เล่าเรื่อง
เมืองไทย ในวิถีชุมชน
สัมผัส การท่องเที่ยวชุมชน ช้อป แชะ ชม ชิล 100 ชุมชนทั่วไทย หลากวิถีเรื่องราว ยลเสน่ห์ชุมชน ภูมิใจในไทย
เล่าเรื่องเมืองไทย ในวิถีชุมชน
หากไม่ได้ออกเดินทาง เราคงไม่รู้ว่าจุดหมายปลายทางนั้น น่าเที่ยวเพียงใด และไม่เพียงได้เปิดโลกกว้าง หากแต่เรายังได้เรียนรู้ และค้นพบสิ่งใหม่ๆ วิถีชุมชนเป็นอีกทางเลือก ส�ำหรับใครหลายคนที่อยากเรียนรู้ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) พาไปสัมผัสการท่องเที่ยวชุมชน พาไปช้อป แชะ ชม ชิล ในหลากหลายชุมชนทั่วไทย เพราะพวกเขามีดีทั้งด้าน การท่องเที่ยว สินค้าโอทอป อาหาร วัฒนธรรม ประเพณี บริการต่างๆ และ เรื่องราวอันน่าประทับใจ ทั้งยังสืบทอดมรดกภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษถ่ายทอด มายังรุ่นลูก รุ่นหลาน E-Book เล่าเรื่องเมืองไทย ในวิถีชุมชน เล่มนี้ จะพาไปท่องเที่ยว 100 ชุมชน สัมผัสและเรียนรู้ถึงเรื่องราวของหลากหลายชุมชน ทั้งยังหวังให้ท่านผู้อ่าน ช่วยกันอุดหนุนสินค้าของชุมชน เพือ่ กระจายรายได้ให้แก่ชมุ ชน ในช่วงสถานการณ์ โควิด-19 ช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจระดับฐานราก เพื่อช่วยพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ในภาพรวมของประเทศต่อไป เที่ยวชุมชนเหล่านี้ไปพร้อมๆ กับพวกเรา #เล่าเรื่องเมืองไทยในวิถีชุมชน #amazingthailand #TAT #ททท #การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
ชุมชนภาคกลาง
สารบัญ
ชุมชนภาคเหนือ 1. บ้านจอมแขวน ก�ำแพงเพชร 2. บ้านแม่กลางหลวง เชียงใหม่ 3. ชุมชนแม่แจ่ม เชียงใหม่ 4. บ้านบ่อสร้าง เชียงใหม่ 5. ชุมชนดอยช้าง เชียงราย 6. บ้านป่าซางวิวัฒน์ เชียงราย 7. ชุมชนตรอกบ้านจีน ตาก 8. บ้านร้องแง น่าน 9. ชุมชนเชียงค�ำ พะเยา 10. บ้านดอกบัว พะเยา 11. บ้านทุ่งโฮ้ง แพร่ 12. บ้านสันติชล แม่ฮ่องสอน 13. ชุมชนกาดกองต้า ล�ำปาง 14. บ้านสามขา ล�ำปาง 15. บ้านดอนหลวง ล�ำพูน 16. บ้านนาต้นจั่น สุโขทัย 17. บ้านหาดเสี้ยว สุโขทัย 18. ชุมชนลับแล อุตรดิตถ์ 19. บ้านแก่นมะกรูด อุทัยธานี
ชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 30 32 34 36 38 40 42 44
20. ชุมชนเขาวง กาฬสินธุ์ 21 บ้านโพน กาฬสินธุ์ 22. บ้านหัวฝาย ขอนแก่น 23. ชุมชนหนองบัวแดง ชัยภูมิ 24. บ้านนาหว้า นครพนม 25. บ้านบุไทร นครราชสีมา 26. บ้านโคกเมือง บุรีรัมย์ 27. บ้านหนองตาไก้ บุรีรัมย์ 28. บ้านปลาบู่ มหาสารคาม 29. บ้านดอนตาล มุกดาหาร 30. บ้านท่าเยี่ยม ยโสธร 31. บ้านโคกกลาง ยโสธร 32. บ้านโพนละมั่ง ร้อยเอ็ด 33. ชุมชนเชียงคาน เลย 34. ชุมชนด่านซ้าย เลย 35. บ้านโนนพอก สกลนคร 36. บ้านท่าสว่าง สุรินทร์ 37. บ้านนาข่า อุดรธานี 38. บ้านท่าล้ง อุบลราชธานี 39. บ้านค�ำเดือย อ�ำนาจเจริญ 40. บ้านนาหมอม้า อ�ำนาจเจริญ
48 50 52 54 56 58 60 62 64 66 68 70 72 74 76 78 80 82 84 86 88
41. บ้านหนองขาว กาญจนบุรี 42. ชุมชนพาหุรัด กรุงเทพมหานคร 43. ชุมชนเยาวราช กรุงเทพมหานคร 44. ชุมชนสรรพยา ชัยนาท 45. ชุมชนเมืองเก่าหัวหิน ประจวบคีรีขันธ์ 46. ชุมชนแหลมผักเบี้ย เพชรบุรี 47. บ้านถ�้ำรงค์ เพชรบุรี 48. บ้านถ�้ำเสือ เพชรบุรี 49. บ้านนาพันสาม เพชรบุรี 50. ชุมชนตลาดเก่าโพธาราม ราชบุรี 51. ชุมชนตลาดน�้ำเหล่าตั๊กลัก ราชบุรี 52. บ้านคลองโคน สมุทรสงคราม 53. บ้านบางพลับ สมุทรสงคราม 54. ชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง สุพรรณบุรี 55. ชุมชนตลาดเก้าห้อง สุพรรณบุรี 56. บ้านแหลม สุพรรณบุรี 57. ชุมชนบางบาล พระนครศรีอยุธยา 58. บ้านยี่ล้น อ่างทอง
92 94 96 98 100 102 104 106 108 110 112 114 116 118 120 122 124 126
ชุมชนภาคตะวันออก 59. ชุมชนริมน�้ำจันทบูร จันทบุรี 60. ชุมชนรักษ์เขาบายศรี จันทบุรี 61. ชุมชนหนองบัว จันทบุรี 62. ชุมชนบางสระเก้า จันทบุรี 63. ชุมชนตลาดบ้านใหม่ ฉะเชิงเทรา 64. บ้านหนองปลาไหล ชลบุรี 65. บ้านน�้ำเชี่ยว ตราด 66. บ้านท่าระแนะ ตราด 67. บ้านไม้รูด ตราด 68. บ้านยายม่อม ตราด 69. บ้านห้วยแร้ง ตราด 70. ชุมชนไทพวน นครนายก 71. ชุมชนปากน�้ำประแส ระยอง 72. ชุมชนปากน�้ำระยอง ระยอง
130 132 134 136 138 140 142 144 146 148 150 152 154 156
ชุมชนภาคใต้ 73. บ้านเกาะกลาง กระบี่ 74. บ้านคลองท่อมใต้ กระบี่ 75. บ้านร่าหมาด กระบี่ 76. ชุมชนพะโต๊ะ ชุมพร 77. ชุมชนหลังสวน ชุมพร 78. บ้านนาหมื่นศรี ตรัง 79. บ้านพรุจูด ตรัง 80. บ้านแหลม นครศรีธรรมราช 81. บ้านคีรีวง นครศรีธรรมราช 82. ชุมชนกาแลตาแป นราธิวาส 83. ชุมชนตากใบ นราธิวาส 84. บ้านโต๊ะโมะ นราธิวาส 85. ชุมชนกือดาจีนอ ปัตตานี 86. บ้านบางปู ปัตตานี 87. ชุมชนเกาะปันหยี พังงา 88. ชุมชนเกาะยาวน้อย พังงา 89. ชุมชนเมืองเก่าตะกั่วป่า พังงา 90. ชุมชนควนขนุน พัทลุง 91. ชุมชนเมืองเก่า ภูเก็ต 92. บ้านบางโรง ภูเก็ต 93. ชุมชนเมืองเก่าเบตง ยะลา 94. บ้านกาแป๊ะกอตอใน ยะลา 95. ชุมชนเกาะยอ สงขลา 96. บ้านท่าหิน สงขลา 97. ชุมชนบางใบไม้ สุราษฎร์ธานี 98. บ้านถ�้ำผึ้ง สุราษฎร์ธานี 99. บ้านพุมเรียง สุราษฎร์ธานี 100. ชุมชนเกาะหลีเป๊ะ สตูล
160 162 164 166 168 170 172 174 176 178 180 182 184 186 188 190 192 194 196 198 200 202 204 206 208 210 212 214
ชุมชน ภาคเหนือ
1 บ้านจอมแขวน ก�ำแพงเพชร หัตถกรรมอิ้วเมี่ยน อนุรักษ์ภูมิปัญญา สิ่งล�้ำค่าจากบรรพชน จากค�ำกล่าวทีว่ า่ “วิถหี ตั ถกรรมอิว้ เมีย่ น เปิดต�ำรับจีนทิเบต สุดเขตอ�ำเภอเมือง เลือ่ งลือถิน่ อิว้ เมีย่ น” ท�ำให้หลายคนอยากไป ตามรอยวิถแี ห่งนีส้ กั ครัง้ โดยเฉพาะการชมการปักผ้าแบบอิว้ เมีย่ น บ้านจอมแขวน อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร ชาวเมี่ยนเป็นชนชาติเชื้อสายจีนเดิม ชนเผ่านี้เรียกตัวเองว่า เมี่ยน หรืออิ้วเมี่ยน ซึ่งแปลว่ามนุษย์ มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าเย้า ถิ่นเดิมของเมี่ยนอยู่ทางตะวันออกของมณฑลไกวเจา ยูนนาน หูหนาน และกวางสีในประเทศจีน ชาวเมี่ ย นนิย มตั้งบ้านเรือนอยู่บ นไหล่เขาที่มีน้�ำ บริ บูร ณ์ อากาศบริสุทธิ์และพื้นที่เหมาะส�ำหรับการท�ำไร่ หมู่บ้านหนึ่งมี 15 – 40 หลังคาเรือน บ้านของชาวเย้ามีแบบแปลน คล้ายกันทุกบ้าน คือ มีประตูเข้าบ้าน ทางซ้ายมือสร้างเป็นห้องรับแขก มีเตาไฟอยู่ 2 เตาคือ เตาข้างหน้าใช้สำ� หรับตัง้ กาน�ำ้ รับแขก ท�ำอาหาร เตาหลัง ท�ำอาหารให้สัตว์เลี้ยง มีครกต�ำข้าวอยู่ในบ้าน การปักผ้าของชุมชนมีเทคนิคการปักผ้าเฉพาะของตนเอง มีลวดลายซับซ้อน การใช้สีและลวดลายต่างๆ เชื่อมโยงกับ ต�ำนานของเผ่าพันธุ์ การเรียนรูก้ ารปักผ้าแบบชาวอิว้ เมีย่ น มาจาก วิถีชีวิต คติความเชื่อและภูมิปัญญาของชาวอิ้วเมี่ยน นอกจาก ความงามแล้ ว ลวดลายปั ก บนผื น ผ้ า ของชาวอิ้ ว เมี่ ย นยั ง แฝง ความหมายที่ผูกโยงกับความเชื่อและวิถีชีวิต ชนเผ่าเมีย่ น สร้างสรรค์ลวดลายบนผืนผ้า เพือ่ คงเอกลักษณ์ ดัง้ เดิมของชนเผ่าทีส่ บื ทอดต่อมาจากบรรพบุรษุ ผ้าปักของชาวเมีย่ น แต่ละผืน เปรียบเสมือนการท�ำงานเพื่อแสดงความกตัญญูต่อ บรรพบุรุษ และเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาอันล�้ำค่าของชนเผ่าที่ ยึดถือสืบต่อกันมา วัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของชาวเมี่ยนก็คือ เครื่องแต่งกาย ชาวเมี่ยนนิยมแต่งกายด้วยผ้าสีทึบ ผู้หญิงนิยมใส่ กางเกงขาก๊วย ซึ่งเต็มไปด้วยลายปัก เสื้อคลุมตัวยาวถึงข้อเท้า มีไหมพรมอยู่รอบคอ มีผ้าคาดเอวและมีผ้าโพกศีรษะ ผู้ชายใส่ เสื้อตัวสั้นหลวม คอกลม ชิ้นหน้าห่ออก อ้อมไปติดกระดุมลูกตุ้ม เงินถึงสิบเม็ด 8
ชุ ม ชนยั ง นิ ย มท� ำ เครื่ อ งเงิ น ส่ ง ขายทั้ ง ในประเทศและ ต่างประเทศ รวมถึงวิถีการจักสานที่มีความสวยงาม เครื่องใช้ที่ จักสานคงทนแข็งแรง มีทเี ด็ดคือ อาหารจีนสไตล์ทเิ บต เป็นอาหาร เลิศรสทีม่ เี ฉพาะในท้องถิน่ ชนเผ่า ซึง่ ไม่มใี นร้านอาหาร เช่น หมูหอ่ ใบหม่อน ไข่มว้ นห่อหมู หมูนงึ่ ใส่ผดั กาดดอง ซึง่ ถือว่าเป็นอาหารที่ สืบทอดมาจากฮ่องเต้หรือจักรพรรดิของแผ่นดินจีน วิถคี วามเป็นอยูข่ องชาวบ้านชนเผ่าเมีย่ น อยูก่ นั เป็นครอบครัว กินดีอยู่ดี มีวิถีการงานอันเป็นเอกลักษณ์ การนับถือบรรพบุรุษ พิธีกรรม ภาษา การแต่งกาย ที่ชุมชนร่วมกันสร้างความเข้มแข็ง ให้ ค งอยู ่ ส่ ง เสริ ม การ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และส่งเสริมการพัฒนาที่ ยัง่ ยืน น่าไปเยือนสักครัง้
กิจกรรมเด่น : ชมการสร้างสรรค์ลวดลายบนผืนผ้าด้วยลายปักแบบชาวอิ้วเมี่ยน ทดลองและชิมอาหารจีนทิเบตในแบบฉบับของอิ้วเมี่ยน สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าปักแบบชาวอิ้วเมี่ยน เครื่องเงิน สินค้าจักสาน ที่ตั้งชุมชน : หมูท่ ี่ 17 ต�ำบลอ่างทอง อ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร จังหวัดก�ำแพงเพชร 62000 โทรศัพท์ 091-304-7115 หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านจอมแขวน
9
2 บ้านแม่กลางหลวง เชียงใหม่
นาข้าวขั้นบันได สัมผัสสายหมอก ชิมกาแฟอาราบิก้า บ้านแม่กลางหลวง ในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นที่อยู่อาศัยของ ชาวเขาชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ หมายถึงผู้มีความสมถะและเรียบ ง่าย ด�ำรงวิถีชีวิตด้วยการพึ่งพาธรรมชาติ การท่องเที่ยวของที่นี่ มีชื่อเสียงจนหลายคนอยากไปเยือน บ้านแม่กลางหลวงได้ถูกจัด เป็นหมูบ่ า้ นท่องเทีย่ วชุมชน ทีค่ ำ� นึงถึงความยัง่ ยืนของสิง่ แวดล้อม ไปพร้อมกัน ไฮไลต์ของการมาเยือนทีน่ คี่ อื การสัมผัสนาข้าวขัน้ บันได ซึง่ หากมาในช่วงเดือนกันยายน-กลางตุลาคม เป็นช่วงฤดูฝน ต้นข้าว จะเริม่ มีสเี ขียว เป็นช่วงปลายฝนต้นหนาว อากาศเย็นฉ�ำ ่ ท่ามกลาง ธรรมชาติ หรือหากมาในช่วงปลายตุลาคม-ต้นพฤศจิกายน เป็นช่วง
ฤดูหนาว ต้นข้าวออกรวงเป็นสีทองเต็มทุง่ แต่ไม่วา่ จะไปฤดูไหน ก็ สวยไม่แพ้กัน อีกหนึ่งสิ่งต้องไม่พลาดคือ การชิมกาแฟเลิศรส ส่วนใหญ่ เป็นสายพันธุ์อาราบิก้า เที่ยวชมและศึกษาวิถีชีวิตชาวเขา ชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ ที่มีวิถีชีวิตผูกพันอยู่กับธรรมชาติ พร้อม ชิมกาแฟสดหอมกรุน่ ด้วยฝีมอื ชงของคนท้องถิน่ การเดินป่าศึกษา ธรรมชาติ เรียนรู้ความส�ำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการ ตามภูมิปัญญาท้องถิ่น ศึกษาดูนกประจ�ำถิ่นในเส้นทางเดินป่า ดอยหัวเสือ เส้นทางดูนกห้วยน�้ำขุ่น และเส้นทางศึกษาธรรมชาติ น�้ำตกผาดอกเสี้ยว
วิ ถี ชี วิ ต ของชาวบ้ า นที่ นี่ ด� ำ เนิ น ไปบนความพอเพี ย งและ เรียบง่าย ส่วนใหญ่ท�ำอาชีพท�ำไร่ ท�ำนา ปลูกข้าว และปลูกกาแฟ โดยได้รับการดูแลและส่งเสริมอาชีพจากโครงการหลวงอินทนนท์ ชื่นชมวิวนาขั้นบันไดทอดตัวเรียงลงมาจากไหล่เขาอย่าง เป็นระเบียบ ชิมกาแฟหอมกรุน่ ทีเ่ พิง่ คัว่ มาสดๆ อากาศเย็นสบาย และไอหมอกที่ปกคลุมเหนือขุนเขาและท้องนาสีเขียวขจี จนเป็น สวรรค์ของการพักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติ กลายเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศบ้านแม่กลางหลวง ที่สามารถแวะค้างคืนพัก โฮมสเตย์ ได้บรรยากาศชนบทของทางภาคเหนือ วิถแี ห่งบ้านแม่กลางหลวงคือ ทุง่ ข้าวอันกว้างใหญ่ มีไร่กาแฟ เกษตรอินทรีย์ มีมิตรน�้ำใจไมตรีจากเจ้าบ้าน และยังมีสินค้า หัตถกรรมพื้นบ้าน ศาสตร์และศิลป์แห่งปกาเกอะญอ
กิจกรรมเด่น : สัมผัสนาข้าวขัน้ บันได สัมผัสชีวติ ชาวเขา ชิมกาแฟเลิศรส เดินศึกษา ธรรมชาติ สินค้าชุมชนเด่น : หัตถกรรมการทอผ้า การทำ�ดอกไม้แห้ง เสือ้ ปกาเกอะญอ ข้าวพันธุ์ “บือโป๊ะโละ” ที่ตั้งชุมชน : บ้านแม่กลางหลวง หมู่ 17 ต�ำบลบ้านหลวง อ�ำเภอจอมทอง จังหวัด เชียงใหม่ 50160 โทรศัพท์ 093-131-3850 ศูนย์บริการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บ้านแม่กลางหลวง
10
11
3 ชุมชนแม่แจ่ม เชียงใหม่
ผ้าซิน ่ ตีนจก วัฒนธรรมและธรรมชาติ ผสานเป็นหนึง ่
เป็นอีกชุมชนที่โดดเด่นในหลายเรื่องราว ชุมชนแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ที่มีทั้งความสวยงามของธรรมชาติ ซ่อนตัวอยู่ ท่ามกลางหุบเขาหลังดอยอินทนนท์ มีความสวยงามของนาขั้น บันได วิถีชีวิตของผู้คนที่เรียบง่ายและเป็นมิตรของชาวแม่แจ่ม แม่แจ่มในอ้อมกอดของขุนเขา เมืองสงบมีธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ์ มีเอกลักษณ์แห่งความงดงาม ทุ่งนาขั้นบันไดอันเขียวขจี ในฤดูฝน และสีเหลืองทองในช่วงปลายฝนต้นหนาว มีวดั วาอาราม เก่าแก่อันทรงคุณค่า สัมผัสบ้านป่าบงเปียง ที่ตั้งของนาขั้นบันไดที่ สวยงามทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของเมืองไทย ด้วยวิวท้องทุง่ นาบนเนินเขาสูง บวกกับวิวเทือกเขาสลับซับซ้อน อันน่าประทับใจ ผ้าซิ่นตีนจก คือสินค้าขึ้นชื่อของอ�ำเภอแม่แจ่ม ส่วนใหญ่ ผลิ ต ที่ บ้ า นท้ อ งฝาย อยู่ในต�ำบลช่างเคิ่ง ดินแดนชนบทของ เชียงใหม่ ที่ยังคงวิถีแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีแบบดั้งเดิมได้ จนถึงปัจจุบัน หัตถกรรมผ้าทอพื้นบ้านที่คงเอกลักษณ์ดั้งเดิม ที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษจากอดีตกาล เกิดจากฝีมือการทอ อย่างประณีต และการสร้างลวดลายบนผืนผ้า ด้วยเทคนิคการจก แบบดั้ ง เดิ ม ที่ เ ป็ น ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ลวดลายที่ ส ะท้ อ นถึ ง คติ
12
กิจกรรมเด่น : ชมนาขัน้ บันไดบ้านป่าบงเปียง นาขัน้ บันไดบ้านแม่ปาน นาข้าวขัน้ บันได บ้านกองกาน แวะวัดกองกาน วัดพุทธเอ้น วัดป่าแดด วัดยางหลวง ชมวิถีงานหัตถกรรม สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าซิ่นตีนจกแม่แจ่ม และการแปรรูปผ้าทอสู่ผลิตภัณฑ์หลายรูปแบบ ปิ่นปักผมโบราณ ที่ตั้งชุมชน : เทศบาลต�ำบลแม่แจ่ม เลขที่ 261 หมูท่ ี่ 12 ต�ำบลช่างเคิง่ อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 50270 โทรศัพท์ 053-485-101 Website www.maechaem.go.th
ความเชื่อและความศรัทธาผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา เช่น โคม ขัน นาค หงส์น�้ำต้น สะเปา เป็นต้น แต่ละบ้านจะมีเครื่องทอ อยู่ใต้ถุนบ้าน โดยในปี พ.ศ.2541 หมู่บ้านท้องฝายได้รับรางวัล หมู่บ้านหัตถกรรมดีเด่น งานฝีมอื อีกอย่างหนึง่ ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของแม่แจ่ม ทีไ่ ม่พดู ถึง ไม่ได้ นัน่ คือ ปิน่ ปักผมโบราณ จากครูชา่ ง ครูกอนแก้ว อินต๊ะก๋อน ครู ช ่ า งหั ต ถกรรมระดั บ ต� ำ นาน วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ท� ำ จากเงิ น หรื อ ทอง ส่วนยอดประดับด้วยอัญมณี เช่น ทับทิม แก้วก๊อ หรือหินสี เมื่ อ ไปถึ ง แม่ แ จ่ ม ต้ อ งไม่ พ ลาดไปไหว้ พ ระที่ วั ด พุ ท ธเอ้ น ก่อสร้างในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ 200 กว่าปีมาแล้ว มี โบราณสถานส�ำคัญคือ พระอุโบสถกลางน�้ำ วัดป่าแดด มีภาพ จิตรกรรมฝาผนัง ที่วาดขึ้นโดยฝีมือช่างแต้มชาวไทใหญ่ เกี่ยวกับ พุทธประวัติ เวสสันดรชาดก วัดยางหลวง ชมกูป่ ราสาท คนโบราณ ถือว่าเป็นประตูไปสูส่ วรรค์ หลังวัดยางหลวงยังเป็นจุดชมวิวนาข้าว ที่สวยงามอีกด้วย ที่ นี่ จึ ง เหมาะกั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ รั ก ธรรมชาติ ชื่ น ชอบ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีแห่งผู้คน
13
4 บ้านบ่อสร้าง เชียงใหม่
ร่มบ่อสร้าง ภูมิปัญญาและหัตถกรรมล�้ำค่า
หนึง่ ในพืน้ ทีช่ มุ ชนทีพ่ ฒ ั นาเป็นแหล่งท่องเทีย่ วและเศรษฐกิจ ชุมชนอย่างยั่งยืนโดยใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชุมชน นั่นคือ บ้านบ่อสร้าง หมู่บ้านมีอาชีพหัตถกรรมขึ้นชื่อด้านการท�ำ ร่มในอ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ณ ต�ำบลต้นเปา เป็นต�ำบลทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ไปด้วยมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรม เป็นแหล่งของงานหัตถกรรม และศิลปะพืน้ บ้าน ประเภทต่างๆ ทั้งงานทอผ้า งานแกะสลักและผลิตภัณฑ์จากไม้ งานจักสาน งานศิลปะกระดาษสา งานโคมและงานร่มบ่อสร้าง เป็นต้น มีเอกลักษณ์บ่งบอกความเป็นวัฒนธรรมพื้นบ้าน
14
หมู่บ้านบ่อสร้าง ซึ่งเป็นหมู่บ้านหนึ่งในเขตต้นเปา มีชื่อเสียง เป็นอย่างมาก เดิมชื่อบ้านบ่อซาง เนื่องจากชาวบ้านได้ขุดบ่อน�้ำ ใกล้กับต้นไผ่ซาง ต่อมาเพี้ยนมาเป็นบ่อสร้าง ชาวบ้านบ่อสร้าง อพยพมาจากสิบสองปันนา และมีเชื้อสายไทลื้อ ในอดีตหมู่บ้านบ่อสร้างเป็นหมู่บ้านเล็กท่ามกลางธรรมชาติ แบบชนบท ประชาชนส่ ว นใหญ่ ท� ำ อาชี พ เกษตรกรรม ท� ำ ไร่ ท�ำนา ท�ำสวน ยามว่างเว้นจากการท�ำการเกษตร มักจะผลิตร่ม ออกจ�ำหน่าย ซึ่งเป็นร่มกระดาษสา ต่อมาร่มบ่อสร้างเป็นสินค้า พื้นเมืองที่ได้รับความนิยมอย่างมาก สีสันและลวดลายบนร่ม
สะดุดตาแก่ผู้พบเห็น มีร่มที่ท�ำจากวัสดุหลากหลาย เช่น ร่มที่ท�ำ ด้วยผ้าแพร ผ้าฝ้าย และกระดาษสา ปัจจุบันถ้าหากนักท่องเที่ยวต้องการชมขั้นตอนการผลิต สามารถไปชมได้ที่ศูนย์อุตสาหกรรมท�ำร่มบ่อสร้าง บริเวณถนน สายเชียงใหม่-สันก�ำแพง นอกจากนักท่องเที่ยวจะได้สัมผัสถึง วิถกี ารท�ำร่มอย่างใกล้ชดิ แล้ว ยังสามารถทีจ่ ะทดลองท�ำร่มได้ดว้ ย ตัวเอง การท�ำร่มบ่อสร้างนับได้วา่ เป็นอาชีพหัตถกรรมของชาวบ้าน ในอ�ำเภอสันก�ำแพง เป็นหมูบ่ า้ นทีม่ กี ารท�ำร่มกันอย่างเป็นล�ำ่ เป็นสัน ชาวบ้านเกือบทุกคนของหมู่บ้านนี้มีฝีมือในการท�ำร่มได้อย่าง สวยงามและคงทน เฉกเช่นเดียวกับที่บรรพชนได้ถ่ายทอดไว้ ปัจจุบันการท�ำร่มบ้านบ่อสร้างได้พัฒนาจากงานฝีมือของท้องถิ่น มาสู่ระบบอุตสาหกรรมค้าขายอย่างเต็มตัว ขัน้ ตอนการท�ำร่ม ประกอบด้วย 1.การท�ำซีร่ ม่ 2.ประกอบร่ม 3.แปะวัสดุเพือ่ ท�ำผืนร่ม เช่น ผ้าแพร ผ้าฝ้าย หรือ กระดาษสา ตามแต่ วัสดุที่อยากจะเลือกใช้ 4.วาดลวดลายให้สวยงามลงบนผืนร่ม ด้วยสีน�้ำมัน ซึ่งที่นี่จะมีเทคนิคพิเศษคือ การผสมกับน�้ำมันมะมื้อ หรือน�้ำมันตังอิ๊ว เพื่อให้สีติดทน และทนแดดทนฝน งานประเพณีของชุมชนคือ เทศกาลร่มบ่อสร้าง การจัด ขบวนแห่ วั ฒ นธรรมรถประดั บ ร่ ม การประกวดหั ต ถกรรม การแข่งขันวาดพัด วาดร่มของนักท่องเที่ยว การประกวดธิดา
ร่มบ่อสร้าง แม่หญิงงามขีร่ ถถีบกางจ้อง การกินข้าวแลงและขันโตก การแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านต่างๆ โดยใช้พื้นที่ของหมู่บ้าน บ่อสร้าง เป็นสถานที่จัดงาน ตกแต่งบ้านและร้านค้าต่างๆ เป็น แบบล้านนาไทย และใช้รม่ สัญลักษณ์ของหมูบ่ า้ นเป็นส่วนประกอบ ส�ำคัญในการตกแต่ง พร้อมทั้งประดับประทีปโคมไฟแบบพื้นเมือง นอกจากนี้ยังมีการจ�ำหน่ายสินค้าหัตถกรรมของผู้ประกอบการ ในหมู่บ้านบ่อสร้าง หนึ่งในฝีมือจากชุมชน ช่วยหล่อเลี้ยงสร้างรายได้และอาชีพ ให้ยืนยาวตลอดไป
กิจกรรมเด่น : ชมขั้นตอนการทำ�ร่มจากวัสดุต่างๆ และนักท่องเที่ยวสามารถ ทดลองทำ�ร่มได้ด้วยตนเอง สินค้าชุมชนเด่น : ร่ม พัด ผ้าพื้นเมือง สินค้าหัตถกรรม ไม้แกะสลัก ของตกแต่งบ้าน ที่ตั้งชุมชน : หมู่บ้านบ่อสร้าง เทศบาลเมืองต้นเปา อำ�เภอสันกำ�แพง จังหวัด เชียงใหม่ 50130 โทรศัพท์ 086-192-7457 กลุ่มพัฒนาการท่องเที่ยวบ้านบ่อสร้าง Bosang village
15
5 ชุมชนดอยช้าง เชียงราย
ดินแดนแห่งกาแฟพรีเมี่ยม กลางหุบเขาสวย
เมื่อเอ่ยถึงดอยช้าง ท�ำให้หลายคนนึกถึงแหล่งผลิตกาแฟ ชั้นน�ำไม่แพ้ที่ใดในโลก เป็นที่น่าภูมิใจว่าในเวทีโลก ชื่อของกาแฟ ดอยช้าง อยู่ในท�ำเนียบแหล่งผลิตกาแฟชั้นดีของโลกด้วยเช่นกัน ชื่อของดอยช้าง ถูกตั้งขึ้นตามลักษณะของภูเขาที่มีรูปร่าง เหมือนช้างแม่ลูกสองเชือก มีผาหัวช้างสูง 1,800 เมตร จาก ระดับน�้ำทะเล เป็นสถานที่ชมทิวทัศน์ที่สวยงาม อากาศเย็นสบาย ตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ย 18 องศาเซลเซียส
16
แบรนด์กาแฟดอยช้าง ยังนับเป็นเจ้าแรก และต้นแบบ ของไทยในการท�ำ Single Origin Coffee หรือกาแฟที่มีรสชาติ เป็นเอกลักษณ์ตามถิ่นก�ำเนิดนั้นๆ ด้วย ดอยช้างเป็นผู้ผลิตกาแฟ ตั้งแต่ต้นน�้ำจนถึงปลายน�้ำ เริ่มตั้งแต่การปลูก ผลิต คั่ว ไปจนถึง การสร้างแบรนด์กาแฟคุณภาพ ดอยช้างเป็นสถานทีป่ ลูกกาแฟสายพันธุอ์ าราบิกา้ รสชาติของ กาแฟ อร่อย เข้มข้น ละมุน หอม ดื่มแล้วชุ่มคอ และการชิมกาแฟ ให้ได้อรรถรสต้องควบคู่ไปกับการชมดอกไม้งาม ที่ดอยช้างแห่งนี้ ยามฤดูหนาวมาเยือน ดอกซากุระเมืองไทย หรือที่รู้จักกันในนาม “นางพญาเสือโคร่ง” จะพร้อมใจกันออกดอกบานสวยงาม
ดอยช้างมีอากาศหนาวเย็นตลอดทั้งปี ท�ำให้สามารถปลูก พืชเมืองหนาวต่างๆ ได้ดี นอกจากกาแฟแล้ว ก็ยงั มีแมคาเดเมีย เกาลัด บ๊วย ท้อ พลับ ไม้ดอกไม้ประดับต่างๆ และยังมีการจัดตัง้ สถานีทดลองเกษตรทีส่ งู เพือ่ ส่งเสริมการปลูกพันธุไ์ ม้เมืองหนาว เดิมดอยช้างเป็นทีอ่ ยูข่ องชาวเขาเผ่าม้ง ต่อมาชาวเขาเผ่าลีซอ และชาวเขาเผ่าอาข่า ก็ได้เข้ามาอาศัยอยู่ในหมู่บ้านดอยช้างด้วย ดินแดนแห่งนีจ้ งึ เป็นการผสมกลมกลืนของชนเผ่าต่างๆ และกลาย เป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมของเชียงราย มีรีสอร์ทต่างๆ เกิดขึ้น มากมาย นอกจากกาแฟแล้ว ดอยช้างยังขึน้ ชือ่ ในเรือ่ งของการปลูกชา หนึ่งในนั้นคือ ชาเลือดมังกร ซึ่งมีสีแดง เป็นสมุนไพรที่ชอบ อากาศเย็น และปลูกได้เฉพาะบนดอยสูงที่มีอากาศบริสุทธิ์เท่านั้น ต้นเลือดมังกรนัน้ ปลูกกันมาหลายชัว่ อายุคนบนดอยช้าง โดยน�ำมา อบแห้งแล้วชงดืม่ ในขณะร้อนๆ เหมือนน�ำ้ ชาจีน เพือ่ บ�ำรุงร่างกาย บ�ำรุงโลหิต อีกทั้งยังมีสรรพคุณอื่นๆ อีกหลายด้าน
กิจกรรมเด่น : แวะเยือนชมสวนกาแฟ และกรรมวิธีการผลิตกาแฟ การกะเทาะ และอบถั่วแมคาเดเมีย ขับรถท่องเที่ยว และนั่งจิบกาแฟในร้าน กาแฟที่มีมากมายบนดอยช้าง แต่ละร้านให้บรรยากาศแสนฟิน สินค้าชุมชนเด่น : กาแฟ ชา แมคาเดเมีย โดยเฉพาะแบรนด์กาแฟดอยช้างทีม่ ชี อื่ เสียง ในระดับโลก ที่ตั้งชุมชน : องค์การบริหารส่วนตำ�บลวาวี หมู่ที่ 3 ตำ�บลวาวี อำ�เภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย 57180 โทรศัพท์ 053-605-950 ชุมชนบ้านดอยช้าง 17
6 บ้านป่าซางวิวัฒน์ เชียงราย สับปะรดนางแล เกษตรกรรมสูม ่ รดกอันล�ำ้ ค่า บ้านป่าซางวิวัฒน์ ได้ชื่อว่าเป็นหมู่บ้านแห่งสับปะรด ตั้งอยู่ ในต�ำบลนางแล อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เป็นดินแดนทีม่ พี นื้ ที่ ทั้งเป็นที่ราบ ที่ราบเชิงเขา เนินเขา และภูเขาสูง มีแหล่งก�ำเนิด ล�ำห้วยหลายสายเป็นแหล่งน�้ำที่ส�ำคัญ พื้นที่มีความสูงกว่าระดับ น�้ำทะเลปานกลาง เฉลี่ยประมาณ 400 เมตร อากาศเย็นสบาย ผลผลิตที่โดดเด่นคือ สับปะรดนางแล ที่มีรสชาติหวานฉ�่ำ และ ยังมีผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปมาจากสับปะรดอีกมากมาย บ้านป่าซางวิวัฒน์ มีค�ำขวัญของหมู่บ้านว่า “ป่าไม้อุดมดี สตรีสวยสด สับปะรดหวานฉ�ำ ่ วัฒนธรรมล้านนา สองศาสนารวมกัน” ชาวบ้านมีอาชีพท�ำการเกษตร และที่มีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นชื่อคือ "สับปะรดนางแล" ดินแดนแห่งความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรดินและน�้ำ ต้นก�ำเนิดของพืชพรรณธัญญาหาร หล่อเลี้ยงชีวิตผู้คนบนดินแดน วิถเี กษตรกรรมแห่งล้านนา หมูบ่ า้ นป่าซางวิวฒ ั น์ ผูค้ นทีน่ อี่ ยูร่ วมกัน ทั้งพุทธศาสนิกชนและคริสตชน อย่างผสมกลมกลืน ชาวบ้านมีอาชีพปลูกสับปะรดสายพันธุน์ างแล และส่วนใหญ่ ยังเป็นการปลูกสับปะรดอินทรีย์ สืบสานภูมปิ ญ ั ญาทางการเกษตร โดยมีสับปะรดนางแลเป็นมรดกอันล�้ำค่า โดยเกษตรกรรมและ ภูมิปัญญา คือมรดกอันล�้ำค่าที่บรรพบุรุษมอบไว้ให้ลูกหลานได้ สืบสาน ทุกส่วนของสับปะรดมีสรรพคุณทางยา ทั้งยอดอ่อน เปลือก ราก เหง้า ผลสด ใบสด โดยสับปะรดนางแลปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี ใดๆ ลูกหนึ่งหนักราว 1.4-2 กิโลกรัม ให้เนื้อแน่น รสหวานฉ�่ำ หอมหวาน ลักษณะภายนอกตาไม่ลึก ปอกเปลือกรับประทานได้ ทันที เดิมเรียกสับปะรดป่าซางวิวัฒน์ องค์การบริหารส่วนต�ำบล นางแล (ปัจจุบันคือ เทศบาลต�ำบลนางแล) ได้เข้ามามีส่วนร่วม สนับสนุนผลไม้และของดีในชุมชน จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น "สับปะรด นางแล" ตราบจนถึงปัจจุบัน
18
หมู่บ้านป่าซางวิวัฒน์มีจุดเรียนรู้ที่ น่าสนใจจ�ำนวน 6 จุด ได้แก่กลุม่ ออมทรัพย์ เพื่อการผลิต ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ฐานการเรียนรู้การคัดแยกขยะ ครัวเรือน ต้นแบบ เกษตรทฤษฎีใหม่ไร่นาสวนผสม และศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนกระดาษ จากใบสับปะรด เมือ่ มาถึงหมูบ่ า้ น นักท่องเทีย่ วจะได้ไป เดินชมสวนสับปะรด เห็นวิธกี ารท�ำกระดาษสา จากเปลือกสับปะรด รับประทานอาหาร ขนม เครื่องดื่ม ทุกสิ่งล้วนมาจากสับปะรด สับปะรดนางแล จึงเป็นไม้ผลเศรษฐกิจ อีกชนิดหนึ่งของเชียงราย และท�ำรายได้ หล่อเลี้ยงชุมชนการเกษตรแห่งนี้ ไปตราบ ชั่วลูกชั่วหลาน
กิจกรรมเด่น : เดินเล่นชมสวนสับปะรด ชิมเมนูอาหารต่างๆ ทั้งคาว - หวานจาก สับปะรด ศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนกลุ่มกระดาษ ใบสับปะรด สินค้าชุมชนเด่น : สับปะรดนางแลอินทรีย์ แยมสับปะรด กระดาษใยสับปะรด ที่ตั้งชุมชน : เทศบาลต�ำบลนางแล 476 หมู่ 12 ต�ำบลนางแล อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 โทรศัพท์ 053-706-017 Website www.nanglae.go.th
19
7 ชุมชนตรอกบ้านจีน ตาก สโลว์ไลฟ์ในชุมชนบ้านเก่า
ไปเที่ยวตากทั้งที ไม่ควรพลาดไปเที่ยว ตรอกบ้านจีน อาจ กล่าวได้ว่านี่คือ ศูนย์กลางการค้าขายของเมืองตากตั้งแต่ช่วงต้น กรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องจากพื้นที่อยู่ติดแม่น�้ำปิง และเป็นท่าเรือ ขนถ่ายสินค้าจากที่ต่างๆ จากชุมชนที่หลับใหลมากว่า 60 ปี เนื่องจากสาเหตุหลาย ประการ ทั้งการอพยพย้ายถิ่นฐาน ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง พ.ศ. 2475, สงครามโลกครั้งที่ 2 พ.ศ. 2484, การถม แม่นำ�้ ปิงให้แคบลงไปกว่า 160 เมตร โดยเฉพาะบริเวณตรอกบ้านจีน พ.ศ. 2495 บั ด นี้ ไ ด้ ก ลั บ มาเป็ น อี ก จุ ด หมายของนักท่องเที่ยว อีกครั้ง
ตรอกบ้านจีนกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมที่เป็น จุดเริ่มของเมืองตากในปัจจุบัน ลักษณะเฉพาะของ “ตรอก” ที่ถูกขนาบด้วยสถาปัตยกรรมเรือนค้าขายที่ผสมผสานความเป็น ภาคกลาง และภาคเหนือ เรือนคหบดี เรือนพ่อค้า ชุมชนแห่งนี้ได้รวมตัวกันดูแลรักษาฟื้นฟู และซ่อมแซม บ้านเก่าที่ยังมีอยู่ในตรอกบ้านจีนให้มีชีวิตชีวา จึงท�ำให้ชุมชน นี้กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้ง กลายมาเป็นแหล่งท่องเที่ยวอีกแห่ง หนึ่งของจังหวัดตาก
แม้วันนี้จะไม่มีบ รรยากาศความคึกคักของชุมชนค้า ขาย เช่นในอดีต แต่ตรอกบ้านจีนก็ยังคงมีบ้านเก่าที่ได้รับการรักษา สภาพเดิมให้คนรุ่นหลังได้ชื่นชม ท่ามกลางวิถีชีวิตอันเรียบง่าย ของผู้คน แถบนี้มีบ้านสวยๆ ย้อนยุคหลายหลัง เช่น บ้านของตระกูล ไชยนันท์ เป็นบ้านไม้ 2 ชัน้ มีระเบียงฉลุลายสวยงาม บ้านสีฟา้ ของ ตระกูลโสภโณดร เป็นอาคารไม้แบบตะวันตก 2 ชัน้ ทรงขนมปังขิง ขอบประตู หน้าต่าง และเชิงชายหลังคา เป็นไม้ฉลุลายโปร่งแบบ ตะวันตก บ้าน (จีนทองอยู)่ หลวงบริรกั ษ์ประชากร เป็นเรือนไทย หลายหลั ง ติ ด กั น ลั ก ษณะสถาปั ต ยกรรมเป็ น แนวผสมผสาน ไทย ตะวันตก และจีน ทางเข้าโดดเด่นด้วยซุ้มประตูแบบตะวันตก มีบันไดโค้งเดินขึ้นด้านบน ร้านจันทรประสิทธิ์โอสถ เป็นร้านมีประวัติยาวนานกว่า 100 ปี เจ้ า ของคนแรกของบ้ า นนี้ คื อ จี น บุ ญ จั น ทร์ แซ่ เ ต็ ง (สุ ป ระกอบ) เป็ น ชาวจี น ที่ อ พยพเข้ า มาท� ำ มาหากิ น ในตรอก บ้านจีนช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 4 โดยได้เปิดร้านขายยาแผน โบราณใช้ชอื่ ว่า “จันทรประสิทธิโ์ อสถ” และมีการสืบต่อภูมปิ ญ ั ญา ยาแผนโบราณมาจนถึงปัจจุบัน ในย่านนี้มี ร้านผัดไทยตรอกบ้านจีน ร้านผัดไทยโบราณที่ ยังคงความเป็นเอกลักษณ์ และเสน่หข์ องตรอกบ้านจีน จุดเด่นของ ผัดไทยที่ร้านคือ จะไม่ใส่กุ้งแห้งแต่จะใส่เต้าเจี้ยวแทนเพื่อเพิ่ม ความหอม ห่อด้วยไข่ และโรยกากหมู
20
ถ้าพูดถึงเต้าเจี้ยว อีกเมนูเด็ดคือ “เมี่ยง” ที่มีหลายแบบ หลายรสชาติ ให้เลือกชิม ซึ่งเมี่ยงก็เป็นของกินเล่น เป็นของว่างที่ คนตากนิยมรับประทาน เมี่ยงที่ดังที่สุดคือ “เมี่ยงเต้าเจี้ยว” หรือ “เมี่ยงจอมพล” ที่ ม าของค� ำ ว่ าเมี่ ย งจอมพล เนื่ อ งจาก จอมพลถนอม กิตติขจร ซึ่งเป็นชาวจังหวัดตาก ทุกครั้งที่ได้กลับมาเยือน ก็มัก จะแวะมารับประทานเมี่ยงเต้าเจี้ยวเป็นประจ�ำ จึงเรียกชื่อกัน ว่าเมี่ยงจอมพล เมีย่ งเต้าเจีย้ วจะมีทงั้ แบบใส่ในใบชะพลู และข้าวเกรียบงานิม่ ในเมี่ยง 1 ค�ำ จะมีข้าวตากทอดกรอบ มะพร้าวสดขูด ตะไคร้ซอย ถั่วลิสง ขิง มะนาวหั่น ทานพร้อมเครื่องเคียง มีมะเขือพวงให้ทาน พร้อมกันด้วย
กิจกรรมเด่น : เดินเล่นชมบ้านเรือนเก่าที่ยังคงลักษณะของสถาปัตยกรรมเดิมไว้ ค่อนข้างสมบูรณ์ ท่ามกลางวิถีชีวิตอันเรียบง่ายของชุมชน ชมการ แสดงดนตรีไทย เชิดหุ่นกระบอก ชมงานศิลปะ สินค้าชุมชนเด่น : ยาแผนโบราณต�ำรับ “จันทรประสิทธิ์โอสถ” ข้าวต้มเมืองตาก ผัดไทยเต้าเจี้ยว ที่ตั้งชุมชน : 764 ถนนตากสิน ต�ำบลระแหง อ�ำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000 โทรศัพท์ 055-511-631 ตรอกบ้านจีน เมืองตาก
21
8 บ้านร้องแง น่าน
ภูมิปัญญาไทลื้อ ผ้าทอมือลายโบราณ
น่านเป็นจังหวัดท่องเที่ยวแบบสโลว์ไลฟ์ วิถีชีวิตผู้คนเรียบ ง่าย แต่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ชุมชนเข้มแข็ง หนึ่งในนั้นคือ ชุมชน บ้านร้องแงทีเ่ ชิญชวนให้ไปสัมผัส “วัดร้องแงทรงคุณค่า ภูมปิ ญ ั ญา ไทลื้อ ผ้าทอมือลายโบราณ” หลายคนบอกว่า ถ้าไม่มาบ้านร้องแง แล้วคุณจะต้องร้องแง เพราะเสียดายอย่างแน่นอน วัฒนธรรมไทลือ้ ชาติพันธุ์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่ นี่ เ ป็ น ชุ ม ชนที่ มี เ ชื้ อ สายไทลื้ อ จากมณฑลยู น นาน มี วัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิตเป็นแบบฉบับของตนเอง เช่น การแต่งกายแบบไทลื้อ การทอผ้าใช้เอง มีภาษาพูด และลักษณะ บ้านเรือนแบบไทลื้อ มีแหล่งโบราณสถานที่น่าสนใจ และยังคง อนุรักษ์ไว้ซึ่งวัฒนธรรมและประเพณี และส่งเสริมให้ชุมชนมี ส่ ว นร่ ว มในการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ไปพร้อมกับการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น บ้านไทลือ้ เป็นบ้านเรือนแบบไทลือ้ เรือนไม้ใต้ถนุ สูง หลังคา บ้านทรงปัน้ หยาหรือหน้าจัว่ มีทงั้ มุงด้วยตับคา แป้นเกล็ด มีเตาไฟ อยู่ในบริเวณห้องนอน หน้าห้องนอนจะมีห้องโล่งส�ำหรับรับแขก เรียกว่าหัวค�ำหรือเติ๋น และนิยมท�ำยุ้งข้าวติดกับตัวเรือน ใต้ถุนจะ มีหูกทอผ้า พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ห มู ่ บ ้ า นไทลื้ อ บ้ า นร้ อ งแง หรือเฮือ นไทลื้ อ บ้านร้องแง เป็นส่วนให้ข้อมูลเกี่ยวกับไทลื้อและการท่องเที่ยวของ หมูบ่ า้ นร้องแง รวมถึงประเพณีวถิ ชี วี ติ ของชาวไทลือ้ เช่น การทอผ้า พิธีสังคหะทุ่งนา เป็นต้น
ความโดดเด่นของไทลื้อบ้านร้องแงคือ ผ้าซิ่นมัดก่านโบราณ โดย “แม่หลวงฟอง เนตรทิพย์” ใช้เส้นพุ่งเส้นไหมแท้ ผ้าซิ่น มัดก่านไหมเงินแท้ ด้วยเส้นไหมเงินที่มีส่วนผสมของเงินแท้ 80% ผ้าซิ่นป้องก่านไหมค�ำโบราณ ตกเเต่งด้วยเส้นไหมค�ำตลอดทั้งผืน ปัจจุบันผ้าซิ่นม่านก่านในลักษณะรูปแบบนี้ไม่มีการทอให้เห็น มากนัก มักจะพบเห็นที่บ้านร้องแงเพียงแห่งเดียวเท่านั้น สีที่นิยม ทอมักจะเป็นสีโทนช�ำ้ ๆ เเละทอยกลายด้วยเส้นไหมเงิน นอกจากนี้ ยังมีผ้าทอลายน�้ำไหล ผ้าทอที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวไทลื้อ ในชุมชนมีวิหารเก่าไทลื้อวัดร้องแง เป็นวิหารเก่ารูปทรง ไทยลือ้ ก่อตัง้ ราวปี พ.ศ.2310 ภายในวิหารมีของเก่าทีค่ วรอนุรกั ษ์ไว้ เช่นบันไดแก้ว ธรรมมาสน์เทศ ภาพจิตรกรรมฝาผนัง เป็นโบราณ สถานที่ควรสืบสานอนุรักษ์ มีหอเจ้าหลวงเทพพญาเลน (เจ้าพ่อ พญาริน) ที่มีช้างเผือกงาเขียว เป็นช้างคู่บารมี
ชาวร้องแงมีประเพณีถวายดอกไม้เป็นพุทธบูชา ในบุญเทศน์ มหาชาติที่วัดร้องแง ที่นี่จะท�ำ “ดอกไม้พันดวง” ขึ้นเพื่อเป็น เครือ่ งบูชาเนือ่ งในงานเทศน์มหาชาติ ซึง่ เป็นประเพณีของชาวไทลือ้ ที่สืบทอดกันมายาวนาน เรียกว่าดอกไม้ปันโดง ซึ่งหมายถึง ดอกไม้พันดวง เพื่อน�ำมาประดับต้อนรับพระเวสสันดรเมื่อเสด็จ กลับคืนสู่พระนคร และน�ำขึ้นแขวนไว้รอบวิหารเบื้องหน้าพระ ประธานตลอดทั้งปี เท่ากับว่าดอกไม้พันดวงก็จะได้ผ่านพิธีส�ำคัญ ต่างๆ ตลอดทั้งปีเช่นกัน ชาวไทลือ้ บ้านร้องแง มีความภาคภูมใิ จในวิถขี องพวกเรา และ พร้อมใจกันอนุรักษ์รักษามรดกทางวัฒนธรรมอันล�้ำค่าตลอดไป 22
กิจกรรมเด่น : ชมขัน้ ตอนการผลิตผ้าของชาวไทลือ้ การแสดงตีกลองยาววิถไี ทลือ้ ร้องแง ชมการฟ้อนไทลื้อ ชิมอาหารของชุมชนเช่น ขนมเส้น น�้ำแก๋งโค่ไทลื้อ สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าซิน่ ไทลือ้ ลายโบราณ ผ้าทอลายน�ำ้ ไหล สมุนไพรไทลือ้ ที่ตั้งชุมชน : พิพิธภัณฑ์หมู่บ้านไทลื้อ บ้านร้องแง ต�ำบลวรนคร อ�ำเภอปัว จังหวัดน่าน 52120 โทรศัพท์ 054-688-111 บ้านร้องแง Rongngae NAN
23
9 ชุมชนเชียงค�ำ พะเยา ซิ่นลายน�้ำไหล วัฒนธรรมไทลื้อ
คนไทลื้อในเชียงค�ำ สืบสานวัฒนธรรมประเพณีของพวกเขา มาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะเรื่องการทอผ้า มีกลุ่มสตรีมากมาย ที่รวมตัวกันเป็น “ชุมชนวัฒนธรรมไทลื้อ” เพื่ออนุรักษ์สืบสาน วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของชาวไทลื้อ ที่สืบทอดมาแต่ ครั้งที่ยังอาศัยอยู่ในสิบสองปันนา ไทลื้อเชียงค�ำนุ่งซิ่นลายเกาะผักแว่น หรือที่เขาเรียกกัน ว่าซิ่นลายน�้ำไหล นี่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของที่นี่ ซิ่นผืนเก่าจัด แสดงในศูนย์วฒ ั นธรรมไทลือ้ (วัดหย่วน) ลวดลายโบราณยังคง ได้รับการสืบทอดไม่ให้สูญหาย ผู้หญิงไทลื้อจะสวมเสื้อปั๊ดป้ายข้าง นุ่งซิ่น เคียนหัวด้วย ผ้าสีขาวหรือสีชมพู คาดสายฮั้ง (เข็มขัดเงิน) ห้อยสร้อยดอกปีบ ส่วนผู้ชายใส่เสื้อปั๊ด นุ่งเตี่ยวเปาโย้ง หรือเตี่ยวสามดูก เคียนหัว ด้วยผ้าเช่นเดียวกัน
24
หนึ่งในนั้นคือ หมู่บ้านทอผ้าไทลื้อ บ้านทุ่งมอก พวกเขา พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทลื้อของชุมชนชาวไทลื้อจังหวัดพะเยา ทั้งในด้านกระบวนการย้อมสีด้ายฝ้ายด้วยสีย้อมจากธรรมชาติ ที่ ส ามารถหาได้ ใ นท้ อ งถิ่ น การออกแบบลายผ้ า ทอร่ ว มสมั ย รวมไปถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ จากผ้าทอ ทั้งยังมีวิธีการย้อมด้ายฝ้ายด้วยสีย้อมธรรมชาติ เช่น สีเขียว จากใบติ้วขน สีเหลืองอ่อนและสีน�้ำตาลจากใบสตาร์แอปเปิล สีชมพูกลีบบัวจากแก่นไม้ฝาง และสีด�ำจากเปลือกต้นยูคาลิปตัส ด้วยวัตถุดิบจากธรรมชาติที่สามารถหาได้ในท้องถิ่น ทั้ ง ยั ง มี วั ด ทุ ่ ง มอก ที่ เ คี ย งคู ่ กั บ ชุ ม ชน มี พ ระพุ ท ธรู ป ไม้ ปางมารวิชัย ที่มีอายุเก่าแก่กว่า 400 ปี ซึ่งภายในวัดมีประมาณ 19 องค์ นับเป็นโบราณวัตถุ เป็นสมบัติของชาติที่หายาก เชียงค�ำยังมีมรดกทางวัฒนธรรม “เฮือนไตลือ้ ” ของแม่แสงดา อายุกว่า 70 ปี ที่คงเอกลักษณ์ดั้งเดิม กับความหวงแหนรากเหง้า วิ ถี วั ฒ นธรรมไว้ อ ย่ า งเหนี ย วแน่ น และยั ง มี ก ารเก็ บเครื่องมือ เครือ่ งใช้ และวัตถุทสี่ ร้างจากภูมปิ ญ ั ญาของบรรพบุรษุ ไว้ให้อนุชน รุ่นหลังได้เรียนรู้ อาหารท้องถิ่น เช่น แอ่งแถะ จิ้นซ�่ำพริก ข้าวบ่ายแซ่ง ปลา ปิ้งอบ ถั่วโอ่ แกงขนมเส้นแห้ง ข้าวแคบและขนมปาด ข้าวแต๋นซี่ ข้าวต้มดอกซ้อ ข้าวต้มหัวหงอก แกงผักกาดส้ม ขนมปาดลื้อ แกงผักกาดจอ แม้เวลาจะผันแปรไป หากแต่พวกเขายังรักษาเอกลักษณ์ของ ไทลื้อไว้อย่างไม่รู้ลืม
กิจกรรมเด่น : เทีย่ วบ้านทุง่ มอก ชมบ้านป้ามาลียอ้ มสีผา้ ธรรมชาติ บ้านไทลือ้ โบราณ บ้านแม่แสงดา แวะวัดแสนเมืองมา สักการะวัดพระธาตุสบแวน สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าทอไทลื้อ ของที่ระลึกจากผ้าทอ ซิ่นลายน�้ำไหล อาหารไทลื้อ ที่ตั้งชุมชน : เทศบาลต�ำบลเชียงค�ำ เลขที่ 9 หมู่ที่ 4 ต�ำบลหย่วน อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา 56110 โทรศัพท์ 054-451-333 Website https://chiangkhamlocal.go.th
25
10 บ้านดอกบัว พะเยา
เที่ยวแบบเบิกบาน หมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง
บ้ า นดอกบั ว ประชากรส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ ด้ า น การเกษตรกรรม เช่น ท�ำนา ท�ำสวน ปลูกหญ้า เลี้ยงสัตว์ และ อาชีพหัตถกรรมจักสานเข่งไม้ไผ่ มีผลิตภัณฑ์เด่นของหมูบ่ า้ น ได้แก่ ข้าวอินทรีย์ หญ้าแพงโกล่า (อาหารให้กับโค กระบือ ในรูปของ หญ้าสด) ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่(เข่ง) ผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา เป็นต้น จากบทเรียนในอดีตที่มีชาวบ้านเจ็บป่วย กลายเป็นจุดเริ่ม ที่ชุมชนได้ร่วมกันก�ำหนดห้ามการท�ำเกษตรบนพื้นที่สูง และห้าม การใช้สารเคมี ท�ำให้ในนาข้าวเป็นนาอินทรียท์ ปี่ ลอดภัยมีทางเดิน ไม้ไผ่รวกเข้าไปเดินเล่น มีแมลงปอนับร้อยบินร่อนไปมา ท�ำหน้าที่ ก�ำจัดแมลงศัตรูพืชตามธรรมชาติ ไม่ต้องใช้ยาฆ่าแมลงใดๆ หนึง่ ในวิถขี องพวกเขาคือ การรักษาภูมปิ ญ ั ญาการสานไม้ไผ่ ซึ่งน�ำมาจากแปลงสวนไม้ไผ่รวก ในพื้นที่กว่า 500 ไร่ หัตถกรรม เหล่านี้มีทั้งงานสานก๋วยหรือสานเข่ง สานสุ่มไก่ และงานจักสาน อื่นๆ ช่วยสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน และขึ้นชื่อว่าเป็นหมู่บ้าน แห่งการจักสาน ทุ ก สั ป ดาห์ จ ะมี ต ลาดนั ด ที่ ช าวบ้ า นน� ำ ผลผลิ ต ในชุ ม ชน มาวางขาย และมีโฮมสเตย์ประมาณ 20 หลัง รองรับนักท่องเที่ยว เป็นการพักผ่อนในสภาพแวดล้อมด้วยธรรมชาติทสี่ วยงาม อากาศ บริสุทธิ์ ไร้สารพิษ เป็น “ต้นแบบ” ที่ดึงดูดให้คนต่างถิ่นอยาก เข้าไปเยี่ยมเยือน ทั้งด้านการจัดการทรัพยากร ดิน น�้ำ ป่า การท�ำสวน ท�ำไร่ ปลูกพืชผัก การท�ำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ การท�ำ เตาแกลบชีวมวล การสร้างฝายแฝก การเพาะเลี้ยงด้วงกว่าง นี่คือ หนึ่งในจุดหมายที่ต้องไปสัมผัสสักครั้ง แล้วคุณจะ หลงรักบ้านดอกบัว
กิจกรรมเด่น : เดินเล่นในนาอินทรีย์ อบตัวในสปาสุ่มไก่ ชิมอาหารปลอดสาร ทดลองสานไม้ไผ่ สินค้าชุมชนเด่น : ข้าวอินทรีย์ การสานไม้ไผ่ เป็นสุม่ ไก่และของใช้อนื่ ๆ หญ้าแพงโกล่า (อาหารให้กบั โค กระบือ ในรูปของหญ้าสด) ผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา ที่ตั้งชุมชน : บ้ า นบั ว ต� ำ บลบ้ า นตุ ่ น อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด พะเยา 56000 โทรศัพท์ 082-895-7321 บ้านบัว จังหวัดพะเยา
จุดหมายหนึง่ แห่งความสงบและพอเพียงนัน่ คือ จังหวัดพะเยา เมืองท่องเทีย่ วและวิถที สี่ งบ ธรรมชาติสวยงาม ป่าเขา ทุง่ นา กว๊าน พะเยา ไม่ไกลจากตัวเมืองพะเยา มีหมูบ่ า้ นแห่งหนึง่ แม้จะเป็นเพียง หมู่บ้านเล็กๆ แต่ชื่อเสียงโด่งดัง เพราะเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอ เพียงต้นแบบระดับประเทศ และเป็นเลิศด้านบริหารจัดการน�ำ้ และ การฟื้นฟูป่า ชุมชนที่ว่านี้คือ “บ้านดอกบัว” หรือ “บ้านบัว” บ้านดอกบัวตั้งอยู่ในอ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา โดยในปี พ.ศ. 2555 ชื่อของบ้านดอกบัว เป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียงขึ้นมา ด้วยเพราะการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม เมือ่ ได้รบั รางวัลพระราชทาน รางวัลชนะเลิศในฐานะเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ระดับประเทศ 26
27
11 บ้านทุ่งโฮ้ง แพร่
วิถีห้อม สู่หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP เชิงหัตถกรรม หนึ่ ง ในมรดกภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น อั น ล�้ ำ ค่ า ของจั ง หวั ด แพร่ ชาวไทพวน บ้านทุง่ โฮ้ง ทีอ่ พยพมาจากเมืองพวน แขวงเมืองเชียงขวาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวกว่า 200 ปีมาแล้วคือ การท�ำ ผ้าหม้อห้อม “บ้านทุ่งโฮ้ง” ชื่อเดิมเรียกว่า “บ้านทั่งโฮ้ง” ผ้าหม้อห้อม นับเป็นภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ของบรรพบุรษุ ทีส่ บื ทอดมาหลายชัว่ อายุคน และเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดแพร่ จนได้รบั การคัดเลือกเป็นหมูบ่ า้ น ท่องเที่ยว OTOP เชิงหัตถกรรม (OTOP Village Champion Handicrafts Tourism) สีน�้ำเงินเข้มได้จากการย้อมด้วย “ต้นห้อม” ให้สีธรรมชาติ สวยงาม โดยใช้ตน้ และใบห้อม สามารถย้อมได้ทงั้ แบบย้อมร้อนและ ย้อมเย็น ซึ่งเป็นการย้อมแบบดั้งเดิมมีการท�ำมาหลายชั่วอายุคน โดยการสืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่น ชุ ม ชนได้ จั ด ตั้ ง กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนหม้ อ ห้ อ มแพร่ ย้ อ มสี ธรรมชาติ เพื่อการจัดการอย่างสร้างสรรค์ และเพื่อการอนุรักษ์และ ถ่ายทอดความรู้ให้บุคคลทั่วไปได้เข้ามาศึกษา นับได้ว่าภูมิปัญญา หม้อห้อม ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล�้ำค่าของพวนบ้านทุ่งโฮ้ง ทั้งยังช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มและรายได้ให้กับชุมชน หม้อห้อมช่วยสร้างชือ่ เสียงให้เมืองแพร่ ทัง้ ปัจจุบนั มีการพัฒนา วัตถุดิบคุณภาพ ผ้าฝ้ายย้อมสีพื้นเมือง เรียกว่าสวมใส่สบาย ผ้านุ่ม สีไม่ตก ลวดลายเก๋ไก๋ ผ้าหม้อห้อมท�ำให้หมู่บ้านทุ่งโฮ้งมีความโดดเด่น เป็นที่รู้จัก ของทั้งประเทศ ตลอดจนเป็นชุดแต่งกายประจ�ำถิ่นของชาวแพร่ และชาวบ้านทุง่ โฮ้งทีส่ วมใส่ ในชีวติ ประจ�ำวัน และงานประเพณีตา่ งๆ จึงถือเป็นเอกลักษณ์ของชาวแพร่
28
นอกจากนี้ยังอยู่ในค�ำขวัญของจังหวัดแพร่ ที่กล่าวไว้ว่า “หม้อห้อมไม้สัก ถิ่นรักพระลอ ช่อแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพะ เมืองผี คนแพร่นี้ใจงาม” การจั ด การด้ า นการท่ อ งเที่ ย วบ้ า นทุ ่ ง โฮ้ ง มี ศู น ย์ บ ริ ก าร นักท่องเที่ยวส�ำหรับบริการให้ข้อมูล และเอกสารแก่นักท่องเที่ยว และเป็ น หมู ่ บ ้ า นเชิ ง หั ต ถกรรมที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถชม กระบวนการผลิตผ้าหม้อห้อมได้ทุกขั้นตอน และสามารถเลือกซื้อ ได้โดยตรงจากชาวบ้าน นักท่องเที่ยวสามารถพักแรมที่หมู่บ้านได้ มีโฮมสเตย์ไว้ส�ำหรับรองรับนักท่องเที่ยวอีกด้วย ชาวไทพวนยังมีพิธีกรรมที่สืบต่อกันมาช้านานคือ ก�ำฟ้า หมายถึงการนับถือสักการะบูชาฟ้า การแสดงกตเวทิตาต่อฟ้า ที่ท่านได้คุ้มครองให้มีอายุยืนยาวให้อยู่ดีกินดี มีฝนตกต้องตาม ฤดูกาล มีข้าวปลาอาหารสมบูรณ์ ในวันก�ำฟ้า ชาวไทพวนจะมี กิจกรรมร่วมกันคือ การท�ำบุญตักบาตรในตอนเช้า การละเล่นใน ตอนกลางคืน และการพบปะสังสรรค์ระหว่างเครือญาติด้วยกัน ในวันก�ำฟ้า
กิจกรรมเด่น : เลือกซือ้ ผ้าหม้อห้อมสินค้า OTOP อันเป็นเอกลักษณ์ของชาวทุง่ โฮ้ง ชมข้ า วของเครื่ อ งใช้ โ บราณ ตั้ ง แต่ ส มั ย อพยพมาจากลาวที่ ศูนย์วัฒนธรรมทุ่งโฮ้ง ชมกระบวนการผลิตผ้าหม้อห้อมได้ทุก ขั้นตอน ทั้งแบบย้อมสีธรรมชาติ และย้อมสีแบบผสมผสาน พัก Home Stay ชมวิถีชีวิตของชาวบ้านและชุมชน สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าหม้อห้อม ซึ่งปัจจุบันมีการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย ทั้งเสื้อผ้า ผ้าพันคอ กระเป๋า และของใช้ต่างๆ ที่ตั้งชุมชน : ต�ำบลทุ่งโฮ้ง อ�ำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ 54000 โทรศัพท์ 093-979-9118 บ้านทุ่งโฮ้ง ม่อฮ่อม ม่อห้อม หม้อห้อม หม้อฮ่อมทำ�มือ ของแท้จากเมืองแพร่ 100%
29
12 บ้านสันติชล แม่ฮ่องสอน
เอกลักษณ์จน ี ยูนนาน เทีย ่ วเมืองไทยเหมือนไปเมืองจีน เมืองลมหนาวมาเยือน หลายคนอยากไปสัมผัสบรรยากาศ ของภาคเหนือ หนึ่งในนั้นคือ บ้านสันติชล ที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ชุมชนท่องเที่ยวที่น�ำเสนอเอกลักษณ์ วัฒนธรรมของชาวจีน ยูนนานมาเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยว ท�ำให้ใครหลายคนอยาก ไปสัมผัสสักครั้ง พร้อมร่วมกิจกรรมท่องเที่ยวสนุกๆ ในชุมชน ที่มาพร้อมกับการพัฒนาอาชีพ การฟื้นฟูอนุรักษ์ และสืบสาน วัฒนธรรมของชุมชน “บ้านสันติชล” อยู่ในอ�ำเภอปาย เป็นแหล่งท่องเที่ยว ชือ่ ดังมานานหลายสิบปีแล้ว โดยชาวจีนยูนนานทีอ่ พยพย้ายถิน่ มายังประเทศไทย นับได้ว่าบ้านสันติชลเป็นหมู่บ้านอันเงียบ สงบท่ามกลางบรรยากาศแห่งขุนเขา อากาศเย็นสบายตลอดปี
ปัจจุบันมี “ศูนย์วัฒนธรรมจีนยูนนาน บ้านสันติชล” หรือ ทีเ่ รียกกันสัน้ ๆ ว่า “บ้านสันติชล” ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อย ของชุมชน ที่นี่มีพื้นที่กว้างขวางให้เดินเล่น มีบริการขี่ม้าแคระ ถ่ายรูปคู่กับม้า ชิงช้ายูนนาน (หยาควาชิว) สร้างจากไม้เนื้อแข็ง โดยมี 4 ที่นั่งเพื่อใช้ถ่วงน�้ำหนักให้การหมุนชิงช้าให้สมดุล นับเป็น การเล่นชิงช้าของชาวยูนนานเพื่อสร้างความสนุกสนาน ภายในบ้านสันติชล มีการปลูกบ้านที่ท�ำจากดินมุงหลังคา ด้วยวัสดุคล้ายฟางข้าวตากแห้ง เป็นเสน่ห์ดึงดูดใจผู้มาเยือน บ้านแต่ละหลังเปิดเป็นร้านจ�ำหน่ายอาหารแบบจีนยูนนาน สินค้า พื้นเมือง งานหัตถกรรม ผลไม้แปรรูป ยาและสมุนไพรจีน อาหาร แปรรูป ชาจีน ของฝากของที่ระลึกต่างๆ
30
ความโดดเด่นของชุมชนคือ ก�ำแพงเมืองหรือป้อมปราการ และอาคารสีขาว เป็นจุดที่สามารถเดินขึ้นไปชั้นบนเพื่อชมวิว ทิวทัศน์ทัศนียภาพของบ้านสันติชลได้อย่างทั่วถึง ภายในหมู่บ้าน มีโขดหินใหญ่ที่มีมังกรพันเสาหางชี้ฟ้า เป็นสัญลักษณ์ของหมู่บ้าน พลาดไม่ได้ตอ้ งชิมอาหารจีนยูนนาน เช่น ขาหมู หมัน่ โถว ไก่ดำ� ตุน๋ ยาจีน ชมการแสดงวัฒนธรรมพื้นบ้าน การเต้นร�ำ การแสดงศิลปะ การป้องกันตัวกังฟู และสาธิตการชงชาแบบจีน ก่อนปิดท้ายกับการเลือกซือ้ ของทีร่ ะลึกเพือ่ กระจายรายได้ให้ ชุมชน บ้านสันติชลบนความคิดถึง
กิจกรรมเด่น : ชมวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวจีนยูนนาน กิจกรรมโล้ชิงช้า ขี่ม้า เที่ยวชมสถานที่ต่างๆ ในหมู่บ้าน ใส่ชุดจีนและถ่ายรูปเป็นที่ระลึก สินค้าชุมชนเด่น : สินค้าของทีร่ ะลึก เช่น ชา รองเท้าจีนยูนนานดัง้ เดิม หยก เครือ่ งราง ผลไม้ดองและอบแห้ง ยาและสมุนไพรจีน อาหารแปรรูป ที่ตั้งชุมชน : ศูนย์วัฒนธรรมจีนยูนนาน ต�ำบลเวียงใต้ อ�ำเภอปาย จังหวัด แม่ฮ่องสอน 58130 โทรศัพท์ 081-024-3982 บ้านสันติชล
31
13 ชุมชนกาดกองต้า ล�ำปาง หลากอาคารโบราณสู่ถนนสายวัฒนธรรม กาดกองต้า หรือตลาดจีน หรือตลาดตรอกท่าน�้ำ ย่านตลาดเก่าตั้งอยู่ขนานกับล�ำน�้ำวัง ในซอยตลาดจีน ริมน�้ำ มีอาคารโบราณอายุนับร้อยปี บนถนนตลาด เก่าตลอดทั้งสาย และสามารถเดินเล่นเที่ยวชมได้สนุก ชุมชนกาดกองต้าเป็นถนนสายเศรษฐกิจ ที่มีความ เป็นมาทีเ่ ก่าแก่ และมีคณ ุ ค่าทางประวัตศิ าสตร์ยาวนาน ต้ น ทางของกาดกองต้ า ยั ง มี ส ะพานรั ษ ฎา ซึ่ ง เป็ น แลนด์มาร์ค ของเมืองล�ำปาง และเป็นสะพานเก่าแก่ ที่มีอายุกว่าร้อยปี กาดกองต้าเคยเป็นตลาดที่มีความเจริญรุ่งเรือง มาตั้ ง แต่ ส มั ย รั ช กาลที่ 5 เพราะล� ำ ปางเคยเป็ น ศูนย์กลางทางการค้าของภาคเหนือ ท�ำให้ย่านการค้า
มักเกิดขึ้นริมแม่น�้ำสายใหญ่อย่างแม่น�้ำวัง เกิดชุมชน จากชาติตา่ งๆ ทีเ่ ข้ามาท�ำธุรกิจ เช่น อังกฤษ พม่า และจีน โดยเฉพาะชาวจีนซึง่ เป็นกลุม่ ทีเ่ ข้ามาท�ำการค้ามากทีส่ ดุ จนกลายเป็นชุมชนชาวจีนขนาดใหญ่ ชาวบ้านจึงเรียก กาดกองต้าว่าตลาดจีน ในบริ เ วณกาดกองต้ า มี อ าคารโบราณอายุ กว่ า ร้ อยปี ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ และทรงคุ ณค่ า ทาง ประวั ติ ศ าสตร์ ด้ ว ยสถาปั ต ยกรรมที่ ผ สมผสาน ความเป็นยุโรป จีน และพม่า-ไทใหญ่ ที่นี่จึงเต็ม ไปด้ ว ยบ้ า นเรื อ นหลากหลายแบบ ไม่ ว ่ า จะเป็ น เรื อ นล้ า นนา บ้ า นแบบพม่ า บ้ า นแบบจี น และ บ้านแบบขนมปังขิงในสไตล์ตะวันตก
กิจกรรมเด่น : เดินชมความงาม และหลากหลายของสถาปัตยกรรมอาคารบ้านเรือนเก่าแก่ ชิมอาหาร และซื้อสินค้าที่ระลึกจากร้านค้าท้องถิ่นในถนนคนเดิน สินค้าชุมชนเด่น : ลูกชิ้นเขียง ไข่ป่าม ไข่ลวกน�้ำแร่ ข้าวแต๋นน�้ำแตงโม ข้าวปั้นโบราณ หมี่เกี๊ยวมากองต้า ไส้อั่ว ที่ตั้งชุมชน : กาดกองต้า ถนนตลาดเก่า ต�ำบลสวนดอก อ�ำเภอเมืองล�ำปาง จังหวัด ล�ำปาง 52000
หนึ่งในนั้นเช่น ร้านหม่องโง่ยซิ่น คาเฟ่เรือนแถว 5 คูหา อาคารที่ได้รับยกย่องว่าเป็นอาคารขนมปังขิงที่งดงามที่สุดแห่ง หนึ่งของไทย และคว้ารางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น ประเภทอาคาร อนุ รั ก ษ์ ส ถาปั ต ยกรรมล้ า นนา จากสมาคมสถาปนิ ก สยามใน พระบรมราชูปถัมภ์ ประจ�ำปี 2550 รวมถึงอาคารฟองหลี เป็น อาคารที่ท�ำจากอิฐและไม้ ที่ไม่ผ่านการทาสีใดๆ เลย มีหลังคาจั่ว ตัดขวางแบบจีน และสร้างด้วยอิฐ เป็นการผสมผสานระหว่าง ตะวันตก และจีน นอกจากนี้ยังมีร้านแนวคาเฟ่เก๋ๆ เช่น เดอะพริ้ง Cafe' & Hostel, ร้านกินเล่นกินจริง, ร้าน At One กาดกองต้า, ร้าน Boss Café & Souvenir
กาดกองต้ากลายเป็นที่เที่ยวยอดนิยมของล�ำปาง เนื่องจาก ชุมชนได้พร้อมใจกันตกแต่งบูรณะฟืน้ ฟูให้อาคารเก่ามีชวี ติ ชีวา ขึ้นมาอีกครั้ง และกลายเป็นถนนสายวัฒนธรรมที่สวยงามมี เอกลักษณ์ ที่นี่ได้กลายเป็นอีกหนึ่งแลนด์มาร์คของล�ำปาง เป็น ถนนคนเดินที่มีนักท่องเที่ยวมาเดินเที่ยวจับจ่ายใช้สอยกันอย่าง หนาแน่น ในทุกคืนวันเสาร์ และวันอาทิตย์ ตั้งแต่ 5 โมงเย็นไป จนถึง 4 ทุ่ม พร้อมฟังดนตรีพื้นเมือง เดินเที่ยวไป ชิมอาหารไป ถ่ายรูปไป เรียกได้วา่ เป็นอีกจุดหมายทีไ่ ม่ควรพลาด เมื่อมาล�ำปาง
ถนนคนเดิน กาดกองต้า ลำ�ปาง
32
33
14 บ้านสามขา ล�ำปาง
ชาวบ้านมีวิถีชีวิตเกษตรกรที่พึ่งพาและดูแลธรรมชาติ ไปด้วย ภูมิปัญญาตั้งแต่บรรพบุรุษผสมผสานกับความรู้ทาง วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ท�ำให้การท�ำไร่ทำ� นา ปลูกข้าว ปลูกกาแฟ อยู่บนพื้นฐานของการเกษตรอินทรีย์ ผู้ที่ไปเยือนยังได้สัมผัสกิจกรรมหลากรูปแบบ มีทั้งการเดิน ส�ำรวจป่าและชมพันธุ์ไม้พื้นถิ่น การท�ำอาหารด้วยตัวคุณเอง และ กิจกรรมเวิร์คชอปงานศิลปหัตถกรรม เช่น ท�ำตุง ท�ำโคม ท�ำพวง มโหตรฯลฯ ชุมชนโดดเด่นด้วยศิลปะการแกะสลักไม้โดยช่างท้องถิ่น บ้านสามขา เมื่อผู้ชายในหมู่บ้านแกะสลักไม้ ฝ่ายหญิงก็ไม่ น้อยหน้า มีการรวมกลุ่มกันทอผ้าฝ้าย ผ้าฝ้ายที่นี่ทั้งน่าใช้ และมีคุณภาพ สีที่ใช้ย้อมผ้าของบ้าน สามขา เป็นสีทไี่ ด้จากธรรมชาติ ตามวิถเี กษตรอินทรีย์ แม้สอี าจจะ ไม่ฉดู ฉาดสดใสแต่ไม่มสี ารเคมีใดๆ ชาวบ้านทอผ้าจากกีด่ ว้ ยวิธกี าร ดั้งเดิม แล้วไปแวะชิมกาแฟคั่วมือจาก “บ้านเฉลิมสุข” หอมกรุ่น มาแต่ไกล ปิดท้ายกับการพักผ่อนในชุมชน ที่บ้านสามขาโฮมสเตย์ อาหารมื้อค�่ำถูกจัดใส่ขันโตก อย่างน่ารับประทาน ด้วยวัตถุดิบ ปลอดสารจากในหมู่บ้าน วางเรียงในภาชนะท�ำจากกระบอกไม้ไผ่ ดื่มด�่ำบรรยากาศของบ้านสามขา ก่อนปิดท้ายกับความประทับใจ ไม่รู้ลืมเลือน กับการสัมผัสธรรมชาติ วิถีชีวิต และบรรยากาศแห่ง การเรียนรู้ในชุมชน
ครบเครื่องทั้งงานแกะสลักไม้ ผ้าฝ้ายสีธรรมชาติ ใครคนหนึ่งบอกว่า ล�ำปางคือ เมืองที่ไม่หมุนตามกาลเวลา เวลาอาจเดิ น เนิ บ ช้ า แต่ ท รงคุ ณ ค่ า ในเอกลั ก ษณ์ และนี่ คื อ บ้านสามขา มีดีที่ “งานแกะสลักไม้ ผ้าฝ้ายสีธรรมชาติ ปศุสัตว์ ไร่ นา ข้าว ปลา กาแฟ ล้วนแต่เกษตรอินทรีย์ ” บ้านสามขา ในอ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง ชื่อที่อาจฟังดู แปลกนี้ มีที่มาจากต�ำนานของหมู่บ้านที่เล่าสืบต่อกันมาเป็น นิทานในท้องถิ่น เกี่ยวกับการย้ายถิ่นฐานของบรรพบุรุษจาก บ้านเหล่าหนองปล้อง งูใหญ่ และเก้งสามขา ทีน่ มี่ ที อ้ งนาเขียวสดใส สุดลูกหูลูกตา และยังเป็นชุมชนเข้มแข็ง เกษตรอินทรีย์
กิจกรรมเด่น : ชมบายศรีสู่ขวัญ การแสดงฟ้อนร�ำ และงานขันโตกของชุมชน ร่วมสร้างฝายชะลอน�้ำ สร้างแนวกันไฟและการดับไฟป่า เดินป่า และล่องแพเขื่อนกิ่วลม สินค้าชุมชนเด่น : งานไม้แกะสลัก ผ้าฝ้ายทอมือ ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านสามขา หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลหัวเสือ อ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง 52220 โทรศัพท์ 096-632-8992 บ้านสามขา โฮมสเตย์
34
35
15 บ้านดอนหลวง ล�ำพูน หัตถกรรมผ้าฝ้ายทอมือเลื่องชื่อ หากนึ ก ถึ ง หมู ่ บ ้ า นที่ มี ชื่ อ เสี ย งเรื่ อ งผ้ า ฝ้ า ยทอมื อ แล้ ว หนึ่ ง ในนั้ น คื อ บ้ า นดอนหลวง อ� ำ เภอป่ า ซาง จั ง หวั ด ล� ำ พู น เป็นแหล่งก�ำเนิดผ้าฝ้ายทอมืออันเลื่องชื่อของจังหวัดล�ำพูนมาแต่ ช้านาน จากอดี ต ที่ ผู ้ ค นอพยพมาจากเมื อ งยอง ประเทศพม่ า มาตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตอ�ำเภอป่าซาง พวกเขาทอผ้าฝ้ายใช้เป็น เครื่องนุ่งห่มในชีวิตประจ�ำวัน จากชุมชนเล็กๆ ได้กลายเป็นชุมชนใหญ่ ที่ยังสืบสานวิถี ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมแบบดั้งเดิมเอาไว้ ศิลปหัตถกรรมการทอผ้าฝ้ายได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญา จากรุ่นสู่รุ่นมานานกว่า 200 ปี ความโดดเด่นผ้าฝ้ายของที่นี่คือ การพัฒนารูปแบบ และลวดลายให้เข้ากับยุคสมัย จุดเด่นของ ผ้าฝ้ายหมูบ่ า้ นหัตถกรรมบ้านดอนหลวงคือ การทอมือแบบโบราณ เน้นลาย 4 และ 6 ตะกอ ช่วยให้เนื้อผ้านุ่ม และเหนียว
กิจกรรมเด่น : เลือกซื้อสินค้าผ้าฝ้ายทอมือ พักที่โฮมสเตย์ของบ้านดอนหลวง พร้อม กิจกรรมทอผ้าด้วยตัวเอง นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอื่นๆ เช่น ปั่นจักรยานไป ไหว้พระที่วัดดอนหลวง ชิมอาหารพื้นเมืองเสิร์ฟด้วยขันโตก เป็นต้น สินค้าชุมชนเด่น : สินค้าหัตถกรรมจากผ้าฝ้ายทอมือ ทั้งเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ กระเป๋า ปลอกหมอน ผ้าคลุมเตียงฯลฯ ที่ตั้งชุมชน : บ้านดอนหลวง หมู่ที่ 7 ต�ำบลแม่แรง อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน 51120 โทรศัพท์ 084-503-3877 บ้านดอนหลวง ลำ�พูน
อีกทั้งมีความหลากหลายของสินค้าหัตถกรรมจากผ้าฝ้าย อาทิเช่น เสื้อผ้า เครื่องประดับ ผ้าม่าน ผ้าปูโต๊ะ ผ้าคลุมไหล่ ปลอกหมอน ผ้ า ปู เ ตี ย ง รวมถึ ง มี ก ารผลิ ต ออกจ� ำ หน่ า ยไปยั ง แหล่งต่างๆ ทั่วไทย และส่งออกไปต่างประเทศ มีถนนคนยอง ที่เป็นศูนย์กลางจ�ำหน่ายสินค้า บ้านดอนหลวงขึ้นชื่อในเรื่องของผ้าฝ้ายทอมือ จึงกลาย เป็นหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยวของจังหวัดล�ำพูน ทุกปีจะมี การจัดงาน “แต่งสี อวดลาย ผ้าฝ้ายดอนหลวง” โดยจัดงาน ครั้งละ 5 วัน เริ่มวันศุกร์แรกของเดือนเมษายน นอกจากที่บ้านดอนหลวงแล้ว ที่อ�ำเภอป่าซางของล�ำพูน ยังมีบ้านกองงาม และบ้านหนองเงือก โดยทั้ง 3 หมู่บ้าน เป็น แหล่งผลิตผ้าบาติก ผ้ามัดย้อม ผ้าฝ้ายที่ใหญ่อันดับต้นๆ ของ ประเทศไทย
36
37
16 บ้านนาต้นจั่น สุโขทัย เสน่ห์ผ้าผืนงาม สุขใจในโฮมสเตย์ บ้านนาต้นจั่น เป็นหมู่บ้านหนึ่งของต�ำบลบ้านตึก อ�ำเภอ ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทางด้านเกษตรกรรมคือ ท�ำนา ท�ำไร่ และท�ำสวนผลไม้ เมื่อว่าง จากฤดูเก็บเกี่ยว นั่นคือเวลาของการทอผ้า ที่บ้านนาต้นจั่นมีการอนุรักษ์การทอผ้าแบบดั้งเดิม โดยใช้ กี่พื้นเมืองทอเป็นลวดลาย เรียกว่าผ้ายกดอก ทอเป็นสไบ ผ้าถุง ผ้าตัดเสื้อ หรือตามประโยชน์ใช้สอย และได้มีการพัฒนาลวดลาย เพิ่มขึ้น เช่น ลายดอกพิกุล ลายดอกบัว ลายสารภี เป็นต้น แต่ ที่ โ ดดเด่ น ไม่ เ หมื อ นใครและท� ำ ให้ ห มู ่ บ ้ า นนี้ โ ด่ ง ดั ง มาจากการคิดค้นกรรมวิธีการน�ำผ้าไป “หมักโคลน” ท�ำให้ผ้านุ่ม มีน�้ำหนักดี และสวมใส่สบาย ผ้าหมักโคลนมีคุณสมบัติให้ความอบอุ่นในฤดูหนาว ส่วน ในช่วงอากาศร้อนเนื้อผ้ากลับเย็นสบาย สามารถน�ำไปตัดเย็บ เป็นเสื้อผ้าส�ำเร็จรูป สวมใส่ได้ทุกวาระโอกาส บ้านนาต้นจั่นเป็นหมู่บ้านเล็กๆ มีต้นจั่นขึ้นอยู่มากมาย จึงตั้งชื่อหมู่บ้านว่า บ้านนาต้นจั่น ชาวบ้านประกอบอาชีพท�ำนา ท�ำสวนผลไม้ ปลูกกล้วย ลางสาด ทุเรียน ตามฤดูกาล อาชีพเสริม คือ อาชีพทอผ้า จักสาน ท�ำหัตถกรรมตอไม้ ชุมชนอยู่กันแบบ เอื้ออาทรต่อกัน มาบ้านนาต้นจั่นทั้งที สาวคนไหนอยากลิ้มลองอาหารถิ่น ต้องไปชิมการท�ำข้าวเปิ๊บ หรือก๋วยเตี๋ยวพระร่วง อันเลืองชื่อ หรือจะแวะไปที่ร้านยายเครื่องก็ได้ ข้าวเปิ๊บคือ ก๋วยเตี๋ยวชนิดหนึ่ง ที่มีกรรมวิธีการท�ำเส้น คล้ายคลึงกับข้าวเกรียบปากหม้อ ใส่วุ้นเส้น ผักบุ้ง กะหล�่ำปลี ถั่วงอก หรือผักอื่นๆ ตามชอบ ค�ำว่า “เปิ๊บ” เป็นภาษาถิ่นหมาย ถึง การพับไปพับมานัน่ เอง แล้วชิมก๋วยเตีย๋ วแบ ก๋วยเตีย๋ วเส้นเล็ก แห้งโรยหน้าด้วยถัว่ บด และเครือ่ งปรุงต่างๆ มีหมูแดง และกากหมู วางมาข้างเคียง วางแบลงบนใบตอง
เด็ดไม่เหมือนใครคือ น�้ำพริกซอกไข่ เป็นเมนูภูมิปัญญา พื้ น บ้ า นของบ้ า นนาต้ น จั่ น ซึ่ ง ค� ำ ว่ า “ซอก” เป็ น ภาษาของ ชาวบ้านนาต้นจั่น หมายถึง “การต�ำเบาๆ” ปิดท้ายที่ตลาดสามแคร่ ในศูนย์การท่องเที่ยวบ้านนาต้นจั่น ง่ายๆ โดยที่มาของชื่อคือมีแคร่วางอยู่ 3 แคร่ ขายของพื้นบ้าน เล็กๆ น้อยๆ พวกผัก ผลไม้ และอาหารต่างๆ หากจะให้ดีต้องนอนพักโฮมสเตย์ พร้อมที่พัก อาหารเย็น และเช้า โฮมสเตย์บ้านนาต้นจั่นมีประมาณ 29 หลัง ที่โฮมสเตย์ เขาจะจัดเตรียมอาหารไว้ตอ้ นรับเรามือ้ ใหญ่ ด้วยเมนูพนื้ บ้านทีจ่ ดั มาในขันโตก อร่อยทุกจานเลยทีเดียว เพลินตาเพลินใจ เที่ยวให้สุขใจ ในบ้านนาต้นจั่น
กิจกรรมเด่น : การบายศรีสู่ขวัญ ตักบาตรหน้าโฮมสเตย์ เรียนรู้การทำ�ผ้าหมักโคลน เดินชมวิถีชีวิต ในหมู่บ้าน ชมสวนผลไม้ตามฤดูกาล ปั่นจักรยานชมทุ่ง ชมพระอาทิตย์ตก (สะพาน เชือ่ มทุง่ ) ปัน่ จักรยาน ชมวิธกี ารทอผ้าใต้ถนุ บ้าน ชมวิธกี ารทำ�ตุก๊ ตาบาร์โหน (บ้านตาวงศ์) สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าหมักโคลน ผ้ายกดอก ข้าวเปิ๊บ ตุ๊กตาบาร์โหน หัตถกรรมตอไม้ ที่ตั้งชุมชน : เลขที่ 111 หมู่ 5 ตำ�บลบ้านตึก อำ�เภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย 64130 โทรศัพท์ 088-495-7738 โฮมสเตย์บ้านนาต้นจั่น จังหวัดสุโขทัย
38
39
ผ้าซิ่นไทพวนบ้านหาดเสี้ยวมีความโดดเด่น มีลวดลาย สวยงาม ทั้งลายน�้ำอ่าง ลายแปดขอ ลายสองท้อง ลายมนสิบหก และได้รับมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ที่กลุ่มหัตถกรรมพื้นบ้าน โบราณหาดเสี้ยว ได้รับการคัดสรรผลิตภัณฑ์ประเภท ผ้าตีนจก ให้เป็นผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ในปี พ.ศ. 2549, พ.ศ. 2553 อีกหนึ่งแห่งที่ไม่ควรพลาดคือ สาธรพิพิธภัณฑ์ผ้าทองค�ำ บ้ า นหาดเสี้ ย ว จั ด แสดงเรื่ อ งราวความเป็ น มาของผ้ า ทอ ลายโบราณของชาวไทพวนบ้านหาดเสี้ยวเอาไว้อย่างครบถ้วน ไม่ว่าจะเป็นจกเก้าลายบ้านหาดเสี้ยว ผ้าที่ใช้ในพิธีบวชนาค ด้วยขบวนช้าง ผ้าที่ใช้ในพิธีแต่งงาน ซึ่งล้วนเป็นเอกลักษณ์
ผ้าทอมือของชาวไทพวนบ้านหาดเสี้ยว ที่สืบทอดต่อกันมานับ ร้อยๆ ปี เป็นแหล่งของผ้าตีนจกโบราณ และน�ำผ้าซิ่นตีนจก ประยุกต์เป็นเสื้อผ้าสุภาพบุรุษ และสุภาพสตรี กระเป๋าถือสตรี เป็นต้น
ชาวไทพวนนั้นมีวิถีเรียบง่าย ประกอบอาชีพทางด้านการ ทอผ้าและเกษตรกรรม จนเป็นที่มาของค�ำกล่าวที่ชาวไทพวน พูดกันติดปากว่า “หญิงเข็นฝ้าย ชายตีเหล็ก” ที่นี่ยังมีประเพณีแห่ช้างบวชนาคของชาวไทพวนบ้าน หาดเสีย้ ว จัดขึน้ ในวันที่ 7 เมษายนของทุกปี และประเพณีกำ� ฟ้า คือ การหยุดท�ำงานใดๆ ในเดือน วัน และเวลาก�ำฟ้า ซึง่ เป็นช่วง หลังฤดูเก็บเกี่ยว (เดือนสาม) เมื่อเสร็จจากการท�ำไร่ ท�ำนาแล้ว ชาวไทพวนบ้านหาดเสี้ยวจะมารวมตัวเพื่อชุมนุมพูดคุยกัน เล่นหยอกล้อกันอย่างสนุกสนาน และการละเล่น “นางกวัก” เป็นหนึ่งการละเล่นของชาวไทพวนบ้านหาดเสี้ยว
17 บ้านหาดเสี้ยว สุโขทัย
ผ้าไทพวน สืบสานมรดกทางภูมิปัญญา
มาสุโขทัยเมืองรุง่ อรุณแห่งความสุขทัง้ ที มีผา้ สวยงามให้ได้เลือกซือ้ หนึง่ ในนัน้ คือ ผ้าทอของชาวไทพวน บ้านหาดเสี้ยว เป็นการสืบสานภูมิปัญญาด้านการทอผ้าของบรรพบุรุษที่มาจากเมืองพวน เชียงขวาง ประเทศลาว อันเป็นถิ่นเดิมของชาวไทพวนศรีสัชนาลัย ผ้าทอหาดเสี้ยวเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายทั้งในสุโขทัย และทั่วประเทศ มีการจัดตั้งศูนย์หัตถกรรม พื้นบ้านโบราณหาดเสี้ยว อาจแวะชมได้ที่ “สุนทรีผ้าไทย” สถานที่ผลิต และจ�ำหน่ายผ้าทอที่เป็นฝีมือของ คนในพืน้ ทีอ่ ำ� เภอศรีสชั นาลัย สืบสานภูมปิ ญ ั ญาของผ้าทอไทพวน ปัจจุบนั ได้จดั ตัง้ ศูนย์การเรียนรูภ้ มู ปิ ญ ั ญา ไทยที่นี่ด้วย เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ผู้ที่มีความสนใจในภูมิปัญญาไทย ความโดดเด่นของผ้าทอไทพวน เช่น การท�ำซิน่ 9 ลายในผืนเดียว การใช้ไหมทอง ไหมเงิน ซึง่ สืบทอด มาจากรุน่ แม่รนุ่ ยาย เป็นเอกลักษณ์ของผ้าไทพวน ซึง่ เรียกได้วา่ ทุกคนเติบโตมากับผ้า มีการทอผ้าอยูใ่ น สายเลือดเลยทีเดียว 40
กิจกรรมเด่น : ชมวิถชี วี ติ ไทพวนหาดเสีย้ ว ชมประเพณีแห่ชา้ งบวชนาค ร่วมประเพณีกำ� ฟ้า ชมวัฒนธรรม การเล่นนางกวัก ร่วมประเพณีจุลกฐิน ชมสาธิตการทอผ้าในหมู่บ้าน สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าทอของชาวไทพวนบ้านหาดเสี้ยว ผ้าซิ่นตีนจกที่มีลวดลายบนผืนผ้าอย่างงดงาม ที่ตั้งชุมชน : หมู่ที่ 2 ต�ำบลหาดเสี้ยว อ�ำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย โทรศัพท์ 089-857-6259 บ้านหาดเสี้ยว สุโขทัย
41
18 ชุมชนลับแล อุตรดิตถ์ ผ้าซิ่นตีนจกเลอค่า สู่ภูเขากินได้ มีดีทห ี่ ลงลับแล หลินลับแล บรรพชนชาวลับแล เป็นชาวไทโยนก หรือไท-ยวน ที่อพยพ มาจากเชียงแสน หรือ “โยนกนาคนคร” ในอดีต ลับแลเป็นเมือง แม่ ทีถ่ า่ ยทอดภูมปิ ญ ั ญาเรือ่ งผ้าสูล่ กู หลานผูห้ ญิง ทุกอย่างในบ้าน แม่ถา่ ยทอดให้ลกู สาว รวมไปถึงเรือ่ งลายผ้า ความละเอียดของการ ทอผ้า สือ่ ถึงความรักความอบอุน่ จากแม่ จนเรียกว่าเป็นผ้าจากแม่ ก็ว่าได้ ไม่ว่าลับแลจะเป็นเมืองแม่หม้าย (มีต�ำนานแม่หม้ายและ การห้ามพูดโกหก) หรือเมืองในหุบเขา แต่นคี่ อื หนึง่ ในเมืองแห่ง หมู่บ้านแห่งผ้าที่มีชื่อเสียงของไทย
เอกลักษณ์ของผ้าซิ่นตีนจกลับแล คือ การอนุรักษ์ทั้งวิธี การทอแบบเดิม เช่น การจกด้วยขนเม่น ใช้วัตถุสีย้อมธรรมชาติ เเบบดั้งเดิม ลวดลายจกแบบโบราณ นี่คือ เอกลักษณ์อันโดดเด่น เพราะผ้าซิ่นตีนจกลับแลไม่ได้เน้นเฉพาะฝีมือเท่านั้น แต่เป็นการ ขายจิตวิญญาณของชาวลับแลด้วย ลวดลายของผ้าซิน่ ตีนจกได้มาจากความคิด และจินตนาการที่ เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม จากพืช สัตว์ สิง่ ของ เครือ่ งใช้ ต่างๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต และสังคมที่อยู่รอบๆ ตัว ของผู้หญิงหรือผู้ทอเป็นส�ำคัญ ทั้งพืช สัตว์ และสิ่งของรอบๆ บ้าน การทอผ้าซิ่นตีนจกเป็นการสืบทอดวัฒนธรรมการทอผ้า ทั้งมีความสวยงาม มีวัฒนธรรม มีประเพณี มีพิธีกรรม และ ความเชื่อ อย่างน้อยที่สุดคนสมัยโบราณต้องทอผ้าไว้อย่างน้อย คนละ 1 ผืน โดยเฉพาะหญิงสาวที่ต้องมีในวันแต่งงาน เสน่หข์ องผ้าทอลับแลมีหลากหลายทัง้ การไปชมผ้าทอโบราณ กับต�ำนานผ้าจก 200 ปี ครูสมชาย ปงศรีชยั พิพธิ ภัณฑ์ผา้ พืน้ เมือง ของลับแล ทีก่ า้ วผ่านกาลเวลา มาพร้อมๆ กับครูสมชาย ทีส่ ะสมผ้า 42
มากมาย พิพธิ ภัณฑ์ผา้ ตีนจกไท-ยวน ลับแล ครูโจ-จงจรูญ มะโนค�ำ พลังแห่งการสร้างสรรค์ความสวยงามบนผืนผ้า สร้างมูลค่าเพิ่ม สู่ซูเปอร์โอทอป ร้านทองจันทร์ ของนวลจันทร์ ทองจันทร์ ที่ สร้างสรรค์งานผ้าซิ่นของลับแลให้ดูเข้ากับยุคสมัย ชาวลับแลมีขนบธรรมเนียมประเพณี ทัง้ ชุมชนภาษาถิน่ แบบ ส�ำเนียงสุโขทัยโบราณ และชุมชนภาษาถิ่นล้านนา มีภาษาพูด ภาษาเขียน การแต่งกาย อาหารการกิน เป็นแบบล้านนา ลับแลได้ช่ือว่าเป็นดินแดนแห่งผลไม้ ที่มีฉายาว่า “ภูเขา กินได้” เป็นแหล่งปลูกผลไม้เลิศรส ทั้งลางสาด ลองกอง ทุเรียน พั น ธุ ์ ห ลงลั บ แล และหลิ น ลั บ แล และต้ อ งไม่ พ ลาดแวะไป “ถนนข้าวแคบ” อาหารพื้นเมืองของอ�ำเภอลับแลแห่งนี้ ข้าวแคบมีลกั ษณะคล้ายแผ่นโรตีสายไหม แต่บางกว่า แข็งกว่า และใสกว่า ทั้งสามารถรับประทานได้เลย หรือจะน�ำเอาแผ่น ข้าวแคบนั้นมาห่อกับผัดหมี่ เรียกว่าหมี่พันก็ได้ หลงลับแลจนไปแล้วไม่อยากกลับ
กิจกรรมเด่น : ชมพิพิธภัณฑ์เฮือนค�ำหยาด ของอาจารย์สมชาย ปงศรีชัย วิถี ชีวิตโรงตากหอมลับแล ชิมข้าวแคบบนถนนข้าวแคบ เดินเล่น ชมประติ ม ากรรมต� ำ นานแม่ ห ม้ า ย และซุ ้ ม ประตู เ มื อ งลั บ แล ปั่นจักรยานชมเมือง นั่งรถรางชมเมือง สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าซิ่นตีนจก ข้าวแคบ ทุเรียนพันธุ์หลงลับแล และหลินลับแล ที่ตั้งชุมชน : 859 ถนนเขาน�ำ้ ตก ต�ำบลศรีพนมมาศ อ�ำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ 53130 โทรศัพท์ 055-431-076 งานประชาสัมพันธ์เทศบาลตำ�บลศรีพนมมาศ - เมืองลับแล 43
19 บ้านแก่นมะกรูด อุทัยธานี
ท่องเทีย ่ วเชิงเกษตร สัมผัสความหนาว เคล้าสายหมอก บ้านแก่นมะกรูด ตั้งอยู่ในอ�ำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี อาจจะเรียกได้ว่า ตั้งอยู่ในเขตใต้สุดของภาคเหนือ และเหนือสุด ของภาคกลาง ที่นี่มีความหลากหลายของชาติพันธุ์ ทั้งไทย จีน มอญ ลาว แขก กะเหรี่ยง ละว้า ขมุ รอบๆ หมู่บ้านมีทัศนียภาพ งดงาม มีภูเขาน้อยใหญ่โอบล้อม หมู่บ้านตั้งอยู่บนความสูงจาก ระดับน�ำ้ ทะเลประมาณ 700 เมตร อากาศทีน่ เี่ ย็นสบายตลอดทัง้ ปี ชุมชนใหญ่คือ บ้านกะเหรี่ยงแก่นมะกรูด หรือศูนย์พัฒนา สังคมหน่วยที่ 73 จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ของหมู่บ้าน ชาวกะเหรี่ยงที่ตั้งอยู่กลางหุบเขา ใกล้กับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง ชาวกะเหรี่ยงในพื้นที่สามารถปลูกพืชและไม้ดอก เมืองหนาวได้ เช่น กะหล�่ำปลี สตรอว์เบอร์รี ราสป์เบอร์รี ซาโยเต้
กาแฟ ผักสลัด และผักพื้นบ้านมากมาย รสชาติอร่อยและเป็น พืชผักปลอดสารพิษเก็บกันสดๆ ใหม่ๆ ไม่ ต ้ อ งไปไกลถึ ง ต่ า งประเทศก็ ส ามารถชมแปลงปลู ก ดอกไม้เมืองหนาวหลากหลายชนิด เช่น ดอกลิลลี่ ดอกทิวลิป ดอกเบญจมาศ ต้นคริสต์มาส บานสะพรั่งสวยงาม สวนพฤกษศาสตร์ บ้านแก่นมะกรูดถือเป็นสถานที่ยอดนิยม ในช่วงฤดูหนาวที่นักท่องเที่ยวมักแวะมาเที่ยว อีกจุดหมายยอด นิยม ที่ได้สัมผัสอากาศหนาว เคล้าสายหมอก ชมดอกไม้ ชิมผลไม้ เมืองหนาว จนมีคนพูดว่า “อ�ำเภอบ้านไร่ บรรยากาศเชียงใหม่ ไม่ไกลกรุงเทพฯ” หลายคนให้นิยามบ้านแก่นมะกรูดเป็นดั่งเมืองสวรรค์ที่ สามารถหยิบหมอก หยอกดอกไม้ สัมผัสธรรมชาติได้เต็มเหนีย่ ว อุณหภูมิในช่วงหน้าหนาวอยู่ที่ 10 องศาเซลเซียสหรือต�่ำกว่านั้น ท�ำให้สดชื่น เย็นสบาย สูดลมหายใจให้เต็มปอด ชมดอกไม้เมือง หนาวบานสะพรั่งละลานตา ก่อนนั่งชิลดื่มกาแฟ สูตรเด็ดของที่นี่ คือ “แกนมากรูโด้” รสชาติกาแฟ ปนรสเปรี้ยวของมะกรูด แปลก ไม่เหมือนใคร สมดังชื่อแก่นมะกรูด หากต้องการพักผ่อนก็มที ง้ั รีสอร์ท และนอนกางเต็นท์ให้เลือก มากมาย แล้วลองแวะไปเดินชิลๆ ทีต่ ลาดซาวไฮ่ บ้านไฮ่ บ้านเฮา ตลาดนัดวันหยุด เป็นตลาดที่ชาวบ้านจะน�ำสินค้า อาหารปลอด สารพิษ และสินค้าที่ผลิตในชุมชนมาขายให้นักท่องเที่ยว นี่คือ ตัวอย่างของชุมชนที่น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง มาใช้ในเรื่องของชุมชนพึ่งตนเอง และการประสบความ ส�ำเร็จในด้านท่องเทีย่ วเชิงการเกษตร สัมผัสความเย็นสบายตลอดปี มีทิวทัศน์ที่สวยงาม
กิจกรรมเด่น : ท่องเที่ยวบ้านแก่นมะกรูด ชมวัฒนธรรมกะเหรี่ยง พืชและไม้ดอก เมืองหนาว พักโฮมสเตย์ แพคลองเสลา ชมอ่างเก็บน�ำ้ ห้วยแม่ดนี อ้ ย ชิมสตรอว์เบอร์รีสด สินค้าชุมชนเด่น : ดอกไม้เมืองหนาว พืชผักเมืองหนาว เช่น กะหล�ำ่ ปลี สตรอว์เบอร์รี ราสป์เบอร์รี ซาโยเต้ กาแฟ ผักสลัด ที่ตั้งชุมชน : บ้านแก่นมะกรูด ต�ำบลบ้านไร่ อ�ำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทยั ธานี 61140 โทรศัพท์ 088-994-5371 แก่นมะกรูด บ้านไร่ อุทยั ธานี แหล่งท่องเทีย่ ว
44
45
ชุมชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
20 ชุมชนเขาวง กาฬสินธุ์ ถิ่นภูไท ในสังคมแห่งวัฒนธรรม
เขาวง อ�ำเภอหนึง่ ของจังหวัดกาฬสินธุ์ พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ทำ� การ เกษตร ปลูกข้าวเหนียวและข้าวเจ้า ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวภูไท หรือผูไ้ ทย พูดภาษาภูไท มีอาชีพเกษตรกรรม ท�ำนา ท�ำไร่ เลีย้ งสัตว์ และหัตถกรรม ทอผ้า ท�ำเครื่องจักสาน และไม้กวาด ท่ามกลาง ธรรมชาติ ทุ่งนาข้าว และมีภูเขาล้อมรอบอย่างสวยงาม ชุ ม ชนเขาวงมี อั ต ลั ก ษณ์ แ ละเอกลั ก ษณ์ ที่ โ ดดเด่ น คื อ การแต่งกายด้วยชุดภูไท มีภาษาพูดเป็นภาษาภูไท และชุมชน มีเชื้อสายภูไท มีคำ� กล่าวว่า “เขาวงสวยมาก” เพราะความสวยงามของทีน่ ี่ ทีไ่ ม่มใี ครเหมือน และชาวผูไ้ ทยเขาวงเชิญชวนให้ไปสัมผัส “ธรรมะ ธรรมชาติ วัฒนธรรม ซับเพิ้งเมิงภูอ้อม” ของพวกเขา
ชาวบ้านอ�ำเภอเขาวง ส่วนใหญ่ท�ำการเกษตรกรรม ท�ำนา ข้าวเหนียว โดยมีโครงการพัฒนาลุ่มน�้ำล�ำพะยังตอนบนตาม พระราชด�ำริ อ่างเก็บน�้ำและอุโมงค์ส่งน�้ำลอดใต้ภูเขาสนับสนุน ชาวบ้านจึงมีน�้ำกิน น�้ำใช้ และน�้ำเพื่อท�ำการเกษตรเพียงพอ ดินในบริเวณนี้มีธาตุแคลเซียมและธาตุซิลิกอนสูง ผนวกกับ ภาวะภูมิอากาศที่เย็น แห้งแล้ง น�้ำน้อย เป็นผลให้ข้าวเหนียว เขาวงกาฬสินธุ์ เก็บเกี่ยวก่อนข้าวอื่น มีความนุ่มและหอมมาก ข้าวเหนียวเขาวงกาฬสินธุค์ อื ข้าวพันธุก์ อเดียว (ข้าวพันธุพ์ นื้ เมือง) และข้าวพันธุ์ กข 6 ด้วยวิถชี วี ติ แบบท้องถิน่ เมือ่ เสร็จสิน้ จากฤดูกาลเกีย่ วข้าวแล้ว ชาวบ้านก็ท�ำการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม มัดย้อมสีธรรมชาติ และ น�ำมาทอ เพือ่ ตัดเย็บนุง่ ใส่ในงานบุญ เสือ้ ผ้าของชาวภูไทนัน้ ประดับ ประดา ปักด้วยลวดลายสวยงาม และใช้เหรียญเงินโบราณเป็น กระดุม เมื่อไปเที่ยวชุมชนเราจะได้พบกับการฟ้อนร�ำจากชาวภูไท ที่ แต่งกายชุดภูไท ผ้าไหมแพรวาอันงดงาม ท่าร�ำอ่อนช้อยสวยงาม นอกจากนั้นยังมีพิธีบายศรีสู่ขวัญ หรือการรับขวัญแขกผู้ไทย ที่ใครมาเยือนถึงถิ่น ก็จะมีพิธีรับขวัญเพื่อความเป็นสิริมงคล สถานที่เที่ยวเช่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านกุดสิม อ่างเก็บน�้ำ ล�ำพะยังตอนบนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อุโมงค์ผันน�้ำ ล�ำพะยังภูมิพัฒน์ ถนนดิสโก้ วัดวังค�ำ วัดป่าพุทธบุตร เป็นต้น วัฒนธรรมบนพืน้ ฐานแห่งความสามัคคี กับสีสนั ประเพณีของ ชาวเขาวง
กิจกรรมเด่น : ชมวิ ถี ก ารท� ำ นา ท� ำ เกษตรกรรม เลี้ ย งสั ต ว์ ทอผ้ า จั ก สาน กระติ๊บข้าว สินค้าชุมชนเด่น : ข้าวเหนียวเขาวงกาฬสินธุ์ กระติ๊บข้าวจักสาน ชุดผู้ไทย ผ้าทอมือ ผ้าห่มทอมือ ที่ตั้งชุมชน : เทศบาลต�ำบลกุดสิม เลขที่ 999 หมู่ 14 ต�ำบลคุม้ เก่า อ�ำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ 46160 โทรศัพท์ 043-859-087 Website https://kudsim.go.th
48
49
21 บ้านโพน กาฬสินธุ์
หัตถศิลป์แพรวา ราชินีผ้าไหมไทย
เมื่อปี พ.ศ. 2520 ชาวบ้านห่มผ้าสไบเฉียงสีแดงลายสวยงาม มารอรับเสด็จฯ ผ้าที่สวยงามเหล่านั้นท�ำมาจาก “ผ้าไหมแพรวา” ซึง่ ชาวบ้านโพน ใช้เป็นผ้าสไบเฉียง หรือผ้าเบีย่ งกันมานานแล้ว นับ ว่าผ้าไหมแพรวาได้เปิดตัวออกสูส่ ายตาผูค้ นในวงกว้าง และพัฒนา กลายเป็นหนึ่งในผ้าทออีสานที่สวยงาม ภายใต้สมญานาม “ราชินี แห่งผ้าไหมไทย” ชุมชนบ้านโพน เป็นชาวผูไ้ ทยทีส่ บื เชือ้ สายมาจากบรรพบุรษุ ฝัง่ ประเทศลาวโดยตรงคือ ประมาณปี พ.ศ.2400 มีชาวบ้าน 3 กลุม่ อพยพเข้ามาคือ กลุ่มพ่อเฒ่าพรมบุตร กลุ่มตาโต และกลุ่มเฒ่าขุน ต่อมาเมือ่ จ�ำนวนคนเพิม่ ขึน้ จึงย้ายไปตัง้ หมูบ่ า้ นใหม่ให้ชอื่ ว่า “บ้าน โพนไทย” ซึ่งเพี้ยนมาเป็น “บ้านโพน” ทุกวันนี้ ชาวบ้านโพนท�ำอาชีพเกษตรกรรมควบคู่กับทอผ้าไหม แพรวา ผู้คนยังยึดถือฮีตสิบสองคองสิบสี่ หรือประเพณีท้อง ถิ่นประจ�ำปีของอีสาน อย่างเหนียวแน่น เช่น บุญผะเหวด บุญ บัง้ ไฟ บุญออกพรรษา บุญกฐินฯลฯ และยังด�ำรงรักษาเอกลักษณ์ ทางวัฒนธรรมประเพณีของบรรพบุรุษผู้ไทยไว้ โดยเฉพาะด้าน หัตถศิลป์ผ้าแพรวา ที่ยังคงใช้กันอยู่ในชีวิตประจ�ำวัน ผ้าไหมแพรวาของที่นี่ เป็นผ้าผืนที่มีความยาว 1 วา หรือ 1 ช่วงแขนของผูท้ อ ดัง้ เดิมเป็นเพียงผ้าหน้าแคบทีใ่ ช้คลุมไหล่หรือห่ม สไบเฉียง ไปงานบุญประเพณีหรืองานส�ำคัญๆ หญิงสาวชาวผู้ไทย มีธรรมเนียมปฏิบัติส�ำคัญคือ จะต้องตัดเย็บผ้าทอ 3 อย่างให้ได้ ทั้งเสื้อด�ำ ต�ำแพร (การทอผ้าแพรวา) และซิ่นไหม หญิงชาวผู้ไทย บ้านโพนจะใส่เสื้อสีด�ำเป็นหลัก ท่อนล่างนุ่งซิ่นขิดหรือจกไหม ต่างจากชาวผู้ไทยบางเผ่าบางจังหวัดที่นุ่งชุดสีน�้ำเงินคราม และ ห่มผ้าเบี่ยงสีขาวหรือแดง การเยี่ ย มเยื อ นชุ ม ชนบ้ า นโพน เป็ น การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรมที่เราจะได้เรียนรู้ขั้นตอนการท�ำ “ผ้าไหมแพรวา” อย่างละเอียด ตั้งแต่การปลูกต้นหม่อน เลี้ยงหนอนไหม สาวไหม กรอเส้นไหม ตลอดจนการทอเป็นผืนด้วยกี่แบบโบราณ ผ้าไหม แพรวาบ้านโพนมีลวดลายคล้ายผ้าขิดอีสาน แต่ต่างกันที่ความ
50
หลากหลายของสีในแต่ละลาย โดยลายส่วนใหญ่เป็นสี่เหลี่ยม ขนมเปียกปูน นิยมใช้พื้นสีแดงคล�้ำย้อมด้วยครั่ง มีลายจกสีเหลือง สี น�้ ำ เงิ น สี ข าว และสี เ ขี ย วเข้ ม กระจายทั่ ว ผื น ทั้ ง นี้ ล ายบน ผ้าแพรวาแบ่งเป็น 3 ลักษณะคือ ลายหลัก ลายคั่น และลายเชิงผ้า ลายหลักที่นิยม เช่น ลายนาค สี่แขน ลายพันธุ์มหา ลายดอกสา ฯลฯ ลายคั่นที่ใช้มาก เช่น ลายตาไก่ ลายงูลอย ลายขาเข ฯลฯ และลายเชิงผ้าที่พบบ่อย เช่น ลายช่อขันหมาก ลายดอกบัวน้อย ลายใบบุ่นน้อย ฯลฯ ถ้าการท่องเที่ยวคือ การเรียนรู้คู่ความสนุก การได้ไปเยือน ชุมชนบ้านโพนก็ถือว่าครบถ้วนสมบูรณ์ เพราะเราจะได้ชม ช้อป และทดลองทอผ้าแพรวา ราชินีผ้าไหมไทย ที่สะท้อนเอกลักษณ์ ผู้ไทยได้อย่างเด่นชัด
กิจกรรมเด่น : ชมขั้นตอนการทอผ้าไหมแพรวา ชมกลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหม บ้านโพน สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าไหมแพรวา เช่น ผ้าคลุมไหล่ ผ้าผืนส�ำหรับตัดชุด ซิ่น ฯลฯ ที่ตั้งชุมชน : เลขที่ 173 หมู่ 5 ต�ำบลโพน อ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ 46180 โทรศัพท์ 083-338-395 กลุ่มอาชีพสตรีทอผ้าไหมแพรวาบ้านโพน
51
22 บ้านหัวฝาย ขอนแก่น
อัตลักษณ์ไหมมัดหมี่ หนุนไทยนครมัดหมี่โลก กิจกรรมเด่น : การทอผ้าไหม ปลูกหม่อน เลี้ยงไหมครบวงจร การทอผ้าไหมมัดหมี่ ลวดลายต่างๆ สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าไหมมัดหมี่ลวดลายต่างๆ ที่เป็นผลิตภัณฑ์คุณภาพสูง ได้รับการยอมรับทั้งในและต่างประเทศ ที่ตั้งชุมชน : เลขที่ 46 หมู่ที่ 3 ตําบลปอแดง อําเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น 40180 โทรศัพท์ 083-656-5644 วิสาหกิจชุมชนผ้าไหมมัดหมี่บ้านหัวฝาย จังหวัดขอนแก่น
จากเดิมที่บ้านหัวฝาย ในอ�ำเภอชนบท เกษตรกรมีอาชีพทํา การเกษตรหลากหลาย เช่น ทาํ นา ทาํ ไร่ ปลูกหม่อน เลีย้ งไหมและ การทอผ้า มีรายได้น้อย และเจอวิกฤติภัยแล้ง เกษตรกรบางส่วน อพยพแรงงานย้ายออกจากบ้านเพื่อไปทํางานที่อื่น ต่อมาได้มีการรวมตัวกัน และจัดตั้งกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ในปี พ.ศ. 2527 เพื่อผลิตเส้นไหมดิบ และทอผ้าไหมเป็นผืน รวมทั้งยังได้เข้าเป็นสมาชิกศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ จนท� ำ ให้ เ กิ ด เป็ น วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนผ้ า ไหมมั ด หมี่ บ ้ า นหั ว ฝาย ทีด่ าํ เนินกิจกรรมกลุม่ เกีย่ วกับการทอผ้าไหม ปลูกหม่อน เลีย้ งไหม ครบวงจร กิจกรรมปลูกผักปลอดภัย และกิจกรรมแบบผสมผสาน ตามแนวพระราชดําริ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชุ ม ชนสามารถเพิ่ ม มู ล ค่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ ดยการทอผ้ า ไหม มัดหมี่ลวดลายต่างๆ ด้วยความประณีตวิจิตรบรรจง มีชื่อเสียง เป็ น ที่ ย อมรั บ โดยเฉพาะลายแคนแก่ น คู น ที่ เ ป็ น ลายผ้ า ไหม ประจาํ จังหวัดขอนแก่น อีกทัง้ มีลายผ้าไหมมัดหมีท่ เี่ ป็นเอกลักษณ์ ของบ้านหัวฝายชื่อ ลายหมี่น�้ำฟองเครือ นี่จึงเป็นมนต์เสน่ห์ อัตลักษณ์ชุมชนถักทอ "ผ้าไหมแต้มหมี่" ด้วยหัวใจ เสริมสร้าง เศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคง ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมของที่นี่มีรางวัลผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว เป็ น เครื่ อ งการั น ตี คุ ณ ภาพ จนท� ำ ให้ สิ น ค้ า ผ้ า ไหมทุ ก ชนิ ด ของบ้านหัวฝาย ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางทั้งในและ ต่างประเทศ 52
ชุมชนยังได้รับประกาศนียบัตรผู้มีส่วนร่วม และสถานที่ ประเมิ น การรั บ รองจั ง หวั ด ขอนแก่ น ให้ เ ป็ น นครแห่ ง ผ้ามัดหมี่โลก หรือ World Craft City for Ikat (Mudmee) จาก World Craft Council AISBL 2561 และรางวัลต่างๆ มากมาย มีการสร้างเครือข่ายกับกลุม่ ผูป้ ลูกหม่อนเลีย้ งไหมใน ชุมชนไหม มีการสืบทอดภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้านจากรุน่ สูร่ นุ่ ทายาท เกษตรกร มีหอ้ งจัดแสดงและจําหน่ายผ้าไหม ผลิตแหล่งอาหาร โปรตีนสูงจากหนอนไหม (ดักแด้) ส่งเสริมการปลูกหม่อน และแปรรูปน�้ำสมุนไพรมัลเบอร์รี่ ส่งเสริมการทําสารชีวภัณฑ์ ที่ใช้ในผัก นาข้าว พืชไร่ พืชสวน และอื่นๆ บ้านหัวฝายคือ ชุมชนท่องเทีย่ ว OTOP นวัตวิถี ทีค่ ณ ุ จะ หลงรัก และอยากกลับไปเที่ยวซ�้ำอีกหลายครั้ง
53
23 ชุมชนหนองบัวแดง ชัยภูมิ จากศาสตร์พระราชา สู่คุณค่าบนผ้าทอมือ ชัยภูมิ เป็นถิ่นที่ลือเลื่องเฟื่องฟูด้วยศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะผ้าทอพื้นบ้าน สืบสานงานศิลป์ อีสานให้คงอยู่ ชุมชนหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ เป็นชุมชนเกษตรกรรมดั้งเดิมที่มีชีวิตเรียบง่าย และ มีอัธยาศัยไมตรีต้อนรับผู้มาเยือน ปลูกข้าวได้ผลผลิตล้นเหลือ ทว่าเมื่อหมดฤดูท�ำนา ชาวบ้านก็ พากันเข้าเมืองไปหางานท�ำ กระทั่งเกิดแนวคิดฟื้นฟูงานทอผ้าในหมู่บ้านตามภูมิปัญญาบรรพบุรุษ
54
ชาวบ้านจึงมีเวลาอยูก่ บั ครอบครัว และสร้างสรรค์ผา้ ผืนได้สวยงาม เกิดเป็นอาชีพที่ยั่งยืนในที่สุด กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าฝ้ายสีธรรมชาติหนองบัวแดง ได้ถือก�ำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 ขยายตัวจากท�ำกันไม่กี่คน กระทัง่ มีสมาชิก 3 ต�ำบล 8 หมูบ่ า้ น โดยมีการแบ่งงานกันท�ำตาม ความถนัด เช่น ด้านเส้นใยและปลูกหม่อนเลีย้ งไหม อยูท่ หี่ มูบ่ า้ น นาทุ่งใหญ่ เพราะพื้นที่อยู่เชิงเขาจึงปลูกหม่อนเลี้ยงไหมได้ดี ส่วนกลุ่มถนัดทอผ้า อยู่ที่หมู่บ้านกุดชุมแสง และกลุ่มปลูก ฝ้าย อยู่ที่บ้านลาดใต้ เมื่อชาวบ้านแต่ละคนท�ำงานตามความถนัด ด้วยความรัก จึงเกิดความสุขในทุกวันที่ท�ำงาน ผ้ า ทอหนองบั ว แดง มี ลั ก ษณะเด่ น เป็ น ผ้ า ฝ้ า ยย้ อ มสี ธรรมชาติ มีการน�ำผ้าที่ย้อมสีแล้ว ไปหมักโคลนท้องนาเพื่อให้สี ติดคงทนขึ้น และในบางกรณีให้เกิดการเปลี่ยนสีเฉดใหม่ อันเป็น เสน่ห์ของผ้าย้อมสีธรรมชาติ ที่สีจะมีความต่างกันทุกครั้งที่ย้อม ได้เฉดสีหลากหลาย น�ำมาทอเป็นผ้าผืน ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ ผ้าซิ่น และชุดผ้าฝ้ายที่มีดีไซน์น่าสวมใส่ ทว่าลายผ้าทอที่เป็น เอกลักษณ์ดั้งเดิมของชุมชนก็ยังคงอยู่คือ “ลายไข่มดแดง” ชุมชนยังท�ำหน้าทีเ่ ป็นศูนย์เรียนรูแ้ นวคิด “โรงเรียนสิง่ ทอ” มี กิจกรรมชักชวนให้คนรุน่ ใหม่เข้ามาสัมผัส ทัง้ กิจกรรม DIY ทดลอง ท�ำด้วยตัวเอง หรือเรียนรู้ในแปลงพืชให้สี เช่น ต้นกระบกให้สีกากี ต้นเพกาให้สเี ขียว ต้นเขให้สเี หลือง เป็นต้น ทัง้ หมดนีผ้ สมผสานกับ ศาสตร์พระราชา มีการปลูกนาข้าวอินทรีย์แท้ร้อยเปอร์เซ็นต์ กิจกรรมสนุกๆ ในชุมชนหนองบัวแดงยังมีอีกมากมาย อาทิ “ฤดูฝน” จะได้เที่ยวแปลงนา ปลูกผัก ออกไปเก็บเห็ด เก็บหน่อไม้ ชมสวนมะไฟกับชาวบ้าน “ฤดูหนาว” สัมผัสประเพณีฮีตสิบสอง คองสิบสีแ่ บบอีสาน ร่วมงานประเพณีแห่ตน้ กระธูป ส่วน “ฤดูรอ้ น” ก็มกี จิ กรรมท่องธรรมชาติ เดินป่าดูสมุนไพร เทีย่ วล�ำธาร และดูนก นอกจากนี้ยังเที่ยวต่อเนื่องไปที่วัดป่าสุขะโต ส�ำนักปฏิบัติธรรม ชื่อดังของชัยภูมิได้อีกด้วย “ให้คนท�ำงานที่เขารักจะได้เกิดความสุข เมื่อมีความสุข ในทุกวันของชีวิต ความสุขนั้นจึงส่งผ่านผืนผ้า ไปยังผู้สวมใส่” นี่คือ ปรัชญาลุ่มลึกของชาวหนองบัวแดง ที่น่าชื่นชมอย่างแท้จริง
กิจกรรมเด่น : ชมการทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ ดูนาข้าวอินทรีย์ เดินป่าศึกษา ธรรมชาติ และพืชสมุนไพร สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ ผ้าลายไข่มดแดง ข้าวหอมนิล ข้าวหอม มะลิอินทรีย์แท้ ที่ตั้งชุมชน : เลขที่ 999 หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลหนองบัวแดง อ�ำเภอหนองบัวแดง จังหวัด ชัยภูมิ 36210 โทรศัพท์ 044-872-140 Website https://www.nbd.go.th
55
24 บ้านนาหว้า นครพนม
ตระการตาผ้าไหมมุก กลุ่มทอผ้าแรกของศิลปาชีพ
นครพนม เป็นจังหวัดอีสานตอนบน วางตัวอยู่อย่างสงบงาม ริมล�ำน�้ำโขง เป็นจังหวัดที่มีพระธาตุประจ�ำวันเกิดครบ 7 วัน และ ยังมีกลุม่ ทอผ้าพืน้ เมืองทีส่ วยงามวิจติ ร ตัง้ อยูท่ วี่ ดั พระธาตุประสิทธิ์ ให้เราไปเที่ยวชมและสักการะพร้อมๆ กัน ชุมชนนาหว้า อ�ำเภอนาหว้า คือ หมูบ่ า้ นทอผ้าไหมทีม่ ชี อื่ เสียง เคยได้รบั รางวัลผลิตภัณฑ์ระดับ 5 ดาว ทัง้ ผ้าไหมยกมุก ผ้าฝ้ายยกมุก และผ้าย้อมคราม ล้วนประณีตงดงามถึงขนาดได้รับมาตรฐาน “ตรานกยูงพระราชทาน” ย�้ำเตือนความพิเศษของแพรพรรณ ที่มีเรื่องราวน่าสนใจ ย้อนไปได้ถึงเหตุการณ์เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2515 ทีส่ มเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9
56
เสด็จทอดผ้าพระกฐินต้น ณ วัดพระธาตุประสิทธิ์ อ�ำเภอนาหว้า มีราษฎร 6 คน น�ำผ้าไหมลายมัดหมีต่ าสับปะรด ซึง่ เป็นลายพืน้ บ้าน โบราณของจังหวัดนครพนม ขึ้นถวาย ทรงสนพระทัยในผ้าชนิดนี้ เป็นอย่างยิ่ง กระทั่งปี พ.ศ. 2520 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กลุ่มทอผ้าไหมบ้านนาหว้าเป็นสมาชิกมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ พิเศษในพระองค์ และตั้งชื่อกลุ่มว่า “กลุ่มทอผ้าไหมกลุ่มแรก ของมู ล นิ ธิ ส ่ ง เสริ ม ศิ ล ปาชี พ ในสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ 15 พฤศจิกายน 2515” สร้างความภูมิใจ ให้ชาวบ้านอย่างล้นเหลือ
กลุ่มทอผ้าไหมนาหว้า ตั้งอยู่ในบริเวณวัดพระธาตุประสิทธิ์ ทีม่ บี รรยากาศสงบร่มรืน่ ด้านหนึง่ เป็นศูนย์เรียนรูว้ ถิ เี กษตรพอเพียง อีกด้านเป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับหม่อนไหม เกษตรกรปราดเปรื่อง Smart Farmer และหัวใจส�ำคัญคือ โรงทอผ้าเป็นอาคารสองชั้น อย่างดี มีป้ายติดด้านหน้าประกาศความภูมิใจ “กลุ่มทอผ้าไหม กลุม่ แรกของมูลนิธสิ ง่ เสริมศิลปาชีพ” ชัน้ ล่างเป็นโรงทอทีม่ กี ที่ อผ้า จ�ำนวนมาก ผลิตผืนผ้าออกจ�ำหน่าย ส่วนชัน้ บนจัดเป็นนิทรรศการ ผ้าไหมครบวงจร ได้ความรู้ดูเพลินดี ผ้าทอโดดเด่นทีส่ ดุ ของชุมชนนาหว้าคือ “ผ้าไหมมุก” ซึง่ เป็น ลายผ้าโบราณของจังหวัดนครพนม ลักษณะลายขวางรอบตัว ปกติ ลายดอกสีขาว ตัวลายจะขึ้นอยู่กับจินตนาการของผู้ทอ มีดอกเล็ก ดอกใหญ่ คล้ายมุกที่เป็นเครื่องประดับ จึงเรียกว่า “ผ้าไหมมุก” แต่บางลายก็เป็นสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายหน้ามุขโบสถ์ ลายดอก เล็กๆ เรียกว่า “มุกสาม” ลายดอกใหญ่ขึ้น เรียกว่า “มุกสี่ มุกห้า มุกหก” เป็นต้น ทั้งนี้ลายมุกที่ว่า เกิดจากการใช้ด้ายสีขาวยกดอก ในระหว่างทอ จึงดูคล้ายมีมกุ ฝังอยูอ่ ย่างสวยงาม ผ้าไหมมุกนีถ้ อื เป็น ของสูง นิยมใช้เฉพาะในโอกาสส�ำคัญทางศาสนา และงานรัฐพิธี จังหวัดนครพนม จึงประกาศให้ผ้าไหมมุกเป็น “ผ้าประจ�ำจังหวัด นครพนม”
การเยี่ยมเยือนชุมชนนาหว้า จะสมบูรณ์ไปมิได้เลย หากเรา ไม่ได้ไปกราบนมัสการ “พระธาตุประสิทธิ์” องค์พระธาตุประจ�ำ คนเกิดวันพฤหัสบดี ที่อยู่ใกล้ๆ ศูนย์ทอผ้านั่นเอง สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2500 เลียนแบบองค์พระธาตุพนม ภายในบรรจุพระบรม สารีรกิ ธาตุ พระอรหันตธาตุ 14 พระองค์ และดินจากสังเวชนียสถาน 4 ต�ำบล ไว้ให้สักการะเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต
กิจกรรมเด่น : สักการะพระธาตุประสิทธิ์ ชมศูนย์ทอผ้าไหมนาหว้า ศึกษาวิถี เกษตรพอเพียง สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าไหมมุก ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผ้าย้อมคราม ที่ตั้งชุมชน : หมู่ 4 ต�ำบลนาหว้า อ�ำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม โทรศัพท์ 080-051-8024 ศูนย์หัตถกรรมวัดธาตุประสิทธิ์
57
25 บ้านบุไทร นครราชสีมา เที่ยวเชิงเกษตร เขตที่สุดแห่งโอโซน
กิจกรรมเด่น : เรียนรู้วิถีเกษตรพอเพียง ชมโรงเพาะเห็ด ปลูกป่า พักโฮมสเตย์ สินค้าชุมชนเด่น : แหนมเห็ดสามอย่าง เห็ดสดชนิดต่างๆ พืชผักผลไม้ตามฤดูกาล ที่ตั้งชุมชน : เลขที่ 166 หมู่ 4 บ้านบุไทร ต�ำบลไทยสามัคคี อ�ำเภอวังน�้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา 30370 โทรศัพท์ 081-068-6887 คงจะดีไม่น้อย ถ้าเราได้เดินทางไปที่ไหนสักแห่ง พร้อมได้ ดืม่ ด�ำ่ กับธรรมชาติ สูดอากาศบริสทุ ธิ์ รับประทานอาหารสุขภาพ และเรียนรูว้ ถิ ชี มุ ชนท้องถิน่ ไปด้วย ณ บ้านบุไทร อ�ำเภอวังน�ำ้ เขียว เป็นหมู่บ้านที่อยู่ประชิดติดป่ามรดกโลกเขาใหญ่ และเคยมีการ ส�ำรวจพบว่ามีโอโซนมากทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของโลก ไปเทีย่ วบ้านบุไทร จึงอายุยืนขึ้นอีกหลายปี เพราะมีธรรมชาติช่วยเยียวยากายใจ บ้านบุไทร ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณชายขอบป่าเขาใหญ่มา ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2500 จากอาชีพเดิมคือ ท�ำนาท�ำไร่ปลูก พืชชนิดเดียวซ�้ำๆ ได้หันมาสู่การเกษตรวิถีใหม่แบบพอเพียง เลิ ก ใช้ ส ารเคมี ก� ำ จั ด ศั ต รู พื ช และปุ ๋ ย เคมี หั น มาปลู ก พื ช ผั ก ออร์แกนิคกันมากขึ้น รวมถึงส่งเสริมการเพาะเห็ดชนิดต่างๆ อันเป็นจุดเริ่มต้นของการท่องเที่ยวเรียนรู้วิถีเกษตรบ้านบุไทร ที่มีกิจกรรมสนุกๆ มากมาย และโฮมสเตย์มาตรฐานเปิด บริการ หมู่บ้านตั้งอยู่ในอ้อมกอดของสีเขียว เรือกสวน ไร่นา แบบผสมผสานปลูกพืชหลายชนิด เห็นทิวเขาสีเขียว ทอดยาว เป็นปราการธรรมชาติ ช่วยให้อากาศชุ่มชื้น โปร่งโล่งสบาย สูดเข้าปอดแล้วสดชื่น วิถชี วี ติ ทีส่ งบร่มเย็นของคนบ้านบุไทรช่างน่าอิจฉา ยามเช้า มีพระเดินบิณฑบาตในหมูบ่ า้ น กลางวันก็ไปท�ำไร่ ท�ำนา เข้าสวน ตกเย็นกลับมาอยู่กันพร้อมหน้าในครอบครัว อาหารการกินก็หา ได้ง่าย จากธรรมชาติรอบตัว โดยเฉพาะพืชผักต่างๆ และเห็ด นานาชนิดที่มีโรงปลูกอยู่ ทั้งเห็ดนางฟ้า เห็ดเข็มทอง เห็ดหูหนู ฯลฯ นักท่องเที่ยวที่มาเยือนสามารถเข้าชมและชิมได้ในเมนู หลากหลาย โดยเฉพาะเมนู “เห็ด 3 อย่าง” ตามหลักโภชนาการ ถือว่ามีประโยชน์มาก ช่วยบ�ำรุงร่างกายให้แข็งแรง เมนูเด็ด
58
บ้านบุไทร เช่น เห็ดผัดน�้ำมันหอย เห็ดย่าง ย�ำเห็ด ต้มย�ำเห็ด ซุปเห็ด ฯลฯ การท่องเที่ยวในหมู่บ้านบุไทรดูเผินๆ แล้วเรียบง่าย ทว่ามี การจัดการอย่างดี โดยน�ำวิถชี วี ติ และเอกลักษณ์ของชุมชนมาให้ เราสัมผัส แรกมาถึงหมูบ่ า้ นจะมีการจัดพิธบี ายศรีสขู่ วัญ ต้อนรับ กันอย่างอบอุน่ ด้วยรอยยิม้ ดุจลูกหลาน มีการแสดงดนตรีพนื้ บ้าน ร�ำวงร่วมกัน จากนั้นก็ไปชมฐานเรียนรู้ต่างๆ ทั้งฐานเห็ด ฐาน พืชสมุนไพร ฐานเกษตรพอเพียง และฐานแปรรูปสินค้า เป็นต้น เสร็จแล้วก็ต่อด้วยการนั่งรถอีแต๋นเปิดประทุนโล่ง รับอากาศ บริสุทธิ์ ผ่านเนินเขาและทุ่งหญ้าใกล้หมู่บ้าน ไปยังแปลงปลูก ป่าที่ชาวบ้านเตรียมกล้าไม้ชนิดต่างๆ ไว้ให้แล้ว ร่วมแรงร่วมใจ ปลูกต้นไม้ คืนความอุดมให้ธรรมชาติ ถ้าใครมีเวลาเหลือก็สามารถไปชมแหล่งท่องเทีย่ วใกล้เคียง ได้ ไม่ว่าจะเป็นอุทยานแห่งชาติทับลาน และอุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่ สัมผัสผืนป่ามรดกโลกที่เอื้อให้ชุมชนด�ำรงชีวิตได้อย่าง มีความสุข
บุไทรโฮมสเตย์
59
26 บ้านโคกเมือง บุรีรัมย์
เทีย ่ วถิน ่ ภูเขาไฟ ไปหลงเสน่หเ์ มืองเซราะกราว เมื่อพูดถึงที่สุดแห่งดินแดนภูเขาไฟ ของอีสานใต้ นั่นคือ จังหวัดบุรีรัมย์ เพราะ มีภเู ขาไฟทีด่ บั สนิทแล้วอยูถ่ งึ 6 ลูก ดินจาก ภูเขาไฟที่อุดมด้วยแร่ธาตุ เอื้อให้ปลูกพืช ผลได้งาม รสชาติดี มาเที่ยวบุรีรัมย์ทั้งที จึ ง ต้ อ งตามหาแหล่ ง สิ น ค้ า ที่ เ ชื่ อ มโยง ผู้คนงานฝีมือ และคุณค่าของดินภูเขาไฟ เข้าด้วยกัน บ้านโคกเมืองนับเป็นความลงตัว ของทุกอย่างดังที่กล่าวมา เพราะเป็น ชุ ม ชนเก่ า แก่ ที่ อ าศั ย อยู ่ ใ กล้ ป ราสาท เมืองต�่ำ แหล่งอารยธรรมขอมบาปวน อายุกว่า 1,400 ปี ผู้ที่ได้ไปสัมผัสบ้านโคกเมือง กล่าว ตรงกันว่า อัธยาศัยไมตรีของชาวบ้านคือ เสน่ห์มัดใจได้อย่างไม่ต้องสงสัย บวกกับ วั ฒ นธรรมประเพณี แ ละภาษาถิ่ น อั น มี เอกลักษณ์ ก็ยิ่งเพิ่มเสน่ห์ขึ้นอีกหลายเท่า ชุมชนท่องเที่ยวบ้านโคกเมือง จึงเคยได้ รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 80 หมูบ่ า้ น OVC (OTOP Village Champion) ประเภท หมู่บ้านเชิงวัฒนธรรมเมื่อปี พ.ศ. 2549 ด้วยเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวที่ครบเครื่อง ควบคู่กับศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น อาชี พ หลั ก ของคนบ้ า นโคกเมื อ ง มีทั้งเกษตรกรรมท�ำนา ท�ำไร่ ควบคู่กับ การค้าขาย และท�ำงานหัตถกรรมต่างๆ
การเข้าไปท่องเที่ยวก็แสนง่ายดาย จะเดิน ปั่นจักรยาน หรือขับรถ เที่ยวชมก็ได้ มีศูนย์ข้อมูล และร้านค้าชุมชนไว้เป็นจุดบริการ เบื้องต้น พร้อมด้วยฐานกิจกรรมกระจายอยู่ในหมู่บ้าน ฐานแรกคือ “ข้าวภูเขาไฟ” หรือข้าวที่ปลูกจากดินภูเขาไฟ นัน่ เอง เป็นสินค้าขึน้ ชือ่ ทีส่ ดุ ของชุมชน เพราะปลูกแบบออร์แกนิค ปลอดภั ย ต่ อ ทั้ ง ชาวนาและผู ้ บ ริ โ ภค ปั จ จุ บั น ข้ า วหอมมะลิ ดินภูเขาไฟของบุรีรัมย์ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นพืชบ่งชี้ทาง ภูมิศาสตร์ (GI) เรียบร้อย ผลการวิจัยระบุว่าเป็นข้าวที่มีประโยชน์ เพราะมีสารแคลเซียม และฟอสฟอรัสสูงกว่าปกติ ฐานต่อมาคือ “การทอผ้าไหม” เอกลักษณ์เฉพาะของบ้าน โคกเมืองคือ ซิ่นตีนแดง ทอด้วยลายผักกูด ที่ได้รับแรงบันดาลใจ จากลายสลักบนประตูปราสาทเมืองต�่ำที่อยู่ใกล้ๆ เราจะได้เห็น ขั้นตอนอย่างละเอียด ตั้งแต่การเลี้ยงไหม การน�ำรังไหมมาผ่าน กระบวนการต่างๆ จนได้เส้นไหม แล้วน�ำมาทอบนกี่มือของชุมชน “ฐานการทอเสื่อกก” ที่น�ำต้นกกซึ่งขึ้นอยู่มากในที่ลุ่มมา ตากแดด ย้อมสี ทอเป็นเสื่อ หรือถักเป็นกระเป๋าใบเล็ก ใบใหญ่ เก๋ไก๋น่าใช้ จากนั้นไปต่อกันที่ “ฐานการเรียนรู้พืชสมุนไพร” ที่ ชาวบ้านน�ำพืชพรรณรอบตัวมาแปรรูปสร้างมูลค่าได้มากมาย มีทั้งสบู่ ยาสระผม ครีมอาบน�้ำ ครีมล้างหน้า ลูกประคบ ยาหม่อง ฯลฯ ล้วนดีต่อสุขภาพ สุดท้ายต้องไม่พลาด “ฐานการท�ำอาหารพื้นบ้าน” ร่วมกัน ทดลองท�ำกุ้งจ่อม แจ่วบอง และข้าวจี่ โดยเฉพาะกุ้งจ่อมนั้นเป็น สินค้าโอทอปชื่อดังของอ�ำเภอประโคนชัย ท�ำจากกุ้งฝอยหมัก น�ำ้ ปลา และข้าวคัว่ ไว้ 3 วัน ก็รบั ประทานได้ เป็นการถนอมอาหาร แบบคนอีสานขนานแท้ เทีย่ วอีสานครัง้ ต่อไป อย่าลืมนึกถึงบ้านโคกเมืองแห่งบุรรี มั ย์ เมืองเซราะกราวอีสานใต้ ที่เปี่ยมเสน่ห์จนต้องเลี้ยวรถเข้าไป ทักทาย และซึมซับวิถีที่น่ารักเหลือเกิน กิจกรรมเด่น : ปั่นจักรยานชมชุมชน ดูการทอผ้าไหม ทอเสื่อกก เรียนรู้การปลูก ข้าวภูเขาไฟ ดูฐานพืชสมุนไพร สินค้าชุมชนเด่น : ข้าวภูเขาไฟ ผ้าไหมซิ่นตีนแดง กุ้งจ่อม แชมพูสมุนไพร เสื่อกก กระเป๋ากก ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านโคกเมือง ต�ำบลจรเข้มาก อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัด บุรีรัมย์ 31140 โทรศัพท์ 096-796-6127 ชุมชนบ้านโคกเมือง
60
61
น�ำขึ้นรถอีแต๋นแล่นไปอย่างเนิบช้า ให้นักท่องเที่ยวได้ชื่นชมวิถี ชาวบ้าน มีฐานการผลิตผ้าไหมครบทุกขั้นตอน จัดไว้ในแต่ละบ้าน ให้เราแวะลงไปเรียนรู้ ตั้งแต่การปลูกต้นหม่อน เลี้ยงหนอนไหม สาวไหม การฟอก ย้อมสี วิธีการมัดหมี่ การทอด้วยกี่แบบโบราณ จนถึงการแปรรูป และสร้างสรรค์ลวดลายบนผืนผ้าไหม
วัฒนธรรมการทอผ้าไหม การใช้ผ้าไหมถือเป็นเอกลักษณ์ หนึ่งของภาคอีสาน โดยผ้าไหมของอีสานเหนือ จะมีความหนา กว่าอีสานใต้ ถิ่นอีสานใต้แถบจังหวัดบุรีรัมย์ และสุรินทร์ อากาศร้อนกว่า ผ้าไหมจึงบางพลิ้วไหว ใส่นุ่มสบาย ระบายอากาศดี ความพิเศษ ของผ้าไหมบ้านหนองตาไก้คือ “ผ้าไหมเปลือกนอก” ที่นับวันจะ หายากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากท�ำได้ยากกว่าปกตินั่นเอง ค�ำว่า “ไหมเปลือกนอก” (หรือไหมเปลือก ไหมลืบ) คือ เส้นไหมที่สาวได้จากรังไหมชั้นนอกเท่านั้น โดยสาวเอาเส้นไหม เพียง 20 เปอร์เซ็นต์ของรังทั้งหมด เมื่อน�ำไปทอเป็นผืนผ้าจะนุ่ม มีความยืดหยุ่นดี ใส่สบาย ยิ่งถ้าย้อมสีธรรมชาติด้วย สีก็จะยิ่ง
27 บ้านหนองตาไก้ บุรีรัมย์
ไหมเปลือกนอกแพรพรรณ อัศจรรย์ผา้ ไทย เมื่อเอ่ยถึงชื่อ “อ�ำเภอนางรอง” จังหวัดบุรีรัมย์ หลายคนอาจนึกถึงขาหมูเจ้าดัง ที่ขับรถผ่านไปครั้งใด ก็ต้องแวะชิม แต่ใครเลยจะรู้บ้างว่านางรองยังเป็นถิ่นผ้าไหมงามแห่งแดนอีสานใต้ด้วย ภูมิปัญญาการทอผ้า ไหมที่ส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่นยังคงอยู่ และปรากฏชัดในชุมชนผ้าไหมน่าไปเยือน บ้านหนองตาไก้ คือ หนึ่งในชุมชนผ้าไหมงามของบุรีรัมย์ ซึ่งตั้งรกรากอาศัยอยู่ในบริเวณนี้ มาช้านาน แล้ว โดยยึดอาชีพเกษตรท�ำนา ท�ำไร่ ควบคู่กับการทอผ้าไหมกันแทบทุกครัวเรือน ผ่านบ้านไหน มองเข้าไป ก็จะเห็นกี่ทอผ้าตั้งอยู่ บ่งบอกอัตลักษณ์ความเป็นคนหนองตาไก้ได้อย่างเด่นชัด ปัจจุบันชุมชนบ้านหนองตาไก้ หมู่ 3 และหมู่ 4 ได้ร่วมแรงร่วมใจเปิดการท่องเที่ยวด้วยแนวคิด Thai Silk Village of Buriram ให้เป็นแหล่งเรียนรู้การท�ำผ้าไหมในทุกขั้นตอนอย่างละเอียด พร้อมกับมีโฮมสเตย์ เปิดบริการนักท่องเที่ยว เข้ามาค้างคืน พูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอย่างใกล้ชิด ชื่อของ “บ้านหนองตาไก้” แท้จริงมาจากต้นไม้ชนิดหนึ่งคือ “ต้นตาไก้” ที่ยังคงมีให้เห็นอยู่ในหมู่บ้าน การเข้าไปท่องเที่ยวนั้นสะดวกง่ายดาย เริ่มจากอาคารต้อนรับด้านหน้าหมู่บ้าน จะมีการเซิ้งต้อนรับ แล้ว 62
สวยมาก ผ้าไหมเปลือกนอกบ้านหนองตาไก้ จึงทรงคุณค่า น่าซือ้ หา มาลองใช้ และอนุรกั ษ์ไว้มใิ ห้สญ ู หาย ปัจจุบนั มีการแปรรูปเป็นซิน่ คัน่ ผ้าสไบบารู ผ้าไหมมัดหมี่ ผ้าไหมพื้นเรียบ ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ และกระเป๋าผ้าไหมหลายรูปแบบ นอกจากเสน่หเ์ ส้นไหมงามแล้ว บ้านหนองตาไก้ ยังมีประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นที่น่าสนใจให้สัมผัส ทั้งการลงแขกเกี่ยวข้าวช่วง เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม การแห่บั้งไฟในเดือนพฤษภาคม และ การลอยกระทงในชุมชนเดือนพฤศจิกายน เป็นต้น นับเป็นความ ลงตัวในวิถีชีวิตที่เรียบง่าย แต่มีสีสันทรงคุณค่าในทุกรายละเอียด สมเป็นหมู่บ้านแห่งผ้าไหมในแดนอีสานใต้อย่างแท้จริง
กิจกรรมเด่น : ชมฐานเรียนรู้ขั้นตอนการผลิตผ้าไหม นั่งรถอีแต๋นชมวิถีชุมชน ชมร�ำเซิ้งต้อนรับ ทดลอง ทอผ้า สาวไหมด้วยตัวเอง ชอปปิงสินค้าอุดหนุนชุมชน นอนโฮมสเตย์ เที่ยวงานแห่บั้งไฟ สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าไหมเปลือกนอกทอมือแปรรูปเป็นผ้าผืน ผ้าซิ่น ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ ฯลฯ ที่ตั้งชุมชน : กลุม่ ทอผ้าไหมบ้านหนองตาไก้ หมู่ 3 ต�ำบลหนองกง อ�ำเภอนางรอง จังหวัดบุรรี มั ย์ 31110 โทรศัพท์ 085-028-8396 กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองตาไก้
63
28 บ้านปลาบู่ มหาสารคาม ความลงตัวท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม คู่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
เสียงกล่าวต้อนรับเจื้อยแจ้ว “บ้านปลาบู่ สถานที่ท่องเที่ยว ของดีเมืองมหาสารคาม วัฒนธรรมประเพณีอสี านบ้านเฮา ยุคสมัย เปลี่ยน คนเปลี่ยน แต่บ้านปลาบู่บ่เคยเปลี่ยน เด้อพี่น้อง” ฟังแล้ว ช่างแสนน่ารัก บ้านปลาบู่คือ การเรียนรู้ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามวิถี ฮีตสิบสองคองสิบสี่ เรียนรู้วิถีและภูมิปัญญา ถิ่นอีสาน เราอาจเริ่มที่ เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ณ บ้านปลาบู่ ในอ�ำเภอวาปีปทุม มีกิจกรรมต่างๆ มากมายภายในพื้นที่ เส้นทาง ท่องเที่ยวของหมู่บ้านปลาบู่ เช่น การย้อมสีธรรมชาติ การผลิตสบู่
64
สมุนไพรธรรมชาติ นวด อบ ประคบ แช่ ด้วยวิถแี บบไทย มีเส้นทาง ส�ำรวจชมธรรมชาติรอบๆ หมู่บ้านและตามเส้นทางท่องเที่ยว วัฒนธรรม “สืบสานกิจกรรมของดี 4 คุ้ม” และ กิจกรรมโฮมสเตย์ ในยามค�่ำคืนชมหิ่งห้อยริมน�้ำ นับเป็นการพัฒนาเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรมและเกษตรกรรมในพื้นที่เป้าหมาย อย่างยั่งยืน รวมถึงรูปแบบการผลิตอาหารแบบผสมผสาน บ้านปลาบูม่ โี รงเรียนชุมชนชาวนา ซึง่ เป็นแหล่งเรียนรูช้ มุ ชน รวมถึง “ตักสิลา Model” ปลูกคนดี ให้มีปัญญา ท�ำมาหากินเป็น ส่งเสริมเป็นแหล่งเรียนรู้ และพัฒนาการใช้ชีวิต ทั้งทางด้านการ ส่งเสริมอาชีพ ส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยธรรมชาติ
นอกจากนีย้ งั มีการส่งเสริมด้านเกษตรอินทรีย์ การผลิตข้าว อินทรีย์มาตรฐาน ปุ๋ยอินทรีย์ สวนสมุนไพร ส่งเสริมการปลูก ฝ้าย การทอผ้าฝ้าย การท�ำผ้ามัดย้อมพื้นถิ่น และการแปรรูป ผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้าย เปิดอบรมให้กับชาวนาและลูกหลานชาวนา ที่มีฐานะยากจน ได้มีโอกาสการเรียนรู้เทียบเท่ากับเด็กในเมือง ให้มีทักษะชีวิตเช่นเดียวกัน บ้านปลาบู่ เป็นหมู่บ้านที่มีความเข้มแข็งทางวิสาหกิจ ชุมชน มีการผลิตข้าวฮางอินทรีย์บ้านปลาบู่ เป็นการคิดค้นการ ผลิตข้าวฮางอินทรีย์แบบไม่แช่น�้ำของวิสาหกิจชุมชนบ้านปลาบู่ เพื่อรักษาวิตามินและเกลือแร่ให้คงอยู่ในเมล็ดข้าวให้มากที่สุด กลุ่มผลิตผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติจากเปลือกไม้ คือผลผลิต ของโรงเรียนชุมชนชาวนา กลุ่มปลาบู่มัดย้อมได้มีการพัฒนา กระบวนการผลิตมาอย่างต่อเนือ่ ง ไม่วา่ จะเป็นการพัฒนาลวดลาย ให้ออกมาสวยงาม เพื่อให้มีความเป็นเอกลักษณ์บ่งบอกถึงวิถี ชุมชนของกลุ่มปลาบู่มัดย้อม และแน่นอนว่าเมื่อชื่อของหมู่บ้าน คือ บ้านปลาบู่ จึงมีวิถีการท�ำสบู่ที่หลากหลาย ล้วนน่าซื้อหา เป็นสบู่สมุนไพรจากวัตถุดิบหลายชนิด นี่ คื อ หนึ่ ง ในชุ ม ชนที่ มี วิ ถี ห ลากหลาย มี ข องดี คู ่ ชุ ม ชนที่ น่าไปเยือน
กิจกรรมเด่น : ท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่เส้นทางท่องเที่ยวของหมู่บ้านปลาบู่ เช่น การย้อมสีธรรมชาติ การผลิตสบู่สมุนไพรธรรมชาติ นวด อบ ประคบ แช่ ด้วยวิถีแบบไทย ชมธรรมชาติและเส้นทางท่องเที่ยว วัฒนธรรม สินค้าชุมชนเด่น : ข้าวฮางอินทรีย์ ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ สบู่สมุนไพร ที่ตั้งชุมชน : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์บ้านปลาบู่ เลขที่ 68 หมู่ที่ 14 ต�ำบลหนองแสง อ�ำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม โทรศัพท์ 081-546-0252 ท่องเที่ยววัฒนธรรมบ้านปลาบู่
65
29 บ้านดอนตาล มุกดาหาร
ปัน ่ ฝ้ายสายบุญจุลกฐิน ดินแดนไหมมัดหมีย ่ อ ้ มคราม มุกดาหาร จังหวัดภาคอีสานตอนกลาง ตั้งอยู่ริมล�ำน�้ำโขง ฝัง่ ตรงข้ามเมืองสะหวันนะเขต ประเทศลาว ผูค้ นสองฝัง่ ข้ามไปมา หาสู่กันดั่งญาติมิตร และบางส่วนก็ตั้งรกรากอยู่บนผืนดินฝั่งสยาม มาจนทุกวันนี้ บ้ า นดอนตาล จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร เป็ น ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย ว เชิงวัฒนธรรม ที่มีความเป็นมาสืบค้นย้อนไปได้ถึงยุคอาณาจักร ล้านช้างที่รุ่งเรืองของลาว มาตั้งชุมชนบริเวณแม่น�้ำโขงที่มีต้นตาล ขึ้นอยู่มาก จึงตั้งชื่อว่า “บ้านดอนตาล” กระทั่ง 100 ปีต่อมา จึงย้ายจากริมฝั่งโขงขึ้นมาประมาณ 1 กิโลเมตร อันเป็นที่ตั้งของ บ้านดอนตาลในปัจจุบัน ชาวบ้านดอนตาลมีเชื้อสายลาวกะเลิง ถือเป็น 1 ใน 8 ชาติพันธุ์ของจังหวัดมุกดาหาร ภาษาที่พูดก็มีการใช้ค�ำภาษา อีสาน ภาษาไทย ภาษาข่า และภาษากะโซ่ ผสมผสานกัน เช่น เดียวกับเอกลักษณ์เฉพาะที่ชาวบ้านนุ่งห่มชุดผ้าไหมมัดหมี่ ย้อมคราม ลวดลายประณีต งดงามมาก สืบทอดภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ จากบรรพบุรุษที่ถ่ายทอดให้ ความสามารถด้านการทอผ้านี้เอง ท�ำให้ชุมชนบ้านดอนตาล สามารถฟื้นฟู “ประเพณีปั่นฝ้ายสายบุญ จุลกฐิน” ขึ้น โดยจัดใน ช่วงเดือนตุลาคมทุกปี ณ วัดมัชฌิมาวาส (วัดกลาง) ซึ่งเป็นวัดใหญ่ ประจ�ำหมู่บ้าน ค� ำว่า “จุ ลกฐิน ” หมายถึ งการทอดกฐิน แบบเร่งด่วน โดยต้องอาศัยความสามัคคีของผูศ้ รัทธาจ�ำนวนมาก ช่วยกันผลิต ผ้าไตรจีวรให้ส�ำเร็จด้วยมือภายในวันเดียว ตั้งแต่เก็บดอกฝ้าย ดีดฝ้าย ปั่นฝ้าย ตัดเย็บ ย้อม และถวายให้พระสงฆ์รบั กฐิน ให้เสร็จ ภายในเวลาเช้าวันหนึง่ ถึงย�ำ่ รุง่ อีกวันหนึง่ ถือกันว่าจะได้อานิสงส์มาก เพราะต้องใช้ความอุตสาหะมากกว่ากฐินธรรมดา (มหากฐิน) วัฒนธรรมอันดีงามของบ้านดอนตาลยังรวมไปถึง “การไหล เรือไฟโบราณ” ในวันออกพรรษา โดยชาวบ้านจะช่วยกันจัดสร้าง เรือไฟล�ำเล็กๆ น�้ำหนักเบา ยกได้โดย 2 คน ฐานเป็นกาบกล้วย ลอยน�้ำได้ ด้านบนเป็นโครงไม้ไผ่ ประดับตกแต่งด้วยมาลัยดอกไม้ และตุงสี ให้เราน�ำดอกไม้ ธูป เทียน พร้อมกับตัดผม ตัดเล็บ ใส่ลงไปเพื่อ สะเดาะเคราะห์ 66
อี ก หนึ่ ง วั ฒ นธรรมที่ ค วรสื บ สานของบ้ า นดอนตาลคื อ “การร้องหมอล�ำผญา” ซึ่งเป็นการร้องร�ำแบบหนึ่งของคนอีสาน แท้ๆ ดั้งเดิมจะร้องเกี้ยวกันระหว่างหญิง ชาย ประกอบเสียงแคน พิณ กลอง โหวด และฉิ่ง อย่างสนุกสนาน “วัดมัชฌิมาวาส” ศูนย์รวมศรัทธาของผูค้ น ประวัตบิ นั ทึกว่า เป็นวัดเก่าแก่มี “สิม” (โบสถ์แบบอีสาน) ก่ออิฐถือปูนงดงามมาก สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2465 ใช้เวลาสร้างอยู่นานถึง 10 ปีจึงเสร็จ มีการเก็บรักษากลองมโหระทึกใบใหญ่ที่สุดในประเทศไทยเอาไว้ เที่ยวบ้านดอนตาลสุขใจ เพราะมีเสน่ห์ 3 ธรรม ผสมผสาน ลงตัว ทัง้ ธรรมชาติลำ� น�ำ้ โขง วัฒนธรรมผ้าทอลาวกะเลิง และธรรมะ ที่วัดมัชฌิมาวาส ถือเป็นเมืองน้อยชายแดนริมโขงที่น่าไปเยือน เหลือเกิน
กิจกรรมเด่น : ร่วมประเพณีไหลเรือไฟโบราณวันออกพรรษา ร่วมงานจุลกฐิน เดือนตุลาคม ล่องเรือแม่น�้ำโขง ถ่ายรูปกับพญานาคขาว ที่ท่าน�้ำ ต�ำบลดอนตาล นมัสการวัดมัชฌิมาวาส นอนโฮมสเตย์ สินค้าชุมชนเด่น : ผ้ามัดหมี่ย้อมคราม กล้วยฉาบสมุนไพร ไก่อบหม้อ น�้ำพริกปลา แกงหัวปลี ข้าวหัวหงอก ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านดอนตาล หมู่ 1 ต�ำบลดอนตาล อ�ำเภอดอนตาล จังหวัด มุกดาหาร 49120 Website www.dontanphasuk.go.th
67
30 บ้านท่าเยี่ยม ยโสธร
ชีวิตเนิบช้าพาสุขใจ งามบั้งไฟประเพณี จังหวัดยโสธร ได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งบั้งไฟ หมอนขิด และ ข้าวหอมมะลิพันธุ์ดีแห่งอีสานบ้านเฮา ดินแดนนี้ทอดตัวอยู่อย่าง สงบในภาคอีสานตอนล่าง อาศัยความฉ�ำ่ เย็นของล�ำน�ำ้ ชี หล่อเลีย้ ง ชีวิต ก่อเกิดวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามน่าหลงใหล โดยเฉพาะ วิถีเนิบช้าที่ท�ำให้เข็มนาฬิกาชีวิตเราเดินช้าลง ทีช่ มุ ชนบ้านท่าเยีย่ ม ชาวบ้านส่วนใหญ่ทำ� อาชีพเกษตรกรรม เป็นหลัก โดยปลูกข้าวหอมมะลิพนั ธุด์ ี และข้าวเหนียวไว้กนิ ไว้ขาย จึงมีความผูกพันลึกซึ้งกับนาข้าวมาแต่ครั้งบรรพบุรุษ ผืนนาของ บ้านท่าเยี่ยมในฤดูฝนนั้นเขียวสดเย็นตา ทุกครั้งก่อนฤดูหว่านไถ หรือเก็บเกี่ยว จะมีการท�ำขวัญข้าว ขอให้พระแม่โพสพ ราชินีแห่ง ต้นข้าว ช่วยดูแลพืชผลอย่าให้เสียหาย นับเป็นความศรัทธาต่อ ธรรมชาติที่สืบสานกันมาหลายชั่วรุ่น
กิจกรรมเด่น : ชอปปิงตลาดเปรมปรี ดูพระอาทิตย์ตกริมน�ำ ้ ล่องแพในล�ำน�ำ้ กว้าง ท�ำบั้งไฟจิ๋ว เซิ้งบั้งไฟ ชิมเมนูมหาลาบ (ลาภ) นั่งรถสามล้อเที่ยว ชมการแสดงโปงลาง ชมวิถีข้าวกับชาวนา สาธิตท�ำขวัญข้าว สินค้าชุมชนเด่น : จักสานวัสดุรไี ซเคิล กระบวยกะลามะพร้าว ผ้าขาวม้าทอมือ ปลาส้ม ปลาส้มสมุนไพร น�้ำพริกแมงดา ปลาร้าสมุนไพร หมูแดดเดียว ไส้กรอกอีสาน ถั่วกรอบแก้ว หน่อไม้ส้ม ที่ตั้งชุมชน : วิสาหกิจชุมชนบ้านท่าเยี่ยม เลขที่ 136 หมู่ที่ 6 ต�ำบลเขื่องค�ำ อ�ำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร 35000 โทรศัพท์ 081-318-3561
ชื่อ “บ้านท่าเยี่ยม” มาจากเหตุการณ์ในอดีต เมื่อครั้ง นายอ�ำเภอคนแรกของจังหวัดยโสธร เดินทางมาเยี่ยมหมู่บ้าน ได้นั่งเรือมาขึ้นที่ท่าน�้ำ จึงตั้งชื่อว่าบ้านท่าเยี่ยม เรียกขานกัน มาจนปัจจุบัน วิถีชีวิตที่เรียบง่ายสงบงามของผู้คนคือ เสน่ห์ มัดใจแขกที่มาเยือน มิตรภาพและความยิ้มง่ายใจดี ที่นี่มีกิจกรรมหลายอย่างให้ทดลองท�ำด้วยตัวเอง อาทิ การ ทดลองสานตะกร้าจากวัสดุรีไซเคิล ถือเป็นกิจกรรมรักษ์โลก และบ้านท่าเยี่ยมมีองค์ความรู้เรื่องการท�ำบั้งไฟเป็นอย่างดี จึงมี กิจกรรมให้ทดลองท�ำบั้งไฟจิ๋วอีกด้วย ในวันเสาร์-อาทิตย์ จะมี “ตลาดเปรมปรี” เป็นตลาดนัด ชุมชนตั้งอยู่ริมน�้ำกว้าง บ้านท่าเยี่ยม บรรยากาศสดชื่นเย็นตา มีสนิ ค้าชุมชน และอาหารพืน้ บ้านนานาชนิดให้ลมิ้ ลอง ชมการแสดง เซิ้งบั้งไฟ และการแสดงโปงลางอันสนุกสนาน ครึกครื้น ถ้าใครอยากชิมลาบยโสธรแท้ๆ รสชาติแบบดั้งเดิม แนะน�ำ ว่าต้องไปที่ “ร้านแม่อ้อมลาบเป็ด” ตั้งอยู่ในชุมชน โดดเด่นด้วย เมนู “มหาลาบ”(ลาภ) เป็นส�ำรับน่ารัก จัดเสิรฟ์ มาในถาดสังกะสี สวยๆ ประกอบด้วยลาบ 5 อย่างคือ ลาบเป็ด ลาบหมู ลาบไก่ ลาบไข่หรือเต้าหู้ และลาบเห็ด นอกจากนี้ยังมีอาหารอีสานรสแซ่บครบครันให้ชิม ทั้งส้มต�ำ น�้ำตก ซุปหน่อไม้ ไส้กรอกอีสาน ปลาส้มทอด ฯลฯ กิจกรรมนั่ง สามล้อชมวิถชี มุ ชน หรือจะเทีย่ วต่อเนือ่ งไปยังหมูบ่ า้ นข้างเคียงไหว้ “พระเจ้าใหญ่” บ้านกว้าง ซึ่งเป็น 1 ใน 4 พระพุทธรูปประจ�ำ สี่มุมเมือง ครั้งเมื่อแรกสร้างเมืองยโสธรขึ้น บ้านท่าเยี่ยมยังมีสินค้าอีกหลายอย่าง เช่น ปลาส้ม ซึ่ง มีทั้งเป็นตัวๆ แบบดั้งเดิม และปลาส้มไร้ก้าง กระบวยกะลา ผ้าขาวม้าทอมือสีสวยฯลฯ ชุมชนบ้านท่าเยีย่ มคือ ตัวแทนของวิถชี วี ติ เนิบช้าอย่างแท้จริง ใครทีก่ ำ� ลังเดินทางตามหาความสุขอยู่ ไปเทีย่ วทีน่ รี่ บั รองจะหลงรัก หมดหัวใจ
ท่องเที่ยวชุมชนบ้านท่าเยี่ยม 68
69
31 บ้านโคกกลาง ยโสธร เมืองเกษตรอินทรีย์ วิถีแห่งอีสาน “ร่วมลงขัน ชวนกันไปท�ำนา” โครงการดีๆ ของบ้านโคกกลาง อ�ำเภอค�ำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร ความร่วมมือกับภาครัฐ เอกชน และภาคเกษตรกรที่ท�ำเกษตรอินทรีย์ ท�ำให้ไม่ต้องสงสัยเลยว่า ที่นี่เป็นเมืองอู่ข้าวอู่น�้ำ มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้บริโภคที่ไม่มีนาข้าว ได้บริโภคข้าวอินทรีย์ของจังหวัดยโสธร โดยการลงขันซื้อข้าว ล่ ว งหน้ า เพื่ อ เป็ น ต้ น ทุ น ให้ กั บ ชาวนาเป็ น ผู ้ ดู แ ลรั ก ษาข้ า วที่ มี คุณภาพส่งให้กับผู้บริโภคหลังจากเก็บเกี่ยวเสร็จ ชาวโคกกลาง พร้อมใจกันสร้างรูปแบบ “หุ้นส่วนท�ำนา” ที่ ผูบ้ ริโภคสามารถได้รบั ประสบการณ์การท�ำนาเกษตรอินทรียโ์ ดยที่ ไม่มีที่นาเป็นของตนเอง และเกษตรกรก็ได้ประโยชน์ น�ำมาซึ่งการ แบ่งปัน และเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ สร้างขวัญก�ำลังใจให้กบั เกษตรกรและ ชาวโคกกลางให้เกิดรายได้ และมุง่ มัน่ ในการท�ำเกษตรอินทรียต์ อ่ ไป ณ พื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ สามารถร่วมกิจกรรมโยนกล้า ปาเป้าในแปลงนาอินทรีย์ ผลลัพธ์ทไี่ ด้คอื สามารถช่วยเกษตรกร ลดต้นทุน โดยพื้นที่ 1 ไร่ ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวเพียง 2 ขีด โดยเริ่ม จากการเพาะกล้าในถาดเพาะ ต้นข้าวมีอายุ 5 – 9 วัน ก็สามารถ น�ำมาโยนลงแปลงนาและแตกกอได้มากถึง 120 ต้น ณ แปลงปลูกข้าวของทีน่ ี่ มีการสร้างนาเป็นรูปพญาคันคาก คู่กับบั้งไฟ สร้างความประทับใจและแรงบันดาลใจ ในการท�ำ เกษตรอินทรีย์ที่มีความสุขและปลอดภัย พร้อมทั้งเชื่อมโยงให้เกิด การท่องเที่ยวเชิงเกษตรภายในจังหวัดยโสธร ความเป็นเมืองที่มีมาแต่โบราณ ยังท�ำให้พบรอยเท้ามนุษย์ โบราณบริเวณลานหินบนยอดภูน้อยใกล้กับหมู่บ้านโคกกลาง ซึ่งภูน้อยเป็นภูเขาเล็กๆ ที่ยอดภูสูงจากระดับน�้ำทะเลประมาณ 199 เมตร เท่านั้น โดยที่บริเวณลานหินทรายบนยอดภูเขาพบว่า มีรอยเท้ามนุษย์ขนาดใหญ่ และยังพบกระดูกสัตว์ขนาดใหญ่เป็น กระดูกไดโนเสาร์ชนิดกินพืชมีอายุไม่ต�่ำกว่า 1,000 ปี ใกล้กันยัง พบบริเวณลานหินทรายเป็นบริเวณกว้าง อีกทัง้ มีบอ่ น�ำ้ ขนาดต่างๆ บริเวณลานหินไม่ต�่ำกว่า 50 บ่อ ตลอดสองข้างทางเดินรอบๆ ภูเขา ยังมีดอกไม้ป่านานาชนิดและดอกกระเจียวป่าขึ้นอยู่เป็น จ�ำนวนมากตามบริเวณชายป่า เหมาะในการเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรมและเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
70
ท้องถิ่นยังมีประเพณีบุญข้าวประดับดินคือ บุญที่ท�ำใน วันแรมสิบสี่ค�่ำ เดือนเก้า(ประมาณเดือนสิงหาคม) เป็นการน�ำ ข้าว ปลา อาหารคาว-หวาน ผลไม้ หมาก พลู บุหรี่ อย่างละเล็ก อย่างละน้อย แล้วห่อด้วยใบตองท�ำเป็นห่อเล็กๆ น�ำไปวางตามโคน ต้นไม้ใหญ่หรือตามพื้นดินบริเวณรอบๆ เจดีย์หรือโบสถ์ เป็นการ ท�ำบุญที่ชาวบ้าน จัดขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว วิถีข้าวอินทรีย์ วิถีแห่งโคกกลาง น่าชื่นชมยิ่งนัก
กิจกรรมเด่น : ชมนาข้าวเกษตรอินทรีย์ ร่วมกิจกรรมโยนกล้าปาเป้าในแปลงนา อินทรีย์ ท่องเที่ยวยอดภูน้อย ชมประเพณีบุญข้าวประดับดิน สินค้าชุมชนเด่น : ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ข้าวกล้องหอมมะลิอินทรีย์ น�้ำผักสุขภาพ ข้าวเกรียบว่าว ที่ตั้งชุมชน : ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดยโสธร ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดยโสธร 35000 โทรศัพท์ 045-712-664 บ้านโคกกลาง
71
32 บ้านโพนละมั่ง ร้อยเอ็ด
ข้าวหอม 101 สายพันธุ์ วิถีข้าวอินทรีย์ ของดีอีสาน
จังหวัดร้อยเอ็ด หนึ่งในแหล่งปลูกข้าวขนาดใหญ่ของไทย คู่ไปกับการ อนุรกั ษ์พนั ธุกรรมข้าวพืน้ บ้านหลากหลายสายพันธุ์ ผลิตและแปรรูปข้าวอินทรีย์ ออกสู่ตลาด นี่คือ บ้านโพนละมั่ง เมื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิต ชาวบ้านจะร่วมกันเพาะปลูกและพัฒนาผลผลิต สูก่ ารเกษตรอินทรีย์ โดยศึกษาตลาดเพือ่ ให้เกษตรกรมีความมัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน เมือ่ เทีย่ วชมชุมชน สามารถเรียนรูจ้ ากฐานเรียนรู้ 4 ฐาน ทัง้ ฐานเรียนรู้ ด้านการตลาด การท�ำปุ๋ยอินทรีย์ ลดต้นทุนการผลิต และนวัตกรรมด้าน การเกษตรนี่คือ เส้นทางอาชีพทางการเกษตรเรื่องการผลิตข้าวหอมมะลิ เกษตรอินทรีย์ ช่วย สาสุข คือ เกษตรกรคนหนึ่งที่ประสบความส�ำเร็จ เจ้าของฉายา “ปราชญ์ชาวนาแห่งทุง่ กุลาร้องไห้” จากลูกชาวนาทีค่ รอบครัวประสบปัญหา 72
หนี้สินจากอาชีพการท�ำนา ได้เข้าสู่ภาคการเกษตรและพัฒนา บ้านเกิดของตนเอง ที่บ้านโพนละมั่ง ซึ่งเป็นหนึ่งในชุมชนเขต ทุง่ กุลาร้องไห้ ด�ำเนินกิจกรรมไร่ นา สวนผสม จนมีการพัฒนาพืน้ ที่ เป็นการท�ำเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชด�ำริฯ จนสามารถ ท� ำ นาข้ า วหอมมะลิ อิ น ทรี ย ์ ม าตรฐานเกษตรอิ น ทรี ย ์ ส ากล (Organic Agriculture Certification Thailand) ผ่านการ รับรอง GI ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ ชุมชนยังได้ร่วมกันผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวใช้เอง จัดท�ำแปลง สาธิต และเก็บรวบรวมอนุรกั ษ์พนั ธุข์ า้ วพืน้ เมืองหลายพันธุท์ เี่ หมาะ สมกับพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ ไม่ว่าจะเป็นพันธุ์ข้าวหอมมะลิ 105 ข้าวหอมมะลิแดง ข้าวหอมมะลิด�ำ ข้าวเล้าแตก ข้าวสันป่าตอง ข้าวนางนวล ข้าวโสมมาลี สามารถผสมพันธุ์ข้าวเหนียวพันธุ์ใหม่ ชื่อว่า “พันธุ์หินกอง1” และข้าวพันธุ์ผสม “ข้าวหอม 101” สายพันธุน์ ี้ มาจากชือ่ ของจังหวัดร้อยเอ็ดหรือ 101 รวมถึงข้าวพันธุ์ พื้นบ้านอีกหลายสายพันธุ์ กลุ ่ ม ข้ า วอิ น ทรี ย ์ บ ้ า นโพนละมั่ ง จึ ง เป็ น หนึ่ ง ในวิ ถี แ ห่ ง ความส�ำเร็จด้านการเกษตรอินทรีย์ ธ�ำรง รักษา สร้างคุณค่า สร้าง พันธุกรรมหลากหลายเพื่อความมั่นคงทางอาหารได้อย่างยั่งยืน
กิจกรรมเด่น : เรียนรู้การผลิตข้าวหอมมะลิเกษตรอินทรีย์จากฐานเรียนรู้ 4 ฐาน ทั้งฐานเรียนรู้ด้านการตลาด การทำ�ปุ๋ยอินทรีย์ ลดต้นทุนการผลิต และนวัตกรรมด้านการเกษตร สินค้าชุมชนเด่น : ข้าวหอม 101 สายพันธุ์ข้าวหอมมะลิ 105 ข้าวหอมมะลิแดง ข้าวหอมมะลิดำ� ข้าวเล้าแตก ข้าวสันป่าตอง ข้าวนางนวล ข้าวโสมมาลี ที่ตั้งชุมชน : เลขที่ 14 หมู่ 12 บ้านโพนละมั่ง ต�ำบลหินกอง อ�ำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 45130 โทรศัพท์ 086-128-6819 Website www.yasothon.go.th 73
33 ชุมชนเชียงคาน เลย
ถนนสายวัฒนธรรมริมโขง บ้านไม้เก่าทีม ่ ช ี ว ี ต ิ
เมื่อพูดถึงจังหวัดเลย ที่นี่มีเมืองเล็กๆ ที่น่าสนใจ นั่นก็คือ เชียงคาน ที่ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำโขงสุดชายแดนไทย ที่นี่ยังคงรักษา วัฒนธรรม ขนบประเพณี การใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย พอเพียง วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมและสโลว์ไลฟ์ จึงเป็นจุดหมายปลายทางของ กลุ่มนักท่องเที่ยวที่รักความสงบและชีวิตเนิบช้า จุดเด่นของเชียงคานคือ บ้านไม้เก่าเรียงรายอยู่ริมถนน ชายโขง จนกลายเป็นชุมชนถนนสายวัฒนธรรมบ้านไม้เก่าริมโขง มีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ทั้งด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา และสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น กลายเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม อาจกล่าวได้ว่าเรือนไม้เก่า สามารถเล่าเรื่องราวได้ในเชิงบ้านเก่าเล่าเรื่อง หรือบ้านไม้เก่าที่ มีชีวิต
74
วั ฒ นธรรมดั้ ง เดิ ม ของชาวเชี ย งคานก็ คื อ ตั ก บาตรข้ า ว เหนียว โดยในทุกๆ เช้า พระสงฆ์จะเดินออกบิณฑบาต ชาวบ้าน จะน�ำข้าวเหนียว และอาหารมาใส่บาตร นักท่องเที่ยวก็สามารถ ร่วมตักบาตรข้าวเหนียวด้วยได้ ถนนคนเดินเชียงคานถือเป็นไฮไลท์ ช่วงหัวค�่ำร้านค้าต่างๆ จะตัง้ ร้าน ทีม่ ที งั้ ร้านขายของพืน้ เมือง สินค้าแฮนด์เมด ร้านอาหาร พื้นเมือง ร้านกาแฟ และที่พัก เชี ย งคานยั ง ได้ รั บ รางวั ล แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ มี ค วามยั่ ง ยื น ระดับโลก ปี 2563 (Sustainable Destinations 2020) เป็น 1 ใน 100 เมื อ งที่ มี ค วามสมบู ร ณ์ ท างธรรมชาติ แ ละวั ฒ นธรรม อันงดงาม
วิ ถี ที่ โ ดดเด่ น ของเชี ย งคานคื อ ชุ ม ชนบ้ า นไม้ เ ก่ า ที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ของเมืองเชียงคานที่ปลูกสร้างเรียงรายริมแม่น�้ำโขง ตั้งแต่ซอย 0 ถึงซอย 21 ยังคงรักษาความเป็นถนนสายวัฒนธรรม บ้านไม้เก่าริมโขง และมีกิจกรรมต่างๆ หลากหลาย มีเอกลักษณ์ ที่ไม่เหมือนใคร ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวนิยมเดินทางกันมาที่นี่ จ�ำนวนมาก ถนนศรีเชียงคานฝั่งล่างคือ ถนนเส้นที่เต็มไปด้วย บ้านไม้เก่าแก่ โฮมสเตย์ ร้านเก๋ๆ เรียกว่า "ถนนชายโขง" มีระยะ ทางยาวกว่า 2 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่นักท่องเที่ยวนิยมมา ปั่นจักรยาน ชมบรรยากาศย้อนยุค ชมบ้านไม้โบราณ ถนนสายนี้ถูกรักษาให้คงวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวเชียงคาน เอาไว้ ผู้คนที่นี่มีน�้ำใจไมตรี มีรอยยิ้มที่สดใส ทั้งหมดนี้คือ เสน่ห์ ของเชียงคาน ทั้ ง ยั ง มี ห มู ่ บ ้ า นวั ฒ นธรรมไทด� ำ ตั้ ง อยู ่ ท่ี บ ้ า นนาป่ า หนาด ซึ่งเป็นหมู่บ้านของชาวไทด�ำ หรือลาวโซ่ง ที่อพยพมาจากเมือง เชียงขวาง ประเทศลาว ตั้งแต่ปี พ.ศ.2448 ที่นี่จึงกลายเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ที่เผยแพร่ข้อมูล วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ของชาวไทด�ำ
กิจกรรมเด่น : การตั ก บาตรข้ า วเหนี ย ว การละเล่ น ผี ข นน�้ ำ การท� ำ ผาสาด ลอยเคราะห์ ชมวิถีชาวไทด�ำบ้านนาป่าหนาด สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าห่มนวม มะพร้าวแก้ว ข้าวหลามยาว ส้มต�ำซั่วด๊องแด๊ง ข้าวปุ้น น�้ำแจ่ว ที่ตั้งชุมชน : ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลเชียงคาน 529 หมู่ 2 ถนนเชียงคานบ้านโพน ต�ำบลเชียงคาน อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 42110 โทรศัพท์ 042-822-288 เชียงคาน 75
34 ชุมชนด่านซ้าย เลย
ดินแดนแห่งสัจจะและไมตรี ประเพณีผีตาโขน
กิจกรรมเด่น : ปั่นจักรยานท่องเที่ยวชมเส้นทางธรรมชาติในด่านซ้าย ทําต้นผึ้งที่ชาวบ้านใช้บูชา องค์พระธาตุศรีสองรัก วาดหน้ากากผีตาโขน ฝึกท�ำอาหารพื้นบ้านเมืองด่านซ้าย ที่ร้านแม่ค�ำพัน อ่อนอุทัย สินค้าชุมชนเด่น : ผลิตภัณฑ์ต่างๆ และสินค้าของที่ระลึกผีตาโขน น�้ำผักสะทอน ข้าวหลามบ้านน�้ำพุ ที่ตั้งชุมชน : 372 หมู่1 อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 42120 โทรศัพท์ 042-891-266 ที่ทำ�การปกครองอำ�เภอด่านซ้าย
ด่านซ้ายคือ เมืองในหุบเขา ตั้งอยู่บนที่ราบระหว่าง ภูเขา และแม่นำ �้ เป็นเมืองทีอ่ ยูร่ ะหว่างรอยต่อของวัฒนธรรม ล้านช้าง ล้านนา และสยาม ที่นี่มีวัฒนธรรม และความเชื่อที่ผสมผสาน หนึ่งในนั้น คื อ อาหารของเมื อ งด่ า นซ้ า ยมี ค วามโดดเด่ น และเป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะถิ่ น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง อาหารที่ มี “น�้ ำ สะทอน” คื อ น�้ ำ ที่ ไ ด้ ม าจากการต� ำ หมั ก ต้ ม และ เคี่ยวใบของต้นสะทอน จนได้น�้ำปรุงที่มีกลิ่นหอมที่เป็น พืชประจ�ำถิ่น เป็นส่วนประกอบของเครื่องปรุง แม่ค�ำพัน อ่อนอุทัย ครูภูมิปัญญาไทยเป็นผู้ถ่ายทอด “การกินอยู่อย่างคนด่านซ้ายไทเลย” กับส�ำรับพื้นบ้านเมือง ด่านซ้าย ที่ประกอบด้วยอาหารประเภท แกงซั่ว ซุปหน่อไม้ แจ่วปลา ลาบหมู และหมกไก่ สิ่งที่ท�ำให้ด่านซ้ายโด่งดังคือ ผีตาโขน เอกลักษณ์ อันโด่งดังของภาคอีสาน เป็นการละเล่นพื้นบ้านอย่างหนึ่ง เป็นขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น และหนึ่งปี จะมีเพียงครั้งเดียว ในงานบุญหลวงเท่านั้น การละเล่นนี้ จะมีขึ้นในเดือน 8 (ข้างขึ้น) ของทุกปี ใช้เวลา 3 วัน ผูเ้ ล่นจะท�ำรูปหน้ากาก มาสวมใส่ปกปิดใบหน้า รวมไปถึงเครื่องแต่งกายที่ต้องปกปิดมิดชิด แล้วเข้าขบวน แห่แสดงท่าทางต่างๆ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว ในช่วงเวลาดังกล่าว จะมีผู้คนไปร่วมชมการละเล่นเป็น จ�ำนวนมาก
76
ด่านซ้ายมีประเพณีทมี่ เี อกลักษณ์แตกต่างจากท้องถิน่ อืน่ ทีน่ จี่ งึ ได้รบั สมญานามว่า “ดินแดนแห่งสัจจะและไมตรี ประเพณีผีตาโขน” ผู ้ ม าเยื อ นด่ า นซ้ า ย ไม่ ค วรพลาดที่ จ ะไปสั ก การะ วัดพระธาตุศรีสองรัก พร้อมชมต้นผึง้ ทีม่ รี ปู ทรงคล้ายพีระมิด ท�ำจากเทียนไขเข้ารูปเป็นดอกและตัวโครงท�ำจากกาบกล้วย พระธาตุศรีสองรักสร้างขึ้นเพื่อเป็นสักขีพยานในการช่วย เหลือกันระหว่าง พระมหาจักรพรรดิแห่งกรุงศรีอยุธยา (ไทย) และพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ผู้ครองกรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์) แห่งราชอาณาจักรล้านช้าง (สปป.ลาว ใน ปัจจุบัน) ทั้งสองพระองค์ตกลงรวมก�ำลัง เพื่อต่อสู้กับพม่า ทรงกระท� ำ สั ต ยาธิ ษ ฐานว่ า จะไม่ ล ่ ว งล�้ ำ ดิ น แดนของกั น และกัน วัดนีจ้ งึ นับเป็นอนุสรณ์สถานแห่งการร�ำลึกของคนไทย และคนลาว สองชาติที่ผูกสานสัมพันธไมตรีและสัจจะให้ พี่น้องทั้งสองชาติได้อยู่เย็นเป็นสุข อีกวัดคือ วัดเนรมิตวิปสั สนา ทีม่ สี ถาปัตยกรรมสวยงาม จุดเด่นของวัดนี้คือ มีอุโบสถ และเจดีย์ที่ก่อสร้างจากวัสดุ คล้ายๆ กับศิลาแลงทั้งหลัง ท�ำให้ตัวอุโบสถมีสีออกส้มแดงๆ คล้ายท�ำด้วยอิฐดิน และภายในพระอุโบสถก็มีการตกแต่ง ลวดลายจิตรกรรมที่สวยงามอลังการ ไม่ควรพลาดที่จะไปเยี่ยมชม และสักการะวัดโพนชัย วั ด คู ่ เ มื อ งอี ก แห่ ง หนึ่ ง ของด่ า นซ้ า ย พร้ อ มทั้ ง เยี่ ย มชม พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นผีตาโขนที่ตั้งอยู่ภายในวัด แวะชมสินค้าที่ ท�ำเป็นรูปผีตาโขน และสินค้าท้องถิ่นอื่นๆ
77
35 บ้านโนนพอก สกลนคร
หมู่บ้านแห่งคราม ความงามแห่งฝ้ายเข็น
ผ้าย้อมคราม ถือเป็นหนึ่งในเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมบน ผืนผ้าอีสานมาหลายร้อยปีแล้ว ผู้คนเรียนรู้ธรรมชาติ รู้จักน�ำ ต้นครามที่ขึ้นอยู่ดาษดื่นรอบตัวมาย้อมผ้า บรรจงสร้างลวดลาย ที่สวยงาม สะท้อนวิถีชีวิต วิธีคิด การกินการอยู่ และสร้างรายได้ ให้ชุมชนอย่างเป็นกอบเป็นก�ำ บ้านโนนพอก อ�ำเภอพรรณานิคม เป็นหนึ่งในชุมชนทอผ้า ย้อมครามชื่อดังแห่งจังหวัดสกลนคร ชาวบ้านมีฝีมือในการปลูก ฝ้าย ทอผ้า ย้อมคราม กันมาตั้งแต่ครั้งปู่ ย่า ตา ทวด เริ่มจากทอ ใส่เองในชีวิตประจ�ำวัน กลายเป็นอาชีพเสริมจากการท�ำนา ท�ำไร่ จนมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก ผ้าย้อมครามได้ชื่อว่าเป็น “ราชาแห่งผ้าย้อมสีธรรมชาติ” ด้วยคุณสมบัตสิ เี ข้มข้น ติดทน อีกทัง้ จัดเป็น “ผ้าผิวสวย” เพราะ สวมใส่ผ้าครามแล้วจะไม่ระคายเคืองผิวหนัง กลุม่ ทอผ้าย้อมคราม และกลุม่ ทอผ้าฝ้ายเข็นมือบ้านโนนพอก เป็ น การรวมตั ว กั น ของแม่ บ ้ า น เน้ น ไปที่ ผ ้ า มั ด หมี่ ย ้ อ มคราม ธรรมชาติ แปรรูปเป็นผ้าผืน ซิ่น ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ กระเป๋า เสือ้ กระโปรง และตัดชุดเย็บส�ำเร็จ ทีม่ ดี ไี ซน์เข้ากับยุคสมัยมากขึน้ บรรยากาศบ้ า นโนนพอกยั ง เป็ น วิ ถี ช นบทอย่ า งแท้ จ ริ ง เงียบสงบ มีเรือนไม้ยกเสาสูง ชั้นล่างเปิดโล่งใช้วางกี่ทอผ้า ส่วน ชั้นบนใช้อยู่อาศัย รอบบ้านมีแปลงต้นฝ้ายที่ใช้เก็บดอกมาปั่นเป็น “ฝ้ายเข็นมือ” ทอผ้าได้สวยงาม ราคาสูงกว่าปกติ ค�ำว่า “เข็น” คือ การปั่นฝ้ายให้เป็นเส้น การเข็นมือจึงได้เส้นฝ้ายที่ไม่สม�่ำเสมอ แต่ถือเป็นเสน่ห์มากว่าฝ้ายโรงงาน ที่เส้นเสมอกันเกินไป
78
มาถึ ง บ้ า นโนนพอกทั้ ง ที ก็ ต ้ อ งเข้ า ไปชมขั้ น ตอนการท� ำ ผ้าย้อมครามสีธรรมชาติอย่างละเอียด เอกลักษณ์ผ้าย้อมคราม บ้านโนนพอกคือ การย้อมสีครามธรรมชาติ จากนัน้ น�ำไปหมักโคลน เพือ่ ให้สตี ดิ ทนขึน้ แล้วน�ำมาทอเป็นผ้ามัดหมี่ โดยเป็นสียอ้ มคราม ทัง้ เส้นพุง่ และเส้นยืน จึงได้ผา้ ย้อมครามแท้ๆ นิยมทอเป็นลายนาค ลายโคม ลายขอ ลายนกยูง ลายไก่ตาน้อย ลายสัตว์ และลายดอกไม้ ใบไม้ เป็นต้น นับเป็นผ้าเอกลักษณ์อีสาน ที่ต้องช่วยกันสืบสานให้คงอยู่คู่ เมืองไทยตลอดไป
กิจกรรมเด่น : ชมขั้นตอนการท�ำผ้ามัดหมี่ย้อมคราม ผ้าฝ้ายเข็นมือ ชมวิถีชุมชน เกษตรพอเพียง สินค้าชุมชนเด่น : ผ้ามัดหมี่ย้อมคราม ผ้าฝ้ายเข็นมือ ที่ตั้งชุมชน : กลุ ่ ม ทอผ้ า ฝ้ า ยย้ อ มครามบ้ า นโนนพอก หมู ่ 6 ต� ำ บลเชิ ง ชุ ม อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร โทรศัพท์ 085-229-1157 / 085-915-8529 Website www.cherngchoom.go.th
79
36 บ้านท่าสว่าง สุรินทร์
ตื่นตาผืนผ้าราชส�ำนัก อัศจรรย์วิจิตรศิลป์อีสาน
สุรินทร์ เป็นหนึ่งในจังหวัดที่มีชื่อเสียงเรื่องการทอผ้าไหม มาแต่โบราณ ด้วยลักษณะผ้าไหมอ่อนนุ่ม บางพลิ้ว เนื้อแวววาว ระบายอากาศดี มีลวดลายพิเศษ ท�ำให้ผา้ ไหมสุรนิ ทร์เป็นทีต่ อ้ งการ ของผู้ที่รู้คุณค่า บ้านท่าสว่าง อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ คือชุมชนท่องเที่ยวเรียนรู้ เรือ่ งผ้าไหมทีโ่ ด่งดังมากแห่งหนึง่ เพราะชาวบ้านได้ฟน้ื ฟูการทอผ้า ไหมยกทองโบราณ ที่แทบจะเลือนหายไป ให้กลับมามีชีวิตอีกครั้ง โดยผสานเทคนิคและลวดลายแบบพื้นบ้านเข้าไปด้วย เกิดเป็น เสน่ห์บนผืนผ้าแพรพรรณล�้ำค่าแห่งสยาม สืบสานศิลปะชั้นสูง แขนงนี้
ผ้ า ไหมยกทอง จั ด เป็ น ผ้ า ชั้ น สู ง ที่ มี ม าแต่ โ บราณบน แผ่นดินสยาม โดยเจ้านายชั้นสูงนิยมใช้กัน จึงเรียกอีกนามหนึ่ง ว่า “ผ้าราชส�ำนัก” เนื่องจากเนื้อผ้ามีเส้นไหมเงิน ไหมทองแท้ สอดแทรกอยู่ด้วย ช่วยให้เนื้อผ้าแวววาว เลอค่า ทว่าหลังจากสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อสยามมีการแต่งกายแบบ ตะวันตกมากขึน้ ผ้าชนิดนีก้ แ็ ทบจะสูญหาย กระทัง่ ได้รบั การฟืน้ ฟู ใหม่ กอปรกับมีการน�ำผ้าบ้านท่าสว่าง ไปตัดเสือ้ ให้ผนู้ ำ� ประชุมกลุม่ ประเทศเอเปค เมือ่ ปี พ.ศ. 2546 บ้านท่าสว่าง จึงเป็นทีร่ จู้ กั นับแต่ นั้นมา ปัจจุบันชาวบ้านท่าสว่าง ท�ำอาชีพเกษตรกรรมควบคู่กับ การทอผ้า สองฝัง่ ถนนเส้นหลักในหมูบ่ า้ นจึงมีรา้ นรวงเรียงราย ให้ นักท่องเทีย่ วเลือกชมเลือกซือ้ อย่างจุใจ มีตงั้ แต่ผา้ ราคาหลักพันไป จนถึงหลักหมื่น ส่วนผ้าราคาหลักแสนนั้นต้องเข้าไปชมในโรงทอ ของกลุ่มจันทร์โสมา
ผ้าไหมยกทองของบ้านท่าสว่างมีความพิเศษมาก เพราะใช้ ไหมเส้นเล็กละเอียดทีเ่ รียกว่า “ไหมน้อย” มาย้อมสีธรรมชาติ เช่น สีนำ�้ เงินได้จากต้นคราม สีแดงได้จากครัง่ สีเหลืองได้จากต้นเขและ ประโหด สีส้มได้จากดอกค�ำแสด สีเขียวมะกอกได้จากแก่นขนุน สีด�ำได้จากผลมะเกลือ สีน�้ำตาลได้จากหมาก และสีม่วงได้จาก หว้า เป็นต้น เส้นไหมที่ย้อมสีแล้วจะถูกน� ำ มาปั ่ นควบกั บ เส้ นไหมเงิ น ไหมทองแท้ด้วยเทคนิคโบราณ แล้วน�ำไปทอในกี่ที่ออกแบบพิเศษ มีความสูงกว่า 3 เมตร จึงต้องมีการขุดหลุม ให้ส่วนหนึ่งของกี่ยื่น ลงไปใต้ดนิ เหตุทกี่ มี่ คี วามใหญ่โตเช่นนีเ้ พราะมีตะกอมากถึง 1,416 ตะกอ ใช้ชา่ งทอพร้อมกันคราวละ 4-5 คน วันหนึง่ ทอได้ไม่เกิน 10 เซนติเมตรเท่านั้น และผืนหนึ่งใช้เวลาทอหลายเดือน ต้องทุ่มเท ความอุตสาหะลงไปเต็มที่ จนได้ผ้าไหมแห่งราชส�ำนักที่ล�้ำค่าสุด บรรยาย ลวดลายโบราณบนผ้ า ไหมยกทองบ้ า นท่ า สว่ า ง เช่ น ลายพระนารายณ์ทรงครุฑ ลายเทพพนม ลายหิ่งห้อยชมสวน ลายก้านขดเต้นร�ำ ลายครุฑยุดนาค ลายราชวัตรดอกสีก่ ลีบ และลาย ราชวัตรย่อมุมไม้สิบสอง เป็นต้น น�ำมาผสานกับลายผ้าสุรินทร์ที่ นิยมกันอยู่แล้ว อาทิ ลายอัมปรม ลายสาคู ลายสมอ ลายละเบิก ลายลูกแก้วฯลฯ จึงเป็นผ้าที่มีเอกลักษณ์และเรื่องราวในตัวเอง ด้วยความวิรยิ ะอุตสาหะและมุง่ มัน่ ผ้าไหมยกทองบ้านท่าสว่าง จึงมีความงามเป็นเลิศ ช่วยอนุรักษ์สืบสานศิลปะการทอผ้าโบราณ ของไทย ให้ด�ำรงอยู่เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของชาติสืบไป
กิจกรรมเด่น : ชมกลุ่มทอผ้าไหมจันทร์โสมา ชอปปิงผ้าไหม ขับรถชมวิถีชีวิตใน หมู่บ้าน สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าไหมยกทอง ที่ตั้งชุมชน : 179 ซอยเรือนไทย ต�ำบลท่าสว่าง อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัด สุรินทร์ 32000 โทรศัพท์ 087-509-9507 ผ้าไหมบ้านท่าสว่าง
80
81
นอกจากการขับรถเที่ยวชมบรรยากาศหมู่บ้าน และดูวิธี การทอผ้าของกลุม่ ชาวบ้านแล้ว ไปเดินเล่นทีต่ ลาดผ้าบ้านนาข่า ตลาดนี้ทอดยาวนับร้อยเมตร มีสินค้าผ้าทอแทบทุกชนิดของ อีสานให้เลือกชมเลือกซื้อ ทั้งผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผ้าฝ้ายแกมไหม ผ้าหมักโคลน ผ้าสีธรรมชาติ สีเคมี ผ้าขิด ผ้าจก ผ้าซิ่น หรือ แม้แต่ชุดตัดเย็บส�ำเร็จก็มีให้เลือกละลานตา ผ้าโดดเด่นที่สุดของบ้านนาข่า มี 3 ประเภทคือ ผ้าหมี่ขิด ผ้าขิดล้วน และผ้าหมักโคลนย้อมสีธรรมชาติ ส�ำหรับ “ผ้าหมีข่ ดิ ” นัน้ มีชอื่ เสียงทีส่ ดุ ถือเป็นเอกลักษณ์ของบ้านนาข่าและอุดรธานี ทอยกดอก ลายนูน เนื้อผ้าแวววาวสวยงาม สัมผัสนุ่มมือ ผ้ามี น�้ำหนักทิ้งตัวดี ที่ส�ำคัญคือ ใส่ได้สองด้าน มีลวดลายสวยงาม ทั้งด้านหน้าและหลัง ผ้าชนิดนี้เป็นการผสมผสาน 2 เทคนิค การทอพื้นบ้านอีสานเข้าด้วยกันอย่างลงตัวคือ มีทั้งการมัดหมี่ และการขิด “มัดหมี่” เป็นวิธีการสร้างลวดลายจากการย้อมสีเส้น ฝ้ายหรือไหม ก่อนน�ำไปทอ โดยออกแบบลายก่อน แล้วจึงมัด และย้อมสร้างลวดลาย ด้วยการใช้เชือกกล้วยหรือเชือกฟางมัด เส้นด้ายบริเวณที่ไม่ต้องการย้อมสี เพื่อให้เป็นไปตามลวดลายที่ ต้องการ ก่อนที่จะน�ำไปย้อมและทอ วิธีการ “มัด” เส้นด้ายนี้ เอง ชาวอีสานเรียกว่า “หมี่” จึงเรียกผ้าชนิดนี้ว่า “ผ้ามัดหมี่”
ส่วนเทคนิคการ “ขิด” คือ วิธีการสร้างลวดลายบนผืนผ้า โดยใช้ไม้ปลายแหลมหรือขนเม่น สะกิดด้ายเส้นยืนขึ้นมาให้ เกิดลวดลายตามต้องการ ผ้าหมี่ขิดบ้านนาข่าจึงมีลวดลาย สองเทคนิคสลับกันอยู่ในผืนเดียว และปัจจุบันมีการผลิตผ้า ชนิดใหม่ เรียกว่า “ผ้าครามเพนท์สี” โดยน�ำสีอะคริลิคเพนท์ ลวดลาย เพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าให้ผ้าครามพื้นบ้านแบบ ดั้งเดิม บ้านนาข่าเปิดต้อนรับผู้มาเยือนให้เข้าไปสัมผัสได้ทุกวัน ในบรรยากาศเป็นกันเองและเปี่ยมมิตรไมตรี
37 บ้านนาข่า อุดรธานี
ตลาดผ้าทออีสาน หมู่บ้านแห่งหมี่ขิด อุดรธานี จังหวัดนี้มีดีหลายอย่าง ทั้งเป็นเมืองมรดกโลกอารยธรรม 5,000 ปี ที่แหล่ง โบราณคดีบา้ นเชียง มีทะเลบัวแดงหนองหานกุมภวาปี ธรรมชาติตระการตา และมีปา่ ค�ำชะโนด ซึ่งเชื่อว่าเป็นที่อยู่ของพญานาค นอกจากนี้ยังมีงานหัตถศิลป์ผ้าทอโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ จนมี การรวมตัวกันจัดสร้าง “ตลาดผ้าบ้านนาข่า” ขึ้น ได้ชื่อว่าเป็นตลาดผ้าทอที่ใหญ่ที่สุดแห่ง หนึ่งของภาคอีสาน บ้านนาข่า อยู่ห่างจากตัวอ�ำเภอเมืองอุดรธานีเพียง 16 กิโลเมตร ถนนหนทางสะดวก ท่องเทีย่ วได้งา่ ย ชาวบ้านยังกินอยูอ่ ย่างพอเพียง ส่วนใหญ่ทำ� อาชีพทอผ้าเป็นหลัก ด้วยภูมปิ ญ ั ญา ของบรรพบุรษุ ทีม่ ฝี มี อื ทอผ้ามานาน ถ่ายทอดจากรุน่ สูร่ นุ่ มาถึงปัจจุบนั นอกจากจะเป็นการสร้าง รายได้หลักให้ชุมชนแล้ว ยังเป็นการอนุรักษ์แพรพรรณอีสานให้คงอยู่ต่อไป
82
กิจกรรมเด่น : ชมขั้นตอนการทอผ้าหมี่ขิดอีสาน เดินเลือกชมเลือกซื้อผ้าทอ ราคาย่อมเยา สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าไหม ผ้าซิ่น ชุดผ้าไหมตัดเย็บสำ�เร็จ ผ้าหมี่ขิด หมอนขวาน หมอนขิดฯลฯ ที่ตั้งชุมชน : เทศบาลตำ�บลนาข่า เลขที่ 355 ถนนมิตรภาพอุดร-หนองคาย ตำ�บลนาข่า อำ�เภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 Website www.nakhaud.go.th
83
38 บ้านท่าล้ง อุบลราชธานี วัฒนธรรมริมฝั่งโขง หลงเสน่ห์ชาวบรู
ในบรรดาจังหวัดริมฝัง่ โขงทัง้ หมดของไทย “อุบลราชธานี” จัดว่ามีความ ส�ำคัญอยู่ไม่น้อย เพราะนอกจากจะเป็นประตูสู่อาเซียนเชื่อมต่อไปลาวใต้ ได้แล้ว ที่นี่ยังเป็นจุดชมพระอาทิตย์ขึ้นที่แรกในสยาม บริเวณผาแต้มและ ผาชะนะได ซึ่งในบริเวณดังกล่าวมีแหล่งภาพเขียนสีโบราณ 3,000 ปี และมี ชาติพันธุ์ชาวบรู อาศัยอยู่ด้วย โดยพวกเขายังคงสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรม ของตนมาถึงทุกวันนี้ บ้านท่าล้ง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เป็นชุมชนชาวบรู (หรือ ข่า) ทีม่ อี ตั ลักษณ์พเิ ศษ เป็นหมูบ่ า้ นท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมริมฝัง่ โขง มีความ สงบร่มรืน่ พืน้ ทีห่ มูบ่ า้ นเป็นลาดเชิงเขาสูง และทีร่ าบท�ำการเกษตร อยูไ่ ม่หา่ ง จากริมฝั่งโขง ชาวบ้านจึงอาศัยความสมบูรณ์ของธรรมชาติเป็นทุน ท�ำนา ท�ำ สวน ท�ำไร่มันส�ำปะหลัง จับปลา หาของป่า และท�ำงานหัตถกรรม บ้านท่าล้งเปิดให้ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมได้เต็มรูปแบบ เพื่อเรียนรู้ ชนชาติบรูในแง่มุมต่างๆ ตั้งแต่ภาษาพูดที่มีค�ำเฉพาะไม่เหมือนใคร เช่น เมื่อจะพูดว่า “ชุมชนชาวบรู ยินดีต้อนรับ” เขาจะพูดว่า “วีบะไฮ กวยบรู เยะมูกนู ะ่ ”และการนับเลข “หนึง่ สอง สาม สี”่ ก็จะพูดว่า “มูย มาร ไป โปน” เป็นต้น ส่วนการร่ายร�ำทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของบรูคอื “การฟ้อนเสือออกลาย” (หรือ เสือออกเหล่า) โดยใช้ผชู้ ายร�ำเป็นคู่ ด้วยท่วงท่าลีลาคล้ายต่อสูก้ นั แสดงความ เข้มแข็งดุดัน ปัจจุบันชาวบ้านได้รับวัฒนธรรมอีสานเข้ามา จึงมีการฟ้อนร�ำ และเซิ้งแบบอีสานแสดงให้ชมด้วย นอกจากนี้ในงานสืบชะตาแม่น�้ำโขงของ อ�ำเภอโขงเจียม ทุกปีชาวบรู บ้านท่าล้งได้รับเกียรติให้เป็นตัวแทนจัดแสดง งานหัตถกรรมโดดเด่นทีช่ มุ ชนบ้านท่าล้งส่งออกขาย ท�ำรายได้และสร้าง ชื่อให้มากที่สุดคือ “กระติ๊บข้าวเหนียว” จักสานจากผิวไม้ไผ่ และใบเตยป่า ที่หาได้ในท้องถิ่น งานฝีมือละเอียดประณีตสวยงาม ใช้งานได้นาน มีความ ทนทานดีมาก ถึงขนาดมีค�ำกล่าวกันเล่นๆ ว่า กระติ๊บข้าวเหนียวของชาวบรู บ้านท่าล้ง ถือเป็นกระติ๊บข้าวเหนียวที่ดีเยี่ยมของอุบลราชธานี กันเลยทีเดียว นอกจากนีย้ งั มีการพัฒนารูปแบบจักสาน เป็นหวดนึง่ ข้าวเหนียว กล่องใส่ของ รวมถึงปิ่นโตใส่กับข้าวด้วย 84
มาถึงบ้านท่าล้งทั้งทีต้องลองชิมอาหารพื้นบ้านแบบดั้งเดิม อาทิ “เค็มบักนัด” เป็นการน�ำเนื้อปลาสวายหรือปลาเทโพหั่น เป็นชิ้นเล็กๆ หมักสับปะรดและเกลือไว้ 2 เดือน นอกจากนี้ยังมี ลาบปลา ต้มส้มปลาแม่น�้ำโขง ไก่ต้มใบมะขาม ลาบเป็ด และบั่น บกหล่อก (คล้ายกุยช่าย) ฯลฯ เพียงเท่านีก้ ถ็ อื ว่าได้สมั ผัสบางส่วนเสีย้ วทีแ่ สนน่ารัก น่าเรียนรู้ ของชาวบรูแห่งล�ำน�้ำโขงแล้ว
กิจกรรมเด่น : ชมวิถีชาวบรู ดูการจักสาน เล่นน�้ำที่ห้วยท่าล้งน้อย นมัสการ รอยพระพุทธบาทบ้านท่าล้ง ดูวิถีประมงริมแม่น�้ำโขง ล่องเรือชม ธรรมชาติแม่น�้ำโขง ทดลองท�ำอาหารพื้นบ้าน สินค้าชุมชนเด่น : เครื่องจักสานผิวไผ่ และใบเตยป่า ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านท่าล้ง หมู่ 5 ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัด อุบลราชธานี 34220 โทรศัพท์ 098-668-5713 / 080-630-6983 Website www.huaypaiubon.go.th
85
39 บ้านค�ำเดือย อ�ำนาจเจริญ
เสือ้ ผ้าเหล่านีม้ าจากภูมปิ ญ ั ญาของบรรพบุรษุ ทีส่ บื ทอดให้ มี ทัง้ ผ้าย้อมคราม ผ้ามัดหมี่ ซิน่ ผ้าฝ้าย และผ้าทอมือย้อมสีธรรมชาติ น�ำใบไม้ เปลือกไม้ที่หาได้ในท้องถิ่น มาย้อมผ้าที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม สวมใส่สบาย หากเข้าไปตระเวนเทีย่ วในหมูบ่ า้ น เราจะเห็นกิจกรรมการทอ ผ้าด้วยกี่ การย้อมสีเส้นฝ้าย หมักหม้อคราม และมีร้านค้าชุมชน ให้อุดหนุนด้วย นับเป็นวิถีผ้าทอที่ยังมีการใช้อยู่ในชีวิตประจ�ำวัน สืบทอดกันไว้ไม่ให้สูญหาย นอกจากการเทีย่ วชมวิถชี วี ติ อันเรียบง่าย สงบงาม ในหมูบ่ า้ น แล้ว บริเวณใกล้เคียงยังมีลานวัฒนธรรมขนาดใหญ่ สร้างไว้ในสวนป่า ร่มรื่น พร้อมด้วยบ้านพักโฮมสเตย์เรียงราย ชมการแสดงฟ้อนร�ำ พืน้ บ้านแบบผูไ้ ทย การสาธิตทอผ้า ปัน่ ฝ้าย ดีดฝ้าย ย้อมสีธรรมชาติ ชิมส�ำรับอาหารค�ำเดือย เช่น ย�ำมะเขือขื่น ซุปเห็ดกระด้าง ปลา แม่น�้ำโขงทอด และพิเศษคือ “วุ้นหมาน้อย” ลักษณะเป็นวุ้น สีเขียวหยุ่นๆ คล้ายเยลลี่ ท�ำมาจากใบไม้เถาเลื้อยชนิดหนึ่งตาม ธรรมชาติฯลฯ ช่วงต้นเดือนเมษายน มีงานประเพณี “งานแห่ยักษ์คุ” ซึ่งมี ให้ชมกันเฉพาะทีอ่ ำ� เภอชานุมานเท่านัน้ ต�ำนานความเป็นมาเล่าว่า ริมแม่นำ�้ โขงมีปราสาทหินตัง้ อยู่ ซึง่ ยักษ์ตนหนึง่ ได้มานัง่ ลงกราบไว้ รอยคุกเข่านัน้ ปรากฏเป็นบึงเล็กๆ จึงเป็นทีม่ าของค�ำว่า “ยักษ์ค”ุ โดยค�ำว่า “คุ” หมายถึง “คุกเข่า” นั่นเอง งานนี้ชาวผู้ไทยบ้าน ค�ำเดือยและชาวบ้านจะแต่งกายด้วยชุดสวยงาม จัดขบวนฟ้อนร�ำ มีการแสดงแสง สี เสียง ประกวดธิดายักษ์คุ ท�ำหน้ากากยักษ์ และทุกคนต้องเพนท์สีแต่งหน้าใส่เขี้ยวให้เหมือนยักษ์ด้วย ก่อนกลับบ้านถ้ามีเวลาเหลือ แนะน�ำให้ไปเที่ยวต่อใกล้ๆ ที่ “แก่งคันสูง” แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ชมความงามแปลกตา ของแก่งหินกลางแม่น�้ำโขง ซึ่งในฤดูแล้งจะโผล่ให้เห็น จนสามารถ เดินข้ามแม่น�้ำได้เลย (แต่ไม่สามารถขึ้นฝั่งลาวได้) ชวนกันนั่ง รับประทานอาหารอีสานอร่อยๆ ในแพริมน�้ำ เท่านี้ก็ถือเป็น ความสุขแล้ว
เที่ยวถิ่นยักษ์คุ ดูวิถีผู้ไทย
อ�ำนาจเจริญ เป็นหนึ่งในจังหวัดภาคอีสานตอนล่างที่มีความน่าสนใจไม่น้อย เพราะมีธรรมชาติริมฝั่งโขงสวยสดงดงาม มีชนเผ่า รวมถึงวัฒนธรรมประเพณีที่ ไม่เหมือนใคร ไปเที่ยวอ�ำนาจเจริญจึงได้สัมผัสความแปลกใหม่ในหลากแง่มุม เสน่ห์เรื่องชนเผ่าชาติพันธุ์ถือเป็นหนึ่งในการท่องเที่ยวอ�ำนาจเจริญ ซึ่งคน ส่วนใหญ่อาจยังไม่ค่อยรู้ เพราะที่ “บ้านค�ำเดือย” อ�ำเภอชานุมาน เป็นถิ่นฐานของ ชาวผูไ้ ทย ทีอ่ พยพข้ามโขงจากฝัง่ ลาว เข้ามาตัง้ รกรากอยูต่ งั้ แต่ประมาณปี พ.ศ. 2398 เดิมบริเวณนี้เป็นหมู่บ้านร้างเรียกว่า “บ้านลุมพุหนองสิม” ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “บ้านค�ำเดือย” ตามชือ่ ล�ำห้วยสายหนึง่ ทีไ่ หลผ่าน และมีตน้ ลูกเดือยขึน้ อยูม่ ากนัน่ เอง แม้ชาวผู้ไทยจะมีหลายเผ่า ทั้งผู้ไทยด�ำและผู้ไทยขาว ทว่าดูเหมือนผู้ไทย บ้านค�ำเดือยจะมีเอกลักษณ์พิเศษ โดยเฉพาะด้านการแต่งกายของสตรี ที่นุ่งห่ม ชุดผ้าย้อมคราม นุง่ ซิน่ มัดหมี่ มีผา้ สไบเฉียงสีขาวพาดบ่า ประดับตกแต่งศีรษะด้วย พู่ห้อยสีขาวแสนน่ารัก และสวมใส่เครื่องเงินเพิ่มเสน่ห์ให้การแต่งกาย
กิจกรรมเด่น : ชมการทอผ้า ร่วมงานแห่ยักษ์คุ ร่วมงานประเพณีบุญเดือนสามไขประตูเล้า เว้าภูไทไปกินดอง สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าทอมือย้อมสีธรรมชาติ ผ้าคราม ผ้ามัดหมี่ ซิ่นฝ้าย ผ้าขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ ผ้าสไบเฉียง ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านค�ำเดือย ต�ำบลค�ำเขื่อนแก้ว อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37210 คนภูไทคำ�เดือย 86
87
40 บ้านนาหมอม้า อ�ำนาจเจริญ เที่ยวถิ่นอีสาน เบิ่งงานหัตถกรรม อ�ำนาจเจริญ จังหวัดอีสานตอนล่างทีม่ บี รรยากาศสงบเนิบช้า อาบอิ่มด้วยธรรมชาติงาม มีเสน่ห์น่าเที่ยวในแบบของตัวเอง โดย เฉพาะด้านวิถชี วี ติ “บ้านนาหมอม้า” เป็นชุมชนน่ารักทีเ่ ปีย่ มด้วย น�้ำใจไมตรีและรอยยิ้ม อีกทั้งยังมีความสามัคคี ตั้งกลุ่มหัตถกรรม และเป็นชุมชนท่องเที่ยว จนเคยได้รับรางวัลกินรีประเภทบริหาร จัดการท่องเที่ยวเกษตรดีเด่นมาแล้ว ต�ำนานการก�ำเนิดบ้านนาหมอม้า เล่าสืบต่อกันมาว่า ในอดีต มีนายพรานคนหนึ่งสู้กับวัวป่า แต่ถูกวัวป่าขวิดตาย ชาวบ้านเลย ยกย่องให้ท่านเป็น “หมอ” ค�ำว่าหมอในที่นี้หมายถึงขี่ม้าเก่ง ชาว บ้านจึงตั้งชื่อให้ท่านว่า “หมอม้า” ทุกวันนี้ยังมีม้าแกลบเลี้ยงอยู่ ในหมู่บ้าน ทั้งใช้งานขนข้าวของ และให้นักท่องเที่ยวนั่งรถม้าชม ชุมชน ชื่อของบ้านนาหมอม้าเป็นที่รู้จักมากขึ้นเรื่อยๆ ในวงการ ท่องเที่ยวพื้นบ้านอีสาน นักท่องเที่ยวสามารถเข้ามาสัมผัส มี โฮมสเตย์กลางทุ่งนาน่ารักๆ ไว้บริการ กิจกรรมที่จัดไว้ก็มี หลากหลาย ชวนให้ดมื่ ด�ำ่ ลงลึกกับวิถชี วี ติ คนบ้านนาหมอม้าแท้ๆ เริ่มตั้งแต่ไปชม “การท�ำเสื่อกก” อาชีพเสริมที่สร้างรายได้ เป็นกอบเป็นก�ำ จนกลายเป็นสินค้าโอทอปชัน้ ดี เพราะในบริเวณนี้ มี ต ้ น กกขึ้ น อยู ่ ต ามธรรมชาติ จ� ำ นวนมาก ชาวบ้ า นจึ ง เก็ บ มา กรีดรีดเส้น ตากแห้ง ย้อมสี ทอเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น เสื่อกกพับได้ กระเป๋า หมวก กล่องใส่ทชิ ชู แจกัน และรองเท้าแตะใส่สบาย ลายทอ เอกลักษณ์ของที่นี่ เช่น ลายดอกแก้ว ลายเอื้อซ้อน ลายบัวหลวง ลายแคนล�ำโพง ลายขูลูนางอั้ว ฯลฯ คุณภาพดี เพราะกกมีความ เหนียว ทนทาน และเนื้อมันวาวดี ต่อมาเป็น “การเรียนรู้วิถีชาวนา” ที่นาภูค�ำ พักโฮมสเตย์ กลางทุ่งที่มีบรรยากาศเป็นธรรมชาติสุดๆ วิวสวยโปร่งโล่งสบาย อากาศบริสุทธิ์สดชื่น มีการสร้างสะพานไม้ไผ่ชื่อ “สะพานภูค�ำ วิถี” ทอดไปในทุ่งข้าว บ้านพักแต่ละหลังชื่อน่ารัก เช่น เฮือนข้าว จ้าว เฮือนข้าวกล้อง เฮือนข้าวก�ำ่ ฯลฯ ในช่วงหัวค�ำ่ มีกจิ กรรมร�ำวง พื้นบ้านและร�ำวงย้อนยุค เคล้าเสียงโหวด พิณ แคน กลอง อย่าง สนุกสนาน ตื่นเช้าได้ปูเสื่อตักบาตร นั่งจิบกาแฟริมทุ่งนา ต่อด้วย ปัน่ จักรยาน นัง่ รถม้า หรือนัง่ รถอีแต๋นเทีย่ วชมหมูบ่ า้ น ไปสักการะ ศาลปู่ ตา และไหว้พระวัดดงเฒ่าเก่า วัดโบราณพันปีทมี่ หี นิ ใบเสมา โบราณสูงเท่าตัวคน 88
อีกกิจกรรมที่ห้ามพลาดคือ “เดินป่าขึ้นภูจ�ำปา” (ภูพระ) ลักษณะเป็นเนินเขาหินทรายไม่สูงนัก ปกคลุมด้วยต้นไม้เขียวครึ้ม โดยเฉพาะต้นลีลาวดี (คนอีสานเรียก ต้นจ�ำปา) ซึ่งถ้าไปในช่วง เดือนเมษายน จะเห็นดอกลีลาวดีสีขาวสะพรั่งบานเต็มภู แล้วไป นมัสการ “วัดภูจ�ำปา” ที่มีองค์พระใหญ่อยู่กลางแจ้งบนยอดเขา และเป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกที่โรแมนติก ปิดท้ายกันที่อาหารพื้นบ้านน่าลิ้มลองของบ้านนาหมอม้า ต้องไม่พลาดชิมก้อยเห็ดโคน ก้อยไข่มดแดง แกงหน่อไม้ใส่ผกั แขยง ต้มไก่บ้าน แม่เป้งใส่ตะไคร้ฯลฯ นั่งรับประทานกันข้างทุ่งนาอย่าง เอร็ดอร่อย นับเป็นวิถีชุมชนที่มีความสุขแบบองค์รวม ให้เราได้ สัมผัสอย่างน่าประทับใจ
กิจกรรมเด่น : ชมการทอเสื่อกก และดูการร�ำทอเสื่อกก นั่งรถม้าเที่ยว ถ่ายภาพ กับสะพานไม้ไผ่ภูค�ำวิถี นอนโฮมสเตย์กลางทุ่งนา ร�ำวงพื้นบ้าน เดินป่าขึ้นภูจ�ำปาศึกษาธรรมชาติ สินค้าชุมชนเด่น : เสื่อกก ผ้าขาวม้าทอมือ ชุดผ้าฝ้ายแต้มสี ที่ตั้งชุมชน : หมู่ 1 ต�ำบลนาหมอม้า อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ โทรศัพท์ 081-265-7616 หมู่บ้านนาหมอม้า
89
ชุมชน ภาคกลาง
41 บ้านหนองขาว กาญจนบุรี ผ้าขาวม้าร้อยสี ของดีแห่งชุมชน
เมื่อแวะเวียนไปกาญจนบุรีครั้งใด มักไม่พลาดที่จะไปบ้าน หนองขาว หลายคนบอกว่าได้สัมผัส “เที่ยวไทยสไตล์ลูกทุ่ง” ที่นี่ บ้านหนองขาวซึ่งมีชื่อเสียงว่าเป็นแหล่งผลิตผ้าทอกี่กระตุก คุณภาพสูง โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ "ผ้าขาวม้าร้อยสี" ที่มีความโดด เด่นในตัวผลิตภัณฑ์ สีสันสดใส สีไม่ตก ใช้ได้นาน มีลวดลายที่เป็น เอกลักษณ์เรียกว่า ลายตาจัก และยังมีการจัดท�ำเป็นผลิตภัณฑ์ ประเภทอื่นๆ เช่น กระเป๋า รองเท้า ผ้าพันคอ ฯลฯ ผ้าขาวม้าร้อยสีนั้นได้สร้างชื่อเสียงให้กับหมู่บ้านนี้มาอย่าง ยาวนาน จนมีสโลแกนว่า “ผ้าขาวม้าร้อยสี ของดีบา้ นหนองขาว” อาจกล่าวได้วา่ นีค่ อื หมูบ่ า้ นแห่งวัฒนธรรมทีช่ าวบ้านยังคง ใช้ชวี ติ เรียบง่าย ท่ามกลางนาข้าวเขียวๆ สุดสายตา แซมไปด้วย ต้นตาล สัมผัสอากาศที่แสนบริสุทธิ์
ชาวบ้านหนองขาวส่วนใหญ่อยู่ในสังคมเกษตรกรรม วิถีชีวิต และขนบธรรมเนียมแบบดัง้ เดิมยังคงสืบทอดกันมาช้านาน ทัง้ การ ต�ำข้าว ท�ำขนมแบบโบราณ ท�ำน�้ำตาลปึก ประเพณีการโกนจุก การท�ำนา การร้องเพลงเหย่ย เพลงพวงมาลัย เป็นต้น บ้ า นหนองขาวเป็ น หมู ่ บ ้ า นโอทอปเพื่ อ การท่ อ งเที่ ย ว นักท่องเทีย่ วอาจใช้เวลาเทีย่ วสนุกได้ทงั้ วันชมวิถชี วี ติ ของชาวบ้าน รวมถึ ง การแสดงวั ฒ นธรรมบั น เทิ ง ตามประเพณี ท ้ อ งถิ่นของ ชาวบ้านหนองขาว ก่ อ นปิ ด ท้ า ยในบรรยากาศกลางทุ ่ ง ฟั ง คุ ณ ยายหมากบ บุญเฉลย (ชื่อนี้ตามบัตรประชาชน) สาธิตการท�ำขวัญข้าวที่กลาง ทุ่งนา พิธีนี้จะท�ำกันเฉพาะเมื่อเสร็จนา ท�ำปีละครั้ง ได้ชมวิถีการ สืบสานประเพณีท้องทุ่งที่แสนจะมีเสน่ห์
กิจกรรมเด่น : กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงเกษตรศึกษาวิถีชีวิตชาวบ้า น ทั้งสาธิต ขัน้ ตอนการท�ำนา ท�ำขวัญข้าว การบรรยายเกีย่ วกับบ้านเรือนไทย และเครื่องจักสาน เครื่องมือจับปลา ชมการผลิตผ้าขาวม้าร้อยสี อาชีพปีนตาล ท�ำน�้ำตาลสด ท�ำขนมตาล ขนมข้าวเกรียบว่าว ขนมมัดใต้ สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าขาวม้าร้อยสี เครื่องจักสานด้วยใบตาล น�้ำตาลปึก น�้ำตาลสด ขนมตาล ขนมข้าวเกรียบว่าว ขนมมัดใต้ ที่ตั้งชุมชน : 1 หมู่1 ต�ำบลหนองขาว อ�ำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี 71000 โทรศัพท์ 092-827-9698 ชุมชนบ้านหนองขาว
92
93
พาหุรัดยังเป็นย่านเศรษฐกิจที่ต่อเนื่องกับถนนเจริญกรุง จึงมีการขุดคลองข้ามเมืองให้เชื่อมกับส�ำเพ็ง ซึ่งเป็นย่านการค้า ของคนจีน เกิดเป็น "สะพานหัน" ขึ้นมา ท�ำให้ถนนพาหุรัดและ ส�ำเพ็งเชือ่ มต่อกัน เชือ่ มชนเชือ้ ชาติ ไทย จีน และอินเดียเข้าด้วยกัน ย่านนี้มีวัดซิกข์คุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา สถาปัตยกรรม วัดซิกข์ยอดโดมสีทองตั้งอยู่ใจกลางย่าน มีการน�ำผ้าหลากสี ที่น�ำเข้าจากประเทศอินเดียโดยตรง มาขายที่พาหุรัด รายล้อม ด้วยตึกแถวพาณิชย์ ท่ามกลางสีสันจากผ้า และสินค้าต่างๆ ส่ ง ตรงจาก "ประเทศอิ น เดี ย " ในราคาเป็ น กั น เอง นี่ คื อ ย่านการค้าผ้าอันดับต้นๆ ของไทยที่มีเรื่องราวอันยาวนาน เป็นย่านเก่าแห่งบางกอก ย่านการค้าพาหุรัด เป็นย่านที่มีสินค้าที่มีให้เลือกสรรอย่าง มากมายและหลากหลายทั้งผ้า อุปกรณ์ตัดเย็บ รวมไปถึงเสื้อผ้า ส�ำเร็จรูปสารพัด โดยเฉพาะส่าหรี นอกจากนี้พาหุรัดยังมีชุมชน เล็กๆ ที่ยังคงด�ำเนินวิถีแบบภารตะอยู่
สถานที่ส�ำคัญในบริเวณนี้ นอกจากวัดคุรุดวาราศรีคุรุ สิงห์สภาแล้ว ก็ยังมีห้างดิโอลด์สยามพลาซ่า ห้างไชน่า เวิลด์ (เดิมชื่อห้างเซ็นทรัล วังบูรพา)และห้างอินเดีย เอ็มโพเรียม (เดิมชื่อห้างเอทีเอ็ม) หากเดินเข้าไปในย่านนี้จะได้กลิ่นเครื่องเทศจางๆ จาก ซาโมซ่าทอด อาหารคาวหวาน ขนมต่างๆ เช่น ขนมลาดู จาเลบี้ ก�ำยาน ธูป รูปปั้นเทพแกะสลัก อุปกรณ์ไหว้เทพ เครื่องแต่งกาย พาหุรัดไม่ได้เป็นเพียงแค่ตลาดผ้าสีสันจัดจ้าน หากยังมี เรื่องราววัฒนธรรมคนอินเดียอีกมากมาย ที่รอต้อนรับให้เดิน เข้าไปเยี่ยมตามตรอก ซอก ซอยต่างๆ ในย่านนี้
42 ชุมชนพาหุรัด กรุงเทพมหานคร Little India ย่านเก่าในบางกอก
เมื่อ 130 ปีก่อนพื้นที่ย่านพาหุรัดแห่งนี้ เคยเป็นย่านการค้าที่รุ่งเรืองของชาวญวน ทว่าได้เกิด ปัญหาเพลิงไหม้ในชุมชนที่ตึกรามบ้านช่องติดกันเป็นแนวยาวกว่า 525 เมตร ย่านเศรษฐกิจหยุดชะงักลง เมื่อชาวญวนได้ย้ายออกไป โดยชาวญวนเข้ามาตั้งแต่สมัยของรัชกาลที่ 5 ซึ่งแต่ก่อนนี้ย่านนี้เรียกว่า บ้านญวน โดยในสมัยกรุงธนบุรีนั้น ได้มีชาวญวนมาตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่คือ บริเวณแถวพาหุรัดนี้ แต่ทันทีที่ถนนพาหุรัดถูกสร้างขึ้น จนท�ำให้เหมาะกับเป็นศูนย์กลางการค้าขาย ท�ำให้มีคนจากทาง ตอนเหนือของอินเดียในรัฐปัญจาบจ�ำนวนมาก เข้ามาจับจองอาคารหาบเร่ขายของตั้งแผงลอยกันอยู่ที่นี่ จนกลายเป็นอีกหนึ่งพื้นที่เศรษฐกิจที่ส�ำคัญของไทย และพาหุรัดได้รับฉายาว่า "Little India" เนื่องจาก "วั ฒ นธรรมอิ น เดี ย " ที่ แ พร่ ห ลายภายในย่ า น ตลอดจนเป็ น ย่ า นที่ ส ะท้ อ นวิ ถี ชี วิ ต คนอิ น เดี ย หรื อ ชาวภารตะที่อาศัยในประเทศไทยได้ชัดเจนที่สุด และถือได้ว่าเป็นแหล่งชุมชนชาวปัญจาบและชาวซิกข์ ที่ใหญ่ที่สุดในไทย 94
กิจกรรมเด่น : เลือกซื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เดินชมชุมชนลิตเติ้ล อินเดีย สินค้าชุมชนเด่น : ผ้า เสื้อผ้า ชุดส่าหรี เครื่องแต่งกาย ขนมและอาหารสไตล์ อินเดีย รูปปั้นเทพแกะสลัก อุปกรณ์ไหว้เทพ ที่ตั้งชุมชน : ตลาดพาหุรัด ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 โทรศัพท์ 02-221-0238 ตลาดพาหุรัด phahurad
95
43 ชุมชนเยาวราช กรุงเทพมหานคร ไชน่าทาวน์เมืองไทย สตรีทฟู้ดดังไกลระดับโลก
เยาวราชหรือไชน่าทาวน์แห่ง กรุ ง เทพฯ เป็ น หนึ่ ง ในไชน่ า ทาวน์ หรือชุมชนจีนนอกประเทศจีนที่ใหญ่ ที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น มาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2325 พร้อมกับการสถาปนากรุง รัตนโกสินทร์ในสมัยรัชกาลที่ 1 เรียก ว่าอยู่มายาวนานคู่กรุงเทพฯ ชาวจี น ที่ นี่ ส ่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น ชาวแต้จิ๋ว เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่แถว พระบรมมหาราชวังเดิม แต่เมื่อมี การสร้างพระบรมมหาราชวัง จึงมี การโยกย้ายก่อเกิดเป็นชุมชนจีนทีน่ ี่ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการตัด ถนนเยาวราชขึ้นในปี พ.ศ. 2435 จึงท�ำให้ถนนเยาวราชเป็นย่านหลัก ของชุมชนจีน ธุรกิจการค้าในย่านเยาวราชอาจ กล่าวได้ว่ามีความหลากหลายมาก ทั้ ง ธุ ร กิ จ การค้ า ขายทั่ ว ไป การเงิ น การธนาคาร ร้ า นทอง ภั ต ตาคาร ร้านค้า ร้านของเล่นเด็ก โคมไฟ และ ผ้าแดงมงคล เครื่องประดับ ปฏิทิน อาหารแห้ง ห้างค้าทอง โรงแรมที่พัก ต่างๆ และที่ส�ำคัญคือ ร้านอาหาร ขนาดเล็ ก โดยเฉพาะร้ า นอาหาร ริมทางหรือสตรีทฟู้ด ที่สร้างชื่อเสียง ให้เยาวราชและเมืองไทย และกลาย เป็นสตรีทฟู้ดที่โด่งดังระดับโลก เมื่อ นักท่องเที่ยวมาเยือนเมืองไทยต้อง ไม่พลาดมาเดินเล่นและรับประทาน อาหารริมทางย่านเยาวราช
96
ซีเอ็นเอ็นได้จัดอันดับให้เยาวราชเป็น “สวรรค์แห่งอาหาร ริ ม ทาง” อี ก ทั้ ง ยั ง มี ภั ต ตาคารหรื อ ร้ า นอาหารชื่ อ ดั ง ที่ ไ ด้ รั บ ความนิยม บางร้านยังเป็นร้านที่ได้รับคัดเลือกให้อยู่ในหนังสือ คูม่ อื มิชลินไกด์ และยังคงมีตลาดขายของแห้งสไตล์จนี ทีเ่ ป็นทีน่ ยิ ม และหายากในพื้นที่อื่น ธุรกิจที่โดดเด่นที่ท�ำให้ย่านเยาวราชเป็นที่รู้จักมาช้านานคือ ร้านขายทอง หรือห้างทอง ซึ่งมีตลอดแนวถนนเยาวราช จนท�ำให้ เยาวราชได้ชื่อว่าเป็น “ถนนสายทองค�ำ” หลายร้านมีอายุเก่าแก่ ถนนเยาวราชยังได้รับการขนานนามว่าเป็น “ถนนมังกร” โดยมี จุดเริ่มต้นของหัวมังกรที่ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บริเวณวงเวียนโอเดียน ท้องมังกรอยู่ที่บริเวณตลาดเก่าเยาวราช และสิ้นสุดปลายหางมังกรที่บริเวณปลายสุดของถนน ไปกราบไหว้พระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร หรือหลวงพ่อ ทองค�ำ ที่ได้รับการจดบันทึกลงกินเนสส์บุ๊ค ว่าเป็น “พระพุทธรูป ทองค�ำบริสุทธิ์ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก” ที่วัดไตรมิตรวิทยาราม วรวิหาร แล้วแวะห้างทองตั้งโต๊ะกัง ที่เริ่มด�ำเนินกิจการมาตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 5 ตั้งอยู่ในซอยวานิช 1 เยาวราช เป็นตึกเจ็ดชั้นที่ มีสถาปัตยกรรมสวยงาม ก่อนแวะวัดเล่งเน่ยยี่ กราบไหว้เทวรูป เทพเจ้าต่างๆ เพื่อความเป็นสิริมงคล
วันเวลาทีเ่ ปลีย่ นแปลงท�ำให้ธรุ กิจปรับเปลีย่ นไปตามสมัยนิยม แต่เยาวราชยังคงเป็นย่านการค้าชุมชนชาวจีนที่คงเสน่ห์การค้า แบบดั้งเดิมไว้ไม่เสื่อมคลาย และมีชีวิตชีวาตลอดทั้งกลางวันและ กลางคืน
กิจกรรมเด่น : การเดินเที่ยวเยาวราช มีที่ให้เที่ยวชมหลากหลายทั้ง ซุ้มประตู เฉลิมพระเกียรติ มูลนิธเิ ทียนฟ้า วงเวียนโอเดียน วัดบ�ำเพ็ญจีนพรต วัดมังกรกมลาวาส วัดเล่งเน่ยยี่ วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ศาลเจ้ากวนอูศาลเจ้าเล่งบ๊วยเอี๊ยะ ศาลเจ้าเล่าปุนเถ้ากง ศาลเจ้า แม่กวนอิม ห้างทองตั้งโต๊ะกัง แวะชิมสตรีทฟู้ด สินค้าชุมชนเด่น : ร้านค้าทองต่างๆ สินค้าของใช้ อาหารแห้งและสด ร้านอาหารใน แบบสตรีทฟู้ด เช่น ก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลาและเย็นตาโฟ ข้าวขาหมู หมูสะเต๊ะ หอยทอด ผัดไทย ก๋วยจั๊บ น�้ำเต้าหู้ ห่าน และเป็ดพะโล้ หูฉลาม และกระเพาะปลา รังนก ข้าวหมูแดง ผลไม้ เกาลัดคั่ว บ๊ะจ่าง ติ่มซ�ำฯลฯ ที่ตั้งชุมชน : ไชน่าทาวน์ ถนนเยาวราช แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100 Website www.chinatownyaowarach.com
97
44 ชุมชนสรรพยา ชัยนาท เที่ยววิถีชุมชน คนสาปยา
อ�ำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท หรือบางทีคนในพืน้ ทีเ่ รียกกัน สั้นๆ เก๋ๆ ว่า เมืองสาปยา ค�ำว่า “สรรพยา” เพี้ยนมาจาก “สาปยา” ที่มาจากวรรณคดีรามเกียรติ์ ที่กล่าวถึงเขาสาปยา ก่อนแวะไปชมชุมชน ต้องไม่พลาดชมโรงพักเก่าสรรพยา อาคารโรงพักหลังนี้ถูกสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2444 หรือเมื่อ 115 ปี ที่แล้ว และถือว่าเป็นอาคารโรงพักที่เก่าแก่สุดในประเทศ
จากนั้นเดินเล่นในชุมชนตลาดโรงพักเก่าสรรพยา ซึ่งอยู่ ไม่ไกลจากโรงพัก ชม Street Art สรรพยา วิถีชุมชนคนในอดีต มี ภ าพเก๋ ๆ หลายภาพ เช่ น ภาพเด็ ก กระโดดเล่ น น�้ ำ ในแม่ น�้ ำ เจ้าพระยา ภาพฝูงควาย ภาพคนถือสุ่มจับปลา ชุมชนเก่าของสรรพยาจะมีบา้ นเรือนย้อนยุค บางหลังอายุ เป็นร้อยปี เดินกลางวันก็ได้บรรยากาศอีกแบบ เดินกลางคืนก็เก๋
เลยทีเดียว ชมความผสมกลมกลืนของพี่น้อง ชาวไทย-จีนแต้จิ๋ว ที่อยู่ร่วมกันมานับร้อยปี มีศาลเจ้าปึง ไถ่ กง ม่า, ร้านยาโบราณ, ร้านก๋วยเตี๋ยวป้าโหนก, ร้านกาแฟโรงพักป้าส�ำเนียง แล้วแวะชิม ขนมหน้ า งากุ ย หลี , เม็ ด ขนุ น จาวตาล, ข้ า วเกรี ย บลอยน�้ ำ , ข้าวกะเพราคนคุก และอีกมายมาย ก่อนแวะไปชมการท�ำน�้ำตาลปึก หรือน�้ำตาลโตนดของที่นี่ เขาจะหยอดใส่แม่พิมพ์ถ้วยดินเผา รอให้น�้ำตาลเย็นจึงแกะออก จากแม่ พิ ม พ์ หรื อ จะไปชมการปี น ต้ น ตาลชิ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าก ขนมตาล ชัยนาทนัน้ ขึน้ ชือ่ ว่ามีสม้ โอขาวแตงกวา อาจจะไม่หวานจัด นักแบบพันธุ์อื่นๆ ที่นี่เขาท�ำแพคเกจจิ้งมาในผักตบชวาสวยงาม ก่อนแวะไปชิมปลาร้าลุงสุบิน เปี่ยมแก้ว ท�ำปลาร้ามานานกว่า 30 ปี ใช้ทั้งปลาสร้อย ปลากระดี่ ปลาหมอ ปลาไส้ตัน ปลาสวาย และปลาหางแดงจากแหล่งธรรมชาติในท้องถิน่ ผลิตตามค�ำแนะน�ำ ของหน่วยงานสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด สรรพยามี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องชุ ม ชนที่ ขึ้ น ชื่ อ คื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผักตบชวา ที่พัฒนาออกมาเป็นผลิตภัณฑ์กระเป๋าถือและตะกร้า ที่สวยงาม วิถีชาวสรรพยายังมีเรือผีหลอก ใช้ในการท�ำประมง ท้องถิ่น ด้านหนึ่งติดแผ่นสังกะสีทาสีขาว เมื่อปลาเห็นสีขาว จะตกใจแล้วกระโดดขึ้นเรือ ชุมชนสรรพยามีความผูกพันกับเขือ่ นเจ้าพระยา เขือ่ นทดน�ำ้ ขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นเป็นแห่งแรกของประเทศไทย ท�ำให้ชุมชน อุดมสมบูรณ์ ก่อนปิดท้ายวันกับการไปชิมผัดไทยร้านต้นตะขบ แล้วล่องเรือชมแม่น�้ำเจ้าพระยา ชมพระอาทิตย์ตกยามค�่ำได้ บรรยากาศแสนฟิน
กิจกรรมเด่น : เดินเที่ยวตลาดเก่า ระยะทาง 400 เมตร ล่องเรือเที่ยว ระยะทาง 4 กิโลเมตร ดูกิจกรรมเป็ดไล่ทุ่ง ชมการจับปลาด้วยเรือผีหลอก ชมวิถีการท�ำน�้ำตาลโตนด ทดลองท�ำพวงมะโหด ทดลองท�ำอาหาร ท้องถิ่น สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าสรรพยา (เป็นผ้าเทคนิคพิเศษ ใช้การมัดย้อมผสมบาติก) ผักตบชวาสานกลุ่มบ้านอ้อย น�้ำตาล โตนดสด ไข่เป็ด ส้มโอพันธุ์ขาวแตงกวา ฯลฯ ที่ตั้งชุมชน : 70 หมู่ที่ 4 ต�ำบลสรรพยา อ�ำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 17150 โทรศัพท์ 099-026-0655 เทศบาลตำ�บลสรรพยา, วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเมืองสาปยา ชัยนาท 98
99
45 ชุมชนเมืองเก่าหัวหิน ประจวบคีรีขันธ์
เมืองตากอากาศสุดคลาสสิก ยลทะเลและบ้านไม้เก่า หัวหิน ได้ชอื่ ว่าเป็นเมืองตากอากาศชายทะเลแห่งแรกๆ ของ ไทย เติบโตขึน้ จากหมูบ่ า้ นประมงเล็กๆ จนกลายเป็นเมืองท่องเทีย่ ว ทีโ่ ด่งดังท่ามกลางกระแสโลกาภิวตั น์ แต่หากมองให้ลกึ ลงไปจะเห็น ว่า แท้จริงแล้วยังมีกลิ่นอายอดีตวันวาน และวัฒนธรรมการกินอยู่ แบบดัง้ เดิมของคนหัวหินแท้ๆ ให้ชม ทัง้ บริเวณหาดทรายชายทะเล เรือนไม้เก่า ตลาดเช้า และตลาดค�่ำ น่าค้นหาเรียนรู้ได้ไม่สิ้นสุด ก่อนจะมาเป็นเมืองหัวหินในวันนี้ ย้อนกลับไปสมัยรัชกาล ที่ 5 ชายทะเลแถบนี้แทบไม่มีคนอาศัยอยู่ มีเพียงบ้านบ่อฝ้าย บ้านเขาตะเกียบ บ้านบางจาก และบ้านบางแก้ว ที่อยู่ห่างออกไป ไม่มากนัก ต่อมาผู้คนเริ่มอพยพเข้ามาหักร้างถางพง ตั้งชื่อให้ว่า “บ้านสมอเรียง” มาจากค�ำว่า “ถมอเรียง” เป็นค�ำภาษาเขมร หมายถึง “หินเรียงกัน” แต่บางแหล่งสันนิษฐานว่ามาจาก “สมอเรือ ที่เรียงกัน” ในหมู่บ้านประมงนี้เอง ต่อมาช่วงรัชกาลที่ 6-7 มีการ สร้างบ้านพักตากอากาศริมทะเล บวกกับการมาถึงของทางรถไฟ สายใต้ ยิ่งเร่งให้บ้านสมอเรียงเติบโตขึ้น 100
แม้หวั หินจะคึกคักทีส่ ดุ ในฤดูรอ้ น แต่ชว่ งอืน่ ๆ ของปีกไ็ ม่เคย เงี ย บเหงา นั ก ท่ อ งเที่ ย วส่ ว นใหญ่ ใ ช้ เ วลาอยู ่ ริ ม หาดทราย เล่นน�ำ้ ขีม่ า้ บนหาด และรับประทานอาหารทะเลอร่อยๆ ในขณะ ทีว่ ถิ ชี วี ติ คนหัวหินดัง้ เดิมก็ยงั เคลือ่ นไปไม่หยุดนิง่ ไล่ตงั้ แต่หมูบ่ า้ น ประมงบริเวณสะพานปลา ที่มีเรือประมงน้อยใหญ่จอดเรียงราย รอเวลาออกทะเล น�ำปลาทีห่ าได้ขนึ้ มายังสะพานปลา เกิดวิถผี กู พัน ผู้คนกับคลื่นลมทะเลทุกเช้าค�่ำ ถัดจากชายทะเลขึ้นมา มีเรือนไม้เก่าและตึกแถวสมัยใหม่ เรียงรายสลับกันไปนับไม่ถ้วน ทั้งริมถนนใหญ่และตามตรอก ซอก ซอยเล็กๆ เรือนไม้เหล่านี้มีอายุไม่น้อยกว่า 50-100 ปี
แม้เก่าแต่ก็งดงาม สะท้อนสถาปัตยกรรมและเรื่องราวในอดีต เรื อ นไม้ ส ่ ว นใหญ่ ยั ง มี ค นอยู ่ อ าศั ย บางส่ ว นเปลี่ ย นเป็ น ร้ า น อาหาร ร้านกาแฟ เกสท์เฮ้าส์ หรือร้านขายของที่ระลึกน่ารักๆ น�ำ ศิลปะเข้ามาเติมเต็มภาพอดีต กลายเป็นเสน่ห์ในการท่องเที่ยว ร้ า นอาหารพื้ น บ้ า นในเรื อ นไม้ เ ก่ า ที่ น ่ า ไปชิ ม มี ห ลายหลั ง ทั้ ง “ร้านก๋วยเตีย๋ วเจ๊กเปีย๊ ะ” เป็นเรือนไม้สองชัน้ ขายอาหารหลากหลาย “ร้านตะโก้เสวยเบญจพงศ์” ที่ท�ำตะโก้สูตรพื้นบ้านมานานกว่า 60 ปี รวมถึง “ร้านข้าวเหนียวมะม่วงป้าเจือ” เจ้าดั้งเดิมที่อยู่คู่ เมืองเก่าหัวหินมาช้านาน เสน่ห์น่าเที่ยวอีกจุดหนึ่งอยู่ที่ “ตลาดฉัตรไชย” เป็นตลาด เก่าแก่สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2469 สมัยรัชกาลที่ 7 ยุคนั้นถือเป็น ตลาดสดที่ ทั น สมั ย และใหญ่ ที่ สุ ด สร้ า งด้ ว ยโครงสร้ า งเหล็ ก หลังคาโค้ง เรียงกัน 7 โค้ง สื่อถึงยุคสมัยที่สร้างนั่นเอง มีสินค้า ของกินของใช้ อาหารทะเลสดแห้ง พืชผักผลไม้ และของกิน นานาชนิด หรือจะเดินตามหา “จับปิ้ง” (คล้ายแจงลอนเสียบไม้ ของภาคตะวันออก) และ “ปิ้งงบ” (คล้ายห่อหมกทะเล ท�ำด้วย เนือ้ ปลาผสมเครือ่ งแกงห่อใบตอง ปิง้ จนสุก) ยามค�ำ่ ก็มถี นนคนเดิน ข้างตลาด เป็นจุดหมายที่นักท่องเที่ยวเดินเลือกซื้อสินค้า อาหาร ของที่ระลึกต่างๆ ชุมชนเมืองเก่าหัวหินคือ ตัวแทนภาพวันวาน ที่ปรากฏ อยู่ในวันนี้ และพร้อมจะก้าวเดินสู่วันข้างหน้า เพื่อย�้ำเตือนให้รู้ว่า หัวหินคือ เมืองในอ้อมกอดของทะเล อันเปี่ยมเสน่ห์ไม่เคยจืดจาง
กิจกรรมเด่น : ชมอาคารเรือนไม้เก่าเล่าเรือ่ งอดีต เทีย่ วชายทะเลหัวหิน เดินเทีย่ ว ตลาดฉัตรไชยยามเช้า ชมวิถีประมงที่สะพานปลาหัวหิน ถ่ายภาพ คู่กับอนุสาวรีย์โผน กิ่งเพชร ชิมอาหารท้องถิ่นหลากหลาย สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าโขมพัสตร์ อาหารทะเลสด-แห้ง โมบายเปลือกหอยทะเล ข้าว เหนียวมะม่วง ขนมหวาน ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนเมืองเก่าหัวหิน เลขที่ 2 หมู่ 10 ถนนเพชรเกษมแนวใหม่ ต� ำ บลทั บ ใต้ อ� ำ เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ 77110 โทรศัพท์ 081-821-5695 Website : www.prachuapkhirikhan.go.th
101
46 ชุมชนแหลมผักเบี้ย เพชรบุรี ล่องเรือดูวาฬ บ้านของทรายเม็ดแรก
เพชรบุรี จังหวัดน่าเทีย่ วชายทะเลอ่าวไทยตอนบน ทีอ่ บอวล ด้วยเสน่ห์ของหาดทราย สายลมแสงแดด และน�้ำทะเลสีฟ้าคราม สะอาดตา มีป่าชายเลนผืนใหญ่เป็นแหล่งอาศัยของสรรพชีวิต ช่วยต่อเติมวิถีประมงท้องถิ่นให้คงอยู่ เกิดเป็นสายใยเชื่อมโยง ธรรมชาติและผู้คนเข้าด้วยกัน ชุมชนแหลมผักเบี้ย ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอบ้านแหลม ถิ่นที่ มีนาเกลือผืนใหญ่ทอดยาวริมทะเล แนวหาดบริเวณนี้เงียบสงบ มาก เหมาะชวนกันไปพักผ่อนได้ทงั้ ครอบครัว ชุมชนแหลมผักเบีย้ มีอาชีพประมง ออกเรือระยะใกล้แถบชายฝั่ง น�ำกุ้ง หอย ปู ปลา
ที่หาได้มาขายกันสดๆ ทุกวัน อาหารทะเลของที่นี่จึงปลอดภัย สดใหม่รสชาติชวนรับประทาน ชาวบ้านได้รวมกลุ่มเพื่อสร้างความเข้มแข็ง ทั้งในแง่การ ท�ำประมง และด้านการท่องเที่ยวเรียนรู้วิถีท้องถิ่น จัดตั้งเป็น “วิสาหกิจชุมชนแพปลาแหลมผักเบี้ย” และร้านอาหารชื่อเก๋ “โอ้โหปูอร่อย” เป็นจุดศูนย์กลางในการนัดพบและเรียนรู้ วิสาหกิจชุมชนฯ ชุมชนนี้ตั้งอยู่ติดล�ำคลองเล็กๆ ที่มีแนวป่าชายเลนแน่นทึบ และเรือประมงขนาดเล็กจอดเรียงราย ด้านหน้าเปิดเป็นร้านอาหาร ทะเล ที่มีซีฟู้ดให้ชิมทุกวัน โดยเฉพาะปูม้า ปูด�ำ กั้ง กุ้ง หมึก ปลา ชนิดต่างๆ และหอยตลับผัดเผ็ดอันเลื่องชื่อ มาถึงที่นี่ต้องชิมต้มย�ำ ทะเลรวม ปลากะพงทอดราดน�้ำปลา น�้ำพริกแดง ใบชะคราม
ราดกะทิ หอยจ๊อปู สาหร่ายพวงองุ่นสดฯลฯ นี่คือ ผลผลิตจาก ท้องทะเลเมืองเพชรที่ยังสมบูรณ์ล้นเหลือ “ธนาคารปูม้า” คือ สถานที่รับซื้อแม่ปูไข่นอกกระดองจาก ชาวประมง มาเลี้ยงจนออกไข่ จากนั้นอนุบาลลูกปูจนตัวโตแข็ง แรงพอจะปล่อยคืนสูท่ ะเล จึงมีกจิ กรรมช่วยอนุรกั ษ์ธรรมชาติ CSR ปล่อยลูกปูลงทะเลที่แหลมหลวง ที่ได้รับฉายาว่าเป็น “โคลนก้อน สุดท้าย ทรายเม็ดแรกของฝั่งอ่าวไทย” ด้วย เนือ่ งจากถ้าไล่ดแู ผนทีข่ นึ้ ไปจากจุดนีถ้ งึ จังหวัดสมุทรสงคราม จะพบว่าแหลมหลวงคือ หาดทรายแท้ๆ จุดแรกของฝั่งอ่าวไทย จริงๆ บริเวณนี้มีแนวต้นสนและหาดทรายเงียบสงบทอดยาว สุดลูกหูลกู ตา เหมาะลงไปเดินเล่นสัมผัสทรายนุม่ ๆ สีนำ�้ ตาลอ่อน และน�ำ้ ทะเลสีฟา้ ครามใสเย็นเหมือนสปาธรรมชาติ หากน�ำเม็ดทราย บริเวณนี้ขึ้นมาพิจารณาดูจะเห็นว่า เกิดจากการสลายตัวของ เปลือกหอยและทรายซิลิก้า จึงนับเป็นหาดทรายแสนพิเศษที่ น่าไปสัมผัสสักครั้ง ที่ ร ้ า นโอ้ โ หปู อ ร่ อ ยยั ง เป็ น จุ ด ลงเรื อ ล่ อ งออกทะเลไปชม “วาฬบรูดา้ ” ด้วย โดยสามารถชมได้ในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม เท่านัน้ เมือ่ วาฬบรูดา้ ว่ายน�ำ้ ตามอาหารเข้ามาหากินปลาขนาดเล็ก ทีว่ า่ ยน�ำ้ ไม่เร็วนักใกล้ผวิ น�ำ ้ เช่น ปลากะตัก ปลาอกกะแล้ ปลาอีโกย และปลาทูขนาดเล็ก หากคุณเป็นคนรักทะเล หลงใหลในความงามของธรรมชาติ และวิถีชีวิตผู้คน รับรองเลยว่าชุมชนแหลมผักเบี้ยจะกลายเป็น สวรรค์น้อยๆ ที่หวนกลับมาสัมผัสได้ครั้งแล้วครั้งเล่า
กิจกรรมเด่น : เยี่ยมชนธนาคารปูม้า CSR ปล่อยลูกปูลงทะเล ล่องเรือดูวาฬ บรูดา้ ชมวิถปี ระมงพืน้ บ้าน ดูฟาร์มสาหร่ายพวงองุน่ ชมหาดทราย เม็ดแรกที่แหลมหลวง ชมป่าชายเลนโครงการฯแหลมผักเบี้ย ชิมซีฟู้ดอร่อยๆ สดใหม่จากทะเลทุกวัน สินค้าชุมชนเด่น : ปูม้า สาหร่ายพวงองุ่น ผ้ามัดย้อมเปลือกโกงกาง เครื่องจักสาน ต้นธูปฤาษี ลูกตาลลอยแก้ว ที่ตั้งชุมชน : วิสาหกิจชุมชนแพปลาแหลมผักเบี้ย ต�ำบลแหลมผักเบี้ย อ�ำเภอ บ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี 76110 โทรศัพท์ 080-250-2537 Website https://phetchaburi.mots.go.th 102
103
47 บ้านถ�้ำรงค์ เพชรบุรี ท่องเที่ยววิถีชุมชน คนกับตาล
ว่ากันว่าจังหวัดเพชรบุรี และวิถีตาลโตนด เป็นของคู่กัน จนแยกไม่ออก เพราะป่าตาลทีเ่ ห็นขึน้ อยูท่ วั่ ไป ตามหัวไร่ปลายนา มีความผูกพันกับคนเมืองเพชรมาหลายร้อยปีแล้ว การจะท�ำความ รู้จักคนเมืองเพชรให้ลึกซึ้ง จึงต้องเข้าใจวิถีตาลโตนดด้วย แถบอ�ำเภอบ้านลาด ของเพชรบุรี มีภูมิประเทศเป็นที่ลุ่มต�่ำ ดินด�ำน�้ำชุ่มปลูกข้าวได้ดี และมีต้นตาลโตนดนับไม่ถ้วนยืนต้นสูง ชะลูด กระจายอยู่ทั่วไปให้เห็นจนชินตา ผลิตผลด้านอาหารจากตาลโตนดมีมากมาย ทัง้ ลูกตาลสด ลูกตาลเชื่อม น�้ำตาลโตนดสด น�้ำตาลโตนดแว่น ขนมตาล และ อาหารพื้นบ้านนานาชนิด ชุมชนบ้านถ�้ำรงค์ อ�ำเภอบ้านลาด คือชุมชนคนเมืองเพชร แท้ๆ ทีย่ งั คงอนุรกั ษ์สบื สานวิถตี าลโตนดไว้ มิให้สญ ู หาย แม้ตน้ ตาล โตนดรุ่นเก่าๆ จะโค่นล้มลงไปบ้างเพราะอายุขัย หรือถูกโรคแมลง ท�ำร้าย ทว่าชาวบ้านได้ปลูกเสริมใหม่ จึงมีทงั้ ป่าตาลตามธรรมชาติ ขึ้นแซมอยู่ตามหัวไร่ปลายนาแลเขียวสดชื่น และป่าตาลปลูก ที่เรียงรายเป็นทิว ตาลโตนดเป็นปาล์มขนาดใหญ่ ล�ำต้นสูงหลายสิบเมตร และมีใบแฉกแตกเป็นพุม่ กลมเฉพาะส่วนยอด บางต้นเป็นตาลแฝด แตกออกเป็นสองหรือสามล�ำในต้นเดียวก็มี ชาวบ้านเรียนรูท้ จี่ ะใช้ ไม้พะองพาดขึน้ ไป เก็บเกีย่ วผลผลิตรองน�ำ้ ตาลโตนด มาปรุงอาหาร หรือขนม ให้รสชาติกลิ่มหอมกลมกล่อมกว่าน�้ำตาลทราย ธรรมชาติทุ่งนาป่าตาลของบ้านถ�้ำรงค์ สร้างความสดชื่นให้ อย่างดียามได้พบเห็น โดยเฉพาะที่ “สวนตาลลุงถนอม” มีปา่ ตาล ต้นใหญ่ปลูกเรียงรายไว้นบั ร้อย ร่มรืน่ น่าเดินเทีย่ ว เป็นศูนย์เรียนรู้ วิธกี ารท�ำน�ำ้ ตาลโตนดอย่างละเอียด ชมการขึน้ ต้นตาลเก็บน�ำ้ ตาล โตนด การเคี่ยวน�้ำตาลสด และชิมน�้ำตาลโตนด กว่าจะได้น�้ำตาล โตนดสดสักกระบอกหนึ่ง ต้องใช้ภูมิปัญญาและความอุตสาหะ ปีนป่ายไม้พะองขึ้นไปนวดงวงตาลหลายวัน กว่าจะได้ปาดตาล
104
จากสวนตาลลุ ง ถนอมไปแค่ 10 นาที คื อ ที่ ตั้ ง ของ “ครัวต้นตาลเชฟชุมชน” บ้านถ�้ำรงค์ เสน่ห์ของที่นี่คือ เราจะได้ ลองท�ำขนมตาลด้วยฝีมือตัวเอง และมีอาหารพื้นบ้านอร่อยๆ ให้ชิมด้วย ทั้งแกงหัวตาล ขนมโตนดทอด น�้ำพริกปลาทู แกงป่า ไก่บ้าน ฯลฯ กิจกรรมท�ำขนมตาลเริ่มจากการยีตาล ซึ่งก็คือ การน�ำ ลูกตาลสุกมาปอกเปลือก แล้วใช้มือยีเนื้อสีทองอร่ามด้านในจนมี น�ำ้ ไหลออกมา จากนัน้ น�ำใส่ผา้ ขาวบางทิง้ ไว้ 1 คืน จนได้เนือ้ ตาลข้นๆ จับตัวเป็นก้อน น�ำมาผสมหัวกะทิ น�้ำตาลทราย และเกลือ โดย สูตรของบ้านถ�้ำรงค์จะไม่ใส่แป้งหรือผงฟูเลย จึงได้ขนมตาลแท้ๆ รสชาติหอมหวานเป็นธรรมชาติ ส่วนแกงหัวตาลมีลักษณะคล้าย แกงคั่วหัวตาลอ่อน เนื้อนุ่มให้เนื้อสัมผัสละมุนลิ้นมาก เพชรบุรีไม่ได้มีแต่ทะเล ทว่ายังมีวิถีชีวิตที่ผูกพันอยู่กับทุ่งนา ป่าตาลอย่างแยกกันไม่ออก ชุมชนบ้านถ�้ำรงค์ช่วยสืบสานต้นตาล ไว้ให้อยู่คู่เมืองเพชร ตราบนานเท่านาน
กิจกรรมเด่น : ชมป่าตาลโตนด ดูสาธิตขึน้ ต้นตาล เก็บน�ำ้ ตาลโตนด ดูวธิ กี ารเคีย่ ว น�้ำตาลโตนด ท�ำขนมลูกตาลสดแท้ๆ ชิมอาหารต�ำรับบ้านถ�้ำรงค์ เช่น แกงหัวตาล สินค้าชุมชนเด่น : ขนมตาล ลูกตาลสด น�้ำตาลโตนดสด ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านถ�้ำรงค์ ต�ำบลถ�้ำรงค์ อ�ำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี 76150 โทรศั พ ท์ 099-246-9099 (สวนตาลลุ ง ถนอม) / 082-252-4990 (ครัวตาลโตนด) ท่องเที่ยวโดยชุมชนต�ำบลถ�้ำรงค์
105
48 บ้านถ�้ำเสือ เพชรบุรี
แหล่งเรียนรู้วิถีพอเพียง เคียงคู่ป่าแก่งกระจาน
ป่าแก่งกระจาน ไม่ได้เป็นเพียงป่าขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ผืนหนึง่ ของ ไทยเท่านั้น ทว่ายังเป็นป่ามรดกโลกที่องค์การยูเนสโกประกาศ รับรองเมื่อปี พ.ศ. 2564 บ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ และความ หลากหลายทางชีวภาพ ทว่าหากขาดการอนุรักษ์อย่างถูกต้อง ป่าผืนนี้ก็มิอาจคงอยู่ได้อย่างยั่งยืน
106
ชุมชนบ้านถ�ำ้ เสือ อ�ำเภอแก่งกระจาน คือ คนทีอ่ ยูร่ ว่ มกับป่า อาศัยความฉ�่ำเย็นของแม่น�้ำเพชรบุรี ที่ผ่านเขื่อนแก่งกระจาน ลงมา ตั้งถิ่นฐานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2487 ในยุคที่ยังเป็นป่าดงดิบเต็มไป ด้วยช้าง กระทิง และเสือ มีชาวบ้านพบรอยเท้าเสือขนาดใหญ่ หน้าปากถ�้ำแห่งหนึ่ง จึงตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านถ�้ำเสือ”
ปัจจุบันได้พัฒนาเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ มี เส้นทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติเขาตาเป็น ปลูกป่า ดูธนาคาร ต้นไม้ ล่องแพในล�ำน�้ำเพชรบุรี พักโฮมสเตย์ กางเต็นท์แคมปิ้ง ชิ ม อาหารพื้ น บ้ า นอร่ อ ยๆ และมี สิ น ค้ า ชุ ม ชนที่ น ่ า อุ ด หนุ น มากมาย บ้านถ�ำ้ เสือได้นอ้ มน�ำวิถเี กษตรพอเพียงมาปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง จนเกิดผลชืน่ ใจ รวมถึงมีกจิ กรรมศึกษาธรรมชาติสร้างความเข้าใจ ในระบบนิเวศ ให้คนเห็นคุณค่าของป่าไม้ สายน�้ำ สัตว์ป่า และ พืชพรรณ “โครงการธนาคารต้นไม้” เกิดขึน้ ด้วยหลักคิดทีว่ า่ ต้นไม้ทกุ ต้นมีมลู ค่าทางเศรษฐกิจ ตีราคาเป็นตัวเงินจ�ำนองไว้กบั ธนาคารได้ เพือ่ ปลดหนี้ หรือกูเ้ งินมาใช้จา่ ยในครัวเรือน เช่น ต้นสัก ตะเคียนทอง พะยูง ยางนา มะค่าโมง มะฮอกกานี ฯลฯ เป็นหลักประกัน ขอสินเชื่อจากธนาคาร โดยตีมูลค่าไม้จากขนาดเส้นรอบวง ต้นไม้ ยิ่งโตขึ้น มูลค่าก็ยิ่งเพิ่ม หนี้ที่กู้ไว้กับธนาคารก็จะยิ่งลดลง บ้านถ�้ำเสือมีบรรยากาศร่มรื่น เพราะอยู่ในอ้อมกอดของ พงไพรเขียวสด อากาศเย็นสดชื่นตลอดปี แม่น�้ำเพชรบุรีไหลผ่าน มีกิจกรรมเชิงนิเวศสนุกๆ ให้ท�ำได้ไม่เบื่อ ตั้งแต่การเล่นน�้ำ ล่องแพยางไปตามล�ำน�้ำเพชรบุรี ชมธรรมชาติ แมกไม้ และ นกนานาชนิด โดยเฉพาะนกเงือกที่มีชุกชุม บ้านถ�้ำเสือมีสวนผลไม้ด้วย ผลไม้เด่นที่ต้องชิมคือ ทุเรียน เงาะ และมังคุด หรือจะไปเดินเที่ยวสวนเกษตรดูพืชผักอินทรีย์ ยิ่งกว่านั้นยังมีฐานเรียนรู้ต่างๆ อาทิ ฐาน “คนเอาถ่าน” น�ำกิ่งไม้ เศษไม้มาเผาถ่านในเตาอิวาเตะ จนได้ถ่านไม้ปลอดสารก่อมะเร็ง
ฐาน “เสือคลุกดิน” ปั้นกระสุนดินเมล็ดพันธุ์ ยิงหนังสติ๊กปลูกป่า ฐาน “ปุย๋ เบญจคุณ” ท�ำปุย๋ อินทรียจ์ ากวัสดุธรรมชาติ ใช้กากน�ำ้ ตาล ดินขุยไผ่ ดินโคกก้ามปู แป้งข้าวหมาก อาหารปลาดุก ร�ำละเอียด และน�้ ำ อี เ อ็ ม คลุ ก เคล้ า กั น ช่ ว ยเพิ่ ม จุ ลิ น ทรี ย ์ ใ นดิ น ได้ ดี เ ยี่ ย ม ฐาน “ห่อแล้วคลึง” ท�ำขนมอีตุย ซึ่งเป็นขนมโบราณคล้ายขนม ไข่หงส์ฯลฯ ก่อนกลับบ้าน อย่าลืมอุดหนุน “ทองม้วนน�ำ้ ตาลโตนด” สูตร ป้าเล็กบ้านถ�้ำเสือ ผสมน�้ำตาลโตนดบ้านลาดลงไปด้วย ท�ำให้ทอง ม้วนหอมหวาน เนื้อบางกรอบก�ำลังดี มีรสเค็มผสมผักชี พริกไทย และรสหวานอบควันเทียน หากไม่มปี า่ ก็ไม่มสี ายน�ำ ้ หากปราศจากสายน�ำ ้ ก็คงไม่มชี วี ติ ชุมชนบ้านถ�ำ้ เสือเป็นหนึง่ ในฟันเฟือง ทีช่ ว่ ยให้เราเข้าใจสายใยแห่ง ป่าแก่งกระจานอันยิ่งใหญ่ ด้วยวิถีท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ อย่างครบเครื่อง
กิจกรรมเด่น : เดินป่าศึกษาธรรมชาติเขาตาเป็น ชมสวนผลไม้และแปลงผัก ชมธนาคารต้ น ไม้ ปั ้ น กระสุ น เมล็ ด พั น ธุ ์ ยิ ง หนั ง สติ๊ ก ปลู ก ป่ า ล่องแพยาง พักโฮมสเตย์ หรือกางเต็นท์นอนใกล้ชิดธรรมชาติ สินค้าชุมชนเด่น : ทองม้วนน�้ำตาลโตนด ไข่เค็มพอกใบเตย กล้วยฉาบเค็ม น�้ำพริก แกงเผ็ด ไม้ฝางต้มดื่ม ที่ตั้งชุมชน : หมู่ 3 ต�ำบลแก่งกระจาน อ�ำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี 76170 โทรศัพท์ 081-130-3835 / 082-918-7774 โฮมสเตย์บ้านถ�้ำเสือ 107
49 บ้านนาพันสาม เพชรบุรี
อาณาจักรแห่งขนมหวาน น�้ำตาลเมืองเพชร
“นาพันสาม นครขนมหวาน” นี่คือ ฉายาที่น่าภาคภูมิใจ ของชาวบ้านชุมชนนาพันสาม อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี เพราะ ถือเป็นชุมชนที่มีการท�ำขนมหวานมากที่สุดแห่งหนึ่ง ส่งขายไปทั่ว ประเทศไทย ทั้งยังช่วยรักษาวิถีอาหารไทยให้คงอยู่ ชุมชนนาพันสามอยูอ่ าศัยในพืน้ ทีต่ รงนีม้ านานนับร้อยปีแล้ว ในอดีตมีฐานะเป็นเพียงหมู่บ้าน แต่เมื่อขยายตัวขึ้นจึงได้ยกฐานะ เป็นต�ำบล และเรียกชื่อว่า “นาพันสาม” มานับแต่นั้นอาชีพหลัก ของคนทีน่ คี่ อื ท�ำนา ท�ำไร่ ขึน้ ตาลโตนด เลีย้ งเป็ดและไก่ไข่ รวมถึง สืบสานการท�ำขนมหวานแบบไทยๆ มาเนิ่นนาน
108
ขนมไทยพื้ น บ้ า นของนาพั น สามได้ รั บ การพั ฒ นาสู ต ร ความอร่อยแบบก้าวกระโดด ในสมัยรัชกาลที่ 4 ซึ่งเสด็จแปร พระราชฐานมายังเขาวัง (พระนครคีรี) ในอ�ำเภอเมืองเพชรบุรี อยู่เนืองๆ และสูตรขนมไทยของห้องเครื่องในวังนี้เอง ได้ถูก ถ่ายทอดมาสูช่ าวเมืองเพชรบุรี และชาวบ้านนาพันสามในทีส่ ดุ การเข้ามาสัมผัสบรรยากาศในชุมชนนาพันสาม จะช่วยให้เรา ย้อนภาพอดีตของวิถไี ทยภาคกลางได้เป็นอย่างดี ภาพทุง่ นาสีเขียว สุดลูกหูลกู ตา ทีม่ ตี น้ ตาลโตนดขึน้ อยูต่ ามหัวไร่ปลายนา เก็บน�ำ้ ตาล มาผสมท�ำขนมได้หวานอร่อย และยังมีเรือนไทยโบราณ เรือนไทย ประยุกต์สมัยใหม่ สืบทอดสถาปัตยกรรมภาคกลางให้เราได้ชม นับร้อยหลังคาเรือน กลิ่นของขนมหวานนานาชนิด ที่ล่องลอยออกมาจากบ้าน ต่างๆ ช่างเย้ายวนชวนเชิญให้เข้าไปชม ชิม ช้อป ทัง้ ขนมหม้อแกง ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง เม็ดขนุน ขนมชั้น ลูกชุบฯลฯ แต่ละบ้านมักจะท�ำขนมแค่อย่างเดียว เพือ่ ไม่ให้แย่งส่วนแบ่ง กัน วัตถุดบิ ทีใ่ ช้กส็ ร้างรายได้หมุนเวียนในชุมชนด้วย เช่น บ้านใดท�ำ ทองหยอด ก็จะรับซือ้ ไข่ไก่ทเี่ ลีย้ งในนาพันสาม บ้านใดท�ำฝอยทอง ก็รับซื้อไข่เป็ดในชุมชน เพื่อให้ได้ฝอยทองสีเข้มสดใส หรือบ้านใด ท�ำเม็ดขนุน ก็จะรับซือ้ ถัว่ เขียวจากทัง้ ในชุมชนและต่างจังหวัด เริม่ งานตั้งแต่ 6-7 โมงเช้า ท�ำขนมเสร็จไม่เกินบ่าย 2 โมง ชาวบ้านจึง ไม่ต้องออกไปท�ำงานต่างถิ่น มีเวลาอยู่ใกล้ชิดครอบครัว
นอกจากวิถขี นมหวานแล้ว อีกหนึง่ สถานทีห่ า้ มพลาดในชุมชน นาพันสามคือ “วัดนาพรม” วัดโบราณสมัยกรุงศรีอยุธยาตอน ปลาย มีภาพจิตรกรรมฝาผนังงามล�้ำ รวมถึงมีพระประธานศิลปะ สุโขทัย ในช่วงเดือนกรกฎาคม วัดนาพรมยังจัดงาน “ตักบาตรบน หลังเกวียน” แห่งเดียวในโลก สืบสานประเพณีโบราณของชาวนา พันสาม ย้อนภาพอดีตที่พระสงฆ์ใช้เกวียนในการออกบิณฑบาต นี่คือ นครแห่งขนมหวานเมืองเพชร ที่ส่งความสุขผ่านขนม หวานไปทัว่ ประเทศ ภายใต้วถิ ไี ทยเก๋ไก๋ลกึ ซึง้ สมเป็นชุมชนเก่าแก่ และเต็มไปด้วยเรื่องราวอย่างแท้จริง
กิจกรรมเด่น : ชม ชิ ม ช้ อ ป ในโรงงานท� ำ ขนมไทย ดู ส าธิ ต ท� ำ ขนมต่ า งๆ ชมบรรยากาศทุง่ นาป่าตาล และเรือนไทยแท้ๆ นมัสการวัดนาพรม สมัยอยุธยา ชมพิพิธภัณฑ์ชาวนา และโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมตักบาตรบนหลังเกวียน แห่งเดียวในโลก ช่วงเดือนกรกฎาคม สินค้าชุมชนเด่น : ขนมหม้อแกง ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง เม็ดขนุน ขนมชั้น ลูกชุบ ไข่เค็ม ที่ตั้งชุมชน : อบต.นาพันสาม 118 หมู่ 8 ต�ำบลนาพันสาม อ�ำเภอเมือง จังหวัด เพชรบุรี 76000 โทรศัพท์ 032-598-177 Website www.napansam.go.th 109
50 ชุมชนตลาดเก่าโพธาราม ราชบุรี
4 วัฒนธรรมผสมกลมกลืน ภาพวันวานยังหวานอยู่
เมื่อเอ่ยถึง “จังหวัดราชบุรี” คนส่วนใหญ่อาจจะนึกถึงโอ่ง มังกร ซึง่ ชาวจีนโพ้นทะเลทีอ่ พยพเข้ามา ท�ำเป็นสินค้าส่งขายจน โด่งดังมาหลายสิบปี ทว่าราชบุรยี งั มีแง่มมุ อืน่ ๆ ทีน่ า่ สนใจให้เรียน รู้อีกมาก โดยเฉพาะด้านชุมชนและชาติพันธุ์หลากวัฒนธรรม เนื่องจากราชบุรีเป็นหัวเมืองที่เก่าแก่มากนั่นเอง อ�ำเภอโพธาราม เป็นแหล่งที่น่าไปเยี่ยมเยือน เพราะมี ประวัติศาสตร์ยาวนาน และมีคนมากถึง 4 เชื้อชาติอาศัยอยู่ ร่วมกันมาหลายชั่วอายุคน ทั้งชาวจีน มอญ ลาว และไทย เกิดเป็นเบ้าหลอมทางวัฒนธรรมที่ผสมกลมกลืน ดังปรากฏ หลักฐานในบันทึกพระราชหัตถเลขาฉบับที่ 4 ในรัชกาลที่ 5 ว่า “โพธารามนี้เป็นที่ตลาดอย่างส�ำเพ็ง ยืดยาวมาก ผู้คนหนาแน่น จ�ำนวนคนในโพธารามมีถึง 40,000 มากกว่าอ�ำเภอเมืองราชบุรี เสียอีก” แสดงให้เห็นว่า โพธารามเป็นเมืองท่าริมน�้ำแม่กลองที่ เฟือ่ งฟูมาก ส่วนใหญ่คอื ชาวจีนทีเ่ ข้ามาสมัยรัชกาลที่ 3 ทัง้ เจ้าสัว แรงงานในโรงสีข้าว ท�ำโอ่งมังกร โรงโม่หิน ค้าขายทั่วไป ชุมชนย่านตลาดเก่าโพธารามได้รบั การปรับปรุงภูมทิ ศั น์ ซ่อมแซมบ้านไม้เก่าแก่ และน�ำศิลปะยุคใหม่เข้าไปเสริมเติม ชีวิตชีวา ในฐานะเมืองท่องเที่ยวย้อนยุคส�ำหรับคนโหยหาอดีต เดินชมเรือนไม้เก่าห้องแถวสลับกับอาคารปูน ต่อเนื่องเชื่อมโยง กันจากตลาดบน ตลาดกลาง ตลาดล่าง ไปจรดริมน�ำ้ แม่กลองยัง คงใสไหลเย็น สร้างความน่าอภิรมย์เมื่อได้ชมและเยี่ยมเยือน เดินเทีย่ วลัดเลาะไปตามตรอก ซอก ซอยได้ อย่างไม่เร่งร้อน ควรเริ่มต้นที่ “บ้านแม่เลขา” เป็นเรือนไม้เก่าสองชั้นที่ปรับปรุง ขึ้นจนสวยงาม ท�ำหน้าที่เป็นศูนย์ข้อมูลชุมชน ส่วนของ “ตลาด บน” ประกอบด้วยบ้านแม่เลขา มี “วิกครูทวี” เป็นโรงหนังเก่า โด่งดังเมื่อยุค 60-70 ปีก่อน 110
นอกจากนี้ยังมี “วัดไทรอารีรักษ์” วัดมอญสมัยปลายกรุง ศรีอยุธยา ภายในโบสถ์เก่ามีเก๋งจีนสูงเกือบเท่าตึกสองชั้นตั้งอยู่ กลางโบสถ์ ใครไปวัดนีใ้ นวันลอยกระทงจะได้รว่ มประเพณีเก่าแก่ “ลอยประทีปแบบมอญ” และในตลาดบนยังมี “ห้องภาพเสถียร ทอง” ร้านถ่ายภาพย้อนยุคเมือ่ 50-60 ปีกอ่ น เหมือนหลุดเข้าไป ในโลกอดีตจริงๆ ส่วนของตลาดกลางมีวดั โพธาราม ประดิษฐานพระพุทธรูป ปางสุโขทัยแกะสลักด้วยศิลาแลง คู่บ้านคู่เมืองโพธาราม รวมถึง ยังมีตลาดสดเทศบาล สถานีรถไฟโพธาราม และวิวเขือ่ นริมแม่นำ�้ ให้ชื่นใจ ส่วนตลาดล่างมีศาลโป๊ยเซียนโจวซือ ศาลเจ้าปุนเถ่ากง ศาลเจ้าพ่อกวนอู รวมทั้งวัดโพธิ์ไพโรจน์ และวัดโชค ซึ่งมี พระพุทธรูปองค์ใหญ่มากให้กราบขอพร เสน่หอ์ ย่างหนึง่ ของชุมชนตลาดเก่าโพธารามคือ อาหาร อร่อยหลากหลายรอให้ไปชิม ไม่ว่าจะเป็นหมูสะเต๊ะรสเด็ด ข้าวหมูแดง ข้าวหน้าเป็ด ตรงข้ามวิกครูทวี ถ้ายังไม่อิ่มต้องไป ต่อด้วย ข้าวต้มปลาเฮียใหญ่ ก๋วยเตี๋ยวเจ๊อ่อน ขนมจีนป้าเง็ก หอยทอดนายตี๋ เจ๊หนูทับทิมกรอบและไอศกรีม รวมถึงอาหาร
ขึ้นชื่อประจ�ำโพธาราม “เต้าหู้ด�ำสมุนไพร” ร้านแม่เล็กและเจ๊อั้ง ซอยจับกัง เคล็ดลับความอร่อยคือ ใช้ถวั่ เหลืองแท้ 100 เปอร์เซ็นต์ ต้มในน�้ำพะโล้เครื่องยาจีนนานถึง 3 วัน 3 คืน ตลาดเก่าโพธารามคือ จุดบรรจบแห่งอดีตและปัจจุบัน ที่ซึ่ง ภาพของวันวานยังแจ่มชัด สมเป็นชุมชนริมน�ำ้ แสนน่ารัก ซึง่ มีเรือ่ ง เล่า เรื่องราวให้ค้นหาได้ไม่สิ้นสุดจริงๆ
กิจกรรมเด่น : เดินชมเรือนไม้โบราณย่านตลาดบน ตลาดกลาง ตลาดล่าง ชมบ้าน แม่เลขา สักการะวัดไทรอารีรักษ์ ชมวิกครูทวี ชมห้องภาพเสถียร ทอง ชิมอาหารอร่อยๆ มากมาย สินค้าชุมชนเด่น : เต้าหู้ด�ำแม่เล็กโพธาราม ไชโป้วหวานตราชฎา ตุ๊กตายัดนุ่น ที่ตั้งชุมชน : เลขที่ 10,12 และ 14 ถนนโพธาราม ต�ำบลโพธาราม อ�ำเภอ โพธาราม จังหวัดราชบุรี 70120 โทรศัพท์ 089-665-5154 อย่าลืมโพธาราม
111
51 ชุมชนตลาดน�ำ้ เหล่าตัก ๊ ลัก ราชบุรี
ชีวต ิ กับสายน�ำ้ ความลงตัว แห่งอดีตและปัจจุบน ั ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวก ชื่อนี้หลายคนคงคุ้นหูเป็นอย่างดี เพราะถือเป็นตลาดน�้ำที่มีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักของชาวต่างชาติ แต่ละวันมีคนไปเที่ยวจ�ำนวนมาก แต่ที่จริงตลาดน�้ำแห่งแรกของ อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก มิใช่ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวก ทว่ามีอีกตลาด ที่อยู่ถัดออกไปไม่ไกลในล�ำคลองต่อเนื่องกัน นามว่า “ตลาดน�้ำ เหล่าตั๊กลัก” ซึ่งนับถึงวันนี้มีอายุไม่น้อยกว่า 140 ปีแล้ว ว่ากันว่า เป็นตลาดน�้ำแห่งแรกๆ ของไทยเลยทีเดียว ตลาดน�้ำเหล่าตั๊กลัก ตั้งอยู่ริมคลองด�ำเนินสะดวก ซึ่งเป็น คลองขุดด้วยแรงงานคนในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นคลองขุดทีย่ าวและ ตรงที่สุดของไทยคือยาวถึง 32 กิโลเมตร ด้วยฝีมือแรงงานชาวจีน แต้จิ๋ว และจีนไหหล�ำ ใช้เวลาขุดอยู่ 2 ปีกว่า (ปี พ.ศ.2409-2411) เพือ่ ใช้เป็นคลองลัด เชือ่ มแม่นำ�้ ท่าจีนและแม่นำ�้ แม่กลองเข้าด้วยกัน คลองด�ำเนินสะดวกช่วยหล่อเลีย้ งวิถเี กษตรสองฝัง่ ชาวบ้านพายเรือ น�ำพืชผลนานาชนิดมาค้าขายแลกเปลี่ยนกัน เกิดเป็นตลาดน�้ำ เหล่าตั๊กลักขึ้นในที่สุด
112
ข้าวมันส้มต�ำ แกงไก่พริกขี้หนู หมูฝอย น�้ำพริกมะขามเปียก และ ข้าวเกรียบปากหม้อรสเด็ด แล้ ว ยั ง สามารถเดิ น ต่ อ ไปชม “วั ด ราษฎร์ เ จริ ญ ธรรม” วัดเก่าแก่ที่อยู่คู่ชุมชนมานาน ชม “โรงเจฮะอี่ตั๊ว” โรงเจแห่งแรก ของคลองด�ำเนินสะดวก รวมถึงยังมีกิจกรรมปั่นจักรยานเที่ยวชม วิถสี วนมะพร้าว แวะชิมมะพร้าวน�ำ้ หอมทีเ่ ก็บจากต้นในสวนใหม่ๆ และมีบ้านที่ท�ำผลิตภัณฑ์ชุมชนต่างๆ ให้อุดหนุน ทั้งไม้กวาดทาง มะพร้าว น�้ำตาลมะพร้าว ข้าวทอดกระทงทอง วันนี้สายน�้ำในล�ำคลองด�ำเนินสะดวกยังไหลไป เช่นเดียวกับ วิถีชีวิตชาวเหล่าตั๊กลัก ที่ยังคงด�ำเนินไปเฉกเช่นวันวาน เพื่อสาน ต่อวันพรุ่งนี้ที่ยังมีลมหายใจ
ตลาดน�้ำเหล่าตั๊กลัก เป็นภาษาจีนแปลว่า “ตลาดเก่า” ทุกวันนี้ได้รับการฟื้นฟู บางส่วนกลับมาเปิดใหม่ ให้สอดรับ กับกระแสการท่องเที่ยวชุมชนแบบย้อนยุค พลิกฟื้นภาพเก่าๆ ในอดีตที่มีชีวิตชีวาและมีคุณค่า กลับมาให้คนรุ่นใหม่ได้สัมผัส จึงมีเส้นทาง Walking Tour เดินเที่ยวชมบ้านเรือนห้องแถว ตลาดน�้ำเหล่าตั๊กลัก ทักทายผู้คนที่ยิ้มง่าย ใจดี ใจเย็น สมเป็นชีวิต ริมน�้ำที่สงบงาม เราจะได้ชมบ้านเก่าแก่ที่เปิดเป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชนเล็กๆ จัด แสดงข้าวของโบราณไว้มากมาย มีรา้ นขายผ้าถุง ผ้าซิน่ ร้านขายพัด ร้านกาแฟโบราณ ร้านขายของโชห่วยสารพัดสินค้า และที่ส�ำคัญ คือ จะได้นั่งรับประทานก๋วยเตี๋ยวเรือกันริมน�้ำอย่างสบายอารมณ์ นั่งมองเรือหางยาวล�ำเล็กล�ำใหญ่ ที่ยังมีแล่นไปมา อาศัยล�ำคลอง ด�ำเนินสะดวกเป็นเส้นทางสัญจรคล้ายในอดีต ศูนย์ข้อมูลชุมชนคือ “เรือนแม่สุภา” ซึ่งในอดีตเรียกว่า ตลาดห้าห้อง หรือตึกแดง ใช้เป็นทีพ่ กั แรงงานชาวจีนทีม่ าขุดคลอง ด�ำเนินสะดวกเมื่อ 140 ปีก่อน อาหารถิ่นส�ำหรับนักท่องเที่ยว น่ารับประทานเสิร์ฟมาในถาดสังกะสีลายสวยแบบย้อนยุค มี
กิจกรรมเด่น : Walking Tour เดินชมบ้านเรือนร้านค้าริมน�้ำ และวิถีชีวิตย้อนยุค นัง่ เรือชมล�ำคลอง ปัน่ จักรยานเทีย่ วสวนมะพร้าว ชมโรงเจแห่งแรก ของด�ำเนินสะดวก ชิมก๋วยเตี๋ยวเรือเจ๊หมวย สินค้าชุมชนเด่น : ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากกะลามะพร้าว น�้ำตาลมะพร้าว ไม้กวาดทาง มะพร้าว มะพร้าวน�ำ้ หอม ผ้าเพนท์ลายจากยางต้นกล้วย ข้าวทอด กระทงทอง ที่ตั้งชุมชน : บริเวณปากคลองลัดพลี ต�ำบลด�ำเนินสะดวก อ�ำเภอด�ำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี 70130 โทรศัพท์ 086-076-2501 ตลาดน้ำ�เหล่าตั๊กลัก
113
52 บ้านคลองโคน สมุทรสงคราม คนคลองและคลองโคน นิเวศแห่งป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นตัวเลือกหนึ่งของการท่องเที่ยว มี ความหลากหลายแม้มีพื้นที่ไม่ใหญ่นัก แต่กลับคึกคักและเต็มไป ด้วยความมีชีวิตชีวา มีวิถีชุมชนกับบริบทที่เข้ากันอย่างกลมกลืน ต�ำบลคลองโคน เป็นพืน้ ทีป่ า่ ชายเลนตัง้ อยูบ่ ริเวณปากแม่นำ�้ แม่กลอง มีความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ วิถชี าวบ้านบริเวณนีฝ้ งั รากลึกกับการท�ำประมง ทัง้ จับปลา จับเคยเพือ่ ท�ำกะปิ เก็บกุง้ เก็บ หอย อาหารทะเลมีความอุดมสมบูรณ์เพียงพอ หล่อเลี้ยงให้คนใน พื้นที่ และผู้มาเยือนอิ่มอร่อยอย่างมีความสุข แต่เดิมชุมชนคลองโคนแห่งนี้ที่เคยเสื่อมโทรม แต่สิ่งดีๆ ก็ กลับมาอีกครัง้ เมือ่ ชาวบ้านร่วมใจปลูกป่าชายเลน และเมือ่ ป่าชาย เลนเติบโตขึ้น ก็มีกุ้ง หอย ปู ปลา ระบบนิเวศป่าชายเลนกลับมา อุดมสมบูรณ์อีกครั้ง เป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น�้ำที่เติบโตเป็นมรดกที่ ยั่งยืนของท้องทะเลไทย เมื่อไปเยือนศูนย์อนุรักษ์ป่าชายเลนคลองโคน ถึงเวลาพร้อม ลุยโคลน อุปกรณ์กันแดด และควรเตรียมถุงเท้ายาวเพื่อป้องกัน เปลือกหอยบาดขณะลงปลูกต้นไม้ เรียนรู้แนวทางการอนุรักษ์ ป่าชายเลนจากปราชญ์ชาวบ้าน และลงเรือล่องชมระบบนิเวศ ป่าชายเลน ชมป่าโกงกาง ลิงแสม ชมวิถีชีวิตชาวประมงพื้นบ้าน รับประทานอาหารกลางวันบนกระเตงกลางทะเล ลงปลูกป่าชาย เลน เล่นสกี เล่นกระดานเลนหรือที่เรียกว่า แถกกระดานเลนหา หอยแครง เป็นต้น
การได้ปลูกป่าท�ำให้ผู้มาเยือนรู้ถึงการอนุรักษ์ธรรมชาติและ ระบบนิเวศ นอกจากได้ความสนุกแล้ว ยังช่วยให้ระบบนิเวศกลับ คืนมาสมบูรณ์อีกครั้ง เมื่อมาถึงคลองโคน ของดีที่ไม่ควรลืมซื้อกลับบ้านคือ กะปิ คลองโคน ซึ่งท�ำจาก "เคย" หรือสัตว์น�้ำเค็มจ�ำพวกกุ้งแต่ตัวเล็ก จิ๋ว วิธีการท�ำก็คือ น�ำตัวเคยมาคลุกเคล้ากับเกลือสมุทรคุณภาพ ดีจากแม่กลอง จากนั้นไปตากประมาณสามแดด คอยพลิกกลับให้ ทั่วจนเคยแห้งส่งกลิ่นหอม น�ำมาหมักในภาชนะปิดสนิทประมาณ 1 เดือน จะได้กะปิเคยคุณภาพดี
กิจกรรมเด่น : สัมผัสระบบนิเวศที่สมบูรณ์และวิถีชุมชน อาทิ ชมระบบนิเวศ ป่าชายเลน ชมวิถชี วี ติ ชาวบ้าน ชมการถีบกระดานเลนเก็บหอยแครง และหอยแมลงภู่ รับประทานอาหารทะเลแบบพื้นบ้านบนกระเตง กลางทะเล ล่องเรือชม ฟาร์มหอย เล่นสกีโคลน แถกเรือบนเลนออก ไปร่วมปลูกต้นล�ำพู นั่งเรือล่องทะเลชมความงดงามของธรรมชาติ และวิถีชีวิตชาวประมงพื้นบ้านริมสองฝั่งคลอง แวะชิมอาหารอร่อย โดยเฉพาะปูไข่นึ่งที่ร้านเกษร สินค้าชุมชนเด่น : กะปิคลองโคน ปูไข่ ใบชะคราม ที่ตั้งชุมชน : 1/3 หมู่ 3 ต�ำบลคลองโคน อ�ำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม 75000 โทรศัพท์ 062-265-5356 ศูนย์อนุรักษ์ป่าชายเลนคลองโคน
114
115
53 บ้านบางพลับ สมุทรสงคราม เกษตรมีดี คู่วิถีชุมชน
อัมพวา ชื่อนี้คือหนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญของจังหวัด สมุทรสงคราม แม้ในวันหยุดจะคลาคล�ำ่ ไปด้วยผูค้ น ทว่ายังมีชมุ ชน วิถีดั้งเดิมของลุ่มแม่กลองที่อยู่กันอย่างสงบเรียบง่าย อาศัยความ อุดมของผืนดินและสายน�้ำ เกิดเป็นชุมชนน่ารัก เหมาะส�ำหรับผู้ที่ ต้องการหลีกหนีความวุ่นวาย นีค่ อื “ชุมชนบ้านบางพลับ” ซึง่ เคยได้รบั รางวัลอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวไทย (Thailand Tourism Awards) ดีเด่นถึง 3 ครั้งซ้อน ชุมชนนี้เก่าแก่กว่า 200 ปี เล่าสืบต่อกันมาว่า วัดบางพลับเคยเป็น ทีพ่ กั ทัพของพระเจ้าตากสินสมัยกรุงธนบุรี ในการยกมายันศึกพม่า เดิมชือ่ “บ้านพักทัพ” ต่อมาจึงเรียกเพีย้ นกันเป็น “บ้านบางพลับ”
กิจกรรมเด่น : ชมวิถีสวนมะพร้าว ชมสวนส้มโอพันธุ์ขาวใหญ่ ดูการท�ำตาลโตนด สักการะวัดแก่นจันทร์เจริญ และวัดบางพลับ เยีย่ มชมกลุม่ คนเอาถ่าน และวิสาหกิจชุมชนผลไม้แช่อิ่มกลับชาติพักโฮมสเตย์ สินค้าชุมชนเด่น : ส้มโอพันธุข์ าวใหญ่ ลิน้ จี่ มะพร้าวน�ำ้ หอม น�ำ้ ตาลโตนด ผลไม้แช่อมิ่ กลับชาติ ถ่านผลไม้ ที่ตั้งชุมชน : เลขที่ 4 ต�ำบลบางพรม อ�ำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม 75120 โทรศัพท์ 081-274-4433
เมื่อเข้ามาอยู่ในชุมชนบางพลับแล้ว สิ่งแรกที่สัมผัสได้คือ บรรยากาศอันสงบเงียบ อากาศบริสุทธิ์ และสีเขียวของแมกไม้ จากศูนย์การท่องเทีย่ วเกษตรเชิงอนุรกั ษ์บา้ นบางพลับ เราสามารถ ยืมจักรยานปั่นเที่ยวได้อย่างสบายอารมณ์ ชมสวนผลไม้ ผ่าน “ล�ำประโดง” หรือคลองเล็กๆ ที่ชาวบ้านขุดขึ้นแบ่งสวนของ แต่ละคนออกจากกัน ล�ำประโดงนับร้อยสายแบ่งสวนมะพร้าว หมาก ส้มโอ ลิ้นจี่ กล้วย มะละกอ ตาลโตนด ฯลฯ ปลูกไว้กิน ไว้ขาย สร้างรายได้หมุนเวียนตลอดปี ผลไม้ขึ้นชื่อของบ้านบางพลับคือ “ส้มโอพันธุ์ขาวใหญ่” เป็นพันธุ์ดั้งเดิมของสมุทรสงคราม รสชาติไม่เป็นรองใคร ส้มโอ หอมหวานอมเปรี้ยวก�ำลังดี ส่วน “ลิ้นจี่” บ้านบางพลับก็พิเศษ เพราะเปลือกบาง เนื้อแห้ง “กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลไม้แช่อิ่มกลับชาติ” ที่อนุรักษ์ การท�ำขนมโบราณ น�ำผลไม้ในท้องถิ่นตามฤดูกาล มาแช่อิ่มจน หวานฉ�่ำ ค�ำว่า “กลับชาติ” หมายถึงเลือกใช้ผลไม้เฉพาะรสเผ็ด ขม เปรี้ยวมาแช่อิ่มจนหวานฉ�่ำ เช่น บอระเพ็ด มะระ มะละกอ มะนาว พริก กระชาย ขิง ส้มโออ่อน มะกรูด ฯลฯ ฐานเรียนรู้ “คนเอาถ่าน” เป็นการเผาถ่านครั้งเดียวได้ ผลิตภัณฑ์ถึง 5 ชนิด ทั้งถ่านไม้ท�ำฟืน ขี้เถ้าท�ำน�้ำด่างล้างจาน ถ่านผลไม้ดูดกลิ่น น�้ำส้มควันไม้ฉีดกันแมลง และชาใบเตย เรียนรู้วิถีชาวสวนกันพอสมควร เปลี่ยนบรรยากาศไปชม วัดส�ำคัญๆ ของชุมชนบ้าง ที่แรกคือ “วัดบางพลับ” ตั้งอยู่ฝั่งตรง ข้ามค่ายบางกุ้ง ในสมัยพระเจ้าเอกทัศยกทัพมายันศึกพม่าของ พระเจ้ามังระ มีโบสถ์มหาอุตม์ ทรงฐานแอ่นเป็นเรือส�ำเภาตาม คตินิยมในยุคนั้น “วัดแก่นจันทร์เจริญ” วัดไทยย้อนยุคที่ให้ ความรูส้ กึ สงบเย็นด้วยต้นโพธิใ์ หญ่ ทีน่ ำ� หน่อมาจากต้นศรีมหาโพธิ์ เมืองพุทธคยา ประเทศอินเดีย ผู้ที่พักโฮมสเตย์กับชาวบ้าน ก็จะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีกัน อย่างลึกซึ้ง พร้อมกับชิมอาหารพื้นถิ่นอร่อยๆ เช่น ต้มส้มหยวก กล้วยกระดูกหมู น�้ำพริกปลาทูผักจิ้มสมุนไพร และทีเด็ด แกงเผ็ด กุง้ กระดองกรุบ เป็นกะลามะพร้าวอ่อนทีย่ งั ไม่มเี นือ้ ข้างใน เนือ้ บาง สีขาว เคี้ยวกรุบกรอบ เที่ยวบ้านบางพลับสุขใจในวิถีคนลุ่มแม่กลอง เป็นชุมชน คนน่ารักที่เหมาะไปเที่ยวกันทั้งครอบครัว
ชุมชนบ้านบางพลับ 116
117
54 ชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง สุพรรณบุรี
ฟื้นอดีตทวารวดี มีดีที่วัฒนธรรม สุพรรณบุรี มิได้เป็นเพียงหนึ่งในอู่ข้าวอู่น�้ำของภาคกลาง เท่านั้น ทว่ายังรุ่มรวยด้วยวัฒนธรรม ประเพณี และประวัติศาสตร์ อันยาวนาน โดยเฉพาะที่ “อ�ำเภออู่ทอง” ถือได้ว่าเป็นแหล่ง อารยธรรมเก่าแก่ของอุษาคเนย์ มีเมืองโบราณอู่ทองอายุหลาย พันปี เป็นศูนย์กลางและจุดเริ่มต้นพระพุทธศาสนาในอาณาจักร สยามก็ว่าได้ เมืองโบราณอู่ทองเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมทวารวดี อายุกว่า 2,500 ปี เคยรุ่งเรืองถึงขีดสุดเมื่อพุทธศตวรรษที่ 5-9 โดยค้าขายกับอินเดีย จีน เวียดนาม ตะวันออกกลาง และยุโรป ดัง มีการขุดพบลูกปัดอู่ทอง เสมาธรรมจักร รอยพระพุทธบาท และ พระพุทธรูปนับไม่ถ้วน
นอกจากนี้ยังถือเป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาและศาสนา พราหมณ์ ในยุคเริ่มต้นบนแผ่นดินสยามอีกด้วย โดยได้รับ อิทธิพลมาจากอินเดีย นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานกันว่าพระ สมณทูตที่พระเจ้าอโศกมหาราชส่งมายัง “ดินแดนสุวรรณภูมิ” คือ พระโสณเถระและพระอุตตรเถระ ก็น่าจะหมายถึงเมือง โบราณอู่ทองนี่เอง แม้เมืองโบราณอู่ทองจะเสื่อมสลายลงไปแล้วตามกาลเวลา ทว่าผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ ก็ยังคงด�ำเนินชีวิตสืบทอดวิถี วัฒนธรรมของบรรพบุรุษ โดยเฉพาะบริเวณคลองจรเข้สามพัน อ�ำเภออู่ทอง ที่เป็นล�ำน�้ำสามารถไหลเชื่อมโยงไปสู่แม่น�้ำแม่กลอง แม่น�้ำท่าจีน และออกอ่าวไทยไปได้ในที่สุด
แหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญในแถบนีค้ อื วัดวาอารามต่างๆ ทีม่ กั ตัง้ อยู่บนภูเขาหรือเนินเขา ว่ากันว่าเมื่อ 2,500 ปีก่อน เรือต่างๆ ล่อง เข้ามาได้ถึงอู่ทอง วัดส�ำคัญๆ จึงตั้งอยู่บนพื้นที่สูง อาทิ “วัดเขา ท�ำเทียม” ซึ่งนักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าเป็นวัดแห่งแรกของ ประเทศไทย โดยสร้างขึ้นเมื่อประมาณ 300 ปี หลังจากพระพุทธ องค์ดับขันธ์ปรินิพพาน พระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งคณะสมณทูต มาเผยแผ่พระพุทธศาสนายังดินแดนสุวรรณภูมิ จึงสร้างวัดนี้ขึ้น ถ้าอยากจะเรียนรู้เรื่องราวของอู่ทองโบราณในเชิงลึกจริงๆ ก็ต้อง ไปชม “พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง” ที่จัดแสดงโบราณวัตถุ ไว้นับหมื่นชิ้น พร้อมบอกเล่าเรื่องราวของดินแดนนี้อย่างละเอียด ที่นี่คือ ชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง วิถีงามแห่งลุ่มน�้ำภาคกลาง ซึ่งวัฒนธรรมทวารวดีไม่เคยหลับใหล ไปจากหัวใจของผู้คน
กิจกรรมเด่น : เทีย่ วชมวิถชี วี ติ ชาวบ้านริมคลองจรเข้สามพัน ชมพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง ชมวัดเขาท�ำเทียม วัดเขาดีสลัก วัดเขาก�ำแพง วัดถ�้ำเสือ วัดเขาพระศรีสรรญเพชญาราม ร่วมงานแห่หัวโตอู่ทอง สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าทอมือเมืองเหน่อ ลูกปัดทวารวดี เครื่องจักสาน เสื่อ ข้าวตู กระยาสารท ที่ตั้งชุมชน : 1550 หมู่ 6 ต�ำบลอู่ทอง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 7216 โทรศัพท์ 081-851-7087 ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยชุมชนเมืองโบราณทวารวดีอู่ทอง
ชาวบ้านแถบนี้ยังยึดถือวิถีไทยในแบบเรียบง่ายพอเพียง ท�ำ สวน ท�ำนา ท�ำไร่ ค้าขาย สืบสานเพลงพืน้ บ้าน ร้องเพลงอีแซวและ ร�ำวงในงานเทศกาลต่างๆ รวมถึงมีขนมไทยภาคกลางทีท่ ำ� กินกันอยู่ เป็นนิจ ทั้งลอดช่อง ฝอยทองกรอบ ข้าวตู และกระยาสารท ที่ท�ำ กันมากเป็นพิเศษในวันสารทไทย (ท�ำบุญกลางปีช่วงเดือนสิบ) เอกลักษณ์ประเพณีที่ไม่เหมือนใครอย่างหนึ่งของชุมชนชาว อู่ทองคือ “เทศกาลแห่หัวโตอู่ทอง” ประมาณเดือนพฤษภาคม ของทุกปี โดยชาวบ้านคลองจรเข้สามพันจะร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ฟืน้ ฟูประเพณีโบราณขึน้ เพราะสมัยก่อนคนไทยภาคกลางจะนิยม แห่หัวโตเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง ในงานบุญ งานกฐิน แห่นาค หรือแห่พระ ร่วมกับการละเล่นกลองยาว เรียกว่า “เถิดเทิง” งานนี้ชาวบ้านจะแต่งกายอย่างมีสีสัน โพกผ้าโพกหัว ใส่ หมวกใบใหญ่ ผัดหน้าทาแป้งสีฉดู ฉาด และทีส่ ำ� คัญคือ จะมีการน�ำ กระดาษมาปะติดบนโครงไม้ ทาสีสวยๆ ให้เป็นหัวคนขนาดใหญ่ เพือ่ ความตลกขบขัน หรือบางทีกท็ ำ� เป็นหัวโตล้อเลียน เดินแห่รอ้ ง ร�ำท�ำเพลงกันไปด้วยความสนุกสนาน
118
119
55 ชุมชนตลาดเก้าห้อง สุพรรณบุรี เรื่องเล่าริมน�้ำท่าจีน ถิ่นหลากวัฒนธรรม แม่น�้ำท่าจีน เป็นแม่น�้ำยาวที่สุดสายหนึ่งของภาคกลาง และ มีชื่อเรียกต่างกันไปตามบริเวณที่ไหลผ่านคือ เมื่อผ่านจังหวัด ชัยนาทเรียกว่า “คลองมะขามเฒ่า” ผ่านสุพรรณบุรีเรียก “แม่น�้ำ สุพรรณบุรี” ผ่านนครปฐมเรียก “แม่น�้ำนครชัยศรี” และเมื่อไหล ผ่านสมุทรสาครก่อนออกอ่าวไทยเรียก “แม่น�้ำท่าจีน” ตลอดสอง ฟากฝัง่ จึงเต็มไปด้วยวิถชี วี ติ ผูค้ น ทีอ่ ยูอ่ าศัยคละเคล้าดัง่ เบ้าหลอม ทางวัฒนธรรม
120
ณ อ�ำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ชุมชนสามวัฒนธรรม จี น -ลาวพวน-ไทย อั น มี ชื่ อ เสี ย ง “ตลาดเก้ า ห้ อ ง 100 ปี ” ถิ่นการค้าโบราณริมน�้ำที่เคยรุ่งเรืองเฟื่องฟูมากในอดีต ตลาด สร้างขึ้นสมัยรัชกาลที่ 7 โดยชาวลาวพวนอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน “นายวันดี” หัวหน้าลาวพวนได้รับบรรดาศักดิ์เป็น “ขุนก�ำแหง” สร้างบ้านใหม่ชื่อเก้าห้องต่อมามีชาวจีนชื่อ “นายฮง” แต่งงาน กับนางแพรหลานสาวขุนก�ำแหง และสร้างตลาดแพลอยน�้ำขึ้น เกิดเป็นชุมชนไทยจีนริมน�้ำสุพรรณบุรี และสร้างตลาดบกอยู่ฝั่ง ตรงข้ามบ้านเก้าห้องเรียกว่า “ตลาดเก้าห้อง”
ตลาดเก้าห้องแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ตลาดบน ตลาดกลาง และตลาดล่าง โดยตลาดล่างสร้างขึ้นก่อน มีอายุร้อยกว่าปีแล้ว ตลาดกลางคือ บริเวณโรงสีนายทองดี และท่าเรือ ส่วนตลาดบน สร้างเพิ่มเมื่อปี พ.ศ. 2479 ตลาดเก้าห้องชวนให้หวนร�ำลึกถึงวันวาน ตลาดสร้างด้วย ไม้ เป็นห้องแถวสองชั้นสองฝั่งหันหน้าเข้าหากันเรียงรายไป แต่ละบ้านเปิดชั้นล่างเป็นหน้าร้านขายสินค้าและอาหารต่างๆ อย่า งเรียบง่า ยพอเพียง ทั้งน�้ำจรวด กาแฟโบราณ ราดหน้า ขนมเปี๊ยะ มีโรงพิมพ์ อุปกรณ์การเกษตร และขายหัตถกรรม ท้องถิ่นอย่างเครื่องจักสาน พัดไม้ไผ่ฯลฯ ตลาดไม้มุงด้วยหลังคา สังกะสี มีโคมไฟจีน ฮูจ้ นี ช่องลมหน้าต่างไม้แกะสลักลายสวย รวมถึง ศาลเจ้าจีน และกลิ่นอาหารยั่วน�้ำลาย ยิ่งชวนให้เดินลึกเข้าสู่ อ้อมกอดของตลาดร้อยปีมากขึ้นเรื่อยๆ ตลาดบนมีร้านขนมเปี๊ยะโบราณไส้ถั่ว ไส้ฟัก ไส้ไข่เค็ม รวมถึงขนมโก๋ไพ่ เป็นก้อนสี่เหลี่ยมห่อกระดาษว่าว สมัยก่อนแถม ลูกโป่งในห่อให้เด็กเอาไว้เล่น มีร้านราดหน้าประจ�ำตลาด ซึ่งยังใช้ เขียงไม้มะขามร้อยปีอันใหญ่ ส่วนตลาดล่างมีพิพิธภัณฑ์ชุมชน จัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ สมัยโบราณ ทั้งลูกคิดจีน วิทยุทรานซิสเตอร์ ตะเกียงเจ้าพายุ เตารีดใช้ถา่ น พัดลมโบราณฯลฯ มีรา้ นกะหรีพ่ ฟั เจ้าดัง ทีท่ ำ� ด้วยมือ ทุกขั้นตอนอย่างพิถีพิถัน ไส้เยอะเนื้อแน่น ถัดมามีขนมกล้วยรังผึ้ง ย่างบนเตาถ่านหอมฉุย และต้องไม่พลาดร้านเจ๊เซียม ชิมขนม ไข่ปลารูปตัว C เป็นขนมจีนโบราณเนื้อแป้งหอม นุ่ม หนึบ ไฮไลต์ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งสุ ด ของตลาดเก้ า ห้ อ ง คงหนี ไ ม่ พ ้ น “หอดูโจร” สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2477 เป็นหอคอยปูนสี่เหลี่ยม สูง เท่าตึก 4 ชั้น ด้านบนเห็นได้ไกลใช้ตรวจตราโจรที่เข้ามาบุกปล้น ตลาดในครั้ ง อดี ต ทุ ก วั น นี้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถขึ้ น ไปชมวิ ว ถ่ายภาพด้านบนได้สบายๆ ตลาดเก้าห้องร้อยปีได้ผา่ นกาลเวลามาเนิน่ นาน และยังคงยืน หยัดรักษาเอกลักษณ์ของตนไว้ได้ ภายใต้วิถีสงบเย็นริมน�้ำท่าจีน ที่ไปเยือนกี่ครั้งก็ไม่เคยเบื่อ
กิจกรรมเด่น : เดินชมตลาดไม้ย้อนยุค ขึ้นไปชมวิวมุมสูงบนหอดูโจร ไหว้ศาล ประจ�ำตลาด ชิมอาหารอร่อยๆ มากมาย เดินข้ามสะพานแขวน เชื่อมตลาดเก้าห้อง-วัดลานคา ชมพิพิธภัณฑ์ชุมชน ชมโรงสีเก่า สินค้าชุมชนเด่น : ขนมเปี๊ยะโบราณ ตั้งกุ้ยกี่ ขนมไข่ปลา กะหรี่พัฟ กล้วยฉาบ ขนมดอกจอก ขนมจันอับ ถัว่ กรอบแก้ว น�ำ้ สมุนไพร ผักปลอดสารพิษ ตะกร้าจักสานเชือกฟาง กระเป๋าไหมญี่ปุ่น พัดไม้ไผ่ สบู่สมุนไพร ที่ตั้งชุมชน : ตลาดเก้าห้อง ต�ำบลบางปลาม้า อ�ำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 72150 โทรศัพท์ 081-828-8695 ชุมชนท่องเที่ยวบ้านเก้าห้อง
121
56 บ้านแหลม สุพรรณบุรี
ชุมชนแห่งสายน�้ำ แหล่งเรียนรู้คู่วัฒนธรรม แม่น�้ำสุพรรณบุรีช่วงอ�ำเภอบางปลาม้า ยังมีความสงบเป็น ธรรมชาติมาก มีเรือนไทยเดี่ยว เรือนไทยหมู่ ยกใต้ถุนสูงหนีน�้ำ คล้ า ยดั ง นิ ร าศเมื อ งสุ พ รรณของกวี เ อกสุ น ทรภู ่ บ างตอนที่ ว ่ า “บางปลาม้าป่าอ้อ กอรก�ำ ไม้ไผ่ใหญ่สลวยล�ำ สล่างเฟื้อย ชาวบ้านย่านนั้นท�ำ ที่ไร่ ไว้แฮ ปลูกผักฟักแฟงเลื้อย ลูกห้อย ย้อยไสวฯ” การล่องเรือเที่ยวจะมีแวะขึ้นไปท�ำกิจกรรมสนุกตามบ้าน ต่างๆ เช่น “บ้านผักตบชวา” ที่เก็บผักตบชวามาตากแห้ง อบ กันเชื้อรา สาน แล้วเคลือบมัน โดยออกแบบให้สวยเข้ากับยุคสมัย อย่างหมวก กระเป๋าถือเก๋ๆ ตะกร้า และชะลอมจิ๋ว “บ้านชาเตย หอม” ที่ปลูกเตยหอมไว้บนแพไม้ไผ่สีสุกลอยอยู่ริมแม่น�้ำ ชงดื่ม หอมชื่นใจ มีสรรพคุณแก้ร้อนใน บ�ำรุงหัวใจ อี ก ฐานกิ จ กรรมหนึ่ ง ที่ เ ด่ น มากคื อ “บ้ า นท� ำ ธู ป หอม สมุนไพร” และธูปสมุนไพร 7 สีประจ�ำวันเกิด ส่วนผสมของธูป ประกอบด้วยแป้งอัฟฟ่า ก๊อแดง (ผงข้าวเหนียวแดง) จันทร์ขาว ขี้เลื่อย น�้ำเตยหอม น�้ำตะไคร้ น�้ำสะเดา และน�้ำกาแฟ มีทั้งธูปไหว้
เมืองสุพรรณบุรีเป็นดินแดนอู่ข้าวอู่น�้ำ ในน�้ำมีปลาในนามี ข้าว อาหารการกินมากล้นบริบูรณ์ ผู้คนเปี่ยมสุข ก่อร่างสร้าง เอกลั ก ษณ์ ท างวั ฒ นธรรมขึ้ น ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เช่ น เดี ย วกั บ ที่ “ชุมชนบ้านแหลม” อ�ำเภอบางปลาม้า ซึ่งแม่น�้ำสุพรรณบุรีไหล ผ่าน และมีหลากลีลาหลายเรื่องราวให้เรียนรู้ ชุมชนบ้านแหลมอาศัยอยู่บริเวณนี้มาหลายร้อยปีแล้ว โดดเด่นในด้านวัฒนธรรมลุ่มน�้ำภาคกลาง มีภาษาพูดเหน่อๆ ฟังไพเราะ บวกกับความยิม้ ง่ายใจดีของชาวบ้าน ช่วยให้พฒ ั นา สู่ชุมชนท่องเที่ยวอย่างเต็มตัว จนได้รับรางวัลระดับประเทศ มากมาย จุดเริ่มต้นอยู่ที่ “บ้านสวนแผ่นดินแม่” ท�ำหน้าที่ต้อนรับ ให้ ข้อมูลเบื้องต้น และมีฐานเรียนรู้สนุกๆ รออยู่ มีการปรับโฉมสร้าง เรือนไทยหมูข่ นาดใหญ่ตดิ แม่นำ�้ สุพรรณบุรี ให้เราเรียนรูว้ ถิ ไี ทยกับ สายน�้ำ
122
พระดอกธรรมดา และธูปใหญ่พิเศษเรียกว่า “ธูปป๊อกกี้” ใช้จุดไล่ ยุง มด แมลง ขัน้ ตอนการตากธูปสี ซึง่ จะตากรวมเป็นกอๆ แผ่ออก คล้ายดอกไม้บาน ฐานกิจกรรมถัดมาคือ “เรียนรู้ไร่นาสวนผสม และท�ำขนม พื้นบ้าน” เช่น สาธิตท�ำขนมบรรจง ลักษณะคล้ายขนมกล้วย รสหวานมันเค็มกลมกล่อม และท�ำขนมเจ้าบ้านเจ้าเรือน เป็นส�ำรับ มงคล ประกอบด้วยขนมต้มขาว ขนมต้มแดง ขนมไม้คันหลาว ข้าวเหนียวมูนน�ำ้ กะทิ และกล้วยสด ใช้เฉพาะงานบวช งานแต่งงาน งานขึ้นบ้านใหม่เท่านั้น ผู้ที่พักโฮมสเตย์กับชาวบ้าน จะได้ตื่นมาชิมอาหารเช้าสุด พิเศษคือ “ข้าวต้มสามกษัตริย์” สูตรสมัยรัชกาลที่ 5 เสด็จ ประพาสต้น เป็นข้าวต้มสูตรโบราณ อร่อยเลิศรส ถ้าจะมีสถานที่ใดสืบสานรักษาวิถีไทยกับสายน�้ำเอาไว้ได้ อย่างเหนียวแน่นลึกซึง้ หนึง่ ในนัน้ คงเป็น “ชุมชนบ้านแหลม” แห่ง อ�ำเภอบางปลาม้า
กิจกรรมเด่น : ล่องเรือชมวิถีริมน�้ำ ฐานเรียนรู้ท�ำธูปหอมเจ็ดสี สานผักตบชวา ท�ำขนมโบราณฯลฯ พักโฮมสเตย์ ชิมอาหารพื้นบ้าน เช่น ต้มโคล้ง ปลาม้า ข้าวต้มสามกษัตริย์ แกงส้มผักสามหาวฯลฯ สินค้าชุมชนเด่น : สินค้าชุมชนเด่น : หมวกและกระเป๋าสานผักตบชวา ธูปหอมเจ็ดสี ลูกประคบสมุนไพร น�ำ้ พริกเผาโบราณ น�ำ้ พริกปลาม้า ขนมทองม้วน ชาเตยหอม กะปิกงุ้ นา ลูกบัว ปลาสวายแห้ง หมูสวรรค์สตู รโบราณ ใส่หอมแดง ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านแหลมสุพรรณ เลขที่ 147 ต�ำบลบ้านแหลม อ�ำเภอ บางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 72150 โทรศัพท์ 080-073-7397 ชุมชนบ้านแหลมสุพรรณ
123
57 ชุมชนบางบาล พระนครศรีอยุธยา
เรือนไทยร้อยปี เสน่ห์วิถีลุ่มภาคกลาง พระนครศรีอยุธยา เมืองโบราณมรดกโลก อดีตราชธานีของ ไทยทีเ่ คยยิง่ ใหญ่ในอุษาคเนย์ เป็นดินแดนทีแ่ ม่นำ้� ใหญ่สามสายไหล มาบรรจบกัน ทั้งแม่น�้ำเจ้าพระยา แม่น�้ำป่าสัก และแม่น�้ำลพบุรี กลายเป็นอู่ข้าวอู่น้�ำภาคกลาง ก่อเกิดวิถีไทยแท้ๆ ที่ผูกพันอยู่กับ สายน�้ำ ผืนนา และพระพุทธศาสนาอันรุ่งเรือง ชุมชนบางบาล ยังสืบสานวิถีไทยไว้เหนียวแน่น โดยเฉพาะ ที่ต�ำบลไทรน้อย และต�ำบลบางบาลนั้น ถือเป็นชุมชนท่องเที่ยว ที่มีเสน่ห์หลากหลาย ชาวบ้านส่วนใหญ่ท�ำนาข้าว และสวนผลไม้ บ้างก็เผาอิฐมอญ และท�ำขนมไทยขาย สร้างรายได้เป็นกอบเป็นก�ำ อีกทั้งยังมีเรื่องราวประวัติศาสตร์เส้นทางเดินทัพ สมัยสงครามกับ พม่าให้ศึกษาด้วย ทุกวันนี้บางบาลจึงเป็นชุมชน 2 วัฒนธรรม มี ชาวมอญ และไทยอาศัยร่วมกัน นาข้าวเขียวขจีกว้างไกลสุดลูกหูลูกตา ยืนต้นพลิ้วไหวไปมา ตามกระแสลม แถบนี้ท�ำนาได้ถึงปีละ 2 ครั้ง เพราะน�้ำท่าบริบูรณ์ มีสวนพืชผักผลไม้มากมาย ปลูกไว้ข้างบ้านแบบสวนผสม ชุมชนมีความโดดเด่นด้านการท�ำขนมไทยอร่อยๆ โดย กลุ่มแม่บ้านสืบสานไว้มิให้สูญหาย อาทิ ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง เม็ดขนุน มะพร้าวแก้วฯลฯ ผู้คนนิยมมาสั่งซื้อขนมที่ นีไ่ ปขาย หรือเลีย้ งกันในงานมงคลต่างๆ อย่างงานบวช งานแต่ง และงานขึ้นบ้านใหม่ ชุมชนบางบาลมีเรือนไทยร้อยปีให้ชมนับร้อยหลังคาเรือน ลักษณะยกพืน้ สูงแบบภาคกลางแท้ๆ การยกเสาสูงก็เพือ่ หนีนำ�้ ท่วม ในช่วงเดือนสิบสอง อันเป็นวิถรี บั ฤดูนำ�้ หลากในอดีตทีย่ งั ไม่มเี ขือ่ น การสร้างเรือนไทยโบราณเป็นภูมปิ ญ ั ญาเชิงช่างชัน้ สูง เพราะต้องใช้ ทั้งการค�ำนวณ และสร้างให้เหมาะกับเวลาเกิด ปีเกิดของเจ้าเรือน ด้วย ความสูงของเสา ตัวเรือน และหน้าจั่วหลังคา จึงต้องสัมพันธ์ กับเวลาตกฟากตามโหราศาสตร์ไทย เพื่อให้เจ้าเรือนอยู่แล้วเกิด สิริมงคล ตัวเรือนมีนอกชาน และบันไดสูงพาดขึ้นบ้าน ส่วนใต้ถุน มีเรือแจวจอดไว้ใช้หน้าน�้ำหลากด้วย
124
กิจกรรมสนุกอย่างหนึ่งของบางบาลคือ การล่องเรือเที่ยว แม่น�้ำน้อยที่เชื่อมกับแม่น�้ำเจ้าพระยา ชมเส้นทางสัญจรในอดีต ดืม่ ด�ำ่ กับธรรมชาติ และวิถชี วี ติ สองฟากฝัง่ มีกระชังเลีย้ งปลาทับทิม ชมการวางลอบ วางอวน เหวี่ยงแห ตกกุ้ง สองฝั่งคลองมีแนวไม้ ร่มครึ้ม มีกอหญ้า กอกก ต้นพง ต้นแขม ต้นอ้อ และกอไผ่ใหญ่ เย็นตาเย็นใจ ล่องเรือเสร็จแล้วสามารถไปเทีย่ วต่อที่ “วัดไทรน้อย” วัดเก่าแก่ สมัยกรุงศรีอยุธยา นมัสการหลวงพ่อใหญ่อันศักดิ์สิทธิ์ และต้อง ไม่พลาดชม “อนุสาวรียน์ ายขนมต้ม” นักมวยคาดเชือกสมัยปลาย กรุงศรีอยุธยาผู้มีฝีมือเก่งกล้า และถือก�ำเนิดขึ้นที่บางบาลนี่เอง ทุกวันนี้จึงมีการสืบสานวิชามวยไทย กระบี่ กระบอง ให้เยาวชน ที่บางบาลด้วย มาซึมซับวิถีไทยภาคกลางแท้ๆ ที่ชุมชนบางบาลสักครั้ง แล้ว เราจะรู้สึกรัก และภูมิใจในความเป็นไทยขึ้นอีกหลายเท่าทวีคูณ
กิจกรรมเด่น : ชมเรือนไทยร้อยปี ดูวิถีนาข้าวและสวนผลไม้ ล่องเรือเที่ยวแม่น�้ำ ชมอนุสาวรียน์ ายขนมต้ม ดูการท�ำขนมไทย นมัสการหลวงพ่อใหญ่ วัดไทรน้อย พักโฮมสเตย์ ตักบาตรยามเช้า สินค้าชุมชนเด่น : ขนมไทย เช่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทองฯลฯ ผลไม้ตาม ฤดูกาล อิฐมอญ ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบางบาล ต�ำบลไทรน้อย อ�ำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13250 โทรศัพท์ 081-946-5457 / 035-884-605 Website https://bangban.go.th
125
58 บ้านยี่ล้น อ่างทอง
วิถีข้าว วิถีไทย สุขใจชิมขนมโบราณ จังหวัดอ่างทอง ดินแดนที่มีเสน่ห์ในหลากหลายมิติ ทั้งพื้นที่ สีเขียวของทุ่งข้าวกว้างสุดลูกหู ลูกตา มีเรือนไทยโบราณ อาหาร พื้นบ้านอร่อยๆ และยังเป็นเมืองประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่ชาวบ้านรวมตัวกันต้านทัพพม่าไว้อย่างห้าวหาญ จนเกิดเป็น ต�ำนานคนกล้าเมืองวิเศษชัยชาญขึ้น บ้านยี่ล้น อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ (เดิมเขียนว่า วิเศษไชยชาญ) เป็นชุมชนเกษตรกรรมเล็กๆ กินอยู่กันอย่างเรียบง่ายพอเพียงมา หลายชั่วอายุคน เอกลักษณ์ของที่นี่คือ วิถีไทยลุ่มน�้ำภาคกลาง ประวัติความเป็นมาของบ้านยี่ล้น เล่ากันว่าพม่ายกเข้ามาตี เมืองสุพรรณบุรี ชาวบ้านและทหารไม่สามารถต้านไว้ได้ จึงอพยพ หนีเข้ามายังเมืองวิเศษชัยชาญ ระหว่างพักอยูใ่ กล้วดั ใหญ่ ได้พากัน น�ำทรัพย์สินที่ติดตัวมาฝังดินไว้ ไม่ให้เป็นภาระในการหนี จึงเรียก บริเวณนี้ว่า “บ้านทองล้น” ซึ่งได้แผลงมาเป็นชื่อ “บ้านยี่ล้น” ในปัจจุบัน
126
แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วส� ำ คั ญ อี ก แห่ ง หนึ่ ง ของบ้ า นยี่ ล ้ น คื อ “วัดใหญ่บา้ นยีล่ น้ ” วัดเล็กๆ ซึง่ เคยเป็นอดีตวัดร้างทีม่ มี าตัง้ แต่สมัย กรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันชาวบ้านยี่ล้นได้ช่วยกันบูรณะวัดใหญ่ให้ เป็นศูนย์รวมศรัทธา โดยสร้างมณฑปเล็กๆ ครอบองค์พระพุทธรูป โบราณไว้ พร้อมกับสร้างศาลาไม้ไว้ใกล้ๆ ต้นโพธิ์ใหญ่ ให้เป็นที่นั่ง พักผ่อนอันร่มรื่น เทีย่ วบ้านยีล่ น้ สุขใจแถมยังอิม่ ท้องด้วย ต้องชืน่ ชมชาวบ้านที่ พร้อมใจกันสืบสานวิถีไทยมิให้สูญหาย ภายใต้เสน่ห์และเรื่องราว ที่บอกเล่าได้อย่างทรงคุณค่าจริงๆ
กิจกรรมเด่น : เที่ยวชมวิถีข้าววิถีไทย ดูการผลิตแผ่นข้าวตังดิบ และขนมข้าวตัง ชม ชิม ช้อป ขนมไทยต่างๆ นมัสการพระพุทธรูปโบราณ ทีว่ ดั ใหญ่ บ้านยี่ล้น สินค้าชุมชนเด่น : ข้าวตังยี่ล้น ทองหยอด ฝอยทอง ขนมกง ขนมเกลอ และเม็ดขนุน ทะเลตากแห้ง กะปิอย่างดี ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านยี่ล้น ต�ำบลยี่ล้น อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง 14110 โทรศัพท์ 035-607-130 บ้านยี่ล้น วิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง
บรรยากาศของบ้านยี่ล้นมีความเงียบสงบ น่าอยู่ และมี ความเป็นธรรมชาติอย่างแท้จริง มีลำ� คลองยีล่ น้ ไหลผ่าน หล่อเลีย้ ง เรือก สวน ไร่ นาเขียวสดให้มีพืชผลตลอดปี ความอุดมของ พระแม่ธรณี บ่มเพาะให้สามารถท�ำนาได้ผลผลิตล้นเหลือ ทว่า ปลายข้าวหอมมะลิที่ชาวบ้านปลูกมักจะถูกคัดทิ้งอย่างไร้ค่า เริ่มจากกลุ่มแม่บ้านยี่ล้นจึงคิดสร้างสรรค์ น�ำปลายข้าวหอม มะลิที่มีมูลค่าเพียง 17 บาท มาแปรรูปเป็นแผ่นข้าวตังดิบ ใช้ท�ำ ขนมข้าวตัง ขายได้ถึงกิโลกรัมละ 75 บาท ผลิตได้ไม่น้อยกว่า 200 กิโลกรัมต่อเดือน และส่งขายไปในหลายจังหวัดมานานกว่า 40 ปีแล้ว “ข้าวตัง” ถือเป็นขนมโบราณของคนไทยภาคกลาง ที่ ชาวบ้านยีล่ น้ สืบสานมาจากรุน่ ปูย่ า่ ตาทวด นักท่องเทีย่ วสามารถ เข้าไปชมขั้นตอนการผลิตได้ เราจะเห็นชาวบ้านน�ำข้าวสุกมาบด ให้เป็นแผ่นแบน แล้วตากแห้งเรียงรายไว้บนตะแกรงหน้าบ้าน เมื่อแผ่นแป้งแห้งแล้วจะเก็บไว้ได้นาน 6 เดือน ถึง 1 ปี โดยขาย ทั้งแผ่นแป้งดิบ และท�ำขนมข้าวตังหน้าตั้ง วิถีไทยอีกอย่างที่เราสัมผัสได้อย่างใกล้ชิดคือ “การท�ำ ขนมไทย” ของกลุ่มสัมมาชีพชุมชนต�ำบลยี่ล้น โดยชาวบ้าน ได้รวมตัวกันท�ำขนมไทยหลายชนิด อาทิ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมกง ขนมเกลอ และเม็ดขนุน สร้างรายได้เป็นกอบเป็นก�ำ 127
ชุมชน ภาคตะวันออก
59 ชุมชนริมน�้ำจันทบูร จันทบุรี ย้อนวันวานในบ้านไม้เก่า
หนึ่งในชุมชนที่แสนคลาสสิก “ชุมชนริมน�้ำจันทบูร” ถนน เก่าทีบ่ อกเล่าประวัตศิ าสตร์ ศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมเก่าแก่ ยาวนานมากว่า 100 ปี และวิถชี มุ ชนจากอดีตสูป่ จั จุบนั ของจังหวัด จันทบุรี มีความเก่าแก่ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แห่งกรุงศรีอยุธยา ที่ทรงย้ายเมืองจันทบูรจากบ้านหัววังมายัง บ้านลุ่ม และชุมชนริมน�้ำแห่งนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของบ้านลุ่ม เดิมชุมชนริมน�้ำจันทบูร หรือที่เรียกกันว่า “ย่านท่าหลวง” ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น�้ำจันทบุรี เคยเป็นศูนย์กลางทาง เศรษฐกิจการค้า เป็นเมืองท่าส�ำคัญในการล�ำเลียง ขนส่งสินค้า บริเวณนี้ยังเป็นย่านการคมนาคม ผู้คนประกอบอาชีพท�ำการค้า ท�ำประมง ท�ำพลอย ตีเหล็ก ทอเสื่อ ท�ำอาหาร และขนมต่างๆ กลุ่มคนจีนที่มาท�ำการค้า และเป็นผู้มาบุกเบิกตั้งรกราก ซึง่ มีทงั้ จีนฮกเกีย้ น แต้จวิ๋ จีนแคะ กวางตุง้ และไหหล�ำ ในย่านนี้ จึงประกอบด้วยคนไทย จีน และญวน มีการนับถือศาสนาพุทธ และคริสต์ ก่อก�ำเนิดเป็นวัฒนธรรมแบบผสมผสานจากตะวันตก ไทย จีน และญวน บ้านเรือนและศิลปะทางสถาปัตยกรรม ก็ผสม ผสานกันอย่างกลมกลืน และผูค้ นในชุมชนยังคงอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม ความเป็นอยู่แบบดั้งเดิมมาจนปัจจุบันนี้ มีศนู ย์กลางของชุมชนคือ โบสถ์วดั แม่พระปฏิสนธินริ มล หรือ โบสถ์คริสต์เมืองจันท์ โบสถ์คริสต์นิกายโรมันคาทอลิกซึ่งจ�ำลอง แบบมาจากโบสถ์มหาวิหารน็อทร์-ดามในประเทศฝรั่งเศสคือ หน้าต่างโค้ง และประดับด้วยลายฉลุโดยรอบตัวโบสถ์เป็นศิลปะ แบบโกธิค
แถบนีม้ บี า้ นเรือนไม้เก่าแก่ทมี่ อี ายุไม่ตำ�่ กว่า 100 ปี เรียงราย ตลอดสองข้างทาง ทั้งบ้านไม้ทรงหลังคาปั้นหยา เรือนไม้สองชั้น เรือนขนมปังขิง ตึกฝรั่งแบบปีนังและสิงคโปร์ หรือตึกแบบยุโรป มีบา้ นหลวงราชไมตรี เป็นบ้านทีม่ อี ายุเก่าแก่กว่า 150 ปี มีเรือ่ งราว ประวัตศิ าสตร์หลวงราชไมตรี ผูส้ ร้างคุณปู การให้กบั ชาวจันทบุรไี ว้ มากมาย บ้านเสน่หจ์ นั ทร์ ทีร่ วบรวมงานสินค้าพืน้ บ้านและอาหาร พืน้ เมืองในแบบฉบับของชาวจันทบุรมี าให้นกั ท่องเทีย่ วได้เลือกสรร โรงแรมท่ามาจัน โรงแรมเล็กๆ ตกแต่งสไตล์เรโทรได้บรรยากาศ ของความเก่าแก่ในอดีต บริเวณชุมชนเก่าแห่งนี้ยังมีภาพเขียน ฝาผนัง กราฟฟิตี้เก๋ๆ ที่ให้เราได้ถ่ายรูป นอกจากนี้ยังมีบ้าน 69 ศูนย์การเรียนรู้ริมน�้ำจันทบูร ร้านไอศกรีมตราจรวด โรงงานผลิตไอศกรีมด้วยเครื่องจักรแห่ง แรกของจังหวัดจันทบุรี ร้านเจ๊อดี๊ ริมน�ำ้ (ก๋วยเตีย๋ วกัง้ ) ร้านขาย ยาโบราณจังกวนอัน บ้านโภคบาล เป็นบ้านไม้ตะเคียนทั้งหลัง ท่าน�้ำผ่องศรี เป็นท่าเรือแจวรับส่งคนข้ามฟากแม่น�้ำ
ที่นี่มีอาหารและขนมที่หลากหลาย แม้ขนมพื้นเมืองและ อาหารทั้งหลายอาจไม่ได้เลิศหรูเหมือนกับขนมตามห้างใหญ่ๆ แต่กลับมีเสน่ห์ด้วยความอร่อย ความเรียบง่ายของชุมชน และ ความจริงใจในการเปิดประตูบ้านขายต้อนรับนักท่องเที่ยวอย่าง เป็นมิตร
กิจกรรมเด่น : เดินเล่นชมบ้านเรือนเก่าแก่สุดคลาสสิก สัมผัสวิถีชีวิตชาวบ้าน สมัยก่อนแบบเรียบง่ายกันที่ “ชุมชนริมน�ำ้ จันทบูร” เพลิดเพลินกับ มนต์เสน่ห์แห่งลุ่มแม่น�้ำจันทบุรี สินค้าชุมชนเด่น : ขนมไข่ ป ้ า ไต๊ หอม นุ ่ ม หวาน กรอบ ขนมเที ย นแก้ ว ลุ ง จุ ่ น เคี้ยวหนึบ นุ่ม จันทบุรีเบเกอรี่ เบเกอรี่ราคาย่อมเยา ข้าวตัง โบราณป้าจินดา หอม กรอบ อร่อย ไอศกรีมตราจรวด ไอศกรีม โบราณ หอมหวานชืน่ ใจ กวยจับ๊ ป้าไหม คัดสรรวัตถุดบิ ทีด่ ี พิถพี ถิ นั ก๋วยเตี๋ยวต้มย�ำทะเลเจ๊อี๊ด จานโปรดของคนรักอาหารทะเล ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนริมน�้ำจันทบูร ถนนสุขาภิบาล ต�ำบลวัดใหม่ อ�ำเภอเมือง จันทบุรี จังหวัดจันทบุรี 22000 โทรศัพท์ 086-328-6697 chanthaboonwaterfront
130
131
60 ชุมชนรักษ์เขาบายศรี จันทบุรี เดินเล่นในสวน ชวนชมอาณาจักรผลไม้ร้อยปี
จันทบุรีได้ชื่อว่าเป็นดินแดนแห่งผลไม้ภาคตะวันออก เหมาะจะเที่ยวทุกไร่ชิมไปทุกสวน ในช่วงฤดูผลไม้เดือนเมษายน-สิงหาคม ทั้งสวนของชาวบ้าน ตลาดกลางผลไม้ และแผงขายริมทาง ล้วนดารดาษไปด้วยผลไม้นานาชนิดรอให้ซื้อหามาชิม เหมาะชวนกันไปได้ทั้งครอบครัว
ชุมชนรักษ์เขาบายศรี อ�ำเภอท่าใหม่ เป็นชุมชนที่เก่าแก่ ไม่ต�่ำกว่า 100 ปี และยังคงสืบสานวิถีเกษตร ท�ำสวนผลไม้แบบ ผสมผสาน ปลูกพืชพรรณหลากชนิดไว้รวมกัน เกื้อหนุนให้เกิดวิถี ชาวสวนที่ยั่งยืนมาถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันการท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนรักษ์เขาบายศรี มีรางวัลมากมายรับรองคุณภาพ พร้อมกิจกรรมหลากหลายให้ สัมผัสเรียนรู้คู่ความสนุกสนาน เริ่มตั้งแต่การท�ำตัวเป็นชาวสวน เดินหรือปั่นจักรยานเที่ยวชมผลหมากรากไม้นานาชนิด มีทั้งสละ ระก�ำ ทุเรียน มังคุด ลองกอง เงาะ แก้วมังกร กล้วยไข่ กล้วยน�้ำว้า มะม่วง มะละกอฯลฯ จะลองไปสอยรับประทานเองสดๆ จากต้น หรือรับประทานบุฟเฟ่ต์ผลไม้ที่ชาวบ้านจัดไว้ให้ก็ได้ ละเลียดชิม ความหอมหวานอร่อยของผลไม้ คุณค่าจากผืนดิน ที่แทรกซึมผ่าน เนือ้ ผลไม้ให้เราลิม้ รส ฟอกปอดด้วยอากาศบริสทุ ธิ์ ชม “ต้นทุเรียน 100 ปี” แห่งเขาบายศรี ที่ล�ำต้นสูงชะลูดหลายสิบเมตร เป็น เครือ่ งยืนยันว่ามีการปลูกผลไม้กนั มาหลายชัว่ อายุคนแล้ว เช่นเดียว กับต้นมังคุดร้อยปี ที่ยังคงออกผลอย่างสม�่ำเสมอทุกปี กิจกรรมสนุกๆ ยังไม่หมดแค่นั้น ยังมีการสาธิตวิธีผสม เกสรสละด้ ว ยมื อ โดยชาวสวนจะน�ำเกสรตัวผู้ มาผสมเกสร ตัวเมีย เนือ่ งจากเกสรอยูต่ า่ งต้นกัน สุกไม่พร้อมกัน และแมลงจะตอม เฉพาะเกสรตัวผู้ เมื่อท�ำเช่นนี้ก็จะได้ลูกดกผลผลิตดีขึ้นกว่าปล่อย ให้ผสมกันเองตามธรรมชาติ ชมเสร็จแล้ว แนะน�ำให้นอนโฮมสเตย์ ในสวนผลไม้ ฟังเสียงหรีดหริง่ เรไรขับกล่อมให้หลับฝันดีไปตลอดคืน สวนป้าแกลบแห่งเขาบายศรี เป็นอีกหมุดหมายหนึ่งที่ไม่ ควรพลาดไปเยือน เพราะเป็นกลุม่ แม่บา้ น ทีร่ วมตัวกันเหนียวแน่น ด้วยความสามัคคี น�ำผลผลิตจากสวนของตนโดยเฉพาะทุเรียน หมอนทองพันธุด์ ี มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพิม่ มูลค่าส่งขาย ได้อย่างต่อเนือ่ ง ไม่วา่ จะเป็นทอฟฟีท่ เุ รียน ทุเรียนกรอบ ขนมเปีย๊ ะ ไส้ทุเรียนไข่เค็ม ซอสปรุงรสผัดเส้นจันท์ฯลฯ เหมาะซื้อเป็น ของฝากกลั บ บ้ า นทุ ก อย่ า ง อย่ า ลื ม ถ่ า ยภาพที่ จุ ด เช็ ค อิ น สวน ป้าแกลบด้วย จะได้เก็บภาพไว้ดูเป็นที่ระลึกนานๆ เที่ยวเขาบายศรีสุขใจได้เยือนสวนผลไม้ร้อยปี พร้อมเก็บ ความประทับใจไปบอกต่อได้อย่างไม่สิ้นสุด สมเป็นดินแดนแห่ง ความอุดมสมบูรณ์ของภาคตะวันออกอย่างแท้จริง
กิจกรรมเด่น : เทีย่ วชมสวนผลไม้รอ้ ยปี สอยผลไม้ดว้ ยตัวเอง รับประทานบุฟเฟ่ต์ ผลไม้ นอนโฮมสเตย์ในสวน ทดลองท�ำทอฟฟี่ทุเรียน ถ่ายภาพ จุดเช็คอินสวนป้าแกลบ ชมอุโมงค์เก็บน�้ำใต้ดิน ภูมิปัญญาคน เขาบายศรี ดูสาธิตการผสมพันธุส์ ละ ชมสาธิตการตัดดอกระก�ำตัวผู้ สินค้าชุมชนเด่น : ผลไม้ตามฤดูกาล เช่น ทุเรียน มังคุด เงาะ ลองกอง สละ ระก�ำ ฯลฯ ทอฟฟี่ทุเรียน ทุเรียนกรอบ ทุเรียนสแน็ค ทุเรียนกวน มังคุดกวน ขนมเปี๊ยะไส้ทุเรียนไข่เค็ม ซอสปรุงรสผัดเส้นจันท์ ที่ตั้งชุมชน : วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนรักษ์เขาบายศรี 11/1 หมู่4 ต�ำบลเขาบายศรี อ�ำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี 22120 โทรศัพท์ 039-356-544 / 086-834-9604 ชุมชนรักษ์เขาบายศรี
132
133
61 ชุมชนหนองบัว จันทบุรี เดินกินเต็มเหนี่ยว เที่ยวซอยขนมแปลก
เที่ยวเมืองจันท์สุขใจ แถมไม่ไกลเมืองกรุง โดยเฉพาะวัน เสาร์-อาทิตย์ ชวนกันขับรถกินลมชมวิวเพลินๆ ไปสัมผัสดินแดน ทีม่ คี วามเด่นดังในหลายเรือ่ ง ทัง้ ผลไม้แสนอร่อย พลอยจันท์ลำ�้ ค่า และเป็นเมืองประวัติศาสตร์ ครั้งสมเด็จพระเจ้าตากสินทรงกอบกู้ เอกราช เที่ยวเมืองจันท์จังหวัดเดียวครบเครื่องจริงๆ ชุ ม ชนขนมแปลกริ ม คลองหนองบั ว คื อ ชื่ อ ของชุ ม ชน ท่องเที่ยวที่ปรากฏขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 และโด่งดังขึ้นใน เวลาอันรวดเร็ว เป็นชุมชนท้องถิ่นที่มีอายุกว่า 100 ปี ตั้งแต่ยุคที่ ชาวจีนโล้ส�ำเภาเข้ามาค้าขายในจันทบุรี ซึ่งมีฐานะเป็นเมืองท่า ส�ำคัญทางฝั่งทะเลตะวันออก
กิจกรรมเด่น : เดินชมตลาด เรือนไม้เก่า โรงเจ ชิมขนมแปลกหายาก ถ่ายภาพคู่ กับ Street Art สุดเก๋ สะท้อนวิถชี มุ ชน ล่องเรือเทีย่ วแม่นำ�้ จันทบุรี ดูเหยี่ยวแดง ชมโรงหีบอ้อยโบราณหนองบัว สินค้าชุมชนเด่น : ขนมโบราณ ขนมแปลก ขนมหายากเกือบร้อยชนิด น�้ำตาลอ้อย ไม้กวาดดอกหญ้า ที่ตั้งชุมชน : ชุ ม ชนขนมแปลก ริ ม คลองหนองบั ว หมู ่ 7 ต� ำ บลหนองบั ว อ�ำเภอเมือง จันทบุรี โทรศัพท์ 039-320-317
วัฒนธรรมอาหารการกินทีห่ ลากหลายของชุมชน จึงได้รบั การน�ำมารังสรรค์ปน้ั แต่ง ชูประเด็นขนมชือ่ แปลกๆ ขนมโบราณ และขนมที่ ห าชิ ม ได้ ย ากในปั จ จุ บั น กลายเป็ น แม่ เ หล็ ก ดึ ง ดู ด ผู้คนจากทั่วสารทิศ เข้ามาลิ้มลองรสชาติความเป็นไทยที่อร่อยล�้ำ จนยากจะลืม ชุมชนขนมแปลกริมคลองหนองบัว อยู่ห่างจากตัวเมือง จันทบุรีเพียง 10 กิโลเมตรเท่านั้น เป็นชุมชนวิถีกินอยู่แบบ ดั้งเดิม เรียบง่าย สงบพอเพียง และจะเปิดเป็นตลาดขนมแปลก เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ เสน่ห์แรกที่สะกดสายตาผู้คนคือ เรือนไม้เก่าสองชั้นใจกลาง ชุมชน ซึ่งได้รับการอนุรักษ์ไว้อย่างดี แต่งเติมด้วยศิลปะร่วมสมัย ภาพวาด Street Art หลายจุด รวมถึงการประดับโคมไฟจีนสีแดง ห้อยระย้าเป็นทิวตามชายคาบ้าน เติมสีสันให้มีชีวิตชีวาขึ้นอีก หลายเท่า จากหัวซอยถึงท้ายซอยจรดท่าน�้ำ มีร้านพ่อค้าแม่ค้าน�ำ อาหารคาว-หวานนับร้อยชนิดมาจัดไว้ อย่างเป็นระเบียบ เราจะ เห็นรอยยิ้มและได้ยินค�ำเชิญชวนให้ซื้อหาอยู่ตลอด โดดเด่นที่สุด คือ ขนมหวานชือ่ แปลกๆ ซึง่ คนรุน่ ใหม่อาจไม่เคยได้ยนิ ชือ่ มาก่อน ไม่ว่าจะเป็นขนมควยลิง ขนมถั่วแปบ ขนมติดคอ ขนมแดกงา ร้ า นยายหลอม ขนมล่ า เตี ย ง ขนมลื ม กลื น ขนมตุ ๊ บ ตั๊ บ ขนมผิงโบราณ ข้าวตังโบราณ ถั่วทอดกลอย ตังเมน�้ำอ้อย ตังเมกรอบ ขนมช่อม่วง ขนมผกากรอง ขนมพระพาย ทองม้วนสด ขนมยี่ป้า ขนมหัวล้าน ขนมชมพูนุช และอีกสารพัด แค่เดินไป ชิมไปก็อิ่มแล้ว นอกจากนี้ยังมี “น�้ำเยี่ยววัว” ขายด้วย ซึ่งจริงๆ แล้วคือ น�ำ้ ตาลอ้อยทีเ่ คีย่ วจนใสสะอาดสีเหลืองสด ใส่นำ�้ แข็งดืม่ หอมหวาน ชื่นใจ สามารถชมที่มาของน�้ำเยี่ยววัว และการท�ำน�้ำตาลอ้อยแบบ โบราณได้ที่ “โรงหีบอ้อยหนองบัว” ชิม “ตังเมหน้าราง” ขนมหวาน สุดหายาก ด้วยการน�ำล�ำอ้อยสดไปจุ่มน�้ำตาลอ้อยที่เคี่ยวร้อนฉ่า ละลายเป็นตังเมขึ้นมา เห็นแล้วทึ่งในภูมิปัญญาคนโบราณ เดิ น ชมชิ ม ขนมแปลกจนอิ่ ม แปล้ ลองเปลี่ ย นไปล่ อ งเรื อ เที่ยวแม่น้�ำจันทบุรีกันบ้าง โดยลงเรือได้ที่ท้ายซอยขนมแปลก ชมความงามของธรรมชาติ แ มกไม้ เ ขี ย วๆ สองฟากฝั ่ ง ดู ฝูงเหยี่ยวแดง และล่องเรือต่อไปยังชุมชนท่องเที่ยวบ้านเสม็ดงาม และบ้านบางสระเก้า ได้ในเวลาไม่ถึง 20-30 นาทีเท่านั้น
ชุมชนขนมแปลก ริมคลองหนองบัว จันทบุรี 134
135
62 ชุมชนบางสระเก้า จันทบุรี บ้านของเหยี่ยวแดง แหล่งอาหารสามน�้ำ
แม่น�้ำจันทบุรีคือ แม่น�้ำสายยาวที่สุดในภาคตะวันออก ด้วยความยาวกว่า 120 กิโลเมตร ไหลจากเขตป่าเขาสลับซับซ้อน ลงสูท่ รี่ าบลุม่ ออกทะเลไปทางอ�ำเภอแหลมสิงห์ ทีซ่ งึ่ มีชมุ ชนแห่ง หนึง่ ตัง้ รกรากกันมาเนิน่ นานแล้ว ในนามว่า “ชุมชนบางสระเก้า” ชุ ม ชนบางสระเก้ า ตั้ ง อยู ่ ริ ม แม่ น�้ ำ จั น ทบุ รี ที่ ยั ง คงใส สะอาด และอุดมด้วยสัตว์น�้ำนานาชนิด ชาวบ้านจึงเรียนรู้น�ำ ทรัพยากรธรรมชาติมาหล่อเลี้ยงชีวิต สืบสานวิถีเรียบง่ายพอ เพียง ภายใต้อทิ ธิพลของน�ำ้ จืด น�ำ้ กร่อย น�ำ้ เค็ม ช่วยให้อาหาร ทะเลของบางสระเก้ามีรสชาติเลิศ กุ้ง หอย ปู ปลา เนื้อหวาน อร่อย บรรยากาศหมู่บ้านร่มรื่นด้วยป่าชายเลนเขียวครึ้ม ทอด ยาวไปตลอดริมฝั่งแม่น�้ำจันทบุรี ล่องเรือเที่ยว ดูกระชังปลา พืช พรรณไม้ และฝูงเหยี่ยวแดงโผร่อนไปในอากาศ ความประทับใจแรกเมื่อมาถึงบางสระเก้าคือ การร้องร�ำ ต้อนรับตั้งแต่ก้าวแรกที่ลงรถ จนกระทั่งเข้าถึงเรือนรับรอง ต่อด้วยการแสดงร�ำเสื่อกก เล่าเรื่องวิถีการทอเสื่อกกจันทบูร อันลือชื่อมานานแล้ว อาหารว่างเรียกน�้ำย่อยที่น�ำมาเสิร์ฟคือ น�้ำมะพร้าวที่ ปลูกจากดินน�้ำกร่อย ว่ากันว่าหาชิมยาก และช่วยบ�ำรุงสุขภาพ รับประทานคูก่ บั อาหารเฉพาะของบางสระเก้าเท่านัน้ คือ “เมีย่ ง ปลาเงี่ยนราดน�้ำจิ้มถั่ว” ค�ำว่า “ปลาเงี่ยน” มิใช่ค�ำหยาบและ ไม่ใช่ชอื่ ปลา อาหารพืน้ บ้านชนิดนีอ้ ร่อยมากจนหยุดรับประทาน ไม่ได้ เนื้อที่ใช้ท�ำคือ ปลาอะไรก็ได้ที่ชาวบ้านหามาทั้งปลากะพง ปลากระบอก ปลาเห็ดโคน ปลาน�้ำดอกไม้ พออิ่มท้องแล้ว ก็ได้เวลาออกท่องเที่ยว เดินไปตรงริมน�้ำ ชมอาคารอนุบาลลูกปลาชนิดต่างๆ ที่พบในแม่น�้ำจันทบุรี เพื่อ ขยายพันธุ์แล้วน�ำไปปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ แล้วก็มาถึงกิจกรรม 136
ไฮไลต์คอื “การล่องแพเทีย่ ว” ลักษณะคล้ายแพเหล็กขนาดใหญ่ มีหลังคา และที่นั่งอย่างดี ลากด้วยเรือยนต์ ใช้เวลาไป-กลับ ประมาณ 2 ชั่วโมง ให้เราได้ดื่มด�่ำเต็มที่กับสายน�้ำใส ลมพัด เอื่อยๆ เย็นๆ กลางแม่น�้ำจันทบุรี ความน่าตื่นเต้นคือ มีฝูงเหยี่ยวแดงนับร้อยตัว บินจาก ป่าชายเลนขึ้นมาร่อนอวดโฉม บางตัวร่อนเป็นวงกลม บางตัว ร่อนฉวัดเฉวียนไปมาอย่างรวดเร็ว ฝูงเหยี่ยวแดงที่เห็นคือ ดัชนี บ่งชี้ได้ดี ว่าธรรมชาติบางสระเก้ายังสมบูรณ์มาก เพราะคนรักษ์ ธรรมชาติ ธรรมชาติจึงตอบแทน กลับเข้าฝัง่ มาชิม “หอยพอกย่าง” เป็นหอยสองฝาตัวใหญ่ อาศัยอยูใ่ นดินเลนตามป่าโกงกาง จับได้งา่ ยยามน�ำ้ ลด หอยพอก มีเนื้อสีขาวอ้วนพี ย่างบนเตาถ่านให้สุกดี รับประทานกับน�้ำจิ้ม ซีฟู้ด อาหารขึ้นชื่ออีกอย่างคือ “แกงเป็ดกะลามะพร้าวอ่อน” สูตรโบราณบางสระเก้า ใช้เนื้อเป็ดไข่หรือเป็ดกากี ให้รสสัมผัส แน่นเหนียวเคีย้ วอร่อย แกงกับกะลาอ่อนของมะพร้าวมันกรุบกรอบ ตัดรสเครือ่ งแกงเข้มข้นถึงใจ แล้วตบท้ายด้วย “ขนมจากพืน้ บ้าน” ย่างบนเตาถ่าน หอมหวานก�ำลังดี
ก่อนกลับต้องชอปปิงอุดหนุน “เสื่อกกบางสระเก้า” หรือ “เสือ่ กกจันทบูร” นัน่ เอง ปัจจุบนั พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์หลากหลาย ทั้งหมวก กระเป๋าเก๋ๆ กล่องใส่ของ กล่องทิชชู ซองใส่โทรศัพท์มือ ถือฯลฯ เยือนบางสระเก้าครบเครื่องเรื่องท่องเที่ยวจริงๆ อย่างนี้ต้อง กลับไปซ�้ำอีกบ่อยๆ เท่าที่ใจต้องการ
กิจกรรมเด่น : ล่องเรือชมธรรมชาติป่าชายเลน และแม่น�้ำจันทบุรี ดูเหยี่ยวแดง นับร้อยตัว ชมการแสดงพื้นบ้าน ดูบ่ออนุบาลพันธุ์ปลา CSR ปล่อยบ้านปลา-ปะการังเทียม DIY สานเสื่อกกจันทบูร ชิมอาหาร ท้องถิน่ หายาก เช่น น�ำ้ มะพร้าวน�ำ้ กร่อย หอยพอกย่าง เมีย่ งปลาเงีย่ น แกงเป็ดกะลามะพร้าวอ่อน สินค้าชุมชนเด่น : เสื่อกก เสื่อปอ งอบ(เหละ) น�้ำปลาอย่างดี กะปิเคยแท้ อาหาร ทะเลแห้ง น�้ำผึ้งป่า น�้ำผึ้งชันโรง น�้ำพริกแกง กุ้งต้มหวาน ชาใบขลู่ กล้วยตากหลายรส หอยนางรมสด ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบางสระเก้า ต�ำบลบางสระเก้า อ�ำเภอแหลมสิงห์ จังหวัด จันทบุรี โทรศัพท์ 099-259-6832 ชุมชนท่องเที่ยว otop นวัตวิถี บางสระเก้า
137
63 ชุมชนตลาดบ้านใหม่ ฉะเชิงเทรา เที่ยวตลาดไทย-จีน กลิ่นอายแห่งบางปะกง
เมืองแปดริ้ว หรือฉะเชิงเทรา ชื่อนี้มีที่มาจากความอุดม สมบูรณ์ของปลาช่อนในแม่นำ�้ บางปะกง ทีส่ ามารถแล่เนือ้ แต่ละตัว ออกมาได้มากถึง 8 ชิ้นใหญ่ๆ ชาวบ้านจึงเรียกจังหวัดฉะเชิงเทรา ว่า “เมืองแปดริ้ว” อีกทั้งแถบนี้ยังเป็นเมืองท่าขนาดใหญ่ของ ภาคตะวันออก สองฝั่งแม่น�้ำบางปะกงจึงมีชุมชนเกิดขึ้นมากมาย หนึ่งในนั้นคือ “ตลาดบ้านใหม่” ชุมชนสองวัฒนธรรม ไทย-จีน ที่ผ่านกาลเวลามาเนิ่นนาน
ตลาดบ้านใหม่ สร้างขึ้นประมาณสมัยรัชกาลที่ 5-6 เมื่อปี พ.ศ. 2447-2448 ทุกวันนี้แบ่งตลาดเป็น 2 ส่วนคือ ตลาดบน และตลาดล่าง ตลาดบ้านใหม่มีร้านรวงอยู่ไม่น้อยกว่า 120 ร้าน ส่วนใหญ่เป็นชาวจีนที่เข้ามาค้าขาย รูปแบบอาคารสร้างเป็น เรือนไม้ตอ่ เนือ่ งกัน ผูค้ นเดินทางไปมาด้วยเรือ น�ำพืชผลการเกษตร ปลา และของใช้อื่นๆ ขึ้นมาขาย นานวั น เข้ า ก็ ข ยายตั ว กลายเป็ น ตลาดใหญ่ ในลั ก ษณะ ห้องแถวเรือนไม้ริมน�้ำ สะท้อนวัฒนธรรมไทย-จีนผสมผสานกัน ตลาดบ้านใหม่รงุ่ เรืองอยูน่ บั ร้อยปี กระทัง่ มีถนนตัดผ่าน คนส่วนหนึง่ ย้ายออกไป ตลาดจึงซบเซาลง และมีการฟื้นฟูขึ้นอีกครั้งเมื่อ ปี พ.ศ. 2547 น�ำรอยยิม้ น�ำ้ ใจไมตรีของผูค้ น และเสน่หส์ ถาปัตยกรรม เรือนไม้โบราณออกมาเผยให้คนรุ่นใหม่ได้เห็น
ตลาดบ้านใหม่มีศาลเจ้าไท้เจียเอี่ยกงอยู่กลางตลาด เป็น ศูนย์รวมศรัทธา จากนัน้ เดินไปเรือ่ ยๆ เลีย้ วซ้ายข้ามคลองเล็กๆ เชือ่ ม ต่อไปยัง “ตลาดบน” มีศาลเจ้าแม่ทับทิมและศาลเจ้าปุนเถ้าม่า ด้วยเป็นตลาดใหญ่ จึงมีของกินของใช้ขายสารพัดมีเป็นร้อยๆ เมนู ตลาดบ้านใหม่เป็นตลาดในร่ม มีหลังคาคลุมทางเดินตรง กลาง สองฝัง่ เป็นห้องแถวหลากหลายละลานตา มีของเล่นย้อนยุค ที่ชวนให้คิดถึงวัยเด็ก เดินรับประทานไอติมโบราณเพลินๆ ก็ถึง ร้านกาแฟโบราณ 100 ปีคตู่ ลาดชือ่ ร้านเฮียเอ๊ย ขายสืบต่อกันมาเป็น รุ่นที่ 5 แล้ว แก้วเด็ดคือ “กาแฟยกล้อ” มีร้านบ้านป้าหนูที่อยู่ติด ริมน�ำ้ บางปะกง วิวสวย ร้านผัดไทยตาลมะพร้าว กับร้านสามแม่ครัว ที่ยังใช้เตาฟืนท�ำอาหารให้ลูกค้า อาหารน่าลิ้มลองอื่นๆ เช่น ก๋วยเตี๋ยวปากหม้อ ข้าวหมากโบราณ กล้วยทอดสูตรโบราณ ลอดช่ อ งแม่ ว งษ์ ข้ า วเกรี ย บผลไม้ ขนมขี้ ห นู ขนมล� ำ เจี ย ก ขนมถุงทอง ข้าวตู ขนมผิง ขนมกง ขนมกล้วย ขนมฟักทอง ขนมเผือกและอีกสารพัด กินกันจนอิ่มแปล้แน่นอน กิจกรรมห้ามพลาดของทีน่ คี่ อื การล่องเรือพายเทีย่ วลัดเลาะ เข้าไปตามล�ำคลองน้อยใหญ่คดเคี้ยว ร่มรื่น ชมนิเวศป่าน�้ำกร่อย และป่าต้นจากที่ยังอุดมสมบูรณ์ของแม่น�้ำบางปะกง อันเป็นที่มา ของ “ขนมจาก” ของกินขึ้นชื่อแห่งแปดริ้วมาช้านาน นีค่ อื ตลาดบ้านใหม่รมิ น�ำ้ บางปะกง ทีซ่ งึ่ กลิน่ อายบรรยากาศ เก่าๆ ดึงดูดให้คนรุ่นใหม่เข้ามาชื่นชม สมเป็นเมืองแปดริ้วที่ใครๆ ก็หลงรัก
กิจกรรมเด่น : เดินเที่ยวชมตลาดโบราณ ชิมอาหารนับร้อยเมนู ล่องเรือพายชม ธรรมชาติป่าจาก ถ่ายภาพกับ Street Art ในจุดเช็คอินมากมาย ชมร�ำวงพื้นบ้านที่ตลาดล่าง สินค้าชุมชนเด่น : ของเล่นย้อนยุค หมวกสานใบจาก ขนมจากแปดริ้ว ก๋วยเตี๋ยว ปากหม้อ ลอดช่องแม่วงษ์ เค้กข้าวหลาม ขนมเปี๊ยะสูตรโบราณ น�้ำพริกพื้นบ้านหลากหลายฯลฯ ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนตลาดบ้านใหม่ ถนนศุภกิจ ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000 โทรศัพท์ 089-887-7161 Website www.chachoengsao.go.th 138
139
64 บ้านหนองปลาไหล ชลบุรี วิถเี กษตรพอเพียง เคียงคูเ่ มืองพัทยา
เมื่อกล่าวถึง “พัทยา” หลายคนคงจะนึกถึงภาพของเมือง ท่องเที่ยวชายทะเล ที่มีชื่อเสียงโด่งดังระดับโลก ทว่าในอีกแง่มุม หนึ่งก็ยังมีชุมชนน้อยๆ หลบซ่อนจากความจอแจและสายตาผู้คน ที่นั่นคือ “บ้านหนองปลาไหล” ชุมชนน่ารักที่สืบสานจิตวิญญาณ ดัง้ เดิมของคนเมืองชล โดยท�ำนาข้าว และท�ำสวนเกษตรผสมผสาน หล่อเลี้ยงชีวิตได้อย่างพอเพียง 140
บ้านหนองปลาไหลตัง้ รกรากในอ�ำเภอบางละมุงมาไม่นอ้ ย กว่ า 200 ปี แ ล้ ว โดยมี ล� ำ ธารน้ อ ยใหญ่ ไ หลผ่ า นหมู ่ บ ้ า น หลายสาย ในอดีตมีปลาไหลอาศัยอยู่ชุกชุม จึงตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “หนองปลาไหล” ชุมชนอยู่กันแบบพี่น้องเครือญาติ รู้จักมักจี่ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน แบ่งปันน�้ำใจให้กัน ตามลักษณะสังคมชนบท
เปี่ยมสุข ในแบบที่คนเมืองต้องอิจฉา บรรยากาศของหมู่บ้านสงบ น่าเที่ยว อยู่ใกล้ทุ่งนาผืนใหญ่ที่ยังให้ผลผลิตดีทุกปี มีกิจกรรม “ด�ำนาวันแม่ เกี่ยวข้าววันพ่อ” ให้นักท่องเที่ยวที่สนใจไปร่วม สัมผัสวิถีชาวนาแห่งภาคตะวันออกอย่างใกล้ชิด การท่องเที่ยวเชิงเกษตร คือความโดดเด่นของบ้านหนอง ปลาไหล รอบๆ บ้านผู้คนมีพืชผักสวนครัว และผลหมากรากไม้ นานาชนิดปลูกไว้ ราวกับซูเปอร์มาร์เก็ตข้างบ้าน ให้เก็บกินเก็บ ขายได้ตลอดปี ทั้งพริก มะม่วง มะนาว มะละกอ ขิง ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด แตงกวา มะระ บวบ ฟัก กระถิน ถั่วฝักยาว ต�ำลึง ฯลฯ และไม้ดอกไม้ใบ สร้างความร่มรื่น สดชื่นด้วยอากาศบริสุทธิ์ เดินเที่ยวชมสวนเกษตรของชาวบ้าน ดูดงไผ่สีสุกกอใหญ่ สีกันดังเกรียวกราว ให้ร่มเงาร่มเย็น มีต้นมะม่วงหาวมะนาวโห่ ที่ออกลูกสีชมพูอมแดง พร้อมน�ำไปท�ำเป็นเครื่องดื่มสุขภาพ และในสวนยังมีผีเสื้อมากมายบินไปมาอย่างอิสระเสรี เติมเต็ม นิเวศธรรมชาติสวนเกษตรให้สมบูรณ์ มาเที่ ย วบ้ า นหนองปลาไหลต้ อ งสั ม ผั ส วิ ถี ท ้ อ งนาด้ ว ย กิจกรรมสนุกๆ คือ “ยิงหนังสติ๊ก” เติมปุ๋ยอินทรีย์ให้นาข้าว แต่ถ้าธรรมดาเกินไปคงไม่สนุก ชาวบ้านจึงน�ำขวดน�้ำหรือปี๊ป ไปผูกไว้กบั เสากลางนา ให้นกั ท่องเทีย่ วแบ่งทีมแข่งกันยิงหนังสติก๊ ให้โดนเป้า เป็นกิจกรรมที่สนุกสนานและสร้างสรรค์มากจริงๆ เสร็จแล้วก็ได้เวลาไปเข้าครัวกับคนหนองปลาไหล ทดลองท�ำ “ห่อ หมกปลาอินทรี” สูตรพื้นบ้าน ที่ใช้ปลาอินทรีสด ผสม
กะทิสด เครื่องแกงหอมๆ และเครื่องปรุงต่างๆ หยอดใส่ใบตอง กลัดด้วยไม้ แล้วนึ่งให้สุก ไม่นานก็ได้ชิม ในส�ำรับอาหารยังมี แกงกล้วยรอไก่, ต้มหมูใบชะมวง, ไข่เจียวร้อนๆ ตบท้ายด้วย ขนมกล้วยสูตรบ้านหนองปลาไหล ที่ทุกคนช่วยกันท�ำเอง สถานที่ส�ำคัญอีกแห่งที่ห้ามพลาดชมในบ้านหนองปลาไหล คือ “วัดหนองเกตุใหญ่” ศูนย์รวมใจรวมศรัทธาของชุมชน มีอายุ กว่า 200 ปี ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปไม้โบราณล�้ำค่า และ มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง ซึ่งแม้จะเลือนรางแต่ก็ทรงคุณค่าเป็น อย่างยิ่ง บ้านหนองปลาไหล ชุมชนน้อยที่ซ่อนตัวอยู่ในเมืองใหญ่ ของพัทยา ยืนหยัดสืบสานวิถีเกษตรพอเพียง เคียงคู่การถ่ายทอด องค์ความรู้ให้คนรุ่นใหม่ได้อย่างยั่งยืน
กิจกรรมเด่น : ยิงหนังสติก๊ เติมปุย๋ อินทรียใ์ ห้นาข้าว ด�ำนาวันแม่ เกีย่ วข้าววันพ่อ, เดิ น ชมสวนเกษตรผสมผสาน ลองท� ำ ห่ อ หมกปลาอิ น ทรี ย ์ สูตรพื้นบ้าน นมัสการวัดหนองเกตุใหญ่ ร่วมร�ำวงกับชาวบ้าน สินค้าชุมชนเด่น : ห่อหมกปลาอินทรีย์ ข้าวอินทรีย์ ที่ตั้งชุมชน : ท่องเที่ยวชุมชนปลาไหล ต�ำบลหนองปลาไหล อ�ำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ 064-579-2680, 086-827-0768 Website www.nongplalai.go.th
141
65 บ้านน�้ำเชี่ยว ตราด
เสน่ห์สามวัฒนธรรม ริมฝั่งทะเลบูรพา
ตราด เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันออกที่ยังคงมีทรัพยากร ธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ มีป่าชายเลน สัตว์น�้ำ และความงามของ หมู่เกาะต่างๆ ทั้งยังมีชุมชนน้อยใหญ่ อาศัยความอุดมสมบูรณ์ ของธรรมชาติต่อเติมวิถีชีวิต ที่ผูกพันอยู่กับธรรมชาติในทุกเมื่อ เชื่อวัน ชุมชนบ้านน�้ำเชี่ยว เป็นหนึ่งในชุมชนประมงชายฝั่ง ที่ยังคง ยึดถือวิถีอาชีพดั้งเดิม สืบสานการท�ำประมงพื้นบ้าน รวมถึง การท�ำสวนและค้าขาย เป็นชุมชนสองศาสนา (อิสลามและพุทธ) สามวัฒนธรรม (มุสลิม จีน ไทย) ที่อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขมา นานนับร้อยปี ณ ริมล�ำคลองขนาดใหญ่ที่ไหลผ่าน กลางชุมชน สองฟากฝั่งร่มรื่นด้วยแนวป่าชายเลนเขียวครึ้ม สายน�้ำหลากไหล ออกสูอ่ า่ วไทย ไปเติมเต็มระบบนิเวศทีม่ สี ตั ว์นำ�้ ให้จบั กินจับขายได้ อย่างล้นเหลือ มีกงุ้ หอย ปู ปลานานาชนิด โดยเฉพาะหอยปากเป็ด และหอยแครง มีอยู่ดาษดื่นตามพื้นเลนทรายใต้น�้ำตรงปากอ่าว
บ้านน�ำ้ เชีย่ วคือ การผสมผสานของหลากวัฒนธรรมหลาย เชื้อชาติศาสนา เราจะเห็นมัสยิดตั้งอยู่ไม่ไกลจากศาลเจ้าจีน และวั ดพุ ท ธ ไปมาหาสู่ช่วยเหลือเกื้อกูลเกิดเป็นสังคมน่าอยู่ ชวนให้ทอ่ งเทีย่ วได้ทงั้ ปี เสน่หอ์ ย่างหนึง่ ทีด่ งึ ดูดผูค้ นคือ วิถกี ารท�ำ “งอบน�ำ้ เชีย่ ว” สินค้าโด่งดังและมีเอกลักษณ์โดดเด่น เป็นงอบสาน ด้วยใบจาก ใช้กนั แดดฝนได้ดี และมีความทนทานสูงมาก มีให้เลือก 5 ทรงคือ ทรงกระทะคว�ำ ่ ทรงกระดองเต่า ทรงสมเด็จ ทรงกะโหลก และทรงหัวแหลม ใบหนึ่งใช้เวลาท�ำเป็นสัปดาห์ด้วยความตั้งใจ “สะพานวัดใจ” ที่ถือเป็นจุดท่องเที่ยวส�ำคัญด้วยลักษณะ เป็นสะพานโครงเหล็กแข็งแรงแน่นหนา รูปทรงโค้งสูงเหมือน กระดองเต่า เพือ่ ให้เรือประมงแล่นลอดผ่านไปได้ แต่เวลาเดินข้าม เหมือนการผจญภัยเล็กๆ ถ่ายรูปได้สวยแปลกตาดี ทว่ากิจกรรมที่จะท�ำให้เราเข้าใจ เข้าถึงบ้านน�้ำเชี่ยวได้อย่าง ลึกซึ้งคือ การเดินเข้าไปตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน ชมพืชพรรณและระบบนิเวศทีผ่ กู พันเป็นห่วงโซ่อาหาร ตามจังหวะ 142
การขึ้นลงของระดับน�้ำเค็มน�้ำกร่อย มีกิจกรรมล่องเรือออกไปที่ ปากอ่าวเพื่องมหอยกับชาวบ้าน ทั้งหอยปากเป็ดและหอยแครง ทีช่ อบฝังตัวอยูใ่ นพืน้ ทรายเลนตืน้ ๆ งมขึน้ มาให้ชาวบ้านท�ำอาหาร อร่อยๆ ให้ชิม ไม่ว่าจะเป็นหอยแครงลวก จิ้มกับ “พริกเกลือ” เป็นน�้ำจิ้มซีฟู้ดแบบภาคตะวันออก ส่วนหอยปากเป็ด นิยมน�ำมา ปรุงเป็นย�ำหอยปากเป็ด และหอยปากเป็ดผัดโหระพาฯลฯ อี ก กิ จ กรรมยอดฮิ ต คื อ การล่ อ งเรื อ ยามเย็ น ออกไปชม เหยี่ยวแดงนับร้อยตัวบินรวมฝูง อยู่เหนือป่าชายเลน บ่งชี้ว่า แถบนี้ ยั ง มี ธ รรมชาติ แ ละอาหารอุ ด มสมบู ร ณ์ ให้ เ หยี่ ย วแดง ฝูงใหญ่ได้จบั กิน หลังจากนัน้ ก็กลับเข้ามานอนโฮมสเตย์กบั ชาวบ้าน ชิมอาหารท้องถิ่นมื้อเย็นแสนอร่อย ทั้งห่อหมกทะเล ปลากะพง ทอดสามรส สับปะรดสีทองตราดฯลฯ นีค่ อื ความสุขทีบ่ า้ นน�ำ้ เชีย่ ว มอบให้เรา และยากจะลืมจริงๆ
กิจกรรมเด่น : เดินชมหรือล่องเรือดูนิเวศป่าชายเลน ล่องเรือดูฝูงเหยี่ยวแดง เดินข้ามสะพานวัดใจ DIY ทดลองท�ำงอบน�้ำเชี่ยว ออกไปงมหอย กับชาวบ้าน นอนโฮมสเตย์ ชมการแสดงลิเกฮูลู สินค้าชุมชนเด่น : งอบน�้ำเชี่ยว ข้าวเกรียบยาหน้า ขนมน�้ำตาลชัก (ขนมตังเมกรอบ) ที่ตั้งชุมชน : กลุ่มท่องเที่ยวบ้านน�้ำเชี่ยว ต�ำบลน�้ำเชี่ยว อ�ำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด 23120 โทรศัพท์ 084-892-5374 วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยว บ้านน�้ำเชี่ยว ตราด
143
ที่เป็นพืชกาฝากลักษณะคล้ายลูกบอลกลมๆ เกาะอยู่ตามต้นไม้ ในป่าชายเลน เมื่อน�ำหัวนี้มาผ่าออกดู จะเห็นว่าภายในมีรูพรุน จ�ำนวนมาก หั่นเป็นแผ่นบางๆ ล้างให้สะอาด ตากให้แห้ง แล้ว ชงน�้ำร้อนเป็นชาหัวร้อยรูบ�ำรุงสุขภาพ ส่วนอาหารหลักของบ้านท่าระแนะ ก็จดั มาเป็นส�ำรับ ทัง้ ปูมา้ ปูทะเลนึง่ แกงใบชะพลูหอยพอก ย�ำกัง้ ใส่ใบมะกอก กัง้ ทอดกระเทียม พริกไทย กุ้งหวาน กุ้งสามรส ปลากระบอกต้มส้ม น�้ำพริกกะปิ เคยชั้นดี รวมถึง “จันรอน” ซึ่งก็คือ ทอดมันเสียบไม้ย่างหอมฉุย ส่วนใครทีม่ เี วลามากหน่อย จะลองไปท�ำ “ขนมพิมพ์ขา้ วตอก” ก็ ไ ด้ ขนมโบราณชนิ ด นี้ เ ดิ ม ที นิ ย มท�ำ กั น ในงานบุ ญ งานมงคล แต่ ป ั จ จุ บั น ได้ พั ฒ นาเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ อทอปด้ ว ย เริ่ ม ตั้ ง แต่ คั่ ว ข้าวเปลือกข้าวเหนียวให้ร้อนจนแตกเหมือนข้าวโพดป๊อปคอร์น ต�ำให้ละเอียด ตั้งไฟใส่กะทิ เติมน�้ำตาลปี๊บ เคี่ยวแล้วทิ้งให้เย็น น�ำข้าวที่ผสมกะทิเคี่ยวไว้แล้วอัดลงแม่พิมพ์ไม้ แกะออกก็จะได้ ขนมพิมพ์ข้าวตอก รูปร่างสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด เนื้อหนึบนุ่ม หวานอ่อนๆ ดี บ้านท่าระแนะ สวรรค์ของธรรมชาติสามน�้ำ ป่าสามแบบ และความสุขเรียบง่าย ที่รอให้เราไปสัมผัสด้วยตนเอง เพื่อน�ำ ความประทับใจกลับออกมาบอกเล่าได้ไม่สิ้นสุด
66 บ้านท่าระแนะ ตราด
จิบกาแฟแลเล ลานตะบูนสุดมหัศจรรย์
ชุมชนชายฝัง่ ทีถ่ อื ว่าใกล้เมืองตราด และเข้าไปสัมผัสได้อย่าง ง่ายดายคือ “ชุมชนบ้านท่าระแนะ” แหล่งเรียนรูน้ เิ วศป่าชายเลน ที่ครบเครื่องในพื้นที่กว่า 2,000 ไร่ โดยมีป่าชายเลนอายุกว่า 100 ปี เป็นหัวใจหลักของการท่องเทีย่ ว สร้างจิตส�ำนึกอนุรกั ษ์ธรรมชาติ ในอดีตพืน้ ทีบ่ า้ นท่าระแนะเป็นเพียงทะเลโล่งๆ แต่เมือ่ มีการ ท�ำเหมืองพลอยจากป่าเขาในอ�ำเภอบ่อไร่ ดินตะกอนภูเขาจาก เหมืองได้ถูกน�้ำพัดพาลงมาทับถม จนเกิดเป็นแผ่นดินงอก และ แนวฝัง่ เลนทีม่ แี ร่ธาตุอดุ มสมบูรณ์ เหมาะต่อการเจริญงอกงามของ ป่าโกงกางที่เห็นในปัจจุบัน
144
การพาตัวและหัวใจเข้าสู่บ้านท่าระแนะ จึงเหมือนการกลับ คืนสู่อ้อมกอดของธรรมชาติ ค่อยๆ ล่องเรืออย่างแช่มช้าเข้าสู่ แนวป่าชายเลนร่มครึ้ม ที่ได้รับอิทธิพลของน�้ำขึ้นลง เกิดเป็นโลก 3 น�้ำ ของน�้ำจืด น�้ำกร่อย น�้ำเค็ม ผลักดันสลับกันไปมาสร้าง ความสมบูรณ์ให้ห่วงโซ่อาหาร อีกทั้งยังก่อให้เกิดป่า 3 ชนิด ที่ล่องเรือชมได้ง่าย ทั้งป่าโกงกาง ป่าจาก และป่าตะบูน ที่มีไฮไลต์ เป็นลานรากตะบูนแผ่กว้าง เกี่ยวกระหวัดพันไปมาอย่างน่าตื่นตา ตื่นใจและมีกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ โยนโบว์ลิ่งลูกตะบูน แข่งกันอย่างสนุกสนานด้วย อีกกิจกรรมสนุกๆ คือ “จิบกาแฟแลเล” เหมาะส�ำหรับ คนชอบตื่นเช้า เพราะต้องล่องเรือออกไปลอยล�ำดูพระอาทิตย์ขึ้น สาดแสงทองลงมาจับผืนน�ำ ้ และแนวเทือกเขาบรรทัดทีอ่ ยูไ่ กลลิบๆ ยามเช้านกน�้ำเริ่มตื่นโผบินออกหากิน ทั้งนกยางโทน นกยางเปีย และเหยี่ยวแดง ชมวิถีประมงพื้นบ้าน วางลอบ วางอวน ทอดแห และเห็น นกกระเต็นเกาะอยู่ตามกิ่งโกงกางอย่างเงียบเชียบ คอยสอดส่อง หาปลาเล็กตามผิวน�ำ้ กิน เกิดเป็นห่วงโซ่อาหารผูกสัมพันธ์ระหว่าง สรรพสัตว์ เหมือนห้องเรียนธรรมชาติชั้นเลิศ กลับขึ้นฝั่งมารับประทานอาหารอร่อยของชุมชน ซึ่งน�ำ ทรัพยากรรอบกายมาดัดแปลงรังสรรค์เมนูต่างๆ ได้อย่างน่าทึ่ง ทัง้ “ใบโกงกางทอด” ทีม่ เี คล็ดลับคือ ต้องเก็บใบทีส่ ามนับจากยอด ลงไป จึงจะอ่อนพอรับประทานได้ดี นอกจากนีย้ งั มี “ชาหัวร้อยรู”
กิจกรรมเด่น : ล่องเรือชมป่า 3 แบบคือ ป่าโกงกาง ป่าจาก ป่าตะบูน ชมความ มหัศจรรย์ของลานตะบูน โยนโบว์ลิ่งลูกตะบูนแข่งกัน ล่องเรือจิบ กาแฟแลเลในยามเช้า ดูนก ดูวิถีประมง ทดลองทำ�ขนมพิมพ์ ข้าวตอก DIY ทดลองมัดย้อม ผ้าสีธรรมชาติลูกตะบูน สินค้าชุมชนเด่น : ผ้ามัดย้อมลูกตะบูน ชาหัวร้อยรูบำ�รุงสุขภาพ ขนมพิมพ์ข้าวตอก ที่ตั้งชุมชน : บ้านท่าระแนะ ถนนซอยชากมะนาว-หนองแฟบ ตำ�บลหนองคันทรง อำ�เภอเมืองตราด จังหวัดตราด 23000 โทรศัพท์ 081-161-6694 / 087-138-2844 ท่องเที่ยวมหัศจรรย์บ้านท่าระแนะ 145
67 บ้านไม้รด ู ตราด วิถีลูกทะเลสุดแดนบูรพา
ชุมชนบ้านไม้รูด อ�ำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวโดยชุมชนชั้นเลิศ ที่มีทรัพยากรธรรมชาติ วิถีชีวิตดั้งเดิม และอาหารอร่อยให้ชมิ มากมาย โดยเฉพาะก๋วยเตีย๋ วกัง้ ร้านป้านา ลุงปาน ที่ขายอยู่ในชุมชนริมท่าเรือ ใครได้ชิมพูดตรงกันว่ากั้ง บ้านไม้รูดทั้งสด ตัวใหญ่ เนื้อแน่นสู้ปากจริงๆ บ้านไม้รูดเป็นชุมชนประมงชายฝั่งที่ยังคงยึดถือวิถีดั้งเดิม เรายังเห็นเรือประมงนับร้อยล�ำ จอดเรียงรายอยูต่ ามคลองไม้รดู พากันแล่นออกทะเลไปทุกเช้าค�่ำ สืบสานชีวิตคนทะเลที่เข้าใจ คลื่นลม อาศัยกุ้ง หอย ปู ปลา เลี้ยงชีพมาหลายชั่วอายุคน หลังสัตว์ทะเลทีจ่ บั ได้ลดจ�ำนวนลงมาก ชาวบ้านจึงหันมารักษ์ ทะเลมากขึ้น จัดตั้งธนาคารปู รับซื้อปูไข่นอกกระดองเพื่ออนุบาล ลูกปู แล้วปล่อยคืนความสมบูรณ์สู่นิเวศธรรมชาติ
146
อาหารอร่ อ ยๆ ที่ บ ้ า นไม้ รู ด ไม่ ไ ด้ มี เ ฉพาะกุ ้ ง กั้ ง ปู ม ้ า ปูทะเลนึ่ง ทว่ายังมีเมนูพื้นบ้านหายากอย่าง “แกงหอยถ่าน” ที่เครื่องแกงหอมรสชาติเข้มข้น เวลากินหอยชนิดนี้ต้องใช้วิธี “ตัดตูดแล้วดูดปาก” เพราะลักษณะของหอยถ่านมีทรงแหลม เป็ น กรวย ต้ อ งตั ด ส่ ว นยอดปลายแหลมออกก่ อ นลงแกง ส่วนของหวานสุดพิเศษซึ่งมีให้ชิมเฉพาะที่บ้านไม้รูดเท่านั้นคือ “ขนมเปียกปูนแป้งเท้ายายม่อม” เท้ายายม่อมนี้เป็นพืชที่มีหัว อยู่ใต้ดิน ขึ้นอยู่มากตามป่าชายหาด น�ำมาท�ำขนมเปียกปูนจาก เท้ายายม่อมสีเขียวใสคล้ายวุ้นแสนอร่อย นี่คือ ความสุขในการเข้าถึงชุมชนบ้านไม้รูด สัมผัสรสชาติ และวิถีพื้นบ้านขนานแท้ จนท�ำให้เราหลงรักเมืองตราดเพิ่มขึ้น เป็นกอง หากเราได้ ล ่ อ งเรื อ ชมล� ำ คลองไม้ รู ด ก็ จ ะประจั ก ษ์ ใ น ผลงานการอนุรักษ์ของชาวบ้าน ที่รักษาแนวป่าชายเลนหนาแน่น ตลอดสองล� ำ คลองไว้ ไ ด้ ท� ำ ให้ มี น กนานาชนิ ด ทั้ ง นกยาง นกกระเต็น หรือแม้แต่นกแก๊ก ซึง่ เป็นนกเงือกขนาดเล็กชนิดหนึง่ ก็ยังบินเข้ามาอาศัยพักนอนอยู่ในป่าชายเลนบ้านไม้รูด น�้ำทะเล ที่นี่ยังใสสะอาด แค่ใช้สวิงแกว่งลงไปที่หน้าดินใต้น�้ำตื้นๆ ก็จะได้ หอยถ่านมาแกงรับประทาน ตามรากโกงกางมีหอยนางรมเกาะ อยู่นับไม่ถ้วน เช่นเดียวกับปูด�ำตัวเขื่อง ที่วางลอบแค่ข้ามคืนก็ได้ มารับประทานแล้ว บ้านไม้รดู มีแหล่งท่องเทีย่ วห้ามพลาด 2 แห่งคือ “หาดทราย สองสี” และ “บ่อญวน” หาดทรายสองสีจะเห็นได้เฉพาะยามน�ำ้ ลด เป็นแนวหาดทรายสีนำ�้ ตาลอ่อนและสีนำ�้ ตาลเข้มจรดกัน จากจุดนี้ เดินเลียบทะเลที่เป็นโขดหินรูปทรงแปลกตาไปอีกไม่กี่ร้อยเมตร ก็ถึงบ่อญวน เป็นบ่อน�้ำจืดธรรมชาติริมทะเลที่ไม่เคยเหือดแห้ง ชาวบ้านดื่มกินมานับร้อยปีแล้ว อีกทั้งเชื่อว่าเป็นน�้ำศักดิ์สิทธิ์ บริเวณนี้มีป่าชายหาดและป่าเสม็ดแดงร้อยปีที่สมบูรณ์ หาชม ได้ยาก
กิจกรรมเด่น : ดูหาดทรายสองสี และชมบ่อญวน (บ่อน�้ำจืดธรรมชาติริมทะเล) ชมระบบนิเวศป่าชายหาด ล่องเรือชมป่าชายเลน งมหอยถ่าน ดู หิง่ ห้อย ดูนกแก๊กเป็นนกเงือกขนาดเล็กทีอ่ ยูใ่ นป่ารอบหมูบ่ า้ น CSR ปล่อยปูที่ธนาคารปูม้า ชิมก๋วยเตี๋ยวกั้งรสเด็ด สินค้าชุมชนเด่น : กะปิเคยแท้บ้านไม้รูด อาหารทะเลตากแห้ง ปูม้า ปูด�ำ กั้งสดๆ ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านไม้รดู ต�ำบลไม้รดู อ�ำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด 23110 โทรศัพท์ 039-691-095 / 087-541-4284 / 096-114-2790 Website https://trat.mots.go.th
147
68 บ้านยายม่อม ตราด ถิ่นสองภาษา สปาทรายด�ำ บ้านยายม่อม อ�ำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราดคือ ชุมชนชาว มุสลิมจาม ซึ่งอพยพเข้ามาจากเมืองกัมปงจาม ประเทศกัมพูชา จึ ง น� ำ ภาษาเขมรและภาษามุ ส ลิ ม ที่ บ รรพบุ รุ ษ เคยใช้ รวมถึ ง วัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมติดตัวมาด้วย เกิดเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ชวนให้เข้าไปสัมผัสเรียนรู้ บ้านยายม่อมตั้งอยู่ใกล้เขตป่าสงวนแห่งชาติป่าแหลม มะขาม ที่มีนิเวศป่าชายเลนอุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านส่วนใหญ่
148
ท� ำ ประมง แปรรู ปอาหารทะเล และท่ อ งเที่ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม โดยไม่รบกวนธรรมชาติ ภายใต้ชอื่ “นิเวศพิพธิ ภัณฑ์บา้ นยายม่อม” (Eco Museum of Yaimom) บรรยากาศชุมชนอยู่ติดชายทะเล เงียบสงบ เหมาะเดินเล่นหรือปั่นจักรยานทักทายชาวบ้านอย่าง ไม่เร่งร้อน แวะดูชาวประมงถักแห อวน ดูการตากปลาแบบพืน้ บ้าน และเดินไปดู “หินยายม่อม” แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญของชุมชน ตามต�ำนานเรือแตก ยายม่อมจึงลอยมาเกยฝั่งที่นี่
เราสามารถร่วมสนุกกับการต้อนรับอันอบอุ่น ด้วยการร้อง ร�ำลิเกฮูลูร่วมกัน แล้วดื่ม “ชาใบขลู่” ที่เก็บได้ตามชายทะเล มีสรรพคุณทางยา ชาใบขลู่ต้องรับประทานร่วมกับของว่างเบาๆ อย่าง “เมี่ยงค�ำไส้แห้ง” ซึ่งใช้ใบชะพลู ห่อหอมแดง พริก ถั่วลิสง และมะนาว ไม่มนี ำ�้ จิม้ แต่รบั ประทานเพลินดี อีกทัง้ ยังมีอาหารขึน้ ชื่อที่ขายดิบขายดีเป็นเทน�้ำเทท่าคือ “ก้างปลาโคกทอดกรอบ” โดยเนื้อที่เราะออกก็น�ำไปท�ำเป็น “น�้ำพริกปลาโคก” คลุกข้าว รับประทานได้อร่อยล�้ำ นอกจากการสัมผัสน�้ำใจไมตรีและความโอบอ้อมอารีของ ชาวบ้านยายม่อม ยังมีจุดถ่ายภาพสวยๆ บริเวณริมทะเลใกล้ หินยายม่อม เป็นสัญลักษณ์ว่าเราได้มาเยือนดินแดนสุดทะเล ตะวันออกแล้ว นอกจากนี้ยังมีไฮไลต์ “หาดทรายด�ำ” 1 ใน 5 แห่งของโลกอีกด้วย ปัจจุบนั ชาวบ้านช่วยกันพัฒนาพืน้ ทีต่ รงนีเ้ ป็น “สปาทรายด�ำ ฮาลาลสปาแห่งเมืองตราด” โดยแบ่งเป็น 2 บ่อ คือ บ่อทรายด�ำเย็น และบ่อทรายด�ำอุน่ เคยมีการน�ำทรายด�ำไปวิจยั พบว่ามีแร่ไลโมไนต์ เจือปนอยู่มาก เกิดจากการสลายตัวของเปลือกหอยผสมควอตซ์ หรือซิลิก้า นับเป็นความพิเศษมหัศจรรย์ทางธรรมชาติ ที่เราต้อง ช่วยกันรักษาให้คงอยู่ตลอดไป หรือพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงสุขภาพอย่างจริงจัง เพื่อประโยชน์ของชุมชนอย่างยั่งยืน เที่ยวบ้านยายม่อมสุขกายสบายใจ แถมยังอิ่มจนพุงกางนี่คือ เสน่ห์ของการท่องเที่ยวชุมชนสุดพิเศษ แห่งชายทะเลตะวันออก เป็นเหมือนสวรรค์น้อยๆ ที่ยากจะลืมเลือนจริงๆ
กิจกรรมเด่น : ชมหาดทรายด�ำ 1 ใน 5 ของโลก และท�ำสปาทรายด�ำเพื่อสุขภาพ เดินหรือปัน่ จักรยานเทีย่ วชมชุมชน ดูหนิ ยายม่อม ดืม่ ด�ำ่ บรรยากาศ ริมทะเล ร่วมร้องร�ำลิเกฮูลูกับชาวบ้าน ณ ลานหินยายม่อม สินค้าชุมชนเด่น : ชาใบขลู่ น�้ำพริกปลาโคก ก้างปลาโคกทอดกรอบ ปลาโคกหวาน เมี่ยงค�ำไส้แห้ง ที่ตั้งชุมชน : นิเวศพิพิธภัณณ์บ้านยายม่อม อ�ำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด โทรศัพท์ 085-214-2082 / 081-996-4388 Website www.laemngobcity.go.th
149
69 บ้านห้วยแร้ง ตราด
จังหวะแห่งสายน�ำ้ และผูค ้ น บนเส้นทางอนุรก ั ษ์ทย ี่ ง ั่ ยืน เมื่ อ พู ด ถึ ง ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วที่ อ ยู ่ ไม่ ไ กลตั ว อ� ำ เภอเมื อ งตราดมากนั ก มี ธรรมชาติแมกไม้ สายน�้ำ และวิถีชุมชน ให้ชมหลากหลาย “บ้านห้วยแร้ง” เป็น ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง ที่ ช าวบ้ า นรวมกลุ ่ ม กั น ท�ำท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ตามวิถีดั้งเดิมที่ เรียบง่ายงดงาม บ้ า นห้ ว ยแร้ ง อยู ่ ใ นเขตลุ ่ ม ต�่ ำ ติ ด คลองห้วยแร้ง ซึ่งรับน�้ำมาจากเทือกเขา บรรทัด ก่อนบรรจบกับแม่น�้ำตราด แล้ว ไหลออกทะเลไป ล�ำคลองห้วยแร้งจึงมี นิเวศ 3 น�้ำอันแสนพิเศษ เราสามารถ ล่องเรือชมธรรมชาติป่าต้นจากเขียวสด ทอดเป็ น แนวยาวตลอดสองฝั ่ ง คลอง หลั ง แนวป่ า จากเป็ น ทิ ว มะพร้ า วและ ป่าหมากต้นสูงชะลูด ชื่อ “บ้านห้วยแร้ง” มีที่มาคือ ในอดีตเมื่อกว่า 50 ปีก่อน มีนกแร้งจ�ำนวนมากอาศัยหากินอยู่ตาม ล�ำห้วยข้างหมู่บ้าน และเมื่อน�้ำลดระดับ ก็จะปรากฏโขดหินขนาดพอๆ กับนกแร้ง ชาวบ้ า นจึ ง ตั้ ง ชื่ อ หมู ่ บ ้ า นของตนว่ า “บ้านห้วยแร้ง” ชาวห้วยแร้งส่วนใหญ่ทำ� อาชีพเกษตร ท�ำประมงจับกุ้ง หอย ปู ปลา ในล�ำคลอง 3 น�้ำ ว่ากันว่าสัตว์น�้ำที่นี่เนื้อแน่นและ
150
รสหวานกว่าที่อ่ืน เพราะธาตุอาหารอันบริบูรณ์ในสายน�้ำนั่นเอง นอกจากนี้ยังมีการท�ำสวนผลไม้ ปลูกมังคุด เงาะ ลองกอง ท�ำสวน มะพร้าว สวนหมาก และสวนยางพารา พืชส�ำคัญ 4 ชนิดคือ มะพร้าว มังคุด ต้นจาก และหมาก มีการแปรรูปเป็นสินค้าเพิ่มรายได้อย่างงาม “มะพร้าว” น�ำมาท�ำ เป็นน�ำ้ มันมะพร้าวสกัดเย็น “มังคุด” แปรรูปเป็นสบูเ่ หลว-สบูก่ อ้ น เปลือกมังคุด และแชมพูเปลือกมังคุด “ต้นจาก” น�ำใบมาห่อขนม จาก สานงอบ ลูกจากอ่อนน�ำไปแกง ลูกจากนุ่ม รับประทานเป็น ผลไม้ ส ด และก้ า นจากใช้ ท� ำ ไม้ ก วาดได้ ด ้ ว ย เรี ย กว่ า สารพั ด ประโยชน์จริงๆ ส่วน “หมาก” น�ำมาท�ำเป็น “ข้าวน�้ำพริกลงเรือห่อกาบ หมาก” สร้างสรรค์เป็นกิจกรรมสนุกๆ ให้นกั ท่องเทีย่ วลองท�ำ โดย ใช้กาบหมากตากแห้ง รองด้วยใบตองไว้ชั้นใน แล้วน�ำข้าวน�้ำพริก ลงเรือ สับปะรดสีทองตราด กุ้งขาวตราด ไข่เป็ดไล่ทุ่ง หมูหวาน และผัก จัดวางลงไป โดยไม่ท�ำให้อาหารบูดเสียเร็ว เนื่องจากกาบ หมากระบายอากาศได้ดี นักท่องเทีย่ วทีล่ อ่ งเรือไปชมคลองห้วยแร้ง สามารถพกข้าวน�ำ้ พริกลงเรือห่อกาบหมากไปนัง่ รับประทานทีแ่ ก่ง หินท่ามกลางธรรมชาติได้ เรียกว่า “กินข้าวหัวแก่ง” อีกทัง้ ในช่วง เดือนมีนาคม-เมษายน จะมีกจิ กรรมล่องเรือเล็กไปทีค่ ลองห้วยแร้ง ตอนบน เพื่อชม “ดอกครูซ” (หรือดอกไคร้ย้อย) สีขาวกลิ่นหอม ฟุ้ง เบ่งบานละลานตาอยู่ริมน�้ำ ถือเป็นไฮไลต์ที่ห้ามพลาด อีกหนึ่งความโดดเด่นของบ้านห้วยแร้งคือ เป็นแหล่งปลูก “สั บ ปะรดตราดสี ท อง” ที่ ส� ำ คั ญ ของจั ง หวั ด ชาวบ้ า นเรี ย ก สับปะรดตามภาษาถิ่นว่า “ส�ำมะรด” โดยสับปะรดสีทองตราด เป็นผลไม้มีชื่อเสียง ได้ขึ้นทะเบียนเป็นผลไม้ GI หรือพืชบ่งชี้ทาง ภูมศิ าสตร์ ความพิเศษคือ มีเนือ้ สีทองอร่าม หวานกรอบ กลิน่ หอม เนื้อไม่ฉ�่ำมาก ผลิตภัณฑ์และอาหารชุมชนบ้านห้วยแร้งยังมีอีกมากมาย ทัง้ “น�ำ้ เอนไซม์ผลไม้รวม” ซึง่ น�ำผลไม้และพืชสมุนไพรถึง 13 ชนิด
หมักนาน 1 ปี ผสมน�้ำผึ้ง มี “ขนมจากใส่หอมเจียว” หอมอร่อย “ขนมเล็บมือนาง” ที่ท�ำจากแป้งข้าวเหนียวและมะพร้าวทึนทึก และ “แกงส้ ม ใบสั น ดาน” ที่ช่วยขั บ เสมหะ ป้ อ งกั นไข้ หวั ด ลดไขมันในร่างกายได้อย่างดี นี่ คื อ บ้ า นห้ ว ยแร้ ง ที่ ซึ่ ง คนอยู ่ ร ่ ว มกั บ ธรรมชาติ อ ย่ า ง กลมกลืน โดยสืบสานและถ่ายทอดองค์ความรู้ สู่คนรุ่นใหม่ด้วย วิถีท่องเที่ยว ก่อเกิดรายได้ เป็นชุมชนเรียบง่าย แต่เข้มข้นใน ทุกรายละเอียด
กิจกรรมเด่น : ชมไร่สับปะรดตราดสีทอง ล่องเรือชมป่าจาก ตามหาดอกครูซ เล่นน�้ำในคลอง 3 น�้ำ แวะกินข้าวหัวแก่ง ทดลองท�ำข้าวน�้ำพริก ลงเรือห่อกาบหมาก นอนโฮมสเตย์ สินค้าชุมชนเด่น : น�้ำพริกเผาสับปะรด ซอสน�้ำพริกเผาผัดเส้น สับปะรดตราดสีทอง สบู่เปลือกมังคุด แชมพูเปลือกมังคุด แชมพูอัญชัน น�้ำมันมะพร้าว สกัดเย็น ผ้ามัดย้อม เอนไซม์ผลไม้รวม น�้ำสมุนไพร 13 ชนิด ที่ตั้งชุมชน : วิสาหกิจชุมชนบ้านห้วยแร้ง ต�ำบลห้วยแร้ง อ�ำภอเมือง จังหวัดตราด โทรศัพท์ 089-984-8044 / 092-963-9597 Website https://trat.mots.go.th 151
70 ชุมชนไทพวน นครนายก ไป กะ เลอ ดี ไทพวน ปากพลี ดี เน้อ
อาจกล่ า วได้ ว ่ า ชุ ม ชนชาวไทพวน มี วิ ถี ชี วิ ต อั น เป็ น เอกลักษณ์ ทั้งด้านภาษาไทพวน และการแต่งกายไทพวน (ผ้าขาวม้าผูกเอวชาย ผ้านุ่งสาว) ชาวชุมชนไทพวน อาศัยอยู่ ตามล�ำคลองตลอดแนวตั้งแต่ ต�ำบลหนองแสง ต�ำบลเกาะหวาย ต�ำบลเกาะโพธิ์ จนถึงต�ำบลท่าเรือ ของนครนายก ซึง่ ชุมชนไทพวน ที่นี่อยู่กันยาวนานมากว่า 240 ปีแล้ว ค�ำแรกที่ได้ยินเมื่อไปถึงคือ “ไป กะ เลอ ดี ไทพวน ปากพลี ดี เน้อ” ค�ำเชิญชวนของชุมชนชาวไทพวนวัดฝั่งคลอง ต�ำบล เกาะหวาย อ�ำเภอปากพลี เชิญชวนให้ไปสัมผัสอัตลักษณ์ของวิถี ชุมชน การแต่งกายไทพวนนั้นงดงามมาก เสื้อผ้ามาจากฝีมือการ ทอผ้าด้วยมือ โดยใช้กี่ทอผ้าในชุมชน มีลวดลายสวยงามที่มาจาก ภูมิปัญญาโบราณ สืบทอดจากเชียงขวาง ประเทศลาว คุณสมบัติ ซักได้ในน�้ำธรรมดา สีไม่ตก เก็บรักษาง่าย
152
หากมีเวลาน้อยแต่อยากรู้จักวัฒนธรรมและประเพณีของ ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทพวนให้มากที่สุด ขอแนะน�ำ ให้มาที่ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดฝั่งคลอง (ไทพวน) ซึ่งรวบรวม ความเป็นมา วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของกลุ่มชน ไทพวนบ้านฝั่งคลองไว้อย่างครบครัน เดินเล่นลงไปที่ท่าน�้ำของวัดจะพบกับ ศิลปะการแสดงพื้น บ้าน “พวน” ที่พายล่องมาตามคลอง พร้อมการขับร้องอย่าง ไพเราะ ซึ่งวิถีของที่นี่มีทั้ง ล�ำพวน ล�ำตัดพวน ร�ำโทน ร�ำชุดสาว เชียงขวาง การฟ้อนชุดบุญข้าวจี่ การแสดงชุดไทพวนม่วนชื่น รวมถึงมีการบายศรีสู่ขวัญพวน
กิจกรรมเด่น : ประเพณีบุญทานข้าวจี่-วิถีไทพวน ประเพณีสงกรานต์ไทพวน การอนุรักษ์ ศิลปะพื้นบ้าน เช่น พิธีบายศรีสู่ขวัญต้อนรับผู้มาเยือน การจัดเลี้ยงอาหารโตก ไทพวน ชิมอาหารพื้นบ้าน ทั้งแกงเลียง แกงจาน แกงบอน แกงขี้เหล็ก แกงหน่อไม้ แจ่วปลาแดะ แล้วเยี่ยมชมการท่องเที่ยวชุมชนได้ที่พิพิธภัณฑ์ ไทพวนวัดฝั่งคลอง สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าทอมือไทพวน ปลาดูทอดสมุนไพร ขนมข้าวกระยาคู ขนมกระยาสารท ที่ตั้งชุมชน : 9 หมู่ 4 ต�ำบลเกาะหวาย อ�ำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก 26130 ชุมชนท่องเที่ยวไทพวน อ.ปากพลี นครนายก
นอกจากนี้ ช าวบ้ า นใน ชุมชนที่เป็นเชื้อสายไทพวนยังมี การจัดประเพณีสารทพวน ท�ำให้ สารทกลายเป็นสินค้าของชุมชน และยังมีสินค้าอันเป็นเอกลักษณ์ เช่น ปลาดู เป็นการถนอมอาหาร จากภู มิ ป ั ญ ญาของชาวไทพวน ที่มีมาช้านานแล้ว ถูกน�ำมาสาน ต่อโดยครูหลอด โดยปลาดูจะมี ลักษณะกึ่งปลาส้มและปลาร้า ที่ อร่อยมากๆ จะน�ำมาทอดหรือ ย่างก็อร่อย
153
เส้นทางศึกษาธรรมชาตินเี้ ริม่ ด้วยสะพานไม้ทชี่ มุ ชนแสมผู้ สู่ทางเดินไม้ระแนงทอดยาวผ่านป่าชายเลน ริมสองข้างทางเต็ม ไปด้วยพืชพรรณหลากหลายชนิด ทั้งต้นแสม ตะบูนด�ำ ล�ำพูน โกงกาง โปรงแดง โปรงทอง เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยและเป็นแหล่งอนุบาล ของสัตว์น�้ำที่อาศัยอยู่ในบริเวณป่าชายเลน เช่น กุ้ง หอย ปูแสม ปูก้ามดาบ ปลาตีน สะพานไม้ลัดเลาะไปตามป่าโกงกาง
ที่เรียกว่า "ทุ่งโปรงทอง" เพราะเต็มไปด้วยต้นโปรงขึ้น เบียดกันแน่น ใบโปรงสีเขียวตองอ่อนทีแ่ ทรกออกเป็นพุม่ แน่น จนแทบไม่เห็นพื้นด้านล่าง ทุ่งโปรงที่ใบเบียดแทรกกันรับแดด มีความสูงจากพืน้ ทางเดินราวเมตรกว่าๆ เมือ่ ใบถูกแสงแดดจาก สีเขียวจะสะท้อนเป็นสีทองอร่าม เต็มสะพรั่งทั่วท้องทุ่ง ก่อนเดินไปสิ้นสุดที่ทะเลประแสซึ่งเป็นที่ตั้งของเรือรบ หลวงประแส และยามใกล้พระอาทิตย์ตกดินก็ไปต่อที่สะพาน ประแสสิน ทีถ่ อื ได้วา่ เป็นจุดชมวิวทีส่ วยทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของปากน�ำ้ ประแส สามารถมองเห็นทัศนียภาพ 2 ฝั่ง ทั้งฝั่งทะเล และวิถี ชีวิตชาวประมงชุมชนเล็กๆ ของปากน�้ำประแส ก่อนฝากท้อง
71 ชุมชนปากน�ำ้ ประแส ระยอง วิถีประมง คนปากน�้ำ และทุ่งโปรงทอง
ไประยองทั้งทีพลาดไม่ได้ แวะไปแม่น�้ำประแส แม่น�้ำสายส�ำคัญสายหนึ่งของจังหวัดระยอง ที่มีต้นก�ำเนิด จากล�ำคลองหลายสาย แม่น�้ำประแสยาวประมาณ 26 กิโลเมตร และออกสู่ปากอ่าวไทยที่ทะเลแกลงบริเวณ ปากน�้ำประแส อันเป็นที่ตั้งของบ้านแหลมสน ซึ่งเป็นหมู่บ้านชาวประมง มีวัดแหลมสนซึ่งมีเจดีย์เก่าแก่ ที่ชาวเรือปากน�้ำประแสให้ความเคารพ ส่วนฝั่งตรงข้ามกันเป็นชุมชนประแส ซึ่งเป็นชุมชนใหญ่มีบ้านเรือน หนาแน่น มีหาดแหลมสนเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และมี “ศาลกรมหลวงชุมพรฯ” หรือ “เสด็จเตี่ย” ผู้ทรงเป็นที่ เคารพนับถือของชาวเรือ ก่อนที่ชาวประมงจะออกเรือไปหาปลาก็จะต้องมากราบสักการะขอพรจากท่าน ชุมชนปากน�้ำประแสมีไฮไลต์คือ ทุ่งโปรงทอง แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และศึกษาเรียนรู้ควบคู่กันไป โดยมีสะพานเดินศึกษาธรรมชาติเป็นระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ทุ่งโปรงทอง ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ให้ ความรู้ สร้างความเข้าใจในเรื่องระบบนิเวศของป่าชายเลน ได้เห็นความสวยงามตามธรรมชาติของป่าโกงกาง ไม้โปรง และไม้ริมชายฝั่ง จุดเด่นคือ ต้นโปรงที่ขึ้นหนาแน่นอยู่เต็มพื้นที่สะท้อนสีเขียวอ่อน จนกลายเป็น ทุ่งโปรงทองที่สวยงามแปลกตา ทุ่งโปรงทอง 3 เวลา 3 อารมณ์ ช่วงเช้า กลางวัน และเย็น สีของทุ่งโปรงทอง จะไม่เหมือนกัน ให้ความงามคนละแบบ 154
ที่ร้านอาหารแถบนั้น มีเมนูผักที่หารับประทานได้ยากเรียกว่า ผักกระชับ หรือจะสั่งอาหารทะเล ก็มีวัตถุดิบสดใหม่ ตัวใหญ่ และสดมาก หากใครอยากสั ม ผั ส วิ ถี ชี วิ ต ของคนปากน�้ ำ ประแส ได้ลึกซึ้ง ลองพักผ่อนที่โฮมสเตย์ของที่นี่ เดินเล่นชมชุมชน รับประทานอาหารในตลาดเช้า ชมวิถีชีวิตและอาหารการกิน ในพื้ น ถิ่ น อี ก ทั้ ง บรรยากาศของบ้ า นเรื อ นในตลาดก็ ยั ง มี ความคลาสสิกไม่น้อย มีเรือนแถวไม้เก่าแก่สวยๆ หลายหลัง ถูกใจคนชอบบรรยากาศเก่าๆ ยิ่งนัก ในทุกวันเพ็ญเดือนพฤศจิกายนของทุกปี เป็นเทศกาล ลอยกระทง ชุมชนปากน�้ำประแสจะมีการจัดงานทอดผ้าป่า กลางน�้ำซึ่งเป็นประเพณีส�ำคัญที่แปลกกว่าพื้นที่อื่น เนื่องจาก ชาวบ้านส่วนใหญ่ในชุมชนมีอาชีพประมงซึ่งต้องใช้ชีวิตอยู่ใน เรือเกือบตลอด เรือจึงเปรียบเสมือนบ้านหลังทีส่ อง จึงจัดท�ำบุญ ทอดผ้าป่าขึ้นในเรือ โดยเป็นประเพณีที่มีมานานกว่า 100 ปี
กิจกรรมเด่น : นั่ง “สามล้อ” ทัวร์ย่านชุมชนโบราณ 100 ปี นั่งเรือชมคลอง มองดูปดู าบอาบแดด สักการะศาลกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เดินเทีย่ วทุง่ โปรงทอง และชมอนุสรณ์เรือรบหลวงหลวงประแส สินค้าชุมชนเด่น : อาหารทะเลสดและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากอาหารทะเล เรียนรู้ กรรมวิธีผลิตชาใบขลู่ และจิบชาสมุนไพร ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านแสมผู้ หมู่ 7 ต�ำบลปากน�้ำประแส อ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง 21170 โทรศัพท์ 085-329-7384 Website www.prasae.com
155
72 ชุมชนปากน�้ำระยอง ระยอง วิถีพรานทะเล จิตวิญญาณแห่งแดนบูรพา ระยอง มิได้เป็นจังหวัดที่มีเพียงเกาะเสม็ด กวีเอกสุนทรภู่ และสวนผลไม้โดดเด่นเท่านั้น ทว่ายังมีชายฝั่งทะเลทอดยาวกว่า ร้อยกิโลเมตร และมีแม่น�้ำระยองน�ำความอุดมสมบูรณ์ออกสู่ปาก อ่าว ที่ปกคลุมด้วยป่าชายเลนเขียวครึ้ม อีกทั้งมีวิถีชุมชนประมง พืน้ บ้านรวมตัวอยูบ่ ริเวณ “ปากน�ำ้ ระยอง” สืบสานชีวติ พรานทะเล ออกเรือทุกเช้าค�่ำ พวกเขาจึงเข้าใจฤดูกาลต่างๆ เป็นอย่างดี ชุมชนปากน�้ำระยองเป็นหมู่บ้านประมงดั้งเดิม แบ่งชุมชน เป็นสองฝัง่ โดยใช้แม่นำ�้ ระยองเป็นเส้นแบ่งธรรมชาติ จากวัดปากน�ำ้ ถึงชุมชนที่ปลูกบ้านเลียบขนานล�ำคลองและทะเล มีป่าชายเลน และท่าเรือสะพานปลาต่างๆ เรียงรายสลับกันไป มีเรือประมง น้อยใหญ่จอดเรียงรายอยูน่ บั ร้อยล�ำ จะพร้อมใจกันแล่นออกทะเล ไปหาปลาในช่วงพลบค�ำ ่ แล้วกลับเข้าฝัง่ เมือ่ รุง่ สาง เพือ่ น�ำปลาขึน้ ยังสะพานปลา หรือน�ำไปขายในตลาดปากน�ำ้ ยามเช้า เราจะได้ยนิ
ปลาช่อนทะเลตากแห้งของที่นี่ มีชื่อเสียงมาก ชาวบ้านเรียก ว่า “ปลาไล้กอ” นิยมน�ำมาปรุงเป็นย�ำปลาไล้กอทอดกรอบ น�ำ้ ย�ำ รสจัดจ้าน และห้ามพลาดชิม “หอยตลับผัดเผ็ด” ซึง่ มีมากในแถบนี้ รวมถึง “ปลากะพงทอดราดน�้ำปลา” ที่ข้ึนชื่อไปทั่วประเทศ เพราะใช้ปลากะพงสดใหม่ ทอดกรอบราดด้วยน�้ำปลาแท้อย่างดี สูตรปากน�้ำระยอง โดยเฉพาะน�้ำปลาตราชูตาชั่ง ที่ท�ำสืบต่อกัน มานานเกือบ 100 ปีแล้ว โดยลูกหลานชาวจีนทีเ่ ข้ามาตัง้ รกราก กลิ่นอายทะเล เสียงคลื่นลมเห่กล่อม และชาวประมงที่ยังคง แล่นเรือมุง่ หน้าออกทะเลทุกวันคือ สิง่ ยืนยันว่านีค่ อื ลมหายใจ ภาย ใต้จิตวิญญาณแห่งทะเลบูรพา
กิจกรรมเด่น : สักการะเจดีย์ปากน�้ำระยอง ชมป่าชายเลน ดื่มด�่ำวิวหาดทราย ชายทะเลสวยงาม สัมผัสวิถีชุมชนประมงดั้งเดิม ดูการตากปลา และหมึกแห้ง ดูอู่ต่อเรือประมง เดินเที่ยวตลาดเช้า นั่งกินอาหาร ทะเลสดอร่อยในร้านริมน�้ำ สินค้าชุมชนเด่น : น�้ำปลาแท้ปากน�้ำระยอง ตราชูตาชั่ง อาหารทะเลสด และอาหาร ทะเลตากแห้ง กะปิอย่างดี ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนปากน�ำ้ ระยอง ถนนเทศบาล 9 ต�ำบลปากน�ำ้ ระยอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000 Website www.rayong-pao.go.th
เสียงลูกเรือแต่ละล�ำจุดประทัดดั่งสนั่น สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์แห่ง ท้องทะเลและบูชาแม่ย่านางเรือ เป็นวิถีแรงศรัทธาที่ยังคงพบเห็น ได้ทุกเมื่อเชื่อวัน กลิ่นอายทะเล เสียงคลื่น และลมทะเลพัดโชยเย็นสบาย ชาวบ้านอาศัยอย่างสงบเรียบง่าย ไม่เร่งร้อน เหมือนนาฬิกาชีวติ เดิน ช้าลง ชุมชนประมงทีน่ สี่ ว่ นใหญ่รจู้ กั มักคุน้ กัน เพราะอยูอ่ าศัยมาไม่ ต�ำ่ กว่า 100 ปีแล้ว ศูนย์รวมใจคนแถบนีอ้ ยูท่ วี่ ดั ปากน�ำ ้ และ “เจดีย์ ปากน�้ำระยอง” ซึ่งตั้งอยู่บนเกาะเล็กๆ กลางน�้ำในป่าชายเลน ชุมชนสองฝั่งแม่น�้ำเชื่อมโยงกันไว้ด้วยสะพานเฉลิมชัย ซึ่ง ยามเช้าจะมีชาวบ้านน�ำกุ้ง หอย ปู ปลา สดๆ ที่เพิ่งขึ้นจากทะเล มาวางขายในราคาไม่แพง หรือจะขับรถเที่ยวเส้นเลียบทะเล ชมหาดทรายทอดยาวหลายกิโลเมตร วันไหนแดดดีไม่มีฝน เราจะ เห็นชาวบ้านพากันน�ำหมึกออกมาตากแห้ง หรือมีการต้มปลาเค็ม แล้วน�ำออกมาตากแดดเตรียมส่งขาย 156
157
ชุมชน ภาคใต้
73 บ้านเกาะกลาง กระบี่
นิยามแห่งชีวิตพอเพียง เคียงคู่แม่น�้ำกระบี่
จังหวัดกระบี่ ที่นี่ไม่ได้มีดีแค่ทะเลกับหมู่เกาะแสนสวย ทว่ายังมีหลากวิถีผู้คน ให้สัมผัสชื่นชม หนึ่งในนั้นคือ “บ้านเกาะกลาง” ชุมชนชาวมุสลิมที่ตั้งรกรากอยู่กัน มาเนิ่นนาน หลายชั่วอายุคนแล้ว จนเกิดการบ่มเพาะวัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์ ของตนเองขึ้นมา เกาะกลางมีสภาพเป็นเกาะขนาดใหญ่ ทอดตัวอยู่ในแม่น�้ำกระบี่ ด้านหนึ่ง มีแนวป่าชายเลนแน่นทึบ มีชุมชนและกระชังปลาของชาวบ้าน รวมถึงเขาขนาบน�้ำ อันเป็นสัญลักษณ์ส�ำคัญของจังหวัด ส่วนอีกด้านของเกาะติดทะเล มีหาดทรายสวย ได้มาเยือนบ้านเกาะกลางแล้วรู้สึกเข็มนาฬิกาชีวิตเดินช้าลง คงเพราะ บรรยากาศธรรมชาติป่าโกงกางเขียวชอุ่ม ช่วยป้องกันคลื่นลม บ่มเพาะความอุดม ของระบบนิเวศ นอกจากนี้มีวิถีการท�ำนาข้าวบนเกาะ โดยที่นี่ยังไถนาด้วยควาย ปลูกข้าวพันธุส์ งั ข์หยดทีอ่ ดุ มด้วยคุณค่าทางอาหารสูง ไม่ใช้สารเคมี เป็นข้าวอินทรีย์ ที่ดีต่อสุขภาพ การมาเยือนบ้านเกาะกลางจึงท�ำให้เราได้สัมผัสชีวิตปักษ์ใต้แท้ๆ บ้านเกาะกลางเป็นชุมชนพีน่ อ้ งมุสลิมทีอ่ ยูร่ ว่ มกันอย่างสมานฉันท์ การเข้าไป ท่องเที่ยวก็แสนง่ายดาย โดยนั่งเรือหัวโทงข้ามจากฝั่งหน้าเมืองกระบี่ ไม่กี่อึดใจ ก็ถึงแล้ว จากนั้นเหมารถสามล้อพ่วงเที่ยวชมชุมชน ซึ่งอยู่อาศัยกันอย่างเงียบสงบ พอเพียง ทั้งวิถีประมง ท�ำนา ผลิตผ้าบาติก และอื่นๆ มีมัสยิดและโรงเรียน ที่เรายัง เห็นเด็กๆ วิ่งเล่นกันอย่างมีความสุข ทว่าไฮไลต์ของการมาเยือนบ้านเกาะกลางอยู่ที่ ฐานการเรียนรู้ 3 ฐาน ผสานกิจกรรมน่าสนุก ฐานแรก “ข้าวสังข์หยด” เราจะได้ท�ำความรู้จักกับพันธุ์ข้าวพื้นบ้านชื่อดัง ของภาคใต้ (ก�ำเนิดมาจากจังหวัดพัทลุง) ถือเป็นข้าวสุขภาพที่ขายดิบขายดีมาก ในปั จ จุ บั น เพราะอุ ด มด้ ว ยคุ ณ ค่ า ทางโภชนาการ ชาวบ้ า นจะพาเราทดลอง สีข้าวเปลือกด้วยอุปกรณ์โม่ข้าวแบบโบราณ ทดลองฝัดข้าวด้วยกระด้ง ได้ซื้อ ข้าวสังข์หยดไปฝากกัน ต่อด้วยการนั่งรถสามล้อพ่วงชมนาข้าวเขียวๆ ฐานต่อมา “ผ้าบาติก” ยิ่งสนุกสนานมากขึ้น เพราะสีสันฉูดฉาดบาดตา และ ลวดลายสวยๆ ช่วยให้เราเข้าถึงศิลปะบนแพรพรรณแบบปักษ์ใต้ได้ไม่ยาก เจ้าบ้าน จะพาเราทดลองระบายสีลงบนผ้าบาติก ซึ่งเป็นผ้าเขียนเทียน โดยบริเวณที่มีเทียน อยู่จะไม่ติดสี เมื่อระบายสีเสร็จแล้ว น�ำไปต้ม ตากให้แห้ง ก็จะได้ผ้าบาติกฝีมือ เราเองกลับบ้านเป็นที่ระลึก 160
จากนั้นเดินทางสู่ฐานสุดท้าย “กลุ่มเรือหัวโทงจ�ำลอง” ชืน่ ชมในความบรรจงตัง้ ใจ ค่อยๆ น�ำไม้มาต่อเป็นโมเดลเรือหัวโทง จ�ำลองแบบพื้นบ้าน ใช้ตั้งโชว์หรือซื้อฝากกันก็สวยไม่เหมือนใคร เรือหัวโทงนี้เป็นเรือพื้นบ้านปักษ์ใต้แท้ จุดเด่นอยู่ที่หัวเรือแหลม เชิ ด สู ง ขึ้ น เพื่ อ ใช้ แ ล่ น ต้ า นคลื่ น ลมทะเลแรงได้ ม ากกว่ า ปกติ กลุ่มเรือหัวโทงจ�ำลองจึงช่วยอนุรักษ์สิ่งนี้มิให้สูญหาย ก่อนกลับบ้าน อย่าลืมชิมอาหารทะเลสดอร่อยจากทะเลทีอ่ ยู่ ใกล้แค่เอือ้ ม ไม่วา่ จะเป็นปูมา้ ผัดผงกะหรี่ แกงส้มปลากะพงอ้อดิบ สะตอผัดกุ้ง กุ้งผัดซอสมะขาม หอยชักตีนลวกจิ้ม ต้มส้มหอยพื้น บ้าน ฯลฯ รับรองจะลืมชุมชนบ้านเกาะกลางไม่ลงแน่นอนเลย
กิจกรรมเด่น : นั่งรถพ่วงสามล้อเที่ยวชมวิถีชาวเกาะ ท�ำกิจกรรม DIY เพนท์ผ้า บาติกด้วยฝีมือตัวเอง เป็นของที่ระลึกสุดเก๋ทดลองสีข้าว ฝัดข้าว แบบโบราณ ฝึกท�ำเรือหัวโทงจ�ำลอง ชิมอาหารทะเลสดอร่อย สินค้าชุมชนเด่น : ข้าวสังข์หยดอินทรีย์ เรือหัวโทงจ�ำลอง ผ้าบาติกสีสดใส อาหาร ทะเลแปรรูป เช่น ปลาแห้ง กุ้งแห้ง หมึกแห้งคุณภาพดี ที่ตั้งชุมชน : บ้านเกาะกลางอยู่บนเกาะในแม่น�้ำกระบี่ หน้าเมืองกระบี่ ลงเรือ จากลานปูด�ำ ข้ามไปแค่ 10 นาทีก็ถึง โทรศัพท์ 089-909-4195 Website www.krabipao.go.th
161
74 บ้านคลองท่อมใต้ กระบี่
เสน่ห์หลากหลาย สไตล์สองวัฒนธรรม
อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ชือ่ นีอ้ าจคุน้ หูใครหลายคนใน ฐานะเป็นดินแดนแห่งลูกปัดโบราณ อายุนบั พันปี ทีค่ น้ พบจนโด่งดัง ไปทั่วโลก ทว่าในอีกมิติมุมมองหนึ่ง อ�ำเภอคลองท่อม ก็ยังมีความ น่าสนใจในด้านอื่นๆ ด้วย โดยเฉพาะการท่องเที่ยวชุมชนที่ช่วย ต่อเติมสีสันแห่งชีวิต ให้คึกคักไม่เคยหยุดนิ่ง ชุมชนคลองท่อมใต้แห่งอ�ำเภอคลองท่อม เป็นชุมชนสอง วัฒนธรรมผสานผสมกลมกลืนของชาวมุสลิมและพีน่ อ้ งไทยพุทธ ทีต่ งั้ รกรากอยูร่ ว่ มกันมาหลายชัว่ อายุคน เพราะหากมองย้อนอดีตไป พืน้ ทีแ่ ถบคลองท่อมใต้คอื เมืองท่าโบราณ เป็นเส้นทางเดินเรือเก่าแก่ จากทะเลอันดามันเข้ามาตามล�ำคลองท่อม จนถึงคลองท่อมใต้ ซึ่งนักโบราณคดียืนยันว่าเคยเป็นแหล่งส�ำคัญของการผลิตลูกปัด โบราณบนคาบสมุทรมลายู ส่งขายไปหลายภูมิภาคของโลก วิถมี สุ ลิมและวิถพี ทุ ธทีห่ ลอมรวมกันจนเป็นหนึง่ เดียว ณ ทีน่ ี้ คือ เสน่หช์ มุ ชนชวนให้ทอ่ งเทีย่ ว เริม่ ตัง้ แต่ภาพแรกของภูมปิ ระเทศ แนวล�ำคลองและป่าชายเลนเขียวสดเย็นตา มีเรือประมงจอด 162
เรียงราย และกระชังปลาเล็กๆ น�ำอาหารทะเลสดอร่อยขึ้นมาให้ เราชิม นอกจากนี้ยังมีวิถีการเลี้ยงแพะเนื้อ แพะนม ไว้บริโภคตาม แบบพืน้ บ้าน ชาวคลองท่อมใต้ ทีย่ มิ้ ง่ายใจดี พร้อมต้อนรับนักท่อง เที่ยวผู้มาเยือน ที่ “กลุ่มหัตถกรรมเตยปาหนัน บ้านวังหิน” ซึ่งเป็นกลุ่ม สตรีชาวมุสลิมรวมตัวกัน น�ำวัตถุดิบที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น ผสาน ภูมปิ ญ ั ญาจากบรรพบุรษุ มาบรรจงรังสรรค์ขนึ้ เป็นผลิตภัณฑ์นา่ ใช้ จนได้รับรางวัลมากมาย เพราะเป็นสินค้ามีดีไซน์สวยงาม และ ใช้งานได้ทนทาน วัตถุดบิ คือ “เตยปาหนัน” (หรือเตยทะเล) เป็นต้น ปาล์มทีเ่ มือ่ น�ำมาตากแห้ง ลนไฟ ย้อมสีกจ็ ะอ่อนตัว แต่มคี วามเหนียว ใช้จักสานเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ แหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญอีกแห่งของชุมชนคือ “วัดคลองท่อม” อั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ลู ก ปั ด โบราณ เนื่ อ งจากพื้ น ที่ ป ่ า ด้านหลังวัดเรียกว่า “ควนลูกปัด” มีการขุดพบลูกปัดโบราณ จ�ำนวนมากมายมหาศาล อายุหลายพันปี ยืนยันการเป็นแหล่ง ผลิตลูกปัดโบราณ ที่เคยส่งออกขายไปยังจีน เปอร์เชีย ยุโรป กรีซ อินเดีย และหมู่เกาะในแปซิฟิก ฯลฯ โดยเฉพาะ “ลูกปัด สุริยเทพ” ซึ่งมีเพียงไม่กี่เม็ดในโลก ก็ค้นพบที่คลองท่อมด้วย พิพธิ ภัณฑ์ลกู ปัดโบราณวัดคลองท่อมจัดสร้างไว้อย่างได้มาตรฐาน เป็นระบบระเบียบ ลูกปัดคลองท่อมคือ ลูกปัดแก้วสีต่างๆ น�ำมา
หลอมรวมกันจนกลายเป็นเนื้อเดียวได้อย่างน่าอัศจรรย์ จนต้อง ทึ่งในภูมิปัญญาของคนโบราณ นอกจากอาหารทะเลสดอร่อยแล้ว ชุมชนคลองท่อมใต้ยังมี สับปะรดภูเก็ตหวานกรอบให้ชิมด้วย ส่วนคนที่รักสุขภาพ อยาก ชิมรังนกแท้ๆ สักครั้งในชีวิต ต้องไม่พลาดไปที่ “ไออรุณรังนก” มีร้านอาหาร และร้านจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์รังนกบรรจุขวดพร้อม ดื่มให้ชิมกันตลอดปี เน้นคุณ ภาพ ใส่ เนื้ อ รั ง นกมากกว่ า ปกติ มีมาตรฐาน และรางวัลการันตีมากมาย นี่ คื อ เสน่ ห ์ เ พี ย งบางส่ ว นของการมาท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชน คลองท่อมใต้ ดินแดนสองวัฒนธรรมอันเก่าแก่ และน่าประทับ ใจในวิถีแห่งผู้คน จนยากจะลืมเลือน
กิจกรรมเด่น : ชมป่ า ชายเลน และวิ ถี ป ระมง ทดลองสานเตยปาหนั น ชมพิพิธภัณฑ์ลูกปัดโบราณ สินค้าชุมชนเด่น : ผลิตภัณฑ์จักสานเตยปาหนัน รังนกแท้บรรจุขวด อาหารทะเล สด-แห้ง เนื้อและนมแพะ ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนคลองท่อมใต้ อ�ำเภอคลองท่อม อยู่ห่างจากอ�ำเภอเมือง กระบี่ ประมาณ 40 กิโลเมตร ติดต่อ กลุ่มหัตถกรรมเตยปาหนัน บ้านวังหิน โทรศัพท์ 085-782-6574 Website www.khlongthomtai.go.th
163
มีเอกลักษณ์ อาหารเช้านิยมรับประทานขนมต้มใบมะพร้าว และ ข้าวเหนียวปิ้งห่อใบคลุ้ม คู่กับกาแฟโบราณหอมกรุ่น การท�ำกาแฟโบราณบ้านร่าหมาด ใช้เมล็ดกาแฟพันธุ์ โรบัสต้าทีป่ ลูกเองมาคัว่ แล้วเติมน�ำ้ ตาลมะพร้าว น�ำ้ ตาลทรายขาว หรือน�ำ้ ตาลทรายแดง คัว่ ต่อจนเหนียวหนืดเป็นคาราเมลข้นสีดำ� วาว จากนั้ น ยกขึ้ น แผ่ ผึ่ ง ให้ แ ห้ ง แล้ ว น� ำ มาต� ำ ในครกด้ ว ยสากไม้ จนละเอียดเป็นผงกาแฟพร้อมชง ให้รสชาติเข้มข้น หอมละมุน ติดจมูกติดลิ้น รับประทานคู่กับขนมท้องถิ่นต่างๆ เข้ากันดีเยี่ยม กิจกรรมอื่นที่น่าสนใจในชุมชนมีอีกมาก ทั้งการชมทุ่งนา ธรรมชาติที่ปลูกข้าวพันธุ์สังข์หยดพื้นเมือง เป็นทุ่งนาแบบพิเศษ ที่ ห าดู ไ ด้ ใ นภาคใต้ เ ท่ า นั้ น เพราะปลู ก ข้ า วไว้ ใ ต้ ต ้ น ยางพารา ภูมิทัศน์สวยแปลกตา มีการเลี้ยงควายปล่อยทุ่ง วันไหนไม่ไถนา เช้าจะปล่อยให้ออกไปเดินหากินอย่างอิสระ เย็นกลับมาเข้าคอกเอง จากนั้นไปชมกลุ่มสานเตยปาหนัน ผลิตเป็นของใช้เก๋ไก๋ ลายสวย ใช้งานได้ทนทานยาวนาน ทั้งซองใส่โทรศัพท์ หมวก ปีกกว้าง กระเป๋าถือ พัด ที่รองจานฯลฯ ส่วนใครที่ชอบกิจกรรม ผจญภัยตื่นเต้นขึ้นอีกนิด แนะน�ำว่าต้องปั่นจักรยานชมชีวิตชุมชน หรือไปล่องเรือหัวโทง พายเรือคายัคชมธรรมชาติรอบเกาะลันตา นอกจากนี้การพักค้างคืนในโฮมสเตย์ของบ้านร่าหมาด จะมี โอกาสชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมมุสลิมพื้นบ้านที่หาดูยาก เช่น ร�ำรองเง็ง กาหยง ลิเกป่า ท่องเที่ยวครบเครื่องได้ขนาดนี้ แล้วจะพลาดบ้านร่าหมาด ได้ อ ย่ า งไร ใครที่ ช อบเที่ ย วแบบเก๋ ไ ก๋ สไตล์ ลึ ก ซึ้ ง กั บ ชุ ม ชน ต้องมีชื่อ “บ้านร่าหมาด” ไว้ในบัญชีสถานที่ห้ามพลาดในหัวใจ แน่นอน
75 บ้านร่าหมาด กระบี่
หอมกลิ่นกาแฟคั่ว ความลงตัวแห่งวิถีชุมชน เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ เป็นหนึง่ ในแหล่งท่องเทีย่ วยอดนิยม ของทะเลอันดามัน เพราะเป็นเกาะใหญ่ที่ธรรมชาติและผู้คน อยู่ร่วมกันอย่างผสมกลมกลืน ส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิมที่อพยพ เข้ามาตั้งรกรากนานนับร้อยปีแล้ว จึงมีวัฒนธรรมความเป็นอยู่ บ่งบอกอัตลักษณ์ตัวตน เกิดเป็นเสน่ห์น่าไปเยือน บ้านร่าหมาด เป็นหนึ่งในชุมชนท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของ เกาะลันตา แหล่งท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตพื้นบ้านดั้งเดิม กอปรกับ น�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาเติมเต็มอาชีพเกษตรและ ประมง ท�ำให้กินอยู่ได้สุขสบาย มีรายได้เพิ่ม
อีกทัง้ ยังเป็นชุมชนทีธ่ ำ� รงภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ มีการรวมกลุม่ จัด กิจกรรมท่องเที่ยวหลากหลาย เชื้อเชิญผู้สนใจเข้ามาสัมผัสเรียนรู้ วิถีชุมชนได้อย่างใกล้ชิด ไม่ว่าจะเป็นการท�ำนาข้าวสังข์หยดบน เกาะ การเลี้ยงควายปล่อยทุ่ง เลี้ยงปลาเก๋า-ปลากะพงในกระชัง การสานเตยปาหนัน การอนุรักษ์วิธีท�ำกาแฟโบราณ บ้านร่าหมาด เดิมชื่อ “หลาดตุ๊หยัง” สืบเนื่องมาจากการ นับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เมื่อมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น ชาวบ้านจะไป บนบาน และสร้างศาลตามที่ตนนับถือ เช่น ศาลโต๊ะกุรน ศาล โต๊ะแหรบ และศาลโต๊ะกร้าหมาด อันเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้าน “ร่าหมาด” ในปัจจุบัน ชาวร่าหมาดมีชีวิตเรียบง่ายพอเพียงและ
กิจกรรมเด่น : ทดลองคัว่ กาแฟ ตำ�เมล็ดกาแฟแบบโบราณ ชมกลุม่ อนุรกั ษ์ควายไทย และทุง่ นาบนเกาะ ทดลองสานเตยปาหนันเป็นของทีร่ ะลึกน่ารักๆ ปั่นจักรยานชมวิถีชุมชน ล่องเรือ พายเรือคายัคเที่ยวป่าชายเลน และทะเลรอบเกาะลันตา ชมการแสดงพื้นบ้านตามวิถีมุสลิม เช่น รำ�รองเง็ง กาหยง ลิเกป่า สินค้าชุมชนเด่น : กาแฟคัว่ แบบโบราณ ข้าวซ้อมมืออินทรีย์ ผลิตภัณฑ์จากเตยปาหนัน ปลากะพง ปลาเก๋า ที่ตั้งชุมชน : บ้านร่าหมาด ตำ�บลเกาะกลาง อำ�เภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ 089-290-9754 กาแฟโบราณบ้านร่าหมาด 164
165
76 ชุมชนพะโต๊ะ ชุมพร ล่องแพ แลน�้ำตก ลือนามผลไม้
พะโต๊ ะ เป็ น อ� ำ เภอหนึ่ ง ของ จั ง หวั ด ชุ ม พร ที่ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ ความเป็นมาอันยาวนาน ซึ่งปรากฏ ในหลักฐานจดหมายเหตุตั้งแต่สมัย อาณาจักรศรีวชิ ยั มีความเจริญรุง่ เรือง อย่ า งมากตั้ ง แต่ อ ดี ต โดยในปี พ.ศ. 1766 พะโต๊ะมีชอื่ ว่า “เมืองปะตา” ที่แปลว่า ตกหรือเหว ซึ่งเป็นเพราะ ลักษณะภูมิประเทศของพะโต๊ะ มี เทือกเขาสลับซับซ้อน สลับกับที่ราบ ลุ่มแม่น�้ำและที่ราบเชิงเขา “ดินแดนแห่งภูเขาเขียว เทีย่ ว ล่ อ งแพ แลหมอกปก น�้ ำ ตกงาม ลือนามผลไม้” คือค�ำขวัญประจ�ำ อ�ำเภอพะโต๊ะ สะท้อนให้เห็นถึงความ เป็นดินแดนที่หลากหลายและอุดม สมบูรณ์ อากาศบริสุทธิ์ ธรรมชาติ แห่งสายน�้ำและขุนเขาที่โอบล้อม เมื่อนึกถึงการท่องเที่ยวพะโต๊ะ ส่วนใหญ่จะนึกถึงการล่องแพ เพราะ เป็นกิจกรรมเด่นที่อยู่คู่กับพะโต๊ะมา ช้านาน เป็นการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ ซึ่งมาจากผืนป่าในพะโต๊ะ เป็นแหล่ง ต้นน�้ำหลายสาย ที่ไหลคดเคี้ยวมา ตามขุนเขาและสวนผลไม้ บางช่วง เป็นแก่งน�้ำขนาดใหญ่ จึงมีการจัด กิจกรรมผจญภัยในคลองพะโต๊ะ โดย การสนับสนุนและส่งเสริมจากหน่วย อนุรักษ์และจัดการต้นน�้ำพะโต๊ะ
166
ตลอดเส้นทางการล่องแพจะพบเห็นสัตว์ป่าที่น่าสนใจ เช่น ค่างแว่นถิ่นใต้ ลิง นกเงือก ผ่านสวนทุเรียน สวนกาแฟ และ สวนมังคุด ในทุกปีจะมีเทศกาลล่องแพพะโต๊ะ ซึ่งจะจัดขึ้นใน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายน ซึ่งเป็นช่วงที่เหมาะแก่ การล่องแพมากที่สุด ที่พะโต๊ะยังมีน�้ำตกมากมายเช่น น�้ำตกเหนือเหว มีสายน�้ำ ที่พลิ้วสวยงาม น�้ำตกเหวโหลม แวดล้อมด้วยป่าดงดิบชื้นที่อุดม สมบูรณ์ น�้ำตกทับขอน ตกจากหน้าผาสูงชัน 40 เมตร หรือจะ เที่ยวชมสวนผลไม้นานาชนิด เดินป่าศึกษาธรรมชาติ อิ่มอร่อย กับเมนูอาหารพื้นเมือง เช่น แกงส้มหมูสามชั้นกับหยวกกล้วยป่า ไข่หลาม ย�ำยอดผักกูด ใบเหลียงผัดไข่ มะกรูดลวกกะทิ หัวใจฟาง ทอด (หัวปลีกล้วยชุบแป้งทอด) ข้าวที่หุงด้วยกระบอกไม้ไผ่ นีค่ อื หนึง่ ในชุมชนท่องเทีย่ ว OTOP นวัตวิถี ของดีแห่งพะโต๊ะ
กิจกรรมเด่น : ล่องแพ เดินป่าศึกษาธรรมชาติ เที่ยวชมน�้ำตก เรียนรู้วิถีชุมชน สินค้าชุมชนเด่น : ผลไม้ต่างๆ ในท้องถิ่น ด้ามพร้า เครื่องแกงใต้ น�้ำส�ำรอง กาแฟ คั่วบดพะโต๊ะ ที่ตั้งชุมชน : องค์การบริหารส่วนต�ำบลพะโต๊ะ เลขที่ 100 หมู่ที่ 7 ต�ำบลพะโต๊ะ อ�ำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร 86180 โทรศัพท์ 077-539-115 ชุมชนคนพะโต๊ะ ชุมพร
167
77 ชุมชนหลังสวน ชุมพร
อาณาจักรผลไม้ร้อยปี วิถีแข่งเรือชิงธง
ผลไม้เมืองร้อนและภาคใต้ของไทย ดูจะเป็นของคูก่ นั จนแยก ไม่ออก เพราะคาบสมุทรภาคใต้เป็นดินแดนฝนแปดแดดสี่ อากาศ ร้อนชืน้ ฝนชุก ดินด�ำน�ำ้ ชุม่ เหมาะจะปลูกผลไม้นานาชนิด “อ�ำเภอ หลังสวน” จังหวัดชุมพรคือ หนึ่งในดินแดนแห่งผลไม้ที่เก่าแก่ ที่สุด โดยมีความอุดมของแม่น�้ำหลังสวนคอยหล่อเลี้ยง ให้ชีวิต ด�ำเนินต่อไปได้อย่างไม่ขาดตอน อ�ำเภอหลังสวน เป็นหัวเมืองปักษ์ใต้ที่เก่าแก่มากแห่งหนึ่ง ตั้งแต่ก่อนยุครัตนโกสินทร์แล้ว ภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มริมแม่น�้ำ ปกคลุมด้วยป่าไม้ เรือก สวน ไร่ นา และพื้นที่ริมทะเลอ่าวไทย ดิน ตะกอนอุดมด้วยแร่ธาตุจากแม่นำ�้ หลังสวนนัน้ เอง ทีส่ งั่ สมพอกพูน จนกลายเป็นจุดเริม่ ต้นของการท�ำสวนผลไม้ในบริเวณนี้ สันนิษฐาน ที่มาของชื่อหลังสวนคือ“รังสวน”หรือ“คลังสวน”หมายถึงแหล่ง รวมผลไม้นั่นเอง
กิจกรรมเด่น : ขับรถเทีย่ วชมสวนผลไม้รอ้ ยปี นมัสการวัดแหลมสน วัดแหลมทราย นอนโฮมสเตย์เกาะพิทักษ์ นั่งกินอาหารทะเลสดร่อย ที่ชายทะเล ปากน�้ำหลังสวน สินค้าชุมชนเด่น : ผลไม้หลากหลายตามฤดูกาล เช่น ทุเรียนหมอนทอง ทุเรียนบ้าน ทุเรียนพันธุ์ชะนี เงาะ มังคุด ลองกอง ลางสาด สละ ระก�ำ ฯลฯ กะปิเกาะพิทักษ์ ที่ตั้งชุมชน : เทศบาลเมืองหลังสวน ถนนหลังสวน ต�ำบลหลังสวน อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 86110
บรรยากาศทั่วไปของชุมชนหลังสวนล้วนร่มรื่นด้วยสีเขียว ของสวนผลไม้สมชื่อจริงๆ มีทั้งแบบ “สวนสมรม” ที่คนปักษ์ใต้ นิยมปลูกพืชผลนานาชนิดปะปนกันในพื้นที่เดียว และสวนผลไม้ แต่ละชนิดเดีย่ วๆ อย่างสวนมังคุดร้อยปีทแี่ หลมทราย ก็เต็มไปด้วย ต้นมังคุดขนาดใหญ่ยืนต้นแผ่กิ่งก้าน ชาวสวนเล่าว่าในฤดูออกผล เวลาเก็บมังคุดต้องคดข้าวห่อขึ้นไปด้วย ปีนเก็บจากต้นหนึ่งไปอีก ต้นหนึ่ง ใช้เวลาจากเช้าถึงเย็นกว่าจะกลับลงมาได้ บ่งบอกว่าผล หมากรากไม้ของหลังสวนดกดื่นดารดาษเพียงใด นอกจากนี้ยังมีผลไม้แทบทุกชนิดปลูกไว้ ทั้งลองกอง เงาะ ลางสาด สละ ระก�ำ และทุเรียนพันธุ์ต่างๆ โดยเฉพาะทุเรียนบ้าน ปักษ์ใต้ ที่มีล�ำต้นสูงชะลูด และต้องรอให้ผลสุกร่วงตกลงมาเอง คนหลังสวนนิยมรับประทานทุเรียนบ้าน เนือ้ สีเหลืองทอง เมล็ดใหญ่ กลิ่นหอมแรง เหมาะน�ำไปท�ำน�้ำกะทิข้าวเหนียวทุเรียนชั้นเลิศ หากจะสั ม ผั ส เทศกาลผลไม้ ห ลั ง สวนให้ เ ต็ ม อิ่ ม ต้ อ งไปเที่ ย ว เดือนมิถุนายน-สิงหาคม หากขับรถเทีย่ วไปทีบ่ ริเวณแหลมทราย ก็จะพบกับป่าต้นจาก ริมแม่นำ�้ หลังสวน ซึง่ ยังเขียวชอุม่ รกครึม้ เป็นธรรมชาติบริสทุ ธิม์ าก ในป่าจากเหล่านี้มีเรือนไม้ทรงปั้นหยาโบราณมุงกระเบื้องว่าว อายุกว่า 100 ปี อยู่หลายหลัง ซึ่งบางหลังเคยใช้เป็นฉากถ่ายท�ำ ภาพยนตร์ประวัติศาสตร์เรื่อง “ยุวชนทหาร ปิดเทอมไปรบ” ด้วย หลังสวนยังมีทเี่ ทีย่ วส�ำคัญๆ อีกหลายแห่ง อาทิ “วัดแหลมสน” วัดคู่ปากน�้ำหลังสวน ที่ชาวบ้านนับถือศรัทธากันมานาน มีองค์ พระพุทธรูปปางมารวิชัยสีขาวองค์ใหญ่ ประดิษฐานอยู่กลางแจ้ง ยามคืนวันเพ็ญองค์สะท้อนแสงนวลผ่องงดงามมาก นอกจากนี้ยังมี “เกาะพิทักษ์” เป็นอีกหนึ่งชุมชนชายทะเล ซึ่งยามน�้ำลดระดับ เราสามารถเดินลุยน�้ำข้ามทะเลไปถึงเกาะได้ เพือ่ นอนโฮมสเตย์ และซือ้ กะปิชนั้ ดีชอื่ ดัง หรือหากใครทีไ่ ด้ไปเยือน หลังสวนในช่วงเดือนตุลาคมพอดี ก็จะได้ชม “ประเพณีแห่พระแข่ง เรือ ขึ้นโขนชิงธง” หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ประเพณีแข่งเรือชิงธง” มีเฉพาะที่หลังสวนเท่านั้น โดยสืบสานกันมาเกือบ 200 ปีแล้ว ความพิเศษคือ จะมีคนปีนขึ้นไปอยู่บนส่วนปลายสุดของหัวเรือ เรียกว่า “โขนเรือ” เพื่อคอยคว้าธงที่ผูกไว้ตรงเส้นชัย ถือเป็น ประเพณีทอ้ งถิน่ ทีส่ นุกสนาน น่าตืน่ เต้น และสร้างความสามัคคีได้ดี คิดถึงผลไม้ครั้งใด อย่าลืมคิดถึงหลังสวน ดินแดนแห่งผลไม้ แสนอร่อยที่ใครๆ ก็ต้องหลงรัก
ชุมชนหลังสวน 168
169
78 บ้านนาหมื่นศรี ตรัง
ภูมิปัญญาผ้าทอโบราณร้อยปี วิถีแห่งวัฒนธรรม เมื่อพูดถึงนาหมื่นศรี ต�ำบลหนึ่งในอ�ำเภอนาโยง หลายคน นึกถึงชือ่ เสียงในด้านผ้าทอพืน้ เมืองของจังหวัดตรัง มาตัง้ แต่ครัง้ อดีต ท่ามกลางภูเขาลูกใหญ่เป็นฉากหลัง เบื้องหน้ามีผืนนาสีเขียวขจี ไกลสุดลูกหูลูกตา ขณะที่ตะวันสาดส่องแสงสีทองอ�ำไพ เป็น ความสวยงามจากท้องถิ่น คนส่วนใหญ่รู้จักที่นี่ในฐานะแหล่งผลิตข้าวขนาดใหญ่ของ จังหวัดตรัง ขณะเดียวกันก็เป็นแหล่งทอผ้าขนาดใหญ่เช่นกัน “ผ้าทอนาหมื่นศรี” มีชื่อเสียงทั่วประเทศ ปัจจุบันก็มีการจัดตั้ง กลุ่มสตรีทอผ้านาหมื่นศรี เพื่อสืบสานการทอผ้าพื้นเมืองไม่ให้ หายสาบสูญ ความงดงามของลายผ้าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่มีมาแต่ โบราณ ท�ำให้ชื่อเสียงผ้าทอนาหมื่นศรีเลื่องชื่อและเป็นที่รู้จัก กลุม่ ผ้าทอนาหมืน่ ศรี มีประวัตมิ ายาวนานประมาณ 400 ปี เป็น ผ้าที่ทอด้วยกี่พื้นเมืองที่เรียกว่า "หูก" เป็นเครื่องมือพื้นบ้านที่ ประดิษฐ์ขึ้นมาจากภูมิปัญญาของชาวบ้าน ผ้าทอนาหมืน่ ศรีมลี วดลายงดงาม มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง มีการสืบทอดการทอผ้ามาอย่างต่อเนือ่ งในชุมชนมาหลายชัว่ อายุคน ผ้าทอนาหมื่นศรีจะเน้นลวดลายจากธรรมชาติ เช่น ลายปลา ลายท้ายมังคุด ลายช่อลอกอ (ช่อมะละกอ) ลายแก้วกุหลาบ ลายแก้วชิงดวง กี่ที่ใช้ทอผ้านาหมื่นศรีมี 2 ชนิด ทั้ง 1 กี่พื้นเมือง การทอผ้า ของชาวบ้านนาหมืน่ ศรีในอดีตมักจะทอด้วยหูกซึง่ เป็นกีท่ อผ้าแบบ พื้นเมือง เป็นกี่ขนาดเล็ก ในภาคใต้ช่างทอเรียกกันว่า กี่เตี้ย การสอดเส้นพุ่งจะใช้ “ตรน” ที่ท�ำมาจากไม้ไผ่ล�ำเล็กๆ แทน กระสวย ปัจจุบันกี่แบบนี้มักจะทอผ้าบางชนิดเท่านั้น ส่วนใหญ่ จะทอเป็นผ้าเช็ดหน้า ผ้าสไบ ทัง้ นีเ้ พราะกีป่ ระเภทนีเ้ ป็นกีข่ นาดเล็ก ทอผ้าได้ช้า 2 กี่ ก ระตุ ก เป็น กี่ทอผ้าชนิด หนึ่งที่มีสายกระตุ ก เพื่ อ ให้ กระสวยพุ่งไปได้เอง ชาวนาหมื่นศรีจะทอด้วยกี่กระตุกส�ำหรับผ้า ที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นกี่ที่ทอได้เร็วและสามารถทอผ้าหน้ากว้างๆ ได้ ขณะที่ทอ มือและเท้าจะสัมพันธ์กัน ส่วนใหญ่จะทอผ้าโสร่ง ผ้าขาวม้า ผ้ามีลายต่างๆ เช่น ลายตาหมากรุก ลายหางกระรอก ลายดอกจัน 170
กิจกรรมเด่น : ชมวิถีการทอผ้าและการท�ำนาของชาวนาหมื่นศรี การทอผ้าพื้นเมือง ท�ำลูกลมจ�ำลอง ท�ำขนมฝามี ชมการเลี้ยงไหม และการสาวไหม ชิมขนมจีนแกงไตปลา แกงขมิ้น ผัดกะทิ ข้าวเม่าต้มกะทิ ข้าวนาหมื่นศรี น�้ำชุบ ปลาทอดน�้ำเต้าเจี้ยว สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าโสร่ง ผ้าขาวม้าลายราชวัตร ลูกหยีแปรรูป เครื่องแกงคั่วพริก ที่ตั้งชุมชน : 205 ม.8 ต�ำบลนาหมื่นศรี อ�ำเภอนาโยง จังหวัดตรัง 92170 โทรศัพท์ 075-299-556 website : www.nameunsri.go.th
วิถีชีวิตชาวนาหมื่นศรียังอยู่กับธรรมชาติ ท�ำนา ท�ำสวน มี ประเพณีการแข่งขันลูกลม ใน "เทศกาลแลลูกลม ชมถ�ำ้ เขาช้างหาย เรียนรู้วิถีชีวิตวัฒนธรรมนาหมื่นศรี" เป็นงานสืบสานประเพณี วัฒนธรรมน�ำสู่การท่องเที่ยวต�ำบลนาหมื่นศรี เพื่อมุ่งหวังให้เกิด การอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น และเป็นการสนับสนุน ส่งเสริมการท่องเที่ยวในต�ำบลนาหมื่นศรี การแข่งขันลูกลม เป็นความเชือ่ ทีถ่ า่ ยทอดกันมาเป็นเวลานาน เกี่ยวพันกับวิถีนา เชื่อกันว่าลูกลมเป็นลูกของพระพาย ซึ่งวันหนึ่ง เป็นฤดูเก็บเกี่ยว มีนกกามากินข้าวในนา พระพายเลยให้ลูกลมมา ท�ำหน้าทีด่ แู ลนาข้าว ประโยชน์ของลูกลมนาหมืน่ ศรี เปรียบเสมือน หุ่นไล่กาของภาคกลาง
171
79 บ้านพรุจูด ตรัง
พอกโคลน เก็บตะวัน มหัศจรรย์ป่าชายเลน ตรัง ดินแดนแห่งทะเลสีมรกต ยางพาราต้นแรกของไทย และเป็นแหล่งอาศัยสุดท้ายของพะยูน เป็นจังหวัดที่อุดมสมบูรณ์ ด้วยธรรมชาติ ทั้งบนบกและในท้องทะเล ต่อเติมสายใยแห่งชีวิต เป็นแม่เหล็กดึงดูดผู้คนจากทั่วสารทิศให้เข้ามาสัมผัสชื่นชม บ้านพรุจูด อ�ำเภอสิเกา เป็นชุมชนประมงพื้นบ้านขนาดเล็ก ที่กินอยู่แบบพอเพียง สงบเรียบง่าย อาศัยความอุดมสมบูรณ์ ของธรรมชาติหล่อเลี้ยงชีวิต ทั้งการเลี้ยงปลาเก๋า ปลากะพง ในกระชัง ควบคูก่ บั การวางลอบ วางอวน ทอดแห จับกุง้ หอย ปู ปลา ในป่าชายเลนแน่นขนัดเขียวครึม้ ของล�ำคลองสิเกา และเมือ่ คลืน่ ลม เป็นใจปลอดมรสุม ก็ยงั สามารถแล่นเรือออกทะเลไปจับปลาได้ดว้ ย ชาวบ้านจึงผูกพันกับธรรมชาติอย่างลึกซึง้ โดยเฉพาะเมือ่ เกิด คลื่นยักษ์สึนามิพัดถล่ม แนวป่าชายเลนที่เปรียบเสมือนก�ำแพง สีเขียวขนาดยักษ์ ได้ช่วยป้องกันคลื่นลมรักษาชีวิตชาวบ้านไว้ จ�ำนวนมาก กลายเป็นหนึ่งในแรงบันดาลใจให้คนบ้านพรุจูดรัก หวงแหนป่าชายเลน ร่วมกันพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ผสานการเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชนน่ารัก กระทั่งได้รับรางวัลการันตี มากมาย โดยเฉพาะรางวัลที่ 2 สาขา Best Homestay ของรางวัล สุดยอดหมู่บ้านท่องเที่ยวชนบท ปี พ.ศ. 2543 กิจกรรมท่องเที่ยวสนุกๆ ของบ้านพรุจูดมีมากมาย จนอาจ ต้องใช้เวลาไม่น้อยกว่า 2 วัน จึงจะท�ำครบถ้วน เริ่มตั้งแต่การ ท�ำความรู้จักกับป่าชายเลนในล�ำคลองสิเกา ค่อยๆ ล่องเรือหัวโทง ไปอย่างช้าๆ ศึกษานิเวศป่าโกงกาง ซึ่งมีต้นไม้หลายชนิดที่ทน น�้ำเค็ม น�้ำกร่อยได้ ยืนต้นต่อเนื่องไปเป็นทิว พร้อมด้วยนกต่างๆ เข้ า มาอาศั ย หากิ น ทั้ ง เหยี่ ย วแดงที่ มั ก ร่ อ นอยู ่ ใ นระดั บ สู ง นกกระเต็นที่เกาะอยู่เงียบๆ ตามรากโกงกาง และนกยางสีขาว
172
คอยาว ที่เดินอยู่ตามเขตน�้ำตื้น จ้องหากุ้ง หอย ปู ปลาตัวเล็กๆ เพือ่ จับกิน กระทัง่ เรือแล่นไปถึงหาดโคลนในป่าชายเลน เรือจะจอด ให้เราลงไปเดินเล่น สัมผัสเนื้อโคลนนุ่มสีเทาอ่อน เหมือนการนวด เท้าท�ำสปาธรรมชาติ ที่ส�ำคัญในบริเวณนี้มี “บ่อน�้ำพุร้อนเค็ม” สีมรกตใส ผุดขึ้นกลางหาดโคลน ซึ่งเราสามารถนั่งแช่เท้าเพื่อ สุขภาพได้ ช่วยให้เลือดลมไหลเวียนดี กิจกรรมภาคบ่ายเป็นการพาแล่นเรือออกทะเล ไปด�ำน�้ำ ดูปะการัง ขึ้นหาดเกาะหลอหลอ แวะเวิ้งอ่าวบุญคง ร่วมกัน ปลู ก หญ้ า ทะเล เพื่ อ ใช้ เ ป็ น อาหารของพะยู น วิ ธี ก ารปลูกคือ ชาวบ้านจะเก็บเมล็ดต้นหญ้าทะเลเตรียมไว้ให้แล้ว เราต้องลง จากเรือไปเดินในน�้ำ ความลึกครึ่งแข้ง แล้วน�ำเมล็ดหญ้าทะเล ฝังลงไปในพื้นทรายปนเลน ให้เจริญเติบโตตามธรรมชาติต่อไป นับเป็นกิจกรรมเชิงนิเวศซึ่งมีเพียงแห่งเดียวที่นี่ จากนั้นขากลับช่วงเย็นย�่ำ เรือจะจอดแวะที่หาด เก็บตะวัน ชมอาทิตย์อัสดงลงทะเลตรัง สวยงาม โรแมนติกอย่าบอกใคร
กิจกรรมช่วงเย็นที่โฮมสเตย์ เป็นการลิ้มรสอาหารพื้นบ้าน แสนอร่อย ทั้งแกงส้มปลากะพงใส่อ้อดิบ ปลาเก๋านึ่งซีอิ๊ว ปลาเค็ม กางมุ้งทอด กุ้งขาว ปูม้า ปูด�ำตัวใหญ่นึ่ง จิ้มน�้ำจิ้มซีฟู้ดรสเด็ด น�้ำ พริกกะปิปักษ์ใต้ ฯลฯ อิ่มแล้วก็ชมการแสดงพื้นบ้านลิเกป่า ที่ สนุกสนาน ตลกขบขัน และแฝงไว้ด้วยวัฒนธรรมพื้นบ้านอันดีงาม เช้าวันถัดมา กิจกรรมท่องเที่ยวชุมชนบ้านพรุจูดยังเข้มข้น ตั้งแต่การล่องเรือออกไปชมพระอาทิตย์ขึ้น กลางเวิ้งอ่าวสิเกา เยี่ยมกลุ่มปลาเค็มกางมุ้ง ซึ่งเป็นการถนอมอาหารทะเล โดยการ ตากปลาไว้ในมุ้งเพื่อป้องกันแมลง แล้วไปท�ำกิจกรรม DIY สนุกๆ ที่กลุ่มสานเตยปาหนัน (หรือต้นเตยทะเล) และวาดลวดลายบนผ้า บาติก เป็นของที่ระลึก ย�้ำเตือนถึงการมาเยือนบ้านพรุจูด ดินแดน แสนสุขแห่งสิเกาที่เราจะไม่ลืมเลือน
กิจกรรมเด่น : นั่งเรือชมธรรมชาติป่าชายเลนในคลองสิเกา แช่เท้าสปาโคลน ในบ่อน�้ำร้อนเค็มริมหาดโคลน ปลูกหญ้าทะเล ด�ำน�้ำดูปะการัง ศึกษาการเลี้ยงปลาในกระชัง เยี่ยมกลุ่มปลาเค็มกางมุ้ง และ การแปรรูปอาหารทะเล จักสานผลิตภัณฑ์จากต้นเตยปาหนัน นอนโฮมสเตย์กับชาวบ้าน ดูลิเกป่า สินค้าชุมชนเด่น : กะปิคุณภาพดี ปูม้า ปูด�ำ อาหารทะเลสด-แห้ง ผลิตภัณฑ์เตย ปาหนัน ผ้าบาติก ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านพรุจดู บ่อหินฟาร์มสเตย์ หมู่ 2 ต�ำบลบ่อหิน อ�ำเภอสิเกา จังหวัดตรัง โทรศัพท์ 081-892-7440 บ่อหินฟาร์มสเตย์ วิสาหกิจชุมชน เลี้ยงปลากระชัง บ้านพรุจูด Bohinfarmstay 173
80 บ้านแหลม นครศรีธรรมราช
กิจกรรมเด่น : ยามเช้าล่องเรือจิบกาแฟแลตะวัน ล่องเรือชมวิถีประมงพื้นบ้าน ป่าโกงกาง ออกสู่ปากอ่าว ท�ำสปาโคลนกลางทะเล พายเรือคายัค ศึกษานิเวศป่าชายเลน CSR ปลูกป่าชายเลน นั่งรถซาเล้งหรือ ปั่นจักรยานชมชุมชน ชิมเบอร์เกอร์ปูม้าแห่งเดียวในโลก งมหอย ทอหางอวน ปั้นหม้อดิน สินค้าชุมชนเด่น : โคลนมาร์คหน้า โคลนขัดผิว โคลนทรีตเมนต์หมักผม สบู่โคลน โฟมล้างหน้าโคลน ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านแหลม อยูห่ า่ งจากอ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ประมาณ 12.2 กิโลเมตร ติดต่อ บ้านแหลมโฮมสเตย์ โทรศัพท์ 082-216-6306 / 065-513-7273 Website www.banlaemhomestay.com
สุขกายสบายใจ ในวิถีสปาธรรมชาติ
นครศรีธรรมราช หนึง่ ในจังหวัดใหญ่นา่ เทีย่ วของภาคใต้ มีชอื่ เสียงทัง้ ในด้านธรรมชาติ ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี และวิถชี มุ ชน เป็นที่ประดิษฐานของพระบรมธาตุเมืองคอนอันศักดิ์สิทธิ์ และมี ยอดเขาหลวง เป็นยอดเขาสูงทีส่ ดุ ในภาคใต้ ส่วนด้านการท่องเทีย่ ว ชุมชนก็ไม่เป็นรองใคร ต้องลองไปสัมผัสด้วยตนเอง หนึ่งในชุมชนน่าเที่ยวตั้งอยู่ริมทะเลอ่าวท่าศาลา นามว่า “ชุ ม ชนบ้ า นแหลม” เป็ น ชุ ม ชนมุ ส ลิ ม เล็ ก ๆ ด� ำ รงชี วิ ต ด้ ว ย วิถีประมงพื้นบ้านมายาวนาน โดยอาศัยความอุดมของกุ้ง หอย ปู ปลา ในอ่าวท่าศาลา และความบริบูรณ์ของป่าชายเลนผืนใหญ่ ท�ำหน้าที่เป็นเสมือนแหล่งอนุบาลสัตว์ทะเล ให้มีกินไม่เคยขาด เสน่ห์ของชุมชนบ้านแหลมคือ ธรรมชาติชายฝั่งทะเล บวกวิถีชีวิตที่เรียบง่าย พอเพียงของชาวบ้าน ผู้มีรอยยิ้มพร้อม ต้อนรับนักท่องเที่ยวตลอดทั้งปี ช่วงเดือนมกราคม-พฤศจิกายน ปลอดฝน และมรสุม กิจกรรมท่องเที่ยวมีหลายอย่าง ทั้งล่องเรือ ชมพระอาทิตย์ขึ้น ท�ำสปาโคลน เที่ยวป่าโกงกาง หรือจับปลา
174
ส่วนเดือนธันวาคม สายฝนพร่างพรม กิจกรรมจึงเปลี่ยนไป เป็นพายเรือในป่าโกงกาง ศึกษาวิธที ำ� แหอวน หรือจะนอนโฮมสเตย์ กับชาวบ้านก็สะดวกดี เขามีทพี่ กั ไว้บริการพร้อมด้วยอาหารพิเศษๆ น่าลิ้มลอง อาทิ ใบโกงกางทอดกรอบ กั้งทอดกระเทียม ปูม้านึ่ง น�ำ้ จิม้ ซีฟดู้ ฯลฯ รับประทานกับข้าวมัน โคลนทะเลสีดำ � ซึง่ เกิดจาก การน�ำน�้ำหมึกสีด�ำของตัวหมึกทะเลมาผสมในขั้นตอนการหุงข้าว หรือจะลองดื่มน�้ำมะพร้าวอ่อน และน�้ำมัลเบอร์รีเย็นๆ ที่น�ำผลมา จากต้นหม่อนที่ปลูกอยู่ในชุมชนก็ได้ การสัมผัสวิถีชุมชนบ้านแหลมท�ำได้ในหลากมิติกิจกรรม เด่นสุดคือ การล่องเรือหัวโทง ผ่านล�ำคลองที่มีแนวป่าชายเลน ขนาบสองด้าน ตรงออกสู่อ่าวท่าศาลาที่อยู่เบื้องหน้า ระหว่างทาง จะได้ชมพืชพันธุ์ นกน�้ำ และวิถีประมงพื้นบ้าน จนเรือออกสู่ปาก อ่าวตรงเขตน�้ำตื้น ก็ได้เวลาทดลองน�ำโคลนธรรมชาติใต้ท้องน�้ำ
ซึง่ เป็นโคลนเนือ้ ละเอียดเนียนนุม่ สีเทาอ่อน มาทาตัว ทาหน้าให้ทวั่ เพื่อให้โคลนธรรมชาติดูดสารพิษออกจากร่างกาย และช่วยให้ ผิวพรรณผุดผ่อง หากมีเวลามากหน่อย ก็สามารถท�ำความรู้จักบ้านแหลมได้ ลึกซึ้งขึ้น โดยปั่นจักรยานไปแวะเที่ยวกลุ่มท�ำพริกแกงพื้นบ้าน กลุม่ ทอหางอวน บ้านปัน้ หม้อ บ้านปลูกมัลเบอร์รี รวมถึงบ้านปากกัด ตี น ถี บ คื อ กิ จ กรรมลอกใบจากให้ ท ดลองท� ำ อย่ า งสนุ ก สนาน ส่วนใครที่ค้างคืนในชุมชน จะได้ตื่นแต่เช้าตรู่ แล่นเรือออกไปรับ แสงแรกของตะวันในอ่าวท่าศาลา กับกิจกรรม “จิบกาแฟแลหวัน” (แลตะวัน) หรือจะลองไปงมหอย วางอวน จับปลากับชาวประมง บ้านแหลมก็ได้ ที่นี่คือ ดินแดนแสนสุข ซึ่งธรรมชาติและชีวิตผู้คนมาบรรจบ กันอย่างกลมกลืน สมบูรณ์แบบจริงๆ
175
81 บ้านคีรีวง นครศรีธรรมราช
ชุมชนและธรรมชาติ ความลงตัวจากความอุดมสมบูรณ์ บ้ า นคี รี ว ง ในอ� ำ เภอลานสกา จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เดิมมีชื่อว่าบ้านขุนน�้ำ เพราะตั้งรกรากอยู่ใกล้ต้นน�้ำจากยอด เขาหลวง ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น บ้านคีรีวง ที่มีความหมายว่า หมู่บ้านที่อยู่ภายในวงล้อมของภูเขา อาจกล่าวได้ว่า ชุมชนที่นี่ จะมีวิถีชีวิตที่สงบ มีสังคมแบบเครือญาติ อาชีพหลักก็คือ การท�ำ สวนผลไม้ผสม หรือที่เรียกว่า สวนสมรม ไม่ว่าจะเป็น มังคุด เงาะ ทุเรียน ลองกอง ฯลฯ เสน่ห์ของหมู่บ้านคีรีวง ได้ชื่อว่าเป็นหมู่บ้านอากาศดี ที่สุดของประเทศไทย มีความเงียบสงบ สัมผัสวิถีชีวิตแบบชนบท พร้อมบรรยากาศหมู่บ้านที่อยู่กลางหุบเขา ที่นี่เป็นชุมชนต้นแบบ ในการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ได้รับรางวัลยอดเยี่ยม อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยประจ�ำปี 2541 (Thailand Tourism Awards ) ประเภทเมืองและชุมชน
จากวิถีการท่องเที่ยวที่เข้ามายังหมู่บ้าน ท�ำให้หมู่บ้านยัง ได้พัฒนาด้านการบริการนักท่องเที่ยวให้กลายเป็นธุรกิจใหม่ของ ชุมชน โดยเฉพาะโฮมสเตย์ มีชมรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เป็น องค์กรกลางส�ำหรับแบ่งหน้าที่ไปยังกลุ่มต่างๆ สัมผัสเสน่หว์ ถิ ชี วี ติ ชาวบ้านทีเ่ รียบง่ายและน่าค้นหา คีรวี ง นับเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สะท้อนถึงสายใยการอยู่ร่วมกันระหว่าง ชุมชนและธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน เรียกว่าเห็นอีกหนึ่งมุม ที่มีเสน่ห์ของบ้านคีรีวง และถ้าลองไปเห็นด้วยตาตัวเองด้วยแล้ว จะยิ่งหลงรักเป็นเท่าตัว กิจกรรมห้ามพลาดเมื่อมาเที่ยวบ้านคีรีวง มีกิจกรรมสนุก ให้ท�ำแบบไม่รู้เบื่อ เช่น นอนโฮมสเตย์ของชาวบ้านแบบใกล้ชิด ธรรมชาติ เทีย่ วชมสวนผลไม้ ใครมาเทีย่ วบ้านคีรวี งในช่วงฤดูผลไม้ (ประมาณเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม ของทุกปี) จะอิ่มหน�ำไปกับ
ผลไม้นานาชนิด เช่น จ�ำปาดะ มังคุด เงาะ และลองกอง เป็นต้น มีผลไม้ให้นกั ท่องเทีย่ วได้เลือกซือ้ และชิมกันจนอิม่ ท้อง การเล่นน�ำ้ ในล�ำธาร ปัน่ จักรยานรอบหมูบ่ า้ นชิลๆ ช้อปสินค้าพืน้ เมืองน่ารักๆ ทั้งเครื่องประดับผ้าบาติก สมุนไพรบ�ำรุงผิว สินค้าจากภูมิปัญญา ของชาวบ้านในหมู่บ้านคีรีวง โดยมี จุ ด ท่ อ งเที่ ย วไฮไลต์ ข องบ้ า นคี รี ว ง ได้ แ ก่ สะพาน บ้านคีรีวงเป็นจุดแลนด์มาร์คส�ำคัญที่ไม่ว่าใครก็ต้องมาถ่ายรูป หนานหินท่าหามีลักษณะเป็นล�ำคลอง ช่วงฤดูท่องเที่ยวจะมี นักท่องเทีย่ วมาเล่นน�ำ้ ทีบ่ ริเวณนีก้ นั อย่างสนุกสนาน สะพานแขวน ท่าหา สะพานแขวนเล็กๆ ล้อมรอบด้วยวิวป่าเขา ตลาดบ้านคีรวี ง ตลาดเล็ ก ๆ ที่ มี ข องกิ น มากมาย ถ�้ ำ น�้ ำ วั ง ศรี ธ รรมโศกราช ถ�้ำหินงอกหินย้อยที่สวยงาม ถ�้ำแห่งนี้ยังเป็นแหล่งประวัติศาสตร์ ที่ส�ำคัญของเมืองนครศรีธรรมราชอีกด้วย เนื่องจากเคยมีการ ค้นพบวัตถุโบราณจ�ำนวนมาก น�้ำตกวังไม้ปัก น�้ำตกขนาดเล็ก ที่ยังคงอุดมด้วยธรรมชาติที่สมบูรณ์ ก่อนแวะชมกลุ่มอาชีพที่เกิดจากการรวมตัวของชาวบ้าน เป็นกลุ่มต่างๆ เช่น "กลุ่มลูกไม้" เป็นกลุ่มที่รวมตัวกันสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์จากเมล็ดพืช "กลุ่มมัดย้อมสีธรรมชาติ" ชมผลิตภัณฑ์ ผ้าบาติกสวยๆ "กลุ่มใบไม้บ้านคีรีวง" ชมผ้ามัดย้อมท�ำจาก สีธรรมชาติจากเปลือกไม้ เป็นต้น หลงรักเธอเข้าแล้วคีรีวง กิจกรรมเด่น : การพักในที่พักแบบโฮมสเตย์ เพลินใจในธรรมชาติ ท่ามกลาง เทือกเขา ป่าไม้ ปั่นจักรยานชมวิวสูดอากาศบริสุทธิ์ ชิมอาหาร พื้นเมือง อร่อยกับผลไม้นานาพันธุ์ผลผลิตของคีรีวง เช่น ทุเรียน มังคุด เงาะ ลองกอง สินค้าชุมชนเด่น : ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ สมุนไพรต่างๆ สินค้าจักสาน ผลิตภัณฑ์ กะลามะพร้าว น�้ำผลไม้แปรรูป ไวน์ กลุ่มทุเรียนกวน ที่ตั้งชุมชน : หมูบ่ า้ นคีรวี ง ต�ำบลก�ำโลน อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80230 โทรศัพท์ 075-533-111 Website : www.kiriwong.com
176
177
82 ชุมชนกาแลตาแป นราธิวาส เสน่หเ์ กาะน้อย ในอ้อมกอดบางนรา
แม่ น�้ ำ บางนราคื อ เส้ น เลื อ ดหลั ก หล่ อ เลี้ ย งวิ ถี ผู ้ ค นและ ธรรมชาติ ให้กบั จังหวัดนราธิวาส มาแสนเนิน่ นาน สองฟากฝัง่ จึงมี ชุมชนน้อยใหญ่อาศัยตั้งรกราก เกิดเป็นชุมชนประมงพื้นบ้านซึ่ง ส่วนใหญ่มเี ชือ้ สายมุสลิม ต่อเรือกอและอันเป็นเอกลักษณ์ขนึ้ ใช้งาน แล่นไปมาหาสู่ และใช้ออกทะเลจับปลามาค้าขาย ใช้ชวี ติ เรียบง่าย บนจังหวะการขึ้นลงของกระแสน�้ำ คลื่นลม และฤดูกาลที่ผันผ่าน ไม่หยุดนิ่ง ชุมชนกาแลตาแป หรือ บ้านปูลา รายอ กาแลตาแป เป็น ชุมชนบนเกาะเล็กๆ กลางแม่น�้ำบางนรา โดยชาวมุสลิมจาก มาเลเซียได้เริ่มอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานเมื่อ 100 กว่าปีก่อน ค�ำว่า “กาแล” แปลว่า “ท่าเรือ” ส่วน “ตาแป” หมายถึง “ต้นหูกวาง” ชื่อหมู่บ้านจึงแปลว่า “ท่าเรือที่มีต้นหูกวาง” 178
ชุมชนบนเกาะยึดวิถีประมงพื้นถิ่นเลี้ยงชีพ ด�ำเนินชีวิตตาม แบบฉบับชาวมุสลิมทีด่ ี ชุมชนจึงเงียบสงบน่าอยู่ มีมสั ยิดดารุลนาอีม เป็นศูนย์รวมใจผู้คน ชาวบ้านพากันปลูกบ้านไม้ยกเสาสูงอยู่ริมน�้ำ สร้างเป็นท่าเรือที่มี “เรือกอและ” จอดเรียงราย อวดอัตลักษณ์ โดดเด่นในรูปทรงและสีสันของเรือสุดพิเศษชนิดนี้
จากฝั่งแผ่นดินใหญ่ที่มีตลาดเก่า เดินข้ามสะพานปูลา รายอ กาแลตาแป มานิดเดียว ก็ถึงหมู่บ้านแล้ว จากบนสะพานเหมาะใช้ เป็นจุดชมวิวทีส่ วยงาม ไม่วา่ จะมองไปด้านไหนก็เห็นแม่นำ�้ บางนรา ใสสะอาด ไหลเป็นแนว ขนาบด้วยเรือนไม้รมิ น�ำ ้ และเรือประมงพืน้ บ้านจอดเรียงรายนับร้อยล�ำ ด้วยความทีเ่ ป็นเกาะขนาดเล็กกะทัดรัด อาจเริม่ จากการเดิน ไปชมบ้านท�ำ “กรือโป๊ะ” หรือข้าวเกรียบปลาแบบมุสลิม และเป็น สินค้าชื่อดังของนราธิวาส ชาวบ้านจะน�ำเนื้อปลาทูหรือปลาอื่นๆ ที่หาได้มาบดละเอียด ผสมแป้งสาคู หรือแป้งมันส�ำปะหลัง ผสม เกลือลงไป ปั้นให้เป็นแท่งยาวต้มให้สุก แล้วหั่นเป็นแผ่นๆ ตากให้ แห้ง ก็พร้อมทอดกินหรือบรรจุห่อส่งขายไปทั่วจังหวัด เดินเล่นเพลินๆ ต่อไปชมความงามของมัสยิดเล็กๆ ใจกลาง ชุมชน เดินเลาะเลียบริมน�ำ ้ สัมผัสหาดทรายสีนำ�้ ตาลอ่อนทอดยาว ริมแม่นำ�้ บางนรา มีเรือกอและของชาวบ้านจอดเรียงรายนับร้อยล�ำ สืบสานนาวาศิลป์การใช้เรือพื้นบ้านปักษ์ใต้ชนิดนี้มิให้สูญหาย ค�ำว่า “กอและ” มาจากภาษามลายู “ฆอและ” แปลว่า “ล่องลอย” ถือเป็นสุดยอดเรือประมงปักษ์ใต้ที่แล่นสู้คลื่นลมแรง ได้ดี ล่มยาก เพราะมีแคมเรือลึก ในอดีตใช้เป็นเรือใบแล่นออกไป
จับปลาในทะเลลึก เรือกอและมี 2 แบบคือ หัวสั้น และหัวยาว จุดเด่นอยู่ที่ลวดลายสีสันสุดวิจิตร นิยมเขียนเป็นรูปไม้เถา ดอกไม้ ต่างๆ รวมถึงสัตว์มงคล ริมน�้ำในหมู่บ้านกาแลตาแป มีอู่ต่อเรือ กอและแบบพื้นบ้านแท้ๆ ให้ชมอย่างใกล้ชิดด้วย ความพิเศษอีกอย่างของชุมชนกาแลตาแปคือ ในช่วงที่มี การแข่งขันเรือกอและประจ�ำปี ของจังหวัดนราธิวาส ประมาณ เดือนกันยายน เราจะเห็นเรือพายทัง้ ขนาดเล็กและใหญ่จำ� นวนมาก พากันมาฝึกซ้อมพายเรือกันอย่างเอาจริงเอาจัง ตรงบริเวณแม่น�้ำ บางนราใกล้เกาะกลางน�้ำของชุมชนนั่นเอง เราจะได้ประจักษ์ถึงความผสมกลมกลืนของวิถีชีวิตผู้คน นักพายเรือ เรือกอและทีบ่ รรจงสร้างขึน้ อย่างวิจติ ร รวมถึงธรรมชาติ สายน�้ำที่ช่วยต่อเติมสายใยชีวิตเหล่านี้ ให้เชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียว อย่างแยกกันไม่ออก
กิจกรรมเด่น : ชมเรือกอและ เรือประมงพื้นบ้านแบบนราธิวาสแท้ๆ ชมอู่ต่อเรือกอและ ชมขั้นตอนการท�ำ ข้าวเกรียบปลากรือโป๊ะ เดินเล่นบนหาดทรายริมน�้ำ ชมธรรมชาติแม่น�้ำบางนราอันสวยงาม สินค้าชุมชนเด่น : ข้าวเกรียบปลากรือโป๊ะ เรือกอและ ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนกาแลตาแป ต�ำบลบางนาค อ�ำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส โทรศัพท์ 098-706-6099 Website http://naracity.go.th 179
83 ชุมชนตากใบ นราธิวาส
เยือนสายน�ำ้ ประวัตศ ิ าสตร์ ศูนย์รวมธรรมชาติและผูค ้ น
ตากใบ ชื่อนี้คือ อ�ำเภอเล็กๆ ติดชายแดนไทย-มาเลเซีย มี ชายฝั่งตะวันออกติดอ่าวไทยในบรรยากาศเงียบสงบ เหมาะพาตัว และหัวใจไปพักผ่อนในแดนใต้ปลายด้ามขวานทอง เพราะตากใบ มีความพิเศษ ทัง้ ธรรมชาติ ประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม อาหารการกิน และชุมชนชาวมุสลิมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง
180
ชุมชนตากใบกระจายตัวเรียงรายเลียบไปกับแม่น�้ำตากใบ เคียงขนานกับหาดทรายชายทะเลทอดยาว บ้านเรือนส่วนใหญ่ ยังอนุรักษ์เรือนไม้เก่าแก่เอาไว้ เหมือนภาพอดีตวันวานที่ยังมีชีวิต ริมแม่น�้ำตากใบธรรมชาติยังบริสุทธิ์มาก ปกคลุมด้วยป่าต้นจาก และพืชพรรณที่ทนน�้ำกร่อยได้
ส่วนชายฝัง่ ทะเลเป็นหาดทรายทอดยาวนับสิบกิโลเมตร เงียบ สงบสวยงาม โดยเฉพาะทีบ่ ริเวณหาดเสด็จ คนตากใบมี “ภาษาเจ๊ะเห” เป็นของตนเอง ถือเป็นภาษาปักษ์ใต้สำ� เนียงเฉพาะทีม่ ใี ช้กนั ในแถบนี้ เท่านั้น โดยมีการใช้ค�ำภาษาปักษ์ใต้ผสมภาษาเหนือ พูดส�ำเนียง เสียงเหน่อสูงไพเราะคล้ายทางภาคตะวันออก อันเนื่องมาจาก เมือ่ หลายร้อยปีกอ่ น ตากใบเคยอยูภ่ ายใต้การดูแลของอาณาจักร สุโขทัย จึงมีการน�ำภาษาเหนือเข้ามาผสมผสานกับภาษาปักษ์ใต้ บรรยากาศริมแม่นำ�้ ตากใบช่างน่าอภิรมย์ยงิ่ นัก สายน�ำ้ กว้าง ยังใสสะอาด เรือประมงพื้นบ้านน้อยใหญ่ยังแล่นออกจับปลามา กินมาขายได้ทุกวัน ริมแม่น�้ำตากใบมี “สะพานคอยร้อยปี” เป็น จุดท่องเที่ยวโดดเด่น ประวัติเล่าว่าคนที่นี่ต้องรอนานถึง 100 ปี กว่าจะมีการสร้างสะพานเชือ่ มชุมชนด้านหนึง่ ข้ามแม่นำ�้ ตากใบไป สู่ฝั่งเกาะยาวที่อยู่ติดทะเล ปัจจุบันมี 2 สะพานคู่กัน ทั้งสะพานไม้ เดิม และสะพานปูนที่แข็งแรงกว่า โดยสะพานนี้ยาวถึง 345 เมตร ไม่ ไ กลกั น นั้ น บริ เ วณริ ม แม่ น�้ ำ ตากใบเป็ น ที่ ตั้ ง ของ “วัดชลธาราสิงเห” หรือวัดพิทักษ์แผ่นดินไทย วัดส�ำคัญสมัย รัชกาลที่ 5 ครั้งอังกฤษแบ่งแยกดินแดนรัฐตรังกานูของมาเลเซีย (ในเวลานั้นยังเป็นของสยาม) รัฐบาลไทยจึงใช้วัดชาธาราสิงเห อ้างสิทธิพื้นที่ เพราะวัดนี้เป็นหลักฐานว่าคนไทยได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ มานานแล้ว อังกฤษจึงไม่สามารถแยกดินแดนนี้ออกไปได้ ภายในวัดมีศาลาไม้เก่าแก่ลวดลายสวยงามฝีมือช่างชั้นครู ใช้เป็นพิพธิ ภัณฑ์เก็บรักษาสมบัตโิ บราณของท้องถิน่ น่าตืน่ ตาด้วย ภาพจิตรกรรมฝาผนังฝีมือพระภิกษุชาวสงขลา พร้อมประดิษฐาน พระประธานปิดทองอร่าม
ออกจากวั ด พิ ทั ก ษ์ แ ผ่ น ดิ น ไทย ท่ อ งเที่ ย วต่ อ ไปใน ชุ ม ชนที่ ตั้ ง เลี ย บขนานกั บ แม่ น�้ ำ ตากใบอั น ร่ ม เย็ น แวะชม “กลุ่มผ้ายาดาบาติก” ที่ผลิตผ้าบาติกผืนงามด้วยกรรมวิธี ดั้งเดิม ทั้งการเขียนเทียนและใช้แป้นไม้ พิมพ์ลวดลายลงไป สินค้ามีหลากหลายให้เลือกชมเลือกซื้อ ทั้งเสื้อผ้าตัดส�ำเร็จ หมวก หมอน ร่ม และผ้าผืน สีสันฉูดฉาดบาดตา จากนั้น ต้องไม่พลาดชอปปิงสินค้า ชื่อ ดั ง ที่ สุด ของชุ ม ชนตากใบคื อ “ปลากุเราเค็ม” ซึง่ ได้ฉายาว่า “ปลากุเรานางฟ้า” เพราะคัดสรร ปลากุเราสดตัวใหญ่ อ้วนพี ผิวสวยไม่มรี อยถลอก น�ำมาตากแห้ง หลายแดด สลั บ กั บ การใช้ ไ ม้ ลู ก กลิ้ ง คลึ ง ตั ว ปลาทุ ก วั น ให้ แบนราบสวย นิยมน�ำมาทอด โดยบีบมะนาวลงไปซอยหอมแดง โรยหน้าด้วยพริกขีห้ นู รับประทานกับข้าวสวยหรือข้าวต้มร้อนๆ ก็เข้ากันดีเยี่ยม ตากใบวันนี้ยังสงบน่าอยู่ เคียงคู่ปลายด้ามขวานทองของ ไทย ภายใต้อัตลักษณ์ตัวตนที่ไม่เคยเปลี่ยน ดั่งแม่น�้ำตากใบที่ หลากไหลไม่เคยหยุดเช่นกัน
กิจกรรมเด่น : ท่ อ งเที่ ย ววั ด ชลธาราสิ ง เห ถ่ า ยภาพคู ่ กั บ สะพานคอยร้ อ ยปี ชมความงามของแม่นำ�้ ตากใบ เยีย่ มชมกลุม่ ท�ำผ้าบาติก ชมการท�ำ ปลากุเราเค็มอันมีชื่อเสียง นั่งกินอาหารริมแม่น�้ำตากใบ สินค้าชุมชนเด่น : ปลากุเราเค็มตากใบ ผ้าบาติก (กลุ่มยาดาบาติก) ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนตากใบ ต�ำบลเจ๊ะเห อ�ำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ชุมชนท่องเที่ยวตากใบ 181
84 บ้านโต๊ะโมะ นราธิวาส วิถรี อ ่ นทอง เหมืองเก่าร้อยปี “สุคิริน” อ�ำเภอหนึ่งในจังหวัด“นราธิวาส” ที่นักท่องเที่ยว มักไม่พลาดไปเยือน ทีน่ มี่ พี นื้ ทีส่ ว่ นหนึง่ เป็นชายแดนติดกับประเทศ เพื่อนบ้านคือ มาเลเซีย มีชุมชนท่องเที่ยวที่มีเอกลักษณ์และ น่าสนใจไม่น้อย นั่นก็คือ ที่บ้านโต๊ะโมะ ในต�ำบลภูเขาทอง ดินแดนแห่งนี้มีแร่ทองค�ำมาก โดยมีเหมืองทองค�ำโต๊ะโมะ ซึ่งสร้างก่อนปี พ.ศ. 2474 โดยมีชาวฝรั่งเศสได้รับสัมปทาน การท�ำเหมืองแร่ทองค�ำที่ภูเขาโต๊ะโมะ ปัจจุบันมี “เหมืองทองค�ำ โต๊ะโมะ” ทีย่ งั คงสภาพใกล้เคียงของเดิม แต่เลิกกิจการไปนานแล้ว และ “อุโมงค์ล�ำเลียง” ที่เป็นอุโมงค์ใต้ภูเขา ใช้ส�ำหรับขนส่งแร่ และเครื่องมือต่างๆ เมื่อสมัยยังเปิดเหมืองทองค�ำ
การ “ร่อนทอง” ทีน่ จี่ ะมีการน�ำอุปกรณ์รอ่ นทองทีช่ าวบ้าน ทีน่ เี่ รียกกันว่า “ชะเลียง” หรือ “เลียง” อุปกรณ์รอ่ นทองรูปร่าง คล้ายกระทะท�ำจากไม้หลุมพอ แล้วไปยืนในต�ำแหน่งน�้ำไหล ที่น่าจะมีแร่ทองค�ำลงไปร่อนแร่ แล้วร่อนไปเป็นรอบๆ ไม่นาน ก็ได้ทองค�ำขึ้นมา อีกกิจกรรมที่น่าสนใจไม่น้อยก็คือ “ล่องแก่งภูเขาทอง” ซึ่ง จะเป็นการล่องแก่งด้วยเรือคายักไปตามต้นน�ำ้ สายบุรี ทีม่ ธี รรมชาติ อันงดงาม การเที่ยวชม “เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา” ทีถ่ อื เป็นแหล่งนกเงือกทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของเมืองไทย มีไฮไลต์สำ� คัญคือ “ต้นกะพงษ์ยักษ์” หรือ “ต้นสมพง” ขนาดใหญ่มากอายุนับร้อยปี ทั้งยังมีกลุ่มอาชีพต่างๆ ในชุมชน เช่น การท�ำเสื่อกระจูด ย่านลิเภา เรือกอและจ�ำลอง รวมทั้งงานหัตถกรรมต่างๆ เช่น กลุ่มทอผ้าไหม จักสานไม้ไผ่ จักสานย่านลิเภา ปักผ้า แกะสลักไม้ ที่น่าสนใจคือ ในต�ำบลภูเขาทอง นอกจากชาวนราธิวาสที่ เป็นชาวภาคใต้แล้ว ก็ยงั มีราษฎรทีอ่ พยพมาจากทีอ่ นื่ ๆ โดยเฉพาะ จากภาคอี ส าน ซึ่ ง ได้ น� ำ ประเพณี วั ฒ นธรรมติ ด ตั ว มาด้ ว ย โดยเฉพาะประเพณีบุญบั้งไฟที่มีการจัดขึ้นเพียงหนึ่งเดียวใน ภาคใต้ที่ อ�ำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส (จัดขึ้นประมาณวันเสาร์ ที่ 2 ของเดือนมิถุนายน ของทุกปี) หากมาเที่ยวในช่วงเดือนสิงหาคม ซึ่งเป็นช่วงฤดูกาลผลไม้ จะได้ชมิ ผลไม้อร่อยๆ จากต้น โดยเฉพาะทุเรียนบ้าน และสามารถ แวะกราบไหว้ศาลเจ้าแม่โต๊ะโมะ องค์เทพธิดาแห่งท้องทะเล โดยมีต�ำนานเรื่องเล่าที่มาของท่าน ณ เหมืองทองค�ำที่เขาโต๊ะโมะ
กิจกรรมเด่น : ทดลองร่อนทอง ชมฟ้อนร่อนทอง ล่องแก่งภูเขาทอง ชมต้นกะพงยักษ์ ชิมเมนูอาหารท้องถิ่น เช่น แกงอ้อดิบ น�้ำอัญชัน พักในที่พักแบบ โฮมสเตย์ สินค้าชุมชนเด่น : เสื่อกระจูด ย่านลิเภา เรือกอและจ�ำลอง ผ้าไหม งานจักสานไม้ไผ่ งานแกะสลักไม้ ที่ตั้งชุมชน : บ้านโต๊ะโมะ หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลภูเขาทอง อ�ำเภอสุคริ นิ จังหวัดนราธิวาส 96190 Website www.phukao-thong.go.th 182
183
85 ชุมชนกือดาจีนอ ปัตตานี
เดินเล่นเมืองเก่า เล่าเรื่องไชน่าทาวน์แดนใต้ เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่า ในหน้าประวัติศาสตร์อันยาวนานของ ภาคใต้ พี่น้องชาวไทยเชื้อสายจีน ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานเมื่อ หลายร้อยปีกอ่ นคือ หนึง่ ในฟันเฟืองส�ำคัญช่วยขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ ให้เฟื่องฟู อย่างในย่านเมืองเก่าปัตตานี ซึ่งมีพหุวัฒนธรรม จีน มุสลิม และไทย อาศัยอยู่ร่วมกันมาหลายชั่วอายุคนแล้ว ชุมชนหัวตลาดหรือ “ชุมชนกือดาจีนอ” ตามภาษามลายูคอื ชุมชนชาวจีนในถนนอาเนาะรู กลางเมืองปัตตานี สันนิษฐานว่า ก่อตั้งขึ้นสมัยรัชกาลที่ 3 โดยชาวจีนกลุ่มแรกอพยพเข้ามาจาก มัสยิดกรือเซะ แล้วอัญเชิญรูปสลักเจ้าแม่ลมิ้ กอเหนีย่ วมาประดิษฐาน ในศาลเจ้าพระหมอ จนกลายเป็นศาลเจ้าแม่ลมิ้ กอเหนีย่ ว ทีอ่ วลด้วย กลิ่นธูปควันเทียนแห่งศรัทธา ปัจจุบันถนนอาเนาะรู ถูกขนาบด้วยชุมชนมุสลิมและไทย พุทธคือ ถนนปัตตานีภิรมย์และถนนฤาดี จึงเรียกรวมย่านนี้ว่า “อา-รมย์-ดี” ตามชื่อ 3 ถนนสายหลักเชื่อมโยงกัน
จุดเด่นแรกที่เตะตาผู้มาเยือนคือ สถาปัตยกรรมอาคารเก่า เรียงรายนับร้อยหลัง แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ เรือนไม้ชนั้ เดียว หน้าแคบ แต่ ลึ ก เข้ า ไป ส่ ว นแบบที่ ส องคื อ อาคารสไตล์ ชิ โ น-โปรตุ กี ส ซึ่งต่างจากของเมืองเก่าภูเก็ตหรือตะกั่วป่า เพราะของปัตตานี ส่วนใหญ่เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ ยืนเด่นเป็นประจักษ์พยานถึงอดีต อันรุ่งเรือง บ้ า นเลขที่ 27 เป็ น อาคารเก่ า อั น ทรงคุ ณ ค่ า เป็ น อดี ต บ้านหลวงส�ำเร็จกิจกรจางวาง (ปุ่ย แซ่ตัน) ข้าหลวงผู้ดูแลชุมชนนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ท่านได้สัมปทานท�ำเหมืองแร่ดีบุกที่บันนังสตา จังหวัดยะลา แล้วน�ำมาขึน้ ทีท่ า่ เรือปัตตานี เพือ่ ลงเรือส่งต่อไปขาย ยังเกาะปีนังและสิงคโปร์ ต่อมายุคหลังเมื่อเมืองปัตตานีขยายตัว คนจีนส่วนหนึ่งก็ย้ายออกไป ท�ำให้ชุมชนกือดาจีนอเงียบเหงาลง กระทั่งได้รับการฟื้นฟูขึ้นอีกครั้ง
บ้านเรือนเก่าทรงคุณค่า ยังมี “บ้านเลขที่ 1” หัวมุมถนน อาเนาะรู เป็นตึกชิโน-โปรตุกสี ทีส่ มบูรณ์แบบ บ้านเลขที่ 5 และ 203 (ม.อ.ปัตตานีภริ มย์) จัดแสดงภาพถ่าย เรือ่ งราวความเป็นมาในอดีต ย้อนวันวานให้คดิ ถึง “บ้านพิทกั ษ์รายา” พ.ศ. 2460 เป็นพิพธิ ภัณฑ์ ชุมชน เล่าเรื่องประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และวิถีผู้คนได้อย่าง เด่นชัด รวมถึง “บ้านธรรมศาลา” พ.ศ. 2463 ก็มีสถาปัตยกรรม โดดเด่น นอกจากนี้ยังมีร่องรอย “ก�ำแพงเมืองเก่า”ของอดีตผู้ช่วย เจ้าเมืองปัตตานีในอดีต หลงเหลือให้ชมอยู่ส่วนหนึ่ง น่าเสียดายที่ ตัววังถูกรื้อไปหมดแล้ว สร้างเป็นโรงเรียนภาษาจีนจ้องฮั้วขึ้นแทน
เดินทอดน่องชมตึกรามบ้านช่อง ถ่ายภาพ Street Art สวยๆ แวะสั ก การะศาลเจ้ า แม่ ลิ้ ม กอเหนี่ ย ว เทพเจ้ า แห่ ง โชคลาภ และความซื่อสัตย์ ชมพิพิธภัณฑ์ของท่านที่บอกเล่าเรื่องราวถึง การล่ อ งเรื อ เข้ า มาตามพี่ ช ายลิ้ ม โต๊ ะ เคี่ ย มผู ้ ห ล่ อ ปื น ใหญ่ พญาตานีให้เจ้าเมืองปัตตานี ชาวปัตตานีได้ร่วมกันจัดงานฉลอง ศาลเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว ทุกวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 อย่างยิ่งใหญ่ ตระเวนเทีย่ วกันเหนือ่ ยแล้ว ต้องไปนัง่ พักผ่อนที่ “ร้านโรงเตีย๊ ม” ร้านอาหารบรรยากาศย้อนยุค ที่ปรับโฉมจากอาคารจีนโบราณ ชิมข้าวมันไก่ไหหล�ำ น�้ำจิ้มรสเด็ด ต่อด้วยข้าวย�ำใบยอพื้นบ้าน น�ำ้ บูดเู ข้มข้น แล้วล้างปากด้วยขนมเต่าแดง ขนมมงคลสูตรโบราณ หรือจะเดินไปที่ร้านโย่ฮุ่ย ชิมขนมโอ้เอ๋ว (หรือโอ๊ะเอ๋ว) ใส่น�้ำแข็ง น�้ำเชื่อมหวานเย็นชื่นใจ มีสรรพคุณช่วยแก้ร้อนใน ดับกระหาย ได้อย่างดี นีค่ อื ชุมชนอบอุน่ น่าเทีย่ ว เมืองงาม 3 วัฒนธรรม ของพีน่ อ้ ง ชาวจีน มุสลิม และไทยพุทธ “กือดาจีนอ” ไชน่าทาวน์แห่งปักษ์ใต้ ไม่ไปสัมผัสด้วยตัวเองคงไม่รู้
กิจกรรมเด่น : สักการะศาลเจ้าแม่ลมิ้ กอเหนีย่ ว ชมพิพธิ ภัณฑ์เจ้าแม่ลมิ้ กอเหนีย่ ว เดินชมสถาปัตยกรรมเก่าย้อนยุค สวยงาม ทรงคุณค่า ชิมอาหาร พื้นบ้านผสมผสานรสชาติ ไทย-จีน-มุสลิม ที่ร้านโรงเตี๊ยม สินค้าชุมชนเด่น : เกี้ยวไม้จำ�ลองฉลุลายแบบจีนน่ารักเก๋ไก๋ อาหารทะเลแห้ง เช่น หมึกแห้ง กุ้งแห้ง ปลาแห้ง ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนกือดาจีนอ ถนนอาเนาะรู ตำ�บลอาเนาะรู อำ�เภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000 กือดาจีนอ
184
185
86 บ้านบางปู ปัตตานี
มหัศจรรย์อโุ มงค์โกงกาง เสน่หท ์ อ ่ งเทีย ่ วสูว ่ ถ ิ อ ี นุรก ั ษ์ ปัตตานี มีธรรมชาติสวยสดงดงามน่าไปเทีย่ วชม ทัง้ หาดทราย สงบสวยบริสุทธิ์อยู่เรียงรายหลายแห่ง รวมถึงแนวป่าชายเลน หนาแน่นหลายหมื่นไร่ บริเวณปากอ่าวปัตตานี บ่มเพาะวิถีผู้คน บนความผูกพันกับธรรมชาติอย่างกลมกลืน จนแยกกันแทบไม่ออก บ้านบางปู อ�ำเภอยะหริ่ง คือชุมชนชาวมุสลิมเล็กๆ ที่อาศัย ความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลน บริเวณล�ำคลองด้านในของ อ่าวปัตตานี ตั้งรกรากหากินกันมาหลายชั่วอายุคน โดยยึดถือ วิถีประมงพื้นบ้าน แล่นเรือออกหากุ้ง หอย ปู ปลา ที่มีไม่เคยขาด ในครัวธรรมชาติผืนป่าชายเลนมาเลี้ยงชีพ
186
ชุมชนที่สงบเรียบง่ายและพอเพียง ตั้งอยู่ในป่าชายเลน ที่มีล�ำคลองน้อยใหญ่ คดเคี้ยวลัดเลาะไปในร่มไม้สีเขียวของ ดงโกงกาง และพันธุไ์ ม้อนื่ ๆ นับไม่ถว้ น ท�ำหน้าทีเ่ หมือนปราการ ธรรมชาติปอ้ งกันคลืน่ ลมแรง และเป็นเสมือนทีอ่ นุบาลสัตว์ทะเล วัยอ่อนให้เติบใหญ่ กลายเป็นสิ่งมีชีวิตในห่วงโซ่อาหารที่ไม่เคย ขาดพร่อง จากชุมชนประมงพื้นบ้าน วันนี้บ้านบางปูได้พัฒนาสู่การ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ น�ำผู้คนเข้าชมความงาม และความน่า ตื่นตาตื่นใจของป่าชายเลนผืนใหญ่ ด้วยการล่องเรือเข้าไปในป่า ชายเลน ชม “อุโมงค์โกงกาง” ยาวกว่า 700 เมตร ลักษณะเป็น ต้นโกงกางขนาดใหญ่ โน้มเรือนยอดและกิง่ ก้านเข้าหากัน จนกลาย เป็นอุโมงค์ธรรมชาติสีเขียวยาวเหยียด ให้เราล่องเรือผ่านไปอย่าง ช้าๆ น่าประทับใจที่สุด นอกจากนีร้ ะหว่างทางยังสามารถพบเห็นนกยาง นกกาน�ำ้ เล็ก นกกระเต็นฯลฯ อาศัยหากินอยู่ในราวป่า หรือถ้าเป็นช่วงน�้ำลด ก็สามารถจอดเรือแวะลงไปเดินในป่าชายเลน เพือ่ หา “หอยลอแก” (หรือหอยกัน) เป็นหอยกาบสองฝาชนิดหนึ่ง ฝังตัวอยู่บนหน้าดิน เลน และจะเปิดฝาออกหากินยามน�้ำขึ้น เราสามารถน�ำมาย่าง รับประทานกับน�้ำจิ้มซีฟู้ด ท�ำแกงหอย หรือหมักเครื่องแกงแบบ มุสลิม เสียบไม้ปิ้งให้สุก กิจกรรมสนุกๆ ยังมีอีกหลายอย่าง เช่น ช่วงเย็นใกล้อาทิตย์ อัสดง ต้องล่องเรือออกไปที่ “เกาะนก” ซึ่งปกคลุมด้วยแมกไม้ เขียวครึ้มของต้นโกงกาง ช่วงโพล้เพล้เหล่านกนับพันตัวที่บิน ออกไปหากินตลอดวัน จะพากันบินกลับมาพักนอนบนเกาะนก มีทั้งนกยางโทน นกปากห่าง นกกาน�้ำเล็ก และเมื่อความมืด โรยตัวลงมา ก็เหมาะจะล่องเรือออกไปดูฝูงหิ่งห้อยกะพริบแสง พร่างพราวในป่าล�ำพู อาหารอร่อยๆ ที่ห้ามพลาดชิม ของชุมชนบ้านบางปู เช่น ย�ำสาหร่ายผมนาง รับประทานแบบเมี่ยง คือห่อในใบพลูกินเป็น ค�ำๆ สาหร่ายผมนางเป็นจ�ำพวกสาหร่ายสีแดงที่รับประทานได้ มีคุณประโยชน์ต่อร่างกาย เมนูถัดมาที่ห้ามพลาดชิมคือ ปูด�ำ ซึ่งต้องบอกเลยว่าทั้งสดและตัวใหญ่มาก วันนีบ้ า้ นบางปูได้กา้ วมาสูก่ ารท่องเทีย่ วควบคูก่ บั การอนุรกั ษ์ ป่าชายเลนให้คงอยู่ เพราะเมือ่ คนดูแลธรรมชาติ ธรรมชาติกจ็ ะดูแล ผู้คนตอบแทน ตราบที่เราหวงแหนป่าริมอ่าวปัตตานีนี้ไว้ตลอดไป
กิจกรรมเด่น : ล่องเรือชมอุโมงค์โกงกาง ชมเกาะนก และอาทิตย์อัสดงลงทะเล เก็บหอยลอแกในป่าชายเลน ล่องเรือชมหิง่ ห้อย ชิมอาหารปักษ์ใต้ ขนานแท้ฝีมือชาวบ้าน เดินชมวิถีชีวิตชุมชน สินค้าชุมชนเด่น : ปูด�ำ ปูม้า หอยลอแก ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนท่องเที่ยวบางปู หมู่2 ต�ำบลบางปุ อ�ำเภอยะหริ่ง จังหวัด ปัตตานี 94150 โทรศัพท์ 086-491-2556 Website www.bangpu.go.th
187
87 ชุมชนเกาะปันหยี พังงา
หมูบ ่ า้ นกลางน�ำ้ ชุมชนและธรรมชาติทก ี่ ลมกลืน
เกาะปันหยี เป็นเกาะเล็ก ๆ มีพื้นที่ราบอยู่ประมาณ 1 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในอ่าวพังงา และบริเวณป่าชายเลนอุทยาน แห่งชาติอ่าวพังงา เป็นหมู่บ้านที่ปลูกสร้างอยู่กลางทะเลโดยไม่มี พืน้ ดิน ด้วยพืน้ ทีเ่ กาะปันหยีมจี ำ� นวนจ�ำกัด ท�ำให้ตอ้ งสร้างบ้านเรือน ร้านค้า และโรงเรียนในน�้ำ เป็นชุมชนมุสลิมตั้งอยู่กลางทะเลมา นานกว่า 200 ปี นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกแวะมาเยี่ยมชมตลอดปี เกาะปันหยีมคี รบครันทัง้ โรงเรียน สถานีอนามัย มัสยิด และร้านค้า อยู่บนเกาะ ที่ โ ดดเด่ น มากๆ เป็ น ไฮไลต์ ส� ำ คั ญ ของเกาะปั น หยี คื อ สนามฟุตบอลลอยน�้ำ แห่งเดียวในประเทศไทย ที่กลายเป็น สัญลักษณ์การท่องเทีย่ วของเกาะปันหยีทโี่ ด่งดังไปทัว่ โลก ทีม่ าจาก ความตั้งใจของเด็ก ๆ ในชุมชน จนพัฒนาเป็นทีม "ปันหยี เอฟซี" นักท่องเที่ยวต่างอยากไปถ่ายสนามฟุตบอลในทะเลกันสักครั้ง วิ ถี ชี วิ ต ของชาวเกาะปั น หยี ก ลมกลื น ไปกั บ ธรรมชาติ บ้านเรือนถูกยกพื้นสูงเพื่อหนีการขึ้นลงของน�้ำทะเล ชาวบ้าน ส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิมทีย่ ดึ ถือธรรมเนียมประเพณีแบบดัง้ เดิม เมือ่ มาทีน่ คี่ ณ ุ จะได้สมั ผัสเสน่หข์ องวัฒนธรรมทีผ่ สมผสานระหว่าง วิถีชาวเกาะและมุสลิมดั้งเดิมอย่างลงตัว
ต้องลงไปชมวิถีชีวิตของชาวบ้านที่เริ่มต้น พร้อมกับแสง แรกของดวงอาทิตย์ เรือต่างๆจะเริ่มออกจากฝั่งเพื่อไปเก็บปลา ในไซที่ดักไว้ และเมื่อการท่องเที่ยวมาถึงที่นี่ คนท้องถิ่นบางส่วน ก็จะเตรียมเรือหรือเปิดร้านค้าเพื่อรอรับนักท่องเที่ยวผู้มาเยือน ซึง่ กลายเป็นรายได้หลักของทีน่ ี่ อาชีพการประมงควบคูไ่ ปกับการ ท่องเทีย่ ว และการขายสินค้าต่างๆ ให้นกั ท่องเทีย่ ว แม้แต่โรงเรียน ก็จะมีนักท่องเที่ยวเดินเข้าไปชมทั้งวัน หมู ่ บ ้ า นกลางทะเลที่ แ สนมี เ สน่ ห ์ และมี ชื่ อ เสี ย งโด่ ง ดั ง ไปทั่วโลก ที่ใครๆ ก็อยากไปสัมผัสสักครั้ง
กิจกรรมเด่น : เยีย่ มชมหมูบ่ า้ นกลางน�ำ ้ สัมผัสวิถชี วี ติ ของคนในชุมชน ทานอาหาร ทะเลอร่อยและสด ชมสนามฟุตลอยน�ำ้ ในต�ำนาน ชอปปิงซือ้ ของฝาก และของที่ระลึก สินค้าชุมชนเด่น : น�้ำพริกกุ้งเสียบ ปลาเค็ม กะปิ อาหารทะเลแปรรูป เครื่องประดับ ที่ท�ำจากหอยมุก ที่ตั้งชุมชน : 60 หมู่ที่ 1 ต�ำบลเกาะปันหยี อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา 82000 โทรศัพท์ 076-481-189 Website www.phangnga.go.th
หนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวที่มีเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร มีความ โดดเด่นเป็นที่เลื่องลือ เป็นเกาะที่มีผู้คนอาศัยอยู่กลางทะเล ใครๆ ก็อยากไปสัมผัสเสน่หว์ ถิ ชี วี ติ ทีเ่ รียบง่าย สงบ และเป็นมิตรของชาว บ้าน ตลอดจนธรรมชาติที่สวยงาม นั่นคือ “เกาะปันหยี” ค�ำว่า "ปันหยี" แปลว่า ธง เป็นศัพท์อนิ โดนีเซีย ซึง่ ในอดีต มีครอบครัวชาวชวา หรือชาวอินโดนีเซีย 3 ครอบครัว หนึ่งใน นัน้ มี "โต๊ะนาบู" เป็นผูน้ ำ� การอพยพออกมาหาทีท่ ำ� กินใหม่ ตกลง กันว่าหากใครพบที่ท�ำกินที่อุดมสมบูรณ์ ให้ปักธงไว้ และกลาย เป็นที่มาของชื่อเกาะปันหยีนั่นเอง
188
189
88 ชุมชนเกาะยาวน้อย พังงา
ผืนนาข้าวแห่งอันดามัน สืบทอดยาวนานนับร้อยปี เกาะยาวน้อย ตั้งอยู่ระหว่างจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ นับแต่การตัง้ รกรากของนายอุเส็น และนายอุสนั เมือ่ ปี พ.ศ. 2328 จนถึงปัจจุบัน ชุมชนมีอายุ 236 ปี ชาวบ้านบนเกาะยาวน้อยส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มีอาชีพประมง ค้าขาย มีเกาะเล็ก เกาะน้อยอยู่รายรอบ เป็นเกาะ ที่เหมาะส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ชอบความสงบ ชื่นชอบธรรมชาติ การพักผ่อนบนเกาะยาวน้อย นอกจากจะเลือกมาพักผ่อนตาม รีสอร์ทต่างๆ แล้ว บนเกาะยาวน้อยยังมีการบริการท่องเที่ยวแบบ โฮมสเตย์ ชื่อว่า “ชมรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โดยชุมชน ชาวเกาะยาวน้อย” ที่ถือว่าเป็นกลุ่มโฮมสเตย์ที่มีชื่อเสียงและ มีการจัดการที่ดี จนได้รับรางวัลมากมาย
ชาวเกาะยาวน้อย ใช้ชวี ติ ในการท�ำประมง สวนยาง และท�ำนา รวมถึงการท่องเที่ยว ควบคู่กับการดูแลทรัพยากรชายฝั่งของ พวกเขา ซึ่งมีวิถีแห่งการท�ำประมง กุ้ง ปู หรือการเลี้ยงปลาใน กระชัง พร้อมร่วมใจกันดูแลสิ่งแวดล้อมให้กับชุมชน ป่าชายเลน
การท� ำ สวนยางพาราเป็ น อาชี พ หลั ก อย่ า งหนึ่ ง ของชาว เกาะยาวน้อย ชาวบ้านจะตื่นตั้งแต่ช่วงตี 3 – ตี 4 เพื่อไปกรีดยาง นอกจากการท�ำสวนยางพาราแล้ว การท�ำประมงยังเป็นอาชีพ หลักอีกอย่างหนึ่ง จะสามารถพบเห็นเรือหัวโทงซึ่งชาวบ้านใช้ใน การท�ำประมงจอดเรียงรายอยูต่ ามชายหาดต่างๆ โดยเฉพาะบริเวณ “หาดแหลมไทร” ซึง่ เป็นหมูบ่ า้ นชาวประมง และพบเห็นการตาก ปลาแห้งไว้เต็มลาน รวมถึงอาชีพการท�ำผ้าบาติก และผ้าปาเต๊ะ ที่มีรูปแบบและลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ของที่นี่ เกาะยาวน้อยมีแหล่งปลูกข้าวทีด่ ที สี่ ดุ ในอันดามันแห่งหนึง่ โดยอนุรักษ์และสืบสานการท�ำนาข้าวเอาไว้ เพราะคนเกาะยาว มีความผูกพันกับการท�ำนามาตั้งแต่บรรพบุรุษถึงปัจจุบันนานนับ 100 ปีมาแล้ว และอาจจะถือได้ว่าแปลงนาของอ�ำเภอเกาะยาว เป็นแปลงนาขนาดใหญ่ผืนสุดท้ายกลางทะเลอันดามันก็เป็นได้ รสชาติก็อร่อย เนื่องจากข้าวที่ปลูกอยู่ในเกาะมีน�้ำทะเลล้อมรอบ ข้าวเกาะยาวมีรสชาติดี
กิจกรรมต่างๆ ของนักท่องเทีย่ ว เช่น เทีย่ วรอบเกาะยาวน้อย ชมวิถชี วี ติ บนเกาะ ดูการท�ำนา ท�ำเครือ่ งมือประมง การท�ำโอทอป ท�ำผ้าบาติก ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ ท�ำผลิตภัณฑ์จากกะลา มะพร้ า ว หรื อ ออกเรื อ กั บ ครอบครั ว ที่ พั ก ไปดู วิ ถี ชี วิ ต ในทะเล ดูการวางอวน กูอ้ วน การเลีย้ งกุง้ มังกรในกระชัง เล่นน�ำ้ ด�ำดูปะการัง ดูระบบนิเวศ รวมถึงเที่ยวตามเกาะใกล้เคียง การท่องเที่ยวเกาะยาวน้อยเป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ซึ่งชุมชนเกาะยาวน้อยนั้นถือเป็น “ต้นแบบ” อีกหนึ่งชุมชนที่ได้ มีการจัดการดูแลด้านสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปพร้อมกับการจัดการ การท่องเที่ยวอย่างสมดุล
กิจกรรมเด่น : ชมวิถชี วี ติ บนเกาะยาว ชมวิถชี วี ติ ชาวเล ดูแลสิง่ แวดล้อมกับชุมชน เช่น ปลูกป่า ชมนาข้าวแห่งอันดามัน สินค้าชุมชนเด่น : ข้าวหอมมะลิเกาะยาว ผ้าบาติก และผ้าปาเต๊ะ ที่ตั้งชุมชน : 20/9 ต�ำบลเกาะยาวน้อย อ�ำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา 82160 โทรศัพท์ 081-968-0877 Website : www.phangnga.go.th
190
191
89 ชุมชนเมืองเก่าตะกั่วป่า พังงา
ถนนสายวัฒนธรรม เมืองประวัติศาสตร์คลาสสิก
กิจกรรมเด่น : เดินเที่ยวชุมชนตะกั่วป่า เช่น สะพานเหล็กบุญสูง (สะพานเหล็กโคกขนุน) ย่านเมืองเก่าตะกั่วป่า โรงเรียนเต้าหมิง บ้านขุนอินทร์ วัดเสนานุชรังสรรค์ วัดคงคาภิมุข พระอุโบสถวัดพระธาตุคีรีเขต สินค้าชุมชนเด่น : ขนมเบือ้ งโบราณป้าหลัน ติม่ ซ�ำร้านจิน้ เก้ง อาหารเช้าสไตล์ฮกเกีย๊ น หมีส่ วั่ โกชาย เย็นตาโฟป้าเปรม ชิม “เต้าส้อ” ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนตลาดใหญ่ ต�ำบลบางนายสี อ�ำเภอตะกัว่ ป่า จังหวัดพังงา 82110 โทรศัพท์ 082-694-9599 Wonderfulphangnga/tatphangnga
เมืองเก่าตะกั่วป่า เสน่ห์ในมุมของวิถีชีวิตและเรื่องราวของ พังงาในอดีต ชุมชนเก่าตะกั่วป่า เคยคึกคักและรุ่งเรืองจากการ เข้ามาท�ำเหมืองแร่ของชาวจีน เมืองตะโกลาในอดีต หรือชื่อปัจจุบันคือ เมืองตะกั่วป่ากับ กลิน่ อายของวัฒนธรรมทีผ่ สมผสานมาตัง้ แต่สมัยยุคโบราณ เพราะ เมืองแห่งนี้ คือเมืองท่าที่ส�ำคัญของหัวเมืองในแดนใต้ส�ำหรับการ ค้าขายและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ทั้งไทย จีน อินเดีย และอาหรับ ปัจจุบันเมืองเก่าตะกั่วป่ายังมีเสน่ห์ชวนค้นหา ทั้งวิถีชีวิต วัฒนธรรม และสถาปัตยกรรมในยุคเหมืองแร่ดีบุกที่เฟื่องฟู ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 7 เอกลักษณ์เฉพาะตัวและเสน่ห์ของเมือง เก่าตะกัว่ ป่าทีย่ งั คงอนุรกั ษ์ไว้จนถึงปัจจุบนั คือ ลักษณะอาคารบ้าน เรือน ตึกแถว มีสีสันลวดลายสวยงามแปลกตา เป็นสถาปัตยกรรม สไตล์ชิโน-โปรตุกีส ผสมผสานระหว่างความเป็นตะวันตกและ ตะวันออกเข้าด้วยกัน โดยเฉพาะที่ถนนศรีตะกั่วป่า ถนนสายหลัก ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางที่ตั้งของชุมชน มีอาคารรูปแบบชิโน-โปรตุกีส อยู่อย่างหนาแน่นและค่อนข้างสมบูรณ์ เมื่อมาชุมชนตะกั่วป่า สถานที่ที่ไม่ควรพลาดแวะชมคือ “ศาลเจ้าพ่อกวนอู” สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองตะกั่วป่า “สะพาน เหล็ ก โคกขนุ น ” มี ค วามยาว 200 เมตร สร้ า งขึ้ น ตั้ ง แต่ ยุ ค เหมืองแร่ดบี กุ เฟือ่ งฟูในตะกัว่ ป่า “โรงเรียนเต้าหมิง” อดีตโรงเรียน สอนภาษาจีนกับสถาปัตยกรรมอันสวยงามคลาสสิก “บ้านขุนอินท์” อาคารเก่าแก่อายุ 100 กว่าปี สไตล์ชโิ น-โปรตุกสี ประยุกต์ สร้างขึน้ ตัง้ แต่ราว พ.ศ. 2460 “วัดเสนานุชรังสรรค์” ภายในมีพระประธาน ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ 192
ก่อนแวะชิม “เต้าส้อ” ขนมของฝากขึ้นชื่อของภาคใต้ที่มี ร้านเจ้าดังอยู่ในชุมชนตะกั่วป่า ซึ่งเปิดบ้านให้ชมการผลิตและ ทดลองท�ำ D.I.Y. ขนมเต้าส้อ ชม “วัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋า” หนึ่งในเอกลักษณ์ของชาวตะกั่วป่ากับชุดแต่งกายอันสวยงาม ของชาวบาบ๋า ชุมชนตะกั่วป่าก็ยังมีสิ่งน่าสนใจอื่นๆ อีก อาทิ ก�ำแพงค่าย หม้อสตรีมไอน�ำ้ เรือกลไฟ วัดหน้าเมือง วัดควนถ�ำ้ ถนนศรีตะกัว่ ป่า ยังมีการวาดสตรีทอาร์ตตามก�ำแพงตามเสา เพื่อบอกเล่าตัวตน ของเมือง เช่น ภาพคนร่อนเร่ ภาพรถสองแถว ภาพสัตว์น�ำโชค ของจีน และความคลาสสิกของร้านรวง ชุมชนตลาดใหญ่ (ตลาดเก่า) เมืองตะกั่วป่า พยายามส่งเสริม รักษาวิถีชีวิต วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นของพวกเขาไว้ คูไ่ ปกับส่งเสริมการท่องเทีย่ ว สร้างอาชีพและรายได้ให้กลุม่ อาชีพ และคนในชุมชน อนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมการด�ำเนินชีวติ ของชาวตะกัว่ ป่า ให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้สืบทอดวัฒนธรรมตลอดไป
193
90 ชุมชนควนขนุน พัทลุง
ความสุขแบบเนิบช้า ชมทะเลบัวและควายน�ำ้ พั ท ลุ ง เมื อ งน้ อ ยน่ า รั ก ทางภาคใต้ ฝ ั ่ ง ตะวั น ออก ที่ นี่ คื อ ดินแดนแห่งความสุข และมีเรื่องราวประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒธรรม ดินแดนแห่งอาหารการกิน สินค้าน่าซื้อ อ�ำเภอควนขนุน คือหนึ่งอ�ำเภอส�ำคัญของพัทลุง ตั้งอยู่ติด ทะเลสาบสงขลาตอนบน สภาพเป็นน�้ำจืด รับน�้ำจากเทือกเขา บรรทัดทางตะวันตก ลงมายัง “ทะเลน้อย” แล้วหลากไหลลงไป เติมเต็มทะเลสาบสงขลา ก่อนออกสู่อ่าวไทย ชุมชนควนขนุนที่ อาศัยอยู่ติดทะเลน้อย จึงมีชีวิตผูกพันอยู่กับธรรมชาติผืนน�้ำอย่าง ลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นการท�ำนาปลูกข้าวพันธุ์สังข์หยดซึ่งก�ำเนิดขึ้น ที่นี่ มีเขาอกทะลุเป็นภูมิทัศน์ส�ำคัญ จนกลายเป็นตราสัญลักษณ์ ประจ�ำจังหวัด และมีทะเลบัวสีชมพู ยิ่งใหญ่สวยงามของภาคใต้ ล่องเรือเทีย่ วชมได้ตลอดปี เป็นแหล่งเดียวในเมืองไทย ทีเ่ ราสามารถ ล่องเรือชมควายด�ำน�้ำกินหญ้าได้อย่างใกล้ชิด ชุมชนควนขนุน ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีล่ มุ่ ชุม่ น�ำ้ อุดมสมบูรณ์ ชาวบ้าน ด�ำรงชีพอย่างเรียบง่ายพอเพียง สงบเนิบช้า อาชีพหลักคือ ท�ำการ เกษตร ปลูกข้าว จับปลาทะเลสาบ และมีฝมี อื ลือเลือ่ งในการทอเสือ่ กระจูด เพราะต้นกระจูดที่ขึ้นอยู่ดาษดื่นริมน�้ำคือ วัตถุดิบชั้นเลิศ ในการน�ำมารังสรรค์เป็นสินค้าชุมชนดีไซน์เก๋ไก๋ ส่งขายทั้งในไทย และต่างประเทศ ชาวบ้านยังมีฝีมือในการแปรรูปกะลามะพร้าว เป็นสินค้าของฝากน่าใช้ ทั้งแก้วน�้ำ ชามใส่อาหาร ช้อนส้อม ทัพพี ตักข้าว แจกัน และโคมไฟสวยๆ เป็นต้น สินค้าชุมชนโดดเด่นที่สุดอย่างหนึ่งของชุมชนควนขนุนคือ “ข้าวสังข์หยด” พันธุข์ า้ วพืน้ เมืองภาคใต้ ทีถ่ อื ก�ำเนิดขึน้ ในจังหวัด พัทลุงมานานหลายชัว่ อายุคนแล้ว ข้าวสังข์หยดมีคณ ุ ค่าทางอาหาร สูง ชาวบ้านมีการน�ำมาต่อยอดแปรรูปเป็นสบู่ข้าวสังข์หยด แชมพู ข้าวสังข์หยด และกาแฟข้าวสังข์หยด ชีวิตที่สงบงาม รวมถึงภูมิทัศน์ธรรมชาติของควนขนุนคือ แม่ เ หล็ ก ดึ ง ดู ด ให้ เ ราท่ อ งเที่ ย วที่ นี่ ไ ด้ ห ลายวั น หนึ่ ง ในนั้ น คื อ “หลาดใต้โหนด” (ตลาดใต้ต้นตาลโตนด) เป็นตลาดนัดเสาร์อาทิตย์ น�ำสินค้าและอาหารชุมชนหลากหลายมาจ�ำหน่าย ภายใต้ บรรยากาศตลาดพื้ น บ้ า นร่ ม รื่ น น่ า เดิ น น่ า นั่ ง พั ก ผ่ อ น มี ล าน วัฒนธรรมแสดงร�ำมโนราห์ และสาธิตเชิดหนังตะลุงให้ชมฟรีด้วย ลองซื้อปลาดุกร้าปักษ์ใต้ สินค้าชื่อดังของควนขนุนมารับประทาน กับข้าวสวยร้อนๆ สัมผัสรสชาติเมนูขึ้นชื่อ 194
จากนัน้ ไปเทีย่ วต่อที่ “นาโปแก” แหล่งท่องเทีย่ วเรียนรูว้ ถิ ขี า้ ว ปักษ์ใต้โดยเฉพาะ และต้องไม่พลาด “หลาดป่าไผ่” (ตลาดป่าไผ่) ตลาดนัดเสาร์-อาทิตย์ ทีร่ ม่ รืน่ น่าเดินสุดๆ ในสวนทีร่ วมไผ่ไว้เกือบ ร้อยสายพันธุ์ บวกกับมีของกิน สินค้า การแสดงพื้นเมืองด้วย ส่งท้ายความประทับใจ ด้วยการตื่นเช้าล่องเรือออกไปดู พระอาทิตย์ขึ้นที่ปากประ ซึ่งน�้ำจากทะเลน้อยไหลออกสู่ส่วนบน ของทะเลสาบสงขลา ดูยอยักษ์อาบแสงแรกของตะวัน จากนั้น ขับรถเที่ยวบนสะพานเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ เชื่อมอ�ำเภอ ควนขนุน พัทลุง-อ�ำเภอระโนด สงขลา โบกมือลาผู้คน ผืนน�้ำกว้าง ทะเลบัว และฝูงนกที่บินร่อนไปมาอย่างอิสระเสรี
กิจกรรมเด่น : ล่องเรือชมทะเลบัวและดูนกน�ำ้ ทีท่ ะเลน้อย ล่องเรือชมพระอาทิตย์ ขึ้นที่ปากประ เยี่ยมกลุ่มผู้ผลิตข้าวสังข์หยด เที่ยวหลาดใต้โหนด หลาดป่า ไผ่ และนาโปแก ขับ รถเที่ ย วบนสะพานยาวที่ สุด ใน ประเทศไทย สินค้าชุมชนเด่น : ข้าวสังข์หยดอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว เครื่องจักสาน จากต้นกระจูด ปลาดุกร้าปักษ์ใต้ ปลาลูกเบร่ทะเลสาบ ที่ตั้งชุมชน : ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลควนขนุน เลขที่ 222 หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลควนขนุน อ�ำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 93110 โทรศัพท์ 074-681-525 Website www.khuankhanuncity.go.th 195
91 ชุมชนเมืองเก่า ภูเก็ต
โอลด์ทาวน์เคียงคูต ่ ก ึ ชิโน-โปรตุกส ี หลากสีสน ั
ในอดีตเกาะภูเก็ต คือแหล่งทรัพยากรแร่ดบี กุ ทีม่ รี าคาสูง เป็น แหล่งค้าขายดีบุกที่เฟื่องฟูอย่างมาก ในย่านเมืองเก่าภูเก็ตแห่ง นี้ ถูกพัฒนามาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งอยู่ในช่วงทองแห่งการค้า ดีบุก จึงมีชาวต่างชาติทั้งชาวจีน อินเดีย อาหรับ และยุโรป เข้ามา ท�ำการค้าและอยู่อาศัยเป็นจ�ำนวนมาก เช่นเดียวกันเมืองท่าอื่นๆ ในแหลมมลายู เช่น ปีนัง มะละกา และสิงคโปร์ การเข้ามาของชนชาติตา่ งๆ นีเ้ อง ก่อให้เกิดการผสมผสาน ทั้งวัฒนธรรม อาหารการกิน ภาษาพูด การแต่งกาย รวมไปถึง สถาปัตยกรรมที่อยู่ในเมืองภูเก็ต อาคารแบบทีเ่ ห็นในย่านเมืองเก่าภูเก็ตนัน้ เริม่ สร้างขึน้ ครัง้ แรก ในราวปี พ.ศ. 2446 เป็นการผสมผสานสถาปัตยกรรมระหว่าง เอเชียกับยุโรป เกิดเป็นอาคารในสไตล์ “ชิโน-โปรตุกสี ” และได้รบั ความนิยมก่อสร้างขึ้นมามาก ในยุคที่ พระยารัษฎานุประดิษฐ์ มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็นสมุหเทศาภิบาลส�ำเร็จราชการ 196
ผู้ไปเยือนจะรู้สึกสะดุดตากับตึกเก่าที่ตั้งตระหง่านอยู่ใน ย่านการค้าเก่าเเก่ของเมือง เป็นอาคารสไตล์ "ชิโน-โปรตุกีส" ที่ ผสมผสานเอาความเป็นศิลปะตะวันตกและตะวันออกเข้าไว้ด้วย กันอย่างกลมกลืน ตึกเหล่านี้กระจายอยู่ทั่วตัวเมืองภูเก็ต และยัง มีรา้ นอาหารอร่อยหลายร้าน ให้เดินเทีย่ วชมเมืองและรับประทาน อาหารอย่างเพลิดเพลิน จังหวัดภูเก็ตได้อนุรกั ษ์รปู แบบสถาปัตยกรรมชิโน-โปรตุกสี นีไ้ ว้ และจัดให้มเี ส้นทางเดินชมเมืองเก่าภูเก็ต เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ ว ได้สัมผัส กับความสวยงามของบ้านเรือนเก่าแก่ของภูเก็ตและ สถาปัตยกรรมชิโน-โปรตุกีส จุดเด่นของเมืองเก่าแห่งนี้คือ พื้นที่โดยรอบ ประกอบด้วย ถนนรั ษ ฎา ถนนพั ง งา ถนนเยาวราช ถนนกระบี่ ถนนดี บุ ก ถนนถลาง มีสถาปัตยกรรม อาคารบ้านเรือนรูปแบบชิโนโปรตุกีส เริ่มที่บ้านเลขที่ 92 ตั้งอยู่ท่ีถนนถลาง ด้านหน้าเป็นร้านกาแฟ บรรยากาศแบบบ้านโบราณ ก่อนจะเข้าไปที่ครัวบาบ๋าหลังบ้าน ท�ำอาหารเมนูเลื่องชื่อ หมี่ผัดฮกเกี๊ยนต้นต�ำรับเมืองทุ่งคา เปิดประสบการณ์สัมผัสวิถีวัฒนธรรมบาบ๋า ท่องอดีตเรื่อง ราวความหลัง ณ พิพิธภัณฑ์ภูเก็ตไทยหัว สถานที่แห่งนี้เดิมเป็น โรงเรียนสอนภาษาจีนแห่งแรกในจังหวัดภูเก็ต ซึ่งชาวจีนฮกเกี้ยน บรรพบุรุษชาวจีนรุ่นแรก ที่อพยพมาอยู่ที่ภูเก็ตได้ร่วมกันตั้งขึ้น
ตั ว อาคารแบบชิ โ น-โปรตุ กี ส ที่ เ ห็ น ในปั จ จุ บั น นี้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. 2477 ชิมปุ้นเต่โก้ย ต�ำนานขนมพื้นเมืองท่ามกลางบรรยากาศ ตึกเก่าเตียมฉู้ ของท่านขุนนิเทศจีนารักษ์ ไหว้พระขอพรที่อ๊าม แสงธรรมศาลเจ้าร่วม 120 ปี คู่เมืองทุุ่งคา ลัดเลาะซอยรมณีย์ อดีตรมณียส์ ถานยุคเหมืองแร่ ชมศิลปะร่วมสมัยกับภาพสตรีทอาร์ต น้องมาร์ดี ของศิลปิน Alex Face ที่นักท่องเที่ยวนิยมมาถ่ายภาพ ร่วมอนุรักษ์ อาชีพตีเหล็ก ที่ในอดีตเคยรุ่งเรือง ณ ที่แห่งนี้ ตึกเก่าสุดคลาสสิกเหล่านี้ถูกปรับปรุง พัฒนา มีอาคารสีสัน สดใสหลากสี ทั้งชมพู เหลือง น�้ำเงิน ฯลฯ ส่วนใหญ่ก็ปรับเปลี่ยน มาเป็นร้านค้า ร้านอาหาร ร้านกาแฟ คาเฟ่ตา่ งๆ รวมถึงทีพ่ กั ขนาด เล็ก โดยตึกเหล่านี้จะมีอยู่ทั้งสองข้างทางของถนนหลายสาย เช่น ถนนถลาง ถนนดีบุก ถนนพังงา ถนนเยาวราช ซอยรมณีย์ เป็นต้น เมืองเก่าภูเก็ตจึงนับได้ว่าเป็นเส้นทางย้อนอดีตที่ควรค่าแก่ การศึกษายิง่ และยังเต็มไปด้วยหลากหลายเรือ่ งราวชีวติ วัฒนธรรม และความเป็นอยู่ของคนภูเก็ต ไม่แปลกใจเลยว่า ท�ำไมย่านเมือง เก่าภูเก็ต กลายเป็นจุดท่องเที่ยวที่มีเสน่ห์ ดึงดูดให้ใครต่อใคร เข้ามาสัมผัส และเป็นแหล่งอารยธรรมที่ทรงเสน่ห์และน่าค้นหา เหมือนได้ผ่านกาลเวลาย้อนสู่อดีต
กิจกรรมเด่น : เดินเที่ยวชมย่านเมืองเก่า ทั้งโรงแรม ที่พัก ร้านอาหาร คาเฟ่ พิพิธภัณฑ์ ธนาคาร ร้านขายยา ออฟฟิศ ร้านกาแฟ สินค้าชุมชนเด่น : ร้านขายของพื้นเมือง แหล่งจำ�หน่ายเสื้อผ้า บาบ๋า ย่าหยา และ สินค้าโอทอปต่างๆ ที่ตั้งชุมชน : 52/1 ถนนนริศร อำ�เภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 โทรศัพท์ 076-212-196 Website : www.phuketcity.go.th มณฑลภูเก็ต ในช่วงปี พ.ศ. 2444-2456 จนท�ำให้ทกุ วันนี้ “เมืองเก่า ภูเก็ต หรือ Phuket Old Town” พาเดินย้อนเวลาไป “ชมเมืองเก่า เล่าความหลัง” สัมผัสวิถีเสน่ห์เมืองทุ่งคาอย่างใกล้ชิด
197
92 บ้านบางโรง ภูเก็ต
ท่องเทีย ่ วเชิงอนุรก ั ษ์ จากภูผาถึงทะเล บ้านบางโรงถือเป็นอีกหนึง่ ไข่มกุ เม็ดงามแห่งอันดามัน ชุมชน ชาวไทยมุสลิมที่อยู่ในพื้นที่ ที่เป็นแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติ ป่ า ชายเลนที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ชุ ม ชนมี ทั ศ นี ย ภาพที่ ส วยงามเป็ น ธรรมชาติ มีวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม และประมง และได้รบั รางวัลมากมาย อาทิ รางวัลหมูบ่ า้ น OTOP Village Champion รางวัลแผนแม่บทชุมชนดีเด่น ระดับเขต 8 รางวัลหมู่บ้านเขียวขจี รางวัลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง รางวัล หมู่บ้านวิสาหกิจชุมชนดีเด่น รางวัลชุมชนดีเด่นจากการประกวด รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยประจ�ำปี 2553 ชุมชนแห่งนี้เคยเป็นศูนย์กลางการปกครองที่มีชื่อว่าเมือง ถลางบางโรงในอดีตเกือบ 200 ปี ชาวบ้านบางโรงส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพท�ำประมงพืน้ บ้าน ท�ำสวนและรับจ้างทัว่ ไป บ้านบาง โรงตัง้ อยู่ระหว่างภูเขาและทะเล ด้วยท�ำเลที่ดนี ี้ ท�ำให้บ้านบางโรง มีทรัพยากรทัง้ ภูเขาและทะเล ทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ ชาวบ้านยังท�ำสวนยาง กรีดยาง ท�ำสวนมะพร้าว เลีย้ งแพะ ท�ำสวนผสม วิถีชีวิตของชาวบ้านแบบเดิมๆ ให้ได้เห็นได้สัมผัส ไปดูการเลีย้ งปลาในกระชังของชาวบ้าน ทัง้ ปลากะพงขาว ปลา กะพงแดง และปลาเก๋า ล้วนแต่เป็นปลาเศรษฐกิจ 3 ชนิดหลักๆ ที่ท�ำรายได้เป็นอย่างดี ทีน่ ยี่ งั มีกจิ กรรมพายเรือแคนนูศกึ ษาระบบนิเวศคลองบางโรง ชมความงามของป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์ ชมวิถีชีวิตชาวบ้านที่มี ความผูกพันกับป่าชายเลน ด้วยแนวคิดท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์จาก ภูผาถึงทะเล
นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมอืน่ ๆ เช่น การชมสวนผลไม้นานาชนิด มีทั้งสวนสับปะรด ล�ำไย ลองกอง มังคุด และผลไม้ท้องถิ่นอื่นๆ เที่ยวชมฟาร์มแพะ มีกิจกรรมพาไปเรียนรู้ป่าชายเลนอันอุดมสมบูรณ์ที่ชาวบ้าน ร่วมกันอนุรักษ์ไว้ มีเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติให้ได้เดินเที่ยวชม กันอย่างเพลิดเพลิน ได้สูดอากาศบริสุทธิ์ ได้ชมลิงแสมที่มาอาศัย ป่าชายเลนนี้เป็นบ้าน หรือจะร่วมท�ำกิจกรรมปลูกป่าชายเลน อย่างโกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ และต้นแสม รวมถึงกิจกรรม 198
“สองล้อวัฒนธรรม” ขีจ่ กั รยานชมธรรมชาติ และวิถชี วี ติ ความเป็น อยูข่ องชุมชนระยะทาง 2 กิโลเมตร ชมบ้านโบราณ ก�ำแพงโบราณ อายุ 100 ปี ป้ายจารึกประวัตศิ าสตร์ เมืองถลาง - บ้านบางโรง นับเป็นอีกชุมชนทีม่ งุ่ แสวงหาองค์ความรู้ การอนุรกั ษ์ทรัพยากร ธรรมชาติ การน้อมน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ และการสร้างสังคมอยูด่ มี สี ขุ ท�ำให้ชมุ ชนมีภมู คิ มุ้ กันทัง้ ทางเศรษฐกิจ และสังคม สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
กิจกรรมเด่น : ล่องคลองบางโรง ชมป่าชายเลน ฝูงลิงแสมและปูก้ามดาบ ปลูก ป่าโกงกาง นั่งเรือประมงไปตกปลา ตกหมึกกับชาวบ้านยามค�่ำคืน พายเรือคายัคศึกษาระบบนิเวศคลองบางโรง ชมความงามของ ป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์ ชมฟาร์มแพะ ชมและชิมสับปะรด ภูเก็ต ชมสวนมะพร้าว การกรีดยาง รับประทานอาหารทะเลสดที่ ครัวชุมชนบางโรง สินค้าชุมชนเด่น : ผลไม้นานาชนิด ทั้งสวนทุเรียน ลองกอง มังคุด จ�ำปาดะ มะพร้าว สับปะรดภูเก็ต นมแพะ ยางพารา ที่ตั้งชุมชน : ท่องเทีย่ วโดยชุมชนบ้านบางโรง หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลป่าคลอก อ�ำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 83110 โทรศัพท์ 084-309-9131 ท่องเที่ยวชุมชนบางโรง 199
จุดห้ามพลาดชมในเขตเมืองเก่ามีหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น “ตู้ไปรษณีย์ใหญ่ที่สุดในเมืองไทย” ตั้งอยู่ตรงวงเวียนหอนาฬิกา ปัจจุบันยังเปิดใช้งานปกติ และเป็นจุดที่ถูกถ่ายภาพมากที่สุดแห่ง หนึ่งของเบตง ติดๆ กันนั้นคือ “หอนาฬิกาเบตง” ตั้งอยู่กลางวง เวียนที่มีรถราแล่นไปมาตลอดวัน เอกลักษณ์การสร้างที่งดงาม ด้วยสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ผสานกลิ่นอายแบบภาคใต้ ยามค�่ำคืน มีไฟส่องประดับถ่ายภาพได้สวย จากนัน้ เดินต่อไปอีกไม่กรี่ อ้ ยเมตร ก็ถงึ “อุโมงค์เบตงมงคลฤทธิ”์ อุโมงค์ถนนลอดภูเขาแห่งแรกของ ไทย ยาว 268 เมตร มีการประดับประดาด้วยไฟสีสดใส จนกลาย เป็นอีกหนึ่งไฮไลต์ของเมืองเก่าเบตงไปโดยปริยาย เมืองเก่าเบตงเป็นแหล่งรวมอาหารอร่อย ทั้งสามมื้อใน แต่ละวันจึงมีคุณค่าน่าลิ้มลอง เช้าๆ ออกไปนั่งในสภากาแฟแบบ คนใต้ รับประทานติม่ ซ�ำหลากชนิดละลานตา คูก่ บั เครือ่ งดืม่ ร้อนๆ ต้อนรับวันใหม่ มื้อกลางวันต้องตามไปชิม “ไก่เบตงแท้ๆ” เนื้อไก่ เหนียวนุม่ ละมุนลิน้ หนังบางสีเหลืองอ่อน เนือ้ ก็แน่น รับประทานคู่ กับน�ำ้ จิม้ เต้าเจีย้ วใส่ขงิ รับรองอร่อยลืมไม่ลง ส่วนมือ้ เย็นต้องเข้าไป ที่ร้านอาหารจีนในตัวเมือง สั่งเมนูเฉพาะหาชิมยากของเบตง อาทิ ผัดผักน�้ำเบตง ปลาจีนนึ่งซีอิ๊ว และกบภูเขาทอดกระเทียม เป็นต้น
93 ชุมชนเมืองเก่าเบตง ยะลา เทีย ่ วใต้สด ุ แดนสยาม ความงามสุดประทับใจ
ท่ามกลางทะเลหมอกและอากาศเย็นสบาย ตลอดปี ข องภาคใต้ ต้องไปสัม ผัสด้ว ยตัว เองที่ “อ�ำเภอเบตง” จังหวัดยะลา เมืองใต้สุดแดน สยามที่ทอดตัวอยู่อย่างเงียบสงบใกล้ชายแดน ไทย-มาเลเซีย ในเทือกเขาสันกาลาคีรีที่สลับซับ ซ้อน ปกคลุมด้วยป่าดิบเขียวชอุม่ อากาศเย็นสบาย น่าไปพักผ่อน แม้เบตงจะอยูใ่ นพืน้ ทีห่ า่ งไกล จนกลายเป็น อ�ำเภอเดียวในเมืองไทยที่มีทะเบียนรถ “เบตง” เป็นของตัวเอง ทว่าชุมชนเมืองเก่า ณ ทีน่ กี้ ม็ เี สน่ห์ เย้ายวน จนผูค้ นจากทัว่ สารทิศเดินทางมาเทีย่ วชม มิได้ขาด เพือ่ สัมผัสธรรมชาติปา่ เขา สายน�ำ ้ อากาศ
200
เย็นฉ�่ำหายใจได้โล่งปอด และชมสายหมอกขาว บางเบา ลอยลงห่มคลุมตัวเมืองเบตงไว้ทุกเช้าตรู่ แม้จะมีผู้คนหลากเชื้อชาติวัฒนธรรม แต่ก็อาศัย อยูร่ ว่ มกันอย่างสมานฉันท์ ทัง้ พีน่ อ้ งชาวจีน มุสลิม และไทยพุทธ ท�ำให้ชุมชนเบตงน่าอยู่ ใจกลางอ�ำเภอเบตงคือ เขตย่านเมืองเก่าที่มี อาคารบ้านเรือน และสถาปัตยกรรมแห่งอดีตให้ ชื่นชม ท�ำให้รู้สึกเหมือนเดินทางย้อนเวลาหาอดีต เยือนยลตึกรามบ้านช่องทีม่ เี รือ่ งราว ผ่านร้อนผ่าน หนาวมาเนิ่นนาน เติมด้วยการน�ำศิลปะภาพวาด Street Art เข้ามาในย่านเมืองเก่า เพิ่มเสน่ห์น่า ดึงดูดมากขึน้ ทัง้ ภาพการนัง่ ดืม่ น�ำ้ ชาในสภากาแฟ แบบปักษ์ใต้ ภาพติ่มซ�ำ และภาพวิถีชีวิตต่างๆ
นักชิมหน้าเก่าและหน้าใหม่บอกตรงกันว่า สุดยอดจริงๆ และ ถ้าใครได้ไปเยือนเบตงในเดือนสิงหาคม จะได้ชิมหนึ่งในสุดยอด ทุเรียนพันธุ์ “มูซังคิง” ราชาแห่งทุเรียนปักษ์ใต้ ที่ชาวสวนเบตง น�ำพันธุ์เข้ามาปลูกจากมาเลเซีย หากได้ชิมแล้ว จะประทับใจแบบ ไม่รู้ลืม ส�ำหรับคนที่มีเวลาเหลือ จะออกไปท่องเที่ยวใกล้ๆ นอกตัว เมืองเบตงก็ได้ Sky Walk ทะเลหมอกอัยเยอร์เวง สวนพันธุ์ไม้ เมืองหนาว บ่อน�้ำร้อนเบตง สวนผักน�้ำ ฟาร์มปลาจีน อุโมงค์ ปิยะมิตร และอื่นๆ อีกมาก เพราะที่นี่คือ สุดยอดเมืองชายแดน เสน่ห์ที่จะตราตรึงอยู่ในหัวใจเราไปไม่รู้ลืม
กิจกรรมเด่น : เดินเที่ยวชมถ่ายภาพ Street Art ในตัวเมืองเก่า ถ่ายภาพคู่กับ ตูไ้ ปรษณียใ์ หญ่ทสี่ ดุ ในเมืองไทย ชมแสงสียามค�ำ่ คืนทีอ่ โุ มงค์เบตงมงคลฤทธิ์ ชมนกนางแอ่นนับพันตัวทีห่ อนาฬิกา ชมพิพธิ ภัณฑ์เบตง ชิม 5 เมนู ห้ามพลาดคือ ไก่เบตงแท้ วุน้ ด�ำเบตง ผักน�ำ้ เบตง ปลาจีน เบตง กบภูเขาทอดกระเทียม ชิมติ่มซ�ำยามเช้า สินค้าชุมชนเด่น : ผลไม้ตามฤดูกาล เช่น ทุเรียนพันธุ์มูซังคิง วุ้นด�ำเบตง ปลาจีน ผักน�้ำ ไก่เบตง ที่ตั้งชุมชน : ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเมืองเก่าบ้านกาแปะกอตอ 73/1 หมู่ 2 บ้านกาแป๊ะกอตอ ต�ำบลเบตง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา 95110 โทรศัพท์ 073-235-222 Website https://yala.mots.go.th 201
94 บ้านกาแป๊ะกอตอใน ยะลา
ย้อนอดีตวังเก่าราชา ตามหากาแฟโบราณ “ชุมชนศูนย์วัฒนธรรม กาแฟด�ำโบราณ วังเก่าเล่าขาน ต�ำนานรายอซียง” นีค่ อื ค�ำขวัญเชิญชวนท่องเทีย่ วของชุมชนบ้าน กาแป๊ะกอตอใน อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา ชุมชนชาวมุสลิมเล็กๆ แต่เปี่ยมด้วยเรื่องราวประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคียงคู่กับการอยู่ อาศัยใกล้ชดิ ธรรมชาติ สืบสานวัฒนธรรม ภูมปิ ญ ั ญาของบรรพบุรษุ จนกระทั่งกลายเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวในดินแดนใต้สุดของสยาม หมูบ่ า้ นกาแป๊ะกอตอใน ตัง้ อยูไ่ ม่หา่ งจากด่านชายแดนเบตงมาเลเซีย บรรยากาศของชุมชน ร่มรื่นด้วยแมกไม้สีเขียวของสวน สมรมแบบปักษ์ใต้ คือสวนที่ปลูกพืชพันธุ์นานาชนิดผสมกันไว้ ในที่เดียว จึงมีความสมบูรณ์และความหลากหลายของเรือกสวน เป็นดั่งซูเปอร์มาร์เก็ตธรรมชาติข้างบ้าน โดยเฉพาะสวนกาแฟ พันธุ์โรบัสต้าที่ชาวกาแป๊ะกอตอในภูมิใจ เพราะมีต้นกาแฟร้อยปี ให้ชมด้วย สะท้อนถึงความเก่าแก่ของชุมชน และการสืบสานวิถี กาแฟโบราณของชาวมุสลิมให้คงอยู่ ชือ่ หมูบ่ า้ นกาแป๊ะกอตอใน มีความหมายตามศัพท์ภาษายาวี คือ “กาแป๊ะ” หมายถึง “ต้นไม้ชนิดหนึง่ ดอกสีสม้ คล้ายดอกเข็ม” ชอบขึ้นอยู่ใกล้แหล่งน�้ำ ล�ำคลอง น�้ำตก ส่วนค�ำว่า “กอตอ” หมายถึง “เมือง” ที่สืบค้นย้อนไปได้ถึงประวัติศาสตร์การเข้ามา ตั้งกองทัพของราชาซียง (รายอซียง) แห่งอาณาจักรปัตตานีเมื่อ หลายร้อยปีก่อน จึงมีการสร้างก�ำแพงเมืองล้อมรอบไว้ แล้วตั้ง ถิน่ ฐานเป็นหมูบ่ า้ นขึน้ ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ในชุมชนเล่าว่า ในอดีตเคยมีแนว ก�ำแพงเก่าสูง 2-3 เมตร แต่ปจั จุบนั ได้เสือ่ มสลายไปหมดแล้ว อย่างไร ก็ตาม เรายังเข้าไปสัมผัสร่องรอยบางอย่างที่หลงเหลือได้ ไม่ว่าจะ
202
เป็นบ่อน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ไี่ ม่เคยเหือดแห้ง มี 2 บ่อคือ บ่อของราชาซียง และบ่อที่ทหารกับประชาชนใช้ดื่มได้ นอกจากการเดินชมวิถีชีวิตที่เรียบง่ายพอเพียงในหมู่บ้าน และชมสวนกาแฟแล้ว ยังมี “พิพิธภัณฑ์ศูนย์วัฒนธรรมชุมชน” จัดแสดงวัตถุโบราณทีข่ ดุ พบ รวมถึงข้าวของเครือ่ งใช้ตามวิถมี สุ ลิม ในอดีต เอาไว้ให้คนรุ่นต่อไปได้ศึกษา ไม่ว่าจะเป็นชุดหญิงชาย ในแบบมลายูแท้ๆ อาวุธโบราณ กริชมลายู หินบดยา ถ้วยชาม ปากกว้างสไตล์จีน และคัมภีร์อักษรยาวีโบราณ เป็นต้น ไฮไลต์ของการมาเยี่ยมเยือนชุมชนน่ารั กกาแป๊ะกอตอในคือ การเรียนรู้วิถีกาแฟคั่วแบบโบราณ ที่มีมาไม่น้อยกว่า 100 ปีใน
หมู่บ้าน ปัจจุบันใช้ชื่อแบรนด์เก๋ไก๋ว่า “โกปี๊วังเก่า” หรือ “กาแฟ โบราณวังเก่า” ผลิตขึน้ ตามกรรมวิธโี บราณ เริม่ จากน�ำเมล็ดกาแฟ มากะเทาะเปลือก คั่วให้แห้ง ผสมน�้ำตาล ทรายขาว และน�้ำตาล ทรายแดงลงไป จากนัน้ น�ำขึน้ แผ่ ผึง่ ให้เย็นตัว แล้วต�ำในครก-สากไม้ อายุกว่า 100 ปี จนละเอียดเป็นผงพร้อมชง ดื่มได้ทั้งแบบร้อน และเย็น ที่ส�ำคัญคือ ต้องรับประทานคู่กับ “ข้าวหลามยาว” หรือที่ ในภาษามลายู เรียกว่า “ปูโล๊ะลือแม” ลักษณะเป็นข้าวหลามใน กระบอกไม้ไผ่ยาวเกือบ 2 เมตร เที่ยวชุมชนอิ่มใจ อิ่มท้อง แล้วยังได้ซึมซับส่วนเสี้ยวแห่ง ประวัติศาสตร์แดนใต้ด้วย นี่คือ เสน่ห์ของบ้านกาแป๊ะกอตอใน ที่ไม่มีใครเหมือนจริงๆ
กิจกรรมเด่น : ชมการท�ำกาแฟโบราณ ชมพิพธิ ภัณฑ์วตั ถุโบราณ เดินชมวิถชี วี ติ ใน หมูบ่ า้ น ชมสวนกาแฟและสวนสมรมแบบปักษ์ใต้ ชมบ่อน�ำ้ โบราณ สินค้าชุมชนเด่น : กาแฟคั่วแบบโบราณแบรนด์โกปี๊วังเก่า ข้าวหลามยาวปูโล๊ะลือแม ผลไม้ตามฤดูกาล เช่น ทุเรียน มังคุด เงาะ ลองกองฯลฯ ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบ้านกาแป๊ะกอตอใน อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา โทรศัพท์ 098-057-6053 / 061-198-9337 Website www.yala.go.th
203
95 ชุมชนเกาะยอ สงขลา สุขแบบเนิบช้า ประสาคนทะเลสาบ
ทะเลสาบสงขลาคือ นิเวศทะเลสาบขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ของเมือง ไทย มีทงั้ น�ำ้ จืด น�้ำกร่อย น�ำ้ เค็ม ไหลเวียนคละเคล้า ก่อนไหลออก สู่อ่าวไทยไปในที่สุด ณ บริเวณทะเลสาบสงขลาตอนล่างนั่นเอง มีเกาะใหญ่เกาะหนึ่งซึ่งมีชุมชนอาศัยอยู่หลายร้อยปีแล้ว เราเรียก ที่นั่นว่า “เกาะยอ” เกาะยอจัดเป็นเกาะใหญ่เนื้อที่ 9 พันกว่าไร่ ภูมิประเทศ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เนิ น เขาไม่ สู ง นั ก และมี ที่ ร าบแคบๆ ตามริมฝั่ง คนกลุ่มแรกๆ ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่บนเกาะยอคือ ชาวจีน จากบ้านน�้ำน้อย บ้านน�้ำกระจาย และบ้านทุ่งหวัง โดยพวกเขาน�ำ ความรูเ้ รือ่ งการทอผ้าติดตัวมาด้วย ภายหลังก็เริม่ มีคนไทยเชือ้ สาย
204
ปักษ์ใต้เข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานด้วย ท�ำอาชีพประมง จับปลาในทะเลสาบ และเลี้ยงปลาในกระชัง บ้างท�ำสวนผลไม้ ปลูกยางพารา วิถีชีวิต เรียบง่ายพอเพียง ชุมชนเกาะยอถือเป็นสังคมเครือญาติที่อยู่อาศัยบนเกาะนี้ มานาน ปลูกบ้านเรือนอยู่ใกล้ๆ กัน เรียงรายไปตามริมน�้ำ หัน หน้าบ้านออกสูท่ ะเลสาบ ชาวบ้านยังมีความผูกพันอยูก่ บั พระพุทธ ศาสนาอย่างลึกซึง้ บนเกาะมีวดั ส�ำคัญถึง 5 วัด ทัง้ วัดแหลมพ้อ วัด โคกเปี้ยว วัดท้ายยอ วัดเขาบ่อ และส�ำนักสงฆ์เขากุฏิ “วัดแหลมพ้อ” ตัง้ อยูป่ ลายด้านตะวันออกของเกาะยอ ติดเชิง สะพานติณสูลานนท์ เป็นวัดเก่าแก่กว่า 200 ปี สันนิษฐานว่าสร้างสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น และมีพระพุทธรูปปางปรินิพพานสีทอง องค์ใหญ่ประดิษฐานอยู่กลางแจ้ง “วัดโคกเปี้ยว” สร้างขึ้นสมัย รัชกาลที่ 5 ประมาณ พ.ศ. 2425 บรรยากาศวัดสงบร่มเย็น และ มีพระพุทธรูปเนื้อสัมฤทธิ์ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “พ่อแก่” “วัดท้ายยอ” ตั้งอยู่ทางปลายด้านตะวันตก ของเกาะยอ ยามเย็นเป็นจุดชมอาทิตย์อัสดงใน บริเวณกระชังปลาของชาวบ้านได้งามจับใจ สิ่ง ที่ควรค่าน่าชมคือ “กุฏิทรงเรือนไทยปั้นหยา” 3 หลังแฝด แบบพ่อแม่ลูก สันนิษฐานว่าสร้างสมัย รัชกาลที่ 3 โดยสังเกตจากกระเบื้องดินเผาเป็น ลอน ตามแบบจี น ที่ นิ ย มในยุ ค นั้ น กุฏโิ บราณนีส้ ร้างขึน้ อย่างถูกต้องตาม คติมงคลสูตรและมาตราสูตร หาชม ได้ยากมาก
สิง่ ทีท่ ำ� ให้ชมุ ชนเกาะยอมีชอื่ เสียงไปทัว่ ประเทศคือ “การทอ ผ้าเกาะยอ” สืบสานภูมปิ ญ ั ญาทีม่ มี านับร้อยปี ผ้าชนิดนีม้ ลี วดลาย สวยงามละเอียดมาก แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ “ผ้าทอสลับสี” ใช้กับผ้าขาวม้า เรียกอีกชื่อว่า ผ้าหางกระรอก ผ้าตาสมุก หรือ ลายตะเครียะ ผ้าแบบที่สองคือ “ทอยกดอก” มีลวดลายวิจิตรงดงาม กว่า มักทอเป็นผืนยาวเพื่อใช้ตัดชุดหรือเป็นซิ่นลายที่โด่งดัง เช่น ลายราชวัตรดอกเล็ก ลายราชวัตรดอกใหญ่ ลายลูกแก้ว ลายดอก พยอม ลายหางกระรอก ลายดอกพิกุล ฯลฯ เสน่ห์อย่างหนึ่งของการเยือนเกาะยอ คือการนั่งละเลียด ชิมอาหารท้องถิ่นแบบปักษ์ใต้แท้ๆ ตามร้านเล็กๆ ริมทะเลสาบ ลองสั่งย�ำสาหร่ายผมนาง ต้มส้มปลากระบอก แกงส้มปลากะพง อ้อดิบ ฯลฯ มาชิม แวะซื้อ “จ�ำปาดะทอด” ลักษณะคล้าย กล้วยแขกทอด แต่นำ� ลูกจ�ำปาดะ (คล้ายขนุนของภาคกลาง) ซึง่ เป็น ผลไม้ประจ�ำถิ่นภาคใต้โดยเฉพาะมาชุบแป้งทอด โดยใช้จ�ำปาดะ ที่สุกแล้วเท่านั้น จึงให้กลิ่นหอมหวาน น่าประทับใจในวิถีการกิน อยู่ของคนเกาะยอเป็นอย่างยิ่ง
กิจกรรมเด่น : เยีย่ มชมกลุม่ ทอผ้าเกาะยอ วันเดียวเทีย่ ว 3 วัด ได้แก่ วัดแหลมพ้อ วัดท้ายยอ วัดโคกเปี้ยว ชมพระอาทิตย์ตกในทะเลสาบสงขลา ชิมอาหารท้องถิ่นที่หายาก เช่น ย�ำสาหร่ายผมนาง ข้าวย�ำใบยอ และจ�ำปาดะทอด นอนโฮมสเตย์กับชาวบ้าน สินค้าชุมชนเด่น : ผ้าเกาะยอ ทอยกดอกลวดลายสวยงาม เค้กจ�ำปาดะ ที่ตั้งชุมชน : องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะยอ หมู่ที่ 9 ต�ำบลเกาะยอ อ�ำเภอ เมืองสงขลา จังหวัดสงขลา 90100 โทรศัพท์ 074-300-457 Website www.kohyor.go.th
205
96 บ้านท่าหิน สงขลา
ป่ า ตาลโตนด หล่ อ หลอมวิ ถี ชี วิ ต ผู ้ ค นแถบนี้ ให้ รู ้ จั ก ใช้ ส อย ทรัพย์ในดินสินในน�้ำ สั่งสมสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่น สืบสาน มาถึงปัจจุบัน ที่ ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ วิ ถี โ หนด-นา-เล ต� ำ บลท่ า หิ น คื อ แหล่ ง ศูนย์กลางถ่ายทอดองค์ความรู้ดังกล่าวมิให้สูญหาย มีกิจกรรม สนุกๆ ให้ลองท�ำมากมาย ยิ่งนอนพักในโฮมสเตย์กับชาวบ้าน ก็จะยิ่งเพิ่มประสบการณ์ดีๆ ขึ้นได้อีกหลายเท่า “วิถโี หนด” เป็นการเรียนรูเ้ กีย่ วกับตาลโตนดธรรมชาติ ทีข่ นึ้ อยูน่ บั พันๆ หมืน่ ๆ ต้นในแถบนี้ เราจะได้ชมการเพาะลูกโหนด ปีน ขึน้ ต้นตาลสูงชะลูดหลายสิบเมตร เพือ่ ใช้กระบอกไม้ไผ่รองน�ำ้ ตาล ลงมา ต้มเคี่ยว จนได้น�้ำตาลสด หรือผลิตเป็นน�้ำตาลโตนด ทั้งยังมี ลูกตาลสด น�้ำตาลสด และลูกตาลเชื่อมหวานชื่นใจให้ชิมด้วย นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์แปรรูปจากไม้ตาลโตนดให้ชอปปิง ท�ำเป็นถ้วย ช้อนซ่อม แก้วน�้ำ กล่องใส่ของฯลฯ ต้องไม่พลาดชิม แกงหัวโหนด ย�ำลูกตาลอ่อน และลูกตาลกะทิสด “วิถีนา” เป็นหนึ่งในอาชีพหลักของชาวบ้านท่าหิน และ อาชีพดั้งเดิมของผู้คนบนคาบสมุทรสทิงพระ โดยฤดูการท�ำนาจะ สลับกับการท�ำน�้ำตาลโตนด เขาจะพาเราไปชมและทดลองใช้ชีวิต แบบชาวนาปักษ์ใต้แท้ๆ ตั้งแต่การไถนา ด�ำนา เกี่ยวข้าวด้วยแกะ (เคียวอันเล็กๆ เฉพาะแบบปักษ์ใต้) สีข้าว และนวดข้าว ชาวบ้าน ยั ง ใช้ น วั ต กรรมแปรรู ป ข้ า วและตาลโตนด ผลิ ต เป็ น สิ น ค้ า หลากหลาย อาทิ สบู่น�้ำนมข้าว สบู่ตาลโตนด น�้ำตาลโตนดแว่น และสครับข้าว เป็นต้น สุดท้าย “วิถีเล” คือ ความผูกพันระหว่างผู้คนและผืนน�้ำ กว้างของทะเลสาบสงขลา ซึ่งเป็นทะเลสาบน�้ำจืด-น�้ำกร่อยขนาด ใหญ่ที่สุดของเมืองไทย เราจะได้ล่องเรือชมธรรมชาติไปพร้อมกับ ชาวบ้าน ดูนกน�้ำนานาชนิดออกหากินอย่างอิสระเสรี ทั้งนกยาง นกกระสา นกอีโก้ง นกกาน�้ำ นกนางแอ่น นกเป็ดน�้ำ ฯลฯ เห็น ฝูงควายหากิน ลงปลักเล่นน�้ำอย่างมีความสุข รวมถึงชมวิถีประมง พื้นบ้าน การยกยอ วางสุ่ม วางไซ ทอดแห ตกกุ้ง การกู้อวน การยกไซกุ้งหัวมัน ชมการตากปลาแห้ง และปลาต้มน�้ำผึ้ง เป็นต้น
นี่ คื อ ความเอื้ อ อารี ข องธรรมชาติ ที่ ช ่ ว ยหล่ อ เลี้ ย งชี วิ ต ชาวบ้านท่าหินมาหลายชั่วอายุคน บนความผสมกลมกลืนของ วิถีโหนด-นา-เล สะท้อนความเชื่อมโยงของจังหวะชีวิต ที่ไม่เคย หยุดนิ่งอย่างแท้จริง
กิจกรรมเด่น : ชมการขึ้นต้นตาล ดูขั้นตอนผลิตน�้ำตาลโตนด เรียนรู้วิธีการยกยอ ยกไซกุ้งหัวมัน ล่องเรือชมธรรมชาติทะเลสาบ ชมนกน�้ำ ท�ำขนม พื้นบ้าน เช่น ขนมตาล ขนมพิมพ์ ขนมจาก ท�ำสบู่ธรรมชาติ สานปลาตะเพียนใบจาก โฮมสเตย์ ชิมอาหารท้องถิ่น สินค้าชุมชนเด่น : น�้ำตาลโตนดผง น�้ำตาลโตนดแว่น สบู่ตาลโตนด สบู่น�้ำนมข้าว สบู่สาหร่าย โลชั่นตาลโตนด สบู่เหลวตาลโตนด มาร์คสาหร่าย สครับข้าว น�ำ้ ส้มตาลโตนด ผลิตภัณฑ์จากไม้ตาลโตนด เครือ่ งจักสาน ใบจาก ปลาตากแห้งจากทะเลสาบสงขลา ที่ตั้งชุมชน ศูนย์การเรียนรูช้ มุ ชนวิถี โหนด นา เล ต�ำบลท่าหิน อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา 90190 โทรศัพท์ 081-275-7156 / 074-590-546 Website www.tahin.go.th
วิถีโหนด-นา-เล ฮาเฮปักษ์ใต้บ้านเรา
ภาคใต้ ข องไทยเป็ น ดิ น แดนแสนอุ ด มในด้ า มขวานทอง เพราะมีทั้งป่าไม้ ภูเขา ที่ราบ ห้วยธาร หาดทราย ชายทะเล และ หมู่เกาะ เรียกว่าครบเครื่องสมเป็นเบ้าหลอมทางวัฒนธรรมของ ชุมชนนับไม่ถ้วน และ 3 วิถีโดดเด่นอีกอย่างของจิตวิญญาณความ เป็นปักษ์ใต้บ้านเราก็คือ วิถีโหนด-นา-เล นั่นเอง
206
เราสามารถไปสัมผัส 3 วิถีนี้ได้ในที่เดียว ณ “บ้านท่าหิน” อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา พืน้ ทีร่ มิ ทะเลสาบสงขลาแผ่ไพศาล มีผืนดินลุ่มชุ่มน�้ำปลูกข้าวเจริญงอกงามดี และยังมีป่าตาลโตนด ขึ้นดาษดื่น ยืนต้นกระจายอยู่ทั่วไปตามหัวไร่ปลายนา เกิดเป็น ทัศนียภาพเคียงคู่กันอย่างงดงามลงตัว ทั้งทะเลสาบ นาข้าว และ
207
97 ชุมชนบางใบไม้ สุราษฎร์ธานี
สรรพส�ำเนียงแห่งสายน�ำ้ ความงามแห่งลุม ่ ตาปี แม่ น�้ ำ ตาปี คื อ แม่ น�้ ำ สายยาวที่ สุ ด ในภาคใต้ ข องไทย หลากไหลเป็ น เส้ น เลื อ ดหลั ก หล่ อ เลี้ ย งชี วิ ต ผู ้ ค นในจั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี มานานหลายชั่วอายุคน บ่มเพาะวิถีผูกพันระหว่าง ธรรมชาติ สายน�้ำ และชาวบ้านที่อาศัยอยู่ริมน�้ำ ด�ำรงชีพด้วย วิถีเกษตรท�ำสวนมะพร้าว สวนจาก ควบคู่กับท�ำประมงจับสัตว์ น�้ำมาเป็นอาหาร สร้างรายได้ เป็นชีวิตสงบร่มเย็นและพอเพียง ไม่ต้องเร่งรีบ ดั่งสายน�้ำตาปีไหลเอื่อยๆ ค่อยๆ ต่อเติมสายใย แห่งชีวิตให้สมบูรณ์มั่งคั่ง ก่อนแม่นำ�้ ตาปีจะไหลออกสูอ่ า่ วบ้านดอน จะผ่านพืน้ ทีล่ มุ่ ชุม่ ฉ�่ำกินอาณาเขตกว้างขวางถึง 6 ต�ำบล เรียกรวมๆ กันว่า “ชุมชน บางใบไม้” หรือคลองร้อยสาย เชื่อมโยงลัดเลาะคดเคี้ยวไปมาดั่ง คลองวงกต อยูใ่ นพืน้ ทีส่ เี ขียวของป่าจากอันไม่มที สี่ นิ้ สุด ร่มรืน่ ด้วย สวนมะพร้าวยืนต้นสูงลิ่ว มีบ้านไม้ปลูกอยู่ประชิดติดริมคลอง หลายหลังเป็นเรือนปัน้ หยามุงกระเบือ้ งว่าว อายุ 100-200 ปี ผูค้ นทีน่ ี่ ยังไปมาหาสูก่ นั ด้วยเรือเป็นหลัก จนอาจกล่าวได้วา่ คลองบางใบไม้ ไม่ต่างอะไรกับ “เวนิสแห่งภาคใต้” ชาวบางใบไม้อาศัยอยู่ในเขตแดนอันอุดมสมบูรณ์ ธาตุ อาหารและตะกอนอินทรีย์ที่แม่น�้ำพัดพามา ได้สะสมกลายเป็น บ่อเกิดแห่งพืชพันธุ์ และความหลากหลายทางชีวภาพของระบบ นิเวศ 3 น�ำ้ ทัง้ น�ำ้ จืด น�ำ้ กร่อย น�ำ้ เค็ม มีการขึน้ ลงตามธรรมชาติ อาหารการกินบริบูรณ์ ผู้คนมีความสุขตามวิถีดั้งเดิม
208
การนอนโฮมสเตย์ริมคลองบางใบไม้ ฟังสรรพเสียงส�ำเนียง ของหมู่แมลงและธรรมชาติขับขาน ช่างเป็นความสุขเล็กๆ ที่เอา อะไรมาแลกก็ไม่ยอม เช่นเดียวกับการล่องเรือชมหิ่งห้อยกะพริบ แสงยามราตรี ก็คือ ตัวแทนบ่งชี้ความพิสุทธิ์ของธรรมชาติ ซึ่งเรา ควรช่วยกันหวงแหน ปกป้องให้คงอยู่ตลอดไป
กิจกรรมเด่น : ล่องเรือชมอุโมงค์ปา่ ต้นจาก ล่องเรือชมหิง่ ห้อยยามค�ำ่ คืน จอดเรือ แวะสัมผัสวิถีชาวบ้าน กราบหลวงพ่อข้าวสุก วัดบางใบไม้ สินค้าชุมชนเด่น : เครื่องจักสานใบจาก เครื่องจักสานผักตบชวา ผลิตภัณฑ์กะลา มะพร้าว น�ำ้ มันมะพร้าวสกัดเย็น น�ำ้ ส้มจาก น�ำ้ ผึง้ จาก สบูม่ ะพร้าว ผ้าบาติก ผัก ผลไม้ตามฤดูกาล ที่ตั้งชุมชน : ชุมชนบางใบไม้ ต�ำบลบางใบไม้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ 081-607-4935 / 077-273-073 Website https://suratts.mots.go.th
การสัมผัสคลองบางใบไม้ทำ� ได้โดยการล่องเรือเข้าไปเทีย่ วชม อย่างเคารพวิถีท้องถิ่น แล่นเรืออย่างแช่มช้า เงียบเชียบ สู่อุโมงค์ ต้นจาก ลัดเลาะล�ำคลองคดเคี้ยวนับร้อยสายเข้าสู่อ้อมกอดของ ชุมชน ดูการวางลอบ จับกุ้ง หอย ปู ปลา ดูเด็กๆ โดดน�้ำเล่นอย่าง มีความสุข แวะเทีย่ วสวนมะพร้าว ซือ้ ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน อย่างน�ำ้ มัน มะพร้าวสกัดเย็น แวะบ้านเรือนริมน�ำ ้ ทีเ่ ปิดให้ขนึ้ ไปชมการจักสาน ใบจากเป็นสินค้าต่างๆ อย่างหมวก พัด และกระเป๋าฯลฯ แวะบ้าน ท�ำผ้าบาติก สนุกกับกิจกรรม และซื้อหาอุดหนุนชาวบ้าน นอกจากนี้ยังมีตลาดชุมชนรวมสินค้าหลากหลายเอาไว้ใน ที่เดียว เที่ยวชิม ชม ช้อป ถ่ายภาพกันได้เพลิน ชวนกันชิมอาหาร ท้องถิ่นปักษ์ใต้นานาชนิด เช่น ลูกจากลอยแก้ว ขนมลากรอบ เคยจีกะลา ข้าวเหนียวอุบ ปลาแนม ข้าวต้มห่อใบกะพ้อ ขนมกรุบ ขนมดอกโดน ปลีกล้วยทอด และทุเรียนเทศ เป็นต้น นี่คือ เสน่ห์ ด้ า นวั ฒ นธรรมอาหารถิ่ น คลองบางใบไม้ ที่ น ่ า ประทั บ ใจใน อัตลักษณ์ ศู น ย์ ร วมใจด้ า นพุ ท ธศาสนาของคนคลองบางใบไม้ คื อ “หลวงพ่อข้าวสุก” วัดบางใบไม้ ซึง่ ชาวบ้านบอกว่าจะเขียน “สุก” หรือ “สุข” ก็ใช้ได้ทั้งสองอย่าง องค์หลวงพ่อเป็นพระพุทธรูปปาง สมาธิ อายุ 100 กว่าปี สร้างจากข้าวสุกเสกคาถาทีเ่ หลือจากก้นบาตร วันละเล็กละน้อยของหลวงพ่อข�ำ อดีตพระเกจิช่ือดัง เชื่อว่า หากได้กราบอธิษฐานขอพรสิ่งใด ก็มักจะสมปรารถนา 209
98 บ้านถ�้ำผึ้ง สุราษฎร์ธานี สายใยแห่งป่าและผูค ้ น บนวิถท ี ย ี่ ง ั่ ยืน ผืนป่าพงไพรคือ จุดก�ำเนิดแห่งสรรพชีวติ และเป็นแหล่งรวม ความหลากหลายทางชีวภาพไว้นับไม่ถ้วน การได้มีโอกาสเข้าไป สัมผัสสิ่งเหล่านี้ จึงช่วยให้เราเข้าใจในระบบนิเวศอันซับซ้อน เปราะบางของธรรมชาติ เพื่อกระตุ้นเตือนให้เกิดจิตส�ำนึกอนุรักษ์ ได้ไม่ยาก ชุมชนบ้านถ�้ำผึ้ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ยึดถือแนวทางการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ภายใต้วิถีดั้งเดิมของชุมชน น�ำผู้คนเข้าไป ล่องไพรศึกษาพืชพรรณ สัตว์ป่า และชื่นชมภูมิทัศน์ธรรมชาติ น่าตื่นตา เพราะชุมชนบ้านถ�้ำผึ้งตั้งอยู่ในเขตป่าเขาอุดมสมบูรณ์ สลับซับซ้อนของอ�ำเภอพนม ที่ไม่ห่างจากอุทยานแห่งชาติเขาสก และเขื่อนรัชชประภามากนัก ชาวบ้านเข้ามาตั้งรกรากกันตั้งแต่ประมาณ ปี พ.ศ. 2508 อาศัยทรัพย์ในดินสินในน�้ำหล่อเลี้ยงชีวิต ท�ำสวนผลไม้ สวนกาแฟ สวนยางพารา และเปิดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ควบคู่กับอาชีพ เดิม เสริมให้เกิดความยั่งยืนในมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม จนประสบความส�ำเร็จ ได้รับรางวัลมากมาย โดยเฉพาะในแง่การ เป็นแหล่งเรียนรูก้ ารจัดการป่าชุมชน และการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ ธรรมชาติ มีการแบ่งเขตป่าต้นน�้ำ ป่ากันชน และพื้นที่ชุมชนไว้ อย่างชัดเจน ผืนป่าดิบชืน้ ทีอ่ ดุ มสมบูรณ์จงึ ได้รบั การปกปักรักษาไว้ อย่างดีเยี่ยม ความสนุ ก ในการท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชนบ้ า นถ�้ ำ ผึ้ ง เริ่ ม ตั้ ง แต่ การต้อนรับด้วยรอยยิ้ม และเลี้ยงอาหารพื้นบ้านแบบปักษ์ใต้ ที่อร่อยจนยากจะลืม ทั้งแกงเหลืองปลากะพงอ้อดิบ ย�ำผักกูด ต้มผักเหลียง คั่วกลิ้งหมูฯลฯ อิ่มแล้วก็ออกไปเที่ยวชมวิถีพื้นบ้าน
ดู ส วนเกษตรผสมผสานปลู ก พื ช ผั ก ผลไม้ ห ลายชนิ ด ต่ อ ด้ ว ย กิจกรรมท่องเที่ยว เดินป่าระยะสั้นๆ ผ่านเขตป่าชุมชนอันร่มรื่น เย็นสบายด้วยแมกไม้ใหญ่ ไปพิสจู น์ความมหัศจรรย์ของธรรมชาติที่ “บ่อน�้ำดันทรายดูด” ลักษณะเป็นบ่อน�้ำจืดใสแจ๋วผุดขึ้นกลางป่า
ลึกประมาณ 1 เมตร พื้นบ่อเป็นทราย เมื่อเกิดเสียงดังหรือความ สัน่ สะเทือน น�ำ้ จากรูใต้ดนิ จะผุดขึน้ มาแรงยิง่ กว่าปกติ ไม่ไกลกันนัน้ ยังมีทางเดินชมป่าไปจนถึงน�ำ้ พุเย็น ธารน�ำ้ วน รวมถึงน�ำ้ ตกหินลาด และน�ำ้ ตกธารบางคุย สองน�ำ้ ตกเล็กๆ ทีง่ ดงามด้วยธารน�ำ้ ไหลผ่าน ชั้นหินลดหลั่น แวดล้อมด้วยแมกไม้เขียวชอุ่มร่มรื่น จุ ด เด่ น อี ก แห่ ง ของบ้ า นถ�้ ำ ผึ้ ง ที่ ไ ม่ ค วรพลาดแวะชมคื อ “ถ�้ำประวัติศาสตร์สมรภูมิ” เป็นอดีตศูนย์บัญชาการ (บก 514) ลักษณะเป็นถ�้ำทะลุผ่านภูเขาทั้ง 2 ด้าน ภายในมีหินงอก หินย้อย และเสาหินน้อยใหญ่แปลกตาน่าชม เนื่องจากภูเขาในแถบนี้เป็น ภูเขาหินปูน ที่ถูกน�้ำกัดเซาะมานานนับล้านปี การท่องเที่ยวให้ ปลอดภัยต้องมีไกด์ชุมชนพาไป และเตรียมไฟฉายให้พร้อม 210
ชุมชนบ้านถ�ำ้ ผึง้ ยังมีสนิ ค้าโอทอปทีน่ ำ� ผลิตผลทางการเกษตร มาแปรรูปเพิ่มมูลค่าด้วยนวัตกรรม เกิดเป็นสินค้าเพื่อสุขภาพและ ความงาม อย่างน�้ำขมิ้นพร้อมดื่ม สบู่ขมิ้นบ�ำรุงผิว และครีมบ�ำรุง ผิวขมิน้ เป็นต้น นีค่ อื ตัวอย่างของการอยูร่ ว่ มกันระหว่างธรรมชาติ และผู้คน บนการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ยั่งยืน
กิจกรรมเด่น : เดินป่าระยะสั้นศึกษาระบบนิเวศป่าดิบชื้นและป่าชุมชน CSR ปลูกป่า ดูบอ่ น�ำ้ ดันทรายดูด น�ำ้ พุเย็น น�ำ้ ตกหินลาด น�ำ้ ตกธารบางคุย ธารน�้ำวน ผจญภัยเที่ยวถ�้ำประวัติศาสตร์สมรภูมิ ถ�้ำน�้ำลอด นอน โฮมสเตย์ และกินอาหารพื้นบ้านอร่อยๆ ตามประสาคนปักษ์ใต้ สินค้าชุมชนเด่น : กล้วยฉาบ น�้ำผึ้งป่า ข้าวเกรียบมันม่วง ข้าวเกรียบมะละกอ กะละแม ผลิตภัณฑ์จากขมิ้น เช่น สบู่ขมิ้นบ�ำรุงผิว ครีมบ�ำรุงผิว ขมิ้น น�้ำขมิ้นพร้อมดื่ม ฯลฯ ที่ตั้งชุมชน : กลุ ่ ม ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ บ ้ า นถ�้ ำ ผึ้ ง หมู ่ 5 ต� ำ บลต้ น ยวน อ�ำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ 089-290-9420 / 098-976-7429 / 077-399-994 บ้านถ�้ำผึ้ง โฮมสเตย์ - ธารน�้ำตกบางคุย 211
99 บ้านพุมเรียง สุราษฎร์ธานี
เสน่หส ์ องวัฒนธรรม ล�ำ้ ค่าผ้าทอแห่งสยาม หากจะกล่าวถึงผ้าทอที่สวยงามเลอค่า หนึ่งในนั้นย่อมต้องมี “ผ้ายกดอกบ้านพุมเรียง” จังหวัดสุราษฎร์ธานี รวมอยูด่ ว้ ยแน่นอน เพราะมีความโดดเด่นทั้งในแง่ลวดลาย เทคนิค มูลค่า ผสานเรื่อง ราวความเป็นมา เชื่อมโยงกับชุมชนบ้านพุมเรียงไว้อย่างลึกซึ้ง บ้านพุมเรียง เป็นชุมชนมุสลิมเล็กๆ ตั้งอยู่ใกล้ปากคลอง พุมเรียง ซึง่ จะไหลไปออกสูอ่ า่ วไทยทีแ่ หลมโพธิ์ ลักษณะเป็นแหลม ทรายขนาดใหญ่ทอดตัวอยู่อย่างสวยงาม อดีตเป็นท่าเรือโบราณ พุมเรียงในอดีตจึงรุง่ เรืองเฟือ่ งฟูมาก พ่อค้าวาณิชชาวจีนนิยมน�ำ เส้นไหมมาแลกกับกุ้ง หอย ปู ปลาของชาวบ้าน จึงเกิดการน�ำเส้น ไหมเหล่านั้นมาถักทอเป็นผืนผ้าแพรพรรณอันมีเอกลักษณ์
ย้อนอดีตกาลคนบ้านพุมเรียงเป็นชาวมุสลิมที่อพยพเข้า มาจากมาเลเซียแถบรัฐตรังกานู ล้วนมีฝีมือในการทอผ้ายกดอก สอดดิน้ เงินดิน้ ทองล�ำ้ ค่า กระทัง่ ถึงสมัยรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาส บ้านพุมเรียง ทรงพระราชทานลายราชวัตรโคมดอกใหญ่ ให้ไว้กบั ช่างทอสืบสานมาถึงทุกวันนี้ ทีก่ ลุม่ สตรีทอผ้าบ้านพุมเรียง เราสามารถเข้าไปชมขัน้ ตอน การทอด้วยกี่กระตุกแบบโบราณ ตื่นตากับลวดลายอันวิจิตร ซับซ้อน งดงาม ทัง้ ลายราชวัตรดอกโคม ลายดอกพิกลุ ลายนพเก้า และลายยกเบ็ดฯลฯ มีทั้งแบบที่ทอไว้ขายหน้าร้าน ราคาพอจับ ต้องได้ และสั่งทอพิเศษสอดดิ้นเงินดิ้นทองแท้ๆ ผืนหนึ่งราคา หลายแสนบาท ใช้เวลาทอนับเดือน จนผ้ายกดอกบ้านพุมเรียง ได้ฉายาว่า “ผ้าแห่งราชส�ำนัก” เป็นที่นิยมของเจ้านายในวัง รวมถึงข้าราชการชั้นสูงของสยามมานับร้อยปีแล้ว ความพิเศษ ของผ้าคือ มีความแวววาวเล่นแสง เพราะมีดิ้นเงินดิ้นทองแท้ สอดผสานอยู่ในเนื้อผ้านั่นเอง ในแถบนี้มีบ้านเรือนไม้ย้อนยุคให้หวนคิดถึงอดีต รวมถึง บ้านเกิดของท่านพุทธทาสภิกขุ ก็อยู่ในชุมชนแห่งนี้ด้วย ผสาน กับบรรยากาศบ้านเรือนแบบชาวมุสลิม ที่มีวิถีประมงหล่อเลี้ยง ชีวติ เรายังเห็นการเลีย้ งนกกรงหัวจุกตามคตินยิ ม ร้องเสียงเจือ้ ย แจ้วแว่วมาตามลมฟังไพเราะ มีมัสยิดเล็กๆ เป็นศูนย์รวมใจของ
ชาวบ้าน ไม่หา่ งไกลกันคือ “แหลมโพธิ”์ ชายฝัง่ ทะเลทัศนียภาพ กว้างไกล โปร่งสบายตา อากาศสดชืน่ แหลมโพธิเ์ คยเป็นทีต่ งั้ แรก ของชุมชนพุมเรียง เมือ่ ศตวรรษที่ 12-18 ใต้ผนื ทรายจึงมีการค้น พบซากเรือโบราณ ลูกปัด และโบราณวัตถุจ�ำนวนมาก แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียงที่ส�ำคัญของชุมชนบ้านพุมเรียง คื อ “พระบรมธาตุ ไ ชยา” สั ก การะพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ที่ ประดิษฐานอยู่ในเจดีย์ทรงศรีวิชัยอันงดงาม อีกสถานที่หนึ่งคือ “สวนโมกขลาราม” (หรือวัดธารน�้ำไหล) วัดป่าอันสงบวิเวก เหมาะแก่การฝึกจิตปฏิบัติธรรม ก่อตั้งโดย ท่านพุทธทาสภิกขุ พระภิกษุผู้มีชื่อเสียง และมีคุณูปการต่อวงการพระพุทธศาสนา ของไทยอย่างยิง่ ก่อนกลับบ้านถ้าจะให้ครบเครื่ องเรื่องท่องเที่ยวจริงๆ ต้องแวะซื้อ “ไข่เค็มไชยา” เป็นของฝากด้วย เพราะถือเป็น สุดยอดไข่เค็มทีโ่ ด่งดังไปทัว่ ประอเทศ ลักษณะพิเศษคือ สีจดั จ้าน เกาะเป็นก้อน ไม่เละ (เคล็ดลับคือ ให้เป็ดกินอาหารทีผ่ สมเปลือก หอยทะเลป่น) รสเค็มก�ำลังดี และไม่เน่าเสียง่าย เพราะผลิต ด้วยวิธีธรรมชาติ ชุมชนบ้านพุมเรียง แหล่งก�ำเนิดผ้าทอเลอค่าชวนให้มา เยี่ยมเยือน แล้วน�ำภาพประทับใจกลับไปบอกต่อได้อย่างไม่ สิ้นสุดจริงๆ
กิจกรรมเด่น : ชม ช้อปผ้ายกดอก สัมผัสธรรมชาติแหลมโพธิ์ ชิมซีฟดู้ อร่อยๆ นมัสการพระบรมธาตุไชยา ปฏิบัติธรรมที่สวนโมกขพลาราม ร�ำลึกถึงท่านพุทธทาสภิกขุ สินค้าชุมชนเด่น : ผ้ายกดอกสอดดิ้นเงินดิ้นทอง เครื่องทองเหลือง ไข่เค็มไชยา ที่ตั้งชุมชน : กลุ่มทอผ้าบ้านพุมเรียง เลขที่ 81 หมู่ 2 ต�ำบลพุมเรียง อ�ำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84110 โทรศัพท์ 077-431-359 / 077-454-787 Website www.suratthanitourism.com 212
213
100 ชุมชนเกาะหลีเป๊ะ สตูล
วิถเี รียบง่าย “อูรก ั ลาโว้ย” ชาวเลแห่งอันดามัน หนึง่ ในทะเลสวยของเมืองไทย คือท้องทะเลรอบเกาะหลีเป๊ะ สตูล เกาะยอดนิยมของนักท่องเทีย่ วแห่งหนึง่ ในทะเลอันดามัน เป็น เกาะที่มีชายหาดที่สวยงาม น�้ำทะเลสวยใส เกาะหลีเป๊ะเป็นเกาะหนึ่งที่มีชุมชนชาวเลเป็นชาวพื้นเมือง ดั้งเดิม อาศัยอยู่มาช้านาน ชาวเลบนเกาะเป็นชาว “อูรักลาโว้ย” ทีห่ มายถึงคนแห่งทะเล (Sea – Gypsy) เป็นเผ่าพันธุด์ งั้ เดิมกลุม่ หนึง่ แห่งห้วงน�้ำอันดามัน
เกาะหลีเป๊ะวันนี้ จึงเป็นการผสมผสานกันระหว่างความ เป็นอยูข่ องชาวเลดัง้ เดิม และรีสอร์ททีพ่ กั ทีเ่ ปิดใหม่ตามชายหาด ต่างๆ นักท่องเที่ยวสามารถสัมผัสชีวิตที่เรียบง่าย ของชาวเลที่ เกาะหลีเป๊ะได้ ซึ่งวัฒนธรรมประเพณีของพวกเขามีความน่าสนใจ เป็นอย่างยิ่ง งานประเพณีที่น่าสนใจงานหนึ่งของชาวเลเกาะหลีเป๊ะคือ ประเพณีลอยเรือ จัดขึ้นปีละสองครั้ง ในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 และเดือน 11 เพื่อแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษ และเป็นการ สะเดาะเคราะห์ไปกับการลอยเรือ เรือจะสร้างด้วยไม้ระก�ำ ตกแต่ง เป็นลวดลายสวยงาม จะมีพิธีเชิญบรรพบุรุษให้น�ำสิ่งชั่วร้ายลงเรือ แล้วจึงน�ำเรือออกไปลอยให้พ้นจากเกาะหลีเป๊ะ จุดเด่นของการท่องเที่ยวบนเกาะหลีเป๊ะก็คือ หาดทรายที่ ขาวละเอียด น�้ำสวยใส มีอ่าวพัทยาที่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว ต่างชาติเป็นอย่างมาก รอบๆ เกาะอุดมสมบูรณ์ด้วยปะการัง
หลากสีสัน ท้องทะเลที่สวยงามของเกาะหลีเป๊ะ ถึงขนาดว่ากันว่า นี่คือ มัลดีฟส์เมืองไทยที่จะท�ำให้คุณหัวใจละลายไปในพริบตา การเดินทางไปเกาะหลีเป๊ะ เรือจะออกจากท่าเรือปากบารา แล้วไปส่งนักท่องเที่ยวที่ท่าเรือหลีเป๊ะ หลายล�ำก็แวะให้ท่องเที่ยว ที่ เ กาะไข่ ด ้ ว ย ชมซุ ้ ม ประตู หิ น ธรรมชาติ อั น เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ของอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ต ะรุ เ ตา มี ค วามเชื่ อ ว่ า คู ่ รั ก คู ่ ใ ดได้ ล อด ซุม้ ประตูหนิ นี้ จะสมหวังในความรัก และครองคูก่ นั อย่างมีความสุข เมือ่ มาเกาะหลีเป๊ะ สิง่ หนึง่ ทีต่ อ้ งไม่พลาดคือ เดินเล่นบนถนน คนเดิน แล้วแวะชิมร้านโรตี “เตอร์บิลัง” ร้านโรตีชาชักเจ้าอร่อย ทีข่ นึ้ ชือ่ ในหมูน่ กั ท่องเทีย่ ว มีลกู ค้าแวะเวียนมาอุดหนุนกันเต็มร้าน ทุกวัน เมนูแนะน�ำห้ามพลาด เช่น ชาชัก รสชาติเข้มข้น หวานมัน โรตี เป็นโรตีราดนมข้นหวาน แป้งโรตีบาง ทอดแบบกรอบนิดๆ จากเกาะหลีเป๊ะสามารถไปเที่ยวเกาะลังกาวี อัญมณีแห่ง ไทรบุรี ในประเทศมาเลเซีย ได้สะดวก โดยมีตรวจคนเข้าเมือง บริการท�ำเอกสารไปยังลังกาวีอยู่บนเกาะหลีเป๊ะ
กิจกรรมเด่น : วันเดย์ทริปนั่งเรือเที่ยวหมู่เกาะอาดัง – ราวี เดินเล่นชมชายหาด สวยๆ ของเกาะหลีเป๊ะ เช่น หาดพัทยา หาดซันไรส์ หาดคาร์มา หาดซันเซ็ท รวมถึงแวะเยี่ยมหมู่บ้านชาวเล และเดินเล่นในถนน คนเดินเกาะหลีเป๊ะ สินค้าชุมชนเด่น : โรตีและชาชัก เตอร์บิลัง ที่ตั้งชุมชน : 88 หมู่ 7 บ้านเกาะหลีเป๊ะ ต�ำบลเกาะสาหร่าย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสตูล 91110 โทรศัพท์ 088-799-5655 ท่องเที่ยวโดยชุมชน บ้านเกาะหลีเป๊ะ 214
215
ความสุขใจ จากการได้สัมผัส 100 ชุมชน ที่จะท�ำให้คุณหลงรักเมืองไทย เที่ยวเมืองไทยให้หายคิดถึง
เล่าเรื่องเมืองไทย ในวิถีชุมชน
ผลิตโดย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
บรรณาธิการ สาธิตา โสรัสสะ
บรรณาธิการฝ่ายภาพ ชาธร สิทธิเคหภาค
ฝ่ายศิลปกรรม วิภาภรณ์ ธรรมรงค์รัตน์ เฉลิมชัย ตันสิงห์
ออกแบบและจัดทำ�โดย บริษัท ณัฐสุรงค์ จำ�กัด 212 ถนนวิสุทธิกษัตริย์ แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ (08)1 817 2805 อีเมล ta.thaitravel@gmail.com
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (สำ�นักงานใหญ่)
1600 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (66)2 250 5500 แฟกซ์ (66)2 250 5511 อีเมล center@tat.or.th www.tourismthailand.org ศูนย์บริการข่าวสารการท่องเที่ยว ททท. Call Center 1672 ให้บริการ 24 ชั่วโมง สอบถามข้อมูลการท่องเที่ยวผ่าน Social Media Line : @tatcontactcenter ให้บริการ 24 ชั่วโมง Facebook : TAT Contact Center เพื่อนร่วมทาง ให้บริการ 08.30 - 16.30 น. ทุกวัน และบริการสอบถามข้อมูลผ่าน E-mail : info@tat.or.th ให้บริการ 08.00 - 16.00 น. ทุกวัน
กองเผยแพร่โฆษณาในประเทศ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ข้อมูลรายละเอียดที่ระบุในเอกสารนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ตุลาคม 2564