รายงานผลโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

Page 1

“...ข้าพเจ้าได้ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อเนื่อง มาเป็นเวลากว่า 30 ปีแล้ว ทาให้รู้สึกมีความสุขและผูกพันกับมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้งหลาย อย่างมาก ไปทุกครั้งก็มีความสุข อยากให้ทุกคนมีกาลังใจที่จะทาให้มหาวิทยาลัยราชภัฏของเราเป็นประโยชน์ กับประชาชน เป็นประโยชน์ต่อภูมิภาค และท้องถิ่นจริง ๆ จัง ๆ ในเรื่องการดารงชีวิต ในเรื่องความรู้ทั่วไป และข้อสาคัญคือผลิตคนดี ผลิตคนดีที่เห็นประโยชน์แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และสังคม คิดว่ามหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นสถาบันที่เป็นประโยชน์ และ เป็ นกลไกที่ พัฒ นาประเทศได้ อย่ างยิ่ งถ้า หากตั้ง ใจร่ว มกัน และคุยกัน ให้ ม าก ๆ จะเป็ น สถาบันหลักที่พัฒนาประเทศและประชาชนอย่างมาก...”

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิระเกล้าเจ้าอยู่หัว 9 พฤษภาคม 2560 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน



คานา รายงานผลการดาเนิ น งานโครงการตามยุทธศาสตร์ มหาวิท ยาลั ยราชภัฏ เพื่อการพัฒ นา ท้องถิ่น มหาวิทยาลั ย ราชภัฏ ภูเก็ต จั ดทาขึ้น เพื่อนาเสนอข้อมูล ต่อ พลเอก ดาว์พงษ์ รั ต นสุว รรณ องคมนตรี ในการตรวจเยี่ ย มการดาเนิ น งาน 9 โครงการ ภายใต้พ ระบรมราโชบาย ประกอบด้ว ย 1) โครงการพัฒ นาคุณภาพชีวิตและยกระดับ รายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก 2) โครงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น 3) โครงการส่งเสริมความรักสามัคคี เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น ภายใต้พื้นฐานของสังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 4) โครงการพัฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 5) โครงการสนับสนุนสื่อวีดิทัศน์ประกอบการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนครูให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก 6) โครงการยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียนและการวิเคราะห์ของนั กเรี ยน ในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 7) โครงการพัฒ นา ศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน 8) โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม 9) โครงการพัฒนาระบบข้อมูล ตาบลในจังหวัด (Big Data) และโครงการบริการวิชาการภายใต้ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ในการนี้ รายงานผลการด าเนิ น งานดั ง กล่ า วสามารถน าไปต่ อ ยอดการพั ฒ นา รวมทั้ ง เป็ น ประโยชน์ แ ก่ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ า นการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต จั ง หวั ด พั ง งา และจังหวัดกระบี่ หากรายละเอียดที่นาเสนอผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หิรัญ ประสารการ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต


สารบัญ

ข้อมูลเบื้องต้นและการวิเคราะห์ศักยภาพ

1

การดาเนินงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

6

ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นระยะ 20 ปี

24

เปรียบเทียบการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 และ พ.ศ. 2563

117

ทิศทางการดาเนินงาน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

121


ข้อมูลเบื้องต้นและการวิเคราะห์ศกั ยภาพ

11


มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต Phuket Rajabhat University

ปรัชญา (Philosophy) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ปฏิบัติภารกิจ บนพื้นฐานแห่งความรับผิดชอบต่อสังคม

วิสัยทัศน์ (Vision) มหาวิทยาลัยชั้นนา ด้านการจัดการองค์ความรู้และนวัตกรรมสู่การพัฒนาท้องถิ่น

เอกลักษณ์ (Uniqueness) มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอันดามัน

อัตลักษณ์ (Identity) คุณธรรม สู้งาน จิตอาสา

วัฒนธรรมองค์กร (Norm) เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ องค์กรแห่งความสุข มุ่งปฏิบัติหน้าที่อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เน้นการทางานเป็นทีม คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก 2


พันธกิจ (Mission) 1. ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพตามอัตลักษณ์บัณฑิตที่พึงประสงค์ มีความรู้และทักษะทางวิชาชีพ และมีสมรรถนะ ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต 2. วิจัย สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่มคี ุณภาพ และได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ มุ่งเน้นการบูรณาการเพื่อการ นาไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม 3. บริการวิชาการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และน้อมนาแนวพระราชดาริสู่การปฏิบัติเพื่อพัฒนา และสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 4. ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 5. บริหารจัดการมหาวิทยาลัยด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย โปร่งใสด้วยหลักธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนา อย่างก้าวหน้า ต่อเนื่อง และยั่งยืน

ค่านิยม (Core Values) Phuket Rajabhat University

P K R

U

Promotes the involvement of all interested stakeholders Knits the relationship between the University and the community

Retains the core values of Thailand

Universalizes knowledge acquired through research

3


การวิเคราะห์ศักยภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (SWOT Analysis) จุดแข็ง (Strength) S1 มหาวิทยาลัยมีที่ตั้งอยู่ในจังหวัดซึ่งเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในระดับโลก S2 มหาวิทยาลัยเป็นสถานศึกษาเพียงแห่งเดียวในฝั่งอันดามันที่จัดการศึกษาและบริหารจัดการแบบเต็มรูปแบบ S3 มหาวิทยาลัยมีรูปแบบการจัดการศึกษาและหลักสูตรที่หลากหลาย สามารถผลิตบัณฑิตที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน โดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ S4 มหาวิทยาลัยมีศักยภาพและความพร้อมสาหรับให้บริการวิชาการแก่ท้องถิ่น ทั้งเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ และความร่วมมือจาก หน่วยงานภายนอก รวมทั้งความพร้อมของห้องปฏิบัติการ ได้แก่ ศูนย์ปฏิบัติการทดสอบทางเคมี ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาลอันดามัน S5 มหาวิทยาลัยมีศูนย์วัฒนธรรมเป็นแหล่งเรียนรู้และมีการจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมเผยแพร่แก่สาธารณชนอย่างต่อเนื่อง S6 มหาวิทยาลัยมีนโยบายในการจัดงบประมาณในการทาวิจัยอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง S7 มหาวิทยาลัยมีระบบการบริหารจัดการแบบกระจายอานาจ ลงสู่ระดับคณะ สานัก สาขาวิชา ทาให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารงาน S8 มหาวิทยาลัยมีสานักบริหารจัดการทรัพย์สินและสิทธิประโยชน์ เป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่บริหารจัดการสินทรัพย์เพื่อสร้างมูลค่า และรายได้แก่มหาวิทยาลัย

จุดอ่อน (Weakness) W1 อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับการเรียนการสอนและการบริหาร บางส่วนยังล้าสมัยและไม่เพียงพอ W2 มหาวิทยาลัยขาดเอกภาพในการจัดกิจกรรมที่มุ่งพัฒนานักศึกษาทั้งบุคลิกภาพ วินัย คุณธรรม จริยธรรมและการดูแลให้ คาปรึกษา แก่นักศึกษา W3 สัดส่วนของนักศึกษาไม่สาเร็จการศึกษาตามระยะเวลาของหลักสูตรค่อนข้างสูง (ออกกลางคัน) W4 จานวนงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์และจดสิทธิบัตรน้อย ขาดการสร้างนักวิจัยหน้าใหม่ รวมทั้งมีข้อจากัดการเข้าถึงฐานข้อมูลทางด้าน การวิจัย W5 ระบบและกลไกการการบริการวิชาการขาดประสิทธิภาพและไม่สะท้อนผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งงานบริการวิชาการที่เกิดประโยชน์ ต่อชุมชุนที่แท้จริงยังมีน้อย W6 การจัดการด้านศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ยังไม่เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ W7 แผนพัฒนาบุคลากรยังไม่ชัดเจน บุคลากรขาดขวัญ กาลังใจ และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานรวมทั้งระบบการควบคุมติดตาม การทา ผลงานวิจัยและ ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ยังไม่ชัดเจน W8 สัดส่วนคุณวุฒิและตาแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการอุดมศึกษา รวมทั้งระบบการส่งเสริมคุณภาพ งานวิชาการและแผนพัฒนาอาจารย์ขาดความต่อเนื่อง W9 หน่วยงานและบุคลากรยังขาดความทักษะและความรู้ในการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์และมี ประสิทธิภาพ W10 การสร้างความสัมพันธ์และร่วมกิจกรรมกับศิษย์เก่ายังขาดความต่อเนื่อง W11 สภาพแวดล้อมด้านกายภาพและภูมิทัศน์ยังไม่มีความสวยงามและเหมาะสม

44


โอกาส (Opportunity) O1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ ๒๐ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ได้กาหนดให้มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทั้ง ๓๘ แห่ง ยกระดับคุณภาพการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยเป็นสถาบันที่ผลิตบัณฑิตที่มีอัตลักษณ์ มีสมรรถนะ พร้อมด้วย คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ 4 ประการ ตามพระราโชบายด้านการศึกษาและทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ รวมทั้งบูรณาการองค์ ความรู้สู่นวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัย คือ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่ O2 แนวทางการพัฒนาประเทศทั้งยุทธศาสตร์ชาติ ระดับกระทรวง ระดับภาค ระดับกลุ่มจังหวัด และระดับจังหวัดพื้นที่บริการ มีเป้าหมายที่สอดคล้องกับภารกิจของมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นช่องทางในการสร้างงานร่วมดาเนินการในลักษณะบูรณาการและ เข้าถึงแหล่งงบประมาณได้มากยิ่งขึ้น เช่น ด้านการวิจัยและบริการวิชาการ O3 พื้นที่บริการของมหาวิทยาลัย คือ จังหวัดภูเก็ตจังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่ ล้วนเป็นเมืองท่องเที่ยว จึงส่งผลให้มี ตลาดแรงงาน ด้านการท่องเที่ยวและบริการรองรับผู้สาเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยจานวนมาก รวมถึงด้านการผลิตครูด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เกษตรและอาหาร O4 จังหวัดภูเก็ตมุ่งเน้นการพัฒนาเมืองเพื่อรองรับการเติบโตที่ทันสมัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Smart City) O5 แนวโน้มเรื่องการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมรวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สูงขึ้น ส่งผลให้การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และเชิงนิเวศน์ขยายตัว จึงเป็นโอกาสให้มหาวิทยาลัยขยายโอกาสทางการศึกษาเพื่อสนับสนุนได้มากยิ่งขึ้น O6 พื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัยมีศิลปวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด ทาให้มีโอกาสส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถแลกเปลี่ยน ทางด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนการบริการวิชาการกับนานาชาติได้ O7 พื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัย มีการคมนาคมที่สะดวกรวดเร็วในพื้นที่บริการสามารถดึงดูดนักศึกษาชาวต่างชาติเข้ามาเรียน ทาให้มหาวิทยาลัยมีโอกาสพัฒนาหลักสูตรใหม่ที่เป็นหลักสูตรนานาชาติได้ O8 เนื่องจากสถานการณ์ความรุนแรงทางภาคใต้ จึงมีนักศึกษาจาก ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้มาเรียนที่มหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น

ภัยคุกคาม (Threat) T1 ภาวะแข่งขันตลาดแรงงานในกลุ่มประเทศอาเซียนสูงขึ้น T2 อัตราการเกิดมีแนวโน้มลดลง ทาให้จานวนนักศึกษาของสถาบันการศึกษาทุกแห่งลดลง ส่งผลให้มหาวิทยาลัยได้รับการจัดสรร งบประมาณจากรัฐบาลลดลง T3 การแข่งขันระหว่างสถาบันทางการศึกษามีสูง นักศึกษาที่มีความรู้ความสามารถส่วนใหญ่ มุ่งศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากกว่า T4 สถานประกอบการที่แปรรูปเป็นมหาวิทยาลัย เช่น สถาบันปัญญาวิวัฒน์ ฯ เพิ่มมากขึ้น มีกลยุทธ์การศึกษาดึงดูดนักศึกษาได้มากกว่า T5 การเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นและหลักสูตรออนไลน์มีจานวนมากขึ้น T6 ปัญหาความเป็นชุมชนเมืองและแหล่งท่องเที่ยว เช่น ระบบขนส่งมวลชนไม่สะดวกเท่าที่ควร ไม่เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน ปัญหาด้านความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหาการจราจร ยาเสพติดระบาด สถานบันเทิงมีจานวนมาก เป็นสิ่งยั่วยุให้ นักศึกษาไม่ทุ่มเทให้กับการเรียน T7 นโยบายด้านการเงินการคลังและระเบียบข้อบังคับการเบิกจ่ายจากภาครัฐที่เข้มงวด ทาให้ขาดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน T8 งบประมาณในช่องทาง Function มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากรัฐบาลให้ความสาคัญกับการพัฒนาเชิงบูรณาการ เชิงประเด็น การพัฒนา (agenda) และเชิงพื้นที่มากขึ้น (Area) T9 สภาพเศรษฐกิจในพื้นที่มีแนวโน้มลดลงส่งผลให้ผู้ปกครองจาเป็นต้องลดค่าใช้จ่ายโดยให้บุตรหลานศึกษาในพื้นที่ ส่งผลให้มี ผู้สนใจศึกษาต่อกับสถาบันการศึกษาในพื้นที่มากขึ้น T10 การระบาดของโรคร้ายแรง เช่น โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาใน สถานศึกษาทุกระดับ

5


การดาเนินงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ธุรกิจหลายประเภท ต้องปิดตัวลง ประชาชนตกงานทาให้ขาดรายได้ โดยเฉพาะธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ซึ่งนักท่องเที่ยว ไม่สามารถเดิน ทางได้ ส่ง ผลให้ เศรษฐกิจขาดสภาพคล่อง คุณภาพชี วิต ของประชาชนตกต่ า มหาวิท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ การพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ด าเนิ น งานตามยุ ท ธศาสตร์ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น สนองงานตามพระบรมราโชบาย จึงดาเนินโครงการเพื่อแก้ปัญหา และยกระดับคุณภาพชีวิต ประชาชนในชุ ม ชน และท้ อ งถิ่ น ให้ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น โดยมี กิ จ กรรมด าเนิ น งานทั้ ง หมด ๑๐ กิจ กรรม ประกอบด้ ว ย 1) กิ จ กรรมจั ด หาวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ส าหรั บ การด าเนิ น งานตามมาตรการเฝ้ า ระวั ง และป้ อ งกั น การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2) โครงการจัดทา Face Shield เพื่อเป็นอุปกรณ์ ช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะ ๑ 3) โครงการศิษย์เก่าและ ศิ ษ ย์ ปั จ จุ บั น มหาวิ ท ยาลั ย ราชภัฏภูเก็ต รวมใจช่ ว ยเหลื อสู้ ภัย Covid-19 ๔) โครงการจั ด ท า Face Shield เพื่ อ เป็ น อุ ป กรณ์ ช่ ว ยป้ อ งกั น การแพร่ ร ะบาดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะ 2 ๕) โครงการจ้างงานประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 6) โครงการราชภัฏภูเก็ตร่วมใจก้าวข้ามวิกฤต COVID-19 ๗) โครงการอบรมความรู้และทักษะ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ๘) โครงการ PKRU ปันน้าใจพี่ให้น้อง ๙) โครงการเตรียมความพร้อม แก่นักศึกษาภาคปกติจันทร์ - ศุกร์ และ ๑๐) โครงการ “Farm From Home ผักสวนครัว ร่วมพัฒน์ฯ” ผลผลิต (Output) 1. จัดตั้งศูนย์คัดกรองเบื้องต้นตรวจวัดไข้ มีจุดคัดกรองอุณหภูมิก่อนเข้า - ออกมหาวิทยาลัย 2. จัดหาวัสดุ และจัดทาอุปกรณ์สาหรับการดาเนินงานตามมาตรการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) อาทิ Face Shield ถุงมือยางทางการแพทย์ เจลแอลกอฮอล์ ล้างมือ หน้ากากผ้า ถังพ่นยาพร้อมสายฉีดชุด PVC ป้องกันสารเคมี น้ายาฆ่าเชื้อฯ เป็นต้น

ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ในช่วงเวลาดังกล่ าวมหาวิท ยาลัยสามารถให้บ ริการนักศึกษา บุคลากร และประชาชนได้อย่า ง ต่อเนื่อง โดยไม่เกิดการหยุดชะงัก และไม่มีผลเสียหายต่อทางราชการ 2. นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยทุกคนปลอดภัย ไม่มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผลกระทบ (Impact) ๑. ชุมชน และหน่วยงานที่ได้รับการบริการจากมหาวิทยาลัยมีอุปกรณ์ป้องกัน การระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อ ๒. บุคลากรทางการศึกษา และนักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการเรียนจัดการเรียน การประชุม และอบรมผ่านระบบออนไลน์ได้

6


7


1. กิจกรรมจัดหาวัสดุอุปกรณ์สาหรับการดาเนินงานตามมาตรการเฝ้าระวัง และป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะเร่งด่วน พื้นที่ จังหวัดภูเก็ต เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในจังหวัดภูเก็ตที่มีแนวโน้ม ทวีความรุนแรงขึ้นในวงกว้างและยืดเยื้อยาวนาน โดยข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2563 มีจานวนผู้ติดเชื้อแล้ว 170 คน และยังคงมีจานวนผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งจังหวัดภูเก็ตได้กาหนดมาตรการต่าง ๆ เพื่อยกระดับ การป้องกันควบคุมและแก้ปัญหาดังกล่าวแล้วนั้น ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2563 มอบหมาย ให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐเร่งรัดดาเนินการป้องกันควบคุม และบรรเทาผลกระทบจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มหาวิทยาลัยร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนมาตรการ และยกระดับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยเน้นการทางาน 2 ส่วน คือ การให้คาแนะนา และการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมการเข้า - ออก มหาวิทยาลัยของบุคลากร นักศึกษา และผู้รับบริการในช่วงเวลาดังกล่าว

ผลผลิตของโครงการ (OUTPUT) 1. จัดตั้งศูนย์คัดกรองเบื้องต้น ตรวจวัดไข้ มีจุดคัดกรองอุณหภูมิก่อนเข้า - ออกมหาวิทยาลัย 2. จัดหาวัสดุอุปกรณ์สาหรับการดาเนินงานตามมาตรการเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) อาทิ ถุงมือยางทางการแพทย์ เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ หน้ากากผ้า ถังพ่นยาพร้อมสายฉีดชุด PVC ป้องกันสารเคมี น้ายาฆ่าเชื้อฯ รวมจานวนเงินทั้งสิ้น 300,000 บาท เป็นต้น

ผลลัพธ์ของโครงการ (OUTCOME) 1. ในช่ว งเวลาดังกล่าวมหาวิทยาลัยสามารถให้บริ การนั กศึกษา บุคลากร และประชาชนได้อ ย่างต่ อเนื่อ ง โดยไม่เกิดการหยุดชะงัก และไม่มีผลเสียหายต่อทางราชการ 2. นักศึกษา และบุคลากรของมหาวิทยาลัยทุกคนปลอดภัย ไม่มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

8


2. โครงการจัดทา Face Shield เพื่อเป็นอุปกรณ์ช่วยป้องกันการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะเร่งด่วน พื้นที่ จังหวัดภูเก็ต จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้ประชาชนขาดแคลน สิ่งป้องกันการแพร่ระบาด มหาวิทยาลัยเล็งเห็นถึงความปลอดภัยของบุคลากร และประชาชน จึงจัดโครงการจัดทา Face Shield เพื่อเป็นอุปกรณ์ช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จัดทาและแจกจ่าย Face Shield ไปยังหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยฯ และหน่วยงานภายนอกในท้องถิ่นจังหวัด ภูเก็ต ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ 2 วัน ผลผลิตของโครงการ (OUTPUT) 1. เจ้าหน้าที่ บุคลากร และนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้รับ Face Shield จานวน ๒๔๐ ชิ้น 2. โรงพยาบาลวชิระภูเก็ตได้รับ Face Shield จานวน ๑๐๐ ชิ้น 3. โรงพยาบาลมิชชั่นภูเก็ตได้รับ Face Shield จานวน ๑๐๐ ชิ้น 4. สถานีตารวจภูธรเมืองภูเก็ตได้รับ Face Shield จานวน ๔๐ ชิ้น 5. สถานีตารวจภูธรกะทูไ้ ด้รับ Face Shield จานวน ๒๐ ชิ้น รวมทั้งสิ้น ๕๐๐ ชิ้น ผลลัพธ์ของโครงการ (OUTCOME) เกิดการใช้ประโยชน์ Face Shield ในหน่วยงานที่ต้องมีการติดต่อสื่อสารกับบุคคลภายนอก และหน่วยงานที่มี ความเสี่ยงสูง

9


3. โครงการศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต รวมใจช่วยเหลือ สู้ภัย Covid-19 ระยะเร่งด่วน พื้นที่ จังหวัดภูเก็ต 1. การให้ บ ริ ก ารประชาชน และนั ก ศึ ก ษาในพื้ น จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ยั ง ไม่ ทั่ ว ถึ ง เนื่ อ งจากมี ก ารปิ ด ต าบล จึงไม่สามารถออกมารับบริการได้ 2. การอานวยความสะดวกจากภาครัฐ หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. ประชาชน และนักศึกษาจานวนมากได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ทาให้สิ่งของต่าง ๆ อาหาร และเครื่องอุปโภค บริโภคไม่เพียงพอต่อความต้องการ กองพัฒนานักศึกษา และสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนมาตรการ ป้ อ งกั น เฝ้ า ระวั ง และให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ นั ก ศึ ก ษา และประชาชนที่ ไ ด้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ และบรรเทาผลกระทบ จากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) โดยกองพัฒนานักศึกษา และสมาคมศิษย์เก่า พร้อมเจ้าหน้าที่และบุคลากรมหาวิทยาลัยนาสิ่งของอุปโภค-บริโภค หนังสือ ฯลฯ มาแบ่งปันในตู้ปันสุข ปันอิ่ม ปันฝัน ได้มอบสิ่งของจาเป็น เช่น อาหาร เครื่องอุปโภค บริโภคให้แก่นักศึกษา และประชาชน ณ พื้นที่จังหวัดภูเก็ต และได้มี การให้บริการตู้ปันสุข ตู้ปันฝัน และตู้ปันรักให้แก่นักศึกษา และประชาชน ในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึง กันยายน 2563

ผลผลิตของโครงการ (OUTPUT) ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ได้รับการช่วยเหลือ เยียวยาสิ่งจาเป็นต่อการดารงชีวิต เช่น อาหาร เครื่องอุปโภคบริโภค จากการบริการตู้ปันสุข ตู้ปันฝัน ตู้ปันรัก เป็นต้น

ผลลัพธ์ของโครงการ (OUTCOME) ได้มีการช่วยเหลือเยียวยาความเดือดร้อนให้แก่นักศึกษา และประชานที่ได้รับผลกระทบของสถานการณ์ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19)

10


4. โครงการจัดทา Face Shield เพื่อเป็นอุปกรณ์ช่วยป้องกันการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะฟื้นฟู พื้นที่ จังหวัดภูเก็ต/ธุรกิจสปา และนวดเพื่อสุขภาพในจังหวัดภูเก็ต จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทาให้สถานประกอบการ เพื่ อ สุ ข ภาพในจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต เช่ น กิ จ การสปาและการนวดเพื่ อ สุ ข ภาพถู ก สั่ ง ปิ ด กิ จ การชั่ ว คราว เนื่ อ งจากลั ก ษณะ การให้บริการมีการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้รับบริการ และมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อดังกล่าว มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้ลงนามบันทึกความเข้าใจกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนตามแผนงานวิจัย เรื่อ ง การเพิ่ มขีด ความสามารถในการแข่ งขัน ของธุร กิจ สปาเพื่ อสุข ภาพในพื้น ที่ภาคใต้สู่ก ารเป็น ผู้น าการท่ องเที่ย ว เชิงส่งเสริมสุขภาพในระดับสากล โดย ดร.พุทธพร อักษรไพโรจน์ หัวหน้าโครงการ ร่วมกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัด ภูเก็ต และสมาคมสปาเพื่อสุขภาพภูเก็ต ได้ร่วมศึกษาหามาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้านผลิตภัณฑ์ เครื่องมือและอุปกรณ์ การจัดการองค์กร สถานที่ และสิ่งแวดล้อมของธุรกิจสปาและ นวดเพื่อสุขภาพในจังหวัดภูเก็ต และได้จัดอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการควบคุมของธุรกิจสปาและนวด เพื่ อ สุ ข ภาพและน าไปปฏิ บั ติ ใ ช้ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด ตามตั ว ชี้ วั ด ของมาตรการควบคุ ม แก่ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารสถานประกอบการ เพื่อสุขภาพในจังหวัดภูเก็ตก่อนการเปิดดาเนินการ โดยมีการเผยแพร่ในรูปแบบเอกสารสื่อต่าง ๆ และสัมภาษณ์สดใน รายการวิถีชีวิตใหม่ NEW NORMAL ผ่านช่อง NBT ระหว่างวันที่ 12 พฤษภาคม - 12 มิถุนายน 2563 ผลผลิตของโครงการ (OUTPUT) 1) ตัวชี้วัด และมาตรการควบคุมโรคของธุรกิจสปาและนวด เพื่อสุขภาพเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในจังหวัดภูเก็ต 2) สร้ า งความรู้ ความเข้ า ใจแก่ ผู้ใ ห้ บ ริ ก ารสปาและนวดเพื่ อ สุ ข ภาพตามมาตรการควบคุ ม โรคของธุ ร กิ จ และนวดเพื่อสุขภาพเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในจังหวัดภูเก็ต ผลลัพธ์ของโครงการ (OUTCOME) สมาคมสปาเพื่อสุขภาพภูเก็ต และสานักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต นามาตรการควบคุมโรคของธุรกิจสปา และนวดเพื่ อ สุ ข ภาพเพื่ อ ลดการแพร่ ร ะบาดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) ในจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ และเชิงนโยบาย

11


5. โครงการจ้างงานประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ระยะฟื้นฟู พื้นที่ จังหวัดภูเก็ต จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อการประกอบ อาชีพของประชาชน ทาให้เกิดการว่างงานและขาดแคลนรายได้ เพื่อเป็นการช่วยเหลือ สนับสนุน และเยียวยาผู้ได้รับ ผลกระทบ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงจัดทาโครงการจ้างงานประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมุ่งหวังช่วยเหลือด้ วยการสร้า งงาน และรายได้ให้แก่ ประชาชนใน เขตพื้ น ที่ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ตลอดจนเสริ ม ศั ก ยภาพให้ แ รงงานสมั ย ใหม่ ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาทั ก ษะการท างานในด้ า น การพัฒนาการท่องเที่ยวในท้องถิ่นร่วมกับบุคลากรของมหาวิทยาลัย โดยใช้องค์ความรู้และนวัตกรรมที่มหาวิทยาลัยมีอยู่ ได้อย่างเต็มศักยภาพ ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์กรมหาชน) ดาเนินภารกิจภายใต้โครงการจ้างงานประชาชนที่ได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะที่ 2 ในตาแหน่ง “นักพัฒนา นิเวศน์ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ” จานวน 150 อัตรา เพื่อเป็นการช่วยเหลือประชาชนว่างงาน และไม่ได้รับสิทธิ์เงินเยียวยา 5,000 บาท จากรัฐบาล อีกทั้งเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จานวน 2 เดือน คือ เดือนสิงหาคม - เดือนกันยายน 2563 โดยได้รับค่าจ้างอัตราเดือนละ 9,000 บาท ระหว่างเดือนสิงหาคม - กันยายน 2563

ผลผลิตของโครงการ (OUTPUT) ดาเนินการจ้างงานประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะที่ 2 ตาแหน่ง “นักพัฒนานิเวศน์ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ” จานวน 150 อัตรา ในจังหวัดพื้นที่บริการท้องถิ่น ได้แก่ 1. จังหวัดภูเก็ต จ้างงานประชาชน จานวน 103 คน 2. จังหวัดพังงา จ้างงานประชาชน จานวน 36 คน 3. จังหวัดกระบี่ จ้างงานประชาชน จานวน 11 คน รวมทั้งสิ้น 150 คน

ผลลัพธ์ของโครงการ (OUTCOME)

12


6. โครงการราชภัฏภูเก็ตร่วมใจก้าวข้ามวิกฤต COVID- 19 ช่วยเหลือนักศึกษา การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในช่วงที่ผ่านมาเป็นภาวะวิกฤตที่ส่งผลกระทบ อย่างรุนแรง สร้างความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจ และประชาชนทุกภาคส่วน โดยเฉพาะจังหวัดภูเก็ตที่มีรายได้หลักจาก อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว สถานประกอบการ โรงแรมปิดให้บริการ แรงงานในภาคการท่องเที่ยวถูกเลิกจ้างหรือขาด รายได้ และปัญหาที่ตามมา คือ การว่างงานของประชาชน ผู้ปกครอง นักเรียน รวมถึงนักศึกษาของมหาวิทยาลัยส่วนหนึ่ง ที่ทางานนอกเวลาเรียนเพื่อหาเงินเป็นค่าใช้จ่ายแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง มหาวิทยาลัยให้การช่วยเหลือเยียวยาผู้ที่ว่างงานเนื่องจากผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยวิธีการจ้างงานเป็นระยะเวลา 4 เดือน ตั้งแต่เดือนมิถุนายน - กันยายน 2563 ผลผลิตของโครงการ (OUTPUT) นักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่ว่างงานเนื่องจากผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค โรนา 2019 (COVID-19) ได้รับการจ้างงานจากมหาวิทยาลัย ตั้งแต่เดือนมิถุนายน - กันยายน 2563 จานวน 765 คน รวมเป็นเงินค่าจ้างทั้งสิ้น 919,850 บาท ผลลัพธ์ของโครงการ (OUTCOME) นักเรียน นักศึกษา และประชาชนได้รับการช่วยเหลือบรรเทาผลกระทบจากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีรายได้เฉลี่ย 1,200 บาทต่อคน สามารถแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของครอบครัว ทาให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

13


7. โครงการอบรมความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ช่วยเหลือนักศึกษา การแพร่ ร ะบาดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) ท าให้ ไ ม่ ส ามารถจั ด อบรมแบบปกติ ไ ด้ จึงมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบอบรมเป็นออนไลน์ เพื่อช่วยเหลือนักศึกษาให้สามารถเรียนรู้หลักสูตร ได้แก่ 1. อบรมหลักสูตร การตกแต่งภาพและรีทัชภาพ เพื่อการประยุกต์ใช้อย่างมืออาชีพ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 2. อบรมหลักสูตรการใช้งาน Interactive PowerPoint Presentation วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2563 3. อบรมออนไลน์หลักสูตรการใช้งาน Google App และ Microsoft 365 เพื่อการศึกษาออนไลน์ วันที่ 13 และ 15 พฤษภาคม 2563

ผลผลิตของโครงการ (OUTPUT) 1. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต เข้าร่วมโครงการ 4,118 คน 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 83.40

ผลลัพธ์ของโครงการ (OUTCOME) 1. นั กศึ กษาที่ เข้ าร่ วมโครงการมี ความรู้ ทั กษะ และจริ ยธรรมด้ านการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศในการเพิ่ ม ประสิทธิภาพการเรียนรู้และการดารงชีวิต คิดเป็นร้อยละ 83.50 2. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการผ่านการทดสอบความสามารถการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คิดเป็นร้อยละ 83.40

14


8. โครงการ PKRU ปันน้าใจ พี่ให้น้อง ช่วยเหลือนักศึกษา จากสถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) รั ฐ บาลจึ ง มี น โยบาย ให้หน่วยงานทุกภาคส่วนดาเนินมาตรการต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน และเยียวยาช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจาก โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับในส่วนของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้มีการช่วยเหลือนักศึกษา ในการสนับสนุนทุนการศึกษาแก่นักศึกษาที่ได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส านั ก บริ ห ารจั ด การทรั พ ย์ สิ น และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต ร่ ว มกั บ สมาคมศิ ษ ย์ เ ก่ า มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต จั ด กิ จ กรรม “PKRU ปั น น้ าใจ พี่ ใ ห้ น้ อ ง” โดยมี ผศ.ดร.หิ รั ญ ประสารการ อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต ร่ ว มด้ ว ย ดร.บุ ญ ศุ ภ ภะ ตั ณ ฑั ย ย์ รองอธิ ก ารบดี ฝ่ า ยกิ จ การพิ เ ศษ นายเรวั ต อารี ร อบ นายกสมาคมศิษย์เก่าฯ ตลอดจนผู้บริหาร และบุคลากรเข้าร่วมกิจกรรม ณ ห้องประชุมคุณหญิงกาญจนา ณ ระนอง ณ ศูนย์ประชุมอันดามันพรรณราย โดยได้รับความร่วมมือระหว่างสมาคมศิษย์เก่าฯ ที่มอบทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษา โครงการ กศ.บป. (ภาคเสาร์-อาทิตย์) ซึ่งเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2563 ผลผลิตของโครงการ (OUTPUT) นักศึกษาได้รับทุนการศึกษา จานวน 43 ทุน ทุนละ 1,200 บาท รวมทั้งสิ้น 51,600 บาท ผลลัพธ์ของโครงการ (OUTCOME) นักศึกษาผู้ได้รับผลกระทบจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รับความช่วยเหลือ และสามารถ นาทุนที่ได้รับไปเยียวยาเพื่อใช้ดารงชีวิตได้

15


9. โครงการเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาภาคปกติจนั ทร์-ศุกร์ ช่วยเหลือนักศึกษา จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ภายใต้การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้วยวิธีการเว้นระยะห่างทางสังคม (social distancing) และการดูแลปฏิบัติตน ในการป้องกันด้วยการวัดอุณหภูมิร่างกาย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เห็นความสาคัญของสถานการณ์ดังกล่าวจึง จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษา สาขาวิ ชาการพั ฒนาชุ ม ชน คณะมนุษ ยศาสตร์ แ ละสั งคมศาสตร์ มหาวิท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เก็ ต จั ด โครงการ เตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาภาคปกติจันทร์ - ศุกร์ เพื่อพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ในสถานศึกษา โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ภายใต้การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ด้วยวิธีการเว้นระยะห่างทางสังคม (social distancing) และการดูแลปฏิบัติตนในการป้องกันด้วย การวัดอุณหภูมิร่างกาย ใช้เจลล้างมือ และการสวมหน้ากากอนามัย สาหรับกิจกรรมการเตรียมความพร้อมฯ ดังกล่าว มีการจัดกิจกรรมพบปะพูดคุย และทาความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาต่อการเรียนการสอน วิถีใหม่ กิ จกรรมการมอบสายรัดข้อ มือประจ าสาขา กิ จกรรมการแลกเปลี่ ยนความคิ ดเกี่ ยวกับ ปัญหาความต้อ งการ และความคาดหวั ง ของนั ก ศึ ก ษา กิ จ กรรมอบรมให้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ การจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นระบบออนไลน์ และการใช้เทคโนโลยี ในเดือนมิถุนายน 2563

ผลผลิตของโครงการ (OUTPUT) นักศึกษาได้รับความรู้ และมีความพร้อมสาหรับการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ และวิธีการดูแลปฏิบัติตนจากโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลลัพธ์ของโครงการ (OUTCOME) นักศึกษาปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พร้อมทั้งสามารถปรับตัว และเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

16


10. โครงการ “Farm From Home ผักสวนครัว ร่วมพัฒน์ฯ” ช่วยเหลือนักศึกษา ในช่ วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติ ดเชื้อไวรั สโคโรนา 2019 (COVID-19) การเรีย นผ่า นระบบ ออนไลน์เป็นเรื่องใหม่ ทาให้เกิดปัญหาการใช้โปรแกรมการสอนที่สัญญาณอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร และอุปกรณ์เพื่อใช้เรียน อาจไม่พร้อมสาหรับนักศึกษาและอาจารย์ จึงควรปรับตัวในการแก้ไขปัญหา โดยหาโปรแกรมที่สอดคล้องกับการเรียน การสอนที่ทาให้ง่ายและสะดวกขึ้นในสถานการณ์วิกฤตโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงทาให้เกิดโครงการ ที่เป็นประโยชน์ผ่านรูปแบบออนไลน์ นักศึกษาสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน บูรณาการการเรียนรู้รายวิชาการจัดประชุมและสัมมนา จัดทาคลิปอบรม ออนไลน์ “Farm from home” ส่งเสริมชุมชนและครัวเรือนปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ สร้างเสริมการใช้ชีวิต new normal ในห้วงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ชาวบ้านในชุมชน ในเดือนมิถุนายน 2563 ผลผลิตของโครงการ (OUTPUT) ชาวบ้านและชุมชนได้รับการส่งเสริมให้มีการจัดสรรพื้นที่รอบรั้วบ้าน ปลูกผักสวนครัวรั้วกันได้เพื่อหาเลี้ยงชีพ ตนเองได้ ซึ่งสามารถดาเนินการได้จริงแม้ในสภาวะวิกฤตหรือสภาวะปกติ ผลลัพธ์ของโครงการ (OUTCOME) ชาวบ้ า นเกิ ด การพึ่ งพาตนเองของครั ว เรื อ นและชุ ม ชน สามารถน าความรู้ ที่ ไ ด้ ไ ปพึ่ งพาตนเองแบบยั่ งยื น ลดรายจ่ายในครัวเรือน เพิ่มความมั่นคงทางด้านอาหาร ทาให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้

17


ความเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี กับแผนยุทธศาสตร์อื่น ๆ

- ด้านความมั่นคง - ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน - ด้า นการพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ - ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม - ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ด้านการปรับสมดุลและพัฒ นาระบบการ บริหารจัดการภาครัฐ

-

การพัฒนาท้องถิ่น การผลิตและพัฒนาครู การยกระดับคุณภาพการศึกษา การพัฒนาระบบบริหารจัดการ

18

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561 - 2580 แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ 12/ แผนแม่บทฯ/แผนปฏิรูปประเทศ แผนอื่น ๆ

- การผลิ ต และ พั ฒ นาก าลั ง ค น การวิ จั ย และนวั ต กรรม เพื่ อ สร้ า ง ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของประเทศ - การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ - การสร้ า งโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา - การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบ บริหารจัดการศึกษา

ยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏฯ ยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต

- ยกระดั บ คุ ณ ภาพการผลิ ต บั ณ ฑิ ต ให้ มี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสง ค์ ใ น ศตวรรษที่ 21 และ Thailand 4.0 - เร่ ง รั ดพัฒนาคุณภาพงานวิจัย หรื อ งานสร้ า งสรรค์ ใ ห้ ไ ด้ รั บ การตี พิ ม พ์ เผยแ พร่ แ ละน าไปใช้ ป ระโยช น์ ในการพัฒนาท้องถิ่น - พัฒนาศักยภาพการบริการวิชาการ ที่ตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น - อ นุ รั ก ษ์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น อันดามันเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม - พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อเป็น “Smart University”


ระบบและกลไกการดาเนินโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

มหาวิทยาลัยได้รับกรอบ วงเงินงบประมาณ จากสานักงบประมาณ ประชุมคณะกรรมการบริหาร กาหนดกรอบแนวคิดในการทางาน และพิจารณาตัวชี้วดั แต่งตั้งคณะกรรมการ พัฒนาโครงการ/กิจกรรม เสนอกรอบแนวคิด พิจารณาโครงการ /กิจกรรม ปรับปรุง แก้ไข โครงการ/กิจกรรม สถาบันวิจัยและพัฒนา รวบรวม และตรวจสอบ กองนโยบายและแผน ตรวจสอบ

อธิการบดีอนุมัติ หัวหน้าโครงการ รับทราบ/ปฏิบตั /ิ สรุปผล/ รายงานผลโครงการ

19


แผนที่การดาเนินงานตามโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 พื้นที่ดาเนินงาน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่ 1. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคน ในชุมชนฐานราก 2. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น 3. โครงการส่งเสริม ความรักสามัคคี เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น ภายใต้พื้นฐานของสังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 4. โครงการยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียนและการวิเคราะห์ ของนักเรียน ในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5. โครงการพัฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 ฯ 6. โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขปัญหา ขาดแคลนครูให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก 7. โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน 8. โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม 9. โครงการพัฒนาระบบข้อมูลตาบลในจังหวัด (Big Data)

4

1, 2

1, 7, 9

4 1, 2, 4

1, 6 1, 4

2, 3 4

1, 2, 4

1, 4

1, 2, 3 4, 6, 7 9

4

1, 2, 3

1, 2, 3, 4

4

6, 8 1, 2, 4 7, 8 4, 5 6, 9

20

1, 2, 3

1, 2 4, 9


แผนที่การดาเนินงานตามโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ต่อ)

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคน ในชุมชนฐานราก โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น โครงการส่งเสริม ความรักสามัคคี เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น ภายใต้พื้นฐานของสังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โครงการยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียนและการวิเคราะห์ ของนักเรียน ในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการพัฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 ฯ โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขปัญหา ขาดแคลนครูให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม โครงการพัฒนาระบบข้อมูลตาบลในจังหวัด (Big Data)

21


แผนที่การดาเนินงานตามโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ต่อ)

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคน ในชุมชนฐานราก โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น โครงการส่งเสริม ความรักสามัคคี เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น ภายใต้พื้นฐานของสังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โครงการยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียนและการวิเคราะห์ ของนักเรียน ในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการพัฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 ฯ โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขปัญหา ขาดแคลนครูให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม โครงการพัฒนาระบบข้อมูลตาบลในจังหวัด (Big Data)

22


แผนที่การดาเนินงานตามโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ต่อ)

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคน ในชุมชนฐานราก โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขปัญหา ขาดแคลนครูให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น

โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน

โครงการส่งเสริม ความรักสามัคคี เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น ภายใต้พื้นฐานของสังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม

โครงการยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียนและการวิเคราะห์ ของนักเรียน ในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โครงการพัฒนาระบบข้อมูลตาบลในจังหวัด (Big Data)

โครงการพัฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 ฯ

23


24


25


มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต ได้ ก าหนดมาตรการในการขั บ เคลื่ อ นภารกิ จ ด้ า นการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น โดยมุ่งเน้นให้ทุกคณะ/สาขาวิชา บูรณาการการจัดการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ โดยกระบวนการมีส่วนร่วม ของอาจารย์และนักศึกษาในการลงพื้นที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ตามศาสตร์ที่เชี่ยวชาญแขนงต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหา และพั ฒ นาชุ ม ชนท้ องถิ่น ด้ า นการศึ กษา ด้ า นเศรษฐกิ จ ด้ า นสั ง คม และด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มในพื้ น ที่ บ ริการ คื อ จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ พื้ น ที่ บ ริ ก ารของมหาวิ ท ยาลั ย ทั้ ง ๓ จั ง หวั ด เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ มี ชื่ อ เสี ย งในระดั บ สากล และมีเป้าหมายในการพัฒนาเป็นศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยวระดับโลก ประกอบกับการผลักดันและขับเคลื่อนด้าน การท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อสร้างรายได้แก่ประชาชนและความยั่งยืนด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด ดังนั้น การสร้าง โอกาสความเท่าเทียมทางสังคม เพื่อลดความเหลื่อมล้าจึงถือเป็นบทบาทและภารกิจอย่างหนึ่งของมหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานรากให้บังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงได้กาหนดการดาเนิน “โครงการฝึกอบรมอาชีพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับ รายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก” ขึ้ น โดยกาหนดพื้นที่ ในจังหวัดภูเก็ต พั งงา และกระบี่ ซึ่ งผลจากการดาเนิ น โครงการครั้งนี้จะสามารถส่งเสริมการประกอบอาชีพ สร้างรายได้ที่เพิ่มขึ้นให้กับครัวเรือน ส่งผลให้ชุมชนมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น

เป้าหมาย/ตัวชี้วัด ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้ที่สูงขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งกาย ใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ผลผลิต (Output) ๑. อาจารย์และนักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และงานวิ จั ย และความเชี่ ย วชาญในศาสตร์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย สู่ ก ารพั ฒ นาชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่ เ ป้ า หมาย ผ่านกระบวนการบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอน และการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ทักษะ สามารถนาไปใช้ในการประกอบอาชีพ เพื่อสร้างรายได้แก่ครัวเรือน ผลลัพธ์ (Outcomes) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้ที่สูงขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นทั้งกาย ใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ผลกระทบ (Impact) ๑. ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการตนเอง ๒. ประชาชนมีความพร้อมในการเป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งพาตนเอง และทาประโยชน์แก่สังคม และประเทศชาติ

26


1. โครงการร่วมป่าคลอก (การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าปาเต๊ะ)

พื้นที่ หมู่ที่ ๒ บ้านป่าคลอก ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน บ้านป่าคลอก หมู่ที่ ๒ อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต มีสภาพเป็นพื้นที่ราบชายฝั่ง ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทาสวน ยางพารา และมีอาชีพเสริมในการทาประมงชายฝั่ง ภายในชุมชนมีการรวมตัวกันของแม่บ้าน ผู้สูงอายุ และกลุ่มครูสังกัด เทศบาลตาบลป่าคลอก โดยกลุ่มชาวบ้านมีความต้องการในการพัฒนาอาชีพเสริมในด้านงานศิลปะที่สะท้อนผ่านเครื่อง แต่งกายประจาถิ่นที่ใช้ในชีวิตประจาวันและในงานประเพณีต่าง ๆ จึงมีมติให้จัดกิจกรรมการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าปาเต๊ะ เพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์การแต่งกายในชุมชนและส่งเสริมการท่องเที่ยว คณะทางานจึงประชุมวางแผนการดาเนินงานเพื่อจัด อบรมเชิ งปฏิบัติ การการพั ฒนาผลิ ตภัณ ฑ์จากผ้ าปาเต๊ ะและการสร้า งช่อ งทางการจั ดจ าหน่ าย โดยได้รับ เกี ยรติ จาก คุณ ฤทธิพ งษ์ ฤทธิ์ ท้ว ม และคุ ณ ปาจารี ย์ ฤทธิ์ ท้ ว ม จากสถาบั นสอนศิ ลปะภู การ์ ผู้เ ชี่ ย วชาญด้ านการพั ฒ นาเครื่ อ ง แต่ ง กายท้ อ งถิ่ น โดยมี ก ารอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเป็ น เวลา 4 วั น ท าให้ ก ลุ่ ม ชุ ม ชนได้ รั บ ความรู้ เ กี่ ย วกั บ ผ้ า ปาเต๊ ะ การออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าปาเต๊ะ อุปกรณ์ วิธีการและเทคนิคในการเพ้นผ้าปาเต๊ะ การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าปาเต๊ะ และ ช่องทางในการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้

27


2. โครงการร่วมป่าคลอก (กิจกรรมการอบรมการเพ้นท์กระเป๋าผ้าปาเต๊ะ)

พื้นที่ หมู่ที่ ๔ บ้านพารา ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน พื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านพารา ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เป็นชุมชนที่อยู่ร่วมกันระหว่างชาวไทยพุทธ และชาวไทยมุสลิม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และประมงพื้นบ้าน รายได้ขึ้นกับราคาของผลผลิตทา ให้มีความไม่แน่นอน ชุมชนมีความต้องการทาอาชีพเสริมที่เกี่ยวข้องกับงานฝีมือ เนื่องจากสมาชิกส่วนใหญ่เป็นแม่บ้าน นอกจากนั้นยังสนใจการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร และการสร้างตลาดออนไลน์เพื่อจาหน่ายผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น จากความต้ อ งการของชุม ชนมหาวิท ยาลั ย จึ งได้ จัด ฝึ กอบรม “การเพ้น ท์ ก ระเป๋า ผ้ าปาเต๊ะ ” ให้ แ ก่ส มาชิก ในชุ ม ชน จานวน ๒๕ ครัวเรือน โดยได้รับเกียรติจากคุณพนิดา กิตติเวช ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะสิเหร่ ร่วมใจพัฒนา เป็นวิทยาการ ณ ห้องประชุมมัสยิดดารุ่ลอิสตีกอมะฮ์ (บ้านพารา) ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โดยเป็น การฝึกปฏิบัติการเพ้นท์กระเป๋าผ้าปาเต๊ะ เป็นการสร้างอาชีพเสริมให้แก่ชุมชน ทั้งนี้ คณะทางานได้จัดหาช่องทางจาหน่าย ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบออนไลน์ต่อไป

28


3. โครงการร่วมป่าคลอก (กิจกรรมการส่งเสริมการปลูกผักเหมียงอย่างเป็นระบบ)

พื้นที่ หมู่ที่ ๒ ชุมชนบางโรง ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน ประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่หมู่ที่ ๒ ชุมชนบางโรง ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม และประมง รายได้ขึ้นอยู่กับราคาของผลผลิตทางการเกษตรที่มีความผันผวน กลุ่มชาวบ้านมีความสนใจใน การปลูกพืช และการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร โดยมองเห็นศักยภาพในการจาหน่ายผักเหมียงซึ่งเป็นพืชท้องถิ่น ที่สามารถปลูกได้ง่าย คณะทางานจึงได้ให้ความรู้ในการปลูกผักเหมียงอย่างเป็นระบบ โดยอบรมให้ความรู้ด้านการปลูก การดูแล การให้ปุ๋ย และการขยายพันธุ์ผักเหมียงแก่ชุมชน เพื่อให้สามารถปลูกได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลังการมีการติดตาม การปลูกผักเหมียงของชุมชน โดยการสารวจอัตราการรอดชีวิต และการเจริญเติบโตของต้นผักเหมียง รวมทั้งมีการอบรม กระบวนการแปรรูปผักเหมียงเป็นชาผักเหมียงพร้อมบริโภคในบรรจุภัณฑ์เพื่อการจาหน่าย หลังจากเข้าร่วมโครงการทาให้ ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจาหน่ายผักเหมียงสด และชาผักเหมียง

29


4. โครงการร่วมป่าคลอก (กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรที่เกี่ยวข้อง กั บ การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ การพั ฒ นากลุ่ ม อาชี พ และผู้ ป ระกอบการ การพัฒนาสื่อการเรียนทรัพยากรท้องถิ่น ภูมิปัญญาการประมงพื้นบ้านและการแปรรูป ) พื้นที่ หมู่ที่ ๒ บ้านป่าคลอก ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการเปิดเวทีรับฟังความต้องการของชุมชน พบว่า ชุมชนมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันจากปัญหาที่เกิดขึ้น ภายในชุมชน เช่น การบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน ปัญหาหนี้นอกระบบ ปัญหาการลดน้อยลงของทรัพยากรสัตว์น้าวัยอ่อน ปัญหาคุณภาพชีวิตเป็นต้น ชุมชนจึงมีแนวคิดที่จะร่วมกันพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นโดยเป็นหลักสูตรที่สามารถยกระดับ รายได้ให้แ ก่สมาชิกในชุมชนได้ เช่น หลักสูต รที่เกี่ ยวข้อ งกับการอนุ รักษ์ท รัพยากรธรรมชาติ การพัฒนากลุ่ม อาชี พ และผู้ ป ระกอบการ การพั ฒ นาสื่ อ การเรี ย นทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ภู มิ ปั ญ ญาการประมงพื้ น บ้ า น และการแปรรู ป ผลจากการดาเนินการโครงการหลังการเปิดเวทีทาให้ได้ข้อมูลแนวทางการพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ในด้านการประมง การจัดการกลุ่มออมทรัพย์ และการพัฒนาอาชีพของสมาชิกในชุมชน

30


5. โครงการร่วมป่าคลอก (กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรระยะสัน้ การอนุรักษ์ ไม้ปาด-ปีปี ไม้ใหญ่แห่งทะเล และเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนและธรณีวิทยา) พื้นที่ หมู่ที่ ๙ บ้านอ่าวกุ้ง ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน กลุ่มอนุรักษ์บ้านอ่าวกุ้ง เป็นการรวมกลุ่มของคนในชุมชนเพื่ออนุรักษ์ป่าชายเลนและทรัพยากรในท้องถิ่ น ที่เคยถูกทาลายจากการสัมปทานไม้ การทานากุ้ง และการทาประมงที่ไม่ยั่งยืน โดยเน้นไปที่การทาความเข้าใจกับชุมชน และตั้งกฎในการใช้ประโยชน์ รวมถึงป้องกันพื้นที่ไม่ให้ถูกทาลาย เป็นการเปิดโอกาสให้ป่าชายเลน แนวปะการัง และ ระบบนิเวศชายฝั่งอื่น ๆ ฟื้นตัวได้ตามศักยภาพ ชาวบ้านดาเนินงานมาจนได้รับพระราชทานธง “พิทักษ์ป่า เพื่อรักษาชีวิต” จากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ ในปี พ.ศ. 2545 จากนั้นมีหน่วยงานต่าง ๆ ติดต่อเข้ามาเพื่อทากิจกรรม อนุรักษ์ เช่น การปลูกป่าชายเลน ซึ่งต้นไม้ที่ปลูกมักจะไม่สามารถเจริญเติบโตได้ดี นอกจากนั้นชาวบ้านยังเห็นว่าพื้นที่นี้ เป็นพื้นที่มีความสมบูรณ์และระบบนิเวศ มีศักยภาพในการฟื้นฟูตัวเอง จึงไม่ควรไปปลูกต้นไม้เพิ่มซึ่งจะเป็นการแทรกแซง กลไกตามธรรมชาติ อย่างไรก็ตามในพื้นที่ยังไม่มีกิจกรรมอื่นที่สามารถสื่อสารและเชื่อมโยงกับคนเมืองที่ต้องการเข้ามาทา กิจกรรมอนุรักษ์ได้ ดังนั้นจึงต้องการให้คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มาช่วยพัฒนาพื้นที่ให้ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยสร้างกิจกรรมที่ให้ความรู้แก่ผู้ที่มาเยี่ยมเยือน และแสดงออกถึง ความเชื่อมโยงกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติได้ นอกจากนั้นการพัฒนากิจกรรมในแหล่งเรียนรู้นี้จะช่วยสร้างงาน สร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ คนในชุ ม ชนได้ อี ก ทางหนึ่ ง โดยหลั ง จากจั ด กิ จ กรรมชุ ม ชนได้ ข้ อ มู ล ทรั พ ยากรธรรมชาติ และ รู ป แบบกิ จ กรรมการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ 2 กิ จ กรรม คื อ การอนุ รั ก ษ์ ไ ม้ ป าด-ปี ปี ไม้ ใ หญ่ แ ห่ งทะเล และ เส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนและธรณีวิทยา

31


6. โครงการร่วมป่าคลอก (กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตนักเรียนระดับปฐมวัย และทักษะภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนในเขตตาบลป่าคลอก) พื้นที่ โรงเรียนบ้านบางโรง ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตนักเรียนระดับปฐมวัย และทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับการศึกษา ขั้ น พื้ น ฐาน ยกระดั บ ทั ก ษะทางด้ า นภาษาอั ง กฤษให้ แ ก่ นั ก เรี ย นระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานของโรงเรี ย นในเขต ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต จัดขึ้น ณ โรงเรียนบ้านบางโรง ระหว่างวันที่ ๑๕ - ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการการจัดการเรียนการสอนกับการพัฒนาท้องถิ่น โดยการมีส่วนร่วมของอาจารย์และ นักศึกษาในการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและงานวิจัย และความเชี่ยวชาญในศาสตร์ของมหาวิทยาลัย สู่การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมาย โดยกิจกรรมที่จัดมีความสอดคล้องกับปัญหาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษของ นักเรียน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยพบว่าคะแนนแบบทดสอบก่อนจัดการอบรมของนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4, 5 และ 6 มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 6.41, 7.63 และ 8.46 ตามลาดับ และมีระดับคะแนนเฉลี่ย ในการทาแบบทดสอบหลังการจัดอบรมเท่ากับ 10.10, 10.38 และ 13.38 ตามลาดับ

32


7. โครงการร่วมเกาะสิเหร่ (กิจกรรมอบรมการประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ เพื่อการส่งเสริมอาชีพและกิจกรรมอบรมทักษะภาษาจีนเพื่อการสือ่ สารเบื้องต้น) พื้นที่ หมู่ที่ ๑ - ๗ ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการสารวจความต้องการชุมชน พบว่ากลุ่มชาวบ้านมีความต้องการ ดังนี้ ๑) กลุ่ มผู้ด้อยโอกาส (คนพิการ, ผู้สูงอายุ และกลุ่ม สตรี ) มีความต้องการอาชี พเสริม เพื่อเพิ่ มรายได้ให้กั บ ครอบครัว เป็นอาชีพเสริมในเวลาว่าง และไม่เป็นอุปสรรคต่อสมรรถนะทางกายภาพ และมีตลาดรองรับผลิตภัณฑ์ ๒) กลุ่มนักเรียนจากโรงเรียนเกาะสิเหร่ มีความต้องการพัฒนาภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเบื้องต้น เนื่องจากมีกลุ่ม นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวจี น เข้ า มาท่ อ งเที่ ย ว จึ ง มี ค วามต้ อ งการพั ฒ นาทั ก ษะภาษาจี น เพื่ อ ให้ ส ามารถสื่ อ สารเบื้ อ งต้ น กั บ นักท่องเที่ยวได้ จากการอบรมการประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์เพื่อการส่งเสริมอาชีพให้กับกลุ่มผู้ด้อยโอกาสจานวน ๒๐ ครัวเรือน กลุ่มเป้าหมายได้ดาเนินการผลิตดอกไม้จันทน์ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันและส่งขายให้กับผู้ประกอบการในท้องถิ่น เช่น ร้านโฆษิตสังฆภัณฑ์ ร้านธรรมจักร วัดแสนสุข เป็นต้น โดยดาเนินการผลิตสินค้าออกสู่ท้องตลาด เป็นระยะเวลา ๔ ครั้ง (มกราคม, มีนาคม, มิถุนายน, กรกฎาคม) และจากการอบรมทักษะภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเบื้องต้นให้กับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๒ - ม.๓) ของโรงเรียนเกาะสิเหร่ จานวน ๓๐ คน แต่เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด-๑9 ทาให้ไม่มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วจี น แต่ ไ ด้ มี ก ารจั ด ท าสื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ เ กี่ ย วกั บ การลดปริ ม าณขยะในชุ ม ชนในรู ป แบบ Infographic เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนในโรงเรียนมีความตระหนักถึงความสาคัญต่อการลดปริมาณขยะเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน

33


8. โครงการร่วมเกาะสิเหร่ (กิจกรรมอบรมการทาผ้าปาเต๊ะประดับมุก)

พื้นที่ ชุมชนแหลมตุ๊กแก ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการส ารวจชาวบ้ า นส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ รั บ จ้ า งและแม่ บ้ า น เป็ น ชุ ม ชนที่ มี ค วามเข้ ม แข็ ง และมีการจัดกิจกรรมของชุมชนอยู่บ่อยครั้ง ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน และอยู่ระหว่างการพิจารณาจัดทาโฉนดชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้อยู่อาศัยอย่างถูกต้อง การที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ที่ดินทาให้ส่งผลต่อการได้รับการดูแลด้านสาธารณูปโภค พื้นฐานจากทางราชการ เช่น ไฟฟ้า ประปา ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากการอบรมการทาผ้าปาเต๊ะประดับมุกให้แก่ชุมชนแหลมตุ๊กแก โดยการนาผ้าถุงปาเต๊ะที่มีราคาไม่แพงมากนัก มาใส่เลื่อมและประดับไข่มุกของจังหวัดภูเก็ต ตามลวดลายผ้า พบว่า สามารถทาให้ราคาของผ้าถุงที่ผ่านการประดับด้วย ไข่มุกและเลื่อมนั้นมีราคาเพิ่มขึ้น ๕ - ๑๐ เท่า ของราคาผ้า ตามจานวนของเลื่อมและไข่มุกที่เพิ่มลงในเนื้อผ้า ซึ่งผลิตผลที่ ได้มานั้นชุมชมสามารถนาไปจาหน่ายเพื่อเพิ่มรายได้ และสามารถทาในช่วงเวลาว่างได้

34


9. โครงการร่วมเกาะสิเหร่ (กิจกรรม ๕ จุดเช็คอิน เที่ยวฟินเกาะสิเหร่)

พื้นที่ บ้านเกาะสิเหร่ ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน ลงพื้นที่สารวจชุมชนบ้านแหลมตุ๊กแก และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ป้ายสารสนเทศที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับจุดเด่น อัตลักษณ์ ของพื้นที่ จากการสารวจบ้านเกาะสิเหร่ ชุมชนแหลมตุ๊กแก ซึ่งเป็นที่ตั้งของหมู่บ้านชาติพันธ์ชาวเลอุรักลาโว้ยหรือเรียกอีก ชื่อหนึ่งว่า “ชาวไทยใหม่ ” ที่มีเรื่องเล่าประวัติความเป็นมา วิถีชีวิต ภูมิปัญญาที่ เป็นอัตลักษณ์ ซึ่งเกาะสิเหร่มีแหล่ง ท่องเที่ยวมากมาย เหมาะสาหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาน้อย และมีสถานที่ท่องเที่ยวหลาย ๆ สถานที่พร้อมจุดเช็คอิน จากการสารวจแหล่งท่องเที่ยว พบว่าไม่มีป้ายสารสนเทศที่อธิบายหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับจุดเด่น อัตลักษณ์ ของ พื้นที่ดังกล่าว เพียงบางจุดเท่านั้น จึงได้ออกแบบสร้างสรรค์ป้ายสารสนเทศ “๕ จุดเช็คอิน เที่ยวฟินเกาะสิเหร่” ลักษณะ การนาเสนอแบบกระชับ เข้าใจง่าย ด้วยภาษาภาพ และข้อความสั้น ๆ ไม่ซับซ้อน ๒ ภาษา ซึ่งสามารถทาให้เข้าใจได้ง่าย เช่น Character ตัวการ์ตูน ที่เชื่อมโยงกับจุดเช็คอิน แต่ละสถานที่ เพื่อเป็นสัญลักษณ์ (Story Symbol) เล่าเรื่องเกี่ยวกับ สถานที่นั้น ๆ ซึ่งสามารถนาไปต่อยอดได้อีกมากมาย ป้ายสารสนเทศ ณ จุดเช็คอิน (Information Check In) “๕ จุดเช็คอิน เที่ยวฟินเกาะสิเหร่” ทาให้นักท่องเที่ยว สามารถศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง

35


10. โครงการร่วมเกาะสิเหร่” (กิจกรรม ป่า เขา หาด เล ส่งเสริมอาชีพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน บ้านแหลมตุ๊กแก) พื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านแหลมตุ๊กแก เกาะสิเหร่ ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการลงพื้ นที่บ้านแหลมตุ๊กแก พบว่า มีครัวเรือนทั้ งหมด ๓๔๑ ครัวเรื อน มี อาชีพหลักคือ รับจ้า งทั่วไป เกี่ ย วกั บ การท่ อ งเที่ ย ว บางส่ ว นยั งคงประกอบอาชี พ ประมง มี เ รื อ ที่ มี ก ารจดทะเบี ย นกั บ กรมเจ้ า ท่ า รวม ๒๕ ล า ออกทาอวนสามชั้นและทาลอบ หรือไซดักปลา การดาเนินการเก็บข้อมูลจากผลงานวิจัย และข้อมูลสถานที่สาคัญ ๆ ของพื้นที่แหลมตุ๊กแก โดยได้ออกแบบ สร้างสรรค์รูปแบบป้าย มีแนวคิด (Concept) นาเสนอเรื่องเล่า ประวัติชุมชนถ่ายทอดลงบนแผ่นป้าย ขนาด ๑.๑๐ x ๑๓.๒ เมตร นาแนวคิดทั้งหมดมาใช้ความรู้ทางการออกแบบ จัดองค์ประกอบ (Composition) เพื่อให้เกิดการสื่อสารและ การรับรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด สะดุดตาน่ามอง ไม่ทาลายสภาพแวดล้อม แต่เป็นการสร้างทัศนียภาพให้มีสีสันมากยิ่งขึ้น การเลือกใช้วัสดุที่ทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ และติดตั้ง ณ อาคารประชุมหมู่บ้าน หมู่ที่ ๔ บ้านแหลมตุ๊กแก หลังจากการดาเนินการเกิดการจัดตั้งกลุ่มประมงชายฝั่ง เพื่อนานักท่องเที่ยวเรียนรู้วิถีชีวิตชาวเล การลงดักลอบวาง ไซดักปลาชายฝั่งด้วยเรือหางยาว และป้ายสารสนเทศนาเสนอความเป็นมาของชุมชน ทาให้นักท่องเที่ยวสามารถศึกษา และ ทราบประวัติชุมชนจากการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง

36


11. โครงการร่วมเกาะสิเหร่ (กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตนักเรียนระดับปฐมวัย และทักษะภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนในเขตตาบลรัษฎา) พื้นที่ หมู่ที่ ๑ โรงเรียนเกาะสิเหร่ ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการจัดกิจกรรมยกระดับทักษะทางด้านภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระหว่างวันที่ ๑๕ - ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ โดยบูรณาการการจัดการเรียนการสอนกับการพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งอาจารย์และนักศึกษา มีส่วนร่วมในการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและงานวิจัย และความเชี่ยวชาญในศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และได้บูรณาการกับรายวิชาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ จานวน ๓ รายวิชา ดังนี้ ๑. รายวิชาการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ๒. รายวิชาการเขียนเรียงความภาษาอังกฤษ ๓. รายวิชาภาษาศาสตร์สาหรับครูภาษาอังกฤษ กิจกรรมที่จัดขึ้นช่วยพัฒนาทักษะในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้จริง ทาให้ผู้เรียนมีทัศนคติ เชิงบวกและสร้างเสริมความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ โดยพบว่าคะแนนแบบทดสอบก่อนจัดการอบรมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๖.๘๔ และมีระดับคะแนนเฉลี่ยแบบทดสอบหลังการจัดอบรมเท่ากับ ๑๐.๖๑

37


12. โครงการร่วมเกาะสิเหร่ (กิจกรรมการอบรมตัดเย็บเสื้อผ้าและผลิตภัณฑ์ จากผ้าปาเต๊ะตามแฟชั่นร่วมสมัย) พื้นที่ หมู่ที่ ๑ บ้านเกาะสิเหร่ ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการลงพื้นที่สารวจ พบว่าชาวบ้านในชุมชน ได้จัดตั้งกลุ่มผลิตผ้าปาแต๊ะจาหน่าย ซึ่งชาวบ้านต้องการแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากผ้า จากการอบรมด้านการออกแบบและตัดเย็บเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายผลิตภัณฑ์จากผ้าปาเต๊ะตามแฟชั่นร่วมสมัย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอาชีพ และยกระดับรายได้ทาให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ ดังนี้ ๑. ผู้เข้าร่วมอบรมเกิดความรู้ความเข้าใจด้านการตัดเย็บผ้าปาเต๊ะตามแฟชั่นร่วมสมัย ๒. ได้รูปแบบการตัดเย็บกระเป๋า จานวน 1 รูปแบบ ๓. สมาชิกกลุ่มที่ได้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดเย็บกระเป๋า สามารถออกแบบรูปแบบ ตลอดจนสามารถผลิตผลงานต้นแบบผลิตภัณฑ์กางเกง

38


๑3. กิจกรรมการออกแบบปรับปรุงภูมทิ ัศน์ศนู ย์การเรียนรู้เกษตรพอเพียง

พื้นที่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านนากก หมู่ที่ 4 ตาบลฉลอง อาเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการสารวจและดาเนินกิจกรรม พบว่า ชุมชนบ้านนากกมีความพอใจในกิจกรรมที่ได้ดาเนินการโดยได้ บูร ณาการจั ด การเรี ย นการสอนเพื่ อ ด าเนิ น โครงการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ด้า นการศึ ก ษา ด้ า นสั งคม ด้ า นเศรษฐกิ จ และ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ร่ ว มกั บ ชุ ม ชน โดยมี ร ายวิ ช า สั ม มนาคณิ ต ศาสตร์ การจั ด การโครงการเทคโนโลยี ส ารสนเทศ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์คหกรรม การจัดระบบทางชีววิทยา และเทคโนโลยีในการบาบัดน้าเสีย ในการดาเนินงานทาให้เกิดนวัตกรรม จานวน ๒ ผลงาน ได้แก่ สิ่งประดิษฐ์ ๑ ผลงาน งานวิจัย ๑ ผลงาน ดังนี้ ๑. โมเดลแผนผังออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ศูนย์การเรียนรู้เกษตรพอเพียงหมู่ที่ 4 ๒. ผงผักเหมียงโรยข้าว ๓. ถังแก๊สชีวภาพ ๔. การศึกษาฤทธิ์การยับยัง้ การทางานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเกิดเม็ดสีเมลานินของสารสกัดจาก ผักเหมียง

39


๑4. กิจกรรมยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนสร้างสุข เพื่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชุมชนเชิงบูรณาการแบบมีสว่ นร่วม พื้นที่ ชุมชนท่าสัก หมู่ที่ ๔ บ้านพารา ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการลงพื้นที่สารวจข้อมูล พบว่า ชุมชนประสบปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในระดับชุมชนในหลายด้าน ได้แก่ ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ปัญหาระบบนิเวศชายฝั่ง ปัญหาคุณภาพชีวิตที่ส่งผลมาจากสิ่งแวดล้อม ปัญหา น้าเสีย ชุมชนขาดความรู้ความเข้าใจในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม จากการอบรมให้ความรู้ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมระดับชุมชน ขยะชุมชน ขยะทะเลทาให้ชาวบ้านและนักเรียน ในชุมชนมีทักษะ ดังนี้ ๑. การจัดการขยะทะเล (Micro plastic) ด้วยการทาอวนดักขยะ การให้ความรู้ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมระดับ ชุมชน ขยะชุมชน ขยะทะเล (Micro plastic) เพื่อจัดทาฐานการเรียนรู้กิจกรรมด้านการจัดการขยะ ๒. การส่งเสริมการลดขยะในครัวเรือน ประเภทขยะอินทรีย์ในโรงเรียน บ้าน ด้วยการกาจัดขยะอินทรีย์ด้วย การทาดินมูลไส้เดือน และการทาสวนรูกุญแจ (keyhole) ๓. การการปรับภูมิทัศน์ด้วยสวนสมุนไพร สวนครัวในโรงเรียนบ้านพารา และการทากระถางต้นไม้จากเศษวัสดุ เหลือใช้ในชุมชน 4. การแปรรูปอาหารจากพืชท้องถิ่นเพื่อสร้างอาชีพเสริมและอาหารเอกลักษณ์ในท้องถิ่น

40


๑5. กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชนสร้างสรรค์เท่าทันยุคดิจทิ ัล

พื้นที่ หมู่ที่ ๒ บ้านบางเทา ตาบลเชิงทะเล อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้ดาเนินการโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนภายใต้ชื่อ“ชุมชนสร้างสรรค์ เท่าทันยุคดิจิทัล” เพื่อแก้ปัญหาและตอบโจทย์ชุมชน ๔ ด้าน คือ ด้านสังคม ด้านภาษา ด้านเศรษฐกิจ และด้านสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ หมู่ที่ ๒ บ้านบางเทา อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เพื่อบูรณาการการจัดการเรียนการสอนกับการพัฒนาท้องถิ่น แบบมีส่ วนร่ว มของนั กศึ กษาและอาจารย์ใ นการถ่ายทอดองค์ ความรู้ ด้า นต่ าง ๆ ในการพั ฒนา และสร้ างนวั ตกรรม ในการพัฒนาพื้นที่ และจัดทาสื่อประกอบการอบรม และเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชนด้านต่าง ๆ มี ผู้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ จ านวน ๑๐๑ คน ซึ่ ง ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั น ที หลั ง จากเสร็ จ สิ้ น โครงการ เป็ น ผลที่ ไ ด้ ตามวั ตถุ ประสงค์ คื อ เกิ ดการมีส่ วนร่ว มของหน่ วยงานภาครัฐ เอกชน และชุม ชนในพื้น ที่ คือ องค์ การบริห ารส่ว น ตาบลเชิงทะเลให้การสนับสนุนกิจกรรมกับกลุ่มสมาชิกที่มีความสนใจในการสร้างสมรรถนะความเข้มแข็งกลุ่มผู้นาชุมชน ในกิจกรรม การสร้างสมรรถนะความเข้มแข็ง SMART COMMUNITIES GROUP ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในด้านภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่ อสารด้านการท่ องเที่ยวเพิ่มขึ้ น มีค วามกล้าและมั่ นใจในการพูดน าเที่ ยวเป็ นภาษาอังกฤษได้มากขึ้น และ สามารถต่อยอดทาให้เยาวชนในชุมชนที่เข้าร่วมอบรมสามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพได้ ผลที่เกิดขึ้นต่อเนื่องจากผลผลิต หลังจากเสร็จสิ้นโครงการไประยะหนึ่ง ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นกับ กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มผู้นาชุมชนบ้านบางเทามีการรวมกลุ่มสมาชิกเพื่อสร้างสมรรถนะความเข้มแข็งผ่านการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันระหว่างสมาชิกกลุ่ม หน่วยงานภาครัฐ และการสนับสนุนจากสถาบันการศึกษา ซึ่งนาไปสู่การจัดทาคู่มือ สมาชิกตลาดชุมชนบ้านบางเทา มีไกด์ชุมชน เยาวชนในท้องถิ่นสามารถนาเที่ยวได้ และชุมชนบ้านบางเทามีสินค้าใหม่ เกิดขึ้น คือ “เค้กจาปาดะบางเทา” ช่วยสร้างรายได้ใหม่ให้กับทางชุมชน เป็นการประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนมีชื่อเสียงและ เป็นที่รู้จัก นาไปสู่โอกาสต่าง ๆ จากภาครัฐ และเอกชน

41


๑6. กิจกรรมสร้างทักษะอาชีพการเพาะลูกเหรียง

พื้นที่ ชุมชนบ้านย่านยาว และชุมชนศรีเมือง ตาบลตะกั่วป่า อาเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการลงพื้นที่ชุมชนย่านยาว และชุมชนศรีเมือง ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป และค้าขาย มีรายได้ไม่แน่นอน มีการรวมกลุ่มอาชีพหลายกลุ่ม แต่บางกลุ่มยังไม่เข้มแข็งเท่าที่ควร มีการดาเนินการในช่วงแรก และ ไม่มีความต่อเนื่อง จากการถ่ายทอดให้ความรู้เกี่ยวกับการเพาะลูกเหรียงทาให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถเพาะลูกเหรียง ให้ออกหน่อ เป็นหน่อเหรียงที่ใช้รับประทานในครัวเรือน เพื่อเป็นการลดรายจ่าย และขายเป็นผลิตผลสร้างรายได้แก่ตนเองและ ครอบครัวได้

42


๑6. กิจกรรมสร้างทักษะอาชีพการเพาะลูกเหรียง (ต่อ) พื้นที่ หมู่ที่ ๔ บ้านพารา ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง และหมู่ที่ ๔ บ้านโคกยาง ตาบลกมลา อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการลงพื้นที่ชุมชนบ้านพารา ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ค้าขาย และทาการเกษตรซึ่งเป็น อาชีพที่มีรายได้ไม่แน่นอน ไม่มีการรวมกลุ่มอาชีพอย่างจริงจัง ส่วนชุมชนบ้านโคกยาง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง ทั่วไป ค้าขาย และการท่องเที่ยว เนื่องจากอยู่ในพื้นที่การท่องเที่ยว แต่มีรายได้ไม่แน่นอน ไม่มีการรวมกลุ่มอาชีพอย่าง จริงจัง และรายได้ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาของการท่องเที่ยว จากการถ่ายทอดให้ความรู้เกี่ยวกับการเพาะลูกเหรียงทาให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถเพาะลูกเหรียง ให้ออกหน่อ เป็นหน่อเหรียงที่ใช้รับประทานในครัวเรือน เพื่อเป็นการลดรายจ่าย และขายเป็นผลิตผลสร้างรายได้แก่ตนเองและ ครอบครัวได้

43


๑7. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก (ตาบลท่าอยู่ และตาบลพรุใน) พื้นที่ หมู่ที่ ๔ ตาบลท่าอยู่ อาเภอตะกั่วทุ่ง และ หมู่ที่ ๒ ตาบลพรุใน อาเภอเกาะยาวใหญ่ จังหวัดพังงา

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการลงพื้นที่สารวจข้อมูล พบว่า ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพที่ไม่แน่นอน เป็นกลุ่มผู้ที่ไม่มีทักษะในการทางาน มีรายได้น้อย มีความต้องการการฝึกอบรมอาชีพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ จากการฝึ ก อบรมอาชี พ การท าผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ าพริ ก ตะไคร้ และการจั ด ท าผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข นมดอกจอก แปรรู ป ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว ทาให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และมีทักษะ สามารถนาไปใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน ส่งเสริมการประกอบอาชีพ เพื่อสร้างรายได้แก่ครัวเรือน โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ๕๐ ครัวเรือน พบว่า พ้นเกณฑ์ความยากจนและ/หรือยกระดับรายได้ครัวเรือน ร้อยละ ๖๐ และมีรายได้ที่สูงขึ้น ร้อยละ ๑๕ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งกาย ใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ร้อยละ ๑๕

44


๑8. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก (ตาบลคลองประสงค์ และตาบลกระบี่น้อย) พื้นที่ หมู่ที่ ๑ ๒ และ ๓ ตาบลคลองประสงค์ และหมู่ที่ ๓ ๔ และ ๑๓ ตาบลกระบี่น้อย อาเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการสารวจชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ชุมชนยังมีปัญหาขาดแคลนน้าในช่วง ฤดู แ ล้ ง ซึ่ งมี ร ะยะเวลา ๔ เดื อ นโดยประมาณ ท าให้ ไ ม่ ส ามารถท าการเกษตรได้ ส่ งผลให้ ข าดรายได้ และพบว่ า ความต้องการชุมชน คือ เพาะเห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง ต้นอ่อนทานตะวัน และเพาะลูกเหรียง จากการดาเนินกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อต่าง ๆ คือ ๑) การสร้างแรงบันดาลใจในการประกอบ อาชี พ ที่ เ หมาะสมกั บ สภาพภู มิ ศ าสตร์ ๒) ความรู้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ ลู ก เหรี ย ง ๓) เคล็ ด ลั บ การเพาะเห็ ด นางฟ้ า ๔) ฝึกปฏิบัติการทาบัญชีครัวเรือน และ ๕) เทคนิคการขาย ทาให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้การประกอบอาชีพ ดังนี้ ๑. การเพาะลูกเหรียงแบบใหม่โดยไม่ใช้ดิน ๒. การเพาะเห็ดนางฟ้า ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมชาวบ้านสามารถนาไปสร้างรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๙๙.๖๐

45


๑9. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก (ตาบลเกาะแก้ว) พื้นที่ หมู่ที่ ๓ บ้านบางเหนียว และหมู่ที่ ๖ บ้านเกาะมะพร้าว ตาบลเกาะแก้ว อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการสารวจชาวบ้าน ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยใหม่ มีอาชีพทาการประมงพื้นบ้านและเกษตรกรรม มีรายได้ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศ โดยมีรายได้เฉลี่ยประมาณ ๔,๐๐๐ – ๕,๐๐๐ บาทต่อเดือนต่อครอบครัว จากการส่งเสริมอาชีพการแกะสลักลายรองเท้าช้างดาวเสริมสร้างองค์ความรู้และทักษะการตลาดออนไลน์ ทาให้ชุมชนได้ประโยชน์ และฝึกอบรมและจัดทาสูตรมาตรฐานเครื่องแกง ทาใหชาวบ้านมี ๑. เว็บเพจเพื่อจาหน่ายสินค้าชุมชน ภายใต้ชื่อ “รองเท้าช้างดาวแกะลายสไตล์อูรักลาโว้ย ภูเก็ต” ๒. ตรายี่ห้อและบรรจุภัณฑ์ ๓. มีความรู้และทักษะการตลาดออนไลน์

46


20. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก (ตาบลรัษฎา และตาบลสาคู) พื้นที่ หมู่ที่ ๑ บ้านแหลมตุ๊กแก ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง และหมู่ที่ ๔ ชุมชนเกษตร ตาบลสาคู อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน ชุมชนเกาะสิเหร่เป็นชุมชนที่มีรายได้จากการรับจ้างทั่วไปและการประมงพื้นบ้าน มีสภาพการอยู่อาศัยในพื้นที่ ค่อนข้างหนาแน่นในเขตเมืองและถนนหนทางไม่ได้รับการปรับปรุงเนื่องจากบางส่วนเป็นพื้นที่เขตป่า สาหรับชุมชน บ้านสาคูเป็นชุมชนในพื้นที่การเกษตรอยู่อาศัยในพื้นที่การเกษตร ทาสวนยาง ปลูกผัก และมีรายได้จากการรับจ้างใน ภาคการท่องเที่ยวบริเวณหาดในยาง และโรงแรมรีสอร์ทใกล้เคียง ผลจากการอบรมให้ ค วามรู้ ก ารปลู ก ผั ก และท าน้ ายาอเนกประสงค์ ท าให้ ช าวบ้ า นที่ เ ข้ า มาร่ ว มอบรม ได้รับความรู้ ดังนี้ ๑. การเพาะกล้าผัก ทาให้ชาวบ้านสามารถปลูกผักกินเอง และจาหน่ายได้ ๒. การทาน้ายาอเนกประสงค์ ใช้เองสามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการขายอาหาร ค่าใช้จ่ายในครัวเรือนและ บางส่วนมีรายได้เพิ่มจากการจัดจาหน่ายในราคากันเอง โดยรู้แหล่งวัตถุดิบ และวิธีการผสมส่วนผสม และการประยุกต์ ใช้ส่วนผสมต่าง ๆ

47


2๑. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก (ตาบลศรีสุนทร และตาบลเชิงทะเล) พื้นที่ หมู่ที่ ๗ บ้านม่าหนิก ตาบลศรีสุนทร และหมู่ที่ ๒ บ้านบางเทา ตาบลเชิงทะเล อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการสารวจ พบว่าทั้งสองชุมชนประสบปัญหาและความต้องการที่จะยกระดับและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน การรวมกลุ่ม สร้างระบบการผลิต การคิดค้น เพื่อนาไปสู่การเพิ่มรายได้ลดรายจ่าย และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ได้รบั การยอมรับมากขึ้น จากการส่งเสริมอาชีพทาให้ชาวบ้าน ได้ผลิตภัณฑ์ จานวน 4ผลิตภัณฑ์ ดังนี้ ๑. น้าผึ้งจากชันโรง อยู่ในระหว่างขั้นตอนการเลี้ยง ๒. ผลิตภัณฑ์จากเชือกกล้วยสาหรับบรรจุไข่ไก่พื้นเมือง ๓. การแปรรูปปลาแดดเดียว ๔. การแปรูปส้มควายตากแห้ง

48


22. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก (ตาบลศาลาด่าน และคลองท่อมเหนือ) พื้ นที่ หมู่ ที่ ๑ - ๔ ชุ ม ชนศาลาด่ า น ต าบลศาลาด่ า น อ าเภอเกาะลั น ตา และหมู่ ที่ ๔ - ๖ ชุ ม ชนบ้ า นคลองท่ อ ม ตาบลคลองท่อมเหนือ อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จากการลงพื้น ที่ พบว่า ชุ มชนมี ปัญ หาและความต้ อ งการที่จ ะยกระดั บและพัฒ นาผลิ ตภั ณฑ์ ชุม ชน ดั งนี้ ๑. บ้านศาลาด่าน ต้องการปลูกและขยายพันธุ์ผักลิ้นห่านเพื่อสร้างรายได้และอาชีพเสริม ๒. บ้านคลองท่อมเหนือ ต้องการแก้ไขปัญหาปาล์มน้ามัน โดยการใช้ประโยชน์จากก้านปาล์มน้ามัน และจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทาให้ชาวบ้านได้ผลิตภัณฑ์ 2 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ สบู่ก้อนจากผักลิ้นห่าน และไม้กวาดจาก ก้านปาล์มน้ามัน

49


23. กิจกรรม วทน.สู่ชุมชน จังหวัดอันดามัน (ภูเก็ต พังงา กระบี่) พื้นที่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ภายใต้กิจกรรม “วทน. สู่ชุมชน จังหวัดอันดามัน (ภูเก็ต พังงา กระบี่) ดาเนินกิจกรรมในรูปแบบการจัดอบรม “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างอาชีพ พื้นฐานในชุมชนเพื่อลดปัญหาความยากจน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ณ พื้นที่จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ประกอบอาชีพสร้างรายได้ และเพื่อลดปัญหาการว่างงาน กระบวนการดาเนินงานเริ่มจากการสารวจ เก็บข้อมูลในพื้นที่ ดาเนินกิจกรรมเพื่อสร้างพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ รวมถึงการเน้นและนาองค์ความรูว้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่การประยุกต์ในการประกอบอาชีพ โดยใช้วิทยากรภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยฯ ร่วมดาเนินงาน ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 วทน.สู่ชุมชน “บางเหนียวดา” ตาบลศรีสุนทร อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ถ่ายทอด เทคโนโลยีผลิตเมล็ดพันธุ์อินทรีย์ ร่วมกับ สวทช. และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีสถานีถ่ายทอด เมล็ดพันธุ์อินทรีย์ และมีเครื่องกรองน้าในชุมชน กิจกรรมที่ 2 สานพลังบ้านกะไหล ตาบลกะไหล อาเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา เป็นการส่งเสริมอาชีพ การเพาะเมล็ดพันธุ์พืชและการเลี้ยงไส้เดือน กิจกรรมที่ 3 วทน.สู่ชุมชน “รมณีย์” ตาบลรมณีย์ อาเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา โดยถ่ายทอดเทคโนโลยี การแปรรูปกล้วยเป็นเวชสาอาง ซึ่งมีผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อจาหน่าย จานวน 3 ผลิตภัณฑ์ กิจกรรมที่ 4 วทน.สู่ชุมชน “บ้านโตนดิน” ตาบลถ้า อาเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา มีการส่งเสริมให้มี สถานีทาปุ๋ยเพื่อใช้ในการเกษตร วัสดุเพาะต่าง ๆ เพื่อลดต้นทุน กิจกรรมที่ 5 วทน.สู่ชุมชน “เกษตรอินทรีย์ PGS” ตาบลลาภี อาเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา มีการอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตรอินทรีย์ PGS ที่ถูกต้องเพื่อนาองค์ความรู้ไปประเมินพื้นที่การเกษตร จากการดาเนิ น งานในปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยสรุ ป พบว่ า กลุ่ ม ชุ ม ชนให้ ค วามร่ ว มมื อ เป็ น อย่ า งดี มีความตั้งใจ เต็มใจเปิดรับการดาเนินกิจกรรมร่วมกัน ทาให้เกิดการยกระดับผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ รวมถึงมีสินค้า บริการใหม่ มีรายได้เพิ่มขึ้นจากเดิม แต่ภาพรวมยังไม่บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ โควิด-๑๙ ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2563 มีหลายกิจกรรมและมีหลายกลุ่มชุมชนไม่สามารถดาเนินงาน ได้ครบถ้วน โดยรายได้ครัวเรือนที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 ซึ่งต่ากว่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ที่ร้อยละ 15

50


23. กิจกรรม วทน.สู่ชุมชน จังหวัดอันดามัน (ภูเก็ต พังงา กระบี่) (ต่อ)

กลุ่มเป้าหมายชุมชนส่วนใหญ่จะดาเนินงานต่อเนื่องในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ขณะที่บางกลุ่มชุมชน ที่มีความพร้อมและศักยภาพเพียงพอต่อการนาเสนอการขอรับงบประมาณสนับสนุนจากแหล่งอื่น ซึ่งได้วางแนวทาง การยกระดับการดาเนินงานให้เชื่อมโยงตลอดโซ่อุปทานมีความจาเป็นที่ต้องใช้งบประมาณสูงขึ้นเพื่อดาเนินงาน

51


24. กิจกรรมศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

การฝึกอบรมศาสตร์พระราชา (ค่ายพักค้าง ๕ วัน ๔ คืน) อบรมค่ายกสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง วันที่ ๒๑ - ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ อันดามัน จานวนผู้ผ่านการอบรม ๖๘ คน

52


24. กิจกรรมศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ)

การฝึกอบรมทักษะอาชีพตามศาสตร์พระราชา ๑. การฝึกอบรมทักษะอาชีพ การทาผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ วันที่ ๓๐ - ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ ณ มัสยิดบ้านผักฉีด ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต จานวนผู้ผ่านการอบรม ๒๓ คน

๒. การฝึกอบรมทักษะอาชีพ การเพาะเลี้ยงไส้เดือนอินทรีย์ วันที่ ๓ - ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ ศูนย์กสิกรรม ธรรมชาติอันดามัน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จานวนผู้ผ่านการอบรม ๒๓ คน

๓. การฝึ กอบรมทัก ษะอาชีพ คนเอาถ่ าน วัน ที่ ๑๒ - ๑๓ กุ มภาพัน ธ์ ๒๕๖๓ ณ สวนฟ้ าใส ต าบลกะรน อาเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต จานวนผู้ผ่านการอบรม ๒๔ คน

53


24. กิจกรรมศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ)

การฝึกอบรมทักษะอาชีพตามศาสตร์พระราชา (ต่อ) ๔. การฝึ กอบรมทั กษะอาชี พ การท าผ้า มัดย้ อมสี ธรรมชาติ วัน ที่ ๒๗ - ๒๘ กุม ภาพั นธ์ ๒๕๖๓ ณ ที่ท าการ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ ๑๒ ตาบลกระบี่น้อย อาเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ จานวนผู้ผ่านการอบรม ๒๖ คน

๕. การฝึกอบรมทักษะอาชีพ คนมีน้ายา วันที่ ๒ - ๓ มีนาคม ๒๕๖๓ ณ ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ ๑๒ ตาบลกระบี่น้อย อาเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ จานวนผู้ผ่านการอบรม ๓๒ คน

๖. การฝึกอบรมการออกแบบพื้นที่เชิงภูมิสังคม โคกหนองนาโมเดล วันที่ ๕ - ๘ มีนาคม ๒๕๖๓ ณ ศูนย์กสิกรรม ธรรมชาติอันดามัน จานวนผู้ผ่านการอบรม ๔๙ คน

54


24. กิจกรรมศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ)

การฝึกอบรมทักษะอาชีพตามศาสตร์พระราชา (ต่อ) ๗. การฝึกอบรมทักษะอาชีพ คนมีน้ายา วันที่ ๒๔ - ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๓ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาล ตาบลรัษฎา หมู่ที่ ๔ (บ้านแหลมตุ๊กแก) อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต จานวนผู้ผ่านการอบรม ๒๘ คน

๘. กิจกรรมซอแรง ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติร่วมกับพื้นที่ของชาวกสิกรรมธรรมชาติอันดามัน ๘.๑ ซอแรงพื้นที่สวนบ้านโบราณ ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต วันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต นายณรงค์ วุ่น ซิ้ว ให้เกียรติมาพบปะเยี่ยมเยียนพี่น้องกสิกรรมธรรมชาติทั้งวัน เตรียมงานและวันซอแรงจริง และครูกสิกรรมธรรมชาติ ด.ต.นิรันดร์ พิมล พบปะลูกศิษย์กสิกรรมธรรมชาติ และสอน การปลูกแฝก ในการนี้มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมซอแรงมากกว่า ๗๐ คน ๘.๒ ซอแรงพื้นที่สวนพรรณเลิศ ตาบลวิชิต อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

55


24. กิจกรรมศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ)

การฝึกอบรมทักษะอาชีพตามศาสตร์พระราชา (ต่อ) ๙. กิจกรรมซอแรง ภายใต้การสนับสนุนวัสดุการเกษตรเพื่อพัฒนาพื้นที่ต้นแบบโคกหนองนาโมเดลร่วมกับชาว กสิกรรมธรรมชาติที่ผ่านการอบรมหลักสูตรกสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง และการออกแบบพื้นที่ตาม ภูมิสังคม โคกหนองนาโมเดล ๙.๑ ซอแรงสวนบ้านเป็นสุข อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต วันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๓

๙.๒ ซอแรง The Garden อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓

๙.๓ ซอแรงสวนมิตรไมตรี อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

56


24. กิจกรรมศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ) ๙.๔ ซอแรงสวนพรอนันต์ ตาบลกะรน อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓

๙.๕ ซอแรงฟาร์มศุกร์ใจ อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต วันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓

๙.๖ ซอแรงสวนแม่สุดใจ ตาบลหล่อยูง อาเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓

๙.๗ ซอแรงสวนบ้านคุณยาย ตาบลโคกกลอย อาเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๓

57


24. กิจกรรมศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ)

๙.๘ ซอแรงสวนบ้านหมอหุน ตาบลวิชิต อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๓

๙.๙ ซอแรงสวนบ้านตะเกื้อ ตาบลม่าหนิก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓

๙.๓ ซอแรงสวนมิตรไมตรี อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

58


ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น มาตรฐาน และคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ หรื อ การรั บ รองเป็ น ปั ญ หาหลั ก ท าให้ ไม่สามารถเข้าถึงตลาดการแข่งขันที่สูงขึ้นได้ดังนั้นการยกระดับสินค้าชุมชนท้องถิ่นจึงสามารถช่วยให้ผู้ประกอบการ รายย่อยที่มีความพร้อมเข้าร่วมโครงการ สามารถยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน และแข่งขันในตลาดได้ ผลการดาเนินงาน ตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร และยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นระยะ ๒๐ ปี (๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ มหาวิทยาลัยได้ดาเนินภารกิจในการพัฒนาท้องถิ่นโครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ (๑) เกิด ผลิตภั ณฑ์ใหม่ จานวน ๖ ผลิตภั ณฑ์ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพรจากส้มควาย ผลิตภัณฑ์โยเกิ ร์ ต พร้อมดื่มนมแพะ ผลิตภัณฑ์น้าพริกพันวา ผลิตภัณฑ์ครีมนวดผมและโลชั่นจากใบเหงือกปลาหมอ ผลิตภัณฑ์จากเมล็ดปาล์ม ผลิตภัณฑ์สบู่เหลวจากกระเจี๊ยบเขียว (๒) ได้ผลิตภัณฑ์เข้ าคั ดสรรมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์สิ นค้ า OTOP ประจ าปี ๒๕๖๒ จานวน ๔ ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ขนมเต้าส้อตวงรัตน์ ผลิตภัณฑ์จากต้นตาล ผลิตภัณฑ์เตยปาหนัน ผลิตภัณฑ์จักสาน ไม้ไผ่ (๓) สามารถเพิ่มยอดจาหน่ายได้ ๕ ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์เต้า ส้อแม่ปรีดา ผลิตภัณฑ์บาติก ผลิตภัณฑ์ผ้าทอ อิสระ ซาโอริ ผลิตภัณฑ์ผ้าทอทุ่งทะเล ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกไฑบาติก ดังนั้น เพื่อสนองต่อพระปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพล ราชวรางกูร อย่างต่อเนื่อง ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ได้ดาเนินโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ชุมชนท้องถิ่นในพื้นรับบริการของมหาวิทยาลัย โดยเน้นการนาเอกลักษณ์ของท้องถิ่นมาสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้า และ เสริมสร้างโอกาสทางการตลาด

ผลผลิต (Output) นักศึ กษาและอาจารย์ได้ มีส่ วนร่ว มในการพั ฒนาท้อ งถิ่ นด้า นเศรษฐกิจ ผ่า นกระบวนการบูร ณาการกั บ การเรียนการสอนในการถ่ายทอดองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ในการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน อัตลักษณ์ของท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ ผลลัพธ์ (Outcomes) ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนท้ องถิ่ น ที่ เข้ า ร่ ว มได้ รั บ การพั ฒ นา และยกระดั บ ให้ มี ม าตรฐาน และคุ ณ ภาพที่ สู งขึ้ น ตาม มาตรฐานผลิตภัณฑ์ มผช. GMP ผลกระทบ (Impact) 1. ผู้ประกอบการ/วิสาหกิจชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น 2. เกิดความผูกพันระหว่าบุคคลในชุมชน และเครือข่ายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 3. สร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนท้องถิ่น โดยพัฒนาต่อยอดและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าผลิตภัณฑ์ ชุมชน ตลอดจนยกระดับแหล่งท่องเที่ยวชุมชน เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ให้แก่ชุมชนนาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ นอกจากนี้ คณาจารย์หรือผู้ให้บริการวิชาการสามารถนาประสบการณ์มาพัฒนาการเรียนการสอนหรือต่อยอด งานวิจัยได้ 4. ส่งเสริมการพัฒนาประเทศจากเศรษฐกิจชุมชนฐานรากที่เข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

59


กระบวนการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดาเนินงานดังนี้ ๑. ลงพื้นสารวจข้อมูล ศึกษาศักยภาพ ความพร้อม ความต้องการของผู้ประกอบการ เพื่อศึกษาวิเคราะห์ การยกระดั บ มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ จั ด ท าแผนธุ ร กิ จ การท าบั ญ ชี การสร้ า งเรื่ อ งราวน าเสนอผลิ ต ภั ณ ฑ์ และ การทาตลาดออนไลน์ ๒. รวบรวมข้ อมู ล วิ เคราะห์ การพั ฒนาผลิ ตภั ณฑ์ ทดลองวิ ธี การผลิ ต ทดลองสู ตร การพั ฒนา กระบวนการ เทคโนโลยีการบรรจุ และบรรจุภัณฑ์ ๓. ศึกษาวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ ทดสอบผลิตภัณฑ์ อายุการเก็บรักษา และ/หรือ ตรวจคุณค่าทางโภชนาการ ๔. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ พร้อมจัดพิมพ์บรรจุภัณฑ์ เพื่อการทดลองการตลาด ๕. ถ่ายทอดองค์ความรู้อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ประกอบการ/กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 6. เกิดการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการบริการวิชาการ 7. ประเมินผลความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

ผลการคัดเลือกกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ตามโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในพื้นที่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่ ได้คัดเลือกกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น จานวน 4 กลุ่ม 21 ผลิตภัณฑ์ ดังนี้

จังหวัดภูเก็ต จานวน 2 กลุ่ม 6 ผลิตภัณฑ์ ลาดับ

60

ประเภทผลิตภัณฑ์

ผลิตภัณฑ์

ชื่อกลุ่ม

อาเภอ

1

อาหาร

น้าพริกพันวา

กลุ่มแม่บ้านน้าพริกพันวา

เมือง

2

อาหาร

ผงชงสมุนไพรพร้อมดื่ม สาเร็จรูปส้มควาย

กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบาง หวานพัฒนา

กะทู้

3

อาหาร

นมแพะข้นหวาน

มณีรัตน์ฟาร์มแพะ

ถลาง

4

อาหาร

น้าสับปะรดสด และเจลลี่ จากน้าสับปะรด

วิสาหกิจชุมชนสับปะรดภูเก็ต

ถลาง

5

สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร

เจลแต้มสิวจากสับปะรด ผสมสารสกัดไคโตซานจาก เปลือกกุ้งมังกร

วิสาหกิจชุมชนสับปะรดภูเก็ต

ถลาง

6

สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร

เจลมาส์กหน้าก่อนนอน (Sleeping mark) จากเมือกกระเจี๊ยบเขียว

ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงบ้านม่าหนิก

ถลาง


จังหวัดพังงา จานวน 4 กลุ่ม 8 ผลิตภัณฑ์ ลาดับ

ประเภทผลิตภัณฑ์

ผลิตภัณฑ์

ชื่อกลุ่ม

อาเภอ

1

อาหาร

แหนมเห็ดนางฟ้า

วิสาหกิจชุมชนสหฟาร์มเห็ด นางฟ้าบ้านนาแฝก

ท้ายเหมือง

2

ของใช้ / ของตกแต่ ง / ของที่ระลึก

แปรรูปน้ายางพารา

พี ที คร๊ า ฟ พารา รั บ เบอร์ โปรดักส์

ตะกั่วทุ่ง

3

ของใช้ / ของตกแต่ ง / ของที่ระลึก

เรือชักซะ

นายโสบ สมพล

4

ผ้าและเครื่องแต่งกาย

ผ้าทอซาโอริ

นางสาวจินตนา มีอิสระ

ตะกั่วป่า

5

อาหาร

ขนมตะโกลา

วิสาหกิ จชุม ชนกลุ่ม แม่ บ้า น เกษตรกรตะโกลา

ตะกั่วป่า

6

อาหาร

เครื่องแกงเขาตาหนอน

นางปรีดา ทวีรส

ทับปุด

7

สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร

น้ามันเหลืองจากขมิ้นชัน และสครับขมิ้นชัน

นางปรีดา ทวีรส

ทับปุด

8

อาหาร

เครื่องดื่มเหงือกปลาหมอ ผงสาเร็จรูป

นางข้อลียะ สุมาลี

ตะกั่วทุ่ง

ชื่อกลุ่ม

อาเภอ

ท้ายเหมือง

จังหวัดกระบี่ จานวน 2 กลุ่ม 7 ผลิตภัณฑ์ ลาดับ

ประเภทผลิตภัณฑ์

ผลิตภัณฑ์

1

ของใช้ / ของตกแต่ ง / ของที่ระลึก

ลูกปัดโนราห์ปัญญารักษ์

นางสาววริศรา ดาด้วงโรม

อ่าวลึก

2

ของใช้ / ของตกแต่ ง / ของที่ระลึก

ยางพารา กลุ่มกระบี่ ลาแท็กซ์

แปรรูปน้ายางพารากระบี่ ลาเท็กซ์

เมือง

3

ผ้าและเครื่องแต่งกาย

ผ้าบาติกและผ้ามัดย้อม ไฑบาติก

นายบรรเทา กูลหลัง

เมือง

4

ของใช้ / ของตกแต่ ง / ของที่ระลึก

จักสานไม้ไผ่ กลุ่มจักสาน ไม้ไผ่

นางสะลิหม้อ ทองคา

เมือง

5

ของใช้ / ของตกแต่ ง / ของที่ระลึก

ของที่ระลึกจากเมล็ดปาล์ม

นางอารีย์ เรืองมี

คลองท่อม

6

ของใช้ / ของตกแต่ ง / ของที่ระลึก

เตยปาหนัน

นางสงวน ขนานใต้

คลองท่อม

7

ผ้าและเครื่องแต่งกาย

ผ้าฝ้ายทอมือ

นางกัลยา ทาสวน

เกาะลันตา

61


รูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ลาดับ

ผลิตภัณฑ์

รูปแบบการพัฒนา

1

น้าพริกพันวา

พัฒนาสูตรน้าพริกปลาหยองทรงเครื่อง

2

ผงชงสมุนไพรพร้อมดื่มสาเร็จรูปส้มควาย

ผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ ผงชงสมุนไพรพร้อมดื่มสาเร็จรูปส้มควาย

3

นมแพะข้นหวาน

ผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ นมแพะข้นหวานรสชาติดั้งเดิม นมแพะข้นหวาน รสช็อคโกแลต และนมแพะข้นหวานรสชาเขียว

4

น้าสับปะรดสด และเจลลี่จากน้าสับปะรด

ผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ เจลลี่จากน้าสับปะรด

5

เจลแต้มสิวจากสับปะรด ผสมสารสกัดไคโต ซานจากเปลือกกุ้งมังกร

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ คื อ เจลแต้ ม สิ ว จากสั บปะรด และเจลลบเลื อ น จุดด่างดาบนใบหน้าจากสับปะรด

6

เจลมาส์กหน้าก่อนนอน (Sleeping mark) จากเมือกกระเจี๊ยบเขียว

ผลิตภัณฑ์เจลมาส์กหน้าก่อนนอน จากเมือกกระเจี๊ยบเขียว

7

แหนมเห็ดนางฟ้า

พัฒนาสูตรแหนมเห็ดนางฟ้า

8

แปรรูปน้ายางพารา

พัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ของที่ระลึกจากยางพารา 2 รูปแบบ

9

เรือชักซะ

ผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ เรือดักทรัพย์จาลอง

10

ผ้าทอซาโอริ

พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอซาโอริ จากผ้าผืนสู่สินค้าแฟชั่น ไลฟ์สไตล์ รูปแบบใหม่

11

ขนมตะโกลา

พัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมพื้นเมืองตะกั่วป่า (ขนมไข่ปลางาดา)

12

เครื่องแกงเขาตาหนอน

พัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องแกงก้อนอัดแท่ง

13

น้ามันเหลือง และสครับจากขมิ้นชัน

ผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ ผลิตภัณฑ์น้ามันเหลืองจากขมิ้นชัน

14

เครื่องดื่มเหงือกปลาหมอผงสาเร็จรูป

พัฒนาสูตรเครื่องดื่มสมุนไพรเหงือกปลาหมอ ผสมตะไคร้/ใบเตย

15

ลูกปัดโนราห์ปัญญารักษ์

ผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ ผลิตภัณฑ์ของเล่น “ลูกปัดปัญญา”

16

ยางพารา กลุ่มกระบี่ลาแท็กซ์

ผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ รองเท้าจาลองจากยางพารา แบบ Unisex’s

17

ผ้าบาติกและผ้ามัดย้อม ไฑบาติก

พัฒนาแม่แบบในการตัดเย็บกระเป๋า 2 แบบ

18

จักสานไม้ไผ่ กลุ่มจักสานไม้ไผ่

ผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ ตะกร้าจักสาน ขนาด : เส้นผ่านศูนย์กลาง ๖๐ เซนติเมตร สูง ๘๐ เซนติเมตร

19

ของที่ระลึกจากเมล็ดปาล์ม

พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ วงกุ ญ แจช้ า ง แม่ เ หล็ ก ติ ด ตู้ เ ย็ น รู ป ช้ า ง ป้ายต้อนรับ บ้านนก ที่วางโทรศัพท์ และชั้นวางสินค้า

20

เตยปาหนัน

ผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ กระเป๋าสตรี

21

ผ้าฝ้ายทอมือ

พัฒนาแม่แบบในการตัดเย็บกระเป๋า 3 แบบ

62


ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

63


1. ผลิตภัณฑ์นมแพะข้นหวาน มณีรัตน์ฟาร์มแพะ & โฮมสเตย์ ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ผู้ประกอบการ : นางมณีรัตน์ บัวศรี ประธานกลุ่มมณีรัตน์ฟาร์มแพะ & โฮมสเตย์ สถานที่ตั้ง : เลขที่ ๖๘/๙ หมู่ที่ 3 ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : ๐๘๓-๓๙๑-๘๖๐-๒

มณีรัตน์ฟาร์มแพะ & โฮมสเตย์ ฟาร์มแพะได้มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) มีศักยภาพสามารถ ผลิตนมแพะ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากนมแพะ เช่น นมแพะพร้อมดื่ม โยเกิ ร์ตนมแพะ และไอศครีมนมแพะ ตลอดจน ผลิตภัณฑ์กลุ่มเวชสาอาง สบู่นมแพะ แชมพู และครีมอาบน้า เป็นต้น นอกจากนี้ มีการรวมตัวเครือข่ายเกษตรกรเลี้ยง แพะในจังหวัดภูเก็ต เพื่อการประกันราคา เผยแพร่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้การเลี้ยงแพะนม และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการสนับสนุนงานด้านการตลาด และมณีรัตน์ฟาร์มแพะ & โฮมสเตย์ เป็นฟาร์มต้นแบบเกษตรกรเลี้ยงแพะ สาหรับผู้ที่สนใจเข้ามาดูงาน ปีงบประมาณ 2563 ผู้ประกอบการมีความต้องการพัฒนานมข้นหวานจากนมแพะ พัฒนา บรรจุภัณฑ์เพื่อการค้าปลีก

ผลการดาเนินงาน ๑. พัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ใหม่ จานวน ๑ ผลิตภัณฑ์ คือ นมข้นหวานจากนมแพะรสชาติดั้งเดิม ซึ่งเป็นที่ต้องการ ของตลาด และเพิ่มชนิดของผลิตภัณฑ์ได้อีก ๒ ชนิด ได้แก่ ๑) นมแพะข้นหวานรสช็อคโกแลต ๒) นมแพะข้นหวาน รสชาเขียว ตามความต้องการของตลาดบริโภค ๒. ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น มแพะข้ น หวานรสชาติ ดั้ ง เดิ ม ได้ ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ อ ายุ ก ารเก็ บ รั ก ษา ทดสอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ การตรวจคุณค่าทางโภชนาการ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความเหมาะสมกับตลาด สะดวกต่อการบริโภค และการพกพา โดยเลือกใช้หลอดบีบขาวขุ่นชนิด HDPE ขนาดบรรจุ ๑๐๐ มิลลิลิตร จานวน ๒,๕๐๐ ชิ้น พร้อมพิมพ์ฉลากบรรจุภัณฑ์ เพื่อสร้างภาพจาให้กับผลิตภัณฑ์ และสื่อสารข้อมูลด้านการตลาด

64

28


2. ผลิตภัณฑ์น้าพริกพันวา

กลุ่มแม่บ้านน้าพริกพันวา ตาบลวิชิต อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ผู้ประกอบการ : นางนวลจันทร์ สามารถ ประธานกลุ่มแม่บ้านน้าพริกพันวา สถานที่ตั้ง : เลขที่ ๑๓ /๒๓ หมู่ที่ ๘ ตาบลวิชิต อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : ๐๘๙-๘๗๑-๖๗๗-๑ กลุ่มแม่บ้านน้าพริกพันวาผลิตน้าพริกสูตรโบราณจากรุ่นสู่รุ่น โดยใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นที่มีการคัดสรรคุณภาพ แปรรูป น้าพริก อาทิ น้ าพริ กไตปลาแห้ง น้ าพริกปลาฉิ้งฉ้าง น้ าพริก กุ้งเสีย บ น้าพริก ปลาหยอง และอื่น ๆ รวมทั้ ง ผลิตภัณฑ์อาหารสด เช่น ข้าวยา ขนมจีน ใช้กะปิทาเองจากอ่าวมะขาม ไม่ใส่ผงชูรส ใช้น้าตาลโตนดในการปรุงรส มี ห น้ า ร้ า นเพื่ อ จ าหน่ า ยสิ น ค้ า แต่ ข าดการจั ด การแสดงสิ น ค้ า เพื่ อ การจ าหน่ า ย และต้ อ งการขายออนไลน์ แต่ ข าดงบประมาณในการจั ด สร้ า งโรงเรื อ นที่ ไ ด้ ม าตรฐาน (GMP) ผลการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ าพริ ก ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ น้าพริกปลาฉิ้งฉ้าง และน้าพริกไตปลาแห้ง ผ่านการตรวจคุณค่าทางโภชนาการ และอายุการเก็บผลิตภัณฑ์ ได้มากกว่า ๖๐ วัน และมีความต้องการทางการตลาดสูงขึ้น ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ผู้ประกอบการ ต้องการพัฒนา บรรจุภัณฑ์ เพื่อการค้าปลีก จาหน่ายหน้าร้าน และการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์น้าพริกพันวา น้าพริกปลา หยอง ทรงเครื่อง ผลการดาเนินงาน ๑. ได้พัฒนาสูตรน้าพริกปลาหยองทรงเครื่อง จานวน ๑ ผลิตภัณฑ์ 2. ศึกษาวิเคราะห์อายุการเก็บรักษา ทดสอบผลิตภัณฑ์ ตรวจคุณค่าทางโภชนาการข้อมูลฉลากโภชนาการของ น้าพริ กทั้ ง ๓ ชนิด โดยแสดงฉลากโภชนาการแบบเต็ม และฉลากโภชนาการแบบย่อ สามารถน าไปบรรจุ ในฉลาก บรรจุภัณฑ์ ได้แก่ น้าพริกปลาฉิ้งฉ้าง ไตปลาแห้ง และปลาหยองทรงเครื่อง ๓. น้ าพริ ก ปลาหยองทรงเครื่ อ ง มี ก ารบรรจุ แ บบกระปุ ก ที่ มี อ ากาศและการบรรจุ ถุ ง พลาสติ ก ชนิ ด ใส สภาวะสุญญากาศ มีอายุการเก็บไม่แตกต่างกัน อีกทั้งการเก็บในสภาวะสูญญากาศที่มากกว่า ๖๐ วัน ทาให้ผลิตภัณฑ์ อัดตัวกันแห้งแข็งเป็นก้อนไม่สามารถบริโภคได้ ดังนั้นสาหรับน้าพริกปลาหยองจึงเหมาะสาหรับการบรรจุในถุงพลาสติก ชนิดใส ซีลปิดปากถุงแบบปกติในสภาวะที่มีอากาศ และพร้อมพิมพ์ฉลากบรรจุภัณฑ์ เพื่อสร้างภาพจาให้กับผลิตภัณฑ์ และสื่อสารข้อมูลด้านการตลาด

65


3. ผลิตภัณฑ์ผงชงสมุนไพรพร้อมดื่มสาเร็จรูปส้มควาย วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบางหวานพัฒนา ตาบลกมลา อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ผู้ประกอบการ : นางลัดดา คาวิจิตร ประธานกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบางหวานพัฒนา สถานที่ตั้ง : บ้านหัวควน หมู่ที่ ๕ ตาบลกมลา อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : ๐๙๓-๕7๖-๖๔๐-๑ ส้มควาย เป็นผลไม้รสเปรี้ยว ตระกูลเดียวกับ “ส้มแขก” นิยมใช้เป็นพืชอาหาร และพืชสมุนไพร ส้มควาย พบได้แพร่หลาย ในพื้นที่ภาคใต้ โดยเฉพาะพื้นที่จังหวัดภูเก็ต บ้านหัวควน ตาบลกมลา เนื่องจากชาวบ้านนิยมปลูก ส้มควายเป็นไม้ผลประจาบ้าน ต้นส้มควายภูเก็ต มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว คือ ขนาดผลใหญ่ เนื้อมาก ชาวบ้านนิยมนา ส้มควายมาปรุงอาหารสารพัดเมนู ทั้งแกงส้ม แกงเลียง ต้มเนื้อ ต้มปลา ภูมิปัญญาชาวบ้านในสมัยโบราณ นิยมนา ส้มควายมาตากแห้ง และบดเป็นผงก่อนนามาผสมกับน้าร้อน วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบางหวานพัฒนา มีโรงเรือนการแปรรูปอาหารที่ได้มาตรฐาน มีผลิตภัณฑ์หลากหลาย อาทิ ส้มควายแห้ง ส้มควายแช่อิ่ม ส้มควายเชื่อม น้าส้มควาย ส้มควายสามรส เป็นต้น ปีงบประมาณ 2563 ผู้ประกอบการมีความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผงชงสมุนไพร พร้อมดื่มสาเร็จรูปส้มควาย

ผลการดาเนินงาน ๑. ได้ผลิตภัณฑ์ผงชงสมุนไพรพร้อมดื่มสาเร็จรูปส้มควาย จานวน 1 ผลิตภัณฑ์ 2. ออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่มีความเหมาะสม ส่งมอบยังผู้ประกอบการ และสามารถนาไปจัดจาหน่าย เพื่อทดสอบตลาดโดยประสานงานกับบริษัทประชารัฐรักสามัคคีภูเก็ต (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จากัด

66


4. ผลิตภัณฑ์แหนมเห็ดนางฟ้า

วิสาหกิจชุมชนสหฟาร์มเห็ดนางฟ้าบ้านนาแฝก ตาบลนาเตย อาเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา ผู้ประกอบการ : นางวันทนี บุญศรี ประธานวิสาหกิจชุมชนสหฟาร์มเห็ดนางฟ้าบ้านนาแฝก สถานที่ตั้ง : ซอยนาแฝก หมู่ที่ ๙ ตาบลนาเตย อาเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : ๐๙๓-๗๑๗-๑๙๖-๙ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนสหฟาร์ ม เห็ ด นางฟ้ า บ้ า นนาแฝก เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ มี ส มาชิ ก ทั้ ง หมด ๘ คน ผลิต ก้อ นเชื้อเห็ด เพาะเห็ ดนางฟ้า เห็ ดหู หนู จ าหน่ ายในตลาดทั่ วไป ก้อ นเห็ ดของฟาร์มมี การรั บรองคุ ณภาพตาม มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ปลอดสารเคมี ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ มีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด เช่น แหนมเห็ดนางฟ้า เห็ดสวรรค์ เห็ดนรก และเห็ดสามรส และจาหน่ายส่งเห็ดสด ณ ตลาดสด (ตลาดโคกกลอย) แต่ผลผลิต การให้ดอกของเห็ดน้อย เนื่องจากสมาชิกกลุ่มขาดทักษะการเพาะเห็ด และผลิตภัณฑ์จากเห็ดไม่ได้รับการขึ้นทะเบียน รับรองมาตรฐานการผลิต มผช. หรือ อย. อายุการเก็บผลิตภัณฑ์สั้น เก็บได้ประมาณ ๒ วัน คุณภาพผลิตภัณฑ์เสียหาย จึงมีการพัฒนาและปรับสูตรแหนมเห็ดนางฟ้า และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ผลการดาเนินงาน 1. ปรับปรุงโรงเรือนเพาะเห็ด ได้มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ผลผลิตได้เห็ดสดที่มีคุณภาพ พร้อมจาหน่ายมากขึ้น ๒. พั ฒ นาสู ต รและบรรจุ ภั ณ ฑ์ จั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร การแปรรู ป แหนมเห็ ด นางฟ้ า รวมถึ ง ขั้ น ตอน กระบวนการผลิตที่ถูกสุขลักษณะ ๓. ออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่มีความเหมาะสม จัดพิมพ์บรรจุภัณฑ์ และส่งมอบยังผู้ประกอบการจานวน ๒,๕๐๐ ชิ้น เพื่อทดสอบตลาดและการจัดจาหน่าย

67


5. ผลิตภัณฑ์น้าสับปะรดสด และเจลลี่จากน้าสับปะรด วิสาหกิจชุมชนสับปะรดภูเก็ต ตาบลศรีสุนทร อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ผู้ประกอบการ : นายวิชัย แซ่ตัน ประธานวิสาหกิจชุมชนสับปะรดภูเก็ต รหัสทะเบียน : ๕-๘๓-๐๓-๐๑ /๑-๐๐๑๕ สถานที่ตั้ง : เลขที่ ๙๙/๑ หมู่ที่ ๔ ตาบลศรีสุนทร อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : ๐๘๑-๒๗๑-๔๕๙-๘ สั บ ปะรดภู เ ก็ ต เป็ น พื ช เศรษฐกิ จ ของจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ขึ้ น ทะเบี ย นสิ่ ง บ่ ง ชี้ ท างภู มิ ศ าสตร์ (Geographical Indication) และมีระบบการจัดการคุณภาพ GAP (Good Agricultural Practices) ที่ดี เขตพื้นที่การปลูกสับปะรดภูเก็ต อยู่ในเขตพื้นที่อาเภอถลาง อาเภอเมืองภูเก็ต และอาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต นิยมปลูกแซมในสวนยาง รวมพื้นที่ปลู ก ประมาณ ๑,๐๐๐ ไร่ ๆ ละประมาณ ๓,๕๐๐ ต้น ได้รับการยกระดับมาตรฐานการเพาะปลูก จากสานักงานเกษตร จังหวัดภูเก็ต และการสนับสนุนจากบริษัทประชารัฐรักสามัคคีภูเก็ต (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จากัด ในการจาหน่าย และ ช่องทางการจาหน่ายผู้ประกอบการมีความชานาญในการปลูก ทาให้สามารถควบคุมคุณภาพการผลิตได้ แต่พบปัญหา แมลงศัตรูพืชที่สาคัญของสับปะรด ได้แก่ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยไฟ และเพลี้ยหอย ทาให้มีปัญหาด้านผลผลิต และนอกจากนี้ บางช่วงผลผลิตล้นตลาด ต้องการแปรรูปผลิตภัณฑ์เป็นน้าสับปะรดสด และยืดอายุการเก็บ

ผลการดาเนินงาน 1. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่เจลลี่จากน้าสับปะรด 2. ศึกษาวิเคราะห์อายุการเก็บรักษา ในตู้เย็นได้ไม่เกิน ๓ เดือน จัดเก็บที่อุณหภูมิห้องปกติได้ไม่เกิน ๗ วัน พร้อม ทั้งตรวจวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ 3. ออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่มีความเหมาะสม ส่งมอบยังผู้ประกอบการ และสามารถนาไปจัดจาหน่าย เพื่อทดสอบตลาดโดยประสานงานกับบริษัทประชารัฐรักสามัคคีภูเก็ต (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จากัด

68


6. ผลิตภัณฑ์ขนมตะโกลา

วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรตะโกลา ตาบลราชบารุง อาเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา ผู้ประกอบการ : นางศรีประภา ดอกไม้ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรตะโกลา สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ ๘ ถนนซอยโรงพระ ตาบลตะกั่วป่า อาเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : ๐๙๘-๐๘๕-๓๐๔-๘ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนกลุ่ ม แม่ บ้ า นเกษตรกรตะโกลา ผู้ ผ ลิ ต ขนมพื้ น เมื อ งอ าเภอตะกั่ ว ป่ า ภายใต้ ชื่ อ ตรา “ศรีตะโกลา” เป็นขนมโบราณที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น เป็นขนมที่นิยมสาหรับชาวไทย และชาวต่างชาติ ในปัจจุบัน ร้านขนมตะโกลา มีการผลิตขนมพื้นเมืองโดยผู้เชี่ยวชาญที่มีความชานาญด้านขนมพื้นเมือง เน้นรสชาติ และรูปลักษณ์ของ ขนมสูตรดั้งเดิม และมีบริการตามแหล่งชุมชนโดยไม่คิดค่าบริการจัดส่ง แต่ขาดโรงเรือนที่ได้รับมาตรฐาน GMP ผลิตภัณฑ์ ทุกประเภท จึงยังไม่ได้รับมาตรฐานอาหาร อย. ผลการดาเนินงาน ๑. ปรับปรุงสถานที่ให้ถูกสุขลักษณะ และความปลอดภัยด้านอาหาร ๒. เกิดการพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ขนมพื้นเมืองตะกั่วป่า (ขนมไข่ปลางาดา) ๓. ออกแบบและพัฒนาบรรจุ ภัณฑ์ ที่มีความเหมาะสม จัด พิมพ์บ รรจุ ภัณฑ์ และส่ งมอบยังผู้ป ระกอบการ จานวน ๒,๕๐๐ ชิ้น เพื่อทดสอบตลาดและการจัดจาหน่าย

69


7. ผลิตภัณฑ์เครื่องแกงเขาตาหนอน วิสาหกิจชุมชนกลุม่ แม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาตาหนอน ตาบลถ้าทองหลาง อาเภอทับปุด จังหวัดพังงา ผู้ประกอบการ : นางสาวปรีดา ทวีรส ประธานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาตาหนอน รหัสทะเบียน : ๕-๘๒-๐๗-๐๔/๑-๐๐๐๑ สถานที่ตั้ง : เลขที่ ๒๓ หมู่ที่ ๑ ตาบลถ้าทองหลาง อาเภอทับปุด จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : ๐๘๑-๔๗๖-๔๗๗-๑ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาตาหนอน เริ่มก่อตั้งเมื่อ พศ. ๒๕๓๘ เนื่องมาจากราคาผลผลิตทางการเกษตร ตกต่ า ซึ่ งเป็ น วั ต ถุ ดิ บ หลั ก ในท้ อ งถิ่ น เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ แ ก่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละสร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ สมาชิ ก กลุ่ ม และชุ ม ชน สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ รั บ รองตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนประเภทน้ าพริ ก แกง (มผช.๑๒๙/๒๕๔๖) และมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้าพริกแกง (มอก.๔๒๙-๒๕๔๘) และขึ้นทะเบียนเป็นสินค้า OTOP ที่ขายดีที่สุดในจังหวัดพังงา ภายใต้ชื่อสิ นค้า “แม่ป รีดาเครื่องแกงเขาตาหนอน” ในปีงบประมาณ 2563 มี ความประสงค์ต้อ งการ พัฒนาเป็ น เครื่องแกงก้อน และเครื่องแกงผงชนิดต่าง ๆ โดยกระบวนการผลิตจากเดิมผลิตด้วยมือ มาเป็นการผลิตด้วยเครื่องจักร โดยเน้นกระบวนการผลิตที่สะอาด ปลอดภัยได้มาตรฐานรับรอง และคุณภาพได้รับความพึงพอใจจากลูกค้า

ผลการดาเนินงาน ๑. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่จากการพัฒนาเครื่องแกงเป็นเครื่องแกงก้อนอัดแท่ง พร้อมบรรจุภัณฑ์ ๒. ผู้ประกอบการได้รับความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร (GMP) และความรู้พื้นฐานในการควบคุมคุณภาพของ การผลิตเครื่องแกงอัดแท่ง ๓. เกิดการพัฒนาหรือการต่อยอดการพัฒนาเครื่องทุนแรงที่ใช้ในการผลิต

70


8. ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มเหงือกปลาหมอผงสาเร็จรูป

วิสาหกิจชุมชนบ้านสามช่องสมุนไพรเหงือกปลาหมอ ตาบลกะไหล อาเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา ผู้ประกอบการ : ผู้ใหญ่สุรัตน์ สุมารี ประธานวิสาหกิจชุมชนบ้านสามช่องสมุนไพรเหงือกปลาหมอ สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 9 บ้านสามช่องเหนือ ตาบลกะไหล อาเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : ๐๙๓-๕๘๑-๒๑๒-๙ ผู้ใหญ่บ้านสุรัตน์ สุมารี ได้เล็งเห็นถึงความโดดเด่นของใบเหงือกปลาหมอในชุมชน จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ สู ง อายุ ใ นชุ ม ชนใช้ ใ บชาเหงื อ กปลาหมอรั ก ษาโรคภู มิ แ พ้ ความดั น โลหิ ต การหมุ น เวี ย นโลหิ ต เบาหวาน โรคผิวหนัง จากคุณสมบัติดังกล่าว จึงมีความต้องการนาใบเหงือกปลาหมอมาดัดแปลงเป็นวัตถุดิบชงพร้อมดื่ม เพื่อดูแล สุขภาพ บารุงร่างกาย และเป็นผลิตภัณฑ์ของฝากสาหรับนักท่องเที่ยว เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวชุมชน เพื่อสร้างรายได้ เพิ่มให้กับชุมชน ผลการดาเนินงาน ๑. ได้สูตรผลิตภัณฑ์ใหม่ เครื่องดื่มสมุนไพรเหงือกปลาหมอ ผสมตะไคร้ /ใบเตย พร้อมบรรจุภัณฑ์เพื่อส่งเสริม การท่องเที่ยวชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ๒. ผู้ประกอบการได้รับความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร (GMP) และความรู้พื้นฐานในการควบคุมคุณภาพของ การผลิตเครื่องดื่มสมุนไพรเหงือกปลาหมอ ผสมตะไคร้/ใบเตย

71


9. ผลิตภัณฑ์เจลมาส์กหน้าก่อนนอน (Sleeping mark) จากเมือกกระเจี๊ยบเขียว

ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านม่าหนิก ตาบลศรีสุนทร อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ผู้ประกอบการ : นายสุภโรจน์ ทรงยศ ประธานศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านม่าหนิก สถานที่ตั้ง : ตาบลศรีสุนทร อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : ๐๘๑-๙๗๘-๑๕๙-๘ ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านม่าหนิก เป็นกลุ่มที่ดาเนินการจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากกระเจี๊ยบเขียว เล็งเห็นโอกาสทางธุรกิจ จากการที่ตลาดผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพกาลังได้รับความนิยม ประกอบกับผู้บริโภคมีความสนใจ ในเรื่อ งของสุข ภาพมากยิ่งขึ้น ผลิต ภัณ ฑ์ก ระเจี๊ ยบเขี ยวจากศูน ย์เ รีย นรู้ ปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพีย งบ้ านม่ าหนิ ก เป็ น อี ก ทางเลื อ กหนึ่ งของผู้ บ ริ โ ภคที่ ต้ อ งการใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ สุ ข ภาพจากธรรมชาติ ปี งบประมาณ พ .ศ. ๒๕๖๒ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต ได้ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ สู ต รสบู่ เ หลวผสมกระเจี๊ ย บเขี ย ว ปี ง บประมาณ พ .ศ. ๒๕๖๓ ทางศูนย์ต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับผิวหน้า เนื่องจากสมาชิกในศูนย์ได้นาเมือกกระเจี๊ยบเขียวมาทาหน้าแล้ว รู้สึกผิวหน้ามีความชุ่มชื่นเพิ่มขึ้น จากคุณสมบัติด้านความชุ่มชื้นของเมือกกระเจี๊ยบเขียว จึงได้นามาต่อยอดครีมบารุง ผิวหน้าจากงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางจากสารสกัดใบมะม่วงหิมพานต์ ” โดยนาเมือกกระเจี๊ยบมา ผสมและปรับปรุงสูตรที่ได้จากงานวิจัย ได้เป็นผลิตภัณฑ์ “เจลมาส์กหน้าก่อนนอน” จากเมือกกระเจี๊ยบเขียว เนื้อครีมเจล ผสมกระเจี๊ยบเขียว

ผลการดาเนินงาน ๑. ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์เจลมาส์กหน้าก่อนนอน จากเมือกกระเจี๊ยบเขียวที่มีคุณสมบัติบารุงผิวให้ชุ่มชื้น ในขณะนอนหลับ ช่วยให้ผิวกระชับ ผิวพรรณแลดูอ่อนวัยเป็นธรรมชาติ ๒. ได้ออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่มีความเหมาะสม จัดพิมพ์บรรจุภัณฑ์ และส่งมอบยังผู้ประกอบการ

72


10. ผลิตภัณฑ์น้ามันเหลืองจากขมิ้นชัน และสครับขมิ้นชัน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาตาหนอน ตาบลถ้าทองหลาง อาเภอทับปุด จังหวัดพังงา

ผู้ประกอบการ : นางสาวปรีดา ทวีรส ประธานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาตาหนอน รหัสทะเบียน : ๕-๘๒-๐๗-๐๔/๑-๐๐๐๑ สถานที่ตั้ง : เลขที่ ๒๓ หมู่ที่ ๑ ตาบลถ้าทองหลาง อาเภอทับปุด จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : ๐๘๑-๔๗๖-๔๗๗-๑ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านเขาตาหนอน ตาบลถ้าทองหลาง อาเภอทับปุด จังหวัดพังงา รวมกลุ่มเพื่อการผลิต เครื่องแกงเป็นหลัก แต่ด้วยขมิ้นชันที่มีปริมาณมาก จึงต้องการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ ทางกลุ่มฯ ได้หารือกับคณะอาจารย์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงเสนอว่าน่าจะทาน้ามันเหลืองจาหนาย ทางทีมพัฒนาผลิตภัณฑ์จึงได้โจทย์นี้มาผลิตน้ามัน เหลื อ งผสมขมิ้น ชั น ซึ่ งในขมิ้ น ชั นมี ส ารชื่อ ว่ า เคอร์ คูมิ น (curcumin) เป็ น สารประเภทโพลี ฟี นอล (polyphenolic phytochemical) มีฤทธิ์ลดการอักเสบ ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร บรรเทาอาการกรดไหลย้อน ท้องอืด ท้อ งเฟ้ อ ช่ วยย่ อยอาหาร นอกจากนี้ยั งมีฤ ทธิ์ต้ านการอั กเสบได้ ดี และมีส่ ว นช่ ว ยในการคลายกล้า มเนื้ อ ที่ห ดเกร็ ง จากอาการปวดต่าง ๆ ได้ด้วย อีกทั้งในน้ามันเหลืองสูตรที่พัฒนานี้ยังมีส่วนผสมของไพลซึ่งเป็นสมุนไพรอีกชนิดหนึ่ง ที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบได้ ดังนั้นสูตรน้ามันเหลืองจากขมิ้นชันที่ทางทีมพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้คิดขึ้น จึงมีฤทธิ์ต้านการอักเสบได้ดี เหมาะแก่การนามานวดบรรเทาอาการเจ็บปวดได้ ผลการดาเนินงาน เกิ ด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ 2 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ คื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ ามั น เหลื อ งจากขมิ้ น ชั น และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ครั บ ขมิ้ น ชั น พร้อมบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดจาหน่าย

73


11. ผลิตภัณฑ์เจลแต้มสิวจากสับปะรดผสมสารสกัด ไคโตซานจากเปลือกกุ้งมังกร วิสาหกิจชุมชนสับปะรดภูเก็ต ตาบลศรีสุนทร อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ผู้ประกอบการ : นายวิชัย แซ่ตัน ประธานวิสาหกิจชุมชนสับปะรดภูเก็ต รหัสทะเบียน : ๕-๘๓-๐๓-๐๑ /๑-๐๐๑๕ สถานที่ตั้ง : เลขที่ ๙๙/๑ หมู่ที่ ๔ ตาบลศรีสุนทร อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : ๐๘๑-๒๗๑-๔๕๙-๘ สับปะรดภูเก็ตเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของจังหวัดภูเก็ตที่สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรชุมชน ตาบลป่าคลอก ในรู ป ของการจ าหน่ า ยผลสด ส าหรั บ การใช้ ป ระโยชน์ จ ากสั บ ปะรดยั ง ไม่ มี ก ารแปรรู ป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ า ง ๆ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มได้มากนัก โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ด้านเครื่องสาอาง ซึ่งคุณค่าที่สาคัญของสับปะรด คือ เอนไซม์โบรมีเลน (Bromelain) ในสับปะรด ช่วยระงับอาการอักเสบ อาการบวม ช่วยซ่อมแซมเนื้อเยื่อ รวมทั้งยังมีกรดอะมิโน AHA และ น้าตาลที่ช่วยให้ผิวหนังชุ่มชื้น มีวิตามินเอ วิตามีนซี ช่วยต้านอนุมูลอิสระ ช่วยชะลอของเซลล์ผิวหนัง และลบรอยเหี่ยวย่น ดังนั้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางเจลแต้มสิวจะตอบโจทย์สรรพคุณของสับปะรด สับปะรดภูเก็ตยังคงเป็นที่ต้องการ ของตลาดในการบริโภคแบบสดๆ เนื่องจากมีรสชาติอร่อย และขายได้ราคาดี แต่การแปรรูปผลิตภัณฑ์เวชสาอางของ สับปะรดภูเก็ตเองยังมีน้อย และเป็นการยกระดับสับปะรดภูเก็ตให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ปีงบประมาณ 2563 จึงต้องการแปรรูปจากสับปะรดสด เป็นผลิตภัณฑ์เวชสาอางเจลแต้มสิวและเจลลดรอยด่างดา

ผลการดาเนินงาน ๑. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ เจลแต้มสิวจากสับปะรด ผ่านการวิเคราะห์สารต้องห้ามในเครื่องสาอาง และผ่านการทดสอบ ทางกายภาพ เช่น สี กลิ่น ความหนืด รับรองโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พบว่ามีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ๒. เกิ ด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ เจลลบเลื อ นจุ ด ด่ า งด า บนใบหน้ า จากสั บ ปะรด ผ่ า นการวิ เ คราะห์ ส ารต้ อ งห้ า ม ในเครื่องสาอาง และผ่านการทดสอบทางกายภาพ เช่น สี กลิ่น ความหนืด รับรองโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พบว่า มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค 3. ออกแบบและพัฒนาบรรจุ ภัณฑ์ ที่มีความเหมาะสม และจัดพิ มพ์บ รรจุภั ณฑ์ ส่ งมอบยังผู้ป ระกอบการ และสามารถนาไปจัดจาหน่าย เพื่อทดสอบตลาดโดยประสานงานกับบริษัทประชารัฐรักสามัคคีภูเก็ต (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จากัด

74


12. ผลิตภัณฑ์ผ้าทอซาโอริ ศูนย์ผ้าทอซาโอริ ตาบลบางม่วง อาเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา ผู้ประกอบการ : คุณอัจฉรา แดงฉัตรี (คุณแหม่ม) ศูนย์ผ้าทอซาโอริ สถานที่ตั้ง : ตาบลบางม่วง อาเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : ๐๙๕-๐๓๔-๕๗๗-๒ เว็บไซด์ : www.saorihandmade.com เพจ : สินค้าศูนย์ทอผ้า saori ตะกั่วป่า กลุ่มผ้าทอซาโอริก่อตั้งหลังจากเกิดเหตุการณ์ “สึนามิ” มูลนิธิมายา โคตามี (Maya Gotami Roundation) จากประเทศญี่ ปุ่ น ได้ เข้ า มามี ส่ ว นช่ ว ยเหลื อผู้ ป ระสบภั ยในจั งหวั ด พังงาและได้ จั ด ทาโครงการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู้ประสบภัย ด้วยศิลปะการทอผ้าด้วยมือแบบซาโอริ และเป็นผู้นาความรู้การทอผ้าจากญี่ปุ่นมาถ่ายทอดให้กลุ่ม แม่ บ้ า นที่ ป ระสบภั ย สึ น ามิ เริ่ ม แรกเป็ น การทอผ้ า กั บ มื อ ภายหลั ง มี เ ครื่ อ งทอผ้ า ที่ ท าจากไม้ จ านวน ๑๐ ตั ว มาใช้ ใ นการทอเพื่ อ ความสะดวกและรวดเร็ ว โดย คุ ณ อั จ ฉรา แดงฉั ต รี จุ ด เด่ น ของสิ น ค้ า หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (Value Proposition) คือ ลักษณะที่ โดดเด่นศิลปะของการทอผ้าด้วยมือแบบซาโอริ เป็นการทอผ้ารูปแบบใหม่ของ ชาวญี่ปุ่นโดย นางมิซาโอะ โจ (Mrs.Misao Jo) แห่งเมืองโอซาก้า เป็นผู้คิดค้นขึ้น ในปี พ.ศ. 2511 ปรัชญาการทอผ้าแบบ ซาโอริ ได้ยึดหลักแนวคิดของ “ความเป็นอิสระ” เป็นสาคัญ

ผลการดาเนินงาน ๑. เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอซาโอริ จากผ้าผืนสู่สินค้าแฟชั่นไลฟ์สไตล์ รูปแบบใหม่ ๒. ได้รูปแบบสาหรับการตัดเย็บชุดรูปแบบใหม่ จานวน ๕ รูปแบบ

75


13. ผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ

กลุ่มร่วมใจพัฒนาผ้าทอทุ่งทะเล ตาบลเกาะกลาง อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ผู้ประกอบการ : นางจรรยา ขนานใต้ และนางกัลยา ทาสวน กลุ่มร่วมใจพัฒนาผ้าทอทุ่งทะเล สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 3 ตาบลเกาะกลาง อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : ๐๙๖-๓๕๙-๖๗๑-๑, ๐๘๗-๒๗๗ -๒๒๖-๐ กลุ่ ม ร่ ว มใจพั ฒ นาผ้ า ทอทุ่ ง ทะเล ต าบลเกาะกลาง อ าเภอเกาะลั น ตา จั ง หวั ด กระบี่ ผลิ ต ผ้ า ฝ้ า ยทอมื อ ได้ต่อยอดจากโครงการศิลปาชีพทุ่งทะเล ซึ่งเป็นโครงการของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทางกลุ่มได้นาความรู้ ที่ได้มาประยุกต์ทาผ้าทอ จาหน่ายในชุมชนในจังหวัดและผู้ที่มาเยี่ยมชมโครงการ การทอผ้าเริ่มต้นจากการทอเป็นอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับราษฎรในพื้นที่ ปัจจุบันนอกจากจะมีรายได้เพิ่มขึ้น สิ่งสาคัญ คือ สมาชิกทุกคนได้ทาในสิ่งที่รัก ด้วยความตั้งใจ พัฒนาทักษะฝีมือ เพื่อให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ปัจจุบันแม้ว่าสมาชิกทุกคนจะมีทักษะด้าน การทอผ้าด้วยกี่ แต่สมาชิกยังขาดความรู้ขาดทักษะในการตัดเย็บเสื้อผ้า ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการที่จะพัฒนารูปแบบ ผลิตภัณฑ์ สมาชิกในกลุ่มมีความต้องการที่จะพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ไปสู่ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบอื่น ๆ เช่น กระเป๋าสะพาย และต้องการเพิ่มทักษะการตัดเย็บ การสร้างรูปแบบกระเป๋าให้ทางกลุ่ม โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ

ผลการดาเนินงาน ๑. ได้รูปแบบการตัดเย็บกระเป๋า จานวน 3 รูปแบบ ๒. สมาชิกกลุ่มสามารถตัดเย็บกระเป๋า การสร้างรูปแบบการออกแบบมากขึ้น ซึ่งสามารถประยุกต์ต่อยอด เพิ่มมูลค่าไปสู่ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบอื่น ๆ ต่อไปได้ในอนาคต

76


14. ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกและผ้ามัดย้อม ไฑบาติก

กลุ่มผ้าบาติกและผ้ามัดย้อมไฑบาติก บ้านทุ่ง ตาบลเขาคราม อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ผู้ประกอบการ : นายบรรเทา กุลหลัง ประธานกลุ่มผ้าบาติกและผ้ามัดย้อมไฑบาติก เพจ : ไฑบาติก สถานที่ตั้ง : เลขที่ ๓๘๐ หมู่ที่ ๑ บ้านทุ่ง ตาบลเขาคราม อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : ๐๙๕-๓๓๗-๖๕๘-๑

ผ้าบาติกและผ้ามัดย้อมไฑบาติก คุณบรรเทา กุลหลัง ประธานกลุ่มเริ่มสร้างสรรค์งานบาติก จากการเรียนรู้ จากผู้เชี่ยวชาญ และความสุขในการสร้างสรรค์งานบาติก ประเภทภาพตกแต่ง ผ้าเช็ดหน้า ผ้าพันคอ และผ้าพันตัว ช่วงหลังกลุ่มลูกค้ามีความสนใจงานมัดย้อม จึงมีการสร้างสรรค์งานต่อยอด ปัจจุบันคุณบรรเทาได้มีการทดลองวิธีการ สร้ า งผลงานบาติ ก แบบใหม่ แ บบไม่ ใ ช้ เ ที ย นกั้ น สี แต่ จ ะใช้ ตั ว สี เ องเป็ น ตั ว กั้ น สี ท าให้ ล ดการใช้ เ ที ย น ใช้ ค วามร้ อ น ซึ่งสีบาติกที่ใช้เป็นสีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ทาให้ ไฑบาติกได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการพัฒนาสู่สุดยอด SME จังหวัด (SME Province Champions) ปี ๒๕๖๒ ของเขต ๗ ภาคใต้ฝั่งอันดามัน ปัจจุบันสมาชิกยังขาดความรู้ ขาดทักษะในการตัดเย็บเสื้อผ้าซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการที่ จะพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ได้ สมาชิกจึงมีความต้องการที่จะพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ไปสู่ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบอื่น ๆ เช่น กระเป๋าสตรี และสมาชิกในกลุ่มมีความต้องการเพิ่มทักษะการตัดเย็บ สร้างรูปแบบกระเป๋า ผลการดาเนินงาน ๑. ได้รูปแบบการตัดเย็บกระเป๋า จานวน 2 รูปแบบ ๒. สมาชิกกลุ่มที่ได้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดเย็บกระเป๋า สามารถออกแบบแม่แบบ ตลอดจนสามารถผลิตผลงานต้นแบบผลิตภัณฑ์กระเป๋าถือของผู้หญิงได้

77


15. ผลิตภัณฑ์แปรรูปน้ายางพารา

พี ที คร๊าฟ พารา รับเบอร์ โปรดักส์ ตาบลท่าอยู่ อาเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา ผู้ประกอบการ : นายประเสริฐ มิตรเจริญรัตน์ ร้านพี ที คร๊าฟ พารา รับเบอร์ โปรดักส์ สถานที่ตั้ง : เลขที่ ๒๔/๒ หมู่ที่ ๒ ตาบลท่าอยู่ อาเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : ๐๙๕–๓๓๗-๖๕๘-๑ ร้านพี ที คร๊าฟ พารา รับเบอร์ โปรดัก ส์ ของคุณประเสริฐ มิตรเจริญรัตน์ เป็นผู้ที่มีประสบการณ์การพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากยางพาราเป็นผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก โดยทาเป็นรายได้เสริม ลักษณะงานเป็นงานหัตถกรรมจากยางพารา เน้นการผลิตตามการสั่งของลูกค้า และมีการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ระลึกจากยางพาราที่หลากหลาย เช่น เต่ามะเฟือง เขาตะปู และสัตว์ในทะเล เป็นต้น ปีงบประมาณ 2563 มีความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด พังงา

ผลการดาเนินงาน ๑. ได้พัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ของที่ระลึกจากยางพารา จานวน 2 รูปแบบ ๒. เกิดการบูรณาการการเรียนการสอนกับรายวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก

78


16. ผลิตภัณฑ์เรือชักซะ

กลุ่มผลิตภัณฑ์เรือชักซะ บ้านบ่อดาน ตาบลนาเตย อาเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา ผู้ประกอบการ : นายโสบ สมพล กลุ่มผลิตภัณฑ์เรือชักซะ สถานที่ตั้ง : เลขที่ ๒๑/๑๒ หมู่ที่ ๗ บ้านบ่อดาน ตาบลนาเตย อาเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : ๐๘๙-๗๒๘-๗๓๐-๖

วิถีชีวิตของคนพังงาในสมัยก่อน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการทาเหมืองแร่ เป็นอาชีพหลักในการเลี้ยงดูตนเอง และครอบครัว ทาให้เกิดความผูกพันกับอาชีพ บริเวณพื้นที่บ้านบ่อดาน-ในไร่ อาเภอท้ายเหมือง เป็นพื้นที่ที่มีเหมืองแร่มาก หนึ่งในสิ่งที่เห็นจนชินตา คือ “เรือชักชะ” เป็นเรือที่ใช้ในการดึงแร่ขึ้นมาจากน้า และทาความสะอาด เพื่อการแยกแร่ออก จากดินทราย เรื่องราวของการทาเหมืองแร่ ความเป็นมาของอาชีพ ที่เปรียบเสมือนชีวิตของคนพังงา ลักษณะของเรือชักซะ หัวเรือจะยื่นออกมาพอประมาณ ตรงกลางจะเป็นที่รับรองสาหรับที่นั่งของคนขับ และใส่สิ่งของจาเป็นหรืออุปกรณ์ ในการออกเรือหาแร่ กลุ่มผลิตภัณฑ์เรือชัก ซะ คุณโสบ สมพล มีความเชี่ยวชาญชานาญ และองค์ความรู้ในการแกะ เรือจาลองโบราณหลายชนิด เพื่อเป็นของที่ระลึก และเรือชัก ซะได้ปรับชื่อใหม่เป็น “เรือดักทรัพย์” ชื่อมงคล รวมถึง การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อจาหน่ายเป็นของที่ระลึก ผลการดาเนินงาน ๑. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ : เรือดักทรัพย์จาลองจานวน 3 ขนาด ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ๒. ออกแบบและพัฒ นาบรรจุภั ณฑ์ ของที่ ร ะลึ ก จัด พิม พ์ และส่ งมอบสู่ ผู้ป ระกอบการ และทดสอบตลาด ผลิตภัณฑ์ ป้ายห้อยสินค้า

79


17. ผลิตภัณฑ์ลูกปัดโนราห์ปัญญารักษ์ กลุ่มลูกปัดโนราห์ปัญญารักษ์ ตาบลแหลมสัก อาเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ผู้ประกอบการ : นางสาววริศรา ดาด้วงโรม ประธานกลุ่มลูกปัดโนราห์ปัญญารักษ์ สถานที่ตั้ง : ตาบลแหลมสัก อาเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : ๐๙๕-๐๓๔-๕๗๗-๒ กลุ่มลูกปัดโนราห์ปัญญารักษ์ เกิดจากภูมิปัญญาผสานแรงบันดาลใจเป็นงานศิลป์ร่วมสมัย พัฒนาผลิตภัณฑ์ของ เล่นจากลูกปัดมโนราห์ โดยนาอัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ ลวดลายลูกปัดจากชุดมโนราห์มาตัดทอนรายละเอียด และ พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ของเล่นจากลูกปัดมโนราห์ที่มีชื่อว่า “ลูกปัดปัญญา” เพื่อเสริมสร้างทักษะพัฒนาการ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างแม่กับลูก และฝึกมัดกล้ามเนื้อของเด็ก

ผลการดาเนินงาน ๑. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ของเล่น “ลูกปัดปัญญา” จานวน 1 ชุดผลิตภัณฑ์ ๒. นาผลิตภัณฑ์ ออกงานแสดงสินค้าที่เป็นผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยร่วมกับการจัดจาหน่าย 3. พัฒนา QR–Code วิธีการเล่นในรูปแบบโมชั่นกราฟิกอยู่บนกล่องบรรจุภัณฑ์

80


18. ผลิตภัณฑ์ยางพารา กลุ่มกระบี่ลาเท็กซ์

แปรรูปน้ายางพารา กระบี่ลาเท็กซ์ ตาบลไสไทย อาเภอกระบี่ จังหวัดกระบี่ ผู้ประกอบการ : นายวีระอนัน เกิดสุข ประธานกลุ่มแปรรูปน้ายางพารา กระบี่ลาเท็กซ์ สถานที่ตั้ง : ตาบลไสไทย อาเภอกระบี่ จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : ๐๙๖-๙๖๗-๗๘๕-๙

โรงงานตั้ ง อยู่ ที่ จั ง หวั ด กระบี่ เนื่ อ งจากอยู่ ใ กล้ แ หล่ ง ผลิ ต และต้ อ งการพั ฒ นาสิ น ค้ า ให้ ส ามารถเชื่ อ มโยง ด้านการตลาดทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ รวมทั้งขยายช่องทางการกระจายสินค้าเพิ่มขึ้น ซึ่งจากการดาเนินการ พัฒนาธุรกิจ มีการกระตุ้นแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปรับเปลี่ยนทัศนคติในการพัฒนาธุรกิจ การพัฒนา รูปแบบธุรกิจ (Business Model) จัดทาแผนธุรกิจ (Business Plan) และให้ตระหนักถึงความสาคัญและผลประโยชน์ที่ จะได้รับจากการพัฒนาธุรกิจแข่งขันได้ ผลการดาเนินงาน ๑. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นรองเท้าจาลองจากยางพารา แบบ Unisex’s สามารถใส่ได้ทั้งผู้ชายและผู้หญิง ๒. ได้สร้างแบรนด์ Voler และข้อมูลสินค้า

81


19. ผลิตภัณฑ์จักสานไม้ไผ่

กลุ่มจักสานไม้ไผ่บ้านทุ่ง (วังน้าเขียว) ตาบลเขาคราม อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ผู้ประกอบการ : นางสะลิหม้อ ทองคา ประธานกลุ่มจักสานไม้ไผ่บ้านทุ่ง วังน้าเขียว สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 1 ตาบลเขาคราม อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : ๐๘๙-๔๗๑-๒๐๕-๘ กลุ่มจักสานไม้ไผ่บ้านทุ่ง วังน้าเขียว มีแหล่งเรียนรูก้ ารทาจักสานคุณภาพระดับ OTOP พื้นที่เล็ก ๆ กลางหุบเขา เป็นกลุ่มจักสานเครื่องใช้จากไม้ไผ่ผสมผสานกับวัสดุอื่นที่มีอยู่ในชุมชน เช่น เชือกกล้วย ทางปาล์ม เป็นต้น สามารถผลิต รูปแบบได้ตามยอดสั่งซื้อที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ทางกลุ่มจักสานไม้ไผ่วังน้าเขียว ได้ผลิตผลิตภัณฑ์หลากหลาย รูปแบบตามที่ลูกค้าต้องการ เช่น ตะกร้าปลา เรือหัวโทง กระปุกลูกปัด กระเช้าของขวัญ เป็นต้น นอกจากจักสาน ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ แล้ว ทางกลุ่มยังได้รับสอนให้กับเยาวชน นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจ

ผลการดาเนินงาน ๑. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ : ตะกร้าจักสาน ขนาด : เส้นผ่าศูนย์กลาง ๖๐ เซนติเมตร สูง ๘๐ เซนติเมตร วัสดุ : เชือก กล้วย ไม้ไผ่ หวาย ผลิตภัณฑ์ตะกร้าจักสาน โครงตะกร้าใช้ไม้ไผ่เพื่อความแข็งแรงและคงรูปทรง ด้านข้างของตะกร้าใช้เชือก กล้วยดิบ (ไม่ย้อมสี) และเชือกกล้วยย้อมด้วยสีคราม ๒. จัดทาป้ายห้อยสินค้า แสดงรายละเอียดของข้อมูลผลิตภัณฑ์ ใช้สีครามและสีน้าเงินแสดงถึงเอกลักษณ์ของ กลุ่ ม จั ก สานไม้ ไ ผ่ สี ค ราม (Sikram) พื้ น หลั ง ตั ด ทอนจากลวดลายการจั ก สาน รวมถึ ง ถุ ง ผ้ า สปั น บอนด์ ส าหรั บ บรรจุผลิตภัณฑ์จักสานอืน่ ๆ ที่มีขนาดเล็ก เช่น ถุงผ้าขยายก้นสีฟ้า สกรีนด้วยสีน้าเงิน ๑ สี แสดงถึงความเรียบง่ายเหมาะ แก่การนาไปใช้ซ้า

82


20. ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจากเมล็ดปาล์ม

กลุ่มเมล็ดปาล์มบ้านแผ่นดินเสมอ ตาบลคลองท่อมเหนือ อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ผู้ประกอบการ : นางอารีย์ เรืองมี ประธานกลุ่มเมล็ดปาล์มบ้านแผ่นดินเสมอ สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ ๒ ตาบลคลองท่อมเหนือ อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : ๐๘๒-๒๘๖-๐๕๓-๒ กลุ่ มเมล็ด ปาล์ ม บ้า นแผ่ น ดิน เสมอ ตั้ งอยู่ หมู่ ที่ ๒ ตาบลคลองท่อ มเหนื อ อ าเภอคลองท่อ ม จั งหวั ด กระบี่ สมาชิกส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทาสวนปาล์มน้ามัน สวนยางพารา เมื่อถึงช่วงเวลาของการเก็บเกี่ยวทะลายปาล์มน้ามัน จะมี ผ ลบางส่ ว นร่ ว งหล่ น อยู่ บ ริ เ วณพื้ น ดิ น ก่ อ นการเก็ บ เกี่ ย ว ท าให้ เ ปลื อ กนอกถู ก สั ต ว์ กิ น ไปบ้ า ง เน่ า เปื่ อ ยบ้ า ง ไม่ ส ามารถจ าหน่ า ยได้ จึ ง ได้ มี แ นวคิ ด น าผลปาล์ ม มาประดิ ษ ฐ์ เ ป็ น มด โดยใช้ วั ส ดุ อื่ น ๆ ในท้ อ งถิ่ น เข้ า ร่ ว มด้ ว ย เป็นผลิตภัณฑ์ตั้งโชว์และที่เสียบปากกา ผลการดาเนินงาน ๑. ได้ทาต้นแบบผลิตภัณฑ์ประกอบไปด้วย พวงกุญแจช้าง แม่เหล็กติดตู้เย็นรูปช้าง ป้ายต้อนรับ บ้านนก ที่วางโทรศัพท์ และชั้นวางสินค้า และทดลองจาหน่ายผลิตภัณฑ์

83


21. ผลิตภัณฑ์กระเป๋าสตรี จากเตยปาหนัน

กลุ่มหัตถกรรมเตยปาหนัน บ้านวังหิน ตาบลคลองท่อมใต้ อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ผู้ประกอบการ : นางสงวน ขนานใต้ กลุ่มหัตถกรรมเตยปาหนัน บ้านวังหิน สถานที่ตั้ง : เลขที่ 29 หมู่ที่ 6 ตาบลคลองท่อมใต้ อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : ๐๘๕-๗๘๒-๖๕๗-๔ กลุ่ ม หั ต ถกรรมเตยปาหนั น บ้ า นวั ง หิ น ต าบลคลองท่ อ มใต้ อ าเภอคลองท่ อ ม จั ง หวั ด กระบี่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มีความเป็นเอกลักษณ์/จุดเด่น เน้นงานฝีมือหัตถกรรมท้องถิ่นที่มีความงาม และมีศิลปะที่เกิดจากการผสมกลมกลืนของ รูปทรง โครงสร้าง และลวดลายเป็นอย่างดี มีความละเอียดและประณีต ผลิตภัณฑ์มีความสวยงาม ทั้งด้านรูปแบบ สีสัน ลวดลายในการจักสาน ผลิตภัณฑ์มีความหลากหลาย ใช้วัสดุในท้องถิ่นในการจักสาน สะท้อนให้เห็นคตินิยมของ ท้ อ งถิ่ น ลั ก ษณะวั ฒ นธรรมการประกอบอาชี พ การด ารงชี พ และลั ก ษณะทางภู มิ ศ าสตร์ ปี ง บประมาณ 2563 กลุ่มมีความต้องการ กระเป๋าสตรี ที่มีความทันสมัย

ผลการดาเนินงาน ๑. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ กระเป๋าสตรี ขนาด ๔๐ x ๓๐ x ๑๐ ซม. แนวคิดการออกแบบ ด้วยการผสมผสานทุน ทางวัฒนธรรม โดยนาเส้นตอกจากเตยปาหนัน จักสานเป็นผืน ผสมกับผ้าทอทุ่งทะเล และหนัง วัสดุประกอบด้วย หนังแท้ ผ้าแคนวาส กระดุม (อุปกรณ์เย็บกระเป๋า) ๒. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ กระเป๋าสตรี ขนาด ๓๒ x ๒๔ x ๑๔ ซม. แนวคิดการออกแบบ ด้วยการผสมผสานวัสดุ โดยนาเส้นตอกจากเตยปาหนัน จักสานเป็นผืน ผสมกับหนัง และผ้าแคนวาส อุปกรณ์เย็บกระเป๋า ให้มีความทันสมัย ๓. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ กระเป๋าสตรี ขนาด ๔๐ x ๓๐ x ๑๐ ซม. แนวคิดการออกแบบ ด้วยการผสมผสานทุน ทางวัฒนธรรม โดยนาเส้นตอกจากเตยปาหนัน จักสานเป็นผืนและขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ ตกแต่งลวดลายรูปสัตว์โบราณ สัญลักษณ์ของจังหวัดกระบี่ วัสดุประกอบด้วย หนังแท้ ผ้าแคนวาส กระดุม (อุปกรณ์เย็บกระเป๋า ) พัฒนากระเป๋าสตรี ให้มีความทันสมัย

84


มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต โดยคณะครุศาสตร์ และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้จัดกิจกรรมส่งเสริม ความรักสามั คคีให้แก่ประชาชนในพื้ นที่ ตาบลเกาะคอเขา อาเภอตะกั่ วป่า จังหวั ดพังงา ตาบลราไว ย์ อาเภอเมือ ง จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ต าบลป่ า คลอก อ าเภอถลาง จั งหวั ด ภู เ ก็ ต และต าบลท้ า ยเหมื อ ง อ าเภอท้ า ยเหมื อ ง จั ง หวั ด พั ง งา โดยบู ร ณาการกั บ การเรี ย นการสอนในรายวิ ช าต่ า ง ๆ คื อ วิ ชาความเป็ น ครู วิ ชาจิ ต วิ ท ยาส าหรั บ ครู วิ ช าฟุ ต บอล วิชาการจั ดการทัศนศิลป์ เพื่อการท่ องเที่ ยว วิชาความรู้พื้น ฐานเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย วิชากฎหมาย รัฐธรรมนูญ วิชากฎหมายสิทธิมนุษยชน วิชาหน้าที่พลเมือง วิชากฎหมายปกครองท้องถิ่น วิชาการศึกษาและวิเคราะห์ ชุมชน วิชาสถาบันการเมือง วิชาภาษาจีนเพื่อธุรกิจท่องเที่ยว วิชาโครงงานสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ วิชาภาษาจีนระดับ ต้น โดยนักศึกษาและประชาชนเข้าร่วมโครงการ และได้รับการพัฒนา จานวน 2,816 คน โดยผู้เข้าร่วมโครงการ มีความเข้าใจในหน้าที่คุณลักษณะคนไทย ๔ ประการ และเกิดความร่วมมือระหว่าง เครื อ ข่ า ยสถาบั น การศึ ก ษาจิ ต อาสาชุ ม ชน ตลอดจนได้ มี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนแบบบู ร ณาการที่ ส อดคล้ อ งกั บ รายวิชาตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยที่ให้นักศึกษาเข้าใจในบทบาทของผู้เรียนต่อการพัฒนาศักยภาพชุมชนได้จริง

ผลผลิต (Output) ๑. นักศึกษา ผู้นาชุมชน และประชาชนในท้องถิ่นมีความรักความสามัคคี มีระเบียบวินัย เข้าใจสิทธิหน้าที่ของ ตนเองและผู้อื่น ๒. คณาจารย์สามารถบูรณาการการจัดการเรียนรู้รายวิชาในหลักสูตรกับการส่งเสริมความรัก ความสามัคคี ความมีระเบียบวินัย เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น ผลลัพธ์ (Outcomes) เกิดการมีส่วนร่วมคิด ร่วมทา ระหว่างภาคีเครือข่าย ผู้นาชุมชน และประชาชน ในการดาเนินกิจกรรมส่งเสริม ความรักความสามัคคี ความมีระเบียบวินัย และน้อมนาพระราโชบายด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะคนไทยที่ พึงประสงค์ทั้ง 4 ประการ ไปสู่การปฏิบัติและแพร่ขยายองค์ความรู้ในวงกว้างอย่างต่อเนื่อง

ผลกระทบ (Impact) เกิดความสันติสุขในชุมชนและประเทศชาติอย่างยั่งยืน

85


86


ตามนโยบายของรัฐบาลที่วางเป้าหมายให้ประเทศไทยปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ และมุ่งให้ผู้เรียน มี คุ ณ ลั ก ษณะและทั ก ษะการเรี ย นรู้ ใ นศตวรรษที่ 21 อั น จะน าไปสู่ ก ารมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการศึ ก ษาที่ สู ง ขึ้ น โดยวัดจากคะแนน ผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในแต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ซึ่งนโยบายดังกล่าว สอดคล้องกับ เจตนารมณ์ ของแผนการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ หัวข้อที่ 3.1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณสมบัติพื้นฐาน ของพลเมื อ งไทย ทั ก ษะ และคุ ณ ลั ก ษณะที่ จ าเป็ น ในศตวรรษที่ 21 ตั ว ชี้ วั ด คื อ ผู้ เ รี ย นเพิ่ม ขึ้ น และหั ว ข้ อ ที่ 3.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต ได้ ต ามศั ก ยภาพตั ว ชี้ วั ด คื อ นั ก เรี ย นมี ค ะแนนผลสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 จากรายงานสรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา 2560 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่าผลการทดสอบในภาพรวมระดับประเทศ ทุกรายวิชาค่าเฉลี่ยคะแนนยังคงต่าว่าร้อยละ 50 ดังนั้น เพื่อให้ เกิดการพัฒนาด้านการศึกษาและการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางด้ านการอ่าน การเขีย น และ การคิดวิเคราะห์ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จึงได้ดาเนินโครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียนและการวิเคราะห์ของ นัก เรี ย นในระดับ การจัด การศึก ษาขั้ น พื้น ฐาน เพื่ อพั ฒนาผลสัม ฤทธิ์ แ ละยกระดั บ คุณ ภาพการเรี ยนรู้ ของนั ก เรี ย น ด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มวิชาภาษาไทยที่สูงขึ้น ผลผลิต (Output) 1. ครูประจาการได้รับการพัฒนาทักษะทางด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ มีการจัดทาสื่อ / รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในการยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่านออกเขียนได้ หรือการคิดวิเคราะห์ 2. นักเรียนของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาทักษะทางด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ ผลลัพธ์ (Outcomes) ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนโรงเรียนในท้องถิ่นสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา และชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผลกระทบ (Impact) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ NT และ O-NET สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ

87


คณะทางาน ผู้รับผิดชอบ โครงการ

เป้าหมาย

ตัวชี้วัด

คณะครุศาสตร์

จานวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ รวม 62 โรงเรียน

1.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านออกเขียนได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (อัตราการตกซ้าชั้น) ต่ากว่าร้อยละ 1

กิจกรรม

88

กิจกรรม

รายละเอียด

กิจกรรมที่ 1

ประชุมร่วมกับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

กิจกรรมที่ 2

ประชุมร่วมกับผู้บริหารสถานศึกษาและครูประจาการของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรมที่ 3

อบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรูส้ าหรับครูภาษาไทย

กิจกรรมที่ 4

อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างสรรค์สื่อทามือ

กิจกรรมที่ 5

อบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างสื่อภาพเคลือ่ นไหวด้วยสมาร์ทโฟน

กิจกรรมที่ 6

ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการอ่าน และการเขียน

กิจกรรมที่ 7

นิเทศติดตามผลการพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของครูประจาการ

กิจกรรมที่ 8

การประชุมสรุปและรายงานผลการดาเนินโครงการ


รายชื่อโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จานวน 62 โรงเรียน จังหวัดภูเก็ต

จังหวัดพังงา

จังหวัดกระบี่

โรงเรียนบ้านท่าเรือ

โรงเรียนบ้านบางใหญ่

โรงเรียนบ้านเขาเทียมป่า

โรงเรียนสิทธิ์สุนทรบารุง

โรงเรียนบ้านคลองไส

โรงเรียนบ้านคลองม่วง

โรงเรียนบ้านกะหลิม

โรงเรียนบ้านกลาง

โรงเรียนบ้านแหลมโพธิ์

โรงเรียนวัดเทพนิมิตร

โรงเรียนบ้านกะไหล

โรงเรียนอุตรกิจ

โรงเรียนบ้านพารา

โรงเรียนชาวไทยใหม่ฯ โรงเรียนบ้านบางด้ง

โรงเรียนบ้านทับปริก

โรงเรียนบ้านใหญ่

โรงเรียนบ้านคลองปิ้ง

โรงเรียนบ้านพรุจาปา โรงเรียนวัดสุวรรณคีรีเขต

โรงเรียนวัดสองแพรก

โรงเรียนบ้านหินลูกช้าง

โรงเรียนบ้านทุ่งรักชัยพัฒน์

โรงเรียนบ้านพระแอะ

โรงเรียนบ้านบางทอง

โรงเรียนบ้านทับช้าง

โรงเรียนบ้านทรายขาว

โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 29 (กะทู)้

โรงเรียนบ้านเกาะนก

โรงเรียนบ้านดินแดงน้อย

โรงเรียนบ้านสะปา “มงคลวิทยา”

โรงเรียนบ้านย่าหมี

โรงเรียนบ้านน้าร้อน

โรงเรียนวัดสุวรรณคีรีวงก์

โรงเรียนเกาะหมากน้อย

โรงเรียนบ้านโคกยูง

โรงเรียนบ้านป่าครองชีพ

โรงเรียนบ้านคลองดินเหนียว

โรงเรียนบ้านโคกหาร

โรงเรียนบ้านอ่าวปอ

โรงเรียนเกียรติประชา

โรงเรียนบ้านน้าจาน

โรงเรียนบ้านฉลอง

โรงเรียนบ้านอ่าวมะขาม

โรงเรียนบ้านเขาฝาก

โรงเรียนวัดเมืองใหม่

โรงเรียนบ้านตาหนัง

โรงเรียนบ้านเจ๊ะหลี

โรงเรียนถลางพระนางสร้าง

โรงเรียนอ่าวกะพ้อ

โรงเรียนบ้านคลองนิน

โรงเรียนบ้านลิพอน

โรงเรียนบ้านบากัน

โรงเรียนวัดพรุเตียว

โรงเรียนบ้านเชิงทะเล

โรงเรียนบ้านนอกนา

โรงเรียนบ้านเกาะปู

โรงเรียนวัดเทพกระษัตรี โรงเรียนวัดลัฏฐิวนาราม

โรงเรียนทุ่งต้นปีก

โรงเรียนเทศบาลพิบูลสวัสดี โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ ภูเก็ต

89


ผลการดาเนินงาน

สรุปผลการดาเนินโครงการ จากตาราง ผลการพัฒนาตามโครงการยกระดับการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนในจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ พบว่า ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินหลังได้รับการพัฒนา ในปีงบประมาณ 2562 คิดเป็นร้อยละ 60.97 ส่วนในปีงบประมาณ 2563 ผ่านเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 64.84 และอัตราการเพิ่มขึ้นของนักเรียนผ่านเกณฑ์หลังการพัฒนา พบว่า ปีงบประมาณ 2562 นักเรียนผ่านเกณฑ์เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 31.74 และในปีงบประมาณ 2563 นักเรียนผ่านเกณฑ์ เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 38.81

90


พระบรมราโชบายด้ านการศึ ก ษาของพระบาทสมเด็ จพระเจ้ า อยู่หั ว รั ชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่ งหมาย ให้การศึกษาสร้างคนไทยให้มีคุณลักษณะ ๔ ประการ คือ มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงแข็งแรง มีอาชีพมีงานทา และเป็นพลเมืองดีมีระเบียบวินัย ประกอบกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น ระยะ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ที่มุ่งเน้นให้บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏมีสมรรถนะตามมาตรฐาน วิชาการ วิชาชีพ พร้อมด้วยทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ให้เป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิตเพื่อเป็นกาลัง ส าคั ญ ในการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ประเทศชาติ และพร้ อ มรองรั บ บริ บ ทที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้งเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ในการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของ ผู้ใช้บัณฑิตด้วยคุณลักษณะ ๔ ประการ พร้อมด้วยทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้ ทุกคณะ สาขาวิชา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ด้านความรู้และทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษ ด้วยกระบวนการอบรมให้ความรู้และส่งเสริมการเรียนรู้ดว้ ยตนเองของนักศึกษา รวมทั้งประเมินผล โดยการทดสอบระดับความสามารถของนักศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐาน CEFR ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป โดยกาหนด เป้ า หมาย คื อ ร้ อ ยละของผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ที่ ผ่ า นเกณฑ์ ท ดสอบความสามารถ การใช้ภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR ในระดับ B1 หรือเทียบเท่ามาตรฐานสากลอื่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ ซึ่ ง จากข้ อ มู ล ในปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๖๑ พบว่ า ร้ อ ยละของผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ข อง มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ผ่ า นเกณฑ์ ท ดสอบความสามารถการใช้ ภ าษาอั ง กฤษตามมาตรฐาน CEFR ในระดั บ B1 ในภาพรวมของมหาวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๖๐ ซึ่งต่ากว่าเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนดไว้ ผลผลิต (Output) 1. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตมีการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้มากขึ้น 2. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตสามารถพูดโต้ตอบ สื่อสารแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แนะนา ตัวเองในประโยคที่สั้น ๆ กับชาวต่างประเทศได้

ผลลัพธ์ (Outcomes) นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมอบรมเสริมสร้างทักษะการสื่อสารผ่านการสอบมาตรฐาน CEFR ระดับ B1 ผลกระทบ (Impact) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตมีบัณฑิตที่มีคุณภาพและมีการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21

91


ระดับความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ตามมาตรฐาน CEFR ปีการศึกษา 2561 - 2562

ระดับความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ตามมาตรฐาน CEFR ปีการศึกษา 2561 คณะ

จานวนนักศึกษาที่สอบผ่านในระดับ (คน)

ผลรวม (คน)

A1

A2

B1

B2

C1

ขาดสอบ

-

275

201

6

-

22

504

2. มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

281

62

70

7

-

-

420

3. เทคโนโลยีการเกษตร

75

8

-

-

-

-

83

4. วิทยาการจัดการ

335

92

94

1

-

-

522

5. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

196

51

2

-

-

-

249

6. วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ

8

7

3

-

-

-

18

คิดเป็นร้อยละ

49.83

27.56

20.60

0.78

-

1.23

100.00

1. ครุศาสตร์

ระดับความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ตามมาตรฐาน CEFR ปีการศึกษา 2562 A1

A2

B1

B2

C1

ขาดสอบ

ผลรวม (คน)

1. ครุศาสตร์

17

62

109

5

0

23

216

2. มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

3

104

169

18

3

8

305

3. เทคโนโลยีการเกษตร

68

260

143

13

1

45

530

4. วิทยาการจัดการ

51

290

232

7

0

75

655

5. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6

21

2

0

0

2

31

6. วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ

9

10

7

0

0

5

31

คิดเป็นร้อยละ

8.71

42.25

37.44

2.43

0.23

8.94

100.00

คณะ

92

จานวนนักศึกษาที่สอบผ่านในระดับ (คน)


เปรียบเทียบระดับความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ตามมาตรฐาน CEFR ปีการศึกษา 2561 - 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต โดยสานัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดาเนินโครงการพัฒนา ความรู้และทักษะภาษาอังกฤษให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2561 - 2562 โดยการจัดอบรม ให้ความรู้ และส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง และทาการประเมินผลโดยการทดสอบระดับความสามารถของ นักศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐาน CEFR ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป โดยกาหนดเป้าหมาย คือ หลังการอบรมและพัฒนา นักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ทดสอบความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR ในระดับ B1 ขึ้นไป ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๓๐ ของนักศึกษาทั้งหมด ซึ่งเป็นเป้าหมายที่สูงกว่าผลการประเมินผู้สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2561 ซึ่งผลการทดสอบปรากฏดังตาราง

ระดับ ทักษะทางภาษาอังกฤษ ระดับ A1

ระดับ A2

ระดับ B1

ระดับ B2

ระดับ C1

ระดับ B1 - C1

ปีการศึกษา 2561

ปีการศึกษา 2562

895 คน

154 คน

ร้อยละ 49.83

ร้อยละ 8.71

220 คน

747 คน

ร้อยละ 27.56

ร้อยละ 42.25

169 คน

662 คน

ร้อยละ 20.60

ร้อยละ 37.44

8 คน

43 คน

ร้อยละ 0.78

ร้อยละ 2.43

0 คน

4 คน

ร้อยละ 0.00

ร้อยละ 0.23

177 คน

709 คน

ร้อยละ 13.70

ร้อยละ 40.10

จากตารางจะเห็นว่า จานวนนักศึกษาในปีการศึกษา 2562 ผ่านการประเมินทักษะภาษาอังกฤษ ร้อยละ 40.10 ซึ่งมากกว่าปีการศึกษา 2561 ที่มีผู้สาเร็จการศึกษา ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 13.70

93


ผลการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีการศึกษา 2562 นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ปี 1 - 5 จานวนนักศึกษาทั้งหมด 1,548 คน

ระดับ ทักษะทางภาษาอังกฤษ ระดับ A1

ระดับ A2

ระดับ B1

ระดับ B2

ระดับ C1

ก่อนการพัฒนา

หลังการพัฒนา

788

662 คน

ร้อยละ 50.90

ร้อยละ 42.76

560

640 คน

ร้อยละ 36.17

ร้อยละ 41.34

189

226 คน

ร้อยละ 12.21

ร้อยละ 14.60

10

17 คน

ร้อยละ 0.65

ร้อยละ 1.10

1

3

ร้อยละ 0.06

ร้อยละ 0.19

หมายเหตุ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีการศึกษา 2562 มีจานวน 1,646 คน มีนักศึกษาขาดสอบและข้อมูลนักศึกษาที่ไม่สมบูรณ์จานวน 98 คน ไม่ได้นามาคิด ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านการทดสอบ ๖๐. ๕๐.

๕๐.๙ ๔๒.๗๖ ๓๖.๑๗

๔๐.

๔๑.๓๔

๓๐. ๒๐.

๑๒.๒๑ ๑๔.๖

๑๐. ๐. A1

94

A2

B1

ระดับทางทักษะภาษาอังกฤษ ก่อน หลัง

๐.๖๕ ๑.๑

๐.๐๖ ๐.๑๙

B2

C1


ผลการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีการศึกษา 2562 นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตทีเ่ ข้าร่วมโครงการ จานวน 5,933 คน ระดับ ทักษะทางภาษาอังกฤษ ระดับ A1

ระดับ A2

ระดับ B1

ระดับ B2

ระดับ C1

ก่อนการพัฒนา

หลังการพัฒนา

3,213

2,363

ร้อยละ 54.15

ร้อยละ 39.83

1,944

2,433

ร้อยละ 32.77

ร้อยละ 41.01

711

1,020

ร้อยละ 11.98

ร้อยละ 17.19

57

97

ร้อยละ 0.96

ร้อยละ 1.63

8

20

ร้อยละ 0.13

ร้อยละ 0.34

ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านการทดสอบ 60 50 40

54.15 41.01

39.83 32.77

30 20

11.98

17.19

10 0 A1

A2

B1

ระดับทางทักษะภาษาอังกฤษ ก่อน หลัง

0.96 1.63

0.13 0.34

B2

C1

95


ความสาคัญของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 มีการกาหนดกรอบการดาเนินงานและ แนวนโยบายในการจั ด การศึ ก ษาในทุ ก ระดั บ ชั้ น โดยแผนการศึ ก ษาแห่ งชาติ ไ ด้ ก าหนดจุ ด มุ่ งหมายด้ า นผู้ เ รี ย น ในศตวรรษที่ 21 ไว้ ดังนี้ มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย ทักษะและคุณลักษณะ คือ อ่านออก (Reading) เขียนได้ (Writing) คิดเลขเป็น (Arithmetics) ทักษะด้านการคิดอย่าง มีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration Teamwork and Leadership) ทักษะ ด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะ ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพและทักษะ การเรียนรู้ (Career and Learning Skills) ความมีเมตตา กรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) จากนโยบายการศึ ก ษาของประเทศไทยข้ า งต้ น เมื่ อ หน่ ว ยงานการศึ ก ษาได้ น าลงสู่ ก ารปฏิ บั ติ ยั งคงพบปั ญ หาด้ า นคุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นจะเห็ น ได้ จ ากการประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นตามหลั ก สู ต รการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐานในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2561 พบว่าอยู่ในระดับไม่น่าพึงพอใจ มีคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าร้อยละ 50 สรุปได้ว่า ปัญหาด้า นการพัฒนาผู้เ รียนข้างต้นของการศึก ษาไทย ยังต้ องขั บเคลื่ อนกระบวนการเรียนรู้ ที่พัฒนาผู้เรียนให้คิดเป็นและทาเป็น เพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ต่อนวัตกรรมและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัลอย่าง ก้าวกระโดด เพราะอิทธิพลของเทคโนโลยีดิจิทัลกับการดารงชีวิต ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างฉับพลัน (Disruptive Technology) ซึ่งนอกจากจะส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจแล้วยังส่งผลกระทบต่อการดารงชีวิตของ ประชาชนในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกที่ต้องเผชิญกับเทคโนโลยีดิจิทัลในชีวิตประจาวันมากมาย ทั้งด้านการเรียนการสอน ในสถานศึกษา การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การเดินทาง การใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการบริหารและการจัดการ การทางาน เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเกี่ยวข้องกับทุกเรื่องในชีวิตประจาวัน ดังนั้นเยาวชนรุ่นใหม่จึงควรเรียนรู้และ เข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้รู้เท่าทัน และนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สังคมและประเทศต่อไป ซึ่งเป็นบทบาทของการศึกษาที่ต้องพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้มีทักษะและความรู้ในเรื่องดังกล่าวในห้องเรียนระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สื่อวิดีทัศน์จึงเป็นทางออกเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งมีปัญหาขาดครู มีครูไม่ครบชั้นจะได้ประโยชน์จากการใช้สื่อวิดีทัศน์ทาการสอนแทนครู หรือจัดกิจกรรมร่วมกับการสอนของครูได้

ผลผลิต (Output) 1. ได้สื่อวิดีทัศน์ สาหรับการจัดการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 10 ตอน 2. สื่อวิดีทัศน์ที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพระดับสูง ผลลัพธ์ (Outcomes) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงกว่าเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ผลกระทบ (Impact) ครูสามารถนาไปขยายผลสู่โรงเรียนอื่นได้

96


โครงการสนับสนุนสื่อวีดิทศั น์ประกอบการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขปัญหา ขาดแคลนครูให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ได้ดาเนินโครงการสนับสนุนสื่อวีดิทัศน์ประกอบการเรียนการสอนโดยคณะครุศาสตร์ เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาขาดแคลนครู ใ ห้ กั บ โรงเรี ย นขนาดเล็ ก ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด กระบี่ พั ง งา และภู เ ก็ ต มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ให้ โ รงเรี ย นใช้ สื่ อ วี ดิ ทั ศ น์ แ ก้ ปั ญ หาการขาดแคลนครู และบ่ ม เพาะจิ ต วิ ญ ญาณความเป็ น ครู ใ ห้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษา โดยมีการดาเนินการ คือ ประชุมวางแผนร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคใต้ ศึกษาบริบทของสถานศึกษา และ ผลิ ต สื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของสถานศึ ก ษา จ านวน 5 เรื่ อ ง ได้ แ ก่ 1. พยั ญ ชนะไทย 2. สระ 3. วรรณยุกต์ 4. มาตราตัวสะกด และ 5. เรื่องการประสมคา หลังจากนั้นผู้รับผิดชอบโครงการได้นาสื่อวีดิทัศน์ไปมอบให้ โรงเรี ย นเป้ า หมาย จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต 2 โรงเรี ย น ประกอบด้ ว ย ๑. โรงเรี ย นบ้ า นบางคู ต าบลเกาะแก้ ว อ าเภอเมื อ ง ๒. โรงเรียนบ้านแหลมทราย ตาบลเทพกระษัตรี อาเภอถลาง จังหวัดพังงา 4 โรงเรียน ประกอบด้วย ๑. โรงเรียนทุ่งไทรงาม ตาบลทับปุด อาเภอทับปุด ๒. โรงเรียนบ้านถ้าทองหลาง ตาบลถ้าทองหลาง อาเภอทับปุด ๓. โรงเรียนบ้านในวัง ตาบลถ้า ทองหลาง อ าเภอทั บ ปุด ๔. โรงเรีย นวั ด ราษฎร์ อุป ถั ม ถ์ ตาบลบางเหรี ยง อ าเภอทั บ ปุด จั งหวั ด กระบี่ 4 โรงเรี ย น ประกอบด้วย ๑. โรงเรียนบ้านทุ่งพะยอม ตาบลกระบี่น้อย อาเภอเมืองกระบี่ ๒. โรงเรียนบ้านบางขนุน (ป่าไม้อุทิศ ๑๔) ต าบลคลองประสงค์ อ าเภอเมื อ งกระบี่ ๓. โรงเรี ย นบ้ า นคลองประสงค์ ต าบลคลองประสงค์ อ าเภอเมื อ งกระบี่ ๔. โรงเรียนบ้านอ่าวน้าเมา ตาบลไสไทย อาเภอเมืองกระบี่ โดยโรงเรียนสามารถนาสื่อวีดิทัศน์ดังกล่าวไปใช้ในการจัด การเรียนการสอนเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูได้เป็นอย่างดี ปัญหาและอุปสรรค จังหวัดภูเก็ตมีคาสั่งปิดสถานที่ และกาหนดมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 พื้นที่ในจังหวัดภูเก็ต และทางมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตมีคาสั่งปิดสถานศึกษาจนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2563 จึงทาให้ อาจารย์ผู้ดาเนินโครงการไม่สามารถลงพื้นที่ดาเนินกิจกรรมโครงการได้ แต่อาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ ปรับกระบวนการ ทางาน และแก้ปัญหาจนทาให้กิจกรรมโครงการบรรลุตามเป้าประสงค์ของโครงการ

97


มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้ใช้การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism - CBT) เป็นเครื่องมือ สร้างความเข้มแข็งขององค์กรชาวบ้านในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของ คนในชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยว จากต้นทุนที่มีอยู่ในชุมชนอย่างหลากหลาย ทั้งธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และการอนุรักษ์ ให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ได้รับประโยชน์ และร่วมแก้ไขปัญหาที่มาจากการท่องเที่ยว ดังนั้นการส่งเสริมให้ชุมชนมีการบริหารจัดการการท่องเที่ยว ที่ดี การท่องเที่ยวโดยชุมชนจะทาให้เกิดการจ้างงานในชุมชน และเกิดการกระจายรายได้ไปสู่ชุมชน ลดปัญหาการอพยพ ย้ายถิ่น เนื่องจากมีตลาดรองรับผลิตผลการเกษตรในชุมชน ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น การจาหน่ายสินค้า ผลิตผลการเกษตรที่ชุมชนเพาะปลูก การจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น เกิดการกระจายรายได้โดยการท่องเที่ยวอย่าง ครบวงจร และสามารถขยายมาสู่การพัฒนาเครือข่ายชุมชนเชิงสร้างสรรค์ที่มุ่งให้ชุมชนดาเนินชีวิตตามหลักการพึ่งพา ตนเองได้ และตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น โดยชุมชน ที่เ น้น การท่ องเที่ย วแบบลึก ซึ้ ง เพื่อ ให้ค นในชุ มชนได้ น าองค์ค วามรู้ ที่ไ ด้ รับ มาพั ฒ นาการท่ องเที่ย วภายในท้ องถิ่ น ซึ่งจะช่วยยกระดับเศรษฐกิจของชุมชน ทาให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้ และมีการจัดการทรัพยากร อย่างยั่งยืน ดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงได้ดาเนินโครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน ๓ เส้นทาง โดยน้อมนาศาสตร์พระราชา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาเป็นแนวทางในการดาเนินกิจกรรมบริการวิชาการ โดยมีการบูรณาการ กับการเรียนการสอนและงานวิจัย เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนให้สามารถขยายฐานการท่องเที่ยวมาเป็นการท่องเที่ยว แบบลึกซึ้ง มีกลุ่มนักท่องเที่ยวกลุ่มใหม่เข้ามาในพื้นที่ได้มากขึ้น และชุมชนได้ประโยชน์ทางด้านการพัฒนาการจัดการ ทรัพยากรให้ยั่งยืนต่อไป นอกจากนั้นนักศึกษาสามารถนาความรู้ภาคทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในการทางานจริง ทาให้เกิด การพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานคุณวุฒิ และพัฒนาทักษะการทางานในศตวรรษที่ ๒๑ รวมถึง อาจารย์สามารถนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการบริการวิชาการ หรือนาปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบริการวิชาการ มาเป็นโจทย์วิจัย และพัฒนาเป็นโมเดลต้นแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบยั่งยืนในท้องถิ่นภาคใต้ฝั่งอันดามันต่อไป ผลผลิต (Output) 1. ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดกระบี่ พังงา และภูเก็ต อย่างน้อย 10 ชุมชน 2. มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนอย่างน้อย 8 เรื่องหรืองานวิจัย 2 เรื่อง ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. มีเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนเส้นทางใหม่ในพื้นที่ จังหวัดกระบี่ พังงา และภูเก็ต 2. จานวนชุมชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยวด้านต่าง ๆ มีศักยภาพเพิ่มขึ้น 3. มีเส้นทางการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดกระบี่ พังงา และภูเก็ต ผลกระทบ (Impact) 1. สร้างอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน 2. มีเครือข่ายความร่วมมือกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชน 3. การเรียนการสอนได้รับการพัฒนา โดยนักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงจากการบูรณาการกับเส้นทาง ท่องเที่ยวโดยชุมชน 4. มีงานวิจัยที่สามารถนามาใช้ประโยชน์กับความต้องการของชุมชนได้จริง

98


โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดภูเก็ต พื้นที่ตาบลศรีสุนทร (หมู่ที่ ๒ บ้านลิพอนบางกอก หมู่ที่ ๓ บ้านท่าเรือ และหมู่ที่ ๕ บ้านลิพอนใต้) กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน คณะทางานได้ลงพื้นที่สารวจเส้นทาง ความต้องการของชุมชน โดยจัดประชุมร่วมกับชุมชนและหน่วยงานที่ เกี่ย วข้อ ง พบว่ า ชุมชนได้นาเสนอทรัพ ยากรที่ โดดเด่ นของแต่ ละชุมชนและต้ องการพัฒ นาเป็น แหล่ งท่ องเที่ย ว โดยมี ก ารสนั บ สนุ น จากหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ได้ แ ก่ เทศบาลต าบลศรี สุ น ทร พั ฒ นาชุ ม ชนอ าเภอถลาง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง และท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดภูเก็ต ทุกหน่วยงานยินดีที่จะร่วมมือในการพัฒนาและ ผลักดันให้ชุมชนได้พัฒนาศักยภาพด้านการจัดการทรัพยากร คณะทางานจึงร่วมกับชุมชนในการวางแผนพัฒนาปีที่ ๑ โดยดาเนินงานในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. จัดทาข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชีวิต นาเสนอเรื่องเล่าผ่านสื่อในรูปแบบ QR Code 2. ฝึกอบรมด้านการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับชุมชน 3. พั ฒ นาท่ า ร าจากศิ ล ปะการปั้ น หม้ อ ดิ น ด้ ว ยมื อ ซึ่ งมี ก ารศึ ก ษาภู มิ ปั ญ ญาปราชญ์ ชาวบ้ า นเกี่ ย วกั บ การปั้นหม้อดิน มาสร้างสรรค์และประดิษฐ์ท่ารา 4. จัดทาชุดข้อมูลแผนที่พร้อมโปรแกรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน เส้นทาง “เที่ยวดูของดีศรีสุนทร” และ ป้ายจุดเช็คอินของแต่ละหมู่บ้าน 5. ทดสอบเส้นทางการท่องเที่ยว จัดเวทีสรุปประเด็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมทดสอบเส้นทาง อาทิ นักท่องเที่ยวที่สนใจ ตัวแทนจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง พบว่า การจัดการเส้นทางมีความตั้งใจทาเป็นอย่างดี แต่กระบวนการจัดการด้านการเชื่อมโยงระหว่าง 3 หมู่บ้านยังไม่สอดคล้องต่อเนื่อง การพัฒนาการสื่อความหมาย การเล่าเรื่องให้น่าสนใจ การดูแลเรื่องสุขอนามัยในวิถีใหม่ และการสร้างเครือข่ายภายในชุมชนยังมีน้อย 6. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนย่านเมืองเก่าภูเก็ต ซึ่งเป็นชุมชนท่องเที่ยวที่มีประสบการณ์ มากกว่า 10 ปี เพื่อศึกษาการจัดการเส้นทางการท่องเที่ยว และการจัดการท่องเที่ยววิถีใหม่ ทาให้ชุมชนศรีสุนทรได้ เปิดมุมมองด้านการจัดการท่องเที่ยวมากขึ้น ทั้งนี้การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ทาให้ชุมชนได้พัฒนาศักยภาพการทางานร่วมกัน คนในชุมชนเริ่มตระหนักถึง ความร่ ว มมื อ ในการท างาน ให้ ค วามส าคั ญ กั บ ทรั พ ยากรในชุ ม ชน พร้ อ มที่จ ะน าเสนอของดี ใ นชุ ม ชนตนเองให้ นักท่องเที่ยวรู้จัก

99


โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดภูเก็ต (ต่อ)

100


โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดพังงา พื้นที่อาเภอกะปง จังหวัดพังงา กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน อาเภอกะปง เป็นหนึ่งในอาเภอของจังหวัดพังงาที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะทรัพยากรทางบก แต่แหล่งท่องเที่ยวหลาย ๆ แหล่งเป็นพื้นที่ที่เข้าถึงยาก เส้นทางในการเดินทางมีความ ล าบาก จึ ง ท าให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วในส่ ว นของนั ก ท่ อ งเที่ ย วทั่ ว ไปไม่ นิ ย มเดิ น ทางมาท่ อ งเที่ ย ว ดั ง นั้ น คณะท างาน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จึงได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวในพื้นที่อาเภอกะปง ดังนี้ 1. ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น สารวจพื้นที่เบื้องต้น เก็บข้อมูลศักยภาพแหล่ง ท่องเที่ยว 2. ถอดบทเรียน และตรวจสอบข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวชุมชนที่มีศักยภาพ 3. พัฒนาแผนการท่องเที่ยว และเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชน 4. พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน มีการเตรียมความพร้อมชุมชน โดยการจัดอบรมด้านต่าง ๆ เช่น การคิดคานวณต้นทุน การเป็นเจ้าบ้านที่ดี การสื่อสารกับนักท่องเที่ยว มาตรฐานต่าง ๆ และยุวมัคคุเทศก์ 5. ทดสอบและประเมินผลการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน มีการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว รับสมัคร คัดเลือกผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่องเที่ยว ทดลองเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ จากการด าเนิ น โครงการ ผู้ จั ด ท าโครงการได้ มี ก ารพั ฒ นาเส้ น ทางท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน เส้ น ทางพั งงา ในอ าเภอกะปง จั ง หวั ด พั ง งา จ านวน 4 เส้ น ทางภายใต้ แ คมเปญ คื อ “กะปง ต้ อ งมา” การท่ อ งเที่ ย วตาม ความประสงค์ (Tailor - Made Tourism) “กะปงต้องแช่” เน้นการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Wellness Tourism) “กะปงต้องลุย” เน้นการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco - Tourism) และ การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย (Adventure Tourism) และ “กะปงต้องหลง (ใหล)” เน้นการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural Tourism) การท่องเที่ยวเชิงถวิลหาอดีต (Nostalgia Tourism) การท่องเที่ยวเชิงตลาดวัฒนธรรม (Cultural Market Tourism)

101


โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดพังงา (ต่อ)

102


โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดกระบี่ พื้นที่ตาบลเขาคราม (หมู่ที่ 1 บ้านทุ่ง หมู่ที่ 2 หนองจิก หมู่ที่ 3 บ้านไหนหนัง และหมู่ที่ 6 บ้านเขาค้อม) กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน ตาบลเขาคราม อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ คณะทางานมีการสารวจ พบว่า ด้านการท่องเที่ยวชาวบ้านขาด ความรู้ด้านช่องทางการตลาด ขาดความรู้ในการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยวตามเกณฑ์มาตรฐาน ดั ง นั้ น จึ ง มี ค วามต้ อ งการให้ มี ก ารอบรมให้ ค วามรู้ ด้ า นความปลอดภั ย และช่ ว ยชี วิ ต นั ก ท่ อ งเที่ ย วเบื้ อ งต้ น นักสื่อความหมายรุ่นเยาว์ การต้อนรับนักท่องเที่ยว การจัดตั้งกลุ่มโฮมสเตย์ในชุมชน การทาสื่อประชาสัมพันธ์และ การตลาด รวมถึงป้ายแสดงข้อมูลท่องเที่ยวชุมชน เส้นทาง และกลุ่มอาชีพหรือวิสาหกิจชุมชน คณะทางานได้ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องประชุมระดมความคิดเห็น สารวจทรัพยากรการท่องเที่ยวในพื้นที่ จัดอบรมให้ความรู้ในกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงการสารวจเส้นทางท่องเที่ยวใหม่ และทดสอบเส้นทางการท่องเที่ยว ผลการดาเนินงาน 1. ได้เส้นทางท่องเที่ยวใหม่ โดยมีการเชื่อมต่อระหว่างหมู่ที่ 1 บ้านทุ่ง หมู่ที่ 2 หนองจิก หมู่ที่ 3 บ้านไหนหนัง และหมู่ที่ 6 บ้านเขาค้อม ระยะเวลา 2 วัน 1 คืน ซึ่งผลการทดสอบเส้นทางพบว่าตาบลเขาครามเป็นพื้นที่ที่มีสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วหลากหลาย สวยงาม เช่ น ภู เ ขา เขื่ อ น และทะเล มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ ที่ มี อ ยู่ ใ นชุ ม ชน ชุ ม ชนมี ความเข้ ม แข็ งและให้ ค วามร่ ว มมื อ ดี นั ก สื่ อ ความหมายชุ ม ชนและวิ ท ยากรชุ ม ชนสามารถถ่ า ยทอดความรู้ ไ ด้ ดี มีนักสื่อความหมายที่เป็นคนในชุมชนรุ่นใหม่และรุ่นเก่า การใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านมาใส่ในโปรแกรมการท่องเที่ยว ทาให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านและชาวเล 2. ได้ป้ายแผนที่เส้นทางท่องเที่ยวตาบลเขาคราม และป้ายข้อมูลกลุ่มต่าง ๆ 3. ได้ข้อมูลเรื่องเล่าประวัติศาสตร์ตาบลเขาคราม รวมรวบในลักษณะของ QR Code

103


โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดกระบี่ (ต่อ)

104


จังหวัดภูเก็ตเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลก และสร้างรายได้ให้แก่ประเทศเป็นจานวนมาก โดยในปี พ.ศ. 2562 จั งหวั ด ภู เ ก็ ต มี ร ายได้ จ ากการท่ อ งเที่ ย วมากเป็ น อั น ดั บ สอง รองจากกรุ งเทพมหานคร คิดเป็นมูลค่าราว 477,324 ล้านบาท (กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2562) อย่างไรก็ตามการเติบโตของ การท่องเที่ยว ประกอบกับจานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป ส่ง ผลให้ จั ง หวัด ภู เ ก็ ตประสบปั ญ หาขยะมู ล ฝอยเพิ่ มขึ้ น ทุ ก ปี โดยใน พ.ศ. 2559 จั งหวั ด ภู เ ก็ต มี ป ริ มาณขยะ 321,150 ตัน เพิ่มขึ้นจาก พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 ซึ่งมีปริมาณขยะ 271,560 ตัน และ 260,420 ตัน ตามลาดับ ขณะที่การนาขยะไปกาจัดอย่างถูกต้องใน พ.ศ. 2559 คิดเป็น 280,044 ต้น ขยะที่นาไปใช้ประโยชน์ 32,115 ตัน จากขยะทั้งหมด 321,150 ตัน (กรมควบคุมมลพิษ, 2559) ซึ่งสื่อให้เห็นว่ามีขยะที่กาจัดไม่ถูกต้อง และไม่ ถู ก น าไปใช้ ป ระโยชน์ เ ป็ น จ านวนมาก นอกจากนี้ ยั ง มี ผ ลส ารวจระบุ ว่ า ประเทศไทยจั ด อยู่ ใ นอั น ดั บ 5 ของประเทศที่ทิ้งขยะลงทะเลมากที่สุดในโลก โดยเป็นขยะตกค้างที่ไม่ได้รับการจัดเก็บอย่างถูกต้องบริเวณพื้นที่ จังหวัดชายฝั่งทะเลส่งผลให้มีปริมาณขยะมากกว่า 50,000 ตันต่อปี โดยขยะแต่ละชนิด อาจใช้เวลาย่อยสลาย เป็ น เวลาหลายสิ บ ปี ห รื อ หลายร้ อ ยปี (มหาวิ ท ยาลั ย จอร์ เ จี ย , 2558) ขณะเดี ย วกั น ภั ย เงี ย บส าคั ญ จากขยะ ในท้องทะเล คือ ไมโครพลาสติกที่ก่อให้เกิดผลกระทบเป็นลูกโซ่ โดยพลาสติกจะแตกย่อยเป็นปิโตรเคมีและจะเล็กลง เรื่อย ๆ จนมองไม่เห็นแต่ยังคงมีสารเคมีหลงเหลืออยู่ แพลงตอนจะกินไมโครพลาสติกเข้าไป ปลาเล็กกินแพลงตอน ปลาใหญ่จะกินปลาเล็ก แล้วมนุษย์ก็จะกินปลาใหญ่อีกที ในท้ายที่สุดไมโครพลาสติกจึงเข้าไปสะสมในร่างกายของ มนุษย์ ทาให้เกิดอันตรายได้ (ธรณ์ ธารงนาวาสวัสดิ์, 2560) ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง มี ค วามจ าเป็ น ต้ อ งหาทางแก้ ไ ข ให้ ค วามรู้ และปลู ก จิ ต ส านึ ก เกี่ ย วกั บ กระบวน การลดปริมาณขยะ การคัดแยก โดยใช้หลักการ 7R ซึ่งประกอบด้วย 1) Rethink (คิดใหม่) 2) Reduce (ลดการใช้) 3) Reuse (ใช้ซ้า) 4) Recycle (นากลับมาใช้ใหม่) 5) Repair (ซ่อมแซม) 6) Reject (ปฏิเสธ) และ 7) Return (ตอบแทน) ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาสังคม ชุมชนในจังหวัดภูเก็ตให้มีสุขอนามัยที่ดีและมีทัศนียภาพที่งดงาม โดยอาศัยการมี ส่วนร่วมของคนในชุมชนและหน่วยงานปกครองส่วนท้อ งถิ่น ตลอดจนหน่ว ยงานอื่น ๆ ที่เกี่ย วข้อง เพื่อให้เกิ ด การพัฒนาอย่างยั่งยืน ผลผลิต (Output) 1. ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้ มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีทักษะเกี่ยวกับ การลดปริมาณขยะ ตลอดจนการนากลับไปใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกวิธี 2. เกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตกับหน่วยงานภายนอก ในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. เกิดแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเสริมสร้างจิตสานึกรักษ์ท้องถิ่น 2. ปริมาณขยะในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการมีจานวนลดลง 3. ได้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากขยะ ผลกระทบ (Impact) 1. ชุมชนได้รับการพัฒนา คนในชุมชนมีสุขภาวะที่ดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ 2. ยุวชนในจังหวัดภูเก็ตมีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง เป็นพลเมืองที่มีระเบียบวินัย

105


กิจกรรมผู้นายุวชนอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน การดาเนินกิจกรรมผู้นายุวชน ทสม. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตร่วมกับ หน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือทั้ง ๕ หน่วยงาน ซึ่งประกอบด้วย เทศบาลนครภูเก็ต สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๕ สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดภูเก็ต เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน จังหวัดภูเก็ต และอุทยานแห่งชาติสิรินาถ จัดค่ายอบรมนักเรียนจากโรงเรียนในจังหวัดภูเก็ต จานวน ๗ โรงเรียน โดยเรียนรู้กระบวนการบริหารจัดการงานด้านสิ่งแวดล้อมของเครือข่าย ทสม. ตาบลป่าคลอก และชุมชนกิ่งแก้วซอย ๑ เพื่อเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่เปิดโอกาสให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการสงวน ฟื้นฟู อนุรักษ์ และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดยเครือข่าย ทสม. และชุมชนต้องการให้มหาวิทยาลัยเป็นพี่เลี้ยง พัฒนาและยกระดั บให้ ชุมชนเป็ นแหล่งเรีย นรู้ด้ านการบริหารจัด การสิ่งแวดล้อมในระดับ จังหวัด ตลอดจนเป็ น ศูนย์ประสานความร่วมมือร่วมกับจังหวัดเพื่อดาเนินกิจกรรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประสานงานร่วมกับภาคีเครือข่ายในการจัดค่ายผู้นายุวชน ทสม. จังหวัดภูเก็ต โดยแบ่งออกเป็น ๒ รุ่น ๆ ละ ๔๐ คน กิจกรรมแบ่งเป็น ๒ วัน วันแรก เป็นการศึกษาเรียนรู้การบริหารจัดการทรัพยากรป่าชายเลน และการคัดแยกขยะ ณ ชุมชนท่าศักดิ์ อ่าวพารา ตาบลป่าคลอก วันที่สอง กิจกรรม “เปลี่ยนขยะในบ้านให้เป็นประโยชน์” ณ ห้องประชุม ศูนย์การถอดบทเรียนจากการศึกษาดูงาน เรียนรู้วิถียุวชน ทสม. กับการพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรียนรู้ลานมังกร สวนเฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชินี (ลานมังกร) เทศบาลนครภูเก็ต โดยได้ดาเนินการอบรม ให้แก่เยาวชนในจังหวัดภูเก็ต จานวน ๘๐ คน จากโรงเรียน จานวน ๗ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนขจรเกียรติศึกษา โรงเรียนเทศบาลปลูกปัญญา โรงเรียนเทศบาลเมืองภูเก็ต โรงเรียนบ้านอ่าวน้าบ่อ โรงเรียนเชิงทะเลวิทยาคม โรงเรียน อบจ.บ้านตลาดเหนือ และโรงเรียนเมืองถลาง ทางโครงการยังให้การสนับสนุนการดาเนินงานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ชุม ชนด้า นสิ่งแวดล้อ ม จ านวน ๒ ชุม ชน ได้ แ ก่ ชุม ชนท่ าศั ก ดิ์ ตาบลป่ าคลอก อ าเภอถลาง จั งหวั ดภู เ ก็ต และ ศูนย์พัฒนาศักยภาพด้านสิ่งแวดล้อมชุมชนกิ่งแก้วซอย ๑ ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต มีผลิตภัณฑ์จาก การนาขยะในครัวเรือนกลับมาใช้ประโยชน์ จานวน ๓ ผลิตภัณฑ์ และทางชุมชนกิ่งแก้ว ซอย ๑ ได้พัฒนานวัตกรรม ในการตัดขวดแก้ว โดยใช้เครื่องมือที่ประดิษฐ์จากเครื่องใช้ไฟฟ้าเก่า จานวน ๑ นวัตกรรม นอกจากนี้ นายสุรดิษ บันดาลสิน เลขานุการ ทสม. จังหวัดภูเก็ต ได้นาผลการดาเนินโครงการผู้นายุวชน ทสม. จังหวัดภูเก็ต เสนอต่อกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม และได้รับเลือกให้เป็น ทสม. ดีเด่น ด้านการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

106


กิจกรรมผู้นายุวชนอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัดภูเก็ต (ต่อ)

107


กิจกรรมการใช้ประโยชน์จากผลมะพร้าวเปล่า พื้นที่ เทศบาลเมืองป่าตอง ตาบลป่าตอง อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน ผลมะพร้าวน้าหอมเป็นหนึ่งในขยะอินทรีย์ที่เป็นปัญหาของเมืองป่าตอง โดยมีปริมาณขยะเฉลี่ยประมาณ ๒๐ ตันต่อสัปดาห์ ผลมะพร้าวน้าหอมเป็นขยะอินทรีย์ที่กาจัดยาก เนื่องจากผลมีขนาดใหญ่ เปลือกแข็ง และใช้เวลา ในการย่อยสลายนาน การกาจัดขยะจากผลมะพร้าวน้าหอมจึงใช้พื้นที่และระยะเวลานาน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จึงประชุมร่วมกับเทศบาลเมืองป่าตองถึงประเด็นที่เป็นปัญหาดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการนาผลมะพร้าวน้าหอมมา ผลิต เป็ นกระถางสาหรับ ปลู กต้ นไม้ โดยการย่ อยผลมะพร้า วน้ าหอมให้มี ขนาดเล็ก ลงโดยใช้ เครื่ องสับ วางพั กไว้ ให้แห้ง จนกลายเป็นสีน้าตาล นาไปย่อยอีก ๑ ครั้ง วางพักไว้ หลังจากนั้นร่อนด้วยตะแกรงให้เหลือแต่ส่วนที่เป็น ขุยมะพร้าว การเลือกวัสดุประสานและความเข้มข้น ทาการคัดเลือกวัสดุประสานที่ใช้ในการผสมกับวัตถุดิบ ได้แก่ แป้งมัน แป้งข้าวโพดในสัดส่วนที่เหมาะสม แล้วนามาขึ้นแบบในแม่พิมพ์ โดยขึ้นรูปเป็นกระถาง และก้อนปลูก ขนาด ๖ นิ้ว การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ โดยใช้สองวิธี ได้แก่ การขึ้นรูปด้วยการอัดด้วยมือ และการขึ้นรูปด้วยการใช้เครื่องอัดไฮโดรลิค จากการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ พบว่า การขึ้นรูปด้วยมือและด้วยเครื่องอัดไฮโดรลิคสามารถขึ้นรูปกระถางได้ แต่ความแข็งแรง ต่างกัน และต้องใช้ความละเอียดของขุยมะพร้าวที่ต่างกัน

108


กิจกรรมสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ประติมากรรมจากขยะ พื้นที่ เทศบาลเมืองป่าตอง ตาบลป่าตอง อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน สภาพปั ญหาด้า นสิ่งแวดล้อมในจังหวั ดภูเก็ต โดยเฉพาะพื้ นที่เป้า หมายบริเวณชายหาดป่าตอง พบว่ า มี ป ริ ม าณขยะจากลู ก มะพร้ า วเป็ น จ านวนมาก โดยจากการลงพื้ น ที่ โ รงงานขยะเทศบาลเมื อ งป่ า ตอง พบว่า เป็นอุปสรรคในการจัดการขยะ และการนาไปใช้ประโยชน์ด้านอื่น ๆ อาจทาได้เพียงนาไปขายเป็นปุ๋ยใน การปลูกพืช จากการที่ผู้ดาเนินโครงการและผูเ้ ข้าร่วมได้ทาการสารวจพื้นที่ และวิทยากรผู้เชี่ยวชาญทางด้านทัศนศิลป์ มีความเห็นว่า เส้นใยของมะพร้าวสามารถนาไปอัดและขึ้นรูปเพื่อสร้างสรรค์เป็นรูปทรงต่าง ๆ ได้ ด้วยกระบวนการ และขั้ น ตอนในการสร้ า งสรรค์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระติ ม ากรรมในรู ป แบบโคมไฟเพื่ อ ใช้ ใ นการประดั บ ตกแต่ ง สถานที่ โดยเป็นการจัดทาประติมากรรมจากขยะ เพื่อพัฒนาวัสดุที่ไร้มูลค่าสู่การเพิ่มทั้งคุณค่าและรูปแบบอันเป็นเอกลักษณ์ ที่ถ่ายทอดสภาพธรรมชาติความงามให้กับพื้นที่อีกด้วย

109


กิจกรรมสร้างสื่อนวัตกรรมและส่งเสริมการรณรงค์สร้างจิตสานึก ในการจัดการขยะที่เหมาะสม พื้นที่ เทศบาลเมืองป่าตอง ตาบลป่าตอง อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน กองงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลป่าตอง มีความต้องการในส่วนของการจัดทา QR Code เพื่อนาเสนอ ข้อมูลเวลาของการเก็บขยะของหน่วยงานภายนอกที่เทศบาลจ้างมา หรือใช้เป็นสื่อรณรงค์การจัดการขยะให้กับ บ้านเรือน ร้านอาหาร ในพื้นที่เทศบาลป่าตอง มหาวิทยาลัยจึงได้อบรมการทาสื่ออินโฟกราฟิก เพื่อการรณรงค์จัดการ ขยะ โดยใช้เครื่องมือออนไลน์ คือ Canva Pikochart และ qrcode - monkey โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการจากกอง สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ทั้งหมด 12 คน โดยในการจัดอบรมผู้เข้าร่วมการอบรมจะได้ชิ้นงานที่เกี่ยวข้องกับการ รณรงค์การจัดการขยะคนละ 1 ชิ้นที่สร้างสรรค์และออกแบบด้วยตนเองซึ่งจะสามารถนาผลงานดังกล่าวไปใช้ในพื้นที่ ป่ า ตองเพื่ อ รณรงค์ ใ ห้ มี ก ารคั ด แยกขยะและน าขยะที่ ส ามารถใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ม าใช้ ซ้ า ตามหลั ก การ ลด ใช้ ซ้ า นากลับมาใช้ใหม่ รวมทั้งสามารถสร้างสรรค์สื่อที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในบริบทพื้นที่ได้ด้วยตัวเอง ในอนาคตอีก

110


กิจกรรมส่งเสริมการคัดแยกขยะมูลฝอย และการนาขยะมูลฝอย กลับไปใช้ประโยชน์อย่างถูกวิธี พื้นที่ บ้านมอญ ตาบลป่าตอง อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน การจัดกิจกรรมศึกษาสภาพปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชนบ้านมอญ ตาบลป่าตอง อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต มีกระบวนการดาเนินงานโดยเริ่มจากคณาจารย์ได้นานักศึกษาสารวจสภาพพื้นที่จริง เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจถึง สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม และเพิ่มปริมาณของขยะมูลฝอยที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม รวมถึง สุขอนามัยของประชาชน พร้อมกับจัดเวทีเพื่อรับฟังปัญหา แนวคิด และข้อเสนอแนะของชุมชน และสรุปผลลัพธ์ เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกันในแบบกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ จากขั้นตอนดังกล่าวจึงเป็นที่มาของกิจกรรม ส่งเสริมการคัดแยกขยะมูลฝอยในชุมชน โดยนารูปแบบกระบวนการคัดแยกขยะ และการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ ในรูปแบบการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการรีไซเคิลขยะ นามาเป็นเครื่องแต่งกาย เครื่องใช้ภายในบ้าน ของที่ระลึก ฯลฯ และจัดนิทรรศการ “ขยะจัดการได้ 30 เมนู” ร่วมกับชุมชนบ้านมอญ เทศบาลเมืองป่าตอง และมูลนิธิพัฒนาป่าตอง ในงานตลาดนัดปันสุข มูลนิ ธิพัฒนาป่าตอง โดยภายในงานมีการบรรยาย “ความรู้ เกี่ยวกับขยะและการจัดการ คั ด แยกขยะ” พร้ อ มนิ ท รรศการ “ขยะจั ด การได้ 30 เมนู ” และกิ จ กรรมนั ก จั ด การขยะชุ ม ชน เพื่ อ ให้ ชุ ม ชน เกิดความตระหนักในการจัดการขยะ ได้รับความรู้ในการคัดแยกขยะ และการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ และมูลค่า

111


กิจกรรมพัฒนาสื่อรณรงค์เพื่อการกาจัดขยะสาหรับนักเรียน พื้นที่ เทศบาลเมืองป่าตอง ตาบลป่าตอง อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน จังหวัด ภูเก็ตเป็นแหล่ งท่องเที่ยวที่ มีชื่อเสี ยงระดั บโลก และสร้างรายได้ให้ แก่ประเทศเป็นจานวนมาก โดยเป็นจังหวัดที่มีรายได้จากการท่องเที่ยวมากเป็นอันดับสอง รองจากกรุงเทพมหานคร อย่างไรก็ตามการเติบโตของ การท่องเที่ยว ประกอบกับจานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้จังหวัดภูเก็ตประสบปัญหาขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นทุกปี นอกจากนี้ ยังมีผลสารวจระบุว่าประเทศไทยจัดอยู่ใน อันดับ 5 ของประเทศที่ทิ้งขยะลงทะเลมากที่สุดในโลก ดังนั้นกระบวนในการสร้างจิตสานึกให้แก่เยาวชนให้ตระหนัก ถึงการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมจึงเป็นสิ่งที่มีความสาคัญ ด้วยเหตุนี้จึงจัดทาสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบหนังสือ การ์ตูนเรื่องสามสหายรักษ์โลก ตอน การจัดการขยะด้วยแนวคิด (7R) เพื่อนาไปใช้เป็นสื่อในการเรียนของนักเรียน โดยมี เ นื้ อ หาเกี่ ย วกั บ การปลู ก จิ ต ส านึ ก เกี่ ย วกั บ กระบวนการลดปริ ม าณขยะการคั ด แยก โดยใช้ ห ลั ก การ 7R ซึ่งประกอบด้วย 1) Rethink (คิดใหม่) 2) Reduce (ลดการใช้) 3) Reuse (ใช้ซ้า) 4) Recycle (นากลับมาใช้ใหม่) 5) Repair (ซ่อมแซม) 6) Reject (ปฏิเสธ) และ 7) Return (ตอบแทน) ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาสังคม ชุมชน ในจังหวัดภูเก็ต และสังคมไทยให้มีสภาพแวดล้อมที่ดีและมีทัศนียภาพที่งดงาม โดยอาศัยการปลูกแนวคิดเรื่องนี้ตั้งแต่วัยเรียน

112


กิจกรรมอบรมให้ความรู้ สร้างความตระหนัก และเสริมจิตสานึก ในการลดปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชน พื้นที่ ชุมชนบ้านกะหลิม ตาบลป่าตอง อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน ดาเนินการอบรมให้ความรู้ สร้างความตระหนัก และเสริมจิตสานึกในการลดปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชน โดยมีการสารวจปริมาณขยะและการอบรมให้ความรู้ สร้างความตระหนัก และปลูกจิตสานึกในการลดปริมาณขยะมูล ฝอยชุมชน สามารถทาให้ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักที่ดี และมีความรู้ในการคัดแยกขยะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเห็นได้ว่า จากผลการสารวจปริมาณขยะก่อนการอบรมให้ความรู้และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ มูลฝอยเพื่อนากลับไปใช้ประโยชน์ ในชุมชนเป้าหมายมีปริมาณขยะ เฉลี่ย 132.03 กิโลกรัมต่อวัน และหลังจาก การอบรมให้ความรู้ และด าเนิ นการสารวจปริมาณขยะ พบว่า ขยะมู ลฝอยในชุ มชนบ้านกะหลิ ม มีป ริมาณขยะ เฉลี่ ย 59.00 กิ โ ลกรั ม ต่ อ วั น ซึ่ งมี จ านวนปริ ม าณขยะในชุ ม ชนลดลง จ านวน 73.03 กิ โ ลกรั ม หรื อ คิ ด เป็ น ร้อยละ 55.31 เมื่อเทียบกับก่อนการอบรมในพื้นที่

113


กิจกรรมศึกษาปัญหาขยะมูลฝอยในตาบลเชิงทะเล พื้นที่ หมู่ที่ ๑ - ๖ ตาบลเชิงทะเล อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน ชุมชนเชิงทะเล ตาบลเชิงทะเล อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เป็นชุมชนที่มีศักยภาพทั้งเป็นแหล่งท่องเที่ยว และมีการรวมกลุ่มของประชาชนในพื้นที่ในการจัดทากิจกรรม เมื่อลงพื้นที่สารวจศึกษาสภาพปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชน ร่วมกับกองงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตาบลเชิงทะเล พบว่า จานวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ ณ เดือนมกราคม ๒๕๖๓ มีจานวน ๗,๑๐๔ คน ประชากรแฝง ๕,๐๐๐ คน จานวนครัวเรือนตามทะเบียนราษฎร์ ๓,๖๑๙ ครัวเรือน มีการเก็บขยะมูลฝอย แต่ไม่ใช่แบบ Zero Waste โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชุ ม ชนต้ อ งการการส่ ง เสริ ม การจั ด การขยะอย่ า งถู ก วิ ธี จึ ง ด าเนิ น การจั ด โครงการพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ในการจัดการขยะชุมชน โดยสัมมนาเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการแยกขยะ และการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ กิจ กรรมการจั ด การขยะในชุ ม ชมตาบลเชิ งทะเล (บ้ า นนี้ คั ดแยกขยะ) จ านวน ๑๐๐ หลั งคาเรื อ น เพื่อ รณรงค์ ให้ประชาชนในชุมชนเชิงทะเลทาการคัดแยกขยะ ซึ่งจะเป็นประโยชน์และถือเป็นหัวใจหลักในการลดปริมาณขยะ เพราะการคั ด แยกขยะ ท าให้ ข ยะถู ก ส่ งต่ อ ไปในกระบวนการที่ ถู ก ต้ อ งได้ ง่า ยขึ้ น เช่ น น าไปเผา น าไปรี ไ ซเคิ ล นาไปย่อยสลาย ฯลฯ แต่ถ้าหากไม่มีการคัดแยกขยะ จะทาให้ขยะแยกออกจากกันยาก กลายเป็นกองขยะขนาดใหญ่ ที่เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม

114


การพัฒนาระบบข้อมูลตาบล เป็นกระบวนการในการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของตาบลในพื้นที่บริการของ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ต ได้ แ ก่ จั งหวั ดภู เ ก็ ต พั งงา และกระบี่ โดยเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ลในด้ า นเศรษฐกิจ สั งคม สิ่งแวดล้อม และการศึกษา ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานทั่วไป สภาพปัญหา ความต้องการ ศักยภาพชุมชน และข้อมูลอื่น ๆ ทั้ งที่ เ ป็ น ข้ อ มู ล ปฐมภู มิ และทุ ติ ย ภู มิ โดยมี ร ะบบและการจั ด การในการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล การวิเคราะห์ ประมวลผล การรายงานและการนาเสนอข้อมูล ทั้งในรูปแบบเอกสาร รูปแบบดิจิทัล หรือรูปแบบอื่น ที่สามารถสืบค้น วิเคราะห์ นาเสนอในเชิงสารสนเทศ ได้อย่างถูกต้อง เข้าใจง่าย สะดวก และรวดเร็ว เพื่อเป็นข้อมูล ในการวางแผนสาหรับการพัฒนาของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตและหน่วยงานในพื้นที่ ผลผลิต (Output) มีฐานข้อมูลตาบลของพื้นที่บริการ (ศักยภาพชุมชน สภาพปัญหา และความต้องการที่แท้จริงของชุมชน) เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ ประเมิน และวางแผนพัฒนาเชิงพื้นที่ตามศักยภาพของมหาวิทยาลัย จังหวัดภูเก็ต จานวน 5 ตาบล จังหวัดพังงา 5 ตาบล และจังหวัดกระบี่ 5 ตาบล ผลลัพธ์ (Outcomes) มีระบบข้อมูลตาบลที่มหาวิทยาลัย และหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนต่าง ๆ ตลอดจนประชาชนสามารถนาใช้ เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ (Impact) มีระบบฐานข้อมูลตาบลที่มีประสิทธิภาพและความคล่องตัวสะดวกรวดเร็วในการค้นหาข้อมูลที่สามารถ เข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลา

กระบวนการ/ผลการดาเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้ลงพื้นที่สารวจ ศึกษา เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลตาบลพร้อมทั้งจัดทาฐานข้อมูล ตาบลในจังหวัด จานวน ๑ ฐาน (URL: http://ses.pkru.ac.th) และได้บันทึกข้อมูลรวม 2,498 ครัวเรือน จาก 23 หมู่บ้าน ใน 6 อาเภอ ของทั้ง 3 จังหวัด ได้แก่ ตาบลป่าคลอก และตาบลเกาะแก้ว จังหวัดภูเก็ต ตาบลท่านา ตาบลกะปง และ ตาบลรมณีย์ จังหวัดพังงา และตาบลอ่าวนาง และตาบลคลองโตบ จังหวัดกระบี่ จากข้อมูลที่สารวจได้พบว่าเป็น เพศชาย จานวน 1,287 คน คิดเป็น ร้อยละ 50.25 เป็นเพศหญิง จานวน 1,247 คน คิดเป็น ร้อยละ 49.75 โดยประชากรทั้งหมดมีสัญชาติไทย นับถือศาสนาพุทธ จานวน 2,199 คน คิดเป็นร้อยละ 85.86 ศาสนาอิสลาม จานวน 359 คน คิดเป็นร้อยละ 14.02 และ ศาสนาคริสต์ จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.12 ด้านการศึกษา พบว่า จบการศึกษาต่ากว่าระดับมัธยมศึกษา จานวน 1,392 คน คิดเป็นร้อยละ 54.35 ต่ากว่าระดับปริญญาตรี จานวน 893 คน คิดเป็นร้อยละ 34.86 ระดับปริญญาตรี จานวน 264 คน คิดเป็นร้อยละ 10.31 และสูงกว่าระดับปริญญาตรี จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 0.47

115


ด้านอาชีพ พบว่า ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างทั่วไป/รับจ้างรายวัน จานวน 485 คน คิดเป็นร้อยละ 18.94 รองลงมาคื ออาชี พพนั กงานบริ ษั ท /ธุ รกิ จเอกชน จ านวน 369 คน คิ ดเป็ นร้ อยละ 14.40 อาชี พค้ าขาย จานวน 252 คน คิดเป็นร้อยละ 9.84 อาชีพเกษตรกรรม จานวน 237คน คิดเป็นร้อยละ 9.25 อาชีพธุรกิจส่วนตัว จานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 1.33 อาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ จานวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 1.25 อาชีพรับราชการ จานวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 2.30 อาชีพหัตถกรรม จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.11 และว่างงานหรือไม่มีอาชีพ จานวน 1,090 คน คิดเป็นร้อยละ 42.56 ด้านรายได้ พบว่า โดยส่วนใหญ่มีรายได้ต่อปีมากกว่า 200,000 บาท จานวน 376 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 42.24 รองลงมาคื อ ในช่ ว ง 150,001 - 200,000 บาท จ านวน 218 ครั ว เรื อ น คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 24.50 ในช่ วง 50,001 - 100,000 บาท จ านวน 91 ครั วเรือ น คิด เป็ นร้ อยละ 10.22 และต่ ากว่า 38,000 บาท จานวน 51 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 5.73 ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม พบว่า มีความต้องการในการพัฒนาด้านอาชีพและรายได้มากที่สุด จานวน 127 คน คิดเป็นร้อยละ 22 รองลงมาเป็นด้านสาธารณูปโภค จานวน 104 คน คิดร้อยละ 18 ด้านสถานที่ตั้งของบ้านและ ที่ ท ากิ น จ านวน 88 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 15 ด้ า นเครื่ อ งมื อ /เครื่ อ งจั ก รในการประกอบอาชี พ จ านวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 12 ด้านที่อยู่อาศัย จานวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 10 และด้านอื่น ๆ จานวน 191 คน คิดเป็นร้อยละ 33

116


เปรียบเทียบการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 และ พ.ศ. 2563 ด้านพื้นที่ พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2562 - 2563 จานวนพื้นที่ (ตาบล)

จังหวัด พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2562

พ.ศ. 2563

ภูเก็ต

2

10

11

พังงา

2

7

11

กระบี่

1

7

11

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ จานวน 5 ตาบล ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖2 จานวน 24 ตาบล ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 จานวน 33 ตาบล

เพิ่มพื้นที่ใหม่ จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 9 ตาบล

117


ด้านการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

➢ โครงการจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ เ พื่ อ บริ ก ารวิ ช าการ จานวน 3 โครงการ ได้แก่

➢ โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิด วิเคราะห์ของนัก เรีย นในระดับ การศึก ษา ขั้นพื้นฐาน ➢ โครงการพัฒนาความรู้ทักษะด้านภาษาอังกฤษในศตวรรษ ที่ ๒๑

1. การอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ ง การจั ด หมวดหมู่ แ ละท า รายการทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดโรงเรียน 2. โครงการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวท้องถิ่น 3. โครงการอบรมการใช้ Power Point

➢ โครงการฝึกอบรมหลักสูตรเทคนิคการเขียนรายงานการ ประชุมอย่างมีประสิทธิภาพ

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ➢ โครงการยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ➢ โครงการพัฒนาความรู้ทักษะด้านภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ ๒๑ ➢ โครงการสนับสนุนสื่อวีดิทัศน์ประกอบการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนครูให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก

ด้านสิ่งแวดล้อม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

➢ โครงการอบรมปฏิ บั ติ ก ารจั ด ท าแผนและถ่ า ยทอด เทคโนโลยี หมู่บ้านวิถีวิทย์ ฯ บ้านโคกไคร ต าบลมะรุ่ย อาเภอทับปุด จังหวัดพังงา ➢ โครงการอบรมย้ อมผ้ าสไตล์ ชิ โบริ , ร้ อย-รั ด-มั ด-ย้ อม สร้างสุขสร้างอาชีพ ครั้งที่ 2 ➢ การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน ตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ➢ แปลงผักในเมือง สวนผักในรั้วโรงเรียน

➢ การบริหารการจัดการขยะ ลดขยะ ลดโรค ลดภาระของ ชุมชนตาบล ➢ เครือข่ายผู้น ายุวชนอาสาสมัค รพิทักษ์ธ รรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ➢ โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม ➢ โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

118


ด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

➢ โครงการบริการวิชาการ (ตามแนวพระราชดาริ) ปีที่ ๔ จานวน 3 โครงการ ได้แก่

➢ โครงการยกระดั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ น ค้ า OTOP ๔ กลุ่ ม ผลิตภัณฑ์ คือ อาหาร สมุนไพร ผ้าเครื่องแต่งกาย และ ของใช้ ข องที่ ร ะลึก ใน ๓ จัง หวัด ได้แ ก่ จัง หวั ด ภู เ ก็ ต พังงา และกระบี่ จานวน 4 ประเภท ได้แก่ 1. ประเภทอาหาร

1. การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. การพัฒนาการบริหารการเพาะเห็ด 3. โครงการนวัตกรรมสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่นใต้

➢ โครงการบริการวิชาการแก่สังคม จานวน 2 โครงการ ได้แก่ 1. พัฒนาศักยภาพการแปรรูปนมแพะแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะนม ในพื้นที่ตาบลป่าคลอก จังหวัดภูเก็ต 2. พัฒนาศักยภาพกลุ่มวิสาหกิจชุมชนป่าคลอก

➢ โครงการอบรมย้อมผ้าสไตลชิโบริ,ร้อย-รัด-มัด-ย้อม สร้าง สุขสร้างอาชีพ ครั้งที่ 2 ➢ โครงการอบรมปฏิ บั ติ ก ารจั ด ท าแผนและถ่ า ยทอด เทคโนโลยี หมู่บ้ านวิ ถีวิ ทย์ ฯ บ้านโคกไคร ต าบลมะรุ่ ย อาเภอทับปุด จังหวัดพังงา ➢ โครงการ Phuket City of Gastronomy จานวน 1 โครงการ 1. การพัฒนาและจัดการธุรกิจร้านอาหารสาหรับผู้ประกอบการ รายใหม่

1.1 ผลิตภัณฑ์น้าพริกพันวา 1.2 ผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพรจากส้มควาย 1.3 ผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตพร้อมดื่มนมแพะ 1.4 ผลิตภัณฑ์เต้าส้อแม่ปรีดา 1.5 ผลิตภัณฑ์เต้าส้อตวงรัตน์

2. ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร 2.1 ผลิตภัณฑ์สบู่เหลวจากกระเจี๊ยบเขียว 2.2 ผลิตภัณฑ์ครีมนวดผมและโลชั่นใบเหงือกปลาหมอ

3. ประเภทเครื่องแต่งกาย 3.1 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอทุ่งทะเล 3.2 ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก รักษ์บาติก 3.3 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอ อิสระ ซาโอริ 3.4 ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกไฑบาติก

4. ประเภทของที่ระลึก 4.1 ผลิตภัณฑ์เตยปาหนัน 4.2 ผลิตภัณฑ์จากต้นตาล 4.3 ผลิตภัณฑ์จากเมล็ดปาล์ม 4.4 ผลิตภัณฑ์จักสานไม้ไผ่

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ➢ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ๔ กลุ่มผลิตภัณฑ์ คือ อาหาร สมุนไพร ผ้าเครื่องแต่งกาย และของใช้ของที่ระลึก ใน ๓ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ จานวน 4 ประเภท ได้แก่ 1. ประเภทอาหาร 2. ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร 1.1 ผลิตภัณฑ์น้าพริกพันวา 1.2 ผลิตภัณฑ์ผงชงสมุนไพรพร้อมดื่มสาเร็จรูปส้มควาย 1.3 ผลิตภัณฑ์นมแพะข้นหวาน 1.4 ผลิตภัณฑ์แหนมเห็ดนางฟ้า 1.5 ผลิตภัณฑ์ขนมตะโกลา 1.6 น้าสับปะรดสดและเจลลี่จากน้าสับปะรด 1.7 ผลิตภัณฑ์เครื่องแกงเขาตาหนอน 1.8 เครื่องดื่มเหงือกปลาหมอผงสาเร็จรูป

3. ประเภทเครื่องแต่งกาย 3.1 ผลิตภัณฑ์ผ้าทอซาโอริ 3.2 ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติกและผ้ามัดย้อม ไฑบาติก 3.3 ผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือทุ่งทะเล

2.1 ผลิตภัณฑ์เจลแต้มสิวจากสับปะรด ผสมสารสกัดไคโตซาน จากเปลือกกุ้งมังกร 2.2 ผลิตภัณฑ์เจลมาส์กหน้าก่อนนอน 2.3 ผลิตภัณฑ์น้ามันเหลืองจากขมิน้ ชันและสครับขมิ้นชัน 4. ประเภทของที่ระลึก 4.1 ผลิตภัณฑ์แปรรูปน้ายางพารา 4.2 ผลิตภัณฑ์เรือชักซะ 4.3 ผลิตภัณฑ์จักสานไม้ไผ่ 4.4 ผลิตภัณฑ์เตยปาหนัน 4.5 ผลิตภัณฑ์ลูกปัดโนราห์ปัญญารักษ์ 4.6 ผลิตภัณฑ์จากเมล็ดปาล์ม 4.7 ผลิตภัณฑ์ยางพารา กลุ่มกระบี่ลาแท็กซ์

119


การท่องเที่ยวเชิงเกษตรและชุมชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

➢ โครงการบริการวิชาการ (ตามแนวพระราชดาริ) ปีที่ ๔ จานวน 2 โครงการ ได้แก่ 1. Young Tourism Ambassador โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้เพื่อบริการวิชาการ 2. โครงการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวท้องถิ่น ➢ โครงการบริการวิชาการแก่สังคม จานวน 1 โครงการ

➢ โครงการบูร ณาการพัน ธกิจสัมพัน ธ์เพื่อ แก้ไขปัญ หา ความยากจนของคนในท้องถิ่น จานวน 2 โครงการ ๑. โครงการพัฒนาศัก ยภาพผู้ดาเนินการจั ดการท่อ งเที่ย ว ชุมชน ๒. โครงการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนเพื่อ บูรณาการ การท่องเที่ยวโดยชุมชน

1. อบรมยุ ว อาสาสมั ค รเพื่ อ การน าเที่ ย วในแหล่ ง ท้ อ งถิ่ น เชิงเกษตรจังหวัดภูเก็ต รุ่นที่ ๔

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ➢ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก จานวน 3 กิจกรรม

ด้านสังคม การแก้ไขปัญหาความยากจน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

➢ โครงการบริการวิชาการตามแนวพระราชดาริ จานวน ➢ โครงการบู ร ณาการพั น ธกิ จ สั ม พั น ธ์ เ พื่ อ แก้ ไ ข ๓ โครงการ ปัญหาความยากจนของคนในท้องถิ่น จานวน ๑๐ ➢ โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้เพื่อบริการวิชาการ โครงการ จานวน ๑๓ โครงการ

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ➢ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก จานวน 24 กิจกรรม

กิจกรรมรู้รักสามัคคี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

➢ โครงการส่งต่อความรู้สู่น้องในจังหวัดภูเก็ต พังงา ➢ โครงการส่งเสริมความรักสามัคคี ความมีระเบียบ กระบี่ วินัยเข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น ➢ โครงการจัดเสวนาและแสดงนิทรรศการเรือนไทย ถิ่นภูเก็ตอัตลักษณ์พื้นถิ่น คุณค่าแห่งแผ่นดิน

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ➢ โครงการส่งเสริมความรักสามัคคี เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น ภายใต้พื้นฐานของสังคมประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

120


ทิศทางการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ด้านการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖2

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3

➢ โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของนัก เรีย นในระดับ การศึก ษา ขั้นพื้นฐาน ➢ โครงการพั ฒนาความรู้ ทั กษะด้ า นภาษาอั ง กฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑

➢ โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิด วิเคราะห์ของนักเรียน ในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ➢ โครงการพั ฒ นาความรู้ ทั ก ษะด้ า นภาษาอั ง กฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑ ➢ โครงการคลั ง ข้ อ สอบวั ด แววความเป็ น ครู ข อง มหาวิทยาลัยราชภัฏ ➢ โครงการสนั บ สนุ น สื่ อ วี ดิ ทั ศ น์ ป ระกอบการเรี ย น การสอน เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนครูให้กับโรงเรียน ขนาดเล็ก

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 ➢ โครงการยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ➢ โครงการพัฒนาความรู้ทักษะด้านภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ ๒๑ ➢ โครงการสนับสนุนสื่อวีดิทัศน์ประกอบการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนครูให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก

ด้านสิ่งแวดล้อม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖2

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3

➢ การบริหารการจัดการขยะ ลดขยะ ลดโรค ลดภาระของ ชุมชนตาบลป่าตอง อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ➢ เครือ ข่ายผู้นายุวชนอาสาสมัค รพิทักษ์ธรรมชาติแ ละ สิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต

➢ โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม ➢ โครงการพัฒนาศัก ยภาพการท่องเที่ย วโดยชุมชนใน พื้นที่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 ➢ โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม ➢ โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

121


ด้านเศรษฐกิจ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖2

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3

➢ โครงการยกระดั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ น ค้ า OTOP ยกขึ้ น 1 ระดับ ๔ กลุ่มผลิตภัณฑ์ อาหาร สมุนไพร ผ้าเครื่อง แต่งกาย และของใช้ข องที่ร ะลึกใน ๓ จังหวัด ได้แ ก่ จังหวัด ภูเก็ต จังหวัด พังงา และจังหวัด กระบี่ จานวน ๑๕ ผลิตภัณฑ์ ➢ โครงการบูร ณาการพัน ธกิจสัม พัน ธ์ เพื่อ แก้ไขปัญ หา ความยากจนของคนในท้องถิ่น

➢ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ๒1 ผลิตภัณฑ์ ➢ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับ คนในชุมชนฐานราก ➢ โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพการท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 ➢ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ๒1 ผลิตภัณฑ์ ➢ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ➢ โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

ด้านสังคม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖2

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3

➢ โครงการบู ร ณาการพัน ธกิจ สัมพัน ธ์เพื่อ แก้ไขปัญ หา ความยากจนของคนในท้องถิ่น จานวน๑๐ โครงการ ➢ โครงการส่งเสริมความรักสามัคคี ความมีระเบียบวินัย เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น

➢ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับ คนในชุมชนฐานราก ➢ โครงการส่ งเสริม ความรัก สามั ค คี เข้าใจสิท ธิห น้า ที่ ของตนเองและผู้ อื่ น ภายใต้ พื้ น ฐานของสั ง คม ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ➢ โครงการพัฒนาระบบข้อมูลตาบลในจังหวัด

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 ➢ โครงการส่ งเสริ ม ความรัก สามัค คี เข้ าใจสิ ท ธิห น้ าที่ของตนเองและผู้อื่น ภายใต้พื้น ฐานของสัง คมประชาธิ ป ไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ➢ โครงการพัฒนาระบบข้อมูลตาบลในจังหวัด ➢ โครงการเสริมสร้างสมรรถนะภาคีเครือข่าย การวางแผนพัฒนาเชิงพื้นที่ ระดับตาบล

122


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.