รายงานผลการดำเนินงานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

Page 1




รายงานผลการดาเนินงานโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลต่อ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ในการตรวจเยี่ ย มการด าเนิ น งาน 10 โครงการ และโครงการบริ ก ารวิ ช าการภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตภายใต้พระบรมราโชบาย ประกอบด้วย 1) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก 2) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น 3) โครงการส่ งเสริม ความรัก สามัคคี เข้า ใจสิท ธิห น้าที่ ของตนเองและผู้อื่ นภายใต้ พื้น ฐาน ของสังคมประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 4) โครงการยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5) โครงการพั ฒ นาความรู้ ทั ก ษะด้ า นภาษาอั งกฤษในศตวรรษที่ 21 ด้ ว ยสื่ อ สร้ า งสรรค์ สาหรับผู้เรียนในยุคดิจิทัล 6) โครงการสนับสนุนสื่อวีดิทัศน์ประกอบการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนครู ให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก 7) โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน 8) โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม 9) โครงการพัฒนาระบบข้อมูลตาบลในจังหวัด (Big Data) 10) โครงการเสริมสร้างสมรรถนะภาคีเครือข่ายการวางแผนการพัฒนาเชิงพื้นที่ระดับตาบล ในการนี้ รายงานผลการด าเนิ น งานดั งกล่ า วสามารถน าไปต่ อ ยอดการพั ฒ นา รวมทั้ งเป็ น ประโยชน์แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ด้านการพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่ หากรายละเอียดที่นาเสนอผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย




2


3


4


5



กิจกรรมเชิงรุก

1. กิจกรรมอาสาสมัครร่วมปฏิบัติการบริการฉีดวัคซีน รอบที่ 1 นาบุคลากรลงพื้นที่อานวยความสะดวก คัดกรอง ลงทะเบียนผู้ฉีดวัคซีนผ่านระบบ และร่วมกับบุคลากรทางการแพทย์ เพื่อให้บริการแก่ประชาชนให้สามารถเข้ารับ บริการฉีดวัคซีนได้ตามเป้าหมายอย่างสะดวกและรวดเร็ว ณ ท่าอากาศยานภูเก็ต อาคาร X-Terminal โรงยิมเนเซียม 4,000 ที่นั่ง สะพานหิน โรงแรมอังสนา ลากูน่า ภูเก็ต และโรงแรมภูเก็ต ออร์คิด กะรน

2. กิจกรรมอาสาสมัครร่วมปฏิบัติการบริการฉีดวัคซีน รอบที่ 2 นาบุคลากรลงพื้นที่สนับสนุนการดาเนินงานของ บุคลากรทางการแพทย์ ในการนาร่องฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แก่ประชาชนใน พื้นที่ ณ โรงแรมอังสนา ลากูน่า ภูเก็ต

3. กิจกรรมส่งมอบตู้ฆ่าเชื้อโรคด้วยแสง UV ผลงานการประดิษฐ์ของสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี จ านวน 60 ตู้ แก่สานักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่

4. กิจกรรมจัดสรรวัคซีน AstraZeneca จานวน 400 โดส สาหรับนักศึกษา รอบที่ 1 จาก กระทรวงการอุ ด มศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตร์ วิ จั ย และ นวัตกรรม 7


กิจกรรมเชิงรับ

1. กิจกรรมสัมมนาพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานในอนาคตภายใต้ยุค New Normal ภายใต้โครงการจ้างงานประชาชน ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จานวน 150 อัตรา ซึ่งเป็นโครงการที่มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ร่วมมือกับศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) และ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อช่วยเหลือประชาชนว่างงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในวิถีชีวิตยุคใหม่

2. กิจกรรมสัมมนาไขภาษากับไทยศิลปศาสตร์ “ภาษา สื่อสาร วิกฤตการณ์ COVID-19” เพื่อการสื่อสารข้อมูล ช่วงสถานการณ์ไม่ให้เกิดความผิดเพี้ยน เหมาะสม และสร้างแรงบันดาลใจ โดยนักสื่อสารมวลชน NBT.Phuket เจ้าพนักงานสาธารณสุขชานาญงาน และอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต เป็นวิทยากรร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

3. ประชุมหารือการบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับนักศึกษา 8 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตทุกคน

4. กิ จ กรรมมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต ไม่ ป ระมาท การ์ดยกสูง ปฏิบัติตามคาสั่งจังหวัด เพิ่มความเข้มงวด กับมาตรการป้องกัน ปรับเปลี่ยนรูปแบบเป็นการเรียน การสอนออนไลน์


จัดตั้งโรงพยาบาลสนามจังหวัดภูเก็ต แห่งที่ ๒

ร่วมประชุมและนาสารวจพื้นที่ในการปรับปรุงอาคารศูนย์ประชุมอันดามันพรรณราย มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต สารวจพื้ นที่ จั ดตั้ งเตี ย งผู้ ป่ วย สิ่งอ านวยความสะดวก การดู แ ลระบบความปลอดภั ย ตลอดจนสาธารณูป โภค และการจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในโซนต่าง ๆ สาหรับใช้ในการรองรับผู้ป่วยที่เข้ารับการดูแลรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ร่วมกับรองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต เทศบาลตาบลรัษฎา และโยธาธิการจังหวัดภูเก็ต

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต และจิตอาสาประชาชนจังหวัดภูเก็ต ร่วมกันประกอบเตียงกระดาษเอสซีจีพี (SCGP Paper Field Hospital Bed) จานวน 300 เตียง เพื่อรองรับกลุ่มผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (กลุ่มสีเขียว) ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ป่วยยืนยันที่มีอาการป่วยเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีอาการ 9


จัดตั้งโรงพยาบาลสนามจังหวัดภูเก็ต แห่งที่ ๒ (ต่อ) เปิดใช้งาน โรงพยาบาลสนาม แห่งที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต สาหรับให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยกลุ่มสีเขียว

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พร้อมคณะนักกีฬาทีมชาติไทยในการแข่งขันโอลิมปิก Tokyo 2020 ตรวจเยี่ยมความพร้อมในการเปิดโรงพยาบาลสนามแห่งที่ 2 จังหวัดภูเก็ต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต ผู้อานวยการโรงพยาบาลวชิระ ภูเก็ต นายกเทศมนตรีตาบลรัษฎา หัวหน้าส่วนราชการ ตลอดจนนักกีฬาทีมชาติไทย นาโดย ”น้องเทนนิส” พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ นักกีฬาเทควันโด เหรียญทองโอลิมปิกเกมส์ โตเกียว 2020 พร้อม “โค้ชเช” เช ยอง ซอก หัวหน้า ผู้ฝึกสอนเทควันโดทีมชาติไทย ตลอดจนทีมงาน ร่วมมอบของใช้ที่จาเป็นและให้กาลังใจผู้ปฏิบัติงาน

10


ความเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี กับแผนยุทธศาสตร์อ่ น ื

11


ระบบและกลไกการดาเนินโครงการยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่ อการพั ฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

มหาวิทยาลัยได้รับกรอบ วงเงินงบประมาณ จากสานักงบประมาณ

สถาบันวิจัยและพัฒนา รวบรวม และตรวจสอบ

กองนโยบายและแผน ตรวจสอบ

12

ประชุมคณะกรรมการบริหาร กาหนดกรอบแนวคิดในการทางาน และพิจารณาตัวชี้วัด

แต่งตั้งคณะกรรมการ พัฒนาโครงการ / กิจกรรม

ปรับปรุง แก้ไข โครงการ / กิจกรรม

เสนอกรอบแนวคิด พิจารณาโครงการ / กิจกรรม

อนุมัติโดยอธิการบดี

หัวหน้าโครงการ รับทราบ / ปฏิบัติ / สรุปผล / รายงานผลโครงการ


แผนที่การดาเนินงานตามโครงการยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่ อการพั ฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

13


แผนที่การดาเนินงานตามโครงการยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่ อการพั ฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

14


แผนที่การดาเนินงานตามโครงการยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่ อการพั ฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

15


แผนที่การดาเนินงานตามโครงการยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่ อการพั ฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

16



โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่ อการพั ฒนาท้องถิ่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔


โครงการพั ฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ ให้กับคนในชุมชนฐานราก

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ได้กาหนดมาตรการในการขับเคลื่อนภารกิจด้านการพัฒนาท้องถิ่น โดยมุ่งเน้นให้ ทุกคณะ / สาขาวิชา บูรณาการการจัดการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของอาจารย์ และนักศึกษาในการลงพื้นที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ตามศาสตร์ที่เชี่ยวชาญแขนงต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น ด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่บริการ คือ จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ พื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยทั้ง ๓ จังหวัด เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงในระดับสากลและมีเป้าหมาย ในการพัฒนาเป็นศูนย์ กลางด้ านการท่องเที่ ยวระดั บโลก ประกอบกับการผลัก ดันและขับเคลื่ อนด้านการท่อ งเที่ย ว โดยชุ ม ชน เพื่ อ สร้ า งรายได้ แ ก่ ป ระชาชนและความยั่ ง ยื น ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วของจั ง หวั ด ดั งนั้ น การสร้ า งโอกาส ความเท่ าเทียมทางสังคม เพื่อลดความเหลื่อมล้ า จึงได้ ดาเนินโครงการฝึกอบรมอาชีพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ซึ่งผลจากการดาเนินโครงการครั้งนี้ จะสามารถส่งเสริมการประกอบอาชีพ สร้างรายได้ที่เพิ่มขึ้นให้กับครัวเรือน ส่งผลให้ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป้าหมาย ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้ที่สูงขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นทั้งกาย ใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม เกิดการจัดการความรู้ในชุมชน เกิดการรวมกลุ่มสร้างอาชีพและกระจายรายได้ในชุมชน สร้างความรักสามัคคีในชุมชน ผลผลิต (Output) 1. อาจารย์และนักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และ งานวิ จั ย และความเชี่ ย วชาญในศาสตร์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย สู่ ก ารพั ฒ นาชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่ เ ป้ า หมาย ผ่านกระบวนการบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอน และการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ทักษะ สามารถนาไปใช้ในการประกอบอาชีพเพื่อสร้าง รายได้แก่ครัวเรือน ผลลัพธ์ (Outcomes) 1. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการยกระดับรายได้ครัวเรือน สร้างรายได้เพิ่มจากการนาทักษะอาชีพ มาพัฒนาทักษะ และใช้ให้เกิดประโยชน์ ช่องทางการจัดจาหน่ายส่งผลต่อการขายได้ มีรายได้เพิ่มขึ้น 2. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการรายได้ของกลุ่มเป้าหมายเพิ่มขึ้น โดยมีการนาผลิตภัณฑ์ขายในชุมชน ได้รับเงินรายได้ เพิ่มขึ้นจากอาชีพหลัก 3. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้สูงขึ้นและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นทั้งกายใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ผลกระทบ (Impact) 1. ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการตนเอง 2. ประชาชนมีความพร้อมในการเป็นประชากรที่มคี ุณภาพ พึ่งพาตนเองและทาประโยชน์แก่สังคมและประเทศชาติ 19


พื้ นที่รว ่ มตำบลป่ำคลอก

นวัตกรรมกำรผลิตมะกรูดตัดใบเพื่ อกำรแปรรูป พื้นที่ หมู่ที่ 2 บ้านป่าคลอก ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน การจัดโครงการได้บูรณาการกับรายวิชาการเรียนการสอน วิชาพืชเครื่องเทศและพืชสมุนไพรกับการพัฒนา ท้องถิ่น ด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้นักศึกษาเป็นวิทยากรร่วมในการอบรม เพื่อถ่ายทอดนวัตกรรมการผลิตการแปรรูปมะกรูดตัดใบ และได้แจกกิ่งพันธุ์ให้กับเกษตรกรรุ่นแรก จานวน 4 คน คนละ 50 กิ่ง เพื่อนาไปเพาะปลูกในแปลง ขนาด 1 x 6 เมตร มีการติดตามผลทุก ๆ 30 วัน

20


พื้ นที่รว ่ มตำบลป่ำคลอก

หลักสูตรระยะสั้น โรงเรียนวิถีชำวเล พื้นที่ หมู่ที่ 2 บ้านป่าคลอก หมู่ที่ 3 บ้านบางโรง หมู่ที่ 4 บ้านยามู หมู่ที่ 6 บ้านอ่าวปอ หมู่ที่ 8 บ้านบางลา หมู่ที่ 9 บ้านอ่าวกุ้ง ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน การดาเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับชุมชนฐานราก (พื้นที่ร่วมป่าคลอก) ซึ่งชุมชนป่าคลอกมีกลุ่มประมงพื้นบ้านที่ยังคงใช้เครื่องมือประมงพื้นบ้านมีกลุ่มอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เช่น ธนาคารปูม้า กลุ่มทาเรือประมงพื้นบ้าน ซึ่งการจัดทาเวทีชุมชนสารวจปัญหาและความต้องการ ของชุมชน พบว่าชุมชนมีความต้องการที่จะดาเนินการจัดทาและพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โดยได้ร่วมกับโรงเรียนในเขต พื้ น ที่ แ ละกลุ่ ม ประมงพื้ น บ้ า น เพื่ อ ก าหนดเป้ า หมายการพั ฒ นาร่ ว มกั น ระหว่ า งนั ก ศึ ก ษา ประชาชน อาจารย์ และหน่วยงานความร่วมมือในพื้นที่ กาหนดขอบเขตการดาเนินงานภายใต้เป้าหมายร่วมกัน การจัดการเชิงพื้นที่ ดาเนินการและกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมกระบวนการพัฒนา วางแผนการดาเนินการพัฒนาหลักสูตร จึงมีชุดการเรียนรู้ เครื่องมือประมง ประกอบด้วย ลอบดักตกปูดา ลอบแบบปัก ลอบดักปลาดุกหรือ ลอบดักปลาเก๋า อวนรุนกุ้งเคย คลาดหอย ให้เป็นชุดความรู้เบื้องต้นที่มีความจาเป็นต่อการพัฒนา รวมถึงมีวิทยากรพื้นบ้านที่สามารถถ่ายทอด องค์ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือประมงพื้นบ้าน จานวน 5 คน

21


พื้ นที่รว ่ มตำบลป่ำคลอก

แหล่งเรียนรูท ้ รัพยำกรธรรมชำติบำ้ นอ่ำวกุ้ง พื้นที่ หมู่ที่ ๙ บ้านอ่าวกุ้ง ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ลงพื้นที่พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติป่าชายเลนเป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยได้มี การหารือกับชุมชนเพื่อออกแบบโปรแกรมศึกษาเรียนรู้ธรรมชาติและท่องเที่ยวชุมชน ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเน้นให้องค์ ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของพื้นที่ สร้างเครือข่ายให้กับชุมชน และส่งเสริมอาชีพเพื่อให้ชุมชนมี รายได้โดยไม่เปลี่ยนวิถีชีวิตเดิมของคนในชุมชน มีการจัดอบรมวิทยากรชุมชนเกี่ยวการช่วยเหลือชีวิตทางน้าจาก ความร่วมมือจากบริษัทไลฟ์เซฟวิ่ง และได้จัดทาสื่อวีดิโอเพื่อใช้ประชาสัมพันธ์เส้นทางท่องเที่ยว ชุมชนมีทรัพยากร ทางธรรมชาติ ทั้ งในท้อ งทะเล และชายฝั่ งที่ มีค วามอุ ดมสมบูร ณ์ มี ป่า ชุม ชนที่ร่ วมกัน ดู แล และมีผู้ นาชุม ชนที่ มี ความเข้มแข็ง ต้อ งการอนุรั กษ์ท รัพ ยากรธรรมชาติไว้ เพื่ อให้ ลูก หลานและจั ดแหล่งเรี ยนรู้ ของชุม ชนเพื่อ จัด การ องค์ความรู้ และถ่ายทอดสู่การเรียนรู้ชุมชน

22


พื้ นที่รว ่ มตำบลป่ำคลอก

หลักสูตรกำรพั ฒนำศักยภำพผู้นำชุมชน ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น พื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านผักฉีด ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน การด าเนิ น งานในกิ จ กรรมหลั ก สู ต รการพั ฒ นาศั ก ยภาพผู้ น าชุ ม ชนที่ ส อดคล้ อ งกั บ อั ตลั ก ษณ์ ท้ อ งถิ่ น ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้ดาเนินการตามความต้องการของชุมชนในพื้นที่ เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้นาชุมชน โดยเน้นการพัฒนาด้านความรู้ความเข้าใจภาษาต่างประเทศและการใช้เทคโนโลยี ทั้งนี้เ พื่อเป็นช่องทางการจั ด จาหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชน รวมถึงนาทักษะไปต่อยอดในการบริหารจัดการและส่งเสริมผลิตภัณฑ์ของแต่ละกลุ่ม

23


พื้ นที่รว ่ มตำบลป่ำคลอก

หลักสูตรกำรเรียนรูท ้ ี่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น พื้นที่ หมู่ที่ 3 โรงเรียนบ้านพารา โรงเรียนบ้านอ่าวปอ และโรงเรียนบ้านบางโรง ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน การดาเนินงานกิจกรรมหลักสูตรการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น ซึ่งคณะครุศาสตร์ได้ดาเนินการ โดยบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนกับการพัฒนาท้องถิ่น โดยการมีส่วนร่วมของอาจารย์และนักศึกษาในการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และงานวิจัย เพื่อให้ครูในเขตพื้นที่ป่าคลอกนาการพัฒนาทักษะสมอง EF สาหรับครูปฐมวัยไปใช้จัดการเรียนการสอนให้กับเด็กปฐมวัย โดยครูมีการนาเครื่องมือประมงพื้นบ้านมาเป็นสื่อในการ เรี ย นการสอน เป็ น การเรี ย นรู้ จ ากองค์ ค วามรู้ ท้ อ งถิ่ น ซึ่ งเด็ ก จะสามารถต่ อ ยอดการน าไปใช้ ไ ด้ ต่ อ ในอนาคต โดยอาจารย์แ ละนั ก ศึก ษาคณะครุศ าสตร์ มีส่ วนร่ วมในการถ่ า ยทอดความรู้ และความเชี่ย วชาญในศาสตร์ข อง มหาวิทยาลัยสู่การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมาย ทาให้โรงเรียนในพื้นที่เป้าหมายสามารถนาความรู้ที่ได้ ไปจัดการเรียนการสอนกับเด็กปฐมวัยต่อไป

24


พื้ นที่รว ่ มตำบลรัษฎำ

๘ จุดเช็คอิน เที่ยวฟินเกำะสิเหร่ พื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านเกาะสิเหร่ และหมู่ที่ 4 บ้านแหลมตุ๊กแก ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน การด าเนิ น งานโครงการยุ ท ธศาสตร์ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เพื่ อ การพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่ ต าบลรั ษ ฎา ในการติดตั้งป้ายสารสนเทศจุดเช็คอินเพื่อให้พื้นที่มีมูลค่า มีเรื่องราวของชุมชนที่ชัดเจน และสอดคล้องกับการดาเนิน กิจ กรรมของแต่ ล ะคณะ ในส่ ว นของจุ ด ที่ 8 จะเป็ น การด าเนิ น งานร่ ว มกั บ เทศบาลต าบลรั ษ ฎาเพื่อ พั ฒ นาเป็ น จุดโดดเด่นสาคัญในการดึงดูดนักท่องเที่ยว โดยจุดเช็คอินทั้ง 8 จุด มีดังนี้ จุดที่ 1 สะพานคลองท่าจีน : เศรษฐกิจการค้าขาย เช่น ตลาดปลา จุดที่ 2 จุดชมลิง : ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ลิง สัตว์น้า และป่าโกงกาง จุดที่ 3 วัดเกาะสิเหร่ : วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ชุมชน จุดที่ 4 หมู่บ้านชาวเล : วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ชุมชน จุดที่ 5 คณะรองเง็ง : วัฒนธรรม จุดที่ 6 เกษตรคนเมือง จุดที่ 7 โรงเรียนเกาะสิเหร่ จุดที่ 8 แหลมหงา

25


พื้ นที่รว ่ มตำบลรัษฎำ

สวนเกษตรคนเมืองส่งเสริมกำรเพำะปลูก พื้นที่ หมู่ที่ 1 ชุมชนประชาอุดม ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน การดาเนินงานกิจกรรมสวนเกษตรคนเมืองส่งเสริมการเพาะปลูก เป็นการดาเนินงานโดยเน้น การลงพื้นที่ อบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเพาะปลูกพืช การบริหารจัดการน้าเพื่อการเพาะปลูก บริเวณที่อยู่อาศัยและพื้นที่ ส่วนกลางของชุมชน “หน้าบ้านน่ามอง” เพื่อลดรายจ่ายและส่งเสริมอาชีพปลูกผักเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน ซึ่งเชื่อมโยงกับกิจกรรม “8 จุด เช็คอิน เที่ยวฟิน เกาะสิเหร่” ซึ่งผลที่ได้จากการดาเนินกิจกรรมพบว่า ชุมชนได้รับ ความรู้และเทคนิคการทาเกษตรในเมืองสามารถลดรายจ่ายให้กับผู้มีรายได้น้อย โดยมีพื้นที่สีเขียว (กินได้) เป็นแหล่ง ผลิตอาหารของคนในชุมชน

26


พื้ นที่รว ่ มตำบลรัษฎำ

กำรจัดกำรขยะชุมชน เพื่ อส่ งเสริมกำรท่องเที่ยว ชุมชนบ้ำนแหลมตุ๊กแก พื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านแหลมตุ๊กแก ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน การดาเนินงานกิจกรรมการจัดการขยะชุมชนบ้านแหลมตุ๊ก แกมีจุด ประสงค์เพื่อ พัฒนาด้านสุข อนามั ย ในชุมชนโดยเฉพาะการจัดการขยะ น้าขัง ในพื้นที่ชุมชนเมืองที่แออัดและมีพื้นที่น้อย ซึ่งจากผลการดาเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้ส ภาพแวดล้ อมชุมชนมี ความสะอาดมากขึ้น และมีการถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการจัดการขยะมูลฝอย ของครัวเรือนเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยนาไปผลิตเป็นปุ๋ยชีวภาพ พร้อมทั้งมีการติดตั้งถังขยะต้นแบบให้เป็น อัตลักษณ์ของชุมชนบ้านแหลมตุ๊กแกโดยเฉพาะ จานวน 8 ถัง 4 จุดประจาการ เพื่อเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวชุมชนกับ “8 จุดเช็คอิน เที่ยวฟินเกาะสิเหร่”

27


พื้ นที่รว ่ มตำบลรัษฎำ

มัคคุเทศก์น้อย ส่งเสริมกำรท่องเที่ยวชุมชน พื้นที่ หมู่ที่ 4 ชุมชนแหลมตุ๊กแก ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน กิจ กรรมมั ค คุ เ ทศก์ น้ อ ยส่ งเสริ ม การท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชน เป็ น กิ จ กรรมที่ ใ ห้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ ทั ก ษะทางด้ า น มัคคุเทศก์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการบรรยายให้ความรู้กับนักท่องเที่ยว โดยเน้นผู้เข้าร่วมโครงการที่ไม่มี พื้นฐานความรู้ทางด้านมัคคุ เทศก์ ทั้งนี้ได้ลงพื้นที่ดาเนิ นการพัฒนาศักยภาพเด็กนัก เรียนและผู้นาชุมชนในพื้น ที่ พั ฒ นาการใช้ ภ าษาอั ง กฤษส าหรั บ การน าเที่ ย ว เพื่ อ ส่ งเสริ ม อาชี พ มั ค คุ เ ทศก์ ใ ห้ กั บ คนในชุ ม ชน โดยกิ จ กรรม มุ่งเน้นไปตาม “8 จุดเช็คอิน เที่ยวฟินเกาะสิเหร่” เป็นหลัก เพื่อให้สอดคล้องเชื่อมโยงกันในลักษณะการท่องเที่ยว ชุมชน เป็นการบูรณาการระหว่างรายวิชามัคคุเทศก์และการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทาให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้ า ใจ รู้ สึ ก รั ก หวงแหน เห็ น คุ ณ ค่ า และภาคภู มิ ใ จในท้ อ งถิ่ น อนุ รั ก ษ์ และประชาสั ม พั น ธ์ ท รั พ ยากร การท่องเที่ยวท้องถิ่นได้อย่างถูกต้องเกิดประโยชน์แก่ท้องถิ่น

28


พื้ นที่รว ่ มตำบลรัษฎำ

หลักสูตรกำรเรียนรูท ้ ี่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น พื้นที่ หมู่ที่ 1 โรงเรียนบ้านเกาะสิเหร่ ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ในส่วนของการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น คณะครุศาสตร์ได้พัฒนาครูในพื้นที่โดยนาการพัฒนาทักษะสมอง EF สาหรับครูปฐมวัยไปใช้ จัดการเรียนการสอนให้กับเด็กปฐมวัย และนารองเง็งลงไปจัดกิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะให้กับเด็กปฐมวัย เพื่อเป็นการ อนุรักษ์การละเล่นของชาวบ้านในพื้นที่เกาะสิเหร่ และสืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น ซึ่งเด็กจะสามารถต่อยอดและนาไปใช้ได้ ในอนาคต โดยอาจารย์ และนักศึกษามีส่ วนร่ วมในการถ่ายทอดความรู้ และความเชี่ ยวชาญในศาสตร์ของมหาวิทยาลั ย สู่การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมาย ทาให้โรงเรียนในพื้นที่เป้าหมายสามารถนาความรู้ที่ได้ไปจัดการเรียน การสอนกั บเด็ กปฐมวั ยได้อ ย่ างมี ประสิ ท ธิภ าพ พร้ อมทั้ งมี ก ารเชื่ อ มโยงให้ส อดคล้อ งเพื่ อส่ งเสริม การท่อ งเที่ ย ว โดยชุมชน มีการถ่ายทอดองค์ความรู้และจัดตั้งกลุ่มนักเรียนเพื่อแสดงรองเง็งรุ่นเด็ก (รองเง็งคิดส์) สาหรับเส้นทาง ท่องเที่ยว “8 จุดเช็คอิน เที่ยวฟิน เกาะสิเหร่”

29


๑ คณะ ๑ พื้ นที่ จังหวัดภูเก็ต

พื้ นที่บำ้ นพำรำ ตำบลป่ำคลอก อำเภอถลำง พื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านพารา ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน คณะเทคโนโลยีการเกษตรได้ลงพื้นที่ดาเนินกิจกรรมในพื้นที่บ้านพารา มีวัตถุประสงค์ในการถ่ายทอดองค์ ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรในท้องถิ่นและส่งเสริมอาชีพให้กับคนในชุมชนจากการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร ผ่านการจัดกิจกรรมให้กับกลุ่มนักเรียนโรงเรียนบ้านพารา และกลุ่มแม่บ้าน บ้านพารา หมู่ที่ 4 มีการจัดกิจกรรม ค่ายปลูกจิตสานึกเยาวชนเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอ่าวพารา เพื่อส่งเสริมให้เกิดจิตสานึกในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น เช่น พืชท้องถิ่น หญ้าทะเล และสัตว์น้าในอ่าวพารา มีการจัดกิจกรรมอบรมเทคนิค การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออย่างง่าย และกิจกรรมสังคมอุดมสุข ซึ่งเน้นองค์ความรู้เกี่ยวกับการทาการเกษตรเพื่อความยั่งยืน เช่น การท าเกษตรอิน ทรี ย์ และการทาปุ๋ ยด้ วยใบไม้แ ห้ ง ซึ่งเกิด เป็ น นวั ตกรรม จ านวน 2 นวัต กรรม คื อ นวั ต กรรม การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย และนวัตกรรมเกมการศึกษาเพื่อสร้างจิตสานึกด้านสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ได้มี การจัดอบรมความรู้ในการทาเบเกอรี่และการทาตลาดออนไลน์ เพื่อส่งเสริมรายได้ให้กับชุมชนจากผลิตภัณฑ์อาหาร จานวน 2 ผลิตภัณฑ์ คือ คุ้กกีน้ มแพะ และพิซซ่า

30


๑ คณะ ๑ พื้ นที่ จังหวัดภูเก็ต

พื้ นที่บำ้ นบำงเทำ ตำบลเชิงทะเล อำเภอถลำง พื้นที่ หมู่ที่ 2 บ้านบางเทา ตาบลเชิงทะเล อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้ดาเนินกิจกรรมชุมชนสร้างสรรค์ เท่าทันยุคดิจิทัล ในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านบางเทา ตาบลเชิงทะเล อาถลาง จังหวัดภูเก็ต ลงพื้นที่อบรมให้ความรู้และสร้างความการเข้าใจบทบาทหน้าที่ ของเจ้าบ้านที่ดีและการทาบัญชีครัวเรือนเพื่อต่อยอดการท่องเที่ยวชุมชน ให้กลุ่มมีความเข้มแข็งเกิดความไว้ใ จ มีความรักสามัคคี ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน เช่น การยกระดับเค้กจาปาดะและปลาแดดเดียวสู่การขายออนไลน์ สร้างความเข้าใจในการสื่อสารเพื่อการขายผ่านการเล่าเรื่อง เช่น ข้าวยาใบพาโหม อาโป้ง เค้กจาปาดะ เป็นต้น มีการส่งเสริมการพัฒนาบรรจุภัณฑ์รวมถึงการศึกษาดูงานเพื่อเปิดโลกทัศน์และสร้างสมรรถนะความเข้มแข็งของกลุ่ม

31


๑ คณะ ๑ พื้ นที่ จังหวัดภูเก็ต

พื้ นที่บำ้ นป่ำสั กและบ้ำนโคกโตนด ตำบลเชิงทะเล อำเภอถลำง พื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านป่าสัก และหมู่ที่ 6 บ้านโคกโตนด ตาบลเชิงทะเล อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน คณะครุศาสตร์ได้ดาเนินกิจกรรมในพื้นที่ตาบลเชิงทะเล เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีสถานศึกษาที่ต้องการรับ การพัฒนาในการแก้ไขปัญหาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน และเป็นพื้นที่ที่มีปัญหาขยะมูลฝอย จึงได้บูรณาการกับ การเรียนการสอนโดยการนานักศึกษาลงพื้นที่เพื่อจัดกิจกรรมการปลูกฝังความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ไปพร้อมกับการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ให้กับนักเรียน นอกจากนี้ได้ดาเนินการจัดสวนเกษตรของโรงเรียน เพื่อปลูกผักในที่แคบ โดยจัดอบรมให้ ความรู้เรื่องการเลือกกิ่งพันธุ์และการขยายพันธุ์พืชสมุนไพรฟ้าทะลายโจร ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการทาปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยมูลไส้เดือนให้กับนักเรียน

32


๑ คณะ ๑ พื้ นที่ จังหวัดภูเก็ต

พื้ นที่ตำบลฉลอง อำเภอเมือง พื้นที่ หมู่ที่ 5 - 7 และโรงเรียนบ้านฉลอง ตาบลฉลอง อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัดอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือคนในชุมชน จานวน 10 ครัวเรือน มีการบูรณาการกับรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเพื่อจัดทาถังแก๊สชีวภาพ มีการออกแบบโดยใช้ วัสดุที่มีต้นทุนต่าและถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับชุมชนและครูในโรงเรียน บูรณาการกับรายวิชาการเป็นผู้ประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรมเพื่อส่งเสริมอาชีพการผลิตผ้ามัดย้อมผสมผสานลายบาติก มีการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและลวดลายที่มี เอกลักษณ์

33


๑ คณะ ๑ พื้ นที่ จังหวัดพั งงำ

พื้ นที่บำ้ นบำงทอง ตำบลบำงทอง อำเภอท้ำยเหมือง พื้นที่ หมู่ที่ 2 บ้านบางทอง ตาบลบางทอง อาเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน คณะวิทยาการจัดการได้ดาเนินกิจกรรมพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนและพัฒนาผู้ประกอบการชุมชน โดยมีการรวบรวมองค์ความรู้และจัดทาเป็นเล่มศักยภาพตาบลบางทอง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบเส้นทาง ท่องเที่ยว มีการอบรมการทาผ้ามัดย้อมเพื่อส่งเสริมอาชีพและพัฒนาทักษะวิชาชีพเกี่ยวกับการท่องเที่ยว เกิดแบบร่าง เพื่อจัดทาเส้นทางโดยชุมชน จานวน 3 แบบ คือ เส้นทางท่องเที่ยวทั่วไป เส้นทางท่องเที่ยวเกษตรเชิงสร้างสรรค์ และ เส้นทางท่องเที่ยวข้าวไร่ดอกข่า เกิดนวัตกรรมจากการออกแบบฉลากผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อม จานวน 1 นวัตกรรม มีการ จัดทาการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางออนไลน์ Youtube และ Facebook : เที่ยวหนุก กินคล่อง บางทองซิตี้

34


๑ คณะ ๒ จังหวัด จังหวัดละ ๒ พื้ นที่

พื้ นที่ชม ุ ชนท่ำเรือ ตำบลศรีสุนทร และชุมชนสำคู ตำบลสำคู อำเภอถลำง จังหวัดภูเก็ต พื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านท่าเรือ ตาบลศรีสุนทร อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต หมู่ที่ 4 บ้านสาคู ตาบลสาคู อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน

คณะเทคโนโลยี ก ารเกษตรได้ ล งพื้ น ที่ ด าเนิ น กิ จ กรรมลดรายจ่ า ยในครั ว เรื อ น และกิ จ กรรมปรั บ ปรุ ง สภาพแวดล้อมชุมชนในพื้นที่ชุมชนท่าเรือ 21 ครัวเรือน และชุมชนสาคู 44 ครัวเรือน รวมจานวน 65 ครัวเรือน โดยมีการบูรณาการกับรายวิชาการผลิตผักเพื่อการค้าและรายวิชาการจัดสวนและตกแต่งสถานที่ การดาเนินกิจกรรม เพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน ได้มีการจัดอบรมการทาสบู่สมุนไพรแบบก้อนและแบบเหลว จัดอบรมการทาน้ายา อเนกประสงค์เ พื่อ เป็น ผลิ ตภั ณ ฑ์ชุมชน และการอบรมการปลู กผั กในภาชนะเหลื อ ใช้ ส าหรั บกิ จกรรมปรั บปรุ ง สภาพแวดล้อมชุมชน ได้เลือกพื้นที่ส่วนกลางของชุมชนบริเวณวัดท่าเรือและแปลงเกษตรโรงเรียนวัดมงคลวราราม โดยนานักศึกษาร่วมกับชุมชนและโรงเรียนดาเนินการปรับปรุงพื้นที่

35


๑ คณะ ๒ จังหวัด จังหวัดละ ๒ พื้ นที่

พื้ นที่ตำบลท่ำอยู่ อำเภอตะกั่วทุ่ง และตำบลพรุใน อำเภอเกำะยำว จังหวัดพั งงำ พื้นที่ หมู่ที่ 4 ตาบลท่าอยู่ อาเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา หมู่ที่ 1 - 2 ตาบลพรุใน อาเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน

คณะเทคโนโลยีการเกษตรได้ดาเนินกิจกรรมการทาน้าพริกตะไคร้ในพื้นที่ตาบลท่าอยู่ อาเภอตะกั่วทุ่ง และ ดาเนินกิจกรรมทากะละแม ในพื้นที่ตาบลพรุใน อาเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา ซึ่งถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับคนใน ชุมชนจานวน 50 ครัวเรือน เพื่อมุ่งเน้นการส่งเสริมอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน โดยมีการบูรณาการกับ รายวิชาการประมงอันดามันและรายวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีการประมง และยังมีการติดตั้งโซล่า เซลล์ต้นแบบเพื่อเป็นการลดรายจ่ายด้านค่าไฟฟ้าครัวเรือน จากการสรุปผลดาเนินกิจกรรมพบว่าผลิตภัณฑ์กะละแม มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.27 และผลิตภัณฑ์น้าพริกตะไคร้มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 12

36


๑ คณะ ๒ จังหวัด จังหวัดละ ๒ พื้ นที่

พื้ นที่จง ั หวัดภูเก็ต จังหวัดพั งงำ และจังหวัดกระบี่ พื้นที่ หมู่ที่ 8 บ้านสวนมะพร้าว ตาบลไม้ขาว อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต หมู่ที่ 4 บ้านเกาะคอเขา ตาบลเกาะคอเขา อาเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา หมู่ที่ 9 บ้านในไร่ ตาบลนาเตย อาเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา หมู่ที่ 3 บ้านศาลาด่าน ตาบลศาลาด่าน อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้ดาเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับ คนในชุมชนฐานรากจากผักลิ้นห่าน ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ รวมทั้งสิ้น 80 ครัวเรือน เพื่อมุ่งเน้นการ สร้างรายได้เสริมให้กับคนในชุมชนจากความถนัดและความต้องการของชุมชน ซึ่งประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่มีอาชีพ เกษตรกรรม จึงได้ดาเนินการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกและขยายพันธุ์ผักลิ้นห่านในรูปแบบแปลงสาธิต ขนาด 2 x 4 เมตร มีการส่งเสริมการสร้างรายได้ผ่านการอบรมการนาผักลิ้นห่านมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อให้คน ในชุมชนสามารถนาผักลิ้นห่านสดไปจาหน่ายเพื่อเป็นรายได้เสริมหรือนามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. ประเภทเวชสาอาง ได้แก่ สบู่ก้อนและสบู่เหลว 2. ประเภทอาหาร ได้แก่ ผักลิ้นห่านดอง ผักลิ้นห่าน ต้มกะทิกุ้งสด และแกงส้มผักลิ้นห่าน 3. ประเภทขนมพื้นบ้าน ได้แก่ ขนมจาก ขนมชั้น ขนมทองม้วน และขนมเค้ก จากการดาเนินกิจกรรมได้มีการนาองค์ความรู้มาต่อยอดพัฒนานวัตกรรมชุมชนจากการแปรรูปผักลิ้นห่าน จานวน 2 นวัตกรรม คือ ขนมเต้าซ้อจากผักลิ้นห่าน และขนมเค้กจากผักลิ้นห่าน

37


๑ คณะ ๒ จังหวัด จังหวัดละ ๒ พื้ นที่

พื้ นที่ตำบลทุ่งคำโงกและเขตเทศบำลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพั งงำ พื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านบางกัน ตาบลทุ่งคาโงก อาเภอเมือง จังหวัดพังงา เขตเทศบาลเมือง อาเภอเมือง จังหวัดพังงา กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ดาเนินกิจกรรมเพื่อตอบโจทย์ประเด็นปัญหาความต้องการของชุมชนเพื่อ มุ่งเน้นสร้างรายได้เสริมให้กับคนในชุมชน ผ่านการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติทั้งออฟไลน์และออนไลน์ ได้แก่ การส่งเสริม อาชีพเพาะเห็ดพร้อมจัดทาคลิปวีดิโอแนวทางการปลูกผักโดยใช้ศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเพาะ เมล็ดพันธุ์พืชหน่อไม้น้า มีผู้เข้าร่วมจานวน 55 ครัวเรือน นอกจากนี้มีการส่งเสริมการตลาดออนไลน์ โดยบูรณาการ กับรายวิชาระบบสุขาภิบาล และรายวิชาการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหการ

38


๑ คณะ ๒ จังหวัด จังหวัดละ ๒ พื้ นที่

พื้ นที่ตำบลเกำะลันตำ อำเภอเกำะลันตำ และตำบลคลองประสงค์ อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ พื้นที่ หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 6 ตาบลเกาะลันตา อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ชุมชนบ้านเกาะกลาง ตาบลคลองประสงค์ อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัดกิจกรรมพัฒนาอาชีพตามศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแก่ครัวเรือนยากจน และกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการผลิตอาหารตามหลัก GMP โดยใช้ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ มีผู้เข้าร่วม จานวน 57 ครัวเรือน โดยบูรณาการกับรายวิชาการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์คหกรรมศาสตร์และรายวิชาการถนอม อาหาร มีการจัดอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการบรรจุและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ใหม่ โดยบูรณาการกับรายวิชาการเป็น ผู้ประกอบการธุรกิ จอุ ตสาหการ และรายวิ ชาการสร้า งสรรค์ ผลิ ตภัณ ฑ์ค หกรรมศาสตร์ ได้ แก่ เครื่อ งแกงต ามื อ ผลิตภัณฑ์ปลาเค็มจากตู้พลังงานแสงอาทิตย์ นอกจากนี้มีการส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงหอยขมและการทาปุ๋ยหมัก โดยบูรณาการกับรายวิชาระบบสุขาภิบาล

39


๑ คณะ ๒ จังหวัด จังหวัดละ ๒ พื้ นที่

พื้ นที่ตำบลเกำะแก้วและตำบลวิชต ิ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต พื้นที่ หมู่ที่ 3 บ้านสะปา และหมู่ที่ 6 บ้านเกาะมะพร้าว ตาบลเกาะแก้ว อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต หมู่ที่ 5 บ้านชิดเชี่ยว ตาบลวิชิต อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน

คณะวิ ท ยาการจั ด การได้ ด าเนิ น กิ จ กรรมที่ มุ่ งเน้ น การน าศาสตร์ แ ละองค์ ค วามรู้ ด้ า นการจั ด การและ การท่องเที่ยวโดยชุมชนไปพัฒนาชุมชนและสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน ผ่านการจัดกิจกรรมการพัฒนาและยกระดับ ทักษะวิชาชีพ มีการส่งเสริมอาชีพทารองเท้าแกะลายตามเอกลักษณ์ของท้องถิ่น จัดกิจกรรมยกระดับเครื่องแกงสด ประจาท้องถิ่น ส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงผึ้งโพรง มีการถ่ายทอดองค์ความรู้การทาบัญชีสาหรับธุรกิจ มีการจัดกิจกรรม การปลูกผักด้วยแปลงอัจฉริยะ จัดอบรมศาสตร์วิชาชีพการท่องเที่ยวและบริการ โดยบูรณาการกับรายวิชาการพัฒนา ทักษะวิชาชีพการท่องเที่ยวและบริการนานาชาติ รายวิชาการจัดโครงการการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน และ รายวิชาโครงการพิเศษด้านนวัตกรรมการออกแบบ

40


วทน.สู่ชม ุ ชน

วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีเพื่ อนวัตกรรมสู่ ชม ุ ชน จังหวัดอันดำมัน (ภูเก็ต พั งงำ และกระบี)่ พื้นที่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่ กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับ รายได้ให้ กับคนในชุ มชนฐานราก กิจกรรมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่ อนวั ตกรรมสู่ชุมชน (วทน.สู่ ชุมชน) ในพื้น ที่จังหวั ดพังงา มีก ารอบรมพั ฒนาอาชีพตามศาสตร์ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตให้กับประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 คื อ การผลิ ตยาหม่ อง การเพาะปลู กเห็ ดนางฟ้ า การเพาะปลู กพริ กไทย ผลิ ตภั ณฑ์ ปลาเค็ ม และการพั ฒนาผลิ ตภั ณฑ์ จากทางปาล์ม เช่น ตะกร้าสานทางปาล์ม เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์สู่ธุรกิจชุมชนให้มีความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน ให้กับชุมชน กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่จังหวัดพังงาได้รับความรู้ในการประกอบอาชีพ โดยการเสริมการบริหารจัดการมาประยุกต์กับการทางาน และคณะทางานได้นาโจทย์ปัญหาความต้องการมาบูรณาการการ กับการจัดการเรียนการสอนโดยการมีส่วนร่วมของนักศึกษา ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยี แม้ว่าจะมีช่วงปิดภาคเรียนและเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่รุนแรงในบางช่วงเวลา แต่นักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะวิศวกรสังคม ตลอดจนทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 โดยสื่อสาร ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการหารือการทางานร่วมกัน ทาให้ชุมชนได้ผลผลิตทางการเกษตร การเพาะพันธุ์ เมล็ดพืช การเพาะเห็ด การขยายพั นธุ์หน่ อไม้น้ า ซึ่งกระบวนการสร้ างองค์ความรู้ดังกล่าวเพิ่มมู ลค่า และคุณภาพสินค้ าต่อยอดจากปีที่ผ่ านมา สร้างรายได้ในกลุ่มชุมชน จานวน 55 ครัวเรือน

41


ศำสตร์พระรำชำเพื่ อกำรพั ฒนำที่ยั่งยืน พื้นที่ จังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ และตรัง กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก กิจกรรมศาสตร์พระราชาเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งศูนย์กสิกรรมธรรมชาติอันดามัน ได้จัดกิจกรรมเพื่อฝึกอบรมให้กับกลุ่มเป้าหมายได้สร้างอาชีพด้วย ศาสตร์พระราชาและเรียนรู้หลักสูตรกสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้

กิจกรรมอบรมหลักสูตรกสิกรรมธรรมชาติ ๕ วัน ๔ คืน กิจกรรมที่ ๑ อบรมหลักสูตรกสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง ๕ วัน ๔ คืน (รุ่นที่ ๔) ระหว่างวันที่ ๔ – ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติอันดามัน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มีผู้เข้าร่วมอบรม จานวน ๗๐ คน กิจกรรมที่ ๒ อบรมหลักสูตรกสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง ๕ วัน ๔ คืน (รุ่นที่ ๕) ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติอันดามัน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มีผู้เข้าร่วมอบรม จานวน ๗๐ คน กิจกรรมที่ ๓ อบรมหลักสูตรกสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง ๕ วัน ๔ คืน (รุ่นที่ ๖) ระหว่างวันที่ ๔ – ๘ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติอันดามัน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มีผู้เข้าร่วมอบรม จานวน ๖๓ คน

กิจกรรมอบรมหลักสูตรการออกแบบพื้นที่ โคกหนองนาโมเดล 4 วัน 3 คืน อบรมหลักสูตรการออกแบบพื้นที่ โคกหนองนาโมเดล ๔ วัน ๓ คืน ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติอันดามัน มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต มีผู้เข้าร่วมอบรม จานวน ๔๕ คน

42


ศำสตร์พระรำชำเพื่ อกำรพั ฒนำที่ยั่งยืน (ต่อ) กิจกรรมซอแรงสามัคคี สร้างโคกหนองนาต้นแบบ จานวน ๑๐ ครั้ง โคกหนองนาอันดามัน ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่สู่การปฏิบัติ ครั้งที่ ๑ กิจกรรมซอแรงสามัคคี ณ สวนชยพล อาเภอทับปุด จังหวัดพังงา ครั้งที่ ๒ กิจกรรมซอแรงสามัคคี ณ จวนผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต ครั้งที่ ๓ กิจกรรมซอแรงสามัคคี ณ จวนผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต ครั้งที่ 4 กิจกรรมซอแรงสามัคคี ณ จวนผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต ครั้งที่ 5 กิจกรรมซอแรงสามัคคี ณ สวนนายายเจียร ตาบลเหล อาเภอกะปง จังหวัดพังงา ครั้งที่ 6 กิจกรรมซอแรงสามัคคี ณ บ้านนบปริง ตาบลสองแพรก อาเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา ครั้งที่ 7 กิจกรรมซอแรงสามัคคี ณ บ้านชาร์เตอร์ อาเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต ครั้งที่ 8 กิจกรรมซอแรงสามัคคี ณ เกาะมะพร้าว ตาบลเกาะแก้ว อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ครั้งที่ 9 กิจกรรมซอแรงสามัคคี ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและเยาวชน เขต 11 จังหวัดพังงา ครั้งที่ 10 กิจกรรมซอแรงสามัคคี ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติอันดามัน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

43


ศำสตร์พระรำชำเพื่ อกำรพั ฒนำที่ยั่งยืน (ต่อ) กิจกรรมการฝึกอบรมสร้างทักษะอาชีพด้วยศาสตร์พระราชาในพื้นที่เป้าหมาย จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ จานวน 5 ครั้ง ครั้งละ ๒ วัน ครั้ ง ที่ 1 อบรมหลั ก สู ต รการท าน้ ายาอเนกประสงค์ คนมี น้ ายารุ่ น ที่ 1 ณ ศู น ย์ ก สิ ก รรมธรรมชาติ อั น ดามั น มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้ ง ที่ 2 อบรมหลั ก สู ต รการท าน้ ายาอเนกประสงค์ คนมี น้ ายารุ่ น ที่ 2 ณ ศู น ย์ ก สิ ก รรมธรรมชาติ อั น ดามั น มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 3 อบรมหลักสูตรผ้ามัดย้อม ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติอันดามัน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 4 อบรมหลักสูตร Eco-printing การพิมพ์สี การย้อมสีผ้าบาติกด้วยพรรณไม้พืชในท้องถิ่น ครั้งที่ 5 อบรมหลักสูตรผ้ามัดย้อม ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติอันดามัน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต กิจกรรมการฝึกอบรมสร้างทักษะอาชีพด้วยศาสตร์พระราชาในพื้นที่จังหวัดตรัง จานวน 2 ครั้ง ครั้งละ ๒ วัน โดยมีการบรรยายและการลงมือปฏิบัติ ได้แก่ หลักกสิกรรมธรรมชาติ การสร้างแหล่งอาหาร เริ่มต้นที่ดิน เลี้ยงดิน แห้งชามน้าชาม ปุ๋ยหมักอินทรีย์ชีวภาพ และการทาผลิตภัณฑ์ในครัวเรือน ได้แก่ น้ายาอเนกประสงค์ สบู่ แชมพู ยาดมสมุนไพร ยาสีฟัน รวมทั้งการทาบัญชีครัวเรือน และรายรับรายจ่ายอย่างง่าย ครั้งที่ ๑ กิจ กรรมการฝึ กอบรมทักษะอาชีพตามศาสตร์พ ระราชา หลักสู ตร ชีวิ ตวิถี ใหม่ พึ่งตนได้อ ย่างพอเพีย ง ณ ศาลาอเนกประสงค์ ตาบลหนองตรุด อาเภอเมือง จังหวัดตรัง ครั้งที่ 2 กิจ กรรมการฝึ กอบรมทักษะอาชีพตามศาสตร์พ ระราชา หลักสู ตร ชีวิ ตวิถี ใหม่ พึ่งตนได้อ ย่างพอเพีย ง ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต วิทยาเขตตรัง ตาบลนาบินหลา อาเภอเมือง จังหวัดตรัง

44


โครงการพั ฒนาผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

การดาเนินโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาหลัก คือ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ การรับรอง การตรวจสอบมาตรฐาน การควบคุมมาตรฐานการผลิต บรรจุภัณฑ์ แผนธุรกิจ การตลาดออนไลน์ การจัดทาบัญชี ครัวเรือน และการจัดการต้นทุนการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น มาตรฐาน และคุณภาพผลิตภัณฑ์ หรือการรับรองเป็นปัญหาหลักทาให้ไม่สามารถ เข้าถึงตลาดการแข่งขันที่สูงขึ้นได้ ดังนั้นการยกระดับสินค้าชุมชนท้องถิ่นจึงสามารถช่วยให้ผู้ประกอบการรายย่อย ที่มีความพร้อมเข้าร่วมโครงการ สามารถยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน และแข่งขันในตลาดได้ ผลการดาเนินงานตาม พระบรมราโชบายในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 และยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่นระยะ ๒๐ ปี (๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้ดาเนินโครงการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น (OTOP) ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ จานวน 23 ผลิตภัณฑ์ โดยมีผลการ ดาเนินงาน ดังนี้ 1. มีผลิตภัณฑ์ใหม่ จานวน 6 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ผงหมักเนื้อจากสับปะรด ชีสนมแพะ ผลิตภัณฑ์จากสับปะรด (โลชั่นบารุงผิว /ครีมบารุงผิวหน้า / สลิปปิ้งมาร์ค / สบู่เหลว) ผลิตภัณฑ์จากข้าวไร่ดอกข่า (สครับขัดผิว / สบู่เหลว / เซรั่ม / โลชั่นน้านมข้าว) โรตีกรอบ ผลิตภัณฑ์จากน้าผึ้ง 2. ผลิตภัณฑ์เข้ารับการคัดสรรตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนท้องถิ่น (OTOP) ประจาปี พ.ศ. 2564 จานวน 14 ผลิตภัณฑ์ ส่งผลให้ชุมชนมีรายได้สูงขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 66.26 ผลผลิต (Output) นักศึกษาและอาจารย์ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นด้านเศรษฐกิจ ผ่านกระบวนการบูรณาการกั บ การเรียนการสอนในการถ่ายทอดองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ในการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน อัตลักษณ์ของท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ ผลลัพธ์ (Outcome) ผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นที่เข้าร่วมได้รับการพัฒนาและยกระดับให้มีมาตรฐาน และคุณภาพที่สูงขึ้นตาม มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) และ GMP จานวน 14 ผลิตภัณฑ์ ผลกระทบ (Impact) 1. ผู้ประกอบการ / วิสาหกิจชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น 2. เกิดความผูกพันระหว่างบุคคลในชุมชน และเครือข่ายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 3. สร้างความเข้ มแข็งให้แก่ชุมชนท้อ งถิ่น โดยพัฒนาต่อยอดและสร้างมู ลค่าเพิ่ มให้แ ก่สินค้า ผลิตภัณ ฑ์ชุมชน เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ให้แก่ชุมชนนาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ นอกจากนี้คณาจารย์หรือผู้ให้บริการวิชาการ สามารถนาประสบการณ์มาพัฒนาการเรียนการสอนหรือต่อยอดงานวิจัยได้ 45 4. ส่งเสริมการพัฒนาประเทศจากเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้เข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ


โครงการพั ฒนาผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในพื้นที่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และ จังหวัดกระบี่ ได้คัดเลือกประเภทผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น จานวน 4 ประเภท 23 ผลิตภัณฑ์ คือ อาหาร สมุนไพรที่ เป็นอาหาร สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร และ ของใช้ / ของตกแต่ง / ของที่ระลึก ดังนี้

จังหวัดภูเก็ต จานวน 8 ผลิตภัณฑ์ ลาดับ 1.

ประเภทผลิตภัณฑ์ อาหาร

2.

ผลิตภัณฑ์ ขนมทองพับ เพาะเห็ด / เห็ดแปรรูป

ชื่อกลุ่ม ป้าแสงขนมทองม้วน สูตรโบราณ สัมมาชีพชุมชน บ้านแหลมพันวา กลุ่มวิสาหกิจชุมชน สัปปะรดภูเก็ต ศูนย์เรียนรู้ปศุสัตว์ อินทรีย์ (การเลี้ยงแพะนม)

อาเภอ ถลาง เมืองภูเก็ต

3.

อาหาร

ผงหมักเนื้อจากสับปะรด

4.

อาหาร

ชีสนมแพะ

5. 6.

อาหาร เกลือเคย ของใช้ / ของตกแต่ง / กระเช้าไม้ไผ่ ของที่ระลึก

เกลือเคยภูเก็ต ศูนย์เรียนรู้การ พัฒนาเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านกู้กู

กะทู้ เมืองภูเก็ต

7.

ของใช้ / ของตกแต่ง / ผ้าบาติก ของที่ระลึก สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ผลิตภัณฑ์จากสับปะรด (โลชั่น บารุงผิว / ครีมบารุงผิวหน้า / สลิปปิ้งมาร์ค / สบู่เหลว)

ยิ่งบาติกเพ้นท์

เมืองภูเก็ต

กลุ่มวิสาหกิจชุมชน สัปปะรดภูเก็ต

ถลาง

8.

46

ถลาง ถลาง


โครงการพั ฒนาผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

จังหวัดพังงา จานวน 7 ผลิตภัณฑ์ ลาดับ 1.

ประเภทผลิตภัณฑ์ อาหาร

แหนมเห็ด

2.

อาหาร

คุกกี้ปลาฉิ้งฉ้าง

3.

อาหาร

เมี่ยงคากรอบ

4.

อาหาร

น้าพริกกะทือ

5.

ของใช้ / ของตกแต่ง / ผ้ามัดย้อม ของที่ระลึก ของใช้ / ของตกแต่ง / กระเป๋าเชือกมัดฟาง ของที่ระลึก สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ผลิตภัณฑ์จากข้าวไร่ดอกข่า (สครับขัดผิว / สบู่เหลว / เซรั่ม / โลชั่นน้านมข้าว)

6. 7.

ผลิตภัณฑ์

ชื่อกลุ่ม กลุ่มสัมมาชีพชุมชน เกาะยาวน้อย กลุ่มสัมมาชีพชุมชน เกาะยาวน้อย กลุ่มอาชชีพ บ้านพอแดง กลุ่มน้าพริกสมุนไพร บ้านสวนพริก กลุ่มสตรีผ้ามัดย้อม ปากแดง กลุ่มสตรีตาบลตาตัว

อาเภอ เกาะยาว เกาะยาว ท้ายเหมือง เมืองพังงา เกาะยาว ตะกั่วป่า

วิสาหกิจชุมชนศูนย์ ท้ายเหมือง แปรรูปข้าวไร่ดอกข่า บ้านแร่

จังหวัดกระบี่ จานวน 8 ผลิตภัณฑ์ ลาดับ 1.

ประเภทผลิตภัณฑ์ อาหาร

ผลิตภัณฑ์ ปลาส้ม

2.

อาหาร

เครื่องแกงตามือ บ้านไร่ใหญ่

3.

อาหาร

เครื่องแกงตามือบ้านเขางาม

4.

อาหาร

ปลาดุกร้า

ชื่อกลุ่ม กลุ่มสัมมาชีพ บ้านนอกนา แม่บ้านร่มจามจุรี บ้านไร่ใหญ่ เครื่องแกงตามือ บ้านเขางาม ศูนย์เรียนรู้การเพิ่ม ประสิทธิภาพ การผลิตสินค้า

อาเภอ เมืองกระบี่ เหนือคลอง อ่าวลึก เขาพนม 47


โครงการพั ฒนาผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

จังหวัดกระบี่ จานวน 8 ผลิตภัณฑ์ (ต่อ) ลาดับ 5. 6.

ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ อาหาร โรตีกรอบ สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ผลิตภัณฑ์จากน้าผึ้ง

7.

ของใช้ / ของตกแต่ง / เรือแจวจาลอง ของที่ระลึก

8.

ของใช้ / ของตกแต่ง / ผ้าบาติก ของที่ระลึก

ชื่อกลุ่ม สตรีพัฒนานิคม วิสาหกิจชุมชนเลี้ยง ผึ้งโพรงบ้านเขาค้อม วิสาหกิจชุมชน ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ทุ่งหยีเพ็ง ลันตาบาติก

อาเภอ คลองท่อม เมืองกระบี่ เกาะลันตา

เกาะลันตา

กระบวนการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดาเนินงาน ดังนี้ 1. ลงพื้นที่ส ารวจข้ อมูล ศึ กษาศัก ยภาพ ความพร้อม ความต้องการของผู้ประกอบการ เพื่อ ศึกษาวิ เคราะห์ การยกระดั บ มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ จั ด ท าแผนธุ ร กิ จ การท าบั ญ ชี การสร้ า งเรื่ อ งราวน าเสนอผลิ ต ภั ณ ฑ์ และการตลาดออนไลน์ 2. รวบรวมข้อ มูล วิ เคราะห์ก ารพัฒ นาผลิ ตภัณ ฑ์ ทดลองวิ ธีการผลิต ทดลองสูต ร การพัฒ นา กระบวนการ เทคโนโลยีการบรรจุ และบรรจุภัณฑ์ 3. ศึกษา วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ ทดสอบผลิตภัณฑ์ อายุการเก็บรักษา และ / หรือ ตรวจคุณค่าทางโภชนาการ 4. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ พร้อมจัดพิมพ์บรรจุภัณฑ์ เพื่อการทดลองการตลาด 5. ถ่ายทอดองค์ความรู้อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ประกอบการ / กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 6. บูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการบริการวิชาการ 7. ประเมินผลความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

48


โครงการพั ฒนาผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

รูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น ลาดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23.

ผลิตภัณฑ์

ขนมทองพับ เพาะเห็ด / เห็ดแปรรูป ผงหมักเนื้อจากสับปะรด ชีสนมแพะ เกลือเคย กระเช้าไม้ไผ่ ผ้าบาติก ผลิตภัณฑ์จากสับปะรด (โลชั่นบารุงผิว / ครีมบารุงผิวหน้า / สลิปปิ้งมาร์ค / สบู่เหลว) แหนมเห็ด คุกกี้ปลาฉิ้งฉ้าง เมี่ยงคากรอบ น้าพริกกะทือ ผ้ามัดย้อม กระเป๋าเชือกมัดฟาง ผลิตภัณฑ์จากข้าวไร่ดอกข่า (สครับขัดผิว / สบู่เหลว / เซรั่ม / โลชั่นน้านมข้าว) ปลาส้ม เครื่องแกงตามือ อาเภอเหนือคลอง เครื่องแกงตามือ อาเภออ่าวลึก ปลาดุกร้า โรตีกรอบ ผลิตภัณฑ์จากน้าผึ้ง เรือแจวจาลอง ผ้าบาติก

รูปแบบการพัฒนา พัฒนาสูตรและบรรจุภัณฑ์ พัฒนาสูตรและบรรจุภัณฑ์ พัฒนาสูตรและบรรจุภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ พัฒนาสูตรและบรรจุภัณฑ์ พัฒนาสูตรและบรรจุภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ พัฒนาสูตรและบรรจุภัณฑ์ พัฒนาสูตรและบรรจุภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ พัฒนาสูตรและบรรจุภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ 49


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

ขนมทองพั บ ผู้ประกอบการ : นางสมแสง หนูน้อย กลุ่มขนมทองพับป้าแสง สถานที่ตั้ง : 171/2 หมู่ที่ 5 ตาบลศรีสุนทร อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : 095 035 8357 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน กลุ่มขนมทองพับป้าแสง เป็นกลุ่มขนมทองพับที่เป็นสูตรดั้งเดิม ซึ่งขนมสูตรดั้งเดิมมีรสชาติ หวาน มัน กรอบ ได้มีการพัฒนามาเรือ่ ย ๆ จนขึ้นทะเบียนสินค้า OTOP ของตาบลศรีสุนทร มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้เข้าไป พัฒนาด้านการผลิตอาหารที่ได้มาตรฐาน GMP ใช้อุปกรณ์ ชั่ง ตวง วัด เพื่อบันทึกสูตร มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งสิ้น 3 สูตร คือ รสดั้งเดิม รสเค็ม และรสทุเรียน พัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย เพื่อรักษาความกรอบและ ยื ด อายุ ก ารเก็ บ รั ก ษา ทั้ งสิ้ น 3 แบบ คื อ ซองใสปิ ด ผนึ ก ด้ ว ยความร้ อ น กล่ อ งพลาสติ ก และกล่ อ งสแตนเลส มีการออกแบบตราสินค้าและฉลากคุณค่าทางโภชนาการ เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า รวมถึงการส่งเสริมการจาหน่าย ผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook : ขนมทองพับสูตรดั้งเดิมภูเก็ต by ป้าแสง

50


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

แหนมเห็ดพั นวำ ผู้ประกอบการ : นายสนธยา อุตสาหะ กลุ่มสัมมาชีพชุมชนบ้านแหลมพันวา สถานที่ตั้ง : 13/17 หมู่ที่ 8 ตาบลวิชิต อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : 089 650 9945 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตลงพื้นที่ดาเนินการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการเพาะเห็ดนางฟ้าและแปรรูปเป็น แหนมเห็ดนางฟ้า เพื่อส่งเสริมอาชีพให้กับชุมชนและเป็นต้นแบบต่อยอดการแปรรูปเห็ดนางฟ้าสู่ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ให้ กับ กลุ่ มสั มมาชี พเพาะเห็ด บ้า นแหลมพั นวา เพื่ อสร้ างรายได้เ สริ มให้กั บคนในชุ มชนควบคู่ไ ปกั บอาชี พหลั ก มีการถ่ายทอดองค์ความรู้การเพาะเลี้ยงเห็ดนางฟ้าให้ชุมชน เพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์แหนมเห็ดนางฟ้า มีการ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ ออกแบบตราสินค้า และฉลากคุณค่าทางโภชนาการ รวมถึงสร้างช่องทางการตลาดออนไลน์ผ่าน Facebook : กลุ่มสัมมาชีพชุมชนบ้านแหลมพันวา

51


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

ผงและซอสหมักเนื้อจำกสั บปะรด ผู้ประกอบการ : นายณวิชยั แซ่ตนั กลุ่มวิสาหากิจชุมชนสับปะรดภูเก็ต สถานที่ตั้ง : 99/1 หมู่ที่ 4 ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : 081 271 4598 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน สับปะรดภูเก็ตหรือที่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “ยานัด” เป็นผลไม้ประจาจังหวัด ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่มีความเป็น เอกลักษณ์ ถือเป็นผลไม้เศรษฐกิจของจังหวัดภูเก็ต โดยประชาชนหันมาสนใจปลูกและสร้างรายได้ให้กับตนเองและ ชุมชน ซึ่งนอกจากขายผลสดแล้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้นามาต่อยอดพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ผงหมักเนื้อและ ซอสหมักเนื้อจากสับปะรดภูเก็ต เพื่อเพิ่มคุณภาพการบริโภค คือ ทาให้เนื้อนุ่มขึ้น เพิ่มปริมาณใยอาหาร วิตามิน และมีแร่ธาตุสูง ซึ่งการแปรรูปสับปะรดจะเป็นทางเลือกให้กับลูกค้าได้และขยายกลุ่มลูกค้ามากขึ้น มีการพัฒนา ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากสับปะรดภูเก็ต 2 ผลิตภัณฑ์ คือ ผงหมักเนื้อ และซอสหมักเนื้อรสบาร์บีคิว โดยถ่ายทอด องค์ความรู้และเทคโนโลยีการแปรรูปจากผลสับปะรดเป็นผงและซอส มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย เพื่อรักษา คุณค่า และยืดอายุก ารเก็บรั กษา มีก ารออกแบบตราสิน ค้าและฉลากคุณค่ าทางโภชนาการ และสร้า งช่อ งทาง การตลาดออนไลน์ผ่าน Facebook : สับปะรดภูเก็ต

52


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

ชีสนมแพะ ผู้ประกอบการ : นายอัคระ ธิติถาวร ศูนย์เรียนรูป้ ศุสตั ว์อินทรีย ์ (การเลีย้ งแพะนม) สถานที่ตั้ง : กลุ่มอัคระฟาร์ม 43/1 บ้านพรุจาปา หมู่ที่ 3 ตาบลเทพกระษัตรี อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : 081-2714598 และ 089-196-6003 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน กลุ่มอัคระฟาร์ม จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ปศุสัตว์อินทรีย์ขึ้น โดยมุ่งหวังให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการเลี้ยง แพะนมแบบอินทรีย์เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ รวมถึงยังคงการเลี้ยงแพะนมแบบวิธีธรรมชาติ ทางกลุ่มมีความ ต้อ งการพั ฒนาผลิต ภั ณ ฑ์น มแพะในรูป แบบอื่ น ๆ เพิ่ม มากขึ้ น เพื่ อ เป็น ทางเลื อกให้ กลุ่ ม ลู กค้ า ได้ห ลากหลาย มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงได้ร่วมกันพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ชีสนมแพะ เป็นการเพิ่มโอกาสทางการตลาด และเพิ่มกลุ่มเป้าหมายใหม่ที่ชอบบริโภคชีสและการนาชีสไปเป็นส่วนประกอบอาหารประเภทต่าง ๆ โดยชีสนมแพะ ถือว่ามีคุณค่าทางโภชนาการสูง เหมาะกับกลุ่มรักสุขภาพและผู้ที่แพ้นมวัว นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์โดย บรรจุในขวดแก้วเพื่อง่ ายต่อการใช้งานและเก็บรักษา คงคุณค่าของผลิตภัณฑ์ ได้เป็นอย่ างดี โดยมหาวิทยาลั ย ราชภัฏภูเก็ตได้พัฒนาและต่อยอดผลิตภัณฑ์แปรรูปจากนมแพะเป็น ชีสนมแพะ 2 สูตร คือ สูตรดั้งเดิม และสูตรรสมะนาว มีการถ่ายทอดองค์ ความรู้และเทคโนโลยี การแปรรู ป มี การพั ฒนาบรรจุ ภั ณฑ์ให้ ทั นสมั ย ได้ มาตรฐาน และยื ดอายุ การเก็บ รั กษา ออกแบบตราสิ นค้ า และฉลากคุณ ค่า ทางโภชนาการ และสร้ า งช่ องทางการตลาดออนไลน์ผ่ า น Facebook : นมแพะพรุจาปา - ภูเก็ต

53


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

เกลือเคยภูเก็จ ผู้ประกอบการ : คุณขนิษฐา ชาญกล และคุณยงยุทธ ชาญกล สถานที่ตั้ง : ร้านเกลือเคยภูเก็จ 12/2 หมู่ที่ 3 ตาบลกะทู้ อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : 076-321510 และ 083-6321887 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ร้านเกลือเคยภูเก็จ เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลากว่า 15 ปี “เกลือเคยภูเก็จ” เป็นอาหารพื้นเมืองภูเก็ต ได้รับอิทธิพลมาจากเมืองปีนัง ประเทศมาเลเซีย ที่นั่นจะเรียกว่า “โรจั๊ก (Rojak)” รสชาติ และหน้าตาคล้าย “น้าปลาหวาน” นิยมใช้รับประทานกับผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวต่าง ๆ ถ้าในท้องถิ่นภูเก็ต นอกจาก จะรับประทานคู่กับผลไม้จะมีเลือดหมูด้วย หรือเรียกว่า “เกลือเคยเลือดหมู” เป็นอาหารว่างที่นิยมรับประทานของ คนภูเก็ตเชื้อสายมลายู - จีน และคนภูเก็ตท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน GMP ใช้อุปกรณ์ ชั่ง ตวง วัด เพื่อบันทึกสูตร มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย ได้มาตรฐาน และยืดอายุการเก็บรักษา ออกแบบตราสิ น ค้ า และฉลากคุ ณ ค่ า ทางโภชนาการ และสร้ า งช่ อ งทางการจั ด จ าหน่ า ยผ่ า นตลาดออนไลน์ Facebook และ Shopee : เกลือเคยภูเก็จ

54


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

ตะกร้ำสำนไม้ไผ่ ผู้ประกอบการ : นายจารัส ภูมิถาวร ศูนย์การเรียนรูก้ ารพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงกูก้ ู สถานที่ตั้ง : 9/9 หมู่ที่ 3 บ้านกู้กู ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : 083 594 2939 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงบ้านกู้กู ยึดมั่นการดาเนินงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ สมาชิกในกลุ่มมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และพอเพียงในการดาเนินชีวิต รวมไปถึงการส่งเสริมอาชีพการสานตะกร้าไม้ไผ่ หรือ ที่คนภูเ ก็ต เรี ยกว่ า “ชะ” เพื่ อสร้ างรายได้ใ ห้กั บคนในชุมชน สร้า งเป็ นอั ตลัก ษณ์ ของท้อ งถิ่น และต่อ ยอด ผลิตภัณฑ์ให้มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตพบว่าการใช้ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติของศูนย์สามารถ นามาบุ ภายในเพื่ อแก้ ปัญ หาช่ องว่า งจากการสานไม้ ไผ่แ ละยังเพิ่ม มูล ค่าผลิต ภัณ ฑ์ได้ ด้ว ย จึ งได้พั ฒนาต่อ ยอด ผลิตภัณฑ์ให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น โดยใช้ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติบุภายใน มีการประยุกต์ใช้หนังเพื่อทาเป็นสายของตะกร้า ออกแบบลวดลายตะกร้า เพิ่มความสวยงามให้กับผลิตภัณฑ์ มีการออกแบบฉลากสินค้าให้ทันสมัย และเพิ่มเรื่องราว ของแหล่งผลิต และสร้างช่องทางการตลาดออนไลน์ผ่าน Facebook : KookuHerbsCare

55


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

ผ้ำบำติก กลุ่มยิ่งบำติก ผู้ประกอบการ : นายพิสิฐ เทพทอง ศูนย์การเรียนรู้การทาผ้าบาติก (ยิ่งบาติกเพ้นท์) สถานที่ตั้ง : 57/1 หมู่ที่ 6 ตาบลวิชิต อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : 081 855 7939 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ผ้า บาติ ก เป็ น ที่ รู้ จั ก กั น ดี ใ นภู เ ก็ ต และเป็ น ผ้ า ที่ มี อั ตลั ก ษณ์ พิ เ ศษ ในเรื่ อ งการวาดลวดลายและสี สั น จากช่ างฝี มือผลิตภั ณฑ์บ าติก นอกจากเน้ นการสร้ างสรรค์ล วดลาย จิตกรรมแล้ว ยังสะท้อ นวัฒ นธรรมท้ องถิ่ น อัตลักษณ์ชุมชน การผลิตผ้า บาติกนอกจากออกมาในรู ปแบบผืน ผ้า ยังสามารถต่ อยอดกับ การผลิต สินค้าอื่น ๆ เพื่อสร้างโอกาสให้ลูกค้ าได้เลือกมากขึ้น กลุ่มยิ่งบาติกสืบทอดงานหัตถกรรมผ้าบาติกให้กับชุมชนหรือผู้ ที่สนใจ การทาผ้ าบาติก โดยหวังว่ ากลุ่ มของคนรุ่นใหม่ จ ะมาสนใจเรี ยนรู้ สืบทอดมากยิ่ งขึ้น มหาวิท ยาลั ยราชภัฏ ภูเก็ ต ได้เข้าไปส่งเสริมและพัฒนารูปแบบลวดลายและผลิตภัณฑ์จากผ้าบาติกให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายใหม่ เน้นใช้สี และลวดลายตามธรรมชาติ (Eco-printing) เพิ่มเอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละชิ้น นอกจากพัฒนาผลิตภัณฑ์แล้ว ได้มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ใหม่เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ โดยใช้ลวดลายปลาเพื่อคงเอกลักษณ์ของกลุ่มยิ่งบาติก

56


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

เวชสำอำงจำกสับปะรด ผู้ประกอบการ : วิสาหกิจชุมชนสับปะรดภูเก็ต (ANANA) สถานที่ตั้ง : 99/1 หมู่ที่ 4 ตาบลป่าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : 081 271 4598 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน สับ ปะรดภูเ ก็ต เป็ นผลไม้ ท้อ งถิ่ นประจาจั งหวัด ภูเ ก็ต วิ สาหกิจ ชุม ชนสับ ปะรดภู เก็ ตมี แนวคิ ดแปรรู ป ผลิตภัณฑ์จากสับปะรดภูเก็ต ทั้งในรูปแบบอาหารและไม่ใช่อาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงได้มีการสารวจความ ต้องการร่วมกับชุมชน จึงได้แนวทางการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เวชสาอางที่มีส่วนผสมจากสับปะรดภูเก็ต นอกจาก สับปะรดภูเก็ตจะโดดเด่นเรื่องรสชาติ ยังอุดมไปด้วยวิตามินที่มีประโยชน์กับผิวพรรณ โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ่าน การวิจัยและทดลองในห้องแลปตามมาตรฐานเวชสาอาง ให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่สามารถใช้กับผิวพรรณและบริเวณใบหน้า และยังมีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ตามมาตรฐานเพื่อให้สามารถเก็บรักษาและเพิ่มมูลค่าสินค้า มีการออกแบบฉลากและ ตราสิ นค้า ภายใต้ชื่อ “ANANA” ซึ่งมี ผลิต ภัณฑ์ที่ ได้จากการพัฒนา คือ โฟมล้างหน้า เจลแต้ มสิว ครีมหน้าใส และโลชั่นทาผิว

57


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

แหนมเห็ดเกำะยำวน้อย ผู้ประกอบการ : กลุ่มสัมมาชีพชุมชนเกาะยาวน้อย สถานที่ตั้ง : 22/9 หมู่ที่ 5 ตาบลพรุใน อาเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : 081 078 8146 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน กลุ่มสัมมาชีพชุมชนเกาะยาวน้อย จังหวัดพังงา เดิมมีการเพาะเห็ดขายเพื่อหารายได้สู่ชุมชน และสร้าง อาชีพให้กับคนในชุมชน และมีแนวคิดที่จะแปรรูปเห็ดให้มีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายและสามารถสร้างรายได้ให้กับ ชุมชนเพิ่มมากขึ้น โดยกลุ่มมีพื้นฐานในการทาอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงได้เข้าไปส่งเสริมและพัฒนาให้มี ผลิต ภัณ ฑ์แหนมเห็ด ขึ้น ในปัจ จุบัน กลุ่ มสัม มาชีพชุ มชนเกาะยาวน้อ ยมีวิ ธีก ารผลิต ให้ไ ด้คุ ณภาพ ปรับ รูป แบบ และขนาด รวมถึงออกแบบตราสินค้าและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ตามความต้องการของตลาด และมีการสร้างช่องทางการ จัดจาหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์มากขึ้นด้วย

58


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

คุกกี้ปลำฉิ้งฉ้ำง ผู้ประกอบการ : กลุ่มสัมมาชีพชุมชนเกาะยาวน้อย สถานที่ตั้ง : 22/9 หมู่ที่ 5 ตาบลพรุใน อาเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : 081 078 8146 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ปลาฉิ้ งฉ้ างเป็ นสิ นค้ าประจาท้อ งถิ่ นของอาเภอเกาะยาว แต่เ นื่อ งจากเกิ ดปั ญหาจากสิน ค้า ล้น ตลาด กลุ่มสัมมาชีพชุมชนเกาะยาวน้อยจึงมีความคิดที่จะแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาฉิ้งฉ้าง มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงได้ เข้ามาพัฒนาให้เกิดการแปรรูปปลาฉิ้งฉ้างเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถสร้างรายได้มากขึ้น ซึ่งกลุ่มมีพื้นฐานเกี่ยวกับ การทาอาหารและขนม จึงได้แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็นคุ้กกี้ปลาฉิ้งฉ้างที่มีความแปลกใหม่แต่คงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ ของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น จึ ง มี ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ไ ด้ ม าตรฐาน รสชาติ ค งที่ ผ่ า นกระบวนการผลิ ต ที่ ส ะอาด มีการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาและการยืดอายุการเก็บรักษา เกิดการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีฉลากสินค้าและ ตราสินค้าตามมาตรฐานสากล โดยออกแบบให้มีความน่าสนใจและสามารถเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ ตลอดจน การช่วยส่งเสริมการจาหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อขยายกลุ่มผู้บริโภคทาให้เกิดรายได้เพิ่มมากขึ้น

59


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

เมี่ยงคำกรอบ ผู้ประกอบการ : กลุ่มอาชีพบ้านพอแดง (เมี่ยงคากรอบป้ากุ่ย) สถานที่ตั้ง : ตาบลท้ายเหมือง อาเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : 084 851 3503 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน เมี่ยงคากรอบเป็นอาหารที่มีการดัดแปลงเมี่ยงคาธรรมดาให้สามารถรับประทานได้ง่าย มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ตจึงได้พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์เมี่ยงคากรอบ โดยพัฒนาสูตรและรสชาติให้คงที่ มีกระบวนการ ผลิตที่ได้มาตรฐาน ซึ่งวัตถุดิบที่ใช้ คือ มะพร้าวในตาบลท้ายเหมือง ที่มีความหอมมันอันเป็นเอกลักษณ์ และมีการ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความสวยงาม ทันสมัย สามารถรักษาคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ได้ ในอนาคตจะมีการพัฒนาเมี่ยงคากรอบในรูปแบบต่าง ๆ และเพิ่มรสชาติมากขึ้น เช่น รสน้าผึ้ง รสหม่าล่า รสลาบ เป็นต้น เพื่อเพิ่มโอกาสในการจัดจาหน่ายสินค้าและเพื่อตอบโจทย์ให้ กับกลุ่มผู้บริโภคทุกเพศทุกวัย นอกจากการ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ แ ล้ ว มี ก ารส่ งเสริ ม การจ าหน่ า ยโดยเพิ่ ม ช่ อ งทางจ าหน่ า ยผ่ า นทางออนไลน์ Facebook : เมี่ยงคากรอบป้ากุ่ย

60


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

น้ำพริกกระทือและน้ำพริกทำมัง ผู้ประกอบการ : กลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้าพริกบ้านสวนพริก สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 2 ตาบลตากแดด อาเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : 080 528 6439 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ผลิตภัณฑ์น้าพริกกระทือและน้าพริกทามัง เป็นน้าพริกที่ได้เพิ่มสมุนไพรของท้องถิ่น คือ หน่อกระทือ และใบทามัง ซึ่งเป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณด้านลดท้องอืดและเลือดลม ให้กลิ่นหอมที่เป็นเอกลักษณ์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ตจึงได้เข้าไปมีส่วนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน มีการวิเคราะห์คุณค่าทาง โภชนาการ และยื ด อายุ ก ารเก็ บ รั ก ษา และพั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ส ามารถรั ก ษาคุณ ภาพของผลิต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ น าน ออกแบบให้มีความสวยงาม มีฉลากและตราสินค้าตามมาตรฐานสากล มีการระบุวันผลิตและวันหมดอายุชัดเจน รวมถึงการส่งเสริมการจาหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook : กลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้าพริกบ้านสวนพริก

61


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

ผ้ำมัดย้อมปำกแดง ผู้ประกอบการ : กลุ่มสตรีผ้ามัดย้อมปากแดง สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 3 ตาบลพรุใน อาเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : 063 585 8772 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมปากแดง เกิดจากการรวมกลุ่มของสตรีมุสลิม ชุมชนบ้านปากแดง ซึ่งมีสมาชิกจานวน 15 คน มีจุดประสงค์เพื่อหารายได้เสริมจากการทาผ้ามัดย้อม เดิมกรรมวิธีในการผลิตจะใช้สีเคมี ผ่านการย้อมเย็น โดยใช้น้ายาโซเดียมซิลิเกตเป็นหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงได้เข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาโดยเปลี่ยนกรรมวิธีผลิต ที่อนุรักษ์ธรรมชาติมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้สีธรรมชาติที่ได้จากสีของเปลือกมะพร้าว ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่มีจานวน มากในท้องถิ่น การใช้กรรมวิธีการย้อมด้วยการต้มเป็นหลัก โดยมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้ามัดย้อมให้มีความ หลากหลายมากขึ้น เช่น เสื้ อยื ด กระเป๋ า ตะกร้า ผ้า พัน คอ ผ้า คลุม ไหล่ เป็น ต้น มีก ารออกแบบลวดลายใหม่ ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการสร้างลายใหม่ ๆ และการเลือกสีสาหรับผลิตภัณฑ์ รวมไปถึงการพัฒนา บรรจุภัณฑ์และตราสินค้า เพื่อเพิ่มมูลค่าและโอกาสการจาหน่ายให้มีความเหมาะสมกับสินค้าที่ระลึกมากขึน้ ส่งเสริม การจาหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook : ผ้ามัดย้อมปากแดง

62


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

ตะกร้ำเชือกมัดฟำง ผู้ประกอบการ : กลุ่มสตรีจักรสานบ้านตาตัว สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 3 ตาบลตาตัว อาเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : 089 592 9275 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ผลิตภัณฑ์กระเป๋าเชือกมัดฟางของกลุ่มสตรีตาบลตาตัว หรือเรียกว่ากลุ่ม “4ต” มาจาก สตรีตาบลตาตัว โดยเริ่มจากการรวมกลุ่มเพื่อสานตะกร้าจากพลาสติกเพื่อหารายได้เสริม ต่อมาได้มีการปรับใช้เป็นวัสดุเชือกฟางแทน พลาสติก เนื่องจากเป็นใยสังเคราะห์มีความทนทานสูง อีกทั้งมีสีสันสดใสให้เลือกหลากหลาย สามารถสัมผัสน้าและ ซักล้างง่าย มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตเล็งเห็นถึงความประณีตในการผลิตสินค้าของกลุ่มจึงได้เข้าไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการจับคู่สี และการออกแบบลวดลายใหม่ ซึ่งในอนาคตจะมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ มีความหลากหลายมากขึ้น เช่น ปลอกที่ใส่แก้วน้า กระเป๋าที่มีลวดลายที่แสดงถึงสัญลักษณ์ของท้องถิ่น มีการเสริม ลูกปัด ไข่มุก คั่นเงิน คั่นทอง เป็นต้น เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ ขยายกลุ่มเป้าหมาย และเป็นของที่ระลึกประจา ตาบลตาตัว ซึ่งปัจจุบันได้มีการส่งเสริมการจาหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook : กศน. ตาบลตาตัว

63


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

ผลิตภัณฑ์ดูแลผิวจำกข้ำวไร่ดอกข่ำ ผู้ประกอบการ : กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปข้าวไร่ดอกข่า บ้านแร่ สถานที่ตั้ง : 2/1 หมู่ที่ 3 ตาบลบางทอง อาเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา โทรศัพท์ : 089 228 900 - 7 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ผลิตภัณฑ์จากข้าวไร่ดอกข่าของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปข้าวไร่ดอกข่า บ้านแร่ เริ่มต้นจากการจาหน่าย ข้าวไร่ดอกข่าซึ่งเป็นพันธุ์พืชเมือง ต่อมาได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าวไร่ดอกข่าให้มีความหลากหลายมากขึ้น เช่น ขนมชมดาว น้าข้าวกล้องงอก และเครื่องดื่มจากข้าวไร่ดอกข่าแบบผงชงดื่ม แต่สมาชิกกลุ่มต้องการเพิ่มความ หลากหลาย โดยมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหารเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกกลุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงเข้ามา พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวไร่ดอกข่าเพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ดูแลผิว เนื่องจากเล็งเห็นว่าข้าวไร่ดอกข่ามีสรรพคุณที่มี ประโยชน์ต่อผิวพรรณหลายชนิด จึงได้พัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ตามมาตรฐานสากล มีการออกแบบฉลาก และตราสินค้า เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ จานวน 4 ผลิตภัณฑ์ คือ โลชั่นทาผิว เซรั่ม สบู่เหลว และสคลับผิว ซึ่งมีการส่งเสริม การจาหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook : ข้าวไร่ดอกข่า 50 , Shopee : ข้าวไร่ดอกข่า 50

64


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

ปลำส้ม ผู้ประกอบการ : คุณพลอยสุดา เหลาเซ็น กลุ่มสัมมาชีพบ้านนานอก (ปลาทูส้ม 3 รส) สถานที่ตั้ง : 145/1 หมู่ที่ 11 ตาบลกระบี่น้อย อาเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : 093 325 9032 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ผลิต ภัณ ฑ์ปลาส้ ม ของกลุ่ มสัม มาชีพบ้ านนานอก ซึ่ งพัฒ นาจากกรรมวิธีถ นอมอาหารจากภู มิปั ญญา ชาวบ้านเป็นปลาส้มที่มีรสชาติสามรส เปลี่ยนจากการใช้ปลาน้าจืดเป็นปลาน้าเค็มซึ่งเป็นวัตถุดิบชุมชนท้องถิ่นและ ให้รสชาติที่อร่อยกลมกล่อมกว่าปลาน้าจืด โดยวัตถุดิบหลัก คือ ปลาทูมั น มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้พัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ลาส้ ม สามรส ให้ มี ร สชาติ ที่ ค งที่ ผ่ า นกระบวนการผลิ ต ตามมาตรฐาน มี ก ารวิ เ คราะห์ คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการ และการยืดอายุการเก็บรักษา ทั้งนี้ได้พัฒนาบรรจุภัณฑ์เป็นซองสุญญากาศเพื่อรักษาคุณค่าของ ผลิตภัณฑ์ไว้ได้นานยิ่งขึ้นและเหมาะสมกับการขนส่ง มีการออกแบบฉลากและตราสินค้า เพื่อส่งเสริมและเพิ่มมูลค่า ให้กั บผลิต ภัณ ฑ์ ในอนาคตจะพั ฒนาและแปรรูป ปลาส้ มสามรสให้ มีค วามหลากหลายมากยิ่ งขึ้ น เช่ น ปลาส้ ม อบกรอบ เพื่อให้เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าที่ตอ้ งการทานแบบรสสัมผัสกรอบ ง่ายต่อการขนส่ง และมีอายุการเก็บรักษา นานขึ้น ซึ่งได้มีการส่งเสริมการจาหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook : ปลาส้ม บ้านนานอก

65


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

เครื่องแกงตำมือบ้ำนไร่ใหญ่ ผู้ประกอบการ : คุณทิพวรรณ ซื่อตรง กลุ่มแม่บ้านร่มจามจุรี บ้านไร่ใหญ่ สถานที่ตั้ง : 100 หมู่ที่ 1 ตาบลเหนือคลอง อาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : 062 542 1175 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน จากภู มิ ปั ญ ญาของบรรพบุ รุ ษ ที่ ถ่ า ยทอดเคล็ ด ลั บ สู ต รเด็ ด ที่ ใ ช้ ใ นการปรุ ง อาหารไทย โดยเฉพาะ เครื่องแกงไทยที่มีส่วนผสมของสมุนไพรต่าง ๆ อันเปี่ยมไปด้วยคุณค่า ซึ่งนอกจากให้กลิ่ มหอมน่ารับประทานและ รสชาติที่อร่อยกลมกล่อม อันเป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มแม่บ้านร่มจามจุรีแล้ว ยังให้คุณประโยชน์ทางยามากมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้เล็งเห็นถึงความสามารถในการผลิตเครื่องแกงของกลุ่ม มีรสชาติเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ และจาหน่ายในราคาไม่แพง จึงได้เข้ามาพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานมากขึ้น เป็นซองพลาสติก ปิดผนึกแบบสุญญากาศ มีการออกแบบฉลากและตราสินค้าที่ได้มาตรฐาน ระบุวันผลิตและวันหมดอายุชัดเจน มีการนาตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ไปวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการและยืดอายุการเก็บรักษา ซึ่งปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ เครื่องแกงผัดเผ็ด เครื่องแกงส้ม เครื่องแกงกะทิ โดยในอนาคตจะพัฒนาสูตรเครื่องแกงตามือให้มีความหลากหลาย มากขึ้น เดิมกลุ่มมีช่องทางจัดจาหน่ายรูปแบบออฟไลน์ช่องทางเดียว จึงได้ส่งเสริมการจาหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook : เครื่องแกงตามือบ้านไร่ใหญ่ ของดีเมืองกระบี่

66


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

เครื่องแกงตำมือบ้ำนเขำงำม ผู้ประกอบการ : คุณวันดี จงรัก กลุ่มเครื่องแกงตามือบ้านเขางาม สถานที่ตั้ง : 31/4 หมู่ที่ 1 ตาบลบ้านกลาง อาเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : 098 047 8002 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน กลุ่มเครื่องแกงตามือบ้านเขางาม ยึดถือกรรมวิธีในการผลิตเครื่องแกงด้วยการตามือ เพราะจะได้กลิ่น น้ ามั น หอมระเหยจากสมุ น ไพร ซึ่ งเป็ น หั ว ใจส าคั ญ ของเครื่ อ งแกงอาหารภาคใต้ เน้ น ความเผ็ ด ร้ อ น จั ด จ้ า น แรกเริ่มสมาชิกกลุ่มเป็นกลุ่มสตรีที่มีครกหินใช้ประกอบอาหารอยู่แล้ว จึงจัดตั้งกลุ่มขึ้นโดยมีสมาชิก จานวน 20 คน ด้วยสูตรดั้งเดิมมีรสชาติอันเป็นเอกลักษณ์ จึงมีลูกค้าสนใจมากขึ้นด้วยการบอกปากต่อปาก สามารถสร้างรายได้ ให้ กั บ สมาชิ ก กลุ่ ม ได้ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต เล็ งเห็ น ถึ งความชานาญในการผลิ ต เครื่ อ งแกงของกลุ่ ม จึ งได้ ช่วยพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน พัฒนาสูตรเพื่อใช้วัตถุดิบในปริมาณที่คงที่เพื่อให้ได้รสชาติ คงที่ มีการนาตัวอย่างผลิตภัณฑ์ไปวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการและยืดอายุการเก็บรักษา มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ควบคู่ไปด้วย โดยใช้วัสดุเป็นซองพลาสติกทึบเพื่อรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ปิดผนึกแบบสุญญากาศ ง่ายต่อการ เก็บรักษาและการขนส่ง พร้อมออกแบบฉลากและตราสินค้าให้มีความน่าดึงดูด แสดงข้อมูลส่วนประกอบ วันผลิต และวั น หมดอายุ ชัด เจน ปั จ จุ บัน มหาวิ ทยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต ได้ ส่ งเสริ มให้ มี ก ารจ าหน่ า ยผ่า นช่ อ งทางออนไลน์ Facebook : เครื่องแกงตามือบ้านเขางามโดยชุมชนบ้านเขางาม

67


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

ปลำดุกร้ำ ผู้ประกอบการ : นายสวิส พรหมชัยศรี กลุ่มโพธิ์อินทรีย์ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ศพก.บ้านโคกหาร สถานที่ตั้ง : 7/1 หมู่ที่ 2 ตาบลโคกหาร อาเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : 093 791 3704 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ปลาดุกร้า เป็นอาหารภูมิปัญญาชาวบ้าน โดยการนาปลาดุกมาถนอมอาหารซึ่งมีมาตั้งแต่โบราณ เพื่อเก็บ รักษาอาหารไว้รับประทานได้นานยิ่งขึ้น ทั้งนี้ด้วยสภาพพื้นที่ของกลุ่มโพธิ์อินทรีย์ที่เหมาะสาหรับการเลี้ยงปลาดุก ประกอบกับการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการให้มีการเพาะเลี้ยงปลาดุก เมื่อมีจานวนปลาดุกมากขึ้น จึงมีแนวคิด ที่จะแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาดุกเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างความหลากหลายให้กับผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ตจึงเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีกระบวนการผลิตที่สะอาดได้มาตรฐาน มีการจดบันทึก สูตรการหมักปลาจากผู้เชี่ยวชาญที่ผ่านการคิดค้นมาเป็นเวลานาน ทาให้มีรสชาติหอมอร่อย มีความเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งกระบวนการผลิตในรูปแบบอินทรีย์สามารถยับยั้งกระบวนการออกซิเดชันของกรดไขมันในปลาดุกลดกลิ่นเหม็นหืน โดยการใช้สมุนไพรและยังช่วยปรับกลิ่น รส และเนื้อสัมผัสให้ดีขึ้นด้วย มีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ออกแบบฉลากและ ตราสิน ค้าให้มี ความสวยงาม สามารถเพิ่ มมูล ค่า สิน ค้า ขนส่งสะดวก และรั กษาคุณ ภาพของผลิต ภัณฑ์ ได้ นาน ในอนาคตจะมีการต่อยอดการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาดุกเป็น ปลาดุกแดดเดียว ปลาดุกเส้น ปลาดุกสวรรค์ และ ปลาดุกป่น เพื่อขยายกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น ปัจจุบันได้มีการส่งเสริมการจาหน่ายผ่านเว็บไซต์ www.phoinsee.com

68


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

โรตีกรอบ ผู้ประกอบการ : คุณจินตนา สุพรรณพงศ์ กลุ่มสตรีพัฒนานิคม สถานที่ตั้ง : 104 หมู่ที่ 6 ตาบลคลองท่อมเหนือ อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : 080 910 2902 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน กลุ่มสตรีพัฒนานิคม มีองค์ความรู้ในการผลิตโรตีซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความนิยมในภาคใต้ เป็นโรตี ธรรมดาที่มักรับทานในตอนเช้าไม่สามารถเก็บรักษาได้นาน จึงได้มีแนวคิดที่จะพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์จากโรตี ธรรมดาให้เป็นโรตีกรอบและมีหลากหลายรสชาติ เพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายทุกเพศทุกวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์โรตีกรอบ โดยเริ่มตั้งแต่การพัฒนาสูตรจนได้ สูตรที่รสชาติคงที่ ไม่ใช้สารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ มีกระบวนการผลิตที่ได้ปริมาณเท่ากันสม่าเสมอ สะอาด ได้มาตรฐาน พัฒนารสชาติให้มีความหลากหลายตามความนิยมของผู้บริโภคในแต่ละกลุ่มวัย เช่น ผู้บริโภควัยเด็กจะ มีรสชาติปาปริกา คาราเมล ผู้บริโภคผู้ใหญ่ที่ใส่ใจเรื่องสุขภาพเป็นรสชาติดั้งเดิมหวานน้อย ทั้งนี้เพื่อเป็นตัวเลือก ให้กับผู้บริโภคมากขึ้น รวมทั้งมีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ออกแบบฉลากและตราสินค้า ที่แสดงถึงส่วนประกอบ วันผลิต และวันหมดอายุที่ชัดเจน โดยใช้กระปุกพลาสติกทรงกระบอกเป็นบรรจุภัณฑ์ มีการส่งเสริมการจาหน่ายผ่านช่องทาง ออนไลน์ Facebook : ผลิตภัณฑ์ - กลุ่มสตรีพัฒนานิคม

69


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

เวชสำอำงจำกน้ำผึ้ง ผู้ประกอบการ : คุณสันต์ สมบูรณ์ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงผึ้งโพรงบ้านเขาค้อม สถานที่ตั้ง : 46/1 หมู่ที่ 6 ตาบลเขาคราม อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : 086 283 2286 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านเขาค้อม เป็นชุมชนที่มีการเพาะเลี้ยงผึ้งเพื่อจาหน่ายน้าผึ้งป่าซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มี ชื่อเสียงเพียงอย่างเดียวของชุมชน ดังนั้นจึงได้มีแนวคิดที่จะแปรรูปผลิตภัณฑ์จากน้าผึ้งเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าและ สร้างรายได้ให้กับสมาชิกกลุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงได้คิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้าผึ้งให้เป็นผลิตภัณฑ์ เซรั่มจากน้าผึ้ง เนื่องจากน้าผึ้งมีสรรพคุณในการบารุงผิวพรรณ มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ชะลอวัย เป็นต้น อีกทั้ง น้าผึ้งของชุมชนเขาค้อมเป็นน้าผึ้งแท้บริสุทธิ์จากผืนป่าเขาค้อมที่อุดมไปด้วยดอกไม้นานาชนิด จึงได้เริ่มศึกษาและ ทดลองเพื่อสกัดเป็นเซรั่มบารุงผิว นอกจากนี้ยังได้พัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์และการเก็บรักษา เพื่อคงไว้ซึ่งคุณภาพของผลิตภัณฑ์ โดยได้มีการออกแบบฉลากและตราสินค้าให้มีความทันสมัย สร้างความน่าสนใจ โดยแบ่งเป็นซองขนาด 10 มิลลิลิตร และแบบขวดเซรั่ม 50 มิลลิลิตร เพื่อเป็นทางเลือกให้กับผู้บริโภค ปัจจุบันได้มี การส่งเสริมและพัฒนาให้มีการจัดจาหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์เพื่อประชาสัมพันธ์และเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่ายขึ้นผ่าน Facebook : สัน สมบูรณ์ และ Line : 0862832286 ในอนาคตจะพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายมากขึน้ เช่น สบู่นมผึ้ง โฟมล้างหน้า โลชั่น เครื่องดื่ม และนมผึ้งแบบแคปซูล

70


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

เรือแจวจำลอง ผู้ประกอบการ : คุณนราธร หงส์ทอง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวทุ่งหยีเพ็ง สถานที่ตั้ง : 19 หมู่ที่ 4 ชุมชนทุ่งหยีเพ็ง ตาบลด่านศาลา อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : 089 590 9173 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวทุ่งหยีเพ็ง เดิมเป็นกลุ่มที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับเส้นทางท่องเที่ยวชุมชน เชิงอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ มีแนวคิดที่จะสร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวให้มีการบอกต่อและกลับมา เที่ยวอีก จึงต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อจาหน่ายเป็นของที่ระลึกที่มีความเป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนชุมชนท่องเที่ยวอื่น มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สาหรับเป็นของที่ระลึก โดยเริ่มจากการ สารวจพื้นที่และศักยภาพของชุมชน พบว่าในชุมชนมีเศษไม้ตามชายหาด จึงนาเศษไม้ตามชายหาด มาทาเป็น รูปแบบเรือแจวจาลองสองมิติ เพื่อแสดงถึงอัตลักษณ์ของชุมชนท่องเที่ยวทุ่งหยีเพ็งที่ใช้เรือแจวในการประกอบอาชีพ บ่งบอกถึงวิถีชีวิตของชุมชน อีกทั้งเป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์ธรรมชาติที่ไม่ต้องตัดไม้ทาลายป่า เพื่อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ ที่ระลึกให้กับนักท่องเที่ยว รวมถึงมีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความสวยงามเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ มีการเพิ่มเติม เรื่องราววิถีชีวิตความเป็นมาของชุมชน เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์และสร้างรายได้เสริมให้กับคนในชุมชน

71


ผลิตภัณฑ์ชม ุ ชนท้องถิ่น

ผ้ำมัดย้อม กลุ่มลันตำบำติก ผู้ประกอบการ : กลุ่มลันตาบาติก สถานที่ตั้ง : 138/1 หมู่ที่ 6 ตาบลเกาะลันตาใหญ่ อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : 092 982 9704 กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้ร่วมกับกลุ่มลันตาบาติกในการสร้างสรรค์พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก โดยใช้ ลายที่เ ป็นเอกลักษณ์จากการวิเ คราะห์เอกลั กษณ์ อัตลัก ษณ์ชุม ชนท้องถิ่นสู่ก ารออกแบบลวดลาย การพัฒนา ผลิตภัณฑ์จากผ้ามัดย้อมที่ได้ออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์แฟชั่นประเภท Beach waer ใน Collection “Beachholic” ซึ่งได้นาไปจาหน่ายในท้องตลาด มีการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์รวมถึงฉลากและตราสินค้า เพื่อเพิ่มมูลค่าและ เพื่อขยายตลาดกลุ่มเป้าหมายให้หลากหลายมากขึ้น การสร้างผลิตภัณฑ์ได้ออกแบบจากการอ้างอิงตามกระแสนิยม ในปัจจุบัน ลวดลายและคู่สีจากธรรมชาติที่ได้แรงบันดาลใจจากหินผา ภายใต้ชื่อ ลันตาบาติก เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ มีเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง จดจาง่าย สร้างความตราตรึงให้กับกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงได้มีการส่งเสริมการจาหน่าย ผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook : ลันตาผ้าบาติก

72


โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงสืบสานพระราช ปณิ ธ านในพระราชบิ ด าที่ มุ่ ง แก้ ปั ญ หาความยากจน ส่ ง ผลให้ เ กิ ด แนวทางแห่ ง ความสมดุ ล ระหว่ า งวิ ถี ชี วิ ต และสิ่ ง แวดล้ อ ม ทรงทอดพระเนตรเห็ น สาเหตุ ข องทุ ก ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในประเทศไทย รวมถึ งความเสื่ อ มโทรม ทางด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มในปั จ จุ บั น เกิ ด ขึ้ น จากคน จึ ง ทรงมุ่ ง เน้ น แก้ ปั ญ หาให้ ถึ ง แก่ น แท้ โดยใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือ ในการสร้างคน สาเหตุทรัพยากรเสื่อมโทรมมาจากจานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น มีการ แย่งชิงทรัพยากร การขยายตัวของเมือง รวมถึงพฤติกรรมการบริโภค จั งหวั ด ภู เ ก็ ต เป็ น แหล่ งท่ อ งเที่ ย วที่ มี ชื่อ เสี ย งระดั บ โลก และสร้ า งรายได้ ใ ห้ แ ก่ ป ระเทศเป็ น จ านวนมาก อย่างไรก็ตามการเติบโตของการท่องเที่ยว ประกอบกับจานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนพฤติกรรมการบริโภค ของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้จังหวัดภูเก็ตประสบปัญหาขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งสื่อให้เห็นว่ามีขยะ ที่กาจัดไม่ถูกต้อง และไม่ถูกนาไปใช้ประโยชน์เป็นจานวนมาก นอกจากนี้มีผลสารวจระบุว่าประเทศไทย จัดอยู่ใน อันดับ 5 ของประเทศที่ทิ้งขยะลงทะเลมากที่สุดในโลก โดยเป็นขยะตกค้างที่ไม่ได้รับการจัดเก็บอย่างถูกต้องบริเวณ พื้นที่จังหวัดชายฝั่งทะเล โดยขยะแต่ละชนิด อาจใช้เวลาย่อยสลายเป็นเวลาหลายสิบปีหรือหลายร้อยปี ขณะเดียวกัน ภัยเงีย บจากขยะในท้องทะเล คือ ไมโครพลาสติ กที่ก่อ ให้เกิด ผลกระทบเป็นลูกโซ่ โดยพลาสติกจะแตกย่ อยเป็ น ปิโตรเคมีและจะเล็กลงเรื่อย ๆ จนมองไม่เห็นแต่ยังคงมีสารเคมีหลงเหลืออยู่ แพลงตอนจะกินไมโครพลาสติกเข้าไป ปลาเล็กกินแพลงตอน ปลาใหญ่จะกินปลาเล็ก แล้วมนุษย์ก็จะกินปลาใหญ่อีกที ในท้ายที่สุดไมโครพลาสติกจึงเข้าไป สะสมในร่างกายของมนุษย์ ทาให้เกิดอันตรายได้ ด้วยเหตุนี้ จึงมีความจาเป็นต้องหาทางแก้ไข ให้ความรู้ และปลูกจิตสานึกเกี่ยวกับกระบวนการลดปริมาณขยะ การคัดแยก โดยใช้หลักการ 7R ซึ่งประกอบด้วย 1) Rethink (คิดใหม่) 2) Reduce (ลดการใช้) 3) Reuse (ใช้ซ้า) 4) Recycle (นากลับมาใช้ใหม่) 5) Repair (ซ่อมแซม) 6) Reject (ปฏิเสธ) 7) Return (ตอบแทน) ทั้งนี้การดาเนินโครงการดังกล่าวของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นการดาเนินงาน ร่ว มกั น ทุก คณะเพื่อ พั ฒนาชุ ม ชนในพื้ น ที่ต าบลป่า ตอง จังหวัด ภู เก็ ตให้ มีสุ ข อนามัย ที่ ดีแ ละมี ทัศ นี ยภาพที่ งดงาม โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อลดปริมาณขยะอย่างยั่งยืน เกิดการใช้ประโยชน์และสร้างผลิตภัณฑ์จากขยะ

73


โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม

ผลผลิต 1. ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้ มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีทักษะเกี่ยวกับ การลดปริมาณขยะ ตลอดจนการนากลับไปใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกวิธี 2. เกิ ด เครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต กั บ หน่ ว ยงานภายนอกในการอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลลัพธ์ 1. เกิดแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างเสริมจิตสานึกรักษ์ท้องถิ่น 2. ปริมาณขยะในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการมีจานวนลดลง 3. ได้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากขยะ ผลกระทบ 1. ชุมชนได้รับการพัฒนา คนในชุมชนมีสุขภาวะที่ดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ 2. ยุวชนในจังหวัดภูเก็ตมีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง เป็นพลเมืองมีระเบียบวินัย

74


รำชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม

ผู้นายุวชนอาสาสมัครพิ ทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต พื้นที่ดาเนินการ : 1. โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดภูเก็ต (จานวน 7 โรงเรียน) 2. ชุมชนกิ่งแก้ว หมู่ที่ 3 ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ได้ดาเนินกิจกรรมผู้นายุวชนอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดภูเก็ต ภายใต้โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการการจัดการเรียนการสอนร่วมกับ การพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน การด าเนิ น กิ จ กรรมผู้ น ายุ ว ชนอาสาสมั ค รพิ ทั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง 8 หน่วยงาน คือ เทศบาลนครภูเก็ต สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 15 สานักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดภูเก็ต เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต อุ ท ยานแห่ ง ชาติ สิ ริ น าถ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต กรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง และมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต โดยในปีนี้มี นักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดภูเก็ตเข้าร่วมโครงการ จานวน 40 คน จาก 7 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเทศบาลปลูกปัญญาในพระอุปถัมภ์ฯ โรงเรียนเทศบาลเมืองภูเก็ต โรงเรียน อบจ.บ้านตลาดเหนือ (วันครู 2502) โรงเรียนบ้านอ่าวน้าบ่อ โรงเรียนขจรเกียรติศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 36 และโรงเรียนเชิงทะเล วิทยาคม จากกิจกรรมผู้นายุวชนอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดภูเก็ต เกิดนวัตกรรม การเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมผ่านเกม กระบวนการแบบมีส่วนร่วม และมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานด้าน สิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ โครงการให้การสนับสนุนการดาเนินงานพัฒนาแหล่งเรียนรู้ชุมชนด้านสิ่งแวดล้อม จานวน 1 ชุมชน ได้แก่ ศูนย์พัฒนาศักยภาพด้านสิ่งแวดล้อมชุมชนกิ่งแก้ว ซอย 1 ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต มีการพัฒนานวัตกรรม เพื่อนาขยะในครัวเรือนกลับมาใช้ประโยชน์ ได้แก่ นวัตกรรมการผลิตไม้กวาดจากขวดพลาสติก นวัตกรรมการผลิต กระถางต้นไม้จากวัสดุเหลือใช้ จานวน 2 นวัตกรรม ผลผลิต (Output) 1. จัดกิจกรรมค่ายผู้นายุวชนอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดภูเก็ต เกิดนวัตกรรม การเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมผ่านเกม กระบวนการแบบมีส่วนร่วม และมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่องานด้านสิ่งแวดล้อม 2. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ชุมชนด้านสิ่งแวดล้อม จานวน 1 ชุมชน ได้แก่ ศูนย์พัฒนาศักยภาพด้านสิ่งแวดล้อมชุมชน กิ่งแก้ว ซอย 1 ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต มีการพัฒนานวัตกรรมเพื่อนาขยะในครัวเรือนกลับมาใช้ ประโยชน์ ได้แก่ นวัตกรรมการผลิตไม้กวาดจากขวดพลาสติก นวัตกรรมการผลิตกระถางต้นไม้จากวัสดุเหลือใช้ จานวน 2 นวัตกรรม 75


รำชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม

ผู้นายุวชนอาสาสมัครพิ ทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต (ต่อ)

76


พื้ นที่รว ่ มตำบลป่ำตอง

การพั ฒนาต้นแบบถังหมักเศษอาหารโดยใช้พลังงาน แสงอาทิตย์ พื้นที่ดำเนินกำร : เทศบำลเมืองป่ำตอง ตำบลป่ำตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต กระบวนกำร / ผลกำรดำเนินงำน ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสาคัญสาหรับเมืองท่องเที่ยวอย่างจังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีชื่อเสียง ระดับ โลก และสร้า งรายได้ใ ห้แก่ป ระเทศเป็นจานวนมากโดยเฉพาะหาดป่าตอง การเติบโตและการขยายตัวใน ด้านการท่องเที่ยวของพื้นที่ป่าตอง ส่งผลกระทบในด้านการจัดการขยะที่ส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม จากการศึกษาความต้องการและผลการดาเนินการจัดการขยะในพื้นที่ป่าตอง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 พบว่า ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักที่ดี และมีความรู้ในการคัดแยกขยะเพิ่มมากขึ้น ผลจากการคัดแยกขยะ สามารถน าขยะประเภทเศษอาหาร น าไปใช้ เ ป็ น ปุ๋ ย ในการปลู ก พื ช ได้ ดั ง นั้ น ในปี ง บประมาณ พ .ศ. 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต โดยคณะวิทยาการจัดการจึงได้พัฒนาต้นแบบถังหมักเศษอาหารโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ โดยใช้วิธีการหมักแบบใช้อากาศ ซึ่งจะอาศัยจุลินทรีย์ที่ใช้ในการช่วยย่อยวัตถุอินทรีย์ โดยจะต้องมีสภาวะที่เหมาะสม ต่อการทางาน คือ อากาศมีออกซิเจนวัตถุอินทรีย์จะต้องมีอัตราส่วนของไนโตรเจน 1 ส่วนต่อคาร์บอน 30 - 70 ส่วน มีน้าประมาณร้อยละ 40 - 60 โดยจะมีการปรับปรุงสูตรปุ๋ย เพิ่มค่าในตัวเศษอาหารที่เหลือทิ้งให้กลายเป็นสิ่งที่มี ประโยชน์ พร้อมทั้งได้เพิ่มเติมส่วนประกอบที่จะทาให้ประหยัด และอนุรักษ์พลังงานมากยิ่งขึ้นอีกด้วย

77


พื้ นที่รว ่ มตำบลป่ำตอง

อบรมเชิงปฏิบต ั ิการทางออกการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนและ อบรมเชิงปฏิบต ั ิการกระบวนการชุมชนต่อการจัดการขยะมูลฝอย พื้นที่ดำเนินกำร : ชุมชนชำยวัด ตำบลป่ำตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต กระบวนกำร / ผลกำรดำเนินงำน ในการดาเนินโครงการ ได้กาหนดกิจกรรม 2 กิจกรรม ดังนี้ 1. การอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการ ขยะมูลฝอยของพื้นที่ชุมชนชายวัดในประเด็นเกี่ยวกับการ จัดการขยะอินทรีย์ชุมชนและการปฏิบัติการคัดแยกและแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อนากลับไปใช้ประโยชน์ 2. การอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการชุมชน ต่อการจัดการขยะมูลฝอยของพื้นที่ชุมชนชายวัด ในประเด็น เกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจ ในกระบวนการของชุมชนต่อการจัดการขยะมูลฝอยเพื่อนากลับไปใช้ประโยชน์ โดยรูปแบบ กิจกรรมเชิงรุกให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในระดับชุมชนต่อการจัดการขยะมูลฝอย (ขยะอินทรีย์ชุมชน) ผลการดาเนินกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะอินทรีย์ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์เพิ่มมากขึ้น เข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการขยะอินทรีย์เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ กลุ่มชุมชนได้รับ ความรู้และทักษะการปฏิบัติเรื่องการคัดแยกขยะ และมีส่วนร่วมในการคัดแยกและแปรรูปขยะอินทรีย์เพื่อนากลับไปใช้ ประโยชน์ ส่งผลให้ขยะในชุมชนมีปริมาณลดลง ร้อยละ 15.81

78


พื้ นที่รว ่ มตำบลป่ำตอง

กระถางปลูกพื ชจากเปลือกมะพร้าว ๔ สูตร พื้นที่ดำเนินกำร : เทศบำลเมืองป่ำตอง ตำบลป่ำตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต กระบวนกำร / ผลกำรดำเนินงำน จากการเติบโตของการท่องเที่ยว ประกอบกับจานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นตลอดจนการบริโภคของประชาชน ที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้จังหวัดภูเก็ตประสบปัญหาขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นทุกปี โดยเฉพาะปริมาณขยะจากลูกมะพร้าว ดังนั้นเพื่อลดปริมาณขยะตลอดจนการนากลับมาใช้ประโยชน์อย่างถูกวิธี คณะเทคโนโลยีการเกษตรจึงมีแนวคิดในการใช้ ประโยชน์จากขยะที่เกิดจากลูกมะพร้าว โดยการนาขุยมะพร้าวมาผลิตเป็นก้อนปลูกพืช ซึ่งจากการคิดค้นได้สูตรสาหรับ การทาก้อนปลูกพืช จานวน 4 สูตร คือ สูตรที่ 1 ขุยมะพร้าว 4 ส่วน สูตรที่ 2 ขุยมะพร้าว มูลสัตว์ แกลบเผา สูตรที่ 3 ขุยมะพร้าว เปลือกหอยนางรมบด สูตรที่ 4 ขุยมะพร้าว ใบไม้แห้งบด จากการทดสอบผลการเจริญเติบโตของพืชที่ปลูกในกระถางทั้ง 4 สูตร พบว่า สูตรที่ 4 ขุยมะพร้าว ใบไม้แห้งบด พืชเจริญเติบโตได้ดีที่สุด รองลงมา คือ สูตรที่ 2 ขุยมะพร้าว มูลสัตว์ แกลบเผา สูตรที่ 1 ขุยมะพร้าว และสูตรที่ 3 ขุยมะพร้าว เปลือกหอยนางรมบด ตามลาดับ

79


พื้ นที่รว ่ มตำบลป่ำตอง

การจัดการขยะด้วยแนวคิด ๗R สื่อหนังสือการ์ตน ู และสื่อวีดิทัศน์ พื้นที่ดาเนินการ : ชุมชนบ้านใสน้าเย็น และชุมชนบ้านกะหลิม ตาบลป่าตอง อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน นักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษจานวน 27 คน ดาเนินกิจกรรมให้ความรู้กับนักเรียนโรงเรียนบ้านกะหลิม ในหัวข้อ “การจัดการขยะด้วยแนวคิด 7R” ซึ่งการลดปริมาณขยะจาเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและ หน่ วยงานที่ เกี่ ย วข้ อ ง เพื่อ สร้า งจิต ส านึ ก ในการอนุรั ก ษ์ท รัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ งแวดล้อ ม มี ค วามรู้ค วามเข้า ใจ มี ทั ศ นคติ ที่ ดี เ กี่ ย วกั บ การลดปริ ม าณขยะตลอดจนการน ากลั บ ไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งถู ก วิ ธี โดยใช้ ห ลั ก การ 7R ซึ่งประกอบด้วย 1) Rethink (คิดใหม่) 2) Reduce (ลดการใช้) 3) Reuse (ใช้ซ้า) 4) Recycle (นากลับมาใช้ใหม่) 5) Repair (ซ่อมแซม) 6) Reject (ปฏิเสธ) 7) Return (ตอบแทน) ทั้ ง นี้ ไ ด้ ม อบหนั ง สื อ การ์ ตู น เพื่ อ รณรงค์ “การจั ด การขยะด้ ว ยแนวคิ ด 7R” ให้ กั บ นายสุ ร วุ ฒิ เอี่ ย วสกุ ล ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านกะหลิมเพื่อใช้เป็นสื่อในการสอนนักเรียน และมีการจัดกิจกรรมนันทนาการร่วมกับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จานวน 7 ฐานการเรียนรู้

80


พื้ นที่รว ่ มตำบลป่ำตอง

การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ประติมากรรมจากขยะ การจัดโครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นโครงการภายใต้แผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น ตามเป้าประสงค์ที่มหาวิทยาลัยได้กาหนดไว้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ท้องถิ่นและเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วม ด้านบริการวิชาการกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทและความต้องการท้องถิ่น ในการพัฒนาสู่ความ ยั่งยืนต่อไป การขยายตัวในด้านการท่องเที่ยวของพื้นที่ป่าตอง ส่งผลให้มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาเป็นจานวนมาก เมื่อมี การบริโภคเป็นจานวนมากก็ส่งผลกระทบในด้านการจัดการขยะ ที่มีปริมาณมากและส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะปัญหาจากขยะลูกมะพร้าวที่มีเป็นปริมาณมาก และยากต่อการจัดการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มองเห็นปัญหาในจุดนี้และหาทางออกในการนาวัสดุดังกล่าว มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ประติมากรรม โดยใช้การจัดการทางด้านทัศนศิลป์และความต้องการของชุมชนเข้ามาเพื่อพัฒนาให้เกิดโมเดลรูปแบบ ของผลิตภัณฑ์ทางความคิดอันเกิดจากการแปรรูปขยะ เพื่อสร้างมูลค่าและคุณค่าเพิ่ม อันเป็นการหาทางออกโดยการนา วัสดุเหลือใช้จากพื้นที่ที่มีอยู่เป็นสาคัญ ผลจากการดาเนินงานจึงได้ประติมากรรมจากขยะ จานวน 5 ผลิตภัณฑ์ คือ 1. กระถางใหญ่สีเหลือง ลายโลมา 2. กระถางเล็กสีดาปัดทอง ลายสัตว์ทะเล 3. กระถางเล็กสีฟ้า ลายโลมา 4. กระถาง เล็ ก สี เ ขี ย วอ่ อ นลายแมงกะพรุ น และ 5. กระถางกลมสี ข าว รวมถึ ง ได้ บู ร ณาการกั บ รายวิ ช าการเรี ย นการสอน จานวน 2 รายวิชา คือ วิชาประติมากรรมเบือ้ งต้น และวิชาวัสดุและเทคนิคศิลปะ

81


โครงกำรพั ฒนำศักยภำพกำรท่องเที่ยวโดยชุมชน

จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่ เป็นแหล่งท่องเที่ยวปลายทางด้านทะเลอันดามันที่ได้รับ ความนิ ย มอย่ า งสู ง ทั้ ง การท่ อ งเที่ ย วกระแสหลั ก และการท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชน เนื่ อ งจากสภาพเป็ น พื้ น ที่ มี ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ ย าวนาน มี ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางการท่ อ งเที่ ย วหลากหลาย การเดิน ทาง ที่ พั ก มี ค วามสะดวกสบาย อย่ างไรก็ต ามการจั ด การท่ อ งเที่ ย วที่ ผ่ า นมามั ก จะเป็ น การท่ องเที่ ย ว เชิงพาณิชย์มากกว่าส่งเสริมการเรียนรู้แบบลึกซึ้งและมีแนวโน้มที่จะทาลายฐานทรัพยากรธรรมชาติเพื่ออานวยความ สะดวกแก่นักท่องเที่ยว ทาให้ระบบนิเวศเสื่อมโทรมลง มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้ใช้การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism - CBT) เป็นเครื่องมือ สร้างความเข้มแข็งขององค์กรชาวบ้านในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม โดยกระบวนการมีส่วนร่วม ของคนในชุ ม ชน ในการก าหนดทิ ศ ทางการพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว จากต้ น ทุ น ที่ มี อ ยู่ ใ นชุ ม ชนอย่ า งหลากหลาย ทั้งธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต และการอนุรักษ์ ให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการ ได้รับประโยชน์และร่วมแก้ไขปัญหาที่มาจากการท่องเที่ยว ดังนั้นการส่งเสริมให้ชุมชนมีการบริหารจัดการ การท่องเที่ยวที่ดี การท่องเที่ยวโดยชุมชนจะทาให้เกิดการจ้างงานในชุมชน และเกิดการกระจายรายได้ไปสู่ชุมชน ลดปัญหาการอพยพย้ายถิ่น เนื่องจากมีตลาดรองรับผลิตผลการเกษตรในชุมชน ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น การจาหน่ายสินค้าผลิตผลการเกษตรที่ชุมชนเพาะปลูก การจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่น เกิดการกระจาย รายได้ โดยการท่องเที่ยวอย่างครบวงจร และสามารถขยายมาสู่การพัฒนาเครือข่ายชุมชนเชิงสร้างสรรค์ที่มุ่งให้ ชุมชนดาเนินชีวิตตามหลักการพึ่งพาตนเองได้ และตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว โดยชุมชนให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น เน้นการท่องเที่ยวแบบลึกซึ้ง เพื่อให้คนในชุมชนได้นาองค์ความรู้ที่ได้รับมา พั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วภายในท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง จะช่ ว ยยกระดั บ เศรษฐกิ จ ของชุ ม ชน ท าให้ ชุ ม ชนมี ค วามเข้ ม แข็ ง สามารถพึ่งตนเองได้ และมีการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน ดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงได้ดาเนินโครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน ๓ เส้นทาง โดย น้อมนาศาสตร์พระราชา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาเป็นแนวทางในการดาเนินกิจกรรมบริการวิชาการ มีการบูรณาการกับ การเรียนการสอนและงานวิจัย เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนให้สามารถขยายฐานการท่องเที่ยวมาเป็นการท่องเที่ยว แบบลึกซึ้ง มีกลุ่มนักท่องเที่ยวกลุ่มใหม่เข้ามาในพื้นที่มากขึ้น และชุมชนได้ประโยชน์ทางด้านการพัฒนาการจัดการ ทรัพยากรให้ยั่งยืนต่อไป นอกจากนั้นนักศึกษาสามารถนาความรู้ภาคทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในการทางานจริง ทาให้ เกิดการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานคุณวุฒิ และพัฒนาทักษะการทางานในศตวรรษที่ ๒๑ รวมถึงอาจารย์สามารถนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการบริการวิชาการ หรือนาปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบริการ วิชาการมาเป็นโจทย์วิจัย และพัฒนาเป็นโมเดลต้นแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบยั่งยืนในท้องถิ่นภาคใต้ ฝั่งอันดามันต่อไป 82


โครงกำรพั ฒนำศักยภำพกำรท่องเที่ยวโดยชุมชน (ต่อ) ผลผลิต (Output) 1. ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ จานวน 17 ชุมชน 2. มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนจานวน 11 รายวิชา และงานวิจัย 2 เรื่อง 3. ชุมชนมีนักเล่าเรื่องที่มีศักยภาพในการนาเที่ยวได้ จานวน 14 คน ผลลัพธ์ (Outcome) 1. เกิดการรวมกลุ่มเพื่อบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนได้เอง 2. มีเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนเส้นทางใหม่ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ 3. ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีศักยภาพในด้านต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ผลกระทบ (Impact) 1. สร้างอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน 2. มีเครือข่ายความร่วมมือกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชน 3. นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงจากการบูรณาการการเรียนการสอนกับกิจกรรมในโครงการ 4. มีงานวิจัยที่สามารถนามาใช้ประโยชน์กับความต้องการของชุมชนได้จริง

83


เส้นทำงท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต

“เที่ยวทั้งปี เทพกระษัตรี ศรีสุนทร” พื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านเคียน หมู่ที่ 3 บ้านเหรียง และหมู่ที่ 7 บ้านนาใน ตาบลเทพกระษัตรี อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต หมู่ที่ 2 บ้านท่าเรือ และหมู่ที่ 5 บ้านลิพอนใต้ ตาบลศรีสุนทร อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพการท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชนจั งหวั ด ภู เ ก็ ต เป็ น การด าเนิ น งานต่ อ เนื่ อ งเป็ น ปี ที่ 2 ในพื้น ที่ ตาบลศรีสุ น ทร โดยมี ก ารขยายพื้ น ที่ใ นการพั ฒ นาศัก ยภาพในตาบลเทพกระษั ตรี และส่งเสริ มศั ก ยภาพ ของต าบลศรี สุ น ทร ภายใต้ ชื่ อ “เที่ ย วทั้ งปี เทพกระษั ต รี ศรี สุ น ทร” เป็ น เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย วเชิ งประวั ติ ศ าสตร์ สมัยสงคราม 9 ทัพ มีการแสดงฟันดาบที่ เป็นอัตลักษณ์ชุมชน นอกจากนี้กิจกรรมมุ่งเน้นกระบวนการพัฒนาคน สร้า งความเข้ม แข็ งของการรวมกลุ่ม ของคนในชุ มชน และพัฒ นาทัก ษะด้า นการจัด การการท่ องเที่ ยวโดยชุ มชน โดยใช้กระบวนการ ดังนี้ 1. พัฒนาบุคลากรในชุมชน ด้านการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน การทางาน เป็นทีมภายในชุมชน การเรียนรู้ร่วมกันและการระดมความคิดเห็นอย่างมีส่วนร่วม เพื่อให้ชุมชนกาหนด ทิศทางการพัฒนาด้วยตนเอง มีกิจกรรมที่ทาร่ วมกับชุ มชน ได้แก่ กิจ กรรมส ารวจเส้นทางเบื้องต้ น กิจกรรมประชุมปฏิบัติการวิเคราะห์ของดีชุมชน เช่น การอบรมนักเล่าเรื่อง อบรมการแสดงฟันดาบที่ สะท้อนเรื่องราวการทาศึกสงคราม โดยมีคณะอาจารย์เป็นพี่เลี้ยงช่วยสนับสนุนและวางกรอบในการจัดการ 2. เชื่อมโยงร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น เทศบาล พัฒนาการอาเภอ สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดภูเก็ต การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมด้านการจัดการ เส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชน ใช้วิธีการจัดประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น และสร้างการรับรู้เกี่ยวกับ การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่ 3. พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวโดยบูรณาการกับรายวิชาการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน รายวิชาการออกแบบ กราฟฟิก และรายวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงธุรกิจ 4. ทดสอบเส้นทางการท่องเที่ยว ชุมชนเป็นผู้จัดการเส้นทางการท่องเที่ยวด้วยตัวเอง ฝึกการเล่าเรื่อง การจั ด การอาหารและกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ภายในชุ ม ชน โดยมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วซึ่ ง เป็ น ตั ว แทนจาก สื่ อ ผู้ประกอบการโรงแรม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันสะท้อนและให้ข้อเสนอแนะ เพื่อถอดบทเรียน นาไปพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวต่อไป 5. จัดทาสื่อคู่มือและสื่อวีดิโอเพื่อประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่องเที่ยว ผลการดาเนินงานทาให้ชุมชนมีพัฒนาการในการจัดการเส้นทางการท่องเที่ยว สามารถเชื่อมโยงเส้นทาง ท่ อ งเที่ ย วระหว่ า ง 2 ต าบล เข้ า ด้ ว ยกั น รวมถึ ง เชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ยหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งให้ มี ส่ ว นร่ ว มในการ ประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น และเกิดความเข้มแข็งมากขึ้นสามารถบริหารจัดการเองได้ภายในกลุ่ม 84


เส้นทำงท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต

“เที่ยวทั้งปี เทพกระษัตรี ศรีสุนทร” (ต่อ)

85


เส้นทำงท่องเที่ยวจังหวัดพั งงำ

“มองตะวันจำกภูผำ ล่องธำรำสู่ มหำนที” พื้นที่ ชุมชนเขาไข่นุ้ย และพื้นที่เชื่อมโยง อาเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน ชุมชนเขาไข่นุ้ย อาเภอท้ายเหมือง เป็นชุมชนที่มีความพร้อมในการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชน และสามารถผลัก ดันให้ชุมชนมีศั กยภาพในการจัด การเส้นทางท่องเที่ ยวให้เ หมาะสมกั บบริบทเศรษฐกิจ สั งคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตจึงร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง วางแผน พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว มีการเก็บรวบรวมข้อมูลศักยภาพทางด้านการท่องเที่ยว โดยแบ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เกิดขึ้น ตามธรรมชาติ และแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น หลังจากนั้นจึงออกแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อให้สอดคล้องกับ ศักยภาพที่มีอยู่ พร้อมกับให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการบริการและการดาเนินวิสาหกิจชุมชนการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และกาหนดเส้นทางการท่องเที่ยวพร้อมรายการนาเที่ยวที่สมบูรณ์ ภายใต้ชื่อ “มองตะวันจากภูผา...ล่องธาราสู่มหานที (Wander above the sea of fog, float down the river through untouched land)” เป็นเส้นทางท่องเที่ยว เชิ งอนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ มี จุ ด เด่ น จากวิ ว ทิ ว ทั ศ น์ ท ะเลหมอก ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องป่ า โกงกาง และสวยงามของ หาดท้ า ยเหมื อ งทะเลอั น ดามั น จากการทดสอบรายการน าเที่ ย วจากผู้ เ ข้ า ร่ ว ม ทั้ ง ในชุ ม ชนและนอกชุ ม ชน เพื่อสรุปประเด็นข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ พบว่าชุม ชนมีทรัพยากรทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมและวิถีชีวิ ต ที่สามารถนามาพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวโดยไม่ลดทอนคุณค่าและการจัดการขีดความสามารถการท่องเที่ยว ทาให้กลุ่ม วิส าหกิ จ การท่ องเที่ ยวชุ มชนสามารถน าเส้ น ทางการท่ องเที่ ยวไปวางแผน และกาหนดโปรแกรมการท่ อ งเที่ ย ว เพื่อให้เกิดการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนได้อย่างเต็มรูปแบบ ทั้งนี้การดาเนินกิจกรรมได้บูรณาการร่วมกับรายวิชา จานวน 2 รายวิชา ได้แก่ รายวิชาธุรกิจนาเที่ยว และรายวิชานโยบายการท่องเที่ยว มีอาจารย์เข้าร่วมโครงการ จานวน 7 คน และนักศึกษาจานวน 150 คน

86


เส้นทำงท่องเที่ยวจังหวัดพั งงำ

“มองตะวันจำกภูผำ ล่องธำรำสู่ มหำนที” (ต่อ)

87


เส้นทำงท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่

“เขำครำม ห้ำมพลำด” พื้นที่ หมู่ที่ 1 - 6 ตาบลเขาคราม อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ กระบวนการ / ผลการดาเนินงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้ดาเนินโครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในพื้นที่ตาบลเขาคราม อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ภายใต้ชื่อ “เขาครามห้ามพลาด” เป็นเส้นทางท่องเที่ยวชุมชนเชิงเกษตรสร้างสรรค์อย่างมี ส่วนร่วม มีจุดเด่นจากทรัพยากรทางทะเล ธรรมชาติ และวัฒนธรรม โดยเริ่มจากการศึกษาและพัฒนาศักยภาพ ของพื้นที่ เพื่อนาไปวางแผนและแนวทางการพัฒนาให้เป็นเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนเส้นทางใหม่ของจังหวัดกระบี่ มีกระบวนการดาเนินกิจกรรม ดังนี้ 1. การวางแผน ผ่านการประชุมคณะกรรมการดาเนินโครงการและลงพื้นที่ศึกษาศักยภาพ และสารวจ สภาพปั ญหาและความต้อ งของพื้ น ที่ ร่ วมกั บ ตั วแทนภาคี เ ครื อข่ า ยที่ เกี่ ย วข้ องทั้ งหน่ว ยงานภาครั ฐ และภาคเอกชนในจังหวัดกระบี่ 2. การปฏิบัติหรือการทดสอบเส้นทางท่องเที่ยว มีการนาแผนการทางานร่วมกับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ตาบลเขาคราม จานวน 5 กิจกรรมหลัก ประกอบด้วย – กิจกรรมการศึกษาและพัฒนาศักยภาพ Homestay เพื่อรองรับการท่องเที่ยวโดยชุมชน – กิจกรรมการพัฒนาสมรรนะวิชาชีพและทักษะการบริการเพื่อการเป็นเจ้าบ้านที่ดี – กิจกรรมการศึกษาและพัฒนาศักยภาพพื้นที่เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน – กิจกรรมการทาสื่อประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชน – กิจกรรมการทดสอบและประเมินผลเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลการด าเนิ น งานของโครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพการท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน มี ก ารบู ร ณาการกั บ รายวิ ช า การจัดโครงการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน และรายวิชาการวางแผนการพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยนักศึ กษาสามารถนาองค์ ความรู้ที่ ได้รั บจากรายวิ ชาดั งกล่ าวไปประยุ กต์ใ ช้และบูร ณาการกับการจั ดทาแผน ยุทธศาสตร์ได้ 1 แผน และเส้นทางท่องเที่ยว จานวน 7 เส้นทาง มีบ้านพักรูปแบบโฮมสเตย์พร้อมรับนักท่องเที่ยว จานวน 6 หลัง และจากการสารวจแหล่งท่องเที่ยวใหม่ของตาบลเขาคราม พบว่า ถ้าภูเขากลางน้าในเขื่อนเขาค้อม มีการจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชน ตาบลเขาคราม โดยการผลิตสื่อมัลติมีเดียในรูปแบบ คลิ ป วี ดิ โ อประชาสั ม พั น ธ์ แ หล่ งท่ อ งเที่ ย วของต าบลเขาคราม ผ่ า นช่ อ งทางออนไลน์ 3 ช่ อ งทาง ประกอบด้ ว ย Youtube Instagram และ เว็บไซต์ : เขาครามห้ามพลาด

88


เส้นทำงท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่

“เขำครำม ห้ำมพลำด” (ต่อ)

89


โครงกำรส่งเสริม ควำมรักสำมัคคี เข้ำใจสิทธิหน้ำที่ ของตนเองและผู้อ่ น ื ภำยใต้พ้ ื นฐำน ของสั งคม ประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์เป็นประมุข พื้นที่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต โดยคณะครุศาสตร์ และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้จัดกิจกรรมส่งเสริม ความรักสามัคคีให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ดังนี้ จังหวัดภูเก็ต : ตาบลราไวย์ อาเภอเมือง และตาบลไม้ขาว อาเภอถลาง จังหวัดพังงา : ตาบลทุ่งมะพร้าว อาเภอท้ายเหมือง และตาบลกะไหล อาภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดกระบี่ : ตาบลบ้านกลาง อาเภออ่าวลึก และตาบลคลองพล อาเภอคลองท่อม โดยบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชา จานวน 11 รายวิชา ดังนี้ 1. การจัดการทัศนศิลป์เพื่อการท่องเที่ยว 2. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย 3. กฎหมายรัฐธรรมนูญ 4. กฎหมายสิทธิมนุษยชน 5. หน้าที่พลเมือง 6. กฎหมายปกครองท้องถิ่น 7. การศึกษาและวิเคราะห์ชุมชน 8. สถาบันการเมือง 9. ภาษาจีนเพื่อธุรกิจท่องเที่ยว 10. โครงงานสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ 11. ภาษาจีนระดับต้น 1 มีนักศึกษาเข้าร่ วมกิจกรรมจานวน 350 คน อาจารย์ จานวน 10 คน และประชาชน จ านวน 100 คน รวมทั้งสิ้น 460 คน โดยผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในหน้าที่คุณลักษณะคนไทย ๔ ประการ และเกิดความร่วมมือ ระหว่างเครือข่ายสถาบันการศึกษาจิตอาสาชุมชน ตลอดจนได้มีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการที่สอดคล้องกับ รายวิชาตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยที่ให้นักศึกษาเข้าใจในบทบาทของผู้เรียนต่อการพัฒนาศักยภาพชุมชนได้จริง

90


โครงกำรส่งเสริม ควำมรักสำมัคคี เข้ำใจสิทธิหน้ำที่ ของตนเองและผู้อ่ น ื ภำยใต้พ้ ื นฐำน ของสั งคม ประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์เป็นประมุข (ต่อ) ผลผลิต (Output) ๑. นักศึกษา ผู้นาชุมชน และประชาชนในท้องถิ่นมีความรักความสามัคคี มีระเบียบวินัย เข้าใจสิทธิหน้าที่ ของตนเองและผู้อื่น ๒. คณาจารย์สามารถบูรณาการการจัดการเรียนรู้รายวิชาในหลักสูตรกับการส่งเสริมความรัก ความสามัคคี ความมีระเบียบวินัย เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น 3. จานวนชิ้นงานที่เป็นสัญลักษณ์ของความสามัคคีที่เกิดจากแนวความคิดของคนในชุมชน จานวน 4 ชิ้น คือ - สื่อส่งเสริมความรัก ความสามัคคี จากอัตลักษณ์วิถีชุมชนราไวย์ - สื่อส่งเสริมสิทธิหน้าและความจงรักภักดีต่อสถาบัน - สื่อส่งเสริมความรัก ความสามัคคี จากอัตลักษณ์วิถีชุมชนบางโรง - ซุ้มส่งเสริมสิทธิหน้าและความจงรักภักดีต่อสถาบัน ชุมชนบางโรง ผลลัพธ์ (Outcomes) เกิดการมีส่วนร่วมคิด ร่วมทา ระหว่างภาคีเครือข่าย ผู้นาชุมชน และประชาชน ในการดาเนินกิจกรรมส่งเสริม ความรักความสามัคคี ความมีระเบียบวินัย และน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะ คนไทยที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ประการ ไปสู่การปฏิบัติและแพร่ขยายองค์ความรู้ในวงกว้างอย่างต่อเนื่อง

ผลกระทบ (Impact) เกิดความสันติสุขในชุมชนและประเทศชาติอย่างยั่งยืน

91


โครงการยกระดับการเรียนรูด ้ ้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ในระดับการจัดการ ศึกษาขั้นพื้ นฐาน ตามนโยบายของรัฐบาลที่วางเป้าหมายให้ประเทศไทยปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้และมุ่งให้ผู้เรียน มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อันจะนาไปสู่การมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่สูงขึ้น โดยวัดจาก คะแนนผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในแต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ซึ่งนโยบาย ดังกล่าว สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนา ศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยผู้เรียนมีทักษะและคุณสมบัติพื้นฐานของพลเมืองไทย มีทักษะและคุณ ลักษณะที่จ าเป็ นในศตวรรษที่ 21 คนทุกช่ว งวัย มีทัก ษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะ ตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ ตัวชี้วัดคือ นักเรียน มีคะแนนผลสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา พ.ศ. 2563 ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่าผลการทดสอบในภาพรวมระดับประเทศ ทุกรายวิชามีค่าเฉลี่ยคะแนนต่าว่าร้อยละ 50 ดังนั้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านการศึกษาและการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานอย่างต่อเนื่อง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จึงได้ดาเนินโครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียนและการวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์และยกระดับ คุณภาพการเรียนรูข้ องนักเรียนด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มวิชาภาษาไทยที่สูงขึ้น ดังนี้ 1. จัดทาแบบทดสอบ ก่อน-หลัง การพัฒนา (Pre-test & Post-test) เพื่อบ่งชี้ระดับก่อนและหลังได้รับการพัฒนา 2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับครูผู้สอนวิชาภาษาไทย ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เพื่อจัดทาสื่อการเรียนการสอน ที่ส่งเสริมการอ่าน การเขียน และการวิเคราะห์ จานวน 3 ครั้ง 3. จัดค่ายภาษาไทยให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จานวน 3 โรงเรียน ผลผลิต (Output) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้ถ่ายทอดองค์ความรู้และส่งเสริมให้ครูภาษาไทยที่เข้าร่วมโครงการ จานวนทั้งสิ้น 61 โรงเรียน เพื่อจัดทาสื่อการเรียนการสอน สาหรับประยุกต์ใช้กับเนื้อหาในวิชาการสอน จานวน 7 รูปแบบ ดังนี้ 1. สื่อแบบทามือ ป๊อบอัพทวิสต์ 2. สื่อแบบทามือ กังหันพาเพลิน 3. สื่อแบบทามือ บอร์ดสไลด์ 4. สื่อแบบทามือ ป๊อบอัพสไลด์ 5. สื่อแบบการ์ดเกม (Card Game) 6. สื่อเทคโนโลยีบอร์ดเกมออนไลน์ (Online Board Game) 7. สื่อเทคโนโลยีบอร์ดเกมออฟไลน์ (Offline Board Game) 92


โครงการยกระดับการเรียนรูด ้ ้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ในระดับการจัดการ ศึกษาขั้นพื้ นฐาน (ต่อ) ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ จานวน 61 โรงเรียน ได้รับการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางด้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์รวมทั้งครูประจาการที่เข้าร่วมโครงการฯ ซึ่งเป็นครูผู้สอน วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย ในด้านทักษะการผลิตสื่อ และการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

๖๑

โรงเรียน

คะแนน Pre-Test

คะแนน Post-Test

.๒๐%

.๔๒%

๕๑

๖๖

(+๑๕.๒๒%)

93


โครงการยกระดับการเรียนรูด ้ ้านการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ในระดับการจัดการ ศึกษาขั้นพื้ นฐาน (ต่อ)

สื่อเทคโนโลยีบอร์ดเกมออนไลน์

อบรมครูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

๖๑ โรงเรียน

สื่ อกำรสอน

ไตรมำส ๑-๒

ไตรมำส ๓-๔

เข้ำดำเนินกำรได้

เข้ำดำเนินกำรได้

โรงเรียน

โรงเรียน

๖๑

ออนไลน์

โรงเรียน

94

๒๐ ออนไลน์

๔๑

โรงเรียน

สื่อแบบการ์ดเกม

สื่อเทคโนโลยีบอร์ดเกมออฟไลน์


โครงการพั ฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยสื่ อสร้างสรรค์สาหรับ ผู้เรียนในยุคดิจท ิ ัล พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้ การศึกษาสร้างคน ไทยให้มีคุณลักษณะ ๔ ประการ คือ มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงแข็งแรง มีอาชีพ มีงานท า และเป็ นพลเมื อ งดี มี ร ะเบี ยบวิ นั ย ประกอบกับ ยุ ท ธศาสตร์ ม หาวิท ยาลั ย ราชภั ฏ เพื่อ การพั ฒนาท้ อ งถิ่ น ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ที่มุ่งเน้นให้บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาการ วิชาชีพ พร้อมด้วยทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ให้เป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิตเพื่อเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาท้องถิ่น ประเทศชาติ และพร้ อ มรองรั บ บริ บ ทที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ งเป้ า หมายเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ ข อง มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ในการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิตด้วยคุณลักษณะ ๔ ประการ พร้อมด้วยทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคณะ สาขาวิชา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ด้านความรู้และทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ด้วยกระบวนการอบรมให้ความรู้และ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของ นักศึกษา รวมทั้งประเมินผลโดยการทดสอบระดับความสามารถของนักศึกษาตาม เกณฑ์มาตรฐาน CEFR ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป โดยกาหนดเป้าหมาย คือ ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ที่ผ่านเกณฑ์ทดสอบความสามารถ การใช้ภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR ในระดับ B1 หรือเทียบเท่ามาตรฐานสากลอื่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ ซึ่งจากข้อมูลในปีการศึกษา ๒๕๖4 พบว่า ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีของ มหาวิทยาลัยที่ผ่านเกณฑ์ทดสอบความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR ในระดับ B1 ในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 88.73 ซึง่ ผ่านเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด

95


โครงการพั ฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยสื่ อสร้างสรรค์สาหรับ ผู้เรียนในยุคดิจท ิ ัล (ต่อ)

ผลผลิต (Output) 1. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตมีการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้มากขึ้น 2. นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตสามารถพูดโต้ตอบ สื่อสารและเปลี่ยนความคิดเห็น แนะนาตัวเองได้ในประโยคที่สั้น ๆ กับชาวต่างประเทศได้ ผลลัพธ์ (Outcome) นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมอบรมเสริมสร้างทักษะการสื่อสารผ่านการสอบมาตรฐาน CEFR ระดับ B1 ผลกระทบ (Impact) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตมีบัณฑิตที่มีคุณภาพและมีการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21

96


โครงการพั ฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยสื่ อสร้างสรรค์สาหรับ ผู้เรียนในยุคดิจท ิ ัล (ต่อ)

97


โครงการพั ฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยสื่ อสร้างสรรค์สาหรับ ผู้เรียนในยุคดิจท ิ ัล (ต่อ) ระดับความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ตามมาตรฐาน CEFR ปีการศึกษา 2561 คณะ ครุศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร วิทยาการจัดการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ คิดเป็นร้อยละ

A1 281 75 335 196 8 49.83

จานวนนักศึกษาที่สอบผ่านในระดับ (คน) A2 B1 B2 C1 275 201 6 62 70 7 8 92 94 1 51 2 7 3 27.56 20.60 0.75 -

ขาดสอบ 22 1.26

ผลรวม (คน) 504 420 83 522 249 18 100.00

ระดับความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ตามมาตรฐาน CEFR ปีการศึกษา 2562 คณะ ครุศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร วิทยาการจัดการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยการท่องเที่ยวนานาชาติ คิดเป็นร้อยละ

A1 17 3 68 51 6 9 8.71

จานวนนักศึกษาที่สอบผ่านในระดับ (คน) A2 B1 B2 C1 92 109 5 0 104 169 18 3 260 163 13 1 290 232 7 0 21 2 0 0 10 7 0 0 42.25 37.44 2.43 0.23

ขาดสอบ 23 8 45 75 2 5 8.94

ผลรวม (คน) 216 305 530 655 31 31 100.00

ระดับความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ตามมาตรฐาน CEFR ปีการศึกษา 2563 คณะ ครุศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร วิทยาการจัดการ 98 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คิดเป็นร้อยละ

A1 0 1 0 3 0 0.27

จานวนนักศึกษาที่สอบผ่านในระดับ (คน) A2 B1 B2 C1 0 36 257 0 17 268 122 3 0 24 32 1 6 346 152 0 4 123 100 0 1.81 50.30 40.35 0.27

ผลรวม ขาดสอบ (คน) 12 305 53 464 11 67 58 565 21 248 7.00 100


โครงการพั ฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยสื่ อสร้างสรรค์สาหรับ ผู้เรียนในยุคดิจท ิ ัล (ต่อ) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต โดยสานัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดาเนินโครงการพัฒนา ความรู้ แ ละทั ก ษะภาอั งกฤษให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ปี ก ารศึ ก ษา 2561 - 2563 โดยการจั ด อบรม ให้ความรู้ และส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง และทาการประเมินผลโดยการทดสอบระดับความสามารถของนักศึกษา ตามเกณฑ์มาตรฐาน CEFR ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป โดยกาหนดเป้าหมาย คือ หลังการอบรมและพัฒนา นักศึกษาที่ ผ่านเกณฑ์ทดสอบความสามารถ การใช้ภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR ในระดับ B1 ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ ของนักศึกษาทั้งหมด ซึ่งเป็นเป้าหมายที่สูงกว่าผลการประเมินผู้สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2563 ซึ่งผลการ ทดสอบปรากฏดังตาราง ระดับ ทักษะทางภาษาอังกฤษ ระดับ A1 ระดับ A2 ระดับ B1 ระดับ B2 ระดับ C1 ระดับ B1 – C1

ปีการศึกษา 2561

ปีการศึกษา 2562

ปีการศึกษา 2563

895 คน ร้อยละ 49.83 200 คน ร้อยละ 27.56 169 คน ร้อยละ 20.60 8 คน ร้อยละ 0.78 0 คน ร้อยละ 0.00 177 คน ร้อยละ 13.70

154 คน ร้อยละ 8.71 747 คน ร้อยละ 42.25 662 คน ร้อยละ 37.44 43 คน ร้อยละ 2.43 4 คน ร้อยละ 0.23 709 คน ร้อยละ 40.10

4 คน ร้อยละ 0.27 27 คน ร้อยละ 1.81 797 คน ร้อยละ 53.31 663 คน ร้อยละ 44.35 4 คน ร้อยละ 0.27 1,468 คน ร้อยละ 98.19

จากตารางจะเห็นว่า จานวนนักศึกษาในปีการศึกษา 2563 ผ่านการประเมินทักษะภาษาอังกฤษ ร้อยละ 98.19 ซึ่งมากกว่าปีการศึกษา 2562 ที่มีผู้สาเร็จการศึกษา ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 40.10 (ร้อยละ) 100 50 0 ระดับ A1

ระดับ A2 ปีการศึกษา 61

ระดับ B1

ระดับ B2

ปีการศึกษา 62

ระดับ C1 ปีการศึกษา 63

ระดับ B1-C1 (ระดับ)

99


โครงการพั ฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยสื่ อสร้างสรรค์สาหรับ ผู้เรียนในยุคดิจท ิ ัล (ต่อ)

ผลการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีการศึกษา 2563 นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ปี 1 - 5 จานวนนักศึกษาทั้งหมด 1,776 คน ระดับ ทักษะทางภาษาอังกฤษ ระดับ A1 ระดับ A2 ระดับ B1 ระดับ B2 ระดับ C1 ระดับ B1 – C1

ก่อนการพัฒนา

หลังการพัฒนา

631 คน ร้อยละ 31.72 600 คน ร้อยละ 30.17 273 คน ร้อยละ 13.73 22 คน ร้อยละ 1.11 3 คน ร้อยละ 0.15 298 คน ร้อยละ 14.98

400 คน ร้อยละ 20.11 546 คน ร้อยละ 27.45 263 คน ร้อยละ 13.22 349 คน ร้อยละ 17.55 0 คน ร้อยละ 0 612 คน ร้อยละ 30.77

หมายเหตุ นักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีการศึกษา 2563 จานวน 1,776 คน มีนักศึกษาขาดสอบและข้อมูลนักศึกษาที่ไม่สมบูรณ์จานวน 218 คน ไม่นามาคิด (ร้อยละ) 40 30 20 10 0 100

ระดับ A1

ระดับ A2

ระดับ B1 ก่อนการพัฒนา

ระดับ B2

ระดับ C1

หลังการพัฒนา

ระดับ B1-C1

(ระดับ)


โครงการพั ฒนาความรู้ ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยสื่ อสร้างสรรค์สาหรับ ผู้เรียนในยุคดิจท ิ ัล (ต่อ)

ผลการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีการศึกษา 2563 นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตทีเ่ ข้าร่วมโครงการ จานวน 7,710 คน ระดับ ทักษะทางภาษาอังกฤษ ระดับ A1 ระดับ A2 ระดับ B1 ระดับ B2 ระดับ C1 ระดับ B1 – C1

ก่อนการพัฒนา

หลังการพัฒนา

2,102 คน ร้อยละ 39.30 1,454 คน ร้อยละ 27.13 297 คน ร้อยละ 5.55 51 คน ร้อยละ 0.96 16 คน ร้อยละ 0.3 364 คน ร้อยละ 6.81

1,522 คน ร้อยละ 21.31 1,806 คน ร้อยละ 25.29 1,361 คน ร้อยละ 19.06 811 คน ร้อยละ 11.36 19 คน ร้อยละ 0.27 2,191 คน ร้อยละ 30.69

(ร้อยละ) 40 30 20 10

0 ระดับ A1

ระดับ A2

ระดับ B1 ก่อนการพัฒนา

ระดับ B2

ระดับ C1

หลังการพัฒนา

ระดับ B1-C1

(ระดับ) 101


โครงการสนับสนุนสื่ อวีดิทัศน์ประกอบการเรียน การสอนเพื่ อแก้ไขปัญหาขาดแคลนครูให้กับ โรงเรียนขนาดเล็ก ความสาคัญของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 มีการกาหนดกรอบการดาเนินงานและนโยบาย ในการจัดการศึกษาในทุกระดับชั้น โดยแผนการศึกษาแห่งชาติได้กาหนดมีจุดมุ่งหมายด้านผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ไว้ ดังนี้ 1. มุ่ ง พั ฒ นาผู้ เ รี ย นทุ ก คนให้ มี คุ ณ ลั ก ษณะและทั ก ษะการเรี ย นรู้ ใ นศตวรรษที่ 21 ประกอบด้ ว ยทั ก ษะและ คุณลักษณะ คือ อ่านออก (Reading) เขียนได้ (Writing) คิดเลขเป็น (Arithmetics) 2. ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) 3. ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) 4. ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) 5. ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration Teamwork and Leadership) 6. ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy) 7. ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) 8. ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) 9. ความมีเมตตา กรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) จากนโยบายการศึกษาของประเทศไทยข้างต้น เมื่อหน่วยงานการศึกษาได้นาลงสู่การปฏิบัติ ยังคงพบปัญหา ด้านคุณภาพผู้เรียน จะเห็นได้จากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2563 พบว่าอยู่ในระดับไม่น่าพึงพอใจ มีคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าร้อยละ 50 สรุปได้ว่าปัญหาด้านการพัฒนาผู้เรียนข้างต้นของการศึกษาไทย ยังต้องขับเคลื่อนกระบวนการเรียนรู้ที่พัฒนา ผู้เรียน ให้คิดเป็นและทาเป็น เพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ต่อนวัตกรรมและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างก้าวกระโดด เพราะอิทธิพลของเทคโนโลยีดิจิทัลกับการดารงชีวิต ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างฉับพลัน (Disruptive Technology) ซึ่ งนอกจากจะส่ งผลกระทบต่ อ ระบบเศรษฐกิ จ แล้ ว ยั งส่ งผลกระทบต่ อ การด ารงชี วิ ต ของประชาชน ในประเทศต่ า ง ๆ ทั่ ว โลกที่ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ในชี วิ ต ประจ าวั น มากมาย ทั้ ง ด้ า นการเรี ย นการสอน ในสถานศึก ษา การจัด การ ทรั พยากรธรรมชาติ การเดิ นทาง การใช้ ข้อ มูล ข่า วสารเพื่ อการบริ หารและการจั ดการ การทางาน เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเกี่ยวข้องกับทุกเรื่อง ในชีวิตประจาวัน ดังนั้นเยาวชนรุ่นใหม่จึงควรเรียนรู้และเข้าใจ เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้รู้เท่าทัน และนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สังคมและประเทศต่อไป ซึ่งเป็นบทบาท ของการศึกษาที่ต้องพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะและความรู้ในเรื่องดังกล่าวในห้องเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สื่อวิดีทั ศน์ จึ งเป็น ทางออกเพื่ อกระตุ้นการเรีย นรู้ โดยเฉพาะโรงเรี ยนขนาดเล็ ก ซึ่งมีปัญหาขาดครู มี ครูไม่ ครบขั้ น จะได้ประโยชน์จากการใช้สื่อวิดีทัศน์ทาการสอนแทนครูหรือจัดกิจกรรมร่วมกับการสอนของครูได้ 102


โครงการสนับสนุนสื่ อวีดิทัศน์ประกอบการเรียน การสอนเพื่ อแก้ไขปัญหาขาดแคลนครูให้กับ โรงเรียนขนาดเล็ก (ต่อ)

ผลผลิต (Output) 1. ได้สื่อวิดีทัศน์ สาหรับการจัดการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 7 เรื่อง เรื่องละ 10 ตอน 2. สื่อวิดีทัศน์ที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพระดับสูง ผลลัพธ์ (Outcome) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสูงกว่าเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ผลกระทบ (Impact) ครูสามารถนาไปขยายผลสู่โรงเรียนอื่นได้ ปัญหาและอุปสรรค (Threat) การนาสื่อไปทดลองใช้ที่โรงเรียนในสถานการณ์โควิด ผลการดาเนินงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ได้ดาเนินโครงการสนับสนุนสือ่ วีดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอน โดยคณะครุศาสตร์ เพื่ อแก้ ไขปั ญหาขาดแคลนครู ให้ กั บโรงเรีย นขนาดเล็ ก ในพื้ น ที่จั งหวั ด ภูเ ก็ต จังหวัด พั งงา และจั งหวั ด กระบี่ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้โรงเรียนใช้สื่อวีดิทัศน์แก้ปัญหาการขาดแคลนครู และบ่มเพาะจิตวิญญาณความเป็นครูให้แก่ นักศึกษา โดยมีการดาเนินการ คือ ประชุมวางแผนร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคใต้ ศึกษาบริบทของ สถานศึกษา และผลิตสื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานศึกษา จานวน 7 เรื่อง เรื่องละ 10 - 12 ตอน ดังนี้ 1. ใบโบกใบบัว 2. ภูผา 3. เพื่อนกัน 4. ตามหา 5. ไปโรงเรียน 6. โรงเรียนลูกช้าง 7. เพื่อนรัก เพื่อนเล่น

ฝึกอ่านพยัญชนะและสระ ฝึกอ่านเลขไทยและการสะกดคา ฝึกอ่านเขียนพยัญชนะ สระ และเลขไทย ฝึกอ่านเขียนพยัญชนะ สระ เลขไทย และการสะกดคา ฝึกอ่านเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และการสะกดคา ฝึกอ่านเขียนพยัญชนะ สระ และการสะกดคา ฝึกอ่านเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และการอ่านประโยค

103


โครงการสนับสนุนสื่ อวีดิทัศน์ประกอบการเรียน การสอนเพื่ อแก้ไขปัญหาขาดแคลนครูให้กับ โรงเรียนขนาดเล็ก (ต่อ) จังหวัด ภูเก็ต

พังงา

กระบี่

104

พื้นที่ดาเนินงาน 1. โรงเรียนบ้านบางคู หมู่ที่ 2 ตาบลเกาะแก้ว อาเภอเมือง 2. โรงเรียนบ้านแหลมทราย หมู่ที่ 6 ตาบลเทพกระษัตรี อาเภอถลาง 1. โรงเรียนทุ่งไทรงาม หมู่ที่ 5 ตาบลทับปุด อาเภอทับปุด 2. โรงเรียนบ้านถ้าทองหลาง หมู่ที่ 3 ตาบลถ้าทองหลาง อาเภอทับปุด 3. โรงเรียนบ้านในวัง หมู่ที่ 4 ตาบลถ้าทองหลาง อาเภอทับปุด 4. โรงเรียนวัดราษฎร์อุปถัมถ์ หมู่ที่ 4 ตาบลบางเหรียง อาเภอทับปุด 1. โรงเรียนบ้านคลองประสงค์ หมู่ที่ 4 บ้านบางขนุน ตาบลคลองประสงค์ อาเภอเมือง 2. โรงเรียนบ้านทุ่งพะยอม หมู่ที่ 9 สองแพรก ตาบลกระบี่น้อย อาเภอเมือง 3. โรงเรียนบ้านอ่าวน้าเมา หมู่ที่ 5 อ่าวน้าเมา ตาบลไสไทย อาเภอเมือง 4. โรงเรียนบ้านบางขนุน หมู่ที่ 2 บ้านบางขนุน ตาบลคลองประสงค์ อาเภอเมือง


โครงการพั ฒนาระบบข้อมูลตาบล ในจังหวัดภูเก็ต พั งงา และกระบี่ (Big Data)

การพัฒนาระบบข้อมูลตาบล เป็นกระบวนการในการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของตาบลในพื้นที่บริการ ของมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต ได้ แ ก่ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต จั งหวั ด พั งงา และจั ง หวั ด กระบี่ โดยเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านการศึกษา ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานทั่วไป สภาพปัญหา ความต้องการ ศักยภาพชุมชน และข้อมูลอื่น ๆ ทั้งที่เป็นข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ โดยมีระบบและการจัดการ ในการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล การวิ เ คราะห์ ประมวลผล การรายงานและการน าเสนอข้ อ มู ล ทั้ งในรู ป แบบเอกสาร รู ป แบบดิ จิ ทั ล หรื อ รู ป แบบอื่ น ที่ ส ามารถสื บ ค้ น วิ เ คราะห์ น าเสนอในเชิ งสารสนเทศ ได้อย่างถูกต้อง เข้าใจง่าย สะดวก และรวดเร็ว เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนสาหรับการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ตและหน่วยงานในพื้นที่ ผลผลิต (Output) มีฐานข้อมูลตาบลของพื้นที่บริการ (ศักยภาพชุมชน สภาพปัญหา และความต้องการที่แท้จริงของชุมชน) เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ประเมินผลและวางแผนพัฒนาเชิงพื้นที่ตามศักยภาพของมหาวิทยาลัย จานวน 2,924 ครัวเรือน ดังนี้ จังหวัดภูเก็ต 4 ตาบล 37 หมู่บ้าน จังหวัดพังงา 3 ตาบล 13 หมู่บ้าน จังหวัดกระบี่ 3 ตาบล 20 หมู่บ้าน จากข้อมูลที่สารวจได้พบว่าเป็น เพศชาย จานวน 3,759 คน คิดเป็น ร้อยละ 46.21 เป็นเพศหญิ ง จานวน 4,375 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 53.79 โดยประชากรทั้ งหมดมี สั ญ ชาติ ไ ทย นั บ ถือ ศาสนาพุท ธ จ านวน 5,007 คน คิดเป็นร้อยละ 61.65 ศาสนาอิสลาม จานวน 3,090 คน คิดเป็นร้อยละ 38.04 และศาสนาคริสต์ จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 0.29 ศาสนาพุทธ - ฮินดู จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.02 ผลลัพธ์ (Outcome) มีระบบข้อมูลตาบลที่มหาวิทยาลัย หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ตลอดจนประชาชนสามารถนาไปใช้ เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ (Impact) มีระบบฐานข้อมูลตาบลที่มีประสิทธิภาพและความคล่องตัว สะดวก รวดเร็ว ในการค้นหาข้อมูลที่สามารถ เข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลา

105


โครงการพั ฒนาระบบข้อมูลตาบล ในจังหวัดภูเก็ต พั งงา และกระบี่ (Big Data) (ต่อ)

106


โครงการเสริมสร้างสมรรถนะภาคีเครือข่าย การวางแผนการพั ฒนาเชิงพื้ นที่ระดับตาบล

พื้นที่ดาเนินงาน : จังหวัดภูเก็ต 3 ตาบล คือ ตาบลเชิงทะเล ตาบลกมลา และตาบลรัษฎา จังหวัดพังงา 3 ตาบล คือ ตาบลโคกกลอย ตาบลบางม่วง และตาบลท่านา จังหวัดกระบี่ 3 ตาบล คือ ตาบลคลองพน ตาบลบ้านกลาง และตาบลคลองเขม้า โครงการเสริมสร้างสมรรถนะภาคีเครือข่ายเพื่อการวางแผนพัฒนาเชิงพื้นที่ระดับตาบล ประกอบด้วย จังหวัดภูเก็ต จานวน 3 พื้นที่ ได้แก่ ตาบลเชิงทะเล ตาบลกมลา และตาบลรัษฎา จังหวัดพังงา จานวน 3 พื้นที่ ได้แก่ ตาบลบางม่วง ตาบลโคกกลอย และตาบลท่านา จังหวัดกระบี่ จานวน 3 พื้นที่ ได้แก่ ตาบลคลองพน ตาบล คลองเขม้า และตาบลบ้านกลาง เกิดขึ้นบนฐานคิดของความพยายามดาเนินการพัฒนาให้ชุมชนสามารถวิเคราะห์ แผนตาบล การฝึ ก วิ ทยากรแผนต าบล และการสร้ างนวั ตกรรมชุ ม ชน ภายใต้ก ารส่งเสริ ม การประกอบอาชี พ สร้างรายได้ที่เพิ่มมากขึ้น ให้กับครัวเรือนเป้าหมาย ซึ่งอาจนาไปสู่ชุมชนที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งกาย ใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคมอย่างยั่งยืน โดยได้กาหนดเป้าหมายสาคัญของการพั ฒนาให้เป็นไปตามหลักการบูรณาการ ด้านการเรียนการสอนกับการพัฒนาท้องถิ่น โดยการมีส่วนร่วมของอาจารย์ นักศึกษา และประชาชน ในท้องถิ่น ต่ อ การถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ เทคโนโลยี นวั ต กรรมและงานวิ จั ย ความเชี่ ย วชาญในศาสตร์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย สู่การพั ฒนาชุม ชนท้ องถิ่น การส่งเสริมการประกอบอาชีพ และยกระดั บรายได้ ของครั วเรื อนให้กั บประชาชน ในชุมชนท้องถิ่น โครงการเสริมสร้างสมรรถนะภาคีเครือข่ายเพื่อการวางแผนพัฒนาเชิงพื้นที่ ระดับตาบล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้กาหนดวิธีการไว้ ดังนี้ การวิเคราะห์แผนตาบลเพื่อการวางแผน พัฒนาเชิงพื้นที่ การสารวจปัญหา และความต้องการของชุมชน การฝึกอบรมวิทยากรแผนตาบล จานวน 135 คน 1 ตาบล / วิทยากร 15 คน เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาความสามารถของบุคคล ในการเป็นวิทยากรชุมชน และการสร้างนวัตกรรมชุมชน จานวน 27 นวัตกรรม โดยใช้รูปแบบของกาหนดเป้าหมายการพัฒนาร่วมกัน ระหว่างนักศึกษา ประชาชน อาจารย์ และหน่วยงานความร่วมมือในพื้นที่ โดยบูรณาการกับรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 7 รายวิชา การจัดการเชิงพื้นที่ดาเนินการ และกลุ่มเป้ าหมายที่ร่ วมกระบวนการพัฒนา วางแผนการดาเนินการ พั ฒนา เพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกันทั้งในแง่ เครื่องมือ เทคนิควิธีการและกระบวนการพัฒนา รวมถึงการจัดการและวางแผนงบประมาณ การประสานงาน การจัดกระบวนการ การบันทึกและการเขียนรายงาน เป็นการหาข้อตกลงและข้อสรุปร่วมกันในการดาเนินโครงการ เพื่อการวางแผนพัฒนาเชิงพื้นที่ระดับตาบลต่อไป

107


โครงการเสริมสร้างสมรรถนะภาคีเครือข่าย การวางแผนการพั ฒนาเชิงพื้ นที่ระดับตาบล (ต่อ)

การบูรณาการกับรายวิชา 7 วิชา 1. 3. 5. 7.

รายวิชาภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว รายวิชาปัญหาพิเศษ รายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ รายวิชาการสัมมนาในงานพัฒนาชุมชน

2. รายวิชาการจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี 4. รายวิชาการจัดอบรมและสัมมนา 6. รายวิชาปัญหาพิเศษ

ผลผลิต (Output) 1. แผนพัฒนาเชิงพื้นที่ ตาบลละ 1 แผน รวมทั้งสิ้น 9 แผน 2. พัฒนาแผนนวัตกรรมตามเอกลักษณ์ชุมชน จานวน 29 นวัตกรรม ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ฝึกวิทยากรและสร้างนักเล่าเรื่องประจาตาบล จานวน 135 คน 2. สือ่ มัลติมีเดีย จานวน 10 ชิ้น

108



เปรียบเทียบพื้ นที่กำรดำเนินงำน ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔

จานวนพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน จังหวัด

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2562

พ.ศ. 2563

พ.ศ. 2564

ภูเก็ต

3

11

20

36

พังงา

2

11

17

35

กระบี่

1

8

25

18

ตรัง

-

-

-

3

รวม

6

29

62

92

พื้นที่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ จานวน 92 หมู่บ้าน/ชุมชน

พ.ศ. ๒๕๖๑ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่

110

พ.ศ. ๒๕๖๔ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง



ด้ำนสังคม

พ.ศ. ๒๕๖๒

พ.ศ. ๒๕๖๓

1. โครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ไขปัญหา ความยากจนของคนในท้องถิ่น จานวน๑๐ โครงการ

1. โครงการพั ฒนาคุ ณภาพชี วิ ตและยกระดั บรายได้ ให้กับคนในชุมชนฐานราก

2. โครงการส่ งเสริ มความรั กสามัคคี ความมีระเบี ยบ วินัย เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น

2. โครงการส่งเสริม ความรักสามัคคี เข้าใจสิทธิหน้าที่ ของตนเองและผู้ อื่ น ภายใต้ พื้ น ฐานของสั ง คม ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 3. โครงการพัฒนาระบบข้อมูลตาบลในจังหวัด

พ.ศ. ๒๕๖๔

พ.ศ. ๒๕๖๕

1. โครงการยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิ ด วิ เ คราะห์ ข องนั ก เรี ย น ในระดั บ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

1. โครงการยกระดับ การเรีย นรู้ โ รงเรีย นเครื อข่ า ย ขนาดเล็ก

2. โครงการพั ฒนาความรู้ ทั ก ษะด้ านภาษาอั งกฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑ 3. โครงการสนั บสนุ นสื่ อวี ดิ ทั ศน์ ประกอบการเรี ยน การสอน เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาขาดแคลนครู ใ ห้ กั บ โรงเรียนขนาดเล็ก

112

2. โครงการพัฒนาสื่อวีดีทัศน์เพื่อส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้ตลอดชีวิต 3. โครงการพั ฒ นาฐานข้ อ มู ล ชุ ม ชนเพื่ อ เสริ ม สมรรถนะภาคีเครือข่ายการพัฒนาท้องถิ่น 4. โครงการยกระดับคุณภาพสังคมสูงอายุและเตรียม ความพร้อมสู่วัยเกษียณ 5. โครงการยกระดับมาตรฐานสมรรถนะบัณฑิตครู สู่ความเป็นเลิศ 6. โครงการสร้ า งอั ต ลั ก ษณ์ บั ณ ฑิ ต วิ ศ วกรสั ง คม คนของพระราชา ข้าของแผ่นดิน 7. โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เพื่อยกระดับคุณภาพนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ สาหรับศตวรรษที่ 21


ด้ำนเศรษฐกิจ

พ.ศ. ๒๕๖๒

พ.ศ. ๒๕๖๓

1. โครงการยกระดั บผลิ ตภั ณฑ์ สิ นค้ า OTOP ยกขึ้ น 1 ระดั บ ๔ กลุ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อาหาร สมุ น ไพร ผ้ า เครื่ อ งแต่ ง กาย และของใช้ ข องที่ ร ะลึ ก ใน ๓ จั ง หวั ด ได้ แ ก่ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต จั ง หวั ด พั ง งา และจังหวัดกระบี่ จานวน ๑๕ ผลิตภัณฑ์

1. โ ค ร ง กา ร พั ฒนา ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนท้ องถิ่ น ๒1 ผลิตภัณฑ์

2. โครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ไขปัญหา ความยากจนของคนในท้องถิ่น

2. โครงการพั ฒนาคุ ณภาพชี วิ ตและยกระดั บรายได้ ให้กับคนในชุมชนฐานราก 3. โครงการพั ฒนาศั กยภาพการท่ องเที่ ยวโดยชุ มชน ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

พ.ศ. ๒๕๖๔

พ.ศ. ๒๕๖๕

1. โ ค ร ง กา ร พั ฒนา ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนท้ องถิ่ น ๒1 ผลิตภัณฑ์

1. โครงการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และยกระดั บ เศรษฐกิจฐานราก

2. โครงการพั ฒนาคุ ณภาพชี วิ ตและยกระดั บรายได้ ให้กับคนในชุมชนฐานราก

2. โครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อขยาย ตลาดภูมิปัญญา (University as a Marketplace)

3. โครงการพั ฒนาศั กยภาพการท่ องเที่ ยวโดยชุ มชน ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

3. โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน

113


ด้ำนกำรศึกษำ

พ.ศ. ๒๕๖๒

พ.ศ. ๒๕๖๓

1. โครงการยกระดับคุ ณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียนและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

1. โครงการยกระดับคุ ณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียนและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

2. โครงการพั ฒนาความรู้ ทั ก ษะด้ านภาษาอั งกฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑

2. โครงการพั ฒ นาความรู้ทั ก ษะด้ านภาษาอังกฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑ 3. โครงการคลั ง ข้ อ สอบวั ด แววความเป็ น ครู ข อง มหาวิทยาลัยราชภัฏ 4. โครงการสนับสนุนสื่อวีดิทัศน์ประกอบการเรียน การสอน เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาขาดแคลนครู ใ ห้ กั บ โรงเรียนขนาดเล็ก

พ.ศ. ๒๕๖๔

พ.ศ. ๒๕๖๕

1. โครงการยกระดับการเรียนรู้ด้านการอ่าน การเขียน และการคิ ด วิ เ คราะห์ ข องนั ก เรี ย น ในระดั บ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

1. โครงการยกระดับ การเรีย นรู้ โ รงเรีย นเครื อข่ า ย ขนาดเล็ก

2. โครงการพั ฒนาความรู้ ทั ก ษะด้ านภาษาอั งกฤษ ในศตวรรษที่ ๒๑ 3. โครงการสนั บสนุ นสื่ อวี ดิ ทั ศน์ ประกอบการเรี ยน การสอน เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาขาดแคลนครู ใ ห้ กั บ โรงเรียนขนาดเล็ก

114

2. โครงการพัฒนาสื่อวี ดีทัศน์เพื่อส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้ตลอดชีวิต 3. โครงการยกระดั บมาตรฐานสมรรถนะบั ณฑิ ตครู สู่ความเป็นเลิศ 4. โครงการพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับ คุ ณ ภาพนั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ส าหรั บ ศตวรรษที่ 21


ด้ำนสิ่ งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๒ 1. การบริหารการจัดการขยะ ลดขยะ ลดโรค ลดภาระ ของชุมชนตาบลป่าตอง อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 2. เครื อข่ ายผู้ น ายุ วชนอาสาสมั ครพิ ทั กษ์ ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต

พ.ศ. ๒๕๖๔

พ.ศ. ๒๕๖๓ 1. โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม 2. โครงการพั ฒนาศั กยภาพการท่ องเที่ ยวโดยชุ มชน ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

พ.ศ. ๒๕๖๕

1. โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม

1. โครงการราชภัฏรักษ์สิ่งแวดล้อม

2. โครงการพั ฒนาศั กยภาพการท่ องเที่ ยวโดยชุ มชน ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

2. โครงการพั ฒนาศั กยภาพการท่ องเที่ ยวโดยชุ มชน ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่

115



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.