Issue10 full ccc

Page 1

งานเสวนา

PETROMAT

CCC for R&D Partnerships วันอังคารที่ 22 เมษายน 2557 เวลา 10.30-12.30 น. ณ หองประชุม 4 ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ รายชื่อวิทยากร ดร.วีระภัทร ตันตยาคม ดร.บุตรา บุญเลี้ยง ผศ. ดร.กานดิส สุดสาคร ผศ. ดร.ศิริพร จงผาติวุฒิ ผศ. ดร.ศิริธันว เจียมศิริเลิศ

เลขาธิการกลุมอุตสาหกรรมปโตรเคมี สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย Technology Intelligence Manager บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส จํากัด นักวิจัย PETROMAT จากภาควิชาวิศวกรรมเคมี ม.เกษตรฯ รองผูอํานวยการและนักวิจัย PETROMAT จากวิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาฯ หัวหนาโปรแกรมวิจัย HPSM, PETROMAT และหัวหนาภาควิชาวัสดุศาสตร จุฬาฯ (ผูดําเนินการเสวนา)

ในป 2556 ที่ผานมา PETROMAT ไดจัดงานเสวนา “Step2 R&D Partnerships” โดยเชิญผูเสวนาทั้งจากภาค อุตสาหกรรมและภาคการศึกษามาแลกเปลี่ยนประสบการณ ความคิดเห็น ตลอดจนขอเสนอแนะตาง ๆ ในการทํางาน วิจยั รวมกัน ซึง่ ในตอนทายของการเสวนาไดขอ สรุปวา ไมวา จะทําเรือ่ งอะไร ตองเริม่ จาก Communication หรือการสือ่ สารกอน ในป 2557 นี้ PETROMAT จึงจัดงานเสวนา “CCC for R&D Partnerships” ที่มีเนื้อหาตอเนื่องจากปที่แลว จะเรียกวาเปนภาค 2 ของงานปที่แลวก็ได แนนอน CCC ตัว C ตัวแรกตองเปน Communication เมื่อเรา สื่อสารกันรูเรื่อง เคมีตรงกัน ก็จะเกิดการประสานงานที่ดี Coordination และจะนําเราไปสูการ Collaboration ซึ่งก็คือ C ที่ 3 นั่นเอง โดยทานผูอานสามารถติดตามรายละเอียดการเสวนาไดดังนี้ ... “ภาพบรรยากาศงาน Step 2 R&D Partnerships ป 2556 ”


ผศ. ดร.ศิริธันว : งานเสวนาครั้งนี้ CCC ยอมาจาก Communication, Coordination, and Collaboration ตอ เนื่องมาจากการเสวนาครั้งกอน Step 2 R&D Partnerships ที่ ดร.วีระภัทร ไดทง้ิ ทายไววา “จะทําอยางไรใหเกิดความ สําเร็จในการรวมมือระหวางภาคการศึกษากับภาคอุตสาหกรรม” เรามาเริ่มที่คําถามแรกนะคะ อยากจะทราบวาคําวา CCC นี่มีความสําคัญอยางไรคะ ดร.วีระภัทร : เคยพูดไววาเรื่อง Communication เปนเรื่องสําคัญ คนภายนอกมักมองนักวิจัยวาสื่อสารดวยยาก แตมันมีหลาย กระบวนการที่นักวิจัยตองสื่อสารกับสังคม เริ่มตั้งแตการสื่อสารแนวคิดมาสูการทดลอง การทํารายงาน หากนักวิจัยสามารถ สื่อสารไดก็จะทําใหเกิดการพัฒนางานตอไปเรื่อย ๆ และความสําเร็จจะชัดเจนยิ่งขึ้นถายกระดับดวยการ Collaboration แต ความซับซอนในการสื่อสารระหวางกันจะยากขึ้น ยิ่งกรณีที่จะทําใหเกิด Innovative หรือ Commercialization ความยากจะ มากขึ้นไปอีก เพราะคนที่เกี่ยวของมาจากหลากหลายองคกร เราตองอธิบายถึงไอเดียที่เปน Intangible Products ออกมาเพื่อ ใหคนอื่นชวยสานตอใหประสบความสําเร็จตอไป เทคนิคสําคัญ คือ การคุยกันแบบ Informal Communication มีงานศึกษา แลววาการพูดคุยแบบไมเปนทางการเปนวิธีหนึ่งที่ทําใหเกิดการ Collaboration อยางแทจริงในการทํางานวิจัย บางคนที่ไม ถนัดอาจจะตองมีการปรับ หรืออาจมีหนวยงานอยาง PETROMAT มาชวยใหเกิดการ Communicate และ Collaborate ผศ. ดร.ศิริธันว : ขอบคุณคะ อยากให อ.กานดิส ชวยเสริมในมุมมองของภาคการศึกษา ผศ. ดร. กานดิส : เห็นดวยนะครับวาเรือ่ ง Communication สําคัญมากทีจ่ ะทําใหเห็นภาพรวมงานวิจยั ตอการพัฒนาของ ประเทศ ตัง้ แตมมุ มองของผูบ ริหารระดับประเทศไปจนถึงประชาชน ประเทศไทยยังพบกับปญหาเรื่อง Middle Income Trap งบประมาณในการพัฒนาเทคโนโลยีของเราเองเปนเรือ่ งสําคัญ แมวา ทีผ่ า นมาเอกชนจะลงทุนวิจยั เพิม่ ขึน้ แตนโยบายและงานวิจยั จากภาครัฐยังสําคัญ นอกจากการทําใหเกิดการรวมตัวและสื่อสารระหวางนักวิจัย อยางที่ PETROMAT กําลังทําอยู ยังตองมีการจัดเตรียมสิง่ อํานวยความสะดวก ไดแก อุทยานวิทยาศาสตร Research Center ทีใ่ หนกั วิจยั มารวมกันและสือ่ สาร กันมากขึน้ จากแผนพัฒนาฯ ป 55-59 มีแผนที่จะเลื่อนศักยภาพในการแขงขันของไทยเปนลําดับที่ 16 ของโลก จากลําดับ 27-30 ซึ่งตอไปงานวิจัยจะมีบทบาทสําคัญ ผศ. ดร.ศิริธันว : อยากให อ.ศิริพร เสริมในมุมมองของ PETROMAT คะ ผศ. ดร.ศิริพร : ตอนนี้ทางภาครัฐและภาคอุตฯ เห็นความสําคัญในการนํางานวิจัยในหองทดลองไปใชจริง อยางที่ ดร.วีระภัทร พูดถึงไอเดียที่อาจไมไดมาจากนักวิจัยเทานั้นแตมาจาก Marketing หรือภาคอุตฯ จะทําอยางไรใหมาเปนโจทยในการวิจัยได ดังนั้น Communication จึงสําคัญ บางครั้งการนําแนวคิดที่ไดมาทําเปน Lab Scale และ Pilot Scale เลยอาจไมถูกตอง ตองมองภาพใหออกกอนวาเมื่อทําแลวจะนําไปขายใคร อยางไร ใครจะมากําหนดภาพจากทรัพยากรที่มี ดังนั้นจําเปนตองมีการ ระดมความคิดและคุยกัน ทั้งภาครัฐ เอกชน และนักวิจัย ดร.บุตรา: ขอเสริมจาก ดร.ศิริพร การจะพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นมานั้น ตองมีอยางนอย 2 ภาพ คือ Technology Intelligence และ Market Intelligence อยางแรกตองมีภาพทางตลาดคราว ๆ มากอน คิดไปไกล ๆ วาเราจะทําอะไรกับเทคโนโลยีชิ้นนี้ เปน ธุรกิจแบบไหน Business Model มีกี่แบบ ทําเงินกลับมาประมาณไหน จึงกลับมาถามวาแลวในเชิงของ Technology ตองทํา อะไร จากนั้นตองมาคิดวา จะทําเองหรือจะ Collaborate กับใคร ถาภาพเหลานี้ชัดตั้งแตแรกจะทํางานงาย ประเด็นถัดมา คือ การ Communicate เรื ่ อ ง IP ต อ งยอมรั บ ว า เรายั ง ล า หลั ง เรื ่ อ งนี ้ เพราะยั ง มอง Invention เปน Invention ขาดการ เชื่อมโยงและมองภาพรวม ที่สําคัญ คือ เราจะ Communicate อยางไรใหรูวาแตละ Invention มีความเกี่ยวของกันเพื่อ ใหเกิดภาพใหญ การตกลงกับ Partner ในเรื่องการแชร Invention และผลประโยชนที่จะไดรับรวมกัน ดาน Collaboration จากการทํางานรวมกับหนวยงานตางประเทศ ทําใหเห็นการ Communication ที่แตกตางตามโครงสรางองคกร ธรรมชาติ ของนักวิจยั และประเทศ การพูดคุยในตัง้ แตนกั วิจยั อาจารย ไปจนถึงผูบ ริหารระดับสูง ตองใชลักษณะการสื่อสารที่แตกตางกัน หากคุยกันไมรูเรื่อง เรื่อง Collaboration และ Coordination คงไมเกิด ดังนั้นการ Communication สําคัญที่สุด


ผศ. ดร.ศิริธันว : สมมติวา Communication สําเร็จแลว อยากทราบมุมมองในการเลือก Partners ของ SCG และ ปตท. เพือ่ Collaboration ทัง้ ในประเทศและตางประเทศคะ ดร.บุตรา : สิ่งแรก คือ เลือกนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญถูก ตอง ตอมา คือ Casual Communication เพื่อดูแนวคิด ในการทํางานเขากันหรือไม เชื่อใจกันและกันไดหรือไม เชน การออกไปทานขาวรวมกัน คุยวาสามารถแกปญหารวมกัน ไดอยางไร การทํางานรวมกันแบบ One on One ที่กําหนด ขอบเขตในการดําเนินงานที่ชัดเจนเปนเรื่องงาย แตการทําให เกิด Collaboration แบบ Long Term เปนเรื่องที่ทาทายและ หลาย ๆ บริษัทชั้นนําทั่วโลกก็เริ่มใหความสําคัญ เห็นไดจาก การจัดตั้ง Center of Excellence ของตัวเองในมหาวิทยาลัย หรือยกตัวอยางในเนเธอรแลนด มีการตั้ง Public Private Partnership ซึ่งตองอาศัยการ Communication อยางมาก ที่ทํางานรวมกันใหไดและมี Core Benefits รวมกันในอนาคต ผลสุดทายจะเปนยังไงก็ขึ้นกับองคกร Momentum และ Performance ของโปรเจคนั้น ๆ ดร. วีระภัทร : ปตท. มีอยู 4 เกณฑ คือ 1) ขีดความสามารถ วิจัย โดยดูจาก Research Background 2) มี Conflict of Interest หรือไม 3) Accessibility คือ การเขาถึงตองมีคา ใชจา ย และความพยายามเพือ่ ใหเกิดการทํางานรวมกันมากหรือไม กรณี ทํางานกับมหาวิทยาลัยตางประเทศ จะหลีกเลีย่ งถา Competency ไมโดดเดนเพราะไมคุมและไม Effective ในการ Collaboration กับหนวยงานที่อยูไกล ยกเวนวามีการเอาตัวเราเองไป Engage ในหนวยงานนั้น ๆ 4) Ability to Develop ขอ นี้ถือวาสําคัญมาก คือ การมองโอกาสในการทํางานวิจัยขาง หนารวมกัน เรียนรูไปดวยกัน ตอนนี้ ปตท. มีการไดมาของ เทคโนโลยี 3 วิธี คือ 1) In-House Development ในสวน Core Competency 2) Collaborate ในสวนทีเ่ กินความสามารถ ขององคกร 3) Acquire คือ การซือ้ การทํางานรวมกับหนวย งานตางประเทศของ ปตท. มีทั้งที่เปน Collaborate และ Acquire ในสวน Acquire จะดีตรงลดชองวางในการ Communicate และ Collaborate ไปพอสมควร บริษัทจะ มีบทบาทในการ ManageLab ตองเตรียมคนทีม่ ศี กั ยภาพเพียง พอเพือ่ รองรับ Technology Transfer เชน แลกเปลีย่ นนักวิจยั จางนักวิชาการจากมหาวิทยาลัย ซึง่ ตองใชระยะเวลาในการ ทําความเขาใจ เคยคุยกับ PETROMAT วาเราผลิตคนไมทันจึง อยากจางอาจารยที่มีความเชี่ยวชาญมาชวยในเรื่องนี้ บริษัทไม ไดเปนผูไดรับฝายเดียว แตสิ่งที่เกิดขึ้น คือ กระบวนการในการ เรียนรูและเกิดประโยชนใหกับประเทศ

ผศ. ดร.ศิริธันว : ในฐานะภาคการศึกษา ชวง 10 ปที่ผาน มา เห็นวาการรวมมือของภาคอุตฯ กับมหาวิทยาลัยมีการ เปลี่ยนแปลงและปรับการทํางานเขาหากันมากขึ้น อยาก ทราบความคิดเห็นของภาคอุตฯ คะ ดร.บุตรา : แนวโนมที่ผานมาจะเห็นเนนในเรื่อง Innovate มากขึ้น ทาง SCG เลือกที่จะทําตามบริษัทที่มีการลงทุนดาน R&D มาเปนเวลานาน เชน BASF, Dupont เราเชิญนักวิจัย จากประเทศญี่ปุนมาสอน เชิญมหาวิทยาลัยที่โดงดังทั่วโลกมา บรรยาย ในอดีตจะใชวิธีอะไรที่ใชเยอะก็จะทําเอง แตในชวง 10 ปที่ผานมาจะใชวิธีเรียนรูจากผูที่เชี่ยวชาญและมีประสบการณ สูงแลวนํามาประยุกตใช เพราะวาโจทยที่เราคิดขึ้นมายอมมี คนที่สามารถตอบใหเราได ใน 2-3 ปที่ผานมา SCG จะเนน มองทั้งในประเทศและตางประเทศวาใครจะชวยตอบโจทยของ เราได จากการไดพูดคุยกับ PETROMAT ซึ่งเปนหนวยงาน ที่ไมเหมือนใครในประเทศและยังไมเคยเจอหนวยงานแบบนี้ ในแถบเอเชีย แตมีหนวยงานที่คลาย ๆ กันในเนเธอรแลนดที่ รวมกลุมนักวิจัยจากหลาย ๆ มหาวิทยาลัยเขาดวยกันเพื่อตอบ โจทยรวมกัน แมบริษัทชั้นนําดานงานวิจัยเองก็พบวาทรัพยากร ยังไมเพียงพอและตองเนนเรือ่ งการ Collaborate มากขึน้ ยก ตัวอยาง BASF มีการตั้งศูนยวิจัยใหมที่เซี่ยงไฮ มี Center of Excellence อยู 5 มหาวิทยาลัยทั่วโลก ที่ทําเรื่อง Fundamental Research และเปน Test Base ใหกับนักวิจัย กอนที่จะเขาทํางานในบริษัท ดังนั้นบริษัทเองก็รูวา ไมสามารถ ทํางานคนเดียวได ซึ่งเรื่องความสัมพันธระหวางภาครัฐและ เอกชนมีการเปลี่ยนแปลงทั่วโลกไมใชแคประเทศไทยที่เดียว


ผศ. ดร.ศิริพร : ขอเสริมในมุมของภาคการศึกษานะคะ คิดวา สวนหนึ่งเปนเพราะภาคเอกชนเห็นความสําคัญในเรื่อง R&D มากขึ้น มีหนวยงานดาน R&D และมีความชัดเจนของ Career Path ใหนักวิจัย ซึ่งอดีตไมมีสิ่งเหลานี้คนที่จะเปนนักวิจัยตองมี ใจรักมากจริง ๆ แตปจจุบันนักวิจัยที่จบปริญญาเอกมีอัตราเงิน เดือนที่สูงพอสมควร ดร.บุตรา : ปจจุบัน จะมีระบบ Career Tag ของ R&D คือ ไมไดทํางานวิจัยอยางเดียว เชน คนที่ทํางานเปน Specialist ของ Process Engineer ก็จะถือวาเปนสวนหนึ่งของ R&D ใน อนาคต IP Specialist จะเปนที่ตองการมากสําหรับภาคเอกชน เพื่อชวยหาโอกาสและชองโหวในการทํางานวิจัย สําหรับ SCG Chemicals มีนักวิจัยทั้งหมดเกือบ 100 คน มีคนที่เปน IP Specialist แค 5 คน ซึ่งยังไมเพียงพอ ในอดีตอาจมองวาเปน อาชีพที่ตัน เติบโตไดยาก แตในอนาคต 10-20 ปขางหนา งาน ดาน IP จะใหญมาก ใหญกวา Sale และ Production ดร.วีระภัทร : ในสวนของ IP ปตท. เองมีอยู 10 คน มีนักวิจัย 335 คน ซึ่งในสวนนี้จะทําทั้งในสวนของ Collaboration และ IP คิดเปนประมาณ 1 ใน 3 สวนที่เปนนักวิจัยก็จะมีประมาณ 120 คน สวนใหญจบปริญญาเอกมาจากหลากหลายสาขา งบ ประมาณสนับสนุนดานงานวิจัย คิดเปนรอยละ 3 ของกําไร ป

นี้ประมาณ 6,500 ลานบาท แบงเปนสวนของโครงสรางพื้น ฐานครึ่งหนึ่ง ปญหาของ IP คือ มีเยอะ จัดการยาก ตนทุนสูง Strategy ของ ปตท. คือ การเอา IP มาสู Commercialize ยก ตัวอยางเชน IRPC โครงการที่เกิดขึ้นจะไมได Communicate ออกมามาก เกิดจากการ Collaborate ภายใน ตั้งแต กระบวนการในหอง Lab การ Sourcing Feedstock การทํา Trial Test ใน Process การทํา License การทํา Commercialize และการทํา Marketing ในสวนงาน IP นอกจากจะสําคัญ ในเรื่อง R&D แลวยังมีสวนในการคงอยูของบริษัท ปจจุบันไดมี การลงทุน Land Used มีขอจํากัดในประเทศ ทําใหจําเปน ตองลงทุนในตางประเทศ ตองมีการ ดําเนินงานดวยวิธี FTO (Freedomto Operate) ตอง Secure ดาน IP การ สรางโรงงานใหมก็จําเปนตองเอาเทคโนโลยีใหม ๆ มาใช เพื่อ ใหเกิด Technology Advantage สวนนี้นักกฎหมายดาน IP จะทํางานหนักมากรวมกับบริษัทที่ปรึกษา เนื่องจากจํานวนคน ไมเพียงพอ ผศ. ดร.ศิริธันว : อยากให อ.กานดิส ชวยเสริมมุมมอง IP ใน สวนของมหาวิทยาลัยคะ ผศ. ดร.กานดิส: ทางมหาวิทยาลัยเองถาสามารถพัฒนาุคลากร ดาน IP ใหมีความเขมแข็งก็เปนเรื่องที่ดี เพราะจะชวยเหลือนัก วิจัยไดดวย ในการเพิ่มการจดสิทธิบัตรไดมากขึ้น และชวยสง เสริมใหนักวิจัย Communicate กันเพื่อใหเกิดงานวิจัยมากขึ้น ผศ. ดร.ศิริธันว: ภาคอุตฯ มีความคาดหวังอยางไรกับภาค การศึกษาบางคะ ดร.บุตรา : ก็คงคลายเกณฑท่ี ดร.วีระภัทร พูดถึง แตสง่ิ สําคัญคือ ความตั้งใจความพรอมที่จะมาคุยกัน มาทํางานและแกปญหา รวมกันมากกวา บางทีอาจจะพลาดที่เริ่มจากการเอานักวิจัย มาคุยกันเอง หรือจบดวยการเอานักฎหมายมาคุยกันที่จะเนน เรื่องการปกปองผลประโยชนของตนเองซึ่งก็เปนหนาที่ของเขา อุตสาหกรรมไมไดชอบที่เปนผูพูดฝายเดียว ซึ่งในอดีตจะเปน แบบนัน้ ตอนนีจ้ ะเนนการพูดคุยทีเ่ ขาใจกันมากขึน้ ซึง่ คิดวาทาง ภาคการศึกษาก็ตอ งการจากภาคอุตสาหกรรม คือ ความเขาใจ กันกอนวาจะทําหรือไมทาํ ทําไปเพือ่ อะไร และภาพจะออกมา เปนอยางไร ดร.วีระภัทร : สวนตัวคือทางภาคอุตฯ จะมองหามหาวิทยาลัย ที่สามารถดําเนินงานวิจัยไดอยางเขมแข็งและมีผูเชี่ยวชาญ ที่รูอยางลึกซึ้ง เพื่อมารวมแกปญหาในเชิงลึก มองไปขางหนา รวมกัน งานวิจัยอาจไมไดผลอยางที่คิด สิ่งที่ไดมาแทนอาจเปน Relation หรือ Collaboration Opportunities อืน่ ๆ ดังนัน้


เรือ่ ง Business Outcome อาจไมไดตอบโจทยภาคอุตฯ อยาง เดียว องคความรูห รือผลงานทางวิชาการอื่น ๆ ก็มีสวนสําคัญใน การพัฒนาองคกร ผศ. ดร.ศิรธิ นั ว : ในมุมกลับกันภาคการศึกษาอยากไดอะไรจาก ภาคอุตฯ บางคะ ผศ. ดร.กานดิส : งานวิจัยในปจจุบันตองมองวาทําแลวเอาไป ใชงานอยางไร ซึ่งสิ่งที่ไดมาอาจยังไมตรงกับความตองการของ ประเทศไทยและโจทยที่เรงดวนในปจจุบัน ภาคการศึกษาตอง เปดตัวเองไปรับรูโจทยจากภาคอุตฯ นอกจากนี้อยากใหมีการ สื่ อ สารหากมี ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการทํ า งานในฐานะเพื่ อ น รวมงานมากกวานายจางลูกจาง เห็นอกเห็นใจและเขาใจกัน มหาวิทยาลัยเองก็ตองมีการปรับตัว ทํางานอยางเปนระบบ ยอมรับตอการติดตามงานเปนชวง ๆ ดร.บุตรา : ขอเสริมนะครับ เคยทํางานรวมกับมหาวิทยาลัย แหงหนึ่งในยุโรปโดยกําหนดวาจะมีการคุยกันทุก ๆ 6 เดือน ถึงแมจะมีการ Collaborate เกิดขึ้นแลวแตไมมีการ Communicate หลังจากนั้น ทําใหไดผลการศึกษาที่ไมตรง กับความตองการ และเกิดปญหาในเรื่องการสื่อสารระหวาง กัน หลังจากนั้นจึงกําหนดวาอาจารยที่ทํางานวิจัยและ Top Management ตองพบปะกันอยางนอยปละ 4 ครั้ง ซึ่งถือวา เปน Key Collaboration ตองเดินทางมาที่ไทย 2 ครั้งตอป ทาง SCG ไปหาที่ตางประเทศ 2 ครั้งตอป จะไมมี One Way Communication กอนหนาทีจ่ ะไปตองมีการแลกเปลีย่ นคน เขาไปทํางานกอน 5-7 สัปดาห เพือ่ เปรียบเทียบผลและการ รายงานผลใหกบั Top Management รวมกัน สิ่งที่ได คือ ความเขาใจกันดาน Technology Development และความ คุนเคยระหวางคนที่ทํางานรวมกันทั้งสองฝาย ทําใหกลาคุย กัน ไดเครือขายอาจารยที่ยุโรป ซึ่งเมื่อภาคอุตสาหกรรมเขาไป ปรึกษาอาจารยเหลานี้จะเห็นภาพวาอาจารยทานไหนสามารถ ชวยตอบโจทยได ชวยลดระยะเวลาในการหาผูเชี่ยวชาญ เชน เดียวกับการทํางานรวมกับอาจารยจากจุฬาฯ หรือ วิทยาลัย ปโตรเลียมและปโตรเคมี ผศ. ดร.ศิริพร: ขอเสริมในสวนวิทยาลัยปโตรฯ ที่รวมงานกับ ThaiOil มีโมเดลทีพ่ ยายามตัง้ ขึน้ ตอไปนาจะนําไปใชกบั หลาย ๆ หนวยงาน คือ ใชวิธีการมาพบปะพูดคุยกันทุก ๆ 2 เดือน ผู บ ริ ห ารบริ ษั ท ก็ กํ า หนดว า ต อ งมี ก ารพบปะสั ง สรรค แ บบ Informal Communication หลังจากการประชุมทุกครั้งทําให คุยกันไดมากขึ้น หลายครั้งที่โครงการเกิดขึ้นจากการพูดคุยใน บรรยากาศแบบนี้ ในสวน PETROMAT มีขอ ดี คือ การมีเครือขาย


อาจารย 200-300 คน ทํางานดานปโตรเคมีและวัสดุ ซึ่ง ไมใชเรื่องงาย ในการจะดึงคนมาทํางานรวมกัน PETROMAT พยายามที่จะใหเกิดการพบปะพูดคุยกันของอาจารยในแตละ Research Program อยางนอยปละ 3-4 ครั้ง ใหพบปะพูดคุย กันในบรรยากาศที่สบาย ๆ เพื่อใหทํางานรวมกันงายขึ้น ผศ. ดร.ศิริธันว : PETROMAT มีแนวทางในการทํางาน อยางไรบางคะ ผศ. ดร.ศิริพร : PETROMAT พยายามจะเปน Focal Point ให กับทั้งภาครัฐและภาคอุตฯ เรือ่ งความเปนไปไดของโครงการ มี ใครสามารถทําไดบา ง รวมทัง้ การวิเคราะหทดสอบ ก็สามารถ ติดตอมาที่เราได ซึ่งทางเราจะพยายามหาผูเชี่ยวชาญที่เหมาะ สมให หรือในสวนของนักวิจัยเองที่มีงานวิจัยที่คิดวาจะมีความ สําคัญสําหรับอุตสาหกรรมตาง ๆ แตยังไมรูชองทางในการ ติดตอกับอุตสาหกรรมก็อยากใหนกึ ถึงเรา เรามีกรณีตวั อยาง ลักษณะแบบนี้ คือ งานวิจยั เรื่อง Microchannel Reactor ของ ผศ. ดร.อรรถศักดิ์ จารีย อาจารยจาก ภาควิชาวิศวกรรม เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เรียนอาจารยอรรถศักดิ์ พูดถึง โครงการที่เกิดขึ้นสักนิดคะ ผศ. ดร.อรรถศักดิ์ : ยินดีมากครับที่อาจารยชวยทําใหเกิด โอกาสครั้งนี้ ในอดีตผมจะทํางานวิจัยเทานั้นอาจขาดการมอง ในมุมที่กวางขึ้น พอเริ่มมาคุยกับทาง PETROMAT วาเรา มี โ ครงการและน า จะเป น ประโยชน ก็ เ ป น โอกาสในการเปด ประตูไปสูภาคอุตฯ เพราะไมเคยสัมผัสการทํางานรวมกัน เคย มีภาพที่ไมคอยดีเพราะคิดวา ภาคอุตฯ ตองลงทุนกับเทคโนโลยี ไปมากก็จะเก็บเกี่ยวใหคุมกอนที่จะมีการเปลี่ยนแปลง แตจาก การที่ไดมาพูดคุยเห็นวาเขาคอนขางเปดใจกวาง มองภาพใน อนาคตวาถึงจุดหนึ่งก็ตองมีการเปลี่ยนแปลง เขามีความยินดีที่ จะทํางานวิจัยรวมกัน ไมรูสึกเครียด จากการเรงรัดเรื่องเวลาใน การทํางาน อยากจะขอบคุณทาง PETROMAT ดวยครับ

ผศ. ดร.ศิริพร : ทาง PETROMAT เองก็ยินดีมากและอยากจะให มีโครงการแบบนี้เกิดขึ้นเรื่อย ๆ สําหรับโครงการนี้พอทางเรา ไดโจทยจากอาจารยมา เราก็เห็นวานาจะเปน SCG หรือ ปตท. ในที่สุดทาง SCG ก็สนใจและเกิดโครงการขึ้นมา ตอนนี้ทาง ปตท. เองก็มีการทํางานวิจัยเรื่องนี้รวมกับนิสิตปริญญาเอกกับอาจารย อีกทานหนึ่ง แตจะเปนปฏิกิริยาอีกแบบ ประเด็นเรื่อง Conflict of Interest อยากใหภาคอุตฯ มองมากกวาเรื่องหัวขอที่ทําวา ตรงกันหรือไม เปดใจมากขึ้นในการเลือกอาจารย เพราะ ประเทศเราจํานวน ผูเชี่ยวชาญมีจํานวนจํากัด ตัวอาจารยเอง ก็จะรูวาถารับงานวิจัยของบริษัทหนึ่งแลวก็จะไมไปรับงานวิจัยที่ คลาย ๆ กันจากอีกบริษัท สิ่งหนึ่งที่อยากใหเขาใจ คือ บางที่การ พัฒนา Proposal มาดวยกัน อาจจะไมประสบความสําเร็จ คือ เรามีสมมติฐาน มีโจทยวิจัย แตพอทดลองแลวไมไดอยางที่คิดก็ ตองมาคิดรวมกันวาเราจะไปอยางไรตอ ดร. วีระภัทร : ตอนนีท้ าง ปตท. เองก็ไดทาํ ระบบขึน้ มา ชือ่ Partner Evaluation เปนขอมูลที่เปนความลับ มีสวนที่เปน Personal Comments เก็บขอมูลจากนักวิจยั ของเราวาจากการทํางานรวม กันกับนักวิจยั แตละทานแลว มีความรูส กึ อยางไร ดร.บุตรา : เรื่องศึกษาแลวไมสําเร็จก็เปนผลงานอยางหนึ่ง ตอนนี้ภาคอุตฯ ก็เขาใจมากขึ้นวาโจทยที่ใหมมาก ๆ โอกาสที่จะ ไมเปนตามคาดสูง การไดผลไมเปนไปตามที่คาดไมใชเรื่องใหญ แตการรูวาความผิดพลาดที่เกิดขึ้นมาจากอะไรเปนเรื่องสําคัญ มากกวา แลวมองหา Options อื่น ๆ ตอไปซึ่งตองมาชวยกันคิด ในอดีต Proposal จะคอนขางแคบ แตตอนนี้ SCG จะพยายาม ปรับใหหลวมมากขึ้น ใชวิธีการเขามามีสวนรวมในการติดตามผล มากขึ้น เพื่อใหเขาใจวาทําไมผลออกมาเปนเชนนั้น การประเมิน ของเรามีทั้ง Partner Evaluation และ Research Evaluation ที่รับฟงแบบ Two Way Communication


ผศ. ดร.ศิรธิ นั ว : อยากจะเปดโอกาสใหผเู ขารวมเสวนาได แสดงความคิดเห็นคะ คุณไกรศรี ภัณฑกิจนิรันดร จาก บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) : ดีใจที่มีภาพการ Collaboration แบบนี้ R&D Partnership ถือเปนเรื่องสําคัญ เพราะถือเปนเปาหมายใน การนําไปสู R&D Commercialization โมเดลที่ทําอยูใน ปตท. เองก็มีการจับใหคนหลายกลุมมาคุยกันเพื่อเขาใจทิศทาง ของโปรเจค ซึ่งถือวาเปน Key Success Factor เหมือนกักบับ CCC ตองเขาใจวาการประสบความสําเร็จของธุรกิจไมไดเปน เพราะ R&D ทั้งหมด แตจะมีสวนที่ตองการการพัฒนาเพิ่ม เติม 10-20 % เพื่อใหเกิดประโยชนในอนาคตตอธุรกิจ ซึ่งตรง รคืออะไร นี้เองทางภาคเอกชนก็ตองหาใหเจอวาโจทยที่ตองการคื

ดร.บุตรา : ผมขอเสริมวาในบบานเรายังขาด คนที คนนที่ทํางานในสวน anager เปนคนที่อยูตรงกลางแทนที่ ของ Program/Project Manager นการเจรจาและ จะใชนักวิจัยหรือวิศวกรทํทําหนาที่นี้ เพื่อชวยใน ยในการเจรจาและ กลาง มองภาพระยะกล ลาง ระยะยาว รวบรวมเปาหมายตรงกลาง มองภาพระยะกลาง ยเจรจาแลล ะช ว ยมองว า เมื่ อ ก อ นจะใช ผู อ าวุวุ โ สในการช ว ยเจรจาและช ภาคการศึกษาสามารถแทรกได ารถแทรกไดในสวนไหนบาง เปนกลุมบุคคล ที่คาดวาจะมีมากขึขึ้นในอนาคต ดร.วีระภัทร : อยากจะเสริ ยากจะเสริมวาหนาที่ดังกลาวสําคัญมาก สําหรับ ปตท. มีคนทําหนาที่นี้ โดยเกิดขึ้นมาเองและทํางงานคู านคูขนานไป กับหนาที่หลัก เรามี ามีกลุมที่เรียกวา Technology SStrategy trategy and Management ชวยดูแลจัดการโครงการพร ารโครงการพรอมทํางานวิจัยดวย นายสุทธิพงศ ธัญญะพิเศษศักดิ์ ปตท. ท : จากป จากประสบการณ ประสบการณ ที่ทํางานวิจัยรวมกับหลายมหาวิทยาลัย ในสิสิ่งที่ภาคอุตฯ คาดหวัง คือ งานวิจัยที่ไปถึงขั้น Commercial เริ่มตนก็มี การกําหนดเปาหมายและขอบเขตในการดําเนินงานรวมกัน แตสดุ ทายแลวจะไดผลอยางทีค่ ดิ หรือไมนน้ั ไมสามารถคาดการณได แตการวางแผนเบือ้ งตนตองอยูบ นพืน้ ฐานของวิชาการ ภาคอุตฯ

เองก็ไมไดคดิ วาทุกงานวิจยั ตองจบลงดวยการประสบความสําเร็จ ดังเปปาที่ตั้งไว แตจะพิจารณาวาคนที่ทํางานวิจัยรวมกับเราเขา มีความพยายามและมุ ความพยายามและมุงมั่นในการแกปญหาที่เกิดขึ้นหรือไม เพราะใน พราะใน TOR ก็มีการกําหนดไววา หากมีปญหาเกิดขึ้นจาก งานจะต การดําเนินงานจ จะตองมีการแจงใหผูวาจางรับทราบเพื่อแก ปญหารวมกัน สวนเรื วนเรื่องของ IP ตองมีการมาคุยวาจะแบงผล ประโยชนทางดานทรั น พยสินทางปญญากันอยางไรตั้งแตเริ่ม ทํา TOR เรองจรย ทา เรื่องจริยธรรมในการทํ ยธรรมในการทางาน ยธรรมในการทํางาน ทางภาคอตสาหกรรม ทางภาคอุตสาหกรรม ก็ อ ยากให ง านที่ ศศึ​ึ ก ษาเป น ความลั บ ระหว า งบริ ษั ท และ ผูวิจัย และไมอยากใหหไปทํางานที่คลายกันใหกับบริษัทอื่น ดร.บุตรา : จากการไดดพูดคุยเรื่อง IP กับทาง Imperial College เขามีมมุ มองวา IP ไมไดเปนของใครอยางแทจริงอยูท จี่ ะสามารถ งการมากกว นําไปใชอยางที่ตองการม รมากกวาการเปน Ownership ซึ่งอยาก ยาลั ใหนักวิจัยของมหาวิทยา าลัยเขาใจในเรื่องนี้ จริงอยูวาอาจจะมี Performance ผลกระทบตอ Perform mance ของนักวิจัยหรือมหาวิทยาลัย แตทางภาคอุตฯ เองก็ไดรับผลกระทบเชนเดียวกัน แตเราจะมี IP Committee ที่ประเมิมิน Performance แตละโปรเจค ไม วา IP จะเปนของใครก็ตามม อยาง Imperial College เองไม เคยให IP กับใครไมวาจะจจางวิจัย แตก็สามารถประสบความ สําเร็จได หรือในสวนของ MIT, M Harvard และ Penn State Bayh-DDole คือ ถาบริษัทลง 100% มีโมเดลที่เรียกวา Bayh-Dole มหาวิทยาลัยใชวธิ กี ารแชรทงั้ หมด IP จะเปนของบริษทั หรือบางม บางมหาวิ สิ่งสําคัญคือการตกลงกันตั้งแตตวันแรกวาจะไปกันในทิศทางใด ไทยยั ปญหาที่พบคือ มหาวิทยาลัยไทย ทยยังมีกําแพงในเรื่องนี้ หากไมมี การทํ า ลายกํ า แพงนี้ อ าจทํ า ใหห ยั ง ตามหลั ง ต า งประเทศอยู หรือทําอยางไรไมใหเงินของ SCGG หรือ ปตท. ไหลออกไปนอก ประเทศมากกวานี้ รศ. ดร.ปราโมช (ผอ.ศูนยฯ) : มองวาหากมองเรื่อง IP มาตั้งแตตนมันจะเปนการปดโอกา โอกาสความร าสความรวมมือที่จะเกิดขึ้น ลาสุดมีบทความจาก Penn State อออกมาวาการที่เราไปมุงมั่น กับ IP ตั้งแตแรกอาจทําใหทั้งภาครั ภ ฐและภาคเอกชน และภาคเอกชนเสีย โอกาส PETROMAT เอง เมือ่ มีการประ ระชุมอํานวยการก็เรียนกับ ารประชุ อธิการบดีจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ เขขาใจแนวโนม IP ลาสุด จากการประชุมฯ หลายทานมองวา มหาวิทยาลั ย ยอาจไมไดอยู เพราะไมมีเงินลงทุนทําตอ ในสวนทีโ่ อน IP มาแลวไดประโยชน โยชน เพราะ จากการพูดคุยกับ ปตท.. และ SCG ววาใหเริ่มจากการรวมมือ Communication, Collaboration กันกอนแลวหากมีการ Commun และ Coordinat Coordination nation ที่ดีการดําเนินการขั้นตอไปก็จะงาย


ดร.บุตรรา : ผมวามหาวิทยาลัยในตางประเทศคอนขางชัดเจนมากวาเขามีหรือไมมีอะไร อยางทาง Imperial College เอง เขามีการตั้งงบปร งบประมาณ 2 ลานปอนด ในการบริหารจัดการ IP โดย IP ทีจ่ ดแลวในระยะเวลา 3 ป หากไมสามารถหา Partners มาทําตอไดเขาก็จะปลอยเปน Charity ซึ่งเงินที่จะใชตอ 1 IP จะกําหนดชัดเจนและไมมกี ารเพิม่ เติมมากกวานัน้ เขามีทางเลือก ในการเชาซื้อองคความรูหรือ IP ที่มหาวิทยาลัยมีใหกับภาคเอกชนทีส่ นใจ แลวคอยมาดูกนั วา IP ทีเ่ กิดหลังจากนัน้ จะเปน ของใคร งานเสวนาครั้งนี้เปนโอกาสสําคัญในการแลกเปลี่ยนนมุมมองการทํางานรวมกันเปนอยางดีและเปนประโยชนใน การทํางานรวมกันในอนาคตอยางยั่งยืนของประเทศตอไป

ประมวลผลภาพกิจกรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.