ในภาคปิ โตรเคมีได้วา่ ควรจะเป็นอย่างไรเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

เป็นอย่างไรบ้างครับท่านผู ้อ่าน บทสัมภาษณ์ของท่านรองฯ นับว่ามีประโยชน์มากสําหรับนักวิจัยและภาคเอกชน ่ เนื้อหาทีทีมงาน PETROMAT นํามาลงเป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านัน้ ท่านผู ้อ่านที่สนใจสามารถเข้าไปหาความรู ้เพิ่มเติมได้ท่เี ว็ปไซต์ของ อบก. www.tgo.or.th ได้นะครับ สุดท้ายนี้ PETROMAT ขอขอบพระคุณท่านรองฯ ประเสริฐสุข จามรมาน ที่ได้สละเวลาอันมีค่ามาถ่ายทอดความรู ต้ ลอดจนแนะนํา แนวทางการวิจัยและพัฒนาให้กับ PETROMAT กลับไปพัฒนางานวิจัย รวมถึงสร้างสรรค์โครงการวิจัยใหม่ ๆ ต่อไป

6 Carbon Capture


7


INTERVIEW

เทคโนโลยีการดักจับคาร์บอน (Carbon Capture) เพื่ออุ ตสาหกรรมปิ โตรเคมีสีสเี ขียว

โดย

ผศ. ดร.ชนินทร์ ปั ญจพรผล

ผศ. ดร.กานดิส สุดสาคร

หัวหน้าร่วมโปรแกรมวิจัย GPI

ทุ

กวันนี้อุณหภูมิภายในโลกของเราสูงขึ้นทุกปี ซึ่ งเกิดจากการเพิ่มขึ้นของ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในชั้ นบรรยากาศ ทําให้ทุกคนตระหนักถึงปั ญหา และพยายามช่ วยกัน ลดปริ ม าณของก๊า ซ CO2 ด้ ว ยเหตุ นี้ นั ก วิ จั ย หลายท่ า น จึงมีแนวคิดในการทําวิจัยเกี่ยวกับ Carbon Capture เพื่อดักจับก๊าซ CO2 และ นํามาใช้ให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น PETROMAT Today ฉบับนี้ ขอนําผู ้อ่านทุก ท่ า นมารู ้ จั ก กั บ นั ก วิ จั ย ของ PETROMAT ที่ ศึ ก ษางานวิ จั ย ทางด้ า นนี้ คื อ ผู ช้ ่ วยศาสตราจารย์ ดร.ชนินทร์ ปั ญจพรผล รองหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเคมี และผู ช้ ่ วยศาสตราจารย์ ดร.กานดิส สุดสาคร อาจารย์ประจําภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อีกทัง้ เป็นหัวหน้าร่วมโปรแกรมวิจยั และนั ก วิ จั ย สั ง กั ด โปรแกรมวิ จั ย ด้ า นอุ ต สาหกรรมปิ โตรเคมี เ พื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ตามลําดับ อีกด้วย 8 Carbon Capture

สารปประกอบจาก CO2 ที่ถูกดักจับอาด้นตวยนํ อหน้าาทะเล ถัดไป อ่านต่อหน้าถัดไป...



INTERVIEW PETROMA : อยากให้อาจารย์ช่วยเล่าประสบการณ์หรือเหตุผลที่ ทําให้เลือกมาเป็นอาจารย์และนักวิจยั ในมหาวิทยาลัย อ.ชนินทร์ : ย้อนไปสมัยตอนจบปริญญาตรีใหม่ ๆ ผมได้มีโอกาสไป ทํางานในโรงงานปิ โตรเคมีเป็นระยะเวลาหนึ่ง จึงทําให้ได้ค้นพบว่าตนเอง ชื่ นชอบงานทางด้านกระบวนการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานด้านการปรับปรุ ง กระบวนการ และออกแบบระบบควบคุม ทําให้เกิดแรงบันดาลใจที่จะค้นหาองค์ ความรูใ้ หม่ ๆ ทางด้านนี้ และอยากจะถ่ายทอดความรู ้และประสบการณ์ จากการทํางานให้กับผู ้ท่สี นใจ จึงทําให้มีโอกาสเข้ามารับทุนรัฐบาลเพื่อเป็น อาจารย์ อ.กานดิส : เป็นอาชี พที่มีความเป็นอิสระสูง สามารถเลือกทํางานวิจัยใน เฉพาะขอบเขตที่ตนเองสนใจ และควบคุมสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเองได้มาก เช่ น การจัดตารางเวลาทํางาน และระดับความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน PETR : ขอให้อาจารย์ช่วยอธิบายว่า Carbon Capture คืออะไร อ.กานดิส : Carbon Capture คือ การดักจับคาร์บอนซึ่ งอยู ่ในรู ปก๊าซ CO2 ที่ปลดปล่อยจากกระบวนการ เพื่อนําไปจัดการต่อไป PETROMAT : แรงจูงใจที่ทาํ ให้ทาํ งานวิจยั ทางด้าน Carbon Capture อ.กานดิส : การเริ่มทําวิจัยในด้านนี้มีแรงจู งใจมาจากการได้โอกาสเข้าไป ช่ วยศึกษาปั ญหาแนวทางลดการปลดปล่อยก๊าซ CO2 ที่ทาง ปตท. สผ. สนใจ อย่างที่ทราบกันดีอยู ่ว่าอุ ตสาหกรรมนํ้ามัน และปิ โตรเคมี มีการปล่อยก๊าซ CO2 ในปริมาณที่สูงและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนัน้ การพัฒนา เทคนิคที่จะลดปริมาณการปลดปล่อยหรือเปลี่ยนรู ปก๊าซ CO2 จึงมีความ จําเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้การพัฒนาของภาคอุ ตสาหกรรมได้เติบโตควบคู่กับ เทคโนโลยีท่เี ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม PETR : ความรู ้ท่ใี ช้ในการทําวิจัยด้าน Carbon Capture อ.ชนินทร์ : ความรู ท้ ่ใี ชน้ นั้ หลากหลายมาก เช่ น ความรู ด้ า้ นปฏิกริ ยิ าเคมี การออกแบบอุ ปกรณ์และเครื่องปฏิกรณ์ภายใต้เงื่อนไขของปั ญหาที่ศึกษา การขยายขนาดจากระดับการทดลองสูข่ นาดอุ ปกรณ์ตน้ แบบ การเลือกวัสดุ และอุ ปกรณ์ตรวจวัด PETR : แนวโน้มการลดการปล่อยก๊าซ CO2 ของโลก ทัง้ ทาง ด้านนโยบายของรัฐที่มีต่อการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและใน ฐานะนักวิจยั ของประเทศไทยจะก้าวต่อไปอย่างไร อ.ชนินทร์ : ปั จจุ บันรัฐบาลมีแนวโน้มที่จะเก็บภาษีมลพิษทางนํ้า ซึ่งอาจจะ ขยายไปสูม่ ลพิษทางอากาศในอนาคต ซึ่งทําให้ภาคอุ ตสาหกรรมต้องตระหนัก ถึงการวิจยั ด้านสิ่งแวดล้อมมากขึน้ PETROM : งานวิจัยมีประโยชน์อย่างไรต่ออุ ตสาหกรรม ชุมชน ประเทศ หรือโลก อ.กานดิส : เราสามารถจับก๊าซ CO2 และเปลี่ยนให้อยู ใ่ นรู ปของสารประกอบ ที่สามารถใชเ้ ป็นสารตัง้ ต้นในกระบวนการผลิตสารเคมีชนิดอื่นได้ เช่ น ปุ๋ ยเคมี ซึ่งนอกจากจะเป็นการลดการปล่อยมลพิษแล้ว ยังเป็นการช่ วยลดต้นทุนการ ผลิตสารเคมีชนิดอื่นอีกด้วย

10 Carbon Capture

“การทําวิจยั ร่วมกับภาคอุ ตสาหกรรม เป็นโอกาสให้ได้นาํ ความรูท้ างวิชาการ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างเป็ นรู ปธรรม และเพิ่มมุ มมองในการทําวิจยั ในเชิ งประยุ กต์”


PETROMAT : งานวิจยั ที่ทาํ ร่วมกับภาคอุ ตสาหกรรมมีอะไรบ้าง อ.ชนินทร์ : (1) โครงการศึกษาการดักจับก๊าซ CO2 ด้วยนํ้าทะเล ซึ่ งเป็นการ ทํ า วิ จั ย ร่ ว มกั บ บริ ษั ท ปตท. สผ. (2) โครงการศึ ก ษา Life Cycle Assessment (LCA) และ Water Footprint ของก๊าซ NGV ซึ่งเป็นการทําวิจยั ร่วมกับบริษทั ปตท. PETROMAT : ข้อดี ข้อเสีย ของการทํางานวิจยั ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม อ.ชนินทร์ : ข้อดี การทําวิจยั ร่วมกับภาคอุ ตสาหกรรมเป็นโอกาสให้ได้นาํ ความรู ้ ทางวิชาการไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างเป็นรู ปธรรม และเพิ่มมุ มมองใน การทําวิจยั ในเชิงประยุ กต์ เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ในระดับอุ ตสาหกรรม และมี โอกาสทํางานร่วมกับห้องวิจยั อื่น ๆ ทําให้เกิดองค์ความรู เ้ กี่ยวกับงานวิจยั ใน เชิงบู รณาการมากขึน้ อีกทัง้ ยังเป็นการเพิ่มทักษะในการบริหารจัดการงานวิจยั ภายใต้ระยะเวลาอันจํากัด ข้อเสีย ต้องเข้าใจขัน้ ตอนการเบิกจ่ายงบประมาณของแต่ละบริษทั ซึ่งผู ว้ จิ ยั ต้องมีการสํารองจ่ายล่วงหน้า และระยะเวลาการทํางานมักจะสัน้ ต้อง กําหนดขอบเขตการทํางานให้ชัดเจน จึงจําเป็นต้องมีการบริหารจัดการงานวิจยั ที่ดี PETROMAT : อาจารย์มองอนาคตประเทศไทยเกี่ยวกับการพัฒนา งานด้าน Carbon Capture อย่างไร อ.กานดิส : เนื่องจากในปั จจุ บัน เทคโนโลยีในการจับก๊าซ CO2 มีตน้ ทุนในการ ดําเนินการค่อนข้างสูง ดังนัน้ ในอนาคต ต้องพยายามพัฒนาเทคนิคที่จะช่ วย ลดต้นทุนดังกล่าวเพื่อให้ถึงจุ ดคุ้มทุนที่สามารถนําไปใช้ได้จริงในอุ ตสาหกรรม PETROMAT : อยากให้ฝากถึงผู ท้ ่สี นใจอยากเป็นนักวิจยั หรือทํางาน วิจยั ทางด้าน Carbon Capture อ.กานดิส : งานวิจยั ทางด้านนีย้ งั มีโอกาสเปิ ดกว้างอีกมาก แต่ปัจจัย หนึ่งที่สําคัญและควรคํานึงถึงคือการนําไปประยุ กต์ใช้ได้จริงและมีความคุ้ม ค่าทางเศรษฐศาสตร์ ถ้ามีกระบวนการที่มีต้นทุนตํ่าก็จะช่ วยจู งใจให้ภาค อุ ตสาหกรรมอยากนํ าไปใช้ สุ ด ท้ า ยนี้ อ ยากจะบอกว่ า ความก้ า วหน้ า ด้ า นเทคโนโลยี ใ นอุ ตสาหกรรมสามารถพัฒนาควบคู่ไปกับการรักษาสภาพ แวดล้อมได้หากมีการบริหารจัดการที่ดแี ละนําเทคนิคที่ทนั สมัยเข้ามาประยุ กต์ใช้

สุ ด ท้ า ยนี้

ข อขอบพระคุ ณ ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.ชนินทร์ ปั ญจพรผล และผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กานดิส สุดสาคร ่ทีสละเวลาอันมีค่ามาให้สัมภาษณ์ ซึ่ งทําให้ผู้อ่านได้ความรู ้และเห็นแนวทางในการพัฒนาประเทศให้เป็นอุ ตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

11


RESEARCH

Research on

CARBON CAPTURE

การกักเก็บ CO2 โดยใช้สารละลายอัลคาไล

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ CO2 เป็นก๊าซเรือนกระจกที่ก่อให้เกิดปั ญหาภาวะโลกร้อน การดักจับ และกักเก็บก๊าซ CO2 (CO2 Capture and Sequestration) ก่อนปลดปล่อยสู่บรรยากาศจึงมีความสําคัญ และช่ วยลดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม ปั จจุ บันมีการวิจัยและพัฒนาการดักจับและกักเก็บก๊าซ CO2 ด้วยกัน หลากหลายวิธีขึ้นอยู ่กับความเหมาะสมของแหล่งก๊าซ CO2 ที่ปลดปล่อย งานวิจัยนี้สนใจการดักจับและ กักเก็บก๊าซ CO2 ให้อยู ่ในรู ปสารประกอบของแข็งที่มีความเสถียร โดยใช้สารละลายที่มีไอออนของโลหะ อั ล คาไลเข้ ม ข้ น สู ง ที่ มี ใ นนํ้ า ล้ า งเมมเบรนของระบบรี เ วอร์ ส ออสโมซิ ส (Reverse Osmosis, RO) หรือกระบวนการแยกเกลือ (Desalination Process) ซึ่ งควรได้รับการบําบัดก่อนปล่อยทิ้งเพื่อไม่ให้เกิด มลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ดังนัน้ การนําเอานํ้าเสียนี้มาจับก๊าซ CO2 นอกจากจะเป็นการบําบัด (Treatment) นํ้าเสียเองยังสามารถใช้ประโยชน์ช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซ CO2 จากกระบวนการผลิต นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นสารประกอบของแข็งยังสามารถนําไปใช้เป็นสารตั้งต้นในอุ ตสาหกรรมหลากหลายชนิดอีก ด้วย CO2 capture in form of stable solid particles using ammoniated brine

ผศ. ดร.กานดิส สุดสาคร ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU-ChE)

การพั ฒ นาเยื่ อ เลื อ กผ่ า นจากวั ส ดุ ค อมโพสิ ต ของ คาร์ บ อนรู พ รุ น และไอออนของโลหะเงิ น เพื่ อใช้ แ ยก CO2และมีเทน ภาพ SEM ของวัสดุคาร์บอนรู พรุ น ที่กําลังขยาย a) 5.0 k และ b) 100.0 k

ประเทศไทยมีแหล่งก๊าซธรรมชาติท่สี ามารถนํามาใช้ประโยชน์ในอุ ตสาหกรรมปิ โตรเคมีได้ ซึ่ งประกอบ ด้วยก๊าซมีเทนเป็นองค์ประกอบหลัก และมีกา๊ ซอื่น ๆ รวมทัง้ ก๊าซ CO2 อยู ด่ ว้ ย ก๊าซ CO2 เป็นก๊าซที่ทาํ ให้ เกิดภาวะเรือนกระจก นอกจากนีย้ งั มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน ซึ่ งอาจก่อให้เกิดปั ญหาการกัดกร่อนในท่อขนส่งได้ จึงจําเป็นต้องมีการแยกก๊าซ CO2 ออกมาก่อน โดยเทคโนโลยีท่นี า่ สนใจและใช้พลังงานตํ่าคือการใช้เยื่อเลือก ผ่านในการแยกก๊าซ ทีมวิจยั ของเราจึงทําการพัฒนาวัสดุคาร์บอนรู พรุ นซึ่ งมีขนาดรู พรุ นในระดับนาโนเมตร มาใช้เป็นเยื่อเลือกผ่าน โดยการสังเคราะห์พอลิเบนซอกซาซี นซึ่ งเป็นวัสดุเทอร์โมเซตในระบบโซล-เจล ก่อนนําไป กําจัดตัวทําละลายและเผาในที่อับอากาศให้ได้เป็นคาร์บอน นอกจากนี้ยังมีการผสมไอออนของโลหะเงิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแยกก๊าซ CO2 ออกจากมีเทนด้วย 12 Carbon Capture

ผศ. ดร.ธัญญลักษณ์ ฉายสุวรรณ์ วิทยาลัยปิ โตรเลียมและปิ โตรเคมี จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU-PPC)


การจําลองซี เอฟดีของการลด CO2 จากฟลูแก๊สโดยใช้ ตัวดูดซั บในเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์ เบดแบบหมุนเวียน ปั จจุ บันโลกมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อตอบสนองต่อการบริโภคของมนุษย์ท่ีเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง เทคโนโลยีใหม่ต่าง ๆ ได้เข้ามามีบทบาทในภาคอุ ตสาหกรรม ส่งผลให้มีการ ปลดปล่ อ ยมลภาวะออกสู่ บ รรยากาศเพิ่ ม ขึ้ น โดยเฉพาะก๊ า ซ CO 2 จากกระบวนการ การเผาไหม้ อันเป็นก๊าซที่เป็นสาเหตุหลักของภาวะโลกร้อน ด้วยสาเหตุนี้เองจึงได้มีการ ค้นคว้าหาวิธีในการกําจัดหรือกักเก็บก๊าซ CO 2 ก่อนปล่อยเข้าสู่บรรยากาศ การใช้ตัว ดูดซั บของแข็งในวงปฏิกิริยาเคมีภายใต้เครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์ เบดแบบหมุ นเวียนเป็นทาง เลือกหนึ่งที่มีความเหมาะสมในการลดก๊าซ CO 2 เนื่องจากตัวดูดซั บของแข็งนั้นสามารถ หาได้ง่าย มีราคาเหมาะสม และยังสามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้อีกด้วย งานวิจัยนี้จะทํา การศึ ก ษาอุ ทกพลศาสตร์ แ ละปฏิ กิ ริ ย าเคมี ข องการดู ด ซั บ ก๊ า ซ CO 2 โดยใช้ ตั ว ดู ด ซั บ ของแข็ งในเครื่ อ งปฏิ ก รณ์ ฟ ลู อิ ไ ดซ์ เ บดแบบหมุ น เวี ย นด้ ว ยการจํ า ลองพลศาสตร์ ของไหลเชิ งคํ า นวณหรื อ ซี เอฟดี เพื่ อ หารู ป แบบการไหลที่ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ เปลี่ ย นความเร็ ว ของก๊ า ซขาเข้ า ที่ มี ค วามเหมาะสมต่ อ การลด CO 2 จากนั้ น จะใช้ วิ ธี ก ารออกแบบและ วิ เ คราะห์ ผ ลการทดลองเพื่ อ หาปั จจั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพในการลดก๊ า ซ CO 2

ผศ. ดร.เบญจพล เฉลิมสินสุวรรณ ภาควิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU-CT)

ลักษณะการประพฤติตัวของตัวดูดซั บของแข็ง ที่ความเร็วของก๊าซขาเข้าที่แตกต่างกัน

การพัฒนาอุปกรณ์การดักจับ CO2 ด้วยระบบแอมโมเนีย

ชุ ดอุ ปกรณ์ดักจับ ก๊าซ CO2 ความเข้มข้นสูง

งานวิ จั ย นี้ ไ ด้ ทํ า การพั ฒ นาชุ ด อุ ปกรณ์ ดั ก จั บ ก๊ า ซ C O 2 แ บ บ B u b b l e c o l u m n ที่ ใ ช้ พ ลั ง ง า น ตํ่ า และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการดั ก จั บ ก๊ า ซ CO 2 ความเข้ ม ข้ น ไม่เกิน 70 % โดยปริ มาตร ได้มากถึ ง 97 % อุ ปกรณ์ นี้ ส ามารถทํ า งานกึ่ ง กะโดยการป้ อนก๊ า ซแอมโมเนี ย (NH 3) ลงนํ้าที่ใช้เป็นตัวกลางเพื่อให้ได้สารละลาย NH3 เข้มข้นซึ่ งจะเกิด ปฏิกิริยากับก๊าซ CO2เป็นเกลือแอมโมเนียมไบคาร์บอเนต (NH4HCO3) อย่างรวดเร็ว ซึ่ งเกลือดังกล่าวสามารถนําไปใช้เป็นส่วนผสมของ ปุ๋ ยให้กบั พืชได้ โดยชุดอุ ปกรณ์นสี้ ามารถนําไปประยุ กต์ได้หลาก หลาย เช่ น ใช้เพื่อดักจับก๊าซ CO2 ที่มีความเข้มข้นสูงในก๊าซ ปล่อยทิ้งที่ยากต่อการบําบัดให้มีค่าตามมาตราฐาน การนําไป ใช้เพื่อเอาก๊าซ CO2 ที่เหลืออยู ่ในก๊าซปล่อยทิ้งกลับมา หรือ การนําไปประยุ กต์ใช้เพื่อปรับ คุ ณภาพก๊ า ซที่มี ค วามเข้ มข้ น ของก๊าซ CO2 สูงในกระบวนการผลิตปิ โตรเลียม/ปิ โตรเคมีได้

ผศ. ดร.ชนินทร์ ปั ญจพรผล ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU-ChE) 13


บทความพิเศษ

A pilot scale double screw pyrolysis ภาพงานวิจัยโดย : รศ. ดร.อภิญญา ดวงจันทร์

อุ ตสาหกรรมปิ โตรเคมี มีความสําคัญอย่างยิ่งต่อ ่

การผลิตสินค้าต่าง ๆ ทีนาํ มาใช้ในชี วติ ประจําวันและทําให้เกิด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากเช่ นเดียวกันโดยเฉพาะปั ญหาโลก ร้อน อุตสาหกรรมปิ โตรเคมีใช้พลังงานจํานวนมาก โดยเฉพาะ การเผาไหม้เชื้ อเพลิงเพื่อให้ได้พลังงานความร้อน ทําให้เกิด คาร์บอนไดออกไซด์มหาศาล การทําให้อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นนัน้ สามารถทําได้โดย ลดการ ใช้พลังงาน ลดการใช้น้าํ ในกระบวนการ ลดการใช้วตั ถุดบิ โดย ใช้เทคโนโลยีเข้าช่ วยปรับปรุงระบบให้มปี ระสิทธิภาพยิ่งขึน้ ส่วน คาร์บอนไดออกไซด์หรือก๊าซเรือนกระจกที่ไม่อาจหลีกเลี่ยง ได้จากกระบวนการสามารถใช้เทคโนโลยีในการกักเก็บ เพื่อ ควบคุมก๊าซดังกล่าวให้ออกสู่ส่ิงแวดล้อมในปริมาณที่น้อยลง

โปรแกรมวิจยั ด้านอุ ตสาหกรรมปิ โตรเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม

GPI

โปรแกรมวิจยั ด้านอุตสาหกรรมปิ โตรเคมีเพือ่ สิง่ แวดล้อม หรือ GPI (Green Petrochemical Industries) ทําการศึกษา ค้นคว้าวิจยั ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การพัฒนากระบวนการ • การประยุกต์เครือข่ายการใช้นา้ํ ในโรงงานโอลีฟินโดยเทคนิค ฮาร์โมนิค • การปรับปรุงหอกลัน่ เพือ่ การประหยัดพลังงานในกระบวนการ ผลิตทางปิ โตรเคมี

Green Petrochemical Industries Residence Time Distribution (RTD)

รศ. ดร.อภิญญา ดวงจันทร์ หัวหน้าโปรแกรมวิจัยด้านอุ ตสาหกรรมปิ โตรเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม (PI-GPI) 14 Carbon Capture

ภาพงานวิจัยโดย : รศ. ดร.สุนันท์ ลิ้มตระกูล


การพัฒนาแบบจําลองกระบวนการและการศึกษาตัวแปรที่ เหมาะสมสําหรับกระบวนการ • การจําลองไฮโดรไดนามิกส์ในปฏิกรณ์ทริคเกิลเบดเพื่อการ ออกแบบและการขยายขนาด • การควบคุมเตาเผาแบบเทอร์มอลแครกกิงและการทํานาย อัตราการเกิดโค้กในกระบวนการปิ โตรเคมีดว้ ยเทคนิคอิงแบบ จําลอง • การหาสภาวะที่เหมาะสมของปฏิกริ ยิ าการเปลี่ยนนํ้าและ ก๊าซ และการเลือกเกิดออกซิ เดชั นของ CO ในกระแสก๊าซที่มี ไฮโดรเจนเป็นส่วนใหญ่ ด้วยวิธี Response Surface

Degradation of PLA box under landfill conditions as a function of time ภาพงานวิจัยโดย : รศ. ดร.ธํารงรัตน์ มุ่งเจริญ

• การนํานํ้ามันส่วนเบาจากก๊าซที่ปล่อยออกจากกระบวนการ ปิ โตรเคมีกลับมาใช้โดยใช้ทอ่ ขนาดไมครอน การประเมินผลวัฏจักรชี วติ • การวิเคราะห์และปรับปรุงค่า Energy Intensity, Carbon Intensity และ Eco-efficiency ของอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม และปิ โตรเคมีของประเทศไทย โดยเทคนิคการประเมินตลอด วัฏจักรชี วติ • การประเมินสมรรถนะเชิ งพลังงานและสิ่งแวดล้อมตลอด วัฏจักรชี วติ ของโรงกลัน่ ชี วภาพ การกักเก็บและใช้ประโยชน์ คาร์บอนไดออกไซด์ หรือก๊าซเรือนกระจกอื่น ๆ • การจําลองซี เอฟดีของการลดคาร์บอนไดออกไซด์จาก ฟลูแก๊สโดยใช้ตวั ดูดซั บของแข็งในปฏิกรณ์ฟลูอไิ ดซ์เบด แบบหมุนเวียน

Control experiments in Pilot-scale continuous pH Process in Series. ภาพงานวิจัยโดย : ผศ. ดร.ชนินทร์ ปั ญจพรผล

PS, PLA and PLA/starch boxes. ภาพงานวิจัยโดย : รศ. ดร.ธํารงรัตน์ มุ่งเจริญ

Biodiesel from palm oil and pork lard using a microtube reactor ภาพงานวิจัยโดย : ผศ. ดร.อรรถศักดิ์ จารีย์

Fluidized bed reactor for DME synthesis ภาพงานวิจัยโดย : รศ. ดร.สุนันท์ ลิ้มตระกูล

15


LEARNING CENTER

Get to know Carbon Capture and Storage : CCS เรื่องโดย : ภัสรชาพร สีเขียว

Çѹ¹ÕéàÃÒ¨ÐÁÒ¹íÒàʹÍàÃ×èͧÃÒÇà¡ÕèÂǡѺ ¡ Ò«¤Òà ºÍ¹ä´ÍÍ¡ä«´ ËÅÒ¤¹¤§à¤Âä´ŒÂÔ¹ àÃ×èÍ §ÃÒǢͧ ¡Òôѡ¨ÑºáÅСÒáѡà¡çº¤Òà ºÍ¹ä´ÍÍ¡ä«´ ËÃ× Í·Õè à ÃÒÃÙ Œ¨Ñ¡¡Ñ ¹ 㹪×èÍ Carbon Capture and Storage . . .

Capture

Capture ໚ ¹ ¡¡Ãкǹ¡Òà Ãк кǹ¡Òà ´Ñ¡¨ÑºËÃ×Í¡Òô֧¤Òà ºÍ¹ä´ÍÍ¡ä«´ (CO2) ÍÍ¡¨Ò¡¡Ãкǹ¡ÒÃà¼ÒäËÁŒ ã¹¢Ñé¹μ͹ ¡‹Í¹¡ÒÃà¼ÒäËÁŒ ÃÐËÇ‹Ò§ ¡ÒÃà¼ÒäËÁŒ ËÃ×ÍËÅѧ¡ÒÃà¼ÒäËÁŒ

Carbon Capture and Storage ໚¹à·¤â¹âÅÂÕÊÕà¢ÕÂÇ·Õ誋Ç´ѡ¨Ñº¡ Ò« ¤Òà ºÍ¹ä´ÍÍ¡ä«´ (CO2) «Ö§è ¶×ÍÇ‹Ò໚¹¡ Ò«·Õ·è Òí ãËŒà¡Ô´»ÃÒ¡¯¡Òó Global Warming & Climate Change ¶ŒÒÊѧà¡μãËŒ´¨Õ оºÇ‹Ò Carbon Capture and Storage ¹Õé ÊÒÁÒöẋ § Í͡໚ ¹ 2 Ê‹ Ç ¹ ä´Œ á ¡‹ . .

Storage

ใชสารเคมีดดู ซับ โดย ดูด ซับหรือละลายกาซ CO2 และปลอย CO2 เมือ่ ไดรบั ความรอน

Storage เป็ น การนํ า CO 2 ที่ ดั ก จั บได้ ไ ปกั ก เก็ บไว้ ใ ต้ ชั้ น ผิ ว โลกหรื อ แหล่ ง กั ก เก็ บ นั่ นเอง การเก็บในมหาสมุ ทร จะเก็บในรู ป ของของเหลว โดยให้ CO2 ลงไปตาม ท่อลึกประมาณ 1 กิโลเมตร หรือมาก กว่า 3 กิโลเมตร แล้วให้ CO2 ละลาย ในนํ้า เพื่อให้ กลายเป็ นของเหลวที่ มี ความหนาแน่นมากกว่านํ้า แต่วิธีนี้จะ เกิดผลกระทบทําให้น้ําทะเลเป็ นกรด มากขึน้

ใช เ มมเบรนแยกก า ซ CO 2 วิ ธ ี นี ้ ใช พ ลั ง งานน อ ยที ่ ส ุ ด

การเก็บไว้ใต้ดินระดับลึก โดยจะเก็บ ในรู ป ของก๊ า ซ ซึ่ งอาจเป็ น บ่ อ นํ้ า มั น บ่อก๊าซ ที่หมดแล้วหรือใกล้หมด ซึ่ ง CO2 จะช่ วยดันให้น้าํ มันขึน้ มาทําให้สบู ใช้งา่ ยขึน้

ลดอุณหภูมิลง เพื่อให CO2 ควบแน น เป น ของเหลว วิ ธี นี้ ใ ช พ ลั ง งาน มากที่ สุ ด การนํ า CO 2 มาทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ โลหะออกไซด์ ให้ เ ป็ น สารประกอบ คาร์บอเนต เช่ น แมกนีเซี ยมออกไซด์ แคลเซี ยมออกไซด์ แต่ วิ ธี นี้ ถ้ า ทํ าใน อุณหภูมแิ ละความดันปกติจะเกิดช้ามาก ใชสารทีม่ พี นื้ ทีผ่ วิ สูงดูดซับกาซ CO2

16 Carbon Capture

ที่มา - http://wqm.pcd.go.th/km/images/stories/agriculture/2555/carboncapturestorage.pdf - http://scitizen.com/future-energies/will-enhanced-oil-recovery-be-an-oil-supply-savior-_a-14-3424.html - http://www.zeroemissionsplatform.eu - http://papundits.wordpress.com/2009/10/23/the-fast-approaching-coal-fired-power-nightmare-part-two/ - http://www.co2crc.com.au/images/imagelibrary/cap_diag/spiral_wound_membrane_media.jpg


?

Everyday PETROMAT

Professor Park Ho-bum

นักวิจัยชาวเกาหลีได้พัฒนาแผ่นกราฟี น ่ และเมมเบรนกราฟี นออกไซด์ในการแยกก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึงเป็ นสาเหตุหลักที่ทําให้เกิดภาวะโลกร้อน วัสดุกราฟี นนี้ใช้สําหรับดักจับและแยกก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทําให้สามารถช่ วยลดต้นทุนการดักจับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ลง งานวิจัยมีการพัฒนาปรับความหนาของ เมมเบรนกราฟี นออกไซด์ ใ ห้ บ างลง กว่ า 100 เท่ า (หนา 5 นาโนเมตร) เมื่อเทียบเมมเบรนแบบเดิมทําให้สามารถ แยกก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ไ ด้ ถึ ง 1000 เท่ า งานวิ จั ย นี้ ส ามารถนํ าไป ประยุ กต์ใช้ได้หลากหลาย เช่ น ผลิตเป็ น อิเล็คโตรดในแบตเตอร์ร่ีและเซลล์เชื้ อเพลิง สามารถทําให้นา้ํ บริสทุ ธิ์ รวมถึงไปประยุกต์ ใช้ในโรงงานและผลิตเพื่อการค้าได้ภายใน 2 – 3 ปี นี้ การดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยการแยกก๊าซผ่านชั้นกราฟี น และเมมเบรนกราฟี นออกไซด์

ตัวอย่างกราฟี นในชี วิตประจําวัน

งานวิจัยแผ่นกราฟี นและเมมเบรน กราฟี นออกไซด์นี้สามารถนําไป ประยุ กต์ใช้ได้หลากหลาย

โครงสร้างทางเคมีของกราฟี น

เมมเบรน (Membrane)

ที่มา : http://www.korea.net/NewsFocus/Sci-Tech/view?articleId=113194 17


GAMES

GAMES

P

ETROMAT Today ฉบับนี้ มาร่วมสนุกกับเกมส์ต้อนรับปี ใหม่ 2014 ด้วยกัน มีของรางวัลเป็นกระเป๋ าสุดเท่ห์ จํานวน 5 รางวัล เพียงส่งคําตอบทัง้ 2 ข้อ ทางไปรษณีย์ หรืออีเมล ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 ทางทีมงานจะทําการจับรางวัลและประกาศรายชื่ อ ผู ้โชคดีทงั้ 5 ท่าน ทางวารสารฉบับต่อไป

ชื่ อ-นามสกุล : .......................................................................................................................................... ที่อยู ่ : .......................................................................................................................................................... เบอร์โทรศัพท์ : ........................................................................................................................................ Email : ........................................................................................................................................................ ช่ องทางการรับวารสาร ไปรษณีย์ www.petromat.org App.CU-eBook

หน่วยงาน ............................................................

1. งานวิจัย การกักเก็บ CO2 โดยใช้สารละลายอัลคาไล เป็นงานวิจัยของ ....................................................................................................................................................

ทุกคําตอบมีสิทธิ์ลุนรับ กระเปา ฟรี 5 ทาน!! 2. มาสคอตหนุ่มน้อยที่กําลังอ่านหนังสือนี้มีช่ื อว่า .... ......................................................................................................................

ประกาศรายชื่อผูโชคดี

ไดรับรางวัล กระเปา PETROMAT จากการเขารวมตอ

บแบบสอบถาม ประจําฉบับที่ 7 ปที่ 2 มีดังนี้

1. คุณธนวรรณ 2. คุณณิชารัตน 3. คุณพลเทพ 4. คุณพัชรี 5. คุณวรพรรณ 18 Carbon Capture

ฤทธิชัย มั่นเหมือนปอม ศักดิ์พาณิชย อินธนู ลาภยุติธรรม ยินดีด้วยนะคะสําหรับผู ้โชคดีทั้ง 5 ท่านที่ได้รับรางวัล กระเป๋ า PETROMAT แต่สําหรับผู ้อ่านท่านอื่นยังมีโอกาสในฉบับหน้านะคะ


? D.I.Y.

ACTIVITIES

มินิกระถางต้นไม้ เพื่อความสดชื่ น สวั ส ดี ค รั บ ถึ ง เทศกาลปี ใหม่ พ อดี ท่ า นผู ้ อ่ า นวารสาร PETROMAT Today คงกํ า ลั ง วางแผนที่ จ ะไปเที่ ย วต่ า ง จั ง หวั ด หรื อ เริ่ มอะไรใหม่ ๆ ในปี 2557 และยิ่งเทศกาลปี ใหม่เช่ นนี้ ขาดไม่ได้เลยการหาของขวัญปี ใหม่ให้กับคนรู ้จักกันอยู ่ ใช่ ไหมครับ วันนี้ทาง PETROMAT Today ได้มีส่ิงประดิษฐ์อย่างง่ายที่เหมาะสําหรับการตกแต่งห้องหรือสามารถนําไปเป็นของขวัญ ปี ใหม่มานําเสนอ นั่นคือ “มินิกระถางต้นไม้ เพื่อความสดชื่ น” ซึ่ งแน่นอนครับ เพราะต้นไม้ใบสีเขียวนี่แหละครับ สามารถดักจับและ ช่ วยลดปริมาณ CO2 ได้ง่ายและใกล้ตัวที่สุด “มินกิ ระถางต้นไม้ เพื่อความสดชื่ น” ทําจากไม้กอ๊ ก นําไปตกแต่งวางตามขอบหน้าต่างหน้าระเบียงบ้าน โต๊ะอาหารหน้าบ้าน รวมถึงติดแม่เหล็กตู้เย็นให้สวยสดชื่ น และถือเป็นการประหยัดพื้นที่สําหรับประดับตกแต่งบ้านไปในตัวด้วยครับ

อุ ปกรณ์

1. ไม้ก๊อก (จุ กขวดไวน์)

2. ไขควงปากเป็ด (4 แฉกขนาดเล็ก)

วิธีการประดิษฐ์ 1. นําจุ กไม้ก๊อกมาเจาะรู ตรงกลางด้วยมีด

2. นําดินใส่ไปในรู ที่เจาะไว้

ที่มา : http://www.livingoops.com/featured/diy-mini-magnet-tree

3. ดิน

4. ต้นไม้ขนาดเล็ก

3. พร้อมนําต้นไม้ขนาดเล็กใส่ลงไป

4. สามารถนําแม่เหล็กแปะพื้นที่ด้านข้างกับจุ กไม้ก๊อก ด้วยกาวร้อนเพื่อนําไปแปะตู้เย็นได้อีกด้วย ทําให้ดู มีดีไซน์ไปอีกแบบ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.