Petromat today13

Page 1

013 วารสาร PETROMAT Today ปี ท่ี 4 ฉบับที่ 13

Food Packaging

- Food Packaging Research - สถาบันพลาสติกกับการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกไทย - Additive Materials for Food Packaging


INTRODUCTION

เ ชื่อว่าสิ่งหนึ่งทีท่ ่านผู้อ่านปรารถนาก็คือการมี สุขภาพทีด่ ี ปัจจัยหนึ่งก็ขนึ้ กับอาหารทีเ่ ราเลือกรับประทาน

PETROMAT’s Editor Corner

คณะที่ปรึกษา รศ. ดร.ปราโมช รังสรรค์วิจิตร รศ. ดร.ศิริพร จงผาติวุฒิ บรรณาธิการ แก้วใจ คําวิลัยศักดิ์ ผู ้ช่วยบรรณาธิการ ฤทธิเดช แววนุกูล

Food Packaging

แก้วใจ ค�าวิลัยศักดิ์

kaewjai.k@chula.ac.th

กองบรรณาธิการ กํากับศิลป์ ชญานิศค์ ศิริวงศ์นภา กมลชนก ชื่ นวิเศษ พรพิมล ชุ่ มแจ่ม ธีรยา เชาว์ขุนทด ภัสร์ชาพร สีเขียว กุลนาถ ศรีสุข อรนันท์ คงเครือพันธุ ์

แต่ด้วยความจ�าเป็นในสังคมยุคปัจจุบันทีช่ ีวิตมีความเร่งรีบ ต้องการความสะดวกสบาย ส่งผลให้ผู้ประกอบการเลือก ผลิตอาหารที่เก็บใน “บรรจุภณ ั ฑ์อาหาร” ที่ใช้งานง่ายสะดวก ต่ อ การรั บ ประทาน ยืด อายุอ าหารได้ แต่ ค งคุ ณ ค่ า ไว้ ตามหลักโภชนาการ เช่น WikiCell บรรจุภัณฑ์กินได้ใน คอลัมน์ Get To Know บรรจุภณ ั ฑ์อาหารกินได้เมื่อละลายน�้า ในคอลัมน์ Everyday PETROMAT เป็นต้น นักวิจัยจาก PETROMAT เล็ ง เห็ น ความส� า คั ญ จึ ง ได้ พั ฒ นางานวิ จั ย เพื่อพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ตา่ ง ๆ เช่น การพัฒนาคุณสมบัตติ า่ ง ๆ ของพลาสติกชีว ภาพส�าหรับผลิตบรรจุภัณ ฑ์อาหารร้ อ น และอาหารแช่เยือกแข็ง การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ส�าหรับผัก และผลไม้ และการพั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ ท สี ่ ามารถสื อ่ สาร กับผู้บริโภคได้ เป็นต้น คอลัมน์ PETROMAT Interview ฉบับนีไ้ ด้รบั เกียรติ จาก ดร.เกรียงศักดิ์ วงศ์พร้อมรัตน์ ผู้อ�านวยการสถาบัน พลาสติก มาช่วยเล่าประสบการณ์และความท้าทายในการ ท�างานร่วมกับภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะในอุตสาหกรรม พลาสติก การหาวัสดุท่เี หมาะสมส�าหรับผลิตภัณฑ์ การออกแบบ เพื่อให้เหมาะสมกับงาน รวมถึงการผลิตใช้เองทดแทนการน�าเข้า จากต่างประเทศ ส�าหรับวารสาร PETROMAT Today ปีที่ 4 นี้ จะขอแนะน� า คอลั ม น์ น ้ อ งใหม่ “Food Corner by PETROMAT” ทีพ่ าท่านผู้อ่านไปเพลิดเพลินกับเมนูทหี่ ลาก หลาย พร้อมดื่มด�า่ บรรยากาศภายในร้าน รวมถึงวิธกี ารเดินทาง ให้ตามไปลองชิมกันได้นะคะ

จัดทําโดย

ศูนย์ความเป�นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ อาคารวิจัยจุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั�น 7 ซ.จุ ฬาฯ 12 ถ.พญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุ งเทพฯ 10330 โทร : 0-2218-4141-2 โทรสาร : 0-2611-7619 Email: info@petromat.org WWW.PETROMAT.ORG



INTRODUCTION เรื่องโดย... ฤทธิเดช แววนุกูล

เก็บอาหารดŒวยอะäรดี ? เมือ่ พูดเถึงชือาหาร ่อว่าทุกวันเราจะต้องถามตัวเองหรือคนใกล้ตัวว่า “วันนี้จะกินอะไรดี” สิง่ หนึ ่ง ทีม่ าควบคู ่ กั น คื อ บรรจุ ภั ณ ฑ์ อ าหาร ทุก วั น นี ้เ วลาเรา

เครื่องแ

ก้ว

ใบตอ

เข้าร้านสะดวกซื้อหรือห้างสรรพสินค้าเราจะเห็นอาหารหลากหลายชนิดวางอยู่เต็มชั้น ทีจ่ ริ ง แล้ ว เราเห็ น บรรจุ ภั ณ ฑ์ ข องอาหารนัน่ เอง เราจะเลื อ กสิ น ค้ า ยี่ห ้ อ ทีถ่ ู ก ใจ มีบรรจุภัณฑ์สวยงาม ไม่มีรอยขาดรัว่ บุบ อ่านรายละเอียดของสินค้า วันหมดอายุ ราคา เป็นต้น ซึ่งก็คือประโยชน์ของบรรจุภัณฑ์อาหารนั่นเอง ปัจจุบันเราจะเห็นว่า บรรจุภณ ั ฑ์อาหารผลิตจากพลาสติก กระดาษ และโลหะ เป็นส่วนใหญ่ แต่ในสมัยโบราณ มนุษย์เราใช้อะไรในการบรรจุอาหารกันล่ะ

กระปองโลหะ

กระด

าษลูก

พลาสติก

1

PETE

3 V

4 Food Packaging

ฟูก

ในยุคโบราณมนุษย์ใช้วสั ดุจากธรรมชาติเป็นบรรจุภณ ั ฑ์อาหาร เช่น ใบไม้ เปลือกหอย ลูกน�้าเต้า ไม้ไผ่ เป็นต้น พวกเราคนไทย คงคุ ้ น กั บ ใบตอง ตลาดสดสมัย ก่ อ นซื ้อ หมู ชิ ้น นึ ง พ่ อ ค้ า จะวาง บนใบตองและเอาเชือกกล้วยมัดให้เราหิว้ กลับบ้าน ข้าวต้มมัด ห่อหมก...เริ่มหิว...ในยุคต่อมาจะเป็นเครื่องปัน้ ดินเผาและเครื่องแก้ว จากนัน้ เริ่มมีการผลิตกระดาษ กระดาษลูกฟูก กระปองโลหะ ฝาจีบ และพลาสติกที่เห็นทั่วไปในปัจจุบัน พลาสติ ก เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากป โ ตรเคมี ที ่ม ีก ารใช้ ง าน ในด้านต่าง ๆ อย่างแพร่หลายรวมถึงน�ามาเป็นบรรจุภณ ั ฑ์อาหารด้วย เนื่องจากราคาถูก น�้าหนักเบา แข็งแรง เหนียว ขึน้ รูปทรงได้งา่ ย พลาสติกมีหลายชนิด คุณสมบัตแิ ตกต่างกัน จ�าเป็นที่เราจะต้องเลือก ใช้ ง านให้ ถู ก กั บ การใช้ ง านจึ ง จะเป็ น บรรจุ ภั ณ ฑ์ ท ปี ่ ลอดภั ย พลาสติกแบ่งเป็น 7 ประเภทด้วยกัน ดังนี้

1. พอลิเอทีลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene Terephthalate: PET หรือ PETE) โปร่งใสคล้ายแก้ว เหนียว น�้าหนักเบา ทนอุณหภูมิไม่เกิน 70 – 100 �C นิยมผลิตเป็นขวดน�้าอัดลม น�้าดื่ม น�้าปลา น�้ายาบ้วนปาก 2. พอลิเอทีลีนความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene: HDPE) มีสีขุ่น กันน�้าและความชื้นได้ดี เหนียว ทนต่อแรงอัดได้สูง ทนการกัดกร่อนของสารเคมี ทนอุณหภูมิได้ 105 �C ผลิตเป็นลังบรรจุสินค้า ขวดใส่นม น�้ายาซักผ้า เคมีภัณฑ์ฯ

2

HDPE 3. พอลิไวนิลคลอไรด (Polyvinylchloride: PVC) โปร่งใส กันอากาศและน�้าได้ดี น�้าหนักเบา ทนต่อสารเคมี ทนอุณหภูมิไม่เกิน -20 – 80 �C ใช้ท�าฟล์ม ห่อหุ้มอาหาร ถาด กล่องบรรจุอาหารขวดน�้า 4. พอลิเอทีลีนความหนาแน่นต�่า (Low Density Polyethylene : LDPE) เหนียว ยืดหยุ่นสูง กันอากาศและความชื้นได้ดี ทนต่อกรด/ด่าง ไม่มีพิษต่อร่างกาย ใช้ท�าฟล์มหดบรรจุอาหาร ถุงน�้าแข็ง ถุงใส่อาหารแช่เย็น ซองบะหมี่ส�าเร็จรูป ขวดน�้าเกลือ/ ยาหยอดตา

4

LDPE


6 PS

5. พอลิโพรพิลีน (Polypropylene: PP) ใส เหนียว ยืดหยุ่นสูง กันความชื้น ทนต่อสารเคมี ทนอุณหภูมิไม่เกิน -30 – 130 �C เข้าไมโครเวฟได้ ใช้ผลิตเป็นถุงพลาสติกร้อน/เย็น ฟล์มใสห่อหุ้มอาหารกันอากาศเข้า กล่องใส่อาหาร ขวดน�้า ถ้วยน�้า

5

PP

6. พอลิสไตรีน (Polystyrene : PS) ใส เปราะและแตกหักง่าย ใส่สีและลวดลายได้ ไม่มีกลิ่น ทนอุณหภูมิได้ไม่เกิน -20 – 80 �C ไม่ควรน�าเข้า ไมโครเวฟ มักใช้ผลิตภาชนะทีใ่ ช้ครั้งเดียวทิง้ เช่น กล่องหรือถาดโฟม ฝาถ้วยน�้า ถ้วยไอศกรีม ช้อน 7. พลาสติกประเภทอื่น ๆ เกิดจากการผสมของพลาสติกชนิดต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ท�าบรรจุภัณฑ์ ที่ทนต่อการต้มหรือกลั่น ทนต่อการกระแทกสูง เช่น ขวดนมเด็ก

ถึงแม้ว่าพลาสติกจะมีประโยชน์ใช้งานมาก แต่ปัญหาที่ตามมาคือการก�าจัดหลังการใช้งาน ดังนั้น บรรจุภณ ั ฑ์อาหารยุคใหม่นอกจากจะต้องมีคณ ุ สมบัตไิ ม่แพ้ยุคเก่าแล้ว ยังต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ค�านึงถึงสุขภาพของผู้บริโภค และตอบสนองต่อการด�าเนินชีวิตของประชาชนในยุคใหม่ เช่น ผลิตจากพลาสติกชีวภาพทีส่ ามารถย่อยสลายได้ สามารถยืดอายุของอาหาร หรือเป็นบรรจุภัณฑ์ ฉลาดทีส่ ามารถบอกคุณภาพ/อุณหภูมิของอาหารได้ ซึ่งวารสาร PETROMAT Today ในเล่ม Bioplastics และ Smart Materials มีการกล่าวถึงมาบ้างแล้ว ส�าหรับวารสารฉบับนี้ ท่านผู้อ่าน จะได้ทราบถึงงานวิจยั เกีย่ วกับบรรจุภณ ั ฑ์อาหารของ PETROMAT และเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพิม่ เติมครับ

7

OTHER ขวดพลาสติก

ด ้าวโพ

ย่อยสลาย ปุย

อ้างอิง 1. http://www.foodnetworksolution.com/news_and_articles/article/0095/พัฒนาการของบรรจุภัณฑ์ ตอนที่ 1 2. http://www.pttplc.com/th/Media-Center/Energy-Knowledge/Documents/MD27%20knowledge04/petrochemi_02.pdf

Awards PETROMAT ขอแสดงความยินดีกับ

ศ. ดร.พิชญ ศุภผล (CU-PPC) ที่ได้รับรางวัล ดังนี้

1. ร างวัล ผลงานประดิษ ฐคิด ค้น ประจ�า ปี 2558 ระดับดี จากผลงานวิจยั เรื่อง “นวัตกรรมเจิรม การด (GermGuard) สารสกัดจากเปลือกมังคุดพิชติ เชื้อโรคส�าหรับประยุกตใช้เปน วัสดุทางการแพทย” จาก วช. 2. รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติอาจารยด้านการเรียนการสอน กองทุนกาญจนาภิเษกเฉลิมพระเกียรติ ประจ�าปี 2557 ระดับดีมาก

5


NEWS

EVENTS ประชุมการด�าเนินงานของศูนยความเปนเลิศภายใต้ สบว. ผูบ้ ริหาร PETROMAT ร่วมประชุมปรึกษาหารือเกีย่ วกับการด�าเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศ ภายใต้ สบว. โดย ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร รมช.กระทรวงศึกษาธิการ และ ดร.พิเชษฐ์ ดุรงคเวโรจน์ รมว.กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นประธาน เมื่อวันพุธที่ 3 ธันวาคม 2557

วางแผนการท�าวิจัยร่วมกับบริษัท เวสเทิรน ดิจติ อล (ประเทศไทย) จ�ากัด PETROMAT พร้อมนักวิจัยเข้าพบทีมวิจัยและพัฒนาของบริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จ�ากัด เพื่อแนะน�าหน่วยงานและวางแผนการท�าวิจยั ร่วมกันในอนาคต เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 4 ธันวาคม 2557 และเข้าเยี่ยมชมกระบวนการผลิต เมื่อวันอังคารที่ 13 มกราคม 2558

ปรึกษาหารือแนวทางการท�าวิจัยร่วมกับตัวแทนจากสมาคมอาเซียน ไวนิล เคานซิล, บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ากัด (มหาชน), บริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส จ�ากัด และกลุม่ อุตสาหกรรมปโตรเคมี สภาอุตสาหกรรม PETROMAT ร่วมประชุมกับตัวแทนจากสมาคมอาเซียน ไวนิล เคาน์ซิล บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ากัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส์ จ�ากัด และกลุ่มอุตสาหกรรมปโตรเคมี สภาอุตสาหกรรม เพื่อปรึกษาหารือแนวทางในการท�าวิจัยร่วมกัน เมื่อวันอังคารที่ 9 ธันวาคม 2557

พิธที า� บุญตักบาตรเนื่องในโอกาส ขึ้นพุทธศักราชใหม่ 2558 PETROMAT ร่วมพิธที �าบุญตักบาตรพระสงฆ์ 108 รูป เนือ่ งในโอกาสขึ ้น พุ ท ธศั ก ราชใหม่ 2558 ในวั น อัง คาร ที่ 6 มกราคม 2558 ณ ลานศรีมหาโพธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ครบรอบ 41 ปี ภาควิชาวัสดุศาสตร PETROMAT แสดงความยินดีกบั ภาควิชาวัสดุศาสตร์ ในวาระครบรอบ 41 ปี เมื่อวันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558

การประชุมคณะกรรมการนโยบายวิชาการ ครั้งที่ 1/2558 ผู้บริหาร PETROMAT น�าเสนอการบริหารงานและผลการด�าเนินงานของศูนย์ฯ และรับฟังข้อเสนอเชิงนโยบายจากคณะกรรมการในที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายวิชาการ จุฬาฯ เมื่อวันอังคารที่ 20 มกราคม 2558 6 Food Packaging


PETROMAT Seminar ประจ�าปี 2558 ในหัวข้อ “PETROMAT Phase III: GoTogether” สมาชิก PETROMAT ทั้งคณาจารย์และผู้ช่วยวิจัยได้เข้าร่วมสัมมนาในหัวข้อ “PETROMAT Phase III: GoTogether” เมื่อวันเสาร์ท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2558 ณ ห้องประชุม 201 ชัน้ 2 อาคารวิจยั จุฬาฯ โดยการสัมมนาครั้งนีม้ วี ัตถุประสงค์เพือ่ ให้สมาชิกศูนย์ฯ ใน 4 โปรแกรมวิจัยมีทศิ ทางในการท�างาน ทีส่ อดคล้องกัน ร่วมกันพัฒนาศูนย์ฯ ให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ของประเทศ ในงานนี้ PETROMAT ได้รับเกียรติจาก รศ. ดร.ชัยยุทธ ขันทปราบ ผู้อ�านวยการ สบว. มาบรรยาย แนวทางพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศ ระยะที่ 3 ต้องขับเคลื่อนด้วยงายวิจัย และมุ่งเปาหมายไปที่ภาคการ ผลิต/บริการทั้งของหน่วยงานภาครัฐและธุรกิจเอกชน รวมทั้ง SMEs ด้วย ต่อจากนั้น ดร.สันติ กุลประทีปญั ญา Director, Southeast Asia R&D จาก UOP, A Honeywell Company, USA ได้บรรยายถึงแนวทาง ในการร่ ว มมือ ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลัย กั บ ภาคอุต สาหกรรมในการท�า งานวิ จั ย และปั จ จั ย ทีท่ �า ให้ ภาคอุตสาหกรรมสามารถท�างานวิจัยส�าเร็จได้ นอกจากนีย้ ังมีการอภิปรายเพื่อตอบข้อซักถามจากคณาจารย์โดยวิทยากรทั้งสองท่าน บรรยากาศการสัมนาครั้งนี้เต็มไปด้วยความเป็นกันเองและท�าให้เกิดการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น และเชื่อมโยงเครือข่ายการท�างานร่วมกันอีกด้วย

พีทีที โกลบอล เคมิคอล ร่วมแสดงผลงานการใช้พลาสติกอนุรักษสิง่ แวดล้อม: บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ากัด (มหาชน) เข้าร่วมจัดการแสดงผลงานการใช้ พลาสติกอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในงานโครงการหลวง ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ซึง่ เป็นผลการด�าเนินงานในโครงการความร่วมมือพัฒนาผลิตภัณฑ์ พลาสติกเพื่ออนุรกั ษ์ส่งิ แวดล้อมในพื้นที่มลู นิธโิ ครงการหลวง ตั้งแต่ข้นั ตอนการปลูกจนถึง บรรจุภณ ั ฑ์ รวมทั้งแสดงผลงานนวัตกรรมของบริษทั ฯ ผลการด�าเนินงานและความรูด้ า้ น Bioplastic ในพื้นที่มูลนิธิโครงการหลวง อาทิ ถุงเพาะ ถุงปลูก พลาสติกคลุมดินโดยใช้ พลาสติกชีวภาพ (PLA) บรรจุภัณฑ์จากพลาสติกชีวภาพ (PLA) พลาสติกโรงเรือนจาก งานวิจัยและพัฒนาพลาสติกโพลีเอทิลีน (Polyethylene) ภายใต้แบรนด์ InnoPlus 5


COVER STORY

สถาบันพลาสติก

กับการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกไทย ทุกวักวันนีก้ ารออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในตลาด

มีการแข่ การแข่งขันกันสูงมาก ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ จ�าเป็นต้องมี ความโดดเด่นและแตกต่างเพื่อดึงดูดใจและตอบสนองการ ใช้งานของผู้บริโภค โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมพลาสติก การหาวัสดุทเี่ หมาะสมส�าหรับผลิตภัณฑ์ การออกแบบ เพื่อให้เหมาะสมกับงาน รวมถึงการผลิตใช้เองทดแทน การน�า เข้ า จากต่ า งประเทศ เป็ น ปั ญ หาที ่ภ าคเอกชน ต้องการความช่วยเหลือ ในขณะที่นโยบายภาครัฐก็ตอ้ งการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยใช้งานวิจยั ของประเทศ PETROMAT ได้รบั เกียรติจาก ดร.เกรียงศักดิ์ วงศ์พร้อมรัตน์ ผูอ้ �านวยการ สถาบัน พลาสติ ก และกรรมการบริ ห าร PETROMAT มาช่วยเล่าถึงประสบการณ์และความท้าทายในการท�างาน ร่วมกับภาคอุตสาหกรรมผ่านการสัมภาษณ์ดังต่อไปนี้

ดร.เกรียงศักดิ์ วงศพร้อมรัตน ผู้อ�านวยการสถาบันพลาสติก

PETROMAT: อยากให้ ดร.เกรียงศักดิ์ ช่วยเล่าประสบการณ์ในการท�างานกับสถาบันพลาสติกว่ามีความท้าทายอย่างไร ดร.เกรียงศักดิ:์ สถาบันพลาสติกจัดตัง้ ตามมติ ครม. ตามที่เราได้ท�าเสนอไป เมื่อ ครม. อนุมัติจัดตัง้ สถาบันพลาสติก

อย่ า งเป็ น ทางการ ก็ เ ริ ่ม เข้ า สู่ ก ารท�า งานเพื ่อ พั ฒ นาอุต สาหกรรมพลาสติ ก อย่ า งจริ ง จั ง และมี ท ิศ ทาง แต่ ใ นปี แ รกไม่ ง ่ า ย เหมือนอย่างที่คดิ เนือ่ งจากยังไม่มพี ้นื ที่จดั ไว้ให้ เราจึงขอใช้พนื้ ที่ของส�านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมในการท�างานชั่วคราวไปก่อน สถาบันพลาสติกในยุคแรกจึงต้องท�างานโดยนัง่ เก้าอี้ดนตรีอยู่ประมาณ 3 – 4 เดือน จากนั้นพอได้พื้นทีบ่ ริเวณกล้วยน�้าไทย จึงค่อย ๆ ขยับขยายมาจนถึงทุกวันนีซ้ ึ่งก็ผ่านมาได้ 3 ปีกว่าแล้ว ในการด�าเนินงานเราก็ต้องเดินตามมติที่ ครม. ให้ไว้ แต่เนื่อง ด้วยข้อจ�ากัดด้านสถานที่ เครื่องไม้เครื่องมือ และบุคลากร ท�าให้เรายังไม่สามารถด�าเนินการด้านการพัฒนาเชิงเทคนิคที่จ�าเป็น ต้องใช้เครือ่ งจักร ห้องทดสอบ หรืออุปกรณ์เฉพาะทางต่าง ๆ ได้มากนัก เราจึงต้องมาดูว่า ณ วันนัน้ เรามีอะไร และเราพอ จะท�าอะไรได้ เท่าที่คิดออกคือ ผมท�างานด้านข้อมูลมาก่อนและเรียนจบทั้งวิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ จึงใช้จุดนี้เป็นจุดเริ่มต้น โดยการรับท�าข้อมูลวิจัยตลาด ดังนัน้ การท�างานของสถาบันในยุคแรก ๆ เราจึงเดินงานกันในสายข้อมูลเป็นหลัก หลังจากนั้น พอเข้าสู่ช่วงปลายปีที่ 2 ผมได้เริ่มหาช่องทางการพัฒนาอุตสาหกรรมด้านอื่น ๆ นอกเหนือจากข้อมูลบ้าง จึงได้ส�ารวจโรงงานที่ตั้ง อยู่ในพื้นทีเ่ ดียวกันกับสถาบัน และไปเจอเครื่องฉีดพลาสติกทีไ่ ม่ได้ใช้งานแล้ว จึงเริ่มเกิดไอเดียทีจ่ ะใช้ประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ ส่งผลให้เริ่มขยายขอบเขตงานจากด้านข้อมูลมาสู่งานด้านการพัฒนาบุคคลากร และการออกแบบผลิตภัณฑ์ ดังที่เป็นอยู่ในทุกวันนี้ 8 Food Packaging


PETROMAT: ปัจจุบนั สถาบันพลาสติกด�าเนินการอะไรบ้าง ดร.เกรียงศักดิ์: หลังจากท�างานมาแล้วระยะหนึ่งและเริ่มมี

การให้บริการด้านเทคนิคมากขึ้นประกอบกับการสนับสนุน ข้อมูลให้อุตสาหกรรม เห็นได้ชัดว่าเอกชนเริ่มเข้ามาหาเรา มากขึ ้น เรื่ อ ย ๆ และหลัง จากการรั บ เป็ น ที ่ป รึ ก ษาในงาน InterPlas Thailand 2013 ท�าให้ทราบว่าคนทีเ่ ข้ามาขอ ค�าปรึกษาในงานนัน้ ส่วนมากเป็นเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากข้อสังเกตุนี้ ผมจึงเริ่มตั้งทีมงานด้านออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ซึ่งในช่วงแรกของการ ให้ บ ริ ก ารเราให้ บ ริ ก ารค� า ปรึ ก ษาแบบไม่ ม ีค ่ า ใช้ จ ่ า ย ต่อมาเริ่มขยายสู่การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบแม่พิมพ์ ซึ ่ง โชคดี ท เี ่ รามีเ ครื ่อ งฉีด พลาสติ ก อยู่ แ ล้ ว การให้ บ ริ ก าร จึงค่อนข้างครบวงจร หากชิ้นงานไม่ใหญ่มากเราก็ช่วยขึ้นรูป ให้ได้ที่สถาบัน นอกจากนี้ ด้วยประสบการณ์ที่เคยท�านโยบาย ปโตรเคมีให้กับ สวทน. มาก่อน ท�าให้ได้รู้จักกับคนในวงการ พอสมควร ประกอบกับประสบการณ์ดา้ นการท�างานวิจยั ตลาด ท�า ให้ ผ มพอจะรู ้ ป ั ญ หาของงานวิ จั ย และพั ฒ นาอยู่ บ ้ า ง โดยงานวิ จั ย ส่ ว นมากจะจบทีต่ ้ น น�า้ คื อ เม็ด พลาสติ ก หรื อ คอมพาวนด์ ไม่ ไ ด้ ข ยายต่ อ มาสู่ ก ระบวนการผลิ ต แต่ ใ นความเป็ น จริ ง ผู้ บ ริ โ ภคสุด ท้ า ยไม่ ไ ด้ ซื ้อ เม็ด พลาสติ ก แต่ผู้บริโภคซื้อผลิตภัณฑ์พลาสติก เพราะฉะนัน้ นีจ่ ึงเป็นรอย ต่อที่ถงึ แม้จะมีการวิจยั พัฒนาเม็ดแล้ว แต่เมื่อเม็ดนั้นถูกแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ก็ไม่แน่ว่าจะได้รับการยอมรับในตลาดเสมอไป เนือ่ งจากเมือ่ เข้าสู่การแปรรูปนัน้ จะมีปัจจัยเรื่องรูปแบบสินค้า การออกแบบ การตลาด เข้ามาผสมรวมด้วย ซึ่งการจัดการนั้น จ�าเป็นต้องใช้ทงั้ ศาสตร์และศิลป อย่างตัวอย่างเช่นตอนนี้ ผมได้เข้าไปช่วยแพทย์ทา่ นหนึ่งท�าเครือ่ งช่วยหายใจ ผมในฐานะ ผูพ้ ฒ ั นาด้านเทคนิคก็จะต้องเข้าไปคุยรายละเอียด ความต้องการ ข้อจ�ากัดต่าง ๆ กับเขา เพราะผมไม่เชี่ยวชาญและไม่มีความรู้ ทางการแพทย์เรื่องการหายใจมากนัก ซึ่งจะท�าให้การพัฒนา ผลิต ภั ณ ฑ์ เ ป็ น ไปอย่ า งมีร ะบบและตรงตามความต้ อ งการ ของผู้ ใ ช้ ง านจริ ง ได้ หรื อ อีก ตั ว อย่ า งหนึง่ คื อ ถั ง ขนาดใหญ่ ส�า หรั บ ให้ อ าหารกุ ้ ง ทีต่ ้ อ งน�า เข้ า จากไต้ ห วั น ซึ ่ง สถาบั น ได้ช่วยเอกชนพัฒนาด้วยเช่นกัน

“ในมุมมองของวิชาการ

เรามุ่งเน้นพัฒนาผลิตภัณฑ ให้ดีที่สุด

แต่ในมุมของตลาดต้องเราก็ต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ข้อจ�ากัดต่าง ๆ” PETROMAT: ถั ง อาหารกุ ้ ง มั น พิ เ ศษยัง ไงเหรอครั บ

ถึงต้องน�าเข้าจากไต้หวัน ดร.เกรียงศักดิ์: มันไม่พเิ ศษหรอกครับ แต่เพราะมันไม่พเิ ศษ ถึงต้องถามว่าท�าไมต้องน�าเข้า ซึ่งค�าตอบก็คอื เพียงแค่ประเทศ เราไม่ได้ผลิตและไม่มีแบบเท่านั้นเอง จากที่ได้หารือกับเอกชน ทีส่ นใจพัฒนาทราบว่าเขาลองใช้ ABS Sheet ขึ้นรูปแบบ เทอร์โมฟอร์ม แต่พบปัญหาว่ามันไม่ทนเมือ่ ตั้งอยู่กลางแดด กลางฝนเป็นเวลานาน ๆ ซึง่ ในมุมมองผม การพัฒนาผลิตภัณฑ์ นี้ไม่น่ายากมากนัก เพียงแค่ลองคิดถึงแท็งค์น�้าหรือถังบ�าบัด ที่ตอ้ งอยูก่ ลางแจ้งนาน ๆ และก็ลองศึกษาและพัฒนาเพื่อผลิตถัง ให้ อ าหารกุ ้ ง นี ้มี ส มบั ติ เ ช่ น เดี ย วกั บ แท็ง ค์ น� ้า หรื อ ถั ง บ� า บั ด ก็สามารถแก้ปัญหาเรื่องความทนทานได้ อย่างไรก็ตาม ในมุม มองของวิชาการเรามุ่งเน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ดีที่สุด แต่ในมุม ของตลาดต้ อ งเราก็ ต ้ อ งให้ ข ้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ข้ อ จ� า กั ด ต่ า ง ๆ เช่น วิธีการใช้งาน อายุการใช้งาน แก่ผู้บริโภคด้วยเช่นกัน

PETROMAT: บางครั้งก็มีคนที่อยากได้เกรดที่ต�่าลงไป ดร.เกรียงศักดิ์: ก็เป็นได้ครับ บางทีในมุมการตลาดก็มีอะไร

ทีเ่ รานึ ก ไม่ ถึ ง ผมเคยเจอกรณี ใ บพั ด หางเสื อ เรื อ หาปลา ทีผ่ ลิตจากไนลอน ซึ่งปกติใบพัดจะเป็นเหล็ก เมือ่ ลงทะเล 3 เดือนสนิมก็กนิ แล้ว ส่วนไนล่อนสนิมไม่ยงุ่ อายุการใช้งานเป็นปี แต่ในความเป็นจริงถึงแม้วา่ ใบพัดไนลอนจะดีกว่าเหล็กอย่างชัดเจน แต่ร้านค้ากลับไม่เอามาขาย ด้วยเหตุผลทีว่ ่าพอใบพัดมีอายุ การใช้งานนานมากขึ้น ท�าให้ผู้ใช้ไม่ต้องเปลี่ยนใบพัดบ่อย ๆ รายได้ของร้านขายใบพัดจึงลดลง แต่ถ้าลูกค้ายังคงใช้ใบพัด เหล็ก ไม่นานก็ต้องมาเปลี่ยนมาซื้อใบใหม่จากทางร้านไป ในเชิ ง ธุ ร กิ จ มัน มี อ ะไรซั บ ซ้ อ น ทีนี ้ผ มก็ เ ลยเป็ น หน้ า ด่ า น ให้เอกชน รับโจทย์เขามาและออกแบบร่วมกับเขา เริ่มมาดูวสั ดุ ที่ใช้ผลิต ซึ่งทีมงานที่ทา� ก็มาจากมหาวิทยาลัยหรือบริษทั เอกชน เข้ามาช่วยกัน แต่ถ้าในอนาคตทีมผมแข็งขึ้น มีความเชี่ยวชาญ มากขึ้น ผมก็อาจจะไปช็อปป้งวัสดุจาก PETROMAT มาพัฒนา เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ก็เป็นไปได้ 9


COVER STORY

PETROMAT: พูดถึงผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ชักอยากรูแ้ ล้วว่าตอนนี้

ทางสถาบันพลาสติกมีผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมอะไรบ้าง ดร.เกรียงศักดิ์: ปีที่แล้วผมจัดงานประกวดที่ชื่อว่า Plastics Awards ร่วมกับเอกชน โดยให้เอกชนส่งผลิตภัณฑ์ท่มี ีคอนเซ็ปต์ มีไอเดียเข้ามาร่วมประกวด มีขอ้ แม้วา่ ทุกผลิตภัณฑ์ท่สี ง่ เข้าร่วม จะต้ อ งมีก ารผลิต ขายอยู่ ใ นตลาดและต้ อ งมีค วามโดดเด่ น หรือแตกต่าง ซึ่งก็มีเสียงตอบรับที่ดีและได้ขยายการประกวด สู่ ร ะดั บ อาเซี ย นเมือ่ ไม่ น านมานี ้ ส�า หรั บ สถาบัน พลาสติ ก การพัฒนานวัตกรรมนัน้ ก็เริ่มท�าจริงจังมากขึ้น เริ่มจากผู้ผลิต น�าเม็ดพลาสติกมาให้ลองทดสอบขึน้ รูปเปนผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ หรือแม้แต่พลาสติกชีวภาพก็เคยร่วมมือกับส�านักงานนวัตกรรม แห่งชาติในการทดสอบการขึ้นรูปมาบ้างแล้ว

PETROMAT: ตอนนี ้ส ถาบั น พลาสติ ก เน้ น งานด้ า น

การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) เป็นหลัก ดร.เกรีย งศั ก ดิ:์ เรี ย กว่ า ออกแบบผลิต ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก (Plastic Product Design) ดีกว่า เพราะงานออกแบบพลาสติก ไม่เหมือนงานออกแบบทัว่ ๆ ไป คือ ออกแบบได้ แต่แพง ท�าได้หรือไม่ อย่างเช่นหากอยากปรับรูปแบบชิ้นงาน ตัดจุดนั้น เพิ่มจุดนี้ ก็อาจจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัว ต้องมาคุยกัน ว่ายอมรับได้หรือไม่ ยังไม่รวมถึง การประเมินปริมาณการผลิต ประเมินต้นทุนความคุ้มค่า เพราะฉะนัน้ โดยแนวทางคือ เราจะออกแบบให้มีความเหมาะสมกับตลาด ช่วยเลือกวัสดุ ให้เหมาะสม แต่ในบางกรณีถ้าเขาก็มีวัสดุมาให้ ผมก็ออกแบบ ให้ตรงกับผลิตภัณฑ์ท่ีตอ้ งการ และในบางทีเราก็ให้ขอ้ เสนอแนะ ไปเพื ่อ ต่ อ ยอดซึ่ ง กั น และกั น เขามีเ ม็ด พลาสติ ก มาเรา เราก็หาวิธใี ช้งานให้เหมาะ ถ้าเขามีวธิ ใี ช้งานผมก็ไปหาคนมาท�า เม็ดพลาสติกให้เขา

“ผมก�าลังจะบอกว่ามุมมองของคนด้านการตลาด กับนักวิจัยไม่มีใครผิดใครถูก เพียงแต่เปน ”

การมองคนละมุม

PETROMAT: เห็นสถาบันพลาสติกมีการท�างานร่วมกับ ภาคอุต สาหกรรมแล้ ว รู ้ สึ ก ดี น ะครั บ สุ ด ท้ า ยนี ้อ ยากให้ ดร.เกรียงศักดิ์ ช่วยแนะน�า PETROMAT หรือหน่วยงานของ มหาวิทยาลัยในการท�าวิจัยร่วมกับภาคอุตสาหกรรม ดร.เกรียงศักดิ์: ยกตัวอย่างเช่น การพัฒนาตะเกียบพลาสติก ชี ว ภาพ ในการท�า งานจริ ง จะมี ค วามแตกต่ า งด้ า นมุ ม มอง คือ นักวิจัยจะมีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านวัสดุและขึ้นรูป เป็นอย่างดี และพอขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ออกมา เขาก็จะมองว่า มัน ใช้ ไ ด้ แข็ ง แรงดี ทนต่ อ อุณ หภู มิ ซึ ่ง นั ก วิ จั ย ส่ ว นมาก จะมีมุมมองแบบนี้ แต่พอเอาไปให้คนทีเ่ ป็นนักการตลาดดู สิ ง่ แรกทีเ่ ขาทัก คื อ ปลายมั น คม ซึ ง่ ก็ เ ป็ น อี ก มุ ม ทีน่ ั ก วิ จั ย ไม่ได้นกึ ถึง คือผมก�าลังจะบอกว่ามุมมองของคนด้านการตลาด กับนักวิจัยไม่มีใครผิดใครถูก เพียงแต่เป็นการมองคนละมุม เขาบอกว่าคม แบบนี้ขายไม่ได้ แต่นักการตลาดก็ไม่รู้ว่าต้องท�า อย่างไรให้ไม่คม แต่นักนักวิจัยนั่นแหละทีจ่ ะรู้วิธีท�าให้ไม่คม ซึ่งการวิจัยและพัฒนาทีม่ ีประสิทธิภาพนั้นจะต้องพยายาม ที่จะเชื่อมโยงมุมมองทั้งสองด้านแบบนี้ให้ได้

PETROMAT: นอกจากงานด้านการออกแบบแล้ว สถาบัน

พลาสติกมีงานด้านวิจัยและพัฒนาหรือเปล่าครับ ดร.เกรียงศักดิ์: ผมก็พยายามจะไปต่อยอดกับงานด้านวิจัย และพัฒนาของมหาวิทยาลัยครับ ผมเชื่อว่าเราเรียนกันมา คนละทาง งานต้นน�้าเป็นวิทยาศาสตร์และเป็นงานด้านวิจัย และพัฒนาจริง ๆ แต่งานปลายน�้าของผมเรียกวิจัยหรือเปล่า ยังไม่แน่ใจเกี่ยวกับค�านิยามว่าจะสามารถเรียกแบบนั้นได้ หรื อ ไม่ อย่ า งกรณี ตั ว อย่ า ง มีบ ริ ษั ท SME รายหนึ ่ง ส่งชามเทอร์โมฟอร์มธรรมดาเข้ามาประกวด แต่เขาใช้เทคนิค ด้านการออกแบบแม่พิมพ์ พอฉีดขึ้นรูป ผลิตภัณฑ์ทีอ่ อกมา นอกจากจะได้ ช ามแล้ ว ยัง มีช ้ อ นกั บ ส้ อ มติ ด อยู่ ข ้ า ง ๆ ชามด้วยหนึง่ คู่ เวลาใช้ก็แค่หักออก หากพูดถึงไอเดียดูแล้ว ก็โอเค แต่สามารถเรียกว่าวิจยั และพัฒนาไหม ก็คงจะเรียกไม่ได้ ถ้าถามว่าขายได้ไหม ซึ่งแน่นอนว่าขายได้

10 Food Packaging

PETROMAT ขอขอบคุณ ดร.เกรียงศักดิ์ วงศพร้อมรัตน เป น อย่ า งสู ง ที ่ไ ด้ ส ละเวลาอั น มี ค ่ า มาให้ ข ้ อ มู ล เกี ่ย วกั บ การออกแบบผลิตภัณฑและการต่อยอดงานวิจัยในมุมมอง ด้านการตลาด ซึง่ เปนประโยชนอย่างมากส�าหรับนักวิจัย ในการท�างานร่วมกับภาคอุตสาหกรรม สุดท้ายนี้ PETROMAT จะน�าข้อเสนอแนะที่ได้ไปปรับปรุงการด�าเนินงาน และหวังว่า PETROMAT และ สถาบันพลาสติกจะมีการร่ว มมื อ กัน ในอนาคต



INTERVIEW

Additive Materials for

Food Packaging การพัฒนางานวิจัยด้านบรรจุภัณฑ์อาหาร (Food

Packaging) มีความส�าคัญเป็นอย่างมาก เพราะนอกจาก จะเป็ น บรรจุ ภั ณ ฑ์ ห ่ อ หุ ้ ม อาหารให้ ม ีค วามสวยงาม น่ารับประทานและพกพาสะดวกแล้ว ยังสามารถช่วยให้ อาหารมีความสด ยืดอายุการรับประทานให้ยาวนานขึ้น PETROMAT Today ฉบับ นีไ้ ด้ รั บ เกี ย รติ จ าก ผู้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.หทัย กานต์ มนัส ป ย ะ อาจารย์ประจ�าวิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาฯ และหั ว หน้ า ร่ ว มโปรแกรมวิ จั ย ด้ า นวั ส ดุ ส มรรถนะสูง และวั ส ดุ ฉ ลาด (High Performance and Smart Materials ; HPSM) สังกัดศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยี ป โ ตรเคมีแ ละวั ส ดุ (PETROMAT) ซึ ่ง ท่ า นเป็ น ผู้ ม ี ประสบการณ์ในการท�าวิจัยทางด้านวัสดุสา� หรับ Food Packaging โดยเคยได้ รั บ รางวั ล ในโครงการทุน วิ จั ย ลอรี อ ัล ประเทศไทย “เพื ่อ สตรี ใ นงานวิ ท ยาศาสตร์ ” ในสาขาวัสดุศาสตร์ ในปี ค.ศ. 2011

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย ดร.หทัยกานต มนัสปยะ หัวหน้าร่วมโปรแกรมวิจัย HPSM

PETROMAT: ปัจจุบันบรรจุภัณฑ์ (Food Packaging) นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย มีการออกแบบให้เกิดความสวยงาม

และใช้งานได้ง่าย อาจารย์ช่วยยกตัวอย่างงานวิจัยด้านบรรจุภัณฑ์ที่น่าสนใจ รวมทั้งการน�าไปประยุกต์ใช้งานอย่างไรได้บ้าง ผศ. ดร.หทัยกานต: การวิจัยด้านบรรจุภัณฑ์ หรือ Food Packaging ปัจจุบันงานวิจัยส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับ Smart Packaging โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ Active Packaging และ Intelligent Packaging เพราะหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ไม่ใช่ท�าหน้าที่ปกปอง ผลิตภัณฑ์หรืออาหารอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะมีหน้าที่พิเศษอื่น ๆ ในเรื่องของการช่วยยืดอายุของอาหาร หรือที่เรียกว่า Prolong Shelf Life เพราะฉะนั้นการวิจัยด้านบรรจุภัณฑ์จะมุ่งไปทางด้านการเพิ่มหน้าที่พิเศษ เช่น การควบคุมการซึมผ่านของกาซ การดูดซับกาซบางชนิด ความสามารถในการต้านเชื้อแบคทีเรีย เป็นต้น ซึ่งการวิจัยสามารถพัฒนาจากการคิดค้นสารเติมแต่ง หรือพัฒนาสูตรพอลิเมอร์ชนิดใหม่ อ่านต่อหน้าถัดไป... 12 Food Packaging



INTERVIEW

PETROMAT: ทราบข่าวว่าอาจารย์ได้รับรางวัลในโครงการ

ทุนวิจัยลอรีอัล ประเทศไทย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” เมื่อปี ค.ศ. 2011 อยากให้อาจารย์ช่วยเล่าถึงที่มาของการได้ รับรางวัลนี้ค่ะ ผศ. ดร.หทัยกานต: รางวัลนี้เป็นรางวัลทีช่ ่วยส่งเสริม การวิจยั ให้กบั นักวิทยาศาสตร์รนุ่ ใหม่เฉพาะผูห้ ญิง โดยคัดเลือก จากผลงานวิจยั ที่สง่ เข้าไป อีกทั้งประวัตกิ ารท�างานและผลงาน วิจัยทีผ่ ่านมา ซึ่งมีการมอบรางวัลทุก ๆ ปี มี 3 สาขา คือ สาขาวั ส ดุ ศ าสตร์ สาขาวิ ท ยาศาสตร์ ชี ว ภาพ และสาขา วิทยาศาสตร์เคมี ซึ่งอาจารย์ได้รับรางวัลในสาขาวัสดุศาสตร์ ในหั ว ข้ อ “การพั ฒ นาวั ส ดุ รู พ รุ น เพื ่อ การดั ก จั บ โลหะหนั ก หรื อ ดั ก จั บ ก า ซในบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื ่อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพน� ้า และอาหาร และการสังเคราะห์ดินเหนียวนาโนแบบรูพรุน ดัดแปร ด้วยโครโมฟอร์ เพื่อการเตรียมฟลม์ บรรจุภณ ั ฑ์ทมี่ คี วาม สามารถดูดจับกาซเอธิลีนและเป็นตัวตรวจวัดทางแสง”

หรือกาซคาร์บอนไดออกไซด์ แล้วน�ามาผสมลงในพอลิเมอร์หรือ เรซิ น ทีจ่ ะน� า ไปผลิ ต เป็ น Food Packaging เช่ น PP (Polypropylene) PE (Polyethylene) บางงานวิจยั มีการเน้น เรื่องของความปลอดภัยของอาหาร โดยเติม Additive ที่มคี วาม สามารถในการต้ า นทานการเจริ ญ เติ บ โตของแบคทีเ รี ย และจุลินทรีย์ เช่น เหล็กออกไซด์ (FeO) หรือซิลเวอร์นาโน โดยเติมลงในดินเหนียวนาโนแบบมีรูพรุนก่อนน�าไปผสมกับ พอลิเมอร์ และน�ามาผลิตเป็นแผ่นฟล์ม ซึ่งงานวิจัยเหล่านี้ จัดอยู่ในกลุ่ม Active Packaging

PETROMAT: งานวิจัยของอาจารย์ทกี่ �าลังศึกษาอยู่เน้น

ทางเรื่องใด และมีงานส่วนไหนที่สอดคล้องกับ Food Packaging บ้างคะ ผศ. ดร.หทัยกานต: งานวิจัยทีอ่ าจารย์ได้ศึกษาเกี่ยวกับ การคิดค้นสารเติมแต่ง โดยน�าวัสดุธรรมชาติ คือ ดินเหนียว เบนโทไนท์ (Bentonite Clay) มาปรับปรุงให้เป็นดินเหนียว นาโนแบบมีรูพรุน ซึ่งในรูพรุนนั้น เราสามารถเติมสารเคมี ทีม่ ีหมู่ฟังก์ชันทีช่ อบจับกาซทีเ่ ป็นตัวการท�าให้พืชผักผลไม้ เสือ่ มอายุห รื อ สุก เร็ ว ขึ ้น ได้ ดั ง เช่ น ผลไม้ ไ ทยทีส่ ่ ง ออก เช่น มะม่วง กล้วยหอม ซึ่งผลไม้ในเขตร้อนจะมีการหายใจแล้ว ปลดปล่อยกาซออกมาหลายชนิด แต่หลัก ๆ จะเป็นกาซ คาร์บอนไดออกไซด์ และกาซเอธิลีน ซึ่งบรรจุภัณฑ์ดั้งเดิม ทีช่ ่วยห่อหุ้มผลไม้จะท�าให้กาซพวกนีถ้ ูกห่อหุ้มไว้และจะเร่งให้ ผลไม้สุกเร็วขึ้น ในกลุ่มของผู้ส่งออกผลไม้มีความต้องการให้ ผลไม้ท่สี ง่ ออกไปถึงปลายทางประเทศต่าง ๆ ยังคงมีความเขียวอยู่ ซึ่งในต่างประเทศนั้น ถ้าตรวจผลไม้แล้วพบว่าผลไม้สุกหรือพบ เชื้อโรคทีเ่ ห็นเป็นจุดด�า ๆ บนพื้นผิวผลไม้ ผลไม้เหล่านี้จะ ถูกส่งกลับมา ท�าให้เกิดความเสียหาย จึงมีความต้องการทีจ่ ะ ให้ผลไม้สุกช้าลง เพราะฉะนัน้ เมือ่ น�าดินเหนียวนาโนแบบมี รูพรุนมาท�าการปรับสภาพพื้นผิวให้มีความชอบกาซเอธิลีน 14 Food Packaging

นอกจากนี ้ ดิ น เหนี ย วนาโนแบบมี รู พ รุ น สามารถ ปรั บ ปรุ ง ให้ มี ค วามสามารถอยู่ ใ นกลุ ่ ม ของ Intelligent Packaging ได้ คือ ท�าให้บรรจุภัณฑ์สามารถมีการสื่อสารกับ ผู้บริโภคได้ โดยการท�าให้สามารถเปลี่ยนสีเมื่อสภาวะแวดล้อม ภายในบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ ปลี ่ย นไป เช่ น ค่ า pH ซึ ่ง เมื ่อ ผลไม้ มีการปล่อยกาซคาร์บอนไดออกไซด์ กาซนี้จะท�าปฏิกิริยา กับความชื้นในอากาศเกิดเป็นกรดคาร์บอนิก (Carbonic Acid) เมื่อน�าดินเหนียวนาโนแบบมีรูพรุนมาเติมสารที่เรียกว่า สีย้อม (Food Grade) ซึ ่ง สี ย ้ อ มจะมีก ารเปลี ่ย นสี เ มือ่ ค่ า pH เปลี่ยนไป เมือ่ น�าผสมในฟล์มบรรจุภัณฑ์ ฟล์มนี้ก็จะสามารถ เปลี ย่ นสี ไ ด้ ต ามค่ า pH เพราะฉะนั น้ ถ้ า เราพั ฒ นาฟ ล ์ ม นี ้


ให้เป็น Label ติดอยู่บนบรรจุภัณฑ์หรือบนผลไม้ เมื่อผลไม้สุก สีของฟล์มก็จะเปลีย่ นตามความสุกของผลไม้ได้ หรือในกรณี จากข่าวเรื่องนมโรงเรียนทีย่ ังไม่หมดอายุแต่พบว่านมเสียแล้ว งานวิจัยนีก้ ็สามารถน�ามาบอกถึงการเสียของนมได้ โดยการ ท�าให้ฟล ม์ เปลีย่ นสีตามความเข้มข้นของกรด เพราะเมื่อนมเสีย จะมีการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ เมื่อจุลินทรียม์ ีการหายใจ ก็จะปลดปล่อยกรดแลกติก (Lactic Acid) ออกมา เมือ่ ผสม สีย้อมในบรรจุภัณฑ์ก็จะเกิดการเปลีย่ นสีตามความเข้มข้น ของกรดที่เกิดขึ้น โดยมีแถบแสดงสีและความเข้มข้นซึ่งจะท�าให้ ทราบว่านมเสียแล้วหรือยังสามารถน�ามาดื่มได้

PETROMAT: อยากฝากอะไรให้กับนักวิจัยรุ่นใหม่ที่สนใจ

จะท�างานวิจัยบ้างคะ

ผศ. ดร.หทัยกานต: การท�างานวิจยั ต้องมีการติดตามความ

“การท�างานวิจัยต้องมีการ

ติดตามความก้าวหน้า ทั้งในเรื่องของวิชาการ และในวงการอุตสาหกรรม

ก้าวหน้าทั้งในเรื่องของวิชาการและในวงการอุตสาหกรรม และ น�ามาศึกษาเพิ่มเติมว่าควรใช้องค์ความรู้อะไรทีจ่ ะสามารถน�า มาประยุกต์ใช้กบั อุตสาหกรรมได้บา้ ง หรือปัญหาเกี่ยวกับ Food Packaging ในบ้านเราประสบปัญหาอะไร ดังเช่น ผลไม้มี เชื้อโรคหรือเกิดจุดด�า ๆ บนผิวผลไม้ ซึ่งทางผู้ส่งออกต้องการ ให้คิดค้น Packaging ทีช่ ่วยปองกันการเกิดจุดด�าบนผลไม้ได้ การส่งออกอาหารแต่ละประเภทจะมีปัญหาที่แตกต่างกัน เช่น การส่งออกข้าว อาจมีปญ ั หาเรื่องถุงบรรจุขา้ ว เราควรเข้าไปพูด คุยกับผู้ประกอบการว่าประสบปัญหาอะไรบ้าง เมือ่ เราทราบ ปัญหาแล้ว จะต้องมาศึกษาถึงสาเหตุ เพื่อดูว่าปัญหาที่แท้จริง เกิดขึ้นทีไ่ หน เกิดจากเชื้อโรคอะไร หรือจากสภาวะแวดล้อม อย่างไร จากนั้นเราน�าข้อมูลมาผนวกเข้ากับความรู้ที่เรามี โดย อาจเป็นการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ แล้วน�ามาออกแบบการ ทดลอง เพือ่ ทีจ่ ะผลิตองค์ความรู้หรือผลิตภัณฑ์ออกมาให้ตรง กับความต้องการของอุตสาหกรรมได้

และน�ามาศึกษาเพิ่มเติมว่าควรใช้ องคความรู้อะไรที่จะสามารถน�ามาประยุกต ใช้กับอุตสาหกรรมได้บ้าง”

การพัฒนาทางด้าน Food Packaging นอกจาก จะพัฒนาให้เป็น Smart Packaging แล้ว ยังมีการส่งเสริมการ ใช้พลาสติกชีวภาพทีส่ ามารถใช้แล้วทิ้งและสามารถย่อยสลาย ได้ตามธรรมชาติ โดยพลาสติกชีวภาพที่มกี ารพัฒนา ได้แก่ PLA (Polylactic Acid) และ PBS (Polybutylene Succinate) ซึ่ง PBS เป็นพลาสติกชีวภาพที่มีความยืดหยุน่ สูง เหมาะส�าหรับท�า เป็น Packaging ประเภท Wrap Film ซึง่ เราสามารถน�า พลาสติกชีวภาพนี้มาผสมกับ Additive ที่อาจารย์พัฒนาได้

PETROMAT ขอขอบคุณ ผศ. ดร.หทัยกานต มนัสปยะ ที่สละเวลามาให้ความรู้และถ่ายทอดประสบการณในการ ท�าวิจยั และแง่คดิ ของการศึกษางานวิจยั ส�าหรับนักวิจยั รุน่ ใหม่ ซึ่งมีประโยชนแก่ผู้ที่สนใจเปนอย่างมากค่ะ

15


RESEARCH เรื่องโดย... ภัสร์ชาพร สีเขียว

Food Packaging จนกระทั บง่ ยุรรจุคปัจภจุัณบฑ์ันอเป็าหารมี การพัฒนาการตามยุคสมัย ตั้งแต่ในอดีตทีใ่ ช้วัสดุจากธรรมชาติ เช่น การน�าใบตองมาห่ออาหาร นยุคของพลาสติก มีการน�าวัสดุพลาสติกมาขึ้นรูปให้เป็นบรรจุภัณฑ์รูปแบบต่าง ๆ ซึ่งมีความทันสมัย สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น แต่การพัฒนาและวิจัยยังไม่หยุดแต่เพียงเท่านี้ ได้มีงานวิจัยทีพ่ ัฒนาและปรับปรุงให้บรรจุภัณฑ์ มีค วามสามารถมากกว่ า ทีเ่ ป็ น เพี ย งบรรจุ ภั ณ ฑ์ ห ่ อ หุ ้ ม อาหารหรื อ การท�า ให้ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ มี ค วามเป็ น มิ ต รกั บ สิ ง่ แวดล้ อ ม ที่น�าวัสดุธรรมชาติมาเข้าสูก่ ระบวนการให้มีคณ ุ สมบัตใิ กล้เคียงกับพลาสติก ดังเช่นงานวิจยั ต่อไปนี้ “Development of functional fruits” งานวิจัยของ Assistant Professor Stephan Dubas “การเสริมสมรรถนะแก่พลาสติกชีวภาพ” งานวิจัยของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุทัย มีคา� และ “การพัฒนาฟลม์ บรรจุภณ ั ฑ์อาหารจากพลาสติกชีวภาพ” งานวิจยั ของ รองศาสตราจารย์ ดร.ประณัฐ โพธิยะราช

Development of functional fruits As of today, the methods to modify the surface of fruits and vegetable are limited to few waxes and biopolymers coatings. We have adapted and developed a new approach for the surface modification of fruits. This method is based on the sequential dipping of the fruit in solution of oppositely charged water soluble polyelectrolytes which produce a nanoscale coating at the surface of the fruit. Few years ago we have used layer-by-layer technique to coat fruits to modify the hydrophobic/ hydrophilic behavior of the fruit skin. This coating can be used not only to improve the shelf life of the fruits but also in a more creative way to develop a new kind of products. i.e. flavor-modified or color-modified fruits. The nano-coating at the surface of the fruit can be doped with food color molecules and with active ingredient such as antimicrobial essential oils (thyme, curcumin, lemon grass) or fragrance to make vanilla flavored apples or banana flavored strawberry. Other kind of products could be designed especially for the Thai market; Spicy fruit could be prepared by adding capsaicin directly on the fruit surface. In our work, the development of a new kind of food coating may allow the development of a new business. Assistant Professor Stephan Dubas

Purple dye loaded at the surface of a banana after coating with the polyelectrolyte films

The Petroleum and Petrochemical College Chulalongkorn University (CU-PPC)

Improved wetability of the apple surface using polyelectrolytes nanocoatings. Original hydrophobic fruit (right) and modified fruit (left)

16 Food Packaging

Improved shelf life of mangoes by curcumin dopped nano-coatings. Original fruit (left), coated with polyelectrolytes layers (center) and coated with Curcumin dopped polyelectrolytes layers (right)


การเสริมสมรรถนะแก่พลาสติกชีวภาพ (Performance Enhancing of Bioplastics) วัสดุพลาสติกชีวภาพ ชนิด Poly(lactic acid) หรือ PLA เป็นวัสดุท่ถี กู น�ามาใช้เป็น บรรจุภณ ั ฑ์อาหาร แต่ยังมีคณ ุ สมบัตขิ อ้ ด้อยหลายประการเมื่อเทียบกับวัสดุพอลิเมอร์ ชนิด PP หรือ LDPE เช่น มีความเปราะ ตกแตกได้ง่าย ไม่สามารถทนต่ออุณหภูมิร้อน หรือเย็นจัดได้ อีกทั้งในกระบวนการผลิตขึ้นรูป เช่น กระบวนการฉีดขึ้นรูป (Injection Molding) หรือ การเปาขึ้นรูปแบบถุงฟล์ม (Blown Film) ก็ไม่สามารถขึ้นรูปได้ง่าย เหมือนกับ PP หรือ LDPE ทัว่ ไป ดังนั้น ในงานวิจัยนี้จึงศึกษาเพื่อเพิ่มสมรรถนะ ของวัสดุพลาสติกชีวภาพให้มีคุณสมบัติเทียบเท่าหรือดีกว่าวัสดุพอลิเมอร์ทใี่ ช้อยู่เดิม โดยเฉพาะพอลิเมอร์ทใี่ ช้ส�าหรับการผลิตบรรจุภัณฑ์อาหารทัง้ ชนิดแช่เยือกแข็ง ซึ่งใช้วัสดุ LDPE และชนิดอาหารอุ่นร้อนซึ่งใช้วัสดุ PP เป็นวัสดุหลัก โดยผลการวิจัย ได้สร้างนวัตกรรมเชิงวัสดุพอลิเมอร์ชีวภาพที่มีคุณสมบัติหลากหลายเทียบเท่ากับ PP และ LDPE ซึ่งสามารถขึ้นรูปเป็นบรรจุภัณฑ์อาหารร้อน ภาชนะอุ่นร้อนในไมโครเวฟ และบรรจุภัณฑ์อาหารแช่เยือกแข็งได้ด้วย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย ดร.อุทยั มีคา� สาขาวิชาวิศวกรรมพอลิเมอร์ ส�านักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (SUT-PE)

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ อาหารแช่เยือกแข็ง

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์อาหารอุ่นร้อน ที่ผลิตจากกระบวนการขึ้นรูปแบบฉีดเข้าแบบ

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ

ฟล์มพลาสติกเป็นวัสดุที่ได้รับความนิยมในการใช้งานเป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร การพัฒนาฟลม บรรจุภณ ั ฑอาหาร โดยได้รับการพัฒนาให้มีสมบัติทเี่ หมาะสมกับการใช้งาน ท�าให้ปริมาณการใช้งาน จากพลาสติกชีวภาพ

เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดปัญหามลพิษจากขยะพลาสติกสะสมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ประกอบกับปัจจัยความไม่แน่นอนของต้นทุนด้านปโตรเลียม ท�าให้เกิดการพัฒนา พลาสติกชีวภาพขึ้นหลายชนิด อย่างไรก็ตามในปัจจุบันพลาสติกชีวภาพทีใ่ ช้ในเชิง พาณิชย์ยงั มิอาจตอบสนองต่อความต้องการของผูบ้ ริโภคได้ โดยเฉพาะในแง่การใช้งาน เป็นฟล์มบรรจุภัณฑ์อาหาร จึงมีความสนใจในงานวิจัยเพื่อพัฒนาและปรับปรุงฟล์ม บรรจุภณ ั ฑ์อาหารจากพลาสติกชีวภาพให้มสี มบัตทิ ่เี หมาะสมกับการใช้งานที่สอดคล้อง กับวิถีการด�าเนินชีวิตของสังคมในปัจจุบัน โดยศึกษาเทคนิคทีห่ ลากหลาย อาทิ การใช้เทคนิคพอลิเมอร์ผสม (Polymer Blending) การเตรียมเป็นพอลิเมอร์คอมพอสิต (Polymer Composite) กับตัวเติม (Filler) ทีห่ ลากหลาย อาทิ ซิลิกาจากแกลบ หรือ มอนต์มอริลโลไนต์ดัดแปร เทคนิคการผลิตฟล์มหลายชั้น (Multilayer Film) รวมทัง้ การพัฒนาสารคู่ควบ (Coupling Agent) และสารเสริมสภาพเข้ากันได้ (Compatibilizing Agent) เพื่อใช้กับการเตรียมฟล์ม พบว่าสามารถพัฒนาฟล์ม พลาสติกชีวภาพให้มีสมบัติใกล้เคียงกับพลาสติกดั้งเดิมได้ด้วยการบูรณาการเทคนิค ดังกล่าวข้างต้นเข้าด้วยกัน ฟลม์ พอลิแล็กทิกแอซิดสามารถยืดตัวและทนต่อแรงฉีกขาดได้ดขี ้นึ เมื่อน�ามาเตรียมเป็นฟล์มหลายชั้นด้วยเทคนิคพอลิเมอร์ผสม และใช้ซิลิกาจากแกลบเป็นสารเสริมแรง

รองศาสตราจารย ดร.ประณัฐ โพธิยะราช ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU-MS)

คอมพอสิตของพลาสติกชีวภาพที่เสริมแรง ด้วยซิลิกาที่ยงั ไม่ผา่ นการดัดแปรและที่ผา่ น การดัดแปรด้วยสารคู่ควบ

17


Look Around เรื่องโดย... อรนันท์ คงเครือพันธุ์

ขวดนมพลาสติกเลี้ยงเด็ก เสี่ยงมะเร็ง-เบี่ยงเบนเพศจริงหรือ?

หากน� าพลาสติ ทุกวันกนีแต่้ผลิลตะชนิภัณดฑ์ไปใช้พลาสติอย่กามีงผิให้ดเวิลืธอจี กมากมายในท้ องตลาด ะท�าให้สารเคมีตา่ ง ๆ

ปนเปื้อนในอาหาร ตัวอย่างเช่น สาร BPA (Bisphenol A) ซึ่งเป็นสารเคมีทใี่ ช้ในการผลิตพลาสติกชนิดแข็งใสทีเ่ รียกว่า พอลิค าร์ บ อเนต (Polycarbonate) เป็ น วั ต ถุ ดิ บ ส� า คั ญ ในการผลิตขวดนมส�าหรับเด็ก

เรามาท�าความรู้จักกับ

BPA (Bisphenol A) กันนะคะ

BPA เป็นสารตั้งต้นในการผลิตพอลิคาร์บอเนต โดยสารนี้ มีคณ ุ สมบัตชิ ว่ ยให้ขวดนมหรือพลาสติกมีความแข็งแรงใส ไม่แตกง่าย BPA เข้ า สู ่ ร ่ า งกายได้ จ ากการอยู่ ใ นอุณ หภู มิ ค วามร้ อ นสู ง เช่ น การต้ ม นึ ่ง ท�า ให้ ส าร BPA หลุ ด และร่ อ นออกมาปะปน ในอาหาร สาร BPA จะแทรกซึมลงในของเหลวและอาหารที่บรรจุอยู่ ภายในภาชนะ เช่น ขวดนม ขวดน�า้ พลาสติก กล่องบรรจุอาหาร และเข้าสู่ร่างกายเมื่อรับประทานหรือดื่มเข้าไป

โดยศูนย์พิษวิทยาแห่งชาติ (NIP) ของสถาบันสุขภาพแห่งชาติสหรัฐอเมริการะบุว่า สารชนิดนี้จะส่งผล ต่อการสร้างเซลล์สมอง ความทรงจ�า การเรียนรูร้ ะบบประสาทพัฒนาการของทารกในครรภ์ เด็กทารก และเด็กเล็กได้ และอาจเป็นสาเหตุก่อมะเร็งต่อมลูกหมากและมะเร็งเต้านมได้ นอกจากนี้การทดลองในสัตว์ทดลองพบว่า สาร BPA มีลกั ษณะเป็นตัวรบกวนฮอร์โมนทางเพศในร่างกายให้เกิดความสับสน อาจส่งผลกระทบต่อพฤติกรรม เบีย่ งเบนทางเพศส�าหรับเด็กรวมถึงการสืบพันธุ์ นอกจากนี้สาร BPA ยังส่งผลต่อฮอร์โมนการเจริญเติบโต และการสืบพันธุ์ ท�าให้เด็กเป็นหนุ่มเป็นสาวเร็วเกินไป เป็นโรคอ้วนและไฮเปอร์แอคทีฟ รวมถึงก่อให้เกิด ความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคหัวใจอีกด้วย

ปัจจุบันวัตถุดบิ ทางเลือกที่มาทดแทนการใช้ผลิตขวดนมมีหลายชนิด แต่วัตถุดิบทีป่ ลอดภัยทีส่ ุดในขณะนี้คือ พอลิโพรพิลีน (Polypropylene) เนือ่ งจากได้รับรองจากองค์การอาหารและยาของประเทศสหรัฐอเมริกา ให้สามารถใช้ผลิตขวดนมส�าหรับเด็กอ่อนได้ เพราะฉะนั้นพ่อแม่ควรตระหนัก และให้ความส�าคัญในการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ขวดนมและภาชนะพลาสติกที่ ควรระบุฉลาก BPA Free เพื่อไม่ให้ส่งผลอันตรายต่อร่างกายของเด็ก ที่อาจจะได้รับสารพิษดังกล่าวได้ อ้างอิง 1.http://www.wongkarnpat.com 2.http://www.mom2kiddy.com 18 Food Packaging



Get to Know เรื่องโดย... ภัสร์ชาพร สีเขียว

“WikiCell”

บ รรจุภัณฑ์ทไี่ ม่เพียงแต่มีประโยชน์ในการใช้บรรจุอาหาร และเครื่องดื่มได้เท่านั้น แต่ยังสามารถน�ามารับประทานได้ด้วย เมื่อได้ยิน

อย่างนี้อยากรู้แล้วใช่ไหมคะว่า สิ่งนั้นคืออะไร PETROMAT Today ฉบับนี้ ขอน�าผู้อ่านทุกท่านมารู้จักกับ “WikiCell” บรรจุภัณฑ์กินได้กันค่ะ

Edible Packaging

WikiCell ถูกคิดค้นโดย ศาสตราจารย์ David Edwards

ที่ได้แนวคิดจากธรรมชาติของผลไม้

WikiCell มีลักษณะเป็นบรรจุภณั ฑ์สองชั้นที่เป็นการน�าส่วนผสม จากธรรมชาติ เช่น ช็อกโกแลต ผลไม้ เมล็ดธัญพืช มาผสมกับ แคลเซียมและไคโตซานทีไ่ ด้จากเปลือกหอยหรือกุ้ง หรือแอลจิเนต ที่เป็นสารสกัดจากสาหร่าย ซึ่งมีลักษณะเป็นเปลือกนิ่ม ๆ อยู่ด้านใน ส่วนชั้นนอกนัน้ จะท�าหน้าทีป่ กปองเปลือกชั้นใน โดยมี 2 ชนิด (1) เป็นบรรจุภัณฑ์ทนี่ �าไปล้างก่อนรับประทานคล้ายกับแอปเป้ล ผลิตจากไอโซมอลต์ซึ่งเป็นสารให้ความหวานชนิดหนึ่ง และ (2) เป็นบรรจุภัณฑ์ทสี่ ามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ เพียงแกะออก แล้วทิง้ คล้ายกับเปลือกส้ม ผลิตจากชานอ้อยหรือมันส�าปะหลัง สามารถทดแทนกระดาษแข็งที่ใช้บรรจุอาหารได้

WikiCell สามารถปรับเปลี่ยนขนาด รูปแบบ รสชาติได้หลากหลาย หรือเติม สารอาหารอืน่ ๆ เพื่อเพิ่มคุณประโยชน์ ทางโภชนาการ และปองกันเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อโรคอื่น ๆ ได้

อยากรูก้ นั แล้วใช่ไหมคะว่า WikiCell จะมีหน้าตา เป็นอย่างไร น่ารับประทานหรือเปล่า ถ้าอย่างนั้นเรามา ดูตวั อย่างเมนูจากร้าน Wikibar ที่ต้งั อยูใ่ นปารีส กันเลยค่ะ

โยเกิรต์ บรรจุใน เปลือกที่ท�าจาก ผลเบอร์รี่ ไอศกรีมมะม่วงในบรรจุภณ ั ฑ์ มะพร้าว หรือไอศกรีมวานิลลา ในเปลือกที่ท�าจากพีนัท บรรจุ ภั ณ ฑ์ ท รงลู ก แพร์ เพี ย งกั ด ทีป่ ลายแล้ ว ดื ่ม หรื อ จะเคี ้ย วเปลื อ กนอก ตามไปด้วยก็ไม่ว่ากัน กั ส ปาโชหรื อ ซุ ป มะเขื อ เทศเย็น แ บ บ อ ิต า เ ลี ย น ในบรรจุ ภั ณ ฑ์ ท ี ่ ท�าจากมะเขือเทศ และใบโหระพา

20 Food Packaging

อ้างอิง 1. http://www.businessweek.com/articles/2013-02-28/ david-edwardss-wikicell-makes-edible-food-packaging 2. http://www.tcdc.or.th/src/18048/www-creative thailand-org/WikiCell-บรรจุภณ ั ฑ์กนิ ได้-ทางเลือกใหม่บนโตะอาหาร 3. http://www.wikipearl.com


Everyday PETROMAT

บรรจุภณ ั ฑอาหารกินได้ เมื่อละลายน�้า

V ivos Film เป็ น ฟ ล ์ ม ทีล่ ะลายน� ้า ผลิ ต จาก ส่วนประกอบทัง้ ธรรมชาติและสังเคราะห์ในระดับมาตรฐาน ที่มา: www.vivosfilm.com

อาหาร (Food Grade) คิดค้นโดย บริษัท MonoSol ซึ่งเป็น บริ ษั ท ผลิ ต ฟ ล ์ ม พอลิ เ มอร์ ใ นสหรั ฐ อเมริ ก า Vivos Film ถูกน�ามาเป็นถุงบรรจุภัณฑ์ทสี่ ามารถละลายได้เมือ่ สัมผัสกับ น�า้ ร้อน น�้าเย็น นม หรือน�้าผลไม้ โดยมีคุณสมบัติใส ไม่มีสี ไม่มกี ลิน่ และไม่มรี สชาติ สามารถรับประทานได้พร้อมอาหาร ส่วนใหญ่ใช้บรรจุพวกผงเครือ่ งดืม่ ผงโปรตีน ซีเรียล ซุป หรือซอส บรรจุภัณฑ์นี้มีความสะดวกต่อผู้บริโภคในการพกพา การควบคุมปริมาณอาหารได้ ชัดเจนและสามารถลดปริมาณของเสียต่อสิ่งแวดล้อมได้ อย่างไรก็ตามบรรจุภัณฑ์นี้ควรมีการเก็บรักษา โดยปราศจากความชื้นรวมถึงการขนส่งที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนต่าง ๆ

บรรจุภัณฑอาหารแนวคิดใหม่จาก LyondellBasell

พอลิ โอเลฟบนริษ(Polyolefin) ั ท LyondellBasell ประกาศเป ด ตั ว เรซิ น ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ Toppyl ส�าหรับ

ที่มา: www.plastech.biz

อุต สาหกรรมบรรจุ ภั ณ ฑ์ อ าหารพร้ อ มรั บ ประทาน เรซิ น Toppyl RC3000 ถูกออกแบบมาให้มีสมบัติเทียบเคียงกับ บรรจุภัณฑ์อาหารพอลิเอทีลีน (PE) ทัว่ ไป แต่มีจุดเด่นคือ สามารถซีล (seal) ได้แน่นหนาโดยไม่จ�าเป็นต้องใช้กาวหลอม ท�าให้อาหารสดนาน เหมาะอย่างยิ่งส�าหรับอาหารสดประเภท เนื้อสัตว์ ผักผลไม้และชีส สามารถเปดออกได้งา่ ยและปดได้สนิทโดยไม่ตอ้ งใช้กรรไกรหรือมีด ได้รบั การทดสอบ จากผู้ผลิตฟล์มรายใหญ่ พบว่าบรรจุภัณฑ์อาหารดังกล่าวสามารถเปดและปดกลับได้สนิทได้ถึง 10 รอบ

21


GAMES

GAMES

PETROMAT Today ฉบับนี้ยังมีของรางวัลพิเศษ เป็นเช็คของขวัญมูลค่า 500 บาท และแก้ว 15 ปี PETROMAT จ�านวน 5 รางวัล เพียงส่งค�าตอบทางอีเมล ไปรษณี​ีย์หรือเฟสบุค ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2558 ทางทีมงานจะท�าการจับรางวัลและประกาศรายชื่อผู้โชคดีทางวารสารฉบับต่อไป ประกาศรายชื่ิอผู้โชคด ี

ได้รับรางวัลเช็คของขวัญมูลค่า 500 บาท คุณสุรพงษ์ จินะ ได้รับรางวัลแก้ว 15 ปี PETROMAT 1. คุณนันทวุฒิ โชคอักษรศานต์ 2. คุณณัฏฐิตา ชวนเกริกกุล 3. คุณสุทธิพงศ์ ธัญญะพิเศษศักดิ์ 4. K.Raweewan Dejpala 5. K.Kan Seneesrisakul ผู้โชคดีบางส่วนที่มารับรางวัลด้วยตัวเอง

ส่วนผู้โชคดีที่เหลือได้จัดส่งทางไปรษณีย์ตามที่อยู่ที่ให้ไว้ค่ะ

จากภาพมีคา� ว่า PETROMAT ทั้งหมดกี่ค�า info@petromat.org

petromat

31 พฤษภาคม 2558

“รีบส่งค�าตอบ มีสิทธิ์ลุ้นรับรางวัลทุกท่าน”

4 Food Packaging

เฉลยค�าถามเล่มที่แล้ว: 1. 15 ปี, 2. 103 ตึก


Food Corner by PETROMAT

เย็นใจไปกับ...

เรื่องโดย... ธีรยา เชาว์ขุนทด

“Jaiyen Café”

“ เมษายน” เดือนที่จัดได้ว่าร้อนที่สุดของปี PETROMAT ขอพาทุกท่านไปสัมผัสบรรยากาศความเย็น เอาใจคนชอบรับประทาน

ไอศกรีมคลายร้อน ที่ร้านไอศกรีมโฮมเมดไทยแท้ “Jaiyen Café” ที่เริ่มต้นโดยคุณนิอรเจ้าของร้าน ท�าไอศกรีมโฮมเมดในชื่อ “ไอศกรีม ไทยใจเย็น” ส่งขายตามออเดอร์และร้านอาหารควบคู่ไปกับการ ท�างานประจ�ามากว่า 3 ปี เมือ่ ทุกอย่างลงตัวมีความพร้อมจึงเปด “Jaiyen Café” ร้านไอศกรีมสไตล์คาเฟขนาดเล็กกะทัดรัดมีกลิ่นอาย ความเป็นญี่ปุนเล็กน้อย ตกแต่งร้านด้วยไม้ โทนสีที่ใช้เน้นขาว - ด�า เรียบง่ายแต่น่านั่ง บรรยากาศสบาย ๆ และผ่อนคลาย มีเครื่องดื่ม เบเกอรี่และไอศกรีมในสไตล์โฮมเมดกว่า 38 รสชาติไว้บริการ เมนูแนะน�า: Jaiyen Dips เลือกไอศกรีมได้ 8 ลูกตามใจชอบ จุ ด เด่ น คื อ เสิร ์ ฟ มาในหม้ อ ที ่ รองด้วยน�า้ แข็งแห้งพร้อมซอส 3 รส สตรอว์เบอร์ร่ี มินต์ และ ช็อกโกแลต (155 บาท)

Jaiyen Ice เครื่ อ งดื่ ม คลายร้ อ นทีใ่ ช้ น า� ้ หวานของ แต่ละรสมาแช่แข็งแทนน�า้ แข็ง จะทิง้ ไว้ น านแค่ ไ หนรสชาติ ก็ไม่เปลี่ยน มีทั้งลิ้นจี่โซดา บวย โซดา องุ่นโซดา และบลูโซดา (85 บาท)

Waffle เสิร์ฟพร้อมกัน 3 แบบ ได้รสชาติท่ีเข้มข้นของ วานิลลา โกโก้ และชาเขียว รับประทานคูก่ บั ซอสช็อกโกแลต น�้าผึ้ง อัลมอลด์สไลด์ (110 บาท เพิ ่ม ไอศกรี ม ใจเย็น 1 สกูป 155 บาท)

วันเวลาเปดปด: เปดบริการทุกวัน ตั้งแต่ 10.30 น. - 20.30 น. การเดินทาง: BTS สถานีพร้อมพงษ์/รถยนต์ เข้าซอยสุขุมวิท 33 ไปประมาณ 500 เมตร จากนัน้ เลี้ยวซ้ายจะเป็นถนน One Way ร้านอยู่ฝังขวามือ ข้อมูลเพิม่ เติม: https://www.facebook.com/jaiyencafe เบอรโทรศัพท: 0811744441 , 0982516485

ปรอทตอนที่ 2: มาท�าความรู้จักกับปรอทกันเถอะ จากความเดิมตอนทีแ่ ล้วเราได้รู้ประโยชน์ และโทษของปรอทกันไปแล้วครั้งนี้เราจะย้อนไปดูทมี่ าของปรอทกัน ปรอทส่วนใหญ่ได้มาจากการขุดจุดน�้ามัน และกาซธรรมชาติ เนื่องจากแหล่งขุดเจาะน�้ามันในอ่าวไทยมีปริมาณปรอท เจือปนอยูส่ ูง โดยจะปนเปือ้ นมากับน�้ามันดิบ และกาซที่ขดุ เจาะมาได้ ถึงแม้จะมีหน่วยก�าจัดปรอทก่อนที่จะส่งน�้ามันดิบ และกาซมาสูโ่ รงกลั่น แต่กย็ ังมีปรอทจ�านวนมากหลุดเข้ามาในระบบกลั่นน�า้ มัน ซึ่งเป็นที่ผลิตน�้ามันเชื้อเพลิง กาซหุงต้ม และสารตั้งต้นของอุตสาหกรรมปโตรเคมีคอล ส่งผลกระทบกับอุปกรณ์ต่างๆทีเ่ ป็นทางผ่านของน�า้ มัน และกาซที่มี การปนเปื้อนของปรอท จึงจ�าเป็นต้องมีการซ่อมบ�ารุงเพื่อก�าจัดเอาปรอทออกจากอุปกรณ์ต่างๆ ในปัจจุบันยังไม่มี วิธีการใดก�าจัดปรอทออกจากอุปกรณ์ต่างๆได้ 100% เนือ่ งจากธาตุปรอททีป่ ะปนมานัน้ สามารถฝังเข้าในรูพรุน ของเนือ้ โลหะได้เป็นอย่างดี อีกทัง้ คุณสมบัติทสี่ ามารถกลายเป็นไอได้ทอี่ ุณภูมิปกติ ท�าให้การทีค่ นจะเข้าไปท�าการ ซ่อมบ�ารุงภายในอุปกรณ์ได้รับอันตรายจากการสูดดมไอปรอททีม่ ีความข้มข้นสูง หรือสัมผัสกับสารปรอทโดยตรง ในปัจจุบันจึงมีการคิดค้นสารเคมีเพื่อน�ามาใช้ลดไอสารปรอทในระบบ หรืออุปกรณ์ต่างๆ ในอุตสาหกรรม การกลัน่ น�้ามัน กาซธรรมชาติ และปโตรเคมิคอล หลักการคือ ใช้สารเคมีขา้ งต้นเข้าไปเปลีย่ นรูปของไอสารสารปรอท ให้ไปอยู่ในรูปทีไ่ ม่ระเหยกลายเป็นไอ เพื่อลดความเข้มข้นของไอสารปรอทก่อนทีจ่ ะส่งคนเข้าไปท�าการซ่อมบ�ารุง หรือตรวจสอบความเสียหายภายในระบบ หรืออุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงการออกแบบอุปกรณ์ PPE ให้เหมาะสมกับ การท�างานในสภาวะที่มีไอสารปรอทได้อย่างปลอดภัย

ค า มาตรฐานความเข ม ข น ของไอปรอทในอากาศ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื ่อ งความปลอดภั ย ในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม(สารเคมี) กําหนด ใหปรอทมีปริมาณความเขมขนสูงสุดทีอ่ าจยอมใหมีได ไม ว  า ระยะเวลาใดของการทํา งานปกติ ต อ งไม เ กิ น 0.05 มิลลิกรัมตออากาศ 1 ลูกบาศกเมตร (mg/m3) ตัวอย่าง PPE ส�าหรับงานที่ต้องสัมผัสกับสารปรอท

Nitrite glove

หน้ากาก พร้อมไส้กรอง

Goggle

ชุดปองกันสารปรอท เครื่องวัดค่า สีเทาแบบเต็มตัว ไอสารปรอท

บริษัท วาเลนซ์ จ�ากัด ด�าเนินธุรกิจให้บริการด้าน Industrial cleaning ทัง้ ในประเทศและภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ส�าหรับอุตสาหกรรมหนักทั่วไป เช่น อุตสาหกรรมโรงกลัน่ น�้ามัน อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมผลิตไฟฟา อุตสาหกรรมเหล็ก ด้วยกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีท่มี ีคณ ุ ภาพ มีความปลอดภัยสูง และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

23


เªิÞร‹วมงาน

วันÍั§คารทÕè 21 เมÉาÂน ¾.È. 2558 เวÅา 10.30-12.00 น. ÍาคารจามจØรÕ 10 จØÌาŧกร³ มËาวÔทÂาÅั Êามาร¶Å§ทะเบÕÂนä´้ทÕè: www.petromat.org Tel: 02-218-4141-2, 02-218-4171-2

Food Packaging


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.