th
ANNIVERSARY Step Forward with PETROMAT
1999-2014
PETROMAT Mission PETROMAT Story PETROMAT Begins Then PETROMAT Community of Experts & Networking Visting Professors Research Laboratory Staff Development & Research Assistantships Grants for Students Attending Conferences Transformation of PETROMAT Research PETROMAT Research Programs Research Program Seminars PETROMAT Events PETROMAT Link PETROMAT Executive PETROMAT Team
04 08 10 14 18 22 24 28 32 36 40 44 48 58 62 64
ศูนย์ปิโตรเลียม
และเทคโนโลยีปิโตรเคมี (2543 – 2549)
การสร้างรากฐาน สร้างและพัฒนาหลักสูตร 13 หลักสูตร สร้างบัณฑิต ส�เร็จำการศึกษา ป.โท 676 คน ป.เอก 56 คน Infrastructure เครื่องมือวิจำัย 210 ล้านบาท พัฒนาบุคลากร 206 ครั้ง จำ้างอาจำารย์ชาวต่างประเทศ 448 ครั้ง ผลิตงานวิจำัย International Journal 363 เรื่อง
ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติ ด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุขั้นสูง (2550 – 2555)
ศูนย์ความเป็นเลิศ ด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ (2556 – ปัจจุบัน)
สร้างความแข็งแรง ก�หนดทิศทางวิจำัย ผลิตบัณฑิต ส�เร็จำการศึกษา ป.โท 1,423 คน ป.เอก 208 คน ผลิตงานวิจำัย International Journal 1,439 เรื่อง
PETROMAT Mission
เปรียบเสมือน ตัวแทนของศูนย์ความเป็นเลิศ ที่ขับเคลื่อนประเทศก้าวไปในอนาคตอย่างยั่งยืน
9 ศูนย์ฯ
เป็ น ตั ว แทนสี ข องเทคโนโลยี
สร้างความยั่งยืน ผลิตงานวิจำัย ให้บริการวิชาการแก่สังคม สนับสนุนการสร้างบุคลากรวิจำยั
06
ย่อมาจำากชื่อ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ (Center of Excellence on Petrochemical and Materials Technology)
แสดงถึ ง ความเฉี ย บแหลม เปี ย มล้ น ไปด้ ว ย แรงบันดาลใจำ ความก้าวหน้า ความคิดสร้างสรรค์ ความเป็นอิสระ มิตรภาพ ความจำริงใจำ และการร่วมมือกัน
ย่อมาจำาก ส�นักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจย ั ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือ สบว. (S&T Postgraduate Education Research and Development Office) ซึ่ง PETROMAT เป็นหน่วยงานในก�กับของ สบว.
PETROMAT Mission
07
PETROMAT
มีความยินดี ที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการ
ขับเคลื่อนธุรกิจปิโตรเคมี และวัสดุของประเทศไทย ให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน เช่นเดียวกับสโลแกนของศูนย์ฯ เรา
Step Forward with
PETROMAT
ห
นังสือครบรอบ 15 ปี PETROMAT เล่มนี้ได้จำัดท�ขึ้น เพือ่ เล่าถึงเรือ่ งราวความเป็นมาของการก่อตัง้ ศูนย์ความเป็นเลิศ ด้านเทคโนโลยีปโิ ตรเคมีและวัสดุ (PETROMAT) คณะผูบ้ ริหาร ตัง้ แต่อดีตจำนถึงปัจำจำุบนั ซึง่ เป็นบุคคลส�คัญในการมีสว่ นร่วม เพื่ อ ผลั ก ดั น นโยบายการบริ ห ารงาน การปรั บ เปลี่ ย น การด�เนินงานในรูปแบบต่าง ๆ เพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบาย ของส�นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา (สกอ.) และแผนพัฒนาประเทศ PETROMAT ได้รบั เงินสนับสนุนจำาก รัฐบาลทั้งงบประมาณสมทบและเงินกู้ธนาคารพัฒนาเอเซีย (ADB) ทีช่ ว่ ยผลักดันให้เกิดกิจำกรรมต่าง ๆ เพือ่ ผลิตผลงาน ที่มีผลลัพธ์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจำ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ กว่า 15 ปีจำากการก่อตั้ง PETROMAT ภายใต้การก�กับ ของส�นั ก พั ฒ นาบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาและวิ จำั ย ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สบว.) ส�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ PETROMAT ยังคงเป็นเครือข่าย ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมี และวัสดุที่ใหญ่ที่สุด ของประเทศ ด้วยคณาจำารย์จำาก 8 หน่วยงาน ใน 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ จำุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุ ร นารี ท�งานร่ ว มกั น เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการวิ จำั ย และพัฒนาบุคลากรของประเทศ จำนถึงปัจำจำุบนั PETROMAT พร้ อ มที่ จำ ะเป็ น ศู น ย์ ฯ รวมผู ้ เ ชี่ ย วชาญที่ ช ่ ว ยตอบโจำทย์ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและวัสดุให้พัฒนาอย่างยั่งยืน
รศ. ดร.ปราโมช รังสรรค์วิจิตร ผู้อ�นวยการศูนย์ฯ (2554 – ปัจจุบัน)
09
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โดยวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ได้รับความเห็นชอบจาก สกอ. ให้เป็นสถาบันแกนน�รับผิดชอบ
ศูนย์ปิโตรเลียม
และเทคโนโลยีปิโตรเคมี ตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมา
อุ
ต สาหกรรมปิ โ ตรเลี ย มและปิ โ ตรเคมี ข องประเทศไทย เป็นอุตสาหกรรมที่ทันสมัยและเจำริญรุดหน้ามากที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ได้มกี ารขยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ อุตสาหกรรม ปลายนํ้าแขนงต่าง ๆ ที่เจำริญควบคู่กันไป ท�ให้มีบทบาทอย่างมาก ต่ออนาคตของประเทศ ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกเพิ่มสูงขึ้นมาก หากเราประสงค์จำะเห็นสภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจำเช่นนี้ต่อไปอีก จำ�เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ต ้ อ งมี ก ารผลิ ต และพั ฒ นาก�ลั ง คนที่ มี ค วามรู ้ ทางเทคนิคขัน้ สูงให้เพียงพอ เพือ่ ตอบสนองภาคอุตสาหกรรมด้านต่าง ๆ ทีม่ กี ารใช้เทคโนโลยีมาตรฐานระดับสากล และมีการพัฒนาอยูต่ ลอดเวลา รัฐบาลตระหนักถึงความส�คัญในข้อนีแ้ ละได้มนี โยบายเร่งรัดการผลิต และพั ฒ นาก�ลั ง คนด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การเพิ่มศักยภาพทางด้านการวิจำัยและพัฒนาของประเทศอันเป็นการ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น กั บ นานาประเทศ รั ฐ บาลโดย ส�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จำึงได้ด�เนินการ ขอการสนับสนุนทางด้านการเงิน จำากธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) และจำากงบประมาณสมทบอีกบางส่วน โดยมีเปาหมายเพือ่ ผลิตบัณฑิต ระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาและพั ฒ นางานวิ จำั ย ขึ้ น ด้ ว ยการจำั ด ตั้ ง ศู น ย์ แห่งความเป็นเลิศเฉพาะด้านรวม 7 ศูนย์ฯ และให้ศูนย์ฯ มีอิสระ ในการด�เนิ น งานในฐานะเป็ น หน่ ว ยงานในก�กั บ ของมหาวิ ท ยาลั ย โดยจำัดระบบบริหารในลักษณะหน่วยงานอิสระภายใต้การก�กับดูแล ของคณะกรรมการที่ปรึกษา มีผู้แทนของมหาวิทยาลัยร่วมโครงการ เป็นกรรมการบริหาร และให้ส�นักงานโครงการเงินกู้ สกอ. ท�หน้าที่ ก�กับติดตามการด�เนินงาน จำุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย โดยวิ ท ยาลั ย ปิ โ ตรเลี ย มและปิ โ ตรเคมี ได้ รั บ ความเห็ น ชอบจำาก สกอ. ให้ เ ป็ น สถาบั น แกนน�รั บ ผิ ด ชอบ “โครงการการศึ ก ษาและวิ จำั ย ระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาสาขาปิ โ ตรเลี ย ม และเทคโนโลยีปิโตรเคมี” (ศูนย์ปิโตรเลียมและเทคโนโลยีปิโตรเคมี) ตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมา
ศ. ดร.สมชาย โอสุวรรณ
ผู้อ�นวยการศูนย์ฯ (2543 – 2554)
11
ผลการด�เนินงานของศูนย์ฯ ซึ่งมีลักษณะเป็น Inter-university Consortium ที่ขับเคลื่อนด้วยการวิจำัย (Research-driven Centre) นั้น เป็นไปด้วยความประทับใจำ ยิ่งทั้งด้านการพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม การถ่ายทอด เทคโนโลยีและการพัฒนานักวิจำัย โดยมุ่งเน้น
ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ทั้งในปัจจุบันและอนาคต
รศ. ดร.ชัยยุทธ ขันทปราบ ผู้อ�นวยการ สบว.
บทบาทของศูนย์ฯ คือ
จำากการที่ได้ท�หน้าที่ประเมินผลการด�เนินงาน ของศูนย์ฯ หลายครั้ง เห็นว่า
ศูนย์ฯ มีส่วนช่วยวิทยาลัยปิโตรเลียม และปิโตรเคมี ในการ
ศูนย์ฯ มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ ในศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มีศักยภาพและโอกาส พัฒนาสู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน
จัดหาอุปกรณ์เครื่องวิเคราะห์ ที่ทันสมัยและหาทดแทน อุปกรณ์เดิมที่เสื่อมสภาพ การใช้งาน
ดร.สันติ กุลประทีปัญญา
ศ. ดร.สุเมธ ชวเดช
ปัจำจำัยสู่ความส�เร็จำดังกล่าวจำ�เป็นต้องได้รับการสนับสนุน จำากนโยบายที่ชัดเจำนจำากภาครัฐ และความร่วมมือ จำากภาคอุตสาหกรรมอย่างจำริงจำัง
Technical Expert Group
12
PETROMAT Begins
ผู้อ�นวยการร่วม CU-PPC (2544-2549)
การสร้างบุคลากรคุณวุฒิสูง ที่มีคุณภาพในระดับสากล การพัฒนาคณาจารย์ และองค์ความรู้ให้มีมาตรฐาน เดียวกับนานาชาติ
PETROMAT ได้สนับสนุน อุปกรณ์การวิจำัย ทุนฝกอบรม และสร้างความร่วมมือกับ Visiting Professor จำากมหาวิทยาลัยต่าง ประเทศอย่างมีนัยส�คัญ
สนับสนุนงบประมาณเพื่อการเชิญ ผู้เชี่ยวชาญจำากต่างประเทศมาถ่ายทอด ความรู้และสร้างความร่วมมือทางวิชาการ
ท�ให้ KU-ChE มีโปรแกรม บัณฑิตศึกษาและการวิจัย ที่เข้มแข็ง
รศ. ดร.พรพจน์ เปียมสมบูรณ์
รศ. ดร.เทอดไทย วัฒนธรรม
ผู้อ�นวยการร่วม CU-CT (2545-2549)
ผู้อ�นวยการร่วม KU-ChE (2544-2549)
PETROMAT Begins
13
ภ
ายหลังจำากการก่อตั้ง PETROMAT ได้เกิดกิจำกรรมการ การด�เนินงานด้านต่าง ๆ ทั้งการเป็นศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญ ในศาสตร์ ด ้ า นต่ า ง ๆ การสนั บ สนุ น ทุ น ผู ้ ช ่ ว ยวิ จำั ย ทุนไปเสนอผลงานต่างประเทศ ทุนไปศึกษาต่อปริญญาเอก ทุ น การพั ฒ นาบุ ค ลกร การจำ้ า งอาจำารย์ ช าวต่ า งประเทศ รวมถึงการจำัดซื้อเครืองมืออุปรกรณ์และวิจำัย ที่ได้รับสนับสนุน งบประมาณทัง้ จำากรัฐบาล และเงินกู้ ADB เพือ่ ขับเคลือ่ นให้เกิด ผลผลิ ต และผลลั พ ธ์ ที่ มี ค วามส�คั ญ ต่ อ การพั ฒ นาประเทศ ทัง้ การผลิตก�ลังคนระดับ ผลิตผลงานวิจำยั รวมถึงการถ่ายทอด เทคโนโลยี เป็นต้น แถวที่ 1 จำากซ้าย
แถวที่ 2 จำากซ้าย แถวที่ 3 จำากซ้าย แถวที่ 4 จำากซ้าย
แถวที่ 5 จำากซ้าย
แถวที่ 6 จำากซ้าย
16
Then PETROMAT
ผศ. ดร.ปมทอง มาลากุล ณ อยุธยา คณบดีวิทยาลัยปิโตรเลียมฯ จำุฬาฯ รศ. ดร.เก็จำวลี พฤกษาทร หัวหน้าภาคเคมีเทคนิค จำุฬาฯ รศ. ดร.อภิญญา ดวงจำันทร์ หัวหน้าภาควิศวกรรมเคมี ม.เกษตรฯ ผศ. ดร.ศิริธันว์ เจำียมศิริเลิศ หัวหน้าภาควัสดุศาสตร์ จำุฬาฯ ผศ. ดร.สิริพล อนันตวรสกุล รับทุนศึกษาต่อปริญญาเอก อ. ดร.อัญญพร บุญมหิทธิสุทธิ์ รับทุนผู้ช่วยวิจำัย Prof. John F. Scamehorn University of Oklahoma, USA Prof. Erdogan Gulari University of Michigan, USA ศิขริน เตมียกุล รับทุนไปเสนอผลงาน นิชารัตน์ มั่นเหมือนปอม รับทุนไปเสนอผลงาน กุลชาติ โอซาว่า รับทุนไปเสนอผลงาน รศ. ดร.ธ�รงรัตน์ มุ่งเจำริญ นักวิจำัย PETROMAT รศ. ดร.ศิริรัตน์ จำิตการค้า นักวิจำัย PETROMAT
Community of Experts & Networking
Staff
Development
Research
Assistantships Visiting
Professors Grants for Students Attending Conferences
Research Laboratory Then PETROMAT
17
ในนามของวิทยาลัยฯ ที่เป็นสถาบันแกนนำ�ของศูนย์ฯ
ศูนย์ฯ มีส่วนสำ�คัญที่ทำ�ให้วิทยาลัยฯ และสถาบันร่วมเข้มแข็ง และมีบทบาทที่สำ�คัญ ในการสร้างบุคลากรและพัฒนาด้านวิจัย
PETROMAT ทำ�ให้เกิดการทำ�งานร่วมกัน ระหว่างมหาวิทยาลัย และระหว่างมหาวิทยาลัยกับเอกชน มีทีมงานที่มีคุณภาพเยี่ยม
เพื่อเพิ่มศักยภาพให้แก่อุตสาหกรรมปิโตรเคมี และอุตสาหกรรมต่อเนื่องในประเทศ
ทำ�ให้เกิดการเสริมสร้างความมั่นคง และความเจริญก้าวหน้าทางด้านปิโตรเลียม และปิโตรเคมีของประเทศ
ผศ. ดร.ปมทอง มาลากุล ณ อยุธยา
รศ. ดร.อภิญญา ดวงจันทร์
คณบดีวทิ ยาลัยปิโตรเลียมฯ จุฬาฯ
หัวหน้าภาควิศวกรรมเคมี ม.เกษตรฯ
เข้ามาร่วมกับศูนย์ช่วงเฟส 2
PETROMAT เป็นศูนย์รวมวิชาการเยี่ยม
งานวิจัยเด่น ร่วมมืออุตสาหกรรม สู่การพัฒนาประเทศ
20
ทำ�ให้ภาควิชาวัสดุศาสตร์ มีความเข้มแข็งทางวิชาการ มากขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญ
ทั้งจำ�นวนงานวิจัยและผลงานตีพิมพ์
รศ. ดร.เก็จวลี พฤกษาทร
ผศ. ดร.ศิริธันว์ เจียมศิริเลิศ
หัวหน้าภาคเคมีเทคนิค จุฬาฯ
หัวหน้าภาควิชาวัสดุศาสตร์ จุฬาฯ
Community of Experts & Networking
Community of Experts & Networking
21
The ADB project has contributed greatly towards student development and the collaboration.
As a consequence of the project, many publications and presentations have resulted, giving PPC the exposure it needs to attain and maintain its stature as world class. As a result of ADB, students are better trained and the college more visible in the scientific and engineering communities and better able to aid Thai industry to reach the next level of achievement.
Prof. John F. Scamehorn University of Oklahoma, USA
The first ADB grant was instrumental in making sure that PPC not only survived but also built a strong foundation.
Continuation of the ADB grant will contribute enormously to PPC’s continuing rise to be the premier college of higher education in ASEAN
Prof. Erdogan Gulari University of Michigan, USA Visting Professors
23
KU-ChE ได้รับงบประมาณสนับสนุน ด้านครุภัณฑ์วิจัย ทุนพัฒนาบุคลากร และทุนการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
อันเป็นส่วนสำ�คัญอย่างยิ่งที่เปลี่ยนศักยภาพ และความมุ่งมั่นดังกล่าวไปสู่การเป็นหน่วยงานศึกษาวิจัย ระดับแนวหน้าด้านวิศวกรรมเคมีสีเขียว ที่เน้นเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุในปัจจุบัน
รศ. ดร.ธำ�รงรัตน์ มุ่งเจริญ นักวิจัย PETROMAT
ETROMAT ได้รับทุนสนับสนุน P เงินกูจ้ าก ADB เพือ่ ลงทุนในเครือ่ งมือ วิเคราะห์ขนาดใหญ่มากกว่า 250 ชิน้ งบประมาณกว่า 220 ล้านบาท
ถ้าจะกล่าวว่า รางวัลในด้านการวิจัย และหนังสือที่ดิฉัน หรือนิสิตได้รับจากองค์กรต่าง ๆ มีจุดเริ่มต้นจากการได้รับ ความอนุเคราะห์ในด้านเครื่องมือ และอุปกรณ์ทำ�งานวิจัยมาจาก PETROMAT
ดิฉันขอขอบพระคุณที่เห็นความสำ�คัญ ในการขับเคลื่อนงานวิจัยของอาจารย์ เพื่อเป็นรากฐานให้กับการพัฒนาในด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
รศ. ดร.ศิริรัตน์ จิตการค้า นักวิจัย PETROMAT Research Laboratory
25
SPECTROSCOPY
POLYMER TESTING - Viscometer - Ubbelohde bath - Pneumatic Punch - Centrifugal Ball Mill - Rheometer - Pendulum Impact Tester - Melt Flow Index Tester - Cutting / Shaping Machine - Universal Testing Machine (Instron) - Universal Testing Machine (Lloyd) - Analytical Balance with Density Kit - HDT/VICAT Tester - Melting Die Rheometer
26
Research Laboratory
- Atomic Absorption Spectrometer - Inductively Coupled Plasma Spectrometer - Laser Raman Spectrometer - UV-VIS Spectrometer - Fourier Transform Infrared Spectroscopy - X-ray Diffractometer - X-ray Fluorescense Spectrophotometer
SURFACE AND INTERFACE ANALYSES - Surface Area Analyzer - Particle Size Analyzer - Gas Pycnometer - Contact Angle Tester - Zeta Meter - Tensiometer - TPDRO
THERMAL ANALYSES - Differential Scanning Calorimeter - Thermogravimetric Analyzer - Dynamic Mechanical Thermal Analyzer
CHROMATOGRAPHY
MICROSCOPY
- Gas Chromatography - Gas Chromatography Simdist - Gel Permeation Chromatography - High Performance Liquid Chromatography - Matrix-assisted laser desorption/ ioniza tion-time of flight (MALDI-TOF) - Electrospray Ionization (ESI)
- Field-Emission Scanning Electron Microscope (SEM) - Polarized Optical Microscope - Atomic Force Microscope - Transmission Electron Microscope (TEM)
POLYMER PROCESSING - Compression Presses - Internal Mixer (Plasticorder) - Two Roll mill - Blown Film Extruder - Twin Screw Extruder - Chill Roll Cast Film Extruder
ENVIRONMENTAL ANALYSES - Total Organic Carbon Analyzer - Karl Fischer Titrator - Autoclave - CHNS Analyzer Research Laboratory
27
PETROMAT
สนับสนุนทุนการศึกษาและทุนผู้ช่วยวิจัย ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำ�คัญอย่างยิ่ง ต่อการพัฒนาบัณฑิตศึกษา ส่งผลให้การพัฒนา กำ�ลังคนระดับสูงมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ปัจจุบันศูนย์ฯ ได้ให้ทุนสำ�หรับ นิสิต/นักศึกษาระดับ ป.โทและ ป.เอก จำ�นวน 2,374 และ 570 ทุน ตามลำ�ดับ และนักวิจัยหลังป.เอกกว่า 20 ทุน
ได้มีโอกาสรับทุนการศึกษา ในระดับปริญญาเอกจากทาง PETROMAT ในส่วนของภาควิชาวิศวกรรมเคมี ม.เกษตรฯ โดยศึกษางานวิจัยทางด้านวิศวกรรมพอลิโอลิฟิน ทำ�ให้ได้มีโอกาสนำ�ความรู้ในส่วนนี้มาช่วย พัฒนางานวิจัยนี้ในประเทศไทย
ผศ. ดร.สิริพล อนันตวรสกุล รับทุนศึกษาต่อปริญญาเอก ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ� KU-ChE
ขอขอบคุณ PETROMAT ที่ได้ให้ทุนการสนับสนุนงานวิจัยเป็นอย่างดี ตั้งแต่ครั้งที่ยังเป็นผู้ช่วยวิจัย จนกระทั่งสามารถนำ�งาน วิจัยเหล่านั้นมาต่อยอดในการทำ�งานวิจัยในฐานะ อาจารย์ที่ภาควิชาวัสดุศาสตร์ จุฬาฯ
อ. ดร.อัญญพร บุญมหิทธิสุทธิ์ รับทุนผู้ช่วยวิจัย ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ� CU-MS
30
Staff Development & Research Assistantships
Staff Development & Research Assistantships
31
PETROMAT
ให้ทุนสนับสนุนผู้ช่วยวิจำัย ที่มีผลงานวิจำัยดีไปน�เสนอผลงาน ในที่ประชุมวิชาการทั้งใน และต่างประเทศตั้งแต่เริ่มต้นกว่า 780 และ 380 ทุน ตามล�ดับ เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจำัยได้แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นสามารถน�มาพัฒนา และต่อยอดงานวิจำัย เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
Malaysia
Australia
Canada
China
Czech Republic
France
Germany
Hong Kong
Hungary
India
Italy
Japan
Korea
Netherlands New Zealand
Romania
Russia
Singapore
เปิดโลกทัศน์ และได้เรียนรู้มุมมอง ในการท�งานวิจัย ของนักวิจัยท่านอื่น
ซึ่งจำะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ต่อการสร้างสรรค์ งานวิจำัยในอนาคต
ศิขริน เตมียกุล
Spain
34
Taiwan
Thailand
Ukraine
Grants for Students Attending Conferences
UK
USA
CHISA and PRES 2014 ประเทศสาธารณรัฐเช็ก
ได้ไปเรียนรู้ การน�เสนอผลงาน ท�ให้เราได้รู้ความรู้ใหม่ ๆ รวมถึงแนวทางการพัฒนา งานวิจำัยให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น
นิชารัตน์ มัน่ เหมือนป้อม
The 2 Pacific Rim Energy and Sustainability Conference ประเทศญี่ปุน nd
มีโอกาสแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นต่าง ๆ จากนักวิจัยทั่วโลก ที่มาเสนอผลงาน
รวมถึงนวัตกรรมที่สามารถ น�มาประยุกต์หรือต่อยอด งานวิจำัยของเราได้
กุลชาติ โอซาว่า
International Symposium in Science and Technology ประเทศญี่ปุน
Grants for Students Attending Conferences
35
Transformation of
ในช่วงโครงการฯ ระยะที่ 1
PETROMAT ท�หน้าที่ประสานงาน และให้การสนับสนุน 5 ศูนย์วิจำัยเฉพาะทางทั้งด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร เพื่อสร้างผลงานวิจำัย และการพัฒนาความเป็นเลิศ ตามความเชี่ยวชาญของบุคลากร ซึ่งมีความสามารถและคุณวุฒิสูงจำากสถาบันร่วมทั้ง 4 แห่ง ในปี 2549 เริ่มโครงการฯ ระยะที่ 2 PETROMAT ได้มีสถาบันร่วมเพิ่มอีก 5 แห่ง จำึงมีศูนย์วิจำัยเฉพาะทางเพิ่มขึ้น ตามความเชีย่ วชาญของบุคลากรจำากสถาบันร่วมเป็น 10 ศูนย์วจำิ ยั เฉพาะทาง
โครงการ
(2549 – 2554)
รศ. ดร.ธีรศักดิ์ ฤกษ์สมบูรณ์ รองผู้อ�นวยการศูนย์ฯ (2546 – 2554)
โครงการ
ระยะที่ 1
(2543 – 2548)
ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง 1 2 3 4 5
38
Catalysis and Interfacial Phenomena Advanced Polymer Science Fuels Zeolite and Engineering Catalysis Process Simulation and Control
ระยะที่ 2
ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
Transformation of PETROMAT Research
Sustainable Petroleum and Petrochemicals Functional Polymers Fuels Advanced Materials and Nanotechnology
ในช่วงโครงการฯ ระยะที่ 3 PETROMAT ได้จำัดกลุ่มงานวิจำัย ออกเป็น 4 โปรแกรมวิจำัย ซึ่งครอบคลุม ถึงกระบวนการผลิตสารปิโตรเคมี พลังงานและวัสดุทั้งที่มา จำากปิโตรเลียมซึ่งเป็นกระบวนการหลักที่ใช้ในปัจำจำุบัน และที่มาจำากชีวมวลซึ่งเป็นกระบวนการที่ยั่งยืนส�หรับอนาคต
โครงการ
ระยะที่ 3
(2554 – ปัจจุบัน)
รศ. ดร.ศิริพร จงผาติวุฒิ รองผู้อ�นวยการศูนย์ฯ (2554 – ปัจจุบัน) High Performance and Smart Materials
(HPSM)
Sustainable Petrochemicals
Green Chemical Process Engineering
(SP)
Advanced Ceramic and Polymeric Materials
Materials for Future Energy
Nanochemistry Materials for Health Safety Chemistry Polymer Engineering and Composite Materials Smart and Functionalized Materials
(MFE)
Green Petrochemical Industries
(GPI)
Transformation of PETROMAT Research
39
ทีมนักวิจัย และ ผู้ช่วยวิจัย โปรแกรม
HPSM High Performance and Smart Materials
ทีมนักวิจัย และ ผู้ช่วยวิจัย
SP
โปรแกรม
Sustainable Petrochemicals
42
PETROMAT Research Programs
ทีมนักวิจัย และ ผู้ช่วยวิจัย
MFE โปรแกรม
Materials for Future Energy
ทีมนักวิจัย และ ผู้ช่วยวิจัย
GPI โปรแกรม
Green Petrochemical Industries
PETROMAT Research Programs
43
Seminars Research Program Seminars
45
Seminars
46
Research Program Seminars
Research Program Seminars
47
[1]
[8]
[7] [2]
[3]
[5]
[4]
2544
2546
2549
Thai – Japan Polymer Processing Workshop 2001 (การประชุ ม วิ ช าการ เชิงปฏิบตั กิ ารขึน้ รูปพลาสติกไทย – ญีป่ นุ่ 2001) 22 - 24 มีนาคม 2544 [1]
International Conference on “Advances in Petrochemicals and Polymers in the New Millenium” 22 - 25 กรกฎาคม 2546 [2]
Symposium in Petroluem, Petrochemicals and Polymer Science (Symposium PPP 2006) 7 - 9 ธันวาคม 2549
[6]
2550
2551
Joint Symposium in Chemistry Chulalongkorn U. - Yonsei U. 15 - 16 มกราคม 2550 [3]
The 2 Korea Thailand Joint Symposium on Biomass and Renewable Energy 26 กุมภาพันธ์ 2551 [5]
The 2 International Conference on Advances in Petrochemicals and Polymers(ICAPP 2007) 25 - 28 มิถุนายน 2550 [4]
Next Step for Energy and Fuel Development (ก้ า วต่ อ ไปแห่ ง การพั ฒ นา เชื้ อ เพลิ ง และพลั ง งาน) 28 พฤศจิ ก ายน 2551 [6]
nd
50
PETROMAT Events
nd
[9] [10]
[11]
[12]
2552
2554
การพั ฒ นาศั ก ยภาพการวิ จั ย เชิ ง พาณิ ช ย์ : ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งสถาบั น การศึ ก ษา และภาคอุตสาหกรรม 5 มีนาคม 2552 [7]
PETROMAT & PPC SYM 2011 26 เมษายน 2554 [10]
International Conference on Functionalized and Sensing Materials 2009 (FuSeM 2009) 7 - 9 ธันวาคม 2552 [8] The 6th International Symposium on Advanced Materials in Asia-Pacific Rim (6th ISAMAP) 21 – 23 ธันวาคม 2552
[13]
2553 PETROMAT & PPC SYM 2010 22 เมษายน 2553 “อุดมศึกษาร่วมสร้างประเทศไทยน่าอยู่ ปฏิรูป อุดมศึกษา ปฏิรูปประเทศไทย” 13 ธันวาคม 2553 [9]
[14]
PETROMAT ร่วมมือกับ CU-PPC จัดประชุม เชิงวิชาการ เรื่อง “Research Discovery for Researchers ” โดยเชิญทีมงานของ Thomson เป็นวิทยากร 26 สิงหาคม 2554 [11] การประชุมวิชาการระดับชาติ 2554 ”คุณภาพ อุดมศึกษาไทยสู่สากล” 8 - 9 กันยายน 2554 [12] PERDO Forum on CoE Reformation (การประชุ ม เพื่ อ ปฏิ รู ป ศู น ย์ ค วามเป็ น เลิ ศ ) 16 กันยายน 2554 [13] การประชุมปรึกษาหารือ เรือ่ งการดำ�เนินงานของ ศูนย์ฯ ในระยะที่ 3 และงานเลี้ยงขอบคุณ อดีต ผู้บริหารศูนย์ฯ ผู้ก่อตั้งและผลักดันให้ศูนย์ฯ มีความเป็นเลิศในปัจจุบนั 5 ตุลาคม 2554 [14]
PETROMAT Events
51
[15]
[16]
[17]
2555
2555
สำ�นั ก พั ฒ น า บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า แ ล ะ วิ จั ย ด ้ า น วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (สบว.) เยี่ ย มชม การดำ�เนินงานของ PETROMAT 4 มกราคม 2555 [15]
ผู้อำ�นวยการ PETROMAT ได้รับเชิญเป็น ผู ้ ร ่ ว มเสวนาว่ า ด้ ว ยแผนแม่ บ ทวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ร่วมกับ ดร.ศิริ จิ ร ะพงษ์ พั น ธ์ ผู ้ อำ�นวยการสถาบั น ปิ โ ตรเลี ย ม แห่งประเทศไทย และคุณอดิเทพ พิศาลบุตร์ ประธาน กลุ่มอุตาสาหกรรมปิโตรเคมี สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย โดยมี ดร.นเรศ ดำ�รงชัย จากสวทน. เป็นผู้ดำ�เนินรายการ 29 มิถุนายน 2555 [21]
การประชุมระดมสมอง ระหว่างผู้บริหารจุฬาฯ และผู ้ บ ริ ห ารศู น ย์ ค วามเป็ น เลิ ศ 2 ศู น ย์ ฯ (PETROMAT & HSM) 17 มกราคม 2555 [16] งานประชุมวิชาการ “PETROMAT & PPC Symposium 2012 24 เมษายน 2555 [17] สำ�นั ก พั ฒ นาบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาฯ (สบว.) จั ด สั ม มนา ประจำ�ปี 2555 เรื่อง “โครงสร้างระบบการวิจัย สบว.” 24 - 26 พฤษภาคม 2555 [18-19]
[18]
52
PETROMAT Events
[19]
[20]
งานสัมมนา “Bioplastics for Eco-Living” เรื่อง “Eco vs. Econ on Bioplastics” และการจัดเสวนาในหัวข้อ “PETROMAT R&D on Bioplastics for Eco-Living” 22 มิถุนายน 2555 [20]
[21]
[22]
PETROMAT ต้อนรับคณะผู้บริหารและเจ้า หน้ า ที่ จ ากสถาบั น ปิ โ ตรเลี ย มแห่ ง ประเทศไทย (PTIT) และสำ�นักพัฒนาเชือ้ เพลิงชีวภาพ (สพช.) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ในการเข้าอบรมและชมโครงการส่งเสริมศักยภาพ การใช้ชีวภาพและชีวมวลฯ 1 สิงหาคม 2555 [22] การจั ด ทำ�แผนยุ ท ธศาสตร์ แ ละวิ เ คราะห์ จุ ด ยื น ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การบริหารจัดการ และการปฏิรูประบบวิจัยของศูนย์ความเป็นเลิศ” จั ด โดยสำ�นั ก พั ฒ นาบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาฯ (สบว.) 27 - 28 สิงหาคม 2555 [23]
[23] PETROMAT Events
53
2556 PETROMAT และศู น ย์ ค วามเป็ น เลิ ศ ด้ า น เทคโนโลยี พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ ม (JGSEE) ร่ ว มกั น จั ด งาน Thai-Japanese Spring School on Energy Efficieny พร้อมพาเยีย่ ม ชมโครงการส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพการใช้ ชี ว ภาพ และชีวมวลฯ 1 - 6 มีนาคม 2556 [31-32]
[25]
“PETROMAT & PPC Symposium 2013” และงานเสวนาในหัวข้อ “PETROMAT: Step 2 R&D Partnerships” (ก้าวสู่คู่ความ ร่วมมือ R&D) 23 เมษายน 2556 [34-36]
[24]
[27] [26]
[31]
สำ�นั ก พั ฒ นาบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาฯ (สบว.) ร่ ว มกั บ ศู น ย์ ค วามเป็ น เลิ ศ ในสั ง กั ด ทั้ ง 11 ศู น ย์ จั ด การประชุ ม ทางวิ ช าการและแสดงนิ ท รรศการ เรื่อง “การขับเคลื่อนอนาคตประเทศไทยด้วย ระบบวิจัยของศูนย์ความเป็นเลิศ” โดยมีรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจาตุรนต์ ฉายแสง) เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุม 31 กรกฎาคม 2556 [37-39]
[34]
[29] [28]
[35]
[36]
2555
[32]
[37]
จุฬาฯ วิชาการ 2555 ภายใต้แนวคิด “เสาหลักแห่งปัญญา สืบ ราชมรรคาแผ่นดิน” PETROMAT ร่วมจัดนิทรรศการแสดงผลงาน วิจยั ภายใต้โปรแกรมวิจยั ทัง้ 4 ด้าน 14 - 18 พฤศจิกายน 2555 [24-25]
[30]
54
PETROMAT Events
งานสัมมนาย่อยโปรแกรมวิจัยทั้ง 4 ด้าน พฤศจิกายน 2555 [26-30]
[38]
[39] PETROMAT Events
55
[40]
[42]
[41]
[43]
[44]
[45]
2556
2557
ผู้อำ�นวยการสำ�นักพัฒนาบัณฑิตศึกษาฯ (สบว.) พร้อมด้วยผูบ้ ริหารศูนย์ความเป็นเลิศทัง้ 11 ศูนย์ เข้าพบนายจาตุรนต์ ฉายแสง เพื่อปรึกษาหารือ การดำ�เนินงานในระยะที่ 3 และแสดงความยินดี ในโอกาสรับตำ�แหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ 14 ตุลาคม 2556 [40]
PETROMAT RP Retreat: Fusion Effects และการเสวนา PETROMAT: What’s Next? ณ ภูวนาลีรสี อร์ท เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 24 – 25 มกราคม 2557 [45-47]
งานสัมมนาย่อยประจำ�ปี 2556 โปรแกรมวิจัย ทั้ง 4 ด้าน ตุลาคม 2556 [41-44]
56
PETROMAT Events
[48]
งานประชุมวิชาการ “PETROMAT & PPC Symposium 2014” และงานเสวนาในหัวข้อ “CCC for R&D Partnerships” 22 เมษายน 2557 [48-49]
[50]
[46]
[49]
[51]
[52]
[53]
[54]
2557 งาน “มหกรรมอุ ด มศึ ก ษาไทย 2557” PETROMAT ร่ ว มจั ด แสดงนิ ท รรศการ “ศูนย์ความเป็นเลิศ: มูลค่าเพิ่มของอุดมศึกษาไทย” 23 – 24 เมษายน 2557 [50-51]
[47]
PETROMAT ร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในคณะผูบ้ ริหาร จุฬาฯ นำ�โดยรองอธิการบดี ศ. นสพ. ดร.มงคล เตชะกำ�พุ เข้าเยี่ยมชมศูนย์วิจัย Science & Innovation Center บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานระยอง 2 - 3 มิถุนายน 2557 [52]
สำ�นั ก งานผู ้ แ ทนประจำ�ประเทศไทย ธนาคาร พัฒนาเอเชีย(ADB) และผู้แทนจากสำ�นักงาน บริหารหนี้สาธารณะ(สบน.) กระทรวงการคลัง ร่วมด้วยผูอำ้ �นวยการสำ�นักพัฒนาบัณฑิตศึกษาฯ (สบว.) เข้าตรวจเยีย่ มการดำ�เนินงานและแผนงาน ของ PETROMAT รวมถึงเยี่ยมชมห้องปฏิบัติ การและครุ ภั ณ ฑ์ ที่ จั ด ซื้ อ โดยเงิ น กู ้ ADB เมื่อปี 2542 3 กันยายน 2557 [53-54]
PETROMAT Events
57
PETROMAT มีความส�คัญต่อการ พัฒนาอุตสาหกรรม ให้เติบโตแบบยั่งยืน
ช่วยเชื่อมโยงและสร้างบุคลากร ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส�หรับปิโตรเคมีที่มีคุณภาพ เป็นแกนหลักในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจำอย่างมั่นคงต่อไป
ดร.วีระภัทร์ ตันตยาคม
เลขาธิการกลุม่ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
SCG Chemicals ได้รับประโยชน์จำากการเข้าถึง เครือข่ายอาจำารย์และผู้เชี่ยวชาญ จำากหลายสถาบันชั้นน� ของประเทศไทยและ
ขั้นตอนกระบวนการท�งาน แบบ One-Stop Service
ดร.บุตรา บุญเลี้ยง SCG Chem
เมื่อภาคอุตสาหกรรม ต้องการความช่วยเหลือ จำากหน่วยงานกลาง ที่จำะให้ความเห็นต่อทุกภาคส่วน
PETROMAT เป็น 1 ในหน่วยงาน ที่ภาคอุตสาหกรรมนึกถึง
ดร.สวนิตย์ บุญญาสุวัฒน์ PTTGC
PETROMAT Link
59
[8] [1] [3] [9] [2]
[4]
[10] [5]
[11]
[6]
“ผู ้ เ ชี่ ย วชาญทางปิ โ ตรเลี ย มและปิ โ ตรเคมี ไ ขข้ อ ข้ อ งใจ เรื่องทาร์บอลตามชายหาดทะเลไทย“ [01] บทความพิเศษ “FAQ กรณีศึกษา นำ�้มันดิบรั่วทะเล ระยอง“ [02] โครงการส่งเสริมศักยภาพ “การใช้ ชี ว ภาพและชี ว มวลในการผลิ ต เชื้ อ เพลิ ง และเคมีภัณฑ์“ [03] บทความ “โทลูอีน“ [04] PETROMAT Webbook: AROMATICS (Technology Analysis Database) [05] บทความพิเศษ “ซิลิโคน สุดยอดวัสดุปิโตรเคมีป้องกันน�้ำท่วม“ [06] วารสาร PETROMAT Today เล่มที่ 1-13 [07] บทความพิ เ ศษ
[7]
60
PETROMAT Link
[12]
R&D Partnerships (Informal Dialogues) [08] APIC 2014 [09] InterPlas Thailand 2014 (Technology Transfer) [10]
[13]
[14]
Consultancy [11] Seminar [12] CU-SCG Industrial Think Tank [13] Advisory Committee [14] PETROMAT Link
61
คณะกรรมการ
ที่ปรึกษา รศ. ดร.ก�จัด มงคลกุล ดร.โชคชัย อักษรนันท์ ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล ดร.กนกรส ผลากรกุล ดร.สันติ กุลประทีปัญญา รศ. ดร.วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา คุณวิจิตร แตงน้อย ดร.วิไลพร เจตนจันทร์ คุณอธิคม เติบศิริ
คณะกรรมการ
บริหาร
คุณหญิงทองทิพ รัตนะรัต ศ. ดร.สิปปนนท์ เกตุทัต รศ. ดร.ก�จัด มงคลกุล ดร.โชคชัย อักษรนันท์ ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล 2550 - 2556 2550 - 2556 2550 - 2556 2550 - 2556 2556 - 2558 2556 - 2558 2556 - 2558 2556 - 2558 2556 - 2558
2544 - 2546 2544 - 2551 2544 - 2551 2546 - 2551 2549 - 2551
คณะกรรมการ
อ�นวยการ
ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร ศ. ดร.ปราโมทย์ ไชยเวช ดร.อนุสรณ์ แสงนิ่มนวล รศ. ดร.พิมล เรียนวัฒนา คุณสมเจตน์ เตรคุพ คุณเอี่ยม เอี่ยมวนานนทชัย รศ. ดร.พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม ดร.วิวรรณ ธรรมมงคล คุณดวงพร ธีรภาพไพสิฐ ดร.พิพัฒน์ วีระถาวร คุณเกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ดร.สุรชา อุดมศักดิ์ ดร.เกรียงศักดิ์ วงศ์พร้อมรัตน์
2544 - 2546 2544 - 2548 2544 - 2548 2544 - 2554 2546 - 2548 2550 - 2554 2550 - 2554 2550 - 2554 2550 - 2554 2557 - 2559 2557 - 2559 2557 - 2559 2557 - 2559
PETROMAT Executive
63
ทีมงาน PETROMAT มีความยินดีที่จะเป็นส่วนหนึ่ง ในการเป็น
ศูนย์ประสานงานแบบ One-Stop Service ในการผลิตงานวิจัย ที่ใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เพื่อขับเคลื่อนให้อุตสาหกรรม ปิโตรเคมีและวัสดุ
มีความยั่งยืนต่อไป
คณะที่ปรึกษา
รศ. ดร.ปราโมช รังสรรค์วิจิตร รศ. ดร.ศิริพร จงผาติวุฒิ
บรรณาธิการ
แก้วใจ คำ�วิลัยศักดิ์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ ฤทธิเดช แววนุกูล
64
PETROMAT Team
กองบรรณาธิการ
ชญานิศค์ ศิริวงศ์นภา พรพิมล ชุ่มแจ่ม ธีรยา เชาว์ขุนทด ภัสร์ชาพร สีเขียว กุลนาถ ศรีสุข อรนันท์ คงเครือพันธ์ุ ประวิทย์ พุกรักษา
กำ�กับศิลป์
กมลชนก ชื่นวิเศษ
th
15 ANNIVERSARY
PETROMAT th
7 floor, Chulalongkorn University Research Bldg. Soi Chula 12, Phayathai Rd. Bangkok 10330, THAILAND Tel: 662-218-4142 Fax: 662-611-7619 www.petromat.org www.facebook.com/petromat.perdo