Silicone VS. Flood

Page 1

«ÔÅÔ⤹

“สุดยอดวัสดุปโตรเคมีปองกันน้ำทว”ม เรียบเรียงโดย

แกวใจ คำวิลัยศักดิ์ ฤทธิเดช แววนุกูล ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ

วิ

กฤติการณมหาอุทกภัยในปลายป 2554 ที่ผานมา นับเปนบทเรียนสำคัญมากสำหรับคนไทย ไมวาจะมีสาเหตุจาก ความผิดพลาดในการบริหารจัดการน้ำ ผลจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก การขยายตัวของเมืองทำใหเกิดสิ่งกอสราง ขวางทางน้ำ ปญหามวลชน ฯลฯ แตทำใหคนไทยไดตระหนักถึงภัยธรรมชาติ ไดรูจักการเตรียมตัว ปองกัน การเฝาระวัง การติดตาม ขาวสาร การอพยพ และการชวยเหลือผูประสบภัย เปนตน นอกจากถุงทราย บิ๊กแบ็ก ปมน้ำ รองเทาบูท เครื่องตรวจสอบไฟรั่ว เครื่องกรองน้ำ ถุงยังชีพ และอุปกรณอื่น ๆ อีก มากมายที่ทยอยออกมาในชวงวิกฤติการณแลว การเลือกใชวัสดุที่มีสมบัติเปนกาวที่ยึดเกาะไดดี มีความยืดหยุน ในการปองกัน การรั่วซึมที่สถาปนิกแนะนำใหใชก็เปนวิธีการปองกันไดอีกทางหนึ่ง โดยสามารถจำแนกวัสดุดังกลาวได 3 กลุมใหญ ๆ คือ 1. อะคริลิก (ACRYLIC) เปนสารที่นอกจากจะสามารถนำมาผลิตเปนสีทาบานแลว ยังนิยมใชเปนกาวอีกดวย เนื่องจากเมื่อแหงแลวสามารถเกิดเปนฟลมที่มีสมบัติดี ทั้งความเหนียวและความยืดหยุน และที่สำคัญไมละลายน้ำ มักมีการนำมา บรรจุหลอดเพื่อใชเปนสารอุดกันรั่วซึมได นอกจากนี้ในตลาดยังมีวางขายในรูปแบบลักษณะเปนกระปุกอีกดวย 2. พอลิยูรีเทน (POLYURETHANE) เปนสารตระกูลไฮโดรคารบอน (H-C) มีการยึดเกาะกันของโมเลกุล ที่เหนียวแนน มีอยูหลายสถานะและรูปแบบ ทำใหเราคุนหูและสับสนไดงาย เชน ยูรีเทนรักษาเนื้อไม 3. ซิลิโคน (SILICONE) แกนสายโซหลัก (main chain) ของยางซิลิโคนไมไดประกอบดวยไฮโดรคารบอน เหมือนยางชนิดอื่นๆ แตจะประกอบดวยอะตอมของซิลิกอน (Si) และออกซิเจน (O) ยางซิลิโคนมีหลายเกรด แตเกรดที่ใชกัน มากที่สุดจะเปนพอลิเมอรของ dimethyl siloxane

สูตรโครงสรางของยางซิลิโคน (dimethyl siloxane)

หนึ่งในวัสดุชื่อคุนหูใชสำหรับปองกันการรั่วซึมของน้ำที่ “ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ” ขอหยิบยกมา กลาวในที่นี้คือ “ซิลิโคน” หรือ “ยางซิลิโคนยาแนว”


ซิลิโคนคืออะไร ? ซิลิโคน เปนพอลิเมอรที่เกิดจากพวกซิลิกอนและออกซิเจน ที่มีแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลต่ำ สวนใหญจึงไมอยูในรูปของแข็ง แตจะอยูในรูปของเหลวที่มีความหนืดสูงมาก การทำใหยางซิลิโคนมีสมบัติความยืดหยุนที่ดีและเหมาะกับการใชงาน จำเปนตองทำให เกิดการคงรูปโดยกระบวนการวัลคาไนเซชันดวยเปอรออกไซด ยางซิลิโคนเปนยางที่มีความแข็งแรงของพันธะระหวาง Si-O สูงกวา C-C และไมมีพันธะคูอยูในโมเลกุล ยางซิลิโคน จึงทนตอสภาพอากาศ โอโซน แสงแดด และความรอนไดดีกวายางที่เปนพวกไฮโดรคารบอน ยางชนิดนี้จึงเปนยางชนิดพิเศษ ที่สามารถใชงานไดในที่อุณหภูมิสูงมากๆ (และต่ำมากๆ) อยางไรก็ตามยางซิลิโคนมีความทนแรงดึง (tensile strength) ความทนทาน ตอการขัดสี (abrasion resistance) และความทนแรงกระแทก (impact resistance) ต่ำมาก ดังนั้นจึงตองมีการเติมสารเสริมแรง เชน ซิลิกา (silica) เขาชวย ยางซิลิโคนมีความเปนฉนวนที่ดีมาก มีอัตราการซึมผานของกาซและของเหลวสูง (ประมาณ 100 เทาของยาง บิวไทล) แตวายางชนิดนี้ไมทนตอกรดและดาง และสารเคมีจำพวกเอสเทอร คีโตน และอีเทอร

การเลือกใชงานซิลิโคน การเลือกการใชงานตองมีความเขาใจในลักษณะเฉพาะ เชน ซิลิโคนที่สภาพการแหงเปนกรด (ACID CURE) ไมเหมาะกับผนังที่มีสภาพเปนดาง เชน ผนังปูน ผนังหินออน ผนังหินแกรนิต เพราะอาจทำใหสมบัติที่ดีของซิลิโคนผิดเพี้ยนไป ซิลิโคนที่มีสภาพการแหงเปนกลาง (NATURE CURE) จะใหผลที่ดีกวา โดยใชในลักษณะ เปนตัวกลางกั้นระหวางผิววัสดุที่กั้นน้ำไดดี อีกทั้งตองมีระยะหางกันประมาณ 4-6 มิลลิเมตร เปนตน แตหากเปนพอลิยูรีเทน หรือ อะคริลิก จะใชงานในลักษณะยิงอุดจนเต็มรอยแตกราว และปดทับไดดีกวา อีกทั้งยังทาสีติด เพื่อเก็บงานใหดูเรียบรอยไดดี ถึงแมจะมีสมบัติหลายประการดอยกวาซิลิโคนก็ตาม หากถาเปนการเก็บซอมรอยแตกราวที่ผิวผนังปูน ฉาบตาง ๆ จะมีความเหมาะสมในการใชงานมากกวาซิลิโคน โดยถารอยแตกราวมีโอกาสขยับตัวไดสูง แลวตองการความแข็งแรง ในการยึดแนน ควรใชเปนพอลิยูรีเทนจะมีสมบัติเหมาะสมกวาพวกอะคริลิก เพราะมีความแข็งแรงทางโครงสรางมากกวา

วิธีการปองกันน้ำทวมโดยใชซิลิโคนยาแนว วิธีกันน้ำทวมเขาบานที่เห็นบอยมาก คือ การใชกำแพงผนังเบาทำจากแผนไฟเบอรซีเมนตบอรด เชน สมารทบอรด เฌอราบอรด วีวาบอรด และอื่นๆ โดยขึ้นโครงเหล็กพับแลวติดตั้งฝานี้ยึดติดกับโครง โดยวิธีนี้จะมีรอยตอเกิดขึ้นตามแนวตางๆ ซึ่งจะตองอุดดวยวัสดุยาแนวตาง ๆ ดังที่กลาวมาขางตน พรอมกับการใชผาใบหรือผาพลาสติกเพื่อกันซึมเพิ่มเติม การใชซิลิโคนยาแนวที่บริเวณขอบรอยตอระหวางแผนวัสดุกับ ผนังเพื่อกันน้ำรั่วซึม ในกรณีที่เปนแผนบาง เชน แผนสังกะสี อาจจะไมแข็งแรงพอหรือไมสามารถทาบแผนเขากับผนังไดโดย ตรง จะตองทำโครงยึดเสียกอนแลวจึงยึดแผนเขากับโครงที่วานี้ จากนั้น อุดรอยตอทุกแนวดวยซิลิโคน ตองระวังน้ำที่อาจจะซึม ผ า นเข า มาในบ า นตามบริ เ วณรอยแตกร า วในกำแพง หรือบริเวณรอยตอ ผนังภายนอกกับตัวอาคาร ซึ่งควรตองอุด ดวยซิลิโคนหรือพอลิยูรีเทน โดยยิงวัสดุเหลานี้ตามแนวรอยตอ ตาง ๆ เชน รอยตอระหวาง ผนังอิฐและเสา หรือคาน กาวซิลิโคนที่มีขายทั่วไปจะบรรจุในหลอด มีความเหนียวยืดหยุน ตัวไดดี เมื่อแหงแลวจะไมละลายน้ำ แตจะทำหนาที่คลายเปน ฟลมยืดหยุนกันน้ำได กอนการใชงานจะตองทำความสะอาดผิว


เสียกอนอยาใหมีฝุนหรือคราบน้ำมันจับอยู เพราะคราบเหลานี้จะทำใหซิลิโคนหรือพอลิยูรีเทนไมเกาะยึดกับผิวคอนกรีตหรือผิวปูน และ กอนการใชงานควรตองอานขอแนะนำการใชงานที่ติดมาดวย

วิธีการเลาะเอาซิลิโคนออก หลังจากสถานการณน้ำทวมไดคลี่คลายลง ถึงเวลาที่ตองเลาะเอาซิลิโคนออก ซึ่งการเลาะเอาซิลิโคนออก มีขั้นตอนดังนี้ 1. ใชคัตเตอรกรีดตรงกลางของซิลิโคน 2. ใชน้ำมันรอนสัน (ที่ใชเติมไฟแช็ค) หยอดตรงรองที่กรีด ในกรณีที่น้ำมันรอนสันหายาก อาจจะใชน้ำมันสน หรือน้ำมันกาด แทนได แตควรระวังเรื่องการกัดพื้นไมที่เคลือบแลคเกอร 3. ทิ้งไวประมาณ 5 นาที แลวดูวาซิลิโคนออนตัวแลวหรือยัง ถายังใหหยดน้ำมันรอนสันเพิ่มขึ้นอีก แลวจึงใชเกรียงขูดออก 4. ซิลิโคนที่ยังลอกไมหมดใหใชน้ำมันรอนสันหยดใสผาแลวเช็ดออก นอกจากการใชคัตเตอรกรีดแลว มีทางเลือกอื่นๆ เชน ใช SONAX สเปรยหลอลื่นอเนกประสงค ฉีดทิ้งไวแลวคอยๆ ลอกออกซึ่งการลอกโดยวิธีนี้อาจจะไมสามารถรับรองผลได 100% ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดของซิลิโคนที่เลือกใช และระยะเวลาในการยิงซิลิโคน ใชน้ำยาขจัดคราบซิลิโคน โดยใชพูกันทาบริเวณที่ตองการ ทิ้งไวประมาณ 15 นาที หรือนานกวานั้นในกรณีที่ขจัดออกยาก ใชดามแซะซิลิโคนที่พองตัวออก และลางดวยน้ำสะอาด แลวใชผาแหงเช็ด แตน้ำยาชนิดนี้ไมเหมาะกับวัสดุที่มีความพรุนมาก สำหรับวัสดุที่มีความพรุนซิลิโคนจะสามารถยึดเกาะไดดีกวา ทำใหการเลาะเอาซิลิโคนออกเปนเรื่องยาก เนื่องจากซิลิโคน เปนสารกึ่งของแข็งสามารถไหลได เมื่อเจอรูพรุนซิลิโคนก็สามารถไหลลงไปตามรูพรุนเหลานั้นเพราะซิลิโคนมีแรงตึง ผิวนอยกวาแรงตึง ผิวของวัสดุรูพรุน ทำใหซิลิโคนยึดเกาะพื้นผิววัสดุไดดี

สรุป ซิลิโคนยาแนว เปนวัสดุปโตรเคมีประเภทยางสังเคราะห หรือ พอลิเมอร ที่หาซื้อไดสะดวก เหมาะสำหรับการยาแนวรอย ตอสิ่งกอสรางตาง ๆ มีสมบัติกันน้ำรั่วซึม ยืดหยุน สามารถนำมาประยุกตใชในการปองกันน้ำทวมไดดี อยางไรก็ตาม ไมควรละเลย ขอจำกัดตาง ๆ ของซิลิโคนเพื่อที่จะใชซิลิโคนไดอยางเต็มประสิทธิภาพ อยางนอยถาเกิดมีอุทกภัยครั้งหนาพวกเราจะไดเฝา ระวังไดอยางมั่นใจวา “เอาอยู” ขอขอบคุณ

รศ. ดร. ประณัฐ โพธิยะราช ภาควิชาวัสดุศาสตร จุฬาฯ ในการตรวจบทความ

เอกสารอางอิง 1. 2. 3.

http://www.thaisecondland.com/การเลือกใชวัสดุกอสร/การเลือกใช-“ซิลิโคน”-ยา/ http://rubber.sc.mahidol.ac.th/rubbertech/IIR.htm http://www.eit.or.th/q_download/14102111Sandbagging/6tip.pdf


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.