หนังสือแปลยกศัพท์ คัมภีร์อภิธัมมัตถะสังคะหะ

Page 1

แปลยกศั พ ท์ คั ม ภี ร ์ อ ภิ ธั ม มั ต ถวิ ภ าวิ นี ส�ำหรับผู้สนใจบาลี ชั้นประโยค ป.ธ.๙ ตามส�ำนวนสนามหลวง และส�ำนวนพระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน) วัดเบญจมบพิตร กรุงเทพ ฯ อดีตครูสอนชั้นประโยค ป.ธ.๙ วิชาแปลมคธเป็นไทย และกรรมการยกร่างเฉลยบาลีสนามหลวง และรองแม่กองบาลีสนามหลวง

โดยคณะครูสอนบาลี วิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ จากส�ำนักเรียนต่าง ๆ



สัมโมทนียกถา คัมภีรอ์ ภิธมั มัตถวิภาวินเี ป็นคัมภีรช์ นั้ ฎีกา ทีท่ า่ นพระสุมงั คลาจารย์ได้เขียนไว้ ขยายคัมภีรอ์ รรถกถาทีช่ อื่ิ ว่าคัมภีรอ์ ภิธมั มัตถสังคหะ ทีท่ า่ นพระอนุรทุ ธาจารย์ได้แต่ง ไว้เมือ่ ประมาณ ๙๐๐ ปี หลังจากทีส่ มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินพิ พาน ซึ่งประเทศไทยใช้เป็นหลักสูตรบาลีสนามหลวง ชั้นประโยค ป.ธ.๙ วิชาแปลมคธ เป็นไทย โดยยังมิได้มีการแปลยกศัพท์ไว้ พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙/มหาอาภิธรรมิกเอก) รองเจ้าคณะ ภาค ๓ เจ้าอาวาสวัดธรรมมูล วรวิหาร จังหวัดชัยนาท ได้ท�ำหน้าที่ครูสอนวิชานี้ ตั้งแต่สมัยอยู่วัดชนะสงครามราชวรวิหาร และสอนอีกหลายส�ำนัก มีส�ำนักเรียน วัดสามพระยาวรวิหาร เป็นต้น ปัจจุบนั ช่วยสอนวิชานี้ อยูท่ โี่ รงเรียนพระปริยตั ธิ รรม ของคณะสงฆ์ส่วนกลาง ที่วัดสามพระยา วรวิหาร กรุงเทพมหานคร ได้ชักชวนครู สอนวิชานี้ จากส�ำนักเรียนต่างๆ มีส�ำนักเรียนวัดปากนํ้า และส�ำนักเรียนวัดโมลี โลกยาราม กรุงเทพฯ เป็นต้น ช่วยกันจัดท�ำยกศัพท์ตามส�ำนวนพระเดชพระคุณ ท่านเจ้าคุณพระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.ธ.๙) อดีตรองแม่กองบาลี สนามหลวง ครูสอน วิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ ของคณะสงฆ์ส่วนกลาง และองค์เฉลยวิชานี้ ยาวนานถึง ๔๕ ปี จนส�ำเร็จเป็นประโยชน์แก่นักศึกษาภาษา บาลี และผู้สนใจใฝ่ธรรมทุกท่าน ขออนุโมทนา ชืน่ ชมต่อวิรยิ ะอุตสาหะของทุกท่านทีช่ ว่ ยจัดท�ำออกสูบ่ รรณพิภพ ในครั้งนี้ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาภาษาบาลี ตลอดไป สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดพิชยญาติการาม กรุงเทพมหานคร ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒



ค�ำน�ำ หนังสืออภิธัมมัตถภาวินีแปลยกศัพท์นี้ ได้จัดท�ำรวบรวมตั้งแต่ปี พุทธศักราช ๒๕๔๕ สมัยที่ข้าพเจ้าสอบบาลีชั้นประโยค ป.ธ.๙ ได้ และรับหน้าที่สอนวิชาแปล มคธเป็นไทยชั้นประโยค ป.ธ.๙ ณ ส�ำนักเรียนวัดชนะสงคราม กรุงเทพฯ เมื่อเกิดข้อสงสัยก็น�ำความสงสัยไปกราบเรียนสอบถาม พระเดชพระคุณ พระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.ธ.๙) วัดเบญจมบพิตร กรุงเทพฯ รองแม่กองบาลีสนามหลวง และเป็นอาจารย์สอนวิชานีข้ องโรงเรียนส่วนกลางของ คณะสงฆ์ ตลอดถึงออกปัญหาเป็นกรรมการยกร่างเฉลยสนามหลวง พร้อมทั้ง เป็นกรรมการตรวจบาลีสนามหลวงชั้นประโยค ป.ธ.๙ ด้วย เมื่อน�ำความสงสัย ไปปรึกษาพระเดชพระคุณท่าน จึงให้ทำ� หนังสือแปลตามส�ำนวนของท่าน โดยชักชวน พระมหาเปรียญหลายรูปช่วยกันรวบรวมและแก้ไขเรื่อยมา จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงรวมรวมเสร็จ และถวายท่านตรวจทานเสร็จ แต่ยงั ไม่ทนั ได้พมิ พ์ ท่านก็มรณภาพลง ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๕๐ พระเดชพระคุณพระพรหมโมลี ซึง่ ต่อมา คือ ท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ เจ้าคณะใหญ่หนกลาง ได้รับหน้าที่สอน ป.ธ.๙ วิชานี้ต่อ จึงได้ให้ขา้ พเจ้าเป็นผูช้ ว่ ยสอน และท�ำแปลยกศัพท์ขนึ้ มาเสริมอีก ข้าพเจ้าจึงชักชวน บรรดาครูสอนทีส่ อน ป.ธ.๙ โดยเฉพาะวิชานี้ ช่วยกันรวบรวมจัดท�ำประมาณ ๒ ปี จึงส�ำเร็จ แต่ดว้ ยมีขอ้ กังวลหลายอย่าง และเป็นช่วงทีข่ า้ พเจ้าย้ายจากวัดชนะสงคราม กรุงเทพฯ ไปเป็นเจ้าอาวาสวัดธรรมามูล วรวิหาร จ.ชัยนาท จึงส่งผลให้หนังสือ ล่าช้าไปอีก ๖ ปี ทั้งๆ ที่น่าจะเสร็จตั้งนานแล้ว มาปีนี้ตรวจทานเสร็จ ตามส�ำนวน พระเดชพระคุณพระธรรมวโรดม วัดเบญจมบพิตร ได้ขอค�ำอนุโมทนาจากท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ และเตรียมจัดพิมพ์ แต่ชวี ติ ไม่แน่นอน ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ มาละสังขารจากไปอีก หนังสือจึงได้ จัดพิมพ์หลังท่านให้ค�ำอนุโมทนาแล้ว เนื่องด้วยปัจจุบันหนังสือต่างๆ เริ่มหมด


ความสนใจจากผู้อ่าน เพราะผู้ที่สนใจในการค้นคว้ามักหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต สะดวกกว่า จึงเน้นมาท�ำหนังสือลงไว้ให้ผทู้ สี่ นใจค้นคว้าได้สะดวกทางอินเตอร์เน็ต ผูท้ สี่ นใจสามารถโหลดหรือน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ตามประสงค์ โดยตัง้ ใจไม่สงวนลิขสิทธิ์ หากพบเห็นข้อมูลผิดพลาดควรแก้ไข ขอให้ส่งข่าวให้ข้าพเจ้าทราบได้ทันที จักเป็นพระคุณอย่างสูง ขอถวายบุญกุศลทีเ่ กิดจากการจัดท�ำหนังสือนี้ แด่พระเดชพระคุณพระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.ธ.๙) พระอาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชานี้แก่ข้าพเจ้า ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ พระอาจารย์สอนวิชาแปลวิสุทธิมรรค ชั้นประโยค ป.ธ.๙ แก่ข้าพเจ้า และเป็นผู้เปิดโอกาสในการท�ำงานการสอนวิชานี้ และการบริหารกิจการงานคณะสงฆ์แก่ข้าพเจ้า และผู้มีพระคุณแก่ข้าพเจ้าทุกท่าน ตลอดจนถึงทุกท่านผู้ที่สนใจได้อนุโมทนาบุญในครั้งนี้ด้วยกันทุกท่าน เทอญ พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) โทร. ๐๘๑-๒๕๑-๘๔๔๐


สารบัญ อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา ฏีกาอภิธัมมัตถสังคหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี อารมฺภคาถา คาถาเริ่มต้น ปมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๑ ทุติยปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๒ ตติยปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๓ จตุตฺถปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๔ ปฺ จมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๕ ฉฏฐปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๖ สตฺตมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริจเฉทที่ ๗ อฏฺฐมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๘ นวมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๙ ปกรณาวสานวณฺณนา พรรณนาความสุดท้ายปกรณ์

๑ ๑ ๑๘ ๗๗ ๑๑๓ ๑๔๓ ๑๙๐ ๒๖๐ ๓๐๕ ๓๔๔ ๓๙๐ ๔๒๗



พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

1

อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา ฏีกาอภิธัมมัตถสังคหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี อารมฺภคาถา คาถาเริ่มต้น

(ข้าพเจ้า ชื่อว่าพระสุมังคลาจารย์) นตฺวา ขอนมัสการ พุทฺธํ พระพุทธเจ้า ุ พระบริสทุ ธิคณ ุ และพระมหากรุณาธิคณ ุ *๑ วิสทุ ธฺ กรุณาาณํ *ผูท้ รงพระปัญญาธิคณ ธมฺมํ พระธรรม สมฺพทุ ธฺ ปูชติ ํ อันพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ทรงบูชาแล้ว สงฺฆํ พระสงฆ์ สทฺธมฺมสมฺภูตํ ผู้เกิดดีแล้วแต่พระสัทธรรม นิรงฺคณํ ผู้มีกิเลสเพียงดังเนินไป ปราศแล้ว วนฺทิตฺวา ขอกราบไหว้ สารีปุตฺตํ พระสารีบุตร มหาเถรํ มหาเถระ ธีรํ ผู้เป็นปราชญ์ ปริยตฺติวิสารทํ องอาจในพระปริยัติ ครุ เป็นครู คารวภาชนํ เป็นเครื่องรองรับความเคารพ สิรสา ด้วยเศียรเกล้า แล้ว วณฺณยิสฺสํ จักพรรณนา สมาเสน โดยย่อ อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ซึ่งปกรณ์ชื่อว่าอภิธัมมัตถสังคหะ ปรมฺปีติวิว ฑฺฒนํ อันเป็นเครื่องยังปีติให้เจริญอย่างยิ่ง อาภิธมฺมิกภิกฺขูนํ แก่เหล่าภิกษุ นักอภิธรรม ปน ก็ (เพราะเหล่ากุลบุตร) น สกฺกา ไม่สามารถ วิฺาตเว เพื่อจะรู้แจ้ง อตฺโถ เนื้อความ สพฺพตฺถ ในทุกบท อิธ ในปกรณ์นี้ได้ โปราเณหิ อเนกาปิ กตา ยา วณฺณนา ตาหิ จากฏีกาแม้เป็นอันมาก ทีท่ า่ นพระโบราณาจารย์ ทั้งหลายได้รจนาไว้ ตสฺมา ฉะนั้น (ข้าพเจ้า) รจยิสฺสามิ จักรจนา สมาเสน โดยย่อ วณฺณนํ ซึ่งอรรถวรรณนา อหาปยํ ไม่ละทิ้ง ลีนปฺปทานิ บทที่ลี้ลับ ทัง้ หลาย เอตฺถ ในปกรณ์นี้ *สาธิปปฺ ายํ วิภาเวนฺโต พร้อมทัง้ อธิบายให้แจ่มแจ้ง* ๒ อิติ แล ฯ *...* ๑ *...* ๒

ถ้าตามโยชนา แปลเป็น ผู้ทรงพระกรุณา ฯลฯ บริสุทธิ์ ลีนปฺปทานิ วิภาเวนฺโต ท�ำบทที่ลี้ลับทั้งหลายให้แจ่มแจ้ง


2

อารัมภคาถา

เกริ่นน�ำ อาจริโย ท่านอาจารย์ (พระอนุรุทธาจารย์) อยํ นี้ อารภนฺโต เมื่อจะเริ่ม อิทํ ปกรณํ ปกรณ์ นี้ ปรมวิจิตฺตนยสมนฺนาคตํ ซึ่งประกอบด้วยนัยอันวิจิตร อย่างยิ่ง สกสมยสมยนฺตรคหณวิคฺคาหณสมตฺถํ สามารถจะแหวกความยุ่งเหยิง ในลัทธิของตน และลัทธิอื่น สุวิมลวิปุลปฺ าเวยฺยตฺติยชนนํ ซึ่งให้เกิดความ แกล้วกล้าแห่งปัญญาทั้งผ่องใสทั้งไพบูลย์ ปมํ ในเบื้องต้น สมฺมาสมฺพุทฺธนฺติ อาทิมาห กล่าวค�ำว่า สมฺมาสมฺพุทธ ดังนีเ้ ป็นต้น ตาว ก่อน ทสฺเสตุ ก็เพือ่ แสดง รตนตฺตยปณามาภิเธยฺยกรณปฺปการปกรณาภิธานปฺปโยชนานิ การนอบน้อม พระรัตนตรัย ความย่อ วิธกี ารแต่ง ชือ่ ปกรณ์ และประโยชน์ทงั้ หลาย ฯ

พรรณนาความคาถาเริ่มต้นปกรณ์ หิ ความจริง เอตฺถ ในคาถาเริม่ ต้นปกรณ์นี้ สมฺมาสมฺพทุ ธฺ ํ ฯเปฯ อภิวาทิยาติ อิมินา ด้วยค�ำว่า สมฺมสมฺพุทฺธ ฯเปฯ อภิวาทิย นี้ รตนตฺตยปณาโม วุตฺโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวถึงการนอบน้อมพระรัตนตรัย ฯ อภิธมฺมตฺถสงฺคหนฺติ เอเตน ด้วยค�ำว่า อภิธมฺมตฺถสงฺคห นี้ อภิเธยฺยกรณปฺปการปกรณาภิธานานิ อภิธมฺมตฺถานํ อิธ สงฺคเหตพฺพภาวทสฺสเนน เตสํ อิมนิ า สมุทเิ ตน ปฏิปาเทตพฺพ ภาวทีปนโต เอกตฺถ สงฺคยฺหกถนาการทีปนโต อตฺถานุคตสมฺ าปริทีปนโต จ กล่าวความย่อ เพราะแสดงว่า อรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม ทั้งหลายเหล่านั้น อันปกรณ์ที่รวบรวมขึ้นแล้วนี้ พึงให้ส�ำเร็จได้โดยแสดงว่าอรรถ ทีพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรมทัง้ หลาย อันท่านอาจารย์ พึงรวบรวมไว้ ในปกรณ์นี้ วิธีแต่ง เพราะเแสดงอาการคือการรวบรวมกล่าวไว้เป็นหมวด ๆ และ ชื่อปกรณ์ทั้งหลาย เพราะแสดงชื่อที่คล้อยตามความหมาย ฯ (อภิเธยฺย กล่าว ความย่อ อภิธมฺมตฺถานํ อิธ สงฺคเหตพฺพภาวทสฺสเนน เตสํ อิมินา สมุทิเตน ปฏิปาเทตพฺพภาวทีปนโต เพราะแสดงว่า อรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ในพระอภิธรรมทั้งหลายเหล่านั้น อันปกรณ์ที่รวบรวมขึ้นแล้วนี้ พึงให้ส�ำเร็จได้


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

3

โดยแสดงว่าอรรถทีพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรมทัง้ หลาย อันท่านอาจารย์ พึงรวบรวมไว้ในปกรณ์นี้ กรณปฺปการ วิธแี ต่ง เอกตฺถ สงฺคยฺหกถนาการทีปนโต เพราะเแสดงอาการคือการรวบรวมกล่าวไว้เป็นหมวด ๆ ปกรณาภิธานานิ จ และ ชื่อปกรณ์ทั้งหลาย อตฺถานุคตสมฺ าปริทีปนโต เพราะแสดงชื่อที่คล้อยตาม ความหมาย ฯ) ปน ส่วน ปโยชนํ ประโยชน์ ทสฺสติ เมว เป็นอันท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ แสดงไว้เสร็จแล้ว สงฺคหปเทน ด้วยบทว่าสังคหะ สามตฺถิยโต โดยเป็นบทที่มี ความสามารถ อภิธมฺมตฺถานเมกตฺถ สงฺคเห สติ ตทุคฺคหปริปุจฺฉาทิวเสน เตสํ สรูปาวโพธสฺส ตมฺมูลิกาย จ ทิฏฺธมฺมิกสมฺปรายิกตฺถสิทฺธิยา อนายาเสน สํสชิ ฌ ฺ นโต เพราะเมือ่ มีการรวบรวมอรรถทีพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม ทั้งหลายไว้เป็นหมวด ๆ ความเข้าใจสภาวะแห่งอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ในพระอภิธรรมเหล่านั้น ด้วยกิจมีการเรียน และการสอบถามอรรถที่พระผู้มี พระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรมนั้นเป็นต้น และความส�ำเร็จประโยชน์ในปัจจุบัน และประโยชน์ในสัมปรายภพ ซึง่ มีความเข้าใจสภาวะแห่งอรรถทีพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้า ตรัสไว้ในพระอภิธรรมนัน้ เป็นมูลก็จะส�ำเร็จได้โดยไม่ยาก (-โต เพราะ -สงฺคเห สติ เมือ่ มีการรวบรวม อภิธมฺมตฺถานํ อรรถทีพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม ทัง้ หลายไว้ เอกตฺถ เป็นหมวด ๆ สรูปาวโพธสฺส ความเข้าใจสภาวะ เตสํ แห่งอรรถ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรมเหล่านั้น ตทุคฺคหปริปุจฺฉาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกิจมีการเรียน และการสอบถามอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ใน พระอภิธรรมนั้นเป็นต้น ทิฏฺธมฺมิกสมฺปรายิกตฺถสิทฺธิยา จ และความส�ำเร็จ ประโยชน์ในปัจจุบันและประโยชน์สัมปรายภพ ตมฺมูลิกาย ซึ่งมีความเข้าใจ สภาวะแห่งอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรมนัน้ เป็นมูล สสํ ชิ ฌ ฺ น- ก็จะส�ำเร็จได้ อนายาเสน โดยไม่ยาก) ฯ ตตฺถ ในการาปกเหตุ มีการนอบน้อม พระรัตนตรัยเป็นต้นนั้น รตนตฺตยปณามปฺปโยชนํ ประโยชน์แห่งการนอบน้อม พระรัตนตรัย อาจริยา ท่านอาจารย์ทั้งหลาย ปปฺ เจนฺติ พรรณนาให้พิสดาร พหุธา โดยประการมาก ตาว ทีเดียว ฯ ปน แต่ว่า วิเสสโต โดยพิเศษแล้ว


4

อารัมภคาถา

ปจฺจาสึสนฺติ ท่านหวังจะ อนฺตรายนิวารณํ ป้องกันอันตราย (นัน่ เอง) ฯ ตถาหิ วุตฺตํ สงฺคหกาเรหิ สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์ผู้รจนาสังคหะทั้งหลายกล่าวไว้ ตสฺสานุภาเวน หตนฺตราโยติ ว่า ด้วยอานุภาพแห่งบุญนั้น ขอข้าพเจ้าจงปราศจาก อันตราย ฯ หิ ความจริง รตนตฺตยปณาโม การนอบน้อมพระรัตนตรัย อตฺถโต ว่าโดยความหมาย กุสลเจตนา ก็คือกุศลเจตนา ปณามกิริยาภินิปฺผาทิกา ที่ให้ ส�ำเร็จกิรยิ า คือการนอบน้อม ฯ จ และ สา กุศลเจตนานัน้ ทิฏฺ ธมฺมเวทนียภูตา เป็นเหตุให้เสวยผลในปัจจุบนั เขตฺตชฺฌาสยสมฺปทาหิ เพราะบริบรู ณ์ดว้ ยเขตและ อัชฌาสัย วนฺทเนยฺยวนฺทกานํ แก่บุคคลทั้งหลายผู้ไหว้พระรัตนตรัยที่ควรไหว้ ปฏิพาหิตฺว า ย่อมป้องกัน อุปปีฬกอุปจฺเฉทกกมฺมานิ อุปปีฬกกรรมและ อุปจั เฉทกกรรม อนฺตรายกรานิ อันกระท�ำอันตราย ตนฺนพิ พฺ ตฺตติ วิปากสนฺตติยา ต่อความสืบต่อแห่งวิบากอันกุศลเจตนานั้นให้บังเกิดแล้ว อนุพลปฺปทานวเสน ด้วยอ�ำนาจช่วยสนับสนุน กมฺมสฺส แก่กรรม ยถาลทฺธสมฺปตฺตนิ มิ ติ ตฺ กสฺส ทีม่ สี มบัติ ตามที่ได้แล้วเป็นเครื่องหมาย แล้ว สาเธติ ให้ส�ำเร็จ อปฺปวตฺตึ ความไม่เป็นไป โรคาทิอนฺตรายานํ แห่งอันตรายมีโรคเป็นต้น ยถาธิปฺเปตตฺถสิทฺธิวิพนฺธกานํ อันจะขัดขวางความส�ำเร็จประโยชน์ตามทีป่ ระสงค์ ตนฺนทิ านานํ อันมีอปุ ปีฬกกรรม และอุปจั เฉทกกรรมนัน้ เป็นเหตุ ฯ ตสฺมา ฉะนัน้ รตนตฺตยปณามกรณํ การกระท�ำ การนอบน้อมพระรัตนตรัย ปกรณารมฺเภ ในการเริ่มต้นปกรณ์ ยถารทฺธปกรณสฺส อนนฺตราเยน ปริสมาปนตฺถฺ เจว ก็เพื่อปกรณ์ตามที่เริ่มแล้วจะส�ำเร็จลุล่วงไป โดยปราศจากอันตราย อุคคฺ หณธารณาทิสสํ ชิ ฌ ฺ นตฺถฺ จ และเพือ่ ความส�ำเร็จกิจ มีการเรียนและการทรงจ�ำเป็นต้น อนนฺตราเยน โดยปราศจากอันตราย โสตูนํ แก่นกั ศึกษาทัง้ หลาย ปฏิปตฺตยิ า เพราะการปฏิบตั ิ วนฺทนาปุพพฺ งฺคมาย มีการไหว้ เป็นประธาน ฯ ปน ส่วน อภิเธยฺยกถนํ การกล่าวความย่อไว้ วิทิตาภิเธยฺยสฺเสว คนฺถสฺส วิฺู หิ อุคคฺ หณาทิวเสน ปฏิปชฺชติ พฺพภาวโต ก็เพราะคัมภีรซ์ งึ่ มีความย่อปรากฏ ชัดเจนแล้วเท่านั้น อันวิญญูชนทั้งหลายจะพึงปฏิบัติตามได้ ด้วยอ�ำนาจกิจมีการ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

5

เรียนเป็นต้น ฯ จ อนึ่ง กรณปฺปการปฺปโยชนสนฺทสฺสนานิ การแสดงวิธีการแต่ง และประโยชน์ไว้ โสตุชนานํ สมุสฺสาหชนนตฺถํ ก็เพื่อให้เกิดความขะมักเขม้น แก่นักเรียนทั้งหลาย ฯ ปน ส่วน อภิธานกถนํ การกล่าวชื่อไว้ โวหารสุขตฺถนฺติ ก็เพือ่ สะดวกแก่การเรียกแล ฯ อยํ นี้ สมุทายตฺโถ เป็นความรวม เอตฺถ ในคาถา เริ่มต้นปกรณ์นั้น ฯ ปน ส่วน อวยวตฺโถ ความเรียง อยํ มีดังต่อไปนี้ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า (ข้าพเจ้า) อภิวาทิย ขออภิวาท สมฺมาสมฺพุทฺธํ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า อตุลํ ผู้ทรงพระคุณอันชั่งไม่ได้ สสทฺธมฺมคณุตฺตมํ พร้อมทั้งพระสัทธรรมและหมู่อันสูงสุดแล้ว ภาสิสฺสํ จักกล่าว อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ปกรณ์ ชื่อว่าอภิธัมมัตถสังคหะ ฯ

ขยายความบท สัมมาสัมพุทธะ ตตฺถ พึงทราบวิเคราะห์ในคาถาเริ่มต้นปกรณ์นั้น ดังต่อไปนี้ *(โย ภควา พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด) อภิสมฺพุทฺโธ ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว สพฺพธมฺเม ซึ่งธรรมทั้งปวงทั้งหลาย สมฺมา (จ) โดยชอบด้วย สามฺ จ ด้วยพระองค์เองด้วย อิติ เหตุนั้น (โส ภควา) พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น สมฺมาสมฺพุทฺโธ จึงทรงพระนามว่า สัมมาสัมพุทธะ* ฯ หิ ความจริง โส พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น พุชฺฌิ ตรัสรู้แล้ว อฺ าสิ คือได้ทรงรู้ทั่วถึงแล้ว ธมฺมชาตํ ซึ่งธรรม สงฺขตาสงฺขตเภทํ ที่แยกเป็นสังขตธรรมและอสังขตธรรม สกลมฺปิ แม้ทั้งสิ้น ยาถาวสรสลกฺขณปฏิเวธวเสน ด้วยอ�ำนาจรู้แจ้งลักษณะ พร้อมทั้งกิจตาม ความเป็นจริง สมฺมา ชื่อว่าโดยชอบ สยมฺภุาเณน ด้วยพระสยัมภูญาณ วิจิโตปจิตปารมิตาสมฺภูเตน ที่เกิดพร้อมจากความที่พระองค์ทรงสั่งสม อบรม พระบารมีแล้ว สยํ ด้วยพระองค์เอง สามํ ชื่อว่า ด้วยพระองค์เอง ฯ ยถาห *...*

หรือจะแปลว่า (บุคคลใด) อภิสมฺพุทฺโธ รู้พร้อมเฉพาะแล้ว สพฺพธมฺเม ซึ่งธรรมทั้งปวง ทั้งหลาย สมฺมา (จ) โดยชอบด้วย สามฺ จ ด้วยตนเองด้วย อิติ เหตุนั้น (บุคคลนั้น สมฺมาสมฺพุทฺโธ จึงชื่อว่า สัมมาสัมพุทธะ ภควา ได้แก่พระผู้มีพระภาคเจ้า


6

อารัมภคาถา

สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ สยํ อภิฺาย กมุทฺทิเสยฺยนฺติ ว่า เรารู้ ยิ่งเอง จะพึงอ้างใครเล่า ดังนี้เป็นต้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ พุธธาตุสฺส ชาครณวิกสนตฺเถสุปิ ปวตฺตนโต เพราะพุธธาตุใช้ในอรรถว่าตื่นก็มี ในอรรถว่า เบิกบาน ก็มี อตฺโถ จึงมีอธิบายความ อิติ ว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ปฏิพุทฺโธ ทรงตื่นเฉพาะแล้ว สมฺมา โดยชอบ สามฺ จ และด้วยพระองค์เอง อน Ú ปฏิโพธิโต หุตวฺ า คือ มิใช่บคุ คลอืน่ ปลุกให้ตนื่ วิคโต ได้แก่ ทรงปราศจาก สวาสนสมฺโมหนิทฺทาย ความหลับคือความลุ่มหลงพร้อมทั้งวาสนา อจฺจนฺตํ อย่างเด็ดขาด สยเมว ด้วยพระองค์เองทีเดียว วิกสิโต ทรงเบิกบานแล้ว วิกาสมนุปปฺ ตฺโต คือทรงถึงความเบิกบานตามล�ำดับ สมฺมา โดยชอบ สยเมว จ และด้วยพระองค์เอง อปริมติ คุณคณาลงฺกตสพฺพฺ ุ ตาณปฺปตฺตยิ า โดยบรรลุ พระสัพพัญญุตญาณ อันประดับด้วยหมูค่ ณ ุ อันนับไม่ถว้ น อคฺคมคฺคาณสมาคเมน เพราะบรรลุอรหัตตมรรคญาณ วิกสิตมิว ปทุมํ เปรียบเสมือนดอกประทุมทีแ่ ย้มบาน ปรมรุจิรสิริโสภคฺคปฺปตฺติยา โดยถึงความงามอันเลิศว่ามีสิริอันน่าชอบใจอย่างยิ่ง ทินกรกิรณสมาคเมน เพราะการต้องรัศมีพระอาทิตย์ ฉะนั้น ฯ

ขยายความบท อตุละ ยถาวุตฺตวจนตฺถโยเคปิ แม้เมื่อจะมีการประกอบเนื้อความแห่งค�ำตามที่ กล่าวแล้ว สมฺมาสมฺพทุ ธฺ สทฺทสฺส ภควติ สมฺ าวเสน ปวตฺตตฺตา เพราะศัพท์วา่ สัมมาสัมพุทธะ ใช้ในพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยอ�ำนาจเป็นพระนาม วิเสเสติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงสดุดีพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นให้พิเศษออกไป อตุลนฺติ อิมินา ด้วยค�ำว่า อตุล นี้ ฯ สมฺมิโต บุคคลผู้อันเขาเปรียบเทียบได้ ตุลาย ด้วยปัญญาเป็นเครื่องพิจารณา ตุโลฺย ชื่อว่าตุลยะ ฯ โสเยว ตุลยะนั้น นั่นเอง วุตฺโต ท่านอาจารย์ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) กล่าว ตุโลติ ว่า ตุละ ยการโลปวเสน ด้วยอ�ำนาจลบ ย เสีย ฯ อถวา อีกอย่างหนึง่ ฯ อการปจฺจยวเสน ด้วยอ�ำนาจ อ ปัจจัย สมฺมิตตฺเถ ใช้ในความหมายว่า เปรียบเทียบ สมฺมิโต


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

7

บุคคลอันเขาเปรียบเทียบได้ ตุลาย ด้วยปัญญาเป็นเครือ่ งเปรียบเทียบ ตุโล ชือ่ ว่า ตุละ ฯ ตุโล พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นบุคคลอันบุคคลเปรียบเทียบได้ด้วยปัญญา เป็นเครื่องเปรียบเทียบ น หามิได้ อตุโล จึงทรงพระนามว่า อตุละ อสทิโส คือทรงเป็นผู้ไม่เหมือน เกนจิ กับใคร ๆ คุเณหิ ด้วยพระคุณทั้งหลาย สีลาทีหิ มีศีลเป็นต้น วา อีกอย่างหนึ่ง ตุโล บุคคลอันเขาเปรียบเทียบได้ ด้วยปัญญา เป็นเครื่องเปรียบเทียบ สทิโส คือบุคคลที่เหมือนกัน นตฺถิ ไม่มี เอตสฺส แก่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น อิติ เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น อตุโล ทรงพระนามว่าอตุละ อคฺคปุคฺคลภาวโต เพราะพระองค์ ทรงเป็นบุคคลชั้นยอด โลเก ในโลก สเทวเก พร้อมทั้งเทวโลก ฯ ยถาห สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ว่า ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สตฺตา เหล่าสัตว์ อปทา วา ที่ไม่มีเท้าก็ตาม ทฺวิปทา วา สองเท้าก็ตาม จตุปฺปทา วา สี่เท้าก็ตาม ยาวตา มีประมาณเพียงใด ตถาคโต ตถาคต อคฺคมกฺขายติ ปรากฏว่าเลิศ เตสํ กว่าสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น (ตาวตา) มีประมาณเพียงนั้น อิติอาทิ ดังนี้เป็นต้น ฯ

สรุปการสดุดีพระผู้มีพระภาคเจ้า จ ก็ เอตฺตาวตา ด้วยถ้อยค�ำมีประมาณเท่านี้ กตา โหติ ย่อมเป็นอัน ท่านพระอนุรุทธาจารย์กระท�ำ โถมนา การสดุดี ภควโต พระผู้มีพระภาคเจ้า ตีหากาเรหิ ด้วยอาการ ๓ อย่าง เหตุผลสตฺตปู การสมฺปทาวเสน คือ เหตุสมั ปทา ๑ ผลสัมปทา ๑ สัตตูปการสัมปทา ๑ ฯ

[อธิบายสัมปทา ๓] ตตฺถ ในบรรดาสัมปทาทั้ง ๓ ประการนั้น เหตุสมฺปทา นาม ที่ชื่อว่า เหตุ สั ม ปทา มหากรุ ณ าสมาโยโค ได้ แ ก่ ค วามที่ พ ระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ทรง ประกอบพร้อมด้วยพระมหากรุณา โพธิสมฺภารสมฺภรณฺ จ และความอบรม


8

อารัมภคาถา

พระโพธิสมภาร ฯ ปน ส่วน ผลสมฺปทา ผลสัมปทา จตุพฺพิธา มี ๔ อย่าง าณปหานานุภาวรูปกายสมฺปทาวเสน คือ ญาณสัมปทา ๑ ปหานสัมปทา ๑ อานุภาวสัมปทา ๑ รูปกายสัมปทา ๑ ฯ ตตฺถ บรรดาผลสัมปทา ๔ อย่างนั้น มคฺ ค าณํ มั ค คญาณ สพฺ พ ฺ ญุ ต าณปทฏฺ  านํ อั น เป็ น ปทั ฏ ฐานแห่ ง พระสัพพัญญุตญาณ ทสพลาทิาณานิ จ และพระญาณมีทสพลญาณเป็นต้น ตมฺมูลกานิ ซึ่งมีมัคคญาณนั้นเป็นมูล าณสมฺปทา นาม ชื่อว่าญาณสัมปทาน ฯ สวาสนสกลสงฺกิเลสานมจฺจนฺตมนุปฺปาทธมฺมตาปาทนํ การท�ำสังกิเลสทั้งสิ้น พร้อมทั้งวาสนา ให้ถึงความไม่เกิดขึ้นอย่างเด็ดขาดเป็นธรรมดา ปหานสมฺปทา นาม ชื่อว่า ปหานสัมปทา ฯ อาธิปจฺจํ ความเป็นใหญ่ ยถิจฺฉิตนิปฺผาทเน ในการบั น ดาลให้ ส� ำ เร็ จ ได้ ต ามที่ ป ระสงค์ อานุ ภ าวสมฺ ป ทา นาม ชื่ อ ว่ า อานุภาวสัมปทา ฯ ปน ส่วน อตฺตภาวสมฺปตฺติ ความสมบูรณ์แห่งพระอัตภาพ ลกฺขณานุพฺยฺ ชนปฏิมณฺฑิตา ที่ประดับด้วยพระลักษณะ (๓๒ ประการ) และพระอนุพยัญชนะ (๘๐ ประการ) สกลโลกนยนาภิเสกภูตา อันเป็นที่ น่ า เพลิ ด เพลิ น เจริ ญ นั ย นาของชาวโลกทั้ ง สิ้ น รู ป กายสมฺ ป ทา นาม ชื่ อ ว่ า รูปกายสัมปทา ฯ ปน ส่วน สตฺตูปกาโร สัตตูปการสัมปทา ทุวิโธ มี ๒ อย่าง อาสยปฺปโยควเสน คือ อาสยะ ๑ ปโยคะ ๑ ฯ ตตฺถ บรรดาสัตตูปการสัมปทาทัง้ ๒ อย่างนัน้ เทวทตฺตาทีสุ วิโรธิสตฺเตสุปิ นิจฺจํ หิตชฺฌาสยตา ภาวะที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีพระหฤทัยเกื้อกูลเป็นนิตย์ แม้ในเหล่าสัตว์ผู้มีความผิดมีพระเทวทัตเป็นต้น อินฺทฺริยปริปากกาลาคมนฺ จ และการรอคอยเวลาแก่กล้าแห่งอินทรีย์ อปริปากปฺ ิ นฺทฺริยานํ ของเหล่าสัตว์ ผู ้ มี ป ั ญ ญิ น ทรี ย ์ ยั ง ไม่ แ ก่ ก ล้ า อาสโย นาม ชื่ อ ว่ า อาสยะ ฯ ปน ส่ ว น ลาภสกฺ ก าราทิ นิ ร เปกฺ ข จิ ตฺ ต สฺ ส สพฺ พ ทุ กฺ ข นิ ยฺ ย านิ ก ธมฺ ม เทสนา ความที่ พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงมีพระหฤทัยมิได้เพ่งเล็งถึงลาภและสักการะเป็นต้น ทรงแสดงธรรมอันจะน�ำสัตว์ออกจากทุกข์ทั้งปวง ยานตฺตยมุเขน โดยหัวข้อ คือ ยาน ๓ ตทฺ สตฺตานํ แก่เหล่าสัตว์อื่นจากสัตว์ผู้มีความผิด มีพระเทวทัตต์


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

9

เป็นต้นนั้น ปโยโค นาม ชื่อว่า ปโยคะ ฯ ตตฺถ บรรดาสัมปทาทั้งหลาย มีเหตุสัมปทาเป็นต้นนั้น เทฺว ผลสมฺปทา ผลสัมปทา ๒ ประการ ปุริมา ข้างต้น สมฺมาสมฺพุทฺธนฺติ อิมินา ทสฺสิตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์แสดงแล้ว ด้วยค�ำว่า สมฺมาสมฺพุทฺธํ นี้ ฯ ปน ส่วน อิตรา เทฺว ผลสัมปทา ๒ ประการนอกนี้ สตฺตูปการสมฺปทา จ และสัตตูปการสัมปทา ตถา ก็เหมือนกัน อตุลนฺติ เอเตน คือ แสดงแล้วด้วยค�ำว่า อตุลํ นี้ ฯ ปน อนึ่ง เหตุสมฺปทา เหตุสัมปทา ตทุปายภูตา อันเป็นอุบายเข้าถึงผล สัมปทาและสัตตูปการสัมปทาทั้ง ๒ นั้น ทสฺสิตา เป็นอันท่านพระอนุรุทธาจารย์ แสดงแล้ว ทฺวีหิปิ แม้ด้วยบททั้ง ๒ สามตฺถิยโต โดยเป็นบทที่มีความสามารถ ตทุภยสมฺปตฺตีนมสมฺภวโต เพราะความถึงพร้อมแห่งสัมปทาทั้ง ๒ นั้น จะเกิดมี ไม่ได้ ตถาวิธเหตุพฺยติเรเกน โดยเว้นจากเหตุสัมปทาเช่นนั้นเสีย อเหตุกตฺเต สพฺพตฺถ ตาสํ สมฺภวปฺปสงฺคโต จ และเพราะเมือ่ ผลสัมปทาและสัตตูปการสัมปทา ทั้ง ๒ นั้น ไม่มีเหตุ (พึงเกิดได้เอง) ผลสัมปทาและสัตตูปการสัมปทาทั้ง ๒ เหล่านั้น ก็จะมีความเกี่ยวข้องกับความเกิดมีได้ ในบุคคลทุกจ�ำพวก ฯ

ขยายความบท สสัทธัมมคณุตตมะ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วนฺทิตฺวา ครั้นกราบไหว้ พุทฺธรตนํ พระพุทธรัตนะ ตํ นั้น ติวิธาวตฺถาสงฺคหิตโถมนาปุพฺพงฺคมํ ซึ่งมีการสดุดีที่ประมวลไว้ ด้วย ข้อก�ำหนด ๓ อย่างเป็นเบื้องต้น เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้แล้ว อิทานิ บัดนี้ อารภนฺโต เมือ่ จะเริม่ ปณามํ การนอบน้อม เสสรตนานมฺปิ แม้พระรัตนะทีเ่ หลือ อาห สสทฺธมฺมคณุตฺตมนฺติ จึงกล่าวว่า สสทฺธมฺมคณุตฺตมํ ดังนี้เป็นต้น ฯ หิ ความจริง คุณีภูตานมฺปิ ธมฺมสงฺฆานํ อภิวาเทตพฺพภาโว ภาวะที่พระธรรม และพระสงฆ์ แม้เป็นผู้มีพระคุณอันพุทธศาสนิกชนพึงกราบไหว้ วิฺายติ บัณฑิตย่อมรู้ได้ สหโยเคน ด้วยการประกอบกับ สห ศัพท์ ยถา สปุตฺตทาโร อาคโตติ เปรียบเสมือนเมื่อพูดว่า เขามาพร้อมกับลูกและเมีย ปุตฺตทารสฺสาปิ


10

อารัมภคาถา

อาคมนนฺติ ก็รู้ได้ว่า แม้ลูกและเมีย (ของเขา) ก็มาด้วย ฉะนั้น ฯ ตตฺถ บรรดาพระธรรมและพระสงฆ์นั้น ธมฺโม สภาวะที่ชื่อว่าธรรม อตฺตานํ ธาเรนฺเต จตูสุ อปาเยสุ วฏฺฏทุกฺเขสุ จ อปตมาเน กตฺวา ธาเรตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า ย่อมทรงเหล่าสัตว์ผู้ทรงตนไว้ ไม่ให้ตกไปในอบายภูมิ ๔ และในวัฏฏทุกข์ ทั้งหลาย ฯ ธมฺโม พระธรรม นววิโธ มี ๙ ประการ จตุมคฺคผลนิพฺพานวเสน คือ มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ วา หรือว่า ปริยตฺติยา สห รวมกับปริยัติธรรม ทสวิโธ ก็มี ๑๐ ประการ ฯ จ ปน ก็แล ธารณํ ความด�ำรงอยู่ เอตสฺส แห่งพระธรรมนัน้ อปายาทินพิ พฺ ตฺตกกิเลสวิทธฺ สํ นํ ก็คอื ความก�ำจัดกิเลสทีย่ งั สัตว์ให้ บังเกิดในอบายภูมิเป็นต้น ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมาย อิติ ว่า จ ก็ ตํ ความก�ำจัดกิเลสที่ยังสัตว์ให้บังเกิดในอบายภูมิเป็นต้นนั้น นิปฺปริยายโต ว่าโดยตรง อริยมคฺคสฺส ลพฺภติ ได้แก่ อริยมรรค กิเลสสมุจฺเฉทกภาวโต โดยเป็นสภาวะตัดกิเลสได้เด็ดขาด นิพฺพานสฺส ลพฺภติ จ และได้แก่พระนิพพาน ตสฺส ตทตฺถสิทฺธิเหตุตาย โดยอริยมรรคนั้นเป็นเหตุส�ำเร็จประโยชน์ กล่าวคือ ความก�ำจัดกิเลสนัน้ นิพพฺ านสฺส อารมฺมณภาเวน โดยมีพระนิพพานเป็นอารมณ์ ปน แต่ว่า ปริยายโต โดยอ้อม อุภินฺนมฺปิ ลพฺภติ ย่อมได้แก่ผลและปริยัติ แม้ทงั้ สอง ผลสฺส กิเลสานํ ปฏิปฺปสฺสมฺภนวเสน มคฺคานุคุณปฺปวตฺติโต โดยผล มีความเป็นไปแห่งคุณที่คล้อยตามมรรค ด้วยอ�ำนาจเป็นเครื่องสงบระงับกิเลส ทัง้ หลายได้ ปริยตฺตยิ า ตทธิคมเหตุตาย จ และโดยที่ปริยัติธรรมเป็นเหตุบรรลุถึง มรรคผลและพระนิพพานนั้น ฯ ธมฺโม พระธรรม สตํ ของผู้สงบทั้งหลาย สปฺปุริสานํ คือสัปบุรุษทั้งหลาย อริยปุคฺคลานํ ได้แก่ พระอริยบุคคลทั้งหลาย อิติ เพราะเหตุนั้น สทฺธมฺโม ชื่อว่าสัทธรรม วา อีกอย่างหนึ่ง ธมฺโม พระธรรม สนฺโต ที่มีอยู่ สํวิชฺชมาโน คือ ปรากฏอยู่ น ติตฺถิยปริกปฺปิโต อตฺตา วิย ปรมตฺถโต อวิชฺชมาโน หาใช่ไม่มีอยู่ โดยปรมัตถ์ ดุจอัตตาที่พวกเดียรถีย์ พากันก�ำหนด ฉะนั้น ไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น สทฺธมฺโม จึงชื่อว่าสัทธรรม วา อีกอย่างหนึ่ง ธมฺโม ธรรม สนฺโต ที่บัณฑิตยกย่อง ปสฏฺโ คือที่บัณฑิต


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

11

สรรเสริญ สฺวากฺขาตตาทิคุณโยคโต เพราะประกอบด้วยคุณมีความเป็นธรรม อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดแี ล้วเป็นต้น น พาหิรกธมฺโม วิย เอกนฺตนินทฺ โิ ต หาเป็นธรรมทีน่ า่ ติเตียนโดยส่วนเดียว ดุจธรรมของพาหิรกชน ฉะนั้น ไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น สทฺธมฺโม จึงชื่อว่าสัทธรรม ฯ คโณ จ โส หมู่นั้นด้วย คโณ ชื่อว่าเป็นหมู่ สมูหภาวโต เพราะเป็นหมู่ อริยปุคฺคลานํ ของพระอริยบุคคล ทั้งหลาย อุตฺตโม จ ชื่อว่าสูงสุดด้วย สุปฏิปนฺนตาทิคุณวิเสสโยคโต เพราะ ประกอบด้วยคุณวิเศษ มีความเป็นผู้ปฏิบัติดีแล้วเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น คณุตฺตโม จึงชื่อว่าคณุตตมะ วา อีกอย่างหนึ่ง อุตฺตโม หมู่ที่สูงสุด คณานํ กว่าหมู่ทั้งหลาย วา หรือว่า คเณสุ ในหมู่ทั้งหลาย เทวมนุสฺสาทิสมูเหสุ คือในหมู่เทวดาและมนุษย์เป็นต้น ยถาวุตฺตคุณวเสเนว ด้วยอ�ำนาจแห่งคุณ ตามที่กล่าวแล้วนั่นแหละ อิติ เพราะเหตุนั้น คณุตฺตโม จึงชื่อว่าคณุตตมะ ฯ สห สทฺ ธ มฺ เ มน คณุ ตฺ ต เมน จ พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า พระองค์ ใ ด เป็ น ไป พร้อมกับพระสัทธรรมและหมู่อันสูงสุด อิติ เพราะเหตุนั้น สสทฺธมฺมคณุตฺตโม พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า พระองค์ นั้ น ทรงพระนามว่า สสัทธรรมคณุตตมะ ฯ ตํ ซึง่ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าพระองค์นนั้ สสทฺธมฺมคณุตตฺ มํ พร้อมทั้งพระสัทธรรม และหมู่อันสูงสุด ฯ

ขยายความบท อภิวาทิยะ ภาสิสสัง อภิวาทิยาติ บทว่า อภิวาทิย วนฺทติ วฺ า ได้แก่ ไหว้ วิเสสโต โดยพิเศษ ฯ อตฺโถ อธิบาย อิติ ว่า วนฺทติ วฺ า ไหว้ กายวจีมโนทฺวาเรหิ ด้วยกายทวาร วจีทวาร และมโนทวาร สกฺกจฺจํ โดยเคารพ อาทเรน คือ โดยเอื้อเฟื้อ ภยลาภกุลาจา ราทิรหิเตน * เว้นความกลัว ลาภและมารยาทประจ�ำสกุลเป็นต้น* ฯ ภาสิสฺสนฺติ บทว่า ภาสิสฺส กเถสฺสามิ แปลว่า จักกล่าว ฯ *...*

หรือจะแปลว่า เว้นความกลัว ลาภตระกูลและมารยาทเป็นต้น


12

อารัมภคาถา

ขยายความบท อภิธัมมัตถสังคหะ นิพฺพตฺติตปรมตฺถภาเวน อภิวิสิฏฺา ธมฺมา เอตฺถาติอาทินา อภิธมฺโม ธมฺมสงฺคณิอาทิสตฺตปฺปกรณํ อภิธมฺมปิฏกํ ตตฺถ วุตฺตา อตฺถา อภิธมฺมตฺถา เต สงฺ ค ยฺ ห นฺ ติ เอตฺ ถ เอเตนาติ วา อภิ ธ มฺ ม ตฺ ถ สงฺ ค หํ ปกรณ์ ชื่ อ ว่ า อภิธัมมัตถสังคหะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่หรือเป็นเครื่องอันท่านอาจารย์ รวบรวมอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในคัมภีร์ที่ชื่อว่า อภิธรรม เพราะอรรถ วิเคราะห์เป็นต้นว่า เป็นที่อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสธรรมทั้งหลาย ที่พิเศษ อย่างยิ่งไว้ โดยเป็นปรมัตถธรรม อันพระองค์นั้นทรงให้บังเกิดแล้ว ได้แก่ พระอภิธรรมปิฎก ๗ คัมภีร์ มีพระธรรมสังคณีเป็นต้น ฯ (อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ปกรณ์ ชื่อว่า อภิธัมมัตถสังคหะ เอตฺถ เอเตนาติ วา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็น ที่ห รือเป็นเครื่อ ง สงฺคยฺหนฺติ อั นท่ านอาจารย์ ร วบรวม วุ ตฺตา อตฺ ถ า อภิธมฺมตฺถา เต อรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ตตฺถ ใน อภิธมฺโม คัมภีร์ ที่ชื่อว่า อภิธรรม เอตฺถาติอาทินา เพราะอรรถวิเคราะห์เป็นต้นว่า เป็นที่ อภิวิ สิฏฺา ธมฺมา อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสธรรมทั้งหลาย ที่พิเศษอย่างยิ่งไว้ นิพฺพตฺ ติตปรมตฺถภาเวน โดยเป็นปรมัตถธรรม อันพระองค์นั้นทรงให้บังเกิดแล้ว ธมฺม สงฺคณิอาทิสตฺตปฺปกรณํ อภิธมฺมปิฏกํ ได้แก่ พระอภิธรรมปิฎก ๗ คัมภีร์ มีพระ ธรรมสังคณีเป็นต้น ฯ) (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วิธาย ครั้นท�ำ รตนตฺตยปณามาทิกํ บุรพกิจ มีการนอบน้อมพระรัตนตรัยเป็นต้น ยถาธิปฺเปตปฺปโยชนนิมิตฺตํ ซึ่งมีประโยชน์ ตามที่ประสงค์เป็นเครื่องหมาย เอวํ ตาว อย่างนี้ก่อนแล้ว อิทํ ปกรณํ ปกรณ์นี้ ปฏปิยติ ท่านอาจารย์ตั้งไว้ สงฺคหนวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นเครื่องรวบรวม อภิธมฺมตฺถานํ อรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม เยสํ เหล่าใด อิทานิ บัดนี้ เต อุทฺทิสนฺโต เมื่อจะยกอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ในพระอภิธรรมเหล่านั้น ขึ้นแสดง สงฺเขปโต โดยสังเขป ตาว ก่อน ตตฺถ วุตฺตาติอาทิ อาห จึงกล่าวค�ำว่า ตตฺถ วุตฺตา ดังนี้เป็นต้น ฯ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

13

อธิบายอรรถ ๔ อย่างแห่งพระอภิธรรม โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า อภิธมฺมตฺถา อรรถแห่งพระอภิธรรม วุตฺตา ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ตตฺถ ในปกรณ์นั้น ตสฺมึ อภิธมฺเม คือ ในพระอภิธรรมนั้น สพฺพถา โดยประการทั้งปวง กุสลาทิวเสน คือด้วยอ�ำนาจ แห่งธรรมมีกุศลธรรมเป็นต้น ขนฺธาทิวเสน จ และด้วยอ�ำนาจแห่งสภาวธรรม มีขันธ์เป็นต้น ปรมตฺถโต ว่าโดยปรมัตถ์ นิพพฺ ตฺตติ ปรมตฺถวเสน คือด้วยอ�ำนาจ ปรมัตถ์ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงให้บังเกิดแล้ว สมฺมตึ เปตฺวา เว้นสมมติเสีย ิตา ด�ำรงอยู่ จตุธา โดยส่วน ๔ จตูหากาเรหิ คือโดยอาการ ๔ เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ จิตฺตํ จิต วิฺาณกฺขนฺโธ ได้แก่ วิญญาณขันธ์ เจตสิกํ เจตสิก เวทนาทิกฺขนฺธตฺตยํ ได้แก่ ขันธ์ ๓ มีเวทนาขันธ์เป็นต้น รูปํ รูป รูปกฺขนฺโธ ได้แก่ รูปขันธ์ ภูตุปาทายเภทภินฺโน แยกประเภทเป็นภูตรูปและอุปาทายรูป นิพฺพานํ นิพพาน อสงฺขตธมฺโม ได้แก่ อสังขตธรรม มคฺคผลานมาลมฺพนภูโต ซึ่งเป็นอารมณ์ของมรรคจิตและผลจิต ฯ

วิเคราะห์ปรมัตถธรรม ๔ อย่าง ตตฺถ พึงทราบวิเคราะห์ ในคาถาที่ ๒ นั้น ดังต่อไปนี้ อตฺโถ อรรถ ปรโม อย่างยอดเยี่ยม อุตฺตโม คือสูงสุด อวิปริโต ได้แก่ ไม่วิปริต วา หรือว่า อตฺโถ อรรถ โคจโร คืออารมณ์ าณสฺส แห่งญาณ ปรมสฺส ที่ยอดเยี่ยม อุตฺตมสฺส คือสูงสุด อิติ เพราะเหตุนนั้ ปรมตฺโถ จึงชือ่ ว่าปรมัตถ์ ฯ ตโต โดยปรมัตถ์นนั้ ฯ จินฺเตตีติ จิตฺตํ อารมฺมณํ วิชานาตีติ อตฺโถ ฯ ธรรมชาติใด ย่อมคิด อธิบาย ความว่า ย่อมรู้แจ้งอารมณ์ เพราะเหตุนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า จิต ฯ ยถาห วิสยวิชานนลกฺขณํ จิตตฺ นฺติ สมจริงดังพระอรรถกถาจารย์กล่าวไว้วา่ จิตมีลกั ษณะ รู้แจ้งอารมณ์ ดังนี้ ฯ หิ ความจริง สติปิ นิสฺสยสมนนฺตราทิปจฺจเย แม้เมื่อ นิสสยปัจจัยและสมนันตรปัจจัยเป็นต้น ก็ยังมีอยู่ จิตฺตํ จิต อารมฺมเณน วินา เว้นจากอารมณ์ น อุปปฺ ชฺชติ ก็เกิดขึน้ ไม่ได้ อิติ เพราะเหตุนนั้ ตสฺส ตํลกฺขณตา


14

อารัมภคาถา

วุตฺตา ท่านพระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า จิตนั้นมีลักษณะรู้แจ้งอารมณ์นั้น ฯ เตน ด้วยค�ำว่า จิตมีลักษณะรู้แจ้งอารมณ์นั้น ดังนี้นั้น ปฏิกฺขิตฺตํ โหติ ย่อมเป็น อันท่านอาจารย์คัดค้าน นิราลมฺพนวาทิมตํ มติของท่านผู้มีปกติกล่าวว่า จิตไม่มี อารมณ์ ฯ วา หรือว่า สมฺปยุตฺตธมฺมา สัมปยุตธรรมทั้งหลาย จินฺเตนฺติ ย่อมคิด เอเตน ด้วยธรรมชาตินี้ กรณภูเตน อันเป็นเครื่องกระท�ำ อิติ เพราะเหตุนั้น จิตตฺ ํ ธรรมชาตินนั้ ชือ่ ว่าจิต ฯ อถวา อีกอย่างหนึง่ ฯ จินตฺ นมตฺตํ เพียงความคิด จิตฺตํ ก็ชื่อว่าจิต ฯ หิ ความจริง ยถาปจฺจยํ ปวตฺติมตฺตเมว เพียงความเป็นไป ตามปัจจัยนั่นแหละ ยทิทํ นี้ คือ สภาวธมฺโม นาม ชื่อว่า สภาวธรรม ฯ จ ก็ เอวํ กตฺวา เพราะอธิบายความดังกล่าวมาอย่างนี้ นิปฺปริยายโต ว่าโดยตรง สพฺเพสมฺปิ ปรมตฺถธมฺมานํ ภาวสาธนเมว ลพฺภติ ปรมัตถธรรมแม้ทั้งหมด บัณฑิตย่อมได้ความเป็นภาวสาธนะเท่านั้น ฯ ปน ส่วน นิพฺพจนํ รูปวิเคราะห์ กตฺตุกรณวเสน ที่เป็นกัตตุสาธนะและเป็นกรณสาธนะ ปริยายกถนนฺติ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นว่า เป็นการกล่าวโดยอ้อม ฯ หิ ความจริง ธมฺมานํ กตฺตุภาโว ภาวะที่ธรรมทั้งหลายเป็นกัตตา สกสกกิจฺเจสุ อตฺตปฺปธานตาสมาโรปเนน โดยยกตนขึน้ เป็นประธานในหน้าทีข่ องตน ๆ ปฏิปาเทตพฺพธมฺมสฺส กรณตฺตญฺจ และภาวะที่ธรรมอันบัณฑิตจะพึงให้ส�ำเร็จเป็นกรณะ กตฺตุภาวสมาโรปเนน โดยยกภาวะที่ ต นเป็ น กั ต ตาขึ้ น สหชาตธมฺ ม สมู เ ห ในหมวดสหชาตธรรม ตทนุกุลภาเวน ด้วยภาวะที่คล้อยตามกัตตานั้น ปริยายโตว ลพฺภติ ย่อมได้ โดยอ้อมทั้งนั้น ฯ ปน ก็ ตถานิทสฺสนํ การแสดงเช่นนั้น เวทิตพฺพํ บัณฑิต พึงทราบ อิติ ว่า ธมฺมสภาววินิมุตฺตสฺส กตฺตาทิโน อภาวปริทีปนตฺถํ เพื่อจะ แสดงว่า กัตตาเป็นต้น ที่พ้นไปจากสภาวธรรม ไม่มี ฯ จิตฺตสทฺทสฺส อตฺถํ ปปฺ เจนฺติ ท่านอาจารย์ทั้งหลายย่อมพรรณนา อรรถแห่งจิตตศัพท์ให้พิสดาร วิจิตฺตกรณาทิโตปิ แม้โดยอรรถมีความกระท�ำให้วิจิตรเป็นต้น ฯ ปน ก็ เอตถ ในอธิการนี้ สงฺคโห มีความย่อ อยํ ดังต่อไปนี้


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

15

จิตฺตํ ธรรมชาตที่ชื่อว่าจิต วิจิตฺตกรณา เพราะกระท�ำให้วิจิตร อตฺตโน จิตตฺ ตาย วา หรือว่า เพราะภาวะทีต่ นวิจติ ร จิตตฺ ํ กมฺมกิเล เสหิ วา หรือว่า เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันกรรมและกิเลสทั้งหลาย สั่งสมไว้ จิตฺตํ ตายติ วา ตถา ก็หรือว่า เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมรักษาตนอันกรรมและกิเลสสั่งสมไว้ จิโนติ อตฺตสนฺตานํ วา หรือว่า เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมสั่งสมความสืบต่อแห่งตน วิจิตฺตารมฺมณนฺติ วา หรือว่า เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีอารมณ์ อันวิจิตร ดังนี้ ฯ เจตสิ ภวํ ธรรมชาตใดมีในจิต ตทายตฺตวุตฺติตาย โดยมีความเป็นไปเนื่องกับ จิตนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น เจตสิกํ ธรรมชาตนั้น ชื่อว่าเจตสิก ฯ หิ ความจริง ตํ เจตสิกนั้น จิตฺเตน วินา เว้นจากจิตเสีย น อารมฺมณคฺคหณสมตฺถํ ก็ไม่ สามารถจะรับอารมณ์ได้ อสติ จิตฺเต สพฺเพน สพฺพํ อนุปฺปชฺชนโต เพราะเมื่อ ไม่มีจิต เจตสิกก็เกิดขึ้นไม่ได้ทั้งหมด ฯ ปน ส่วน จิตฺตํ จิต เกนจิ เจตสิเกน วินาปิ แม้จะเว้นจากเจตสิกบางประการเสีย ปวตฺตติ ก็ยังเป็นไป อารมฺมเณ ในอารมณ์ได้ อิติ เพราะเหตุนั้น ตเมว เจตสิกนั้นเท่านั้น จิตฺตายตฺตวุตฺติกํ นาม ชือ่ ว่า มีความเป็นไปเนือ่ งกับจิต ฯ เตนาห ภควา เพราะเหตุนนั้ พระผูม้ พี ระภาคเจ้า จึงตรัสไว้ อิติ ว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นประธาน ดังนี้ เป็นต้น ฯ (ตทายตฺตวุตฺติตายาติ) เอเตน ด้วยบท ตทายตฺตวุตฺติตาย นี้ สุขาทีนมเจตนตฺตนิจฺจตฺตาทโย วิปฺปฏิปตฺติโยปิ ปฏิกฺขิตฺตา ย่อมเป็นอันท่าน พระอนุรทุ ธาจารย์ คัดค้านความปฏิบตั ผิ ดิ มีความทีเ่ วทนา ๕ ประการ มีสขุ เวทนา เป็นต้น ไม่มีจิต และความที่เวทนา ๕ ประการมีสุขเวทนาเป็นต้น เป็นธรรมชาติ เที่ยงแท้เป็นต้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง นิยุตฺตํ ธรรมชาตที่ประกอบ เจตสิ ในจิต เจตสิกํ ชื่อว่า เจตสิก ฯ


16

อารัมภคาถา

[ลักษณะรูปและนิพพาน] รุปฺปตีติ รูปํ สีตุณฺหาทิวิโรธิปจฺจเยหิ วิการมาปชฺชติ อาปาทิยตีติ วา อตฺโถ ธรรมชาตใด ย่อมเปลี่ยนแปร อธิบายว่า ย่อมถึงความเปลี่ยนแปร ด้วยปัจจัยที่เป็นข้าศึกมีความหนาวและความร้อนเป็นต้น หรืออันปัจจัยที่เป็น ข้าศึกมีความหนาวและความร้อนเป็นต้นให้ถึงความเปลี่ยนแปร เพราะเหตุนั้น ธรรมชาตนั้น ชื่อว่ารูป ฯ เตนาห ภควา สีเตนปิ รุปฺปติ อุเณฺหนปิ รุปฺปตีติอาทิ เพราะเหตุนน้ั พระผูม้ พี ระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ย่อมเปลีย่ นแปร เพราะความหนาวบ้าง ย่อมเปลี่ยนแปร เพราะความร้อนบ้าง ดังนี้เป็นต้น ฯ จ ก็ วิสทิสุปฺปตฺติเยว ความเกิดขึน้ ทีไ่ ม่เหมือนเดิมนัน่ เอง สีตาทิวโิ รธิปจฺจยสมวาเย ในเมือ่ มีการประชุม แห่งปัจจัยที่เป็นข้าศึกมีความหนาวเป็นต้น รุปฺปนํ ชื่อว่าความเปลี่ยนแปร เอตฺถ ในที่นี้ ฯ ยทิ เอวํ อรูปธมฺมานมฺปิ รูปโวหาโร อาปชฺชตีติ ถามว่า ถ้าเมื่อเป็น อย่างนั้น แม้อรูปธรรมก็ควรเรียกว่ารูปได้ มิใช่หรือ ฯ นาปชฺชติ เฉลยว่า เรียกว่ารูปไม่ได้ อธิปฺเปตตฺตา เพราะท่านประสงค์ รุปฺปนสฺส ความเปลี่ยนแปร วิภูตตรสฺเสว ที่ปรากฏชัดแล้วนั่นแล สีตาทิคหณสามตฺถิยโต โดยความสามารถ แห่งศัพท์ มีสีตศัพท์เป็นต้น ฯ หิ ความจริง อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความ นอกไปจากนี้ (ความเปลี่ยนแปร) ปริยตฺตํ ก็ส�ำเร็จ อวิเสสวจเนเนว ด้วยค�ำที่ ไม่แปลกกันเลย รุปฺปตีติ ว่า รุปฺปติ ดังนี้ อิติ เพราะฉะนั้น กึ จะมีประโยชน์ อะไร สีตาทิคหเณน ด้วยศัพท์ มีสีตศัพท์ เป็นต้นเล่า ฯ ปน ก็ ตํ ศัพท์มี สีตศัพท์เป็นต้นนั้น าปนตฺถํ มีประโยชน์ให้รู้ อิติ ว่า รุปฺปนํ ความเปลี่ยนแปร สีตาทินา ผุฏฺสฺส แห่งรูปอันปัจจัยที่เป็นข้าศึกมีความหนาวเป็นต้นถูกต้องแล้ว วิภตู ตรํ ปรากฏชัดกว่า ตสฺมา เพราะฉะนัน้ ตเทว ความเปลีย่ นแปรนัน้ นัน่ แหละ อธิปฺเปตํ ท่านประสงค์เอาแล้ว เอตฺถ ในบทว่า รุปฺปติ นี้ ฯ (ถาม) อิติ ว่า ยทิ เอวํ ถ้าเมื่อเป็นเช่นนั้น กถํ ท�ำไม พฺรหฺมโลเก ในพรหมโลก รูปโวหาโร จึงเรียกว่ารูป (เพราะว่า) หิ ความจริง อุปฆาตกา ปัจจัยที่เป็นตัวเบียดเบียน


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

17

สีตาทโย มีความหนาวเป็นต้น ตตฺถ น อตฺถิ ไม่มีในพรหมโลกนั้น ฯ (เฉลย) อิติ ว่า อุปฆาตกา ปัจจัยที่เป็นตัวเบียดเบียน นตฺถิ ไม่มี กิญฺจาปิ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น อนุคฺคาหกา อตฺถิ ปัจจัยที่เป็นตัวสนับสนุน ก็มีอยู่ ตสฺมา เพราะฉะนั้น รุปฺปนํ ความเปลี่ยนแปร เอตถ ในพรหมโลกนี้ สมฺภวติ ย่อมเกิด มี ตํวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจัยที่เป็นตัวสนับสนุนนั้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ รูปโวหาโร มีการเรียกว่ารูปได้ ตตฺถ ในพรหมโลกนั้น ตํสภาวานาติวตฺตนโต เพราะไม่ล่วงเลยความเปลี่ยนแปรนั้นไปได้ อิติ แล ฯ อลมติปปญฺเจน พอที ด้วยการกล่าวอย่างเยิ่นเย้อ ฯ นิ พฺ พ านํ ธรรมชาตที่ ชื่ อ ว่ า นิ พ พาน ภวาภวํ วิ น นโต สํ สิ พฺ พ นโต วานสงฺขาตาย ตณฺหาย นิกฺขนฺตํ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ออกไปแล้วจากตัณหา ที่เรียกว่า วานะ เพราะร้อยรัด คือเย็บไว้ ซึ่งภพน้อยภพใหญ่ นิพฺพาติ วา เอเตน ราคคฺคิอาทิโกติ หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่าเป็นเครื่องดับไฟ มีไฟคือ ราคะเป็นต้น ฯ


18

ปริเฉทที่ ๑

ปมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๑ ยสฺมา เพราะ ธมฺมานํ สภาววิภาวนํ การอธิบายสภาวธรรม วิภาควนฺตานํ ที่มีการจ�ำแนก วิภาเคน วินา เว้นการจ�ำแนกเสีย น โหติ ย่อมมีไม่ได้ ตสฺมา ฉะนั้น อิทานิ บัดนี้ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) ทสฺเสตุ หวังจะแสดง วิภาคํ การจ�ำแนก อภิธมฺมตฺถานํ อรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม ยถาอุทฺทิฏฺานํ ตามที่ยกขึ้นแสดงไว้ อุทฺเทสกฺกเมน ตามล�ำดับอุเทส วิภชิตฺวา นิทฺทิสิตุมารภนฺโต เมื่อจะเริ่มจ�ำแนกแสดง จิตฺตํ จิต ภูมิชาติสมฺปโยคาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจข้อเบ็ดเตล็ดมี ภูมิ ชาติ และสัมปโยคเป็นต้น ตาว ก่อน อาห ตตฺถ จิตฺตํ ตาวาติอาทิ จึงกล่าวค�ำว่า ตตฺถ จิตฺต ตาว ดังนี้เป็นต้น ฯ ตาวสทฺโท ตาวศัพท์ อตฺเถ ใช้ในความหมาย ปมนฺติ เอตสฺส แห่งค�ำว่า ปม นี้ ฯ หิ ความจริง เอตฺถ ในนิเทศนี้ อตฺโถ มีอธิบายความ อยํ ดังนี้ อิติ ว่า อภิธมฺมตฺเถสุ บรรดาอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม จตูสุ ๔ ประการ ยถาอุททฺ ฏิ เฺ สุ ตามทีย่ กขึน้ แสดงไว้ นิททฺ สิ ยิ ติ ข้าพเจ้าจะแสดง จิตฺตํ จิต ปมํ ก่อน ฯ จตุพฺพิธํ จิตชื่อว่า ๔ อย่าง จตฺตาโร วิธา ปการา อสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ มีอย่าง คือประการ ๔ ฯ ปน ก็ ยสฺมา เพราะ ธมฺมา ธรรมทัง้ หลาย จตุภูมิกา ที่เป็นไปในภูมิ ๔ เอเต เหล่านี้ อนุปุพฺพปณีตา ประณีตขึ้นตามล�ำดับ ตสฺมา ฉะนั้น นิทฺเทโส กโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกระท�ำการแสดง เตสํ จิตเหล่านั้น หีนุกฺกฏฺอุกฺกฏฺตรอุกฺกฏฺตมานุกฺกเมน ตามล�ำดับที่ต�่ำ สูง สูงกว่า และสูงที่สุด ฯ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

19

[อธิบายกามาวจรจิตเป็นต้น] ตตฺถ พึงทราบวิเคราะห์ในค�ำว่า กามาวจรํ เป็นต้นนั้น ดังต่อไปนี้ กาโม สภาวะทีช่ อื่ ว่ากาม กาเมตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ยังจิตให้ใคร่ กามตณฺหา คือ กามตัณหา ฯ กามาวจรํ จิตชื่อว่ากามาวจร สา เอตฺถ อวจรติ อาลมฺพนกรณวเสนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เป็นทีท่ อ่ งเทีย่ วไปแห่งกามตัณหานัน้ ด้วยอ�ำนาจ กระท�ำให้เป็นอารมณ์ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง กาโม สภาวะที่ชื่อว่ากาม กามิยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันจิตใคร่ เอกาทสวิโธ กามภโว ได้แก่กามภพ ๑๑ ฯ กามาวจรํ จิตทีช่ อื่ ว่ากามาวจร ตสฺมึ เยภุยเฺ ยน อวจรตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ท่องเที่ยวไปโดยมาก ในกามภพนั้น ฯ หิ ความจริง อธิปฺเปตตฺตา เพราะท่าน ประสงค์เอา จรณสฺส การท่องเทีย่ วไป เยภุยเฺ ยน โดยมาก อิมสฺส กามาวจรจิตนี้ รูปารูปภเว ปวตฺตสฺสาปิ แม้จะเป็นไปในรูปภพ หรืออรูปภพได้บา้ ง กามาวจรภาโว อุ ปฺ ป นฺ โ น โหติ ก็ จ ะเกิ ด เป็ น กามาวจร (อยู ่ นั่ น เอง) ฯ วา อี ก อย่ า งหนึ่ ง กามภโวเยว กามภพนั่นเอง กาโม ชื่อว่ากาม ฯ กามาวจโร กามภพ ชื่อว่า กามาวจร โส เอตฺถ อวจรตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่ท่องเที่ยวไป แห่งกามนัน้ ฯ จิตตฺ ํ จิต ปวตฺตมฺปิ แม้เป็นไปแล้ว ตตฺถ ในกามาวจรนัน้ กามาวจรํ ชือ่ ว่ากามาวจร นิสสฺ ยโวหาเรน โดยระบุชอ่ื ภพเป็นทีอ่ าศัย นิสสฺ เิ ต ในจิตผูอ้ าศัย มญฺจา อุกฺกฏฺ ึ กโรนฺตีติอาทีสุ วิยาติ ดุจในประโยคเป็นต้นว่า เตียงทั้งหลาย ย่อมกระท�ำเสียงโห่ ดังนี้แล ฯ อลมติวิสารณิยา กถาย พอทีด้วยการกล่าว อย่างพิสดาร ฯ โหติ เจตฺถ ก็ ในอธิการนี้ มีคาถารวมความ อิติ ว่า ตํ จิตนั้น กามาวจรํ ภเว พึงชื่อว่าเป็นกามาวจร กาโมว จรตีเตตฺถ กาเมวจรตีติ วา เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เป็นทีท่ อ่ งเทีย่ ว ไปแห่งกาม หรือท่องเที่ยวไปในกาม านูปจารโต วาปิ หรือโดย ฐานูปจาร ฯ


20

ปริเฉทที่ ๑

รูปารูปาวจเรสุปิ แม้ในรูปวจรจิต และอรูปาวจรจิต เอเสว นโย ทฏฺพฺโพ บัณฑิตพึงเห็นนัยเช่นเดียวกันนี้นั่นแหละ ยถารหํ ตามสมควร ฯ (จิต) โลกุตฺตรํ ชื่อว่าโลกุตตระ อุปาทานกฺขนฺธสงฺขาต โลกโต อุตฺตรติ อนาสวภาเวนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ย่อมข้ามขึน้ จากโลกกล่าวคืออุปาทานขันธ์ โดยไม่มอี าสวะ มคฺคจิตฺตํ ได้แก่มรรคจิต ฯ ผลจิตฺตมฺปน ส่วนผลจิต โลกุตฺตรํ ชื่อว่าโลกุตตระ ตโต อุตฺติณฺณนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ข้ามขึ้นแล้วจากโลกกล่าวคืออุปาทาน ขันธ์นั้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง อุภยมฺปิ มรรคจิตและผลจิตแม้ทั้งสองนั้น สห นิพพฺ าเนน พร้อมกับพระนิพพาน โลกุตตฺ รํ ชือ่ ว่าโลกุตตระ โลกโต อุตตฺ รํ อธิกํ ยถาวุตฺตคุณวเสเนวาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า สูง คือยิ่งกว่าโลก ด้วยอ�ำนาจ แห่งคุณตามทีก่ ล่าวแล้วนัน่ เอง ฯ ปน ก็ อิเมสุ จตูสุ ในบรรดาจิต ๔ ภูมเิ หล่านี้ กามาวจรจิ ตฺ ต สฺ ส จตุ พฺ พิ ธ ภาเวปิ แม้ เ มื่ อ กามาวจรจิ ต มี ถึ ง ๔ ประการ กุสลากุสลวิปากกฺริยาเภเทน โดยแยกเป็นกุศลจิต อกุศลจิต วิปากจิต และ กิริยาจิต ทสฺเสนฺโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์ เมื่อจะแสดง ปาปาเหตุเกเยว ปมํ เฉพาะปาปจิต (อกุศลจิต) และอเหตุจิตก่อน เอวํ วกฺขมานนยสฺส อนุรูปโต โดยคล้อยตามนัยที่จะกล่าวอยู่อย่างนี้ อิติ ว่า ปาปาเหตุกมุตฺตานิ จิตทั้งหลาย ที่พ้นจากอกุศลจิตและอเหตุกจิต โสภณานีติ วุจฺจเร ท่านเรียกว่า โสภณจิต ดังนี้ โวหารกรณตฺถํ เพือ่ จะตัง้ ชือ่ เอกูนสฏฺยิ า วา เอกนวุตยิ า วา จิตตฺ านํ จิต ๕๙ ดวง หรือ ๙๑ ดวง ปาปาเหตุกวชฺชานํ ซึง่ เว้นจากอกุศลจิต (๑๒ ดวง) และอเหตุกจิต (๑๘ ดวง) เสีย โสภณนาเมน โดยนามว่า โสภณจิต วิภชิตวฺ า ทสฺเสสิ จึงจ�ำแนก แสดง โลภมูลํ โลภมูลจิต อฏฺธา เป็น ๘ ดวง เวทนาทิฏฺสิ งฺขารเภเทน โดย ความต่างกันแห่งเวทนา ทิฏฐิ และสังขาร ตาว ก่อน โสมนสฺสสหคตนฺติอาทินา ด้วยค�ำว่า โสมนสฺสสหคต ดังนี้เป็นต้น เตสุ จ ภเวสุ คหิตปฏิสนฺธิกสฺส สตฺตสฺส อาทิโต วีถิจิตฺตวเสน โลภสหคตจิตฺตุปฺปาทานเมว สมฺภวโต เตเยว ปมํ ทสฺเสตฺวา ตทนนฺตรํ ทฺวเิ หตุกภาวสามญฺเน โทมนสฺสสหคเต ตทนนฺตรํ เอกเหตุเก จ ทสฺเสตํ ก็ เพื่อจะแสดงเฉพาะจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโลภะ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

21

เหล่านั้น (โลภมูลจิต ๘ ดวง) ก่อน เพราะในบรรดาอกุศลจิตและอเหตุกจิต เหล่านัน้ เฉพาะเหล่าจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโลภะ เกิดแก่สตั ว์ผถู้ อื ปฏิสนธิในภพ ทั้งหลายในเบื้องต้น ด้วยอ�ำนาจวิถีจิต แล้วจึงแสดงเหล่าจิตตุปบาทที่สหรคตด้วย โทมนัส (โทสมูลจิต ๒ ดวง) ในล�ำดับต่อจากจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโลภะนั้น โดยภาวะที่เป็นทวิเหตุกจิตเท่ากัน และแสดงเหล่าจิตตุปบาทที่เป็นเอกเหตุกะ (โมหมูลจิต ๒ ดวง) ในล�ำดับต่อจากจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโทมนัสนั้น ฯ จ ก็ ทสฺเสตฺวา เพื่อจะแสดง (เพื่อจะ ออกจาก ตุํ ศัพท์) เตเยว เฉพาะ จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโลภะเหล่านั้น (โลภมูลจิต ๘ ดวง) ปมํ ก่อน เตสุ (ปาปาเหตุเกสุ) โลภสหคตจิตตฺ ปุ ปฺ าทานเมว สมฺภวโต เพราะในบรรดาอกุศลจิต และอเหตุกจิตเหล่านั้น เฉพาะเหล่าจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโลภะเกิด ภเวสุ คหิตปฏิสนฺธกิ สฺส สตฺตสฺส แก่สตั ว์ผถู้ อื ปฏิสนธิในภพทัง้ หลาย อาทิโต ในเบือ้ งต้น วีถิจิตฺตวเสน ด้วยอ�ำนาจวิถีจิต แล้ว (ทสฺเสตฺวา) จึงแสดง โทมนสฺสสหคเต เหล่าจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโทมนัส (โทสมูลจิต ๒ ดวง) ตทนนฺตรํ ในล�ำดับ ต่อจากจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโลภะนั้น ทฺวิเหตุกภาวสามญฺเญน โดยภาวะ ที่เป็นทวิเหตุกจิตเท่ากัน ทสฺเสตุํ จ และแสดง เอกเหตุเก เหล่าจิตตุปบาท ที่เป็นเอกเหตุกะ (โมหมูลจิต ๒ ดวง) ตทนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากจิตตุปบาท ที่สหรคตด้วยโทมนัสนั้น ฯ ตตฺถ พึงทราบอธิบายความในค�ำว่า โสมนสฺสหคต เป็นต้นนั้น ดังต่อไปนี้ สุนฺทรํ มโน ใจดี สุมโน ชื่อว่าสุมนะ วา อีกอย่างหนึ่ง ตํ ใจดีนั้น อตฺถิ มีอยู่ เอตสฺส แก่บุคคลนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น สุมโน บุคคลนั้น ชื่อว่าผู้มีใจดี จิตฺตํ ได้แก่ จิต วา หรือ ตํสมงฺคีปุคฺคโล บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยใจดีนั้น ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งใจดี หรือแห่งบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยใจดีน้ัน ปวตฺติเหตุตาย โดยเป็น เหตุเป็นไป อภิธานพุทฺธีนํ แห่งชื่อ และความรู้ ตสฺมึ ในจิตหรือในบุคคลที่ชื่อว่า สุมนะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น โสมนสฺสํ จึงชื่อว่าโสมนัส ฯ ตํ ค�ำว่า โสมนัส นี้ อธิวจนํ เป็นชื่อ มานสิกสุขเวทนาย แห่งสุขเวทนาทางใจ ฯ


22

ปริเฉทที่ ๑

สหคตํ จิตที่สหรคต สํสฏฺ คือที่ระคน เอกุปฺปาทาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจ อาการ ๔ อย่างมีขึ้นพร้อมกันเป็นต้น เตน กับโสมนัสนั้น วา หรือ คตํ ที่ถึง เตน สห เอกุปฺปาทาทิภาวํ ภาวะมีความเกิดขึ้นพร้อมกันเป็นต้นกับโสมนัสนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น โสมนสฺสสหคตํ จิตดวงนั้น จึงชื่อว่า โสมนัสสสหคตจิต ฯ ทิฏฺ ิ ธรรมชาติทชี่ อ่ื ว่าทิฏฐิ มิจฉฺ า ปสฺสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ย่อมเห็นผิด ฯ หิ ความจริง สามญฺวจนสฺสาปิ วิเสสวิสยตา โหติ แม้ถ้อยค�ำสามัญ ก็ยังมี วิสัยแปลกกันได้ อตฺถปฺปกรณาทินา โดยเนื้อความและความหมายเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น อิธ ในอธิการว่าด้วยกุศลจิตนี้ มิจฺฉาทสฺสนเมว ทิฏฺตี ิ วุจฺจติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวเฉพาะความเห็นผิดเท่านั้นว่า ทิฏฐิ ฯ ทิฏฺเิ ยว ทิฏฐินั่นเอง ทิฏคิ ตํ ชื่อว่าทิฏฐิคตะ คตสทฺทสฺส ตพฺภาววุตฺติตฺตา เพราะ คตศัพท์ มีความเป็นไปในภาวะแห่งทิฏฐิศัพท์นั้น สงฺขารคตํ ตมคตนฺติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า สงฺขารคต ตมคต ดังนี้ ฉะนั้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง คตํ ทิฏฐิทเี่ ป็นไป อนฺโตคธํ คือหยัง่ ลงภายใน ทฺวาสฏฺยิ า ทิฏ€ฺ สี ุ ทิฏฐิ ๖๒ ประการ วา หรือว่า คมนมตฺตํ เพียงความเป็นไป ทิฏฺ€ิยา แห่งทิฏฐิ น เอตฺถ คนฺตพฺโพ อตฺตาทิโก โกจิ อตฺถิ คือไม่มีสภาวะอะไร ๆ มีตัวตนเป็นต้นที่จะพึงไปในทิฏฐินี้ อิติ เพราะเหตุนั้น ทิฏฺ€ิคตํ จึงชื่อว่าทิฏฐิคตะ อตฺตตฺตนิยาทิอภินิเวโส ได้แก่ ความถือมั่น (ในสัตว์และสังขารทั้งหลาย) ว่าเป็นตัวตนหรือเป็นของเนื่องด้วยตน เป็นต้น ปวตฺโต ที่เป็นไปแล้ว อิทเมว สจฺจํ โมฆมญฺนฺติ ว่า ค�ำนี้เท่านั้นจริง ค�ำอื่นเปล่า ฯ (จิ ต ดวงใด) ยุ ตฺ ตํ ประกอบแล้ ว ปกาเรหิ ด้ ว ยประการทั้ ง หลาย เอกุปฺปาทาทีหิ มีความเกิดขึ้นร่วมกันเป็นต้น เตน สมํ พร้อมกับทิฏฐินั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ทิฏฺ€ิคตสมฺปยุตฺตํ จิตดวงนั้น ชื่อว่า ทิฏฐิคตสัมปยุต ฯ สงฺขโรติ สภาวะใดย่อมปรุงแต่ง สชฺเชติ คือย่อมจัดแจง จิตฺตํ จิต ติกขฺ ภาวสงฺขาตมณฺฑนวิเสเสน ด้วยเครือ่ งปรุงแต่งพิเศษ กล่าวคือสภาวะทีจ่ ติ กล้าแข็ง วา หรือ ตํ จิตนั้น เอเตน อันสภาวะนี้ สงฺขาริยติ ปรุงแต่ง สชฺชิยติ คือจัดอยู่


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

23

วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวแล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น สงฺขาโร สภาวะนั้นชือ่ ว่าสังขาร อตฺตโน วา ปเรสํ วา ปวตฺตปุพพฺ ปโยโค ได้แก่ บุรพประโยคของตนหรือของคน เหล่าอื่นที่เป็นไป อนุพลปฺปทานวเสน ด้วยอ�ำนาจสนับสนุน สํสีทมานสฺส แก่จิต หรือบุคคลทีท่ อ้ แท้อยู่ ตตฺถ ตตฺถ กิจเฺ จ ในหน้าทีน่ นั้ ๆ ฯ ปน ก็ โส บุรพประโยค นั้น ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป อตฺตโน ปุพฺพภาคปฺปวตฺตจิตฺตสนฺตาเนเจว ในจิต สันดานของตนที่เป็นไปในส่วนเบื้องต้น ปรสนฺตาเน จ และในสันดานของบุคคล อืน่ อิติ เพราะเหตุนนั้ วิเสโสว เฉพาะอาการพิเศษ จิตตฺ สฺส ติกขฺ ภาวสงฺขาโต กล่าวคือภาวะที่จิตกล้าแข็ง ตนฺนิพฺพตฺติโต อันบุรพประโยคนั้นให้บังเกิดแล้ว สงฺขาโร จึงชื่อว่าสังขาร อิธ ในอธิการว่าด้วยจิตนี้ ฯ โส สังขารนั้น นตฺถิ ไม่มี ยสฺส แก่จติ ดวงใด ตํ จิตดวงนัน้ อสงฺขารํ ชือ่ ว่าเป็นอสังขาระ ฯ ตเทว อสังขาระ นั้นนั่นเอง อสงฺขาริกํ เป็นอสังขาริก ฯ [จิตฺตํ] จิต สงฺขาเรน สหิตํ ที่ประกอบ แล้วด้วยสังขาร สสงฺขาริกํ ชื่อสสังขาริก ฯ ตถาหิ วทนฺติ สมจริงดังที่พระ โบราณาจารย์ทั้งหลาย กล่าวไว้ อิติ ว่า วิเสโส อาการพิเศษ ปุพพฺ ปโยคสมฺภโู ต ทีเ่ กิดแต่บรุ พประโยค จิตตฺ สมฺภวี เกิดมีในจิต สงฺขาโร ชือ่ ว่าสังขาร อสงฺขาริกาทิตา ภาวะ ทีจ่ ติ เป็นอสังขาริกเป็นต้น โหติ ย่อมมีได้ ตํวเสเนตฺถ ในจิตตวิสยั นี้ ด้วยอ�ำนาจสังขารนั้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ สสงฺขาริกมสงฺขาริกนฺติ จ เอตํ ค�ำว่า สสงฺขาริกํ และว่า อสงฺขาริก นี้ สงฺขารสฺส สนฺธาย วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าว หมายถึงความมีและความไม่มีแห่งสังขาร เกวลํ ล้วน ๆ น ตสฺส สหปฺปวตฺติ สพฺภาวาภาวโต หากล่าวเพราะความมีและความไม่มคี วามเป็นไปร่วมกันแห่งสังขาร นั้นไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น ภินฺนสนฺตานปฺปวตฺติโนปิ สงฺขารสฺส อิทมตฺถิตาย เพราะสังขารแม้ที่มีปกติเป็นไปในสันดานที่ต่างกัน ก็มีจิตนี้เป็นความมุ่งหมาย นิพฺพตฺตํ จิตฺตํ จิตที่บังเกิดแล้ว ตํวเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งสังขารนั้น สสงฺขาริกํ ชื่อว่า สสังขาริก สสงฺขาโร อสฺส อตฺถีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีสังขาร


24

ปริเฉทที่ ๑

สหสทฺทสฺส วิชฺชมานตฺถปริทีปนโต เพราะสหศัพท์แสดงอรรถว่า มี สโลมโก สปกฺ ขิ โ กติ อ าที สุ วิ ย ดุ จ ในประโยคว่ า สโลมโก สปกฺ ขิ โ ก ๑ เป็ น ต้ น ฯ ตพฺพิปริตมฺปน ส่วนจิตที่ตรงกันข้ามกับสสังขาริกจิตนั้น อสงฺขาริกํ ชื่อว่า อสังขาริก วุตฺตนเยเนว โดยนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้เสร็จแล้วนั่นแหละ ตทภาวโต เพราะไม่มีสังขารนั้น ฯ

[ว่าด้วยสัมปยุตธรรมเป็นต้น] จิตดวงใด วิปฺปยุตฺตํ พราก วิสํสฏฺํ คือ แยก ทิฏฺ€ิคเตน จากทิฏฐิ อิติ เพราะเหตุนั้น ทิฏฺ€ิคตวิปฺปยุตฺตํ จิตดวงนั้น ชื่อว่าทิฏฐิคตวิปปยุต ฯ อุเปกฺขา ธรรมชาติที่ชื่อว่าอุเบกขา อุปปตฺติโต ยุตฺติโต อิกฺขติ อนุภวติ เวทิยมานาปิ มชฺฌตฺตาการสณฺ€ิติยาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมเพ่ง คือเสวยอารมณ์ โดยเหมาะสม คือโดยสมควร ได้แก่ แม้เมื่อเสวยอารมณ์ ก็เสวยด้วยอาการที่ ด�ำรงอยู่โดยอาการที่เป็นกลาง ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง อิกฺขา ความเพ่ง อนุภวนนํ คือการเสวยอารมณ์ อุเปตา เหมาะ ยุตฺตา คือ ควร สุขทุกฺขานํ แก่สุขเวทนา และทุกขเวทนา อวิรทฺธา ได้แก่ ไม่เป็นข้าศึก อิติ เพราะเหตุนั้น อุเปกฺขา จึงชื่อว่าอุเบกขา ฯ หิ ความจริง เอสา อุเบกขาเวทนานี้ ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป อนนฺตรมฺปิ แม้ในล�ำดับติดต่อกัน เตสํ แห่งสุขเวทนาและทุกขเวทนาเหล่านั้น สุขทุกฺขาวิโรธิตาย เพราะไม่เป็นข้าศึกต่อสุขเวทนาและทุกขเวทนา ฯ อุเปกฺขาสหคตนฺติ อิทํ ค�ำว่า อุเปกฺขาสหคตํ นี้ วุตฺตนยเมว มีนัยดังที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ เสร็จแล้ว ฯ ถามว่า กสฺมา ปเนตฺถ ก็เพราะเหตุไร ในโลภมูลจิต ๘ ดวงนี้ สมฺปยุตฺตธมฺเมสุ เมื่อสัมปยุตธรรมทั้งหลาย ผสฺสาทีสุ มีผัสสเจตสิกเป็นต้น อญฺเญสุปิ แม้เหล่าอื่น วิชฺชมาเนสุ ก็ยังมีอยู่ โสมนสฺสสหคตาทิภาโวว วุตฺโต ท่ า นพระอนุ รุ ท ธาจารย์ ก ล่ า วว่ า จิ ต สหรคตด้ ว ยโสมนั ส เท่ า นั้ น ฯ ตอบว่ า ๑

สโลโก สัตว์มีขน สปกฺขิโก สัตว์มีปีก


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

25

โสมนสฺสาทีนเมว อสาธารณภาวโต เพราะสัมปยุตธรรมทัง้ หลายมีโสมนัสสเวทนา เป็นต้นนั่นแหละ มีไม่ทั่วไป (แก่จิตทุกดวง) ฯ หิ ความจริง เกจิ เจสิตกธรรม บางเหล่า (๗ ประการ) ผสฺสาทโยปิ มีผัสสเจตสิกเป็นต้น สพฺพจิตฺตสาธารณา มีทั่วไปแก่จิตทุกดวง เกจิ เจสิตกธรรมบางเหล่า (๑๙ ประการ) กุสลาทิสาธารณา มีทั่วไปแก่กุศลจิตเป็นต้น โมหาทโย จ และเจสิตกธรรมทั้งหลาย (๔ ประการ) มีโมหเจตสิกเป็นต้น สพฺพากุสลสาธารณา มีทว่ั ไปแก่อกุศลจิตทุกดวง อิติ เพราะ เหตุนั้น จิตฺตํ วิเสเสตุํ น สกฺกา ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงไม่สามารถจะอธิบายจิต ให้ต่างกันได้ เตหิ โดยเจตสิกธรรมมีผัสสเจตสิกเป็นต้นเหล่านั้น ฯ ปน ส่วน โสมนสฺสาทโย เจตสิกทั้งหลาย มีโสมนัสเวทนาเป็นต้น กตฺถจิ จิตฺเต โหนฺต ิ เกิดในจิตบางดวง กตฺถจิ น โหนฺติ ไม่เกิดในจิตบางดวง อิติ เพราะเหตุนั้น จิตฺตสฺส วิเสโส ความต่างกันแห่งจิต ตํวเสน ด้วยอ�ำนาจเจตสิกธรรมมีโสมนัส เวทนาเป็นต้นนั้น ปากโฏว จึงปรากฏชัดแล้ว ฯ ถามว่า กสฺมา ปเนเต ก็เพราะ เหตุไร เจตสิกธรรมมีโสมนัสเป็นต้นเหล่านี้ กตฺถจิ โหนฺติ จึงเกิดในจิตบางดวง กตฺถจิ น โหนฺติ ไม่เกิดในจิตบางดวง ฯ ตอบว่า การณสฺส สนฺนหิ ติ าสนฺนหิ ติ ภาวโต เพราะมีเหตุเกิดร่วมและไม่เกิดร่วม ฯ ถามว่า กึ ปน เนสํ การณํ ก็อะไรเล่า เป็นเหตุแห่งเจตสิกธรรมมีโสมนัสเวทนาเป็นต้นเหล่านั้น ฯ วุจฺจเต ข้าพเจ้า จะกล่าวเฉลย ฯ หิ ความพิศดารว่า สภาวโต ปริกปฺปโต วา อิฏฺารมฺมณํ จ อิฏฐารมณ์โดยสภาวะ หรือโดยปริกปั ป์ ๑ โสมนสฺสปฏิสนฺธกิ ตา จ ความทีบ่ คุ คล มีปฏิสนธิจิตสหรคตด้วยโสมนัส ๑ อคมฺภีรสภาวตา จ ความที่บุคคลมีปกติไม่ ลึกซึง้ ๑ โสมนสฺสสฺส การณํ เป็นเหตุแห่งโสมนัส อิธ ในอธิการว่าด้วยอกุศลจิตนี้ ฯ อิฏฺมชฺฌตฺตารมฺมณํ จ อิฏฐมัชฌัตตารมณ์ ๑ อุเปกฺขาปฏิสนฺธิกตา จ ความที่ บุคคลมีปฏิสนธิจิตสหรคตด้วยอุเบกขา ๑ คมฺภีรสภาวตา จ ความที่บุคคลมีปกติ ลึกซึ้ง ๑ อุเปกฺขาย การณํ เป็นเหตุแห่งอุเบกขา ฯ ทิฏฺฐิวิปนฺนปุคฺคลเสวนา จ การคบหาบุคคลผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ ๑ สสฺสตุจฺเฉทาสยตา จ ความที่บุคคลเป็นผู้มี สัสสตทิฏฐิและอุจเฉททิฏฐิเป็นเจ้าเรือน ๑ ทิฏฺฐิยา การณํ เป็นเหตุแห่งทิฏฐิ


26

ปริเฉทที่ ๑

(เป็นมิจฉาทิฏฐิ) ฯ ปน ส่วน พลวอุตุโภชนาทโย ปจฺจยา ปัจจัยทั้งหลายมีอุตุ และโภชนะที่เหมาะสมเป็นต้น อสงฺขาริกภาวสฺส การณํ เป็นเหตุแห่งความที่จิต เป็นอสังขาริก อิติ ตสฺมา เพราะเหตุดังนี้นั้น กตฺถจิ จิตฺเตเยว เนสํ สมฺภโว เจตสิกธรรมมีโสมนัสเป็นต้นเหล่านั้น จึงเกิดเฉพาะในจิตบางดวง อตฺตโน อนุรูป การณวเสน เนสํ อุปปฺ ชฺชนโต เพราะเจตสิกธรรมมีโสมนัสเป็นต้นเหล่านัน้ เกิดขึน้ ได้ดว้ ยอ�ำนาจเหตุทเี่ หมาะแก่ตน อิติ เพราะเหตุนนั้ สกฺกา ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ จึงสามารถ จิตฺตสฺส วิเสโส ปญฺาเปตุ บัญญัติความต่างกันแห่งจิตได้ เอเตหิ โดยเจตสิกธรรมมีโสมนัสเป็นต้นเหล่านี้ อิติ แล ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็เพราะอธิบาย ความดังกล่าวแล้วอย่างนี้ นิคมเน ในค�ำลงท้าย วุตฺโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึง กล่าว เนสํ โลภสหคตภาโวว ว่า จิต (๘ ดวง) เหล่านั้น สหรคตด้วยโลภเจตสิก ไว้แน่ชัด เนสํ โมหเหตุกภาเว สติปิ ทั้งที่จิต (๘ ดวง) เหล่านั้น ก็ยังมีโมหเจตสิก เป็นเหตุรว่ มอยูด่ ว้ ย ฯ ปน แต่ อิเมสํ อฏฺนฺนมฺปิ อยมุปปฺ ตฺตกิ กฺ โม เวทิตพฺโพ โลภมูลจิตแม้ทงั้ ๘ ดวงเหล่านี้ บัณฑิตพึงทราบตามล�ำดับความเกิดขึน้ ดังต่อไปนี้ ฯ หิ จริงอยู่ ยทา ในกาลใด (ปุคฺคโล) บุคคล จิตเฺ ตน มีจติ สภาวติกเฺ ขเนว กล้าแข็งเองตามสภาวะ อนุสสฺ าหิเตน ไม่ถกู กระตุน้ เตือน มิจฉฺ าทิฏฺ ึ ปุรกฺขติ วฺ า เชิดชูมิจฉาทิฏฐิ นตฺถิ กาเมสุ อาทีนโวติอาทินา นเยน โดยนัยเป็นต้นว่า โทษในกามทัง้ หลายไม่มี หฏฺตุฏโฺ  ร่าเริงยินดี กาเม ปริภญ ุ ชฺ ติ วา บริโภคกาม สารโต ทิฏฺ มงฺคลาทีนิ ปจฺเจติ วา หรือเชือ่ ทิฏฐมงคลเป็นต้น โดยความเป็นสาระ ตทา ในกาลนั้น ปมํ อกุสลจิตฺตํ อกุศลจิตดวงที่ ๑ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ฯ ปน ส่วน ยทา ในกาลใด (ปุคคโล) บุคคล จิตฺเตน มีจิต มนฺเทน อ่อน สมุสฺสาหิเตน ถูกกระตุ้นเตือน มิจฺฉาทิฏฺ ึ ปุรกฺขิตฺวา เชิดชูมิจฉาทิฏฐิ นตฺถิ กาเมสุ อาทีนโวติอาทินา นเยน โดยนัยเป็นต้นว่า โทษในกามทั้งหลายไม่มี หฏฺตุฏฺโ ร่าเริงยินดี กาเม ปริภุญฺชติ วา บริโภคกาม สารโต ทิฏฺมงฺคลาทีนิ ปจฺเจติ วา หรือเชื่อทิฏฐมงคลเป็นต้น โดยความเป็นสาระ ตทา ในกาลนั้น ทุติยํ อกุสลจิตตฺ ํ อกุศลจิตดวงที่ ๒ อุปปฺ ชฺชติ ย่อมเกิดขึน้ ฯ ปน ส่วน ยทา ในกาลใด


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

27

(ปุคคโล) บุคคล จิตฺเตน มีจิต สภาวติกฺเขเนว กล้าแข็งเองตามสภาวะ อนุสฺสาหิเตน ไม่ถูกกระตุ้นเตือน มิจฺฉาทิฏฺ ึ อปุรกฺขิตฺวา ไม่เชิดชูมิจฉาทิฏฐิ เกวลํ หฏฺตุฏฺโ ร่าเริงยินดีอย่างเดียว เมถุนํ เสวติ วา เสพเมถุน ปรสมฺปตฺตึ อภิชฺฌายติ วา เพ่งอยากได้สมบัติของผู้อื่น ปรภณฺฑํ หรติ วา หรือลักของ ผู้อื่นไป ตทา ในกาลนั้น ตติยํ อกุสลจิตฺตํ อกุศลจิตดวงที่ ๓ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ฯ ปน ส่วน ยทา ในกาลใด (ปุคคโล) บุคคล จิตฺเตน มีจิต มนฺเทน อ่อน สมุสฺสาหิเตน ถูกกระตุ้นเตือน มิจฺฉาทิฏฺ ึ อปุรกฺขิตฺวา ไม่เชิดชู มิจฉาทิฏฐิ เกวลํ หฏฺตุฏฺโ ร่าเริงยินดี อย่างเดียว เมถุนํ เสวติ วา เสพเมถุน ปรสมฺปตฺตึ อภิชฺฌายติ วา เพ่งอยากได้สมบัติของผู้อื่น ปรภณฺฑํ หรติ วา หรือลักของผู้อื่นไป ตทา ในกาลนั้น จตุตฺถํ อกุสลจิตฺตํ อกุศลจิตดวงที่ ๔ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ฯ ปน แต่ ยทา ในกาลใด (ปุคคลา) บุคคลทั้งหลาย โสมนสฺสรหิตา โหนฺติ ปราศจากโสมนัสสเวทนา จตูสุปิ วิกปฺเปสุ ในข้อก�ำหนด แม้ทั้ง ๔ อย่าง กามานํ อสมฺปตฺตึ อาคมฺม วา เพราะอาศัยความไม่ถึงพร้อม แห่งกามทั้งหลาย อญฺเสํ โสมนสฺสเหตูนํ อภาเวน วา หรือเพราะไม่มีเหตุ แห่งโสมนัสสเวทนาเหล่าอื่น ตทา ในกาลนั้น เสสานิ จตฺตาริ โลภมูลจิต ๔ ดวง ทีเ่ หลือ อุเปกฺขาสหคตานิ ซึง่ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา อุปปฺ ชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึน้ อิติ แล ฯ อฏฺฐปีติ ปิสทฺโท ปิศพั ท์ ในค�ำว่า อฏฺปิ นี้ สมฺปณ ิ ฑฺ นตฺโถ เป็นสัมปิณฑนัตถะ (มีความประมวลมาเป็นอรรถ) ฯ เตน ด้วย ปิ ศัพท์นั้น สงฺคณฺหาติ ท่านพระ อนุรุทธาจารย์ย่อมรวบรวม เนสํ อเนกวิธตฺตมฺปิ แม้ความที่จิตสหรคตด้วยโลภะ เหล่านัน้ มีหลายประการ อกุสลกมฺมปเถสุ ลพฺภมานกมฺมปถานุรปู โต ปวตฺตเิ ภทโดยความต่างกันแห่งความเป็นไป โดยสมควรแก่กรรมบถทีไ่ ด้อยูใ่ นอกุศลกรรมบถ ทั้งหลาย -กาลเทสสนฺตานารมฺมณาทิเภเทน และความต่างกันแห่งกาละ เทศะ สันดาน และอารมณ์เป็นต้น วกฺขมานนเยน ตามนัยที่จะกล่าวต่อไป ฯ


28

ปริเฉทที่ ๑

[อธิบายโทมนัสและปฏิฆะ] ทุฏฺฐุ มโน ใจชั่ว ทุมโน ชื่อว่าทุมนะ วา อีกอย่างหนึ่ง ตํ ใจชั่วนั้น (อตถิ) มีอยู่ เอตสฺส แก่บุคคลนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น บุคคลนั้น ทุมโน ชื่อว่าผู้มีใจชั่ว ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งใจชั่ว หรือบุคคลผู้มีใจชั่วนั้น โทมนสฺสํ ชื่อว่าโทมนัส ฯ เอตํ ค�ำว่า โทมนัสนั้น อธิวจนํ เป็นชื่อ มานสิกทุกฺขเวทนาย แห่งทุกขเวทนา ทางใจ ฯ จิตดวงใด เตน สหคตํ สหรคตด้วยโทมนัสนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น จิตดวงนั้น โทมนสฺสสหคตํ จึงชื่อว่า โทมนัสสสหคตะ ฯ ปฏิโฆ สภาวะที่ชื่อว่า ปฏิฆะ อารมฺมเณ ปฏิหญฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า กระทบอารมณ์ โทโส ได้แก่โทสะ ฯ หิ ความจริง เอส ปฏิฆะนี้ ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป อารมฺมณํ ปฏิหนนฺโต วิย คล้ายกระทบอารมณ์ จณฺฑกิ กฺ สภาวตาย เพราะเป็นสภาวะดุรา้ ย ฯ โทมนสฺสสหคตสฺส อเภเทปิ แม้เมื่อจิตที่สหรคตด้วยโทมนัส จะไม่ต่างกัน เวทนาวเสน ด้ ว ยอ� ำ นาจเวทนา โทมนสฺ ส คฺ ค หณํ ท่ า นพระอนุ รุ ท ธาจารย์ กล่าวศัพท์ว่าโทมนัสไว้ จิตฺตสฺส อุปลกฺขณตฺถํ เพื่อเป็นเครื่องก�ำหนดจิต อสาธารณธมฺมวเสน ด้วยอ�ำนาจธรรมที่มีไม่ทั่วไป (แก่จิตทุกดวง) ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมาย อิติ ว่า ปน ก็ ปฏิฆสมฺปยุตตฺ ภาโว ภาวะทีจ่ ติ สัมปยุต ด้วยปฏิฆะ วุตฺโต ท่านอาจารย์กล่าวไว้ อุภินฺนํ เอกนฺตสหจาริตาทสฺสนตฺถํ เพื่อแสดงความที่โทมนัสและปฏิฆทั้งสอง มีปกติไปร่วมกัน โดยแน่นอน ฯ เอเตสํ โทมนัสและปฏิฆะทั้งสองเหล่านี้ วิเสโส มีความต่างกัน อยํ ดังนี้ อิติ คือ จ ก็ เอตฺถ บรรดาโทมนัสและปฏิฆะทั้งสองนี้ โทมนสฺสํ โทมนัส เอโก ธมฺโม เป็นธรรมอย่างหนึง่ เวทนากฺขนฺธปริยาปนฺโน นับเนือ่ งในเวทนาขันธ์ อนิฏฺารมฺมณานุภวนลกฺขโณ มีลักษณะเสวยอนิฏฐารมณ์ ปฏิโฆ ปฏิฆะ เอโก ธมฺโม เป็นธรรมอย่างหนึง่ สงฺขารกฺขนฺธปริยาปนฺโน นับเนือ่ งในสังขารขันธ์ จณฺฑิกฺกสภาโว มีสภาวะดุร้าย ฯ ทฏฺ€พฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมาย อิติ ว่า จ ก็ เอตฺถ บรรดาโทมนัสและปฏิฆะทัง้ สองนี้ ยงฺกญ ิ จฺ ิ อนิฏฺ ารมฺมณํ อนิฏฐารมณ์


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

29

อย่างใดอย่างหนึ่ง โทมนสฺสการณํ เป็นเหตุแห่งโทมนัส นววิธอาฆาตวตฺถูนิ จ และอาฆาตวัตถุ ๙ ประการ ปฏิฆการณญฺจ เป็นเหตุแห่งปฏิฆะ ฯ ปน ก็ เวทิตพฺพา บัณฑิตพึงทราบ อุปฺปตฺติ ความเกิดขึ้น เนสํ ทฺวินฺนํ จิตฺตานํ แห่งจิต ๒ ดวงเหล่านั้น ติกฺขมนฺทปฺปวตฺติกาเล ในกาลเป็นไปกล้าแข็งและอ่อน ปาณาติปาตาทีสุ ในอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ มีปาณาติบาตเป็นต้น ฯ ปิสทฺทสฺส อตฺโถ เนื้อความแห่ง ปิ ศัพท์ นิคมเน ในค�ำลงท้าย เอตฺถาปิ แม้นี้ ทฏฺพฺโพ บัณฑิตก็พึงเห็น วุตฺตนยานุสาเรน ตามท�ำนองแห่งนัยที่ข้าพเจ้ากล่าว ไว้แล้ว ฯ

[อธิบายจิตประกอบด้วยวิจิกิจฉาและอุทธัจจะเป็นต้น] วิจิกิจฺฉา ธรรมชาติที่ชื่อว่าวิจิกิจฉา สภาวํ วิจินนฺโต ตาย กิจฺฉติ กิลมตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเหตุยาก คือล�ำบาก แห่งบุคคลผู้ค้นสภาวธรรม ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ วิจิกิจฺฉา ธรรมชาติที่ชื่อว่าวิจิกิจฉา จิกิจฺฉิตุ ทุกฺกรตาย วิคตา จิกิจฺฉา าณปฏิกาโร อิมิสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีการแก้ไข คือ การกระท�ำคืนคือญาณ ไปปราศแล้ว โดยเป็นธรรมชาติกระท�ำได้ยาก เพือ่ จะแก้ไข ฯ ตาย สมฺปยุตฺตํ จิตที่สัมปยุตด้วยวิจิกิจฉานั้น วิจิกิจฺฉาสมฺปยุตฺตํ ชื่อว่า วิจิกิจฉา สัมปยุตจิต ฯ อุทฺธตสฺส ภาโว ภาวะแห่งจิต หรือแห่งบุคคล ที่ฟุ้งซ่าน อุทฺธจฺจํ ชื่อว่าอุทธัจจะ ฯ อุทฺธจฺจสฺส สพฺพากุสลสาธารณภาเวปิ แม้เมื่ออุทธัจจเจตสิก จะมีทวั่ ไปแก่อกุศลจิตทุกดวง อิธ ในจิตดวงสุดท้ายนี้ ปธานํ หุตวฺ า อุทธัจจเจตสิก เป็นประธาน สมฺปยุตฺตธมฺเมสุ ในสัมปยุตธรรมทั้งหลาย ปวตฺตติ เป็นไป อิติ เพราะเหตุนั้น อิทเมว จิตดวงสุดท้ายนี้เท่านั้น วิเสเสตฺวา วุตฺตํ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวให้ต่างกัน เตน โดยอุทธัจจเจตสิกนั้น ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความอย่างนี้ ธมฺมุทฺเทสปาลิยํ ในบาลีธัมมุทเทส อุทฺธจฺจํ วุตฺตํ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสอุทธัจจเจตสิกไว้ เสสากุสเลสุ ในอกุศลจิต ที่เหลือ เยวาปนกวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นเยวาปนกเจตสิก ปน ส่วน อิธ ในจิต


30

ปริเฉทที่ ๑

ดวงสุดท้ายนี้ อุทฺธจฺจํ สรูเปเนว เทสิตํ ทรงแสดงอุทธัจจเจตสิกตามสภาวะไว้ แน่นอน อุทฺธจฺจํ อุปฺปชฺชตีติ ว่า อุทธัจจเจตสิกย่อมเกิดขึ้น ดังนี้ ฯ โหนฺติ จ ก็ เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยการกล่าวอุทธัจจเจตสิก ตามสภาวะนี้ มีคาถารวมความไว้ ดังต่อไปนี้ อุทฺธจฺจํ อุทธัจจเจตสิก สพฺพากุสลยุตฺตมฺปิ แม้ประกอบกับ อกุศลจิตได้ทกุ ดวง อนฺตมานเส ในจิตดวงสุดท้าย พลวํ มีความรุนแรง อิติ เพราะเหตุนนั้ ตํเยว จิตดวงสุดท้ายนัน้ เท่านัน้ วุตตฺ มุทธฺ จฺจโยคโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า อุทธัจจสัมปยุตจิต เพราะประกอบ ด้วยอุทธัจจเจตสิก ฯ หิ ความจริง เตเนว เพราะเหตุทอี่ ทุ ธัจจเจตสิก เป็นประธานนั่นแหละ มุนินฺเทน พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นจอมมุนี วตฺวา จึงตรัส (อุทธัจจเจตสิก)ไว้ เสเสสุ ในอกุศลจิตทัง้ หลายทีเ่ หลือ เยวาปนกนามโต โดยชื่อว่าเยวาปนกเจตสิก แล้ว ตํ สรูเปน เทสิตํ ทรงแสดงอุทธัจจเจตสิกนัน้ ตามสภาวะไว้ เอตฺเถว ในจิตดวงสุดท้าย นี้เท่านั้น ฯ ปน ก็ อิมานิ เทฺว จิตฺตานิ จิต (โมหมูลจิต) ๒ ดวง เหล่ า นี้ รชนทู ส นวิ ร หิ ต านิ เว้ น แล้ ว จากโลภมู ล และโทสมู ล สพฺพตฺถาปิ แม้ในอารมณ์ทั้งปวง อติสมฺมูฬฺหตาย เพราะมัวมล อย่างยิง่ มูลนฺตรวิรหโต โดยเว้นจากมูลอืน่ (คือ โลภมูลและโทสมูล) สํสปฺปนวิกฺขิปนวสปฺปวตฺตวิจิกิจฺฉุทฺธจฺจสมาโยเคน จญฺจลตาย จ และเพราะโยกโคลง โดยประกอบด้วยวิจิกิจฉาเจตสิก ซึ่งเป็นไป ด้วยอ�ำนาจความกระสับกระส่าย และอุทธัจจเจตสิกซึ่งเป็นไปด้วย อ�ำนาจความฟุ้งซ่าน อุเปกฺขาสหคตาเนว จึงสหรคตด้วยอุเบกขา เวทนาเท่านั้น ปวตฺตนฺติ เป็นไป ฯ จ ก็ ตโตเยว เพราะเหตุนั้น นั่นเอง สงฺขารเภโทปิ เนสํ นตฺถิ โมหมูลจิต ๒ ดวงเหล่านั้น จึงไม่มแี ม้ความต่างกันแห่งสังขาร สภาวติกขฺ ตาย อุสสฺ าเหตพฺพตาย จ อภาวโต เพราะไม่มีภาวะที่จะกล้าแข็งได้ตามสภาวะและภาวะ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

31

ที่จะพึงให้อาจหาญ (สามารถ) ฯ โหนฺติ เจตฺถ ก็ในที่นี้ มีคาถา รวมความไว้ อิติ ว่า มูฬฺหตฺตา เจว เพราะเป็นธรรมชาติมัวมล สํสปฺปวิกฺเขปา จ และเพราะกระสับกระส่ายและฟุ้งซ่าน (โมหมูลจิต ๒ ดวงนี้) เอกเหตุกํ จึงเป็นเอกเหตุกจิต โสเปกฺขํ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา โน ภินนฺ ํ จ และไม่ตา่ งกัน สงฺขารเภทโต โดยความต่างกันแห่งสังขาร สพฺพทา ในกาลทุกเมื่อ ฯ หิ ความจริง ตสฺส โมหมูลจิต ๒ ดวงนั้น สํสปฺปมานสฺส กระสับกระส่ายอยู่ วิกขฺ ปิ นฺตสฺส ฟุง้ ซ่านอยู่ น อตฺถิ จึงไม่มี สภาเวน ติกฺขตฺตา- ภาวะที่จะกล้าแข็งได้ ตามสภาวะ -อุสฺสาหนียตา และ ภาวะที่จะพึงให้อาจหาญ (สามารถ) สพฺพทา ในกาลทุกเมื่อ ฯ

[วิเคราะห์อกุศลมูล] (จิตเหล่าใด) มุยฺหนฺติ ย่อมลุ่มหลง สมฺมุยฺหนฺติ คือย่อมมัวมล อติสเยน อย่างยิ่ง โมเหน โดยโมหะ มูลนฺตรวิรหโต เพราะเว้นจากมูลอื่น อิติ เพราะ เหตุนั้น จิตเหล่านั้น โมมูหานิ จึงชื่อว่าโมมูหจิต ฯ อิจฺเจวนฺติอาทิ ค�ำว่า อิจฺเจว เป็นต้น ทฺวาทสากุสลจิตฺตานํ นิคมนํ เป็นการกล่าวย�้ำถึงอกุศลจิต ๑๒ ดวง ยถาวุตฺตานํ ตามที่กล่าวแล้ว ฯ อิติสทฺโท อิติ ศัพท์ ตตฺถ ในค�ำว่า อิจฺเจว นั้น วจนวจนียสมุทายนิทสฺสนตฺโถ มีอรรถแสดงการรวมค�ำพูดและค�ำที่ควรพูด ฯ เอวํสทฺโท เอว ศัพท์ วจนวจนียปฏิปาฏิสนฺทสฺสนตฺโถ มีอรรถแสดงล�ำดับ แห่ง ค�ำพูด และค�ำที่ควรพูด ฯ วา หรือ เอส เอว ศัพท์นี้ นิปาตสมุทาโย เป็นนิบาตรวมความ วจนวจนียนิคมนารมฺเภ ใช้ในการเริ่มค�ำลงท้ายแห่งค�ำพูด และค�ำที่ควรพูด ฯ อตฺโถ อธิบายความ อิติ ว่า ทฺวาทส อกุสลจิตฺตานิ อกุศลจิต ๑๒ ดวง สมตฺตานิ จบบริบูรณ์แล้ว ปรินิฏฺฐิตานิ คือจบเรียบร้อยแล้ว สงฺคเหตฺวา อตฺตานิ วา หรือว่าท่านอาจารย์รวบรวมไว้แล้ว คหิตานิ คือ


32

ปริเฉทที่ ๑

ก�ำหนดแล้ว วุตฺตานิ ได้แก่ กล่าวไว้แล้ว สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง สมฺปโยคาทินา อากาเรน คือโดยอาการมีสัมปโยคเป็นต้น สพฺเพนปิ แม้ทั้งปวง อิติ คือ โสมนสฺสุเปกฺขาทิฏฺฐิสมฺปโยคาทินา สัมปโยคด้วยโสมนัสเวทนา อุเบกขาเวทนา และทิฏฐิเป็นต้น (คือ โลภมูลจิต ๘ ดวง) ปฏิฆสมฺปโยคาทินา สัมปโยคด้วยปฏิฆะเป็นต้น (คือ โทสมูลจิต ๒ ดวง) วิจิกิจฉุทฺธจฺจโยเคน และ สัมปโยคด้วยวิจิกิจฉาเจตสิกและอุทธัจจเจตสิก (คือ โมมูหจิต ๒ ดวง) อิจฺเจวํ อย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้ ยถาวุตฺตนเยน คือโดยนัยตามที่กล่าวแล้ว ฯ ตตฺถ ในบทว่า อกุศลจิตฺตานิ นัน้ บัณฑิตพึงทราบอธิบายความ ดังต่อไปนี้ กุสลปฏิปกฺขานิ จิตทั้งหลายที่เป็นปฏิปักษ์ต่อกุศลจิต อกุสลานิ ชื่อว่าอกุศลจิต มิตฺตปฏิปกฺโข อมิตฺโต วิย ดุจคนที่เป็นปฏิปักษ์ต่อมิตร ชื่อว่า อมิตร ฉะนั้น ฯ จ ก็ กุสลากุสลานํ ปฏิปกฺขภาโว ภาวะที่กุศลจิตกับอกุศลจิตเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน เวทิตพฺโพ บัณฑิตพึงทราบ กุสลากุสลานํ ปหายกปหาตพฺพภาเวน โดยภาวะ ที่กุศลจิตเป็นธรรมชาตละ และอกุศลจิตเป็นธรรมชาตจะพึงถูกละ ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ อฏฺฐธาติอาทิ ค�ำว่า อฏฺธา เป็นต้น สงฺคหคาถา เป็นคาถา รวมความ ฯ อตฺโถ อธิบายความ อิติ ว่า อกุสลา อกุศลจิต ทฺวาทส สิยุํ พึงมี ๑๒ ดวง อิติ คือ จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย โลภมูลานิ ชื่อว่ามีโลภะเป็นมูล โลโภ จ โส สุปฺปติฏฺ€ิตภาวสาธเนน มูลสทิสตฺตา มูลญฺจ ตํ เอเตสนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีโลภะนั้นด้วย ชื่อว่าเป็นมูล เพราะเป็นเช่นกับมูลราก โดยให้ส�ำเร็จภาวะแห่งสัมปยุตธรรมทั้งหลายด�ำรงมั่นอย่างดีด้วย อฏฺ€ธา สิยํุ พึงมี ๘ ดวง เวทนาทิเภทโต โดยความต่างกันแห่งเวทนาเป็นต้น, จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย โทสมูลานิ ชื่อว่ามีโทสะเป็นมูล ตถา ก็เหมือนกัน โทโส จ โส สุปฺปติฏฺ€ิตภาวสาธเนน มูลสทิสตฺตา มูลญฺจ ตํ เอเตสนฺติ คือ เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า มีโทสะนั้นด้วย ชื่อว่าเป็นมูล เพราะเป็นเช่นกับมูลราก โดยให้ส�ำเร็จ ภาวะแห่งสัมปยุตธรรมทั้งหลายด�ำรงมั่นอย่างดีด้วย ทฺวิธา สิยุํ พึงมี ๒ ดวง สงฺขารเภทโต โดยความต่างแห่งสังขาร, จิตฺตานิ จ และจิตทั้งหลาย โมหมูลานิ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

33

ชื่อว่ามีโมหะเป็นมูล โมหมูลสงฺขาตานิ ได้แก่ กล่าวคือชื่อว่า มีโมหะเป็นมูล สุทโฺ ธ โมโหเยว มูลเมเตสนฺติ เจติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ มีโมหะล้วน ๆ เท่านัน้ เป็นมูล เทฺว สิยุํ พึงมี ๒ ดวง สมฺปโยคเภทโต โดยความต่างแห่งสัมปโยค ฯ อกุสลวณฺณนา นิฏฺ€ิตา พรรณนาความอกุศลจิต จบแล้ว ฯ

(อธิบายอเหตุกจิต) ๑ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วิภชิตฺวา ครั้นจ�ำแนก ติวิธมฺปิ อกุสลํ อกุศลจิต แม้ทงั้ ๓ อย่าง มูลเภทโต โดยความต่างกันแห่งมูล ทฺวาทสวิธา แยกเป็น ๑๒ ดวง สมฺปโยคาทิเภทโต โดยความต่างกันแห่งธรรมทีส่ มั ปโยคเป็นต้น เอวํ ดังพรรณนา มาฉะนีแ้ ล้ว อิทานิ บัดนี้ นิททฺ สิ นฺโต เมือ่ จะแสดง อเหตุกจิตตฺ านิ อเหตุกจิต (๑๘ ดวง) เตสํ ติวธิ ภาเวปิ แม้เมือ่ อเหตุกจิตเหล่านัน้ ก็มี ๓ อย่าง อกุสลวิปากาทิวเสน คือเป็นอกุศลวิบากจิตเป็นต้น วิภชิตุํ หวังจะจ�ำแนก อกุสลวิปาเกเยว เฉพาะ อกุศลวิบากจิต สตฺตธา เป็น ๗ ดวง จกฺขฺวาทินิสฺสยสมฺปฏิจฺฉนฺนาทิกิจฺจเภเทน โดยความต่างกันแห่งที่อาศัยมีจักขุวัตถุเป็นต้น และกิจมีสัมปฏิจฉันนกิจเป็นต้น อกุสลานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากอกุศลจิต อุเปกฺขาสหคตํ จกฺขวุ ญ ิ  ฺ าณนฺตอิ าทิมาห จึงกล่าวค�ำว่า อุเปกฺขาสหคตํ จกฺขุวิญฺญาณํ ดังนี้ เป็นต้น ฯ ตตฺถ พึงทราบวิเคราะห์ ในค�ำว่า อุเปกฺขาสหคตํ จกฺขุวิญฺญาณํ เป็นต้นนั้น ดังต่อไปนี้ จกฺขุ ธรรมชาต ที่ชื่อว่าจักขุ จกฺขติ วิญฺาณาธิฏฺ€ิตํ หุตฺวา สมวิสมํ อาจิกฺขนฺตํ วิย โหตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ย่อมชีแ้ จงคือเป็นทีต่ งั้ อาศัยแห่งวิญญาณจิต เป็นดุจบอกรูป ที่เสมอ และที่ไม่เสมอ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ จกฺขุ ธรรมชาตที่ชื่อว่าจักขุ จกฺขติ รูปํ อสฺสาเทนฺตํ วิย โหตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมชอบใจ คือเป็น ดุจพอใจรูป ฯ หิ ความจริง จกฺขตีติ อยํ สทฺโท จกฺขติ ศัพท์นี้ อสฺสาทนตฺโถ โหติ มีอรรถว่าชอบใจ มธุํ จกฺขติ พฺยญฺชนํ จกฺขตีติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคว่า ผึ้งชอบน�้ำหวาน คนชอบกับข้าว ดังนี้เป็นต้น ฯ เตนาห ภควา เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า มาคนฺทิย ดูก่อนมาคันทิยะ จกฺขุ โข จักขุแล


34

ปริเฉทที่ ๑

รูปารามํ มีรูปเป็นที่มายินดี รูปรตํ ยินดีแล้วในรูป รูปสมฺมุทิตํ อันรูปให้บันเทิง พร้อมแล้ว อิติอาทิ ดังนี้เป็นต้น ฯ ถามว่า ยทิ เอวํ ถ้าเมื่อเป็นเช่นนั้น โสตํ โข มาคนฺทิย สทฺทารามํ สทฺทรตํ สทฺทสมฺมุทิตนฺติอาทิวจนโต เพราะ พระบาลีว่า ดูก่อนมาคันทิยะ โสตะแล มีเสียงเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในเสียง อันเสียงให้บันเทิงพร้อมแล้ว ดังนี้เป็นต้น โสตาทีนมฺปิ สทฺทาทิอสฺสาทนํ อตฺถิ แม้โสตะเป็นต้นก็มีความชอบใจในเสียงเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น เตสมฺป ิ จกฺขุสทฺทาภิเธยฺยตา การจะเรียกโสตะเป็นต้นแม้เหล่านั้น ด้วยศัพท์ว่า จักขุ อาปชฺชติ ก็ย่อมถูกต้อง มิใช่หรือ ฯ นาปชฺชติ ตอบว่า ไม่ถูกต้อง นิรุฑฺฒตฺตา เพราะศัพท์วา่ จักขุ นัน้ เป็นศัพท์จำ� กัดความหมาย ฯ หิ ความจริง เอส จกฺขสุ ทฺโท ศัพท์ว่า จักขุ นี้ นิรุฑฺโฒ เป็นศัพท์ที่จ�ำกัดความหมาย จกฺขุปฺปสาเทเยว เฉพาะ จักขุประสาทรูป ทฏฺฐกุ ามตานิทานกมฺมชภูตปฺปสาทลกฺขเณ ทีม่ ลี กั ษณะท�ำภูตรูป ที่ เ กิ ด แต่ ก รรมซึ่ ง มี ค วามต้ อ งการจะดู เ ป็ น แดนเกิ ด ให้ ผ ่ อ งใส มยุ ร าทิ ส ทฺ ท า สกุณวิเสสาทีสุ วิย ดุจศัพท์มี มยุรศัพท์เป็นต้นจ�ำกัดความหมายในนกวิเศษ เป็นต้น ฉะนั้น ฯ ปน อีกอย่างหนึ่ง มํสปิณฺโฑปิ แม้ก้อนเนื้อ ภมุกฏฺ€ิปริจฺฉินฺโน ที่ก�ำหนดด้วยกระดูกคิ้ว จกฺขุนฺติ วุจฺจติ ท่านก็เรียกว่า จักขุ จกฺขุสหวุตฺติยา เพราะอยู่ร่วมกับจักขุ ฯ ปน ส่วน อฏฺ€กถายํ ในอรรถกถาพระอรรถกถาจารย์ ค�ำนึงถึง อิติ ว่า ธาตูนํ อเนกตฺถตฺตา เพราะธาตุทั้งหลายมีเนื้อความเป็น เอนกประการ จกฺขติสทฺทสฺส วิภาวนตฺถตาปิ สมฺภวติ แม้ศัพท์ว่า จกฺขติ ย่อมมี ความหมายว่า ชี้แจงก็ได้ อิติ ดังนี้ จกฺขูติ วุตฺตํ จึงกล่าวว่า ธรรมชาตที่ชื่อว่า จักขุ จกฺขติ รูปํ วิภาเวตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมเห็น คือชี้แจงรูป ฯ จกฺขุวิญฺาณํ ที่ชื่อว่า จักขุวิญญาณ จกฺขุสฺมึ วิญฺาณํ ตนฺนิสฺสิตตฺตาติ เพราะ อรรถวิเคราะห์วา่ วิญญาณในจักขุ เพราะอาศัยจักขุนนั้ อยู่ ฯ ตถาเหตํ วุตตฺ ํ สมจริง ดังค�ำทีพ่ ระอรรถกถาจารย์กล่าวไว้ อิติ ว่า เอตํ จกฺขสุ นฺนสิ สฺ ติ รูปวิชานนลกฺขณํ ค�ำว่า จักขุวญ ิ ญาณนี้ มีลกั ษณะอาศัยจักขุปสาทรูป และรูแ้ จ้งรูปได้ ฯ โสตวิญ ฺ าณาทีสปุ ิ แม้ในโสตวิญญาณจิตเป็นต้น ทฏฺพฺพํ บัณฑิตก็พึงเห็น ยถารหํ ตามสมควร


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

35

เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ ฯ ตถาติ อิมินา ด้วยค�ำว่า ตถา นี้ อุเปกฺขาสหคตภาวํ อติทิสฺสติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ย่อมแสดงว่า จิตสหรคตด้วยอุเบกขา ฯ

[วิเคราะห์โสตะ เป็นต้น] โสตํ ธรรมชาตที่ชื่อว่าโสตะ วิญฺาณาธิฏฺ€ิตํ หุตฺวา สุณาตีติ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่ตั้งอาศัยแห่งวิญญาณจิต ได้ยิน ฯ ฆานํ ธรรมชาตที่ชื่อว่า ฆานะ ฆายติ คนฺโธปาทานํ กโรตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมสูดกลิ่น คือ ท�ำการถือเอากลิ่น ฯ ชีวิตนิมิตฺตํ นิมิตแห่งชีวิต รโส คือรส ชีวิตํ ชื่อว่าชีวิต ฯ นิรุตฺตินเยน โดยนิรุตตินัย ชิวฺหา ธรรมชาตที่ชื่อว่าชิวหา ตํ อวฺหยติ ตสฺมึ นินนฺ ตายาติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เรียกร้องชีวติ นัน้ เพราะน้อมไปในชีวติ นัน้ ฯ กาโย สภาวะที่ชื่อว่ากาย กุจฺฉิตานํ ปาปธมฺมานํ อาโย ปวตฺติฏฺ€านนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นบ่อเกิด คือเป็นที่เป็นไปแห่งปาปธรรมทั้งหลายที่ น่าเกลียด ฯ กายินฺทฺริยญฺหิ ความจริง กายินทรีย์ วิเสสการณํ เป็นเหตุพิเศษ ปาปธมฺมานํ แห่งปาปธรรมทั้งหลาย ตทสฺสาทวสปฺปวตฺตานํ ที่เป็นไปด้วย อ�ำนาจความพอใจโผฏฐัพพารมณ์นั้น ตํมูลิกานญฺจ และมีกายปสาทรูปนั้นเป็นมูล โผฏฺ€พฺพคหณสภาวตฺตา เพราะเป็นสภาวะรับโผฏฐัพพารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น เตสํ ปวตฺตฏิ €า ฺ นํ วิย คยฺหติ กายินทรีย์ ท่าน (ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์) จึงถือเอา ดุจทีเ่ ป็นไปแห่งปาปธรรมทัง้ หลายเหล่านัน้ ฉะนัน้ ฯ วา อีกอย่างหนึง่ สสมฺภารกาโย กายพร้ อ มทั้ ง เครื่ อ งปรุ ง กาโย ก็ ชื่ อ ว่ า กาย กุ จฺ ฉิ ต านํ เกสาที นํ อาโยติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นบ่อเกิดแห่งอาการ ๓๒ มีผมเป็นต้น ที่น่าเกลียด ฯ ปน อนึ่ง ปสาทกาโยปิ แม้ปสาทกาย ตถา วุจฺจติ ท่านก็เรียกว่ากายเหมือนกัน ตํสหจริตตฺตา เพราะไปร่วมกันกับสัมภารกายนั้น ฯ ทุกฺขํ ธรรมชาติที่ชื่อว่าทุกข์ กุจฺฉิตํ หุตฺวา ขนติ กายิกสุขํ ทุกฺขมนฺติ วา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นสิ่งที่ น่าเกลียดขุดความสุขทางกาย หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันสัตว์ทนได้ยาก ฯ อปเร อาจารย์ อีกพวกหนึ่ง ทุกฺกรโมกาสทานํ เอตสฺสาติ ทุกฺขนฺติปิ กล่าวว่า


36

ปริเฉทที่ ๑

ธรรมชาตชือ่ ว่าทุกข์ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ มีการให้โอกาสทีท่ ำ� ได้ยาก ดังนีก้ ม็ ี ฯ สมฺปฏิจฉฺ นฺนํ จิตชือ่ ว่าสัมปฏิจฉันนะ ปญฺจวิญ ฺ าณคหิตํ รูปาทิอารมฺมณํ สมฺปฏิจฉฺ ติ ตทาการปฺปวตฺติยาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมรับอารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้น ทีป่ ญ ั จวิญญาณจิตรับไว้แล้ว เพราะมีความเป็นไปตามอาการทีร่ บั มานัน้ ฯ สนฺตรี ณํ จิตที่ชื่อว่า สันตีรณะ สมฺมา ตีเรติ ยถาสมฺปฏิจฺฉิตํ รูปํ วีมํสตีติ เพราะอรรถ วิเคราะห์วา่ ย่อมพิจารณาโดยชอบ คือสอดส่องรูปตามทีส่ มั ปฏิจฉันนจิตรับไว้แล้ว ฯ วิปากานิ จิตทีช่ อื่ ว่าวิบาก วรุทธฺ านํ กุสลากุสลานํ ปากานีติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เป็นผลของกุศลจิตและอกุศลจิต ที่ขัดแย้งกันและกัน ฯ เอตํ ค�ำว่า วิบาก นี้ อธิวจนํ เป็นชื่อ อรูปธมฺมานํ ของอรูปธรรม วิปกฺกภาวมาปนฺนานํ ที่ถึงภาวะ ซึ่งให้ผลแล้ว ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความ ดังว่ามานี้ กฏตฺตารูปานํ กตัตตารูปทัง้ หลาย กุสลากุสลกมฺมสมุฏฺ านานมฺปิ แม้ทมี่ กี ศุ ลกรรมและอกุศลกรรม เป็นสมุฏฐาน นตฺถิ วิปากโวหาโร ก็ไม่เรียกว่า เป็นวิบาก ฯ วิปากจิตฺตานิ จิตที่ เป็นวิบาก อกุสลสฺส ของอกุศลจิต อกุสลวิปากจิตฺตานิ ชื่อว่าอกุศลวิบากจิต ฯ สุขํ ธรรมชาตทีช่ อื่ ว่าสุข สุขยติ กายจิตตฺ นติ วา เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ย่อมยัง กายและจิตให้สบาย สุฏฐฺ ุ ขนติ กายจิตตฺ าพาธนติ วา หรือ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ย่อมขุดความเบียดเบียนกายและจิต ด้วยดี สุเขน ขมิตพฺพนฺติ วา หรือเพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า อันสัตว์พึงทนได้โดยง่าย ฯ อปเร อาจารย์อีกพวกหนึ่งกล่าวว่า สุกรโมกาสทานํ เอตสฺสาติ สุขนฺตปิ ิ ธรรมชาตทีช่ อื่ ว่าสุข เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ มีการให้โอกาสทีท่ ำ� ได้โดยง่าย ดังนีก้ ม็ ี ฯ (ปุจฉ า) ถาม อิติ ว่า กสฺมา ปน ก็เพราะ เหตุไร อกุสลวิปากสนฺตีรณํ สันตีรณจิตฝ่ายอกุศลวิบาก ยถา เอกเมว วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวไว้เพียงดวงเดียวเท่านั้น ฉันใด กุสลวิปากสนฺตีรณํ สันตีรณจิตฝ่ายกุศลวิบาก เอวํ อวตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ไม่กล่าวไว้ฉันนั้น ทฺวธิ า วุตตฺ ํ กล่าวไว้ถงึ ๒ ดวง ฯ (ตอบว่า) เวทนาเภทสมฺภวโต เพราะสันตีรณจิต ฝ่ายกุศลวิบากนั้นมีความต่างกันแห่งเวทนา อิฏฺอิฏฺมชฌตฺตารมฺมณวเสน ด้วยอ�ำนาจ อิฏฐารมณ์และอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ ฯ (ปุจฉ า ถาม) อิติ ว่า


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

37

ยทิ เอวํ ถ้าเมื่อเป็นอย่างนั้น ตตฺถาปิ แม้ในสันตีรณจิต ฝ่ายอกุศลวิบากนั้น เวทนาเภเทน ภวิตพฺพํ ก็ต้องมีความต่างกันแห่งเวทนา อนิฏฺานิฏฺมชฺฌตฺตา รมฺมณวเสน ด้วยอ�ำนาจอนิฏฐารมณ์และอนิฏฐมัชฌัตตารมณ์บ้าง (มิใช่หรือ) ฯ (ตอบว่า) นยิทเมวํ สันตีรณจิตฝ่ายอกุศลวิบากนี้ หาเป็นเช่นนัน้ ไม่ อนิฏฺ ารมฺมเณ อุปปฺ ชฺชติ พฺพสฺสาปิ โทมนสฺสสฺส ปฏิเฆน วินา อนุปปฺ ชฺชนโต เพราะโทมนัสแม้ท่ี จะพึงเกิดขึ้นในอนิฏฐารมณ์ เว้นปฏิฆะเสีย ก็เกิดขึ้นไม่ได้ เอกนฺตมกุสลสภาวสฺส ปฏิฆสฺส อพฺยากเตสุ อสมฺภวโต จ และเพราะปฏิฆะซึ่งมีสภาวะเป็นอกุศลโดย ส่วนเดียว ไม่เกิดในอารมณ์ทเี่ ป็นอัพยากฤตทัง้ หลาย ฯ หิ เพราะว่า ภินนฺ ชาติโก ธมฺโม ธรรมที่มีชาติต่างกัน น อุปลพฺภติ หาไม่ได้แน่นอน ภินฺนชาติเกสุ ในหมวด ธรรมที่มีชาติต่างกัน ตสฺมา ฉะนั้น โทมนสฺสํ น สมฺภวติ โทมนัสจึงไม่เกิด อกุสลวิปาเกสุ ในอกุศลวิบากจิตทัง้ หลาย อตฺตนา สมานโยคกฺขมสฺส อสมฺภวโต เพราะปฏิฆะอันควรแก่การประกอบที่เสมอกันกับตนไม่เกิดมี อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส ตํสหคตตา น วุตฺตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงไม่กล่าวสันตีรณจิตฝ่าย อกุศลวิบากนั้นว่าสหรคตด้วยโทมนัสสเวทนานั้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ โกจิ ทุพฺพลปุริโส คนมีก�ำลัง (พลัง) อ่อนแอบางคน พลวตา พาธิยมาโน ถูกคนแข็งแรงเบียดเบียนอยู่ ตสฺส ปฏิปฺผริตุํ อสกฺโกนฺโต เมื่อไม่สามารถ จะโต้ตอบเขาได้ ตสฺมึ อุเปกฺขโกว โหติ ย่อมเป็นผู้วางเฉยในผู้นั้นเสีย ยถา ฉันใด อกุสลวิปากานํ ปริทุพฺพลภาวโต เพราะอกุศลวิบากจิต (๗ ดวง) มีก�ำลัง (พลัง) น้อย รอบด้าน อนิฏฺารมฺมเณปิ โทมนสฺสุปฺปาโท นตฺถิ โทมนัสจึง ไม่เกิดมี แม้ในอนิฏฐารมณ์ เอวเมว ฉันนั้นเหมือนกัน อิติ เพราะเหตุนั้น สนฺตีรณํ อุเปกฺขาสหคตเมว สันตีรณจิต จึงสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเท่านั้น ฯ ปน อนึ่ง อุภยวิปากานิปิ แม้วิบากจิตทั้ง ๒ ฝ่าย จตฺตาริ ฝ่ายละ ๔ ดวง จกฺขวุ ญ ิ  ฺ าณาทีนิ มีจกั ขุวญ ิ ญาณจิตเป็นต้น อุเปกฺขาอุเปกฺขาสหคตานิ ก็สหรคต ด้วยอุเบกขาเวทนา อนิฏฺเ€ปิ อิฏฺเ€ปิ จ อารมฺมเณ ทั้งในอนิฏฐารมณ์ และทั้ง ในอิฏฐารมณ์ วตฺถารมฺมณฆฏนาย ทุพฺพลภาวโต เพราะกิริยาที่วัตถุกับอารมณ์


38

ปริเฉทที่ ๑

กระทบกัน มีพลังอ่อน ฯ หิ ความจริง จกฺขฺวาทีนิ วัตถุทั้งหลาย มีจักขุวัตถุ เป็นต้น วตฺถุภูตานิ อันเป็นที่ตั้งที่เกิด เตสํ จตุนฺนมฺปิ แห่งวิญญาณจิตแม้ทั้ง ๔ ดวงเหล่านั้น อุปาทารูปาเนว ก็เป็นอุปาทายรูปนั่นเอง ฯ รูปาทีนิ อารมณ์ ทั้งหลาย มีรูปารมณ์เป็นต้น อารมฺมณภูตานิปิ แม้ที่เป็นอารมณ์แห่งวิญญาณจิต แม้ทั้ง ๔ ดวงเหล่านั้น ตถา ก็เหมือนกัน คือ เป็น อุปาทายรูปนั่นเอง ฯ จ ก็ อุปาทารูปเกน อุปาทารูปสฺส สงฺฆฏนํ กิรยิ าทีอ่ ปุ ทายรูปกับอุปาทายรูปกระทบกัน อติทุพฺพลํ มีพลังอ่อนอย่างยิ่ง ปิจุปิณฺฑเกน ปิจุปิณฺฑกสฺส ผุสนํ วิย คล้ายกับ กิริยาที่ปุยนุ่นกับปุยนุ่นกระทบกัน ฉะนั้น ตสฺมา เพราะฉะนั้น ตานิ วิญญาณจิต ๔ ดวงเหล่านั้น อุเปกฺขาสหคตาเนว จึงสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเท่านั้น สพฺพตฺถาปิ แม้ในอารมณ์ทงั้ ปวง ฯ ปน ส่วนว่า กายวิญ ฺ าณสฺส โผฏฺพฺพสงฺขาตํ ภูตตฺตยเมว อารมฺมณ กายวิญญาณจิต มีเฉพาะภูตรูป ๓ ประการ กล่าวคือ โผฏฐัพพารมณ์เท่านั้นเป็นอารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ ภูตรูป ๓ ประการนั้น กายปฺปสาเท สงฺฆฏิตมฺปิ แม้กระทบกายปสาทรูปแล้ว ตํ อติกฺกมิตฺวา ก็เลย กายปสาทรูปนั้น มหาภูเตสุ ปฏิหญฺติ ไปกระทบมหาภูตรูป ตนฺนิสฺสเยสุ ซึ่งเป็นที่อาศัยแห่งกายปสาทรูปนั้น ฯ จ ก็ ภูตรูเปหิ ภูตรูปานํ สงฺฆฏนํ กิริยา ที่ภูตรูปกับภูตรูปกระทบกัน พลวตรํ มีพลังแรงกว่า อธิกรณีมตฺถเก ปิจุปิณฺฑกํ เปตฺวา กูเฏน ปหตกาเล กูฏสฺส ปิจุปิณฺฑกํ อติกฺกมิตฺวา อธิกรณีคหณํ วิย คล้ายกับเวลาทีบ่ คุ คลวางปุยนุน่ ไว้บนทัง่ แล้วเอาฆ้อนทุบ ฆ้อนเลยปุยนุน่ ไปกระทบทัง่ ฉะนั้น ตสฺมา เพราะฉะนั้น กายวิญฺาณํ กายวิญญาณจิต อนิฏฺเ ทุกฺขสหคตํ จึงสหรคตด้วยทุกขเวทนา ในอนิฏฐารมณ์ อิฏฺเ สุขสหคตํ สหรคตด้วยสุขเวทนา ในอิฏฐารมณ์ วตฺถารมฺมณฆฏนาย พลวภาวโต เพราะกิริยาที่วัตถุกับอารมณ์ กระทบกันมีพลังรุนแรง อิติ ดังนี้แล ฯ สมฺปฏิจฺฉนฺนยุคลมฺปิ แม้สัมปฏิจฉันนจิตทั้งคู่ (คือ สัมปฏิจฉันนจิต ฝ่ายอกุศลวิบาก ๑ ดวง สัมปฏิจฉันนจิต ฝ่ายกุศลวิบากอเหตุกจิต ๑ ดวง) อุปฺปชฺชติ ก็เกิดขึ้น จกฺขุวิญฺาณาทีนมนฺตรํ ในล�ำดับจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

39

อตฺตนา อสมานนิสฺสยานํ ซึ่งมีวัตถุที่อาศัยไม่เสมอกับตน อิติ เพราะเหตุนั้น นาติพลวํ จึงมีพลังไม่มากนัก อลทฺธานนฺตรปจฺจยตาย เพราะไม่ได้อนันตรปัจจัย สมานนิสฺสยโต จากจิตที่มีวัตถุที่อาศัยเสมอกัน สภาคุปตฺถมฺภนรหิโต ปุริโส วิย เปรียบเหมือนคนผู้ปราศจากสหายผู้คอยช่วยเหลือที่เป็นพวกเดียวกัน ฉะนั้น วิสยรสมนุภวิตุํ น สกฺโกติ จึงไม่สามารถเสวยรสอารมณ์ได้ สพฺพถาปิ แม้โดย ประการทั้งปวง อิติ เพราะเหตุนั้น อุเปกฺขาสหคตเมว จึงสหรคตด้วยอุเบกขา เวทนาเท่านั้น สพฺพตฺถาปิ แม้ในอารมณ์ทั้งปวง ฯ วุตฺตวิปริยายโต โดยปริยาย อันตรงกันข้ามจากค�ำที่กล่าวแล้ว กุสลวิปากสนฺตีรณํ สันตีรณจิตฝ่ายกุศลวิบาก อิฏฺฐอิฏฺฐมชฺฌตฺตารมฺเณสุ สุโขเปกฺขาสหคตํ จึงสหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ในอิฏฐารมณ์ และสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ในอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ อิติ แล ฯ (ถาม) อิติ ว่า ยทิ เอวํ ถ้าเมือ่ เป็นอย่างนัน้ กสฺมา เพราะเหตุไร อาวชฺชนทฺวยสฺส อุเปกฺขาสมฺปโยคํ วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าวอาวัชชนจิตทั้ง ๒ ดวง ว่าสัมปโยคด้วยอุเบกขาเวทนาไว้เล่า ตมฺปิ อาวัชชนจิตทั้ง ๒ ดวงแม้นั้น สมานนิสสฺ ยานนฺตรมฺปวตฺตติ ก็เป็นไป (เกิด) ในล�ำดับจิตทีม่ วี ตั ถุทอี่ าศัยเสมอกัน นนุ มิใช่หรือ ฯ (ตอบ) อิติ ว่า สจฺจํ ค�ำที่ท่านกล่าวแล้วนั้น เป็นความจริง ปน แต่ว่า ตตฺถ บรรดาอาวัชชนจิตทั้ง ๒ ดวงนั้น ปุริมํ ปัญจทวาราวัชชนจิต ดวงต้น ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ปุพฺเพว เกนจิ อคฺคหิเตเยว อารมฺมเณ ในอารมณ์ ที่จิตดวงไหน ๆ ยังไม่เคยรับมาก่อนเลย เอกวารเมว เพียงวาระเดียวเท่านั้น ปจฺฉิมมฺปิ แม้มโนทวาราวัชชนจิตดวงหลัง พฺยาปารนฺตรสาเปกฺขํ ก็มีความเพ่ง ถึงความพยายามอย่างอื่น วิสทิสจิตฺตสนฺตานปราวตฺตนวเสน คือความเปลี่ยนไป แห่งจิตตสันดานที่ไม่เหมือนกัน อิติ เพราะหตุนั้น น สกฺโกติ จึงไม่สามารถ วิสยรสมนุภวิตุํ เสวยรสอารมณ์ได้ สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง ตสฺมา เพราะฉะนัน้ มชฺฌตฺตเวทนาสมฺปยุตตฺ เมว จึงสัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนาเท่านัน้ ฯ โหนฺติ เจตฺถ ก็ ในอธิการนี้ มีคาถารวมความว่า ฯ


40

ปริเฉทที่ ๑

หิ เพราะ วตฺถาลมฺพสภาวานํ ภูติกานํ ฆฏฺฏนํ กิริยาที่ อุปาทายรูปทั้งหลาย ซึ่งมีสภาวะเป็นวัตถุและอารมณ์กระทบกัน ทุพพฺ ลํ มีพลังอ่อน อิติ เพราะเหตุนนั้ จกฺขวฺ าทิจตุจติ ตฺ ํ จิต ๔ ดวง มีจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น อุเปกฺขกํ จึงสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ฯ ตุ แต่ กายนิสฺสยโผฏฺ€พฺพภูตานํ ฆฏฺฏนาย พลวตฺตา เพราะกิ ริ ย าที่ ภู ต รู ป ซึ่ ง เป็ น ที่ อ าศั ย แห่ ง กายประสาทและเป็ น โผฏฐัพพารมณ์กระทบกัน มีพลังรุนแรง วิญฺาณํ กายิกํ กายวิญญาณจิต น มชฺฌเวทนํ จึงไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ฯ ยสฺมา เพราะ นตฺถานนฺตรปจฺจโย สัมปฏิจฉันนจิตทั้ง ๒ ดวง ไม่มีอนันตรปัจจัย สมานนิสฺสโย ทีมีวัตถุที่อาศัยเสมอกัน ตสฺมา ฉะนั้น สมฺปฏิจฺฉนํ สัมปฏิจฉันนจิต(ทั้ง ๒ ดวง) ทุพฺพลํ จึงมี พลังอ่อน โสเปกฺขํ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา อาลมฺเพ ในอารมณ์ (ทั้งปวง) ฯ อเหตุกจิตฺตานิ จิตที่เป็นอเหตุกะ สมฺปยุตฺตเหตุวิรหโต จ เพราะเว้น จากสัมปยุตเหตุด้วย กุสลสฺส วิปากานิ จ เป็นวิบากแห่งกุศลจิตด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น กุสลวิปากาเหตุกจิตฺตานิ จึงชื่อว่าอเหตุกจิตฝ่ายกุศลวิบาก ฯ หิ ความจริง เอตานิ อเหตุกจิตฝ่ายกุศลวิบากนี้ นิปฺผนฺนานิปิ แม้ส�ำเร็จแล้ว นิ พฺ พ ตฺ ต กเหตุ ก วเสน ด้ ว ยอ� ำ นาจนิ พ พั ต ตกเหตุ อเหตุ ก โวหารํ ลภนฺ ต ิ ย่อมเรียกได้ว่า เป็นอเหตุกะ สมฺปยุตฺตเหตุวเสเนว ด้วยอ�ำนาจสัมปยุตเหตุ นั่นเอง อิตรถา มหาวิปาเกหิ อิเมสํ นานตฺตาสมฺภวโต เพราะเมื่อก�ำหนด เนื้อความนอกไปจากนี้ อเหตุกจิตฝ่ายกุศลวิบากเหล่านี้จะไม่มีความต่างกันจาก มหาวิบากจิตทั้งหลาย ฯ (ถาม) อิติ ว่า ปน ก็ เอตฺถ ในกุศลวิบากจิตและ อกุศลวิบากจิตเหล่านี้ กึ การณํ มีอะไรเป็นเหตุ อเหตุกคฺคหณํ น กตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงมิได้ลงศัพท์ว่า อเหตุกะ ไว้ อกุสลวิปากนิคมเน ในค�ำ ลงท้ายแห่งอกุศลวิบากจิต ยถา อิธ เอวํ เหมือนในค�ำลงท้ายแห่งกุศลวิบากจิต


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

41

นี้เล่า ฯ ตอบว่า พฺยภิจาราภาวโต เพราะไม่มีปรากฏที่ไหนอีก ฯ หิ ความจริง สติ สมฺภเว พฺยภิจาเร จ เมื่อความเกิดและความเป็นไปต่างกัน มีอยู่ วิเสสนํ สาตฺถกํ สิยา บทวิเสสนะก็พงึ มีประโยชน์ ฯ ปน ก็ อกุสลวิปากานํ สเหตุกตาย สมฺภโว นตฺถิ อกุศลวิบากจิต (๗ ดวง) ย่อมไม่มคี วามเกิดโดยความเป็นสเหตุกะ กทาจิปิ แม้ในกาลบางคราว อโลภาทีหิ สมฺปโยคาโยคโต เพราะไม่เกี่ยวเนื่อง กับการประกอบด้วยสัมปโยคเหตุทั้งหลายมีอโลภะเป็นต้น ตพฺพิธุเรหิ อันเป็น ข้าศึก ต่อธรรมที่มีโทษมีโลภะเป็นต้นนั้น โลภาทิสาวชฺชธมฺมวิปากภาเวน โดย ความเป็นวิบากแห่งธรรมที่มีโทษมีโลภะเป็นต้น สยํ อพฺยากตนิรวชฺชสภาวานํ โลภาทิอกุสลธมฺมสมฺปโยควิโรธโต จ และเพราะธรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาวะไม่มโี ทษ เป็นอัพยากฤตโดยตน ผิดจากสัมปโยคด้วยอกุศลธรรมมีโลภะเป็นต้น อิติ เพราะ เหตุนั้น ตานิ อกุศลวิบากจิต ๗ ดวงเหล่านั้น อเหตุกปเทน น วิเสสิตพฺพานิ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์จงึ ไม่ให้ตา่ งไป ด้วยบทว่า อเหตุกะ อเหตุกภาวาพฺยภิจารโต เพราะไม่มีความเป็นไปต่างจากความเป็นอเหตุกะ อิติ แล ฯ

[อธิบายอเหตุกิริยาจิต] อิ ท านิ บั ด นี้ ท่ า นพระอนุ รุ ท ธาจารย์ ทสฺ เ สตุํ ประสงค์ จ ะแสดง อเหตุกกฺริยาจิตฺตานิปิ แม้กิริยาจิตฝ่ายอเหตุกะทั้งหลาย ติธา เป็น ๓ ดวง กิจฺจเภเทน โดยความต่างกันแห่งกิจ (หน้าที่) อเหตุกาธิกาเร ในอธิการว่าด้วย 40อเหตุกจิต อุเปกฺขาสหคตนฺติอาทิ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า อุเปกฺขาสหคต ดังนี้ เป็นต้น ฯ (จิตดวงใด) อาวชฺเชติ ย่อมนึกถึง จกฺขวฺ าทิปญฺจทฺวาเร ฆฏิตมารมฺมณํ อารมณ์ ที่กระทบปัญจทวารมีจักขุทวารเป็นต้น ตตฺถ อาโภคํ กโรติ คือ กระท�ำ ความค�ำนึงในอารมณ์ที่กระทบนั้น จิตฺตสนฺตานํ ภวงฺควเสน ปวตฺติตํ ุ อทตฺวา วีถิจิตฺตภาวาย ปริณาเมติ วา หรือย่อมไม่ให้จิตสันดานเป็นไปด้วยอ�ำนาจ เป็นภวังคจิต แล้วให้เปลี่ยนไปเพื่อเป็นวิถีจิต อิติ เพราะเหตุนั้น (จิตดวงนั้น) ปญฺจทฺวาราวชฺชนํ ชื่อว่า ปัญจทวาราวัชชนะ กฺริยาเหตุกมโนธาตุจิตฺตํ ได้แก่


42

ปริเฉทที่ ๑

มโนธาตุจิตฝ่ายอเหตุกกิริยา ฯ ภวงฺคจิตฺตํ ภวังคจิต (คือ ภวังคุปัจเฉทะ) อาวชฺ ช นสฺ ส อนนฺ ต รปจฺ จ ยภู ตํ ซึ่ ง เป็ น อนั น ตรปั จ จั ย แก่ อ าวั ช ชนจิ ต (คื อ ปัญจทวาราวัชชนจิต และ มโนทวาราวัชชนจิต) มโนทฺวารํ ชื่อว่า มโนทวาร วีถิจิตฺตานมฺปวตฺติมุขภาวโต เพราะเป็นทางเป็นไปแห่งวิถีจิตทั้งหลาย ฯ (จิต ดวงใด) อาวชฺเชติ ย่อมค�ำนึงถึง อาปาถํ คตมารมฺมณํ อารมณ์ที่มาปรากฏ ทิฏฺสุตมุตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจอารมณ์มีรูปารมณ์ที่ได้เห็น สัททารมณ์ ที่ได้ยิน และคันธารมณ์เป็นต้นที่ได้ทราบเป็นต้น ตสฺมึ ในมโนทวารนั้น วุตฺตนเยเนว จิตฺตสนฺตานํ ปริณาเมติ วา หรือย่อมให้จิตตสันดานเปลี่ยนไปโดยนัยที่กล่าวแล้ว นัน่ แหละ อิติ เพราะเหตุนนั้ (จิตดวงนัน้ ) มโนทวาราวชฺชนํ ชือ่ ว่า มโนทวาราวัชชนะ กฺรยิ าเหตุกมโนวิฺาณธาตุอเุ ปกฺขาสหคตจิตตฺ ํ ได้แก่ จิตทีส่ หรคตด้วยอุเบกขา เวทนาอันเป็นมโนวิญญาณธาตุฝา่ ยอเหตุกกิรยิ า ฯ จ ก็ อิทเมว มโนทวาราวัชชนจิต ดวงนี้แหละ ปญฺจทฺวาเร ยถาสนฺตีริตมาลมฺพนํ ววตฺถเปติ ย่อมตัดสินอารมณ์ ตามที่ได้พิจารณาแล้ว ในปัญจทวาร อิติ เพราะเหตุนั้น โวฏฺ€พฺพนนฺติ ปวุจฺจติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงเรียกว่า โวฏฐัพพนจิต ฯ (จิตดวงใด) หสิตํ อุปฺปาเทติ ย่อมยังการแย้มให้เกิดขึ้น อิติ เพราะเหตุน้ัน (จิตดวงนั้น) หสิตุปฺปาทํ ชื่อว่า หสิตปุ ปาทะ กฺรยิ าเหตุกมโนวิญ ฺ าณธาตุโสมนสฺสสหคตจิตตฺ ํ ได้แก่ จิตทีส่ หรคต ด้วยโสมนัสสเวทนา อันเป็นมโนวิญญาณธาตุฝา่ ยอเหตุกกิรยิ า ปหฏฺาการมตฺตเหตุกํ อันเป็นเหตุเพียงอาการร่าเริง ขีณาสวานํ อโนฬาริการมฺมเณสุ ในเพราะ อารมณ์ที่ละเอียดแห่งพระขีณาสพทั้งหลาย ฯ สพฺพถาปีติ ค�ำว่า สพฺพถาปิ อกุสลวิปากกุสลวิปากกฺริยาเภเทน ได้แก่โดยความต่างกันแห่งอกุศลวิบากจิต กุศลวิบากจิต และกิรยิ าจิต ฯ อฏฺารสาติ บทว่า อฏฺารส คณนปริจเฺ ฉโท เป็นการ ก�ำหนดจ�ำนวน ฯ อเหตุกจิตตฺ านีติ บทว่า อเหตุกจิตตฺานิ ปริจฉฺ นิ นฺ ธมฺมนิทสฺสนํ เป็นการแสดงธรรมที่ก�ำหนดไว้แล้ว ฯ อเหตุกวณฺณนา นิฏฺ€ิตา พรรณนาความอเหตุกจิต จบ ฯ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

43

[อธิบายกามาวจรกุศลจิต] (ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์) ทสฺเสตฺวา ครัน้ แสดง สมตฺตสึ จิตตฺ านิ จิต ๓๐ ดวง ถ้วน ทฺวาทสากุสลาเหตุกฏฺารสวเสน คืออกุศลจิต ๑๒ ดวง อเหตุกจิต ๑๘ ดวง เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้แล้ว อิทานิ บัดนี้ ตพฺพินิมุตฺตานํ โสภณโวหารํ เปตุํ หวังจะตั้งชื่อจิตที่พ้นจากจิต ๓๐ ดวงถ้วนนั้นว่า โสภณจิต ปาปาเหตุกมุตฺตานีติ อาทิ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า ปาปาเหตุกมุตฺตานิ ดังนี้เป็นต้น ฯ อธิบายว่า จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย มุตฺตานิ ที่พ้น ปาเปหิ จากจิตที่ชื่อว่าปาปะ อตฺตนา อธิสยิตสฺส อปายาทิทุกฺขปาปนโต เพราะยังบุคคลที่ตนอาศัยอยู่ให้ถึงทุกข์มีทุกข์ในอบาย เป็นต้น เหตุกสมฺปโยคาภาวโต อเหตุเกหิ จ และจากจิตที่ชื่อว่าอเหตุกะ เพราะไม่มีสัมปโยคด้วยเหตุ เอกูนสฏฺ€ิปริมาณานิ มีจ�ำนวน ๕๙ ดวง จตุวีสติกามาวจรปญฺจตฺตสึ มหคฺคตโลกุตตฺ รวเสน คือ กามาวจรจริต ๒๔ ดวง มหัคคตจิต และโลกุตตรจิต ๓๕ ดวง อถวา อีกอย่างหนึ่ง เอกนวุติปิ จิตมี ๙๑ ดวงบ้าง อฏฺโลกุตฺตรานิ ปจฺเจกํ ปญฺจธา ปญฺจธา กตฺวา เพราะแยกโลกุตตรจิต ๘ ดวง แต่ละดวงออกเป็นอย่างละ ๕ ดวง ฌานงฺคโยคเภเทน โดยความต่างกันแห่ง การประกอบด้วยองค์ฌาน โสภณานีติ วุจฺจเร กถิยนฺติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ เรียกว่า คือกล่าวว่า โสภณจิต โสภณคุณาวหนโต เพราะเป็นเครื่องน�ำมา ซึง่ คุณอันงาม อโลภาทิอนวชฺชเหตุสมฺปโยคโต จ และประกอบด้วยเหตุทไี่ ม่มโี ทษ มีอโลภเหตุเป็นต้น ตํเหตุกตฺตา เพราะมีการน�ำมาซึ่งคุณอันงามนั้นเป็นเหตุ ฯ โสภเณสุ กามาวจรานเมว ปมํ อุทฺทิฏฺตฺตา เพราะบรรดาโสภณจิต ทั้งหลาย (๕๙ หรือ ๙๑ ดวง) โสภณจิตเฉพาะฝ่ายกามาวจร (๒๔ ดวง) ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ยกขึน้ แสดงก่อน (และ) เตสุปิ อพฺยากตานํ กุสลปุพพฺ กตฺตา เพราะแม้บรรดาโสภณจิตฝ่ายกามาวจรเหล่านัน้ อัพยากตจิตทัง้ หลาย (คือ วิบากจิต และกิริยาจิต) มีกุศลจิตน�ำหน้า (ฉะนั้น) อิทานิ บัดนี้ ท่านพระอนุรุทธาจารย ทสฺ เ สตุํ หวั ง จะแสดง ปมํ กามาวจรกุ ส ลํ กามาวจรกุ ศ ลจิ ต ก่ อ น ตโต


44

ปริเฉทที่ ๑

ต่อแต่นั้น แสดง ตพฺพิปากํ จิตที่เป็นวิบากแห่งกามาวจรกุศลจิตนั้น ตทนนฺตรํ จ และในล�ำดับนั้น แสดง กฺริยาจิตฺตํ กิริยาจิต ตเทกภูมิปริยาปนฺนํ ซึ่งนับเนื่อง ในชั้นเดียวกันกับกามาวจรกุศลจิตนั้น ปจฺเจกํ อฏฺธา ประเภทละ ๘ ดวง เวทนาาณสงฺขารเภเทน โดยความต่างกันแห่งเวทนา ญาณ และสังขาร โสมนสฺสสหคตนฺติอาทิ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า โสมนสฺสสหคต ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ ในค�ำว่า โสมนสฺสสหคต เป็นต้นนั้น พึงทราบอธิบายความมีอรรถ วิเคราะห์เป็นต้นดังต่อไปนี้ าณํ ธรรมชาติที่ชื่อว่าญาณ ชานาติ ยถาสภาวํ ปฏิวิชฺฌตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมรู้ คือย่อมรู้ตลอด (ธรรมทั้งหลาย) ตามสภาวะ ฯ เสสํ วุตฺตนยเมว ค�ำที่ยังเหลือ มีนัยดังกล่าวมาแล้วนั่นแหละ ฯ เอตฺถ จ ก็ในอธิการว่าด้วยกามาวจรกุศลจิตนี้ เวทิตพฺพา พึงทราบ โสมนสฺสสหคตตา ว่า จิตสหรคตด้วยโสมนัส การเณหิ ด้วยเหตุหลายประการ พลวสทฺธาย ทสฺสนสมฺปตฺติยา ปจฺจยปฏิคฺคาหกาทิสมฺปตฺติยาติ เอวมาทีหิ มีอาทิอย่างนี้ คือ ด้วยศรัทธาแก่กล้า ด้วยความเห็นอันบริสุทธิ์ ด้วยความพร้อมแห่งปัจจัยและ ปฏิคาหกเป็นต้น จ และพึงทราบ าณสมฺปยุตฺตตา ว่า จิตเป็นญาณสัมปยุต ปญฺาสํวตฺตนิกกมฺมโต โดยการกระท�ำทีเ่ ป็นไปร่วมกับปัญญา อพฺยาปชฺชโลกูปปตฺตโิ ต โดยการเกิดในโลกที่ไม่ถูกเบียดเบียน อินฺทฺริยปริปากโต โดยอินทรีย์แก่กล้า กิเลสทูรีภาวโต จ และโดยกิเลสอยู่ห่างไกล พึงทราบ อุเปกฺขาสหคตตา เจว าณวิปฺปยุตฺตตา จ ว่า จิตสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา และว่าจิตเป็นญาณวิปยุต ตพฺพิปริยาเยน โดยบรรยายตรงกันข้ามกับเหตุที่กล่าวมาแล้วนั้น พึงทราบ อสงฺขาริกตา ว่าจิตเป็นอสังขาริก กายจิตฺตานํ กลฺลภาวโต โดยกายและจิต มีความสามารถ อาวาสสปฺปายาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจสัปปายะมีอาวาสสัปปายะเป็นต้น ปุพฺเพ ทานาทีสุ กตปริจยตาทีหิ และโดยบุรพจริยาเป็นต้นว่าความเป็นผู้ได้เคย ท�ำการสั่งสมไว้ในบุญกิริยาวัตถุทั้งหลายมีทานเป็นต้นในปางก่อน สสงฺขาริกตา จ และพึงทราบว่าจิตเป็นสสังขาริก ตพฺพิปริยาเยน โดยบรรยายตรงกันข้ามกับเหตุ ที่กล่าวมาแล้วนั้น ฯ ตตฺถ บรรดากุศลจิต ๘ ดวงนั้น ยทา ปน ก็ ในกาลใด


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

45

โย บุคคลใด อาคมฺม อาศัย เทยฺยธมฺมปฏิคฺคาหกาทิสมฺปตฺตึ ความถึงพร้อม แห่งไทยธรรมและปฏิคาหกเป็นต้น อญฺ โสมนสฺสเหตุ วา หรือเหตุแห่งโสมนัส อย่างอื่น หฏฺปหฏฺโ ร่าเริง ยินดี อตฺถิ ทินฺนนฺติอาทินยปฺปวตฺตํ สมฺมาทิฏ€ึ ปุรกฺขิตฺวา เชิดชู สัมมาทิฏฐิอันเป็นไปโดยนัยว่า ทานที่บุคคลให้แล้วมีผลจริง ดังนี้เป็นต้น ไว้เบื้องหน้ อสํสีทนฺโต ไม่ท้อแท้ ปเรหิ อนุสฺสาหิโต ไม่ถูกผู้อื่น กระตุน้ เตือน ทานาทีนิ ปุญ ฺ านิ กโรติ ย่อมท�ำบุญมีทานเป็นต้น ตทาสฺส ตํ จิตตฺ ํ ในกาลนั้ น จิ ต ดวงนั้ น ของบุ ค คลนั้ น โสมนสฺ ส สหคตํ สหรคตด้ ว ยโสมนั ส าณสมฺปยุตฺตํ เป็นญาณสัมปยุต อสงฺขาริกํ โหติ เป็นอสังขาริก ฯ ยทา ปน ส่วน ในกาลใด บุคคลใด หฏฺตุฏฺโ ร่าเริงยินดี สมฺมาทิฏฺ€ึ ปุรกฺขิตฺวา เชิ ด ชู สั ม มาทิ ฏ ฐิ ไ ว้ เ บื้ อ งหน้ า วุ ตฺ ต นเยเนว โดยนั ย ดั ง กล่ า วแล้ ว นั่ น แหละ สํสีทมาโน วา ท้อแท้อยู่ อมุตฺตจาคตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็นผู้มีการสละ ไม่ขาดเป็นต้น ปเรหิ อุสฺสาหิโต วา หรือถูกผู้อื่นกระตุ้นเตือน กโรติ จึงท�ำบุญ ตทา ในกาลนั้ น อสฺ ส ตเทว จิ ตฺ ตํ จิ ต ดวงนั้ น นั่ น แหละของบุ ค คลนั้ น สสงฺขาริกํ โหติ เป็นสสังขาริก ฯ ยทา ปน ส่วน ในกาลใด พาลทารกา พวกเด็กไร้เดียงสา ชาตปริจยา เกิดความเคยชิน าติชนสฺส ปฏิปตฺติทสฺสเนน เพราะเห็นการปฏิบัติของชนผู้เป็นญาติ ภิกฺขู ทิสฺวา เห็นภิกษุทั้งหลายแล้ว โสมนสฺสชาตา เกิดความดีใจ สหสา ยงฺกิญฺจิเทว หตฺถคตํ ททนฺติ วา รีบถวายของที่อยู่ในมืออย่างใดอย่างหนึ่ง วนฺทนฺติ วา หรือไหว้ ตทา ในกาลนั้น ตติยํ จิตฺตํ จิตดวงที่ ๓ เตสํ ของเด็กเหล่านั้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ฯ ยทา ปน ส่วน ในกาลใด (พวกเด็กไร้เดียงสาเหล่านั้น) าตีหิ อุสฺสาหิตา ถูกหมูญ ่ าติกระตุน้ เตือน เทถ วนฺทถาติ ว่า พวกเจ้าจงถวาย จงไหว้ เอวํ ปฏิปชฺชนฺติ จึงปฏิบตั ติ ามอย่างนัน้ ตทา ในกาลนัน้ จตุตถฺ ํ จิตตฺ ํ จิตดวงที่ ๔ ของเด็กเหล่านัน้ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ฯ ยทา ปน ส่วน ในกาลใด (คนทั้งหลาย) อาคมฺม อาศัยความ อสมฺปตฺตึ ไม่พรั่งพร้อม เทยฺยธมฺมปฏิคฺคาหกาทีนํ แห่งไทยธรรม และปฏิคาหกเป็นต้น อญฺเสํ โสมนสฺสเหตูนํ อภาวํ วา หรือ ความไม่มีเหตุ


46

ปริเฉทที่ ๑

แห่ ง โสมนั ส เหล่ า อื่ น โสมนสฺ ส รหิ ต า โหนฺ ติ ย่ อ มเป็ น ผู ้ ป ราศจากโสมนั ส จตูสุ วิกปฺเปสุ ในข้อก�ำหนดทั้ง ๔ อย่าง ตทา ในกาลนั้น เสสานิ จตฺตาริ อุเปกฺขาสหคตานิ จิตทีส่ หรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ๔ ดวงทีเ่ หลือ (ของชนเหล่านัน้ ) อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึ้น อิติ แล ฯ อฏฺปีติ ปิสทฺเทน ด้วย ปิ ศัพท์ในบทว่า อฏฺปิ นี้ สมฺปิณฺเฑติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ย่อมประมวล อเนกวิธตฺตํ ความที่ จิตมีหลายประเภท ทสปุญ ฺ กิรยิ าทิวเสน ด้วยอ�ำนาจบุญกิรยิ าวัตถุ ๑๐ เป็นต้น ฯ ตถาหิ วทนฺติ สมจริงดังที่ท่านอาจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ อิติ ว่า นยโกวิโท ท่านผู้ฉลาดในการนับ คเณยฺย พึงนับจิตเหล่านี้ ปุญ ฺ วตฺถหู ิ โดยบุญกิรยิ าวัตถุทงั้ หลาย ๑ โคจราธิปตีหิ จ อารมณ์ ๑ อธิบดีธรรม ๑ กมฺมหีนาทิโต เจว กรรม ๑ ประเภททีเ่ ลวเป็นต้น ๑ กเมน ตามล�ำดับ ฯ หิ ความจริง อิมานิ อฏฺ จิตฺตานิ จิต ๘ ดวง เหล่านี้ อสีติจิตฺตานิ โหนฺติ มี ๘๐ ดวง ปจฺเจกํ ทสทสาติ กตฺวา เพราะอธิบายว่า แยกจิตแต่ละดวง ออกเป็น ๑๐ ดวง ทสปุญฺกิริยาวตฺถุวเสน ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปด้วย อ�ำนาจบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ ฯ จ ก็ ตานิ จิต ๘๐ ดวงเหล่านั้น ปจฺเจกํ ฉคุณิตานิ แต่ละดวงเอา ๖ คูณ ฉสุ อารมฺมเณสุ ปวตฺตนโต เพราะเป็นไป ในอารมณ์ ๖ สาสีติกานิ จตฺตาริ สตานิ โหนฺติ จึงรวมเป็นจิต ๔๘๐ ดวง ฯ ปน แต่ว่า อธิปติเภเทน โดยประเภทแห่งอธิบดีธรรม ญาณวิปฺปยุตฺตานํ จตฺตาฬีสาธิกทฺวสิ ตปริมาณานํ วีมสํ าธิปติสมาโยคาภาวโต เพราะจิตทีป่ ราศจากญาณ มีจ�ำนวน ๒๔๐ ดวง ไม่มีการประกอบด้วยวิมังสาธิบดีธรรม ตานิ จิต ๒๔๐ ดวง เหล่านั้น ติคุณิตานิ เอา ๓ คูณ ติณฺณํ อธิปตีนํ วเสน ด้วยอ�ำนาจแห่ง อธิบดีธรรม ๓ ประการ วีสาธิกานิ สตฺตสตานิ จึงรวมเป็นจิต ๗๒๐ ดวง ฯ ตถา าณสมฺปยุตฺตานิ จ และจิตที่ประกอบด้วยญาณ มีจ�ำนวน ๒๔๐ ดวง ก็เหมือนกัน จตุคุณิตานิ คือ เอา ๔ คูณ จตุนฺนํ อธิปตีนํ วเสน ด้วยอ�ำนาจ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

47

อธิบดีธรรม ๔ ประการ สมสฏฺ€ิกานิ นวสตานิ จึงรวมเป็นจิต ๙๖๐ ดวงถ้วน อิติ เอวํ รวมความดังว่ามานี้ อธิปติวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจอธิบดีธรรม สหสฺสํ สาสีตกิ านิ ฉสตานิ จ โหนฺติ จึงมีจิต ๑,๖๘๐ ดวง ฯ ตานิ จิต ๑,๖๘๐ ดวงเหล่านั้น ติคณ ุ ติ านิ เอา ๓ คูณ กายวจีมโนกมฺมสงฺขาตกมฺมติกวเสน ด้วยอ�ำนาจกรรม ๓ คือกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม จตฺตาฬีสาธิกานิ ปญฺจสหสฺสานิ โหนฺติ จึงมีจติ ๕,๐๔๐ ดวง ฯ ตานิ จ และจิต ๕,๐๔๐ ดวงเหล่านัน้ ติคณ ุ ติ านิ เอา ๓ คูณ หีนมชฺฌิมปณีตเภทโต โดยประเภทแห่งจิตที่ต�่ำ ปานกลาง และที่ประณีต วีสสตาธิกปณฺณรสสหสฺสานิ โหนฺติ จึงรวมเป็นจิต ๑๕,๑๒๐ ดวง ฯ ยํ ปน ส่วนค�ำใด อาจริยพุทฺธทตฺตตฺเถเรน วุตฺตํ ที่ท่านอาจารย์พุทธทัตตเถระกล่าว อิติ ว่า วินทิ ทฺ เิ ส บัณฑิตพึงแสดงไข กามาวจรปุญ ฺ านิ กามาวจรกุศลจิต ภวนฺติ มี สตฺตรสสหสฺสานิ เทฺวสตานิ อสีติ จ ๑๗,๒๘๐ ดวง ฯ ตํ ค�ำนั้น ทฏฺพฺพํ พึงเห็น อิติ ว่า อนาทิยิตฺวา ท่านไม่ค�ำนึงถึง คณนปริหานึ การลดจ�ำนวน อธิปติวเสน ด้วยอ�ำนาจอธิบดีธรรม โสตปติตวเสน วุตฺตํ กล่าวไว้ด้วยอ�ำนาจการนับเรื่อยไป ฯ ปน ส่วน เนสํ เภโท ประเภท แห่งกามาวจรกุศลจิตเหล่านั้น กาลเทสาทิเภเทน โดยความต่างแห่งกาละและ เทศะเป็นต้น อปฺปเมยฺโยว หาประมาณมิได้เลย ฯ กุสลานิ จิตทั้งหลายที่ชื่อว่า กุศ ล กุจฺฉิเต ปาปธมฺเม สลยนฺติ กมฺ เ ปนฺ ติ หึ เ สนฺ ติ อปคเมนฺ ตีติ วา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมก�ำจัด คือ ยังอกุศลธรรมทั้งหลายที่น่าเกลียด ให้หวั่นไหว หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เบียดเบียน คือยังปาปธรรมทั้งหลาย ที่น่าเกลียดให้ปราศจากไป ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง กุสลานิ จิตทั้งหลายที่ชื่อว่า กุศล กุจฺฉิตากาเรน สนฺตาเน สยนโต ปวตฺตนโต กุสสงฺขาเต ปาปธมฺเม ลุนนฺติ ฉินฺทนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า บั่นรอน คือตัดปาปธรรมที่ชื่อว่ากุสะ เพราะนอนเนื่องในสันดาน คือเป็นไปในสันดานโดยอาการที่น่าเกลียด ฯ อถวา


48

ปริเฉทที่ ๑

อีกอย่างหนึ่ง กุสลานิ จิตทั้งหลายที่ชื่อว่ากุศล อิติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า าเณน อันญาณ สทฺธาทิธมฺมชาเตน วา หรือธรรมชาตมีศรัทธาเป็นต้น กุสสงฺขาเตน ที่ชื่อว่ากุสะ กุจฺฉิเต ปาปธมฺเม สานโต ตนุกรณโต เพราะเป็น เครื่องก�ำจัดอกุศลธรรมทั้งหลายที่น่าเกลียดท�ำให้เบาบาง โอสานกรณโต วา หรือเป็นเครือ่ งกระท�ำอกุศลธรรมทัง้ หลายทีน่ า่ เกลียดให้สนิ้ สุด ลาตพฺพานิ พึงถือเอา ปวตฺเตตพฺพานิ คือพึงให้เป็นไป ยถารหํ ตามสมควร สหชาตอุปนิสฺสยภาเวน โดยเป็นสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย ฯ ตาเนว กุศลจิตเหล่านั้นนั่นแหละ กามาวจรกุสลจิตฺตานิ ชื่อว่า กามาวจรกุศลจิต ยถาวุตฺตตฺเถน กามาวจรานิ จ จิตฺตานิ จาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นจิตที่ท่องเที่ยวไปในกามภพโดยอรรถ ตามที่กล่าวแล้ว ฯ ปน เหมือนอย่างว่า เอตานิ กามาวจรกุศลจิตเหล่านั้น ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป ปุญ ฺ กิรยิ าวเสน ด้วยอ�ำนาจบุญกิรยิ าวัตถุ กมฺมทฺวารวเสน ด้วยอ�ำนาจกรรมทวาร กมฺมวเสน ด้วยอ�ำนาจกรรม อธิปติวเสน จ และด้วยอ�ำนาจ อธิบดีธรรม ยถา ฉันใด วิปากานิ กามาวจรวิบากจิตทั้งหลาย น เอวํ หาเป็น ฉันนั้นไม่ ทานาทิวเสน อปฺปวตฺตนโต เพราะไม่เป็นไปด้วยอ�ำนาจบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ มีทานเป็นต้น วิญฺญตฺติสมุฏฺฐาปนาภาวโต เพราะไม่ให้วิญญัติ บังเกิดขึ้น อวิปากสภาวโต เพราะไม่มีวิบากเป็นสภาวะ ฉนฺทาทีนิ ปุรกฺขิตฺวา อวุตฺติโต จ และเพราะไม่ท�ำฉันทาธิบดีธรรมเป็นต้นไว้เบื้องหน้า เป็นไป ตสฺมา เพราะฉะนั้น ตํวเสน ปริหาเปตฺวา พึงลดจ�ำนวนด้วยอ�ำนาจวัตถุ ๔ ประการ มีความไม่เป็นไปด้วยอ�ำนาจบุญกิรยิ าวัตถุ ๑๐ ประการ มีทานเป็นต้นเป็นอาทินนั้ แล้ว ยถารหํ คณนเภโท โยเชตพฺโพ ประกอบความต่างกันแห่งจ�ำนวน ตามสมควร ฯ อิมานิปิ แม้กามาวจรวิบากจิตฝ่ายสเหตุกะ ๘ ดวงเหล่านี้ อิฏฺอิฏฺมชฺฌตฺตา รมฺมณวเสน โสมนสฺสุเปกฺขาสหิตานิ ก็สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ด้วยอ�ำนาจ อิฏฐารมณ์ และสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ด้วยอ�ำนาจอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ญาณสมฺปยุตฺตานิญาณวิปฺปยุตฺตานิ จ โหนฺติ เป็นญาณสัมปยุต และเป็นญาณวิปยุต กมฺมสฺส พลวาพลวภาวโต โดยกรรมมีพลัง และไม่มีพลัง


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

49

ปฏิสนฺธาทิวสปฺปวตฺตยิ ํ ในเวลาเป็นไปด้วยอ�ำนาจกิจมีปฏิสนธิกจิ เป็นต้น เยภุยเฺ ยน ชวนานุรูปโต โดยสมควรแก่ชวนกิจโดยมาก ตทาลมฺพนปวตฺติยํ ในเวลาเป็นไป กับด้วยตทาลัมพนกิจ กมฺมนุรปู โต จ และโดยสมควรแก่กรรม ตตฺถาปิ แม้ในเวลา เป็นไปกับด้วยตทาลัมพนกิจนั้น กทาจิ ในกาลบางคราว ฯ อสงฺขาริกานิ โหนฺติ เป็นอสังขาริก กมฺมาทิปจฺจเยหิ โดยปัจจัยมีกรรมปัจจัยเป็นต้น ยถาอุปฏฺ€ิเตหิ ตามที่ปรากฏ ยถาปโยคํ วินา เว้นถูกกระตุ้นเตือน อุตุโภชนาทิสปฺปายวเสน และด้วยอ�ำนาจปัจจัยทีเ่ ป็นสัปปายะมีฤดูและโภชนะเป็นต้น สสงฺขาริกานิ จ โหนฺติ และเป็นสสังขาริก กมฺมาทิปจฺจเยหิ โดยปัจจัยมีกรรมปัจจัยเป็นต้น ยถาอุปฏฺ€เิ ตหิ ตามทีป่ รากฏ สมฺปโยคญฺจ พร้อมกับถูกกระตุน้ เตือน อุตโุ ภชนาทิอยาสฺปปฺ ายวเสน จ และด้วยอ�ำนาจปัจจัยทีไ่ ม่เป็นสัปปายะมีฤดูและโภชนะเป็นต้น ฯ เวทิตพฺพา บัณฑิต พึงทราบ กฺริยาจิตฺตานมฺปิ โสมนสฺสสหคตตาทิตา แม้กามาวจรกิริยาจิตฝ่าย สเหตุกะ (๘ ดวง) ว่าสหรคตด้วยโสมนัสสเวทนาเป็นต้น ยถารหํ ตามสมควร กุสเล วุตฺตนเยเนว ตามนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ ในกามาวจรกุศลจิต (๘ ดวง) นัน่ แหละ ฯ สเหตุกคหณํ ศัพท์วา่ สเหตุกะ สเหตุก ฯเปฯ กฺรยิ าจิตตฺ านีติ เอตฺถ ในค�ำว่า สเหตุกกามาวจรกุสลวิปากกฺริยาจิตฺตานิ นี้ วิเสสนํ เป็นบทวิเสสนะ วิปากกิริยาเปกฺขํ เพ่งถึงวิบากจิตและกิริยาจิต กุสลสฺส เอกนฺตสเหตุกตฺตา เพราะกุศลจิตเป็นสเหตุกะโดยส่วนเดียว ฯ หิ ความจริง ยถาลาภโยชนา การประกอบความตามที่จะรู้ได้ โหติ มีอยู่ ฯ สกฺขรกถลิกมฺปิ มจฺฉคุมฺพมฺปิ จรนฺตมฺปิ ติฏฺนฺตมฺปีติอาทีสุ ดุจในประโยคว่า ก้อนกรวดและกระเบื้องถ้วยบ้าง ฝูงปลาบ้าง เทีย่ วไปก็มี หยุดอยูก่ ม็ ี ดังนีเ้ ป็นต้น จรณํ โยชิยติ พระผูม้ พี ระภาคเจ้า ทรงประกอบกิรยิ าเทีย่ วไป มจฺฉคุมพฺ าเปกฺขาย โดยทรงมุง่ ถึงฝูงปลา สกฺขรกถลิกสฺส จรณาโยคโต เพราะก้อนกรวดและกระเบื้องถ้วยไม่ประกอบกับกิริยาเที่ยวไป ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า สเหตุกามาวจรปุญฺปากกิริยา กุศลจิต วิบากจิต และกิริยาจิตที่เป็นกามาวจรฝ่ายสเหตุกะ สมฺปิณฺเฑตฺวา จตุวีสติ มตา บัณพิตประมวลมากล่าวไว้ ๒๔ ดวง เวทนา ฯเปฯ เภเทน โดยความต่างกัน


50

ปริเฉทที่ ๑

แห่งเวทนา ญาณ และสังขาร ปจฺเจกํ เวทนาเภทโต ทุวิธตฺตา เพราะว่าโดย ความต่างกันแห่งเวทนา แต่ละอย่าง มีอย่างละ ๒ ดวง ปจฺเจกํ าณเภทโต จตุพฺพิธตฺตา เพราะว่าโดยความต่างกันแห่งญาณ แต่ละอย่างมีอย่างละ ๔ ดวง ปจฺเจกํ สงฺขารเภทโต อฏฺวิธตฺตา จ และเพราะว่าโดยความต่างกันแห่งสังขาร แต่ละอย่าง จึงมีอย่างละ ๘ ดวง ฯ (ถาม) อิติ ว่า จ ก็ เวทนาเภโท ความต่างกัน แห่งเวทนา ยุตโฺ ต เหมาะสมแล้ว ตาว ก่อน ตาสํ ภินนฺ สภาวตฺตา เพราะเวทนา เหล่านั้นมีสภาวะต่างกัน นนุ มิใช่หรือ ? ปน ส่วน าณสงฺขารเภทโต ความ ต่างกันแห่งญาณและสังขาร กถํ ยุตฺโต จะเหมาะสมอย่างไร ? ฯ (ตอบ) อิติ ว่า เภโท ความต่างกัน าณสงฺขารานํ ภาวาภาวกโตปิ แม้อันความมี และความไม่มีแห่งญาณและสังขารกระท� ำ แล้ ว าณสงฺ ขารกโตว ก็ชื่อว่า อั น ญาณและสังขารกระท�ำแล้ว นั่นเอง ยถา วสฺ ส กโต สุ ภิ กฺ โ ข ทุ พฺภิ กฺ โ ข เปรียบเหมือน ข้าวดี (และ) ข้าวเสียอันฝนกระท�ำแล้ว ฉะนั้น อิติ ตสฺมา เพราะเหตุดังนี้นั้น เภโท ความต่างกัน ญาณสงฺขารกโต อันญาณและ สั ง ขารกระท�ำแล้ว าณสงฺขารเภโท ชื่อว่าความต่ างแห่งญาณและสังขาร อิติ เพราะเหตุนั้น น เอตฺถ โกจิ วิโรโธในเรื่องนี้ จึงไม่มีอะไรผิด ฯ อิทานิ บัดนี้ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ สมฺปิณฺฑิตฺวา ทสฺเสตุํ หวังจะ ประมวลแสดง สพฺพานิปิ กามาวจรจิตฺตานิ กามาวจรจิตแม้ทั้งปวง กาเม เตวีสา ติอาทิ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า กาเม เตวีส ดังนี้เป็นต้น ฯ อตฺโถ อธิบายความ อิติ ว่า กาเม ภเว ในกามภพ อเนกวิธภาเวปี แม้เมื่อกามาวจรจิตจะมี อเนกประการ กาลทฺวารสนฺตานาทิเภเทน โดยความต่างกันแห่งข้อเบ็ดเตล็ด มี กาล ทวาร และสันดาน เป็นต้น สพฺพถาปิ ว่าแม้โดยประการทั้งปวง กุสลากุสล วิปากกิริยานํ อนฺโตคธเภเทน คือโดยประเภทที่มีอยู่ภายในอกุศลจิต กุศลจิต วิบากจิต และกิริยาจิต จตุปญฺาเสว กามาวจรจิตก็มี ๕๔ ดวงเท่านั้น อิติ คือ เตวีสติ วิปากานิ วิบากจิต ๒๓ ดวง เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ สตฺต อกุสลวิปากานิ อกุศลวิบากจิต ๗ ดวง สเหตุกาเหตุกานิ โสฬส กุสลวิปากานิ กุศลวิบากจิต


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

51

ทั้งฝ่ายสเหตุกะและอเหตุกะ ๑๖ ดวง ปุญฺญาปุญฺญานิ วีสติ กุศลจิต และอกุศลจิต ๒๐ ดวง อิติ คือ ทฺวาทส อกุสลานิ อกุศลจิต ๑๒ ดวง อฏฺ กุสลานิ กุศลจิต ๘ ดวง เอกาทส กิริยา จ และกิริยาจิต ๑๑ ดวง อิติ คือ อเหตุกา ติสฺโส กิริยาจิต ฝ่ายอเหตุกะ ๓ ดวง สเหตุกา อฏฺฐ กิริยาจิต ฝ่ายสเหตุกะ ๘ ดวง ฯ กามาวจรวณฺณนา พรรณนาความกามาวจรจิต นิฏฺ€ิตา จบ ฯ

[พรรณนาความรูปาวจรจิต] อิ ท านิ บั ด นี้ นิ ทฺ เ ทสกฺ ก โม อนุ ปฺ ป ตฺ โ ต ถึ ง ล� ำ ดั บ แห่ ง การแสดงไข รูปาวจรสฺส รูปาวจรจิต (๑๕ ดวง) ตทนนฺตรุททฺ ฏิ ฺ สฺส ทีท่ า่ นพระอนุรทุ ธาจารย์ ยกขึน้ แสดงไว้ในล�ำดับต่อจากกามาวจรจิต (๔๕ ดวง) นัน้ แล้ว อิติ เพราะเหตุนนั้ ตสฺส วิภาคํ ทสฺเสตุ ท่านพระอนุรุทธาจารย์หวังจะแสดงการจ�ำแนกรูปาวจรจิต นั้ น ออก ปญฺ จ ธา เป็ น ๕ ดวง ฌานงฺ ค โยคเภเทน โดยความต่ า งกั น แห่งการประกอบด้วยองค์ฌาน วิตกฺก ฯเปฯ สหิตนฺติอาทิมาห จึงกล่าวค�ำว่า วิตกฺกวิจารปีติสุเขกคฺคตาสหิต ดังนี้เป็นต้น ฯ อิเมหิ สหิตํ จิตที่สหรคตด้วย สภาวธรรมเหล่านี้ อิติ คือ วิตกฺโก จ วิจาโร จ ปีติ จ สุขญฺจ เอกคฺคตา จ วิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตา วิตกฺก ฯเปฯ สหิตํ ชื่อว่า เกิดพร้อมด้วย วิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตา ฯ

[อธิบายองค์ฌาน] ตตฺถ บรรดาสภาวธรรม ๕ ประการเหล่านั้น วิตกฺโก สภาวธรรมที่ชื่อว่า วิตก อารมฺมณํ วิตกฺเกติ สมฺปยุตฺตธมฺเม อภินิโรเปตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมตรึก คือยกสัมปยุตธรรมทั้งหลายขึ้นสู่อารมณ์ ฯ โส วิตกนั้น สหชาตานํ อารมฺมณาภินิโรปนลกฺขโณ มีลักษณะยกสหชาตธรรมทั้งหลายขึ้นสู่อารมณ์ ฯ หิ เปรียบเหมือน โกจิ คามวาสี ปุริโส คนชาวบ้านบางคน นิสฺสาย อาศัย


52

ปริเฉทที่ ๑

ราชวลฺลภํ บุคคลผู้เป็นที่โปรดปราณของพระราชา ราชสมฺพนฺธินํ มิตฺตํ วา หรือมิตรผูส้ นิทสนมกับพระราชา ราชเคหํ อนุปวิสติ ย่อมเข้าไปสูพ่ ระราชมณเฑียร ได้เนืองนิตย์ ยถา ฉันใด จิตฺตํ จิต วิตกฺกํ นิสฺสาย อาศัยวิตกแล้ว อารมฺมณํ อาโรหติ ก็ยอ่ มขึน้ สูอ่ ารมณ์ได้ เอวํ ฉันนัน้ ฯ (ถาม) อิติ ว่า ยทิ เอวํ ถ้าเมือ่ เป็นเช่นนัน้ อวิตกฺกํ จิตตฺ ํ จิตทีไ่ ม่มวี ติ ก อารมฺมณํ อาโรหติ จะขึน้ สูอ่ ารมณ์ได้ กถํ อย่างไร ฯ (ตอบ) อิติ ว่า ตมฺปิ จิตที่ไม่มีวิตกแม้นั้น อภิโรหติ ก็ขึ้นสู่ อารมณ์ได้ วิตกฺกพเลเนว ด้วยก�ำลังแห่งวิตกนั่นเอง ฯ หิ เปรียบเหมือน โส ปุริโส คนผู้นั้น เตน วินาปิ แม้จะเว้นบุคคลผู้เป็นที่โปรดปราณของพระราชา หรือมิตรผู้สนิทสนมกับพระราชานั้น นิราสงฺโก ก็เป็นผู้ปราศจากความระแวง ราชเคหํ ปวิสติ เข้าไปสู่พระราชมณเฑียรได้ ปริจเยน เพราะความเคยชิน ยถา ฉันใด อวิตกฺกํ จิตตฺ ํ จิตทีไ่ ม่มวี ติ ก วิตกฺเกน วินาปิ แม้จะเว้นจากวิตกเสีย อารมฺมณํ อภินโิ รหติ ก็ขนึ้ สูอ่ ารมณ์ได้ ปริจเยน เพราะความเคยชิน เอวํ ฉันนัน้ ฯ จ ก็ จิตฺตภาวนา การอบรมจิต นิพฺพตฺตา อันบังเกิด อภิณฺหมฺปวตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็นไปเนือง ๆ สนฺตาเน ในสันดาน สวิตกฺกจิตตฺ สฺส แห่งจิตทีม่ วี ติ ก ปริจโยติ ชื่อว่าความเคยชิน เอตฺถ ในอธิการนี้ ฯ อปิจ อีกอย่างหนึ่ง เอตฺถ บรรดาจิตที่ไม่มีวิตกนี้ ปญฺจวิญฺาณํ ปัญจวิญญาณจิต อวิตกฺกมฺปิ แม้ไม่มีวิตก อภิโรหนฺติ ก็ย่อมขึ้นสู่อารมณ์ได้ วตฺถาลมฺพนสงฺฆฏนพเลน ด้วยก�ำลังแห่งกิริยา ที่วัตถุกับอารมณ์กระทบกัน ทุติยชฺฌานาทีนิ จ และทุติยฌานจิตเป็นต้น อภิโร หนฺติ ย่อมขึ้นสู่อารมณ์ได้ เหฏฺ€ิมภาวนาพเลน ด้วยก�ำลังแห่งภาวนาเบื้องต�่ำ ฯ

[วิจาร] วิจาโร สภาวธรรมที่ชื่อว่าวิจาร อารมฺมเณ เตน จิตฺตํ วิจรตีติ เพราะ อรรถวิ เ คราะห์ ว ่ า เป็ น เครื่ อ งค้ น คว้ า ในอารมณ์ แ ห่ ง จิ ต ฯ โส วิ จ ารนั้ น อารมฺมณานุมชฺชนลกฺขโณ มีลักษณะเคล้าอารมณ์ ฯ ตถาห จริงอย่างนั้น เอส วิจารนี้ นิทฺทิฏฺโ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงไขไว้ อิติ ว่า อนุสนฺธานตา


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

53

ความสืบเนือ่ งกัน ฯ เอตฺถ จ ก็บรรดาวิตกและวิจารเหล่านี้ เจตโส ปมาภินปิ าโต สภาวธรรมที่ยังจิตให้ตกลงก่อน วิตกฺโก ชื่อว่าวิตก ปมฆณฺฑาภิฆาโต วิย เปรียบเสมือนการเคาะระฆังครัง้ แรก ฉะนัน้ วิจารโต โอฬาริกฏฺเน เพราะอรรถว่า หยาบกว่าวิจาร ตสฺเสว ปุพฺพงฺคมฏฺเน จ และเพราะอรรถว่า น�ำหน้าวิจารนั้น นั่นเอง อนุสญฺจรณํ สภาวธรรมที่ค้นคว้าเนือง ๆ วิจาโร ชื่อว่าวิจาร อนุรโว วิย เปรียบเสมือนเสียงครวญแห่งระฆัง ฉะนั้น ฯ จ อนึ่ง วิปฺผารวา วิตกฺโก วิตก มีการแผ่ขยายไป จิตฺตสฺส ปริปฺผนฺทภูโต เป็นสภาวะกวัดแกว่งแห่งจิต อากาเส อุปฺปติตุกามสฺส สกุณสฺส ปกฺขวิกฺเขโป วิย เปรียบเสมือน การกระพือปีกออก ของนกตัวต้องการจะโผบินขึ้นไปในอากาศ ฉะนั้น คนฺธานุพนฺธเจตโส ภมรสฺส ปทุมาภิมุขปาโต วิย จ และเปรียบเสมือน การมุ่งหน้าโฉบลงตรงดอกปทุม ของแมลงผึ้งตัวมีจิตติดพันในกลิ่น ฉะนั้น สนฺตวุตฺติ วิจาโร วิจารมีความเป็นไป สงบ จิตฺตสฺส นาติปริปฺผนฺทภูโต เป็นสภาวะไม่กวัดแกว่งนักแห่งจิต อากาเส อุปฺปติตสฺส สกุณสฺส ปกฺขปฺปสารณํ วิย เปรียบเหมือน การกางปีกออกของนก ตั ว ที่ บิ น ขึ้ น ไปในอากาศแล้ ว ฉะนั้ น ปทุ ม าภิ มุ ข ปติ ต สฺ ส ภมรสฺ ส ปทุ ม สฺ ส อุปริภาเค ปริพฺภมนํ วิย จ และเปรียบเสมือน การบินวนบนส่วนเบื้องบน แห่ ง ดอกปทุ ม ของแมลงผึ้ ง ตั ว มุ ่ ง หน้ า โฉบลงตรงดอกปทุ ม แล้ ว ฉะนั้ น ฯ ปีติ ธรรมชาติที่ชื่อว่าปีติ ปินยติ กายจิตฺตํ ตปฺเปตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ท�ำกายและจิตให้อิ่มเอิบ คือ ให้เต็ม กายจิตฺตํ วฑฺเฒตีติ วา หรือเพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า ท�ำกายและจิตให้เจริญ ฯ สา ปีตินั้น สมฺปิยายนลกฺขณา มีลักษณะท�ำกายและจิตให้อิ่มเอิบ ฯ วุตฺตํ โหติ มีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบายไว้ อิติ ว่า อารมฺมณํ กลฺลโต คหณลกฺขณา ปีตินั้นมีลักษณะรับอารมณ์โดยเต็มที่ ฯ สุขํ ธรรมชาตที่ชื่อว่าสุข สมฺปยุตฺตธมฺเม สุขยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังสัมปยุตธรรมทั้งหลายให้สบาย ฯ ตํ สุขนั้น อิฏฺานุภวนลกฺขณํ มีลักษณะ เสวยอิฏฐารมณ์ สุโภชนรสสฺสาทโก ราชา วิย เปรียบเสมือนพระราชาทรง โปรดปรานรสสุธาโภชน์ ฉะนั้น ฯ ตตฺถ บรรดาปีติและสุขนั้น ปีติยา วิเสโส


54

ปริเฉทที่ ๑

ความแปลกกันแห่งปีติ ปากโฏ ปรากฏแล้ว อารมฺมณปฏิลาเภ ในการได้รบั อารมณ์ กนฺตารขินฺนสฺส วนนฺโตทกาทิทสฺสเน วิย เปรียบเสมือนความอิ่มใจ ในเพราะได้ พบน�ำ้ ทีช่ ายป่าเป็นต้นของคนผูอ้ อ่ นเพลีย ในทางกันดาร ฉะนัน้ ฯ สุขสฺส วิเสโส ความแปลกกันแห่งสุข ปากโฏ ปรากฏแล้ว ยถาลทฺธสฺส อนุภวเน ในเพราะ การเสวยอารมณ์ตามที่ได้แล้ว ยถาทิฏฺโทกสฺส ปานาทีสุ วิย เปรียบเสมือน ความสบายกายในเพราะการได้ดื่มน�้ำตามที่ได้พบแล้วเป็นต้น ฉะนั้น อิติ แล ฯ เอกคฺคํ จิตฺตํ จิตที่ชื่อว่าเอกัคคะ นานาลมฺพนวิกฺเขปาภาเวน เอกํ อารมฺมณํ อคฺคํ อิมสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีอารมณ์เดียวเป็นเลิศ เพราะจิตไม่มคี วามฟุง้ ซ่านไปในอารมณ์ตา่ ง ๆ ฯ ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งเอกัคคะนัน้ เอกคฺคตา ชือ่ ว่าเอกัคคตา สมาธิ ได้แก่ สมาธิ ฯ โส สมาธินนั้ อวิกเฺ ขปลกฺขโณ มีลกั ษณะทีจ่ ติ ไม่ฟงุ้ ซ่าน ฯ หิ ความจริง ตสฺส วเสน สมฺปยุตตฺ ํ จิตตฺ ํ จิตทีส่ มั ปยุต ด้วยอ�ำนาจสมาธินั้น อวิกฺขิตฺตํ โหติ ย่อมเป็นธรรมชาตที่ไม่ฟุ้งซ่าน ฯ

[อธิบายฌาน] ปมชฺฌานํ ทีช่ อื่ ว่าปฐมฌาน อิติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ฌานํ ชือ่ ว่าฌาน อาลมฺพนูปนิชฺฌานโต จ เพราะเพ่งอารมณ์แน่วแน่ ปจฺจนิกชฺฌาปนโต จ และ เพราะแผดเผาธรรมที่เป็นข้าศึกด้วย ปมญฺจ และชื่อว่าที่หนึ่ง อาทิภูตตฺตา เพราะเป็นเบื้องต้น เทสนากฺกมโต เจว โดยล�ำดับแห่งเทศนา อุปฺปตฺติกฺกมโต จ และโดยล�ำดับแห่งความเกิดขึน้ วิตกฺกาทิปญฺจกํ ได้แก่ ฌานมีองค์ ๕ มีวติ กเจตสิก เป็นต้น ฯ หิ ความจริง ฌานงฺคสมุทาเยว เมื่อมีการประชุมแห่งองค์ฌาน นัน่ แหละ ฌานโวหาโร จึงเรียกว่า ฌานได้ เนมิอาทิองฺคสมุทาเย รถโวหาโร วิย เปรียบเสมือน เมื่อมีการประชุมแห่งองค์ประกอบมีกงเป็นต้น จึงเรียกว่ารถได้ ฉะนั้น ฯ ตถาหิ วุตฺตํ วิภงฺเค สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ในคัมภีร์วิภังค์ อิติ ว่า ฌานนฺติ ที่ชื่อว่า ฌาน วิตกฺโก วิจาโร ปีติ สุขํ จิตเฺ ตกคฺคตา ได้แก่ วิตก วิจาร ปีติ สุข จิตเตกัคคตา ฯ ปมชฺฌาเนน สมฺปยุตตฺ ํ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

55

กุสลจิตฺตํ กุศลจิตที่สัมปยุตด้วยปฐมฌาน ปมชฺฌานกุสลจิตฺตํ ชื่อว่า ปฐมฌาน กุศลจิต ฯ (ถาม) อิติ ว่า กสฺมา ปน ก็เพราะเหตุอะไร ผสฺสาทีสุ สมฺปยุตตฺ ธมฺเมสุ เมื่อสัปยุตธรรมทั้งหลายมีผัสสะเป็นต้น อญฺเสุปิ แม้เหล่าอื่น วิชฺชมาเนสุ ก็ยังมีอยู่ อิเมเยว สภาวธรรม ๕ ประการนี้เท่านั้น ปญฺจชฺฌานงฺควเสน วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่าเป็นองค์ฌาน ๕ ฯ วุจฺจเต ข้าพเจ้าจะกล่าวเฉลย ฯ อุปนิชฺฌานกิจฺจวนฺตตาย จ เพราะสภาวธรรม ๕ ประการนั้นมีหน้าที่เพ่งอารมณ์ ทีแ่ น่วแน่ กามฉนฺทาทีนํ อุชปุ ฏิปกฺขภาวโต จ และเป็นข้าศึกโดยตรงต่อนิวรณ์ธรรม ๕ ประการมีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้น ฯ หิ ความจริง วิตกฺโก วิตกเจตสิก อารมฺมเณ จิตฺตํ อภินิโ รเปติ ย่อ มยกจิตขึ้นไว้ ใ นอารมณ์ วิ จาโร วิ จารเจตสิ ก จิ ตฺ ตํ อนุปฺปพนฺเธติ ย่อมตามผูกพันจิต ปีติ ปีติเจตสิก อสฺส ปินนํ กโรติ ย่อมท�ำ ความอิ่มเอิบแก่จิตนั้น สุขํอุปพฺรูหนํ กโรติ จ และสุขเวทนาย่อมท�ำความพอกพูน แก่จติ นัน้ อถ อนึง่ เอกคฺคตา เอกัคคตาเจตสิก เอเตหิ อันสัมปยุตธรรม ๔ ประการ เหล่านี้ อนุคฺคหิตา สนับสนุนแล้ว อภินิโรปนานุปฺปพนฺธนปินนอุปพฺรูหเนหิ โดยการยกจิตไว้ในอารมณ์ ตามผูกพันจิต ท�ำจิตให้เอิบอิ่มและท�ำความพอกพูน แก่จิต นํ สสมฺปยุตฺตธมฺมํ อตฺตานํ อนุปวตฺตาเปนฺตี ก็ยังจิตดวงนั้นพร้อมทั้ง สัมปยุตธรรมให้เป็นไปตามตน สมาธานกิจฺเจน ด้วยกิจคือความตั้งมั่น อาธิยติ ย่อมตั้งจิตนั้นไว้ เอกคฺคารมฺมเณ ในอารมณ์เดียวเป็นเลิศ สมํ สมฺมา จ โดยสม�่ำเสมอ และโดยชอบ เปติ คือตั้งจิตไว้ อินฺทฺริยสมตาวเสน ด้วยอ�ำนาจ ภาวะที่อินทรียธรรมเสมอกัน สมํ ชื่อว่าสม�่ำเสมอ เปติ จ และตั้งจิตไว้ ลีนุทฺธจฺจาภาเวน โดยไม่มีความหดหู่และฟุ้งซ่าน ปฏิปกฺขธมฺมานํ ทูริภาเวน เพราะธรรมที่เป็นข้าศึกทั้งหลายอยู่ห่างไกล สมฺมา ชื่อว่าโดยชอบ อิติ เอวํ รวมความดังว่ามานี้ เอเตสเมว อุปนิชฺฌานกิจฺจํ สภาวธรรม ๕ ประการ เหล่านั้นนั่นแหละมีหน้าที่เพ่งอารมณ์ที่แน่วแน่ อาเวณิกํ เป็นแผนก ๆ กัน ฯ กามฉนฺทาทิปฏิปกฺขภาเว ปน ก็ ในความที่สภาวธรรม ๕ ประการเป็นข้าศึก ต่อนิวรณ์ธรรมมีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้น บัณฑิตพึงทราบความต่างกันแห่งสภาวธรรม


56

ปริเฉทที่ ๑

๕ ประการเหล่านี้ ดังต่อไปนี้ ฯ สมาธิ เอกัคคตาเจตสิก กามฉนฺทสฺส ปฏิปกฺโข ชือ่ ว่าเป็นข้าศึกต่อกามฉันทนิวรณ์ ราคปฺปณิธยิ า อุชวุ ปิ จฺจนิกภาวโต เพราะเป็น ข้าศึกโดยตรงต่อกิเลสเป็นเหตุตั้งมั่นคือราคะ ฯ หิ ความจริง จิตฺตสฺส สมาธานํ ความตั้งมั่นแห่งจิต กามฉนฺทวเสน นานารมฺมเณหิ ปโลภิตสฺส ปริพฺภมนฺตสฺส ที่ ถู ก อารมณ์ ต ่ า ง ๆ ประเล้ า ประโลมแล้ ว หมุ น เวี ย นเปลี่ ย นไป ด้ ว ยอ� ำ นาจ กามฉันทนิวรณ์ โหติ ย่อมมี เอกคฺคตาย เพราะความทีจ่ ติ มีอารมณ์เดียวเป็นเลิศ ฯ ปี ติ ปี ติ เ จตสิ ก พฺ ย าปาทสฺ ส ชื่ อ ว่ า เป็ น ข้ า ศึ ก โดยตรงต่ อ พยาบาทนิ ว รณ์ ปามุ ชฺ ช สภาวตฺ ต า เพราะมี ส ภาวะที่ จิ ต เบิ ก บาน ฯ วิ ต กฺ โ ก วิ ต กเจตสิ ก ถีนมิทฺธสฺส ชื่อว่าเป็นข้าศึกโดยตรงต่อถีนมิทธนิวรณ์ สวิปฺผารปฺปวตฺติโต เพราะมีความเป็นไปแผ่ขยาย โยนิโส สงฺกปฺปนวเสน ด้วยอ�ำนาจความด�ำริ โดยแยบคาย ฯ สุขํ สุขเวทนา อุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจสฺส ชื่อว่าเป็นข้าศึกโดยตรง ต่ออุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ อวูปสมานุตาปสภาวสฺส ซึ่งมีสภาวะที่จิตไม่สงบระงับ และเร่าร้อนในภายหลัง วูปสนฺตสีตลสภาวตฺตา เพราะมีสภาวะสงบและเยือกเย็น ฯ วิจาโร วิจารเจตสิก วิจิกิจฺฉาย ชื่อว่าเป็นข้าศึกโดยตรงต่อวิจิกิจฉานิวรณ์ ปญฺาปฏิรูปสภาวตฺตา เพราะมีสภาวะเปรียบเสมือนกับปัญญา อารมฺมเณ อนุมชฺชนวเสน ด้วยอ�ำนาจคลุกเคล้าอารมณ์ ฯ อุปนิชฺฌานกิจฺจวนฺตตาย เพราะธรรม ๕ ประการเหล่านั้น มีหน้าที่เพ่งอารมณ์ที่แน่วแน่ กามฉนฺทาทีนํ อุชุปฏิปกฺขภาวโต จ และเพราะเป็นข้าศึกโดยตรงต่อนิวรณ์ธรรม ๕ ประการ มีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้น เอวํ โดยประการดังกล่าวมานี้ อิเมเยว สภาวธรรม ๕ ประการนีเ้ ท่านัน้ ปญฺจชฺฌานงฺภาเวน ววตฺถติ า พระผูม้ พี ระภาคเจ้าจึงก�ำหนดไว้ โดยความเป็นองค์ฌาน ๕ อิติ แล ฯ ยถาหุ สมจริงดังทีพ่ ระโบราณาจารย์ทงั้ หลาย กล่าวไว้ อิติ ว่า อุปนิชฺฌานกิจฺจตฺตา เพราะมีหน้าที่เพ่งอารมณ์ที่แน่วแน่ และ กามาทิปฏิปกฺขโต จ เพราะเป็นข้าศึกโดยตรงต่อนิวรณ์ธรรม ๕ ประการมีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้น ปญฺเจว สภาวธรรม ๕ ประการ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

57

เท่ า นั้ น ฌานสญฺ ญิ ต า อาจารย์ ทั้ ง หลายจึ ง ก� ำ หนดว่ า เป็ น ฌาน สนฺเตสุปิ อญฺเสุ ทั้งในเมื่อสัมปยุตธรรมเหล่าอื่น ก็ยังมีอยู่ ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมาย อิติ ว่า ปน เอตฺถ ก็ บรรดาองค์ฌาน ๕ มีวิตกเป็นต้นนี้ อุเปกฺขา อุเบกขา สุเขเยว อนฺโตคธา ชื่อว่าอยู่ภายในความสุข นั่นเอง สนฺตวุตฺติสภาวตฺตา เพราะมีสภาวะเป็นไปสงบ ฯ เตน เพราะเหตุนั้น อาหุ ท่านอาจารย์ทั้งหลาย จึงกล่าว อิติ ว่า อุเปกฺขา อุเบกขา สุขมิจเฺ จว ภาสิตา ท่านกล่าวว่า สุขนัน่ เอง สนฺตวุตฺติตฺตา เพราะมีความเป็นไปสงบ ฯ ปน ส่วน อสฺส วิเสโส ความแปลกกันแห่งฌานนั้น ปหานงฺคาทิวเสน ด้ ว ยอ� ำ นาจองค์ ที่ ล ะได้ เ ป็ น ต้ น อุ ป ริ อาวิ ภ วิ สฺ ส ติ จั ก มี แ จ้ ง ข้ า งหน้ า ฯ ลพฺภมานกวิเสโส ความแปลกกันทีจ่ ะได้ อรูปาวจรโลกุตตฺ เรสุปิ แม้ในอรูปาวจรจิต และโลกุตตรจิต ตถา ก็เหมือนกัน คือ จักมีแจ้งข้างหน้า ฯ ปุจฺฉา (ถาม) อิติ ว่า กสฺมา เพราะเหตุไร เอตฺถ ในรูปาวจรกุศลจิตนี้ สงฺขารเภโท น คหิโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงไม่ระบุความต่างกันแห่งสังขารไว้ กามาวจรกุสเลสุ วิย เหมือนในกามาวจรกุศลจิตทั้งหลาย หิ ความจริง อิทมฺปิ รูปาวจรกุศลจิตแม้นี้ ปฏิลทฺธํ ที่ได้พระโยคาวจรได้ เกวลํ สมถานุโยควเสน ด้วยอ�ำนาจประกอบ สมถะล้วน ๆ สกฺกา วตฺตุ ก็สามารถจะเรียกได้วา่ สสงฺขาริกํ เป็นสสังขาริก ปฏิลทฺธํ ที่พระโยคาวจรได้ มคฺคาธิคมนวเสน ด้วยอ�ำนาจ บรรลุมรรค อสงฺขาริกํ ก็สามารถจะเรียกได้วา่ เป็นอสังขาริก อถ มิใช่หรือ ฯ (ตอบ) อิติ ว่า อิทํ รูปาวจรกุศลจิตนี้ น เอวํ หาเป็นอย่างนั้นไม่ มคฺคาธิคมนวเสน สตฺตโิ ต ปฏิลทฺธสฺส สพฺพสฺสาปิ ฌานสฺส อปรภาเค ปริกมฺมวเสเนว อุปปฺ ชฺชนโต เพราะฌานแม้ทั้งหมด ที่พระโยคาวจรได้ โดยความต่อเนื่องกัน ด้วยอ�ำนาจ บรรลุมรรค ในกาลต่อมา ก็เกิดขึ้นได้ ด้วยอ�ำนาจบริกรรมนั่นเอง ตสฺมา ฉะนั้น น สกฺกา วตฺตุํ ใคร ๆ จึงไม่สามารถจะเรียกได้ว่า อสงฺขารนฺติปิ เป็นอสังขาริก


58

ปริเฉทที่ ๑

สพฺพสฺสาปิ ฌานสฺส ปริกมฺมสงฺขาตปุพฺพาภิสงฺขาเรน วินา เกวลํ อธิการวเสน อนุ ปฺ ป ชฺ ช นโต เพราะฌานแม้ ทั้ ง หมด เว้ น ความปรุ ง แต่ ง เบื้ อ งต้ น กล่ า วคื อ บริกรรมเสีย จะเกิดขึ้นด้วยอ�ำนาจความตั้งใจล้วน ๆ หาได้ไม่ สสงฺขารนฺติปิ จ และทั้งไม่สามารถจะเรียกได้ว่า เป็นสสังขาริก สพฺพสฺสาปิ ฌานสฺส อธิกาเรน วินา เกวลํ ปริกมฺมาภิสงฺขาเรเนว อนุปฺปชฺชนโต เพราะฌานแม้ทั้งหมด เว้นความตั้งใจเสีย จะเกิดขึ้นด้วยการปรุงแต่ง คือบริกรรมล้วน ๆ เท่านั้น ก็หาได้ไม่ ฯ อถวา อีกอย่างหนึง่ (ตอบ) อิติ ว่า ปุพพฺ าภิสงฺขารวเสเนว อุปปฺ ชฺชมานสฺส กทาจิ อสงฺขาริกภาโว น สมฺภวติ ฌานที่เกิดขึ้นด้วยอ�ำนาจการปรุงแต่งเบื้องต้น อย่ า งเดี ย ว เป็ น อสั ง ขาริ ก ในกาลบางคราว ก็ ไ ม่ ไ ด้ อิ ติ เพราะเหตุ นั้ น อสงฺขาริกนฺติ น วุตฺตํ จ ท่านจึงไม่เรียกว่า อสังขาริก สสงฺขาริกนฺติ น วุตฺตํ จ และว่า สสังขาริก พฺยภิจาราภาวโต เพราะไม่มีความเป็นไปต่างกัน ฯ จ ก็ ปิสทฺเทน ด้วย ปิ ศัพท์ เอตฺถ ในบทว่า ปญฺจปิ นี้ สงฺคณฺหาติ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์รวบรวม เอวมาทิเภทํ นัยที่ต่างกัน มีอาทิอย่างนี้ อิติ คือ สุทฺธิกนวโก นวกนัยล้วน ๆ จตุกฺกปฺ จกนยวเสน ด้วยอ�ำนาจจตุกกนัยและ ปัญจกนัย จตฺตาโร นวกา นวกนัย ๔ หมวด โยเชตฺวา เทสิตตฺตา เพราะท่าน ประกอบแสดง ตํ นวกนัยล้วน ๆ นั้น ปฏิปทาจตุกฺเกน ด้วยปฏิปทา ๔ หมวด ทุ กฺ ข าปฏิ ป ทา ทนฺ ธ าภิ ญฺ  า ทุ กฺ ข าปฏิ ป ทา ขิ ปฺ ป าภิ ฺ า สุ ข าปฏิ ป ทา ทนฺธาภิญฺา สุขาปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺาวเสน คือ ทุกฺขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา ทุกฺขาปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺา สุขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา สุขาปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺา จตฺตาโร นวกา นวกนัย ๔ หมวด อารมฺมณจตุกฺเกน โยชิตตฺตา เพราะท่าน ประกอบด้วยอารมณ์ ๔ หมวด ปริตฺตํ ปริตฺตารมฺมณํ ปริตฺตํ อปฺปมาณารมฺมณํ อปฺปมาณํ ปริตตฺ ารมฺมณํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณนฺติ คือ ปริตตฺ  ปริตตฺ ารมณ ปริตฺต อปฺปมาณารมฺมณ อปฺปมาณ ปริตฺตารมฺมณ อปฺปมาณ อปฺปมาณารมฺมณ โสฬสนวกา จ และนวกนัย ๑๖ หมวด อารมฺมณปฏิปทามิสสฺ กนยวเสน ด้วยอ�ำนาจ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

59

แห่งนัยที่อารมณ์และปฏิปทาเจือปนกัน ทุกฺขาปฏิปทํ ทนฺธาภิญฺญํ ปริตฺตํ ปริตฺตารมฺมณํ ทุกฺขาปฏิปทํ ทนฺธาภิญฺญํ ปริตฺตํ อปฺปมาณารมฺมณนฺติอาทินา โดยนัยมีอาทิว่า ทกฺขาปฏิปท ทนฺธาภิญฺ ปริตฺต ปริตฺตารมณ ทุกฺขาปฏิปท ทนฺธาภิฺ ปริตฺต อปฺปมาณารมฺมณ อิติ รวมความว่า ปญฺจวีสติ นวกา นวกนัยมี ๒๕ หมวด ฯ ฌานวิเสเสน นิพฺพตฺติตวิปาโก วิบากอันฌานพิเศษ ให้บังเกิด ตํตํฌานสทิโส ว ย่อมเป็นเหมือนกับฌานนั้น ๆ นั่นเอง เอกนฺตโต โดยแน่ น อน อิ ติ เพราะเหตุ นั้ น วิ ป ากํ วิ บ ากจิ ต ฌานสทิ ส เมว วิ ภ ตฺ ตํ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงจ�ำแนกไว้เหมือนกับฌานนั่นเอง ฯ หิ ความจริง อิมเมว อตฺถํ ทีเปตุํ เพื่อแสดงเนื้อความนี้นั่นแหละ ภควตา พระผู้มีพระภาคเจ้า วิปากนิทฺเทเสปิ กุสลํ อุทฺทิสิตฺวาว จึงทรงยกกุศลจิตขึ้นแสดงไว้แม้ในนิเทศ แห่งวิบากจิต มหคฺคตโลกุตฺตรวิปากา วิภตฺตา แล้วทรงจ�ำแนกมหัคคตวิบากจิต และโลกุ ต ตรวิ บ ากจิ ต ไว้ ตทนนฺ ต รํ ในล� ำ ดั บ ต่ อ จากกุ ศ ลจิ ต นั้ น ฯ อตฺ โ ถ มีอธิบายความ อิติ ว่า รูปาวจรมานสํ รูปาวจรจิต ปญฺจธา โหติ มี ๕ ดวง ฌานเภเทน โดยความต่างกันแห่งฌาน ปญฺจหิ จตูหิ ตีหิ ทฺวีหิ ปุน ทฺวีหิ จ ฌานงฺเคหิ สมฺปโยคเภเทน คือ โดยความต่างแห่งการประกอบด้วยองค์ฌาน ๕ องค์ฌาน ๔ องค์ฌาน ๓ องค์ฌาน ๒ และองค์ฌาน ๒ ซ�้ำอีก ปญฺจวิธํ โหติ ได้แก่ มี ๕ ดวง ปญฺจงฺคิกํ จตุรงฺคิกํ ติวงฺคิกํ ทุวงฺคิกํ ปุน ทุวงฺคิกนฺต ิ คือ ฌานที่มีองค์ ๕ มีองค์ ๔ มีองค์ ๓ มีองค์ ๒ และมีองค์ ๒ ซ�้ำอีก ฯ อวิเสเสน ว่าโดยความไม่แปลกกัน ตํ รูปาวจรจิตนั้น ปญฺจทสธา ภเว พึงมี ๑๕ ดวง ปเภทา โดยประเภท ปุญฺปากกิริยานํ แห่งกุศลจิต วิบากจิต และ กิริยาจิต ปุน ปจฺเจกํ ปญฺจนฺนํ ปญฺจนฺนํ แต่ละอย่าง แยกออกเป็นอย่างละ ๕ ดวงอีก ฯ รูปาวจรวณฺณนา พรรณนาความรูปาวจรจิต นิฏฺ€ิตา จบ ฯ


60

ปริเฉทที่ ๑

[วรรณนาความอรูปาวจรจิต] อิทานิ บัดนี้ วิภชิตวฺ า ทสฺเสนฺโต ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์เมือ่ จะจ�ำแนกแสดง อรูปาวจรํ อรูปาวจรจิต จตุธา เป็น ๔ อย่าง อารมฺมณเภเทน โดยความต่างกัน แห่งอารมณ์ อากาสานญฺจายตนนฺติอาทิ อาห จึงกล่าวค�ำว่า อากาสานญฺจายตน ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ ในค�ำว่า อากาสานญฺจายตน เป็นต้นนั้น พึงทราบวิเคราะห์ ดังต่อไปนี้ ฯ อนนฺตํ อากาศชือ่ ว่าอนันตะ อุปปฺ าทาทิอนฺตรหิตตาย นาสฺส อนฺโตติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่มีที่สุด เพราะเว้นจากที่สุดมีอุปปาทขณะเป็นต้น ฯ ตํ อากาสญฺจ อากาศนั้นด้วย อนนฺตญฺจ ไม่มีที่สุดด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น อากาสานนฺตํ จึงชือ่ ว่า อากาสานันตะ กสิณคุ ฆฺ าฏิมากาโส ได้แก่ อากาศทีเ่ พิกกสิณ ฯ จ ก็ อนนฺตากาสนฺติ วตฺตพฺเพ เมือ่ ควรจะกล่าวว่า อนนฺตากาสํ อากาสานนฺตนฺติ วุตฺตํ ท่านอาจารย์ก็กล่าวเสียว่า อากาสานนฺตํ วิเสสนสฺส ปรนิปาตวเสน ด้วยอ�ำนาจการวางบทวิเสสนะไว้ข้างหลัง อคฺยาหิโตติอาทีสุ วิย ดุจในประโยค มีอาทิวา่ อคฺยาหิโต ฉะนัน้ ฯ อากาสานนฺตเมว อากาสานันตะนัน่ แล อากาสานญฺจํ เป็นอากาสานัญจะ สกตฺเถ ภาวปจฺจยวเสน ด้วยอ�ำนาจภาวะปัจจัย ใช้ในอรรถ แห่งตน ฯ อากาสานญฺจเมว อากาสานัญจะนั่นเอง อายตนํ ชื่อว่าเป็นอายตนะ อสฺส สสมฺปยุตฺตธมฺมสฺส ฌานสฺส อธิฏฺานฏฺเน เพราะอรรถว่าเป็นที่ตั้ง อาศัยแห่งฌานนั้น พร้อมทั้งสัมปยุตธรรม เทวานํ เทวายตนํ วิย ดุจเทวายตนะ ของทวยเทพฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น อากาสานญฺจายตนํ ฌานนี้ จึงชื่อว่า อากาสานัญจายตนะ ฯ ปมารูปชฺฌานมฺปิ แม้อรูปาวจรฌานที่ ๑ อปฺปนาปฺปตฺตํ ที่ถึงอัปปนา ตสฺมึ ในอากาสนัญจายตนะนั้น อากาสานญฺจายตนนฺติ วุตฺตํ ท่านอาจารย์ก็เรียกว่า อากาสานัญจายตนะ อิธ ในอธิการว่าด้วยอรูปฌานนี้ ยถา ปวีกสิณารมฺมณํ ฌานํ ปวีกสิณนฺติ วุตฺตํ เหมือนฌานที่มีปฐวีกสิณ เป็นอารมณ์ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า ปฐวีกสิณ ฉะนัน้ ฯ อถวา อีกอย่างหนึง่ อากาสานญฺจํ อากาศไม่มีที่สุด อายตนํ เป็นบ่อเกิด อสฺส แห่งฌานนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น อากาสานญฺจายตนํ ฌานํ ฌานนี้จึงชื่อว่าอากาสานัญจายตนะ ฯ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

61

เตน สมฺปยุตฺตํ กุสลจิตฺตํ กุศลจิตที่สัมปยุตด้วยอากาสานัญจายตนฌานนั้น อากาสานญฺจายตนกุสลจิตฺตํ ชือ่ ว่าอากาสานัญจายตนกุศลจิต ฯ

[วิเคราะห์วิญญาณณัญจายตฌาน] วิญฺาณเมว วิญญาณนั่นเอง อนนฺตํ ไม่มีที่สุด วิญฺาณานนฺตํ ชื่อว่า วิญญาณานันตะ ปมารูปวิญฺาณํ คือ อรูปวิญญาณที่ ๑ ฯ หิ จริงอยู่ ตํ อรูปวิญญาณที่ ๑ นัน้ อุปปฺ าทาทิอนฺตวนฺตมฺปิ แม้มที สี่ ดุ มีอปุ ปาทขณะเป็นต้น อนนฺตนฺติ วุจฺจติ ท่านก็เรียกว่า อนันตะ อนนฺตากาเส ปวตฺตนโต เพราะเป็นไป ในอากาศอันไม่มีที่สุด อตฺตานํ อารพฺภ ปวตฺตาย ภาวนาย อุปฺปาทาทิอนฺตํ อคฺคเหตฺวา อนนฺตโต ผรณวเสน ปวตฺตนโต จ และเพราะภาวนาซึ่งปรารภตน เป็นไปไม่ถือเอาที่สุดมีอุปปาทขณะเป็นต้นเป็นไปด้วยอ�ำนาจแผ่ไปโดยไม่มีที่สุด ฯ วิญฺาณานนฺตเมว วิญญาณานันตะนั่นเอง วิญฺาณญฺจํ เป็นวิญญาณัญจะ อาการสฺส รสฺสตฺตํ นการโลปญฺจ กตฺวา เพราะรัสสะ อา เป็น อะ และลบ น ทิ้งเสีย ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง วิฺาณญฺจํ ฌานที่ชื่อว่า วิญญาณัญจะ ทุติยารูปวิญฺาเณน อญฺจิตพฺพํ ปาปุณิตพฺพนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันอรูปวิญญาณที่ ๒ พึงถึง คือพึงบรรลุ ฯ ตเทว วิญญาณัญจะนั้นนั่นแหละ อายตนํ ชื่อว่าเป็นอายตนะ อธิฏฺานตฺตา เพราะเป็นที่ตั้งอาศัย ทุติยารูปสฺส แห่ ง อรู ป วิ ญ ญาณที่ ๒ อิ ติ เพราะเหตุ นั้ น วิ ญฺ  าณญฺ จ ายตนํ จึ ง ชื่ อ ว่ า วิญญาณัญจายตนะ (ได้แก่ อรูปฌานที่ ๒) ฯ เสสํ ปุรมิ สมํ ค�ำทีเ่ หลือเหมือนกับ ค�ำที่มีมาก่อน ฯ

[วิเคราะห์อากิญจัญญายตนณาน] กิญฺจนํ กิเลสเป็นเครื่องย�่ำยี อสฺส ปมารูปสฺส แห่งอรูปวิญญาณที่ ๑ นั้น อปฺ ป มตฺ ต กํ มี ป ระมาณน้ อ ย อวสิ ฏ ฺ ํ คื อ เหลื อ ลง อนฺ ต มโส โดยที่ สุ ด ภงฺคมตฺตมฺปิ แม้เพียงภังคขณะ อตฺถิ มีอยู่ น ก็หามิได้ อิติ เพราะเหตุนั้น


62

ปริเฉทที่ ๑

อกิญฺจนํ ชื่อว่า อกิญจนะ ฯ ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งอกิญจนะนั้น อากิญฺจญฺญํ ชื่อว่า อากิญจัญญะ ปมารูปวิญฺาณาภาโว ได้แก่ ความไม่มีแห่งอรูปาวจรวิญญาณที่ ๑ ฯ ตเทว อายตนนฺติอาทิ ค�ำว่า ตเทว อายตน ดังนี้ เป็นต้น ปุริมสมํ เหมือนกับค�ำที่มีมาก่อน ฯ

[วิเคราะห์เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน] สญฺา สัญญา อสฺส แห่งอรูปาวจรฌานนัน้ สสมฺปยุตตฺ ธมฺมสฺส พร้อมทัง้ สัมปยุตธรรม เนว อตฺถิ ชื่อว่ามีอยู่ ก็หามิได้ โอฬาริกาย สญฺาย อภาวโต เพราะสัญญาทีห่ ยาบไม่มี อสญฺญํ อวิชชฺ มานสญฺํ นาปิ จ และทัง้ อรูปาวจรฌาน นั้น พร้อมทั้งสัมปยุตธรรม ชื่อว่า ไม่มีสัญญา คือ สัญญาไม่มีอยู่ ก็หามิได้ สุขุมาย สญฺาย อตฺถติ าย เพราะสัญญาทีล่ ะเอียดยังมีอยู่ อิติ เพราะเหตุนนั้ เนวสญฺานาสญฺญํ อรูปาวจรฌานนัน้ ชือ่ ว่า เนวสัญญานาสัญญะ จตุตถฺ ารูปชฺฌานํ ได้แก่ อรูปาวจรฌานที่ ๔ ฯ ปน แต่ ทีฆํ กตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ กระท�ำ ทีฆะ แล้ว เนฺวสญฺานาสญฺนฺติ วุตฺตํ กล่าวว่าเนวสัญญานาสัญญะ ฯ เนวสญฺานาสญฺเมว เนวสัญญานาสัญญะนั่นแหละ อายตนํ ชื่อว่าเป็น อายตนะ มนายตนธมฺมายตนปริยาปนฺนตฺตา เพราะนับเนื่องในมนายตนะและ ในธรรมมาตนะ อิติ เพราะเหตุนั้น เนวสญฺานาสญฺายตนํ อรูปาวจรฌานที่ ๔ นั้น จึงชื่อว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง สญฺาว สัญญานั่นเอง เนว สญฺญา ชื่อว่า เป็นสัญญา ก็หามิได้ วิปสฺสนาย โคจรภาวํ คนฺตวฺ า นิพเฺ พทชนนสงฺขาตสฺส ปฏุสญฺากิจจฺ สฺส อภาวโต เพราะกิจแห่งสัญญา ทีแ่ จ่มชัด กล่าวคือ ความถึงภาวะเป็นอารมณ์แห่งวิปสั สนาแล้วให้เกิดความเบือ่ หน่าย ไม่มี อสญฺญา จ และชื่อว่า ไม่มีสัญญา น ก็หามิได้ วิชฺชมานตฺตา เพราะ สัญญายังมีอยู่ สงฺขาราวเสสสุขมุ ภาเวน โดยเป็นธรรมชาติทลี่ ะเอียด ซึง่ ยังเหลือ จากสังขาร อุณฺโหทเก เตโชธาตุ วิย ดุจเตโชธาตุ (ธาตุไฟ) ในน�้ำร้อน ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนนั้ เนวสญฺานาสญฺา จึงชือ่ ว่า เนวสัญญานาสัญญา ฯ สา เอว


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

63

เนวสัญญานาสัญญานั้นนั่นแหละ อายตนํ ชื่อว่าเป็นอายตนะ นิสฺสยาทิภาวโต เพราะทีอ่ าศัยเป็นต้น อิมสฺส ฌานสฺส แห่งฌานนี้ สสมฺปยุตตฺ ธมฺมสฺส พร้อมทัง้ สัมปยุตตธรรม อิติ เพราะเหตุนนั้ เนวสญฺานาสญฺายตนํ อรูปาวจรฌานนัน้ จึงชื่อว่า เนวสัญญานาสัญญาตนะ ฯ จ ก็ ฌานูปลกฺขณํ การก�ำหนดฌาน สญฺาวเสน ด้วยอ�ำนาจสัญญา เอตฺถ ใน อรูปาวจรฌานที่ ๔ นี้ นิทสฺสนมตฺตํ เป็นเพียงตัวอย่าง เวทนาทโยปิ แม้สภาวธรรมทั้งหลายมีเวทนาเจตสิกเป็นต้น ตสฺมึ ฌาเน ในฌานนั้น เนวเวทนานาเวทนาทิกาเยว ก็เป็นเนวเวทนานาเวทนา เป็นต้น เหมือนกัน อิติ แล ฯ เนวสญฺญานาสญฺายตเนน สมฺปยุตตฺ ํ กุสลจิตตฺ ํ กุศลจิตสัมปยุตด้วยเนวสัญญาสัญญายตนฌาน เนวสญฺานาสญฺายตนกุสลจิตตฺ ํ ชื่อว่า เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลจิต ฯ ปิสทฺเทน จ ก็ด้วย ปิ ศัพท์ เอตฺถ ในบทว่า จตฺตาริปิ นี้ โสฬสกฺขตฺตุกเทสนํ สงฺคณฺหาติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ย่อมรวบรวมเทศนา ๑๖ ครั้ง อารมฺมณปฏิปทามิสฺสกนยวเสน คือ นัยที่อารมณ์ กับปฏิปทาเจือปนกัน อญฺมฺปิ ปาลิยํ อาคตนยเภทํ จ และประเภทแห่งนัย ที่มาในพระบาลี แม้อื่น ฯ อารุปฺปมานสํ อรูปาวจรจิต จตุธา โหติ ย่อมมี ๔ ประการ ปเภเทน โดยประเภท อาลมฺ พ นานํ แห่ ง อารมณ์ ทั้ ง หลาย กสิณากาสวิญ ฺ าณตทภาวสงฺขาตานํ โคจรานํ คือ แห่งอารมณ์ทงั้ หลาย กล่าวคือ กสิณ อากาศ วิญญาณและความ ไม่มีแห่งวิญญาณนั้น อติกฺกมิตพฺพานํ ที่ท่าน ผูบ้ ำ� เพ็ญเพียรพึงล่วงเลยไป อาลมฺพติ พฺพานํ อากาสาทิจตุนนฺ ํ โคจรานํ จ และ แห่งอารมณ์ทั้งหลาย ๔ มีอากาศเป็นต้นที่ท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียรพึงหน่วงเหนี่ยว ฯ หิ ความจริง ตํ อรูปาวจรจิตนั้น กสิณนิมิตฺตํ อติกฺกมฺม ล่วงเลยกสิณนิมิต ปญฺจมชฺฌานาลมฺพนํ อันเป็นอารมณ์แห่งปัญจมฌานไป อากาสมาลมฺพิตฺวา หน่วงเหนี่ยวอากาศ ตทุคฺฆาฏนลทฺธํ ที่ท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียรได้มาด้วยการเพิกกสิณ นัน้ แล้ว ตมฺปิ อฺตกิ กฺ มฺม ล่วงเลยอากาศแม้นนั้ ตตฺถ ปวตฺตํ วิญ ฺ าณมาลมฺพติ วฺ า ไปหน่วงเหนี่ยววิญญาณที่เป็นไปในอากาศนั้น แล้ว ตมฺปิ อติกฺกมฺม ล่วงเลย แม้วิญญาณนั้น ตทภาวภูตํ อากิญฺจนภาวมาลมฺพิตฺวา ไปหน่วงเหนี่ยวความไม่มี


64

ปริเฉทที่ ๑

กิเลสเป็นเครื่องย�่ำยีอันเป็นความไม่มีแห่งวิญญาณนั้น แล้ว ตมฺปิ อติกฺกมฺม ล่วงเลยแม้ความไม่มีกิเลสเป็นเครื่องย�่ำยีนั้น ตตฺถ ปวตฺตํ ตติยารูปวิญฺาณมาลมฺพิตฺวา ไปหน่วงเหนี่ยวอรูปาวจรวิญญาณที่ ๓ ที่เป็นไปในความไม่มีกิเลสเป็น เครื่องย�่ำยีนั้น ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ปน แต่ อารมฺมณํ คเหตฺวา จะยึดอารมณ์ ปุริมปุริมสฺสาปิ แม้แห่งอรูปาวจรฌานที่มีมาก่อน ๆ ปุริมปุริมองฺคาติกฺกมนวเสน ด้วยอ�ำนาจล่วงเลยองค์ที่มีมาก่อน ๆ ปวตฺตติ เป็นไป รูปาวจรกุสลํ วิย ดุจรูปาจรกุศลจิต น ก็หามิได้ ฯ เตน เพราะเหตุนั้น อาจริยา อาหุ ท่านอาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าว อิติ ว่า จตสฺโสปิ อรูปสมาบัติแม้ทั้ง ๔ อิมา นี้ ภวนฺติ ย่อมมี อารมฺมณาติกฺกมโต โดยการล่วงเลยอารมณ์ วิภาวิโน บัณฑิต ทัง้ หลาย น อิจฉฺ นฺติ ย่อมไม่ปรารถนา องฺคาติกกฺ มํ ความล่วงเลยองค์ เอตาสํ แห่งอรูปสมาบัติ ๔ ประการ เหล่านี้ ฯ อรูปาวจรวณฺณนา พรรณนาความอรูปาวจรจิต นิฏฺ€ิตา จบแล้ว ฯ

อธิบาย โลกุตตรจิต อิทานิ บัดนี้ วิภชิตฺวา ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์หวังจะจ�ำแนก แสดง โลกุตตรกุสลํ โลกุตตรกุศลจิต จตุธา ออกเป็น ๔ ดวง จตุมคฺคโยคโต โดยการประกอบด้วยมรรค ๔ ผลญฺจ และโลกุตตรวิปากจิต จตุธา ออกเป็น ๔ ดวง ตทนุรูปปฺปวตฺติยา โดยความเป็นไปคล้อยตามโลกุตตรกุศลจิตนั้น โสตาปตฺตมิ คฺคจิตตฺ นฺตอิ าทิ วุตตฺ ํ จึงกล่าวค�ำว่า โสตาปตฺตมิ คฺคจิตตฺ  ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ อริโย อฏฺงฺคิโก มคฺโค อริยมรรคมีองค์ ๘ โสโต วุจฺจติ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเรียกว่า โสตะ นิพฺพานมฺปติสวนโต เพราะไหลไปสู่พระนิพพาน อุปคมนโต คือเพราะเข้าถึงพระนิพพาน นิพฺพานมหาสมุทฺทนินฺนตาย โสตสทิสตฺตา วา หรือเพราะเป็นเหมือนกระแสน�้ำ โดยไหลไปสู่มหาสมุทร คือพระนิพพาน ฯ ตสฺส อาปตฺติ การบรรลุอริยมรรคมีองค์ ๘ ที่พระองค์ตรัสเรียกว่า โสตะ นั้น


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

65

ปชฺชนํ คือ ความด�ำเนินถึง ปาปุณนํ ได้แก่ บรรลุถึง ตสฺส อริยมรรคมีองค์ ๘ ที่พระองค์ตรัสเรียกว่า โสตะ นั้น อาทิโต แต่ต้น ปมสมาคโม คือ ได้ประสพ ครัง้ แรก ชือ่ ว่า โสตาปัตติ อาอุปสคฺคสฺส อาทิกมฺมนิ ปวตฺตนโต เพราะ อา อุปสัค เป็นไปในกรรมเบื้องต้น ฯ มคฺโค ธรรมที่ชื่อว่า มรรค นิพฺพานํ มคฺเคตีติ วา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า แสวงหาพระนิพพาน นิพฺพานตฺถิเกหิ มคฺคิยตีติ วา หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันบุคคลทั้งหลายผู้มีความต้องการพระนิพพาน แสวงหาอยู่ กิเลเส มาเรนฺโต คจฺฉตีติ วา หรือว่าเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ฆ่ากิเลสทั้งหลายไปพระนิพพาน ฯ เตน สมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตที่สัมปยุตด้วย มรรคนั้น มคฺคจิตฺตํ ชื่อว่า มรรคจิต โสตาปตฺติยา ลทฺธํ มคฺคจิตฺตํ มรรคจิต ทีไ่ ด้ดว้ ยการถึงอริยมรรคมีองค์ ๘ ทีพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า โสตะ ครัง้ แรก โสตาปตฺตมิ คฺคจิตตฺ ํ ชือ่ ว่า โสดาปัตติมรรคจิต ฯ อถวา อีกอย่างหนึง่ ปุคคฺ โล บุคคล โสตาปตฺติ ชือ่ ว่า โสตาปัตติ อริยมคฺคโสตสฺส อาทิโต ปชฺชนํ เอตสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ มีความด�ำเนินถึงกระแสอริยมรรคครัง้ แรก ฯ ตสฺส มคฺโค มรรคแห่งบุคคล ผู้มีการด�ำเนินถึงกระแสครั้งแรกนั้น โสตาปตฺติมคฺโค ชื่อว่า โสดาปัตติมรรค ฯ เตน สมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตที่ประกอบด้วยโสดาปัตติมรรคนั้น โสตาปตฺติมคฺคจิตฺตํ ชื่อว่าโสดาปัตติมรรจิต ฯ สกทาคามี พระอริยบุคคลผู้ชื่อว่า สกทาคามี สกึ เอกวารํ ปฏิสนฺธิวเสน อิมํ มนุสฺสโลกํ อาคจฺฉตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มาสู่มนุษยโลกนี้ด้วยอ�ำนาจ ปฏิสนธิครั้งเดียว คือวาระเดียว ฯ ปญฺจสุ สกทาคามีสุ บรรดาพระสกทาคามี ๕ ประเภท อิติ คือ อิธ ปตฺวา อิธ ปรินพิ พฺ ายิ ท่านผูบ้ รรลุความเป็นพระสกทาคมี ในมนุษยโลกนี้ แล้วปรินิพพานในมนุษยโลกนี้ ๑ ตตฺถ ปตฺวา ตตฺถ ปรินิพฺพายิ ท่านผู้บรรลุความเป็นพระสกทาคมีในเทวโลกนั้นแล้วปรินิพพานในเทวโลกนั้น ๑ อิธ ปตฺวา ตตฺถ ปรินิพฺพายิ ท่านผู้บรรลุความเป็นพระสกทาคมีในมนุษยโลกนี้ แล้วปรินิพพานในเทวโลกนั้น ๑ ตตฺถ ปตฺวา อิธ ปรินิพฺพายิ ท่านผู้บรรลุ ความเป็ น พระสกทาคมี ใ นเทวโลกนั้ น แล้ ว ปริ นิ พ พานในมนุ ษ ยโลกนี้ ๑


66

ปริเฉทที่ ๑

อิ ธ ปตฺ ว า ตตฺ ถ นิ พฺ พ ตฺ เ ตตฺ ว า อิ ธ ปริ นิ พฺ พ ายิ ท่ า นผู ้ บ รรลุ ค วามเป็ น พระสกทาคมีในมนุษยโลกนี้ แล้วบังเกิดในเทวโลกนั้น ปรินิพานในมนุษยโลกนี้ ๑ อิธ ในที่นี้ ปญฺจมโก อธิปฺเปโต ท่านประสงค์ถึงพระสกทาคามีประเภทที่ ๕ ฯ หิ ความจริง โส พระสกทาคามีประเภทที่ ๕ นัน้ อิโต คนฺตวฺ า ไปจากมนุษยโลกนี้ ปุน สกึ อิธ อาคจฺฉตีติ แล้วกลับมาในมนุษยโลกนี้อีกครั้งเดียว อิติ แล ฯ ตสฺส มคฺคจิตฺตํ มรรคจิตของพระสกทาคามีนั้น สกทาคามิมคฺคจิตฺตํ ชื่อว่า สกทาคามีมรรคจิต ฯ มคฺคสมงฺคิโน ตถา อาคมนาสมฺภวโต เพราะท่าน ผู้พร้อมเพรียงด้วยมรรค จะกลับมาด้วยอ�ำนาจปฏิสนธิอย่างเดียวกันนั้นไม่ได้ ผลฏฺโเยว ท่านผู้ตั้งอยู่ในผลนั้นเท่านั้น สกทาคามี นาม ชื่อว่าสกทาคามี กิญฺจาปิ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น ปุริมุปฺปนฺโน มคฺโค มรรคที่เกิดขึ้นก่อน ตสฺส การณภูโต อันเป็นเหตุแห่งผลนัน้ ผลฏฺเน วิเสเสตฺวา วุจจฺ ติ ท่านก็กล่าว ให้แปลกออกไป จากท่านผู้ตั้งอยู่ในผล สกทาคามิมคฺโคติ ว่า สกทาคามีมรรค มคฺคนฺตราวจฺเฉทนตฺถํ เพื่อตัดขาดจากมรรคอื่นเสีย ฯ เอวมนาคามิมคฺโค อนาคามิมรรคบัณฑิตก็พึงทราบอย่างนี้ อิติ แล ฯ สกทาคามิมคฺเคน สมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตที่ประกอบด้วยสกทาคามิมรรค สกทาคามิมคฺคจิตฺตํ ชื่อว่าสกทาคามิมรรคจิต ฯ อนาคามี พระอริยบุคคลผู้ที่ชื่อว่าอนาคามี ปฏิสนฺธิวเสน อิมํ กามธาตุํ น อาคจฺ ฉ ตี ติ เพราะอรรถวิ เ คราะห์ ว ่ า ไม่ ก ลั บ มาสู ่ ก ามธาตุ นี้ ด ้ ว ยอ� ำนาจ ปฏิสนธิ ฯ ตสฺส มคฺโค มรรคของพระอนาคามีนั้น อนาคามิมคฺโค ชื่อว่า อนาคามิมรรค ฯ เตน สมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตที่ประกอบด้วยอนาคามิมรรคนั้น อนาคามิมคฺคจิตตฺ ํ ชือ่ ว่าอนาคามิมรรคจิต ฯ อรหา พระอริยบุคคลชือ่ ว่าพระอรหันต์ อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวน ปูชาวิเสสํ อรหตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมควร ซึ่งการบูชาพิเศษ โดยความเป็นทักขิไณยบุคคลผู้เลิศ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง อรหา พระอริยบุคคลชื่อว่าอรหันต์ กิเลสสงฺขาตา อรโย สํสารจกฺกสฺส วา อรา กิเลสา หตา อเนนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ก�ำจัดข้าศึก กล่าวคือกิเลส


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

67

หรือก�ำแห่งสังสารจักรคือกิเลสได้ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง ปาปกรเณ รหาภาวโต อรหา พระอริยบุคคลชื่อว่า พระอรหันต์ เพราะไม่มีความลับในการท�ำบาป อฏฺมโก อริยปุคฺคโล คือ พระอริยบุคคลที่ ๘ ฯ ตสฺส ภาโว ภาวะแห่ง พระอรหันต์นั้น อรหตฺตํ ชื่อว่าอรหัตต์ ฯ เสตํ อธิวจนํ ค�ำว่า อรหัตต์ นี้เป็นชื่อ จตุตฺถผลสฺส แห่งผลที่ ๔ ฯ ตสฺส อาคมนภูโต มคฺโค มรรคอันเป็นเครื่อง มาแห่งอรหัตต์นั้น อรหตฺตมคฺโค ชื่อว่าอรหัตตมรรค ฯ เตนสมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตที่ประกอบด้วยอรหัตตมรรคนั้น อรหตฺตมคฺคจิตฺตํ ชื่อว่า อรหัตตมรรคจิต ฯ ปิสทฺเทน ด้วย ปิ ศัพท์ สงฺคณฺหาติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ย่อมรวบรวม นยํ ซึ่งนัย จตุนฺนํ แห่งมรรค ๔ จตุสหสฺสเภทํ ซึ่งแยกออกเป็น ๔,๐๐๐ นัย เอเกกสฺส มคฺคสฺส นยสหสฺสวเสน คือแต่ละมรรค มี ๑,๐๐๐ นัย สจฺจวิภงฺเค อาคตํ นยํ นัยที่มาในสัจจวิภังค์ สฏฺ€ิสหสฺสเภทํ แยกเป็น ๖๐,๐๐๐ นัย อเนกวิธตฺตมฺปิ แม้ซงึ่ ความทีโ่ สดาปัตติมรรค แยกออกเป็นเอนกประการ เหฏฺฐา วุตตฺ นเยน โดยนัยทีก่ ล่าวไว้แล้วในหนหลัง ฯ ตตฺถ ในค�ำว่า นยสหสฺสวเสน นัน้ นยสหสฺ ส ปริ ที ป นา มี ว าจาก� ำ หนดแสดงนั ย พั น หนึ่ ง อยํ ดั ง ต่ อ ไปนี้ ฯ กถํ อย่างไร ฯ ตาว อันดับแรกว่า ฌานนาเมน โดยชื่อว่าฌาน โสตาปตฺติมคฺโค โสดาปัตติมรรค ปฏิปทาเภทํ อนามสิตฺวา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงไม่พาดพิงถึง ความต่างแห่งปฏิปทา ทฺวิธา วิภตฺโต ทรงจ�ำแนกไว้ ๒ อย่าง เกวลํ ล้วน ๆ สุญฺโต อปฺปณิหิโตติ คือ สุญญตะ อัปปณิหิตะ ปฏิปทาจตุกฺเกน โยเชตฺวา ทรงประกอบด้วยปฏิปทา ๔ หมวด ปจฺเจกํ จตุธา วิภตฺโต แล้วทรงจ�ำแนก แต่ละอย่างออกเป็น ๔ ปุน อีก อิติ เอวํ รวมความดังว่ามานี้ ฌานนาเมน โดยชื่อว่าฌาน โสตาปตฺติมคฺโค ทสธา วิภตฺโต ทรงจ�ำแนกโสดาปัตติมรรคไว้ ๑๐ อย่าง มคฺคสติปฏฺานสมฺมปฺปธานอิทฺธิปาทอินฺทฺริยพลโพชฺฌงฺคสจฺจสมถ วิปสฺสนาธมฺมกฺขนฺธอายตนธาตุอาหารผสฺสเวทนาสญฺาเจตนาจิตฺตนาเมหิปิ แม้ว่าโดยชื่อว่า มรรค สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาท อินทรีย์ พละ โพชฌงค์ สัจจะ สมถะ วิปัสสนา ธรรมขันธ์ อายตนะ ธาตุ อาหาร ผัสสะ เวทนา สัญญา


68

ปริเฉทที่ ๑

เจตนา และจิต ตถา ก็เหมือนกัน ปจฺเจกํ ทสทสากาเรหิ วิภตฺโต คือ ทรงจ�ำแนก แต่ละอย่างออกเป็น ๑๐ ประการ ตถาตถาพุชฺฌนกานํ ปุคฺคลานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจบุคคลผู้ตรัสรู้ โดยอาการนั้น ๆ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ฌานวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจฌาน ทส มี ๑๐ นัย มคฺคาทีนํ เอกูนวีสติยา วเสน ว่าด้วย อ�ำนาจธรรม ๑๙ ประการ มีมรรคเป็นต้น ทสทส มีอย่างละ ๑๐ นัย อิติ รวมความว่า วีสติยา าเนสุ ในฐานะ ๒๐ เทฺวนยสตานิ โหนฺติ มี ๒๐๐ นัย ตานิ ๒๐๐ นัยเหล่านั้น จตูหิ อธิปตีหิ โยเชตฺวา ประกอบด้วยอธิบดีธรรม ๔ ปจฺเจกํ จตุธา วิภตฺตานิ แต่ละอย่างจ�ำแนกไว้อย่างละ ๔ ปุน อีก อิติ เอวํ รวมความดังกล่าวมานี้ อธิปตีหิ อมิสฺเสตฺวา นัยที่ไม่เจือกับอธิบดีธรรมทั้งหลาย เทฺวสตานิ มี ๒๐๐ นัย อธิปตีหิ มิสฺเสตฺวา ที่เจือปนกับอธิบดีธรรมทั้งหลาย อฏฺสตานิ มี ๘๐๐ นัย อิติ รวมความว่า โสตาปตฺติมคฺเค ในโสดาปัตติมรรค นยสหสฺสํ โหติ มี ๑,๐๐๐ นัย ฯ สกทาคามิมคฺคาทีสุปิ แม้ในสกทาคามิมรรค เป็นต้น ตถา ก็เหมือนกัน นยสหสฺสํ โหติ คือ มีอย่างละ ๑,๐๐๐ นัย ฯ ผลจิตฺตํ ผลจิต วิปากภูตํ จิตฺตํ คือจิตที่เป็นวิบาก โสตาปตฺติยา ลทฺธํ ที่บุคคล ได้ด้วยการด�ำเนินถึงกระแสเบื้องต้น โสตาปตฺติสฺส วา หรือของบุคคลผู้ด�ำเนิน ถึงกระแสเบื้องต้น โสตาปตฺติผลจิตฺตํ ชื่อว่าโสดาปัตติผลจิต ฯ ตํ ผลจิตฺตญฺจ ผลจิตนั้น ด้วย อรหตฺตญฺจ ความเป็นแห่งอรหัตต์ ด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น อรหตฺตผลจิตฺตํ จึงชื่อว่า อรหัตตผลจิต ฯ จตุมคฺคปฺปเภเทนาติ บาทคาถาว่า จตุมคฺคปฺปเภเทน เป็นต้น โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า อนุตตฺ รํ อนุตตรจิต โลกุตตฺ รจิตตฺ ํ คือ โลกุตตรจิต อนุตฺตรสงฺขาตํ กล่าวคือชื่อว่าอนุตตระ อตฺตโน อุตฺตริตราภาเวน เพราะไม่มี จิตอื่นยิ่งกว่าตน อฏฺธา มตํ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ๘ ดวง เอวํ อย่างนี้ อิติ ว่า โลกุตตฺ รกุสลํ โลกุตตรกุศลจิต จตุมคฺคสงฺขาตํ กล่าวคือมรรค ๔ จตุธา โหติ มี ๔ ดวง สมฺปโยคเภเทน โดยประเภทแห่งสัมปโยค อฏฺงฺคกิ มคฺคานํ แห่งมรรคมีองค์ ๘ จตุพพฺ ธิ านํ มี ๔ อย่าง โสตาปตฺตมิ คฺคาทีนํ คือ มีโสดาปัตติมรรค


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

69

เป็นต้น สญฺโชนปฺปหานวเสน ด้วยอ�ำนาจละสังโยชน์ได้ เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ สกฺกายทิฏฺ€ิวิจิกิจฺฉาสีลพฺพตปรามาสานํ นิรวเสสปฺปหานํ ละสักกายทิฏฐิ วิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส ได้เด็ดขาด กามราคพฺยาปาทานํ ตนุภาวาปาทนํ ท� ำ กามราคะและพยาบาทให้ ถึ ง ความเบาบาง เตสเมว นิ ร วเสสปฺ ป หานํ ละกามราคะและพยาบาทเหล่านัน้ แหละได้เด็ดขาด รูปารูปราคมานุทธฺ จฺจาวิชชฺ านํ อนวเสสปฺปหานํ ละรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา ได้เด็ดขาด อินทฺ รฺ ยิ านํ ภินนฺ สามตฺถยิ ตาย เพราะอินทรียธ์ รรมทัง้ หลายมีความสามารถต่างกัน อินฺทฺริยานํ อปาฏวปาฏวปาฏวตรปาฏวตมเภเทน โดยความต่างกันแห่งอินทรีย์ ธรรมที่ยัง ไม่แก่กล้า แก่กล้า แก่กล้ากว่า และแก่กล้าที่สุด ปน ส่วน ปากํ โลกุตตรวิบากจิต ตถา ก็เหมือนกัน จตุธา คือ มี ๔ ดวง ตสฺเสว กุสลสฺส ผลตฺตา เพราะเป็นผลแห่ง โลกุตตรกุศลจิตนั้นนั่นแหละ ตทนุรูปโต คือ เพราะคล้อยตามโลกุตตรกุศลจิตนั้น ฯ ปน ก็ กิริยานุตฺตรสฺส อสมฺภวโต เพราะกิริยาจิตฝ่ายโลกุตตระ ไม่เกิดมี ทฺวาทสวิธตา น วุตฺตา ท่านอาจารย์ จึงไม่กล่าวโลกุตตรจิตนั้นว่า มี ๑๒ ดวง ฯ (ถาม) อิติ ว่า ปน ก็ กสฺมา เพราะเหตุะไร ตสฺส อสมฺภโว กิริยาจิตฝ่ายโลกุตตระ จึงไม่เกิดมี ฯ ตอบว่า มคฺคสฺส เอกจิตฺตกฺขณิกตฺตา เพราะมรรคจิตเกิดขึ้นชั่วขณะจิตเดียว ฯ หิ ก็ ยทิ ถ้า มคฺคจิตฺตํ มรรคจิต ปุนปฺปุนํ อุปฺปชฺเชยฺย จะพึงเกิดขึ้นบ่อย ๆ ไซร้ ตทา ในกาลนัน้ ตสฺส กิรยิ าภาโว สกฺกา วตฺตํ ุ บัณฑิตก็จะสามารถเรียกมรรคจิต นั้นว่า เป็นกิริยาได้ อรหโต อุปฺปตฺติยา เพราะเกิดขึ้นแก่พระอรหันต์ ฯ ตมฺปน แต่มรรคจิตนั้น อุปฺปชฺชติ จะเกิดขึ้น เสกฺขานํ อเสกฺขานํ วา แก่พระเสขบุคคล ทัง้ หลาย หรือแก่พระอเสขบุคคลทัง้ หลาย กทาจิ ในกาลบางคราว น ก็หามิได้ ปุน อปฺปชฺชเนปิ กาตพฺพาภาวโต โดยไม่มีกิจที่จะพึงกระท�ำ แม้ในความเกิดขึ้น แห่งมรรคจิตนั้นซ�้ำอีก อุปลภิตพฺพโต เพราะมรรคจิตนั้น อันท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียร จะพึงได้แน่นอน กิเลสสมุจฺเฉทกวเสเนว ด้วยอ�ำนาจตัดกิเลสได้เด็ดขาดเท่านั้น เอกวารปฺปวตฺเตเนว เตน ตํตํกิเลสานมจฺจนฺตมปฺปวตฺติยา สาธิตตฺตา จ


70

ปริเฉทที่ ๑

และเพราะมรรคจิตนั้น ซึ่งเป็นไปเพียงวาระเดียวเท่านั้น ก็ให้ส�ำเร็จความไม่เป็นไป แห่งกิเลสนั้น ๆ ได้เด็ดขาด เอกวารปฺปวตฺเตเนว อสนิสมฺปาเตน ตรุอาทีนํ สมูลวิทธํสนสฺส วิย เปรียบเสมือนอสนีบาตที่ฟาดลงเพียงครั้งเดียวก็ให้ส�ำเร็จ การถอนต้ น ไม้ เ ป็ น ต้ น ขึ้ น ได้ พ ร้ อ มทั้ ง ราก ฉะนั้ น ผลสมาปตฺ ติ ย า เอว นิพฺพานารมฺมณวเสน ปวตฺตนโต และโดยผลสมาบัตินั่นแล เป็นไปด้วยอ�ำนาจ มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ ทิฏฺ€ธมฺมสุขวิหารตฺถญฺจ เพื่ออยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ตสฺมา เพราะฉะนั้น โลกุตฺตรกิริยาจิตฺตํ กิริยาจิตฝ่ายโลกุตตระ นตฺถิ จึงไม่มี สพฺพถาปิ แม้โดยประการ ทั้งปวง อิติ แล ฯ ทฺวาทสากุสลานีติอาทิ ค�ำว่า ทฺวาทสากุสลานิ เป็นต้น จตุภมู กิ จิตตฺ านํ คณนสงฺคโห เป็นการรวบรวมจ�ำนวน จิ ต ที่ เ ป็ น ไปในภู มิ ๔ ยถาวุ ตฺ ต านํ ตามที่ ก ล่ า วแล้ ว ฯ สงฺ ค หํ ทสฺ เ สตฺ ว า ท่านพระอนุรุทธาจารย์ครั้นแสดงการรวบรวมจิต ชาติวเสน ด้วยอ�ำนาจชาติ เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ ทสฺเสตุํ เพื่อจะแสดงการรวบรวม ปุน ภูมิวเสน ด้วยอ�ำนาจภูมิอีก จตุปญฺาสธา กาเมติอาทิ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า จตุปญฺาสธา กาเม ดังนี้เป็นต้น ฯ อตฺโถ มีอธิบายความ อิติ ว่า กาเม ภเว ในกามภพ จิตตฺ านิ จตุปญฺาสธา อีริเย บัณฑิตพึงกล่าวจิตว่ามี ๕๔ ดวง รูเป ภเว ในรูปภพ จิตฺตานิ ปณฺณรส อีริเย พึงกล่าวจิตว่ามี ๑๕ ดวง อรูเป ภเว ในอรูปภพ จิตฺตานิ ทฺวาทส อีริเย พึงกล่าวจิตว่ามี ๑๒ ดวง ปน ส่วน อนุตตฺ เร ในโลกุตตรธรรม นววิเธ ธมฺมสมุทาเย คือในหมวดธรรม ๙ ประการ จิตฺตานิ อฏฺธา อีริเย กเถยฺย บัณฑิตพึงกล่าว คือพึงแสดงจิตว่ามี ๘ ดวง ฯ เอตฺถ จ ก็ในคาถานี้ จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย กามภวาทิปริยาปนฺนานิ ที่นับเนื่องในกามภพเป็นต้น กามตณฺหาทิวิสยภาเวน โดยภาวะที่มีตัณหามีกามตัณหาเป็นต้นเป็นอารมณ์ สกสกภูมิโต อญฺตฺถ ปวตฺตมานานิปิ แม้จะเป็นไปในภูมอิ นื่ จากภูมขิ องตน ๆ บ้าง กามภวาทีสุ จิตตฺ านีติ วุตฺตานิ ท่านก็เรียกว่า จิตในกามภพเป็นต้น ยถา เปรียบเสมือน ติรจฺฉานคโต สัตว์ดริ จั ฉาน นิพพฺ ตฺโตปิ แม้บงั เกิด มนุสสฺ ติ ถฺ ยิ า กุจฉฺ สิ มฺ ึ ในท้องของหญิงมนุษย์


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

71

ติรจฺฉาเนเสฺวว สงฺคยฺหติ ท่านก็รวมไว้ในพวกสัตว์ดริ จั ฉานนัน่ เอง ติรจฺฉานโยนิยา ปริยาปนฺนตฺตา เพราะนับเนื่องในก�ำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน ฯ กตฺถจิ อปริยาปนฺนานิ จิตที่ไม่นับเนื่องในภูมิไหน ๆ นววิธโลกุตฺตรธมฺมสมูเหกเทสภูตานิ เป็นส่วนหนึ่ง แห่งหมวดโลกุตตรธรรม ๙ ประการ อนุตฺตเร จิตฺตานีติ วุตฺตานิ ท่านเรียกว่า จิตในโลกุตตรธรรม รุกเฺ ข สาขาติ อาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า กิง่ ทัง้ หลาย ในต้นไม้ ฉะนั้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง กาเม รูเปติ จ ศัพท์ว่า กาเม และว่า รูเป นี้ อุตฺตรปทโลปนิทฺเทโส เป็นการแสดงการลบบทเบื้องหลัง ฯ อุปโยคพหุวจนวเสน ด้วยอ�ำนาจทุติยาวิภัตติพหุวจนะ คือ อรูเป ภวานิ ซึ่งจิต ที่มีในอรูปภพ อารุปฺปานิ ชื่อว่าอรูปาวจรจิต อนุตฺตรานิ ซึ่งจิตชื่อว่าอนุตตระ นตฺถิ เอเตสํ อุตฺตรํ จิตฺตนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า เอตฺถ ในคาถานี้ สมฺพนฺโธ ทฏฺพฺโพ บัณฑิตพึงเห็นการเชือ่ มความ เอวํ อย่างนี้ อิติ ว่า อีริเย บัณฑิตพึงกล่าว จิตฺตานิ จิตทั้งหลายที่มี กาเม ในกามภพ กามาวจรานิ คือ ที่เป็นกามาวจร จตุปญฺาสธา ว่ามี ๕๔ ดวง อีริเย พึงกล่าว จิตฺตานิ จิตทัง้ หลาย ทีม่ ี รูเป ในรูปภพ รูปาวจรานิ คือ ทีเ่ ป็นรูปาวจร ปณฺณรส ว่ามี ๑๕ ดวง อีริเย พึงกล่าว จิตฺตานิ จิตทั้งหลายที่มี อารุปฺเป ในอรูปภพ อรูปาวจรานิ คือ ที่เป็นอรูปาวจร ทฺวาทส ว่ามี ๑๒ ดวง จิตฺตานิ อีริเย พึงกล่าวจิตทั้งหลายที่มี อนุตตฺ เร ในอนุตตรธรรม โลกุตตฺ รานิ คือ ทีเ่ ป็นโลกุตตระ อฏฺธา ว่ามี ๘ ดวง ฯ ปณฺฑิตา บัณฑิตทั้งหลาย วิจกฺขณา ผู้มีปัญญาเห็นประจักษ์ วิเสเสน อตฺถานํ จกฺขณสภาวา คือ มีสภาวะบอกเนือ้ ความทัง้ หลายโดยพิเศษ วิภชนฺติ ย่อมจ�ำแนก มานสํ มนัส จิตตฺ ํ คือ จิต เอกูนนวุตปิ ปฺ เภทํ กตฺวา แยกประเภทเป็น ๘๙ ดวง อิตฺถํ ด้วยประการฉะนี้ ชาติเภทภินฺนจตุภูมิกจิตฺตเภทวเสน คือ ด้วยอ�ำนาจ ประเภทแห่งจิตที่เป็นไปในภูมิ ๔ ที่ต่างกันโดยความต่างกันแห่งชาติ ยถาวุตฺเตน ตามที่กล่าวมาแล้ว ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง วิภชนฺติ บัณฑิตทั้งหลายย่อมจ�ำแนก เอกวีสสตํ จิต ๑๒๑ ดวง เอกุตตฺ รวีสาธิกํ สตํ คือ ๑๐๐ ยิง่ ด้วย ๒๐ เกินไป ๑ ฯ


72

ปริเฉทที่ ๑

ตํ โสตาปตฺติมคฺคจิตฺตํ จ โสดาปัตติมรรคจิตนั้นด้วย ฌานงฺควเสน ปมชฺฌานาทิสทิสตฺตา ปมชฺฌานํ จ ชือ่ ว่า เป็นปฐมฌาน เพราะเป็นเสมือนกับ ปฐมฌานเป็นต้น ด้วยอ�ำนาจองค์แห่งองค์ฌานนั้นด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น ปมชฺฌานโสตาปตฺตมิ คฺคจิตตฺ ํ จึงชือ่ ว่าปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิต ฯ หิ ความจริง จตฺตาโรปิ มคฺคา มรรคทั้ง ๔ ปมชฺฌานาทิโวหารํ ลภนฺตา ได้การบัญญัติว่า ปฐมฌานเป็นต้น ปจฺเจกํ แต่ละอย่าง ปญฺจธา วิภชฺชนฺติ แยกออกเป็น ๕ ตํตํฌานสทิสวิตกฺกาทิองฺคปาตุภาเวน เพราะความปรากฏแห่งองค์มีวิตกเป็นต้น อันเหมือนกับฌานนัน้ ๆ ปาทกชฺฌานสมฺมสิตชฺฌานปุคคฺ ลชฺฌาสเยสุ อญฺตรวเสน ด้วยอ�ำนาจฌานทีเ่ ป็นบาท ฌานทีพ่ ระโยคาวจรพิจารณาแล้ว และอัชฌาศัยแห่งบุคคล อย่างใดอย่างหนึ่ง ฯ เตน เพราะเหตุนั้น อาห ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าว ฌานงฺคโยคเภเทนาติอาทิ ว่า ฌานงฺคโยคเภเทน ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ บรรดา ฌานที่เป็นบาทฌานที่พระโยคาวจรพิจารณาแล้ว และอัชฌาศัยแห่งบุคคลนั้น ปมชฺฌานาทีสุ ยํ ยํ ฌานํ สมาปชฺชิตฺวา ตโต วุฏฺาย สงฺขาเร สมฺมสนฺตสฺส เมือ่ พระโยคาวจรเข้าฌานใด ๆ บรรดาปฐมฌานเป็นต้น ออกจากฌานนัน้ แล้วพิจารณา สังขารธรรมทัง้ หลายอยู่ วุฏฺ ฐานคามินวิ ปิ สฺสนา วุฏฐานคามินวี ปิ สั สนา ปวตฺตา เป็นไป ตํ ตํ ปาทกชฺฌานํ ฌานนัน้ ๆ ชือ่ ว่าฌานทีเ่ ป็นบาท วุฏานคามินวิ ปิ สฺสนาย ปทฏฺานภาวโต เพราะเป็นปทัฏฐานแห่งวุฏฐานคามินีวิปัสสนา ฯ ยํ ยํ ฌานํ สมฺมสนฺตสฺส เมือ่ พระโยคาวจรพิจารณาฌานใด ๆ สาว ปวตฺตา วุฏฐานคามินวี ปิ สั สนา นัน้ นัน่ แหละ เป็นไป ตํ ตํ สมฺมสิตชฺฌานํ ฌานนัน้ ๆ ชือ่ ว่า ฌานทีพ่ จิ ารณาแล้ว ฯ อุปฺปนฺนชฺฌาสโย อัชฌาศัยที่เกิดขึ้น เอวํ โยคาวจรสฺส แก่พระโยคาวจรอย่างนี้ อิติ ว่า อโห วต ไฉนหนอ ปญฺจงฺคิโก มคฺโค มรรคที่ประกอบด้วยองค์ ๕ ปมชฺฌานสทิโส ที่เหมือนกับปฐมฌาน ภเวยฺย พึงมี เม แก่เรา วา หรือว่า จตุรงฺคาทิเภโท มคฺโค มรรคอันต่างด้วยมรรคมีองค์ ๔ เป็นต้น ทุติยชฺฌานาทีสุ อญฺตรสทิโส ที่เหมือนกับทุติยฌานเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง ภเวยฺย พึงมี เม แก่เรา ปุคฺคลชฺฌาสโย นาม ชื่อว่าอัชฌาศัยแห่งบุคคล ฯ ตตฺถ บรรดา


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

73

ฌานที่เป็นบาทเป็นต้น เยน พระโยคาวจรรูปใด ปมชฺฌานาทีสุ อญฺตรํ ฌานํ สมาปชฺชิตฺวา เข้าฌานอย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาปฐมฌานเป็นต้น ตโต วุฏฺาย ออกจากฌานนัน้ แล้ว ปกิณณ ฺ กสงฺขาเร สมฺมสิตวฺ า พิจารณาปกิณณกสังขารธรรม ทั้งหลาย มคฺโค อุปฺปาทิโต โหติ ย่อมให้มรรคเกิดขึ้น โส มคฺโค มรรคนั้น ตสฺส ของพระโยคาวจรรูปนัน้ ปมชฺฌานาทิตตํ ปํ าทกชฺฌานสทิโส โหติ ย่อมเป็น เหมือนฌานที่เป็นบาทนั้น ๆ มีปฐมฌานเป็นต้น ฯ ปน ก็ สเจ ถ้า วิปสฺสนาปา ทกํ ยงฺกิญฺจิ ฌานํ ฌานที่เป็นบาทแห่งวิปัสสนาอย่างใดอย่างหนึ่ง นตฺถิ ไม่มี ปมชฺฌานาทีสุ อญฺตรํ ฌานํ สมฺมสิตฺวา พระโยคาวจรพิจารณาฌานอย่างใด อย่างหนึ่ง บรรดาปฐมฌานเป็นต้น เกวลํ อย่างเดียว มคฺโค อุปฺปาทิโต โหติ ย่อมให้มรรคเกิดขึน้ ตสฺส โส มรรคนัน้ ของพระโยคาวจรนัน้ สมฺมสิตชฺฌานสทิโส โหติ ก็เหมือนฌานทีพ่ จิ ารณาแล้ว ฯ ปน ก็ ยทิ ถ้า ยงฺกญ ิ จฺ ิ ฌานํ สมาปชฺชติ วฺ า พระโยคาวจรเข้าฌานอย่างใดอย่างหนึ่ง ตโต อญฺญํ สมฺมสิตฺวา พิจารณาฌานอื่น จากฌานนั้น มคฺโค อุปฺปาทิโต โหติ ย่อมให้มรรคเกิดขึ้น ตทา ในกาลนั้น มรรคของพระโยคาวจรนัน้ ทฺวสี ุ อญฺตรสทิโส โหติ ย่อมเป็นเหมือนฌานทีเ่ ป็นบาท และฌานทีพ่ จิ ารณาแล้ว ๒ อย่าง อย่างใดอย่างหนึง่ ปุคคฺ ลชฺฌาสยวเสน ด้วยอ�ำนาจ อัชฌาศัยแห่งบุคคล ฯ สเจ ปน ก็ถา้ ว่า ตถาวิโธ ปุคคฺ ลสฺส อชฺฌาสโย อัชฌาศัย แห่งบุคคลเช่นนั้น นตฺถิ ไม่มี ฯ เหฏฺ€ิมเหฏฺ€ิมชฺฌานโต วุฏฺาย อุปรูปริชฺฌาน ธมฺเม สมฺมสิตวฺ า อุปปฺ าทิตมคฺโค มรรคทีพ่ ระโยคาวจรออกจากฌานชัน้ ต�ำ่ ๆ แล้ว พิจารณาฌานธรรมชั้นสูง ๆ ให้เกิดขึ้น สมฺมสิตชฺฌานสทิโส ย่อมเป็นเหมือนฌาน ที่พิจารณาแล้ว ปาทกชฺฌานมนเปกฺขิตฺวา ไม่ค�ำนึงถึงฌานที่เป็นบาท ปน ส่วน อุปรูปริชฺฌานโต วุฏฺาย เหฏฺ€ิมเหฏฺ€ิมชฺฌานธมฺเม สมฺมสิตฺวา อุปฺปาทิตมคฺโค มรรคทีพ่ ระโยคาวจรออกจากฌานชัน้ สูง ๆ แล้วพิจารณาฌานธรรมชัน้ ต�ำ่ ๆ ให้เกิดขึน้ ปาทกชฺฌานสทิโส โหติ ย่อมเป็นเหมือนฌานทีเ่ ป็นบาท สมฺมสิตชฺฌานมนเปกฺขติ วฺ า ไม่ค�ำนึงถึงฌานที่พิจารณาแล้ว ฯ หิ ความจริง อุปรูปริชฺฌานํ ฌานชั้นสูง ๆ พลวตรนฺติ ย่อมมีก�ำลัง เหฏฺ€ิมเหฏฺ€ิมชฺฌานโต กว่าฌานที่ต�่ำ ๆ อิติ แล ฯ


74

ปริเฉทที่ ๑

ปน ส่วน เวทนานิยโม การก�ำหนดเวทนา สพฺพตฺถาปิ แม้ในมรรคทั้งหมด วุฏฺ านคามินวิ ปิ สฺสนานิยเมน โหติ ย่อมมีโดยการก�ำหนดวุฏฐานคามินวี ปิ สั สนา ฯ สกลชฺฌานงฺคนิยโม การก�ำหนดองค์ฌานทัง้ สิน้ สุกขฺ วิปสฺสกสฺส ของพระอรหันต์ สุกขวิปสั สกะ ตถา ก็เหมือนกัน คือ ย่อมมีโดยการก�ำหนดวุฏฐานคามินวี ปิ สั สนา ฯ หิ จริงอยู่ เตสํ วเสน นิยมาภาวโต เพราะไม่มกี ารก�ำหนดด้วยอ�ำนาจฌานทีเ่ ป็นบาท เป็นต้นเหล่านัน้ ตสฺส ปาทกชฺฌานาทีนํ อภาเวน โดยทีพ่ ระอรหันต์สกุ ขวิปสั สกะ นั้น ไม่มีฌานที่เป็นบาทเป็นต้น ปญฺจงฺคิโกว มคฺโค มรรคที่ประกอบด้วยองค์ ๕ เท่านั้น วิปสฺสนานิยเมน โหติ จึงมี โดยการก�ำหนดวิปสั สนา ฯ อปิจ อีกอย่างหนึง่ เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยการก�ำหนดองค์ฌานนี้ อุทฺธโฎ วินิจฺฉยสาโร ท่านอาจารย์ ยกการวินจิ ฉัยทีเ่ ป็นสาระขึน้ อฏฺกถาทิโต จากปกรณ์มอี รรถกถาเป็นต้น อยํ ดังนี้ อิติ ว่า สมาปตฺติลาภิโนปิ ฌานํ ปาทกํ อกตฺวา ปกิณฺณกสงฺขาเร สมฺมสิตฺวา อุปฺปาทิตมคฺโคปิ แม้มรรคที่พระโยคาวจรผู้ปกติได้สมาบัติ ไม่กระท�ำฌานให้ เป็นบาท พิจารณาปกิณณกสังขารธรรมทั้งหลายแล้ว ให้เกิดขึ้น ปญฺจงฺคิโก โหติ ย่อมประกอบด้วยองค์ ๕ วิปสฺสนานิยเมเนว โดยการก�ำหนดวิปัสสนาเท่านั้น ฯ ปน ส่วน อติปปญฺโจ ความพิสดารอย่างยิ่ง เถรวาททสฺสนาทิวสปฺปวตฺโต ที่เป็น ไปด้วยอ�ำนาจการแสดงเถรวาทเป็นต้น วุตฺตนเยน เวทิตพฺโพ บัณฑิตพึงทราบ ตามนัยที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้แล้ว อฏฺกถาทีสุ ในคัมภีร์ทั้งหลายมีอรรถกถา เป็นต้น ฯ จ อนึง่ วิตถฺ ารนโย นัยโดยพิสดาร สพฺพตฺถาปิ ในการก�ำหนดโพชฌงค์ และองค์มรรคเป็นต้นแม้ทั้งหมด ตตฺถ ตตฺถ วุตฺตนเยน คเหตพฺโพ บัณฑิต พึงค้นดูตามนัยทีก่ ล่าวไว้ในปกรณ์นนั้ ๆ ยถา เอตฺถ เอวํ เหมือนอย่างในองค์ฌานนี้ ฯ ปน ส่วน เอตฺถ ในปกรณ์น้ี คนฺถภิรุกชนานุคฺคหณตฺถํ เพื่อจะอนุเคราะห์ชน ผู้ขลาดต่อคัมภีร์ สงฺเขปกถา อธิปฺเปตา ข้าพเจ้าจึงประสงค์การกล่าวโดยย่อ ฯ จ เปรียบเหมือน รูปาวจรํ จิตตฺ ํ รูปาวจรจิต ปมาทิปญฺจวิธชฺฌานเภเท คยฺหติ ท่านจัดไว้ในประเภทแห่งฌาน ๕ มีปฐมฌานเป็นต้น ปมชฺฌานนฺตอิ าทินา วุจจฺ ติ คือ ท่านเรียกว่า ปฐมฌานเป็นต้น ยถา ฉันใด อนุตฺตรมฺปิ จิตฺตํ แม้โลกุตตรจิต


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

75

ปมชฺฌานโสตาปตฺตมิ คฺคจิตตฺ นฺตอิ าทินา คยฺหติ บัณฑิตก็ยอ่ มก�ำหนดรูต้ ามนัยว่า ปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิตเป็นต้น ตถา ฉันนั้น จ อนึ่ง อปิ แม้ อารุปฺปํ อรูปาวจรฌาน ปญฺจมชฺฌาเน คยฺหติ ท่านก็จัดไว้ในฌานที่ ๕ องฺคสมตาย เพราะมีองค์เสมอกัน อุเปกฺเขกคฺคตาโยเคน โดยประกอบด้วยอุเบกขาและ เอกัคคตา ฯ อตฺโถ อธิบาย อิติ ว่า ปญฺจมชฺฌานโวหารํ ลภติ ย่อมได้การเรียกว่า ปัญจมฌาน ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า จ ก็ รูปาวจรํ จิตฺตํ อนุตฺตรํ จ รูปาวจรจิตและโลกุตตรจิต ปมาทิชฺฌานเภเท คยฺหติ ท่ า นจั ด ไว้ ใ นประเภทแห่ ง ฌาน มี ป ฐมฌานเป็ น ต้ น ปมชฺ ฌ านกุ ส ลจิ ตฺ ตํ ปมชฺฌานโสตาปตฺติมคฺคจิตฺตนฺติอาทินา โดยนัยว่า ปฐมฌานกุศลจิต ปฐมฌาน โสดาปัตติมรรคจิต ดังนี้เป็นต้น ยถา ฉันใด อปิ แม้ อารุปฺปํ อรูปาวจรจิต ปญฺจเม ฌาเน คยฺหติ ท่านก็จัดไว้ในฌานที่ ๕ ตถา ฉันนั้น ฯ หิ ความจริง โยชนา วาจาประกอบความ อยเมว นี้แหละ อาจริยสฺสาปิ อธิปฺเปตาติ ทิสฺสติ ปรากฏว่า แม้ทา่ นอาจารย์กป็ ระสงค์แล้ว นามรูปปริจเฺ ฉเท อุชกุ เมว ตถา วุตตฺ ตฺตา เพราะในคัมภีรน์ ามรูปปริเฉท ท่านกล่าวไว้อย่างนัน้ ชัดเจนทีเดียว ฯ วุตตฺ ญฺหิ ตตฺถ สมจริงดังที่ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวไว้ในคัมภีร์นามรูปปริเฉท อิติ ว่า จ ก็ รูปาวจรจิตตฺ านิ รูปาวจรจิต อนุตตฺ รานิ จ และโลกุตตรจิต คยฺหนฺติ ท่านจัดไว้ ปมาทิชฺฌานเภเท ในประเภทแห่งฌานมี ปฐมฌานเป็นต้น (ฉันใด) อปิ แม้ อารุปฺปํ อรูปาวจรจิต คยฺหนฺติ ท่านก็จัดไว้ ปญฺจเม ในฌานที่ ๕ (ฉันนั้น) ฯ ตสฺมาติ บทว่า ตสฺมา เป็นต้น อตฺโถ มีอธิบายความ อิติ ว่า ยสฺมา เพราะ อนุตฺตรมฺปิ แม้โลกุตตรจิต คยฺหติ ท่านจัดไว้ ปมาทิชฺฌานเภเท ในประเภท แห่งฌาน มีปฐมฌานเป็นต้น รูปาวจรํ วิย เหมือนรูปาวจรจิต จ และ (ยสฺมา เพราะ) อปิ แม้ อารุปฺปํ อรูปาวจรจิต คยฺหติ ท่านจัดไว้ ปญฺจเม ในปัญจฌาน วา หรือ ยสฺมา เพราะ อนุตฺตรํ จิตฺตํ โลกุตตรจิต จตฺตาฬีสวิธนฺติ วุจฺจติ


76

ปริเฉทที่ ๑

ท่านกล่าวว่ามี ๔๐ ดวง เอเกกํ ปญฺจธา กตฺวา เพราะแยกแต่ละดวงออกเป็น ๕ ดวง ฌานงฺคโยคเภเทน โดยความต่างกันแห่งการประกอบด้วยองค์ฌาน จ และ อปิ แม้ อารุปฺปํ อรูปาวจรจิต คยฺหติ ท่านจัดไว้ ปญฺจเม ในฌานที่ ๕ ปมาทิชฌ ฺ านเภเท อนุตตฺ รํ จิตตฺ ํ รูปาวจรโลกุตตฺ รานิ จ วิย เหมือนรูปาวจรจิต และโลกุตตรจิตที่ท่านจัดไว้ในประเภทแห่งฌานมีปฐมฌานเป็นต้น ฉะนั้น ตสฺมา เหตุนั้น ปมาทิกเมเกกํ ฌานํ ฌานแต่ละอย่างมีปฐมฌานเป็นต้น เอกาทสวิธํ จึงมี ๑๑ ดวง โลกิยํ ติวิธํ โลกุตฺตรมฏฺวิธนฺติ คือ เป็นโลกิยะ ๓ ดวง เป็น โลกุตตระ ๘ ดวง ตุ ส่วน อนฺเต ฌานํ ฌานในที่สุด เตวีสติวิธํ มี ๒๓ ดวง ติวิธรูปาวจรทฺวาทสวิธารูปาวจรอฏฺโลกุตฺตรวเสน คือ รูปาวจรจิต ๓ ดวง อรูปาวจรจิต ๑๒ ดวง และโลกุตตรจิต ๘ ดวง ฯ ปาทกชฺฌานาทิวเสน คณนวุทฺธิ การเพิ่ม จ�ำนวนจิต ด้ว ยอ� ำ นาจฌานที่ เป็ นบาทเป็ นต้ น สมฺ ภ วติ ย่อมมี กุสลวิปาเกเสฺวว ในเพราะกุศลจิตและวิบากจิตฝ่ายโลกุตตระเท่านั้น อิติ เพราะเหตุนนั้ ทสฺเสนฺโต ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์เมือ่ จะแสดง เตสเมว คณนํ จ�ำนวนกุศลจิตและวิบาจิตที่เป็น โลกุตตระเหล่านั้นนั่นแหละ เอกวีสสตคณนาย องฺคภาเวน โดยความเป็นองค์แห่งจ�ำนวนจิต ๑๒๑ สตฺตตึสาติอาทิ อาห จึงกล่าวค�ำว่า สตฺตตึส ดังนี้เป็นต้น ฯ ปมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๑ อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธมั มัตถสังคหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินยิ า นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺ€ิตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ (จิตมี ๘๙ ดวง หรือ ๑๒๑ ดวง เพราะเป็นโลกุตตรจิตมี ๘ หรือ ๔๐ ดวง คือถ้านับเพียง ๘ ก็ได้จิต ๘๙ ดวง ถ้านับ ๔๐ ก็ได้จิต ๑๒๑ ดวง คือ อกุศลจิต ๑๒ ดวง อเหตุกจิต ๑๘ ดวง กามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวง รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง อรูปาวจรจิต ๑๒ ดวง และโลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ ดวง ฯ)


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

77

ทุติยปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๒ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วิภชิตฺวา ครั้นจ�ำแนก จิตฺต จิต ภูมิชาติสมฺปโยคสงฺขารฌานาลมฺพนมคฺคเภเทน โดยความต่างกันแห่งภูมิชาติสัมปโยค สังขาร ฌาน อารมณ์ และมรรค ยถารห ตามสมควร เอว ตาว ดังพรรณนามาฉะนี้ก่อนแล้ว อิทานิ บัดนี้ เจตสิกวิภาคสฺส อนุปฺปตฺตตฺตา เพราะมาถึ ง การจ� ำ แนกเจตสิ ก ธรรม ตามล� ำ ดั บ ปม อั น ดั บ แรก ตาว จตุพฺพิธสมฺปโยคลกฺขณสนฺทสฺสนวเสน เจตสิกลกฺขณ เปตฺวา ตทนนฺตร อฺ สมานอกุสลโสภณวเสน ตีหิ ราสีหิ เจตสิกธมฺเม อุทฺทิสิตฺวา เตส โสฬสหากาเรหิ สมฺปโยค เตตฺตึสวิเธน สงฺคหฺ จ ทสฺเสตุ หวังจะตั้งลักษณะ แห่งเจตสิก คือ การชี้ลักษณะแห่งสัมปโยค ๔ ประการ ก่อน ในล�ำดับต่อแต่นั้น จึงยกเจตสิกธรรมทั้งหลายขึ้นแสดงโดยราสี ๓ คือ อัญญสมานราสี อกุศลราสี และโสภณราสี แล้วจึงแสดงสัมปโยคแห่งเจตสิกธรรมเหล่านั้นโดยอาการ ๑๖ และสังคหะแห่งเจตสิกธรรมเหล่านั้น โดยอาการ ๓๓ อย่าง เอกุปฺปาทนิโรธา จาติอาทิมารทฺธ จึงเริ่มค�ำว่า เอกุปฺปาทนิโรธา จ ดังนี้ ฯ อุปฺปาโท จ นิโรโธ จ เยสํ ธรรมเหล่าใด มีความเกิดขึ้นและความดับลง เอกโต พร้อมกัน จิตฺเตน สห กับจิต เต ธรรมเหล่านั้น เอกุปฺปาทนิโรธา ชื่อว่า เอกุปปาทนิโรธ ฯ เอก อาลมฺพนฺ จ วตฺถุ จ เยสํ ธรรมเหล่าใด มีอารมณ์และวัตถุเป็นอย่างเดียวกัน กับจิต เต ธรรมเหล่านั้น เอกาลมฺพนวตฺถุกา ชื่อว่า เอกาลัมพนวัตถุ ฯ สลกฺขณธารณโต ธมฺมา สภาวะที่ชื่อว่าธรรม เพราะทรงไว้ซึ่งลักษณะของตน ทฺวิปฺ าส มี ๕๒ ประการ เจโตยุตฺตา ประกอบกับจิต จิตฺเตน สมฺปยุตฺตา คือ สัมปยุตกับจิต จตูหิ ลกฺขเณหิ โดยลักษณะ ๔ ประการ เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ มตา บัณฑิตลงมติ อิติ ว่า เจตสิกา เจตสิกธรรม นิยตโยคิโน อนิยตโยคิโน จ


78

ปริเฉทที่ ๒

ทัง้ ทีม่ กี ารประกอบแน่นอน และการประกอบไม่แน่นอน ฯ ตตฺถ ในบรรดาลักษณะ ๔ ประการนัน้ ยทิ ถ้า อธิปเฺ ปตา อธิบายเจตสิกธรรม อิติ ว่า เจโตยุตตฺ า ประกอบ กับจิต เอกุปฺปาทมตฺเตเนว ด้วยเหตุเพียงเกิดขึ้นพร้อมกันเท่านั้น ไซร้ ตทา ในกาลนั้น รูปธมฺมานมฺปิ แม้รูปธรรมทั้งหลาย จิตฺเตน สห อุปฺปชฺชมานานํ ที่เกิดพร้อมกันกับจิต เจโตยุตฺตตา อาปชฺเชยฺย ก็จะต้องพลอยประกอบกับจิต ไปด้วย อิติ เพราะฉะนั้น เอกนิโรธคหณ ท่านจึงใส่ เอกนิโรธ ศัพท์ไว้ด้วย ฯ เอวมฺปิ แม้เมือ่ เป็นเช่นนัน้ ปสงฺโค น สกฺกา นิวาเรตุ ใครๆ ก็ไม่สามารถจะห้าม ความพ้องกัน จิตฺตานุปริวตฺติโน วิฺตฺติทฺวยสฺส แห่งวิญญัตติรูป ๒ ที่มีปกติ เปลี่ยนไปตามจิต ตถา อนึ่ง (ปสงฺโค น สกฺกา นิวาเรตุ) ใคร ๆ ไม่สามารถจะ ห้ามความพ้องกัน รูปธมฺมานํ แห่งรูปธรรมทั้งหลาย ปุเรตรมุปฺปชฺชิตฺวา จิตฺตสฺส ภงฺคกฺขเณ นิรุชฺฌมานานมฺปิ แม้ที่เกิดขึ้นก่อนแล้วดับลงในภังคขณะแห่งจิต ปริกปฺเปนฺตสฺส แก่บุคคลผู้ก�ำหนดอยู่ อิติ ว่า เอกโต อุปฺปาโท วา นิโรโธ วา เอเตสนฺติ เอกุปฺปาทนิโรธา ธรรมชื่อว่า เอกุปปาทนิโรธ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีความเกิดขึ้นหรือดับลงพร้อมกัน (กับจิต) อิติ เพราะเหตุนั้น เอกาลมฺพนคหณํ ท่านจึงใส่ศัพท์ว่า เอกาลัมพนะ ไว้ด้วย ฯ เย เอว ติวิธลกฺขณา ธมฺมา เต นิยมโต เอกวตฺถุกาเยวาติ ทสฺสนตฺถ เพื่อจะแสดงว่า ธรรมทั้งหลายมีลักษณะ ๓ ประการ อย่างนี้ เหล่าใด ธรรมเหล่านั้นก็มีวัตถุที่ตั้งที่เกิดเป็นอันเดียวกัน โดยแน่นอนนัน่ เอง เอกวตฺถคุ หณํ ท่านจึงใส่ศพั ท์วา่ เอกวัตถุ ไว้ดว้ ย อิติ แล ฯ อลมติปปฺ เจน พอที่ไม่ต้องให้พิสดารมากนัก ฯ

[อธิบายอัญญาสมานาเจตสิก] กถนฺติ ค�ำว่า กถ สรูปสมฺปโยคาการาน กเถตุกมฺยตาปุจฺฉา เป็นค�ำถาม เพื่อต้องการจะกล่าวอาการแห่งสัมปโยคตามสภาวะ ฯ ผสฺโส สภาวธรรมที่ชื่อว่า ผัสสะ ผุสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมถูกต้อง (อารมณ์) ฯ สฺวาย ผัสสเจตสิกนี้นั้น ผุสนลกฺขโณ มีลักษณะถูกต้องอารมณ์ ฯ หิ ความจริง อยํ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

79

ผัสสเจตสิกนี้ อรูปธมฺโมปิ สมาโน แม้เป็นนามธรรม ผุสนากาเรเนว ปวตฺตติ ก็เป็นไปโดยอาการถูกต้องอารมณ์นน่ั เอง จ และ สา ผุสนาการปฺปวตฺติ ความเป็นไป โดยอาการถูกต้องอารมณ์นั้น อสฺส แห่งผัสสเจตสิกนั้น ทฏฺพฺพา บัณฑิตพึงเห็น อมฺพิลขาทกาทีน ปสฺสนฺตสฺส ปรสฺส เขฬุปฺปาทาทิ วิย คล้ายอาการที่คนอื่น มองเห็นคนเคี้ยวกินของเปรี้ยวเป็นต้น ก็เกิดน�้ำลายสอเป็นอาทิ ฉะนั้น ฯ เวทนา ธรรมชาติที่ชื่อว่าเวทนา เวทิยติ อาลมฺพนรส อนุภวตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เสวย คือ กินรสของอารมณ์ ฯ สา เวทนาเจตสิกนั้น เวทยิตลกฺขณา มีลักษณะ เสวยอารมณ์ ฯ หิ ความจริง เสสสมฺปยุตฺตธมฺมา สัมปยุตธรรมที่เหลือทั้งหลาย อารมฺมณรสานุภวนํ ปตฺวา ถึงการเสวยรสของอารมณ์แล้ว อนุภวนฺติ ย่อมเสวยได้ เอกเทสมตเตเนว โดยเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น ฯ ปน ส่วน เวทนาว เวทนาเจตสิก เท่านั้น อนุภวนฺติ ย่อมเสวยได้ เอกสโต โดยทั้งหมด อิสฺสรวตาย เพราะเป็น ธรรมชาติมีอิสระ ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอสา เวทนาเจตสิกนั้น วุตฺตา ท่านกล่าวไว้ อิติ ว่า สุโภชนรสานุภวนกราชา วิย เปรียบเสมือนพระราชาผู้เสวย รสสุธาโภชน์ ฉะนั้น ฯ ปน ก็ วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าว เภทํ ประเภท อสฺสา แห่งเวทนาเตสิกนั้น สุขาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจสุขเวทนาเป็นต้นไว้ สยเมว เองทีเดียว ฯ สฺ า ธรรมชาติที่ชื่อว่าสัญญา นีลาทิเภทารมฺมณ สฺ ชานาติ สฺ  กตฺวา ชานาตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า หมายรู้ คือ ท�ำความหมายรูแ้ ล้วย่อมรูอ้ ารมณ์ ต่างโดยสีเขียวเป็นต้น ฯ สา สัญญาเจตสิกนัน้ สฺ ชานนลกฺขณา มีลกั ษณะหมายรูอ้ ารมณ์ ฯ หิ ความจริง สา สัญญาเจตสิกนัน้ อุปฺปชฺชมานา เมื่อเกิดขึ้น การณภูตํ อาการ คเหตฺวา อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ก�ำหนดอาการอันเป็นเหตุ ปจฺฉา สฺ ชานนสฺส แห่งความหมายรู้ในภายหลัง ทารุอาทีสุ วฑฺฒกีอาทีน สฺ ากรณ วิย เปรียบเหมือนนายช่างไม้เป็นต้น ท�ำเครื่องหมายไว้ที่ไม้เป็นต้น ฉะนั้น ฯ (โจทนา) ถาม อิติ ว่า ปน ก็ เอตํ ค�ำที่กล่าวมานี้ ยุชฺชติ เหมาะ นิมิตฺตการิกาย แก่สัญญาที่ท�ำเครื่องหมาย ตาว ก่อน ปน แต่ นิมิตฺเตน สฺ ชานนฺติยา ส�ำหรับสัญญาที่หมายรู้ตามด้วย


80

ปริเฉทที่ ๒

เครื่องหมาย (ยุชฺชติ) กถํ จะเหมาะสมได้อย่างไร ฯ (วิสชฺชนา) ตอบ อิติ ว่า สาปิ แม้สัญญาที่หมายรู้ ตามเครื่องหมายนั้น อปราย สฺ าย สฺ ชานนสฺส นิมิตฺต อาการ คเหตฺวา อุปฺปชฺชติ ก็เกิดขึ้นก�ำหนดอาการอันเป็นเครื่องหมาย แห่งความรู้ ด้วยสัญญาอื่น ปุน อีก อิติ เพราะเหตุนั้น เอตฺถ ในสัญญาที่ หมายรู้จ�ำตามเครื่องหมายนี้ น โกจิ อสมฺภโว จึงไม่มีอะไรที่ไม่เหมาะสม ฯ เจตนา ธรรมชาติที่ชื่อว่าเจตนา เจเตติ อตฺตนา สมฺปยุตฺตธมฺเม อารมฺมเณ อภิสนฺทหติ สงฺขตาภิสงฺขรเณ วา พฺยาปารมาปชฺชตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ตัง้ ใจ คือ ตัง้ ธรรมอันประกอบกับตนไว้มนั่ ในอารมณ์ หรือเพราะอรรถวิเคราะห์วา่ มีความขวนขวายในการปรุงแต่งสังขตธรรม ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น อภิสงฺขรเณ ปธานตฺ ต า เพราะเป็ น ประธานในการปรุ ง แต่ ง อยเมว เจตนาเจตสิ ก นี้ แ ล วิภชนฺเตน พระผูม้ พี ระภาคเจ้า เมือ่ จะทรงจ�ำแนก สงฺขารกฺขนฺธํ สังขารขันธ์ วตฺวา จึงตรัสไว้ อิติ ว่า สงฺขารา สภาวธรรมทัง้ หลายทีช่ อื่ ว่าสังขาร สงฺขตมภิสงฺขโรนฺตตี ิ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ปรุงแต่สังขตธรรม นิทฺทิฏฺา แล้วทรงแสดงไว้ วิภงฺเค สุตตฺ นฺตภาชนีเย ในสุตตันตภาชนีย์ ในคัมภีรว์ ภิ งั ค์ จกฺขสุ มฺผสฺสชาเจตนาติอาทินา ด้วยพระพุทธพจน์วา่ จกฺขสุ มฺผสฺสชาเจตนา ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ สา เจตนาเจตสิกนัน้ เจตยิตลกฺขณา มีลกั ษณะตัง้ ใจ ทฏฺพฺพา พึงเห็น อิติ ว่า สกิจจฺ ปรกิจจฺ สาธิกา ให้ส�ำเร็จหน้าที่ของตนและหน้าที่ของผู้อื่นได้ เชฏฺสิสฺสมหาวฑฺฒกีอาทโย วิย เปรียบเสมือนหัวหน้าศิษย์และนายช่างใหญ่เป็นต้น ฉะนั้น ฯ เอกคฺคตาวิตกฺกวิจารปีตีน สรูปวิภาวนํ การอธิบาย เอกัคคตาเจตสิกวิตกเจตสิก วิจารเจตสิก และปีติเจตสิก ตามสภาวะ เหฏฺา อาคตเมว มาแล้วในข้างต้นนั่นแล ฯ ชีวิต ธรรมชาตที่ชื่อว่าชีวิต ชีวนฺติ เตน สมฺปยุตฺตธมฺมาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องอยู่แห่งสัมปยุตธรรมทั้งหลาย ฯ ตเทว ชีวิตนั้นแล อินฺทฺริยํ ชื่อว่า เป็นอินทรีย์ สหชาตานุปาลเน อธิปจฺจโยเคน เพราะประกอบด้วยความเป็นใหญ่ ในการหล่อเลี้ยงสหชาตธรรมทั้งหลาย อิติ เพราะเหตุนั้น ชีวิตินฺทฺริยํ จึง ชื่อว่า ชีวิตนทรีย์ ฯ ตํ ชีวิตินทรีย์เจตสิกนั้น อนุปาลนลกฺขณํ มีลักษณะหล่อเลี้ยง


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

81

สหชาตธรรม อุปฺปลาทีนิ อนุปาลก อุทก วิย เสมือนน�้ำหล่อเลี้ยงอุบลเป็นต้น ฉะนั้น ฯ กรณํ การกระท�ำ กาโร ชื่อว่าการ ฯ มนสฺมึ กาโร การกระท�ำไว้ในใจ มนสิกาโร ชื่อว่ามนสิการ ฯ โส มนสิการเจตสิกนั้น เจตโส อารมฺมเณ สมนฺนาหารลกฺขโณ มีลักษณะหน่วงใจมาในอารมณ์ ฯ เอเตส วิตกเจตสิก เจตนาเจตสิก และมนสิการเจตสิก ทั้ง ๓ ประการ เหล่านี้ วิเสโส มีความแปลกกัน อยํ ดังนี้ อิติ คือ วิตกฺโก วิตกเจตสิก เต ตตฺถ ปกฺขิปนฺโต วิย โหติ ย่อมเป็นเหมือนใส่เข้าซึ่งสหชาตธรรมเหล่านั้น ไว้ในอารมณ์นั้น สหชาตธมฺมาน อารมฺมเณ อภินิโรปนสภาวตฺตา เพราะเป็น สภาวะยกสหชาตธรรมทั้งหลายขึ้นไว้ในอารมณ์ เจตนา เจตนาเจตสิก นิโยเชนฺตี ประกอบ ยถารุฬเฺ ห ธมฺเมปิ แม้ซงึ่ ธรรมทัง้ หลายตามทีเ่ กิดขึน้ ไว้ ตตฺถ ในอารมณ์ นั้น อตฺตนา อาลมฺพนคฺคหเณน โดยการยึดถืออารมณ์ด้วยตน พลนายโก วิย โหติ ย่อมเป็นเหมือนแม่ทัพ ฉะนั้น มนสิกาโร มนสิการเจตสิก อาชานียาน ปโยชนกสารถิ วิย เปรียบเหมือนนายสารถีผู้คอยควบคุมม้าอาชาไนยทั้งหลาย เต อารมฺมณาภิมุขปฺปโยชนโต เพราะควบคุมสหชาตธรรมเหล่านั้น ให้มุ่งตรง ต่ออารมณ์ ฯ หิ ความจริง เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยความต่างกันนี้ อาจริยาน อนุสาสนี มีถ้อยค�ำเป็นเครื่องพร�่ำสอนของอาจารย์ทั้งหลาย อยํ ดังนี้ อิติ ว่า (ปุคฺคเลน) บุคคล โอกปฺเปตฺวา ปลงใจ อิติ ว่า เอว วิเสสา อิเม ธมฺมา ธรรมเหล่านี้ แปลกกันอย่างนี้ ภควติ สทฺธาย ด้วยความเชือ่ ในพระผูม้ พี ระภาคเจ้า อิ ติ ว่ า ภควตา พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ปฏิ วิ ชฺ ฌิ ตฺ ว า ทรงรู ้ แ จ้ ง ธมฺ ม านํ ตตยาถาวสรสลกฺขณํ ลักษณะพร้อมทั้งกิจตามเป็นจริงนั้น ๆ แห่งธรรมทั้งหลาย สภาวโต ตามสภาวะ เต เต ธมฺมา วิภตฺตา แล้วจึงทรงจ�ำแนกธรรมเหล่านั้นๆ ไว้ดังนี้ โยโค กรณีโย พึงท�ำความพากเพียร เตส สภาวสมธิคมาย เพื่อรู้ สภาวะแห่งธรรมเหล่านัน้ อุคคฺ หณปริปจุ ฉฺ าทิวเสน ด้วยสามารถแห่งกิจมีการเรียน และการสอบถามเป็นต้น ปน แต่ น ตตฺถ ตตฺถ วิปฺปฏิปชฺชนฺเตหิ สมฺโมโห อาปชฺชิตพฺโพ ไม่พึงปฏิบัติผิด ถึงความงมงายในธรรมเหล่านั้น ๆ ฯ (ผสฺสาทโย


82

ปริเฉทที่ ๒

สตฺต เจตสิกา) เจตสิกธรรม ๗ ประการมีผสั สเจตสิกเป็นต้น เหล่าใด สาธารณา เกิดมีทั่วไป สพฺเพสมฺปิ เอกูนนวุติจิตฺตาน แก่จิต ๘๙ ดวงแม้ทั้งหมด เตสุ อุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดขึ้นในจิต เหล่านั้น นิยมโต โดยแน่นอน อิติ เพราะ เหตุนั้น สพฺพจิตฺตสาธารณา นาม เจตสิกธรรม ๗ ประการเหล่านั้น จึงชื่อว่า สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ฯ อธิมุจฺจนํ ความน้อมใจเชื่อมั่น อธิโมกฺโข ชื่อว่าอธิโมกข์ ฯ หิ ความจริง โส อธิโมกขเจตสิกนั้น สนฺนิฏฺานลกฺขโณ มีลักษณะความตกลงใจ อินฺทขีโล วิย ทฏฺพฺโพ พึงเห็นว่าเปรียบเสมือนเสาเขื่อน อารมฺมเณ นิจฺจลภาเวน เพราะเป็นสภาวะไม่หวั่นไหวในอารมณ์ ฯ ภาโว ภาวะ กมฺม วา หรือการงาน วีรานํ ของคนทั้งหลายผู้แกล้วกล้า วิริยํ ชื่อว่าวิริยะ วา หรือว่า อีรยิตพฺพ  ธรรมชาติใด อันบุคคลพึงด�ำเนินไป ปวตฺเตตพฺพํ คือ พึงให้เป็นไป วิธินา ตามวิธีการ อิติ เพราะเหตุนั้น ธรรมชาตินั้น วิริยํ ชื่อว่าวิริยะ อุสฺสาโห ได้แก่ ความอุตสาหะ ฯ โส ความอุตสาหะนั้น สหชาตาน อุปตฺถมฺภนลกฺขโณ มี ลั ก ษณะช่ ว ยสนั บ สนุ น สหชาตธรรมทั้ ง หลาย ฯ หิ ความจริ ง วิ ริ ย วเสน ด้วยอ�ำนาจวิริยเจตสิก เตส โอลีนวุตฺติตา น โหติ สหชาตธรรมเหล่านั้น ย่อมไม่มีความเป็นไปย่อหย่อนเลย ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความ ดังกล่าวมาอย่างนี้ อิมสฺส วิริยเจตสิกนี้ วิตกฺกาทีหิ วิเสโส สุปากโฏ โหติ จึงมีความต่างกับเจตสิกธรรมทั้งหลายมีวิตกเจตสิกเป็นต้น ปรากฏชัดเจนดีแล้ว ฯ ฉนฺทนํ ความพอใจ ฉนฺโท ชื่อว่าฉันทะ อาลมฺพเนนาตฺถิกตา คือความต้องการ อารมณ์ ฯ โส ฉันทเจตสิกนั้น กตฺตุกมฺยตาลกฺขโณ มีลักษณะต้องการจะท�ำ ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอส ฉันทเจตสิกนี้ วุจฺจติ ท่านอาจารย์กล่าว อิติ ว่า อารมฺมณคฺคหเณ เจตโส หตฺถปฺปสารณ วิย ในเวลาที่จิตรับอารมณ์ คล้ายจะ ยื่นมือออกไป ฉะนั้น ฯ จ อนึ่ง ทานวตฺถุวิสฺสชฺชนวเสน ปวตฺตกาเลปิ แม้ในเวลาที่ฉันทเจตสิกนั้นเป็นไปด้วยอ�ำนาจสละทานวัตถุ เอส ฉันทเจตสิกนี้ วิสฺสชฺชิตพฺเพน เตน อตฺถิโกว ก็มีความต้องการด้วยทานวัตถุที่จะพึงสละนั้น


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

83

นั่นแหละ ขิปิตพฺพอุสูน คหเณ อตฺถิโก อิสฺสาโส วิย เปรียบเสมือนนายขมังธนู มีความต้องการในการหยิบลูกธนูทจี่ ะพึงยิงไป ฉะนัน้ ฯ (เย เจตสิกา) เจตสิกธรรม ๖ ประการเหล่าใด กิณณ ฺ า เกลือ่ นกล่นแล้ว วิปปฺ กิณณ ฺ า คือเรีย่ รายแล้ว ปกาเรน โดยประการทั่วไป โสภเณสุ ในโสภณจิต (๕๙ ดวง หรือ ๙๑ ดวง) ทั้งหลาย ตทีตเรสุ จ และในอโสภณจิต (๓๐ ดวง) ทั้งหลาย อื่นจากโสภณจิตนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น (เต เจตสิกา) เจตสิกธรรม ๖ ประการเหล่านั้น ปกิณฺณกา จึงชื่อว่าปกิณณกเจตสิก ฯ อิตเร จิตตุปบาทที่เป็นอโสภณทั้งหลายนอกนี้ อฺ เ นาม ชื่อว่าอื่น โสภณาเปกฺขาย เพราะเพ่งถึงจิตตุปบาทที่เป็นโสภณ (๕๙ ดวง หรือ ๙๑ ดวง) จ และ โสภณา จิตตุปบาทที่เป็นโสภณทั้งหลาย อฺ เ นาม ชื่อว่าอื่น อิตราเปกฺขาย เพราะเพ่งถึงจิตตุปบาทที่เป็นอโสภณ (๓๐ ดวง) นอกนี้ ฯ (เย เตรส เจตสิกา) เจตสิกธรรม ๑๓ ประการเหล่าใด สมานา มีทั่วไป เตสํ แก่อโสภณจิตตุปบาททีช่ อื่ ว่าอืน่ และโสภณจิตตุปบาททีช่ อื่ ว่าอืน่ ทัง้ หลายเหล่านัน้ น อุทธฺ จฺจาทิสทฺธาทโย วิย อกุสลาทิสภาวาเยว จะมีสภาวะเป็นอกุศลเจตสิกธรรม เป็นต้นล้วน ๆ เหมือนอย่างอกุศลเจตสิกธรรม มีอุทธัจจเจตสิกเป็นต้น และ โสภณเจตสิกธรรม มีสทั ธาเจตสิกเป็นต้น ก็หามิได้ อิติ เพราะเหตุนนั้ (เต เตรส เจตสิกา) เจตสิกธรรม ๑๓ ประการเหล่านัน้ อฺ สมานา จึงชือ่ ว่า อัญญสมานา เจตสิก ฯ (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ สพฺพจิตฺตสาธารณวเสน จ ปกิณฺณกวเสน จ โสภเณตรสภาเว เตรส ธมฺเม อุทฺทิสิตฺวา ครั้นยกเจตสิกธรรม ๑๓ ประการ คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (๗ ประการ) และ คือ ปกิณณก เจตสิกธรรม (๖ ประการ) ซึ่งมีสภาวะเป็นโสภณเจตสิกธรรม และเป็นอโสภณ เจตสิกธรรมนอกนี้ ขึ้นแสดง เอว ตาว ดังพรรณนามา อย่างนี้ก่อนแล้ว อิทานิ บัดนี้ อกุสลธมฺมปริยาปนฺเน ปม ตโต โสภณธมฺมปริยาปนฺเน จ ทสฺเสตุ  หวังจะแสดงเจตสิกธรรมทั้งหลายที่นับเนื่องกับอกุศลธรรมก่อน และต่อแต่นั้น แสดงเจตสิ ก ธรรมทั้ ง หลายที่ นั บ เนื่ อ งกั บ โสภณธรรม เหฏฺ  า จิ ตฺ ต วิ ภ าเค


84

ปริเฉทที่ ๒

นิทฺทิฏฺานุกฺกเมน ตามล�ำดับเนื้อความที่ยกขึ้นแสดงไว้ ในการจ�ำแนกจิต ข้างต้น โมโหติอาทิ วุตฺต จึงกล่าวค�ำว่า โมโห ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ก็ อเหตุเก ในอเหตุกจิต (๑๘ ดวง) อาเวณิกธมฺมา นตฺถิ ไม่มี เจตสิ ก ธรรมแยกไว้ แ ผนกหนึ่ ง อิ ติ เพราะเหตุ นั้ น น เต วิ สุ  วุ ตฺ ต า ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงมิได้กล่าวแยกอเหตุกเจตสิกธรรมทั้งหลายเหล่านั้นไว้ ฯ อารมฺมเณ มุยฺหติ สภาวธรรมใด ย่อมลุ่มหลงในอารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น โมโห สภาวธรรมนัน้ ชือ่ ว่าโมหะ อฺ าณํ ได้แก่ ความไม่รู้ ฯ โส โมหเจตสิกนัน้ อารมฺมณสภาวจฺฉาทนลกฺขโณ มีลกั ษณะปกปิดสภาวะแห่งอารมณ์ ฯ หิ ความจริง เอส โมหเจตสิกนี้ อารมฺมณคฺคหณวสปฺปวตฺโตปิ แม้ที่เป็นไป ด้วยอ�ำนาจ ความรับอารมณ์ ปวตฺตติ ก็ย่อมเป็นไป ตสฺส ยถาสภาวปฏิจฺฉาทนากาเรเนว โดยอาการที่ปกปิดความเป็นจริงแห่งอารมณ์นั้นนั่นเอง ฯ ปุคฺคโล ธมฺมสมูโห วา บุคคล หรือหมู่ธรรม อหิริโก ชื่อว่าอหิริกะ น หิริยติ น ลชฺชิยตีติ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมไม่ละอาย คือย่อมไม่กระดากอาย ฯ อหิริกสฺส ภาโว ภาวะแห่ ง บุ ค คลหรื อ หมู ่ ธ รรมที่ ไ ม่ ล ะอาย อหิ ริ กฺ กํ ชื่ อ ว่ า อหิ ริ ก กะ ตเทว อหิริกกะนั้นนั่นเอง อหิริกํ เป็นอหิริกะ ฯ น โอตฺตปฺปติ ธรรมชาตใด ย่อมไม่ สะดุ้งกลัว อิติ เพราะเหตุนั้น อโนตฺตปฺปํ ธรรมชาตนั้น ชื่อว่าอโนตตัปปะ ฯ ตตฺถ บรรดาอหิริกเจตสิกและอโนตตัปปเจตสิกทั้ง ๒ ประการนั้น อหิริกํ อหิริกเจตสิก กายทุจฺจริตาทิโต อชิคุจฺฉนลกฺขณํ มีลักษณะไม่รังเกียจทุจริต มีกายทุจริตเป็นต้น คูถโต คามสูกโร วิย เปรียบเสมือนสุกรบ้านไม่รังเกียจคูถ ฉะนั้น ฯ อโนตฺตปฺป อโนตตัปปเจตสิก ตโต อนุตฺตาสลกฺขณ มีลักษณะไม่สะดุ้ง กลัวทุจริตมีกายทุจริตเป็นต้นนั้น อคฺคิโต สลโภ วิย เปรียบเสมือนแมลงเม่า ไม่เกรงกลัวไฟ ฉะนัน้ ฯ เตน เพราะเหตุนนั้ โปราณา พระโบราณาจารย์ทงั้ หลาย อาหุ จึงกล่าวไว้ อิติ ว่า อหิริโก คนไม่มีความละอาย (คนมีอหิริกเจตสิก) ชิคุจฺฉติ น ปาปา ย่อมไม่รงั เกียจบาป คูถาว สูกโร เปรียบเสมือนสุกรบ้านไม่รงั เกียจคูถ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

85

ฉะนั้น อโนตฺตาปี คนไม่มีความสะดุ้งกลัว (คนมีอโนตตัปปเจตสิก) น ภายติ (ปาปา) ย่อมไม่สะดุ้งกลัวบาป สลโภ วิย ปาวกา เปรียบ เสมือนแมลงเม่าไม่เกรงกลัวไฟ ฉะนั้น ฯ อุทธฺ ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งจิตหรือบุคคลทีฟ่ งุ้ ซ่าน อุทธฺ จฺจ ชือ่ ว่าอุทธัจจะ ฯ ต อุทธัจจเจตสิกนั้น จิตฺตสฺส อวูปสมลกฺขณ มีลักษณะที่จิตไม่สงบระงับ ปาสาณาภิฆาตสมุทธฺ ตภสฺม วิย เปรียบเหมือนผงธุลที ฟี่ งุ้ ขึน้ เพราะถูกแผ่นหินทุม่ ฉะนั้น ฯ โลโภ สภาวะที่ชื่อว่าโลภะ ลุพฺภตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ละโมบ ฯ โส โลภเจตสิกนั้น อารมฺมเณ อภิสงฺคลกฺขโณ มีลักษณะติดแน่นในอารมณ์ มกฺกฏาเลโป วิย เปรียบเสมือนลิงติดตัง ฉะนั้น ฯ เอเตส ฉันทเจตสิกและ โลภเจตสิกทั้ง ๒ ประการเหล่านี้ วิเสโส มีความแปลกกัน อยํ ดังนี้ อิติ คือ จิตตฺ สฺส อาลมฺพติ กุ ามตามตฺตํ ลักษณะเพียงความทีจ่ ติ ต้องการจะหน่วงอารมณ์ไว้ ฉนฺโท ชื่อว่า ฉันทะ ตตฺถ อภิคิชฺฌนํ ความติดแน่นในอารมณ์นั้น โลโภ ชื่อว่า โลภะ ฯ ทิฏฺ ทิฏฐิเจตสิก มิจฺฉาภินิเวสลกฺขณา มีลักษณะยึดมั่นผิดอย่างยิ่ง อิติ ว่า อิทเมว สจฺจ โมฆมฺ  ค�ำนีเ้ ท่านัน้ จริง ค�ำอืน่ เปล่า ดังนี้ ฯ หิ จริงอยู่ เอเตสํ ญาณและทิฏฐิเจตสิกทั้ง ๒ ประการเหล่านี้ วิเสโส มีความแปลกกัน อยํ ดังนี้ อิติ คือ าณํ ญาณ อารมฺมณ ยถาสภาวโต ชานาติ ย่อมรู้อารมณ์ ตามสภาวะที่เป็นจริง ทิฏฺ ทิฏฐิเจตสิก ยถาสภาว วิชหิตฺวา อยาถาวโต คณฺหาติ ละสภาวะตามที่เป็นจริง ย่อมยึด (อารมณ์) โดยความไม่เป็นจริง ฯ มาโน สภาวะที่ชื่อว่ามานะ เสยฺโยหมสฺมีติอาทินา มฺ ตีติ เพราะอรรถ วิเคราะห์วา่ ย่อมส�ำคัญซึง่ ตนโดยอาการเป็นต้นว่า เราเป็นผูป้ ระเสริฐกว่า ดังนี้ ฯ โส มานเจตสิกนั้น อุนฺนติลกฺขโณ มีลักษณะพองตัว ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอส มานเจตสิกนี้ เกตุกมฺยตาปจฺจุปฏฺาโน วุตฺโต ท่านกล่าวว่า มีความประสงค์ จะท�ำตัวให้เหมือนธงเป็นอาการปรากฏเฉพาะ ฯ โทโส สภาวะทีช่ อื่ ว่าโทสะ ทุสสฺ ตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ประทุษร้าย ฯ โส โทสเจตสิกนั้น จณฺฑิกฺกลกฺขโณ มีลกั ษณะดุรา้ ย ปหตาสีวโิ ส วิย คล้ายอสรพิษทีถ่ กู ตี ฉะนัน้ ฯ อิสสฺ า ธรรมชาติ


86

ปริเฉทที่ ๒

ที่ชื่อว่าอิสสา อิสฺสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ริษยา ฯ สา อิสสาเจตสิกนั้น ปรสมฺปตฺติอุสฺสุยนลกฺขณา มีลักษณะริษยาสมบัติของผู้อื่น ฯ มจฺเฉรสฺส ภาโว ภาวะแห่งบุคคลผู้ตระหนี่ มจฺฉริยํ ชื่อว่ามัจฉริยะ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง มา อิท อจฺฉริย อฺ เส โหตุ มยฺหเมว โหตูติ ปวตฺตํ (ธมฺมชาตํ) ธรรมชาต (ความคิด) ที่เป็นไปว่า ขอความอัศจรรย์นี้ จงอย่ามีแก่ชนเหล่าอื่น จงมีแก่เราเท่านั้น ดังนี้ มจฺฉริยํ ชื่อว่ามัจฉริยะ ฯ ตํ มัจฉริยเจตสิกนั้น อตฺตสมฺปตฺตินิคฺคุยฺหนลกฺขณํ มีลักษณะซ่อนสมบัติของตนไว้ ฯ กุกฺกตํ กรรมชื่อว่ากุกกตะ กุจฺฉิต กตนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ กรรมทีน่ า่ เกลียดอันบุคคลกระท�ำแล้ว กตากต ทุจจฺ ริตสุจริตํ ได้แก่ ทุจริตอันตนกระท�ำแล้วและสุจริตอันตนมิได้กระท�ำไว้ ฯ หิ ความจริง (ชนา) ชนทัง้ หลาย โวหรนฺติ ย่อมเรียก อกตมฺปิ กรรมแม้ทมี่ ไิ ด้กระท�ำไว้ กุกกฺ ตนฺติ ว่า เป็นกุกกตกรรม ย มยา อกต ต กุกฺกตนฺติ (โวหรนฺติ) คือ กล่าวว่า กรรมที่เรามิได้กระท�ำไว้ ชื่อว่ากุกกตกรรม ฯ ปน แต่ อิธ ในอธิการแห่ง อกุศลเจตสิกนี้ วิปฺปฏิสารจิตฺตุปฺปาโท จิตตุปบาทที่เดือดร้อน กตากต อารพฺภ อุปฺปนฺโน ซึ่งเกิดขึ้นปรารภทุจริตอันตนกระท�ำแล้ว และสุจริตอันตนมิได้กระท�ำไว้ กุกกฺ ตํ ชือ่ ว่ากุกกตะ ฯ ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งกุกกตะนัน้ กุกกฺ จุ จฺ ํ ชือ่ ว่ากุกกุจจะ ฯ ต กุกกุจจเจตสิกนั้น กตากตทุจฺจริตสุจริตานุโสจลกฺขณํ มีลักษณะเศร้าโศก เนือง ๆ ถึงทุจริตอันตนกระท�ำแล้ว และสุจริตอันตนมิได้กระท�ำไว้ ฯ ถินน ความท้อแท้ ถีน ชื่อว่าถีนะ ฯ อนุสฺสาหนาวสีทนวเสน สหตภาโว ความที่จิต ถูกอ�ำนาจความไม่อาจหาญและความท้อแท้ขจัดแล้ว ถีน ชื่อว่าถีนะ ฯ มิทฺธนํ ความซบเซา มิทฺธํ ชื่อว่ามิทธะ วิคตสามตฺถิยตา ได้แก่ ความที่จิตปราศจาก ความสามารถ ฯ เอเตส ถีนเจตสิกและมิทธเจตสิกทั้ง ๒ ประการเหล่านี้ วิเสโส มีความแปลกกัน อยํ ดังนี้ อิติ คือ ตตฺถ บรรดาถีนเจตสิกและมิทธเจตสิก เหล่านั้น ถีนํ ถีนเจตสิก จิตฺตสฺส อกมฺมฺ ตาลกฺขณํ มีลักษณะคือความที่จิต ไม่ควรแก่การงาน มิทธฺ ํ มิทธเจตสิก เวทนาทิกขฺ นฺธตฺตยสฺส (อกมฺมฺ ตาลกฺขณํ) มีลักษณะคือความที่ขันธ์ทั้ง ๓ มีเวทนาขันธ์เป็นต้น ไม่ควรแก่การงาน ฯ ตถาหิ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

87

นิทฺเทโส สมจริงดังนิเทศ อิเมสํ แห่งถีนเจตสิกและมิทธเจตสิกทั้ง ๒ ประการ เหล่านี้ ปวตฺโต ที่เป็นไป ปาลิยํ ในพระบาลี ตตฺถ กตม ถีน ยา จิตฺตสฺส อกลฺยตาอกมฺมฺ ตา ตตฺถ กตม มิทฺธ ยา กายสฺส อกลฺยตาอกมฺมฺ ตา- ติอาทินา โดยนัยมีอาทิว่า บรรดาถีนะและมิทธะทั้ง ๒ ประการเหล่านั้น ถีนะ เป็นไฉน คือความที่จิตไม่คล่อง ไม่ควรแก่การงาน ชื่อว่าถีนะ บรรดาถีนะและ มิทธะทั้ง ๒ ประการเหล่านั้น มิทธะ เป็นไฉน คือความที่กายไม่สะดวก ไม่ควร แก่การงาน ชื่อว่ามิทธะ ฯ (โจทนา) ถาม อิติ ว่า จ ก็ กายสฺสาติ วจนโต เพราะพระพุทธพจน์ว่า กายสฺส ดังนี้ รูปกายสฺสาปิ อกมฺมฺ ตา แม้ความที่ รูปกายไม่ควรแก่การงาน มิทฺธํ ก็ชื่อว่ามิทธะ อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส รูปภาโวปิ แม้ความที่มิทธะนั้นเป็นรูป อาปชฺชติ จึงจะถูก มิใช่หรือ ฯ (วิสชฺชนา) ตอบว่า นาปชฺชติ ไม่ถูก ตตฺถ ตตฺถ อาจริเยหิ อานีตการณวเสเนวสฺส ปฏิกฺขิตฺตตฺตา เพราะความที่มิทธะเป็นรูปนั้น ถูกอาจารย์ทั้งหลายคัดค้านแล้วในปกรณ์นั้น ๆ ด้วยอ�ำนาจแห่งเหตุที่ท่านน�ำมาอ้างแล้วนั่นแล ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น อาจริยา ท่านอาจารย์ทั้งหลาย วิตฺถาเรนฺติ บรรยาย เตส วาทนิกฺเขปปุพฺพกํ ค�ำที่ยก วาทะของท่านที่กล่าวว่ามิทธะเป็นรูปเหล่านั้นตั้งขึ้นเป็นประธานไว้ อฏฺกถาทีส ุ ในคัมภีร์อรรถกถาเป็นต้น พหุธา มากมาย มิทฺธวาทิมตปฏิกฺเขปตฺถํ เพื่อจะ คัดค้านมติของมิทธวาทีบุคคล ฯ ปน แต่ เอตฺถ (มิทฺธกถนาธิกาเร) ในอธิการว่า ด้วยเรื่องมิทธะนี้ สงฺคโห มีการรวบรวมถ้อยค�ำที่จะพึงขยายให้พิสดารไว้ อยํ ดังต่อไปนี้ อิติ ว่า เกจิ บุคคลบางพวก วทนฺติ กล่าว มิทฺธมฺปิ รูปนฺติ ว่า แม้มิทธะ ก็เป็นรูป ดังนี้ ต ค�ำนั้น น ยุชฺชติ ย่อมไม่ถูก ปหาตพฺเพสุ (อกุสล ธมฺเมสุ) วุตฺตตฺตา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสมิทธะนั้นไว้ใน หมวดอกุศลธรรมที่พึงละ กามฉนฺทาทโย วิย เหมือนกับนิวรณ์ธรรม ทั้งหลายมีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้น ฉะนั้น ฯ


88

ปริเฉทที่ ๒

หิ ความจริง เอต มิทธะนี้ อกฺขาตํ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสไว้ ปหาตพฺเพสุ นีวรเณสุ ในหมวดนิวรณ์ธรรมที่พึงละ ตุ ส่วน รูปํ รูป น อกฺขาต พระผูม้ พี ระภาคเจ้ามิได้ตรัสไว้ ว่า ปหาตพฺพํ ทสฺสนาทินา อันโสดาปัตติมรรคเป็นต้นจะพึงละ ฯ รูปสฺส ปเหยฺยภาวเลโสปิ แม้ข้ออ้างที่ว่า รูปเป็นธรรมชาต ที่พึงละ ทิสฺสติ ปรากฏอยู่ ยตฺถ ในพระบาลีใด น ตุยฺหํ ภิกฺขเว รูป ชหเถตนฺติ ปาโต เพราะพุทธพจน์ว่า ภิกษุทั้งหลาย รูปมิใช่ ของพวกเธอ พวกเธอจงละรูปนั้นเสีย ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ ในพระบาลีนั้น ปกาสิตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็ทรง ประกาศ ตพฺพิสยจฺฉนฺทราคหานิ ถึงการละฉันทราคะ ซึ่งมีรูปนั้น เป็นอารมณ์ วุตฺตฺ หิ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ ตตฺถ ในพระบาลีนั้น อิติ ว่า โย ฉนฺทราคกฺเขโปติ อาทิกํ การละฉันทราคะใด ดังนี้เป็นต้น ฯ เจ หากว่า (มิทฺธวาที) มิทธวาทีบุคคล (วเทยฺย) พึงกล่าว อิติ ว่า รูปารูเปสุ มิทฺเธสุ อรูป บรรดามิทธะที่เป็นรูปและเป็นนาม มิทธะที่เป็นนาม เทสิต พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้แล้ว ตตฺถ ในพระบาลีนั้น ดังนี้ไซร้ ตํ ค�ำนั้น นตฺถิ ก็ไม่มี ตตฺถ อวิเสเสน ปาโต เพราะในพระบาลีนั้น ตรัสมิทธะไว้โดยไม่แปลกกัน ฯ หิ ความจริง ย มิทฺธ รูปนฺติ จินฺติต ตมฺปิ แม้มิทธะที่พวก มิทธวาทีบุคคลพากันคิดว่าเป็นรูป สกฺกา บัณฑิตก็สามารถ อนุมาตุ จะอนุมานได้ว่า นีวรณํ เป็นนิวรณ์ มิทฺธภาวโต เพราะมิทธะที่พวก มิทธวาทีบุคคลพากันคิดว่าเป็นรูป เป็นมิทธะ อิตร วิย เหมือนกับ มิทธะที่เป็นนามนอกนี้ ฯ จ ก็ สมฺปโยคาภิธานา เพราะตรัสถึงสัมปโยค (แห่งมิทธะ) นิจฺฉโย จึงแน่ใจได้ว่า น ต รูปนฺติ มิทธะนั้นไม่ใช่รูป หิ ความจริง


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

89

(ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า ปวุจฺจติ ตรัส สมฺปโยโค สัมปโยค อรูปีนํ ขนฺธาน แห่งอรูปขันธ์ (นามขันธ์) ทั้งหลาย (เท่านั้น) ฯ ตถา อนึ่ง อารุปฺเป สมุปฺปตฺติปาโต เพราะตรัสไว้ว่า มิทธะ เกิดร่วมในอรูปธรรม (นามธรรม) รูปตา มิทธะที่เป็นรูป นตฺถิ จึงไม่มี ตุ ส่วน นิทฺทา ความหลับ ขีณาสวานํ แห่งพระขีณาสพทั้งหลาย สิยา พึงมีได้ กายเคลฺ โต เพราะความอ่อนเพลียแห่งร่างกาย ฯ สทฺธา ธรรมชาติที่ชื่อว่า สัทธา สทฺทหตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เชื่อ พุทธฺ าทีสุ ปสาโท คือ เลือ่ มใสในพระรัตนตรัยมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ฯ สา สัทธาเจตสิกนั้น สมฺปยุตฺตาน ปสาทนลกฺขณา มีลักษณะท�ำสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ให้ผ่องใส อุทกปฺปสาทกมณิ วิย เปรียบเสมือนแก้วมณีท�ำน�้ำให้ใส ฉะนั้น ฯ สรณ ความระลึกได้ สติ ชื่อว่าสติ อสมฺโมโส ได้แก่ ความไม่หลงลืม ฯ สา สติเจตสิกนั้น สมฺปยุตฺตาน สารณลกฺขณา มีลักษณะยังสัมปยุตธรรม ทัง้ หลายให้แล่นไป ฯ หิริ ธรรมชาติทชี่ อื่ ว่าหิริ หิรยิ ติ กายทุจจฺ ริตาทีหิ ชิคจุ ฉฺ ตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ละอาย คือ รังเกียจทุจริต ๓ มีกายทุจริตเป็นต้น ฯ สา หิริเจตสิกนั้น ปาปโต ชิคุจฺฉนลกฺขณา มีลักษณะรังเกียจบาป ฯ โอตฺตปฺปํ ธรรมชาตทีช่ อื่ ว่าโอตตัปปะ โอตฺตปฺปตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เกรงกลัว (บาป) ฯ ต โอตตัปปเจตสิกนั้น ปาปโต อุตฺตาสลกฺขณํ มีลักษณะสะดุ้งกลัวต่อบาป ฯ หิริ หิริเจตสิก กุลวธู วิย เปรียบเสมือนหญิงสาวในตระกูล อตฺตคารววเสน ปาปโต ชิคุจฺฉนโต เพราะเกลียดสิ่งที่ชั่ว ด้วยอ�ำนาจความเคารพตน ฯ โอตฺตปฺปํ โอตตัปปเจตสิก เวสิยา วิย เปรียบเสมือนหญิงแพศยา ปรคารววเสน ปาปโต โอตฺตาสนโต เพราะสะดุ้งกลัวสิ่งที่ชั่ว ด้วยอ�ำนาจเคารพผู้อื่น ฯ โลภปฏิปกฺโข ธรรมทีเ่ ป็นปฏิปกั ษ์ตอ่ โลภะ อโลโภ ชือ่ ว่าอโลภะ ฯ โส อโลภเจตสิกนัน้ อารมฺมเณ จิตตฺ สฺส อลคฺคตาลกฺขโณ มีลกั ษณะคือความทีจ่ ติ ไม่ตดิ ในอารมณ์ มุตตฺ ภิกขฺ ุ วิย เปรียบเสมือนภิกษุผู้หลุดพ้นแล้ว ฉะนั้น ฯ โทสปฏิปกฺโข ธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อ โทสะ อโทโส ชือ่ ว่า อโทสะ ฯ โส อโทสเจตสิกนัน้ อจณฺฑกิ กฺ ลกฺขโณ มีลกั ษณะ


90

ปริเฉทที่ ๒

ไม่ดรุ า้ ย อนุกลุ มิตโฺ ต วิย เปรียบเสมือนมิตรผูค้ อยช่วยเหลือ ฉะนัน้ ฯ มชฺฌตฺตตา ความเป็นกลาง เตสุ เตสุ ธมฺเมสุ ในธรรมเหล่านั้น ๆ ตตฺรมชฺฌตฺตตา ชื่อว่า ตัตรมัชฌัตตตา ฯ สา ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิกนัน้ จิตตฺ เจตสิกาน อชฺฌเุ ปกฺขนลกฺขณา มีลักษณะวางเฉยจิตและเจตสิก สมฺปวตฺตาน อสฺสาน สารถิ วิย เปรียบเสมือน นายสารถีวางใจม้าที่วิ่งไปเรียบ ฉะนั้น ฯ กายสฺส ปสฺสมฺภนํ ความสงบกาย กายปสฺสทฺธิ ชื่อว่ากายปัสสัทธิ ฯ จิตฺตสฺส ปสฺสมฺภนํ ความสงบจิต จิตฺตปสฺสทฺธิ ชื่อว่าจิตตปัสสัทธิ ฯ ปน ก็ อุโภปิ เอตา กายปัสสัทธิเจตสิกและจิตตปัสสัทธิเจตสิกแม้ทั้ง ๒ ประการนั้น กายจิตฺตาน ทรถวูปสมลกฺขณา มีลักษณะที่กาย และจิตสงบระงับความกระวนกระวายได้ ฯ กายสฺส ลหุภาโว ความเบาแห่งกาย กายลหุตา ชือ่ ว่ากายลหุตา ฯ (จิตตฺ สฺส ลหุภาโว) ความเบาแห่งจิต ตถา ก็เหมือนกัน จิตฺตลหุตา คือ ชื่อว่า จิตตลหุตา ฯ ตา กายลหุตาเจตสิกและจิตตลหุตาเจตสิก ทั้ง ๒ ประการเหล่านั้น กายจิตฺตครุภาววูปสมลกฺขณา มีลักษณะสงบระงับ ความหนักแห่กายและจิต ฯ กายสฺส มุทุภาโว ความอ่อนโยนแห่งกาย กายมุทุตา ชื่อว่ากายมุทุตา ฯ (จิตฺตสฺส มุทุภาโว) ความอ่อนโยนแห่งจิต ตถา ก็เหมือนกัน จิตฺตมุทุตา คือ ชื่อว่าจิตตมุทุตา ฯ ตา กายมุทุตาเจตสิกและจิตตมุทุตาเจตสิก ทั้ง ๒ ประการเหล่านั้น กายจิตฺตถทฺธภาววูปสมลกฺขณา มีลักษณะสงบระงับ ความกระด้างแห่งกายและจิต ฯ กมฺมนิ สาธุ ความส�ำเร็จในการงาน กมฺมฺ  ชื่อว่ากัมมัญญะ ฯ ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งกัมมัญญะนั้น กมฺมฺ ตา ชื่อว่า กัมมัญญตา ฯ กายสฺส กมฺมฺ ตา ความที่กายเป็นกัมมัญญะ กายกมฺมฺ ตา ชื่อว่ากายกัมมัญญตา ฯ (จิตฺตสฺส กมฺมฺ ตา) ความที่จิตเป็นกัมมัญญะ ตถา ก็เหมือนกัน จิตฺตกมฺมฺ ตา คือชื่อว่าจิตตกัมมัญญตา ฯ ตา กายกัมมัญญตาเจตสิ ก และจิ ต ตกั ม มั ญ ญตาเจตสิ ก ทั้ ง ๒ ประการเหล่ า นั้ น กายจิ ตฺ ต าน อกมฺมฺ ภาววูปสมลกฺขณา มีลักษณะสงบระงับความไม่ส�ำเร็จประโยชน์ ในการงานแห่งกายและจิต ฯ ปคุณสฺส ภาโว ภาวะแห่งความคล่องแคล่ว ปาคุฺ ชื่อว่าปาคุญญะ ฯ ตเทว ปาคุญญะนั้นนั่นแล ปาคุฺตา ชื่อว่าปาคุญญตา ฯ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

91

กายสฺส ปาคุฺตา ความคล่องแคล่วแห่งกาย กายปาคุฺตา ชือ่ ว่ากายปาคุญญตา ฯ (จิตตฺ สฺส ปาคุฺตา) ความคล่องแคล่วแห่งจิต ตถา ก็เหมือนกัน จิตตฺ ปาคุฺตา คือชือ่ ว่าจิตตปาคุญญตา ฯ ตา กายปาคุญญตาเจตสิกและจิตตปาคุญญตาเจตสิก ทัง้ ๒ ประการเหล่านัน้ กายจิตตฺ าน เคลฺ วูปสมลกฺขณา มีลกั ษณะสงบระงับ ความขัดข้องแห่งกายและจิต ฯ กายสฺส อุชุกภาโว ความตรงแห่งกาย กายุชุกตา ชื่อว่ากายุชุกตา ฯ (จิตฺตสฺส อุชุกภาโว) ความตรงแห่งจิต ตถา ก็เหมือนกัน จิตฺตุชุกตา คือชื่อว่าจิตตุชุกตา ฯ ตา กายุชุกตาเจตสิกและจิตตุชุกตาเจตสิก ทัง้ ๒ ประการเหล่านัน้ กายจิตตฺ าน อาชฺชวลกฺขณา มีลกั ษณะทีก่ ายและจิตตรง ฯ ปน ก็ เอตา (กายปสฺ ส ทฺ ธิ อ าทโย ฉยุ ค ลา) เจตสิ ก ธรรม ๖ คู ่ เ หล่ า นี้ กายจิตฺตาน สารมฺภาทิกรธาตุกฺโขภปฏิปกฺขปจฺจยสมุฏฺานา มีปัจจัยอันเป็น ปฏิปักษ์ต่อความก�ำเริบแห่งธาตุที่กระท�ำความกระสับกระส่าย เป็นต้นแห่งกาย และจิตเป็นสมุฏฐาน ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ ปน ก็ กาโยติ เอตฺถ ในค�ำว่า กาโย นี้ เวทนาทิกฺขนฺธตฺตยสฺส คหณํ ท่านระบุถึงขันธ์ ๓ มีเวทนาขันธ์เป็นต้น ฯ ยสฺมา จ ก็เพราะ เอเต เทฺว เทฺว ธมฺมา เอกโต หุตฺวา เจตสิกธรรมเหล่านี้ รวมกันเป็นคู่ ๆ หนนฺติ ย่อมก�ำจัด ปฏิปกฺขธมฺเม ธรรมที่เป็นข้าศึกได้ ยถาสกํ ตามสภาวะของตน ตสฺมา ฉะนั้น วุตตฺ า พระผูม้ พี ระภาคเจ้าจึงตรัส ทุวธิ ตา เจตสิกธรรมไว้เป็นคู่ ๆ อิเธว ในปัสสัทธิ เป็นต้นนีเ้ ท่านัน้ น สมาธิอาทีสุ หาตรัสไว้ในสมาธิเป็นต้นไม่ ฯ อปิจ อีกอย่างหนึง่ จิตฺตสฺเสว ปสฺสทฺธาทิภาโว ความที่จิตสงบเป็นต้นนั่นแหละ โหติ ย่อมมีได้ จิตตฺ ปสฺสทฺธอิ าทีหิ ด้วยจิตตปัสสัทธิเป็นต้น ปน ส่วน รูปกายสฺสาปิ (ปสฺสทฺธาทิภาโว) ความทีแ่ ม้รปู กายสงบเป็นต้น (โหติ) ย่อมมีได้ กายปสฺสทฺธอิ าทีหิ ด้วยกายปัสสัทธิ เป็นต้น ตสมุฏฺานปณีตรูปผรณวเสน ด้วยอ�ำนาจความแผ่ไปแห่งรูปอันประณีต ซึ่งมีกายปัสสัทธินั้นเป็นสมุฏฐาน อิติ เพราะเหตุนั้น จ ก็ ตทตฺถสนฺทสฺสนตฺถํ เพื่อจะชี้แจงเนื้อความนั้น วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัส ทุวิธตา เจตสิกธรรม เป็นคู่ ๆ ไว้ เอตฺถ ในที่นี้ ฯ สาธารณา เจตสิกธรรม ๑๙ ประการ ชื่อว่าเกิดมี


92

ปริเฉทที่ ๒

ทั่วไป โสภณาน สพฺเพสมฺปิ แก่โสภณจิตแม้ทุกดวง (๕๙ หรือ ๙๑ ดวง) เตสุ อุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดขึ้น ในโสภณจิตเหล่านั้น นิยเมน โดยแน่นอน อิติ เพราะเหตุนั้น โสภณสาธารณา เจตสิกธรรม ๑๙ ประการเหล่านั้น จึงชื่อว่า โสภณสาธารณเจตสิก ฯ สมฺมาวาจา ที่ชื่อว่าสัมมาวาจา สมฺมา วทนฺติ เอตายาติ เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องกล่าวโดยชอบแห่งเหล่าชน วจีทุจฺจริตวิรติ คือ เจตนา เป็นเครื่องงดเว้นจากวจีทุจริต ฯ สา เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากวจีทุจริตนั้น จตุพฺพิธา มี ๔ ประการ อิติ คือ มุสาวาทา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้น จากการกล่าวเท็จ ๑ ปิสุณาวาจา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการกล่าว ส่อเสียด ๑ ผรุสวาจา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการกล่าวค�ำหยาบ ๑ สมฺผปฺปลาปา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการกล่าวเพ้อเจ้อ ๑ ฯ กมฺมเมว การงานนั่นเอง กมฺมนฺโต ชื่อว่ากัมมันตะ สุตฺตนฺตวนนฺตาทโย วิย ดุจศัพท์มี สุตฺตนฺต ศัพท์และ วนนฺต ศัพท์เป็นต้น ฉะนั้น ฯ กมฺมนฺโต การงาน สมฺมา ปวตฺโต เป็นไปแล้ว โดยชอบ สมฺมากมฺมนฺโต ชื่อว่า สัมมากัมมันตะ กายทุจฺจริตวิรติ ได้แก่ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากกายทุจริต ฯ สา เจตนา เป็นเครื่องงดเว้นจากกายทุจริตนั้น ติวิธา มี ๓ ประการ อิติ คือ ปาณาติปาตา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากปาณาติบาต ๑ อทินฺนาทานา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากอทินนาทาน ๑ กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี เจตนา เป็นเครื่องงดเว้นจากกาเมสุมิจฉาจาร ๑ ฯ สมฺมาอาชีโว ที่ชื่อว่าสัมมาอาชีวะ สมฺมา อาชีวนฺติ เอเตนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องเป็นอยู่โดยชอบ แห่งเหล่าชน มิจฺฉาชีววิรติ ได้แก่ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากมิจฉาชีพ ฯ ปน ก็ โส สัมมาอาชีวะนั้น สตฺตวิโธ มี ๗ ประการ วิรมณวเสน ด้วยอ�ำนาจ การงดเว้น อาชีวเหตุกายวจีทุจฺจริตโต จากกายทุจริตและวจีทุจริตอันมีอาชีวะ เป็นเหตุ วา หรือว่า พหุวิโธ มีมากอย่าง กุหนาลปนาทิมิจฺฉาชีววิรมณวเสน ด้วยอ�ำนาจงดเว้นจากมิจฉาชีวะมีการโกหกและการหลอกลวงเป็นต้น ฯ ปน ก็


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

93

ติวิธาปิ เอตา วิรัติแม้ทั้ง ๓ ประการเหล่านั้น ปจฺเจกํ แต่ละอย่าง ติวิธา แยก ออกเป็น ๓ ประการ สมฺปตฺตสมาทานสมุจฺเฉทวิรติวเสน คือ สัมปัตตวิรัติ ๑ สมาทานวิรัติ ๑ สมุจเฉทวิรัติ ๑ ฯ วิรติโย นาม ที่ชื่อว่าวิรัติ ยถาวุตฺตทุจฺจริเตหิ วิรมณโต เพราะงดเว้นจากทุจริตตามที่กล่าวแล้ว ฯ กรุณา ที่ชื่อว่ากรุณา กโรติ ปรทุกเฺ ข สติ สาธูน หทยเขท ชเนติ กิรติ วา วิกขฺ ปิ ติ ปรทุกขฺ  กิณาติ วา ต หึสติ กิริยติ วา ทุกฺขิเตสุ ปสาริยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมกระท�ำ คือ เมือ่ ทุกข์ของผูอ้ นื่ มีอยู่ ย่อมยังความล�ำบากใจให้เกิดแก่สาธุชนทัง้ หลายหรือเรีย่ ราย ได้แก่ กระจายทุกข์ของผูอ้ นื่ หรือเกลีย่ คือก�ำจัดทุกข์ของผูอ้ นื่ นัน้ หรือย่อมคลีค่ ลาย คือปลดเปลื้อง ในเมื่อสัตว์ทั้งหลายได้รับความทุกข์ ฯ สา กรุณาเจตสิกนั้น ปรทุกขฺ าปนยนกามตาลกฺขณา มีลกั ษณะคือความประสงค์จะบ�ำบัดทุกข์ของผูอ้ นื่ ฯ หิ ความจริง ตาย ปรทุกฺข อปนิยตุ วา กรุณาเจตสิกนั้น จะน�ำทุกข์ของผู้อื่น ออกไปได้ก็ตาม มา วา น�ำออกไปไม่ได้ก็ตาม สา กรุณาเจตสิกนั้น ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ตทากาเรเนว โดยอาการคือความบ�ำบัดทุกข์ของผู้อื่นนั้นนั่นเอง ฯ มุทิตา ที่ชื่อว่ามุทิตา โมทนฺติ เอตายาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องชื่นชม แห่งเหล่าชน ฯ สา มุทิตาเจตสิกนั้น ปรสมฺปตฺติอนุโมทนลกฺขณา มีลักษณะ พลอยยินดีสมบัติของผู้อื่น ฯ (เทฺว เจตสิกา) กรุณาเจตสิกและมุทิตาเจตสิก ทั้ง ๒ ประการ อปฺปมาณา ชื่อว่าหาประมาณมิได้ อปฺปมาณสตฺตารมฺมณตฺตา เพราะเป็นธรรมชาติมสี ตั ว์หาประมาณมิได้เป็นอารมณ์ ฯ ตา เอว กรุณาเจตสิกและ มุทิตาเจตสิกที่หาประมาณมิได้เหล่านั้นนั่นแหละ อปฺปมฺ า ชื่อว่าอัปปมัญญาเจตสิก ฯ (โจทนา) ถาม อิติ ว่า จ ก็ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วกฺขติ จักกล่าว อิติ ว่า จตสฺโส อปฺปมฺ า อัปปมัญญาเจตสิกมี ๔ ประการ ดังนี้ นนุ มิใช่หรือ ปน แต่ กสฺมา เพราะเหตุไร เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยการแสดง เจตสิกธรรมตามสภาวะนี้ (อนุรทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ เทฺวเยว วุตฺตา จึงกล่าวอัปปมัญญาไว้เพียง ๒ ประการเท่านั้น ฯ (วิสชฺชนา) ตอบ อิติ ว่า อโทสตตฺรมชฺฌตฺตตาหิ เมตฺตุเปกฺขาน คหิตตฺตา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้า


94

ปริเฉทที่ ๒

ทรงรวมเมตตาเข้ากับอโทสเจตสิก และอุเบกขาเข้ากับตัตตรมัชฌัตตตาเจตสิก ฯ หิ ความจริง อโทโสเยว อโทสเจตสิกนัน่ แหละ สตฺเตสุ หิตชฺฌาสยวสปฺปวตฺโต ทีเ่ ป็นไปด้วยอ�ำนาจแห่งอัธยาศัยเกือ้ กูลในสัตว์ทงั้ หลาย เมตฺตา นาม ชือ่ ว่าเมตตา ฯ ตตฺรมชฺฌตฺตตาว ตัตตรมัชฌัตตตาเจตสิกนัน่ เอง เตสุ ปฏิฆานุนยวูปสมวสปฺปวตฺตา ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจความสงบระงับความขัดเคือง และความยินดี (ความยินดีและ ความยินร้าย) ในหมู่สัตว์เหล่านั้น อุเปกฺขา นาม ชื่อว่าอุเบกขา ฯ เตน เพราะ เหตุนั้น โปราณา ท่านพระโบราณจารย์ทั้งหลาย อาหุ จึงกล่าวไว้ว่า หิ ความจริง ยสฺมา เพราะ อพฺยาปาเทน เมตฺตา คหิตา เมตตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงระบุ ด้วยอโทสเจตสิก ตตฺรมชฺฌตฺตตาย จ อุเปกฺขา คหิตา และอุเบกขา ทรงระบุ ด้วยตัตตรมัชฌัตตตาเจตสิก ตสฺมา ฉะนั้น น คหิตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงไม่ระบุ อุโภ เมตตาและอุเบกขา ทั้ง ๒ ประการนั้นไว้ในที่นี้ ฯ ปกาเรน ชานาติ ธรรมชาติใด ย่อมรู้โดยอาการทั่วถึง อนิจฺจาทิวเสน อวพุชฺฌติ ได้แก่ รู้ชัดด้วยอ�ำนาจไตรลักษณ์ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น อิติ เหตุนั้น ธรรมชาตินั้น ปฺ า ชื่อว่าปัญญา ฯ สา เอว ปัญญานั้นนั่นแล อินฺทฺริยํ ชื่อว่า เป็นอินทรีย์ ยถาสภาวาวโพธเน อธิปจฺจโยคโต เพราะประกอบด้วยความเป็นใหญ่ ในการรู้ชัดตามสภาวะ อิติ เพราะเหตุนั้น ปฺ ิ นฺทฺริยํ จึงชื่อว่าปัญญินทรีย์ ฯ (ปุจฉฺ า) ถาม อิติ ว่า อถ เมือ่ เป็นเช่นนัน้ สฺ าวิฺาณปฺ าน กินนฺ านากรณํ สัญญา วิญญาณ และปัญญา ท�ำหน้าทีต่ า่ งกันอย่างไร ฯ (วิสชฺชนา) ตอบ อิติ ว่า ตาว ล�ำดับแรก สฺ า สัญญา นีลาทิวเสน สฺ ชานนมตฺต กโรติ ย่อมท�ำหน้าที่ เพียงหมายรู้ ด้วยอ�ำนาจอารมณ์มสี เี ขียวเป็นต้น (ปน) (แต่) น สกฺโกติ ไม่สามารถ ลกฺขณปฏิเวธมฺปิ กาตุํ จะท�ำแม้ความรู้แจ้งไตรลักษณ์ได้ ฯ วิฺาณํ วิญญาณ ลกฺขณปฏิเวธมฺปิ สาเธติ ย่อมให้ส�ำเร็จแม้ความรู้แจ้งไตรลักษณะได้ ปน แต่ น สกฺโกติ ไม่สามารถ อุสฺสุกฺเกตฺวา มคฺค ปาเปตุํ จะให้ผ่านไปถึงแล้วบรรลุ มรรคได้ ฯ ปน ส่วน ปฺ า ปัญญา ติวิธมฺปิ กโรติ ย่อมท�ำหน้าที่ได้แม้


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

95

ทั้ง ๓ อย่าง ฯ เอตฺถ ในข้อนี้ กหาปณาวโพธนํ มีการสังเกตรู้กหาปณะ พาลคามิกเหรฺ ิ กานํ ของเด็ก คนชาวบ้าน และเจ้าหน้าที่การเงิน นิทสฺสนํ เป็นตัวอย่าง อิติ แล ฯ จ ก็ เอตฺถ ในบรรดาสัญญา วิญญาณ และปัญญา ๓ ประการนี้ าณวิปฺปยุตฺตสฺ าย อาการคฺคหณวเสน อุปฺปชฺชนกาเล ในเวลาที่สัญญาเป็นญาณวิปปยุตเกิดขึ้นด้วยอ�ำนาจก�ำหนดรู้อาการ วิฺาณํ วิญญาณ อพฺโพหาริกํ ย่อมเป็นอัพโพหาริก (มีแต่ไม่ปรากฏ) ฯ เสสกาเล เอว ในเวลาที่เหลือนั่นแล วิฺาณํ วิญญาณ พลวํ ย่อมมีพลัง ฯ ปน ส่วน าณ สมฺปยุตฺตา อุโภปิ สัญญากับวิญญาณแม้ทั้ง ๒ ประการ ที่เป็นญาณสัมปยุต ตทนุคติกา โหนฺติ ย่อมมีคติคล้อยตามปัญญานัน้ ฯ สมฺพนฺโธ เชือ่ มความ อิติ ว่า สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง ปฺ จวีสติ โสภณเจตสิกมี ๒๕ ประการ ฯ เตรสฺ สมานาติอาทีหิ ด้วยค�ำว่า เตรสญฺสมานา เป็นต้น วุตฺตาน สงฺคโห เป็นการรวบรวมเจตสิกธรรมที่กล่าวไว้ ตีหิ ราสีหิ โดยราศี ๓ ฯ อวิยุตฺตา ธรรมเหล่าใดไม่พราก จิตฺเตน สห กับจิต เจตสิกาติ วุตฺต โหติ มีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบายว่า เจตสิกธรรม อิติ เพราะเหตุนั้น จิตฺตาวิยุตฺตา ธรรมเหล่านัน้ ชือ่ ว่าจิตตาวิยตุ ตา ฯ อุปปฺ าโท สภาวะทีช่ อื่ ว่าอุปปาทะ อุปปฺ ชฺชตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมเกิดขึ้น ฯ จิตฺตเมว อุปฺปาโท อุปปาทะ คือจิต จิตฺตุปฺปาโท ชื่อว่าจิตตุปปาทะ (จิตตุปบาท) ฯ ปน ส่วน อฺ ตฺถ ในที่อื่น สสมฺปยุตฺต จิตฺตํ จิตพร้อมทั้งสัมปยุตตธรรม วุจฺจติ ท่านเรียก อิติ ว่า จิตฺตุปฺปาโท จิตตุปปาทะ อุปฺปชฺชติ จิตฺต เอเตนาติ อุปฺปาโท ธมฺมสมูโห จิตฺตฺ จ ต อุปฺปาโท จาติ จิตฺตุปฺปาโทติ กตฺวา เพราะอธิบายว่า จิตย่อมเกิด ขึ้นด้วย หมวดธรรมนี้ เพราะเหตุนั้น หมวดธรรมนั้น จึงชื่อว่าอุปปาทะ ได้แก่ หมู่ธรรม จิตนั้นด้วย เป็นเหตุเกิดขึ้นด้วย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าจิตตุปปาทะ ฯ หิ ความจริง กตฺถจิ ในทีบ่ างแห่ง สทฺทสตฺถวิทู ท่านอาจารย์ผรู้ คู้ มั ภีรศ์ พั ทศาสตร์ ทั้งหลาย อิจฺฉนฺติ ย่อมปรารถนา ปุลฺลิงฺคํ ปุงลิงค์ สมาหารทฺวนฺเทฺวปิ แม้ใน สมาหารทวันทวสมาสได้บ้าง ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า อิโต ปร เบื้องหน้า


96

ปริเฉทที่ ๒

แต่นี้ไป ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) ปวุจฺจติ จักกล่าว สมฺปโยโค สัมปโยค เตสํ จิตฺตาวิยุตฺตานํ แห่งเจตสิกธรรม ที่ไม่พรากกับจิตเหล่านั้น ปจฺเจกํ แต่ละ ประการ จิตฺตุปฺปาเทสุ ในจิตตุปบาททั้งหลาย ยถาโยคํ ตามที่ประกอบได้ ฯ ทฺวิปฺ จวิฺาณานิ ปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่าย (๑๐ ดวง) วชฺชิตานิ เอเตหิ (จตุจตฺตาฬีสกามาวจรจิตฺเตหิ) อันกามาวจรจิต ๔๔ ดวงเหล่านี้เว้นแล้ว วา หรือว่า เอตานิ กามาวจรจิต ๔๔ ดวงเหล่านี้ เตหิ (ทฺวิปฺ จวิฺาเณหิ) อันปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่าย (๑๐ ดวง) เหล่านั้น วชฺชิตานิ เว้นแล้ว สภาเวน อวิตกฺกตฺตา เพราะปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่ายเหล่านั้นไม่มีวิตกเจตสิกตาม สภาวะ อิติ เพราะเหตุนั้น จตุจตฺตาฬีสกามาวจรจิตฺตานิ กามาวจรจิต ๔๔ ดวง ทฺวิปฺ​ฺ จวิฺาณวชฺชิตานิ ชื่อว่า เว้นปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่าย หรืออัน ปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่ายเว้นแล้ว ฯ อธิปฺปาโย อธิบายความ อิติ ว่า (วิตกฺโก) วิตกเจตสิก (ชายติ) ย่อมเกิด เตสุ เจว ในกามาวจรจิต ๔๔ ดวง เหล่านั้นด้วย เอกาทสสุ ปมชฺฌานจิตฺเตสุ (จ) ในปฐมฌานจิต ๑๑ ดวงด้วย เสสาน (ทุติยชฺฌานาทีนํ) ภาวนาพเลน อวิตกฺกตฺตา เพราะจิตทั้งหลาย ที่เหลือมีทุติยฌานจิตเป็นต้น ไม่มีวิตกเจตสิก ด้วยก�ำลังแห่งภาวนา ฯ วิจาโร วิจารเจตสิก ชายติ ย่อมเกิด ฉสฏฺจิ ิตฺเตสุ ในจิต ๖๖ ดวง อิติ คือ เตสุ เจว ปฺ จปณฺณาสวิตกฺกจิตฺเตสุ ในจิตที่สหรคตด้วยวิตกเจตสิก ๕๕ ดวง เหล่านั้นด้วย เอกาทสสุ ทุติยชฺฌานจิตฺเตสุ จ ในทุติยฌานจิต ๑๑ ดวงด้วย ฯ อธิโมกฺโข อธิโมกข์เจตสิก ชายติ ย่อมเกิด เอกาทสหิ วชฺชเิ ตสุ อฏฺสตฺตติจติ เฺ ตสุ ในจิต ๗๘ ดวง เว้นจิต ๑๑ ดวง อิติ คือ ทฺวิปฺ จวิฺาเณหิ ปัญจวิญญาณจิต ทั้งสองฝ่าย (๑๐ ดวง) วิจิกิจฺฉาสหคเตน จ และโมหมูลจิตที่สหรคตด้วย วิจกิ จิ ฉาเจตสิก (๑ ดวง) ฯ วิรยิ  วิรยิ เจตสิก ชายติ ย่อมเกิด โสฬสหิ วชฺชเิ ตสุ เตสตฺตติยา จิตเฺ ตสุ ในจิต ๗๓ ดวงเว้นจิต ๑๖ ดวง อิติ คือ ปฺ จทฺวาราวชฺชเนน ปัญจทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) ทฺวิปฺ จวิฺาเณหิ ปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่าย (๑๐ ดวง) สมฺปฏิจฺฉนฺนทฺวเยน สัมปฏิจฉันนจิต (๒ ดวง) สนฺตีรณตฺตเยน จ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

97

และสันตีรณจิต ๓ ดวง ฯ ปีติ ปีติเจตสิก ชายติ ย่อมเกิด สตฺตติจิตฺเตหิ วชฺชิเตสุ เอกปฺ าส จิตฺเตสุ ในจิต ๕๑ ดวง เว้นจิต ๗๐ ดวง อิติ คือ โทมนสฺสสหคเตหิ ทฺวีหิ โทสมูลจิต ที่สหรคตด้วยโทมนัสเวทนา ๒ ดวง อุเปกฺขาสหคเตหิ ปฺ จปฺ าสจิตเฺ ตหิ จิตทีส่ หรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ๕๕ ดวง กายวิฺาณทฺวเยน กายวิญญาณจิต ๒ ดวง เอกาทสหิ จตุตฺถชฺฌาเนหิ จ และจตุตถฌานจิต ๑๑ ดวง ฯ ฉนฺโท ฉันทเจตสิก ชายติ ย่อมเกิด วีสติยา จิตฺเตหิ วชฺชิเตสุ เอกูนสตฺตติจิตฺเตสุ ในจิต ๖๙ ดวง เว้นจิต ๒๐ ดวง อิติ คือ อเหตุเกหิ อฏฺารสหิ อเหตุกจิต ๑๘ ดวง โมมูเหหิ ทฺวีหิ จ และโมหมูลจิต ๒ ดวง ฯ เต ปนาติ บทว่า เต ปน ความว่า ปกิณฺณกวชฺชิตา (จิตฺตุปฺปาทา) จิตตุปบาทที่เวันปกิณณกเจตสิก (๖ ประการ) ตสหคตา จ (จิตฺตุปฺปาทา) แลจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยปกิณณกเจตสิก ๖ ประการนัน้ ฯ ยถากฺกมนฺติ บทว่า ยถากฺกมํ ความว่า วิตกฺกาทิฉปกิณฺณกวชฺชิตสหิตกมานุรูปโต ตามสมควรแก่ ล�ำดับจิตตุปบาททีเ่ ว้นปกิณณกเจตสิก ๖ ประการมีวติ กเจตสิกเป็นต้น และจิตตุปบาท ที่ประกอบด้วยปกิณณกเจตสิก ๖ ประการมีวิตกเจตสิกเป็นต้น ฯ ฉสฏฺ ี ปฺ จปฺ าสาติอาทิ ค�ำว่า ฉสฏฺ ปญฺจปญฺาส เป็นต้น โยเชตพฺพํ บัณฑิตพึงประกอบ เอกวีสสตคณนวเสน ด้วยอ�ำนาจจ�ำนวนจิต ๑๒๑ ดวง เอกูนนวุติคณนวเสน จ และด้วยอ�ำนาจจ�ำนวนจิต ๘๙ ดวง ยถารหํ ตามสมควร (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วตฺวา กล่าว อิติ ว่า สพฺพากุสลสาธารณา ดังนี้ สพฺเพสุปีติอาทิ วุตฺตํ แล้วกล่าวค�ำว่า สพฺเพสุปิ เป็นต้น ตเทวสมตฺเถตุํ เพื่อจะย�้ำถ้อยค�ำนั้นนั่นแหละให้มั่นคง ฯ หิ ความจริง โย โกจิ บุคคลใดใครก็ตาม ปฏิปชฺชติ ปฏิบตั ิ ปาณาติปาตาทีสุ ในอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการมีปาณาติบาตเป็นต้น โส สพฺโพปิ บุคคลนั้นแม้ทั้งหมด น ตตฺถ อาทีนวทสฺสาวี มีปกติไม่เห็นโทษในอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการมีปาณาติบาต เป็นต้นนัน้ โมเหน เพราะโมหเจตสิก ตโต อชิคจุ ฉฺ นฺโต ไม่รงั เกียจอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการมีปาณาติบาตเป็นต้นนัน้ อหิรเิ กน เพราะอหิรกิ เจตสิก อโนตฺตปฺเปนฺโต


98

ปริเฉทที่ ๒

ไม่เกรงกลัวอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการมีปาณาติบาตเป็นต้นนั้น อโนตฺตปฺเปน เพราะอโนตตัปปเจตสิก อวูปสนฺโต จ โหติ และเป็นผู้ไม่สงบระงับจากอกุศล กรรมบถ ๑๐ ประการมีปาณาติบาตเป็นต้นนั้น อุทฺธจฺเจน เพราะอุทธัจจเจตสิก ตสฺมา เพราะฉะนั้น เต เจตสิกธรรม ๔ ประการเหล่านั้น อุปลพฺภนฺติ จึงหาได้ แน่นอน สพฺพากุสเลสุ ในอกุศลจิตทุกดวง(๑๒ ดวง) ฯ เอวกาโร เอว ศัพท์ โลภสหคตจิตเฺ ตเสฺววาติ ในบทว่า โลภสหคตจิตเฺ ตเสฺวว นี้ โหติ มีไว้ อธิการตฺถายปิ เพื่อต้องการท�ำให้เด่น อิติ เพราะเหตุนั้น ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็น อวธารณํ บทอวธารณะ ทิฏฺ สิ หคตจิตเฺ ตสูตอิ าทีสปุ ิ แม้ในบทว่า ทิฏฺ ส หคตจิตเฺ ตสุ เป็นต้น ฯ หิ ความจริง ทิฏฺ ิ ทิฏฐิเจตสิก ลพฺภติ ย่อมหาได้ โลภสหคตจิตฺเตเสฺวว เฉพาะในจิตที่สหรคตด้วยโลภะ (โลภมูลจิต ๔ ดวง) เท่านั้น สกฺกายาทีสุ อภินวิ สิ นฺตสฺส ตตฺถ มมายนสมฺภวโต เพราะบุคคลผูย้ ดึ มัน่ ในสังโยชน์ ๑๐ ประการ มีสกั กายทิฏฐิเป็นต้น เกิดความยึดถือในสังโยชน์ ๑๐ ประการ มีสกั กายทิฏฐิเป็นต้น นั้นว่าเป็นของเรา ฯ มาโนปิ แม้มานเจตสิก ทิฏฺสิ ทิโสว ปวตฺตติ ก็เป็นไป คล้ายทิฏฐิเจตสิกนั่นแหละ อหมฺมานวเสน ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปในสังโยชน์ ๑๐ ประการ มีสกั กายทิฏฐิเป็นต้นนัน้ ด้วยอ�ำนาจถือตัวว่าเป็นเรา อิติ เพราะเหตุนนั้ (มาโน) มานเจตสิกนั้น นปฺปวตฺตติ จึงไม่เป็นไป ทิฏฺยิ า สห เอกจิตฺตุปฺปาเท ในจิตตุปบาทเดียวกันกับทิฏฐิเจตสิก เกสรสีโห วิย อปเรน ตถาวิเธน สห เอก คุหาย เปรียบเหมือนราชสีห์ชาติไกรสรไม่อยู่ในถ�้ำเดียวกัน กับราชสีห์ชาติไกรสร ตัวอื่นที่เหมือนกัน ฉะนั้น ฯ จาปิ (มาโน) และทั้งมานเจตสิกนั้น น อุปฺปชฺชติ ก็ไม่เกิดขึ้น โทสมูลาทีสุ ในจิตตุปบาททั้งหลายมีโทสมูลจิต (๒ ดวง) เป็นต้น เอกนฺตโลภปทฏฺานโต เพราะมานเจตสิกมีโลภะเป็นปทัฏฐานโดยแน่นอน อตฺตสิเนหสนฺนสิ สฺ ยภาเวน โดยมีความเยือ่ ใยในตนเป็นทีอ่ งิ อาศัย อิติ เพราะเหตุนนั้ โส มานเจตสิกนั้น ลพฺภติ จึงหาได้ ทิฏฺวิ ิปฺยุตฺเตเสฺวว เฉพาะในจิตตุปบาทที่เป็น ทิฏฐิวิปปยุต (โลภมูลจิต ๔ ดวง) เท่านั้น ฯ ตถา อนึ่ง อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจานิ อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก (ลพฺภนฺต)ิ ก็หาได้ ปฏิฆจิตเฺ ตเสฺวว


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

99

เฉพาะในโทสมูลจิต (๒ ดวง) เท่านั้น ตตฺถ ตตฺถ ปฏิหนนวเสเนว ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปด้วยอ�ำนาจการกระทบกระทั่งในอารมณ์นั้น ๆ นั่นเอง ปรสมฺปตฺตึ อุสฺสุยนฺตสฺส แก่บุคคลผู้ริษยาสมบัติของผู้อื่น อตฺตสมฺปตฺติยา จ ปเรหิ สาธารณภาว อนิจฺฉนฺตสฺส แก่บุคคลผู้ไม่ปรารถนาภาวะแห่งสมบัติของตนทั่วไป กับชนอื่น กตากตทุจฺจริตสุจริเตสุ อนุโสจนฺตสฺส จ และแก่บุคคลผู้เศร้าโศก เนือง ๆ ในเพราะทุจริตทีต่ นท�ำแล้ว และสุจริตทีต่ นมิได้ทำ� ฯ ถีนมิทธฺ ํ ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก ลพฺภติ ก็หาได้ สสงฺขาเรเสฺวว เฉพาะในอกุศลจิตทีเ่ ป็นสสังขาริก (๕ ดวง) เท่านั้น อกมฺมฺ ตาปกติกสฺส ตถาสภาวติกฺเขสุ อสงฺขาริเกสุ ปวตฺตนาโยคโต เพราะเจตสิกธรรมที่มีปกติไม่ควรแก่การงาน ไม่ประกอบด้วย ความเป็นไปในอกุศลจิตที่เป็นอสังขาริก (๕ ดวง) ซึ่งกล้าแข็งได้ ตามสภาวะ อย่างนั้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า จตฺตาโร เจตสิกา เจตสิกธรรม ๔ ประการ กตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์จัดไว้ สพฺพาปุฺเเสฺวว เฉพาะใน อกุศลจิตทุกดวง (๑๒ ดวง) เท่านั้น ตโย เจตสิกธรรม ๓ ประการ กตา จัดไว้ โลภมูเลเยว เฉพาะในโลภมูลจิต (๘ ดวง) เท่านั้น ยถาสมฺภวํ ตามที่เกิดมีได้ จตฺตาโร เจตสิกธรรม ๔ ประการ กตา จัดไว้ โทสมูเลเสฺวว เฉพาะในโทสมูลจิต (๒ ดวง) เท่านั้น ตถา อนึ่ง ทฺวยํ เจตสิกธรรม ๒ ประการ (กตํ) จัดไว้ สสงฺขาเรเยว เฉพาะในอกุศลจิตที่เป็นสสังขาริก (๕ ดวง) เท่านั้น ฯ จสทฺโท จ ศัพท์ วิจิกิจฺฉาจิตฺเต จาติ ในบทว่า วิจิกิจฺฉาจิตเต จ นี้ อวธารเณ ใช้ใน อรรถอวธารณะ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฉาเจตสิก วิจิกิจฺฉาจิตฺเต จ หาได้เฉพาะในจิตที่สัมปยุตด้วยวิจิกิจฉาเจตสิก (โมหมูลจิต ๑ ดวง) เท่านั้น ฯ โลกุตฺตรจิตฺเตสุ ในโลกุตตรจิต (๘ หรือ ๔๐ ดวง) กทาจิ บางคราว สมฺมาสงฺกปฺปวิรโห สิยา พึงเว้นวิตกเจตสิก ปาทกชฺฌานาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจฌานทีเ่ ป็นบาทเป็นต้น ปน แต่ น วิรตีน อภาโว จะไม่พงึ มีวริ ตั เิ จตสิก (๓ ประการ) ก็หามิได้ มคฺคสฺส กายทุจฺจริตาทีน สมุจฺเฉทวเสน ผลสฺส จ


100

ปริเฉทที่ ๒

ตทนุคุณวเสน ปวตฺตนโต เพราะมรรคจิต (๔ ดวง) เป็นไปด้วยอ�ำนาจตัดทุจริต มีกายทุจริตเป็นต้นได้เด็ดขาด และผลจิต (๔ ดวง) เป็นไปด้วยอ�ำนาจคุณที่คล้อย ตามมรรคจิตนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺต จึงกล่าว วิรติโย ปนาติอาทิ ค�ำว่า วิรติโย ปน ดังนี้เป็นต้น ฯ สพฺพถาปีติ บทว่า สพฺพถาปิ ได้แก่ สพฺเพหิปิ ตตทุจฺจริตวิธมนวสปฺปวตฺเตหิ อากาเรหิ โดยอาการแม้ทงั้ ปวง คือ ทีเ่ ป็นไปด้วยอ�ำนาจก�ำจัดทุจริตนัน้ ๆ ได้ ฯ หิ ความจริง น เอตาส โลกิเยสุ วิย โลกุตฺตเรสุปิ มุสาวาทาทีน วิสํุวิสํุปหานวเสน ปวตฺติ โหติ วิรัติเจตสิก ๓ ประการเหล่านั้น จะเป็นไปแม้ในโลกุตตรจิต (๘ ดวง หรือ ๔๐ ดวง) ด้วยอ�ำนาจละวจีทจุ ริต (๔ ประการ) มีมสุ าวาทเป็นต้นได้แยก ๆ กัน เหมือนในโลกิยจิต (๘๑ ดวง) ก็หามิได้ สพฺเพสเมว ทุจฺจริตทุราชีวาน เตน เตน มคฺเคน เอกกฺขเณ สมุจฉฺ นิ ทฺ นโต เพราะทุจริตและการเลีย้ งชีพผิดทัง้ หมดนัน่ แหละ อันมรรคจิตนัน้ ๆ ตัดขาดได้ในขณะเดียวกัน เกสฺ จิ (ทิฏฺ ว จิ กิ จิ ฉฺ าทีนํ กิเลสานํ) สพฺพโส เกสฺ จิ (กามราคปฏิฆาทีนํ กิเลสานํ) อปายคมนิยาทิอวตฺถาย หานิวเสน ด้วยอ�ำนาจความละกิเลสบางเหล่ามีสักกายทิฏฐิและวิจิกิจฉาเป็นต้น ได้โดยประการทั้งปวง (และ) ด้วยอ�ำนาจการละความสามารถแห่งกิเลสบางเหล่า มีกามราคะและปฏิฆะเป็นต้น ที่เป็นสภาวะยังสัตว์ให้ไปสู่อบายภูมิเป็นต้น ฯ (ปุจฺฉา) ถาม อิติ ว่า จ ก็ อยมตฺโถ เนื้อความนี้ สิทฺโธ ส�ำเร็จแล้ว เอกโตวาติ อิมินาว ด้วยค�ำว่า เอกโต ว นี้แหละ นนุ มิใช่หรือ ฯ (วิสชฺชนา) ตอบ อิติ ว่า ตํ น ข้อนั้นหาเป็นเช่นนั้นไม่ จตุพฺพิธวจีทุจฺจริตาทีน ปฏิปกฺขาการปฺปวตฺติยา อทีปติ ตฺตา เพราะท่านพระอาจารย์ มิได้แสดงความเป็นไปตามอาการ คือความเป็น ข้าศึกต่อวจีทุจริต ๔ ประการเป็นต้น ติสฺสนฺนํ เอกโต วุตฺติปริทีปนมตฺเตน โดยเหตุเพียงแสดงว่า วิรัติเจตสิก ๓ ประการ อยู่ร่วมกัน ฯ ปน ส่วน เกจิ อาจารย์บางพวก อิมมตฺถ อสลฺลกฺเขตฺวาว ยังมิทันพิจารณาเนื้อความนี้เลย สพฺพถาปีติ อิท อติรติ ตฺ นฺติ วทนฺติ ก็พดู ว่า ค�ำว่า สพฺพถาปิ นี้ ไม่มปี ระโยชน์ ฯ ตตฺถ ในค�ำนั้น เตสํ อาณเมว ความไม่รู้ของอาจารย์เหล่านั้นนั่นแหละ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

101

การณํ เป็นเหตุ ฯ นิยตาติ อิมินา ด้วยบทว่า นิยตา นี้ (อนุรุทฺโธ) ท่าน พระอนุรุทธาจารย์ นิวาเรติ ย่อมห้าม กทาจิ สมฺภวํ วิรัติเจตสิกเกิดมีในกาล บางคราว (โลกุตตฺ รจิตเฺ ตสุ ในโลกุตตรจิต ๘ ดวงหรือ ๔๐ ดวง) โลกิเยสุ วิย เหมือนในโลกิยจิต (๘๑ ดวง) ฉะนัน้ ฯ ตถาหิ จริงอย่างนัน้ เอตา วิรตั เิ จตสิก ๓ ประการเหล่ า นี้ (ภควตา) พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า เทสิ ต า ทรงแสดงไว้ โลกิเยสุ ในโลกิยจิต (๘ ดวง หรือ ๔๐ ดวง) เยวาปนกวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็น เยวาปนกเจตสิก ปน ส่วน อิธ ในโลกุตตรจิตจิต (๘ ดวง หรือ ๔๐ ดวง) นี้ (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า เทสิตา ทรงแสดงไว้ สรูเปเนว ตามสภาวะ นั่นแหละ ฯ อวธารเณน ด้วยบทอวธาณะ กามาวจรกุสเลเสฺววาติ ในค�ำว่า กามาวจรกุสเลเสฺวว นี้ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ นิวาเรติ ย่อมห้าม กามาวจรวิปากกฺริยาสุ มหคฺคเตสุ จ สมฺภว วิรัติเจตสิก ๓ ประการเหล่านั้น เกิดมีในกามาวจรวิบากจิต (๘ ดวง) กามาวจรกิรยิ าจิต (๘ ดวง) และในมหัคคตจิต (๒๗ ดวง) ฯ จ ก็ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วกฺขติ จักกล่าว ตถา เอว ตามอาการนั่นแหละ อุปริ ไว้ข้างหน้า ฯ กทาจีติ บทว่า กทาจิ ได้แก่ มุสาวาทาทิเอเกกทุจฺจริเตหิ วิรมณกาเล ในเวลาเว้นจากทุจริตแต่ละอย่างมี มุสาวาทเป็นต้น ฯ (วิรติโย) ก็ วิรัติเจตสิก ๓ ประการเหล่านั้น อุปฺปชฺชนฺตาปิ แม้เกิดขึ้นอยู่ กทาจิ ในกาลบางคราว น เอกโต อุปฺปชฺชนฺติ ก็ไม่เกิดขึ้น พร้อมกัน วีติกฺกมิตพฺพวตฺถุสงฺขาตานํ อตฺตโน อาลมฺพนาน สมฺภวาเปกฺขตฺตา เพราะเพ่งถึงความเกิดแห่งอารมณ์ของตน กล่าวคือวัตถุที่จะพึงล่วงละเมิด อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺต จึงกล่าว วิสุํ วิสุํ อิติ ว่า วิสุํ วิสุํ ดังนี้ ฯ อปฺปนาปฺปตฺตานํ อปฺปมฺ านํ อัปปมัญญาเจตสิกที่ถึงอัปปนาแล้ว น กทาจิ โสมนสฺสรหิตา ปวตฺติ อตฺถิ ย่อมไม่มี ความเป็นไปอันปราศจาก โสมนัสเวทนาในกาลบางคราว อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวค�ำ ปฺ จม ฯเปฯ จิตเฺ ตสูติ ว่า ปญฺจมชฺฌานวชฺชติ มหคฺคตติตเฺ ตสุ ดังนี้ ฯ


102

ปริเฉทที่ ๒

มหคฺ ค ตานิ จิ ต ทั้ ง หลายที่ ชื่ อ ว่ า มหั ค คตะ วิ นี ว รณาทิ ต าย มหตฺ ต  คตานิ มหนฺเตหิ วา ฌายีหิ คตานิ ปวตฺตานีติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ถึงความเป็นใหญ่ เพราะเป็นจิตปราศจากนิวรณ์ธรรมเป็นต้น หรืออันผู้ได้ฌานทั้งหลายซึ่งเป็นผู้ใหญ่ ถึงแล้ว คือบรรลุแล้ว ฯ นานา หุตฺวาติ สองบทว่า นานา หุตฺวา ความว่า (อปฺปมญฺาโย) อัปปมัญญาเจตสิก วิสุํ วิสุํ หุตฺวา (ชายนฺติ) ย่อมมีแยก ๆ กัน อตฺตโน อาลมฺพนภูตานํ ทุกฺขิตสุขิตสตฺตานํ อาปาถคมนาเปกฺขาย โดยเพ่งถึง เหล่าสัตว์ผู้ได้รับความทุกข์ หรือได้รับความสุข ที่เป็นอารมณ์ของตนมาปรากฏ ภินฺนาลมฺพนตฺตา เพราะกรุณาเจตสิกและมุทิตาเจตสิกมีอารมณ์ต่าง ๆ กัน ฯ เอตฺถาติ บทว่า เอตฺถ อิเมสุ กามาวจรจิตฺเตสุ ได้แก่ บรรดากามาวจรจิต (กามาวจรกุศลจิต ๘ ดวง และกามาวจรกิรยิ าจิตทีเ่ ป็นสเหตุกะ ๘ ดวง) เหล่านี้ ฯ ปริกมฺมํ การบริกรรม อุเปกฺขาสหคตจิตเฺ ตหิปิ แม้ดว้ ยจิตทีส่ หรคตด้วยอุเบกขาเวทนา อปฺปนาวีถิโต ปุพฺเพ ปริจยวเสน ด้วยอ�ำนาจความเคยชินในกาลก่อนแต่วิถีแห่ง อัปปนา โหติ ย่อมมีได้ กรุณามุทิตาภาวนากาเล ในเวลาเจริญกรุณาเจตสิกและ มุทติ าเจตสิก ยถาต ปคุณคนฺถ สชฺฌายนฺตสฺส กทาจิ อฺ าวิหติ สฺสาปิ สชฺฌายนํ ดุจคนที่สวดคัมภีร์ที่ช�ำนาญ บางคราว แม้จะส่งจิตไปในอารมณ์อื่น ก็ยังสวดได้ จ และ ยถา ปคุณวิปสฺสนาย สงฺขาเร สมฺมสนฺตสฺส กทาจิ ปริจยพเลน าณวิ ปฺ ป ยุ ตฺ ต จิ ตฺ เ ตหิ ป ิ สมฺ ม สนํ ดุ จ พระโยคาวจรผู ้ พิ จ ารณาสั ง ขารธรรม ด้วยวิปัสสนาที่คล่องแคล่ว บางคราว ก็พิจารณาได้ ด้วยจิตที่เป็นาณวิปปยุต (ไม่ประกอบด้วยปัญญา) ด้วยก�ำลังแห่งความเคยชิน ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น อุเปกฺขาสหคตกามาวจเรสุ กรุณามุทติ านํ อสมฺภววาโท วาทะทีว่ า่ กรุณาเจตสิก และมุ ทิ ต าเจตสิ ก ไม่ เ กิ ด มี ใ นกามาวจรจิ ต ที่ ส หรคตด้ ว ยอุ บ กขาเวทนา กโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงแต่งไว้ อิติ ว่า เกจิวาโท เป็นเกจิวาทะ ฯ ปน แต่ ทฏฺพฺโพ บัณฑิต พึงเห็น อปฺปนาวีถิยํ ตาส เอกนฺตโต โสมนสฺสสหคเตเสฺวว สมฺภโว กรุณาเจตสิกและมุทิตาเจตสิกทั้ง ๒ ประการเหล่านั้นเกิดมี เฉพาะใน กามาวจรจิต ที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา โดยส่วนเดียวในวิถีแห่งอัปปนา


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

103

ภินฺนเวทนสฺสาปิ อาเสวนปจฺจยาภาวโต เพราะจิตแม้ที่มีเวทนาต่างกัน ไม่มี อาเสวนปัจจัย ภินฺนชาติกสฺส วิย ดุจจิตที่มีชาติต่างกัน ฉะนั้น ฯ ตโย โสฬสจิตฺเตสูติ บาทคาถาว่า ตโย โสฬสจิตฺเตสุ เป็นต้น ความว่า สมฺมาวาจาทโย ตโย ธมฺมา เจตสิกธรรม ๓ ประการมีสัมมาวาจาเป็นต้น ชายนฺติ ย่อมเกิด อฏฺโลกุตฺตรกามาวจรกุสลวเสน โสฬสจิตฺเตสุ ในจิต ๑๖ คือ โลกุตตรจิต ๘ ดวง และกามาวจรกุศลจิต ๘ ดวง ฯ (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ทสฺเสตฺวา ครั้นแสดง นิยตานิยตสมฺปโยควเสน วุตฺเตสุ อนิยตธมฺเม อนิยตธรรมในบรรดาเจตสิกธรรมทีก่ ล่าวไว้ ด้วยอ�ำนาจแห่งเจตสิกธรรม ที่มีการประกอบแน่นอน และการประกอบไม่แน่นอน เอกโต รวมกัน เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้แล้ว เสสาน นียตภาว ทีเปตุ เพื่อจะแสดงว่า เจตสิกธรรม ทีเ่ หลือเป็นธรรมทีม่ กี ารประกอบแน่นอน อิสสฺ ามจฺเฉราติอาทิ วุตตฺ ํ จึงกล่าวค�ำว่า อิสฺสามจฺเฉรา ดังนี้เป็นต้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า อิสฺสา ฯ เป ฯ กรุณาทโย อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิกกุกกุจจจเจตสิก วิรัติเจตสิก และ อัปปมัญญาเจตสิกมีกรุณาเจตสิก เป็นต้น กทาจิ บางคราว นานา หุตวฺ า ชายนฺติ ก็เกิดแยกกัน จ ส่วน มาโน มานเจตสิก ชายติ ย่อมเกิด กทาจิ ในกาลบางคราว เสยฺโยหมสฺมีติอาทิวสปฺปวตฺติยํ คือในเวลาเป็นไปด้วยอ�ำนาจถือตัวว่า เราเป็น ผูป้ ระเสริฐกว่า ดังนีเ้ ป็นต้น ถีนมิทธฺ  ถีนเจตสิกและมิทธเจตสิก ตถา ก็เหมือนกัน กทาจิ อกมฺมฺ วสปฺปวตฺติย สห อฺ มฺ  อวิปฺปโยควเสน ชายติ คือ ย่อมเกิดร่วมกัน คือด้วยอ�ำนาจไม่แยกกันและกันในกาลบางคราว คือในคราวที่ เป็นไปด้วยอ�ำนาจที่จิตไม่ควรแก่การงาน ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง (ปณฺฑิเตน) บัณฑิต โยเชตฺวา พึงประกอบ มาโน จาติ เอตฺถ จสทฺท จ ศัพท์ในค�ำว่า มาโน จ นี้ สหาติ เอตฺถาปิ เข้าแม้ในค�ำว่า สห นี้ โยชนา ทฏฺพฺพา แล้วพึงเห็น วาจาประกอบความ อิ ติ ว่ า ถี น มิ ทฺ ธํ ถี น เจตสิ ก และมิ ท ธเจตสิ ก ชายติ ย่อมเกิด สห ร่วมกัน จ สสงฺขาริกปฏิเฆ ทิฏฺวิ ิปฺปยุตฺตสสงฺขาริเกสุ จ อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺเจหิ มาเนน จ สทฺธึ คือร่วมกับอิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก


104

ปริเฉทที่ ๒

และกุกกุจจเจตสิกในปฏิฆจิตทีเ่ ป็นสสังขาริก (คือ โทสมูลจิตทีเ่ ป็นสสังขาริก ๑ ดวง) และร่วมกับมานเจตสิกในสสังขาริกจิตทีเ่ ป็นทิฏฐิวปิ ปยุตทัง้ หลาย (คือ โลภมูลจิตทีเ่ ป็น ทิฏฐิวปิ ปยุตซึง่ เป็นสสังขาริก ๒ ดวง) กทาจิ ในกาลบางคราว จ และ นานา ชายติ ย่อมเกิดแยกกัน กทาจิ ในกาลบางคราว ตทีตรสสงฺขาริกจิตฺตสมฺปโยคกาเล ตสมฺปโยคกาเลปิ วา คือในกาลทีป่ ระกอบกับจิตทีเ่ ป็นสสังขาริกนอกจากโทสมูลจิต ทีเ่ ป็นสสังขาริก (๑ ดวง) และโลภมูลจิตทีเ่ ป็นทิฏฐิวปิ ปยุตซึง่ เป็นสสังขาริก (๒ ดวง) นัน้ หรือแม้ในกาลทีป่ ระกอบกับโทสมูลจิตทีเ่ ป็นสสังขาริก (๑ ดวง) และโลภมูลจิต ที่เป็นทิฏฐิวิปปยุตซึ่งเป็นสสังขาริก (๒ ดวง) นั้น ฯ ปน ส่วน อปเร อาจริยา อาจารย์อีกพวกหนึ่ง สมฺปโยเชสุ ประกอบ เอตฺตกเมว ถ้อยค�ำไว้เพียงเท่านี้ อิติ ว่า มาโน จ ถีนมิทฺธฺ จ ตถา กทาจิ นานา หุตฺวา กทาจิ สห จ ชายติ มานเจตสิก ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก ก็เหมือนกัน คือ บางคราวก็เกิดแยกกัน และบางคราวก็เกิดร่วมกัน ฯ เสสาติ บทว่า เสสา ความว่า ยถาวุตเฺ ตหิ เอกาทสหิ อนิยเตหิ อิตเร เอกจตฺตาฬีส เจตสิกธรรม ๔๑ ประการ นอกจากอนิยตเจตสิกธรรม ๑๑ ประการ ตามที่กล่าวแล้ว ฯ ปน ส่วน เกจิ อาจารย์บางพวก วณฺเณนฺติ พรรณนา อิติ ว่า ยถาวุตเฺ ตหิ อนิยตเยวาปนเกหิ เสสา เจตสิกธรรมทีเ่ หลือจาก อนิยตเยวาปนกเจตสิกธรรม ตามทีก่ ล่าวแล้ว นิยตเยวาปนกา เป็นนิยตเยวาปนกเจตสิกธรรม ฯ ตํ ค�ำนัน้ มติมตฺตํ เป็นเพียงมติ เตสํ ของอาจารย์พวกนัน้ ปน ก็ อิธ เยวาปนกนาเมน เกสจิ อนุทฺธฏตฺตา เพราะในที่นี้ท่านพระอนุรุทธาจารย์ มิได้ยกเจตสิกธรรมบางเหล่าขึ้นแสดงไว้ โดยชื่อว่าเยวาปนกเจตสิกธรรม ฯ หิ ความจริง เอตฺถ ในที่นี้ อาจริเยน ท่านอาจารย์ กตํ กระท�ำ นิยตานิยตวเสน จิตตฺ ปุ ปฺ าเทสุ ยถารห ลพฺภมานเจตสิกมตฺตสนฺทสฺสนํ การชีแ้ จงเพียงเจตสิกธรรม ทีจ่ ะได้ตามสมควร ในจิตตุปบาททัง้ หลาย ตามสมควรด้วยอ�ำนาจนิยตเจตสิกธรรม (เจตสิกธรรมที่ประกอบแน่นอน) และอนิยตเจตสิกธรรม (เจตสิกธรรมที่ประกอบ ไม่แน่นอน) เกวลํ อย่างเดียว น เยวาปนกนาเมน เกจิ อุทธฺ ฏา มิได้ยกเจตสิกธรรม บางเหล่าขึ้นแสดงไว้ โดยชื่อว่า เยวาปนกเจตสิกธรรม อิติ แล ฯ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

105

(อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ทสฺเสตฺวา ครั้นแสดง สมฺปโยคํ การประกอบเจตสิกธรรม จิตฺตปริจฺเฉทวเสน ด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดจิต อิติ ว่า ผสฺสาทีสุ อย ธมฺโม บรรดาเจตสิกธรรมมีผัสสเจตสิกธรรมเป็นต้น ธรรม (เจตสิกธรรม) นี้ อุปลพฺภติ ย่อมหาได้แน่นอน เอตฺตเกสุ จิตฺเตสุ ในจิตมี ประมาณเท่านี้ เอว ตาว ดังพรรณนามาฉะนี้ก่อนแล้ว อิทานิ บัดนี้ ทสฺเสตุ  หวังจะแสดง สงฺคหํ การรวบรวม (เจตสิกธรรม) เจตสิกราสิปริจฺเฉทวเสน ด้วย อ�ำนาจการก�ำหนดหมวดเจตสิกธรรม อิติ ว่า เอตฺตกา เจตสิกา เจตสิกธรรม มี ป ระมาณเท่ า นี้ ย ่ อ มหาได้ แ น่ น อน อิ ม สฺ มึ จิ ตฺ ตุ ปฺ ป าเท ในจิ ต ตุ ป บาทนี้ สงฺคหฺ จาติอาทิ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า สงฺคหญฺจ ดังนี้เป็นต้น ฯ ฉตฺตึสาติอาทิ ค�ำว่า ฉตฺตึส ดังนี้เป็นต้น สงฺคโห เป็นการรวบรวม ตตฺถ ตตฺถ ยถารหํ ลพฺภมานกธมฺมวเสน คณนวเสน ด้วยอ�ำนาจจ�ำนวน คือ ธรรมที่จะหาได้อยู่ ในจิตนั้น ๆ ตามสมควร ฯ ปมชฺฌานิกจิตฺตานิ ที่ชื่อว่า ปฐมัชฌานิกจิต ปมชฺฌาเน นิยุตฺตานิ จิตฺตานิ ต วา เอเตส อตฺถีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า จิตประกอบในปฐมฌาน หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า จิตเหล่านี้มีปฐมฌานนั้น ฯ อปฺปมฺ าน สตฺตารมฺมณตฺตา เพราะอัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) มีสัตว์ เป็นอารมณ์ โลกุตฺตรานฺ จ นิพฺพานารมฺมณตฺตา และเพราะโลกุตตรจิต (๘ ดวง) มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ อปฺปมฺ าวชฺชติ าติ จึงกล่าวค�ำว่า โสภณเจตสิก ๒๓ ประการ เว้นอัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) ฯ ตถาติ อิมินา ด้วยศัพท์ว่า ตถา นี้ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อากฑฺฒติ ย่อมชักความมา อิติ ว่า อฺ สมานา อัญญสมานเจตสิก (๑๓ ประการ) อปฺปมฺ าวชฺชิตโสภณเจตสิกา จ และ โสภณเจตสิก (๒๓ ประการ) ซึ่งเว้นอัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ การรวมเข้า (ด้วยกัน) ฯ อุเปกฺขาสหคตาติ ค�ำว่า อุเปกฺขาสหคตา ความว่า (เตตฺตึส ธมฺมา) ธรรม ๓๓ ประการ วิตกฺกวิจารปีติสุขวชฺชา เว้น วิตก วิจาร ปีติ (และ) สุข สุขฏฺานํ ปวิฏฺุเปกฺขาย สหคตา สหรคตด้วย


106

ปริเฉทที่ ๒

อุเบกขา ซึง่ เข้าไปแทนทีส่ ขุ ฯ ปฺ จกชฺฌานวเสนาติ ในบทว่า ปญฺจกชฺฌานวเสน อธิปฺปาโย มีอธิบายความ อิติ ว่า ฌานปฺ จกสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจฌาน ๕ หมวด วิตกฺกวิจาเร วิสุํ วิสุํ อติกฺกมิตฺวา ภาเวนฺตสฺส นาติติกฺขาณสฺส วเสน เทสิตสฺส ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้วด้วยอ�ำนาจพระโยคาวจรผู้มี ฌานไม่กล้านัก เจริญฌานล่วงวิตกและวิจารไปทีละอย่าง ฯ ปน แต่ เต เอกโต อติกฺกมิตฺวา ภาเวนฺตสฺส ติกฺขาณสฺส วเสน เทสิตจตุตฺถชฺฌานวเสน ด้วย อ�ำนาจฌาน ๔ หมวด ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ด้วยอ�ำนาจพระโยคาวจร ผู้มีฌานแก่กล้า เจริญฌานล่วงวิตกและวิจารเหล่านั้นไปพร้อมกัน สงฺคโห โหติ ย่อมมีการรวบรวม (เจตสิกธรรม) ได้ จตุธาว ๔ หมวดเท่านั้น ทุติยชฺฌานิเกสุ วิตกฺกวิจารวชฺชิตานํ สมฺภวโต เพราะเจตสิกธรรม ๓๔ ประการเว้นวิตกและ วิจารเสียเกิดมีในทุติยฌานิกจิต ฯ เตตฺตึสทฺวยํ เจตสิกธรรม ๓๓ ประการ ทั้ง ๒ หมวด (ลพฺภติ) ย่อมหาได้ จตุตถฺ ปฺ จมชฺฌานจิตเฺ ตสุ ในจตุตถฌานจิตและ ปัญจมฌานจิต ฯ ตีสตู ิ บทว่า ตีสุ ได้แก่ (ปมชฺฌานิกจิตเฺ ตสุ) ในปฐมฌานิกจิต ติวิเธสุ ๓ ดวง กุสลวิปากกฺริยาวเสน คือ กุศลจิต วิบากจิต และกิริยาจิต ฯ สุวิโสธิตกายวจีปโยคสฺส ส�ำหรับพระโยคาวจรผู้มีกายปโยคและวจีปโยคอันช�ำระ หมดจดดีแล้ว สีลวิสทุ ธฺ วิ เสน ด้วยอ�ำนาจสีลวิสทุ ธิ มหคฺคตชฺฌานานิ มหัคคตฌาน ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป เกวลํ จิตฺตสมาธานมตฺเตน ด้วยเหตุเพียงจิตตั้งมั่น อย่างเดียว ปน แต่ น (ปวตฺตนฺติ) หาเป็นไป กายวจีกมฺมานํ วิโสธนวเสน ด้วยอ�ำนาจการช�ำระกายกรรมและวจีกรรมให้หมดจดไม่ นาปิ (ปวตฺตนฺติ) ทั้งจะเป็นไป ทุจฺจริตทุราชีวานํ สมุจฺฉินฺทนวเสน ด้วยอ�ำนาจการตัดทุจริต และการเลี้ยงชีพผิดได้เด็ดขาด ก็หามิได้ อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า วิรติวชฺชาติ เวันวิรติเจตสิก ฯ ปจฺเจก เมวาติ บทว่า ปจฺเจกเมว ได้แก่ วิสุํ วิสุํ เอว แยก ๆ กันนั่นเอง ฯ ปณฺณรสสูติ บทว่า ปณฺณรสสุ ความว่า (ปญฺจมชฺฌานิกจิตฺเตสุ) ในปัญจมัชฌานิกจิต ปณฺณรสสุ ๑๕ ดวง อิติ คือ รูปาวจรวเสน ตีสุ ด้วยอ�ำนาจรูปาวจรฌาน ๓ ดวง


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

107

อารุปฺปวเสน ทฺวาทสสุ ด้วยอ�ำนาจอรูปาวจรฌาน ๑๒ ดวง ฯ (อปฺปมญฺาโย น ลพฺภนฺตีติ) เอตฺถ ในค�ำว่า ย่อมไม่ได้อัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) นี้ (มยา) ข้าพเจ้า การณ วุตฺตเมว ได้กล่าวเหตุไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ฯ ปจฺเจกเมวาติ บทว่า ปจฺเจกเมว ได้แก่ เอเกกาเยว แต่ละอย่างเท่านั้น ฯ หิ ความจริ ง อปฺ ป มฺ านํ สตฺ ต ารมฺ ม ณตฺ ต า เพราะอั ป ปมั ญ ญาเจตสิ ก (๒ ประการ) มีสัตว์เป็นอารมณ์ วิรตีนฺ จ วีติกฺกมิตพฺพวตฺถุวิสยตฺตา และ เพราะวิรัติเจตสิก (๓ ประการ) มีวัตถุที่จะพึงล่วงละเมิดเป็นอารมณ์ นตฺถิ ตาสมฺปิ เอกจิตฺตุปฺปาเท สมฺภโว อัปปมัญญาเจตสิก และวิรัติเจตสิกแม้เหล่านั้น จึงไม่เกิดในจิตตุปบาทเดียวกัน อิติ แล ฯ โลกิยวิรตีน เอกนฺตกุสลสภาวตฺตา เพราะวิรัติเจตสิกฝ่ายโลกิยะทั้งหลายมีสภาวะเป็นกุศลโดยส่วนเดียว นตฺถิ อพฺยากเตสุ สมฺภโวโลกิย วิรัติเหล่านั้นจึงไม่เกิดในกิริยาจิตและวิบากจิตทั้งหลาย ที่เป็นอัพยากฤต อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺต จึงกล่าวค�ำ วิรติวชฺชิตาติ ว่า วิรติวชฺชิตา ดังนี้ ฯ เตนาห เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ปฺ จ สิกฺขาปทา กุสลาเยวาติ สิกขาบท ๕ ล้วนเป็นกุศลทั้งนั้น ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ (ภควา) พระผู้มีพระภาคเจ้า วเทยฺย พึงตรัสว่า สทฺธาสติอาทโย วิย สิยา กุสลา สิยา อพฺยากตาติ โลกิยวิรัติทั้งหลาย พึงเป็นกุศลก็มี พึงเป็นอัพยากฤตก็มี เหมือนกับ สัทธาเจตสิกและสติเจตสิกเป็นต้น ฉะนัน้ ฯ ปน ก็ ผลสฺส มคฺคปฏิพมิ พฺ ภูตตฺตา เพราะผลจิตเป็นธรรมชาตเหมือนกับมรรคจิต ทุจจฺ ริตทุราชีวานํ ปฏิปปฺ สฺสมฺภนโต จ และเพราะผลจิตเป็นเครือ่ งระงับทุจริตและการเลีย้ งชีพผิดทัง้ หลาย โลกุตตฺ รวิรตีน เอกนฺตกุสลตา ภาวะที่โลกุตตรวิรัติทั้งหลาย เป็นกุศลโดยส่วนเดียว น ยุตฺตา จึงไม่ถูก อิติ เพราะเหตุนั้น ท่านพระอรรถกถาจารย์ ตาส ตตฺถ อคหณํ จึงไม่ ระบุถึงโลกุตตรวิรัติเหล่านั้นไว้ ในสิกขาบทวิภังค์นั้น ฯ กามาวจรวิปากานํ เอกนฺตปริตฺตารมฺมณตฺตา เพราะกามาวจรวิบากจิต (๘ ดวง) มีอารมณ์ที่เป็น กามาวจรโดยส่วนเดียว อปฺปมฺ านํ สตฺตารมฺมณตา เพราะอัปปมัญญาเจตสิก


108

ปริเฉทที่ ๒

(๒ ประการ) มีสัตว์เป็นอารมณ์ จ และ วิรตีนมฺปิ เอกนฺตกุสลตฺตา แม้เพราะ วิรตั เิ จตสิก (๓ ประการ) เป็นกุศลโดยส่วนเดียว (อนุรทุ เฺ ธน) ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า อปฺปมฺ า วิรติวชฺชิตาติ อปฺปมญฺญาวิรติวชฺชิตา ดังนี้ ฯ (โจทนา) ถาม อิติ ว่า กามาวจรกุสลํ กามาวจรกุศลจิต ปฺ ตฺตาทิอารมฺมณมฺปิ แม้ที่มีบัญญัติเป็นต้นอารมณ์ จ โหติ ก็มีได้ นนุ มิใช่หรือ อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส วิปาเกนปิ แม้วบิ ากจิตของกามาวจรกุศลจิตนัน้ กุสลสทิสารมฺมเณน ภวิตพฺพํ ก็พึงมีอารมณ์เหมือนกับกุศลจิต ยถาตํ มหคฺคตโลกุตฺตรวิปาเกหิ เปรียบเหมือน มหัคคตวิบากจิตและโลกุตตรวิบากจิตทัง้ หลาย ฉะนัน้ ฯ (วิสชฺชนา) ตอบ อิติ ว่า อิทํ (กามาวจรวิปากํ) กามาวจรวิบากจิตนี้ น เอวํ (โหติ) หาเป็นเช่นนั้นไม่ กามตณฺหาธีนสฺส (กามสฺส) ผลภูตตฺตา เพราะเป็นผลของกามซึ่งเนื่องกับ กามตัณหา ฯ ยถา หิ ทาสิยา ปุตฺโต มาตรา อิจฺฉิตํ กาตุํ อสกฺโกนฺโต สามิเกนเยว อิจฺฉิติจฺฉิตํ กโรติ เปรียบเหมือน ลูกชายของหญิงรับใช้ ไม่สามารถ จะกระท�ำสิ่งที่มารดาต้องการได้ ท�ำสิ่งที่เจ้านายเท่านั้นต้องการแล้ว ๆ ฉันใด เอว กามตณฺหายตฺตตาย ทาสีสทิสสฺส กามาวจรกมฺมสฺส วิปากภูต จิตฺต เตน คหิตารมฺมณ อคเหตฺวา กามตณฺหารมฺมณเมว คณฺหาติ จิตที่เป็นวิบากแห่ง กามาวจรกรรม ซึ่งเหมือนกับหญิงรับใช้ เพราะเนื่องกับกามตัณหา ก็ไม่รับอารมณ์ ที่ กามาวจรกรรมนั้นรับมาแล้ว ย่อ มรั บเฉพาะอารมณ์ ข องกามตั ณ หาเท่ านั้ น ฉันนั้น ฯ ทฺวาทสธาติ บทว่า ทฺวาทสธา ความว่า (สงฺคโห โหติ) ทฺวาทสธา โดยมีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๑๒ หมวด (จิตฺเตสุ) ตีสุ ในจิต ๓ ประเภท กตฺวา เพราะอธิบายความ อิติ ว่า กุสลวิปากกฺริยาเภเทสุ ปจฺเจก จตฺตาโร จตฺตาโร ทฺวิกา ในประเภทแห่งกุศลจิต วิบากจิต และกริยาจิต มีการสงเคราะห์ เป็นคู่ ประเภทละ ๔ คู่ ฯ อิทานิ บัดนี้ (อนุรทุ เฺ ธน) ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ อิเมสุ ปมชฺฌานิกาทีหิ ทุตยิ ชฺฌานิกาทีนํ เภทกรธมฺเม ทสฺเสตุํ หวังจะแสดงธรรม (เจตสิกธรรม) ซึง่ ท�ำ จิตทั้งหลายมีทุติยฌานิกจิตเป็นต้น ให้ต่างจากจิตทั้งหลายมีปฐมฌานิกจิตเป็นต้น


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

109

ในบรรดาเจตสิกธรรมเหล่านี้ อนุตฺตเร ฌานธมฺมาติอาทิ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า อนุตฺตเร ฌานธมฺมา ดังนี้เป็นต้น ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า อนุตฺตเร จิตฺเต ในโลกุตตรจิต (๘ หรือ ๔๐ ดวง) วิตกฺกวิจารปีติสุขวเสน ฌานธมฺมา มีฌานธรรม คือ วิตก วิจาร ปีติ และสุข วิเสสกา ท�ำให้แปลกกัน เภทกา คือ ท�ำให้ต่างกัน ฯ มชฺฌิเม ในมัชฌิมจิต มหคฺคเต คือในมหัคคตจิต (๒๗ ดวง) อปฺปมฺ า จ ฌานธมฺมา จ มีอัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) และฌานธรรม ทั้งหลาย วิเสสกา ท�ำให้แปลกกัน ปริตฺเตสุ ในปริตตจิตทั้งหลาย กามาวจเรสุ คือ ในกามาวจรจิต (๔๕ ดวง) วิรติาณปีติ จ อปฺปมฺ า จ มีวิรัติเจตสิก (๓ ประการ) ปัญญินทรียเ์ จตสิก ปีตเิ จตสิก และอัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) วิเสสกา ท�ำให้แปลกกัน ฯ ตตฺถ บรรดาเจตสิกธรรมเหล่านัน้ วิรติ วิรตั เิ จตสิก (๓ ประการ) กุสเลหิ วิปากกฺริยานํ วิเสสกา ท�ำวิบากจิตและกิริยาจิตทั้งหลาย ให้แปลกจากกุศลจิตทั้งหลาย อปฺปมฺ า อัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) กุสลกฺริยาหิ วิปากาน วิเสสกา ท�ำวิบากจิตทั้งหลายให้แปลกจากกุศลจิต และกิริยาจิตทั้งหลาย ปน ส่วน าณปีติ ปัญญินทรีย์เจตสิกและปีติเจตสิก ตีสุ (กุสลวิปากกิริยาจิตฺเตสุ) ปมยุคลาทีหิ ทุติยยุคลาทีนํ วิเสสกา ท�ำ กามาวจรโสภณจิตคู่ที่ ๒ เป็นต้น ให้แปลกจากกามาวจรโสภณจิตคู่ที่ ๑ เป็นต้น ในบรรดากุศลจิต วิบากจิต และกิริยาจิต ๓ ประเภท ฯ ทุติเย อสงฺขาริเกติ สองบทว่า ทุติเย อสงฺขาริเก สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า อฺ สมานา อัญญสมานาเจตสิก (๑๓ ประการ) อกุสลสาธารณา จ และอกุศลสาธารณเจตสิก (๔ ประการ) โลภมาเนน รวมกับโลภเจตสิกและมานเจตสิก เอกูนวีสติธมฺมา เป็นธรรม ๑๙ ประการ ตเถว ก็เหมือนกัน (สงฺคหํ คจฺฉนฺติ) คือ ย่อมถึง การรวมเข้า ทิฏฺวิ ิปฺปยุตฺเต อสงฺขาริเก ในโลภมูลจิตที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ซึง่ เป็นอสังขาริก ฯ ตติเยติ บทว่า ตติเย ได้แก่ อุเปกฺขาสหคตทิฏฺ คิ ตสมฺปยุตเฺ ต อสงฺขาริเก ในโลภมูลจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเป็นทิฏฐิสัมปยุตซึ่งเป็น อสังขาริก ฯ จตุตฺเถติ บทว่า จตุตฺเถ ได้แก่ ทิฏฺวิ ิปฺปยุตฺเต อสงฺขาริเก


110

ปริเฉทที่ ๒

ในโลภมูลจิตทีเ่ ป็นทิฏฐิวปิ ปยุตซึง่ เป็นอสังขาริก ฯ อธิปปฺ าโย อธิบายความ อิติ ว่า ปน ก็ (ปณฺฑิเตน) บัณฑิต โยเชตพฺพานิ พึงประกอบ อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจานิ อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก (ปจฺเจกเมว) แต่ละประการ เท่ า นั้ น (เอตฺ ถ ) เข้ า ในโทสมู ล จิ ต ที่ เ ป็ น ปฏิ ฆ สั ม ปยุ ต ซึ่ ง เป็ น อสั ง ขาริ ก นี้ ภินฺนาลมฺพนตฺตาเยว เพราะเจตสิกธรรมเหล่านั้นมีอารมณ์ต่างกันนั่นเอง ฯ อธิโมกฺขสฺส นิจฺฉยาการปฺปวตฺติโย เพราะอธิโมกข์เจตสิก เป็นไปโดยอาการที่ ตกลงใจแน่นอน เทฺวฬฺหกสภาเว วิจิกิจฺฉาจิตฺเต สมฺภโว นตฺถิ อธิโมกข์เจตสิก นั้น จึงไม่เกิดมีในจิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเจตสิก ซึ่งมีสภาวะเป็น ๒ ฝ่าย อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำ อธิโมกฺขวิรหิตาติ ว่าอธิโมกฺขวิรหิตา ดังนี้ ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า อกุสเล ในอกุศลจิต (๑๒ ดวง) (ธมฺมา) มีเจตสิกธรรมทั้งหลาย สตฺตธา ิตา ด�ำรงอยู่โดย ๗ หมวด เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ เอกูนวีสติ (ธมฺมา) ปมทุตยิ อสงฺขาริเกสุ (ตา) ในโลภมูลจิต ที่เป็นอสังขาริกดวงที่ ๑ และดวงที่ ๒ มีเจตสิกธรรมดวงละ ๑๙ ประการ หมวด ๑ อฏฺารส (ธมฺมา) ตติยจตุตฺถอสงฺขาริเกสุ (ตา) ในโลภมูลจิตที่เป็น อสังขาริกดวงที่ ๓ และดวงที่ ๔ มีเจตสิกธรรมดวงละ ๑๘ ประการ หมวด ๑ วีส (ธมฺมา) ปฺ จเม อสงฺขาริเก (ตา) ในโทสมูลจิตที่เป็นอสังขาริกดวงที่ ๕ มีเจตสิกธรรมดวงละ ๒๐ ประการ หมวด ๑ เอกวีส (ธมฺมา) ปมทุตยิ สสงฺขาริเกสุ (ตา) ในโลภมูลจิตที่เป็นสสังขาริกดวงที่ ๑ และดวงที่ ๒ มีเจตสิกธรรม ดวงละ ๒๑ ประการ หมวด ๑ วีสติ (ธมฺมา) ตติยจตุตฺถสสงฺขาริเกสุ (ตา) ในโลภมูลจิตที่เป็นสสังขาริกดวงที่ ๓ และดวงที่ ๔ มีเจตสิกธรรมดวงละ ๒๐ ประการ หมวด ๑ ทฺวาวีส (ธมฺมา) ปฺ จเม สสงฺขาริเก (ตา) ในโทสมูลจิต ทีเ่ ป็นสสังขาริกดวงที่ ๕ มีเจตสิกธรรมดวงละ ๒๒ ประการ หมวด ๑ ปณฺณรส (ธมฺมา) โมมูหทฺวเย (ิตา) ในโมหมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกธรรมดวงละ ๑๕ ประการ หมวด ๑ ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า เอเต จุททฺ ส ธมฺมา ธรรม


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล

111

(คือ เจตสิกธรรม) ๑๔ ประการเหล่านี้ อิติ คือ สาธารณา อกุสลาน สพฺเพสเมว สาธารณภูตา จตฺตาโร (ธมฺมา) เจตสิกธรรม ที่มีทั่วไป ได้แก่ ซึ่งเป็นสภาวะที่มี ทั่วไปแก่อกุศลจิตครบทุกดวง ๔ ประการ สมานา จ ฉนฺทปีติอธิโมกฺขวชฺชิตา อฺ สมานา อปเร ทสา (ธมฺมา) และเจตสิกธรรมที่มีเสมอกัน คือ มีเสมอกับ ธรรมอื่น เว้นฉันทเจตสิก ปีติเจตสิก และอธิโมกข์เจตสิกอื่นอีก ๑๐ ประการ (ปณฺฑิเตน) บัณฑิต ปวุจฺจนฺติ กล่าวว่า สพฺพากุสลโยคิโนติ เป็นเจตสิกธรรมที่ ประกอบกับอกุศลจิตได้ทุกดวง (๑๒ ดวง) ฯ ตถาติ อิมินา ด้วยค�ำว่า ตถา นี้ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ปจฺจามสติ ย่อมมุ่ง อฺ สมาเน เฉพาะ อัญญสมานาเจตสิก ฯ มโนธาตุ ธรรมชาติที่ชื่อว่ามโนธาตุ มโนวิฺาณธาตุยา วิย วิสิฏฺมนนกิจฺจาโยคโต มนนมตฺตา ธาตูติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ธาตุอัน เป็น เพียงความรู้ เพราะไม่ประกอบด้ ว ยหน้ าที่ คื อความรู ้ พิ เศษเหมื อนกั บ มโนวิญญาณธาตุ ฯ อเหตุกปฏิสนฺธิยุคเลติ บทว่า อเหตุกปฏิสนฺธิยุคเล ได้แก่ อุเปกฺขาสนฺตีรณทฺวเย ในสันตีรณจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ๒ ดวง ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า อฏฺารสาเหตุเกสุ จิตฺตุปฺปาเทสุ ในจิตตุปบาทที่เป็นอเหตุกะ ๑๘ ดวง สงฺคโห จตุพฺพิโธ โหติ มีการรวบรวม เจตสิกธรรมไว้ ๔ หมวด อิติ คือ ทฺวาทส (ธมฺมา) หสนจิตฺเต (โหนฺติ) ใน หสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) มีเจตสิกธรรม ๑๒ ประการ หมวด ๑ เอกาทส (ธมฺมา) โวฏฺพฺพนสุขสนฺตีรเณสุ (โหนฺติ) ในมโนทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) และสันตีรณจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา (๑ ดวง) มีเจตสิกธรรมดวงละ ๑๑ ประการ หมวด ๑ ทส (ธมฺมา) มโนธาตุติกาเหตุกปฏิสนฺธิยุคลวเสน ปฺ จสุ (โหนฺติ) ในจิต ๕ ดวง คือ มโนธาตุจิต ๓ ดวง และอเหตุกปฏิสนธิจิต ๒ ดวง มี เ จตสิ ก ธรรมดวงละ ๑๐ ประการ หมวด ๑ สตฺ ต (ธมฺ ม า) ทฺวิปฺ จวิฺาเณสุ (โหนฺติ) ในปัญจวิญญาณจิตทั้ง ๒ ฝ่าย (๑๐ ดวง) มีเจตสิกธรรมดวงละ ๗ ประการ หมวด ๑ ฯ เตตฺตสึ วิธสงฺคหาติ บาทคาถาว่า เตตฺตึสวิธสงฺคหา ความว่า เตตฺตึสวิธา สงฺคหา มีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้


112

ปริเฉทที่ ๒

๓๓ หมวด อิติ คือ อนุตฺตเร ปฺ จ ในโลกุตตรจิต (๘ หรือ ๔๐ ดวง) มีการ รวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๕ หมวด ตถา มหคฺคเต ในมหัคคตจิต (๒๗ ดวง) ก็เหมือนกัน คือ มีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๕ หมวด กามาวจรโสภเณ ทฺวาทส ในกามาวจรโภณจิต (๒๔ ดวง) มีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๑๒ หมวด อกุสเล สตฺต ในอกุศลจิต (๑๒ ดวง) มีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๗ หมวด อเหตุเก จตฺตาโร ในอเหตุกจิต (๑๘ ดวง) มีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๔ หมวด ฯ (ปณฺฑโิ ต) บัณฑิต ตฺวา ทราบ จิตตฺ ปริจเฺ ฉทวเสน วุตตฺ ํ สมฺปโยคฺ จ สัมปโยค ทีท่ า่ นพระอนุรทุ ธาจารย์กล่าวไว้ ด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดจิต เจตสิกราสิปริจเฺ ฉทวเสน วุตฺต สงฺคหฺ จ และสังคหะที่กล่าวไว้ด้วยอ�ำนาจแห่งการก�ำหนดหมวดแห่ง เจตสิกธรรม จิตฺตาวิยุตฺตานํ แห่งสภาวธรรมทั้งหลายที่ไม่พรากกับจิต เจตสิกานํ คือ แห่งเจตสิกธรรมทัง้ หลาย อิตถฺ ํ ด้วยประการฉะนี้ ยถาวุตตฺ นเยน คือ โดยนัย ตามที่กล่าวมาแล้ว จิตฺเตน สมํ เภทํ อุทฺทิเส พึงยกประเภท (แห่งเจตสิกธรรม เหล่านัน้ ) ขึน้ แสดงให้เท่ากับจิต ยถาโยคํ ตามทีป่ ระกอบได้ ฯ อตฺโถ อธิบายความ อิติ ว่า (ปณฺฑิโต) บัณฑิต กเถยฺย พึงกล่าว อิติอาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า ตาว อันดับแรก สตฺต สพฺพจิตฺตสาธารณา เจตสิกธรรม ๗ ประการ ซึ่งมีทั่วไปกับ จิตทุกดวง เอกูนนวุติจิตฺเตสุ อุปฺปชฺชนโต ปจฺเจก เอกูนนวุติวิธา มีอย่างละ ๘๙ ประการ เพราะเกิดขึ้นในจิต ๘๙ ดวง ปกิณฺณเกสุ วิตกฺโก บรรดา ปกิณณกเจตสิก (๖ ประการ) วิตกเจตสิก ปฺ จปฺ าสจิตฺเตสุ อุปฺปชฺชนโต ปฺ จปฺ าสวิโธ มี ๕๕ ประการ เพราะเกิดขึ้นในจิต ๕๕ ดวง ดังนี้ ฯ อิติ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ทุติยปริจฺเฉทวณฺณนา นิฏฺติ า ฯ พรรณนาความปริเฉทที่ ๒ ในฎีกาอภิธัมมัตถสังหะ ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี จบแล้ว ด้วยประการฉะนี้ ฯ โดยพระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ ส�ำนักเรียนวัดเทพลีลา กทม.


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

113

ตติยปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๓ (ปกิณณกสังคหวิภาค) อิทานิ บัดนี้ (ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์) ทสฺเสตุ หวังจะแสดง ปกิณณ ฺ กสงฺคหํ การรวบรวมข้อเบ็ดเตล็ด จิตตฺ เจตสิกานํ แห่งจิตและเจตสิก ยถาวุตตฺ าน ตามที่ กล่ า วแล้ ว เวทนาทิ วิ ภ าคโต โดยการจ� ำ แนกข้ อ เบ็ ด เตล็ ด มี เ วทนาเป็ น ต้ น ตตเวทนาทิเภทภินฺนจิตฺตุปฺปาทวิภาคโต จ และโดยการจ�ำแนกจิตตุปบาท ซึ่งต่างกันโดยความต่างกันแห่งข้อเบ็ดเตล็ดมีเวทนาเป็นต้นนั้น ๆ สมฺปยุตฺตา ยถาโยคนฺติอาทิมารทฺธ จึงเริ่มค�ำว่า สมฺปยุตฺตา ยถาโยคํ ดังนี้เป็นต้น ฯ อตฺโถ มีอธิบายความ อิติ ว่า จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา ธรรมคือจิตและเจตสิก ยถาโยค สมฺปยุตตฺ า ทีป่ ระกอบกันตามทีป่ ระกอบได้ เตปฺ าส โหนฺติ ย่อมมี ๕๓ ประการ สภาวโต โดยสภาวะ อตฺตโน อตฺตโน สภาววเสน คือ ด้วยอ�ำนาจสภาวะของตน ๆ อิติอาทินา ได้แก่ โดยสภาวะคือ เอกูนนวุติวิธมฺปิ จิตฺต จิตแม้ทั้ง ๘๙ ดวง เอกวิธํ ก็มอี ย่างเดียว อารมฺมณวิชานนสภาวสามฺ เน โดยมีความรูแ้ จ้งอารมณ์ เหมือนกัน ผสฺโส ผัสสเจตสิก สพฺพจิตฺตสาธารโณ เกิดมีทั่วไปแก่จิตทุกดวง เอกวิโธ ก็อย่างเดียว ผุสนภาเวน โดยภาวะที่ถูกต้องอารมณ์เป็นต้น ฯ อิทานิ บัดนี้ นียเต ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) จักแนะน�ำ สงฺคโห นาม ชื่อสังคหะ เวทนาสงฺคหาทินามโก ปกิณฺณกสงฺคโห คือการรวบรวมข้อเบ็ดเตล็ดที่ชื่อว่า เวทนาสังคหะ เป็นต้น เตส ธมฺมานํ แห่งธรรมทั้งหลายเหล่านั้น เวทนา ฯเปฯ วตฺถุโต โดยเวทนาสังคหะ เหตุสังคหะ กิจจสังคหะ ทวารสังคหะ อารัมมณสังคหะ และวัตถุสังคหะ จิตฺตุปฺปาทวเสเนว ด้วยอ�ำนาจจิตตุปบาท เท่านั้น ตตเวทนาทิเภทภินฺนจิตฺตุปฺปาทาน วเสเนว คือด้วยอ�ำนาจ จิตตุปบาท ที่ต่างกัน โดยความต่างกันแห่งข้อเบ็ดเตล็ดมีเวทนาเป็นต้นนั้น ๆ เท่านั้น ยถารหํ


114

ปริเฉทที่ ๓

ตามสมควร น นียเต ย่อมไม่แนะน�ำ อุปนียเต คือเข้าไปแนะน�ำ อาหริยติ ได้แก่ ประมวล ตํวิรเหน โดยเว้นจากจิตตุปบาทนั้น กตฺถจิ ในกาลไหน ๆ ฯ ตตฺถาติ บทว่า ตตฺถ เตสุ ฉสุ สงฺคเหสุ ได้แก่บรรดาสังคหะ ๖ หมวดเหล่านั้น ฯ

(อธิบายเวทนาสังคหะ) สงฺคโห การรวบรวม สุขาทิเวทนานํ เวทนามีสุขเวทนาเป็นต้น ตํสหคต- จิตฺตุปฺปาทานฺ จ และจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยเวทนามีสุขเวทนาเป็นต้นนั้น วิภาควเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งการจ�ำแนก เวทนาสงฺคโห ชื่อว่าเวทนาสังคหะ ฯ อฺ า เวทนาอืน่ ทุกขฺ โต จ สุขโต จ จากทุกขเวทนา และสุขเวทนา อทุกขฺ มสุขาติ ชื่อว่า อทุกขมสุขเวทนา มการาคมวเสน ด้วยอ�ำนาจลง ม อาคม ฯ ปุจฺฉา ถามว่า วจนโต จ ก็เพราะพระพุทธพจน์ อิติ ว่า ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เทฺวมา เวทนามี ๒ ประการ เหล่านี้ อิติ คือ สุขา สุขเวทนา ทุกฺขา ทุกขเวทนา ดังนี้เป็นต้น นนุ เทฺว เอว เวทนา เวทนามีเพียง ๒ ประการเท่านั้น มิใช่หรือ ฯ วิสชฺชนา ตอบว่า สจฺจํ ค�ำทีท่ า่ นกล่าวแล้วนีเ้ ป็นความจริง ตมฺปน แต่พระพุทธพจน์นนั้ สงฺคเหตฺวา วุตตฺ ํ พระผูม้ พี ระภาคเจ้า ตรัสรวบรวม อทุกขฺ มสุขํ อทุกขมสุขเวทนา อนวชฺชปกฺขกิ ํ ซึง่ อยูใ่ นฝ่ายทีไ่ ม่มโี ทษ สุขเวทนาย เข้าในสุขเวทนา สาวชฺชปกฺขกิ ฺ จ และรวม อทุกขมสุขเวทนา ซึง่ อยูใ่ นฝ่ายทีม่ โี ทษ ทุกขฺ เวทนายํ เข้าในทุกขเวทนา ฯ ยมฺปิ วจนํ แม้พระพุทธพจน์ใด กตฺถจิ สุตฺเต ในบางพระสูตร ยงฺกิฺจิ เวทยิตํ อิติ ว่า ความเสวยอารมณ์อย่างใดอย่างหนึง่ อิทํ เอตฺถ ทุกขฺ ํ อสฺส นี้ พึงเป็น ทุกข์ในทีน่ ี้ ดังนีเ้ ป็นต้น ตํ พระพุทธพจน์นั้น วุตฺตํ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสไว้ สพฺพเวทนาน ทุกขฺ สภาวตฺตา เพราะเวทนาทัง้ ปวงมีสภาวะเป็นทุกข์ สงฺขารทุกขฺ ตาย โดยเป็นทุกข์ประจ�ำสังขาร ฯ ยถาห สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า อานนฺท ดูก่อนอานนท์ วจนํ ค�ำ อิติ ว่า เวทยิตํ การเสวยอารมณ์ ยงฺกิฺจิ อย่างใดอย่างหนึ่ง อิทํ นี้ ทุกฺขํ อสฺส พึงเป็นทุกข์ เอตฺถ ในที่นี้ ดังนี้เป็นต้น มยา ภาสิตํ เรากล่าว สนฺธาย หมายถึง สงฺขารานิจฺจต ความไม่เที่ยงแห่งสังขาร


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

115

สงฺขารวิปริณามตฺ จ และความแปรปรวนแห่งสังขาร ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ทฏฺพฺพา บัณฑิตพึงเห็น ติสโฺ สเยว เวทนาติ ว่าเวทนามี ๓ ประการเท่านัน้ ฯ เตนาห ภควา เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัส อิติ ว่า ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ติสฺโส อิมา เวทนา เวทนามี ๓ ประการ เหล่านี้ คือ สุขา สุขเวทนา ทุกขฺ า ทุกขเวทนา อทุกขฺ มสุขา อทุกขมสุขเวทนา ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ ติวิธาปิ ปเนตา ก็ เวทนาแม้ทั้ง ๓ ประการเหล่านี้ เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ อินฺทฺริยเทสนาย ในอินทริยเทศนา ปฺ จธา เทสิตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงไว้ ๕ ประการ อิติ คือ สุขินฺทฺริยํ สุขินทรีย์ ทุกฺขินฺทฺริยํ ทุกขินทรีย์ โสมนสฺสินฺทฺริยํ โสมนัสสินทรีย์ โทมนสฺสนิ ทฺ รฺ ยิ ํ โทมนัสสินทรีย์ อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ อุเปกขินทรีย์ อิติ เพราะเหตุนั้น ทสฺเสตุํ เพื่อจะแสดง วิภาคํ การจ�ำแนก ตวํ เสนาปิ เวทนาทัง้ หลาย แม้ดว้ ยอ�ำนาจอินทรียธรรมนัน้ เอตฺถ ในเวทนาสังคหะ นี้ วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวค�ำ สุขํ สุขเวทนา ทุกฺขํ ทุกขเวทนา อิติ อาทิ ว่าดังนี้ เป็นต้น ฯ หิ ความจริง วิภเชตฺวา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงจ�ำแนก สุขํ ทุกฺขฺ จ สุขเวทนาและทุกขเวทนา ปจฺเจกํ ทฺวิธา ออกเป็น อย่างละ ๒ ประการ กายิกมานสิกสาตาสาตเภทโต เพราะความต่างกัน แห่งความสุขทางกายและความสุขทางใจ และความทุกข์ทางกายความทุกข์ทางใจ เทสิตา แล้วแสดงเวทนาไว้ อิติ ว่า สุขินฺทฺริยํ สุขินทรีย์ โสมนสฺสินฺทฺริยํ โสมนัสสินทรีย์ ทุกฺขินฺทฺริยํ ทุกขินทรีย์ โทมนสฺสินฺทฺริยํ โทมนัสสินทรีย์ ฯ อุเปกฺขา ปน ส่วนอุกเปกขาเวทนา เอกธาว ทรงแสดงไว้ประการเดียวเท่านัน้ อิติ ว่า อุเปกฺขนิ ทฺ รฺ ยิ ํ อุเปกขินทรีย์ เภทาภาวโต เพราะไม่มคี วามต่างกัน ฯ หิ เหมือนอย่างว่า สุขทุกฺขานิ อฺ ถา กายสฺส อนุคคฺ หมุปฆาตฺ จ กโรนฺติ อฺ ถา มนโส สุขเวทนา ย่อมท�ำความอนุเคราะห์แก่รา่ งกายอย่างหนึง่ และย่อมท�ำความอนุเคราะห์ แก่ใจอีกอย่างหนึ่ง ทุกขเวทนา ย่อมท�ำความเบียดเบียน แก่ร่างกายอย่างหนึ่ง และย่อมท�ำความเบียดเบียนแก่ใจอีกอย่างหนึ่ง ยเถว ฉันใด น เอวมุเปกฺขา อุเปกขาเวทนา หาท�ำฉันนั้นไม่ ตสฺมา เพราะฉะนั้น สา อุเบกขาเวทนานั้น


116

ปริเฉทที่ ๓

เอกธาว เทสิตา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ เพียงประการเดียวเท่านั้น ฯ เตน เพราะเหตุนั้น โปราณา พระโบราณาจารย์ทั้งหลาย อาหุ จึงกล่าว อิติ ว่า อินทฺ รฺ ยิ เภทโต ว่าโดยประเภทแห่งอินทรียธรรม ปญฺจธา เวทนาย่อม มี ๕ ประการ อิติ คือ กายิก สุขํ จ สุขเวทนาทางกาย ๑ มานส สุขํ จ สุขเวทนาทางใจ ๑ กายิกํ ทุกฺข จ ทุกขเวทนาทางกาย ๑ มานสํ ทุกฺขํ จ ทุกขเวทนาทางใจ ๑ อุเปกฺขาเวทนา อุเปกขาเวทนา เอกมานสํเอว จ มีเฉพาะทางใจ อย่างเดียวเท่านั้น ๑ ฯ ตตฺถ ในบรรดาเวทนา ๕ นัน้ สุขํ สุขเวทนา อิฏฺ โผฏฺพฺพานุภวนลกฺขณ มีลกั ษณะเสวยโผฏฐัพพารมณ์ทนี่ า่ ปรารถนา ฯ ทุกขฺ ํ ทุกขเวทนา อนิฏฺ โผฏฺพฺพา- นุภวนลกฺขณํ มีลักษณะเสวยโผฏฐัพพารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา ฯ โสมนสฺส  โสมนัสสเวทนา อิฏฺ านุภวนลกฺขณํ มีลกั ษณะเสวยอิฏฐารมณ์ สภาวโต ปริกปฺปโต วา โดยสภาวะ หรือโดยปริกปั ฯ โทมนสฺสํ โทมนัสสเวทนา อนิฏฺ านุภวนลกฺขณํ มีลกั ษณะเสวยอนิฏฐารมณ์ ตถา เหมือนอย่างนัน้ คือโดยสภาวะ หรือโดยปริกปั ป์ ฯ อุเปกฺขา อุเปกขาเวทนา มชฺฌตฺตานุภวนลกฺขณา มีลักษณะเสวยอารมณ์ที่เป็น กลาง ฯ จตุจตฺตาฬีส มหัคคตจิตและโลกุตตรจิต ชื่อว่ามี ๔๔ ดวง ปจฺเจกํ โลกิยโลกุตฺตรเภเทน เอกาทสวิธตฺตา เพราะแต่ละอย่างมีอย่างละ ๑๑ ดวง โดยความต่างกันแห่งฌานที่เป็นโลกิยะ (๓ ดวง) และฌานที่เป็นโลกุตตระ (๘ ดวง) ฯ เสสานีติ บทว่าเสสานิ อวเสสานิ ความว่าจิตทั้งหลายที่เหลือ สุขทุกฺขโสมนสฺสโทมนสฺสสหคเตหิ จากจิตที่สหรคตด้วยสุขเวทนา (๑ ดวง) ที่สหรคตด้วยทุกขเวทนา (๑ ดวง) ที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา (๖๒ ดวง) และ สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา (๒ ดวง) สพฺพานิปิ แม้ทั้งหมด ปฺ จปฺ าส มี ๕๕ ดวง อิติ คือ อกุสลโต ฉ จิตที่เหลือจากฝ่ายอกุศลจิต ๖ ดวง อเหตุกโต จุทฺทส จิตที่เหลือจากฝ่ายอเหตุกจิต ๑๔ ดวง กามาวจรโสภณโต ทฺวาทส จิตที่เหลือจากกามาวจรโสภณจิต ๑๒ ดวง ปฺ จมชฺฌานิกานิ เตวีสา จิตที่เกิด ในปัญจมฌาน ๒๓ ดวง ฯ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

117

(อธิบายเหตุสังคหะ) โลภาทิเหตูน สงฺคโห การรวบรวมเหตุธรรมมีโลภเหตุเป็นต้น วิภาควเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งการจ�ำแนก ตสมฺปยุตตฺ าทีน วเสน จ และด้วยอ�ำนาจแห่งธรรมที่ ประกอบด้วยเหตุธรรมมีโลภเหตุเป็นต้นนัน้ เป็นอาทิ เหตุสงฺคโห ชือ่ ว่า เหตุสงั คหะ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อความ อิติ ว่า เหตุโย นาม ชื่อว่าเหตุธรรม ฉพฺพิธา ภวนฺติ มี ๖ ประการ ฯ ปน ก็ เหตุภาโว ความเป็นเหตุ เนส มูลภาโว คือ ความทีเ่ หตุธรรม (๖ ประการ) เหล่านั้น เป็นมูลราก สมฺปยุตฺตาน สุปติฏฺติ ภาวสาธนสงฺขาโต กล่าวคือความท�ำสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ให้ส�ำเร็จความด�ำรงมั่น ด้วยดี ฯ หิ ความจริง ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย ลทฺธเหตุปจฺจยา ได้เหตุปัจจัยแล้ว ถิรา โหนฺติ ย่อมเป็นสภาวะที่มั่นคง วิรุฬฺหมูลา วิย เปรียบเสมือนต้นไม้ทั้งหลาย ที่มีราก งอกงามแล้วย่อมมั่นคง ฉะนั้น น อเหตุกา วิย หาเป็นเหมือนธรรมที่ไม่มีเหตุ ชลตเล เสวาลสทิสา เช่นกับสาหร่ายบนพื้นน�้ำไม่ ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะ อธิบายความดังกล่าวมาอย่างนี้ เอเต เหตุธรรม ๖ ประการ เหล่านี้ มูลานีติ วุจฺจนฺติ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเรียกว่า เป็นมูลราก มูลสทิสตาย เพราะเป็น เช่นกับมูลราก ฯ อปเร ปน ส่วนอาจารย์อีกพวกหนึ่ง วทนฺติ กล่าว อิติ ว่า กุสลาทีนํ กุสลาทิภาวสาธนํ ความท�ำธรรมทั้งหลายมีกุศลธรรมเป็นต้น ให้ส�ำเร็จ เป็นกุศลธรรมเป็นต้น เหตุภาโว ชื่อว่า ความเป็นเหตุ ฯ เอวํ สติ เมื่อเป็น อย่างนั้น อฺ โ เหตุ มคฺคิตพฺโพ สิยา บัณฑิต พึงค้นหาเหตุอ่ืน เหตูนํ อตฺตโน กุสลาทิภาวสาธโน ที่ท�ำตัวของเหตุทั้งหลาย ให้ส�ำเร็จเป็นกุศลธรรม เป็นต้น ฯ อถ เตสํ กุสลาทิภาโว ถ้าความที่เหตุเหล่านั้นเป็นกุศลธรรมเป็นต้น เสสสมฺปยุตฺตเหตุปฏิพทฺโธ เนื่องด้วยสัมปยุตเหตุธรรมที่เหลือไซร้ เอวมฺปิ แม้เมือ่ เป็นอย่างนัน้ โมมูหจิตตฺ สมฺปยุตตฺ สฺส เหตุโน อกุสลภาโว ความทีเ่ หตุธรรม สัมปยุตด้วยโมหมูลจิต อปฺปฏิพทฺโธ สิยา ก็จะไม่พงึ เนือ่ งกัน ฯ อถสฺส สภาวโต กุสลภาโว สิยา ถ้าเหตุธรรมนั้น พึงเป็นกุศลธรรมได้ตามสภาวะไซร้ เอว สติ เมือ่ เป็นเช่นนัน้ เสสเหตูนมฺปิ แม้เหตุธรรมทีเ่ หลือทัง้ หลาย อกุสลาทิภาโว ก็พงึ เป็น


118

ปริเฉทที่ ๓

อกุศลธรรมเป็นต้นได้ สภาวโต ตามสภาวะ อิติ เพราะเหตุนนั้ สมฺปยุตตฺ ธมฺมานมฺปิ กุสลาทิภาโว แม้สัมปยุตธรรมทั้งหลาย เป็นกุศลธรรมเป็นต้นได้ เตสํ วิย เหมือนอย่างเหตุธรรมทัง้ หลายเหล่านัน้ โส นัน้ เหตุปฏิพทฺโธ น สิยา ก็จะไม่พงึ เนื่องด้วยเหตุธรรม ฯ ยทิ จ ก็ ถ้า กุสลาทิภาโว ภาวะที่สัมปยุตตธรรมทั้งหลาย เป็นกุศลธรรมเป็นต้น เหตุปฏิพทฺโธ เนื่องด้วยเหตุธรรมไซร้ ตทา ในกาลนั้น อเหตุกาน อพฺยากตภาโว น สิยา อเหตุกจิต (๑๘ ดวง) ทั้งหลาย ก็จะไม่พึง เป็นอัพยากฤต อิติ เพราะเหตุนั้น อลมติปีฬเนน พอทีอย่าบีบคั้นกันมากนัก ฯ ปน อนึง่ กุสลากุสลานํ กุสลาทิภาโว ความทีก่ ศุ ลธรรมและอกุศลธรรมทัง้ หลาย เป็นกุศลธรรมเป็นต้น โยนิโสอโยนิโสมนสิการปฏิพทฺโธ เนือ่ งด้วยโยนิโสมนสิการ และอโยนิโสมนสิการ ฯ ยถาห สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ อิติ ว่า ภิกขฺ เว ดูกรภิกษุทงั้ หลาย มนสิกโรโต เมือ่ บุคคลกระท�ำไว้ในใจ โยนิโส โดยอุบาย อันแยบคาย อนุปฺปนฺนา กุสลา ธมฺมา อุปฺปชฺชนฺติ เจว กุศลธรรมทั้งหลาย ที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น อุปฺปนฺนา กุสลา ธมฺมา อภิวฑฺฒนฺติ จ และกุศลธรรม ทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเจริญยิ่งขึ้น อาทิ ดังนี้เป็นต้น ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิต พึงเห็นความหมาย อิติ ว่า ปน ก็ อพฺยากตานํ อพฺยากตภาโว ความทีอ่ พั ยากตธรรม ทั้งหลาย เป็นอัพยากฤต นิรานุสยสนฺตานปฏิพทฺโธ เนื่องด้วยสันดานที่ปราศจาก อนุสัยกิเลส (คือ สันดานของพระขีณาสพ) กมฺมปฏิพทฺโธ เนื่องด้วยกรรม อวิปากสภาวปฏิพทฺโธ จ และเนื่องด้วยสภาวะที่หาวิบากมีได้ ดังนี้ ฯ อิทานิ บัดนี้ เหตูนํ ชาติเภทํ ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์หวังจะแสดง ความต่างกันโดยชาติแห่งเหตุทงั้ หลาย โลโภ โทโส จาติอาทิ วุตตฺ ํ จึงกล่าวค�ำว่า โลโภ โทโส จ ดังนี้เป็นต้น ฯ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

119

(อธิบายกิจจสังคหะ) สงฺคโห การรวบรวม ปฏิสนฺธาทีน กิจจฺ านํ กิจทัง้ หลายมีปฏิสนธิกจิ เป็นต้น วิภาควเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งการจ�ำแนก ตกํ จิ จฺ วนฺตานฺ จ และซึง่ จิตทัง้ หลาย ซึง่ มี กิจนัน้ ปริจเฺ ฉทวเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งการก�ำหนด กิจจฺ สงฺคโห ชือ่ ว่ากิจจสังคหะ ฯ ปฏิสนฺธานํ การสืบต่อ ภวสฺส แห่งภพ ภวโต จากภพ ปฏิสนฺธิกิจฺจํ ชื่อว่า ปฏิสนธิกจิ ฯ องฺคภาโว ความเป็นองค์ ภวสฺส แห่งภพ อวิจเฺ ฉทปวตฺตเิ หตุภาเวน โดยความเป็นเหตุเป็นไปไม่ขาดสาย ภวงฺคกิจฺจํ ชื่อว่า ภวังคกิจ ฯ โยเชตพฺพานิ บัณฑิตพึงประกอบ อาวชฺชนกิจฺจาทีนิ อาวัชชนกิจเป็นต้น ยถารหํ ตามสมควร เหฏฺาวุตตฺ วจนตฺถานุสาเรน โดยท�ำนองแห่งเนือ้ ความแห่งค�ำตามทีก่ ล่าวแล้วในหนหลัง ฯ ปวตฺติ ความเป็นไปของจิต อารมฺมเณ อเนกกฺขตฺตุํ เอกกฺขตฺตุํ วา ชวมานสฺส วิย ดุจแล่นไปในอารมณ์นั้น มากครั้ง หรือครั้งเดียว ตํตํกิจฺจสาธนวเสน ด้วย อ�ำนาจยังกิจนัน้ ๆ ให้สำ� เร็จได้ ชวนกิจจฺ ํ ชือ่ ว่า ชวนกิจ ฯ ตํตชํ วนคฺคหิตารมฺมณสฺส อารมฺ ม ณกรณํ การท� ำ อารมณ์ ที่ ช วนกิ จ นั้ น ๆ รั บ มาแล้ ว ให้ เ ป็ น อารมณ์ ตทารมฺมณกิจฺจํ ชื่อว่า ตทาลัมพนกิจ ฯ นิพฺพตฺตภวโต ปริคฬนํ การเคลื่อนจาก ภพที่บังเกิดแล้ว จุติกิจฺจํ ชื่อว่าจุติกิจ ฯ ปน ก็ อิมานิ กิจฺจานิ กิจเหล่านี้ ปากฏานิ โหนฺติ ย่อมปรากฏ านวเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งฐาน อิติ เพราะเหตุนั้น อิทานิ บัดนี้ ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หวังจะแสดง ตํ ฐานนั้น ปเภทโต โดยประเภท วุตฺตํ จึงกล่าว วจนํ ค�ำ ปฏิสนฺธิ อิติ อาทิ ว่า ปฏิสนฺธิ ดังนี้ เป็นต้น ฯ ตตฺถ ในค�ำว่า ปฏิสนฺธิ เป็นต้นนัน้ พึงทราบวินจิ ฉัยดังต่อไปนี้ านํ ฐาน ปฏิสนฺธยิ า แห่งปฏิสนธิ ปฏิสนฺธฏิ ฺ านํ ชือ่ ว่าปฏิสนธิฐาน ฯ านํ นาม ชือ่ ว่าฐาน ปฏิสนฺธวิ นิ มิ ตุ ตฺ ํ ทีพ่ น้ จากปฏิสนธิฐาน นตฺถิ ย่อมไม่มี กามํ ก็จริง ปน ถึงอย่างนัน้ สุขคฺคหณตฺถํ เพื่อความเข้าใจง่ายขึ้น ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมาย อิติ ว่า อเภเทปิ แม้เมือ่ มีความเข้าใจไม่ตา่ งกัน เภทปริกปฺปนา ก็มกี ารก�ำหนดความต่างกันไว้ สิลาปุตฺตกสฺส สรีรนฺติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า ร่างของลูกหินเล็กๆ ฯ เอวํ เสเสสุปิ แม้ในฐานทีเ่ หลือ ก็มนี ยั อย่างนี้ ฯ านํ ฐาน ทสฺสนาทีนํ ปฺ จนฺนํ


120

ปริเฉทที่ ๓

วิฺาณานํ แห่งวิญญาณ ๕ มีทัสสนะเป็นต้น ปฺ จวิฺาณฏฺานํ ชื่อว่า ปัญจวิญญาณฐาน ฯ อาทิสทฺเทน ด้วยอาทิศัพท์ สงฺคโห จึงมีการรวบรวม สมฺปฏิจฺฉนฺนาทีนํ ฐานทั้งหลายมีสัมปฏิจฉันนฐานเป็นต้น ฯ ตตฺถ ในฐาน ๑๐ นั้น านํ ฐาน อนฺตรา ระหว่าง จุติภวงฺคานํ จุติกิจกับ ภวังคกิจ ปฏิสนฺธิฏฺานํ ชื่อว่า ปฏิสนธิฐาน ฯ ปฏิสนฺธิอาวชฺชนานํ ฐานระหว่าง ปฏิสนธิกิจกับอาวัชชนกิจ ๑ ชวนาวชฺชนานํ ระหว่างชวนกิจกับอาวัชชนกิจ ๑ ตทารมฺมณาวชฺชนานํ ระหว่างตทาลัมพนกิจกับอาวัชชนกิจ ๑ โวฏฺพฺพนาวชฺชนานํ ระหว่างโวฏฺฐพั พนกิจกับอาวัชชนกิจ ๑ กทาจิ บางคราว ชวนจุตนี ํ ระหว่างชวนกิจกับ จุตกิ จิ ๑ ตทารมฺมณจุตนี ฺ จ อนฺตรา ระหว่างตทาลัมพนกิจกับจุตกิ จิ ๑ ภวงฺคฏฺานํ ชือ่ ว่า ภวังคฐาน ฯ ภวงฺคปฺ จวิฺาณานํ ฐานระหว่างภวังคกิจกับปัญจวิญญาณกิจ ๑ ภวงฺคชวนานฺ จ อนฺตรา ระหว่างภวังคกิจกับชวนกิจ ๑ อาวชฺชนฏฺานํ ชื่อว่า อาวัชชนฐาน ฯ ปฺ จทฺวาราวชฺชนสมฺปฏิจฉฺ นฺนานํ อนฺตรา ฐานระหว่างปัญจทวาราวัชชนกิจกับสัมปฏิจฉันนกิจ ปฺ จวิฺาณฏฺานํ ชื่อว่า ปัญจวิญญาณฐาน ฯ ปฺ จวิฺาณสนฺตีรณานมนฺตรา ฐานระหว่างปัญจวิญญาณกิจกับสันตีรณกิจ สมฺปฏิจฉฺ นฺนฏฺานํ ชือ่ ว่า สัมปฏิจฉันนฐาน ฯ สมฺปฏิจฉฺ นฺนโวฏฺพฺพนานมนฺตรา ฐานระหว่างสัมปฏิจฉันนกิจกับโวฏฐัพพนกิจ สนฺตีรณฏฺานํ ชื่อว่าสันตีรณฐาน ฯ สนฺตีรณชวนานํ ฐานระหว่างสันตีรณกิจกับชวนกิจ ๑ สนฺตีรณภวงฺคานฺ จ อนฺตรา ระหว่างสันตีรณกิจกับภวังคกิจ ๑ โวฏฺพฺพนฏฺานํ ชือ่ ว่า โวฏฐัพพนฐาน ฯ โวฏฺ  พฺ พ นตทารมฺ ม ณานํ ฐานระหว่ า งโวฏฐั พ พนกิ จ กั บ ตทาลั ม พนกิ จ ๑ โวฏฺ  พฺ พ นภวงฺ ค านํ ระหว่ า งโวฏฐั พ พนกิ จ กั บ ภวั ง คกิ จ ๑ โวฏฺ  พฺ พ นจุ ตี นํ ระหว่างโวฏฐัพพนกิจกับจุติกิจ ๑ มโนทฺวาราวชฺชนตทารมฺมณานํ ระหว่าง มโนทวาราวัชชนกิจกับตทาลัมพนกิจ ๑ มโนทฺวาราวชฺชนภวงฺคานํ ระหว่าง มโนทวาราวัชชนกิจกับภวังคกิจ ๑ มโนทฺวาราวชฺชนจุตนี ฺ จ อนฺตรา และระหว่าง มโนทวาราวัชชนกิจกับจุติกิจ ๑ ชวนฏฺานํ ชื่อว่า ชวนฐาน ฯ ชวนภวงฺคาน อนฺตรา านํ ฐานระหว่างชวนกิจกับภวังคกิจ ๑ ชวนจุตีนฺ จ อนฺตรา ระหว่าง


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

121

ชวนกิจกับจุติกิจ ๑ ตทารมฺมณฏฺานํ ชื่อว่า ตทาลัมพนฐาน ฯ ชวนปฏิสนฺธีนํ ฐานระหว่างชวนกิจกับปฏิสนธิกจิ ๑ ตทารมฺมณปฏิสนฺธนี ํ ระหว่างตทาลัมพนกิจ กับปฏิสนธิกิจ ๑ ภวงฺคปฏิสนฺธีนํ อนฺตรา านํ วา หรือฐานระหว่างภวังคกิจ กับปฏิสนธิกิจ จุติฏฺานํ นาม ชื่อว่า จุติฐาน ฯ

(อธิบายจิตโดยกิจและฐาน) อธิปปฺ าโย อธิบายความ อิติ ว่า เทฺว อุเปกฺขาสหคตสนฺตรี ณานิ สันตีรณกิจ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ๒ ดวง ปฏิสนฺธิภวงฺคจุติกิจฺจานิ นาม ชื่อว่า ปฏิสนธิกจิ ภวังคกิจ และจุตกิ จิ สุขสนฺตรี ณสฺส ปฏิสนฺธวิ สปฺปวตฺตสิ ภาวาภาวโต เพราะสันตีรณกิจที่สหรคตด้วยโสมนัส ไม่มีสภาวะเป็นไปด้วยอ�ำนาจสนธิ ดังนี้ ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังว่ามานี้ เอวมาคตสฺส อุเปกฺขาสหคต- ปทสฺสวิภงฺเค ในวิภังค์แห่งบทว่า อุเปกฺขาสหคต ซึ่งมาแล้ว อย่างนี้ อิติ ว่า อุเปกฺขาสหคโต ธมฺโม ธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา ปฏิจฺจ อาศัย ธมฺมํ ธรรม อุเปกฺขาสหคตํ ที่สหรคตด้วยอุเบกขา อุปฺปชฺชติ เกิดขึ้น น เหตุปจฺจยา ไม่ใช่ เกิดเพราะเหตุปัจจัย ดังนี้ ปฏิจฺจนโย อุทฺธโฏ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยก ปฏิจจนัยขึ้นไว้ ปฏฺฐาเน ในคัมภีร์ปัฏฐาน ปวตฺติปฏิสนฺธิวเสน ด้วยอ�ำนาจ ปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล เอวํ อย่างนี้ ว่า ตโย ขนฺธา ขันธ์ ๓ ปฏิจฺจ อาศัย เอกํ ขนฺธํ ขันธ์ ๑ อเหตุกํ อุเปกฺขาสหคตํ สหรคตด้วยอุเบกขา เป็นอเหตุกะ เอโก ขนฺโธ ขันธ์ ๑ ตโย ขนฺเธ ปฏิจฺจ อาศัยขันธ์ ๓ เทฺว ขนฺธา ขันธ์ ๒ เทฺว ขนฺเธ ปฏิจฺจ อาศัยขันธ์ ๒ ตโย ขนฺธา ขันธ์ ๓ เอกํ ขนฺธํ ปฏิจฺจ อาศัยขันธ์ ๑ อุเปกฺขาสหคตํ อันสหรคตด้วยอุเบกขา อเหตุกปฏิสนฺธิกฺขเณ ในขณะปฏิสนธิอันเป็นอเหตุกะ ฯลฯ เทฺว ขนฺธา ขันธ์ ๒ ดังนี้ ฯ ปน ก็ ปีติสหคตสุขสหคตปทวิภงเค ในวิภังค์แห่งบทว่าปีติสหคตะและสุขสหคตะ ปวตฺติวเสเนว อุทฺธโฏ พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงยกปฏิจจนัยขึ้น ด้วยอ�ำนาจ ปวัตติกาลเท่านั้น อิติ ว่า ตโย ขนฺธา ขันธ์ ๓ ปฏิจฺจ อาศัย เอกํ ขนฺธํ


122

ปริเฉทที่ ๓

ขันธ์ ๑ อเหตุกํ ปีติสหคต อันสหรคตด้วยปีติ เป็นอเหตุกะ ฯลฯ เทฺว ขนฺธา ขันธ์ ๒ ฯลฯ ตโย ขนฺธา ขันธ์ ๓ ปฏิจฺจ อาศัยขันธ์ เอกํ ขนฺธํ ขันธ์ ๑ อเหตุกํ สุขสหคตํ อันสหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา เป็นอเหตุ ฯลฯ เทฺว ขนฺธา ขันธ์ ๒ ดังนี้ ฯ ปน แต่ น อเหตุกปฏิสนฺธิกฺขเณติอาทินา ปฏิสนฺธิวเสน หายกขึน้ ด้วยอ�ำนาจปฏิสนธิกาล โดยนัยเป็นต้นว่า ในขณะปฏิสนธิอนั เป็นอเหตุกะ ดังนี้ไม่ ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ยถาธมฺมสาสเน ลพฺภมานธมฺมสฺส อวจนมฺปิ แม้การไม่ตรัสถึงธรรมที่จะหาได้อยู่ในพระอภิธรรม อภาวเมว ทีเปติ ก็แสดงว่า ไม่มีนั้นเอง อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส สนฺตีรณจิตฺตสฺส สันตีรณจิตที่สหรคต ด้วยโสมนัสสเวทนานั้น น ปวตฺติ อตฺถิ จึงไม่มีความเป็นไป ปฏิสนฺธิวเสน ด้วยอ�ำนาจปฏิสนธิกิจ ฯ ปน ก็ อวจนํ การไม่ตรัส กสฺสจิ ธมฺมสฺส ธรรม บางอย่าง ลพฺภมานสฺสาปิ แม้จะหาได้อยู่ ภวิสฺสติ จักมี ยตฺถ าเน ในที่ใด การณํ เหตุ อวจนสฺส แห่งการไม่ตรัส ตตฺถ าเน ในทีน่ นั้ อาวิภวิสสฺ ติ จักมีแจ้ง อุปริ ข้างหน้า ฯ มโนทฺวาราวชฺชนสฺส มโนทวาราวัชชนจิต (คือ โวฏฐัพพนจิต) ปวตฺตมานสฺสาปิ แม้ทเี่ ป็นไปอยู่ ปริตตฺ ารมฺมเณ ในปริตตารมณ์วถิ ี ทฺวติ ตฺ กิ ขฺ ตฺตุํ ๒ หรือ ๓ ครัง้ นตฺถิ ชวนกิจจฺ ํ ก็ยอ่ มไม่มชี วนกิจ ตํอารมฺมณรสานุภวนาภาวโต เพราะไม่มคี วามเสวยรสแห่งอารมณ์นนั้ อิติ เพราะเหตุนนั้ วุตตฺ ํ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ จึงกล่าวว่า อาวชฺชนทฺวยวชฺชติ านิ (เว้นอาวัชชนจิต ๒ ดวง คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต และมโนทวาราวัชชนจิต) อิติ ดังนี้ ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังว่า มานี้ อฏฺกถายํ ในอรรถกถา วุตฺตํ พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าว ว่า ชวนฏฺาเน ตฺวา ด�ำรงอยู่ในฐานเป็นชวนกิจ อิติ ดังนี้ ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอก ไปจากนี้ วตฺตพฺพํ สิยา ก็พึงต้องกล่าว ว่า ชวนํ หุตฺวา เป็นชวนกิจ อิติ ดังนี้ ฯ ปทํ บท กุสลากุสลผลกฺริยาจิตฺตานิ อิติ ว่า กุสลากุสลผลกฺริยาจิตฺตานิ โลกิยโลกุตฺตรกุสลานิ ความว่า โลกิยกุศลจิต (๑๗ ดวง) และโลกุตตรกุศลจิต (๔ ดวง) เอกวีสติ รวม ๒๑ ดวง อกุสลานิ อกุศลจิต ทฺวาทส ๑๒ ดวง โลกุตฺตรผลจิตฺตานิ โลกุตตรผลจิต จตฺตาริ ๔ ดวง เตภูมิกกฺริยาจิตฺตานิ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

123

กิริยาจิตที่เกิดในภูมิ ๓ อฏฺารส ๑๘ ดวง ฯ หิ ความจริง โลกุตฺตรมคฺคาทิกํ โลกุตตรมรรคจิต (มีโสดาปัตติมรรค) เป็นต้น เอกจิตตฺ กฺขณมฺปิ แม้เกิดขณะจิตเดียว ชวนกิจฺจํ นาม ก็ชื่อว่าชวนกิจ ตํสภาววนฺตตาย เพราะมีสภาวะแห่งชวนกิจนั้น ยถา สพฺพฺ ุ ตาณํ เปรียบเหมือนพระสัพพัญญุตญาณ เอเกกโคจรวิสยมฺปิ แม้มีอารมณ์ทีละอย่างเป็นอารมณ์ น ตนฺ น ามํ วิ ช หติ ก็ ยั ง ไม่ ล ะ ชื่ อ ว่ า พระสัพพัญญุตญาณนัน้ กทาจิ ในกาลบางคราว สกลวิสยาวโพธนสามตฺถยิ โยคโต เพราะประกอบไปด้วยความสามารถในอันรูช้ ดั อารมณ์ได้ทงั้ สิน้ แล ฯ สมฺปณ ิ เฺ ฑตฺวา ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์หวังจะประมวลแสดง จิตตฺ านิ จิตทัง้ หลาย กิจจฺ เภเทน วุตฺตาเนว ที่กล่าวแล้ว โดยความต่างกันแห่งกิจนั่นแล ลพฺภมานกิจฺจคณนวเสน ด้วยอ�ำนาจจ�ำนวนกิจที่จะได้อยู่ ยถาสกํ ตามสมควรแก่ตน เอวํ ดังพรรณนามา ฉะนี้ วุตฺตํ จึงกล่าว วจนํ ค�ำ เตสุ ปน อิติ อาทิ ว่า เตสุ ปน ดังนี้ เป็นต้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ ว่า จิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาททั้งหลาย ปฏิสนฺธาทโย มีปฏิสนธิจติ เป็นต้น ปกาสิตา บัณฑิตประกาศแล้ว นามกิจจฺ เภเทน โดยความต่างกัน แห่งนามและกิจ เภเทน คือ โดยความต่างกัน ปฏิสนฺธาทีนํ นามานํ แห่งนาม ทั้งหลาย มีปฏิสนธิจิตเป็นต้น ปฏิสนฺธิกิจฺจาทีนํ กิจฺจานฺ จ และแห่งกิจทั้งหลาย มีปฏิสนธิกิจเป็นต้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง จิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาททั้งหลาย ปฏิสนฺธาทโย นาม ชื่อว่ามีปฏิสนธิจิตเป็นต้น ตํนามกา คือ มีปฏิสนธิจิตเป็นต้น นั้นเป็นชื่อ จุทฺทส ปกาสิตา บัณฑิต ประกาศแล้ว ว่ามี ๑๔ ประการ เภเทน โดยความต่างกัน กิจฺจานํ แห่งกิจทั้งหลาย ปฏิสนฺธาทีนํ มีปฏิสนธิกิจเป็นต้น ทสธา ปกาสิตา ประกาศแล้วว่ามี ๑๐ ประการ านเภเทน โดยความต่างกัน แห่งฐาน ปเภเทน คือ โดยประเภท ปฏิสนฺธาทีนํเยว านานํ แห่งฐานทั้งหลาย มีปฏิสนธิฐานเป็นต้นนั่นแล อิติ ดังนี้ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความ ว่า ปณฺฑิโต บัณฑิต นิทฺทิเส พึงแสดง จิตฺตานิ จิต เอกกิจฺจฏฺานิ ที่มีกิจ ๑ และมี ฐาน ๑ อฏฺสฏฺ ี อิติ ว่ามี ๖๘ ดวง ตถา อนึ่ง นิทฺทิเส บัณฑิตพึงแสดง จิตฺตานิ จิต ทฺวิกิจฺจฏฺานิ ที่มีกิจ ๒ และมีฐาน ๒ เทฺว อิติ จ ว่ามี ๒ ดวง จิตตานิ จิต


124

ปริเฉทที่ ๓

ติกิจฺจฏฺานิ ที่มีกิจ ๓ และมีฐาน ๓ นว อิติ จ ว่ามี ๙ ดวง จิตฺตานิ จิต จตุกิจฺจฏฺานิ ที่มีกิจ ๔ และมีฐาน ๔ อฏฺ อิติ จ ว่ามี ๘ ดวง จิตฺตานิ จิต ปฺ จกิจฺจฏฺานานิ ที่มีกิจ ๕ และมีฐาน ๕ เทฺว อิติ จ ว่ามี ๒ ดวง ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ดังนี้ ฯ

(อธิบายทวารสังคหะ) สงฺคโห การรวบรวม ทฺวารานํ ทวารทั้งหลาย ทฺวารปฺปวตฺตจิตฺตานฺ จ และจิตที่เป็นไปในทวารทั้งหลาย ปริจฺเฉทวเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งการก�ำหนด ทฺวารสงฺคโห ชื่อว่า ทวารสังคหะ ฯ เย ธมฺมา ธรรมเหล่าใด ทฺวารานิ วิย เป็นดุจประตู อาวชฺชนาทีนํ อรูปธมฺมานํ ปวตฺติมุขภาวโต เพราะเป็นทางเป็นไป แห่งอรูปธรรมทั้งหลาย มีอาวัชชนจิตเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น เต ธมฺมา ธรรมทั้งหลายเหล่านั้น ทฺวารานิ ชื่อว่า ทวาร ฯ ปทํ บท จกฺขุเมว อิติ ว่า จกฺขุ ดังนี้ ปสาทจกฺขุเมว ได้แก่ จักขุปสาทรูปนั่นเอง ฯ ทวารํ ทวาร มนานํ แห่งใจ ทั้งหลาย อาวชฺชนาทีนํ มีอาวัชชนจิตเป็นต้น มโนเยว วา ทฺวารํ หรือว่า ทวาร คือใจ อิติ เพราะเหตุนั้น มโนทฺวารํ จึงชื่อว่า มโนทวาร ฯ ปทํ บท ภวงฺคํ อิติ ว่า ภวงฺคํ ดังนี้ ภวงฺคํ ได้แก่ ภวังคจิต อาวชฺชนานนฺตรํ ที่เกิดขึ้นในล�ำดับก่อน อาวัชชนจิต ฯ เตน เพราะเหตุนั้น โปราณา พระโบราณาจารย์ทั้งหลาย อาหุ จึงกล่าวไว้ว่า ตุ ก็ ภวงฺคํ ภวังคจิต สาวชฺชนํ พร้อมอาวัชชนจิต วุจฺจติ บัณฑิต ทั้งหลายเรียก อิติ ว่า มโนทวารํ มโนทวาร ฯ ปทํ บท ตตฺถ อิติ ว่า ตตฺถ ดังนี้เป็นต้น สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า เตสุ จกฺขฺวาทิทฺวาเรสุ บรรดาทวารมีจักขุทวารเป็นต้นเหล่านั้น จกฺขุทฺวาเร ในจักขุทวาร จิตตฺ านิ จิต ฉจตฺตาฬีส ๔๖ ดวง อุปปฺ ชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึน้ ได้ ยถารหํ ตามสมควร อิติ ดังนี้ ฯ ฉจตฺตาฬีส จิต ๔๖ ดวง อิติ คือ ปฺ จทฺวาราวชฺชนเมก ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง สตฺต จิต ๗ ดวง จกฺขุวิฺาณาทีนิ คือ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

125

วิปากจิตทั้ง ๒ ฝ่าย มีจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น โวฏฺวนเมกํ โวฏฐัพพนจิต ๑ ดวง กามาวจรชวนานิ จ กามาวจรชวนจิ ต เอกู น ตึ ส ๒๙ ดวง กุสลากุสลนิราวชฺชนกฺริยาวเสน คือ กุศลชวนจิต (๘ ดวง) อกุศลชวนจิต (๑๒ ดวง) กามาวจรกิริยาจิต เว้นอาวัชชนจิตเสีย (๒ ดวง) (เหลือ ๙ ดวง) ตทาลมฺพนานิ จ และตทาลัมพนจิต อฏฺเว ๘ ดวงเท่านั้น อคหิตคฺคหเณน โดยระบุถงึ ตทาลัมพนจิตทีย่ งั มิได้ระบุถงึ ฯ ปทํ บท ยถารหํ อิติ ว่า ยถารหํ ดังนี้ อิฏฺ าทิอารมฺมณโยนิโสอโยนิโสมนสิการนิรานุสยสนฺตานาทีน อนุรปู วเสน ได้แก่ ด้วยอ�ำนาจสมควรแก่อารมณ์มอี ฏิ ฐารมณ์เป็นต้น โยนิโสมนสิการ อโยนิโสมนสิการ และแก่ภูมิและบุคคลที่มีสันดานปราศจากอนุสัย เป็นต้น ฯ ปทํ บท สพฺพถาปิ อิติ ว่า สพฺพถาปิ ดังนี้ โยชนา มีวาจาประกอบความ ว่า จิตตฺ านิ จิต จตุปปฺ ญฺาส ๕๔ ดวง ปกาเรน โดยประการ อาวชฺชนาทิตทาลมฺพนปริโยสาเนน มีอาวัชชนจิต เป็นต้น มีตทาลัมพนจิตเป็นที่สุด สพฺเพนปิ แม้ทั้งปวง เวทิตพฺพานิ บัณฑิต พึงทราบ กามาวจราเนวา อิติ ว่าล้วนเป็นกามาวจรจิต อิติ ดังนี้ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า จตุปฺ าส จิตฺตานิ จิต ๕๔ ดวง สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวงเป็นกามาวจรจิต อิติ ดังนี้ ฯ อตฺโถ อธิบาย ความว่า ตํตํทฺวาริกวเสน ิตานิ จิตทั้งหลายที่ด�ำรงอยู่ ด้วยอ�ำนาจจิตที่เกิดทาง ทวารนั้น ๆ สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง จตุปฺ าส ย่อมมี ๕๔ ดวง โสตวิฺาณาทีน จตุนนฺ  ยุคลาน ปกฺเขเปน โดยเพิม่ จิต ๔ คู่ มีโสตวิญญาณจิต เป็นต้น ฉจตฺตาฬีสจิตเฺ ตสุ เข้าในจิต ๔๖ ดวง จกฺขทุ วฺ าริเกสุ ทีเ่ กิดทางจักขุทวาร อคหิตคฺคหเณน โดยระบุถึงจิตที่ยังมิได้ระบุถึง ฯ เอกูนวีสติ จิต ๑๙ ดวง ปฏิสนฺธาทิวเสน ปวตฺตานิ ทีเ่ ป็นไปด้วยอ�ำนาจกิจมีปฏิสนธิกจิ เป็นต้น ทฺวารวินมิ ตุ ตฺ านิ ชื่อว่าจิตที่พ้นจากทวาร จกฺขฺวาทิทฺวาเรสุ อปฺปวตฺตนโต เพราะไม่เป็นไปในทวาร มี จั ก ขุ ท วารเป็ น ต้ น มโนทฺ ว ารสงฺ ข าตภวงฺ ค โต อารมฺ ม ณนฺ ต รคฺ ค หณวเสน อปฺปวตฺตโิ ต จ และเพราะไม่เป็นไปด้วยอ�ำนาจรับอารมณ์อนื่ จากภวังคจิตกล่าวคือ มโนทวาร ฯ ฉตฺตสึ จิตตฺ านิ จิต ๓๖ ดวง คือ ทฺวปิ ฺ จวิฺาณานิ ปัญจวิญญาณจิต


126

ปริเฉทที่ ๓

ทั้ง ๒ ฝ่าย (ฝ่ายละ ๑๐ ดวง) เอกทฺวาริกจิตฺตานิ ชื่อว่า จิตเกิดทางทวารเดียว สกสกทฺวาเร อุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดขึ้นในทวารของตน ๆ ยถารหํ ตามสมควร สกสกทฺวารานุรปู  คือ สมควรแก่ทวารของตน ๆ ฉพฺพสี ติมหคฺคตโลกุตตฺ รชวนานิ และคือมหัคคตชวนจิตและโลกุตตรชวนจิต ๒๖ ดวง เอกทฺวาริกจิตฺตานิ ชื่อว่า จิตเกิดทางทวารเดียว มโนทฺวาเรเยว จ อุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดขึ้นในมโนทวาร เท่านัน้ ฯ อุเปกฺขาสหคตสนฺตรี ณมหาวิปากานิ สันตีรณจิตทีส่ หรคตด้วยอุเบกขาเวทนา (๒ ดวง) และมหาวิบากจิต (๘ ดวง) ฉทฺวาริกานิ เจว ชือ่ ว่า จิตเกิดทาง ทวาร ๖ ปฺ จทฺวาเรสุ สนฺตรี ณตทาลมฺพนวเสน มโนทฺวาเร จ ตทาลมฺพนวเสน ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปในทวาร ๕ ด้วยอ�ำนาจสันตีรณกิจ และตทาลัมพนกิจ และเพราะเป็ น ไปในมโนทวาร ด้ ว ยอ�ำ นาจตทาลั ม พนกิ จ ปฏิ ส นฺ ธ าทิ ว เสน ปวตฺติยา ทฺวารวินิมุตฺตานิ จ และชื่อว่าจิตพ้นจากทวาร เพราะเป็นไปด้วย อ�ำนาจกิจ มีปฏิสนธิกจิ เป็นต้น ฯ เอกเทสสรูเปกเสโส ทฏฺพฺโพ บัณฑิตพึงเห็น สรูเปกเสสสมาส ซึง่ มีศพั ท์เป็นเครือ่ งปรากฏอยูศ่ พั ท์เดียว ว่า ปฺ จทฺวาริกานิ จ จิตเกิดทางทวร ๕ ฉทฺวาริกานิ จ และจิตเกิดทางทวาร ๖ อิติ เพราะเหตุนั้น ปฺ จฉทฺวาริกานิ จึงชื่อว่า ปัญจทวาริกะ ฯ ฉทฺวาริกานิ จ ตานิ จิตเหล่านั้น เกิดทางทวาร ๖ กทาจิ ทฺวารวินิมุตฺตานิ จ และบางคราวก็พ้นจากทวาร อิติ เพราะเหตุ นั้ น ฉทฺ ว าริ ก วิ นิ มุ ตฺ ต านิ จึ ง ชื่ อ ว่ า ฉั ท วาริ ก วิ นิ มุ ต ตะ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฉทฺวาริกานิ จ จิตเกิดทางทวาร ๖ ฉทฺวาริกวินิมุตฺตานิ จ และ พ้นจากจิตที่เกิดทางทวาร ๖ ฉทฺวาริกวินิมุตฺตานิ ฉัทวาริกวินิมุตตะ อิติ ดังนี้ ฯ

(อธิบายอารัมมณสังคหะ) สงฺคโห การรวบรวม อาลมฺพนานํ อารมณ์ทั้งหลาย สรูปโต โดยรวบยอด วิภาคโต โดยวิภาค ตตํ วํ สิ ยจิตตฺ โต จ และโดยจิตทีม่ อี ารมณ์มรี ปู ารมณ์เป็นต้นนัน้ ๆ เป็นอารมณ์ อาลมฺพนสงฺคโห ชื่อว่า อาลัมพนสังคหะ ฯ รูป อารมณ์ที่ชื่อว่ารูป เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า วณฺณวิการ อาปชฺชมานํ ถึงอาการต่าง ๆ แห่งสี


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

127

รูปยติ เปิดเผย หทยคตภาวํ ปกาเสติ คือประกาศภาวะที่อยู่ในหทัย อิติ ดังนี้ ฯ ตเทว รูปํ รูปนั้นนั่นแล อาลมฺพนํ ชื่อว่า อารมณ์ เพราะอรรถวิเคราะห์ อิติ ว่า จิตฺตเจตสิเกหิ อาลมฺพิยติ อันจิตแลเจตสิกอาศัย ทุพฺพลปุริเสน ทณฺฑาทิ วิย ดุจคนทุพพลภาพ อาศัยไม้เท้าเป็นต้น ฉะนั้น อาคนฺตฺวา เอตฺถ รมนฺติ อิติ วา หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่มายินดีแห่งจิตและเจตสิกเหล่านั้น ฯ รูปเมว อารมฺมณ อารมณ์คือรูป รูปารมฺมณ ชื่อว่ารูปารมณ์ ฯ สทฺโท อารมณ์ชื่อว่า สัททะ เพราะอรรถวิเคราะห์ อิติ ว่า สทฺทยิ ติ อันบุคคลเปล่ง กถิยติ คือ กล่าว ฯ โสเยว อารมฺมณํ อารมณ์ คือสัททะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น สทฺทารมฺมณํ จึงชื่อว่า สัททารมณ์ ฯ คนฺโธ อารมณ์ชื่อว่า คันธะ เพราะอรรถวิเคราะห์ อิติ ว่า คนฺธยติ ฟุ้งไป อตฺตโน วตฺถุํ สูเจติ คือ ชี้วัตถุของตน อิทเมตฺถ อตฺถีติ เปสุฺํ กโรนฺตํ วิย โหติ ได้แก่ เป็นดุจท�ำการสื่อข่าวว่าอารมณ์นี้ มีอยู่ในที่นี้ ฯ โสเยว อารมฺมณํ อารมณ์ คือ คันธะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น คนฺธารมฺมณํ จึงชือ่ ว่า คันธารมณ์ ฯ รโส อารมณ์ ชือ่ ว่า รสะ รสนฺติ ต สตฺตา อสฺสาเทนฺตตี ิ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นที่มายินดี คือพอใจแห่งเหล่าสัตว์ ฯ โสเยว อารมฺมณํ อารมณ์ คือรสะนัน้ อิติ เพราะเหตุนน้ั รสารมฺมณํ จึงชือ่ ว่า รสารมณ์ ฯ โผฏฺพฺพํ อารมณ์ที่ชื่อว่า โผฏฐัพพะ ผุสิยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันสัตว์ ถูกต้องได้ ฯ ตเทว อารมฺมณํ อารมณ์คือโผฏฐัพพะนั้น โผฏฺพฺพารมฺมณํ ชื่อว่าโผฏฐัพพารมณ์ ฯ ธมฺโมเยว อารมฺมณํ อารมณ์คือธรรม ธมฺมารมฺมณํ ชื่อว่าธรรมารมณ์ ฯ ปทํ บท ตตฺถ อิติ ว่า ตตฺถ ดังนี้ เตสุ อารมฺมเณสุ ได้แก่ บรรดาอารมณ์เหล่านั้น ฯ รูปเมวาติ ชื่อว่า รูปนั้นแหละ รูปเมว ได้แก่รูป วณฺณายตนสงฺขาตํ กล่าวคือรูปายตนะนั่นเอง ฯ สทฺทาทโยติ ชื่อว่า สัททารมณ์ เป็นต้น สทฺทาทโย ได้แก่ โคจรรูปมีสัททะเป็นต้น สทฺทายตนาทิสงฺขาตา กล่าวคือสัททายตนะเป็นต้น อาโปธาตุวชฺชติ ํ ภูตตฺตยสงฺขาตํ โผฏฺพฺพายตนฺ จ และโผฏฐัพพายตนะ กล่าวคือ ภูตรูป ๓ เว้น อาโปธาตุ ฯ โสฬส รูป ๑๖ ประการ เสสานิ ทีเ่ หลือ อารมฺมณปสาทานิ เปตฺวา เว้นโคจรรูปและปสาทรูป สุขมุ รูปานิ


128

ปริเฉทที่ ๓

ชื่อว่า สุขุมรูป ฯ ปทํ บท ปจฺจุปฺปนฺนํ อิติ ว่า ปจฺจุปฺปนฺนํ ดังนี้ วตฺตมานํ ได้แก่ ก�ำลังเป็นไปอยู่ ฯ ปทํ บท ฉพฺพธิ มฺปิ อิติ ว่า ฉพฺพธิ มฺปิ ดังนี้ รูปาทิวเสน ฉพฺพธิ มฺปิ แม้อารมณ์ ๖ คือ รูปารมณ์เป็นต้น ฯ นิพพฺ านํ ปฺ ตฺติ จ นิพพาน และบัญญัติ กาลวินิมุตฺตํ นาม ชื่อว่าเป็นอารมณ์ที่พ้นจากกาล น วตฺตพฺพา เพราะเป็นอารมณ์อนั ไคร ๆ พึงกล่าวไม่ได้ อตีตาทิกาลวเสน ด้วยอ�ำนาจอดีตกาล เป็นต้น วินาสาภาวโต เพราะไม่มคี วามพินาศ ฯ ปทํ บท ยถารหํ อิติ ว่า ยถารหํ ดังนี้ อนุรูปโต ได้แก่ โดยสมควร กามาวจรชวนอภิฺาเสสมหคฺคตาทิชวนานํ แก่กามาวจรชวนจิต อภิญญาชวนจิต และมหัคคตชวนจิตที่เหลือเป็นต้น ฯ หิ ความจริง ฉพฺพิธมฺปิ ติกาลิกํ อารมฺมณํ อารมณ์ แม้ทั้ง ๖ เป็นไปในกาล ๓ กาลวิมุตฺตฺ จ และพ้นจากกาล อารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ กามาวจรชวนานํ ของกามาวจรชวนจิต หสิตุปฺปาทวชฺชานํ ที่เว้นหสิตุปปาทจิต ฯ ติกาลิกเมว อารมณ์ ๖ ที่ เ ป็ น ไปในกาล ๓ เท่ า นั้ น หสิ ตุ ปฺ ป าทสฺ ส เป็ น อารมณ์ ข อง หสิตุปปาทจิต ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าว อสฺส เอกนฺตปริตฺตาลมฺพนต ว่า หสิตุปปาทจิตนั้น มีอารมณ์ที่เป็นกามาวจร โดยส่วนเดียวเป็นอารมณ์ ฯ ปน ส่วน อภิฺาชวนสฺส อภิญญาชวนจิต ทิพฺพจกฺขฺวาทิวสปฺปวตฺตสฺส ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจทิพยจักษุเป็นต้น ฉพฺพิธมฺป ิ ติกาลิกํ มีอารมณ์ทั้ง ๖ ที่เป็นไปในกาล ๓ กาลวิมุตฺตฺ จ และพ้นจากกาล อารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ ยถารหํ ตามสมควร ฯ ปน ส่วน วิภาโค วิภาค เอตฺถ ในอภิญญาชวนจิตนี้ อวิภวิสฺสติ จักปรากฏ นวมปริจฺเฉเท ในปริเฉทที่ ๙ อิติ แล ฯ ปน ส่วน เสสานํ มหัคคตชวนจิตที่เหลือ กาลวิมุตฺตํ อตีตฺ จ อาลมฺพนํ โหติ มีอารมณ์ที่พ้นจากกาล และที่เป็นอดีตเป็นอารมณ์ ยถารหํ ตามสมควร ฯ สมพนฺโธ เชื่อมความว่า ฉพฺพิธมฺปิ อารมฺมณํ อารมณ์แม้ทั้ง ๖ อารมฺมณํ โหติ ย่อมเป็นอารมณ์ จิตฺตานํ ของจิตทั้งหลาย ทฺวารวินิมุตฺตานญฺจ ปฏิสนฺธิภวงฺคจุติสงฺขาตานํ กล่าวคือ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต และจุติจิต ที่พ้นจาก ทวาร ฯ ปน ก็ ตํ อารมฺมณํ อารมณ์นั้น เกนจิ อคฺคหิตเมว อันชวนจิตบางดวง


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

129

ยังมิได้รับมาเลย โคจรภาวํ คจฺฉติ จะถึงความเป็นอารมณ์ เนสํ แก่จิตที่พ้นจาก ทวารเหล่านัน้ อารมฺมณํ อาวชฺชนสฺส วิย ดุจอารมณ์ของอาวัชชนจิต น หาได้ไม่ น จ ปฺ จทฺวาริกชวนานํ วิย เอกนฺตปจฺจุปฺปนฺนํ และจะเป็นอารมณ์ที่เป็น ปัจจุบันโดยส่วนเดียว ดุจอารมณ์ของชวนจิตที่เกิดทางทวาร ๕ ก็หามิได้ นาปิ มโนทฺวาริกชวนานํ วิย ติกาลิกเมว อวเสเสน กาลวินิมุตฺตํ วา ทั้งจะเป็นไป ในกาล ๓ เท่านัน้ หรือพ้นจากกาลโดยไม่แปลกกัน ดุจอารมณ์ของชวนจิตทีเ่ กิดทาง มโนทวารก็ไม่ได้ นาปิ มรณาสนฺนโต ปุรมิ ภาคชวนานํ วิย กมฺมกมฺมนิมติ ตฺ าทิวเสน อาคมสิทฺธโวหารวินิมุตฺตํ ทั้งจะเป็นอารมณ์ที่พ้นจากบัญญัติ ซึ่งส�ำเร็จด้วยกรรม เป็นทีม่ ายินดีแห่งผล ด้วยอ�ำนาจกรรมและกรรมนิมติ เป็นต้น ดุจอารมณ์ของชวนจิต ที่เป็นไปในส่วนเบื้องต้น ก่อนแต่ในเวลาใกล้ตาย ก็หามิได้ อิติ เพราะเหตุนั้น อาห ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าว ยถาสมฺภวํ ฯเปฯ สมฺมตํ อิติ ว่า ยถาสมฺภวํ ฯลฯ สมฺมตํ ดังนี้ ฯ ตตฺถ บรรดาบทเหล่านั้น ปทํ บท ยถาสมฺภวํ อิติ ว่า ยถาสมฺภวํ ดังนี้ สมฺภวานุรูปโต ความว่า โดยสมควรแก่ความเกิดมี ตํตํภูมิกปฏิสนฺธิภวงฺคจุตีนํ แห่งปฏิสนธิจิตภวังคจิตและจุติจิตที่เกิดในภูมินั้น ๆ ตํตํทฺวารคฺคหิตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจอารมณ์ที่ชวนจิตรับมาทางทวารนั้น ๆ เป็นต้น ฯ หิ ความจริง ตาว อันดับแรก กามาวจรานํ ปฏิสนฺธิภวงฺคานํ ปฏิสนธิจิตและภวังคจิตอันเป็น ฝ่ายกามาวจร รูปาทิปฺ จาลมฺพนํ มีอารมณ์ ๕ มีรปู ารมณ์เป็นต้น ฉทฺวารคฺคหิตํ ทีช่ วนจิตรับมาทางทวาร ๖ ยถารหํ ปจฺจปุ ปฺ นฺนมตีตฺ จ เป็นปัจจุบนั และเป็นอดีต ตามสมควร กมฺมกมฺมนิมิตฺตสมฺมตมารมฺมณํ โหติ ที่สมมติว่าเป็นกรรมและ กรรมนิมิตเป็นอารมณ์ ตถา จุติจิตฺตสฺส จุติจิตอันเป็นฝ่ายกามาวจรก็เหมือนกัน คือมีอารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้น ที่ชวนจิตรับมาทางทวาร ๖ อตีตเมว เฉพาะที่ เป็นอดีตเท่านั้น ที่สมมติว่าเป็นกรรมและกรรมนิมิตเป็นอารมณ์ ธมฺมารมฺมณํ ปน ส่วนธรรมารมณ์ มโนทฺวารคฺคหิตเมว เฉพาะที่ชวนจิตรับมาทางมโนทวารเท่านั้น อตีตํ ที่เป็นอดีต กมฺมกมฺมนิมิตฺตสมฺมตํ ที่สมมติว่าเป็นกรรมและกรรมนิมิต


130

ปริเฉทที่ ๓

เป็นอารมณ์ เตสํ ติณณ ฺ มฺปิ ของปฏิสนธิจติ ภวังคจิตและจุตจิ ติ แม้ทงั้ ๓ ประเภท เหล่านั้น รูปารมฺมณํ รูปารมณ์ เอกเมว อย่างเดียวเท่านั้น มโนทฺวารคฺคหิตํ ที่ชวนจิตรับมาทางมโนทวาร เอกนฺตํ ปจฺจุปฺปนฺนํ ที่เป็นปัจจุบันโดยส่วนเดียว คตินิมิตฺตสมฺมตํ ที่สมมติว่าเป็นคตินิมิต ตถา ก็เหมือนกัน คือเป็นอารมณ์ของ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต และจุติจิต แม้ทั้ง ๓ ประเภทเหล่านั้น อิติ เอวํ รวมความ ดังกล่าวมานี้ รูปาทิปญฺจาลมพนํ อารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น ฉทฺวารคฺคหิตํ ทีช่ วนจิตรับมาทางทวาร ๖ ยถาสมฺภวํ ตามทีเ่ กิดมีได้ ปจฺจปุ ปฺ นฺนมตีตฺ จ ทีเ่ ป็น ปัจจุบันและที่เป็นอดีต กมฺมกมฺมนิมิตฺตคตินิมิตฺตสมฺมตํ ที่สมมติว่าเป็นกรรม กรรมนิมิต และคตินิมิต กามาวจรปฏิสนฺธาทีนํ อารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ ของจิต ๓ ประเภท มีปฏิสนธิจิตเป็นต้น อันเป็นฝ่ายกามาวจร ฯ ปน ส่วน มหคฺคตปฏิสนฺธาทีสุ บรรดาจิต ๓ ประเภท มีปฏิสนธิจิตเป็นต้น อันเป็นฝ่าย มหัคคตะ รูปาวจรานํ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต และจุติจิต อันเป็นฝ่ายรูปาวจร ปมตติยารูปานฺ จ และอันเป็นฝ่ายอรูปาวจรจิตดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๓ ธมฺมารมฺมณเมว มีเฉพาะธรรมารมณ์เท่านัน้ มโนทฺวารคฺคหิตํ ทีช่ วนจิตรับมาทางมโนทวาร ปฺ ตฺตภิ ตู ํ ที่เป็นบัญญัติธรรม กมฺมนิมิตฺตสมฺมตํ ที่สมมติว่าเป็นกรรมนิมิต อารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ ตถา ทุติยจตุตฺถารูปานํ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต และจุติจิต อันเป็น ฝ่ายอรูปาวจรจิตดวงที่ ๒ กับดวงที่ ๔ ก็เหมือนกัน คือมีเฉพาะธรรมารมณ์เท่านัน้ ทีช่ วนจิตรับมาทางมโนทวาร ทีเ่ ป็นบัญญัตธิ รรม ทีส่ มมติวา่ เป็นกรรมนิมติ อตีตเมว เฉพาะทีเ่ ป็นอดีตเท่านัน้ อารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ อิติ เอวํ รวมความดังกล่าว มานี้ มหคฺคตปฏิสนฺธภิ วงฺคจุตนี ํ ปฏิสนธิจติ ภวังคจิต และจุตจิ ติ อันเป็นฝ่ายมหัคคตะ มโนทฺวารคฺคหิตํ มีธรรมารมณ์ที่ชวนจิตรับมาทางมโนทวาร ปฺ ตฺติภูตํ ที่เป็น บัญญัติธรรม อตีตํ วา หรือที่เป็นอดีต กมฺมนิมิตฺตสมฺมตเมว เฉพาะที่สมมติว่า เป็นกรรมนิมิตเท่านั้น อารมฺมณ โหติ เป็นอารมณ์ ฯ ข้อว่า เยภุยฺเยน ภวนฺตเร ฉทฺวารคฺคหิตํ อิติ ดังนี้ มรณาสนฺนปฺปวตฺตฉทฺวาริกชวเนหิ คหิตํ ความว่า อารมณ์ทั้ง ๖ ที่ชวนจิตเกิดทางวาร ๖ ที่เป็นไป ค�ำสั่งแก้ คือให้ตัดข้อความนี้ออกใช่ไม๊ค่ะ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

131

ในเวลาใกล้ตาย รับมาแล้ว พาหุลฺเลน อตีตานนฺตรภเว ในภพอันเป็นล�ำดับ ติดต่อกันจากอดีตภพโดยมาก ฯ หิ ความจริง ปฏิสนฺธิวิสยสฺส อารมณ์แห่ง ปฏิสนธิจิต อสฺ ี ภวโต จุตานํ ของเหล่าสัตว์ผู้จุติจากอสัญญีภพ เกนจิ ทฺวาเรน คหณํ อันทวารอะไร ๆ จะรับมา อนนฺตราตีตภเว ในอดีตภพอันเป็น ล�ำดับติดต่อกัน อตฺถิ มีอยู่ น ก็หาได้ไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ อารมณ์แห่ง ปฏิ ส นธิ จิ ต นั้ น พฺ ย ภิ จ าริ ตํ ท่ า นพระอนุ รุ ท ธาจารย์ จึ ง กล่ า วให้ แ ปลกออกไป เยภุยฺยคฺคหเณน ด้วย เยภุยฺ ศัพท์ เอตฺถ ในค�ำว่า เยภุยฺเยน ภวนฺตเร ฉทฺวารคฺคหิตํ นี้ ฯ หิ ความจริง กมฺมนิมิตฺตาทิกมารมฺมณํ อารมณ์มีกรรมนิมิต เป็นต้น อุปฏฺาติ ย่อมปรากฏ ปฏิสนฺธิยา แก่ปฏิสนธิจิต เตสํ ของอสัญญีสัตว์ เหล่านั้น เกวลํ กมฺมพเลเนว ได้ด้วยก�ำลังกรรมล้วน ๆ เท่านั้น ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น สจฺจสงฺเขเป ในคัมภีร์สัจจสังเขป ปุจฺฉิตฺวา ท่านธรรมปาลาจารย์ ถามถึง ปฏิสนฺธินิมิตฺตํ นิมิตแห่งปฏิสนธิจิต อสฺ ี ภวโต จุตสฺส ของสัตว์ผู้จุติ จากอสัญญีภพ วุตฺตํ แล้วกล่าว อุปฏฺานํ ความปรากฏ ปฏิสนฺธิโคจรสฺส แห่งอารมณ์ของปฏิสนธิจติ เกวลํ กมฺมพเลเนว ด้วยก�ำลังกรรมล้วน ๆ เท่านัน้ ว่า ยํ กมฺมํ กรรมใด ภวนฺตรกต ที่สัตว์กระท�ำแล้วในภพอื่น ลเภ พึงได้ โอกาสํ โอกาส ตโต เพราะกรรมนั้น สา สนฺธิ ปฏิสนธิจิตนั้น โหติ ย่อมมีได้ เตเนว อุปฏฺาปิตโคจเร ในอารมณ์อันกรรมนั้นนั่น แหละให้ปรากฏแล้ว อิติ ดังนี้ ฯ หิ ความจริง อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ ชวนคฺคหิตสฺสาปิ อารมฺมณสฺส กมฺมพเลเนว อุปฏฺาปิยมานตฺตา เพราะอารมณ์แม้ที่ชวนจิต รับมาแล้วอันก�ำลังกรรมนั่นเอง ให้ปรากฏอยู่ เตเนวาติ สาวธารณวจนสฺส อธิปฺปายสุฺตา อาปชฺเชยฺย ค�ำที่มีบทอวธารณในค�ำว่า เตเนว นี้ ก็พึงต้อง ไร้ความหมาย อิติ แล ฯ ถามว่า จ ก็ ปฏิสนฺธิโคจโร อารมณ์แห่งปฏิสนธิจิต เตสมฺปิ แม้ของ อสัญญีสัตว์เหล่านั้น เกนจิ ทฺวาเรน อันทวารอะไร ๆ คหิโต รับมาแล้ว กมฺมภเว ในกรรมภพ สมฺภวติ ย่อมเกิดมีได้ นนุ มิใช่หรือ ฯ


132

ปริเฉทที่ ๓

ตอบว่า สจฺจํ ค�ำที่ท่านกล่าวมาแล้วนี้ เป็นความจริง ปฏิสนฺธิโคจโร อารมณ์ แห่งปฏิสนธิจิต เตสํ ของอสัญญีสัตว์เหล่านั้น กมฺมกมฺมนิมิตฺตสมฺมโต ที่สมมติ ว่าเป็นกรรมและกรรมนิมิต สมฺภวติ ย่อมเกิดมีได้ ฯ ปน ส่วน ปฏิสนฺธิโคจโร อารมณ์แห่งปฏิสนธิจิต คตินิมิตฺตสมฺมโต ที่สมมติว่าเป็นคตินิมิต อุปฏฺาติ ย่อมมี สพฺเพสมฺปิ แม้แก่สัตว์ทุกจ�ำพวก มรณกาเลเยว เฉพาะในเวลาใกล้ตาย เท่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น กุโต ตสฺส กมฺมภเว คหณสมฺภโว การจะรับคตินิมิต นั้น ในกรรมภพ จักเกิดมีได้แต่ที่ไหน ฯ อปิจ อนึ่ง เอตฺถ ในอธิการนี้ วุตฺตํ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์กล่าวว่า ฉทฺวารคฺคหิตํ อิติ ดังนี้ สนธาย หมายถึง มรณา สนฺนปฺปวตฺตชวเนหิ คหิตเมว เฉพาะอารมณ์ที่ชวนจิตซึ่งเป็นไปในเวลาใกล้ตาย รับมาแล้วเท่านัน้ ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวมานี้ อาจริเยน ท่านอาจารย์ วุตตฺ ํ จึงกล่าวไว้ ปรมตฺถวินจิ ฉฺ เย ในปกรณ์ปรมัตถวินจิ ฉัย อธิกาเร ในอธิการ อิมสฺมึเยว นี้นั่นแหละว่า ปฏิสนฺธิ ปฏิสนธิจิต อารพฺภ ปรารภ ยโถปฏฺติ โคจรํ ถึงอารมณ์ ตามที่ปรากฏ ฉทฺวาเรสุ ในทวาร ๖ มรณาสนฺนสตฺตสฺส แก่สัตว์ ผู้ใกล้ตาย ตํ นั้น ภวนฺตเร ย่อมเกิดมีในภพอื่นได้ อิติ ดังนี้ ฯ ปจฺจุปฺปนฺนํ อิติ อาทินา ด้วยค�ำว่า ปจฺจุปฺปนฺนํ ดังนี้เป็นต้น นิวาเรติ ท่านพระอนุรุทธจารย์ ย่อมห้าม อนาคตสฺส ปฏิสนฺธิโคจรภาวํ ว่าอารมณ์ ๖ ที่เป็นอารมณ์ของปฏิสนธิจิตได้ ฯ หิ ความจริง ตํ อารมณ์ที่เป็นอนาคตนั้น อนุภูตํ อันปฏิสนธิจิตเสวยได้ อตีตกมฺมกมฺมนิมิตฺตานิ วิย เหมือนกับกรรมและ กรรมนิมิตที่เป็นอดีต น หาได้ไม่ ปจฺจุปฺปนฺนกมฺมนิมิตฺตคตินิมิตฺตานิ วิย อาปาถมาคตฺ จ โหติ ทั้งจะมาปรากฏได้เหมือนกับกรรมนิมิต และคตินิมิตที่เป็น ปัจจุบนั นาปิ ก็หาได้ไม่ อิติ แล ฯ จ ก็ วกฺขติ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์จกั กล่าว สรูปํ สภาวะ กมฺมกมฺมนิมติ ตฺ าทีนฺ จ แห่งกรรมและกรรมนิมติ เป็นต้น สยเมว เองทีเดียว ฯ ปทํ บท เตสุ อิติ ว่า เตสุ ดังนี้ รูปาทิปจฺจปุ ปฺ นฺนาทิกมฺมาทิอาลมฺพเนสุ วิฺาเณสุ ได้แก่ บรรดาวิญญาณจิตที่มีอารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้น มีอารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

133

เป็นต้น และที่มีอารมณ์มีกรรมเป็นต้น เป็นอารมณ์ ฯ เอเกก อารมฺมณํ อารมณ์ แต่ละอย่าง รูปาทีสุ บรรดารูปารมณ์เป็นต้น อารมฺมณํ เป็นอารมณ์ เอเตสํ ของ ปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่ายเหล่านี้ อิติ เพราะเหตุนั้น รูปาทิเอเกกาลมฺพนานิ ปัญจวิญญาณจิตทัง้ สองฝ่ายเหล่านัน้ ชือ่ ว่า มีอารมณ์แต่ละอย่างมีรปู ารมณ์เป็นต้น เป็นอารมณ์ ฯ รูปาทิกํปฺ จวิธมฺปิ อาลมฺพนํ อารมณ์แม้ทั้ง ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น เอตสฺส เป็นอารมณ์ของมโนธาตุจติ ๓ ดวงนี้ อิติ เพราะเหตุนนั้ รูปาทิปฺ จาลมฺพนํ มโนธาตุจิต ๓ ดวงนั้น ชื่อว่า มีอารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น เป็นอารมณ์ ฯ ปทํ บท เสสานิ อิติ ว่า เสสานิ ดังนี้ กามาวจรวิปากานิ ความว่ากามาวจรวิปากจิต เอกาทส ๑๑ ดวง อวเสสานิ ที่เหลือ ทฺวิปฺ จวิฺาณสมฺปฏิจฺฉนฺเนหิ จาก ปัญจวิญญาณจิตทัง้ ๒ ฝ่าย (๑๐ ดวง) และสัมปฏิจฉันนจิต (๒ ดวง) ฯ สพฺพถาปิ กามาวจราลมฺพนานิ อิติ ข้อว่า สพฺพถาปิ กามาวจราลมฺพนานิ ดังนี้ สพฺเพนปิ ความว่า กามาวจรวิบากจิตที่เหลือและหสิตุปปาทจิต ว่าแม้โดยประการทั้งปวง นิพพฺ ตฺตานิปิ คือแม้ทบี่ งั เกิดแล้ว ฉทฺวาริกฉทฺวารวิมตุ ตฺ ฉฬารมฺมณวสปฺปวตฺตากาเรน โดยอาการที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจที่เกิดทางทวาร ๖ จิตที่พ้นจากทวาร ๖ และจิตที่มี อารมณ์ ๖ เอกนฺตกามาวจรสภาวฉฬารมฺมณโคจรานิ ย่อมมีอารมณ์ ๖ ซึ่งมี สภาวะเป็นกามาวจรส่วนเดียวเป็นอารมณ์ ฯ หิ ความจริง เอตฺถ ในบรรดากามาวจรวิบากจิต (๑๒ ดวง) และหสิตปุ ปาทจิต (๑ ดวง) นี้ ตาว อันดับแรก วิปากานิ กามาวจรวิบากจิต ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป รูปาทิปฺ จาลมฺพเน ในอารมณ์ ๕ มีรปู ารมณ์เป็นต้น สนฺตรี ณาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกิจ มีสันตีรณกิจเป็นต้น ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป กามาวจราลมฺพเนเยว เฉพาะใน อารมณ์ทเี่ ป็นกามาวจร ฉฬารมฺมณสงฺขาเต กล่าวคืออารมณ์ ๖ ปฏิสนฺธาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกิจมีปฏิสนธิกิจเป็นต้น ฯ หสนจิตฺตมฺปิ แม้หสิตุปปาทจิต ปวตฺตติ ก็ย่อมเป็นไป ฉสุ อารมฺมเณสุ ในอารมณ์ ๖ ปริตฺตธมฺมปริยาปนฺเนเสฺวว เฉพาะที่นับเนื่องในกามาวจรธรรม เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ ปธานสารูปฏฺานํ ทิสฺวา ตุสฺสนฺตสฺส รูปารมฺมเณ เป็นไปในรูปารมณ์ แก่พระขีณาสพ ผู้พบสถานที่


134

ปริเฉทที่ ๓

อันเหมาะสมแก่การบ�ำเพ็ญเพียรแล้วยินดีอยู่ ภณฺฑภาชนฏฺาเน มหาสทฺทํ สุตวฺ า เอวรูปา โลลุปปฺ ตณฺหา เม ปหีนาติ ตุสสฺ นฺตสฺส สทฺทารมฺมเณ เป็นไปในสัททารมณ์ แก่พระขีณาสพ ผู้ได้ยินเสียงอึกทึกในสถานที่แจกของ แล้วคิดว่า เราละตัณหา คือความโลภจัด เห็นปานนีไ้ ด้แล้ว ยินดีอยู่ คนฺธาทีหิ เจติยปูชนกาเล ตุสสฺ นฺตสฺส คนฺธารมฺมเณ เป็นไปใน คันธารมณ์แก่พระขีณาสพ ผูย้ นิ ดีในเวลาทีบ่ ชู าพระเจดีย์ ด้วยของหอมเป็นต้น รสสมฺปนฺนํ ปิณฑฺ ปาตํ สพฺรหฺมจารีหิ ภาเชตฺวา ปริภ ุ ฺ ชนกาเล ตุสสฺ นฺตสฺส รสารมฺมเณ เป็นไปในรสารมณ์แก่พระขีณาสพผูย้ นิ ดีในกาลแบ่งบิณฑบาต ที่มีรสอร่อยกับเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้วฉัน อภิสมาจาริกวตฺตปริปูรณกาเล ตุสฺสนฺตสฺส โผฏฺพฺพารมฺมเณ เป็นไปในโผฏฐัพพารมณ์แก่พระขีณาสพ ผู้ยินดี ในเวลาบ�ำเพ็ญอภิสมาจาริกวัตร ปุพฺเพนิวาสาณาทีหิ คหิตกามาวจรธมฺมํ อารพฺภ ตุสฺสนฺตสฺส ธมฺมารมฺมเณ เป็นไปในธรรมารมณ์แก่พระขีณาสพ ผู้ปรารภ ถึงกามาวจรธรรม ที่ตนก�ำหนดแล้ว ด้วยปุพเพนิวาสญาณเป็นต้น แล้วยินดีอยู่ ฯ มนสิกริตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ใส่ใจว่า จิตตานิ จิตวีสติ ๒๐ ดวง ทฺวาทสากุสลอฏฺาณวิปฺปยุตฺตชวนวเสน คือ อกุศลชวนจิต ๑๒ ดวง และ ชวนจิตที่เป็นญาณวิปปยุต ๘ ดวง (กามาวจรโสภณจิต) โลกุตฺตรธมฺเม อารพฺภ ปวตฺติตุํ น สกฺโกนฺติ ย่อมไม่สามารถเพื่อจะยึดโลกกุตตรธรรมเป็นไปได้ อตฺตโน ชฑภาวโต เพราะความที่ตนมีอานุภาพน้อย อิติ เพราะเหตุนั้น ตานิ จิตตานิ จิต ๒๐ ดวงเหล่านั้น นววิธโลกุตฺตรธมฺเม วชฺชิตฺวา เตภูมิกานิ ปฺ ตฺติฺจ อารพฺภ ปวตฺตนฺติ จึงเว้นโลกุตตรธรรม ๙ ประการเสีย แล้วยึดอารมณ์ที่เป็นไป ในภูมิ ๓ และบัญญัตธิ รรม เป็นไป อิติ ดังนี้ อาห จึงกล่าว วจนํ ค�ำว่า อิติ อาทิ อกุสลานิ เจวา ดังนี้ เป็นต้น ฯ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความตกลงใจ อิติ ว่า หิ ความจริง อิเมสุ ในจิต ๒๐ ดวงเหล่านี้ ทิฏฺสิ มฺปยุตฺตจิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาทที่สัมปยุตด้วยทิฏฐิ จตฺตาโร ๔ ดวง อกุสลโต ฝ่ายอกุศล กามาวจราลมฺพนา มีกามาวจรธรรมเป็นอารมณ์ ปริตตฺ ธมฺเม อารพฺภ ปรามสนอสฺสาทนาภินนฺทนกาเล ในเวลาทีย่ ดึ กามาวจรธรรม


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

135

ถูกต้อง ยินดี และเพลิดเพลิน มหคฺคตารมฺมณา มีมหัคคตธรรมเป็นอารมณ์ สตฺตวีสติ มหคฺคตธมฺเม อารพฺภ ปวตฺตยิ ํ ในเวลาทีย่ ดึ มหัคคตธรรม ๒๗ เป็นไป เตเนวากาเรน โดยอาการนั้นนั่นเอง ปฺ ตฺตาลมฺพนา มีบัญญัติธรรมเป็นอารมณ์ สมฺมติธมฺเม อารพฺภ ปวตฺติยํ ในเวลาที่ยึดสมมติธรรมเป็นไป ฯ ทิฏฺวิ ิปฺปยุตฺตจิตฺตุปฺปาทาปิ แม้จติ ตุปบาททีเ่ ป็นทิฏฐิวปิ ปยุต ปริตตฺ มหคฺคตปฺ ตฺตารมฺมโณ ก็มกี ามาวจรธรรม มหัคคตธรรม และบัญญัติธรรม เป็นอารมณ์ เตเยว ธมฺเม อารพฺภ เกวลํ อสฺสาทนาภินนฺทนวเสน ปวตฺติยํ ในเวลาเป็นไปด้วยอ�ำนาจยึดธรรมเหล่านั้น นั่นแล ยินดีและความเพลิดเพลินอย่างเดียว จ แต่ ปฏิฆสมฺปยุตฺตา จิตตุปบาท ทีส่ มั ปยุตด้วยปฏิฆะ ปริตตฺ มหคฺคตปฺ ตฺตารมฺมโณ มีกามาวจรธรรม มหัคคตธรรม และบัญญัติธรรมเป็นอารมณ์ ทุสฺสนวิปฺปฏิสารวเสน ปวตฺติยํ ในเวลาที่เป็นไป ด้วยอ�ำนาจประทุษร้ายและความเดือดร้อนใจ วิจกิ จิ ฉฺ าสหคโต จิตตุปบาททีส่ หรคต ด้วยวิจิกิจฉา ปริตฺตมหคฺคตปฺ ตฺตารมฺมโณ มีกามาวจรธรรม มหัคคตธรรม และบัญญัติธรรม เป็นอารมณ์ อนิฏฺงฺคมนวเสน ปวตฺติยํ ในเวลาเป็นไปด้วย อ�ำนาจไม่ถึงความตกลงใจ อุทฺธจฺจสหคโต จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ปริตตฺ มหคฺคตปฺ ตฺตารมฺมโณ มีกามาวจรธรรม มหัคคตธรรม และบัญญัตธิ รรม เป็นอารมณ์ วิกฺขิปนวเสน อวูปสมวเสน จ ปวตฺติยํ ในเวลาเป็นไป ด้วยอ�ำนาจ ความฟุ้งซ่าน และด้วยอ�ำนาจความไม่สงบ ฯ อฏฺาณวิปฺปยุตฺตจิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาททีเ่ ป็นญาณวิปปยุต ๘ ดวง อิติ คือ กุสลโต จตฺตาโร ฝ่ายกุศลจิต ๔ ดวง กฺริยโต จตฺตาโร ฝ่ายกิริยาจิต ๔ ดวง กามาวจราลมฺพนา มีกามาวจรธรรม เป็นอารมณ์ อสกฺกจฺจทานปจฺจเวกฺขณธมฺมสฺสวนาทีสุ ปริตฺตธมฺเม อารพฺภ ปวตฺตกาเล ในเวลาที่ยึดกามาวจรธรรมเป็นไปในกิจมีการให้ การพิจารณา และ การฟังธรรมโดยไม่เคารพเป็นต้น เสกฺขปุถุชฺชนขีณาสวานํ ของพระเสขบุคคล ปุ ถุ ช น และพระขี ณ าสพ มหคฺ ค ตารมฺ ม ณา มี ม หั ค คตธรรมเป็ น อารมณ์ อติปคุณชฺฌานปจฺจเวกฺขณกาเล ในเวลาทีพ่ จิ ารณาฌานทีช่ ำ� นาญยิง่ ปฺ ตฺตารมฺมณา มีบัญญัติธรรมเป็นอารมณ์ กสิณนิมิตฺตาทีสุ ปริกมฺมาทิกาเล ในเวลาที่บริกรรม


136

ปริเฉทที่ ๓

ในกสิณนิมติ เป็นต้น เป็นอาทิ ฯ จิต ๕ ดวงเหล่านี้ คือ าณสมฺปยุตตฺ กามาวจรกุสลานิ กามาวจรกุศลจิต ทีเ่ ป็นญาณสัมปยุต (๔ ดวง) อภิญญ ฺ ากุสลญฺจ และอภิญญากุศลจิต (ปญฺจมฌานสงฺขาตํ ปัญจมฌานกุศลจิต ๑ ดวง) อรหตฺตมคฺคผลวชฺชติ าลมฺพนานิ ชือ่ ว่ามีอารมณ์เว้นอรหัตตมรรคจิต และอรหัตตผลจิต เป็นอารมณ์ เสกฺขปุถชุ ชฺ นสนฺตาเนเสฺวว ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปเฉพาะในสันดานของพระเสขบุคคล และ ปุถุชนทั้งหลายเท่านั้น ฯ หิ ความจริง เสกฺขาปิ แม้พระเสขบุคคลทั้งหลาย น สกฺโกนฺติ ย่อมไม่อาจ ชานิตุํ เพือ่ จะรู้ จิตตฺ ํ จิต ปาฏิปคุ คฺ ลิกํ ทีเ่ กิดเฉพาะบุคคล อรหตฺตมคฺคผลสงฺขาตํ กล่าวคืออรหัตตมรรคจิตและอรหัตตผลจิต เปตฺวา เว้น โลกิยจิตตฺ ํ โลกิยจิตเสีย อนธิคตตฺตา เพราะตนยังมิได้บรรลุ ตถา ปุถชุ ชฺ นาทโยปิ แม้บคุ คลทัง้ หลายมีปถุ ชุ นเป็นต้น ก็เหมือนกัน โสตาปนฺนาทีนํ คือย่อมไม่สามารถ รูม้ รรคจิตและผลจิต ของพระอริยบุคคลทัง้ หลาย มีพระโสดาบันเป็นต้น ฯ ปน แต่ อตฺตโน มคฺคผลปจฺจเวกฺขเณสุ ในกาลพิจารณามรรคและผลของตน อภิฺาย ปริกมฺมกาเล ในกาลบริกรรมอภิญญา ปรสนฺตานคตมคฺคผลารมฺมณาย ซึง่ มีมรรคจิต และผลจิตที่อยู่ในสันดานของผู้อื่นเป็นอารมณ์ อภิฺาจิตฺเตเนว มคฺคผลานํ ปริจฺฉินฺทนกาเล จ และในกาลก�ำหนดมรรคตจิตและผลจิตด้วยจิตที่สัมปยุตด้วย อภิญญานัน่ แล กุสลชวนานํ กุศลชวนจิตทัง้ หลาย อารพฺภ ปรารภ มคฺคผลธมฺเม ธรรมคือมรรคและผล อตฺตโน อตฺตโน ของตน ๆ สมานานํ เสขานํ ของ พระเสขบุคคลทัง้ หลายผูเ้ สมอกัน เหฏฺมิ านฺ จ และของพระเสขบุคคลทัง้ หลาย ผู้ต�่ำกว่า ปวตฺติ เป็นไป อตฺถิ ย่อมมี เสขานํ แก่พระเสขบุคคลทั้งหลายได้ อิติ เพราะเหตุนั้น ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อรหตฺตมคฺคผลสฺเสว ปฏิกฺเขโป กโต จึงท�ำการห้ามเฉพาะอรหัตตมรรคจิต และอรหัตตผลจิตเท่านั้น ฯ ปน ส่วน สกฺกจฺจทานปจฺจเวกฺขณธมฺมสฺสวนสงฺขารสมฺมสนกสิณปริกมฺมาทีสุ ในการให้ การพิจารณา การฟังธรรม การพิจารณาสังขารธรรม และการบริกรรมกสิณ ที่ท�ำ ด้วยความเคารพเป็นต้น เสกฺขปุถุชฺชนานํ แห่งพระเสขบุคคลและปุถุชนทั้งหลาย ตํตทารมฺมณิกอภิฺาน ปริกมฺมกาเล ในกาลบริกรรมแห่งอภิญญาซึ่งเป็นไป


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

137

ในอารมณ์นั้น ๆ โคตฺรภูโวทานกาเล ในกาลแห่ ง โคตรภู จิต และโวทานจิ ต ทิพฺพจกฺขฺวาทีหิ รูปวิชานนาทิกาเล จ และในกาลที่รู้แจ้งรูป ด้วยทิพยจักขุญาณ เป็นต้น เป็นอาทิ กามาวจรมหคฺคตปฺ ตฺตินิพฺพานานิ กามาวจรจิต มหัคคตจิต บัญญติธรรม และนิพพาน คจฺฉนฺติ ย่อมถึง โคจรภาวํ ความเป็นอารมณ์ กุสลชวนานํ แก่กุศลชวนจิตทั้งหลายได้ ฯ สพฺพถาปิ สพฺพาลมฺพนานิ อิติ ข้อว่า สพฺพถาปิ สพฺพาลมฺพนานิ ดังนี้ าณสมฺปยุตฺตกามาวจรกฺริยานิ เจว ความว่า จิต ๖ ดวงเหล่านี้ คือ กามาวจรกิริยาจิตที่เป็นญาณสัมปยุต (๔ ดวง) กฺริยาภิญฺาโวฏฺฐวนญฺจ อภิญญากริยาจิต (ปัญจมฌานกิริยาจิต ๑ ดวง) และ โวฏฐัพพนจิต (มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง) สพฺพาลมฺพนานิ มีอารมณ์ทั้งปวง เป็นอารมณ์ กามาวจรมหคฺคตสพฺพโลกุตตฺ รปฺ ตฺตวิ เสน ด้วยอ�ำนาจกามาวจรจิต มหัคคตจิต โลกุตตรจิตทั้งปวง และบัญญัติธรรม สพฺพถาปิ ชื่อว่าโดยประการ ทั้งปวง ฯ อตฺโถ อธิบายความ อิติ ว่า ปน แต่ ปเทสสพฺพาลมฺพนานิ แต่จะมี อารมณ์ทั้งปวงเฉพาะส่วนเป็นอารมณ์ อกุสลาทโย วิย ดุจอกุศลจิตเป็นต้น น ก็หามิได้ ฯ หิ ความจริง กฺริยาชวนานํ สพฺพฺ ุ ตาณาทิวสปฺปวตฺติยํ ในเวลาทีก่ ริ ยิ าชวนจิตเป็นไปด้วยอ�ำนาจพระสัพพัญญุตญาณเป็นต้น โวฏฺพฺพนสฺส จ ตํปุเรจาริกวสปฺปวตฺติยฺ จ และในเวลาที่โวฏฐัพพนจิต (มโนทวาราวัชชนจิต) เป็นไป ด้วยอ�ำนาจมีกิริยาจิตนั้นน�ำหน้า กิญฺจิ อารมณ์อะไร ๆ อโคจรํ นาม ชื่อว่าเป็นอารมณ์ไม่ได้ น อตฺถิ ไม่มี ฯ อรูเปสุ บรรดาอรูปาวจรจิตทั้งหลาย ทุติยจตุตฺถานิ อรูปาวจรจิตดวงที่ ๒ และดวงที่ ๔ มหคฺคตาลมฺพนานิ ชื่อว่า มีมหัคคตจิตเป็นอารมณ์ ปมตติยารูปาลมฺพนตฺตา เพราะอรูปาวจรจิตดวงที่ ๒ มีอรูปาวจรจิตดวงที่ ๑ เป็นอารมณ์ และอรูปาวจรจิตดวงที่ ๔ มีอรูปาวจรจิต ดวงที่ ๓ เป็นอารมณ์ ฯ เสสานิ ฯเปฯ ลมฺพนานิ อิติ ข้อว่า เสสานิ ฯลฯ ลมฺพนานิ ดังนี้ เอกวีสติ มหัคคจิต ๒๑ ดวง อิติ คือ ปณฺณรส รูปาวจรานิ รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง ปมตติยารูปานิ จ และอรูปาวจรจิตที่ ๑ (๓ ดวง) และอรูปาวจรจิตที่ ๓ (๓ ดวง) ปฺ ตฺตารมฺมณานิ ชือ่ ว่ามีบญ ั ญัตธิ รรมเป็นอารมณ์ กสิณาทิปฺ ตฺตสี ุ


138

ปริเฉทที่ ๓

ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปในบัญญัติธรรมมีกสิณเป็นต้น ฯ ปฺ จวีสติ จิตฺตานิ จิต ๒๕ ดวง เตวีสติกามาวจรวิปากปฺ จทฺวาราวชฺชนหสนวเสน กามาวจรวิบากจิต ๒๓ ดวง ปัญจทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) และหสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) ภวนฺติ ย่อมเกิดมี ปริตตฺ มฺหิ ในอารมณ์ทเี่ ป็นปริตตะ กามาวจราลมฺพเนเยว คือในอารมณ์ ที่เป็นกามาวจรเท่านั้น ฯ หิ ความจริง กามาวจรํ อารมณ์ที่เป็นกามาวจร ปริตฺตํ ชื่อว่า ปริตตะ มหคฺคตาทโย อุปาทาย มนฺทานุภาวตาย ปริโต อตฺตํ ขณฺฑิตํ วิย อิติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นดุจถูกถือเอา (อตฺตํ) คือถูกแบ่งออกโดยรอบ (ขณฺฑิตํ) โดยมีอ านุภาพน้อย เพราะเปรี ย บเที ย บมหั คคตธรรมเป็ นต้ น ฯ ฉ จิตฺตานิ มหคฺคเตเยว อิติ อาทินา วจเนน ด้วยค�ำว่า จิต ๖ ดวง ย่อมเกิดมี เฉพาะในอารมณ์ทเี่ ป็นมหัคคตธรรมเท่านัน้ ดังนีเ้ ป็นต้น ทฏฺพฺพา บัณฑิตพึงเห็น สาวธารณโยชนา การประกอบความทีม่ บี ทอวธารณะ สพฺพตฺถ ในทุกบท มีบทว่า เอกวีสติ เป็นต้น ฯ

(อธิบายวัตถุสังคหะ) สงฺคโห การรวบรวบจิต วตฺถวุ ภิ าคโต โดยการจ�ำแนกวัตถุ ตพฺพตฺถกุ จิตตฺ ปริจเฺ ฉทวเสน จ และด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดจิตทีม่ จี กั ขุวตั ถุเป็นต้นนัน้ เป็นทีอ่ าศัยเกิด วตฺถุสงฺคโห ชื่อว่า วัตถุสังคหะ ฯ วสนฺติ เอเตสุ จิตฺตเจตสิกา ตนฺนิสฺสยตฺตาติ วตฺถูนิ ธรรมชาติที่ชื่อว่า วัตถุ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่อยู่อาศัยแห่งจิต และเจตสิกทัง้ หลาย เพราะมีจกั ขุวตั ถุเป็นต้นนัน้ เป็นทีอ่ าศัยอยู่ ฯ กามโลเก ในโลก ที่เป็นกามาวจร สพฺพานิปิ ลพฺภนฺติ ชื่อว่า ย่อมหาวัตถุทั้งหลายได้ แม้ทั้งหมด ปริปุณฺณินฺทฺริยสฺส ตตฺเถว อุปลพฺภนโต เพราะสัตว์ที่มีอินทรีย์บริบูรณ์หาได้ แน่นอน ในโลกที่เป็นกามาวจรนั้นและ ฯ ปน ก็ ปิสทฺเทน ด้วยปิศัพท์ เอตฺถ ในค�ำว่า สพฺพานิปิ นี้ ทีเปติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์แสดง อนฺธพธิราทิวเสน เกสฺ จิ อสมฺภวํ ว่าวัตถุบางอย่าง มีจักขุวัตถุเป็นต้น ไม่เกิดมี ด้วยอ�ำนาจสัตว์ ผูพ้ กิ าร มีตาบอดและหูหนวกเป็นต้น ฯ ฆานาทิตตฺ ยํ วัตถุ ๓ ประการมีฆานวัตถุ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

139

เป็นต้น นตฺถิ ชื่อว่า ย่อมไม่มี (ในโลกที่เป็นรูปาวจร) ตพฺพิสยปสาเทสุปิ วิราคสพฺภาวโต เพราะพวกพรหมเป็นผู้มีความคลายก�ำหนัด แม้ในประสาทที่มี กลิ่น รส และโผฏฐัพพะนั้นเป็นอารมณ์ พฺรหฺมานํ กามวิราคภาวนาวเสน คนฺธรสโผฏฺพฺเพสุ วิรตฺตตาย เหตุที่พวกพรหมเป็นผู้คลายก�ำหนัดแล้ว ในกลิ่น รส และโผฏฐัพพะทัง้ หลาย ด้วยอ�ำนาจภาวนาเป็นเครือ่ งส�ำรอกกาม ฯ ปน ส่วน จกฺขฺวาทิทฺวยํ วัตถุ ๒ ประการ มีจักขุวัตถุเป็นต้น พุทฺธทสฺสนธมฺมสฺสวนาทิอตฺถํ ซึ่งมีประโยชน์ส�ำหรับเห็นพระพุทธเจ้าและฟังธรรมเป็นต้น อุปลพฺภติ ย่อมหาได้ แน่นอน ตตฺถ ในโลกที่เป็นรูปาวจรนั้น จกฺขุโสเตสุ อวิรตฺตภาวโต เพราะพวก พรหมยังไม่เบือ่ หน่ายในจักขุวตั ถุและโสตวัตถุทงั้ หลาย ฯ อรูปโลเก ในโลกทีเ่ ป็น อรูปาวจร วตฺถูนิ วัตถุ ฉ ๖ ประการ สพฺพานิ ทั้งปวง น สํวิชฺชนฺติ ชื่อว่า ย่อมไม่มี อรูปีนํ รูปวิราคภาวนาพเลน ตตฺถ สพฺเพน สพฺพํ รูปปฺปวตฺติยา อภาวโต เพราะในโลกทีเ่ ป็นอรูปาวจรนัน้ ความเป็นไปแห่งรูปไม่มแี ก่พวกอรูปพรหม โดยประการทั้งปวง ด้วยก�ำลังภาวนาเป็นเครื่องส�ำรอกรูป ฯ ปฺ จวิฺาณาเนว นิสฺสตฺตนิชฺชีวตฺเถน ธาตุโย ธรรมชาติที่ชื่อว่า ธาตุ เพราะอรรถว่า ไม่ใช่สัตว์ไม่ใช่ชีวะ คือ ปัญจวิญญาณจิต อิติ เพราะเหตุนั้น ปฺ จวิฺาณธาตุโย จึงชื่อว่า ปัญจวิญญาณธาตุจิต มนนมตฺตา ธาตุ ธาตุอัน เป็นเพียงความรู้ มโนธาตุ ชื่อว่า มโนธาตุจิต ฯ ธาตุ จ ธรรมชาติที่ชื่อว่า ธาตุ นิสสฺ ตฺตนิชชฺ วี ตฺเถน เพราะอรรถว่า ไม่ใช่สตั ว์ไม่ใช่ชวี ะ วิญ ฺ าณํ ชือ่ ว่า วิญญาณ วิสิฏฺวิชานนกิจฺจโยคโต เพราะประกอบด้วยหน้าที่ คือ ความรู้แจ้งอย่าง ประเสริฐสุด มโนเยว คือ ใจ อิติ เพราะเหตุนั้น มโนวิฺาณธาตุ จึงชื่อว่า มโนวิญญาณธาตุจิต วา อีกอย่างหนึ่ง มโนวิฺาณธาตุ ที่ชื่อว่า มโนวิญญาณธาตุจิต มนโส วิฺาณธาตู อิติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ธาตุอันเป็นเพียง ความรู้แจ้ง แห่งใจ ฯ หิ ความจริง สา มโนวิญญาณธาตุจิตนั้น มนโตเยว อนนฺตรปจฺจยโต สมฺภูย มนโสเยว ปจฺจยภูตา เกิดแต่ใจ อันเป็นอนันตรปัจจัย นั่นแหละ แล้วเป็นปัจจัยแก่ใจนั่นเอง อิติ เพราะเหตุนั้น มนโส สมฺพนฺธินี โหติ


140

ปริเฉทที่ ๓

จึงมีความสัมพันธ์กบั ใจ ฯ สมฺพนฺโธ เชือ่ มความ อิติ ว่า ตึสธมฺมา ธรรม ๓๐ ประการ มโนวิฺาณธาตุสงฺขาตา กล่าวคือมโนวิญญาณธาตุ ยถาวุตตฺ มโนธาตุว ิ ฺ าณธาตูหิ อวเสสา ซึ่งเหลือจากมโนธาตุ และปัญจวิญญาณธาตุจิตตามที่กล่าวแล้ว ปวตฺตา ที่เป็นไป วเสน คือ สนฺตีรณตฺตยสฺส สันตีรณจิต ๓ ดวง อฏฺมหาวิปากานํ มหาวิ บ ากจิ ต ๘ ดวง ปฏิ ฆ ทฺ ว ยสฺ ส โทสมู ล จิ ต ๒ ดวง ปมมคฺ ค สฺ ส โสดาปั ต ติ ม รรคจิ ต (๑ ดวง) หสิ ตุ ปฺ ป าทสฺ ส หสิ ตุ ป ปาทจิ ต (๑ ดวง) ปณฺณรสรูปาวจรานฺ จ และรูปาวจรจิต ๑๕ ดวง น เกวล มโนธาตุเยว ตถา หทยํ นิสฺสาเยว ปวตฺตนฺติ ย่อมอาศัยหทัยวัตถุอย่างเดียวเท่านั้น เป็นไป เหมือนอย่างมโนธาตุจติ นัน่ แหละ ก็หามิได้ ฯ หิ ความจริง สนฺตรี ณมหาวิปากานิ สันตีรณจิตและมหาวิปากจิต เอกาทส ๑๑ ดวง น อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมไม่เกิดขึ้น อารุปฺเป ในโลกที่เป็นอรูปาวจร ทฺวาราภาวโต เพราะไม่มีทวาร กิจฺจาภาวโต จ และเพราะไม่มหี น้าที่ ฯ ปฏิฆสฺส อนีวรณาวตฺถสฺส อภาวโต เพราะปฏิฆะทีก่ ำ� หนด ว่าไม่เป็นนิวรณ์ไม่มี ตสหคตจิตฺตทฺวยํ จิต ๒ ดวง ที่สหรคตด้วยปฏิฆะนั้น นตฺถิ จึงไม่มี รูปโลเกปิ แม้ในโลกทีเ่ ป็นรูปาวจร ฯ ปเคว อารุปเฺ ป ในโลกทีเ่ ป็นอรูปาวจร ไม่จ�ำเป็นจะต้องพูดถึงเลย ฯ ปมมคฺโคปิ แม้โสดาปัตติมรรคจิต น อุปฺปชฺชติ ย่อมไม่เกิดขึน้ อารุปเฺ ป ในภพทีเ่ ป็นอรูปาวจร ปรโตโฆสปจฺจยาภาเวน สาวกานํ อนุปฺปชฺชนโต เพราะพระสาวกทั้งหลายเกิดขึ้นไม่ได้ โดยไม่มีปัจจัยคือเสียงจาก ผู้อื่น พุทฺธปจฺเจกพุทฺธานํ จ มนุสฺสโลกโต อฺ ตฺถ อนิพฺพตฺตนโต และเพราะ พระพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ไม่บังเกิดในภพอื่น จากมนุษยโลก ฯ จ อนึ่ง หสนจิตฺตํ หสิตุปปาทจิต น อุปฺปชฺชติ ย่อมไม่เกิดขึ้น อรูปภเว ในภพ ที่เป็นอรูปาวจร กายาภาวโต เพราะไม่มีกายปสาทรูป รูปาวจรานิ รูปาวจรจิต (๑๕ ดวง) น อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมไม่เกิดขึ้น อรูปภเว ในภพที่เป็นอรูปาวจร อรูปีน รูปวิราคภาวนาวเสน ตทารมฺมเณสุ ฌาเนสุปิ วิรตฺตภาวโต เพราะพวกอรูปพรหม เป็นผู้เบื่อหน่ายแล้ว แม้ในฌานทั้งหลาย ที่มีรูปนั้นเป็นอารมณ์ ด้วยอ�ำนาจภาวนา เป็นเครื่องส�ำรอกรูป อิติ เพราะเหตุนั้น เตจตตาฬีสจิตฺตานิ จิต ๔๓ ดวง


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล

141

เอตานิ เหล่านี้ สพฺพานิปิ แม้ทั้งหมด หทยํ นิสฺสาเยว ปวตฺตนฺติ จึงอาศัย หทัยวัตถุเท่านัน้ เป็นไป ฯ ธมฺมา ธรรมทัง้ หลาย มโนวิฺาณธาตุสงฺขาตา กล่าวคือ มโนวิญญาณธาตุจติ เทฺวจตฺตาฬีสวิธา ๔๒ ประการ วเสน คือ อิเมสํ จิตทัง้ หลาย เหล่านี้ อิติ คือ ทฺวาทสโลกิยกุสลานิ โลกิยกุศลจิต ๑๒ ดวง อวเสสานิ ทีเ่ หลือ ปฺ จรูปาวจรโต จากรูปาวจรกุศลจิต ๕ ดวง ทสากุสลานิ อกุศลจิต ๑๐ ดวง อวเสสานิ ที่เหลือ ปฏิฆทฺวยโต จากโทสมูลจิต ๒ ดวง เตรสกฺริยาจิตฺตานิ กิริยาจิต ๑๓ ดวง อวเสสานิ ที่เหลือ ปฺ จทฺวาราวชฺชนหสนรูปาวจรกฺริยาหิ จากปัญจทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) หสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) และรูปาวจรกิริยาจิต (๕ ดวง) สตฺตานุตฺตรานิ จ และโลกุตตรจิต ๗ ดวง อวเสสานิ ที่เหลือ ปมมคฺคโต จากโสดาปัตติมรรคจิต (๑ ดวง) ปฺ จโวการภววเสน หทยํ นิสฺสาย ปวตฺตนฺติ วา อาศัยหทัยวัตถุเป็นไปด้วยอ�ำนาจปัญจโวการภพ (ภพ หรือ ภูมิ เป็นที่อยู่ของสัตว์ที่มีขันธ์ ๕ ครบบริบูรณ์) ก็มี จตุโวการภววเสน อนิสฺสาย ปวตฺตนฺติ วา ไม่อาศัยหทัยวัตถุเป็นไปด้วยอ�ำนาจจตุโวการภพ (ภพ หรือ ภูมิ เป็นที่อยู่ของสัตว์ที่มีขันธ์ ๔) ก็มี ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ ว่า วิฺาณธาตุโย วิญญาณธาตุจิต สตฺต ๗ ประการ ฉวตฺถนุ สิ สฺ ติ า อาศัยวัตถุ ๖ มตา ท่านกล่าวไว้ กาเม ภเว ในกามภพ ฯ วิฺาณธาตุโย วิญญาณธาตุจิต จตุพฺพิธา ๔ ฆานวิฺาณาทิตฺตยวชฺชิตา เว้นวิญญาณธาตุจติ ๓ มีฆานวิญญาณธาตุจติ เป็นต้น ติวตฺถนุ สิ สฺ ติ า อาศัยวัตถุ ๓ มตา ท่านกล่าวไว้ รูเป ภเว ในรูปภพ ฯ มโนวิฺาณธาตุ มโนวิญญาณธาตุจิต เอกา อย่างเดียว อนิสฺสิตา ไม่อาศัยวัตถุอะไร ๆ มตา ท่านกล่าวไว้ อารุปฺเป ภเว ในอรูปภพ อิติ ดังนี้ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า เตจตฺตาฬีส ธรรม คือจิต ๔๓ ดวง อิติ คือ กามาวจรานิ กามาวจรจิต สตฺตวีสติ ๒๗ ดวง กามาวจรวิปากปฺ จทฺวาราวชฺชนปฏิฆทฺวยหสนวเสน ได้แก่ กามาวจรวิปากจิต (๒๓ ดวง) ปัญจทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) โทสมูลจิต ๒ ดวง และหสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) รูปาวจรานิ รูปาวจรจิต ปณฺณรส ๑๕ ดวง ปมมคฺโค และ


142

ปริเฉทที่ ๓

โสดาปัตติมรรคจิต (๑ ดวง) นิสฺสาเยว ชายเร อาศัยหทัยวัตถุเท่านั้น จึงเกิดได้ เทฺวจตฺตาฬีส จิต ๔๒ ดวง ตโตเยวาวเสสา อารุปฺปวิปากวชฺชิตา เว้น อรูปาวจรวิบากจิต (๔ ดวง) ที่เหลือจากจิต ๔๓ ดวงเหล่านั้นนั่นแหละ นิสฺสาย ชายเร จ อาศัยหทัยวัตถุเกิดก็มี อนิสฺสาย ชายเร จ ไม่อาศัยหทัยวัตถุเกิดก็มี ปาการูปา อรูปาวจรวิบากจิต จตฺตาโร ๔ ดวง อนิสฺสิตาเยว ชายเร ไม่อาศัย หทัยวัตถุเลย ก็เกิดได้ ฯ ตติยปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๓ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธรรมมัตถสังคหะ ชื่อ อภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺฐิตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ แปลโดย พระมหาวิทูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙, ศศ.ม. วัดพระงาม พระอารามหลวง นครปฐม


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

143

จตุตฺถปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๔ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า อหํ ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) กตฺวา ครั้นท�ำ ปเภทสงฺคหํ การรวบรวมประเภท จิตฺตุปฺปาทานํ แห่งจิตตุปบาททั้งหลาย จตุนฺนํ ขนฺธานํ คือ ขันธ์ ๔ ประการ อุตฺตรํ อย่างยอดเยี่ยม อุตฺตมํ คือ อย่างสูงสุด เวทนาสงฺคหาทิวภิ าคโต โดยการจ�ำแนกสังคหะมีเวทนาสังคหะเป็นต้น เอวํ อย่างนี้ อิติ ด้วยประการฉะนี้ ยถาวุตฺตนเยน คือ โดยนัยตามที่กล่าวแล้ว ปวกฺขามิ จักกล่าว สมาเสน โดยย่อ ยถาสมฺภวโต ตามก�ำเนิด ปวตฺติสงฺคหํ นาม ชือ่ ซึง่ ปวัตติสงั คหะ ตํนามกํ สงฺคหํ คือสังคหะอันมีชอื่ ว่าปวัตตินนั้ จิตตฺ ปุ ปฺ าทานํ แห่งจิตตุปบาททัง้ หลาย ปฏิสนฺธปิ วตฺตสี ุ ในปฏิสนธิกาลและปวัตติกาล ลกฺขติ ํ ทีท่ า่ น ก�ำหนดแล้ว เภเทน ด้วยความต่างกัน ติณฺณํ ภูมีนํแห่งภูมิ ๓ กามาวจราทีนํ มีกามาวจรภูมิเป็นต้น ทฺวิเหตุกาทิปุคฺคลานฺ จ และแห่งบุคคลมีทวิเหตุกบุคคล เป็นต้น นิยามิตํ ชื่อว่าอันท่านก�ำหนดแน่นอนแล้ว ปุพฺพาปรจิตฺเตหิ ด้วยจิต ดวงต้น และจิตดวงหลัง เอวํ อย่างนี้ว่า อิทํ เอตฺตเกหิ ปรํ อิมสฺส อนนฺตรํ เอตฺตกานิปิ จิตฺตานิ จิตดวงนี้เกิดขึ้นมีก่อนจิตทั้งหลายมีประมาณเท่านี้ดวง แม้จิตทั้งหลายมีประมาณเท่านี้ดวง ก็เกิดขึ้นมีในล�ำดับแห่งจิตดวงนี้ อิติ ดังนี้ ปุน ซ�ำ้ อีกฯ วตฺถทุ วฺ าราลมฺพนสงฺคหา วัตถุสงั คหะ ทวารสังคหะ และอาลัมพนสังคหะ เหฏฺา กถิตาปิ แม้ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวไว้แล้วข้างต้น ปุน นิกฺขิตฺตา ท่านก็วางซ�ำ้ ไว้อกี ปริปณ ุ ณ ฺ ํ กตฺวา ปวตฺตสิ งฺคหํ ทสฺเสตุํ เพือ่ จะแสดงปวัตติสงั คหะ ให้บริบูรณ์ ฯ ปวตฺติ ความเป็นไป วิสยานํ แห่งอารมณ์ทั้งหลาย จิตฺตานํ คือ แห่งจิตทั้งหลาย ทฺวาเรสุ วิสเยสุ จ ในทวารทั้งหลาย และในอารมณ์ทั้งหลาย วิสยปฺปวตฺติ ชื่อว่าวิสยัปปวัตติ ฯ ตตฺถา อิติ ปทํ บทว่า ตตฺถ เตสุ ฉสุ ฉกฺเกสุ ได้แก่ บรรดาหมวด ๖ หกหมวดเหล่านั้น ฯ อายสฺมา อนุรุทฺธาจริโย


144

ปริเฉทที่ ๔

ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ทสฺเสตุํ หวังจะแสดง วีถีน นามโยชนา กาตพฺพา อิติ ว่าบัณฑิตพึงท�ำการประกอบชือ่ วิถจี ติ ทัง้ หลาย จกฺขทุ วฺ าเร ปวตฺตา วีถจิ ติ ตฺ ปรมฺปรา จกฺขุทฺวารวีถีติอาทินา ทฺวารวเสน วา ด้วยอ�ำนาจทวาร โดยนัยว่า วิถีคือ ความสืบต่อกันแห่งจิตที่เป็นไปในจักขุทวาร ชื่อว่าจักขุทวารวิถี ดังนี้เป็นต้น หรือ จกฺขวุ  ิ ฺ าณสมฺพนฺธนิ ี วีถิ เตน สห เอกาลมฺพนเอกทฺวาริกตาย สหจรณภาวโต จกฺขุวิฺาณวีถีติอาทินา วิฺาณวเสน วา ด้วยอ�ำนาจวิญญาณจิตโดยนัยว่า วิ ถีซึ่ง มีค วามเกี่ยวเนื่อ งกับจักขุวิญญาณจิ ต ชื่ อว่ าจั ก ขุ วิ ญญาณวิ ถี เพราะมี ความเที่ยวไปร่วมกัน โดยมีอารมณ์อย่างเดียวกัน ทั้งเกิดขึ้นในทวารเดียวกันกับ จักขุวญ ิ ญาณจิตนัน้ ดังนีเ้ ป็นต้น จกฺขทุ วาร วีถตี ิ อาทิ วุตตฺ ํ จึงกล่าวว่า จกฺขทุ วฺ ารวีถิ ดังนี้เป็นต้น ฯ อติมหนฺตนฺติอาทีสุ บัณฑิตพึงทราบวินิจฉัยในค�ำว่า อติมหนฺตํ เป็นต้น ดังต่อไปนี้ ฯ เอกจิตฺตกฺขณาตีตํ หุตฺวา อารมณ์ที่ล่วงไปแล้ว ๑ อาปาถํ อาคตํ โสฬสจิตฺตกฺขณายุกํ ขณะจิตมาปรากฏ มีอายุ ๑๖ ขณะจิต อติมหนฺตํ นาม ชือ่ ว่าอติมหันตารมณ์ ฯ ทฺวติ ตฺ จิ ติ ตฺ กฺขณาตีตํ อารมณ์ทลี่ ว่ งไปแล้ว ๒ หรือ ๓ ขณะจิต ปณฺณรสจุทฺทสจิตฺตกฺขณายุกํ มาปรากฏมีอายุ ๑๕ หรือ ๑๔ ขณะจิต มหนฺตํ นาม ชือ่ ว่ามหันตารมณ์ ฯ จตุจติ ตฺ กฺขณโต ปฏฺาย ยาวนวจิตตฺ กฺขณาตีตํ หุตวฺ า อารมณ์ทลี่ ว่ งไปแล้วตัง้ แต่ ๔ ขณะจิต จนถึง ๙ ขณะจิต เตรสจิตตฺ กฺขณโต ปฏฺาย ยาวอฏฺจิตฺตกฺขณายุกํ มาปรากฏมีอายุตั้งแต่ ๑๓ ขณะจิต จนถึง ๘ ขณะจิต ปริตฺตํ นาม ชื่อว่าปริตตารมณ์ ฯ ทส จิตฺตกฺขณโต ปฏฺาย ยาวปณฺณรสจิตฺตกฺขณาตีตํ อารมณ์ที่ล่วงไปแล้วตั้งแต่ ๑๐ ขณะจิต จนถึง ๑๕ ขณะจิต สตฺตจิตฺตกฺขณโต ปฏฺาย ยาวทฺวิจิตฺตกฺขณายุกํ มาปรากฏมีอายุ ตั้งแต่ ๗ ขณะจิต จนถึง ๒ ขณะจิต อติปริตฺตํ นาม ชื่อว่าอติปริตตารมณ์ ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังว่ามานี้ อนุรุทฺธาจริโย วกฺขติ ท่าน พระอนุรทุ ธาจารย์จกั กล่าวว่า เอกจิตตฺ กฺขณาตีตานีตอิ าทิ ล่วงไปแล้วขณะจิตเดียว ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ ปากฏํ อารมณ์ทปี่ รากฏชัด วิภตู ํ ชือ่ ว่าวิภตู ารมณ์ อปากฏํ อารมณ์ ที่ปรากฏไม่ชัด อวิภูตํ ชื่อว่าอวิภูตารมณ์ ฯ


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

145

กถํ อิติ ปทํ บทว่า กถํ เกน ปกาเรน ได้แก่ โดยประการไร ฯ อนุรุทฺธาจริโย อติมหนฺตาทิวเสน วิสยววตฺถานํ อิติ ปุจฺฉิตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ถามว่า การก�ำหนดอารมณ์ด้วยอ�ำนาจอารมณ์มีอติมหันตารมณ์เป็นต้น จะมีได้อย่างไร ดังนี้เป็นต้น จิตฺตกฺขณวเสน ตํ ปกาเสตุํ เพื่อจะประกาศการก�ำหนดอารมณ์นั้น ด้วยอ�ำนาจขณะจิต อุปปฺ าทิตตี อิ าทิมารทฺธํ จึงเริม่ ค�ำว่า อุปปฺ าทิติ ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ อุปปฺ ชฺชนมุปปฺ าโท ความเกิดขึน้ ชือ่ ว่าอุปปาทขณะ อตฺตปฏิลาโภ ได้แก่ การได้ อัตภาพ ฯ ภฺ ชนํ ความสลาย ภงฺโค ชื่อว่าภังคะ สรูปวินาโส คือความพินาศไป แห่งสภาวะ ฯ อุภนิ นฺ ํ เวมชฺเฌ ภงฺคาภิมขุ ปฺปวตฺติ ความเป็นไปทีม่ งุ่ ถึงภังคขณะ ในท่ามกลางแห่งอุปปาทขณะ และภังคขณะทั้ง ๒ ิติ นาม ชื่อว่าฐิติขณะ ฯ ปน ก็ เกจิ อาจารย์บางพวก ปฏิเสเธนฺติ ปฏิเสธ (คัดค้าน) จิตฺตสฺส ิติกฺขณํ ฐิติขณะแห่งจิต ฯ หิ ความจริง เนสํ อธิปฺปาโย อาจารย์บางพวกเหล่านั้น มีอธิบายความ อยํ ดังต่อไปนี้ ฯ จิตฺตยมเก อุปฺปนฺนํ อุปฺปชฺชมานนฺติ เอว มาทิปทานํ วิภงฺเค ในวิภังค์แห่งบทเป็นต้นอย่างนี้ว่า จิตเกิดขึ้นแล้ว ชื่อว่า เกิดขึ้นอยู่หรือ ดังนี้ ในจิตตยมกปกรณ์ ภงฺคุปฺปาทาว กถิตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเฉพาะภังคขณะ และอุปปาทขณะแห่งจิตเท่านั้น ภงฺคกฺขเณ อุปฺปนฺนํ โน จ อุปฺปชฺชมานํ อุปฺปาทกฺขเณ อุปฺปชฺชมานํ โน จ อุปปนฺนนฺ อิติ อาทินา โดยพระพุทธพจนน์วา่ ในภังคขณะ จิตเกิดขึน้ แล้ว และไม่ใช่เกิดขึน้ อยู่ ในอุปปาทขณะ จิตเกิดขึ้นอยู่ และไม่ใช่เกิดขึ้นแล้ว ดังนี้เป็นต้น ฯ น ิติกฺขโณ กถิโต มิได้ตรัส ฐิติขณะแห่งจิตไว้ ฯ ยทิ จ ก็ถ้า จิตฺตสฺส ิติกฺขโณปิ แม้ฐิติขณะแห่งจิตมี อตฺถิ อยู่ไซร้ วตฺตพฺพํ สิยา พระผู้มีพระภาคเจ้าพึงต้องตรัสว่า ิติกฺขเณ ภงฺคกฺขเณ จ ในฐิติขณะ และในภังคขณะ อิติ ดังนี้ ฯ อถ กสฺสจิ มตํ สิยา ถ้าใคร ๆ พึงมีความเห็น ิติกฺขโณ อตฺถี ฐิติขณะแห่งจิตมีอยู่ อิติ ว่า สุตฺตนฺตปาโต โดยพระบาลีพระสูตรว่า อุปฺปาโท ปฺ ายติ ความเกิดขึ้น ย่อมปรากฏ วโย จ ปฺ ายติ ความดับ (ภังคขณะ) ไปย่อมปรากฏ ิตสฺส อฺ ถตฺตํ ปฺ ายติ จ และภาวะแห่งธรรม (อสังขตธรรม) ที่ด�ำรงอยู่แปรเป็น


146

ปริเฉทที่ ๔

อย่างอื่นย่อมปรากฏ อิติ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถาปิ แม้ในพระบาลีพระสูตรนั้น ปพนฺธฏฺติ ิเยว อธิปฺเปตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็ประสงค์ถึงเฉพาะความด�ำรงอยู่ โดยความสืบเนื่องกันเท่านั้น เอกสฺมึ ธมฺเม อฺ ถตฺตสฺส อนุปฺปชฺชนโต ปฺ าณวจนโต จ เพราะภาวะแห่งธรรม (อสังขตธรรมที่แปรเป็นอย่างอื่น) ไม่เกิดขึน้ ในธรรมอย่างเดียวกันและเพราะตรัสว่า ปรากฏ น จ ขณฏฺติ ิ อธิปเฺ ปตา แต่หาประสงค์ถงึ ฐิตขิ ณะแห่งจิตไว้ไม่ ฯ จ อนึง่ อภิธมฺเม ลพฺภมานสฺส อวจเน การณํ เหตุ ในการไม่ตรัสถึงธรรมที่จะหาได้อยู่ในพระอภิธรรม น อตฺถิ ก็ไม่มี ฯ ตสฺมา เพราะฉะนัน้ ยถาธมฺมสาสเน อวจนมฺปิ แม้การไม่ตรัสถึงธรรมทีจ่ ะหาได้อยู่ ในพระอภิธรรม อภาวํ ทีเปติ ก็แสดงว่าไม่มีนั่นเอง ฯ ตตฺถ วุจฺจเต ข้าพเจ้าจะ กล่าวเฉลย ในอธิบายความของอาจารย์บางพวกนั้น ดังต่อไปนี้ ฯ หิ ความจริง เอกธมฺมาธารภาเวปิ อุปฺปาทภงฺคาน เปรียบเหมือน แม้เมื่ออุปปาทขณะและ ภังคขณะแห่งจิตจะมีธรรมอย่างเดียวกันเป็นเครื่องรองรับ อฺ โ อุปฺปาทกฺขโณ อุปปาทขณะก็เป็นอย่างหนึ่ง อฺ โ ภงฺคกฺขโณ ภังคขณะก็เป็นอีกอย่างอื่น อิติ เพราะเหตุนั้น ภงฺคาวตฺถา อิจฺฉิตา บัณฑิตจึงปรารถนาการก�ำหนดภังคขณะ อุปปฺ าทาวตฺถาย ภินนฺ า ทีต่ า่ งจากการก�ำหนดอุปปาทขณะ และภังคขณะทัง้ หลาย ฉันนั้นเหมือนกัน ฯ หิ ความจริง อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความไปนอกจากนี้ อฺ โเยว ธมฺโม อุปฺปชฺชติ อฺ โ นิรุชฺฌติ อาปชฺเชยฺย ก็จะต้องพูดว่า ธรรมอย่างหนึ่งนั่นแหละ เกิดขึ้น ธรรมอีกอย่างหนึ่ง ดับลง อิติ ดังนี้ ยถา ฉันใด ภงฺคาภิมุขาวตฺถาปิ อิจฺฉิตพฺพา บัณฑิตพึงปรารถนา แม้การก�ำหนดที่เพ่งถึง ภังคขณะ อุปฺปาทภงฺคาวตฺถาหิ ภินฺนา ที่ต่างจากการก�ำหนดอุปปาทขณะ และภังคะขณะทั้งหลาย เอวเมว ฉันนั้น เหมือนกัน ฯ สา ภงฺคาภิ มุขาวตฺถา การก�ำหนดที่เพ่งถึงภังคขณะนั้น ิติ นาม ชื่อว่าฐิติขณะแห่งจิต ฯ ปน ก็ สา ิติ ฐิติขณะนั้น น วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ตรัสไว้ ปาลิยํ ในพระบาลี วิเนยฺยชฺฌาสยานุโรธโต นยทสฺสนวเสน ด้วยอ�ำนาจแสดงเป็นนัยไว้ โดยคล้อย ตามอัธยาศัยแห่งเวไนยสัตว์ ฯ


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

147

หิ ความจริง อภิธมฺมเทสนาปิ แม้เทศนาในอภิธรรม กทาจิ บางคราว วิเนยฺยชฺฌาสยานุโรเธน ปวตฺตติ ก็เป็นไปโดยคล้อยตามอัธยาศัยของเวไนยสัตว์ ฯ ยถา รูปสฺส อุปฺปาโท อุปจโย สนฺตตีติ ทฺวิธา ภินฺทิตฺวา เทสิโต เหมือนทรง แสดงความเกิดขึ้นแห่งรูปธรรม แยกออกเป็น ๒ อย่างว่า อุปจยะ (๑) สันตติ (๑) ดังนี้ฉะนั้น ฯ จ ก็ สุตฺเต ตีณีมานิ ภิกฺขเว สงฺขตสฺส สงฺขตลกฺขณานิ กตมานิ ตีณิ อุปฺปาโท ปฺ ายติ วโย ปฺ ายติ ิตสฺส อฺ ถตฺตํ ปฺ ายตีติ เอวํ สงฺขตธมฺมสฺเสว ลกฺขณทสฺสนตฺถ อุปฺปาทาทีน วุตฺตตฺตา เพราะในพระสูตร พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสขณะ ๓ มีอุปปาทขณะเป็นต้นไว้ เพื่อทรงแสดงลักษณะ เฉพาะสังขตธรรมเท่านั้น อย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขตลักษณะแห่ง สังขตธรรม ๓ ประการเหล่านี้ ๓ ประการอะไรบ้าง คือ ความเกิดขึ้นย่อมปรากฏ ความดับไปย่อมปรากฏ ภาวะแห่งธรรม (อสังขตธรรม) ที่ด�ำรงอยู่แปรเป็น อย่างอื่นย่อมปรากฏ ดังนี้เป็นต้น น สกฺกา ใคร ๆ จึงไม่สามารถ ปพนฺธสฺส ปฺ ตฺติสภาวสฺส อสงฺขตสฺส ิติ ตตฺถ วุตฺตาติ วิฺาตุํ จะรู้แจ้งได้ว่า ฐิ ติขณะแห่ง อสังขตธรรมที่มีความสืบ เนื่ องกั น ซึ่ ง มี ส ภาวะเป็ นบั ญญั ติธ รรม พระผู้มีพระภาคตรัสไว้แล้วในพระสูตรนั้น ฯ อุปสคฺคสฺส จ ธาตฺวตฺเถเยว ปวตฺตนโต ก็ เพราะอุปสัคใช้ในความหมายแห่งธาตุนั่นเอง ปฺ ายตีติ เอตสฺส บทว่า ปญฺายติ นี้ วิฺายติ อิติ อตฺโถ จึงมีความหมายว่า วิฺายติ (อันบุคคลย่อมรู้แจ้ง) ดังนี้ ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น เอตฺตาวตา ด้วยค�ำอธิบาย เพียงเท่านั้น จิตฺตสฺส ิติกฺขโณ ฐิติขณะแห่งจิต น ปฏิพาหิตุํ ยุตฺโต จึงไม่ควร ถูกคัดค้าน อิติ เพราะเหตุนั้น อุปฺปาทิติภงฺควเสน อิติ เอตํ วจนํ ค�ำนี้ว่า อุปฺปาทฐิติภงฺควเสน (ด้วยอ�ำนาจอุปปาทขณะ ฐิติขณะ และภังคขณะ) ดังนี้ สุวุตฺตํ อันท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวไว้ถูกต้องแล้ว ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็ เพราะ อธิบายความดังกล่าวมานี้ วุตฺต อฏฺกถายมฺปิ พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวไว้ แม้ในอรรถกถา เอเกกสฺส จิตฺตสฺส อุปฺปาทิติภงฺควเสน ตโย ตโย ขณา อิติ ว่าจิตแต่ละดวง มีดวงละ ๓ ขณะ คือ อุปปาทขณะ ฐิติขณะ และภังคขณะ ฯ


148

ปริเฉทที่ ๔

อนุรุทฺธาจริโย ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อรูป ลหุปริณามํ รูป ครุปริณามํ คาหกคเหตพฺพภาวสฺส ตํตํขณวเสน นิปฺปชฺชนโต อิติ มนสิกริตฺวา ค�ำนึงถึงว่า นามธรรมเปลี่ยนแปรเร็ว รูปธรรมเปลี่ยนแปรช้า เพราะนามธรรมเป็นสภาวะรับรู้ รูปธรรม และรูปธรรมเป็นสภาวะอันนามธรรมพึงรับรู้ ส�ำเร็จได้ด้วยอ�ำนาจขณะ (มีอุปปาทขณะเป็นต้นที่เปลี่ยนแปรเร็ว และเปลี่ยนแปรช้า) นั้น ๆ ดังนี้ ตานีติอาทิ อาห จึงกล่าวค�ำว่า ตานิ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตานิ อิติ ปทํ บทว่า ตานิ ตาทิสานิ ได้แก่ เช่นนั้น ฯ สตฺตรสนฺน จิตฺตาน ขณานิ วิย ขณานิ ขณะทั้งหลาย ดุจขณะทั้งหลาย แห่งจิต ๑๗ ดวง สตฺตรสจิตฺตกฺขณานิ ชื่อว่า ขณะดุจขณะจิต ๑๗ ดวงทั้งหลาย ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง ตานิ จิตฺตกฺขณานิ สตฺตรส อิติ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า ขณะดุจขณะจิตทั้งหลายเหล่านั้นมี ๑๗ ขณะ ฯ ปน ก็ ตานิ สตฺตรส จิตฺตกฺขณานิ ขณะดุจขณะจิต ๑๗ ดวง เหล่านัน้ วิสํ ุ วิสํ ุ เอกปฺ าส จิตตฺ กฺขณานิ โหนฺติ แยกออกเป็น ๕๑ ขณะจิต ฯ รูปธมฺมานํ อิติ ปทํ บทว่า รูปธมฺมานํ วิฺตฺติลกฺขณตฺตยรูปวชฺชิตานํ รูปธมฺมานํ อิติ อตฺโถ ความว่า แห่งรูปธรรมทัง้ หลาย (๒๓ ประการ) เว้นวิญญัตริ ปู (๒ ประการ) และลักขณะรูป ๓ ประการ ฯ หิ ความจริง วิฺตฺตทิ วฺ ยํ วิญญัตริ ปู ๒ ประการ เอเกกจิตฺตกฺขณายุกํ มีอายุอย่างละ ๑ ขณะจิต ฯ ตถาหิ จริง อย่างนัน้ ตํ วิฺตฺตทิ วฺ ยํ วิญญัตริ ปู ๒ ประการนัน้ จิตตฺ านุปริวตฺตธิ มฺเมสุ วุตตฺ ํ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในหมวดธรรมที่เปลี่ยนไปตามจิต ฯ จ ก็ ลกฺขณรูเปสุ บรรดาลักขณะรูป (๓ ประการ) ชาติ เจว อนิจจฺ ตา จ จิตตฺ สฺส อุปปฺ าทภงฺคกฺขเณหิ สมานายุกา ชาติรปู มีอายุเท่ากับอุปปาทขณะแห่งจิต และอนิจจตารูปมีอายุเท่ากับ ภังคขณะแห่งจิต ฯ ปน ส่วน ชรตา ชรตารูป เอกูนปฺ าสจิตฺตกฺขณายุกา มีอายุเท่ากับ ๔๙ ขณะจิต ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวมานี้ ตํ สตฺตรสจิตฺตายุ วินา วิฺตฺติลกฺขณํ อิติ วทนฺติ


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

149

ท่านอาจารย์ทงั้ หลายจึงกล่าวไว้วา่ เว้นวิญญัตติรปู (๒ ประการ) และลักขณะรูป (๓ ประการ) เสีย รูปธรรมที่เหลือ ๒๓ ประการนั้น (แต่ละประการ) มีอายุเท่ากับ จิต ๑๗ ดวง ดังนี้ ฯ ปน ส่วน เกจิ อาจารย์บางพวก วทนฺติ กล่าวว่า ปฏิจจฺ สมุปปฺ าทฏฺกถายํ เอตฺตาวตา เอกาทส จิตฺตกฺขณา อตีตา โหนฺติ อถาวเสสปฺ จจิตฺตกฺขณายุเก อิติ วจนโต เพราะในอรรถกถาปฏิจจสมุปบาท กล่าวไว้ว่า ด้วยถ้อยค�ำมีประมาณ เท่านี้ ขณะจิต ๑๑ ขณะ ย่อมล่วงเลยไปแล้ว ต่อจากนั้น ปฏิสนธิจิตย่อมเกิดขึ้น ในอารมณ์ทมี่ อี ายุเหลืออยู่ ๕ ขณะจิต ดังนี้ โสฬส จิตตฺ กฺขณานิ รูปธมฺมานมายู อุปฺปชฺชมานเมว หิ รูป ภวงฺคจลนสฺส ปจฺจโย โหติ อิติ ขณะจิต ๑๖ ขณะ ย่อมเป็นอายุแห่งรูปธรรมทัง้ หลาย ความจริงรูปธรรมเฉพาะทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ นัน่ แหละ ย่อมเป็นปัจจัยแก่ภวังคจลนจิตได้ ดังนี้ ฯ ตํ อิทํ ถ้อยค�ำของอาจารย์บางพวกนี้ นัน้ อสารํ ไม่มสี าระ ปฏิสนฺธจิ ติ เฺ ตน สหุปปฺ นฺนํ รูปํ ตโต ปฏฺาย สตฺตรสเมน สทฺธึ นิรชุ ฌ ฺ ติ ปฏิสนฺธจิ ติ ตฺ สฺส ิตกิ ขฺ เณ อุปปฺ นฺนํ อฏฺารสมสฺส อุปปฺ าทกฺขเณ นิรุชฺฌติ อิติ อาทินา อฏฺกถายเมว สตฺตรสจิตฺตกฺขณสฺส อาคตตฺตา เพราะ ขณะจิต ๑๗ ดวง มาแล้วในอรรถกถานั่นเอง โดยนัยเป็นต้นว่ารูปธรรมที่เกิดขึ้น พร้อมกับปฏิสนธิจิต ต่อจากนั้น ก็ดับลงพร้อมกับจิตดวงที่ ๑๗ รูปธรรมที่เกิดขึ้น ในฐิติขณะแห่งปฏิสนธิจิต ก็ดับลงในอุปปาทขณะแห่งจิตที่ ๑๘ ดังนี้ ฯ ปน ส่วน ยตฺถ ในที่ใด โสฬสจิตฺตกฺขณาเนว ปฺ ายนฺติ ย่อมปรากฏเฉพาะขณะจิต ๑๖ ดวงที่นั้น ตตฺถ ในที่นั้น จิตฺตปฺปวตฺติยา ปจฺจยภาวโยคฺยกฺขณ วเสน นโย นีโต บัณฑิตแนะน�ำนัยไว้ ด้วยอ�ำนาจขณะจิตที่เหมาะ เพื่อความเป็นปัจจัยแก่ ความเป็นไปแห่งจิต ฯ หิ ความจริง เหฏฺมิ โกฏิยา โดยการก�ำหนดอย่างต�่ำสุด เอกจิตฺตกฺขณมฺปิ อติกฺกมนฺตสฺสาปิ รูปสฺส รูปธรรมแม้ที่ล่วงเลยไปเพียง ขณะจิตดวงหนึง่ อาปาถคมนสามตฺถยิ ํ อิติ ก็ยงั มีความสามารถมาปรากฏได้แล ฯ อลํ อติวิวาเทน พอทีด้วยการกล่าวโต้แย้งมากเกินไป ฯ


150

ปริเฉทที่ ๔

เอกจิตฺตสฺส วิย ขณํ ขณะดุจขณะจิตดวงหนึ่ง เอกจิตฺตกฺขณํ ชื่อว่า ขณะดุจขณะจิตดวงหนึง่ ฯ ตํ ขณะดุจขณะ จิตดวงหนึง่ นัน้ เอเตสํ แห่งอารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้นเหล่านี้ อตีตํ ล่วงไปแล้ว เอตานิ วา ตํ อตีตานิ หรือว่า อารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้นเหล่านี้ ล่วงเลยขณะดุจขณะจิตดวงหนึ่งนั้นไปแล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น เอกจิตฺตกฺขณาตีตานิ อารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น ชื่อว่า มีขณะดุจขณะจิตดวงหนึ่งล่วงไปแล้ว หรือว่าล่วงเลยขณะ ดุจขณะจิตดวงหนึ่ง ไปแล้ ว ฯ อาปาถมาคจฺ ฉ นฺ ตํ อิ ติ ปพฺ พ สฺ ส ข้ อ ว่ า อาปาถมาคจฺ ฉ นฺ ติ รูปสทฺทาลมฺพนานิ สกสกฏฺาเน ตฺวาว โคจรภาวํ คจฺฉนฺตีติ อาโภคานุรูป อเนกกลาปคตานิ อาปาถํ อาคจฺฉนฺติ อิติ อตฺโถ ความว่า รูปารมณ์และ สัททารมณ์อยู่ในที่ของตน ๆ นั่นแหละ ย่อมถึงความเป็นอารมณ์ได้ เพราะเหตุนั้น รูปารมณ์และสัททารมณ์เหล่านั้น ซึ่งอยู่ในกลาปเอนกประการ ย่อมปรากฏได้ ตามสมควรแก่ความใส่ใจ ฯ ปน ส่วน เสสานิ คันธารมณ์ รสารมณ์ และ โผฏฐัพพารมณ์ที่เหลือ ฆานาทินิสฺสเยสุ อลีนาเนว เฉพาะที่กระทบกายปสาทรูป อันเป็นที่อาศัยอยู่แห่งฆานปสาทรูปเป็นต้นเท่านั้น วิฺาณุปฺปตฺติการณานิ จึงเป็นเหตุเกิดขึ้นแห่งวิญญาณจิตได้ อิติ เพราะเหตุนั้น เอเกกกลาปคตานิป ิ อาปาถํ อาคจฺฉนฺติ คันธารมณ์เป็นต้นเหล่านั้นแม้จะอยู่ในกลาปแต่ละอย่าง ก็ย่อมปรากฏได้ ฯ หิ ความจริง เอเกกกลาปคตาปิ ปสาทา ปสาทรูปทั้งหลาย แม้ที่อยู่ในกลาปแต่ละอย่าง วิฺาณสฺส อาธารภาวํ คจฺฉนฺติ ย่อมถึงภาวะ เป็นเครื่องรองรับวิญญาณจิตได้ ฯ ปน ก็ เต ปสาทรูปเหล่านั้น ภวงฺคจลนสฺส อนนฺตรปจฺจยภูเตน ภวงฺเคน สทฺธึ อุปฺปนฺนา เกิดขึ้นพร้อมกับภวังคจิต ซึ่งเป็น อนันตรปัจจัยแก่ภวังคจลนจิต ฯ อาวชฺชเนน สทฺธึ อุปปฺ นฺนา อิติ อปเร วทนฺติ อาจารย์อีก พวกหนึ่งกล่าวว่า เกิดขึ้นพร้อมกับอาวัชชนจิต ฯ ทฺวิกฺขตฺตุํ ภวงฺเค จลิเต อิติ ปพฺพสฺส ข้อว่า ทฺวิกฺขตฺตุํ ภวงฺเค จลิเต (เมื่อภวังคจิตไหวแล้ว ๒ ครัง้ ) วิสทิสวิฺาณุปปฺ ตฺตเิ หตุภาวสงฺขาตจลนภาเวน ปุรมิ คหิตารมฺมณสฺมเึ ยว ทฺวิกฺขตฺตุํ ภวงฺเค ปวตฺเต อิติ อตฺโถ ความว่า เมื่อภวังคจิตเป็นไป ๒ ครั้ง


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

151

ในอารมณ์ที่จิตดวงก่อนรับไว้แล้วนั่นแหละ โดยภาวะที่ไหว กล่าวคือภาวะที่เป็น เหตุเกิดขึ้นแห่งวิญญาณจิตที่ไม่เหมือนกัน (มีอาวัชชนจิตเป็นต้น) ฯ หิ ความจริง ปฺ จสุ ปสาเทสุ โยคฺย เทสาวตฺถานวเสน อารมฺมเณ ฆฏิเต เมื่ออารมณ์ กระทบปสาทรูปทั้ง ๕ ด้วย อ�ำนาจก�ำหนดส่วนที่เหมาะสมกัน ภวงฺคสนฺตติ ภวังคสันตติ ปสาทฆฏนานุภาเวน โวจฺฉิชฺชมานา เมื่อจะขาดลงด้วยอานุภาพ อารมณ์ที่กระทบที่ประสาท สหสา อโนจฺฉิชฺชิตฺวา มิได้ขาด เอว ลงทันที ติ ทฺวิกฺขตฺตุํ อุปฺปชฺชิตฺวา โวจฺฉิชฺชติ ยถา เวเคน ธาวนฺโต าตุกาโมปิ ปุริโส เอกทฺวิปทวาเร อติกฺกมิตฺวาว ติฏฺติ เอวํ ทฺวิกฺขตฺตํ ุ อุปฺปชฺชิตฺวา โวจฺฉิชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ๒ ครั้งแล้ว จึงขาดลง เปรียบเหมือน คนที่วิ่งไปโดยเร็ว แม้ตอ้ งการจะหยุด ก็ (ต้อง) เลยไปก้าวหนึง่ หรือสองก้าวแล้วนัน่ แหละ จึงจะหยุดได้ ฉะนั้น ฯ ตตฺถ ปมจิตฺตํ บรรดาภวังคจิต ๒ ดวงนั้น จิตดวงที่ ๑ ภวงฺคสนฺตตึ จาเลนฺตํ วิย อุปปฺ ชฺชติ ย่อมเกิดขึน้ คล้ายจะให้ภวังคสันตติไหว อิติ เพราะเหตุนนั้ ภวงฺคจลนํ ทุติยํ ตสฺสา อุปฺปจฺฉิชฺชนากาเรน อุปฺปชฺชนโต ภวงฺคุปจฺเฉโทติ โวหรนฺติ จิตดวงที่ ๑ นั้น อาจารย์ทั้งหลายจึงเรียกว่า ภวังคจลนะ จิตดวงที่สอง เรียกว่า ภวังคุปัจเฉทะ เพราะเกิดขึ้นโดยอาการที่ตัดภวังคสันตินั้นให้ขาดลง ฯ ปน แต่ อิธ ในอภิธมั มัตถสังคห ปกรณ์นี้ อวิเสเสน วุตตฺ ํ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ กล่าวถึงจิตทั้ง ๒ ดวงนั้น โดยไม่ต่างกันว่า ทฺวิกฺขตฺตุํ ภวงฺเค จลิเต อิติเมื่อ ภวังคจิตไหวแล้ว ๒ ครั้ง ดังนี้ ฯ นนุ จ รูปาทินา ปสาเท ฆฏิเต ตํนิสฺสิตสฺเสว จลนํ ยุตฺตํ กถํ ปน หทยวตฺถุนิสฺสิตสฺส ภวงฺคสฺส อิติ โจทนา ถามว่า ก็เมื่ออารมณ์มีรูปารมณ์ เป็นต้น กระทบปสาทแล้ว วิญญาณจิตที่อาศัยประสาทนั้นเท่านั้นไหว ถูกต้องแล้ว ไม่ใช่หรือ ส่วนภวังคจิตที่อาศัยหทัยวัตถุไหว จะถูกต้องอย่างไร ฯ สนฺตติวเสน เอกาพทฺธตฺตา อิติ วิสชฺชนา ตอบว่า ถูกต้องแล้ว เพราะเนือ่ งถึงเป็นอันเดียวกัน ด้วยอ�ำนาจสันตติ ฯ หิ เปรียบเสมือน เภริยา เอกสฺมึ ตเล ิตสกฺขราย มกฺขิกาย นิสินฺนาย เมื่อแมลงวันเกาะอยู่ที่ก้อนน�้ำตาลกรวด ซึ่งอยู่ที่พื้นกลอง


152

ปริเฉทที่ ๔

ด้านหนึง่ อิตรสฺมึ ตเล ทณฺฑาทินา ปหเต เมือ่ บุคคลใช้ทอ่ นไม้เป็นต้นตีพนื้ กลอง อีกด้านหนึ่ง อนุกฺกเมน เภริจมฺมวรตฺตาทีนํ จลเนน สกฺขราย จลิตาย เมื่อก้อน น�้ำตาลกรวดสะเทือนไหวไปตามความสั่นสะเทือนแห่งหนังกลองและเชือกเป็นต้น ตามล�ำดับ มกฺขิ กาย อุปฺปติตฺวา คมนํ โหติ แมลงวันย่อมบินไป ยถา ฉันใด รูปาทินา ปสาเท ฆฏิเต เมื่ออารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้นกระทบประสาทแล้ว ตนฺนิสฺสเยสุ มหาภูเตสุ จลิเตสุ เมื่อมหาภูตรูปอันเป็นที่อาศัยแห่งประสาทนั้น ไหวแล้ว อนุกฺกเมน ตํสมฺพนฺธานํ เสสรูปานมฺปิ จลเนน หทยวตฺถุมฺหิ จลิเต เมื่อหทัยวัตถุไหวไปตามความไหวแม้แห่งรูปที่เหลือซึ่งเกี่ยวเนื่องกับมหาภูตรูปนั้น ตามล�ำดับ ตนฺนิสฺสิตสฺส ภวงฺคสฺส จลนากาเรน ปวตฺติ โหติ ภวังคจิตที่อาศัย หทัยวัตถุนั้นย่อมมีความเป็นไป โดยอาการที่ไหว เอวเมว ฉันนั้นเหมือนกัน ฯ วุตฺตฺ จ สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์ธรรมปาละว่ากล่าวไว้ในปกรณ์สัจจสังเขปว่า ฆฏิ เ ต อฺ วตฺ ถุ มฺ หิ เมื่ อ อารมณ์ มี รู ป ารมณ์ เ ป็ น ต้ น กระทบวั ต ถุ อ ย่ า งหนึ่ ง (มีจกั ขุวตั ถุเป็นต้น) อฺ นิสสฺ ติ กมฺปนํ เอกาพทฺเธน โหติ ความไหวแห่งภวังคจิต ทีอ่ าศัยวัตถุอกี อย่างหนึง่ (คือ หทัยวัตถุ) ย่อมมีได้ เพราะเนือ่ งถึง เป็นอันเดียวกัน อิติวจนํ สกฺขโรปมยา วเท ถ้อยค�ำดังนี้ บัณฑิตพึงกล่าวโดยข้ออุปมา คือ ก้อน น�้ำตาลกรวด อิติ ดังนี้ ฯ ภวงฺคโสตนฺติ บทว่า ภวงฺคโสตํ ภวงฺคปฺปวาหํ ได้แก่ กระแสภวังคจิต ฯ อาวชฺเชนฺตนฺติ บทว่า อาวชฺเชนฺตํ กุรุมานํ ได้แก่ กระท�ำ อาโภคํ ความร�ำพึงอยู่ วทนฺตํ วิย คล้ายจะพูดว่า กินฺนาม เอตํ นี่อะไรกัน ฯ ปสฺสนฺตนฺติ บทว่า ปสฺสนตํ เปกฺขนฺตํ ได้แก่ เห็นอยู่ ปจฺจกฺขโต โดยประจักษ์ ฯ (ปุจฺฉา) ถามว่า จ ก็ วจนโต เพราะพระบาลีว่า จกฺขุนา รูปํ ทิสฺวา (เห็นรูปด้วยจักษุ) ดังนี้ จกฺขุนฺทฺริยเมว จักขุนทรีย์เท่านั้น สาเธติ ย่อมให้ส�ำเร็จ ทสฺสนกิจฺจํ หน้าที่เห็น (รูป) ได้ น วิฺาณํ ไม่ใช่ วิญญาณจิต นนุ ไม่ใช่หรือ ฯ (วิสชฺชนา) ตอบว่า อิ ทํ เอวํ (วุตฺตวจนํ) ค�ำที่ท่านกล่า วแล้ ว นี้ น หาเป็ นเช่ นนั้ นไม่ รูป สฺ ส อนฺธภาเวน รูปทสฺสเน อสมตฺถภาวโต เพราะรูปไม่มีความสามารถในการเห็นรูป


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

153

ได้ เพราะเป็นอายตนะมืด จ ก็ ยทิ ถ้า ตํ จกฺขุนฺทฺริยเมว จักขุนทรีย์นั้น ปสฺสติ เห็น รูปํ รูปได้ไซร้ ตถา สติ เมื่อเป็นได้อย่างนั้น อฺ วิฺาณสมงฺคิโนปิ จักขุนทรีย์ที่พรั่งพร้อมด้วยวิญญาณจิตอื่น (มีโสตวิญญาณจิตเป็นต้น) รูปทสฺสนปฺปสงฺโค สิยา จะพึงเกี่ยวข้องในการเห็นรูปได้ด้วย ฯ (ปุจฺฉา) ถามว่า ยทิ เอวํ ถ้าเมื่อเป็นเช่นนั้น วิญฺาณํ วิญญาณจิต ตํ ทสฺสนกิจฺจํ สาเธติ ย่อมท�ำ ทั ส สนกิ จ นั้ น ให้ ส� ำ เร็ จ ได้ วิ ญฺ  าณสฺ ส อปฺ ป ฏิ พ ทฺ ธ ตฺ ต า อนฺ ต ริ ต รู ป สฺ ส าปิ ทสฺสนํ สิยา วิญญาณจิตก็จะพึงเห็นรูปแม้ที่อยู่ภายใน เพราะไม่มีอะไรขัดขวาง ฯ (วิสชฺชนา) ตอบว่า โหติ อนฺตริตสฺสาปิ ทสฺสนํ ยสฺส ผลิกาทิติโรหิตสฺส อาโลก ปฏิพทฺโธ นตฺถิ แม้รูปที่อยู่ข้างในซึ่งมีแก้วผลึกเป็นต้นครอบอยู่ภายนอก ไม่มีการ เนื่องด้วยแสงสว่างเลย วิญญาณจิตก็ยังเห็นได้ ฯ ยสฺส ปน กุฑฺฑาทิอนฺตริตสฺส อาโลกปฏิพทฺโธ อตฺถิ ตตฺถ ตปฺปจฺจยาภาวโต วิญฺาณํ นุปฺปชฺชตีติ น ตสฺส จกฺขวุ ญ ิ  ฺ าเณน คหณํ โหติ แต่ในรูปทีอ่ ยูภ่ ายในฝาเรือนเป็นต้น มีการเนือ่ งด้วย แสงสว่าง วิญญาณจิตก็เกิดขึน้ ไม่ได้ เพราะไม่มปี จั จัยคือแสงสว่างนัน้ เพราะเหตุนนั้ จักขุวิญญาณจิต จึงรับรู้รูปนั้นไม่ได้ ฯ ปน แต่ ในพระบาลีว่า จกฺขุนา เอตฺถ นี้ อธิปฺปาโย มีอธิบายว่า ทฺวาเรน ด้วยทวาร เตน นั้น การณภูเตน อันเป็นเหตุ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง (อธิปฺปาโย อธิบายว่า) (ภควตา พระผู้มีพระภาคเจ้า) วุตฺตา ตรัส นิสฺสิตกิริยา กิริยาแห่งวิญญาณจิตซึ่งเป็นตัวอาศัยว่า นิสฺสยปฏิพทฺธา เนื่องด้วยจักขุปสาทรูปเป็นที่อาศัย อิติ ดังนี้ ยถา มญฺจา อุกฺกุฏฺ กโรนฺตีติ เหมือนประโยคว่า เตียงทั้งหลายกระท�ำเสียงโห่ ดังนี้ ฉะนั้น ฯ สมฺปฏิจฺฉนฺตนฺติ บทว่า สมฺปฏิจฺฉนฺตํ ตเมว รูปํ ปฏิคฺคณฺหนฺตํ ได้แก่ ดุจรับรูปนั้นนั่นเอง ฯ สนฺตีรยมานนฺติ บทว่า สนฺตีรยมานํ ตเมว สุฏฺุ ได้แก่ ดุจก�ำหนดรูปนั้นนั่นเอง ด้วยดี ฯ โยนิโสมนสิการวเสน ลทฺโธ ปจจโย เอเตน ปัจจัยอันชวนจิตนีไ้ ด้แล้ว ด้วยอ�ำนาจโยนิโสมนสิการ อิติ เพราะเหตุนน้ั ลทฺธปจฺจยํ ชวนจิตนั้นจึงชื่อว่ามีปัจจัยอันได้แล้ว ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า ชวนํ ชวนจิต ยงฺกิญฺจิ ดวงใดดวงหนึ่ง ฯ มุจฺฉามรณาสนฺนกาเลสุ ในเวลาสลบหรือใกล้ตาย


154

ปริเฉทที่ ๔

ชวนานิ ชวนจิต ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป ฉปฺปญฺจปิ เพียง ๖ ดวง หรือ ๕ ดวง อิติ เพราะเหตุนน้ั อนุรทุ โฺ ธ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ อาห จึงกล่าวว่า เยภุยเฺ ยน ฯ ชวนนุพนฺธานีติ บทว่า ชวนนุพนฺธานิ ความว่า (ตทาลัมพนวิบากจิต ๒ ดวง) อนุคตานิ ติดตาม ชวนํ ชวนจิตไป กาลํ สิน้ กาล กิญจฺ ิ เล็กน้อย ปฏิโสตคามินาวํ นทีโสโต วิย ดุจกระแสน�้ำติดตามเรือที่แล่นไปทวนกระแสน�้ำ ฉะนั้น ฯ ตสฺส ชวนสฺส อารมฺมณํ อารมฺมณเมเตสํ อารมณ์แห่งชวนจิตนั้นเป็นอารมณ์ของวิบาก เหล่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น (วิบากจิตเหล่านั้น) ตทารมฺมณานิ จึงชื่อว่ามีอารมณ์ แห่งชวนจิต นัน้ เป็นอารมณ์ มชฺฌปทโลปวเสน ด้วยอ�ำนาจลบบทในท่ามกลางเสีย พฺรหฺมสโรติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า พฺรหฺมสโร ดังนี้ ฯ ปกานิ วิบากจิต ตานิ เหล่านัน้ จ ด้วย ตทารมฺมณานิ มีอารมณ์แห่งชวนจิตนัน้ เป็นอารมณ์ จ ด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น ตทาลมฺพนปากานิ จึงชื่อว่าตทาลัมพนวิปากจิต ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารห อารมฺมณชวนสตฺตานุรูปํ ได้แก่ เหมาะแก่อารมณ์ ชวนจิต และ สัตว์ ฯ ปน ก็ (อนุรุทฺโธ ท่านพระอนุรุทธาจารย์) ปกาสยิสฺสติ จักประกาศ ปวตฺตึ ความเป็นไป ตถา เหมือนอย่างนัน้ สยเมว เองทีเดียว ฯ ภวงฺคปาโตวาติ บทว่า ภวงฺคปาโตว จิตตฺ สฺส ภวงฺคปาโต วิย ความว่า จิตเป็นดุจจิตตกลงสูภ่ วังค์ อปฺปวตฺติตฺวา เพราะไม่เป็นไป วีถิจิตฺตวเสน ด้วยอ�ำนาจวิถีจิต ฯ วุตฺตํ โหติ ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า อุปฺปตฺติ เกิดขึ้น ภวงฺควเสน ด้วยอ�ำนาจภวังคจิต ฯ จ ก็ เอตฺถ ในอธิการนี้ วีถิจิตฺตปฺปวตฺติยา สุขคฺคหณตฺถํ เพื่อเข้าใจความเป็นไปแห่ง วิถีจิตได้ง่าย (อาจริยา ท่านอาจารย์ทั้งหลาย) อาหรนฺติ จึงน�ำ อมฺโพปมาทึ ข้ออุปมาด้วยผลมะม่วงเป็นต้นมา ฯ ตตฺร บรรดาอุปมาเหล่านั้น (เวทิตพฺพํ พึงทราบ) อมฺโพปมามตฺตํ เพียงข้ออุปมาด้วยผลมะม่วง อิทํ ดังต่อไปนี้ ฯ กิร เล่ากันมาว่า ปุริโส ชาย เอโก คนหนึ่ง สสีสํ ปารุปิตฺวา นอนคลุมโปง นิทฺทายนฺโต หลับอยู่ ผลิตมฺพรุกฺขมูเล ที่โคนต้นมะม่วงซึ่งมีผลดก ปพุชฺฌิตฺวา ตกใจตื่นขึ้น สทฺเทน เพราะเสียง อมฺพผลสฺส ผลมะม่วง เอกสฺส ผลหนึ่ง ปติตสฺส ที่ตกลง อาสนฺเน ในที่ใกล้ วตฺถํ อปเนตฺวา เลิกผ้าออก สีสโต


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

155

จากศีรษะแล้ว จกฺขํ อุมฺมิลิตฺวา ลืมตาขึ้น ทิสฺวา ว พอได้เห็นเข้า ตํ คเหตฺวา ก็หยิบมัน มทฺทติ วฺ า บีบ อุปสิงฆฺ ติ วฺ า ดมดู ปกฺกภาวํ ตฺวา ก็รวู้ า่ เป็นมะม่วงสุก ปริภุญฺชิตฺวา จึงบริโภค อชฺโฌหริตฺวา กลืน มุขคตํ มะม่วงที่อยู่ในปากเข้าไป สห พร้อม เสมฺเหน กับเสมหะ นิทฺทายติ แล้วนอนหลับอยู่ ตตฺเถว ในที่น้นั นัน่ แหละอีก ฯ ตตฺถ ในบรรดากาลทัง้ ๙ มีกาลทีน่ อนหลับเป็นต้นนัน้ ภวงฺคกาโล กาลแห่งภวังคจิต ตสฺส ปุริสสฺส นิทฺทายนกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ชายนั้น นอนหลับ ฯ อารมมฺมณสฺส ปสาทฆฏนกาโล กาลที่อารมณ์กระทบประสาท ผลสฺส ปติตกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ผลมะม่วงหล่น ฯ อาวชฺชนกาโล กาลแห่งอาวัชชนจิต ตสฺส สทฺเทน ปพุชฺฌนกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ ชายคนนั้นตื่นขึ้น เพราะเสียงมะม่วงหล่น ฯ จกฺขุวิญฺาณปฺปวตฺติกาโล กาลที่ จักขุวญ ิ ญาณจิตเป็นไป อุมมฺ ลิ ติ วฺ า โอโลกิตกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลทีช่ ายคนนัน้ ลืมตาดูผลมะม่าง ฯ สมฺปฏิจฺฉนฺนกาโล กาลแห่งสัมปฏิจฉันนจิต คหิตกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลทีช่ ายคนนัน้ หยิบผลมะม่วง ฯ สนฺตรี ณกาโล กาลแห่งสันตีรณจิต มทฺทนกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลทีช่ ายคนนัน้ บีบผลมะม่วง ฯ โวฏฺพฺพนกาโล กาลแห่งโวฏฐัพพนจิต อุปสิงฺฆนกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ชายคนนั้นดม ผลมะม่วง ฯ ชวนกาโล กาลแห่งชวนจิต ปริโภคกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ ชายคนนั้นบริโภคผลมะม่วง ฯ ตทาลมฺพนกาโล กาลแห่งตทาลัมพนจิต มุขคตํ สห เสมฺเหน อชฺโฌหรณกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ชายคนนั้นกลืนมะม่วง ที่อยู่ในปากเข้าไปพร้อมกับเสมหะ ฯ ปุน ภวงฺคกาโล กาลที่จิตเป็นภวังค์ต่อไป ปุน นิทฺทายนกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ชายคนนั้นหลับต่อไปอีก อิติ แลฯ (ปุจฺฉา) ถามว่า จ ก็ อุปมาย ด้วยข้ออุปมา อิมาย นี้ ทีปิตํ โหติ เป็นอันท่าน แสดงอรรถไว้ กึ อย่างไร ฯ (วิสชฺชนา) ตอบว่า (ท่านแสดงไว้ว่า) อารมฺมณสฺส ปสาทฆฏนเมว กิจฺจํ อารมณ์มีหน้าที่กระทบประสาทเท่านั้น ฯ อาวชฺชนสฺส วิสยาภุญฺชนเมว อาวัชชนจิตมีหน้าที่ค�ำนึงถึงอารมณ์เท่านั้น ฯ จกฺขุวิญฺาณสฺส ทสฺสนมตฺตเมว จักขุวิญญาณจิต มีหน้าที่เพียงเห็นรูปารมณ์เท่านั้น ฯ จ และ


156

ปริเฉทที่ ๔

สมฺปฏิจฺฉนฺนาทีนํ สัมปฏิจฉันนจิตเป็นต้น ปฏิคฺคหณาทิมตฺตเมว มีหน้าที่เพียง รับอารมณ์เป็นต้นเท่านัน้ ฯ ปน ส่วน ชวนสฺเสว เฉพาะชวนจิต อารมฺมณรสานุภวนํ มีหน้าที่เสวยรสแห่งอารมณ์ ฯ จ และ ตทารมฺมณสฺส ตทาลัมพนจิต อนุภวนํ มีหน้าที่เสวย อนุภูตสฺเสว เฉพาะอารมณ์ที่ชวนจิตเสวยแล้ว ฯ กิจฺจวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจหน้าที่ เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ ธมฺมานํ อญฺมฺ ํ อสงฺกิณฺณตา ทีปติ า โหติ เป็นอันท่านแสดงถึงความทีธ่ รรมทัง้ หลายไม่ปะปนกันและกัน ฯ ปน ก็ จิตฺตํ จิต ปวตฺตมานํ ที่เป็นไปอยู่ เอวํ อย่างนี้ เวทิตพฺพํ พึงทราบว่า ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป จิตฺตนิยมวเสน โดยอ�ำนาจการก�ำหนดจิตนั่นเอง อุตุวีชนิยมาทิ วิย เปรียบเหมือนการก�ำหนดฤดูและพืชเป็นต้น นิยุญฺชเก การเก อสติปิ แม้ในเมื่อ ไม่มีผู้กระท�ำซึ่งเป็นผู้ชักชวน อาทินา นเยน โดยนัยเป็นต้นว่า ตฺวํ อาวชฺชนํ นาม หุ ตฺ ว า ภวงฺ ค านนฺ ต รํ โหหิ เจ้ า จงเป็ น อาวั ช ชนจิ ต มี ต ่ อ จากภวั ง คจิ ต ตฺวํ ทสฺสนาทีสุ อญฺตรํ หุตวฺ า อาวชฺชนานนฺตรํ เจ้าจงท�ำหน้าทีม่ กี ารเห็นเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง มีต่อจากหน้าที่น้อมนึก อิติ ดังนี้ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า เอตฺตาวตา ด้วยอ�ำนาจจิตตุปบาทมีประมาณเท่านี้ จิตตฺ กฺขณานิ ขณะดุจขณะจิต สตฺตรส ๑๗ ดวง ปริปูเรนฺติ ครบบริบรูณ์ ฯ อปฺปโหนฺตาตีตกนฺติ บทว่า อปฺปโหนฺตาตีตกํ อปฺปโหนฺตํ หุตฺวา อตีตํ ได้แก่ (อารมณ์) ล่วงไปแล้วไม่พอ (เพื่อความเกิดขึ้นแห่งตทาลัมพนจิต) ฯ นตฺถิ ตทา ลมฺพนุปฺปาโทติ ข้อว่า นตฺถิ ตทาลมฺพนุปฺปาโท จุทฺทสจิตฺตกฺขณายุเก ความว่า อารมณ์ที่มีอายุ ๑๔ ขณะจิต ตาว อารมฺมณสฺส นิรุทฺธตฺตา ว เพราะอารมณ์ดับลงเสียก่อนนั่นเอง ตทาลมฺพนํ ตทาลัมพนจิต น อุปฺปชฺชติ จึงไม่เกิดขึ้น ฯ หิ ความจริง เอกวีถิยํ ในวิถีจิตหนึ่ง เกสุจิ แม้เมื่อจิตบางเหล่า ปจฺจุปฺปนฺนาลมฺพเนสุ ที่มีอารมณ์เป็นปัจจุบัน (อุปฺปนฺเนสุ) ยังเกิดมีอยู่ กานิจิ จิตบางเหล่า อตีตารมฺมณานิ ที่มีอารมณ์เป็นอดีต น โหนฺติ จะเกิดมีไม่ได้ ปณฺณรสจิตฺตกฺขณายุเกปิ แม้ในอารมณ์ที่มีอายุ ๑๕ ขณะจิต ปรํ ชวนุปฺปตฺติโต ต่อจากชวนจิตเกิดขึ้นไป อวสิฏฺํ ยังเหลืออยู่ จิตฺตกฺขณํ เพียงขณะจิต เอกเมว


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

157

เดียวเท่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ตทาลมฺ พ นุ ปฺ ปตฺ ติยา อปฺ ปโหนกภาวโต เพราะอารมณ์นั้นไม่พอเพื่อตทาลัมพนจิต จะเกิดขึ้น ทฺวิกฺขตฺตุํ ๒ ครั้ง อุปฺปตฺติ ความเกิดขึ้น ทุติยตทาลมฺพนสฺส แห่งตทาลัมพนจิตดวงที่ ๒ นตฺถิ จึงไม่มี อิติ เพราะเหตุนั้น ปมฺปิ แม้ตทาลัมพนจิตดวงที่ ๑ น อุปฺปชฺชติ ก็ย่อม ไม่เกิดขึ้น ฯ หิ ความจริง ตทาลมฺพนุปฺปตฺติ ความเกิดขึ้นแห่งตทาลัมพนจิต ทฺวิกฺขตฺตุเมว ๒ ครั้งนั่นแหละ ภควตา พระผู้มีพระภาคเจ้า นิยมิตา ทรงก�ำหนด ไว้แล้ว ปาลิยํ ในพระบาลี จิตฺตปฺปวตฺติคณนายํ สพฺพวาเรสุ ทฺวินฺนเมว จิตตฺ วารานมาคตตฺตา เพราะในวาระทัง้ ปวง ในการนับความเป็นไปแห่งจิต วาระจิต มาแล้ว ๒ วาระแน่นอนว่า ตทาลมฺพเน ในตทาลัมพนวาระ เทฺว วาระจิต มาแล้ว ๒ วาระ อิติ ดังนี้ ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า ยมฺปน ปรมตฺถวินจิ ฉเย วุตตฺ ํ ค�ำทีท่ า่ นพระอนุรทุ ธาจารย์กล่าวไว้ ในคัมภีรป์ รมัตถวินจิ ฉัย ว่า ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น สกึ ครั้งเดียว วา หรือ เทฺว สองครั้ง อาวชฺชนาทโย อาวัชชนจิตเป็นต้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น สกึ ครั้งเดียว อิติ ดังนี้ ตํ มชฺฌิมภาณกานํ มตานุสาเรน วุตฺตํ ท่านกล่าวตาม แนวมติของท่านอาจารย์ผกู้ ล่าวมัชฌิมนิกาย ฯ ปน ก็ ยสฺมา เพราะ วาโท วาทะ มชฺฌิมภานกาณํ ของท่านอาจารย์ผู้กล่าวมัชฌิมนิกายทั้งหลาย ปฏิกฺขิตฺโต ว ถูกคัดค้านตกไปแล้ว สมฺโมหวิโนทนิยํ ในคัมภีร์สัมโมหวิโนทนี อสํสนฺทนโต เพราะเปรียบไม่ได้ เหฏฺาวุตฺตปาลิยา กับพระบาลีที่กล่าวแล้วข้างต้น ตสฺมา ฉะนั้น อาจริเยนาปิ แม้ท่านอาจารย์ (พระอนุรุทธาจารย์) น วุตฺตา ก็ไม่กล่าวว่า ตทาลมฺพนุปฺ ปตฺติ ตทาลัม พนจิตเกิด ขึ้ น สกึ ครั้ ง เดี ย วไว้ อิธ ในปกรณ์ อภิธัมมัตถสังคหะนี้ จ และ นามรูปปริจฺเฉเท ในคัมภีร์นามรูปปริเฉท อตฺตโน อนธิปฺเปตตฺตา เพราะตัวท่านเองก็ไม่ประสงค์เลย ฯ อนุรุทฺโธ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อาห กล่าวว่า ชวนมฺปิ อนุปฺปชฺชิตฺวา เพราะแม้ชวนจิตก็ไม่เกิดขึ้น อิติ ดังนี้ อธิปฺปาเยน โดยอธิบายว่า อารมฺมณํ อารมณ์ ฉจิตฺตกฺขณาวสิฏฺายุกมฺปิ อารมณ์แม้มีอายุเหลือลงเพียง ๖ ขณะจิต


158

ปริเฉทที่ ๔

ปรํ โวฏฺพฺพนุปฺปาทโต ต่อจากโวฏฐัพพนจิตเกิดขึ้น ปจฺจโย น โหติ ก็ย่อมไม่ เป็นปัจจัย ชวนุปฺปตฺติยา แก่การเกิดขึ้นแห่งชวนจิตได้ ปริทุพฺพลตฺตา เพราะเป็น อารมณ์มีก�ำลังอ่อนรอบด้าน อปฺปายุกภาเวน โดยความเป็นอารมณ์มีอายุน้อย หิ เพราะว่า ชวนํ ชวนจิต อุปฺปชฺชมานํ เมื่อจะเกิดขึ้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น สตฺตจิตตฺ กฺขณายุเกเยว เฉพาะในอารมณ์ทมี่ อี ายุ ๗ ขณะจิต นิยเมน โดยแน่นอน ฯ จ ก็ ตฺวาปจฺจโย ตฺวาปัจจัย อยํ นี้ เหตุมฺหิ ใช้ในเหตุ ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ชวนสฺสปิ อนุปฺปตติยา เพราะแม้ชวนจิตไม่เกิดขึ้น ฯ อิตรถาปิ แม้เมื่อก�ำหนด เนื้อความนอกไปจากนี้ น ลพฺภติ ย่อมไม่ได้ อปรกาลกิริยาย สมานกตฺตุกตา ความที่ ตฺวา ปัจจัยซึ่งเป็นปุพพกาลกิริยา เป็นศัพท์มีกัตตาเสมอกับอปรกาลกิริยา (ปริวตฺตติ) อิติ แล ฯ ทฺวิตฺติกฺขตฺตุนฺติ บทว่า ทฺวิตฺติกฺขตฺตํ ุ ทฺวิกฺขตฺตํ ุ วา ติกฺขตฺตํ ุ วา ได้แก่ ๒ หรือ ๓ ครั้ง ฯ ปน แต่ เกจิ อาจารย์บางพวก วทนฺติ กล่าวว่า อิทํ บทว่า ติกฺขตฺตุํ นี้ วจนสิลิฏฺตามตฺตปโยชนํ มีประโยชน์ เพียงความไพเราะแห่งถ้อยค�ำ ฯ ปน ก็ ตํ ค�ำนั้น อภินิเวสนมตฺตํ เป็นเพียง ความเข้าใจ เตสํ ของเกจิอาจารย์บางพวกนั้น ฯ หิ ความจริง วุตฺเตปิ แม้เมื่อ กล่าวว่า โวฏฺพฺพนเมว โวฏฐัพพนจิตเท่านั้น ปริวตฺตติ เป็นไป ทฺวิกฺขตฺตุํ ๒ ครั้ง อิติ ดังนี้ วจนสฺส อสิลิฏฺภาโว ถ้อยค�ำจะไม่มีความไพเราะ น อตฺถิ ก็หามิได้ ฯ จ แต่ อฏฺกถาทีสุ ในอรรถกถาเป็นต้น น อตฺถิ ไม่มี กิญจฺ ิ ค�ำอะไร ๆ พาธกํ ที่จะบั่นรอน ปวตฺติยา ความเป็นไป ติกฺขตฺตุํ ๓ ครั้ง ฯ จ ก็ กตฺวา เพราะอธิบายความ เอวํ ดังกล่าวมาแล้วอย่างนี้ สีหลสํวณฺณนาการาปิ แม้อาจารย์ ผู้รจนาอรรถกถาภาษาสิงหล สํวณฺเณนฺติ ก็พรรณนาไว้ ตตฺถ ตตฺถ ในคัมภีร์ ธัมมาวตารเป็นต้นนั้น ๆ เอวํ อย่างนี้ว่า ทฺวิกฺขตฺตุํ วา ติกฺขตฺตุํ วา ๒ ครั้ง หรือ ๓ ครั้ง ฯ โวฏฺพฺพนเมว ปวตฺตตีติ ข้อว่า โวฏฺพฺพนเมว ปวตฺตติ ความว่า โวฏฺพฺพนเมว โวฏฐัพพนจิตนั่นแหละ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ปุนปฺปุนํ ซ�้ำ ๆ ฯ ปน ก็ ตํ อปฺปตฺวา อนฺตรา จกฺขุวิญฺาณาทีสุ ตฺวา จิตฺตปฺปวตฺติยา นิวตฺตนํ ความเป็นไปแห่งจิตที่ยังไม่ถึงโวฏฐัพพนจิตนั้น หยุดอยู่ที่จักขุวิญญาณจิตเป็นต้น


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

159

ในระหว่าง แล้วกลับ (เข้าภวังค์) นตฺถิ ย่อมไม่มี ฯ ปน ก็ เอตฺถ ในความเป็นไป แห่งวิถีจิตในปริตตารมณ์วิถีนี้ อานนฺทาจริโย ท่านพระอานันทาจารย์ ทีเปติ แสดงอธิบายไว้ว่า อาวชฺชนาย อนนฺตรปจฺจยภาวสฺส วุตฺตตฺตา เพราะพระผู้มี พระภาคเจ้าตรัสอาวัชชนจิตว่าเป็น อนันตรปัจจัย กุสลากุสลานํ แก่กุศลชวนจิต และอกุศลชวนจิต (โดยพระพุทธพจน์) ว่า อาวชฺชนา อาวัชชนจิต ปจฺจโย ย่อมเป็นปัจจัย อนนฺตรปจฺจเยน โดยอนันตรปัจจัย กุสลานํ ขนฺธานํ แก่กุศลขันธ์ ทั้งหลาย อกุสลานํ ขนฺธานํ แก่อกุศลขันธ์ทั้งหลาย อิติ ดังนี้เป็นต้น จ และ โวฏฺพฺพนนาวชฺชนานํ อนตฺถนฺตรภาวโต เพราะโวฏฐัพพนจิตกับอาวัชชนจิต (มโนทวาราวัชชนจิต) หามีความหมายเป็นอย่างอื่นไม่ (คือ มีความหมายเป็น อย่างเดียวกัน) สติ อุปปฺ ตฺตยิ ํ เมือ่ มีอาวัชชนจิตเกิดขึน้ อยู่ โวฏฺพฺพนํ โวฏฐัพพนจิต ปวตฺเตยฺย พึงเป็นไป อนนฺตรปจฺจย ภาเวน โดยความเป็นอนันตรปัจจัย กามาวจรกุสลากุสลกิรยิ าชวนานํ แก่กศุ ลชวนจิต อกุศลชวนจิต และกิรยิ าชวนจิต ฝ่ายกามาวจร เอกนฺตโต โดยแน่นอน โน อญฺถา หาพึงเป็นไปโดยประการอืน่ ไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น นิยเมตพฺพํ บัณฑิตพึงก�ำหนด ปริตฺตารมฺมณํ ปริตตารมณ์วิถี ชวนาปาริปรู ยิ า โดยความไม่บริบรู ณ์แห่งชวนจิต มนฺทภี ตู เวคตาย เพราะชวนจิต มีก�ำลังอ่อน มุจฺฉกาลาทีสุ ในเวลาสลบเป็นต้น น (นิยเมตพฺพํ) ไม่พึงก�ำหนด โวฏฺพฺพนสฺส ทฺวิตฺติกฺขตฺตุํ ปวตติยา โดยโวฏฐัพพนจิตเป็นไป ๒ ครั้ง หรือ ๓ ครั้ง อิติ ดังนี้ ฯ (อานนฺทาจริโย ท่านพระอานันทาจารย์) ทีเปติ แสดงไว้ เอวํ อย่างนี้ กิญจฺ าปิ แม้โดยแท้ ปน ถึงอย่างนัน้ ติเหตุกวิปากานิ กามาวจรวิบากจิต ที่เป็นติเหตุกะ วุตฺตาเนว ที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ อนนฺตรปจฺจยภาเวน โดยความ เป็นอนันตรปัจจัยนั่นแหละ ปวตฺตานิ เป็นไป จุติวเสน ด้วยอ�ำนาจจุติจิต ขีณาสวานํ แก่พระขีณาสพทั้งหลาย น คจฺฉนฺติ ย่อมไม่ถึง อนนฺตรปจฺจยภาวํ ความเป็นอนันตรปัจจัย กสฺสจิ แก่จิตบางดวง อิติ เพราะเหตุนั้น เกนจิ ใคร ๆ น สกฺกา จึงไม่สามารถ วตฺตุํ กล่าวได้ว่า โวฏฺพฺพนมฺปิ แม้โวฏฐัพพนจิต ตานิ วิย ก็เหมือนกับกามาวจรวิบากจิตที่เป็นติเหตุกะเหล่านั้น อนนฺตรปจฺจโย


160

ปริเฉทที่ ๔

น โหติ ย่อมไม่เป็นอนันตรปัจจัย กุสลากุสลาทีนํ แก่กศุ ลชวนจิตและอกุศลชวนจิต เป็นต้น ปจฺจยเวกลฺลโต เพราะปัจจัยบกพร่อง ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น เอตฺถ ในค�ำว่า ทฺวติ ตฺ กิ ขฺ ตฺตุ โวฏฺพฺพนเมว ปริวตฺตติ นัน้ นิยมิตพฺพํ บัณฑิตพึงก�ำหนด ปริตฺตารมฺมณํ ปริตตารมณ์วิถี อาคตนเยน โดยนัยที่มาแล้ว อฏฺกถาสุ ในอรรถกถาทั้งหลายนั่นแล ฯ นตฺถิ วีถิจิตฺตุปฺปาโทติ ข้อว่า นตฺถิ วีถิจิตฺตุปฺปาโท ความว่า อุปริมโกฏิยา เพราะโดยก�ำหนดอย่างสูง สตฺตจิตฺตกฺขณายุกสฺสาปิ ทฺวิตฺติกฺขตฺตํ ุ โวฏฺพฺพ นุปฺปตฺติยา อปฺปโหนกภาวโต อารมณ์ที่มีอายุ ๗ ขณะจิต ไม่เพียงพอเพื่อ โวฏฐัพพนจิตจะเกิดขึน้ ๒ หรือ ๓ ครัง้ วีถจิ ติ ตฺ านมุปปฺ าโท ความเกิดขึน้ แห่งวิถจี ติ ทั้งหลาย นตฺถิ จึงไม่มี ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ภวงฺคปาโตว โหติ จิตย่อม ตกลงสู่ภวังค์ทันที ฯ ทสฺเสตุํ เพื่อแสดง อวธารณผลํ ถึงผลแห่งบทอวธารณะ ภวงฺคจลนเมวติ ในบทว่า ภวงฺคจลนเมว นี้ (อนุรุทฺเธน ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตตฺ ํ จึงกล่าวว่า นตฺถิ วีถจิ ติ ตฺ ปุ ปฺ าโท ย่อมไม่มคี วามเกิดขึน้ แห่งวิถจี ติ อิติ ดังนี้ ฯ ปน แต่ อปเร อาจารย์อีกพวกหนึ่ง ทสฺเสนฺติ แสดง อวธารณผลํ ถึงผลแห่ง บทอวธารณะว่า นตฺถิ ไม่มี ภวงฺคุปจฺเฉโท ภวังคุปัจเฉทะ ฯ ปน ก็ ตํ ค�ำว่า ไม่มีภวังคุปัจเฉทะ นั้น สิทฺธํ ส�ำเร็จ วีถิจิตฺตุปฺปาทาภาววจเนนเนว ด้วยการ กล่าวถึงความไม่มีแห่งความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิตนั่นเอง สติปิ วีถิจิตฺตุปฺปาเท แม้เมื่อมีความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิต ภวงฺคํ ภวังคจิต อุปจฺฉิชฺชติ ก็ขาดได้ ฯ ปน ก็ เหฏฺาปิ เพราะแม้ขา้ งต้น วิสํ ุ วิสํ ุ อวุตตฺ ตฺตา ไม่ได้กล่าวแยกจากภวังคจลนจิตไว้ ภวงฺคุปจฺเฉทนาเมน โดยชื่อว่าภวังคุปัจเฉทะ ปน แต่ อิธ ในอธิการว่าด้วย อติปริตตารมณ์นี้ (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ กล่าว (ค�ำว่าไม่มี ความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิต ดังนี้) อวิเสสน ไว้โดยไม่แปลกกัน ฯ อภาวโต เพราะ ไม่มี วีถิจิตฺตุปฺปตฺติยา ความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิต สพฺพโส โดยประการทั้งปวง ปจฺฉิมวาโร ว เฉพาะวาระสุดท้าย (อติปริตตารมณ์วิถี) เท่านั้น (อนุรุทฺเธน ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตฺตํ กล่าวไว้ โมฆวารวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นโมฆวาระ


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

161

อิธ ในพระอภิธัมมัตถสังคหปกรณ์นี้ ฯ ปน ส่วน อญฺตฺถ ในปกรณ์อื่น (คือ ปกรณ์ปรมัตถวินิจฉัย) ทุติยวาราปิ แม้วาระที่ ๒ (มหันตารมณ์วิถี) (อาจริเยน) ท่านอาจารย์ วุตฺตา ก็กล่าวว่า โมฆวารา เป็นโมฆวาระ อิติ ดังนี้ สุญฺตฺตา เพราะว่าง ตทาลมฺพเนหิ จากตทาลัมพนจิต (จ) และ ตติยวารา วาระที่ ๓ (ปริตตารมณ์วิถี) วุตฺตา ก็กล่าวว่า โมฆวารา เป็นโมฆวาระ อิติ ดังนี้ สุญฺตฺตา เพราะว่าง ชวเนหิ จากชวนจิต ฯ (ตรงนี้เป็นการแปลฉีกศัพท์เพื่อจับคู่) อาลมฺพนภูตาติ บทว่า อาลมฺพนภูตา ได้แก่ วิสยภูตา ทั้งเป็นอารมณ์ ปจฺยภูตา ทั้งเป็นปัจจัย ฯ หิ ความจริง ปจฺจโยปิ แม้ปัจจัย (ปณฺฑิเตน บัณฑิต) ปวุจฺจติ ก็เรียกว่า อารมฺมณํ อารมณ์ อิติ ดังนี้ ลภติ มาโร โอตารํ ลภติ มาโร อารมฺมณนฺตอิ าทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า มารได้ชอ่ ง มารได้ปจั จัย ฯ เตนเอว เหตุนนั้ นัน่ แล สิทธฺ ํ จึงส�ำเร็จค�ำว่า วิสยปฺปวตฺติ ความเป็นไปแห่งอารมณ์ อารมฺมณภูตา อันเป็นปัจจัย โมฆวารสฺสาปิ แม้แก่โมฆวาระ เอตฺถ ในบรรดา วาระทั้ง ๔ นี้ ฯ หิ ความจริง อติปริตฺตารมฺมณํ อติปริตตารมณ์ ปจฺจโย โหติ ย่อมเป็นปัจจัย โมฆวารปญฺาปนสฺส แก่การบัญญัติว่าโมฆวาระ ฯ หิ จริงอยู่ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ ภวงฺคจลนสฺส สกสกโคจเรเยว ปวตฺตนโต เพราะภวังคจลนจิตเป็นไปเฉพาะในอารมณ์ของตน ๆ ปจฺฉิมวารสฺส ปัจฉิมวาระ ปวตฺติ นตฺถิ จึงไม่มคี วามเป็นไป อติปริตตฺ ารมฺมเณ ในอติปริตตารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น วจนํ ค�ำว่า จตุนฺนํ วารานมาลมฺพนภูตา เป็นอารมณ์แห่ง วาระทั้ง ๔ อิติ ดังนี้ ทุรูปาทนํ สิยา จึงเป็นค�ำที่พึงเชื่อถือได้ยาก อิติ แล ฯ ปญฺจทฺวาเร ในปัญจทวาร วีถิจิตฺตานิ วิถีจิต อุปฺปชฺชมานานิ ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ ยถารหํ ตามสมควร ตํตํทฺวารานุรูปํ คือเหมาะแก่ทวารนั้น ๆ ตํตํปจฺจยานุรูปํ ได้แก่ เหมาะสมแก่ปัจจัยนั้น ๆ จ และ ตํตํอารมมณาทิอนุรูปํ เหมาะสมแก่ อารมณ์นั้น ๆ เป็นต้น อวิเสสโต ว่าโดยไม่แปลกกัน สตฺเตวโหนฺติ มี ๗ วิถี เท่านั้น อาวชฺชนทสฺสนาทิสมฺปฏิจฺฉนฺนสนฺตีรณโวฏฺฐพฺพนชวนตทาลมฺพนวเสน คือ อาวัชชนวิถี ๑ ปัญจวิญญาณวิถีมีทัสสนวิถีเป็นต้น ๑ สัมปฏิจฉันนวิถี ๑


162

ปริเฉทที่ ๔

สันตีรณวิถี ๑ โวฏฐัพพนวิถี ๑ ชวนวิถี ๑ ตทาลัมพนวิถี ๑ ฯ จิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาท วา หรือ อุปฺปชฺชมานจิตฺตานิเยว เฉพาะวิถีจิตที่ก�ำลังเกิดขึ้น อุปปฺ ตฺตวิ เสน ด้วยอ�ำนาจการเกิดขึน้ จิตตฺ านํ แห่งจิตทัง้ หลาย วิสุํ วิสุํ แต่ละแผนก จตุทฺทส ก็มี ๑๔ ดวง อาวชฺชนาทิปญฺจกสตฺตชวนตทาลมฺพนทฺวยวเสน คือ จิต ๕ ดวง มี อาวัชชนจิตเป็นต้นทั้ง ชวนจิต ๗ ดวง และตทาลัมพนจิต ๒ ดวง ปน แต่ว่า วิตฺถารา โดยพิสดาร (กามาวจรจิตฺตานิ กามาวจรจิต) จตุปญฺาส ชื่อว่ามี ๕๔ ดวง สพฺเพสเมว กามาวจรานํ ยถาสมฺภวํ ตตฺถ อุปฺปชฺชนโต เพราะกามาวจรจิตทั้งหมดนั้นแล เกิดขึ้นในปัญจทวารนั้นตามที่เกิดขึ้นได้ ฯ เอตฺถาติ บทว่า เอตฺถ วิสยปฺปวตฺติสงฺคเห ได้แก่ ในวิสยัปปวัตติสังคหะ ฯ อารมฺ ม ณมฺ ป ิ แม้ อ ารมณ์ อตี ต านาคตมฺ ป ิ ที่ เ ป็ น อดี ต หรื อ อนาคต อารมฺมณํ ก็ย่อมเป็นอารมณ์ มโนทฺวาริกจิตฺตานํ ของจิตที่เกิดทางมโนทวารได้ อิติ เพราะเหตุนั้น เกนจิ ใคร ๆ น สกฺกา จึงไม่อาจ กาตุํ ท�ำ วิสยววตฺถานํ การก�ำหนดอารมณ์ เตสํ ของจิตที่เกิดทางมโนทาวารเหล่านั้น อติมหนฺตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจอติมหันตารมณ์เป็นต้นได้ อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน ท่าน พระอนุรุทธาจารย์) นิยเมตุํ เพื่อจะก�ำหนด ตํ อารมณ์นั้น วิภูตาวิภูตวเสเนว ด้ ว ยอ� ำ นาจวิ ภู ต ารมณ์ และอวิ ภู ต ารมณ์ เ ท่ า นั้ น วุ ตฺ ตํ จึ ง กล่ า วค� ำ ว่ า ยทิ วิภูตมาลมฺพนํ ดังนี้เป็นต้น ฯ เอตฺถาติ บทว่า เอตฺถ มโนทฺวาเร ได้แก่ ในมโนทวาร ฯ เอกจตฺ ต าฬี ส จิ ต ๔๑ ดวง (ย่ อ มเป็ น ไปในมโนทวาร) ปญฺจทฺวาราเวณิกานํ ทฺวิปญฺจวิญฺาณมโนธาตุตฺตยวเสน เตรสจิตฺตานํ ตตฺถ อปฺปวตฺตนโต เพราะจิต ๑๓ ดวง คือ ปัญจวิญญาณจิตทั้ง ๒ ฝ่าย (๑๐ ดวง) มโนธาตุจิต ๓ ดวง ซึ่งมีเฉพาะในปัญจทวาร ไม่เป็นไปในมโนทวารนั้น ฯ ปริตฺตชวนนโย นัยว่าด้วยชวนจิตที่เป็นกามาวจร วิภูตาวิภูตเภโท ความต่างกันแห่งวิภูตารมณ์และอวิภูตารมณ์ นตฺถิ ชื่อว่า ย่อมไม่มี อารมฺมณสฺส วิภูตกาเลเยว อปฺปนาสมฺภวโต เพราะอัปปนาชวนจิต เกิ ด มี ไ ด้ เ ฉพาะเวลาที่ อ ารมณ์ (มี ป ฐวี ก สิ ณ เป็ น ต้ น ) ปรากฏชั ด เท่ า นั้ น ฯ


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

163

สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า หิ ความจริง ตตฺถ ในวาระว่าด้วยอัปปนาชวนจิตนั้น ฉพฺพีสติมหคฺคตโลกุตฺตรชวเนสุ บรรดามหัคคตชวนจิต (๑๘ ดวง) และ โลกุตตรชวนจิต (๘ ดวง) รวม ๒๖ ดวง ชวนํ ชวนจิต ยงฺกิญฺจิ ดวงใดดวงหนึ่ง โอตรติ ย่อมหยั่งลง อปฺปนาวีถึ สู่อัปปนาวิถี ฯ โยชนา มีวาจาประกอบ ความว่า (เมื่อบรรดากามาวจรชวนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ๘ ดวง ดวงใดดวงหนึ่ง) อุปปฺ ชฺชติ วฺ า เกิดขึน้ แล้ว นิรทุ เฺ ธ ดับลง (๔ ครัง้ ) ปริกมฺโมปจารานุโลมโคตฺรภู- นาเมน โดยชื่อว่า บริกรรม อุปจาร อนุโลม และโคตรภู ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ (หรือเกิดขึน้ แล้วดับลง ๓ ครัง้ โดยชือ่ ว่า อุปจาร อนุโลม และโคตรภู ตามล�ำดับ) ฯ หิ ความจริง ปมจิตฺตํ จิต (กามาวจรชวนจิต) ดวงที่ ๑ ปริกมฺมํ ชื่อว่าบริกรรม ปริกมฺมตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตสร้าง ปฏิสงฺขารกภูตตฺตา คือ เพราะเป็น ธรรมชาตปรุงแต่ง อปฺปนาย อัปปนา ฯ ทุติยํ กามาวจรชวนจิตดวงที่ ๒ อุปจารํ ชื่อว่าอุปจาร สมีปจาริตตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตเข้าใกล้อัปปนา ฯ หิ ความจริง (สภาวธรรม) นาจฺจาสนฺโนปิ แม้ไปไม่ใกล้นกั นาติทรู วตฺติ ไม่ไกลนัก สมีปจารี นาม โหติ ก็ชื่อว่าอยู่ใกล้ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง (ทุติยํ กามาวจรชวนจิต ดวงที่ ๒) อุปจารํ ชื่อว่าอุปจาร อปฺปนํ อุเปจฺจ จรตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นไปใกล้อัปปนา ฯ ตติยํ กามาวจรชวนจิตดวงที่ ๓ อนุโลมํ ชื่อว่าอนุโลม อนุกลุ ตฺตา เพราะคล้อยตาม ปริกมฺมานํ บริกรรม ปุพพฺ ภาเคปิ แม้ในส่วนเบือ้ งต้น จ และ อนุกุลตฺตา คล้อยตาม อปฺปนาย อัปปนา อุปริ ในส่วนเบื้องสูง ฯ จตุตฺถํ กามาวจรชวนจิตดวงที่ ๔ โคตฺรภู ชื่อว่าโคตรภู อภิภวนโต เพราะครอบง�ำ ปริตฺตโคตฺตสฺส โคตรที่เป็นกามาวจร จ และ มหคฺคตโคตฺตสฺส เพราะท�ำโคตร ที่เป็นมหัคคตะ ภาวนโต ให้เกิดมี วฑฺฒนโต คือ เพราะให้เจริญ อภิภวนโต เพราะครอบง�ำ ปุถุชฺชนโคตฺตสฺส โคตรที่เป็นปุถุชน จ และ โลกุตฺตรโคตฺตสฺส เพราะท�ำโคตรทีเ่ ป็นโลกุตตระ ภาวนโต ให้เกิดมี วฑฺฒนโต คือ เพราะให้เจริญ ฯ นามานิ ชื่อ จตฺตาริ ๔ ประการ อิมานิ เหล่านี้ ลพฺภนฺติ ย่อมได้ อนวเสสโต โดยไม่มสี ว่ นเหลือ ปวตฺตยิ ํ ในเวลาทีก่ ามาวจรชวนจิตเป็นไป จตุกขฺ ตฺตํุ ๔ ครัง้ ฯ


164

ปริเฉทที่ ๔

ปน แต่ ว ่ า ปวตฺ ติ ยํ ในเวลาที่ ก ามาวจรชวนจิ ต เป็ น ไป ติ กฺ ข ตฺ ตุํ ๓ ครั้ ง ลพฺภนฺติ ย่อมได้ อุปจารานุโลมโคตฺรภูนาเมเนว เฉพาะชื่อว่าอุปจาร อนุโลม และโคตรภูเท่านั้น ฯ ปน ส่วน อฏฺกถายํ ในอรรถกถา (อรรถกถาอัฏฐสาลินี) (อฏฺกถาจริเยน พระอรรถกถาจารย์) วุตตฺ ํ กล่าว ปริกมฺมาทินามํ ชือ่ มีบริกรรม เป็นต้น (กามาวจรานํ) แห่งกามาวจรชวนจิต ทฺวินฺนํ ๒ ดวง วา หรือ ติณฺณํ ๓ ดวง ปุรมิ านํ ข้างต้นไว้ อวิเสสนปิ แม้โดยไม่ตา่ งกัน ฯ หิ ความจริง อธิปปฺ าโย อธิบายความว่า อุปฺปชฺชิตพฺพปฺปนานุรูปโต โดยสมควรแก่อัปปนาชวนจิตที่จะพึง เกิดขึน้ เป็นวาระที่ ๕ ในเมือ่ บรรดากามาวจรชวนจิตทีเ่ ป็นญาณสัมปยุต ๘ ดวง (มหากุศลจิต ๔ ดวง และมหากิรยิ าจิต ๔ ดวง) ดวงใดดวงหนึง่ เกิดขึน้ แล้ว ดับลง ๔ ครัง้ โดยชือ่ ว่า บริกรรม อุปจาร อนุโลม และโคตรภู ตามล�ำดับ (ส�ำหรับ ท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียรผู้เป็นทันธาภิญญาบุคคล) หรือโดยสมควรแก่อัปปนาชวนจิต ที่จะพึงเกิดขึ้นเป็นวาระที่ ๔ ในเมื่อบรรดากามาวจรชวนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ๘ ดวง ดวงใดดวงหนึง่ เกิดขึน้ แล้วดับลง ๓ ครัง้ เท่านัน้ โดยชือ่ ว่า อุปจาร อนุโลม และโคตรภู ตามล�ำดับ (ส�ำหรับท่านผูบ้ ำ� เพ็ญเพียรผูเ้ ป็นขิปปาภิญญาบุคคล) ดังนี้ ฯ ปริกมฺมาทินามานํ อนวเสสโต ลพฺภมานวารทสฺสนตฺถํ เพื่อจะแสดงวาระแห่งชื่อ มีบริกรรมเป็นต้นทีจ่ ะได้อยูโ่ ดยไม่มสี ว่ นเหลือ (อนุรทุ เฺ ธน ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์) วุตตฺ ํ จึงกล่าวไว้ อาทิโต ข้างต้นว่า จตุกขฺ ตฺตํุ ฯ วุตตฺ ํ กล่าวไว้ โอสาเน ในทีส่ ดุ ว่า ปญฺจมํ วา อิติ ดังนี้ คณนปฏิปาฏิวเสน ด้วยอ�ำนาจล�ำดับการนับ ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ขิปปฺ าภิญ ฺ าทนฺธาภิญ ฺ านุรปู ํ ได้แก่ เหมาะแก่ ขิปปาภิญญาบุคคล และทันธาภิญญาบุคคล ฯ หิ ความจริง ปวตฺตกามาวจรชวนานนฺตรํ ในล�ำดับแห่งกามาวจรชวนจิต ที่เป็นไป ติกฺขตฺตุํ ๓ ครั้ง ขิปฺปาภิญฺสฺส ส�ำหรับขิปปาภิญญาบุคคล อปฺปนาจิตฺตํ อัปปนาชวนจิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น จตุตฺถํ เป็นวาระที่ ๔ ฯ ปวตฺตชวนานนฺตรํ ในล�ำดับแห่งกามาวจรชวนจิตที่เป็นไป จตุกขฺ ตฺตํุ ๔ ครัง้ ทนฺธาภิญ ฺ สฺส ส�ำหรับทันธาภิญญาบุคคล อปฺปนา อัปปนาชวนจิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ปญฺจมํ เป็นวาระที่ ๕ ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

165

ปน ก็ ยสฺมา เพราะ อนุโลมํ อนุโลมจิต อลทฺธาเสวนํ ที่ไม่ได้อาเสวนะ น สกฺโกติ ย่อมไม่สามารถ โคตฺรภุํ อุปฺปาเทตํุ จะให้โคตรภูจิตเกิดขึ้นได้ จ และ ฉฏฺสตฺตมํ จิตดวงที่ ๖ หรือที่ ๗ ลทฺธาเสวนมฺปิ แม้ได้อาเสวนะแล้ว น สกฺโกติ ก็ไม่สามารถ ปติฏฺาตํ ด�ำรงอยู่ได้ อปฺปนาวเสน ด้วยอ�ำนาจอัปปนาชวนจิต ภวงฺคสฺส อาสนฺนภาเวน เพราะใกล้ต่อภวังคจิต ปปาตาสนฺนปุริโส วิย เปรียบ เหมือนคนที่อยู่ใกล้เหว ฉะนั้น ฯ ตสฺมา เหตุนั้น โอรํ ต�่ำ จตุตฺถโต กว่าชวนจิต ดวงที่ ๔ วา หรือ ปรํ สูง ปญฺจมโต กว่าชวนจิตดวงที่ ๕ อปฺปนา อัปปนาชวนจิต น โหติ ย่อมมีไม่ได้ ฯ ยถาภินหี ารวเสนาติ ข้อว่า ยถาภินหี ารวเสน รูปารูปโลกุตตฺ รมคฺคผลานุรปู สมถวิปสฺสนาภาวนาจิตตฺ าภินหี ารณานุรปู โต ความว่า โดยสมควรแก่อภินหิ ารแห่งจิต ในสมถภาวนา และวิปัสสนาภาวนา อันเหมาะแก่รูปาวจรจิต อรูปาวจรจิต และ มรรคจิตและผลจิตฝ่ายโลกุตตระ ฯ วีถิ วิถี อปฺปนาย แห่งอัปปนา อปฺปนาวีถิ ชื่อว่าอัปปนาวิถี ฯ วุตฺเต เมื่อกล่าว เอตฺตเก ค�ำเฉพาะเพียงเท่านี้ว่า ตโต ปรํ ภวงฺคปาโตว โหติ (ต่อแต่นั้นไป ย่อมตกเป็นภวังคจิตทันที) อิติ ดังนี้ (ชนา) ชนทั้งหลาย คณฺเหยฺยํ ก็จะพึงยึดถือว่า ปรํ ต่อ โอติณฺณปฺปนาโต จาก อัปปนาชวนจิตหยั่งลงสู่อัปปนาวิถี จตุตฺถํ เป็นวาระที่ ๔ วา หรือ ปญฺจมํ เป็นวาระที่ ๕ แล้ว ภวงฺคปาโตว โหติ ย่อมตกเป็นภวังคจิตทันที ผลจิตตฺ ํ ผลจิต น (อุปฺปชฺชติ) ย่อมไม่เกิด มคฺคานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากมรรคจิต จ และ สมาปตฺติวีถิยํ ในสมาบัติวิถี ฌานผลจิตฺตานิ ฌานจิตและผลจิต (น อุปฺปชฺชติ ย่อมไม่เกิด) ปุนปฺปุนํ เรื่อย ๆ ไป อิติ ดังนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ วุตตฺ ํ จึงกล่าวย�ำ้ ปุน อีกว่า อปฺปนาวสาเน (ในทีส่ ดุ แห่ง อัปปนาชวนจิต จึงตกเป็นภวังคจิตทันที) อิติ ดังนี้ ฯ กิร นัยว่า นิกายนฺตริกา อาจารย์ทั้งหลายนิกายอื่น วณฺเณนฺติ ย่อมพรรณนา ปวตฺตึ ความเป็นไป กามาวจรชวนานํ แม้แห่งกามาวจรชวนจิตทัง้ หลาย ทฺวติ ตฺ กิ ขฺ ตฺตุํ ๒ หรือ ๓ ครัง้ ปรํ ต่อ ปมกปฺปนาโต จากอัปปนาชวนจิตเกิดครัง้ แรก โลกิยปฺปนาสุ ในบรรดา


166

ปริเฉทที่ ๔

โลกิยอัปปนาชวนจิตทั้งหลาย สตฺตมชวนปูรณตฺถํ เพื่อความครบบริบูรณ์แห่ง ชวนจิตดวงที่ ๗ อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ จึงกล่าว สาวธารณํ บทมีบทอวธารณะว่า ภวงฺคปาโตว (ตกเป็นภวังคจิตทันที) อิติ ดังนี้ มตนิเสธนตฺถํ เพือ่ จะคัดค้านมติ เตสํ ของอาจารย์นกิ ายอืน่ เหล่านัน้ เสีย ฯ ตตฺถาติ บทว่า ตตฺถ ได้แก่ อฏฺาณ สมฺปยุตฺตกามาวจรชวเนสุ บรรดา กามาวจรชวนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ๘ ดวง (มหากุศลชวนจิต ๔ ดวง และ มหากิรยิ าชวนจิต ๔ ดวง) เตสุ เหล่านัน้ จ และ ฉพฺพสี ติมหคฺคตโลกุตตฺ รชวเนสุ บรรดามหัคคตชวนจิตและโลกุตตรชวนจิต ๒๖ ดวง (มหัคคตกุศลชวนจิต ๙ ดวง มหัคคตกิริยาชวนจิต ๙ ดวง และโลกุตตรชวนจิต ๘ ดวง) เตสุ เหล่านั้น ฯ วา อีกนัยหนึง่ ตตฺถ บทว่า ตตฺถ อปฺปนาชวนวาเร ได้แก่ ในวาระแห่งอัปปนาชวนจิต ตสฺมึ นั้น ฯ โสมนสฺสสหคตชวนานนฺตรนติ บทว่า โสมนสฺสสหคตชวนานนฺตรํ ได้แก่ กุสลกฺริยา ชวนานมนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากกุศลชวนจิตและกิรินาชวนจิต จตุนนฺ ํ ๔ ดวง โสมนสฺสสหคตานํ ซึง่ สหรคตด้วยโสมนัส ฯ โสมนสฺสสหคตาวาติ บทว่า โสมนสฺสสหคตาว ความว่า (บัณฑิตพึงหวังเฉพาะอัปปนาชวนจิต) โสมนสฺสสหคตาว ที่สหรคตด้วยโสมนัส วเสน ด้วยอ�ำนาจ จตุกฺกชฺฌานสฺส ฌาน ๔ จ และ มคฺคผลสฺส มรรคจิตและผลจิต สุกฺขวิปสฺสกาทีนํ แห่ง พระอริยบุคคลผู้เป็นสุกขวิปัสสกเป็นต้น ปน แต่ น (ปาฏิกงฺขิตพฺพา) ไม่พึงหวัง (อปฺปนา) อัปปนาชวนจิต อุเปกฺขาสหคตาปิ แม้ทสี่ หรคตด้วยอุเบกขา ภินเฺ วทนานํ อญฺมฺ  อาเสวนปจฺจยภาวสฺส อนุทฺธฏตฺตา เพราะ (ในคัมภีร์ปัฏฐาน) พระผูม้ พี ระภาคเจ้ามิได้ทรงยกเหล่าชวนจิต ทีม่ เี วทนาต่างกัน (ขึน้ แสดงไว้) ว่าเป็น อาเสวนปัจจัยแก่กันและกัน ฯ ปาฏิกงฺขิตพฺพาติ บทว่า ปาฏิกงฺขิตพฺพา ได้แก่ ปสํสิตพฺพา (พึงประสงค์) ฯ วุตฺตํ โหติ มีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า อิจฺฉิตพฺพา (พึงปรารถนา) ฯ ตตฺถาปิติ บทว่า ตตฺถาปิ เอกเวทนาชวนวาเรปิ ได้แก่ แม้ในวาระ แห่งชวนจิตที่ประกอบด้วยเวทนาอย่างเดียว ตสฺมึ นั้น ฯ กุสลชวนานนฺตรนฺติ บทว่า กุสลชวนานนฺตรํ ได้แก่ จตุพพฺ ธิ าณสมฺปยุตตฺ กุสลชวนานนฺตรํ ในล�ำดับ


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

167

ต่อจากกุศลชวนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ๔ ดวง กุสลชวนํ กุศลชวนจิต อปฺเปติ ย่อมแน่วแน่ น กฺริยาชวนํ ไม่ใช่กิริยาชวนจิตแน่วแน่ นิพฺพตฺตนโต เพราะบังเกิด ภินฺนสนฺตาเนน โดยสันดานที่ต่างกัน ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า จ และ ผลตฺตยํ ผลจิต ๓ ดวง เหฏฺม ํ เบือ้ งต�ำ่ อปฺเปติ ย่อมแน่วแน่ สมาปตฺตวิ ถี ยิ ํ ในสมาบัตวิ ถิ ี ฯ สุขปุฺมฺหาติ บทว่า สุขปุฺมฺหา เป็นต้น ความว่า ทฺวตฺตึส อัปปนาชวนจิต ๓๒ ดวง อคฺคผลวิปากกฺรยิ าวชฺชติ โลกิยโลกุตตฺ รจตุกกฺ ชฺฌานวเสน คือ ฌาน ๔ ทั้งฝ่ายโลกิยะและฝ่ายโลกุตตระ เว้นอรหัตตผลจิต (๔ ดวง) รูปาวจรวิบากจิต (๔ ดวง) และรูปาวจรกิริยาจิต (๔ ดวง) (สมฺโภนฺติ) ย่อมเกิด ปรํ ต่อ โสมนสฺสสหคตติเหตุกกุสลทฺวยโต จากกุศลจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสเวทนาฝ่าย ติเหตุกะ ๒ ดวง (อปฺปนา) อัปปนาชวนจิต ทฺวาทส ๑๒ ดวง ปญฺจมชฺฌานานิ อันเป็นฌานที่ ๕ ตเถว ก็เหมือนกัน (สมฺโภนฺติ) คือ ย่อมเกิด ปรํ ต่อ อุเปกฺขกา จากกุศลจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ติเหตุกกุสลทฺวยโต คือ ต่อจากกามาวจรกุศลจิตฝ่ายติเหตุกะ ๒ ดวง (อปฺปนา) อัปปนาชวนจิต อฏฺ ๘ ดวง วเสน คือ กฺริยาฌานจตุกฺกสฺส รูปาวจรกิริยาจิต ๔ ดวง จ และ อคฺคผลจตุกฺกสฺส อรหัตตผลจิต ๔ ดวง (สมฺโภนฺติ) ย่อมเกิด ปรํ ต่อ อุเปกฺข กา จากกิริยาจิตที่ส หรคตด้วยโสมนั ส สเวทนา ติ เ หตุ ก ทฺ ว ยโต คื อ กามาวจรกิริยาจิตฝ่ายติเหตุกะ ๒ ดวง อปฺปนา อัปปนาชวนจิต ฉ ๖ ดวง วเสน คือ อุเปกฺขาสหคตรุปารูปกฺริยาปญฺจกสฺส รูปาวจรกิริยาจิต (๑ ดวง) และอรูปาวจรกิริยาจิต (๔ ดวง) ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา รวม ๕ ดวง จ และ อคฺคผลสฺส อรหัตตผลจิต (๑ ดวง) สมฺโภนฺติ ย่อมเกิด ปรํ ต่อ อุเปกฺขกา จากกิริยาจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ติเหตุกทฺวยโต คือ จากกามาวจรกิริยา จิตฝ่ายติเหตุกะ ๒ ดวง ฯ บทว่า เอตฺถ ได้แก่ วีถิสงฺคหาธิกาเร ในอธิการ ว่าด้วยวิถีสังคหะ ฯ บทว่า สพฺพตฺถาปีติ บทว่า สพฺพตฺถาปิ ความว่า ปญฺจทฺวาเร ทั้งใน ปัญจทวาร มโนทฺวาเรปิ ทั้งในมโนทวาร ฯ อิฏฺเติ บทว่า อิฏฺเ ได้แก่


168

ปริเฉทที่ ๔

อิฏฺมชฺฌตฺเต ในอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ ฯ หิ ความจริง (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วกฺขติ จักล่าว อติอิฏฺารมฺมณํ อติอิฏฐารมณ์ วิสุํ แยกไว้แผนกหนึ่ง ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า ปญฺวิญฺาณ ฯเปฯ ตทาลมฺพนานิ ปัญจวิญญาณจิต สัมปฏิจฉันนจิต สันตีรณจิต และตทาลัมพนจิต กุสลวิปากานิ ฝ่ายกุศลวิบาก (อุปฺปชฺชนฺติ) ย่อมเกิด (อิฏฺมชฺฌตฺเต) ในอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ ฯ สนฺตีรณตทาลมฺ พ นานิ สั น ตี ร ณจิ ต และ ตทาลั ม พนจิ ต อุ เ ปกฺ ข าสหคตาเนว เฉพาะที่ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเท่านั้น (อุปฺปชฺชนฺติ) ย่อมเกิด อิฏฺเ ในอิฏฐารมณ์ อิติ เพราะเหตุนนั้ (อนุรทุ โฺ ธ) ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ อาห จึงกล่าวว่า ปน แต่วา่ (สนฺตีรณตทาลมฺพนานิ) สันตีรณจิตและตทาลัมพนจิต โสมนสฺสสหคตาเนว เฉพาะที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนาเท่านั้น (อุปฺปชฺชนฺติ) ย่อมเกิด อติอิฏฺเ ในอติอิฏฐารมณ์ ฯ หิ ความจริง วิปากสฺส วิบากจิต ปวตฺตมานสฺส ที่เป็นไป กมฺมานุภาวโต ตามอานุภาพแห่งกรรม เวทนาโยโค โหติ ย่อมมีการประกอบ ด้วยเวทนา ยถารมฺมณเมว ตามอารมณ์นั่นแหละ กปฺเปตฺวา คหณาภาวโต เพราะจะก�ำหนดรับอารมณ์เองไม่ได้ นิพพฺ กิ ปฺปตาย เหตุปราศจากการก�ำหนดหมาย อาทาเส มุขนิมิตฺตํ วิย เปรียบเสมือนเงาหน้าในกระจก ฉะนั้น ฯ ปน ส่วน กุสลากุสลานํ กุศลจิตและอกุศลจิตทั้งหลาย คหณํ โหติ ย่อมมีการรับอารมณ์ อติอิฏฺเปิ แม้ในอติอิฏฐารมณ์ อิฏฺมชฺฌตฺตอนิฏฺาการโต โดยอาการเป็น อิ ฏ ฐมั ช ฌั ต ตารมณ์ ห รื อ เป็ น อนิ ฏ ฐารมณ์ ก็ ไ ด้ อนิ ฏ ฺ เ ปิ แม้ ใ นอนิ ฏ ฐารมณ์ อิฏฺอิฏฺมชฺฌตฺตาการโต โดยการเป็นอิฏฐารมณ์หรือเป็นอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ก็ได้ ปวตฺติยา เพราะเป็นไป สนฺตาเนสุ ในสันดาน อปฺปหีนวิปลฺลาเสสุ ที่ยังละ ความส�ำคัญผิดไม่ได้ ฯ ตถาหิ จริงย่างนั้น อติอิฏฺารมฺมเณปิ แม้ในอติอิฏฐารมณ์ พุทฺธาทีสุ มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น อสทฺธาทีนํ ส�ำหรับพวกชนผูไ้ ม่มศี รัทธาเป็นต้น อุเปกฺขาชวนํ โหติ ย่อมมีชวนจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเกิดขึ้น ฯ จ แต่ ติตฺถิยาทีนํ ส�ำหรับพวกเดียรถีย์เป็นต้น โทมนสฺสชวนํ โหติ ย่อมมีชวนจิตที่สหรคตด้วย


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

169

โทมนั ส สเวทนาเกิ ด ขึ้ น ฯ จ ส่ ว น ปฏิ กฺ กู ล ารมมเณฺ ในอารมณ์ ที่ ป ฏิ กู ล คมฺภีรปกติกาทีนํ ส�ำหรับพวกชนผู้มีปกติลึกซึ้งเป็นต้น อุเปกฺขาชวนํ โหติ ย่อมมีชวนจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเกิดขึ้น ฯ จ แต่ ตตฺถ ในอารมณ์ ที่ปฏิกูลนั้น สุนขาทีนํ ส�ำหรับพวกสุนัขเป็นต้น โสมนสฺสชวนํ โหติ ย่อมมี ชวนจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนาเกิดขึ้นได้ ฯ ปน ส่วน วิปากานิ วิบากจิต ปุรมิ ปจฺฉาภาคปฺปวตฺตานิ ทีเ่ ป็นไปแล้วในส่วนเบือ้ งต้นและภายหลัง ยถาวตฺถกุ าเนว ย่อมเกิดตามวัตถุที่ตั้งที่เกิดนั่นแล ฯ อปิ เช่น วิปากานิ วิบากจิต สุนขาทีนํ ของพวกสุนัขเป็นต้น สุมนายมานานํ ประพฤติพอใจ อสุจิทสฺสเน ในเพราะเห็น ของไม่สะอาด อิติ แล ฯ ปน ก็ การณํ เหตุ จกฺขวุ ญ ิ  ฺ าณาทีนํ อติอฏิ ฺ านิฏเฺ สุ ปวตฺตมานานมฺปิ อุเปกฺขาสหคตภาเว ในความที่จักขุวิญญาณจิตเป็นต้น แม้ที่ เป็นไปอยูใ่ นอติอฏิ ฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เป็นธรรมชาตสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา มยา ข้าพเจ้า (พระสุมังคลาจารย์) กถิตเมว กล่าวไว้เสร็จแล้ว เหฏฺา ข้างต้น นั่นแล ฯ ตตฺถาปีติ บทว่า ตตฺถาปิ ตทาลมฺพเนสุปิ แม้ในบรรดาตทาลัมพนจิต ฯ โสมนสฺสสหคตกฺริยาชวนาวสาเนติ บทว่า โสมนสฺสสหคตกฺริยาชวนาวสาเน สเหตุกาเหตุกสุขสหคตกฺริยาปญฺจกาวสาเน ได้แก่ เมื่อกิริยาชวนจิตที่สหรคต ด้วยโสมนัสสเวทนาทั้งฝ่ายสเหตุกะทั้งฝ่ายอเหตุกะ ๕ ดวงดับลง ฯ ขีณาสวานํ จิตตฺ วิปลฺลาสาภาเวน เพราะพระขีณาสพทัง้ หลาย ไม่มจี ติ วิปลั ลาส กฺรยิ าชวนานิปิ แม้กิริยาชวนจิต ปวตฺตนฺติ ก็ย่อมเป็นไป ยถารมฺมณเมว ตามอารมณ์นั่นแล อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ จึงกล่าวว่า โสมนสฺ ส สหคตกฺ ริ ย าชวนาวสาเนติ อ าทิ ในเมื่ อ กิ ริ ย าชวนจิ ต ที่ ส หรคตด้ ว ย โสมนัสสเวทนาดับลง ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ส่วน อาจริยา อาจารย์ เกจิ บางพวก วทนฺติ กล่าวว่า ปฏฺาเน ในคัมภีร์ปัฏฐาน (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า วุตฺตํ ตรัส ตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิต กุสลากุสลานเมวานนฺตรํ ไว้ในล�ำดับ ต่อจากกุศลจิตและอกุศลจิตว่า กุสลากุสเล เมื่อกุศลจิตหรืออกุศลจิต นิรุทฺเธ ดับลง วิปาโก วิบากจิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ตทารมฺมณตฺตา เพราะมี


170

ปริเฉทที่ ๔

ตทาลัมพนจิตเป็นอารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น ตทารมฺมณุปฺปาโท ตทาลัมพนจิต จึงเกิด กฺรยิ าชวนานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากกิรยิ าชวนจิต ฯ ตตฺถ ในค�ำของอาจารย์ บางพวกนัน้ วุจจฺ เต ข้าพเจ้าจะกล่าวเฉลย ฯ ยทิ ถ้า วุจเฺ จยฺย พระผูม้ พี ระภาคเจ้า พึงตรัส ตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิต อพฺยากตานนฺตรมฺปิ แม้ในล�ำดับต่อจาก อัพยากตจิต (กิรยิ าชวนจิต) ไซร้ (ปุคคฺ ลา) บุคคลทัง้ หลาย มญฺเยฺยํ ก็จะพึงส�ำคัญ ปวตฺตึ ความเป็นไป ตสฺส แห่งตทาลัมพนจิตนั้น โวฏฺวนานนฺตรํปิ แม้ในล�ำดับ ต่อจากโวฏฐัพพนจิต ปริตฺตารมฺมเณ ในปริตตารมณ์วิถี อิติ เพราะเหตุน้ัน (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า น วุตฺตํ จึงไม่ตรัส ตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิต กฺริยาชวนานนฺตรํ ไว้ในล�ำดับต่อจากกิริยาชวนจิต ปน แต่ น วุตฺตํ ที่ไม่ตรัสไว้ อลพฺภมานโต ไม่ใช่วา่ จะหาไม่ได้ ฯ หิ ความจริง อวจนํ การไม่ตรัส ลพฺภมานสฺสาปิ ถึงธรรมแม้จะหาได้อยู่ อธิปฺปาเยน ด้วยพระประสงค์ เกนจิ บางประการ ทิสฺสติ ย่อมปรากฏ กตฺถจิ ในที่บางแห่ง ยถาตํ ธมฺมสงฺคเห ลพฺภมานมฺปิ หทยวตฺถุ เทสนาเภทปริหารตฺถํ น วุตฺตํ เหมือนอย่างไม่ตรัสหทัยวัตถุ แม้ที่หาได้อยู่ใน หมวดธรรม เพื่อจะเฉลยความต่างแห่งเทศนา ฉะนั้น อิติ แล ฯ โทมนสฺสสหคเต เมื่อชวนจิตที่สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา นิรุทฺเธ ดับลง (ตทาลมฺพนภวงฺคานิ) ตทาลัมพนจิตและภวังคจิต อุเปกฺขาสหคตาเนว เฉพาะที่ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเท่านั้น ภวนฺติ ย่อมเกิด (ตทาลมฺพนภวงฺคานิ) ตทาลัมพนจิตและภวังคจิต โสมนสฺสสหคตานิ ที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา น ภวนฺติ เกิดไม่ได้ อญฺมฺ ํ วิรุทฺธสภาวตฺตา เพราะโสมนัสสเวทนากับ โทมนัสสเวทนามีสภาวะขัดแย้งกันและกัน ฯ หิ ก็ เตเนว เพราะเหตุนั้นแหละ ปฏฺาเน ในคัมภีร์ปัฏฐาน (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า อนุทฺธฏํ จึงไม่ทรงยก โสมนสฺ สํ โสมนั ส สเวทนาขึ้ น แสดงไว้ โทมนสฺ ส านนฺ ต รํ ในล� ำ ดั บ ต่ อ จาก โทมนัสสเวทนา จ และ อนุทฺธฏํ ไม่ทรงยก โทมนสฺสํ โทมนัสสเวทนาขึ้นแสดง ไว้ ตทนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากโสมนัสสเวทนานั้น ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เวทนาตฺติเก ในเวทนา ๓ ประการ (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า วุตฺตา ตรัส


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

171

อนนฺตรปจฺจยวารา อนันตรปัจจัยไว้ สตฺเตว ๗ วาระเท่านั้น เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ วุตฺตา ตรัส สุขทุกฺขเวทนาสมฺปยุตฺตธมฺมา ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา กับธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาไว้ ทฺวีสุ ทฺวีสุ วาเรสุ เวทนา ๒ วาระ อนนฺตรปจฺจยภาเวน โดยความเป็นอนันตรปัจจัย สมานเวทนาสมฺปยุตฺตานํ แก่ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยเวทนาที่เหมือนกัน อตฺตโน อตฺตโน ของตน ๆ จ และ อทุ กฺ ข มสุ ข เวทนาสมฺ ป ยุ ตฺ ต านํ แก่ ธ รรมทั้ ง หลายที่ สั ม ปยุ ต ด้ ว ย อทุ ก ขมสุ ข เวทนา สุ ข าย เวทนาย สมฺ ป ยุ ตฺ โ ต ธมฺ โ ม สุ ข าย เวทนาย สมฺปยุตฺตสฺส ธมฺมสฺส อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโยติอาทินา โดยพระพุทธพจน์ว่า ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยโดยเป็นอนันตรปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุต ด้ ว ยสุ ข เวทนาดั ง นี้ เ ป็ น ปน แต่ วุ ตฺ ต า ตรั ส ธมฺ ม า ธรรมทั้ ง หลาย อทุกฺขมสุขเวทนาสมฺปยุตฺตา ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาไว้ ตีสุ วาเรสุ ๓ วาระ อนนฺตรปจฺจยภาเวน โดยความเป็นอนันตรปัจจัย ธมฺมานํ แก่ธรรม ทั้งหลาย สมานเวทนาสมฺปยุตฺตาน ที่สัมปยุตด้วยเวทนาที่เหมือนกัน จ และ ธมฺมานํ แก่ธรรมทั้งหลาย อิตรเวทนาทฺวยสมฺปยุตฺตานํ ที่สัมปยุตด้วยเวทนา ๒ ประการนอกนี้ ฯ จ ก็ ยทิ ถ้าว่า โสมนสฺสํ โสมนัสสเวทนา อุปฺปชฺเชยฺย จะพึงเกิดขึ้นได้ โทมนสฺสานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากโทมนัสสเวทนา วา หรือ โท มนสฺสํ โทมนัสสเวทนา อุปฺปชฺเชยฺย จะพึงเกิดขึ้นได้ โสมนสฺสานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากโสมนัสสเวทนาไซร้ วตฺตพฺพา สิยุํ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็จะต้อง ตรัส (อนันตรปัจจัย) ไว้ นว วารา ๙ วาระ วฑฺเฒตฺวา ทรงเพิ่มขึ้นอีก เทฺว วาเร ๒ วาระ สุขทุกฺขเวทนาสมฺปยุตฺตานมฺปิ อญฺมฺ ํ อนนฺตรปจฺจยวเสน คือ ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนากับธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นอนันตรปัจจัย แก่กันและกัน ฯ ปน น วุตฺตา แต่พระองค์ก็มิได้ตรัสไว้ เอวํ อย่างนั้น ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ตทนนฺตรํ เตสํ น อุปฺปตฺติ อตฺถิ โสมนัสสเวทนานั้น จึงไม่มีความเกิดขึ้น ในล�ำดับต่อจากโทมนัสสเวทนานั้น และโทมนัสสเวทนานั้น ก็ไม่มีความเกิดขึ้นในล�ำดับต่อจากโสมนัสสเวทนานั้น ฯ จ ก็ เอตฺถ ในอธิการว่า


172

ปริเฉทที่ ๔

ด้วยการก�ำหนดตทาลัมพนจิตนี้ โสมนสฺสสหคตกฺรยิ าชวนาวสาเนติอาทินา ด้วยค�ำว่า โสมนสฺสสหคตกฺริยา ชวนาวสาเน เป็นต้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อนุญฺาโต คล้อยตาม นิยโม ข้อก�ำหนด อยมฺปิ แม้นี้ว่า : ปญฺจสุ สุขเิ ตสุ บรรดาตทาลัมพนจิตทีส่ หรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ๕ ดวง ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิต เอเกกํ แต่ละดวง (ย่อมเกิดมี) ปริตฺตกุสลาโทสปาปสาตกฺริยาชวา ต่อจากกามาวจรกุศลชวนจิต ที่ ส หรคตด้ ว ยโสมนั ส สเวทนา อกุ ศ ลชวนจิ ต ที่ ไ ม่ ใ ช่ โ ทสมู ล จิ ต ที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา และกามาวจรกิริยาชวนจิตที่สหรคต ด้วยโสมนัสสเวทนา ยถารหํ ตามสมควร ฯ ฉสุ บรรดาตทาลัมพนจิตทีส่ หรคตด้วยอุเบกขา ๖ ดวง ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิต เอเกกํ แต่ละดวง (ย่อมเกิดมี) ปาปา ต่อจากอกุสล ชวนจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา กามสุภา กามาวจรกุศลชวนจิต ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา จ และ กฺริยาชวา จากกามาวจรกิริยา ชวนจิต โสเปกฺขา ที่สหรคตด้วยอุเบกขา อนุรูปโต ตามสมควร ฯ หิ ความจริง ตทารมฺมณนิยโม การก�ำหนดตทาลัมพนจิต ชวเนน ตามชวนจิต อยํ นี้ อพฺยภิจารี เป็นความประพฤติที่เกินความเป็จริงไป ก็หามิได้ ฯ ปน ส่วน ตทารมฺมณนิยโม การก�ำหนดตทาลัมพนจิต าณสมฺปยุตฺตตทารมฺมณนฺติ- อาทินยปฺปวตฺโต ที่เป็นไปโดยนัยว่า ตทาลัมพนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต (โหติ) ย่อมเกิดมี าณสมฺปยุตฺตชวนโต ต่อจากชวนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ดังนี้เป็นต้น อเนกนฺติโก มิใช่เป็นไปโดยความหมายเพียงอย่างเดียว ฯ หิ ความจริง กทาจิ ในกาลบางคราว กุสลชวเนสุ เมื่อกุศลชวนจิตทั้งหลาย ปริจิตสฺส ของบุคคล ผู้สั่งสมไว้ อกุสลชวเนสุ ในอกุศลชวนจิตทั้งหลาย เยภุยฺเยน โดยมาก ชวิเตสุ แล่นไปแล้ว อเหตุกตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิตฝ่ายอเหตุกะ โหติ ย่อมเกิดมีได้ ปรํ แม้ต่อ ติเหตุกชวนโตปิ จากชวนจิตที่เป็นติเหตุกะ ปวตฺตปริจเยน เพราะ ความเคยชินที่เป็นไป อกุสลานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากอกุศลชวนจิต วา หรือว่า


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

173

กทาจิ ในกาลบางคราว (อกุสลชวเนสุ) เมื่ออกุศลชวนจิตทั้งหลาย (ปริจิตสฺส) ของบุคคลผู้สั่งสมไว้ (กุสลชวเนสุ) ในกุศลชวนจิตทั้งหลาย (เยภุยเฺ ยน) โดยมาก (ชวิเตสุ) แล่นไปแล้ว ติเหตุกตทารมฺมณมฺปิ ตทาลัมพนจิตฝ่ายติเหตุกะ ตถา ก็เหมือนกัน (โหติ) คือย่อมเกิดมีได้ ปรํ ต่อ อกุสลชวนโต จากอกุศลชวนจิต กุ ส ลานนฺ ต รมฺ ป วตฺ ต ปริ จ เยน เพราะความเคยชิ น ที่ เ ป็ น ไปในล� ำ ดั บ ต่ อ จาก กุศลชวนจิต ฯ ปน ส่วน ตทารมฺมณปฺปวตฺตยิ ํ ในความเป็นไปแห่งตทาลัมพนจิต อญฺกมฺเมน ด้วยกรรมอื่น ปฏิสนฺธินิพฺพตฺตกกมฺมโต จากกรรมที่ให้ปฏิสนธิจิต บังเกิด นฺตถิ ไม่มี วตฺตพฺพเมว ค�ำที่จะต้องพูดถึงเลย ฯ ตถา จ เพราะเหตุนั้นแล (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า วุตฺตํ จึงตรัสไว้ ปฏฺาเน ในคัมภีร์ปัฏฐานว่า (โยคาวจโร) ผู้บ�ำเพ็ญเพียร วิปสฺสติ ย่อมเห็นแจ้ง อเหตุเก ขนฺเธ อเหตุขันธ์ ทั้งหลาย อนิจฺจโต โดยไม่เที่ยง ทุกฺขโต โดยเป็นทุกข์ อนตฺตโต โดยเป็นอนัตตา กุสลากุสเล เมื่อกุศลชวนจิตหรืออกุศลชวนจิต นิรุทฺเธ ดับลง วิปาโก วิบากจิต อเหตุโก ฝ่ายอเหตุกะ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ตทารมฺมณตฺตา เพราะมีอารมณ์ แห่งกุศลชวนจิตหรืออกุศลชวนจิตนั้นเป็นอารมณ์ กุสลากุสเล เมื่อกุศลชวนจิต หรืออกุศลชวนจิต นิรุทฺเธ ดับลง วิปาโก วิบากจิต สเหตุโก ฝ่ายสเหตุกะ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ตทารมฺมณตฺตา เพราะมีอารมณ์แห่งกุศลชวนจิตหรือ อกุศลชวนจิตนั้นเป็นอารมณ์ อิติ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตสฺมาติ บทว่า ตสฺมา สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า ยสฺมา เพราะเหตุที่ (ตทาลมฺ พ นภวงฺ ค านิ ) ตทาลั ม พนจิ ต และภวั ง คจิ ต อุ เ ปกฺ ข าสหคตาเนว อันสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนานั่นแล โหนฺติ มี โทมนสฺสชวนาวสาเน ในที่สุด ชวนจิตที่สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ตสฺมา ฉะนั้น ตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิต อุ เ ปกฺ ข าสหคตํ ที่ สหรคตด้ ว ยอุ เ บกขาเวทนา อุ ปฺ ป ชฺ ช ติ จึ ง เกิ ด ขึ้ น โทมนสฺ ส ชวนาวสาเน ในที่ สุ ด ชวนจิ ต ที่ ส หรคตด้ ว ยโทมนั ส สเวทนา ฯ โสมนสฺสปฏิสนธิกสฺสาติ ด้วยบทว่า โสมนสฺสปฏิสนธิกสฺส อิมินา นี้ ทีปิโตว โหติ เป็นอันท่านอาจารย์แสดง ภวงฺคปาตาภาโวปิ แม้ความไม่มกี ารตกเป็นภวังคจิต


174

ปริเฉทที่ ๔

นั่นเอง โสมนสฺสาภาวโต เพราะไม่มีโสมนัสสเวทนา โทมนสฺสานนฺตรํ ในล�ำดับ ต่อจากโทมนัสสเวทนา อิติ เหตุนั้น (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อวตฺวา จึ งไม่กล่าว ตํ ความข้อนั้น ปริก ปฺเ ปนฺ โต ก� ำ หนด ตทาลมฺ พ นาภาวเมว เฉพาะความไม่มีตทาลัมพนจิตอย่างเดียว อาห จึงกล่าวว่า ยทิ ถ้า นตฺถิ ไม่มี ตทาลมฺพนสมฺภโว ความเกิดตทาลัมพนจิต อิติ ดังนี้ ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ยทิ ถ้า นตฺถิ ไม่มี อุปฺปตฺติสมฺภโว ความเกิด คือความอุบัติ ตทาลมฺพนสฺส แห่งตทาลัมพนจิต ติตฺถิยาทิโน แก่เดียรถีย์เป็นต้น โสมนสฺสปฏิสนฺธิกสฺส ผู้มีปฏิสนธิจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ปฏิหตจิตฺตสฺส ซึ่งมีจิตขัดเคือง พุทธฺ าทิอติอฏิ ฺ ารมฺมเณปิ แม้ในอติอฏิ ฐารมณ์มพี ระพุทธเจ้าเป็นต้น โทมนสฺสชวเน ในเมื่อชวนจิตที่สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ชวิเต แล่นไปแล้ว วุตฺตนเยน โสมนสฺสตทาลมฺพ นสฺส อนุปฺปชฺชนโต เพราะตทาลั ม พนจิ ต ที่ ส หรคตด้ ว ย โสมนัสสเวทนาไม่เกิดขึน้ โดยนัยทีก่ ล่าวแล้ว จ และ อุเปกฺขาสหคตตทาลมฺพนสฺส อนุปฺปชฺชนโต ตทาลัมพนจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ก็ไม่เกิดขึ้น อติอิฏฺารมฺมเณปิ ในอติอิฏฐารมณ์ วา หรือ ยทิ ถ้า นตฺถิ ไม่มี อุปฺปตฺติสมฺภโว ความเกิดคือความอุบัติ ตทาลมฺพนสฺส แห่งตทาลัมพนจิต (ปุคฺคลสฺส) แก่บุคคล ปริหีนโลกิยชฺฌานํ อารพฺภ ผู้ปรารภ ปริหีนโลกิยชฺฌานํ โลกิยฌานอันเสื่อมไป อสปฺปาเยน ด้วยอสัปปายะ เกนจิ บางอย่าง วิปปฺ ฏิสารํ ชเนนฺตสฺส เกิดเสียดายว่า ปณีตธมฺโม ธรรมประณีต เม ของเรา นฏฺโ ฉิบหายเสียแล้ว อิติ ดังนี้ โทมนสฺสชวเน สติ ในเมือ่ มีชวนจิตทีส่ หรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ตทาลมฺพนาภาวโต เพราะไม่ มี ต ทาลั ม พนจิ ต อกามาวจราลมฺ พ เน ในอารมณ์ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ก ามาวจร อิติ ดังนี้ ฯ ปริจติ ปุพพฺ นฺติ บทว่า ปริจติ ปุพพฺ ํ โดยอรรถว่า ปริจติ ํ ทีต่ นคุน้ เคยแล้ว ปุ พฺ เ พ ในกาลก่ อ น คหิ ต ปุ พฺ พํ คื อ ที่ ต นเคยรั บ แล้ ว เยภุ ยฺ เ ยน โดยมาก ภเว ในภพ ตสฺมึ นัน้ ฯ อธิปปฺ าโย อธิบายว่า อุเปกฺขาสหคตสนฺตรี ณํ สันตีรณจิต ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา นิราวชฺชนมฺปิ แม้ปราศจากอาวัชชนจิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้นได้ ยถาตํ นิโรธา วุฏฺหนฺตสฺส ผลจิตฺตํ เหมือนอย่างผลจิตของท่าน


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

175

ผูอ้ อกจากนิโรธสมาบัติ ฉะนัน้ ฯ ยถาหุ (โปราณา) สมจริงดังทีพ่ ระโบราณาจารย์ ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า หิ ความจริง เอตํ ค�ำว่า จิตฺตํ จิต นิราวชฺชํ ที่ปราศจากอาวัชชนจิต โหติ มีได้ กถํ อย่างไร อิติ ดังนี้ นั้น (อาจริเยหิ) ท่านอาจารย์ ทั้งหลาย น สมฺมตํ มิได้กล่าวไว้ นิยโม การก�ำหนดว่า วินาวชฺชํ จิตทีป่ ราศจากอาวัชชนจิต ย่อมไม่มี ดังนี้ น มีอยูก่ ห็ ามิได้ ผลทสฺสนา เพราะแสดงถึงผลจิต (อนาคามิผลจิตและอรหัตตผลจิต) เว้นจาก อาวัชชน จิตเสีย ก็เกิดขึ้น นิโรธา ต่อจากนิโรธสมาบัติได้ ฯ เกน ปน กิจฺเจน อิทํ จิตฺตํ ปวตฺตตีติ ถามว่า ก็จิตดวงนี้ (สันตีรณจิตที่ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา) ย่อมเป็นไปโดยกิจอะไร ฯ ตอบว่า ตาว อันดับแรก อิทํ จิตดวงนี้ นปฺปวตฺตติ ย่อมไม่เป็นไป ตทารมฺมณกิจฺเจน โดยตทาลัมพนกิจ ชวนารมฺ ม ณสฺ ส อคฺ ค หณโต เพราะไม่ รั บ รองอารมณ์ ข องชวนจิ ต นาปิ สนฺตีรณกิจฺเจน ทั้งไม่เป็นไปโดยสันตีรณกิจ สนฺตีรณวเสน อปฺปวตฺตนโต เพราะไม่ เ ป็ น ไปด้ ว ยอ� ำ นาจพิ จ ารณาอารมณ์ ยถาสมฺ ป ฏิ จฺ ฉิ ต สฺ ส ตามที่ สั ม ปฏิ จ ฉั น นจิ ต รั บ มา ปฏิ ส นฺ ธิ จุ ตี สุ ในปฏิ ส นธิ กิ จ และจุ ติ กิ จ วตฺ ต พฺ พ เมว นตฺถิ ไม่จ�ำเป็นต้องพูดถึงเลย ปน แต่ ปริเสสโต เมื่อว่าโดยนัยที่ยังเหลืออยู่ ภวงฺคกิจเฺ จนาติ ยุตตฺ ํ สิยา ควรจะพูดว่า จิตดวงนีย้ อ่ มเป็นไปโดยภวังคจิต ภวสฺส องฺคภาวโต เพราะเป็นองค์แห่งภพ ฯ หิ ความจริง อาจริยธมฺมปาลตฺเถเรนาปิ แม้ทา่ นอาจารย์ธรรมปาลเถระ อยมตฺโถ ทสฺสโิ ตว ก็แสดงเนือ้ ความนีไ้ ว้เสร็จแล้ว ฯ ปน ก็ ยํ ปฏิสนฺธิภวงฺคานํ ธมฺมโต อารมฺมณโต จ สมานตํ วกฺขติ ตํ ข้อที่ ท่านอาจารย์จักกล่าวว่า ปฏิสนธิจิตและภวังคจิตเสมอกันโดยธรรมและอารมณ์นั้น เยภุยฺยโตติ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นว่า ท่านอาจารย์กล่าวไว้โดยมาก ฯ หิ ความจริง อิทเมกํ านํ วชฺเชตฺวา เว้นฐานะหนึ่งนี้เสียแล้ว ปฏิสนฺธิภวงฺคานํ วิสทิสตา น อตฺถิ ปฏิสนธิจิตและภวังคจิตจะไม่มีความแปลกกันเลย ฯ ตมนนฺตริตฺวาติ บทว่า ตมนนฺตริตวฺ า ได้แก่ ตํ อตฺตโน อนนฺตรํ กตฺวา กระท�ำสันตีรณจิตทีส่ หรคต


176

ปริเฉทที่ ๔

ด้วยอุเบกขาเวทนานั้นไว้ในล�ำดับแห่งตน อพฺยาวหิตํ คือไม่ให้จิตดวงอื่นเข้ามา แทรกแซง ฯ ตทนนฺตรนฺติ อตฺโถ อธิบายว่า ในล�ำดับต่อจากสันตีรณจิตที่ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนานั้น ฯ กามาวจร ฯเปฯ อิจฺฉนฺตีติ เอตฺถ ในค�ำว่า กามาวจร ฯเปฯ อิจฺฉนฺติ (ท่านอาจารย์ทั้งหลาย ย่อมปรารถนาตทาลัมพนจิต ในเมื่อกามาวจรชวนจิตดับลง เฉพาะในกามาวจรธรรมที่เป็นอารมณ์ส�ำหรับเหล่ากามาวจรสัตว์) นี้ พึงทราบ อธิบายความว่า ท่านอาจารย์ทั้งหลาย อิจฺฉนฺติ ย่อมปรารถนา ตทารมฺมณํว ตทาลัมพนจิตนั่นแล กามาวจรชวนาวสาเนเยว ในเมื่อกามาวจรชวนจิตดับลง เท่านัน้ กามตณฺหานิทานกมฺมนิพพฺ ตฺตตฺตา เพราะตทาลัมพนจิตนัน้ บังเกิดแต่กรรม มีกามตัณหาเป็นต้นเหตุ ฯ หิ ความจริง ตํ ตทาลัมพนจิตนั้น กมฺมุนา อันกรรม กามตณฺหาเหตุเกน ที่มีกามตัณหาเป็นเหตุ ชนิตํ ให้เกิดแล้ว น อุปฺปชฺชติ ย่อมไม่เกิดขึน้ อนนฺตรํ ในล�ำดับ รูปารูปาวจรโลกุตตฺ รชวนสฺส แห่งรูปาวจรชวนจิต อรูปาวจรชวนจิต และโลกุตตรชวนจิต อตํสภาวสฺส ซึ่งไม่มีสภาวะเช่นนั้น ฯ กึ การณํ เหตุอะไร หรือ ฯ อชฺชนกตฺตา เพราะรูปาวจรชวนจิตเป็นต้นนั้น ไม่ใช่ ธรรมชาตให้กำ� เนิด ชนกสมานตฺตาภาวโต จ และเพราะรูปาวจรชวนจิตเป็นต้นนัน้ ไม่มสี ภาวะเสมอกับกามาวจรกุศลจิตและอกุศลจิตซึง่ ให้กำ� เนิด ฯ หิ เปรียบเสมือน พาลโก เด็กผูไ้ ร้เดียงสา เคหโต พหิ นิกขฺ มิตกุ าโม ผูป้ ระสงค์จะออกไปภายนอก เรือน ชนกํ ตํสทิสํ วา องฺคุลิยํ คเหตฺวา นิกฺขมติ ย่อมเกาะนิ้วมือบิดา หรือบุคคลคล้ายกับบิดานั้นออกไป อญฺญ ราชปุริสาทึ องฺคุลิยํ คเหตฺวา น นิกฺขมติ ย่อมไม่เกาะบุคคลอื่นมีราชบุรุษเป็นต้นออกไป ยถา ฉันใด ตทาลมฺพนํ ตทาลัมพนจิต ปวตฺตมานํ ทีเ่ ป็นไป อญฺญตฺถ ในรูปารมณ์เป็นต้นอืน่ ภวงฺควิสยโต จากอารมณ์ภวังคจิต เอวํ ก็ฉนั นัน้ อนุพนฺธติ ย่อมจะติดตาม กามาวจรกุสลากุสลํ กามาวจรกุศลจิตและอกุศลจิต ชนกํ ซึ่งให้ก�ำเนิด กามาวจรกฺริยาชวนํ วา หรือ กามาวจรกิริยาชวนจิต ตํสทิสํ ซึ่งคล้ายกับกามาวจรกุศลจิตและอกุศลจิตนั้นไป จ แต่ น อนุพนฺธติ จะไม่ติดตาม มหคฺคตโลกุตฺตรชวนานิ มหัคคตชวนจิตและ


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

177

โลกุตตรชวนจิต ตสฺส วิสทิสานิ ซึ่งไม่เหมือน กามาวจรชวนจิตและอกุศลจิต นั้นไป ฯ ตถา อนึ่ง ท่านอาจารย์ทั้งหลาย อิจฺฉนฺติ ย่อมปรารถนา ตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิต กามาวจรสตฺตานเมว ส�ำหรับเหล่ากามาวจรสัตว์เท่านัน้ น อิจฉฺ นฺต ิ ไม่ปรารถนา พฺรหฺมานํ ส�ำหรับพวกพรหม พฺรหฺมานํ กามาวจรปฏิสนฺธิพีชสฺส อภาวโต เพราะพวกพรหมไม่มพี ชื คือกามาวจรปฏิสนธิจติ ตทารมฺมณูปนิสสฺ ยสฺส อันเป็นอุปนิสสยปัจจัยแก่ตทาลัมพนจิต ฯ ตถา อนึ่ง ท่านอาจารย์ทั้งหลาย อิจฺฉนฺติ ย่อมปรารถนา ตทารมฺมณํ ตทาลั ม พนจิ ต กามาวจรธมฺ เ มเสฺ ว ว อาลมฺพนภูเตสุ เฉพาะในกามาวจรธรรมที่เป็นอารมณ์ น อิจฺฉนฺติ ไม่ปรารถนา อิตเรสุ ในมหัคคตธรรม โลกุตตรธรรม และบัญญัติธรรมนอกนี้ อปริจิตตฺตา เพราะไม่คุ้นกัน ฯ หิ เปรียบเสมือน โส พาลโก เด็กผู้ไร้เดียงสานั้น ชนกํ ตํสทิสํ วา อนุคจฺฉนฺโตปิ แม้เมื่อจะติดตามบิดา หรือบุคคลที่คล้ายบิดานั้นไป อรญฺญาทึ อปริจติ ฏฺานํ คจฺฉนฺตํ นานุพนฺธติ วฺ า ก็จะไม่ตดิ ตามเขาไปยังทีท่ ตี่ น ไม่คนุ้ มีปา่ เป็นต้น อนุพนฺธติ ย่อมจะติดตามไป ปริจติ ฏฺาเนเยว เฉพาะในทีท่ ตี่ น คุน้ เคย ปมุขงฺคณาทิมหฺ ิ มีลานหน้ามุขเป็นต้น ยถา ฉันใด อิทมฺปิ แม้ตทาลัมพนจิตนี้ เอวํ ก็ฉันนั้น นานุพนฺธติ ย่อมไม่ติดตาม รูปาวจราทิอปริจิตาลมฺพนํ อารพฺภ ปวตฺตํ ตํ กามาวจรชวนจิตนั้น ซึ่งปรารถนาอารมณ์ที่ไม่คุ้นมีอารมณ์ที่เป็นรูปาวจร ธรรมเป็นต้นเป็นไป ฯ อปิจ อีกนัยหนึง่ ข้าพเจ้า (พระอนุรทุ ธาจารย์) วุตโฺ ตวายมตฺโถ ได้กล่าวอธิบายความไว้เสร็จแล้ว ดังนี้ อิติ ว่า กามตณฺหายตฺตกมฺมชนิตตฺตาปิ แม้เพราะเป็นธรรมชาติอนั กรรมเนือ่ งด้วยกามตัณหาให้เกิดแล้ว เอตํ ตทาลัมพนจิตนี้ ปวตฺตติ จึงเป็นไป ปริจิตธมฺเมเสฺวว เฉพาะในธรรมที่คุ้น กามตณฺหาลมฺพเนสุ อันเป็นอารมณ์แห่งกามตัณหา ฯ โหนฺติ เจตฺถ ก็ ในฐานะทีต่ ทาลัมพนจิตเป็นไปได้ และไม่เป็นไปนี้ มีคาถารวมความไว้ดังนี้ว่า ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิต อิจฺฉนฺติ ย่อมติดตาม ชนกํ กามาวจรกุศล จิตและอกุศลจิต ซึ่งให้ก�ำเนิด ตํสมานํ ชวนํ วา หรือ กามาวจรกิริยา ชวนจิต ซึ่งคล้ายกับ กามาวจรกุศลจิต และอกุศลจิตนั้นไป ตุ แต่


178

ปริเฉทที่ ๔

น อิจฉฺ นฺติ จะไม่ตดิ ตาม อญฺญํ มหัคคตชวนจิต และ โลกุตตรชวนจิต อืน่ ไป พาลทารกลีลยา เปรียบเสมือน การติดตาม ของเด็กผูไ้ ร้เดียงสา ฉะนั้น ฯ ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิต นตฺถิ ย่อมไม่มี พฺรหฺมานมฺปิ แม้แก่ พวกพรหม พีชสฺสาภาวโต เพราะพวกพรหมไม่มพี ชื ฯ หิ ความจริง อิมสฺส ปฏิสนฺธิมโน กามาวจรสญฺญตํ พีชํ ตทาลัมพนจิตนี้ มี ปฏิสนธิจิต ที่เข้าใจกันว่า เป็นกามาวจรเป็นพืช ฯ อิทํ ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิตนี้ พาลโก วิย เปรียบเสมือนเด็ก ผู้ไร้เดียงสา อนุยาติ ย่อมติดตาม ตํ กามาวจรชวนจิตและอกุศลจิต นั้นไป าเน ปริจิเตเยว ในที่ที่คุ้นเท่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น น อนุยาติ จึงไม่ติดตามไป อญฺญตฺถ ในที่ที่ไม่คุ้นอื่น วา หรือว่า อิทํ ตทาลัมพนจิตนี้ โหติ ย่อมเกิดมี ตณฺหาวเสน ด้วยอ�ำนาจตัณหา (เฉพาะในธรรมที่คุ้นอันเป็นอารมณ์แห่งกามตัณหา) ฯ ถามว่า จ ก็ วุตตฺ ํ ท่านอาจารย์ได้กล่าวไว้ อิติ ว่า กามาวจรปฏิสนฺธพิ ชี าภาวโต เพราะไม่มีพืชคือกามาวจรปฏิสนธิจิต อิติ ดังนี้เป็นต้น ตถา จ ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น จกฺขุวิญฺญาณาทีนมฺปิ อภาโว อาปชฺชติ วิญญาณจิตทั้งหลายแม้มีจักขุวญ ิ ญาณจิต เป็นต้นก็จะต้องไม่มี นนุ มิใช่หรือ ฯ ตอบว่า น อาปชฺชติ จะต้องไม่มี หามิได้ อินทฺ รฺ ยิ ปฺปวตฺตอิ านุภาวโต เพราะอานุภาพความเป็นไปแห่งอินทรีย์ ทฺวารวีถเิ ภเท จิ ตฺ ต นิ ย มโต จ และเพราะจิ ต นิ ย มในประเภทแห่ ง วิ ถี จิ ต ที่ เ กิ ด ทางทวาร ฯ มนฺทปฺปวตฺตยิ นฺติ บทว่า มนฺทปฺปวตฺตยิ ํ ความว่า มนฺทํ หุตวฺ า ปวตฺตยิ ํ ในคราวที่ (กามาวจรชวนจิต) เป็นไปอ่อน มนฺทภูตเวคตฺตา เพราะมีกำ� ลังอ่อน วตฺถทุ พุ พฺ ลตาย โดยภาวะที่หทัยวัตถุมีก�ำลังอ่อน มรณกาเล ในเวลาใกล้ตาย ฯ อาทิสทฺเทน ด้วยอาทิศัพท์ มรณกาลาทีสูติ ในบทว่า มรณกาลาทีสุ นี้ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ มุจฉฺ ากาลํ สงฺคณฺหาติ ย่อมรวบรวมถึงคราวสลบ (ด้วย) ฯ ภควโต ฯเปฯ วทนฺตตี ิ ในค�ำว่า ภควโต ฯเปฯ วทนฺติ นี้ อฏฺกถาจริยา พระอรรถกถาจารย์ทั้งหลาย


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

179

วทนฺติ กล่าว อิติ ว่า ภควโต ส�ำหรับพระผูม้ พี ระภาคเจ้า ยมกปาฏิหาริยกาลาทีสุ อุทกกฺขนฺธอคฺคกิ ขฺ นฺธานํ ปวตฺตนาทิอตฺถาย วิสํ ุ วิสํ ุ ปาทกชฺฌานํ สมาปชฺชติ วฺ า ตโต วุฏฺ าย ฌานธมฺเม วิสํ ุ วิสํ ุ อาวชฺเชนฺตสฺส ผูท้ รงเข้าฌานทีเ่ ป็นบาทแต่ละอย่าง เพือ่ ต้องการจะให้สายน�ำ้ และท่อไฟเป็นไปเป็นต้น ในคราวทรงท�ำยมกปาฏิหาริยเ์ ป็นต้น ออกจากฌานทีเ่ ป็นบาทนัน้ แล้ว ทรงน้อมนึกถึงฌานธรรมทัง้ หลายเป็นแผนก ๆ อยู่ จิตตฺ าภินหี าโร โหติ ย่อมมีอภินหิ ารแห่งจิต อาวชฺชนตปฺปโรว ซึง่ มีความน้อมนึก ที่ถึงที่สุดนั้นเป็นประธานนั่นแหละ อาวชฺชนวสิตาย มตฺถกปฺปตฺติยา โดยความที่ พระองค์ทรงมีความเชี่ยวชาญในการน้อมนึกบรรลุถึงที่สุดแล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น ปจฺจเวกฺขณชวนจิตตฺ านิ ชวนจิตเป็นเครือ่ งพิจารณา ยถาวชฺชติ ฌานงฺคารมฺมณานิ ซึ่งมีองค์ฌานตามที่พระองค์ทรงน้อมนึกแล้วเป็นอารมณ์ ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป จตฺตาริ ปญฺจ วา ๔ หรือ ๕ ดวง ดังนี้ ฯ ภควโตติ จ อิทํ ก็บทว่า ภควโต นี้ นิทสฺสนมตฺตํ เป็นเพียงอุทาหรณ์ เอวรูเป อจฺจายิกกาเล อปริปุณฺณชวนานํ ปวตฺตนโต เพราะในเวลารีบด่วนเห็นปานนี้ ชวนจิตทีไ่ ม่ครบเป็นไปได้ อญฺเญสมฺปิ ธมฺมเสนาปติอาทีนํ แม้แก่พระสาวกเหล่าอื่นมีพระธรรมเสนาบดีเป็นต้น ฯ ตถา จ เพราะเหตุนนั้ แล อฏฺ€กถายํ วุตตฺ ํ พระพุทธโฆษาจารย์จงึ กล่าวไว้ในอรรถกถา อิติ ว่า อยญฺจ มตฺถกปฺปตฺตา วสี ความเชี่ยวชาญอันถึงที่สุดแล้วนี้ ย่อมมีได้ ภควโต แก่พระผู้มีพระภาคเจ้า ยมกปาฏิหาริยกาเล ในเวลาแสดงยมกปาฏิหาริย์ อญฺเญสํ วา หรือมีได้แก่พระสาวกเหล่าอื่น เอวรูเป กาเล ในเวลาเห็นปานนี้ ฯ ธมฺมปาลาจริโย วุตฺตํ ท่านอาจารย์ธรรมปาลเถระกล่าวไว้ อิติ ว่า จตฺตาริ ปญฺจ วาติ ปเนตํ ก็ ค�ำว่า จตฺตาริ ปญฺจ วา นี้ คเหตพฺพํ บัณฑิตควรถือเอา ติกฺขินฺทฺริยมุทินฺทฺริยวเสน ด้วยอ�ำนาจท่านผู้มีอินทรีย์แก่กล้า และท่านผู้มี อินทรีย์อ่อน ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ภควโต จตฺตาริ อญฺเญสํ ปญฺจปีติ ค�ำว่า ปัจจเวกขณจิต ย่อมเป็นไปแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๔ ขณะ เป็นไปแก่พระสาวก เหล่าอื่นแม้ ๕ ขณะ ดังนี้ ยุตฺตํ วิย ทิสฺสติ ย่อมปรากฏ คล้ายเหมาะสมแล้ว ฯ อาทิกมฺมกิ สฺสาติ บทว่า อาทิกมฺมกิ สฺส อาทิโต กตโยคกมฺมสฺส ได้แก่ ของพระโยคาวจร


180

ปริเฉทที่ ๔

ผู้กระท�ำความเพียรเบื้องต้น ฯ ปมกปฺปนา อัปปนาที่บังเกิดครั้งที่ ๑ ปมํ นิพฺพตฺตา อปฺปนา ชื่อว่าอัปปนาที่เกิดครั้งแรก ฯ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ใส่ใจ อิติ ว่า อภิญฺญาชวนานมฺปิ ปมกปฺปนายาติ อธิกาโร สิยา แม้อภิญญาชวนจิต ทั้งหลาย ก็พึงมีสัตตมีวิภัตติว่า ในอัปปนาครั้งแรก ดังนี้ สพฺพทาปีติ อาห จึงกล่าวว่า สพฺพทาปิ ดังนี้ ฯ อตฺโถ อธิบาย อิติ ว่า ปญฺจาภิญฺญาชวนานิ อภิญญาชวนจิตทั้ง ๕ ดวง ชวนฺติ ย่อมแล่นไปได้ เอกวารเมว เพียงครั้งเดียว เท่านั้น ปมุปฺปตฺติกาเล จิณฺณวสิกาเล จ ทั้งในกาลเกิดขึ้น ทั้งในกาลประพฤติ วสีแล้ว ฯ มคฺโคเยว มรรคนั่นเอง มคฺคุปฺปาโท ชื่อว่ามัคคุบาท อุปฺปชฺชนโต เพราะความเกิดขึ้น ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ อุปฺปนฺนมคฺคานุรูปํ ได้แก่ เหมาะแก่มรรคจิตที่เกิดขึ้น ปญฺจมํ จตุตฺถํ วา วาระที่ ๕ หรือวาระที่ ๔ ฯ หิ ความจริง เอกาวชฺชนวีถยิ า สตฺตชวนปรมตฺตา เพราะในวิถที มี่ อี าวัชชนจิตวิถเี ดียว มีชวนจิตเพียง ๗ ดวงเป็นอย่างยิง่ ตีณิ ผลจิตตฺ านิ ผลจิตจึงมี ๓ ดวง ปรํ ต่อจาก จตุตถฺ ํ อุปปฺ นฺนมคฺคโต มัคคจิตทีเ่ กิดขึน้ ครัง้ ที่ ๔ เทฺว โหนฺติ วา หรือมี ๒ ดวง ปญฺจมํ อุปปฺ นฺนมคฺคโต ปรํ ต่อจากมัคคจิตทีเ่ กิดขึน้ ครัง้ ที่ ๕ ฯ นิโรธสมาปตฺตกิ าเลติ บทว่า นิโรธสมาปตฺตกิ าเล นิโรธสฺส ปุพพฺ กาลภาเค ได้แก่ ในส่วนแห่งกาลเบือ้ งต้น ของนิโรธ ฯ จตุตถฺ ารูปชวนนฺติ บทว่า จตุตถฺ ารูปชวนํ เนวสญฺญานาสญฺญายตนชวนํ ได้แก่ เนวสัญญานาสัญญายตนชวนจิต อญฺญตรํ ดวงใดดวงหนึ่ง กุสลกฺริยานํ บรรดารูปาวจรกุศลชวนจิตและอรูปาวจรกิรยิ าชวนจิต ฯ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ใส่ใจ อิติ ว่า อนาคามิขณ ี าสวาเยว พระอนาคามีและพระขีณาสพเท่านัน้ นิโรธสมาปตฺตึ สมาปชฺชนฺติ ย่อมเข้านิโรธสมาบัติได้ โสตาปนฺนสกทาคามิโน พระโสดาบันและ พระสกทาคามี น สมาปชฺชนฺติ หาเข้าได้ไม่ อนาคามิผลํ อรหตฺตผลํ วาติ วุตฺตํ จึงกล่าวว่า อนาคามิผลํ อรหตฺตผลํ วา ดังนี้ ฯ จ ก็ เอตฺถ ในค�ำว่า อนาคามิผลํ อรหตฺตผลํ วา นี้ วิภตฺติวิปลฺลาโส ทฏฺพฺโพ พึงเห็นวิภัติวิปัลลาส อนาคามิผเล อรหตฺตผเลติ ว่า อนาคามิผเล อรหตฺตผเล ฯ เตน เหตุนั้น นิรุทฺเธติ อาห ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าว ว่า นิรุทฺเธ ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ได้แก่


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

181

ตํตํปุคฺคลานุรูปํ เหมาะแก่บุคคลนั้น ๆ ฯ สพฺพตฺถาปิ สมาปตฺติวีถิยนฺติ ข้อว่า สพฺพตฺถาปิ สมาปตฺติวีถิยํ สกลายปิ ฌานสมาปตฺติวีถิยํ ผลสมาปตฺติวีถิยญฺจ ได้แก่ ทั้งในฌานสมบัติวิถี ทั้งในผลสมาบัติวิถีแม้ทั้งสิ้น ปริตฺตานิ ชวนานิ กามาวจรชวนจิต สตฺตกฺขตฺตํ ุ มตานิ บัณฑิตกล่าวไว้ ๗ ครั้ง อุกฺกํสโกฏิยา โดยก�ำหนดอย่างสูงสุด ฯ ปน ส่วน มคฺคาภิญญ ฺ า มัคคชวนจิตและอภิญญาชวนจิต สกึ มตา ท่านกล่าวไว้เพียงครัง้ เดียว เอกวารเมว คือ วาระเดียวเท่านัน้ อวเสสานิ ชวนจิตทีเ่ หลือ มหคฺคตโลกุตตฺ รชวนานิ คือ มหัคคตชวนจิต และโลกุตตรชวนจิต อภิญฺญา มคฺควชฺชิตานิ เว้นอภิญญาชวนจิตและมัคคชวนจิต พหูนิปิ ลพฺภนฺติ ย่อมได้แม้จ�ำนวนมาก สมาปตฺติวีถิยํ ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปในสมาบัติวิถีได้ อโหรตฺตมฺปิ ทัง้ กลางวันและกลางคืน ฯ อปิสทฺเทน ด้วย อปิ ศัพท์ สมฺปณ ิ เฺ ฑติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ย่อมประมวลจิตทั้งหลายมา ว่า โลกิยชฺฌานานิ ฌานจิต ฝ่ายโลกิยะ (ปวตฺตานิ) เป็นไป ปมกปฺปนาย ในอัปปนาครัง้ แรก อนฺตมิ ผลทฺวยญฺจ และผลจิตสุดท้าย ๒ ดวง (ปวตฺตานิ) เป็นไป เอกวารํ ครั้งเดียว นิโรธานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากนิโรธสมาบัติ ผลจิตฺตานิ ผลจิตทั้งหลาย (ปวตฺตานิ) เป็นไป ทฺวิตฺติกฺขตฺตุมฺปีติ เพียง ๒ หรือ ๓ ครั้ง มคฺคานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากมัคคจิต ฯ อิทานิ บัดนี้ อุปปฺ ชฺชนกวีถจิ ติ ตฺ ปริจเฺ ฉททสฺสนตฺถํ เพือ่ จะแสดงการก�ำหนด วิถีจิตที่เกิดขึ้น ทฺวาทสนฺนํ ปุคฺคลานํ แก่บุคคล ๑๒ จ�ำพวก ทุเหตุกาเหตุก อปายิกาเหตุกติเหตุกวเสน จตุพพฺ ธิ านํ ปุถชุ ชฺ นานํ มคฺคฏฺผลฏฺวเสน อฏฺวิธานํ อริยานนฺติ คือ ปุถุชน ๔ จ�ำพวก ได้แก่ ทุเหตุกบุคคล อเหตุกบุคคล อปายิกา เหตุกบุคคล และติกเหตุกบุคคล พระอริยบุคคล ๘ จ�ำพวก ได้แก่ ท่านผู้ด�ำรงอยู่ ในมรรค ๔ และท่านผู้ด�ำรงอยู่ในผล ๔ ตาว อันดับแรก ทฺวิเหตุกานมเหตุ- กานญฺเจติอาทิ อาห ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวค�ำว่า ทฺวิเหตุกานมเหตุกานญฺจ ดังนี้เป็นต้น เตสํ วชฺชิตพฺพจิตฺตานิ ทสฺเสตุ เพื่อจะแสดงจิตที่จะพึงเว้นส�ำหรับ บุคคลเหล่านั้น ปมํ ก่อน ฯ ทฺวิเหตุกา บุคคลทั้งหลายชื่อว่าทวิเหตุกะ ปฏิสนฺธิวิญฺญาณสหคตา อโลภาโทสวเสน เทฺว เหตู อิเมสนฺติ เพราะ


182

ปริเฉทที่ ๔

อรรถวิเคราะห์ว่า มีเหตุ ๒ คือ อโลภเหตุและอโทสเหตุอันสหรคตด้วยปฏิสนธิ วิญญาณ ฯ อเหตุกา บุคคลทั้งหลายชื่อว่าอเหตุกะ ตาทิสานํ เหตูนมภาวโต เพราะไม่มเี หตุทง้ั หลายเช่นนัน้ ฯ มกาโร ม อักษร ปทสนฺธกิ โร ท�ำการเชือ่ มบท ฯ อปฺปนาชวินานิ อัปปนาชวนจิต น ลพฺภนฺติ ชื่อว่าย่อมไม่ได้ เตสํ แก่บุคคล ๒ จ�ำพวกเหล่านั้น วิปากาวรณสพฺภาวโต เพราะมีสภาวะเป็นเครื่องกั้นวิบาก ฯ หิ ความจริ ง ทฺ วิ เ หตุ ก าเหตุ ก ปฏิ ส นฺ ธี ปฏิ ส นธิ จิ ต แห่ ง ทวิ เ หตุ ก บุ ค คลและ อเหตุกบุคคล วิปากาวรณนฺติ วุจจฺ นฺติ ท่านเรียกว่า เป็นเครือ่ งกัน้ วิบาก ฯ อรหตฺตํ พระอรหัตต์ นตฺถิ ชื่อว่าไม่มี แก่บุคคล ๒ จ�ำพวกนั้น อปฺปนาชวนาภาวโตเยว เพราะไม่มีอัปปนาชวนจิตนั่นเอง อิติ เพราะเหตุนั้น กฺริยาชวนานิ น ลพฺภนฺติ กิริยาชวนจิตจึงไม่ได้แก่บุคคล ๒ จ�ำพวกนั้น ฯ ปาโต เพราะพระบาลี สเหตุกํ ภวงฺคํ อเหตุกสฺส ภวงฺคสฺส อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโยติ ว่า ภวังคจิตที่เป็น สเหตุกะย่อมเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่เป็ นอเหตุ ก ะ โดยอนั นตรปั จจั ย ดั ง นี้ ทฺวเิ หตุกตทาลมฺพนํ ตทาลัมพนจิตทีเ่ ป็นทวิเหตุกะ สมฺภวติ จึงเกิดมี อเหตุกานมฺปิ แม้แก่เหล่าอเหตุกบุคคล นานากมฺเมน ด้วยกรรมต่าง ๆ ฯ ทฺวิเหตุกานมฺปิ ฝ่ายเหล่าทวิเหตุกบุคคล วตฺตพฺพเมว นตฺถิ ไม่จ�ำเป็นต้องกล่าวถึงเลย ฯ ปน แต่ มู ล สนฺ ธิ ย า ชฑภาวโต เพราะปฏิ ส นธิ จิ ต ดวงเดิ ม ยั ง มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งอยู ่ ติเหตุกตทาลมฺพนํ ตทาลัมพนจิตที่เป็นติเหตุกะ นตฺถิ จึงไม่มี อุภินฺนมฺปิ แก่ชนแม้ ๒ จ�ำพวก อิติ เพราะเหตุนนั้ ตถา ญาณสมฺปยุตตฺ วิปากานิ จาติ อาห ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์จงึ กล่าวว่า ตถา าณสมฺปยุตตวิปากานิ จ ดังนี้ ฯ ปน ก็ อวิเสเสน วุตฺตตฺตา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ โดยไม่แปลกกัน สเหตุกํ ภวงฺคนฺติ ว่า สเหตุกํ ภวงฺคํ ดังนี้เป็นต้น อาจริยโชติปาลตฺเถเรน ท่านอาจารย์ โชติปาลเถระ อเหตุกานมฺปิ ติเหตุกตทาลมฺพนํ วตฺวา จึงกล่าว ตทาลัมพนจิต ที่เป็นติเหตุกะ แม้แก่พวกอเหตุกบุคคล แล้ว วุตฺตํ จึงกล่าวไว้ อิธ ในอธิการ ว่าด้วยการแสดงถึงจิตที่จะพึงเว้นส�ำหรับบุคคลเหล่านั้นนี้ โส เอว ปุจฺฉิตพฺโพ โย ตสฺส กตฺตาติ ว่า บุคคลใดเป็นผู้พูดถ้อยค�ำนั้น พึงถามบุคคลนั้นนั่นแล


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

183

ปริหาสวเสน ด้วยอ�ำนาจจะเย้ย ญาณสมฺปยุตฺตวิปากาภาววจนสฺส ถ้อยค�ำที่ว่า วิบากจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ไม่มี ฯ ตมฺปน ก็ ค�ำนั้น วุตฺตมฺปิ แม้พระเถระ กล่าวไว้แล้ว ปริหาสวเสน ด้วยอ�ำนาจการเย้ย ิตํ ก็ดำ� รงอยู่ อาจริยํ ปุจฉฺ ติ วฺ าว ชานนตฺถํ วุตฺตวจนํ วิย คล้ายกับค�ำที่กล่าวไว้ เพื่อจะถามอาจารย์ก่อนแล้ว จึงจะทราบได้ ฯ ตถาหิ จริงอย่างนัน้ เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยการแสดงความไม่เป็นไป แห่งวิบากจิตที่ประกอบด้วยญาณ แก่บุคคลเหล่านี้ อาจริเยเนว ท่านอาจารย์ นั่นแหละ การณํ วุตฺตํ กล่าวเหตุไว้ ปรมตฺถวินิจฺฉเย ในปกรณ์ ปรมัตถวินิจฉัย อิติ ว่า ญาณปากา วิบากจิตที่เป็นญาณสัมปยุตทั้งหลาย น วตฺตนฺติ ย่อมเป็นไปไม่ได้ มูลสนฺธิยา ชฑตฺตา เพราะปฏิสนธิจิตดวงเดิม ยังมีความเกี่ยวข้องอยู่ ฯ ปน ส่วน อปเร อาจารย์อีกพวกหนึ่ง วณฺเณนฺติ พรรณนาไว้ อิติ ว่า ติเหตุกตทาลมฺพนมฺปิ แม้ตทาลัมพนจิตที่เป็นติเหตุกะ โหติ ก็มี ทฺวิเหตุกานํ แก่ทวิเหตุกบุคคลทั้งหลาย ยถา อเหตุกานํ สเหตุกตทาลมฺพนํ เหมือนกับ ตทาลัมพนจิตที่เป็นสเหตุกะ มีแก่พวกอเหตุกบุคคล เอวํ ฉะนั้น ฯ อาจารย์ อีกพวกหนึ่ง วทนฺติ กล่าว อิติ ว่า อเหตุเกเยว สนฺธาย ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หมายเอาเฉพาะอเหตุกบุคคล ญาณสมฺปยุตฺตวิปากปฏิกฺเขโป กโต จ จึงกระท�ำ การคั ด ค้ า นวิ บ ากจิ ต ที่ เ ป็ น ญาณสั ม ปยุ ต อิ ธ าปิ แม้ ใ นอภิ ธั ม มั ต ถสั ง คหะนี้ มตานุโรเธน โดยคล้อยตามมติ เตสํ ของอาจารย์พวกนั้น ฯ ปน ก็ วีมํสิตฺวา บัณฑิตพิจารณาแล้ว วจนํ สมฺปฏิจฺฉิตพฺพํ รับรองถ้อยค�ำ เตสํ ของอาจารย์ พวกนั้น ตตฺถ ปมาณปาาภาวโต เพราะไม่มีพระบาลีเป็นหลักฐาน ในค�ำว่า ตทาลัมพนจิตที่เป็นทุเหตุกะ ดังนี้นั้น อาจริเยน อุภินฺนมฺปิ สาธารณวเสน ญาณสมฺปยุตตฺ วิปากาภาเว การณํ วตฺวา สมกเมว จิตตฺ ปริจเฺ ฉทสฺส ทสฺสติ ตฺตา จ และเพราะท่านอาจารย์กล่าวถึงเหตุในความไม่มวี บิ ากจิตทีเ่ ป็นญาณสัมปยุต ด้วยอ�ำนาจ ทั่วไปแม้แก่บุคคลทั้งสองจ�ำพวก แล้วแสดงการก�ำหนดจิตไว้เท่ากันพอดี ฯ จ ก็


184

ปริเฉทที่ ๔

สุคติยนฺติ วจนํ ค�ำว่า สุคติยํ เอตฺถ ในค�ำว่า ตถา าณสมฺปยุตฺตวิปากานิ จ สุคติยํ นี้ มีไว้ อเหตุกาเปกฺขาย โดยเพ่งถึงอเหตุกบุคคล ฯ ตมฺปน แต่ ค�ำว่า สุคติยํ นั้น อตฺถโต โดยเนื้อความ อนุญฺญาตํ ท่านอาจารย์อนุญาตไว้แล้ว ทฺวิเหตุกวิปากานํ ตตฺเถว สมฺภวทสฺสนปรํ เป็นค�ำที่มุ่งแสดงว่า ทวิเหตุกวิบากจิต ทั้งหลาย เกิดมี ในสุคตินั้นนั่นเอง ฯ เตน เหตุนั้น ทุคฺคติยมฺปนาติอาทึ อาห ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า ทุคฺคติยมฺปน ดังนี้เป็นต้น ฯ ติเหตุเกสูติ บทว่า ติเหตุเกสุ ความว่า ติเหตุเกสุ บรรดาบุคคลที่มีเหตุ ๓ ปฏิสนฺธิวิญฺญาณสหคตอโลภาโทสาโมหวเสน คือ อโลภเหตุ ๑ อโทสเหตุ ๑ อโมหเหตุ ๑ ที่สหรคตด้วยปฏิสนธิวิญญาณ ปุถุชฺชนาทีสุ นววิธปุคฺคเลสุ ได้แก่ บุคคล ๙ จ�ำพวก มีปุถุชนเป็นต้น ฯ ทิฏฺ ิ ฯเปฯ เสกฺขานนฺติ ข้อว่า ทิฏฺ ิ ฯเปฯ เสกฺขาน ความว่า ตํสหคตชวนานิ เจว ชวนจิตที่สหรคตด้วยสักกายทิฏฐิ และวิจิกิจฉานั้น จสทฺเทน อากฑฺฒิตานิ ขีณาสวาเวนิกานิ กฺริยาชวนานิ จ และกิริยาชวนจิตซึ่งมีเฉพาะแก่พระขีณาสพที่ท่านชักมาด้วย จ ศัพท์ น ลพฺภนฺติ ย่อมไม่ได้ เสกฺขาติ ลทฺธนามานํ โสตาปนฺนสกทาคามีนํ แก่โสดาบันบุคคล และสกทาคามีบุคคล ผู้ได้นามว่าเสกขะ สิกฺขนสีลตาย เพราะเป็นผู้มีปกติศึกษา สิกฺขาย อปริปูริการิตาย โดยเป็นผู้กระท�ำยังไม่บริบูรณ์ในสิกขา สกฺกายทิฏฺ-ิ วิจิกิจฺฉานํ ปหีนตฺตา เพราะละสักกายทิฏฐิ และวิจิกิจฉาได้ ปมมคฺเคเนว ด้วยโสดาปัตติมรรคเท่านั้น ฯ ปฏิฆชวนานิ จาติ บทว่า ปฏิฆชวนานิ จ ได้แก่ โทมนสฺสชวนานิ เจว ชวนจิตที่สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ทิฏฺสิ มฺปยุตฺต- วิจิกิจฺฉาสหคตกฺริยาชวนานิ จ ชวนจิตที่สัมปยุตด้วยทิฏฐิ ชวนจิตที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และกิริยาชวนจิต ฯ โลกุตฺตร ฯเปฯ สมุปฺปชฺชนฺตีติ ข้อว่า โลกุตฺตร ฯลฯ สมุปฺปชฺชติ ความว่า อฏฺปิ โลกุตฺตรชวนานิ โลกุตตรชวนจิตแม้ทั้ง ๘ ดวง สมุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึ้นพร้อม อริยานเมว เฉพาะพระอริยบุคคลทั้งหลาย ยถาสกํ มคฺคผลฏฺานํ ผู้ด�ำรงอยู่ในมรรคและผล ตามสภาวะของตน จตุนฺนํ มคฺคานํ ปุคฺคลนฺตเรสุ อสมฺภวโต เพราะมัคคจิต ๔ ดวงไม่เกิดมีในบุคคลอื่น


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

185

เอกจิตฺตกฺขณิกภาเวน โดยเกิดขึ้นชั่วขณะจิตเดียว เหฏฺมิ านํ อุปรูปริสมาปตฺติ ยา อนธิคตตฺตา จ เพราะพระอริยบุคคลชั้นต�่ำ ๆ ยังมิได้บรรลุสมาบัติชั้นสูง ๆ อุปริปุคฺคลานญฺจ ปฏิปฺปสฺสทฺธตฺตา จ และเพราะพระอริยบุคคลชั้นสูง ๆ เป็นผู้สงบระงับแล้ว โสตาปนฺนาทีหิ ปุคฺคลนฺตรภาวูปคมเนน โดยเข้าถึง ความเป็นบุคคลอื่นจากโสดาบันบุคคลเป็นต้น อสมุคฺฆาฏิตกมฺมกิเลสนิโรเธน เหตุที่กรรมกิเลสซึ่งพระอริยบุคคลชั้นต�่ำ ๆ ยังถอนไม่ได้ ดับไป ปุถุชฺชเนหิ โสตาปนฺนานํ วิย เหมือนอย่างโสดาบันบุคคลทั้งหลายเข้าถึงความเป็นบุคคลอื่น จากพวกปุถุชน ฉะนั้น ฯ (อาจริเยน) วชฺเชตฺวา ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ครัน้ เว้น ยถาปฏิกขฺ ติ ตฺ ชวนานิ ชวนจิตตามที่ถูกห้ามทั้งหลาย เตสํ เตสํ ปุคฺคลานํ ส�ำหรับบุคคลทั้งหลาย เหล่านั้น ๆ แล้ว อิทานิ บัดนี้ ลพฺภมานชวนานิ สมฺปิณฺฑิตฺวา ทสฺเสตุํ หวังจะรวบรวมแสดงชวนจิตที่จะได้อยู่ ปาริเสสโต โดยนัยที่ยังเหลืออยู่รอบด้าน อเสกฺขานนฺตอิ าทิ วุตตฺ ํ จึงกล่าวค�ำว่า อเสกฺขานํ ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ ทฏฺฐพฺพํ นักศึกษา ทั้งหลายพึงเห็นความตกลงใจว่า อุทฺทิเส บัณฑิตพึงยกขึ้นแสดง จตุจตฺตาฬีส วีถจิ ติ ตฺ านิ ซึง่ วิถจี ติ ๔๔ ดวง เตวีสติกามาวจรวิปากวีสติกรฺ ยิ าอรหตฺตผลวเสน คือ กามาวจรวิบากจิต ๒๓ ดวง กิรยิ าจิต ๒๐ ดวง และอรหัตตผลจิต (๑ ดวง) เสสานิ ทีเ่ หลือ ปญฺจจตฺตาฬีสวชฺชติ านิ เว้นจิต ๔๕ ดวง วเสน คือ เตตฺตสึ วิธกุสลากุสลสฺส กุศลจิต (๒๑ ดวง) อกุศลจิต (๑๒ ดวง) รวม ๓๓ ดวง เหฏฺฐิมผลตฺตยสฺส โลกุตตรผลจิตเบื้องต�่ำ ๓ ดวง วีถิมุตฺตานญฺจ นวมหคฺคตวิปากานํ และมหัคคต วิบากจิตทีพ่ น้ จากวิถี ๙ ดวง สมฺภวา ตามทีเ่ กิด ยถาลาภํ คือตามทีห่ าได้ อเสกฺขานํ ส�ำหรับพระอริยบุคคลทั้งหลาย ผู้ชื่อว่าพระอเสกขะ ติวิธสิกฺขาปริปูริการีภาวโต เพราะเป็นผูม้ ปี กติทำ� ให้บริบรู ณ์ในไตรสิกขา ขีณาสวานํ ได้แก่ ส�ำหรับพระขีณาสพ ทัง้ หลาย กามภเว ฐิตานํ วเสน โดยหมายถึงพระขีณาสพทัง้ หลาย ผูย้ งั ด�ำรงอยู่ ในกามภพ ฯ อวิเสสโต กล่าวโดยไม่แปลกกัน เตตฺตึส วชฺเชตฺวา บัณฑิตพึงเว้น จิต ๓๓ อฏฺฐารสกฺรยิ าชวนทิฏฐฺ วิ จิ กิ จิ ฉฺ าสหคตปญฺจกอคฺคผลมหคฺคตวิปากวเสน


186

ปริเฉทที่ ๔

คือ กิริยาชวนจิต ๑๘ ดวง โลภมูลจิตที่เป็นทิฏฐิสัมปยุต (๔ ดวง) และโมหมูล จิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเจตสิก (๑ ดวง) รวม ๕ ดวง อรหัตตผลจิต (๑ ดวง) และมหัคคตวิบากจิต (๙ ดวง) อุทฺทิเส แล้วยกขึ้นแสดง ฉปญฺญาส วีถิจิตฺตานิ ซึ่งวิถีจิต ๕๖ ดวง เตวีสติกามาวจรวิปากอาวชฺชนทฺวยเอกวีสติกุสลสตฺตากุสลเหฏฺฐิมผลตฺตยวเสน คือ กามาวจรวิบากจิต ๒๓ ดวง อาวัชชนจิต ๒ ดวง กุศลจิต ๒๑ ดวง อกุศลจิต ๗ ดวง และโลกุตตรผลจิตเบื้องต�่ำ ๓ ดวง ยถาสมฺภวํ ตามทีเ่ กิดได้ เสกฺขานํ ส�ำหรับพระอริยบุคคลทัง้ หลายผูเ้ ป็นพระเสกขะ ฯ ปน แต่ วิเสสโต กล่าวโดยแปลกกัน อุทฺทิเส พึงยกขึ้นแสดง เอกปญฺญาส ซึ่งวิถีจิต ๕๑ ดวง โสตาปนฺนสกทาคามีนํ ส�ำหรับพระโสดาบันบุคคลและ พระสกทาคามีบุคคลทั้งหลาย เอกูนปญฺญาส พึงยกขึ้นแสดงซึ่งวิถีจิต ๔๙ ดวง อนาคามีนํ ส�ำหรับพระอนาคามีบุคคลทั้งหลาย อวิเสสโต กล่าวโดยไม่แปลกกัน ปญฺจตฺตึส วชฺเชตฺวา บัณฑิตพึงเว้นจิต ๓๕ ดวง อฏฺฐารสกฺริยาชวนสพฺพ- โลกุตตฺ รมหคฺคตวิปากวเสน คือ กิรยิ าชวนจิต ๑๘ ดวง โลกุตตรจิตทัง้ ปวง (๘ ดวง) และมหัคคตวิบากจิต (๙ ดวง) จิต อุทฺทิเส แล้วยกขึ้นแสดง จตุปญฺญาส วีถิจิตฺตานิ ซึ่งวิถีจิต ๕๔ ดวง กามาวจรวิปากอาวชฺชนโลกิยกุสลากุสลวเสน คือ กามาวจรวิบากจิต (๒๓ ดวง) อาวัชชนจิต (๒ ดวง) โลกิยกุศลจิต (๑๗ ดวง) และอกุศลจิต (๑๒ ดวง) อวเสสานิ ที่เหลือ ยถาสมฺภวโต ตามที่เกิดได้ อวเสสานํ จตุนนฺ ํ ปุถชุ ชฺ นานํ ส�ำหรับบุคคลทัง้ หลาย คือ ส�ำหรับปุถชุ น ๔ จ�ำพวก ฯ ปน แต่ วิเสสโต กล่าวโดยแปลกกัน ติเหตุกานํ ส�ำหรับพวกติเหตุกบุคคล จตุปญฺญาเสว ลพฺภนฺติ ย่อมได้วถิ จี ติ เพียง ๕๔ ดวงเท่านัน้ ฯ ทฺวเิ หตุกาเหตุกานํ ส�ำหรับพวกทวิเหตุกบุคคลและอเหตุกบุคคล เอกจตฺตาฬีส ย่อมได้วถิ จี ติ ๔๑ ดวง เท่านัน้ ญาณสมฺปยุตตฺ วิปากอปฺปนาชวนวชฺชติ านิ ซึง่ เว้นกามาวจรโสภณวิบากจิต ที่เป็นญาณสัมปยุต (๔ ดวง) และอัปปนาชวนจิต (๔๘ ดวง) เสีย ฯ อาปายิกานํ ส�ำหรับเหล่าสัตว์ผู้เกิดในอบายภูมิ ตาเนว ย่อมได้วิถีจิต ๔๑ ดวง เหล่านั้น นั่นแหละ ทฺวิเหตุกวิปากวชฺชานิ ซึ่งเว้นกามาวจรโสภณวิบากจิตที่เป็นทวิเหตุกะ


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

187

(๔ ดวง) สตฺตตฺตึส วีถิจิตฺตานีติ คงเหลือวิถีจิตเพียง ๓๗ ดวงเท่านั้น ฯ จิตฺตปฺปวตฺติเภโท ความต่างกันแห่งความเป็นไปแห่งจิต ปุคฺคลานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจบุคล ปุคฺคลเภโท ชื่อว่าบุคคลเภท ฯ สพฺพานิปิ วีถิจิตฺตานิ วิถีจิต แม้ทงั้ หมด อุปลพฺภนฺติ ย่อมหาได้ (ในกามาวจรภูมนิ นั้ ) ฉนฺนํ ทฺวารานํ สพฺเพสญฺจ ปุคคฺ ลานํ ตฺตถ สมฺภวโต เพราะทวาร ๖ และบุคคลทัง้ หมดเกิดในกามาวจรภูมนิ นั้ ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ได้แก่ ตํตํภวานุรูปํ ตามสมควรแก่ภพนั้น ๆ ตํตํปุคฺคลานุรูปญฺจ และตามสมควรแก่บุคคลนั้น ๆ ฯ สพฺพตฺถาปีติอาทินา ด้วยค�ำว่า สพฺพตฺถาปิ เป็นต้น ฆานวิญฺญาณาทีนมฺปิ ปฏิกฺเขโป เหสฺสตีติ จั ก เป็ น การคั ด ค้ า นแม้ วิ ญ ญาณจิ ต มี ฆ านวิ ญ ญาณจิ ต เป็ น ต้ น เพราะเหตุ นั้ น รูปาวจรภูมิยํ ในภูมิที่เป็นรูปาวจร ปฏิฆชวนตทาลมฺพนาเนว ปฏิกฺขิตฺตานิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงคัดค้านเฉพาะโทสมูลจิต (๒ ดวง) และตทาลัมพนจิต (๑๑ ดวง) ฯ สพฺพตฺถาปีติ บทว่า สพฺพตฺถาปิ ได้แก่ กามภเว จ รูปภเว จ ในกามภพและในรูปภพ ฯ กามภเว ในกามภพ อสีติวีถิจิตฺตานิ ย่อมได้วิถีจิต ๘๐ ดวง วีถิมุตฺตกวชฺชานิ เว้นจิตที่พ้นจากวิถี (๙ ดวง) ยถารหํ ตามสมควร ฯ รูปภเว ในรูปภพ จตุสฏฺฐี ย่อมได้วิถีจิต ๖๔ ดวง เสสานิ อาวชฺชนทฺวยนวาเหตุกวิปากเตปญฺญาสเสสชวนวเสน คือ อาวัชชนจิต ๒ ดวง อเหตุกวิบากจิต ๙ ดวง และชวนจิตที่เหลือ ๕๓ ดวง ที่เหลือ ปญฺจวีสติ วชฺเชตฺวา เว้นจิต ๒๕ ดวง ปฏิฆทฺวยอฏฺฐตทาลมฺพนฆานาทิวิญฺญาณ ฉกฺกวีถิ มุตฺตกวเสน คือ โทสมูลจิต ๒ ดวง ตทาลัมพนจิต ๘ ดวง วิญญาณจิต ๖ ดวง มีฆานวิญญาณจิต เป็นต้น และจิตที่พ้นจากวิถี (๙ ดวง) ฯ อรูปภเว ในอรูปภพ ลพฺภเร ย่อมได้ อุปลพฺภนฺติ คือ ย่อมหาได้แน่นอน เทฺวจตฺตาฬีสจิตฺตานิ จิต ๔๒ ดวง เสสานิ ฉพฺพีสติป ริตฺตชวนอฏฺฐารูปชวนสตฺต โลกุ ตฺตรชวนมโนทฺ ว ารา วชฺ ช นวเสน ได้แก่ กามาวจรชวนจิต ๒๖ ดวง อรูปาวจรชวนจิต ๘ ดวง โลกุตตรชวนจิต ๗ ดวง และมโนทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) ที่เหลือ สตฺตจตฺตาฬีส วชฺเชตฺวา เว้นจิต ๔๗ ดวง เตวีสติกามาวจรวิปากปฐมมคฺค ปญฺจทสรูปาวจรปฏิฆทฺวยอรูป


188

ปริเฉทที่ ๔

วิปากกฺรยิ ามโนธาตุหสนวเสน คือ กามาวจรวิบากจิต ๒๓ ดวง โสดาปัตติมรรคจิต (๑ ดวง) รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง โทสมูลจิต ๒ ดวง อรูปาวจรวิบากจิต (๔ ดวง) กิริยามโนธาตุจิต (๑ ดวง) และหสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) ฯ ปน ฝ่าย เกจิ อาจารย์บางพวก ค�ำนึงถึงว่า รูปภเว อนิฏฺฐารมฺมณาภาวโต เพราะในรูปภพไม่มี อนิฏฐารมณ์ อกุสลวิปากสมฺภโว อกุศลวิบากจิต (๔ ดวง) เกิดมี อิธาคตานํเยว พฺรหฺมานํ แก่พวกพรหม เฉพาะผูม้ ายังมนุษยโลกนีเ้ ท่านัน้ อิติ ดังนี้ ปริหาเปตฺวา จึงให้ลด ตานิ อกุศลวิบากจิต (๔ ดวง) เหล่านั้นเสีย วทนฺติ แล้วกล่าวว่า รูปภเว ในรูปภพ ปญฺจปริตฺตวิปาเกหิ สทฺธึ สฏฺฐีเยว วีถิจิตฺตานีติ ย่อมได้วิถีจิต รวมกับกามาวจรวิบากจิต ๕ ดวง เป็น ๖๐ ดวงถ้วน ดังนี้ ฯ ปน ก็ น สกฺกา วตฺตุ ใคร ๆ ไม่อาจกล่าวว่า อิธ อนิฏฺฐารมฺมณสฺส อสมฺภโว อนิฏฐารมณ์ ในมนุษยโลกนี้ ไม่เกิดมี ตตฺถ ฐตฺวาปิ อิมํ โลกํ ปสฺสนฺตานํ แก่พวกพรหม แม้ผอู้ ยูใ่ นพรหมโลกนัน้ (แต่) มองดูโลกนีอ้ ยู่ อิติ เพราะเหตุนนั้ ตตฺถ ในรูปภพนัน้ วุตฺตานิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าววิถีจิต เตหิ สทฺธึเยว รวมกับอกุศลวิบาก จิต ๔ ดวงเหล่านั้นนั่นแหละ จตุสฏฺฐี ว่ามี ๖๔ ดวง ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวมานี้ วุตฺตํ ธมฺมานุสารณิยํ พระอรรถกถาจารย์จึง กล่าวไว้ในคัมภีร์ธัมมานุสารณีย์ อิติ ว่า ยทา ในกาลใด พฺรหฺมาโน พวกพรหม กามาวจรมนิฏฺฐารมฺมณมาลมฺพนฺติ น้อมนึกถึงอนิฏฐารมณ์ที่เป็นกามาวจร ตทา ในกาลนั้น อกุสลวิปากจกฺขุโสตวิญฺญาณมโนธาตุสนฺตีรณานํ จักขุวิญญาณจิต โสตวิญญาณจิต มโนธาตุจิต และสันตีรณจิต ฝ่ายอกุศลวิบาก อุปฺปตฺติ สมฺภวติ ย่อมเกิดมีขึ้นได้ ตํสุคติยมฺปิ แม้ในสุคติภูมินั้น ฯ วิภาโค การจ�ำแนกจิต ภูมิวเสน ด้วยอ�ำนาจภูมิ ภูมิวิภาโค ชื่อว่าภูมิวิภาค ฯ ยถาสมฺภวนฺติ บทว่า ยถาสมฺภวํ ได้แก่ สมฺภวานุรูปโต ตามสมควรแก่จิต ที่เกิดได้ ตํตํทฺวาเรสุ วา ในทวารนั้น ๆ ตํตํภเวสุ วา หรือในภพนั้น ๆ ฯ ยาวตายุ ก นฺ ติ บทว่ า ยาวตายุ กํ เป็ น ต้ น อธิ ปฺ ป าโย มี อ ธิ บ ายความว่ า (ฉทฺวาริกจิตฺตปฺปวตฺติ) ความเป็นไปแห่งจิตที่เกิดทางทวาร ๖ อพฺโพจฺฉินฺนา


พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล

189

ย่ อ มเป็ น ไปไม่ ข าดสาย ตลอดกาล ปวตฺ ต มโนทฺ ว าริ ก จิ ตฺ ต วี ถิ โ ต ปฏฺ ฐ าย เริ่มตั้งแต่วิถีจิตที่เกิดทางมโนทวารที่เป็นไป ภวนิกนฺติวเสน คือ หยั่งลงสู่ภพ ปฏิสนฺธิโต ปรํ ต่อจากปฏิสนธิจิต จุติจิตฺตาวสานํ มีจุติจิตเป็นที่สุด ตโต ปุพฺเพ ปวตฺตภวงฺคาวสานํ วา หรือตลอดกาลที่เป็นไปก่อนแต่จุติจิตนั้น มีภวังคจิต เป็นที่สุด อสติ นิโรธสมาปตฺติยนฺติ ในเมื่อไม่มีการเข้านิโรธสมาบัติ ฯ จตุตฺถปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๔ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธัมมัตถสังหะ ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺฐิตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ


190

ปริเฉทที่ ๕

ปฺ จมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๕ จ ก็ (อายสฺมา อนุรทุ ธฺ าจริโย) ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ เอตฺตาวตา วีถสิ งฺคหํ ทสฺเสตฺวา ครั้นแสดงการรวบรวมวิถีจิต ด้วยค�ำมีประมาณเท่านี้แล้ว อิทานิ บัดนี้ วีถิมุตฺตสงฺคหํ ทสฺเสตุมารภนฺโต เมื่อจะเริ่มแสดงการรวบรวมจิตที่พ้นจากวิถีจิต อาห วีถิจิตฺตวเสเนวนฺติอาทึ จึงได้กล่าวค�ำว่า วิถีจิตฺตวเสเนวํ ดังนี้เป็นต้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า สงฺคโห การรวบรวม ปวตฺติสงฺคโห นาม ชื่อว่าปวัตติสังคหะ (มยา) อันข้าพเจ้า อุทีริโต ได้ยกขึ้นแสดงไว้แล้ว ปวตฺติยํ ในปวัตติกาล ปฏิสนฺธโิ ต อปรภาเค จุตปิ ริโยสาเน คือ ในกาลอืน่ จากปฏิสนธิกาล ซึ่งมีจุติเป็นที่สุด วีถิจิตฺตวเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งวิถีจิต เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ ยถาวุตฺตนเยน คือ โดยนัยตามที่กล่าวแล้ว (ในปริเฉทที่ ๔) อิทานิ บัดนี้ ตทนนฺตรํ คือ ในล�ำดับต่อจากปวัตติสังคหะในปวัตติกาลนั้น (มยา) ข้าพเจ้า วุจจฺ ติ จะกล่าว ปวตฺตสิ งฺคโห ปวัตติสงั คหะ สนฺธยิ ํ ปฏิสนฺธกิ าเล ในปฏิสนธิกาล คือ ในกาลแห่งปฏิสนธิ ตทาสนฺนตาย ตํคหเณเนว คหิตจุตกิ าเล จ และในกาลแห่งจุติที่ท่านระบุด้วยศัพท์ว่า ปฏิสนธินั้นนั่นเอง โดยความที่จุติจิตใกล้ ต่อปฏิสนธิจิตนั้น ฯ ปุฺสมฺมตา อยา เยภุยฺเยน อปคโตติ อปาโย ที่ชื่อว่าอบาย เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า โดยมาก ปราศจากความเจริญ ที่รู้กันว่าบุญ ฯ โสเยว ภูมิ ภูมิ คือ อบายนั้น ภวนฺติ เอตฺถ สตฺตาติ อปายภูมิ ชื่อว่า อบายภูมิ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่เกิดแห่งเหล่าสัตว์ ฯ อเนกวิธสมฺปตฺติอธิฏฺานตาย โสภณา คนฺตพฺพโต อุปฺปชฺชิตพฺพโต คติ จาติ สุคติ ที่ชื่อว่าสุคติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ชื่อว่าคติ เพราะอันสัตว์พึงไป คือ พึงเกิดขึ้น และชื่อว่างาม เพราะเป็นที่อาศัยแห่งสมบัติเอนกประการ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

191

กามตณฺหาย สหจริตา คติที่อยู่ร่วมกับกามตัณหา สุคติ ชื่อว่ากามสุคติ ฯ สาเยว ภูมิ ภูมิ คือ กามสุคตินนั้ อิติ เพราะเหตุนนั้ กามสุคติภมู ิ จึงชือ่ ว่า กามสุคติภูมิ ฯ เสเสสุปิ แม้ในรูปาวจรภูมิเป็นต้นที่เหลือ เอวํ ก็มีนัยอย่างนี้ ฯ อยโต สุขโต นิคคฺ โตติ นิรโย ทีช่ อื่ ว่านิรยะ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ออกไป จากความเจริญ คือ ความสุข ฯ ติโร อฺ ฉิตาติ ติรจฺฉานา ทีช่ อื่ ว่าดิรจั ฉาน เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ไปขวาง ฯ เตสํ โยนิ ก�ำเนิดของสัตว์ดริ จั ฉานเหล่านัน้ ติรจฺฉานโยนิ ชือ่ ว่าติรจั ฉานโยนิ ฯ ยุวนฺติ ตาย สตฺตา อมิสฺสิตาปิ สมานชาติตาย มิสฺสิตา วิย โหนฺตีติ โยนิ ที่ชื่อว่าก�ำเนิด เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องผสม แห่งเหล่าสัตว์ แม้จะไม่ปะปนกัน ก็เป็นเหมือนปะปนกัน โดยมีชาติเสมอกัน ฯ ปน ก็ สา ก�ำเนิดนัน้ อตฺถโต โดยเนือ้ ความ ขนฺธานํ ปวตฺตวิ เิ สโส ได้แก่ ความเป็นไปแห่งขันธ์ทั้งหลายเป็นเครื่องแปลกกัน ฯ ปกฏฺเน สุขโต อิตา คตาติ เปตา ที่ชื่อว่าเปรต เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นไปแล้ว คือ ไปแล้ว จากประโยชน์อันดียิ่ง คือ จากความสุข ฯ วิสโย วิสยั เปตานํ แห่งเปรตทัง้ หลาย นิชฌ ฺ ามตณฺหกิ าทิเภทานํ แยกประเภท เป็นนิชฌามตัณหิกเปรตเป็นต้น เปตฺติวิสโย ชื่อว่าเปรตวิสัย ฯ ปน ก็ เอตฺถ ในก�ำเนิดแห่งสัตว์ดริ จั ฉานและเปรตวิสยั นี้ ขนฺธานํเยว คหณํ การก�ำหนดรูข้ นั ธ์ทงั้ หลายนัน่ แหละ (โหติ) มีได้ ติรจฺฉานโยนิเปตฺตวิ สิ ยคฺคหเณน ด้วยศัพท์วา่ ติรจั ฉานะโยนิ และ เปตติวสิ ยะ เตสํ ตาทิสสฺส ปริจฉฺ นิ โฺ นกาสสฺส อภาวโต เพราะโอกาสทีก่ ำ� หนดเช่นนัน้ ไม่มแี ก่กำ� เนิดสัตว์ดริ จั ฉานและเปรตวิสยั เหล่านัน้ ฯ วา ปน ก็หรือว่า เต สัตว์เหล่านั้น นิพทฺธวาสํ วสนฺติ อยู่ประจ�ำ ยตฺถ ในสถานที่เช่นใด อรฺ ปพฺพตปาทาทิเก มีป่าและเชิงเขาเป็นต้น (ปณฺฑิเตน) คเหตพฺโพ บัณฑิตพึงถือเอา โอกาโสปิ แม้โอกาส ตาทิสสฺส านสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจสถานที่เช่นนั้น ฯ


192

ปริเฉทที่ ๕

น สุรนฺติ อิสฺสริยกีฬาทีหิ น ทิพฺพนฺตีติ อสุรา ที่ชื่อว่าอสูร เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า ย่อมไม่แกล้วกล้า คือ ไม่เพลิดเพลิน โดยความเป็นใหญ่หรือการเล่น เป็นต้น เปตาสุรา ได้แก่ เปรตอสูร ฯ ปน ส่วน อิตเร พวกท้าวเวปจิตติอสูรนอกนี้ น สุรา ไม่ใช่พวกเทวดา สุร ปฏิปกฺขา คือ เป็นข้าศึกต่อพวกเทวดา อิติ เพราะเหตุนั้น อสุรา จึงชื่อว่าอสูร ฯ จ ก็ อิธ ในบทว่า อสุรกาโย นี้ เปตาสุรานเมว คหณํ ระบุเฉพาะเปรตอสูร พวกเดียว น อิตเรสํ (คหณํ) หาระบุถึงท้าวเวปจิตติอสูรนอกนี้ไม่ ตาวตึเสสุ คหณสฺส อิจฉฺ ติ ตฺตา เพราะท่านอาจารย์ตอ้ งการจะจัดไว้ในพวกเทวดาชัน้ ดาวดึงส์ ฯ ตถาหิ วุตตฺ ํ อาจริเยน จริงอย่างนัน้ ท่านอาจารย์กล่าวไว้วา่ เวปจิตตฺ าสุรา พวกท้าวเวปจิตติอสูร คตา อยู่ ตาวตึเสสุ เทเวสุ ในพวกเทวดาชั้นดาวดึงส์ ฯ มโน อุสฺสนฺนํ เอเตสนฺติ มนุสฺสา ที่ชื่อว่ามนุษย์ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีใจสูง อุกกฺ ฏฺมนตาย เพราะเป็นผูม้ ใี จสูง สติสรุ ภาวพฺรหฺมจริยโยคฺยตาทิคเุ ณหิ ด้วยคุณมีสติความแกล้วกล้าและความเหมาะแก่การประพฤติพรหมจรรย์เป็นต้น ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น พุทฺธาทโยปิ แม้บัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ปรมสติเนปกฺกาทิปตฺตา ผู้บรรลุถึงสติและปัญญาเครื่องรักษาตนอย่างยอดเยี่ยม เป็นต้น มนุสฺสภูตาเยว ก็เป็นมนุษย์เหมือนกัน ฯ จ ก็ เอตฺถ ในบรรดาชนผูอ้ ยูใ่ นทวีปนี้ ชมฺพทู ปี วาสิโน พวกชนชาวชมพูทวีป มนุสฺสา ชื่อว่าเป็นมนุษย์ นิปฺปริยายโต โดยตรง ฯ ปน อนึ่ง อิตรมหาทีปวาสิโนปิ พวกชนแม้ที่อยู่ในทวีปใหญ่นอกนี้ สทฺธึ ปริตฺตทีปวาสีหิ รวมทั้งชนที่อยู่ในทวีปน้อย (ปณฺฑิเตน) มนุสฺสาติ วุจฺจนฺติ บัณฑิตก็เรียกว่ามนุษย์ เตหิ สมานรูปาทิตาย โดยที่มีรูปร่างเหมือนชนที่อยู่ใน ชมพูทวีปเหล่านั้นเป็นต้น ฯ ปน แต่ โลกิยา...วทนฺติ ชาวโลก กล่าวว่า มนุโน อาทิขตฺติยสฺส อปจฺจ ปุตตฺ าติ มนุสสฺ า ทีช่ อื่ ว่ามนุษย์ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เป็นเหล่ากอ คือ เป็นลูก ของพระมนูเจ้า ได้แก่ ของกษัตริย์ผู้เป็นต้นวงศ์ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

193

มนุสฺสาน นิวาสภูตา ภูมิ ภูมิ เป็นที่อยู่อาศัย ของพวกมนุษย์ มนุสฺสา ชื่อว่า มนุสสะ อิธ ในอธิการว่าด้วยภูมิ ๔ นี้ ฯ เสเสสุปิ แม้ในบทว่า เทวดาชัน้ จาตุมมหาราชเป็นต้น ทีเ่ หลือ เอว ก็มนี ยั อย่างนี้ ฯ จตูสุ มหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสํ, จตุนนฺ ํ วา มหาราชานํ นิวาสนฏฺานภูเต จาตุมฺมหาราเช ภวาติ จาตุมฺมหาราชิกา เทวดาที่ชื่อว่าจาตุมมหาราชิกะ เพราะ อรรถวิเคราะห์วา่ มีการคบหาในพวกท้าวมหาราชทัง้ ๔ หรือเกิดในชัน้ จาตุมมหาราช อันเป็นสถานที่อยู่อาศัยของท้าวมหาราชทั้ง ๔ ฯ (อาจริยา) วทนฺติ อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า มเฆน มานเวน สทฺธึ เตตฺตึส ชนทั้งหลายรวมกับมฆมาณพเป็น ๓๓ คน สหปุฺการิโน มักท�ำบุญร่วมกัน นิพฺพตฺตา บังเกิดแล้ว เอตฺถ ในที่นี้ อิติ เพราะเหตุนั้น (ตํ-านํ) ที่นั้น ตํสหจริตํ านํ ซึ่งเป็นที่เป็นไปร่วมกันแห่งชน ๓๓ คนนั้น เตตฺตึส จึงชื่อว่า เตตติงสะ ตเทว เตตติงสะ นั้นนั่นเอง ตาวตึสํ เป็นตาวติงสะ ตํ ตาวติงสะนั้น นิวาโส เป็นที่อยู่อาศัย เอเตสํ ของเทวดาเหล่านั้น อิติ ตาวตึสา เพราะเหตุนั้น เทวดาเหล่านั้น จึงชื่อว่าเทวดาชั้นดาวดึงส์ ฯ ปน แต่ ยสฺมา เพราะ ฉกามาวจรเทวโลกา เทวโลกชัน้ กามาวจร ๖ ชัน้ อตฺถิ มีอยู่ เสสจกฺกวาเฬสุปิ แม้ในจักรวาลที่เหลือ วจนโต โดยพระบาลีว่า สหสฺสํ จาตุมมฺ หาราชิกานํ ชัน้ จาตุมมหาราชมี ๑,๐๐๐ ชัน้ สหสฺสฺ จ ตาวตึสานํ และชัน้ ดาวดึงส์ มี ๑,๐๐๐ ชัน้ ดังนี้ ตสฺมา ฉะนัน้ (ปณฺฑเิ ตน) คเหตพฺพํ บัณฑิตพึงถือเอาว่า เอตํ ค�ำว่า ตาวติงสะ นี้ นามมตฺตเํ อว เป็นเพียงชือ่ ตสฺส เทวโลกสฺส ของเทวโลกนัน้ เท่านัน้ ฯ ทุกขฺ โต ยาตา อปยาตาติ ยามา ทีช่ อื่ ว่ายามา เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ไปแล้ว คือ ไปปราศแล้ว จากความทุกข์ ฯ อตฺตโน สิริสมฺปตฺติยา ตุสํ ปีตึ อิตา คตาติ ตุสิตา ที่ชื่อว่าดุสิต เพราะ อรรถวิเคราะห์วา่ ถึงแล้ว คือ บรรลุแล้วซึง่ ความยินดี ได้แก่ ซึง่ ความอิม่ ใจใน สิรสิ มบัตขิ องตน ฯ


194

ปริเฉทที่ ๕

นิมฺมาเน รติ เอเตสนฺติ นิมฺมานรติโน ที่ชื่อว่านิมมานรดี เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า มีความยินดีในการเนรมิต ฯ ปรนิมฺมิเตสุ โภเคสุ อตฺตโน วสํ วตฺเตนฺตีติ ปรมิมฺมิตวสวตฺติโน ที่ชื่อว่า ปรนิมมิตวสวัดดี เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังอ�ำนาจของตนให้เป็นไปในโภคสมบัติ ที่พวกเทวดาอื่นเนรมิตให้ ฯ เตสํ ปริสติ ภวาติ พฺรหฺมปริสชฺชา ที่ชื่อว่าพรหมปาริสัชชา เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า เกิดในบริษัทของท้าวมหาพรหมเหล่านั้น มหาพฺรหฺมานํ ปริจาริกตฺตา เพราะเป็นผู้รับใช้ของพวกท้าวมหาพรหม ฯ พฺรหฺมปุโรหิตา ชื่อว่าพรหมปุโรหิตา เตสํ โปโรหิตฏฺาเน ิตตฺตา เพราะ ด�ำรงอยู่ในฐานะเป็นปุโรหิตของท้าวมหาพรหมเหล่านั้น ฯ เตหิ เตหิ ฌานาทีหิ คุณวิเสเสหิ พฺรูหิตา ปริวุทฺธาติ พฺรหฺมาโน ที่ชื่อว่า พวกพรหม เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เจริญ คือ งอกงาม ด้วยคุณวิเศษทั้งหลายมี ฌานเป็นต้นเหล่านั้น ๆ ฯ วณฺณวนฺตตาย เจว ทีฆายุกตาทีหิ จ พฺรหฺมปาริสชฺชาทีหิ มหนฺตา พฺรหฺมาโนติ มหาพฺรหฺมาโน ที่ชื่อว่าพวกมหาพรหม เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นพรหมผูใ้ หญ่กว่าพรหมมีพรหมปาริสชั ชาเป็นต้น โดยมีรศั มีและเป็นผูม้ อี ายุยนื เป็นต้น ฯ ตโยเปเต พรหมทั้ง ๓ จ�ำพวกเหล่านี้ ปณีตตรรตนปฺปภาวภาสิตสมานตลวาสิโน อยู่ชั้นเสมอกันซึ่งมีรัศมีแก้วที่ประณีตยิ่งกว่าแผ่สร้านออก ฯ จ อนึ่ง อุปริเมหิ ปริตฺตา อาภา เอเตสนฺติ ปริตฺตาภา ที่ชื่อว่าปริตตาภา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีรัศมีน้อยกว่าพรหมชั้นสูงขึ้นไป ฯ อปฺปมาณา อาภา เอเตสนฺติ อปฺปมาณาภา ที่ชื่อว่าอัปปมาณาภา เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า มีรัศมีหาประมาณมิได้ ฯ พลาหกโต วิ ชฺ ชุ วิ ย อิ โ ตจี โ ตจ อาภา สรติ นิ สฺ ส รติ เอเตส สปฺปีติกชฺฌานนิพฺพตฺตกฺขนฺธสนฺตานตฺตาติ อาภสฺสรา ที่ชื่อว่าอาภัสสรา เพราะ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

195

อรรถวิเคราะห์ว่า มีรัศมีสร้านไป คือ สร้านออก รอบด้าน เหมือนสายฟ้าแลบ ออกจากกลีบเมฆ ฉะนั้น เพราะมีขันธสันดานที่บังเกิดจากฌานที่มีปีติ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง ทณฺฑทีปิกาย อจฺจิ วิย เอเตสํ สรีรโต อาภา ฉิชฺชิตฺวา ปตนฺตี วิย สรติ นิสฺสรตีติ อาภสฺสรา ที่ชื่อว่าอาภัสสรา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีร่างกายเป็นแดนสร้านไป คือ สร้านออกไป แห่งรัศมี ประดุจขาดตกไปเป็นสาย เปรียบเหมือนเปลวไฟแห่งคบเพลิง ฉะนั้น ฯ วา อีกอย่างนั้น ยถาวุตฺตาย ปภาย อาภายนสีลาติ อาภสฺสรา ที่ชื่อว่า อาภัสสรา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีปกติรุ่งเรืองด้วยรัศมีตามที่กล่าวแล้ว ฯ เอเตปิ ตโย พรหม ๓ จ�ำพวกแม้เหล่านี้ ปณีตตรรตนปฺปภาวภาสิเตกตลวาสิโน อยู่ชั้นเดียวกันซึ่งมีรัศมีแก้วที่ประณีตยิ่งกว่าแผ่สร้านออก ฯ สรีราภา รัศมีแห่งร่างกาย เอกฆนา เป็นสายเดียวกัน อจลา ไม่กวัดแกว่ง สุภาติ วุจฺจติ เรียกว่า รัศมีงาม ฯ สา รัศมีงามนัน้ เอเตสํ ของพวกพรหมเหล่านี้ ปริตตฺ า น้อย อุปริ พฺรหฺเมหิ กว่าพรหมชั้นสูงขึ้นไป อิติ เพราะเหตุนั้น (อิเม พฺรหฺมาโน) พรหมเหล่านี้ ปริตฺตสุภา จึงชื่อว่าปริตตสุภา ฯ อปฺปมาณา สุภา เอเตสนฺติ อปฺปมาณสุภา ที่ชื่อว่าอัปปมาณสุภา เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า มีรัศมีงามหาประมาณมิได้ ฯ ปภาสมุทยสงฺขาเตหิ สุเภหิ กิณฺณา อากิณฺณาติ สุภกิณฺณา ที่ชื่อว่า สุภกิณณา เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เรีย่ รายแล้ว คือ เกลือ่ นกล่นแล้ว ด้วยรัศมีงาม กล่าวคือเป็นที่ผุดผ่องขึ้นแห่งรัศมี ฯ จ ก็ สุภากิณฺณาติ วตฺตพฺเพ เมื่อควรจะกล่าวว่า สุภากิณณา ภาสทฺทสฺส รสฺสตฺต กตฺวา ท่านอาจารย์กท็ ำ� รัสสะ ภา ศัพท์ อนฺตมิ ณการสฺส จ หการ กตฺวา แล้วแปลง ณ อักษรที่สุดศัพท์เป็น ห อักษร สุภกิณฺหาติ วุตฺตํ แล้วกล่าวว่า สุภกิณฺหา ฯ


196

ปริเฉทที่ ๕

เอเตปิ พรหม ๓ จ�ำพวกแม้เหล่านี้ ปณีตตรรตนปฺปภาวภาสิเตกตลวาสิโน อยู่ชั้นเดียวกันซึ่งมีรัศมีแก้วที่ประณีตยิ่งกว่าแผ่สร้านออก ฯ ฌานปฺปภาวนิพฺพตฺตํ วิปุลํ ผลเมเตสนฺติ เวหปฺผลา ที่ชื่อว่าเวหัปผลา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีผลที่บังเกิดด้วยอานุภาพแห่งฌาน ที่ไพบูลย์ ฯ นตฺถิ สฺ า ตํมุเขน วุตฺตา เสสารูปกฺขนฺธา จ เอเตสนฺติ อสฺ า ทีช่ อื่ ว่าอสัญญา เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ไม่มสี ญ ั ญา และอรูปขันธ์ทเี่ หลือทีก่ ล่าวแล้ว โดยมีสัญญานั้นเป็นประธาน สฺ าวิราคภาวนานิพฺพตฺตรูปสนฺตติมตฺตตฺตา เหตุมีเพียงรูปความสืบต่อที่บังเกิดด้วยภาวนาเป็นเครื่องส�ำรอกสัญญา ฯ เตเยว สตฺตา เหล่าสัตว์คอื พวกพรหมทีไ่ ม่มสี ญ ั ญาเหล่านัน้ อิติ อสฺ สตฺตา เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าอสัญญสัตว์ ฯ เอเตปิ พรหมแม้เหล่านี้ ปณีตตรรตนปฺปภาวภาสิเตกตลวาสิโน อยู่ชั้น เดียวกันซึ่งมีรัศมีแก้วที่ประณีตยิ่งกว่าแผ่สร้านออก ฯ สุทธฺ านํ อนาคามิอรหนฺตานเมว อาวาสาติ สุทธฺ าวาสา ภูมิ ทีช่ อื่ ว่าสุทธาวาส เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่อยู่ ของท่านผู้บริสุทธิ์ คือ ของพระอนาคามี และ พระอรหันต์เท่านั้น ฯ วา อีกอย่างหนึง่ อนุนยปฏิฆาภาวโต สุทโฺ ธ อาวาโส เอเตสนฺติ สุทธฺ าวาสา พวกพรหมชื่อว่าสุทธาวาส เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีที่อยู่ ที่ชื่อว่าบริสุทธิ์ เพราะ ไม่มีความยินดีและความยินร้าย ฯ เตสมฺปิ นิวาสา ภูมิ ภูมิอันเป็นที่อยู่อาศัยแม้แห่งท่านผู้บริสุทธิ์เหล่านั้น สุทฺธาวาสา ชื่อว่าสุทธาวาส ฯ ปน ก็ อิเมสุ บรรดาพรหมผูอ้ ยูใ่ น ๕ ชัน้ เหล่านี้ ปมตลวาสิโน พวกพรหม ผู้อยู่ในชั้นที่ ๑ น วิชหนฺติ ย่อมไม่ละทิ้ง อตฺตโน าน สถานที่ของตน อปฺปเกน กาเลน โดยเวลาเพียงเล็กน้อย อิติ อวิหา เพราะเหตุนนั้ พรหมเหล่านัน้ จึงชือ่ ว่า อวิหา ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

197

ทุติยตลวาสิโน พวกพรหมผู้อยู่ในชั้นที่ ๒ เกนจิ อตปฺปนฺติ ย่อมไม่ สะดุ้งกลัวด้วยเหตุอะไร ๆ อิติ อตปฺปา เพราะเหตุนั้น พรหมเหล่านั้น จึงชื่อว่า อตัปปา ฯ ตติยตลวาสิโน พวกพรหมผู้อยู่ในชั้นที่ ๓ สุเขน ทิสฺสนฺติ ย่อมปรากฏ ได้งา่ ย ปรมสุนทฺ รรูปตฺตา เพราะมีรปู ทีง่ ดงามอย่างยิง่ อิติ สุทสฺสา เพราะเหตุนนั้ พรหมเหล่านั้น จึงชื่อว่าสุทัสสา ฯ จตุตฺถตลวาสิโน พวกพรหมผู้อยู่ในชั้นที่ ๔ สุเขน ปสฺสนฺติ ย่อมเห็น ได้งา่ ย สุปริสทุ ธฺ ทสฺสนตฺตา เพราะเป็นผูม้ คี วามเห็นหมดจดด้วยดี อิติ สุทสฺสโิ น เพราะเหตุนั้น พรหมเหล่านั้น จึงชื่อว่าสุทัสสี ฯ ปน ส่วน ปฺ จมตลวาสิโน พวกพรหมผู้อยู่ในชั้นที่ ๕ นตฺถิ เอเตสํ กนิฏฺภาโวติ อกนิฏฺา ชื่อว่าอกนิฏฐา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่มีความเป็น ผู้น้อยที่สุด อุกฺกฏฺสมฺปตฺติกตฺตา เหตุเป็นผู้มีสมบัติอย่างสูงสุด ฯ อากาสานฺ จายตเน ปวตฺตา ปมารูปวิปากภูตจตุกฺขนฺธา เอว ขันธ์ ๔ อันเป็นอรูปาวจรวิบากจิตดวงที่ ๑ ซึ่งเป็นไปในอากาสานัญจายตนฌานนั่นเอง เตหิ ปริจฺฉินฺโนกาโส วา หรือโอกาสที่ก�ำหนดด้วยขันธ์ ๔ อันเป็นอรูปาวจร วิบากจิตดวงที่ ๑ เหล่านั้น อากาสานฺ จายตนภูมิ ชื่อว่าอากาสนัญจายตนภูมิ ฯ เสเสสุปิ แม้ในวิญญาณัญจายตนภูมิเป็นต้นที่เหลือ เอว ก็มีนัยอย่างนี้ ฯ สมฺพนฺโธ เชือ่ มความว่า ปุถชุ ชฺ นา ปุถชุ นก็ดี โสตาปนฺนา จ โสดาบันบุคคล ก็ดี สกทาคามิโน จาปิ ปุคฺคลา สกทาคามีบุคคลก็ดี น ลพฺภนฺติ หาไม่พบ สุทฺธาวาเสสุ ในชั้นสุทธาวาสทั้งหลาย สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง ฯ จ ก็ ปุถุชฺชนาทีนํ ปฏิกฺเขเปน เพราะปฏิเสธปุถุชนเป็นต้น อนาคามิ- อรหนฺตานเมว ตตฺถ ลาโภ วุตฺโต โหติ ย่อมเป็นอันท่านพระอนุรุทธาจารย์ กล่าวถึงการหาได้เฉพาะพระอนาคามีและพระอรหันต์ในชั้นสุทธาวาสเหล่านั้น ฯ เสสฏฺาเนสูติ บทว่า เสสฏฺาเนสุ ความว่า อริยา พระอริยบุคคลทั้งหลาย อนริยาปิ จ และแม้บคุ คลทัง้ หลายทีม่ ใิ ช่พระอริยะ ลพฺภนฺติ ย่อมหาได้ เสสฏฺาเนสุ


198

ปริเฉทที่ ๕

ในฐานะทีเ่ หลือ สุทธฺ าวาสาปายาสฺ ี วชฺชเิ ตสุ ซึง่ เว้นชัน้ สุทธาวาส (๕) อบายภูมิ (๔) และอสัญญีภพ (๑) ฯ โอกฺกนฺติกฺขเณติ บทว่า โอกฺกนติกฺขเณ ได้แก่ ปฏิสนฺธิกฺขเณ ในขณะ ปฏิสนธิ ฯ สัตว์ใด อนฺโธ บอด ชาติยา แต่กำ� เนิด อิติ ชจฺจนฺโธ เพราะเหตุนนั้ สัตว์นน้ั จึงชื่อว่าชัจจันธะ ฯ ชาติกฺขเณ ในขณะเกิด อณฺฑชชลาพุชา อัณฑชสัตว์และชลาพุชสัตว์ สพฺเพ ทั้งหมด อจกฺขุกาว ไม่มีจักขุปสาทรูปเลย กิฺจาปิ แม้ก็จริง ตถาปิ ถึงอย่างนั้น จกฺขฺวาทิอุปฺปชฺชนารหกาเลปิ ในเวลาที่จักษุเป็นต้นควรจะเกิดขึ้น สตฺโต สัตว์ จกฺขุปฺปตฺติวิพนฺธกกมฺมปฏิพาหิตสามตฺถิเยน ทินฺนปฏิสนฺธินา อิตเรนาปิ วา กมฺเมน อนุปฺปาทิตพฺพจกฺขุโก ที่มีจักษุถูกกรรมที่มีสมรรถภาพ อันกรรมซึง่ เป็นตัวขัดขวางความเกิดขึน้ แห่งจักษุหา้ มเสียแล้วก็ดี กรรมทีใ่ ห้ปฏิสนธิ ก็ดี กรรมแม้นอกนี้ก็ดี ไม่พึงให้เกิดขึ้น ชจฺจนฺโธ นาม ชื่อว่าบอดแต่ก�ำเนิด ฯ อปเร ปน...วทนฺติ ส่วนอาจารย์อีกพวกหนึ่ง กล่าวว่า ชจฺจนฺโธติ บทว่า ชจฺจนฺโธ ได้แก่ อนฺโธ สัตว์ที่บอด ปสูติยํเยว ในเวลาเกิดนั่นเอง อตฺโถ อธิบายว่า มาตุกุจฺฉิยํ อนฺโธ หุตฺวา นิกฺขมนฺโต เป็นสัตว์บอดตั้งแต่ในท้องมารดา ออกมา ฯ เตน เพราะอธิบายดังว่ามานี้ ทฺวิเหตุกติเหตุกานํ ส�ำหรับทวิเหตุกสัตว์ และติเหตุกสัตว์ มาตุกุจฺฉิยํ จกฺขุสฺส อวิปชฺชนํ สิทฺธํ จึงส�ำเร็จความไม่วิบัติจักษุ ในท้องมารดา ฯ ชจฺจนฺธาทีติ อาทิคฺคหเณน ด้วย อาทิ ศัพท์ ในค�ำว่า ชจฺจนฺธาทิ นี้ ชจฺจพธิรชจฺจมูคชจฺจชฬชจฺจุมฺมตฺตกปณฺฑกอุภโตพฺยฺ ชนกนปปสกมมฺมาทีนํ สงฺคโห เป็นอันรวบรวมสัตว์ผู้หนวกแต่ก�ำเนิด ใบ้แต่ก�ำเนิด เซ่อแต่ก�ำเนิด บ้าแต่ก�ำเนิด บัณเฑาะก์ สัตว์มี ๒ เพศ สัตว์ไม่มีเพศ และสัตว์ผู้ติดอ่างเป็นต้น เข้าด้วย ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

199

อปเร ปน...วทนฺติ ฝ่ายอาจารย์อกี พวกหนึง่ กล่าวว่า เอกจฺเจ สัตว์บางพวก อเหตุกปฏิสนฺธิกา มีปฏิสนธิเป็นอเหตุกะ อวิกลินฺทฺริยา หุตฺวา เป็นผู้มีอินทรีย์ ไม่บกพร่อง โถกํ วิจารณปกติกา โหนฺติ แต่มปี ญ ั ญาเป็นเครือ่ งพิจารณาเป็นเป็นปกติ เพียงเล็กน้อย ตาทิสานมฺปิ อาทิสทฺเทน สงฺคโห เป็นอันรวมแม้จ�ำพวกสัตว์ เช่นนั้นเข้าด้วยอาทิศัพท์ ฯ ภุมฺมเทเว สิตา นิสฺสิตา ตคฺคติกตฺตาติ ภุมฺมสฺสิตา เหล่าสัตว์ผู้ชื่อว่า ภุมมัสสิตะ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ อิง คือ อาศัยภุมมเทพอยู่ เหตุอาศัยภุมมเทพ นั้นเป็นที่เป็นไป ฯ สุขสมุสฺสยโต วินิปาติตาติ วินิปาติกา เหล่าสัตว์ผู้ชื่อว่าวินิปาติกะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ตกไปจากที่เป็นที่เกิดขึ้นแห่งความสุข ฯ สพฺพถาปิ กามสุคติยนฺติ ข้อว่า สพฺพถาปิ กามสุคติยํ ได้แก่ กามสุคติยํ ในกามสุคติภูมิ สตฺตวิธายปิ แม้ทั้ง ๗ อย่าง เทวมนุสฺสวเสน คือ เทวโลก (๖) มนุษย์ (๑) ฯ เตสูติ บทว่า เตสุ ได้แก่ ปุคคฺ เลสุ ในบรรดาบุคคลทัง้ หลาย อปายาทีสุ วา หรื อ ในบรรดาเหล่ า สั ต ว์ ที่ เ กิ ด ในอบายภู มิ เ ป็ น ต้ น ยถาวุ ตฺ ต ปฏิ ส นฺ ธิ ยุ ตฺ เ ตสุ ผู้ประกอบด้วยปฏิสนธิตามที่กล่าวแล้ว ฯ นิยโม การก�ำหนด อายุปปฺ มาณคณนาย จ�ำนวนประมาณอายุ นตฺถิ ชือ่ ว่า ย่อมไม่มี (อปายาทีน)ํ แก่เหล่าสัตว์ทเี่ กิดในอบายภูมเิ ป็นต้น เกสฺ จิ จิรายุกตฺตา เพราะสัตว์บางพวกมีอายุยืน เกสฺ จิ ปริตฺตายุกตฺตา จ และเพราะสัตว์บางพวก มีอายุสั้น ฯ ตถา จาหุ สมจริงดังท่านอาจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า อาปายิกมนุสฺสายุปริจฺเฉโท การก�ำหนดอายุของสัตว์ผู้เกิด ในอบายภูมิและมนุษย์ น วิชฺชติ ย่อมไม่มี ตถาหิ จริงอย่างนั้น กาโฬ พญากาฬนาคราช มนฺธาตา พระเจ้ามันธาตุ เกจิ ยกฺขา และยักษ์ บางพวก จิรายุโน มีอายุยืน อิติอาทึ ดังนี้เป็นต้น ฯ


200

ปริเฉทที่ ๕

หิ ความจริง อปาเยสุ ในอบายทั้งหลาย กมฺมเมว กรรมนั่นเอง ปมาณํ เป็นประมาณ (อายุ) ตตฺถ นิพฺพตฺตานํ ยาว กมฺมํ น ขียติ ตาว จวนาภาวโต เพราะเหล่าสัตว์ผู้บังเกิดในอบายภูมินั้นไม่มีการจุติตราบเท่าที่กรรมยังไม่สิ้นไป ฯ ภุมฺมเทวาน ส�ำหรับเหล่าภุมมเทพ ตถา ก็เหมือนกัน (กมฺมํ ปมาณํ คือ มีกรรมเป็นประมาณ) ฯ หิ ความจริง เตสุปิ นิพฺพตฺตา สัตว์ผู้เกิดแม้ในภุมมเทพเหล่านั้น เกจิ สตฺตาหาทิกาล ติฏฺนฺติ บางพวกก็ด�ำรงอยู่ได้ชั่วเวลาเพียง ๗ วันเป็นต้น เกจิ กปฺปมตฺตมฺปิ บางพวกก็ด�ำรงอยู่ได้แม้ประมาณกัปหนึ่ง ฯ ตถา อนึง่ (กมฺมเมว) กรรมนัน่ เอง (ปมาณํ) เป็นประมาณอายุ มนุสสฺ านมฺปิ แม้แห่งมนุษย์ทงั้ หลาย กทาจิ เตสมฺปิ อสงฺเขยฺยายุกตฺตา เพราะบางคราวแม้มนุษย์ เหล่านั้นก็มีอายุถึงอสงไขย กทาจิ ทสวสฺสายุกตฺตา บางคราวก็มีอายุ ๑๐ ปี ฯ ปน ก็ อิทํ อชฺชตฺตนกาลิเก สนฺธาย วุตตฺ ํ พระผูม้ พี ระภาคเจ้า ทรงหมายถึง เหล่ามนุษย์ในทุกวันนี้ จึงตรัสพระด�ำรัสนี้ว่า โย จิรํ ชีวติ ผู้ใดอยู่ได้นาน โส วสฺสสตํ ชีวติ ผูน้ นั้ ย่อมเป็นอยูไ่ ด้ ๑๐๐ ปี อปฺป วา ภิยโฺ ย วา น้อยหรือมาก ทุติยมฺปิ วสฺสสตํ น ปาปุณาติ ก็ไม่ถึง ๒๐๐ ปี ฯ ทิพฺพานิ ปฺ จวสฺสสตานีติ ข้อว่า ทิพฺพานิ ปญฺจวสฺสสตานิ ความว่า มนุสฺสานํ ปฺ าสวสฺสานิ ๕๐ ปี ของพวกมนุษย์ เอกทินํ เป็น ๑ วัน ฯ ทิพพฺ ปมาณานิ ปฺ จวสฺสสตานิ ๕๐๐ ปี อันเป็นประมาณปีทพิ ย์ ตทนุรปู โต มาสสํวจฺฉเร ปริจฺฉินฺทิตฺวา เพราะก�ำหนดเดือนและปี โดยเหมาะแก่วันนั้น อายุปฺปมาณํ โหติ เป็นประมาณอายุ ฯ วุตฺตมฺปิ เจตํ สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า ยานิ ปฺ าสวสฺสานิ มนุสฺสานํ ๕๐ ปี ของเหล่ามนุษย์ ทิโน เป็น ๑ วัน ตหึ ในเทวดาชั้นจาตุมมหาราชนั้น ตึสรตฺตินฺทิโว ๓๐ วันและคืน มาโส เป็น ๑ เดือน มาสา ทฺวาทส ๑๒ เดือน สํวจฺฉรํ เป็น ๑ ปี ทิพฺพํ ปฺ จสตํ ๕๐๐ ปีทิพย์ เตน สํวจฺฉเรน


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

201

โดยปีนั้น มตํ บัณฑิตกล่าวว่า อายุ เป็นประมาณอายุ ฯ มนุสสฺ คณนายาติ บทว่า มนุสสฺ คณนาย ได้แก่ สํวจฺฉรคณนาย โดยนับปี มนุสฺสานํ ของพวกมนุษย์ ฯ ตโต จตุคุณนฺติ ข้อว่า ตโต จตุคุณํ ได้แก่ จตุคุณํ ๔ เท่า เอวํ ทิวส- สวํ จฺฉรทิคณ ุ วเสน คือ เอา ๒ คูณวันและปีอย่างนี้ อิติ คือ ทิพพฺ วสฺสสหสฺสานิ ๑,๐๐๐ ปีทิพย์ ทิคุณํ กตฺวา เพราะเอา ๒ คูณ ปฺ าสมานุสฺสิกวสฺสปริมิตํ ทิวสํ วันซึ่งท่านก�ำหนดนับปีแบบมนุษย์ ๕๐ ปี จาตุมฺมหาราชิกานํ ทิพฺพานิ จ ปฺ จวสฺสสตานิ และ ๕๐๐ ปีทิพย์ ของพวกเทวดาชั้นจาตุมมหาราช ตาวตึสานํ สมฺภวติ เป็นประมาณอายุของเหล่าเทพชั้นดาวดึงส์ ฯ ปน ก็ ตํ (จตุคฺคุณํ) ๔ เท่านั้น วสฺสสหสฺสํ เป็น ๑,๐๐๐ ปี ทิพฺพคณนาย โดยการนับแบบปีทิพย์ สฏฺวิ สฺสสตสหสฺสาธิกติโกฏิปปฺ มาณํ โหติ เท่ากับ ๓ โกฏิ ๖ ล้านปี มนุสสฺ คณนาย โดยการนับแบบมนุษย์ ฯ ตโต จตุคุณํ ยามานนฺติ ข้อว่า ตโต จตุคุณํ ยามานํ ความว่า จตุคุณํ ๔ เท่า วุตฺตนเยน โดยนัยดังกล่าวแล้ว ตาวตึสานมายุปฺปมาณโต จากประมาณ อายุของพวกเทวดาชัน้ ดาวดึงส์ ทฺวสิ หสฺสํ จึงเป็น ๒,๐๐๐ ปี ทิพพฺ คณนาย โดยการนับ แบบปีทพิ ย์ ฯ มนุสสฺ คณนาย โดยการนับแบบมนุษย์ จตฺตาฬีสวสฺสสตสหสฺสาธิกา จุทฺทสวสฺสโกฏิโ ย โหนฺติ จึงเป็น ๑๔ โกฏิ ๔ ล้ านปี ฯ ตโต จตุ คุ ณํ ตุสิตานนฺติ ข้อว่า ตโต จตุคุณํ ตุสิตานํ ได้แก่ ทิพฺพานิ จตฺตาริ วสฺสสหสฺสานิ ๔,๐๐๐ ปีทิพย์ ฯมนุสฺสคณนาย โดยการนับแบบมนุษย์ สฏฺวิ สฺสสตสหสฺสาธิกา สตฺตปฺ าสวสฺสโกฏิโย จึงเป็น ๕๗ โกฏิ ๖ ล้านปี ฯ ตโต จตุคุณํ นิมฺมานรตีนนฺติ ข้อว่า ตโต จตุคุณํ นิมฺมานรตีนํ ได้แก่ ทิพฺพานิ อฏฺวสฺสสหสฺสานิ ๘,๐๐๐ ปีทิพย์ ฯมนุสฺสคณนาย โดยการนับ แบบมนุษย์ เทฺววสฺสโกฏิสตานิ จตฺตาฬีสวสฺสสตสหสฺสาธิกานิ ตึสวสฺสโกฏิโย จ จึงเป็น ๒๓๐ โกฏิ ๔ ล้านปี ฯ


202

ปริเฉทที่ ๕

ตโต จตุคณ ุ ํ ปรนิมมฺ ติ วสวตฺตนี นฺติ ข้อว่า ตโต จตุคณ ุ ํ ปรนิมมฺ ติ วสวตฺตนี ํ ได้แก่ ทิพฺพานิ โสฬสวสฺสสหสฺสานิ ๑๖,๐๐๐ ปีทิพย์ ฯ ปน แต่ ทสฺเสนฺโต ท่านอาจารย์ เมือ่ จะแสดง มนุสสฺ คณนาย การนับแบบมนุษย์ สยเมว เสียเองทีเดียว อาห นวสตฺ จาติอาทิ จึงกล่าวค�ำว่า นวสตฺ จ ดังนี้เป็นต้น ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า วสฺสานํ สมฺพนฺธี นวสตํ เอกวีส โกฏิโย ตถา สฏฺ ี จ วสฺสสตสหสฺสานิ ๙๒๑ โกฏิ ๖ ล้านปี อายุปปฺ มาณํ เป็นประมาณอายุ วสวตฺตสี ุ ในเหล่าเทพชั้นวสวัดดี ฯ ทุตยิ ชฺฌานภูมยิ นฺติ ค�ำว่า ทุตยิ ชฺฌานภูมยิ ํ นี้ วุตตฺ ํ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ กล่าว จตุกฺกนยวเสน ด้วยอ�ำนาจฌานจตุกกนัย ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ตโต ปรํ ต่อจากปฏิสนธิกาลนั้นไป ปวตฺตยิ ํ ในปวัตติกาล จวนกาเล จ และในจุตกิ าล รูปเมว รูปนัน้ แล ปวตฺตติ วฺ า เป็นไป ตถา อย่างนั้น ภงฺคจุติวเสน คือ ด้วยอ�ำนาจภวังคจิตและจุติจิต นิรุชฺฌติ แล้วดับไป ฯ เตสูติ บทว่า เตสุ ได้แก่ พฺรหฺเมสุ บรรดาพวกพรหม คหิตปฏิสนฺธิเกสุ ที่มีปฏิสนธิอันตนถือเอาแล้ว ตาหิ ด้วยปฏิสนธิเหล่านั้น ฯ กปฺปสฺสาติ บทว่า กปฺปสฺส ได้แก่ อสงฺเขยฺยกปฺปสฺส อสงไขยกัป ฯ หิ ความจริง อายุปริจฺเฉโท การก�ำหนดอายุ พฺรหฺมปาริสชฺชาทีนํ ติณฺณํ ของพรหม ๓ จ�ำพวก มีพรหมปาริสัชชาเป็นต้น มหากปฺปวเสน ด้วยอ�ำนาจ มหากัป น สมฺภวติ ชื่อว่าย่อมไม่มีเลย ปริปุณฺณกปฺเป อสมฺภวโต เพราะ พรหมเหล่านั้นไม่เกิดมีในกัปที่บริบูรณ์ เอกกปฺเปปิ เตสํ อวินาสาภาเวน โดยเหตุที่พรหมเหล่านั้น จะไม่พินาศแม้ในกัปหนึ่ง ไม่มี ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอส โลโก โลกนี้ สตฺตวาเรสุ อคฺคินา วินสฺสติ พินาศด้วยไฟ ๗ ครั้ง อฏฺเม วาเร อุทเกน ในครั้งที่ ๘ พินาศด้วยน�้ำ ปุน สตฺตวาเรสุ อคฺคินา แล้วพินาศแม้ด้วยไฟอีก ๗ ครั้ง อฏฺเม วาเร อุทเกน ในครั้งที่ ๘ พินาศด้วยน�้ำ อิติ เอวมฺปิ รวมความดังกล่าวมานี้ อฏฺสุ อฏฺเกสุ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

203

ปริปุณฺเณสุ เมื่อครบหมวด ๘ ๘ ครั้งแล้ว ปจฺฉิเม วาเร ในครั้งสุดท้าย วาเตน วินสฺสติ โลกจึงพินาศด้วยลม ฯ ตตฺถ ในบรรดาชั้นปฐมฌานเป็นต้นเหล่านั้น (โลโก) โลก ปมชฺฌานตลํ อุปาทาย อคฺคินา (วินสฺสติ) พินาศด้วยไฟ กระทั่งถึงชั้นปฐมฌาน ทุติยตติยชฺฌานตลํ อุปาทาย อุทเกน (วินสฺสติ) พินาศด้วยน�้ำ กระทั่งถึงชั้นทุติยฌานและ ตติยฌาน จตุตฺถชฺฌานตลํ อุปาทาย วาเตน วินสฺสติ พินาศด้วยลม กระทั่งถึง ชั้นจตุตถฌาน อิติ แล ฯ วุตฺตมฺปิ เจตํ สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า สตฺตสตฺตคฺคนิ า วารา คราวทีโ่ ลกพินาศด้วยไฟ ๗ ครัง้ ๗ คราว อฏฺเม อฏฺโมทกา ทุก ๆ คราวที่ ๘ จึงพินาศด้วยน�ำ้ จตุสฏฺ ี ยทา ปุณฺณา เมื่อครบ ๖๔ คราวแล้ว เอโก วายุวโร สิยา จึงมีคราวลม คราวหนึ่ง ฯ อคฺคินาภสฺสรา เหฏฺา (โลกพินาศ) ด้วยไฟ ภายใต้แต่ชั้น อาภัสสรา อาเปน สุภกิณฺหโต ด้วยน�้ำ ภายใต้แต่ชั้นสุภกิณหา เวหปฺผลโต วาเตน ด้วยลม ภายใต้แต่ชั้นเวหัปผลา เอวํ โลโก วินสฺสติ โลกย่อมพินาศ อย่างนี้ ฯ จ ก็ ติณฺณมฺปิ ปมชฺฌานตลานํ เอกกปฺเปปิ อวินาสาภาวโต เพราะ ชั้นปฐมฌานแม้ทั้ง ๓ จะไม่พินาศแม้ในกัป ๑ ไม่มี ตสฺมา ฉะนั้น สกลกปฺเป เตสํ สมฺภโว นตฺถิ เหล่าพรหมปาริสัชชาเป็นต้นเหล่านั้น จึงไม่เกิดในกัปทั้งสิ้น อิติ เพราะเหตุนั้น เตสํ อายุปริจฺเฉโท ทฏฺพฺโพ พึงเห็นการก�ำหนดอายุของ เหล่าพรหมปาริสัชชาเป็นต้นนั้น อสงฺเขยฺยกปฺปวเสน ด้วยอ�ำนาจอสงไขยกัป ฯ ปน แต่ว่า ทุติยชฺฌานาทิตลโต ปฏฺาย ตั้งแต่ชั้นทุติยฌานเป็นต้นไป (อายุปริจฺเฉโท ทฏฺพฺโพ) พึงเห็นการก�ำหนดอายุ ปริปุณฺณสฺส มหากปฺปสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจมหากัปที่บริบูรณ์ น อสงฺเขยฺยกปฺปวเสน ไม่พึงเห็นด้วยอ�ำนาจ อสงไขยกัป ฯ


204

ปริเฉทที่ ๕

จ ก็ อสงฺเขยฺยกปฺโปติ ที่ชื่อว่าอสงไขยกัป ได้แก่ จตุตฺถภาโค ส่วนที่ ๔ อกฺขยสภาวสฺส มหากปฺปสฺส แห่งมหากัป ซึง่ มีสภาวะไม่หมดสิน้ ไป สาสปราสิโน ปริกฺขเยปิ แม้ในเมื่อกองเมล็ดพันธุ์ผักกาดหมดสิ้นไป โยชนายามวิตฺถารวเสน สาสปราสิโต วสฺสสตวสฺสสตจฺจเยน เอเกกวีชสฺส หรเณน โดยการน�ำพืชพันธุ์ ผักกาดออกจากกองเมล็ดพันธุ์ผักกาด ยาวกว้างด้านละ ๑ โยชน์ ๑๐๐ ปี ต่อ ๑ เมล็ด ฯ ปน ก็ โส อสงไขยกัปหนึ่งนั้น จตุ ส ฏฺ  อิ นฺ ตรกปฺ ปปฺ ปมาโณ โหติ มีประมาณ ๖๔ อันตรกัป เอวํ ปริฉินฺนสฺส อนฺตรกปฺปสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจ อันตรกัปทีท่ า่ นก�ำหนดไว้อย่างนีว้ า่ สตฺถโรคทุพภฺ กิ ขฺ านํ อญฺตรสวํ ฏฺเฏน พหูสุ วินาสมุปคเตสุ, อวสิฏฺสตฺตสนฺตานปฺปวตฺตกุสลกมฺมานุภาเวน ทสวสฺสโต ปฏฺาย อนุกฺกเมน อสงฺเขยฺยายุกปฺปมาเณสุ สตฺเตสุ เมื่อสัตว์เป็นอันมาก ถึงความพินาศอย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาศัสตราหรือโรค หรือทุพภิกขภัยแล้ว มีประมาณอายุเจริญขึน้ โดยล�ำดับ ตัง้ แต่ ๑๐ ปี จนถึงอสงไขยหนึง่ ด้วยอานุภาพ แห่งกุศลกรรมทีเ่ ป็นไปในสันดานของสัตว์ทยี่ งั เหลืออยู่ ปุน อธมฺมสมาทานวเสน กเมน ปริหายิตวฺ า ทสวสฺสายุเกสุ ชาเตสุ แล้วมีอายุเสือ่ มลงตามล�ำดับ ด้วยอ�ำนาจ สมาทานอธรรม จนถึงมีอายุ ๑๐ ปีอีก โรคาทีนมฺ ตรสํวฏฺเฏน สตฺตานํ วินาสปฺปตฺติ สัตว์ถึงความพินาศด้วยความพินาศอย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาโรค เป็นต้น ยาว อยเมโก อนฺตรกปฺโป ชั่วเวลาเท่านี้ เป็นอันตรกัปหนึ่ง ฯ (เกจิ) วทนฺติ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า วีสติ อนฺตรกปฺปปฺปมาโณ ประมาณ ๒๐ อันตรกัป ฯ (เทพเหล่าใด) อากาสานฺ จายตนํ อุปคจฺฉนฺติ เข้าถึงชัน้ อากาสานัญจายตนภูมิ อิติ อากาสานฺ จายตนูปคา เพราะเหตุนั้น เทพเหล่านั้น จึงชื่อว่าผู้เข้าถึงชั้น อากาสานัญจายตนภูมิ ฯ เอกเมวาติ บทว่า เอกเมว ความว่า ภูมิโต ชาติโต สมฺปยุตฺตธมฺมโต สงฺขารโต จ สมานเมว เสมอกันโดยภูมิ ชาติ สัมปยุตธรรม และสังขารนัน่ เอง ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

205

เอกชาติยนฺติ บทว่า เอกชาติยํ ได้แก่ เอกสฺมึ ภเว ในภพหนึ่ง ฯ อิทานิ บัดนี้ กมฺมํ จตูหากาเรหิ ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หวังจะ แสดงกรรมโดยอาการ ๔ อย่าง ชนกนฺตอิ าทิมารทฺธํ จึงเริม่ ค�ำว่า ชนกํ ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ ชนยตีติ ชนกํ ทีช่ อื่ ว่าชนกกรรม เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ยังวิบากให้เกิด ฯ อุปตฺถมฺเภตีติ อุปตฺถมฺภกํ ทีช่ อื่ ว่าอุปตั ถัมภกกรรม เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เข้าไปสนับสนุนวิบาก ฯ อุปคนฺตวฺ า ปีเฬตีติ อุปปีฬกํ ทีช่ อื่ ว่าอุปปีฬกกรรม เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เข้าไปเบียดเบียนวิบาก ฯ อุปคนฺตวฺ า ฆาเตตีติ อุปฆาตกํ ทีช่ อื่ ว่าอุปฆาตกกรรม เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เข้าไปบั่นรอนวิบาก ฯ ตตฺถ ในบรรดากรรมเหล่านั้น กุสลากุสลเจตนา กุศลจิตและอกุศลจิต วิ ป ากกตตฺ ต ารู ป านํ นิ พฺ พ ตฺ ติ ก า ซึ่ ง เป็ น ตั ว ให้ วิ บ ากและกตั ต ตารู ป บั ง เกิ ด ปฏิสนฺธิปฺปวตฺตีสุ ในปฏิสนธิกาลและปวัตติกาล ชนก นาม ชื่อว่าชนกกรรม ฯ กุสลากุสลกมฺมํ กศุ ลกรรมและอกุศลกรรม สยํ วปิ ากํ นพิ พฺ ตฺเตตุํ อสกฺโกนฺตมฺปิ แม้เมื่อไม่สามารถให้วิบากบังเกิดเองได้ กมฺมนฺตรสฺส จิรตรวิปากนิพฺพตฺตเน ปจฺจยภูตํ ก็เป็นปัจจัยแก่กรรมอื่นในการให้วิบากบังเกิดได้นานกว่า วิปากสฺเสว วา สุขทุกฺขภูตสฺส วิจฺเฉทปจฺจยานุปฺปตฺติยา อุปพฺรูหนปจฺจยุปฺปตฺติยา จ ชนกสามตฺถยิ านุรปู จิรตรปฺปวตฺตปิ จฺจยภูตํ หรือเป็นปัจจัยแก่ความเป็นไปนานกว่า อันเหมาะสมแก่ความสามารถแห่งชนกกรรม เพือ่ ความไม่เกิดขึน้ แห่งปัจจัยอันเป็น ตัวบัน่ รอน วิบากนัน่ เอง ซึง่ เป็นสุขและทุกข์ และเพือ่ ความเกิดขึน้ แห่งปัจจัยอันเป็น ตัวพอกพูนวิบาก ซึ่งเป็นสุขและทุกข์ อุปตฺถมฺภกํ นาม ชื่อว่าอุปัตถัมภกกรรม ฯ ยงฺกิฺจิ กมฺมํ กรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง จิรตรปฺปวตฺติวินิพนฺธกํ อันเป็น ตัวขัดขวางความเป็นไปได้นานกว่า กมฺมนฺตรชนิตวิปากสฺส แห่งวิบากที่กรรมอื่น ให้เกิดแล้ว พฺยาธิธาตุสมตาทินิมิตฺตวิพาธเนน โดยขัดขวางเครื่องหมายมีพยาธิ และความมีธาตุเสมอกันเป็นต้น อุปปีฬกํ นาม ชื่อว่าอุปปีฬกกรรม ฯ


206

ปริเฉทที่ ๕

ปน ส่วน กมฺมํ กรรม ตสฺส วิปากํ ปฏิพาหิตฺวา สย วิปากนิพฺพตฺตนกํ ที่ห้ามวิบากของกรรมที่ทุรพลนั้นแล้ว ให้วิบากบังเกิดเสียเอง ทุพฺพลสฺส กมฺมสฺส ชนกสามตฺถยิ ํ อุปหจฺจ วิจเฺ ฉทกปจฺจยุปปฺ าทเนน โดยให้เกิดปัจจัยอันเป็นตัวเข้าไป บั่นรอนความสามารถของกรรมที่ยังกรรมอันทุรพลให้เกิด อุปฆาตกํ นาม ชื่อว่า อุปฆาตกรรม ฯ หิ ความจริง ชนโกปฆาตกานํ อยํ วิเสโส ชนกกรรมและอุปฆาตกกรรม มีความแปลกกันดังนี้ คือ ชนกํ ชนกกรรม กมฺมนฺตรสฺส วิปากํ อนุปจฺฉนิ ทฺ ติ วฺ าว วิปากํ ชเนติ ไม่เข้าไปตัดวิบากของกรรมอื่นเลย ยังวิบากให้เกิด อุปฆาตกํ อุปฆาตกรรม อุปจฺเฉทกปุพฺพกํ มุ่งเข้าไปบั่นรอน ฯ อิทํ นี้ สนฺนิฏฺานํ เป็นความตกลงใจ อฏฺกถาสุ ในอรรถกถาทั้งหลาย ตาว ก่อน ฯ อปเร ปน อาจริยา วทนฺติ ส่วนอาจารย์อกี พวกหนึง่ กล่าวว่า อุปปีฬกกมฺมํ อุปปีฬกกรรม กมฺมนฺตรสฺส วิปากํ อนฺตรนฺตรา วิพาธติ ย่อมเบียดเบียนวิบาก ของกรรมอื่นในระหว่าง ๆ พหฺวาพาธตาทิปจฺจโยปสํหาเรน โดยน�ำปัจจัยมีความ เป็นผู้อาพาธหนักเป็นต้นเข้าไป ปน ส่วน อุปฆาตกํ อุปฆาตกกรรม ต สพฺพโส อุปจฺฉินฺทิตฺวา อฺ สฺส โอกาสํ เทติ เข้าไปตัดวิบากนั้น โดยประการทั้งปวง แล้วจึงให้โอกาสแก่กรรมอื่น น ปน สยํ วิปากนิพฺพตฺตกํ แต่อุปฆาตกกรรมนั้น ไม่ใช่เป็นตัวให้วบิ ากเกิดเสียเอง หิ ความจริง ชนกโต อิมสฺส วิเสโส ความแปลกกัน แห่งอุปฆาตกกรรมนีจ้ ากชนกกรรม สุปากโฏ ปรากฏชัดแล้ว เอวํ ด้วยประการฉะนี้ ฯ กิจฺจวเสนาติ บทว่า กิจฺจวเสน ได้แก่ ชนนุปตฺถมฺภนุปปีฬนุปจฺเฉทน- กิจฺจวเสน ด้วยอ�ำนาจท�ำหน้าที่ให้เกิด ช่วยอุปถัมภ์ เข้าไปเบียดเบียน และเข้าไป บั่นรอน ฯ ครุกนฺติ ที่ชื่อว่า ครุกกรรม ได้แก่ มหาสาวชฺชํ มหานุภาวฺ จ อฺ เน กมฺเมน ปฏิพาหิตุํ อสกฺกเุ ณยฺยกมฺมํ กรรมทีม่ โี ทษมาก และกรรมทีม่ อี านุภาพมาก อันกรรมอื่นไม่สามารถจะห้ามได้ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

207

อาสนฺนนฺติ ที่ชื่อว่า อาสันนกรรม ได้แก่ มรณกาเล อนุสฺสริตํ กรรมที่ บุคคลระลึกได้ในเวลาใกล้ตาย ตทา กตฺ จ และกรรมที่บุคคลท�ำในกาลนั้น ฯ อาจิณฺณนฺติ ที่ชื่อว่า อาจิณณกรรม ได้แก่ อภิณฺหโส กตํ กรรมที่บุคคล ท�ำเนือง ๆ เอกวารํ กตฺวาปิ วา อภิณฺหํ สมาเสวิตํ หรือกรรมที่บุคคลแม้ท�ำ ครั้งเดียว แต่ใฝ่ใจถึงเสมอ ฯ กตตฺตากมฺมนฺติ ที่ชื่อว่า กตัตตากรรม ได้แก่ ครุกาทิภาวํ อสมฺปตฺตํ กตมตฺตโตเยว กมฺมนฺติ วตฺตพฺพกมฺมํ กรรมที่ไม่ถึงความเป็นครุกกรรมเป็นต้น พึงเรียกว่า เป็นกรรมได้ เพราะเพียงเป็นกรรมที่บุคคลท�ำแล้วเท่านั้น ฯ ตตฺถ บรรดากรรม ๔ ประการนัน้ กุสลํ วา โหตุ อกุสลํ วา จะเป็นกุศลกรรม หรือจะเป็นอกุศลกรรมก็ตาม ครุกาครุเกสุ บรรดาครุกกรรมและไม่ใช่ครุกกรรม ยํ ครุกํ กรรมใด เป็นครุกกรรม อกุสลปกฺเข มาตุฆาตาทิกมฺมํ วา ในฝ่ายอกุศลกรรม ได้แก่ มาตุฆาตกรรมเป็นต้น กุสลปกฺเข มหคฺคตกมฺมํ วา หรือในฝ่ายกุศลกรรม ได้แก่ มหัคคตกรรม ตเทว ปมํ วิปจฺจติ กรรมนั้น นั่นแหละย่อมให้ผลก่อน สติปิ อาสนฺนาทิกมฺเม เมือ่ อาสันนกรรมเป็นต้นแม้ยงั มีอยู่ ปริตตฺ ํ อุทกํ โอตฺถริตฺ วา คจฺฉนฺโต มโหโฆ วิย เปรียบเหมือนห้วงน�ำ้ ใหญ่ ไหลท่วมห้วงน�ำ้ น้อยไป ฉะนัน้ ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น ตํ ครุกนฺติ วุจฺจติ กรรมนั้นท่านเรียกว่า ครุกกรรม ฯ ตสฺมึ อสติ เมื่อครุกกรรมนั้นไม่มี ทูราสนฺเนสุ บรรดากรรมไกลและ กรรมใกล้ ยํ อาสนฺนํ กรรมใดเป็นกรรมใกล้ มรณกาเล อนุสฺสริตํ คือ กรรม ที่ระลึกได้ในเวลาใกล้ตาย ตเทว วิปจฺจติ กรรมนั้นนั่นแหละ ย่อมให้ผลก่อน ฯ อาสนฺนกเต ในกรรมที่บุคคลท�ำในเวลาใกล้ตาย วตฺตพฺพเมว นตฺถิ ไม่มี ค�ำที่จะต้องพูดถึงเลย ฯ ตสฺมิมฺปิ อสติ แม้เมื่ออาสันนกรรมนั้นไม่มี อาจิณฺณานาจิณฺเณสุ บรรดา อาจิณณกรรมและมิใช่อาจิณณกรรม ยํ อาจิณฺณ กรรมใดเป็นอาจิณณกรรม สุสีลฺยํ วา ทุสฺสีลฺยํ วา คือ ความเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ก็ตาม ความเป็นผู้ทุศีลก็ตาม ตเทว ปมํ วิปจฺจติ กรรมนั้นนั่นแหละย่อมให้ผลก่อน ฯ


208

ปริเฉทที่ ๕

ปน ส่วน กตตฺตากมฺมํ กตัตตากรรม ลทฺธาเสวนํ ที่ได้อาเสวนะแล้ว ปฏิสนฺธึ อากฑฺฒติ ย่อมชักปฏิสนธิจิตมาได้ ปุริมานํ อภาเว ในเมื่อไม่มีกรรม ๓ ประการข้างต้น อิติ รวมความว่า ครุกํ สพฺพปมํ วิปจฺจติ ครุกกรรม ย่อมให้ผลก่อนกรรมทั้งปวง ฯ ครุเก อสติ เมื่อครุกกรรมไม่มี อาสนฺนํ อาสันนกรรมย่อมให้ผลก่อน ฯ ตสฺมึปิ อสติ แม้เมื่ออาสันนกรรมนั้นก็ไม่มี อาจิณฺณํ อาจิณณกรรม ย่อมให้ผลก่อน ฯ เตนาห ปากทานปริยาเยนาติ เพราะเหตุนั้น ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวว่า ปากทานปริยาเยน ดังนี้ ฯ อตฺโถ อธิบายความว่า วิปากทานานุกกฺ เมน ตามล�ำดับการให้ผล ฯ ปน ส่วน อภิธมฺมาวตาราทีสุ ในอรรถกถาทั้งหลายมีอภิธัมมาวตารเป็นต้น อาสนฺนโต อาจิณฺณํ ปมํ วิปจฺจนฺตํ กตฺวา วุตฺตํ ท่านอาจารย์ทั้งหลาย กล่าว อาจิณณกรรมว่าให้ผลก่อนอาสันนกรรม ฯ ปน เปรียบเสมือน โคคณปริปุณฺณสฺส วชสฺส ทฺวาเร วิวเฏ เมื่อบุคคล เปิดประตูคอกที่เต็มด้วยฝูงโคแล้ว โย วชทฺวารสฺส อาสนฺโน โหติ โคตัวใด อยูใ่ กล้ประตูคอก อนฺตมโส ทุพพฺ ลชรคฺคโวปิ โดยทีส่ ดุ แม้จะเป็นโคแก่ทรุ พลภาพ โสว ปมตรํ นิกขฺ มติ โคตัวนัน้ แหละก็ยอ่ มออกไปก่อน ปรภาเค ทมฺมควพลวคเวสุ สนฺเตสุ เมื่อโคหนุ่มและโคแข็งแรง ยังมีอยู่ในด้านหลัง ยถา ฉันใด อาสนฺนเมว อาสันนกรรมนั้นแหละ ปมํ วิปากํ เทติ ชื่อว่าย่อมให้ผลก่อน มรณกาลสฺส อาสนฺนตฺตา เพราะเป็นกรรมที่ใกล้เวลาตาย ครุกโต อฺ เสุ กุสลากุสเลสุ สนฺเตสุปิ เมือ่ กุศลกรรมและอกุศลกรรมอืน่ จากครุกกรรม แม้ยงั มีอยู่ เอวํ ฉันนัน้ อิติ เพราะเหตุนั้น อิธ ในปกรณ์นี้ ตํ ปมํ วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าว อาสันนกรรมนั้นไว้ก่อน ฯ ทิฏฺ ธมฺโม ปจฺจกฺขภูโต ปจฺจปุ ปฺ นฺโน อตฺตภาโว ตตฺถ เวทิตพฺพํ กรรมใด อันสัตว์พงึ เสวย ในทิฏฐธรรม คือ ในอัตภาพทีเ่ ห็นประจักษ์ ได้แก่ ทีเ่ ป็นปัจจุบนั นัน้


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

209

วิปากานุภวนวเสน ด้วยอ�ำนาจเสวยวิบาก อิติ ทิฏฺธมฺมเวทนียํ เพราะเหตุนั้น กรรมนั้น ชื่อว่าทิฏฐธัมมเวทนียกรรม ฯ อุปปชฺชติ วฺ า เวทิตพฺพํ กรรมอันสัตว์พงึ เกิดขึน้ เสวย อนนฺตรํ ในภพอันเป็น ล�ำดับติดต่อกัน ทิฏฺ ธมฺมโต จากภพปัจจุบนั อุปปชฺชเวทนียํ ชือ่ ว่าอุปปัชชเวทนียกรรม ฯ กมฺมํ กรรม เวทิตพฺพํ อันสัตว์พึงเสวย อปเร อปเร ในภพต่อ ๆ ไป ยตฺถกตฺถจิ อตฺตภาเว คือ ในอัตภาพใดอัตภาพหนึ่ง ทิฏฺธมฺมโต อฺ สฺมึ อื่นจากอัตภาพปัจจุบัน อปราปริยเวทนียํ ชื่อว่าอปราปริยเวทนียกรรม ฯ กมฺมํ กรรม อโหสิ เอว ได้มีเสร็จแล้ว น เอวํ วตฺตพฺพกมฺมํ คือ กรรมที่ ไม่สมควรพูดอย่างนี้ว่า ตสฺส วิปาโก อโหสิ วิบากของกรรมนั้นได้มีแล้ว อตฺถิ มี อยู่ ภวิสฺสติ วา หรือว่าจักมี อโหสิกมฺมํ ชื่อว่าอโหสิกรรม ฯ ตตฺถ บรรดากรรม ๔ อย่างนัน้ ปมเจตนา ชวนจิตดวงที่ ๑ พลวภาวปฺปตฺตา ซึ่งถึงภาวะที่มีพลังรุนแรง ปฏิปกฺเขหิ อนภิภูตตาย เพราะไม่ถูกธรรมที่เป็นข้าศึก ทั้งหลายครอบง�ำ ปจฺจยวิเสเสน ปฏิลทฺธวิเสสตาย จ และเพราะได้ความพิเศษ โดยปัจจัยพิเศษ สาติสยา หุตฺวา เป็นธรรมชาตดียิ่ง ตาทิสสฺส ปุพฺพาภิสงฺขารสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจความปรุงแต่งเบือ้ งต้นเช่นนัน้ ตสฺมเึ ยว อตฺตภาเว ผลทายินี มีปกติ ให้ผลในอัตภาพนัน้ นัน่ แหละ ทิฏฺ ธมฺมเวทนียํ นาม ชือ่ ว่าทิฏฐธัมมเวทนียกรรม ฯ หิ ความจริง สา ชวนจิตดวงที่ ๑ นั้น วุตฺตปฺปกาเรน พลวติ ชวนสนฺตาเน คุณวิเสสยุตฺเตสุ อุปการาปการวสปฺปวตฺติยา ปวตฺตสนฺตานูปรมาเปกฺขํ (กมฺมํ น โหติ จ) ไม่ใช่เป็นกรรม ที่เพ่งถึงการเข้าไปบั่นรอนความสืบต่อที่เป็นไป (ของ กรรมอื่นเสีย) ในความสืบต่อแห่งชวนจิตดวงที่มีพลังรุนแรง โดยประการดังกล่าว แล้ว เพราะความเป็นไปด้วยอ�ำนาจท�ำอุปการะหรือท�ำการเบียดเบียน ในท่าน ผู้ประกอบด้วยคุณวิเศษทั้งหลาย อาเสวนาลาเภน อปฺปวิปากตาย อิตรทฺวยํ วิย โอกาสลาภาเปกฺขํ กมฺมํ น โหติ จ และไม่ใช่เป็นกรรมที่เพ่งถึงการได้โอกาส เหมือนกับกรรมทั้งสอง (คือ อุปปัชชเวทนียกรรม และอปราปริยเวทนียกรรม) นอกนี้ เพราะเป็นกรรมที่มีวิบากน้อย โดยไม่ได้อาเสวนปัจจัย อิติ เพราะเหตุนั้น


210

ปริเฉทที่ ๕

สา ชวนจิตดวงที่ ๑ นัน้ เทติ จึงให้ อเหตุกผลํ วิบากทีเ่ ป็นอเหตุกะ ปวตฺตวิ ปิ ากมตฺตํ ซึ่งเป็นเพียงวิบากในปวัตติกาล อิเธว ในอัตภาพนี้เท่านั้น ปุปฺผมตฺตํ วิย เปรียบ เสมือนต้นไม้ที่มีเพียงดอก (แต่ไม่มีผล) ฉะนั้น ฯ ปน ส่วน สตฺตมชวนเจตนา ชวนจิตดวงที่ ๗ อตฺถสาธิกา ซึ่งให้ส�ำเร็จ ความต้องการ สนฺนิฏฺาปกเจตนาภูตา เป็นชวนจิตที่ให้ความต้องการมีการให้ทาน เป็นต้นส�ำเร็จได้ดว้ ยดี ปฏิลทฺธวิเสสา ได้ความวิเศษ วุตตฺ นเยน โดยนัยทีก่ ล่าวแล้ว วิปากทายินี มีปกติให้วิบาก อนนฺตรตฺตภาเว ในอัตภาพถัดไป อุปปชฺชเวทนียํ นาม ชื่อว่าอุปปัชชเวทนียกรรม ฯ จ ก็ สา ชวนจิตดวงที่ ๗ นั้น ปฏิสนฺธึ ทตฺวาว ครั้นให้ปฏิสนธิแล้ว ปวตฺติวิปากํ เทติ ก็ให้วิบากในปวัตติกาลด้วย ฯ ปน แต่ ปฏิสนฺธยิ า อทินนฺ าย เมือ่ ชวนจิตดวงที่ ๗ นัน้ ไม่ให้ปฏิสนธิเสียแล้ว (วจนํ) นตฺถิ ก็ไม่มีค�ำพูดว่า ปวตฺติวิปากํ เทติ ย่อมให้วิบากในปวัตวิติกาล ฯ หิ ความจริง จุตอิ นนฺตรํ (ฐาน) อันเป็นล�ำดับติดต่อกันแห่งจุติ อุปปชฺชเวทนียสฺส โอกาโส เป็นโอกาสของอุปปัชชเวทนียกรรม อาจริยา วทนฺติ อาจารย์ทั้งหลาย กล่าวไว้ว่า ปน ก็ ปฏิสนฺธิยา ทินฺนาย เมื่อชวนจิตดวงที่ ๗ นั้นให้ปฏิสนธิแล้ว (สา สตฺตมชวนเจตนา) ชวนจิตดวงที่ ๗ นั้น ชาติสเตปิ ปวตฺติวิปากํ เทติ ย่อมให้วิบากในปวัตติกาลได้ แม้ตั้ง ๑๐๐ ชาติ ฯ ปฺ จกเจตนา ชวนจิต ๕ ดวง อาทิปริโยสานเจตนานํ มชฺเฌ ปวตฺตา ทีเ่ ป็นไป (คือเกิด) ในท่ามกลางชวนจิตดวงแรกกับดวงสุดท้าย ทิฏฺ ธมฺมเวทนียาทิภาวํ อสมฺปตฺตา ซึง่ ไม่ถงึ ความเป็นทิฏฐธัมมเวทนียกรรมเป็นต้น ยถาวุตตฺ การณวิรหโต เพราะเว้นจากเหตุตามที่กล่าวแล้ว ปฏิสนฺธิปฺปวตฺตีสุ วิปากํ อภินิปฺผาเทนฺตี ให้วิบากส�ำเร็จได้ในปฏิสนธิกาลและปวัตติกาล ยทา กทาจิ โอกาสลาเภ สติ เมื่อมีการได้โอกาสในกาลใดกาลหนึ่ง วิปากทานสภาวสฺส อนุปจฺฉินฺนตฺตา เพราะเป็นกรรมที่มีสภาวะคือการให้วิบากยังไม่ถูกบั่นรอน อปราปรเวทนียํ นาม ชื่อว่าอปราปริยเวทนียกรรม ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

211

ปน อนึ่ง ปุริมกมฺมทฺวยํ กรรม ๒ อย่าง (คือ ทิฏฐธัมมเวทนียกรรมและ อุปปัชชเวทนียกรรม) เบือ้ งต้น สกสกกาลาตีตํ ทีล่ ว่ งกาลของตน ๆ ไปแล้ว (อโหสิกมฺมํ นาม) ชื่อว่าเป็นอโหสิกรรม ตติยมฺปิ จ และแม้อปราปริยเวทนียกรรมที่ ๓ อโหสิกมฺมํ นาม ก็ชื่อว่าเป็นอโหสิกรรมได้ สํสารปฺปวตฺติยา โวจฺฉินฺนาย ในเมื่อ ความเป็นไปแห่งสังสารวัฏขาดลงแล้ว ฯ ปากกาลวเสนาติ บทว่า ปากกาลวเสน ความว่า ปจฺจุปฺปนฺเน ตทนนฺตเร ยทากทาจีติ เอวํ ปุริมานํ ติณฺณํ ยถาปริจฺฉินฺนกาลวเสน ด้วยอ�ำนาจกาลตามที่ ก�ำหนดไว้ของกรรม ๓ อย่างข้างต้น อย่างนี้ คือ ในปัจจุบันกาล ในกาลถัดจาก ปัจจุบนั กาลนัน้ ไป ในกาลใดกาลหนึง่ อิตรสฺส ตกํ าลาภาววเสน จ และด้วยอ�ำนาจ ความไม่มีแห่งกาลตามที่ก�ำหนดนั้นของอโหสิกรรมนอกนี้ ฯ หิ ความจริง อโหสิกมฺมสฺส ตํโวหาโร อโหสิกรรม ย่อมมีการบัญญัติว่า อโหสิกรรมนั้น กาลาติกฺกมโตว เพราะล่วงเลยกาลนั่นเอง ฯ ปากฏฺานวเสนาติ บทว่า ปากฏฺานวเสน ได้แก่ วิปจฺจนภูมิวเสน ด้วย อ�ำนาจภูมิที่ให้ผล ฯ อิทานิ บัดนี้ ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หวังจะแสดง อกุสลาทิกมฺ มานํ กายกมฺมทฺวาราทิวเสน ปวตฺตึ ความเป็นไปแห่งอกุศลกรรมเป็นต้น ด้วย อ�ำนาจทวารแห่งกายกรรมเป็นอาทิ ตํนทิ เฺ ทสมุเขน จ เตสํ ปาณาติปาตาทิวเสน ทสวิธาทิเภทฺ จ และประเภทแห่งอกุศลกรรมเป็นต้นนั้นมี ๑๐ อย่างเป็นอาทิ ด้วยอ�ำนาจปาณาติบาตเป็นต้น โดยมุง่ แสดงถึงความเป็นไปแห่งอกุศลกรรมเป็นต้น ด้วยอ�ำนาจทวารแห่งกายกรรมเป็นอาทินั้น ตตฺถากุสลนฺติ อาทิ อารทฺธํ จึงเริ่ม ค�ำว่า ตตฺถากุสลํ ดังนี้เป็นต้น ฯ กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กรรมเป็นไปในกายทวาร กายกมฺมํ ชื่อว่า กายกรรม ฯ วจีกมฺมาทีนิ วจีกรรมเป็นต้น เอวํ ก็เหมือนกัน ฯ


212

ปริเฉทที่ ๕

ปาณสฺส สณิกํ ปติตุมทตฺวา อติ ว ปาตนํ การท�ำสัตว์มีชีวิตให้ตกไป โดยพลัน ไม่ให้ค่อย ๆ ตกไป ปาณาติปาโต ชื่อว่าปาณาติบาต ฯ กายวาจาหิ อทินนฺ สฺส อาทานํ การถือเอาสิง่ ของทีเ่ จ้าของไม่ได้ให้ดว้ ยกาย หรือวาจา อทินฺนาทานํ ชื่อว่าอทินนาทาน ฯ เมถุนวีตกิ กฺ มสงฺขาเตสุ กาเมสุ มิจฉฺ าจรณํ การประพฤติผดิ ในกามทัง้ หลาย กล่าวคือการล่วงละเมิดเมถุนธรรม กาเมสุมิจฺฉาจาโร ชื่อว่ากาเมสุมิจฉาจาร ฯ ตตฺถ ในอกุศลกรรมบถมีปาณาติบาตเป็นต้นนั้น พึงทราบวินิจฉัย ดังต่อไป นี้ ปาโณติ ที่ชื่อว่าปราณ โวหารโต สตฺโต โดยโวหาร ได้แก่ สัตว์ ปรมตฺถโต ชีวิตินฺทฺริยํ โดยปรมัตถ์ ได้แก่ ชีวีตินทรีย์ ฯ วธกเจตนา เจตนาคิดจะฆ่า ตสฺมึ ปาเณ ปาณสฺ ิ โน ของบุคคลผู้มี ความส�ำคัญในสัตว์มชี วี ติ นัน้ ว่าเป็นสัตว์มชี วี ติ ชีวติ นิ ทฺ รฺ ยิ ปุ จฺเฉทนปโยคสมุฏฺ าปิกา ซึง่ ให้เกิดความพยายามเข้าไปบัน่ รอนชีวติ นิ ทรีย์ ปาณาติปาโต ชือ่ ว่าปาณาติบาต ฯ เถยฺยเจตนา เจตนาคิดจะลัก ปรภณฺเฑ ตถาสฺ ิ โน ของบุคคลผู้มีความ ส�ำคัญในสิ่งของ ของผู้อื่นว่า เป็นเช่นนั้น ตทาทายกปโยคสมุฏฺาปิกา ซึ่งให้เกิด ความพยายามถือเอาสิ่งของ ของผู้อื่นนั้น อทินฺนาทานํ ชื่อว่าอทินนาทาน ฯ อคนฺ ต พฺ พ ฏฺ  านวี ติ กฺ ก มเจตนา เจตนาล่ ว งละเมิ ด ฐานะที่ ไ ม่ ค วรถึ ง กายทฺวารปฺปวตฺตา ซึ่งเป็นไปทางกายทวาร อสทฺธมฺมเสวนวเสน ด้วยอ�ำนาจ เสพอสัทธรรม กาเมสุมิจฺฉาจาโร นาม ชื่อว่ากาเมสุมิจฉาจาร ฯ (อาจริยา) วทนฺติ อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า สุราปานมฺปิ แม้การดื่มสุรา เอตฺเถว สงฺคยฺหติ ท่านก็รวมเข้าในบทว่า กาเมสุมจิ ฉาจาร นีเ้ หมือนกัน รสสงฺขาเต กาเม มิจฺฉาจารภาวโต เพราะเป็นการประพฤติผิดในกามกล่าวคือรส ฯ กายวิฺตฺตสิ งฺขาเต กายทฺวาเรติ ค�ำว่า กายวิญ ฺ ตฺตสิ งฺขาเต กายทฺวาเร (ในกายทวาร กล่าวคือกายวิญญัตติ) โดยอรรถว่า กมฺมทฺวาเร ในทวารแห่งกรรม กายทฺวารสงฺขาเต อันท่านเรียกว่ากายทวาร โจปนกายภาวโต เพราะเป็นกายทีไ่ หว กมฺมานํ ปวตฺตมิ ขุ ภาวโต จ และเพราะเป็นทางเป็นไปของกรรม กายวิฺตฺตสิ งฺขาเต


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

213

ที่ท่านเรียกว่ากายวิญญัติ กาเยน อธิปฺปาย วิฺาปนโต เพราะให้ผู้อื่นทราบ ความประสงค์ได้ด้วยกาย สยฺ จ กาเยน วิฺเยฺยตฺตา และเพราะตนเองทราบ ได้ด้วยกาย อภิกฺกมาทิชนกจิตฺตชวาโยธาตฺวาธิกกลาปสฺส วิการภูเต ได้แก่ อาการเปลี่ยนแปลงของรูปกลาปอันยิ่งด้วยวาโยธาตุ ซึ่งเกิดแต่จิตที่ให้เกิดอาการ ก้าวไปเป็นต้น สนฺถมฺภนาทีนํ สหการีการณภูเต อันเป็นเหตุแห่งสหชรูปทีก่ ระท�ำ การค�้ำจุนเป็นต้นร่วมกัน ฯ จ ก็ กิฺจาปิ ตํตํกมฺมสหคตจิตฺตุปฺปาเทเนว สา วิฺตฺติ ชนิยติ วิญญัตนิ นั้ อันจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยกรรมนัน้ ๆ เท่านัน้ แล ย่อมให้เกิดได้แม้กจ็ ริง ตถาปิ ถึงกระนัน้ ตสฺสา ปวตฺตมานาย เมือ่ วิญญัตนิ นั้ เป็นไปอยู่ ตํสมุฏฺ าปกกมฺมสฺส กายกมฺมาทิโวหาโร โหติ กรรมทีใ่ ห้วญ ิ ญัตนิ นั้ ตัง้ ขึน้ พร้อม ก็ยอ่ มมีโวหารเรียกได้วา่ กายกรรมเป็นต้น อิติ เหตุนั้น สา วิญญัตินั้น ลพฺภติ จึงได้ วตฺตุํ เพื่อจะกล่าว ตสฺส ปวตฺติมุขภาเวน โดยความเป็นทางเป็นไปของกรรมนั้น ฯ เอตฺตเกเยว วุตเฺ ต เมือ่ ท่านอาจารย์กล่าวแต่เพียงเท่านีว้ า่ กายทฺวาเร วุตตฺ โิ ต อิติ เพราะความเป็นไปในกายทวาร ดังนี้เท่านั้นแล้ว อยํ โจทนา ปจฺจุปฏฺเยฺย จะพึงปรากฏค�ำท้วงดังนีว้ า่ ยทิ เอวํ ถ้าเช่นนัน้ น สิยา ไม่ควรมี กมฺมทฺวารววตฺถานํ การก�ำหนดกรรมและทวาร ฯ หิ แท้ที่จริง กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กรรมที่เป็น ไปแล้วในกายทวาร กายกมฺมนฺติ วุจจฺ ติ ย่อมเรียกได้วา่ กายกรรม ฯ กายกมฺมสฺส จ ปวตฺติมุขภูตํ และทวารที่เป็นทางเป็นไปของกายกรรม กายทฺวารนฺติ วุจฺจติ ย่อมเรียกได้ว่ากายทวาร ฯ ปน อนึ่ง ปาณาติปาตาทิกํ วาจาย อาณาเปนฺตสฺส ส�ำหรับผู้ที่ใช้วาจา สั่งการท�ำปาณาติบาตเป็นต้น กายกมฺมํ วจีทฺวาเรปิ ปวตฺตติ ก็ย่อมมีกายกรรม เป็นไปแม้ในวิจีทวาร อิติ เหตุนั้น ทฺวาเรน กมฺมววตฺถานํ น สิยา จึงไม่ควร มีการก�ำหนดกรรมด้วยทวาร ตถา มุสาวาทาทึ กายวิกาเรน กโรนฺตสฺส และ ส�ำหรับผู้ใช้กายวิการ กระท�ำวจีทุจริตมีมุสาวาทเป็นต้น วจีกมฺมํ กายทฺวาเรปิ ปวตฺตติ ก็ย่อมมีวจีกรรมเป็นไปแม้ในกายทวาร อิติ เหตุนั้น กมฺเมน ทฺวารววตฺ


214

ปริเฉทที่ ๕

ถานมฺปิ น สิยา จึงไม่ควรมีแม้การก�ำหนดทวารด้วยกรรม อิติ ดังนี้ อิติ เพราะ เหตุนนั้ พาหุลลฺ วุตตฺ ยิ า ววตฺถานํ ทสฺเสตุํ (ท่านอาจารย์) เพือ่ จะแสดงการก�ำหนด (กรรม) ด้วยความเป็นไปแห่งกรรมมาก (ในทวาร) พาหุลลฺ วุตตฺ โิ ตติ วุตตฺ ํ จึงกล่าว ค�ำว่า พาหุลฺลวุตฺติโต ฯ อยเมตฺถ อธิปปฺ าโย ในบทว่า พาหุลลฺ วุตตฺ โิ ต นี้ มีอธิบายดังนีว้ า่ หิ ความจริง กายกมฺมํ กายกรรม กายทฺวาเรเยว พหุลํ ปวตฺตติ เป็นไปเฉพาะในกายทวารมาก อปฺป วจีทฺวาเร เป็นไปในวจีทวารน้อย ฯ ตสฺมา เพราะเหตุนั้น กายกมฺมภาโวปิ สิทฺโธ จึงชื่อว่าส�ำเร็จแม้ความเป็น กายกรรมได้ กายทฺวาเรเยว พหุลํ ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปมากเฉพาะในกายทวาร วนจรกาทีนํ วนจรกาทิภาโว วิย เปรียบเสมือนคนที่เที่ยวไปในป่าเป็นต้น ได้ชื่อ ว่าเป็นพรานป่าเป็นต้น ฉะนั้น ฯ ตถา อนึ่ง กายกมฺมเมว กายกรรมเท่านั้น เยภุยฺเยน กายทฺวาเร ปวตฺตติ ย่อมเป็นไปในกายทวารโดยมาก น อิตรานิ วจีกรรมและมโนกรรมนอกนี้หาเป็น ไปโดยมากไม่ ตสฺมา เพราะฉะนั้น กายกมฺมทฺวารภาโว สิทฺโธ จึงชื่อว่าส�ำเร็จ ความเป็นทวารแห่งกายกรรม กายกมฺมสฺส เยภุยฺเยน เอตฺเถว ปวตฺตนโต เพราะกายกรรมเป็นไปในกายทวารนีแ้ หละโดยมาก พฺราหฺมณคามาทีนํ พฺราหฺมณคามาทิภาโว วิย เปรียบเสมือนบ้านพราหมณ์เป็นต้นได้ชื่อว่าเป็นบ้านพราหมณ์ เป็นต้น ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น กมฺมทฺวารววตฺถาเน ในการก�ำหนดกรรมและ ทวาร นตฺถิ โกจิ วิพนฺโธ จึงไม่มีข้อห้ามอะไร ฯ มุสาติ บทว่า มุสา ได้แก่ อภูตํ วตฺถุํ เรื่องไม่จริง ฯ ตํ ตจฺฉโต วทนฺติ เอเตนาติ มุสาวาโท ทีช่ อื่ ว่ามุสาวาท เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องกล่าวเรื่องที่ไม่จริงนั้น โดยความเป็นจริงแห่งเหล่าชน ฯ ปิสติ สามคฺคิยํ สฺ จุณฺเณติ วิกฺขิปติ ปิยภาวํ สุฺํ กโรตีติ วา ปิสุณา ทีช่ อื่ ว่าปิสณ ุ วาจา เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ บด คือ ขยีค้ วามสามัคคีให้แหลกละเอียด หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ซัด คือ กระท�ำความเป็นที่รักให้สูญ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

215

อตฺตานมฺปิ ปรมฺปิ ผรุสํ กโรติ กกโจ วิย ขรสมฺผสฺสาติ วา ผรุสา ทีช่ อื่ ว่าผรุสวาจา เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ กระท�ำทัง้ ตนเอง ทัง้ ผูอ้ นื่ ให้หยาบกระด้าง หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีสัมผัสแข็งกระด้าง เปรียบเหมือนเลื่อย ฉะนั้น ฯ สํ สุขํ หิตฺ จ ผรติ วิสรติ วินาเสตีติ สมฺผํ ธรรมชาตที่ชื่อว่าสัมผะ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ แผ่ไป คือ สร้านไปเลยความดี ได้แก่ ความสุข และสิง่ ที่ เป็นประโยชน์เกื้อกูล คือ ท�ำความสุขและสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลให้เสียหายไป อตฺตโน จ ปเรสฺ จ อนุปการํ ยงฺกิฺจิ ได้แก่ ถ้อยค�ำอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่ เป็นอุปการะแก่ตนและชนเหล่าอื่น ฯ ตํ ปลปติ เอเตนาติ สมฺผปฺปลาโป ทีช่ อื่ ว่าสัมผัปปลาปะ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องกล่าวถ้อยค�ำที่ไม่เป็นประโยชน์นั้นแห่งชน ฯ ตตฺถ บรรดาวจีทจุ ริต ๔ มีมสุ าวาทเป็นต้นเหล่านัน้ เจตนา เจตนา อภูตวตฺถุํ ภูตโต ปรํ วิฺาเปตุกามสฺส ของผู้ต้องการจะให้ผู้อื่นทราบเรื่องที่ไม่เป็นจริง โดยเป็นเรื่องจริง ตถาวิฺาปนปโยคสมุฏฺาปิกา ซึ่งให้เกิดความพยายาม ในการให้ผู้อื่นทราบว่าเป็นจริง มุสาวาโท ชื่อว่ามุสาวาท ฯ โส มุสาวาทนั้น ปรสฺส อตฺถเภทกโรว เฉพาะที่ท�ำลายประโยชน์ของผู้อื่น อย่างเดียว กมฺมปโถ โหติ จึงเป็นกรรมบถ อิตโร นอกจากนี้ กมฺมเมว เป็นเพียง กรรมเท่านั้น ฯ สงฺกลิ ฏิ ฺ เจตนา เจตนาทีเ่ ศร้าหมอง ปรเภทกรวจีปโยคสมุฏฺ าปิกา ซึง่ ให้ เกิดวจีประโยคเป็นเครื่องท�ำให้ผู้อื่นให้แตกกัน ปเรสํ เภทกามตาย โดยต้องการ ให้ชนเหล่าอื่นแตกกันก็ตาม อตฺตโน ปิยกามตาย วา โดยต้องการให้ตนเป็นที่รัก ก็ตาม ปิสุณาวาจา ชื่อว่าปิสุณวาจา ฯ สาปิ แม้ปิสุณวาจานั้น ทฺวีสุ ภินฺเนสุเยว เมื่อชนทั้งสองฝ่ายแตกกันแล้ว เท่านั้น กมฺมปโถ โหติ จึงเป็นกรรมบถ ฯ


216

ปริเฉทที่ ๕

เอกนฺตผรุสเจตนา เจตนาที่หยาบโดยส่วนเดียว ปรสฺส มมฺมจฺเฉทกรวจี ปโยคสมุฏฺาปิกา ซึ่งให้เกิดวจีประโยคเป็นเครื่องท�ำการตัดความรักของผู้อื่น ผรุสวาจา ชื่อว่าผรุสวาจา ฯ หิ ความจริ ง จิ ตฺ ต สณฺ ห ตาย สติ เมื่ อ ยั ง มี ค วามที่ จิ ต เป็ น ธรรมชาต ละเอียดอ่อน ผรุสวาจา นาม ขึ้นชื่อว่าผรุสวาจา น โหติ หามีไม่ ฯ สงฺกิลิฏฺเจตนา เจตนาที่เศร้าหมอง สีตาหรณาทิอนตฺถวิฺาปนปโยคสมุฏฺาปิกา ซึ่งให้เกิดความพยายามในการให้ผู้อื่นทราบถึงเรื่องที่ไร้ประโยชน์ มี เ รื่ อ งน� ำ นางสี ด ามาเป็ น ต้ น สมฺ ผ ปฺ ป ลาโป ชื่ อ ว่ า สั ม ผั ป ปลาปะ ฯปน ก็ โส สัมผัปปลาปะนัน้ ปเรหิ ตสฺมึ อตฺเถ คหิเตเยว เมือ่ ชนเหล่าอืน่ รับรูเ้ นือ้ ความ นั้นเท่านั้น กมฺมปโถ จึงเป็นกรรมบถ ฯ วจีวิฺตฺติสงฺขาเต วจีทฺวาเรติ ข้อว่า วจีวิฺตฺติสงฺขาเต วจีทฺวาเร ความว่า กมฺมทฺวาเร ในทวารแห่งกรรม วจีทฺวารสงฺขาเต อันท่านเรียกว่าวจีทวาร โจปนวาจาภาวโต เพราะเป็นการเคลื่อนไหววาจา กมฺมานํ ปวตฺติมุขภาวโต จ และเพราะเป็นทางเป็นไปแห่งกรรมทั้งหลาย วจีวิฺตฺติสงฺขาเต ที่ท่านเรียกว่า วจีวิญญัติ วาจาย อธิปฺปายํ วิฺาเปติ สยฺ จ วาจาย วิฺายตีติ เพราะ อรรถวิเคราะห์วา่ ให้ผอู้ นื่ ทราบความประสงค์ดว้ ยวาจา และตนเองก็รคู้ วามประสงค์ ได้ด้วยวาจา วจีเภทกรปโยคสมุฏฺาปิกจิตฺตสมุฏฺานปวีธาตฺวาธิกกลาปสฺส วิการภูเต ได้แก่ การเปลีย่ นแปลงแห่งรูปกลาปทีย่ งิ่ ด้วยปฐวีธาตุ ซึง่ มีจติ คิดให้เกิด ความพยายามเป็นเครื่องเปล่งวาจาเป็นสมุฏฐาน ฯ พาหุลฺลวุตฺติโตติ อิทํ ค�ำว่า พาหุลฺลวุตฺติโน นี้ วุตฺตนยเมว มีนัย ดังกล่าวแล้วนั่นแล ฯ ปรสมฺปตฺตึ อภิมุขํ ฌายติ โลภวเสน จินฺเตตีติ อภิชฺฌา ที่ชื่อว่าอภิชฌา เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เพ่งมุ่งเฉพาะสมบัตขิ องผูอ้ นื่ ได้แก่ คิดถึงสมบัตขิ องผูอ้ นื่ ด้วยอ�ำนาจโลภะ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

217

พฺยาปชฺชติ หิตสุขํ เอเตนาติ พฺยาปาโท ทีช่ อ่ื ว่าพยาบาท เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องถึงความพินาศแห่งประโยชน์เกื้อกูลและความสุข ฯ มิจฉฺ า วิปรีตโต ปสฺสตีติ มิจฉฺ าทิฏฺ ิ ทีช่ อื่ ว่ามิจฉาทิฏฐิ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เห็นผิด คือ วิปริต ฯ ตตฺถ บรรดามโนทุจริตมีอภิชฌาเป็นต้นนั้น อโห วต อิทํ มม สิยาติ เอวํ ปรภณฺฑาภิชฺฌานํ การเพ่งถึงสิ่งของของผู้อื่นอย่างนี้ว่า ไฉนหนอ สิ่งของนี้ พึงเป็นของเรา อภิชฺฌา ชื่อว่าอภิชฌา ฯ สา อภิชฌานั้น กมฺมปโถ โหติ ย่อมเป็นกรรมบถ ปรภณฺฑสฺส อตฺตโน นมเนเนว เฉพาะโดยการน้อมสิ่งของ ของผู้อื่นมาเพื่อตน ฯ อโห วตายํ สตฺโต วินสฺเสยฺยาติ เอวํ มโนปโทโส ความคิดประทุษร้าย อย่างนี้ว่า ไฉนหนอ สัตว์นี้จะพึงพินาศ พฺยาปาโท ชื่อว่าพยาบาท ฯ นตฺถิ ทินฺนนฺติอาทินา นเยน วิปรีตทสฺสนํ ความเห็นผิดโดยนัยเป็นต้นว่า ทานที่บุคคลให้แล้วไม่มีผล ดังนี้ มิจฺฉาทิฏฺ ิ ชื่อว่ามิจฉาทิฏฐิ ฯ ปน แต่ เอตฺถ ในมิจฉาทิฏฐินี้ กมฺมปถเภโท กรรมบถขาดได้ นตฺถิกอเหตุกอกิริยทิฏฺหี ิเยว โดยนัตถิกทิฏฐิ อเหตุกทิฏฐิ และอกิริยทิฏฐิเท่านั้น ฯ ปน ส่วน ปปฺ โจ ความพิสดาร อิเมสํ องฺคาทิววตฺถาปนวเสน ด้วยอ�ำนาจ การก�ำหนดองค์เป็นต้นแห่งอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการเหล่านี้ ทฏฺพฺโพ บัณฑิต พึงค้นดูได้ ตตฺถ ตตฺถ อาคตนเยน โดยนัยที่มาแล้ว ในปกรณ์นั้น ๆ ฯ อฺ ตฺราปิ วิฺตฺติยาติ ข้อว่า อญฺตฺราปิ วิฺตฺติยา ได้แก่ กายวจีวิฺตฺตึ วินาปิ แม้เว้นกายวิญญัติและวจีวิญญัติ ฯ อตฺโถ อธิบายว่า ตํ อสมุฏฺาเปตฺวาปิ แม้ไม่ให้กายวิญญัติและวจีวิญญัตินั้นตั้งขึ้น ฯ จ ก็ เอตฺ ถ บรรดาอกุ ศ ลกรรมบถมี อ ภิ ช ฌาเป็ น ต้ น นี้ อภิ ชฺ ฌ าทโย มโนทุจริตมีอภิชฌาเป็นต้น วิฺตฺตสิ มุฏฺ าปกจิตตฺ สมฺปยุตตฺ า ซึง่ สัมปยุตด้วยจิต อันให้เกิดวิญญัติ เจตนาปกฺขิกาว โหนฺติ ย่อมเป็นไปในฝ่ายเจตนาอย่างเดียว ฯ


218

ปริเฉทที่ ๕

โทสมูเลน ชายนฺตีติ ข้อว่า โทสมูเลน ชายนฺติ ความว่า ปาณาติบาต ๑ ผรุสวาจา ๑ พยาบาท ๑ ชายนฺติ ย่อมเกิด โทสสงฺขาตมูเลน ด้วยเหตุเป็นมูลราก กล่าวคือโทสะ โทสมูลกจิตเฺ ตน วา หรือด้วยจิตทีม่ โี ทสะเป็นมูล สหชาตาทิปจฺจเยน โดยสหชาตปัจจัยเป็นต้น น โลภมูลาทีหิ หาเกิดด้วยเหตุอนั เป็นมูลรากมีโลภมูล เป็นต้นไม่ ฯ หิ ความจริง ราชาโน พระราชาทัง้ หลาย หสมานาปิ แม้กำ� ลังทรงพระสรวลอยู่ วธํ อาณาเปนฺติ ก็ทรงรับสั่งให้ประหารได้ โทสจิตฺเตเนว ด้วยพระหทัยที่มีโทสะ เป็นมูลนั่นเอง ฯ ผรุสวาจาพฺยาปาเทสุปิ แม้ในผรุสวาจาและพยาบาท ตถา ยถารหํ ทฏฺพฺพํ ก็พึงเห็นถ้อยค�ำตามสมควรอย่างนั้นเหมือนกัน ฯ มิจฺฉาทสฺสนสฺส อภินิวิสิตพฺพวตฺถูสุ โลภปุพฺพงฺคมเมว อภินิวิสนโต เพราะความเห็นผิด ยึดมัน่ ในวัตถุทพี่ งึ ยึดมัน่ ทัง้ หลาย มีโลภะเป็นตัวน�ำหน้านัน่ เอง อาห มิจฺฉาทิฏฺ ิ จ โลภมูเลนาติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวไว้ว่า มิจฺฉาทิฏฺิ จ โลภมูเลน ดังนี้ ฯ เสสานิ ฯเปฯ สมฺภวนฺตีติ ข้อว่า เสสานิ ฯเปฯ สมฺภวนฺติ ความว่า ตาว อันดับแรก โย ผู้ใด อตฺตพนฺธุปริตฺตานาทิปโยชนํ สนฺธาย มุ่งประโยชน์ มีการป้องกันตนเองและพวกพ้องเป็นต้น หรติ ลักเอา อภิมตํ วา วตฺถุํ สิ่งของ ที่ตนต้องการก็ตาม อนภิมตํ วา ไม่ต้องการก็ตาม อทินฺนาทานํ อทินนาทาน ตสฺส ของผูน้ นั้ โหติ ย่อมมี โลภมูเลน เพราะโลภมูล อทินนาทาน เวรนิยยฺ านตฺถํ หรนฺตสฺส ของผู้ที่ลักของผู้อื่นเพื่อจะแก้แค้น โทสมูเลน ย่อมมีเพราะโทสมูล ฯ อทินนาทาน ปรสนฺตกํ หรนฺตานํ ราชูนํ ของพระราชาทั้งหลาย ผู้ริบเอา สมบัติของผู้อื่นไป ทุฏฺนิคฺคหตฺถํ เพื่อจะข่มคนชั่ว นีติปากปฺปมาณโต ตาม บทบัญญัติพระธรรมนูญก็ดี อทินนาทาน พฺราหฺมณานฺ จ สพฺพมิทํ พฺราหฺมณานํ ราชูหิ ทินฺนํ เตสํ ปน สพฺพทุพฺพลภาเวน อฺ เ ปริภุฺชนฺติ อตฺตสนฺตกเมว พฺราหฺมณา


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

219

ปริภ ุ ฺ ชนฺตตี อิ าทีนิ วตฺวา สกสกสฺ าย เอว ยงฺก ิ ฺ จิ หรนฺตานํ ของพราหมณ์ ทัง้ หลาย ผูก้ ล่าวว่า สิง่ ของทัง้ หมดนี้ ในหลวงได้พระราชทานไว้แล้วแก่พวกพราหมณ์ แต่ชนพวกอื่นพากันใช้สอย เพราะพวกพราหมณ์เหล่านั้นมีก�ำลังอ่อนแอกว่าคน ทุกจ�ำพวก พวกพราหมณ์ ย่อมใช้สอยเฉพาะของตน ดังนี้เป็นต้น แล้วน�ำสิ่งใด สิง่ หนึง่ ไป ด้วยความส�ำคัญว่าเป็นของ ของตนนัน่ เองก็ดี อทินนาทาน กมฺมผลสมฺพนฺธาปวาทีนฺ จ ของพวกที่มักพูดปฏิเสธความเกี่ยวเนื่องกันแห่งกรรมและ ผลแห่งกรรมก็ดี โมหมูเลน ย่อมมีเพราะโมหมูล ฯ มุสาวาทาทีสุปิ แม้ในวจีทุจริตมีมุสาวาทเป็นต้น เอวํ ยถารหํ โยเชตพฺพํ ก็พึงประกอบถ้อยค�ำตามสมควรอย่างนี้เหมือนกัน ฯ เอตํ กามาวจรกุศลกรรมนี้ ฉสุ อารมฺมเณสุ ติวธิ กมฺมวเสน อุปปฺ ชฺชมานมฺปิ แม้เกิดขึ้นอยู่ในอารมณ์ ๖ ด้วยอ�ำนาจกรรม ๓ อย่าง ติวิธนิยเมน อุปฺปชฺชติ ก็ย่อมเกิดขึ้น โดยการก�ำหนด ๓ อย่าง อิติ เพราะเหตุนั้น อาห ตถา ทานสีลภาวนาวเสนาติ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์จงึ กล่าวว่า ตถา ทานสีลภาวนาวเสน ดังนี้ ฯ หิ ความจริง ทสธา นิทฺทิสิยมานานํ บรรดาบุญกิริยาวัตถุที่แสดงไว้ ๑๐ ประการ สงฺคโห ท่านรวบรวม ทฺวนิ นฺ ํ ปัตติทานมัยกับปัตตานุโมทนามัยทัง้ ๒ ปุน ทฺวนิ นฺ ํ อปจายนมัยกับเวยยาวัจจมัยทัง้ ๒ อีก ติณณ ฺ ฺ จ และธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย กับทิฏฐุชุกรรมทั้ง ๓ ทานสีลาทีสุ ตีเสฺวว เข้าในบุญกิริยาวัตถุ ๓ ประการมีทานและศีลเป็นต้น ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ ปน แต่ การณํ เหตุ เอตฺถ ในการรวบรวมไว้ในบุญกิริยาวัตถุ ๓ ประการ ปวกฺขาม ข้าพเจ้าจักกล่าว ปรโต ต่อไป ฯ ปน ส่วน ฉฬารมฺมเณสุ ติวิธกมฺมทฺวาเรสุ จ เนสํ ปวตฺติโยชนา วาจา เป็นเครื่องประกอบความเป็นไปแห่งบุญกิริยาวัตถุเหล่านั้น ในอารมณ์ ๖ และ ในทวารแห่งกรรม ๓ อย่าง คเหตพฺพา พึงค้นดู อฏฺกถาทีสุ อาคตนเยน ตามนัยที่มาแล้วในอรรถกถาเป็นต้น ฯ


220

ปริเฉทที่ ๕

ทิยฺยติ เอเตนาติ ทานํ ที่ชื่อว่าทาน เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่อง อันบุคคลให้ ปริจฺจาคเจตนา ได้แก่ เจตนาเป็นเครื่องบริจาค ฯ เสเสสุปิ แม้ในศีลเป็นต้นที่เหลือ เอวํ ก็มีนัยนี้เหมือนกัน ฯ สีลตีติ สีลํ ที่ชื่อว่าศีล เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า คงที่ ฯ สีลติ สมฺมา ทหติ จิตฺตํ เอเตนาติ สีลํ ที่ชื่อว่าศีล เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องตั้งมั่น คือ ด�ำรงอยู่โดยชอบแห่งจิต ฯ อตฺโถ อธิบายว่า (จิตฺตํ) จิต กายวจีกมฺมานิ สมฺมา ทหติ สมฺมา เปติ ตั้งกายกรรมและวจีกรรมได้โดยชอบ คือ วางกายกรรมและวจีกรรมไว้โดยชอบ ฯ วา อีกอย่างหนึง่ สีลยติ อุปธาเรตีติ สีลํ ทีช่ อื่ ว่าศีล เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ รองรับไว้ คือ เข้าไปรองรับไว้ ฯ ปน ก็ กุสลานํ อธิฏฺานภาโว ภาวะเป็นที่ตั้งอาศัยแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย อุปธารณํ ชื่อว่าความเข้าไปรองรับไว้ เอตฺถ ในที่นี้ ฯ ตถาหิ วุ ตฺ ตํ สมจริ ง ดั ง พระด� ำ รั ส ที่ พ ระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ตรั ส ไว้ สี เ ล ปติฏฺายาติอาทิ ว่า สีเล ปติฏฺาย ดังนี้เป็นต้น ฯ ภาเวติ กุสลธมฺเม อาเสวติ วฑฺเฒติ เอตายาติ ภาวนา ที่ชื่อว่าภาวนา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องให้กุศลธรรมทั้งหลายเกิดมี คือ เสพคุ้น ได้แก่ ท�ำกุศลธรรมทั้งหลายให้เจริญแห่งชน ฯ อปจายติ ปูชาวเสน สามีจึ กโรติ เอตายาติ อปจายนา ที่ชื่อว่าอปจายน ะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องประพฤติอ่อนน้อม คือ ท�ำความชอบยิ่งด้วย อ�ำนาจการบูชาแห่งชน ฯ ตํตํกิจฺจกรเณ พฺยาวฏสฺส ภาโว ภาวะแห่งบุคคลผู้ขวนขวายในการกระท�ำ กิจนั้น ๆ เวยฺยาวจฺจํ ชื่อว่าเวยยาวัจจะ ฯ อตฺตโน สนฺตาเน นิพฺพตฺตา ปตฺติ ทิยฺยติ เอเตนาติ ปตฺติทานํ ที่ชื่อว่า ปัตติทาน เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องอันชนให้ส่วนบุญที่บังเกิดในสันดาน ของตน ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

221

ปตฺตึ อนุโมทติ เอตายาติ ปตฺตานุโมทนา ที่ชื่อว่าปัตตานุโมทนา เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องพลอยชื่นชมส่วนบุญแห่งชน ฯ ธมฺมํ สุณนฺติ เอเตนาติ ธมฺมสฺสวนํ ทีช่ อื่ ว่าธัมมัสสวนะ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องฟังธรรมแห่งเหล่าชน ฯ ธมฺมํ เทเสนฺติ เอตายาติ ธมฺมเทสนา ทีช่ อื่ ว่าธัมมเทสนา เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องแสดงธรรมแห่งเหล่าชน ฯ ทิฏฺยิ า อุชุกรณํ การท�ำความเห็นให้ตรง ทิฏฺุชุกมฺมํ ชื่อว่าทิฏฐุชุกรรม ฯ ตตฺถ บรรดาบุญกิรยิ าวัตถุมที านเป็นต้นนัน้ เจตนา เจตนา สานุสยสนฺตานวโต ของบุคคลผู้มีสันดานที่ยังมีอนุสัย อตฺตโน วิชฺชมานวตฺถุปริจฺจชนวสปฺปวตฺตา ซึ่งเป็นไปด้วยอ�ำนาจการสละสิ่งของที่มีอยู่ของตน ปเรสํ ปูชานุคฺคหกามตาย เพื่อต้องการจะบูชาหรืออนุเคราะห์ชนเหล่าอื่น ทานํ นาม ชื่อว่าทานมัย ฯ ปุพพฺ ปจฺฉาภาคเจตนา เจตนาอันเป็นไปในส่วนเบือ้ งต้นและภายหลัง ปวตฺตา ซึ่งเป็นไป ทานวตฺถุปริเยสนวเสน ด้วยอ�ำนาจแสวงหาทานวัตถุ ทินฺนสฺส โสมนสฺสจิตฺเตน อนุสฺสรณวเสน จ และด้วยอ�ำนาจระลึกถึงทานวัตถุที่ตนให้แล้ว ด้วยจิตที่สหรคตด้วยโสมนัส คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สโมธานํ การรวมลง เอตฺเถว ในทานมัยนี้เหมือนกัน ฯ เสเสสุปิ แม้ในบุญกิริยาวัตถุมีศีลเป็นต้นที่เหลือ เอวํ ยถารหํ ทฏฺพฺพํ ก็พึงเห็นถ้อยค�ำตามสมควรเหมือนกัน ฯ ปวตฺตเจตนา เจตนาทีเ่ ป็นไปแล้ว นิจจฺ สีลาทิวเสน ปฺ จ อฏฺ ทส วา สีลานิ สมาทิยนฺตสฺส ปริปูเรนฺตสฺส ของบุคคลผู้สมาทานศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ด้วยอ�ำนาจนิจศีลเป็นต้น บ�ำเพ็ญอยู่ก็ดี อสมาทิยิตฺวาปิ สมฺปตฺตกายวจีทุจฺจริต โต วิรมนฺตสฺส ปพฺพชฺชนฺตสฺส แม้มไิ ด้สมาทาน แต่งดเว้นจากกายทุจริตและวจีทจุ ริต ที่มาประจวบเข้าก็ดี อุปสมฺปทมาฬเก สํวรํ สมาทิยนฺตสฺส จตุปาริสุทฺธสีลํ ปริปูเรนฺตสฺส จ ผู้สมาทานสังวรในโรงอุโบสถ บ�ำเพ็ญปาริสุทธิศีล ๔ ให้บริบูรณ์ ก็ดี สีลํ นาม ชื่อว่าศีลมัย ฯ


222

ปริเฉทที่ ๕

โคตฺรภูปริโยสานเจตนา เจตนาทีม่ โี คตรภูเป็นทีส่ ดุ จตฺตาฬีสาย กมฺมฏฺาเนสุ ขนฺธาทีสุ จ ภูมีสุ ปริกมฺมสมฺมสนวสปฺปวตฺตา ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจการบริกรรม ในกัมมัฏฐาน ๔๐ และการพิจารณาในภูมิธรรมมีขันธ์เป็นต้น อปฺปนํ อปฺปตฺตา ยังไม่ถึงอัปปนา ภาวนา นาม ชื่อว่าภาวนามัย ฯ นิรวชฺชวิชฺชาทิปริยาปุณนเจตนาปิ แม้เจตนาเป็นเครื่องเล่าเรียนวิชาที่ ปราศจากโทษเป็นต้น เอตฺเถว สโมธานํ คจฺฉติ ก็ย่อมถึงการรวมลงในภาวนามัย นี้เหมือนกัน ฯ พหุมานกรณเจตนา เจตนาเป็นเครือ่ งกระท�ำความนับถือมาก วยสา คุเณหิ จ เชฏฺานํ ต่อท่านผู้เจริญที่สุดทั้งหลายโดยวัยและโดยคุณ ปจฺจุปฏฺานอาสนาภินหิ ารวิธนิ า ด้วยวิธมี กี ารลุกรับและการน�ำเอาอาสนะมาให้ อสงฺกลิ ฏิ ฺ ชฺฌาสเยน โดยอัธยาศัยที่ไม่เศร้าหมอง จีวราทีสุ ปจฺจาสารหิเตน ซึ่งไม่หวังการตอบแทน ในปัจจัย ๔ มีจีวรเป็นต้น อปจายนํ นาม ชื่อว่าอปจายนมัย ฯ ตตํ กํ จิ จฺ กรณเจตนา เจตนาเป็นเครือ่ งช่วยท�ำกิจนัน้ ๆ เตสเมว แก่ทา่ นผูเ้ จริญ ทีส่ ดุ เหล่านัน้ นัน่ แหละ คิลานานฺ จ และแก่ผปู้ ว่ ยไข้ทงั้ หลาย ยถาวุตตฺ ชฺฌาสเยน โดยอัธยาศัยตามที่กล่าวแล้ว เวยฺยาวจฺจํ นาม ชื่อว่าเวยยาวัจจมัย ฯ อตฺตโน สนฺตาเน นิพพฺ ตฺตสฺส ปุฺสฺส ปเรหิ สาธารณภาวปจฺจาสึสนเจตนา เจตนาเป็นเครื่องมุ่งหวังถึงความที่บุญซึ่งบังเกิดแล้วในสันดานของตน เป็นธรรมชาตทั่วไปด้วยชนเหล่าอื่น ปตฺติทานํ นาม ชื่อว่าปัตติทานมัย ฯ อพฺภานุโมทนเจตนา เจตนาเป็นเครื่องพลอยยินดียิ่ง ปเรหิ ทินฺนสฺส อทินฺนสฺสาปิ วา ปุฺสฺส ถึงบุญที่บุคคลเหล่าอื่นให้แล้ว หรือแม้ที่พวกเขา ยังมิได้ให้ มจฺเฉรมลวินสิ สฺ เฏน จิตเฺ ตน ด้วยจิตทีป่ ราศจากมลทินคือความตระหนี่ ปตฺตานุโมทนา นาม ชื่อว่าปัตตานุโมทนามัย ฯ หิตูปเทสสวนเจตนา เจตนาเป็นเครื่องฟังสิ่งที่อ้างถึงประโยชน์เกื้อกูล อสงฺกิลิฏฺชฺฌาสเยน ด้วยอัธยาศัยที่ไม่เศร้าหมอง เอวํ อตฺตโน ปเรสํ วา หิตผรณวสปฺปวตฺเตน ซึ่งเป็นไปด้วยอ�ำนาจแผ่ประโยชน์เกื้อกูลแก่ตนเองหรือ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

223

แก่ชนเหล่าอื่นอย่างนี้ว่า เอวมิมํ ธมฺมํ สุตฺวา ตตฺถ วุตฺตนเยน ปฏิปชฺชนฺโต โลกิยโลกุตฺตรคุณวิเสสสฺส ภาคี ภวิสฺสามิ เราฟังธรรมนี้อย่างนี้แล้ว ปฏิบัติ อยู่ในธรรมนั้น โดยนัยดังกล่าวแล้วจักเป็นผู้มีส่วนแห่งคุณวิเศษ อันเป็นโลกิยะ และโลกุตตระ พหุสฺสุโต วา หุตฺวา ปเรสํ ธมฺมเทสนาทีหิ อนุคฺคณฺหิสฺสามิ หรือว่าเราจักเป็นพหูสตู อนุเคราะห์ชนเหล่าอืน่ ด้วยการแสดงธรรมเป็นต้น ธมฺมสฺสวนํ นาม ชื่อว่าธัมมัสสวนมัย ฯ นิรวชฺชวิชฺชาทิสวนเจตนาปิ ถึงเจตนาซึ่งเป็นเครื่องฟังวิชาที่ปราศจากโทษ เป็นต้น สงฺคยฺหติ อันบัณฑิตก็รวมเข้า เอตฺเถว ในธัมมัสสวนมัยนี้เหมือนกัน ฯ หิตูปเทสเจตนา เจตนาเป็นเครื่องแสดงอ้างถึงสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูล โยนิโสมนสิการโต โดยโยนิโสมนสิการ ลาภสกฺการาทินิรเปกฺขตาย โดยไม่เพ่ง เล็งถึงลาภและสักการะเป็นต้น ธมฺมเทสนา นาม ชื่อว่าธัมมเทสนามัย ฯ นิรวชฺชวิชฺชาทิอุปทิสนเจตนาปิ แม้เจตนาเป็นเครื่องแสดงอ้างถึงวิชาที่ ปราศจากโทษเป็นต้น เอตฺเถว สงฺคหํ คจฺฉติ ก็ถึงการรวมเข้าในธัมมเทสนามัยนี้ เหมือนกัน ฯ ทิฏฺยิ า อุชุกรณํ การกระท�ำความเห็นให้ตรง อตฺถิ ทินฺนนฺติอาทินยปฺปวตฺตสมฺมาทสฺสนวเสน ด้วยอ�ำนาจสัมมาทิฏฐิที่เป็นไปโดยนัยเป็นต้นว่า ทานที่บุคคลให้แล้วมีผลจริง ดังนี้ ทิฏฺุชุกมฺมํ นาม ชื่อว่าทิฏฐุชุกรรม ฯ ถามว่า ยทิ เอวํ เมื่อเป็นเช่นนั้น าณวิปฺปยุตฺตจิตฺตุปฺปาทสฺส ทิฏฺุชุ- กมฺมปุฺกิริยาภาโว น ลพฺภติ ย่อมไม่ได้ความที่จิตตุปบาทที่เป็นญาณวิปยุต เป็นบุญกิริยาวัตถุ คือ ทิฏฐุชุกรรม ฯ ตอบว่า โน น ลพฺภติ ย่อมไม่ได้หามิได้ ปุริมปจฺฉิมเจตนานมฺปิ ตํตํปุฺกิรยิ าเสฺวว สงฺคณฺหนโต เพราะรวมแม้เจตนาดวงทีเ่ กิดก่อนและดวงทีเ่ กิดภายหลัง เข้าในบุญกิริยาวัตถุนั้น ๆ นั่นเอง ฯ หิ ความจริง อุชกุ รณเวลาย ในเวลาท�ำความเห็นให้ตรง าณสมฺปยุตตฺ เมว จิตฺตํ โหติ จิตย่อมเป็นญาณสัมปยุต เท่านั้น กิฺจาปิ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น


224

ปริเฉทที่ ๕

ปุริมปจฺฉาภาเค ในกาลเบื้องต้นและกาลภายหลัง าณวิปฺปยุตฺตมฺปิ สมฺภวติ จิตย่อมเป็นญาณวิปยุตได้บ้าง อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺสาปิ ทิฏฺุชุกมฺมภาโว แม้ความที่จิตเป็นญาณวิปยุตนั้นเป็นทิฏฐุชุกรรม อุปปชฺชติ จึงถูกต้อง อิติ แล ฯ อลํ พอกันที อติปปฺ เจน ไม่ต้องให้พิศดารมากนัก ฯ ปน ก็ อิเมสุ ทสสุ บรรดาบุญกิรยิ าวัตถุ ๑๐ ประการมีทานมัยเป็นต้นเหล่านี้ ปตฺตทิ านานุโมทนา ปัตติทานมัยกับปัตตานุโมทนามัย คจฺฉนฺติ ชือ่ ว่าย่อมถึง สงฺคหํ การรวมเข้า ทาเน ในทานมัย ตํสภาวตฺตา เพราะมีภาวะเหมือนกับทานมัยนัน้ ฯ หิ ความจริง ทานมฺปิ แม้ทานมัย ปฏิปกฺขํ ก็ยอ่ มเป็นข้าศึก อิสสฺ ามจฺเฉรานํ ต่ออิสสาเจตสิกและมัจฉริยเจตสิก เอเตปิ ปัตติทานมัยกับปัตตานุโมทนามัย แม้เหล่านั้น ก็เป็นข้าศึกต่ออิสสาเจตสิกและมัจฉริยเจตสิก ตสฺมา เพราะเหตุนั้น เต ปัตติทานมัยกับปัตตานุโมทนามัยเหล่านั้น สงฺคยฺหนฺติ ท่านอาจารย์จึงรวมเข้า ทานมยปุฺกิรยิ าวตฺถมุ หฺ ิ ในทานมัยบุญกิรยิ าวัตถุ เอกลกฺขณตฺตา เพราะมีลกั ษณะ เป็นอย่างเดียวกัน สมานปฏิปกฺขตาย โดยมีขา้ ศึกเหมือนกัน ฯ อปจายนเวยฺยาวจฺจา อปจายนมัยและเวยยาวัจจมัย สงฺคยฺหนฺติ ท่านอาจารย์รวมเข้า สีลมยปุฺเ ในศีลมัยบุญกิริยาวัตถุ จาริตฺตสีลภาวโต เพราะความเป็นจาริตศีล ฯ อาจริยธมฺมปาลตฺเถเรน วุตฺตํ ท่านอาจารย์ธรรมปาลเถระกล่าวว่า ปน ก็ เทสนาสวนทิฏฺุชุตา ธรรมเทสนามัย ธัมมัสสวนมัย และทิฏฐุชุกรรม คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ การรวมเข้า ภาวนามเย ในภาวนานัยบุญกิริยาวัตถุ กุสลธมฺมาเสวนโต เพราะเป็นการส้องเสพกุศลธรรม ฯ อปเร ปน วทนฺติ แต่อาจารย์อีกพวกหนึ่งกล่าวว่า เทเสนฺโต บุคคล ผู้แสดง สุณนฺโต จ และสดับอยู่ เทสนานุสาเรน าณํ เปเสตฺวา ส่งญาณไป ตามแนวแห่งเทศนา ลกฺขณานิ ปฏิวิชฺฌ ปฏิวิชฺฌ เทเสติ สุณาติ จ ย่อมแสดง และสดับธรรมรูแ้ จ้งไตรลักษณ์ ตานิ จ เทสนาสวนานิ ปฏิเวธธมฺมเมว อาหรนฺติ และธรรมเทสนากับธัมมัสสวนะเหล่านั้นจึงชื่อว่าย่อมน�ำปฏิเวธธรรมมาได้แน่นอน


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

225

อิติ เพราะเหตุนั้น เทสนาสวนํ ธรรมเทสนามัยกับธัมมัสสวนมัย ภาวนามเย สงฺคหํ คจฺฉติ จึงถึงการรวมเข้าในภาวนามัยบุญกิริยาวัตถุ ฯ สกฺกา วตฺตํ ุ บัณฑิตอาจกล่าวได้ ธมฺมทานสภาวโต เทสนา ทานมเย สงคหํ คจฺฉตีตปิ ิ แม้วา่ ธรรมเทสนามัย ย่อมถึงการรวมเข้าในทานมัยบุญกิรยิ าวัตถุ เพราะมีภาวะเหมือนกับธรรมทาน ฯ ตถาหิ วุตฺตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาตีติ ว่า การให้ธรรม ย่อมชนะการให้ทั้งปวง ดังนี้เป็นต้น ฯ ตถา อนึ่ง ทิฏฺุชุกมฺมํ ทิฏฐุชุกรรม ย่อมถึงการรวมเข้า สพฺพตฺถาปิ ในบุญกิริยาวัตถุ ๙ ประการแม้ทั้งหมด สพฺเพสํ นิยมนลกฺขณตฺตา เพราะมี ลักษณะเป็นเครื่องก�ำหนดบุญกิริยาวัตถุ ๙ ประการทั้งปวง ฯ หิ ความจริง ทานาทีสุ บรรดาบุญกิริยาวัตถุมีทานมัยเป็นต้น ยงฺกิฺจิ บุญกิริยาวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่ง อตฺถิ ทินฺนนฺติอาทินยปฺปวตฺตาย สมฺมาทิฏฺยิ า วิโสธิตํ อันสัมมาทิฏฐิซงึ่ เป็นไปโดยนัยเป็นต้นว่า ทานทีบ่ คุ คลให้แล้ว ย่อมมีผลจริง ช�ำระให้สะอาดแล้ว มหปฺผลํ โหติ มหานิสํสํ ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวแล้วอย่างนี้ ทีฆนิกายฏฺ- กถายํ...วุตฺตํ ในอรรถกถาทีฆนิกาย พระพุทธโฆษาจารย์จึงกล่าวว่า ทิฏฺุชุกมฺมํ ทิฏฐุชุกรรม สพฺเพสํ นิยมนลกฺขณํ มีลักษณะเป็นเครื่องก�ำหนดบุญกิริยาวัตถุ ๙ ประการทั้งปวง ฯ (สนฺนิฏานํ) ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความตกลงใจว่า สงฺเขปโต โดยย่อ ติวิธเมว ปุฺกิริยาวตฺถุ โหติ บุญกิริยาวัตถุมีเพียง ๓ อย่างเท่านั้น อิตเรสํ สงฺคหณโต เพราะรวมบุญกิริยาวัตถุ ๗ อย่างนอกนี้ ทานสีลภาวนาวเสน ตีสุ เข้าในบุญกิริยาวัตถุ ๓ อย่าง คือ ทานมัย ๑ ศีลมัย ๑ ภาวนามัย ๑ เอวํ ด้วยประการฉะนี้ ฯ จ ก็ อาจริเยน เหฏฺา ทสฺสิตํ ท่านอาจารย์ได้แสดงไว้ข้างต้นแล้ว ตถา เอว อย่างนี้เหมือนกัน ฯ


226

ปริเฉทที่ ๕

(รูปาวจรกุสสํ) รูปาวจรกุศลกรรม มโนกมฺมเมว ชื่อว่าเป็นมโนกรรม อย่างเดียว กายทฺวาราทีสุ อปฺปวตฺตนโต เพราะไม่เป็นไปในกายทวารเป็นต้น วิฺตฺติสมุฏฺาปกตาภาเวน เหตุไม่มีการยังวิญญัติให้ตั้งขึ้น ฯ ตฺ จ รูปาวจรกุสลํ และรูปาวจรกุศลกรรมนัน้ ภาวนามยํ ชือ่ ว่าส�ำเร็จมาจาก ภาวนา ทานาทิวเสน อปฺปวตฺตนโต เพราะไม่เป็นไปด้วยอ�ำนาจทานมัยบุญกิรยิ าวัตถุ เป็นต้น อปฺปนาปฺปตฺตํ ชือ่ ว่าถึงอัปปนาแล้ว ปุพพฺ ภาคปฺปวตฺตานํ กามาวจรภาวโต เพราะกุศลกรรมทั้งหลายที่เป็นไปในส่วนเบื้องต้นเป็นกามาวจร ฯ ฌานงฺคเภเทนาติ บทว่า ฌานงฺคเภเทน ความว่า ปน ก็ อเนกวิธตฺเตปิ แม้เมือ่ รูปาวจรกุศลกรรมนัน้ มีหลายประการ ปฏิปทาทิเภทโต โดยความต่างแห่งปฏิปทา เป็นต้น ปฺ จวิธํ โหติ รูปาวจรกุศลกรรมนัน้ ก็มี ๕ อย่าง นิพพฺ ตฺตชฺฌานงฺคเภทโต โดยประเภทแห่งองค์ฌานที่บังเกิด องฺคาติกฺกมนวเสน ด้วยอ�ำนาจล่วงเลยองค์ ฯ อาลมฺพนเภเทนาติ บทว่า อาลฺมพนเภเทน ความว่า ปเภเทน โดยประเภท อิเมสํ จตุนฺนํ อาลมฺพนานํ แห่งอารมณ์ ๔ เหล่านี้ อิติ คือ จตุพฺพิธํ อารมณ์มี ๔ อย่าง อิติ คือ กสิณุคฺฆาฏิมากาสํ อากาศที่เพิกกสิณ ๑ อากาสวิสยํ มโน วิญญาณซึ่งมีอากาศเป็น อารมณ์ ๑ ตทภาโว ความไม่มีแห่งวิญญาณนั้น ๑ ตทาลมฺพํ วิฺาณํ วิญญาณซึ่งมีความไม่มีแห่งวิญญาณนั้นเป็นอารมณ์ ๑ ฯ เอตฺถาติ บทว่า เอตฺถ ความว่า อิเมสุ ปากฏฺานวเสน จตุพฺพิเธสุ กมฺเมสุ บรรดากรรม ๔ อย่าง ด้วยอ�ำนาจสถานที่ให้ผล เหล่านี้ ฯ อุทฺธจฺจรหิตนฺติ บทว่า อุทฺธจฺจรหิตํ ความว่า เอกาทสวิธํ อกุสลกมฺมํ อกุศลกรรม ๑๑ อย่าง อุทธฺ จฺจสหคตเจตนารหิตํ เว้นจิตทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ฯ ถามว่า ปน ก็ กึ อะไร การณํ เป็นเหตุ เอตฺถ ในค�ำนี้ว่า วิจิกิจฺฉาสหคตํ อกุศลกรรมที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเจตสิก สพฺพทุพฺพลมฺปิ แม้จะมีพลังเพลากว่า อกุศลกรรมทั้งหมด อธิโมกฺขวิรเหน เพราะเว้นจากอธิโมกข์เจตสิก อากฑฺฒติ ปฏิสนฺธึ ก็ย่อมชักปฏิสนธิมาได้ อุทฺธจฺจสหคตํ อกุศลกรรมที่สหรคตด้วย


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

227

อุทธัจจเจตสิก ตโต พลวนฺตมฺปิ แม้จะมีพลังแรงกว่าอกุศลกรรมที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาเจตสิกนั้น อธิโมกฺขสมฺปโยเคน เพราะประกอบด้วยอธิโมกข์เจตสิก ตํ นากฑฺฒติ ก็ย่อมชักปฏิสนธินั้นมาไม่ได้ อิติ ดังนี้ ฯ ตอบว่า ปฏิสนฺธิทานสภาวาภาวโต เพราะอกุศลกรรมที่สหรคตด้วย อุทธัจจเจตสิกนั้น ไม่มีสภาวะคือการให้ปฏิสนธิ ฯ หิ ความจริง ปฏิสนฺธทิ านสภาเวสุเยว ในกรรมทัง้ หลายทีม่ สี ภาวะคือการให้ ปฏิสนธินั่นเอง อยํ วิจารณา ก็ยังมีข้อที่ควรพิจารณาดังนี้ว่า พลวํ อากฑฺฒติ กรรมที่มีพลังแรง ย่อมชักปฏิสนธิมาได้ ทุพฺพลํ นากฑฺฒติ กรรมที่มีพลังอ่อน ย่อมชักปฏิสนธิมาไม่ได้ ฯ ปน ส่วน ยสฺส กรรมใด ปฏิสนฺธิทานสภาโวเยว นตฺถิ ไม่มี สภาวะคือ การให้ปฏิสนธิเลย ตสฺส กรรมนัน้ พลวภาโว ถึงจะมีพลังแรง น ปฏิสนฺธอิ ากฑฺฒเน การณํ ก็ไม่เป็นเหตุในการชักปฏิสนธิมา ฯ ถามว่า กถมฺปเนตํ วิฺาตพฺพํ ก็พวกเราจะพึงทราบถึงค�ำนี้ได้อย่างไรว่า อุทฺธจฺจสหคตสฺส อกุศลกรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ปฏิสนฺธิทานสภาโว นตฺถิ ไม่มีสภาวะคือการให้ปฏิสนธิ ฯ ตอบว่ า บั ณ ฑิ ต ทั้ ง หลายพึ ง ทราบถึ ง ค� ำ นี้ ไ ด้ ทสฺ ส เนน ปหาตพฺ เ พสุ อนาคตตฺตา เพราะอกุศลกรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้น มิได้มาในหมวด อกุศลธรรมอันทัสสนะ (โสดาปัตติมรรค) พึงละ ฯ หิ ความจริง ติวิธา อกุสลา อกุศลธรรมมี ๓ หมวด คือ ทสฺสเนน ปหาตพฺพา อกุศลธรรมอันทัสสนะพึงละหมวด ๑ ภาวนาย ปหาตพฺพา อกุศลธรรม อันภาวนาพึงละหมวด ๑ สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา สิยา ภาวนาย ปหาตพฺพา อกุศลธรรมบางทีอันทัสสนะพึงละ บางทีอันภาวนาพึงละหมวด ๑ ฯ ตตฺถ บรรดาอกุศลธรรม ๓ หมวดนั้น ทิฏฺสิ หคตวิจิกิจฺฉาสหคต- จิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยทิฏฐิ และจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา นาม ชื่อว่าอกุศลธรรมอันทัสสนะพึงละ ปมํ นิพฺพาน-


228

ปริเฉทที่ ๕

ทสฺสนวเสน ทสฺสนนฺติ ลทฺธนาเมน โสตาปตฺติมคฺเคน ปหาตพฺพตฺตา เพราะ เป็ น สภาวธรรมอั น โสดาปั ต ติ ม รรค ซึ่ ง ได้ น ามว่ า ทั ส สนะ ด้ ว ยอ� ำ นาจเห็ น พระนิพพานก่อน พึงละ ฯ อุ ทฺ ธ จฺ จ สหคตจิ ตฺ ตุ ปฺ ป าโท จิ ต ตุ ป บาทที่ ส หรคตด้ ว ยอุ ท ธั จ จเจตสิ ก ภาวนาย ปหาตพฺโพ นาม ชื่อว่าอกุศลธรรมอันภาวนาพึงละ อคฺคมคฺเคน ปหาตพฺพตฺตา เพราะเป็นสภาวธรรมอันอรหัตตมรรคพึงละ ฯ หิ ความจริง อุปริมคฺคตฺตยํ มรรค ๓ ประการเบื้องสูง ภาวนาติ วุจฺจติ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า ภาวนา ปมมคฺเคน ทิฏฺ นิพพฺ าเน ภาวนาวเสน ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปด้วยอ�ำนาจภาวนาในพระนิพพานอันโสดาปัตติมรรคเห็นแล้ว ฯ ปน ส่วน ทิฏฺวิ ิปฺปยุตฺตโทมนสฺสสหคตจิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาทที่เป็น ทิฏฐิวิปยุต และจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโทมนัส สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา สิ ยา ภาวนาย ปหาตพฺพา นาม ชื่อว่าอกุศลธรรม บางทีอันทัสสนะพึงละ บางที อันภาวนาพึงละ เตสํ อปายนิพฺพตฺตกาวตฺถาย ปมมคฺเคน ปหิยฺยมานตฺตา เพราะข้อก�ำหนดกิเลสที่ให้สัตว์บังเกิดในอบายภูมิแห่งจิตตุปบาทที่เป็นทิฏฐิวิปยุต และจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยโทมนัสเหล่านัน้ อันโสดาปัตติมรรคละได้ เสสพหลาพหลาวตฺถาย อุปริมคฺเคหิ ปหิยฺยมานตฺตา (และ) เพราะข้อก�ำหนดกิเลสที่ หนาแน่นซับซ้อนที่เหลือ อันมรรคเบื้องสูงทั้งหลายละได้ ฯ ตตฺถ ในอกุศลธรรม ๓ หมวดนั้น สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพมฺปิ แม้ อกุศลธรรมบางทีอันทัสสนะพึงละ ทสฺสเนน ปหาตพฺพนฺติ โวหรนฺติ ท่านอาจารย์ ทั้งหลายก็เรียกว่า อันทัสสนะพึงละ อิธ ในค�ำว่า ทสฺสเนน ปหาตพฺเพสุ นี้ ทสฺสเนน ปหาตพฺพสามฺ เน โดยความเป็นสภาวธรรมอันทัสสนะพึงละ เหมือนกัน ฯ จ ก็ ยทิ ถ้าว่า อุทฺธจฺจสหคตํ อกุศลกรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ปฏิสนฺธึ ทเทยฺย พึงให้ ปฏิสนธิได้ไซร้ ตทา ในกาลนั้น อปาเยเสฺวว ทเทยฺย อกุศลกรรมที่สหรคต ด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้น พึงให้ปฏิสนธิ ในอบายภูมิเท่านั้น


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

229

อกุสลปฏิสนฺธิยา สุคติยํ อสมฺภวโต เพราะปฏิสนธิแห่งอกุศลกรรมไม่เกิดมีใน สุคติภูมิ ฯ จ ก็ อปายคามินิยํ อกุศลกรรมที่ให้สัตว์ไปสู่อบายภูมิ อวสฺสํ ทสฺสเนน ปหาตพฺพํ สิยา จะต้องเป็นอกุศลกรรมอันทัสสนะพึงละแน่แท้ ฯ อิตรถา เมือ่ ก�ำหนดเนือ้ ความนอกไปจากนี้ เสกฺขานํ อปายุปปตฺติ อาปชฺชติ พระเสขบุคคลทั้งหลายจะต้องเกิดในอบายภูมิ อปายคามินิยสฺส อปฺปหีนตฺตา เพราะยังละอกุศลกรรมที่ให้สัตว์ไปสู่อบายภูมิไม่ได้ ฯ จ ปน ก็แล เอตํ การที่พระเสขบุคคลทั้งหลายจะต้องเกิดในอบายภูมินี้ น ยุตฺตํ ไม่ถูกต้อง จตูหปาเยหิ จ วิปฺปมุตฺโต อวินิปาตธมฺโมติอาทิวจเนหิ สห วิชฺฌนโต เพราะผิดกับพระพุทธพจน์เป็นต้นว่า ก็พระโสดาบันเป็นผู้พ้นแล้ว จากอบายภูมิ ๔ เป็นผู้ไม่ตกลงสู่เบื้องต�่ำเป็นธรรมดา ดังนี้ ฯ จ ปน ก็แล สติ เอตสฺส ทสฺสเนน ปหาตพฺพภาเว เมื่อภาวะที่อกุศลกรรม ทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนัน้ อันทัสสนะพึงละมีอยู่ สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพาติ อิมสฺส วิภงฺเค วตฺตพฺพํ สิยา พระผู้มีพระภาคเจ้าพึงตรัสอกุศลกรรมที่สหรคต ด้วยอุทธัจจเจตสิกนัน้ ไว้ในวิภงั ค์แห่งค�ำว่า สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา นี้ จ ปน ก็แล เอตํ อกุศลกรรมทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนี้ น วุตตฺ ํ พระผูม้ พี ระภาคเจ้า มิได้ตรัสไว้แล้ว ฯ อถ สิยา ถ้าพึงมีค�ำท้วงว่า อปายคามินิโย ราโค โทโส โมโห ตเทกฏฺา จ กิเลสาติ เอวํ ทสฺสเนน ปหาตพฺเพสุ วุตฺตตฺตา เพราะกิเลสทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในหมวดอกุศลธรรมอันทัสสนะพึงละอย่างนี้ว่า ราคะ โทสะ โมหะ และกิเลสทั้งหลายที่อยู่ในประเภทเดียวกันกับราคะเป็นต้นนั้น ทีใ่ ห้สตั ว์ไปสูอ่ บายภูมิ ดังนีเ้ ป็นต้น อุทธฺ จฺจสหคตเจตนาย ตตฺถ สงฺคโห สกฺกา กาตํุ บัณฑิตจึงสามารถท�ำการรวมเจตนาที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก เข้าในหมวด อกุศลธรรมอันทัสสนะพึงละนั้นได้ ฯ


230

ปริเฉทที่ ๕

พึ ง มี ค� ำ ตอบว่ า ตํ น ข้ อ นั้ น ไม่ พึ ง มี ตสฺ ส เอกนฺ ต โต ภาวนาย ปหาตพฺพภาเวเนว วุตฺตตฺตา เพราะอกุศลกรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้โดยความเป็นอกุศลกรรมอันภาวนาพึงละ โดยแน่นอน นั่นเอง ฯ วุตฺต ฺเหตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ กตเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพา อุทฺธจฺจสหคโต จิตฺตุปฺปาโทติ ดังนี้ว่า ธรรมทั้งหลายอัน ภาวนาพึงละ เป็นไฉน คือ จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ดังนี้เป็นต้น ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ทสฺสเนน ปหาตพฺเพเสฺวว อวจนํ การไม่ตรัส อกุศลกรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้นไว้ในหมวดอกุศลธรรมอันทัสสนะ พึงละนัน่ แหละ อิมสฺส ปฏิสนฺธทิ านาภาวํ สาเธติ ย่อมให้สำ� เร็จความว่าอกุศลกรรม ที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนี้ไม่มีการให้ปฏิสนธิ ฯ ถามว่า จ ก็ ปฏิสมฺภิทาวิภงฺเค ในปฏิสัมภิทาวิภังค์ เอวํ อุทฺธจฺจสหคตจิตฺตุปฺปาทํ อุทฺธริตฺวา ตสฺส วิปาโกปิ อุทฺธโฏ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยก จิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกขึน้ แสดงแล้วทรงยกแม้วบิ ากแห่งจิตตุปบาท ที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้นขึ้นแสดงไว้อย่างนี้ว่า ยสฺมึ สมเย ในสมัยใด อกุสลํ จิตฺตํ อกุศลจิต อุเปกฺขาสหคตํ อุทฺธจฺจสมฺปยุตฺตํ ที่สหรคตด้วยอุเบกขา สัมปยุตด้วยอุทธัจจเจตสิก รูปารมฺมณํ วา ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา ยํ ยํ วา ปนารพฺภ ปรารภรูปารมณ์ ฯลฯ ธรรมารมณ์ ก็หรือว่าอารมณ์ใด ๆ อุปฺปนฺนํ โหติ เกิดขึ้น ตสฺมึ สมเย ในสมัยนั้น ผสฺโส โหติ ฯเปฯ อวิกฺเขโป โหติ ย่อมมีผัสสะ ฯลฯ มีความไม่ฟุ้งซ่าน อิเม ธมฺมา ธรรมเหล่านี้ อกุสลา ชื่อว่า อกุศลธรรม อิเมสุ ธมฺเมสุ าณํ ญาณในธรรมเหล่านี้ ธมฺมปฏิสมฺภิทา ชื่อว่า ธัมมปฏิสมั ภิทา เตสํ วิปาเก าณํ ญาณในวิบากแห่งธรรมเหล่านัน้ อตฺถปฏิสมฺภทิ า ชื่อว่าอัตถปฏิสัมภิทา อิติ ดังนี้ นนุ มิใช่หรือ อิติ เพราะเหตุนั้น กถมสฺส ปฏิ ส นฺ ธิ ท านาภาโว สมฺ ป ฏิ จฺ ฉิ ต พฺ โ พ พวกท่ า นจะพึ ง รั บ รองว่ า จิ ต ตุ ป บาทที่ สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้นไม่มีการให้ปฏิสนธิได้อย่างไร ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

231

ตอบว่า อยํ วิบากแห่งจิตตุปบาททีส่ หรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนี้ ปฏิสนฺธทิ านํ สนฺธาย อุทฺธโฏ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยกขึ้นแสดงมุ่งถึงการให้ปฏิสนธิจิต น หามิได้ อถโข โดยที่แท้ ปวตฺติวิปากํ สนฺธาย อุทฺธโฏ ทรงยกขึ้นแสดง โดยมุ่งถึงวิบากจิตในปวัตติกาล ฯ ปน ส่วน ปฏฺาเน ในคัมภีร์ปัฏฐาน พระผู้มีพระภาคเจ้า ทสฺสเนน ปหาตพฺพเจตนาย เอว สหชาตนานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาวํ อุทฺธริตฺวา ทรงยก ความที่เจตนาอันโสดาปัตติมรรคพึงละนั่นแหละเป็นกรรมปัจจัยที่เกิดร่วมกันและ เกิดในขณะต่างกันขึ้นแสดงว่า สหชาตา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา เจตนา เจตนาที่ เกิดร่วมกันอันโสดาปัตติมรรคพึงละ จิตฺตสมุฏฺานานํ รูปานํ กมฺมปจฺจเยน ปจฺจโย เป็นปัจจัย โดยกรรมปัจจัย แก่รปู ทัง้ หลายทีม่ จี ติ เป็นสมุฏฐาน นานากฺขณิกา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา เจตนา เจตนาที่เกิดในขณะต่างกันอันโสดาปัตติมรรค พึงละ วิปากานํ ขนฺธานํ กตตฺตารูปานฺ จ กมฺมปจฺจเยน ปจฺจโย เป็นปัจจัย โดยกรรมปัจจัย แก่วิบากขันธ์และกตัตตารูป ภาวนาย ปหาตพฺพเจตนาย สหชาตกมฺมปจฺจยภาโวว อุทฺธโฏ แล้วทรงยกเฉพาะความที่เจตนาอันภาวนา พึงละ เป็นกรรมปัจจัยที่เกิดร่วมกันขึ้นแสดงว่า สหชาตา ภาวนาย ปหาตพฺพา เจตนา เจตนาที่เกิดร่วมกัน อันภาวนาพึงละ จิตฺตสมุฏฺานานํ รูปานํ กมฺมปจฺจ เยน ปจฺจโย เป็นปัจจัย โดยกรรมปัจจัย แก่รูปทั้งหลาย ที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน โดยกรรมปัจจัย อิติ ดังนี้ น ปน นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาโว แต่หาทรงยก ความที่เจตนาอันภาวนาพึงละ เป็นกรรมปัจจัยที่เกิดในขณะต่างกันขึ้นแสดงไม่ ฯ จ ก็ จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้น นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยํ วินา เว้นเจตนาที่เป็นกรรมปัจจัยที่เกิดในขณะต่างกันเสีย น ปฏิสนฺธิอากฑฺฒนํ อตฺถิ หาชักปฏิสนธิมาได้ไม่ ตสฺมา เพราะฉะนั้น นตฺถิ ตสฺส สพฺพถาปิ ปฏิสนฺธิทานํ จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้น จึงไม่มีการให้ปฏิสนธิ แม้โดยประการทั้งปวง อิติ แล ฯ


232

ปริเฉทที่ ๕

ปน ฝ่าย ยํ เอเก วทนฺติ อาจารย์พวกหนึง่ กล่าวค�ำใดไว้วา่ อุทธฺ จฺจเจตนา อุภยวิปากมฺปิ น เทติ เจตนา (จิต) ที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ย่อมไม่ให้ แม้วิบากทั้งสองอย่าง ปฏฺาเน นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาวสฺส อนุทฺธฏตฺตา เพราะในคัมภีร์ปัฏฐาน พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ทรงยกเจตนาอันภาวนาพึงละ ว่าเป็นกรรมปัจจัยที่เกิดในขณะต่างกันขึ้นแสดงไว้ ดังนี้ ฯ ตํ ค�ำนั้น เตสํ มติมตฺตํ เป็นเพียงมติของอาจารย์พวกหนึ่งเหล่านั้น ปฏิสมฺภิทาวิภงฺเค อุทฺธจฺจสหคตานมฺปิ ปวตฺติวิปากสฺส อุทฺธฏตฺตา เพราะใน คัมภีร์ปฏิสัมภิทาวิภังค์ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยกวิบากในปวัตติกาล แม้แห่ง อกุศลกรรมทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกขึ้นแสดงไว้ ปฏฺาเน จ ปฏิสนฺธิ วิปากาภาวเมว สนฺธาย นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาวสฺส อนุทฺธฏตฺตา และ เพราะในคัมภีรป์ ฏั ฐานพระผูม้ พี ระภาคเจ้าทรงหมายถึงความไม่มวี บิ ากในปฏิสนธิกาล เท่านั้น จึงไม่ทรงยกเจตนาอันทัสสนะพึงละว่าเป็นกรรมปัจจัยที่เกิดในขณะต่างกัน ขึ้นแสดงไว้ ฯ หิ ก็ ยทิ ถ้าว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า ปวตฺตวิปากํ สนฺธาย พึงทรงหมายถึง วิบากในปวัตติกาลแล้ว นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาโว วุจฺเจยฺย ตรัสว่าเจตนา อันทัสสนะพึงละเป็นกรรมปัจจัยที่เกิดในขณะต่างกันไว้ไซร้ ตทา ในกาลนั้น ปฏิสนฺธิวิปากมฺปิสฺส มฺ เยฺยํ ุ ชนผู้ฟังทั้งหลาย จะพึงเข้าใจอกุศลกรรม ที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้นว่ามีวิบากในปฏิสนธิกาลด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น ลพฺภมานสฺสาปิ ปวตฺติวิปากสฺส วเสน นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาโว น วุตฺโต พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ตรัส ว่าเจตนาอั นภาวนาพึ ง ละเป็ นกรรมปั จจั ย ที่ เกิ ด ในขณะต่างกันด้วยอ�ำนาจวิบากในปวัตติกาลแม้ที่หาได้อยู่ ฯ ตสฺมา เพราะฉะนัน้ น สกฺกา ตสฺส ปวตฺตวิ ปิ ากํ นิวาเรตุํ อาจารย์ทง้ั หลาย บางพวกจึงไม่สามารถจะห้ามวิบากในปวัตติกาลแห่งเจตนากรรมที่สหรคตด้วย อุทธัจจเจตสิกนั้นได้ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

233

เตนาห ปวตฺติยมฺปนาติอาทิ เพราะเหตุนั้น ท่านพระอนุรุท ธาจารย์ จึงกล่าวว่า ปวตฺติยมฺปน ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ส่วน อาจริยพุทธฺ มิตตฺ าทโย อาจารย์ทงั้ หลายมีอาจารย์พทุ ธมิตรเป็นต้น เอวํ อุทธฺ จฺจสหคตํ ทฺวธิ า วิภชิตวฺ า จ�ำแนกเจตนากรรมทีส่ หรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ออกเป็น ๒ ประการอย่างนี้ว่า อตฺถิ อุทฺธจฺจสหคตํ ภาวนาย ปหาตพฺพมฺปิ เจตนากรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกอันภาวนาพึงละก็มี อตฺถิ น ภาวนาย ปหาตพฺพมฺปิ ไม่ใช่อันภาวนาพึงละก็มี เตสุ บรรดาเจตนากรรม ๒ อย่างนั้น ภาวนาย ปหาตพฺพํ เจตนากรรมอันภาวนาพึงละ เสกฺขสนฺตานปฺปวตฺตํ เป็นไป ในสันดานของพระเสขบุคคล อิตรํ เจตนากรรมไม่ใช่อันภาวนพึงละนอกนี้ ปุถุชฺชนสนฺตานปฺปวตฺตํ เป็นไปในสันดานของปุถุชน จ ส่วน ผลทานํ การให้ผล ปุถชุ ชฺ นสนฺตานปฺปวตฺตสฺเสว มีเฉพาะเจตนากรรมทีเ่ ป็นไปในสันดานของปุถชุ นเท่านัน้ น เอตรสฺส หามีแก่เจตนากรรมที่เป็นไปในสันดานของพระเสขบุคคลนอกนี้ไม่ อิติ ดังนี้ เอกสฺส อุภยวิปากทานํ เอกสฺส สพฺพถาปิ วิปากาภาวํ วณฺเณนฺติ แล้วพรรณนาว่าเจตนากรรมอย่างหนึง่ ให้วบิ ากทัง้ สองอย่าง เจตนากรรมอีกอย่างหนึง่ ไม่มีวิบาก แม้โดยประการทั้งปวง ฯ ปน ก็ เอตฺถ ในค�ำว่า อตฺถิ อุทฺธจฺจสหคตํ ฯเปฯ เนตรสฺส นี้ โย เตสํ วินิจฺฉโย ข้อวินิจฉัยของพระอาจารย์พุทธมิตรเป็นต้นเหล่านั้นอันใด ยฺ จ ตสฺส นิรากรณํ การคัดค้านข้อวินิจฉัยของพระอาจารย์พุทธมิตรเป็นต้นนั้นอันใด ยฺ จ สพฺพถาปิ วิปากาภาววาทีนํ มตปฏิกฺเขปนํ และการปฏิเสธมติของอาจารย์ ทั้งหลายผู้มีปกติกล่าวว่าเจตนากรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้นไม่มีวิบาก แม้โดยประการทั้งปวงอันใด อิธ อวุตฺตํ อันข้าพเจ้ามิได้กล่าวไว้ในฎีกานี้ ฯ ตํ สพฺพํ ข้อวินจิ ฉัยเป็นต้นนัน้ ทัง้ หมด วุตตฺ นเยน เวทิตพฺพํ บัณฑิตพึงทราบ ตามนัยทีท่ า่ นกล่าวไว้ ปรมตฺถมฺ ชูสาทีสุ ในคัมภีรท์ งั้ หลายมีคมั ภีรป์ รมัตถมัญชุสา เป็นต้น วิเสสโต จ อภิธมฺมตฺถปกาสินิยา นาม อภิธมฺมาวตารสํวณฺณนาย และ ตามที่ท่านกล่าวไว้โดยพิสดาร ในฎีกาอภิธัมมาวตาร ชื่ออภิธัมมัตถปกาสินี ฯ


234

ปริเฉทที่ ๕

สพฺพตฺถาปิ กามโลเกติ สองบทว่า สพฺพตฺถาปิ กามโลเก ความว่า สพฺพสฺมิมฺปิ กามโลเก ในโลกที่เป็นกามาวจรแม้ทั้งหมด สุคติทุคฺคติวเสน ด้วยอ�ำนาจสุคติและทุคติ ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ คือ ทฺวาราลมฺพนานุรปู  สมควรแก่ทวารและอารมณ์ ฯ ยํ นาคสุปณฺณาทีนํ มหาสมฺปตฺติวิสยํ วิปากวิฺาณํ วิบากจิตซึ่งมี มหาสมบัติเป็นอารมณ์ที่เกิดแก่พวกอเหตุกสัตว์มีนาคและครุฑเป็นต้น ยฺ จ นิรยวาสีนํ มหาโมคฺคลฺลานตฺเถรทสฺสนาทีสุ อุปฺปชฺชติ วิปากวิฺาณํ และ วิบากจิตทีเ่ กิดแก่พวกสัตว์นรกในเพราะเหตุทงั้ หลายมีเห็นพระมหาโมคคัลลานเถระ เป็นต้น อปาเยสุปิ แม้ในอบายภูมินั้น ตํ กุสลกมฺมสฺเสว ผลํ ก็เป็นผลแห่ง กุศลกรรมนั่นแหละ ฯ หิ จริงอยู่ อกุสลสฺส อกุศลกรรม น อิฏฺวิปาโก สมฺภวติ จะเกิดวิบาก ที่น่าปรารถนา ไม่ได้ อิติ แล ฯ วุตฺตฺ เหตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ อฏฺานเมตํ ภิกฺขเว อโนกาโส ยํ อกุสลสฺส กมฺมสฺส อิฏฺโ กนฺโต วิปาโก สํวิชฺชตีติ ดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่อกุศลกรรมมีวิบากน่าปรารถนา น่าใคร่ นี้ไม่ใช่ ฐานะ ไม่ใช่โอกาส ดังนี้เป็นต้น ฯ ตสฺมา เพราะฉะนัน้ กุสลกมฺมํ กุศลกรรม อปาเยปิ อเหตุกวิปากานิ ชเนติ จึงให้อเหตุกวิบากเกิดได้แม้ในอบายภูมิ ยถารหํ รูปาทิวสิ ยานิ ตานิ อภินปิ ผฺ าเทติ และให้อเหตุกวิบากเหล่านั้น ซึ่งมีรูปเป็นต้นเป็นอารมณ์ ส�ำเร็จได้ตามสมควร รูปโลเกปิ แม้ในโลกที่เป็นรูปาวจร รูปาวจรกมฺเมน อเหตุกวิปากุปฺปตฺติยา อภาวโต เพราะการเกิดขึน้ แห่งอเหตุกวิบาก ด้วยรูปาวจรกรรมไม่มี อฺ ภูมกิ สฺส จ กมฺมสฺส อฺ ภูมกิ วิปากาภาวโต เหตุทกี่ รรมในภูมอิ นื่ จะมีวบิ ากในภูมอิ นื่ ไม่ได้ กามวิราคภาวนาย กามตณฺหาวิสยวิฺาณุปปฺ าทนาโยคโต เหตุไม่ประกอบด้วย ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณจิตซึ่งมีกามตัณหาเป็นอารมณ์ ด้วยภาวนาเป็นเครื่อง ส�ำรอกกาม เอกนฺตสทิสวิปากตฺตา จ มหคฺคตานุตฺตรกุสลานํ และเหตุที่


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

235

มหัคคตกุศลและโลกุตตรกุศลต่างก็มีวิบากเหมือนกันแน่นอน อิติ เพราะเหตุนั้น วุตตฺ ํ สพฺพตฺถาปิ กามโลเกติอาทิ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์จงึ กล่าวค�ำว่า สพฺพตฺถาปิ กามโลเก ดังนี้เป็นต้น ฯ (จบ ๒๕๑๔) ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หวังจะแสดงว่า ปน ก็ เอวํ วิปจฺจนฺตํ กมฺมํ กรรมเมื่อจะเผล็ดผลอย่างนั้น ติธา วิปจฺจติ ย่อมเผล็ดผลเป็น ๓ หมวด โสฬสกทฺวาทสกอฏฺกวิปากวเสน คือ วิบากจิต ๑๖ ดวง หมวด ๑ วิบากจิต ๑๒ ดวง หมวด ๑ วิบากจิต ๘ ดวง หมวด ๑ ตตฺถาปีติอาทิ วุตฺตํ จึงกล่าว ค�ำว่า ตตฺถาปิ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถาปีติ บทว่า ตตฺถาปิ ได้แก่ เอวํ วิปจฺจมาเนปิ กุสลกมฺเม ในกุศลกรรม แม้ที่เผล็ดผลอยู่อย่างนี้ ฯ อุ กฺ ก ฏฺ  นฺ ติ บทว่ า อุ กฺ ก ฏํ ความว่ า วิ สิ ฏ ฺ ํ ชื่ อ ว่ า อั น พิ เ ศษสุ ด กุสลปริวารลาภโต เพราะได้กุศลเป็นบริวาร ปจฺฉา อาเสวนปฺปวตฺติยา วา หรือเพราะความเป็นไปแห่งความเสพคุ้นในภายหลัง ฯ หิ ความจริง ยํ กมฺมํ กรรมใด อตฺตโน ปวตฺตกิ าเล ปุรมิ ปจฺฉาภาคปวตฺเตหิ กุสลกมฺเมหิ ปริวาริตํ อันกุศลกรรมทั้งหลายที่เป็นไปในกาลเบื้องต้น และ กาลภายหลังแวดล้อมแล้ว ในปวัตติกาลแห่งตน ปจฺฉา วา อาเสวนลาเภน สมุทาจิณณ ฺ ํ หรืออันบุคคลสัง่ สมเนือง ๆ โดยได้ความเสพคุน้ ในภายหลัง ตํ กรรมนัน้ อุกกฺ ฏฺํ ชื่อว่าเป็นกรรมอุกฤษฏ์ ฯ ปน ส่วน ยํ กรรมใด กรณกาเล อกุสลกมฺเมหิ ปริวาริตํ อันอกุศลกรรม ทัง้ หลายแวดล้อมในเวลากระท�ำ ปจฺฉา วา ทุกกฺ ฏเมตํ มยาติ วิปปฺ ฏิสารุปปฺ าทเนน ปริภาวิตํ หรือในเวลาภายหลัง อันบุคคลให้เจริญแล้ว โดยการยังความเดือดร้อน ใจให้เกิดขึ้นว่า กรรมนี้เราท�ำไว้แล้วไม่ดี ดังนี้ ตํ กรรมนั้น โอมกนฺติ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นว่า เป็นกรรมอันทราม ฯ ปฏิสนฺธนิ ตฺ ิ บทว่า ปฏิสนฺธึ ได้แก่ เอกเมว ปฏิสนฺธึ ซึง่ ปฏิสนธิครัง้ เดียว เท่านั้น ฯ


236

ปริเฉทที่ ๕

หิ ความจริง ปฏิสนฺธิ ปฏิสนธิจิต โหติ ย่อมมี อเนกาสุ ชาตีสุ ในชาติ เป็นอันมาก เอเกน กมฺเมน ด้วยกรรมอันเดียวกัน น หามิได้ ฯ ปน แต่ ปวตฺติวิปาโก วิบากในปวัตติกาล โหติ ย่อมมีได้ ชาติสเต ตั้ง ๑๐๐ ชาติ ชาติสหสฺเสปิ ตั้ง ๑,๐๐๐ ชาติ ฯ ยถาห เหมือนอย่างที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ติรจฺฉานคเต ทานํ ทตฺวา สตคุณา ทกฺขิณา ปาฏิกงฺขิตพฺพาติ ว่า ผู้ให้ทานในสัตว์ดิรัจฉานพึงหวังอานิสงส์ ๑๐๐ เท่า ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ก็ ยสฺมา เพราะ าณํ ญาณ ปฏิปกฺขํ เป็นปฏิปกั ษ์ โมหสฺส ต่อโมหะ สพฺพากุสลสฺเสว วา หรือต่ออกุศลทั้งปวงนั่นเทียว ชจฺจนฺธาทิวิปตฺตินิมิตฺตสฺส อันมีวิบัติมีบอดแต่ก�ำเนิดเป็นต้นเป็นนิมิต ตสฺมา ฉะนั้น ตํสมฺปยุตฺตํ กมฺมํ กรรมอันสัมปยุตด้วยญาณนั้น ชจฺจนฺธาทิวิปตฺติปจฺจยํ น โหติ จึงไม่เป็นปัจจัย แก่วิบัติมีบอดแต่ก�ำเนิดเป็นต้น อิติ เหตุนั้น เอตฺถ บรรดาติเหตุกกรรมและ ทุเหตุกกรรมนี้ ติเหตุกํ ติเหตุกกรรม อติทุพฺพลมฺปิ สมานํ แม้จะทุรพลอย่างยิ่ง ทุเหตุกปฏิสนฺธิเมว อากฑฺฒติ ก็ยังชักพาทุเหตุกปฏิสนธิมาได้นั่นเอง นาเหตุกํ ไม่ใช่พาอเหตุกปฏิสนธิมา ฯ จ ส่วน ทุเหตุกํ กมฺมํ ทุเหตุกกรรม อสมตฺถํ ไม่สามารถ าณผลุปปฺ าเทน ในอันยังวิบากอันสัมปยุตด้วยญาณให้เกิด าณสมฺปโยคาภาวโต เพราะไม่มคี วาม ประกอบด้วยญาณ ยถาตํ อโลภสมฺปโยคาภาวโต อโลภผลุปฺปาเทน อสมตฺถ อกุสลกมฺมํ เหมือนดังอกุศลกรรมไม่สามารถในการให้วบิ ากอันสัมปยุตด้วยอโลภะให้เกิด เพราะไม่มคี วามประกอบด้วยอโลภะ ฉะนัน้ อิติ เพราะเหตุนนั้ ตํ ทุเหตุกกรรมนัน้ อติอุกฺกฏฺมฺปิ สมานํ แม้จะอุกฤษฏ์อย่างยิ่ง ทุเหตุกเมว ปฏิสนฺธึ อากฑฺฒติ ก็ชกั พาทุเหตุกปฏิสนธิเท่านัน้ มาได้ น ติเหตุกํ ชักพาติเหตุกปฏิสนธิมาไม่ได้ อิติ เพราะเหตุนนั้ วุตตฺ ํ ติเหตุกโมมกํ ทุเหตุกมุกกฺ ฏฺฺ จาติอาทิ พระอนุรทุ ธาจารย์ จึงกล่าวไว้เป็นต้นว่า ติเหตุกกรรมอย่างเพลา และทุเหตุกกรรมอย่างอุกฤษฏ์ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

237

เอตฺถ สิยา ในอธิการทีต่ เิ หตุกกรรมชักพาทุเหตุกปฏิสนธิมานี้ พึงมีคำ� ท้วงว่า หิ เหมือนอย่าง ปฏิสมฺภิทามคฺเค ในปฏิสัมภิทามรรค อฏฺนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยา าณสมฺปยุตฺตุปปตฺติ (วุตฺตา) พระสารีบุตรเถระกล่าวถึงความเกิดแห่งวิบากจิต อันสัมปยุตด้วยญาณ เพราะปัจจัยแห่งเหตุ ๘ ประการ กุสลกมฺมสฺส ชวนกฺขเณ ติณฺณํ นิกนฺติกฺขเณ ทฺวินฺนํ ปฏิสนฺธิกฺขเณ ติณฺณฺ จ เหตูนํ วเสน คือ ๓ ประการ ในชวนขณะแห่งกุศลกรรม ๒ ประการ ในนิกนั ติขณะ และ ๓ ประการ ในปฏิสนธิขณะว่า คติสมฺปตฺติยา าณสมฺปยุตฺเต อฏฺนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยา อุปปตฺติ โหตีติ ความเกิดแห่งวิบากจิตอันสัมปยุตด้วยญาณ ย่อมมี เพราะปัจจัย แห่งเหตุ ๘ ประการ ในเมือ่ มีความถึงพร้อมแห่งคติ ในเมือ่ ปฏิสนธิอนั สัมปยุต ด้วยญาณอั น ติ เ หตุ ก กรรมพึ ง ให้ ส� ำ เร็ จ ตถา อนึ่ ง ฉนฺ นํ เหตู นํ ปจฺ จ ยา าณวิปฺปยุตฺตุปปตฺติ วุตฺตา กล่าวความเกิดแห่งวิบากจิตอันเป็นญาณวิปยุต เพราะปัจจัยแห่งเหตุ ๖ ประการ ชวนกฺขเณ ทฺวินฺนํ นิกนฺติกฺขเณ ทฺวินฺนํ ปฏิสนฺธิกฺขเณ ทฺวินฺนฺ จ วเสน คือ ในชวนขณะ ๒ ประการ ในนิกันติขณะ ๒ ประการ ในปฏิสนธิขณะ ๒ ประการว่า คติสมฺปตฺติยา าณวิปฺปยุตฺเต ฉนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยา อุปปตฺติ โหตีติ ความเกิดแห่งทุเหตุกวิบากย่อมมี เพราะ ปัจจัยแห่งเหตุ ๖ ประการ ในเมื่อมีความถึงพร้อมแห่งคติ ในเมื่อปฏิสนธิ อั น ปราศจากญาณอั น ทุ เ หตุ ก กรรมพึ ง ให้ ส� ำ เร็ จ ยถา ฉั น ใด ติ เ หตุ ก สฺ ส ทุเหตุกปฏิสนฺธิอากฑฺฒนํ การที่ติเหตุกกรรมชักน�ำทุเหตุกปฏิสนธิมา นตฺถิ เป็นอันว่าไม่มี เอวํ ฉันนั้น ติเหตุกกมฺเมน ทุเหตุกปฏิสนฺธิยา อวุตฺตตฺตา เพราะทุ เ หตุ ก ปฏิ ส นธิ พ ระสารี บุ ต รเถระไม่ ไ ด้ ก ล่ า วไว้ โดยติ เ หตุ ก กรรมว่ า คติ ส มฺ ป ตฺ ติ  าณวิ ปฺ ป ยุ ตฺ เ ต สตฺ ต นฺ นํ เหตู นํ ปจฺ จ ยา อุ ป ปตฺ ติ โหตี ต ิ ความเกิดแห่งทุเหตุกวิบากย่อมมี เพราะปัจจัยแห่งเหตุ ๗ ประการ ในเมื่อ ความถึงพร้อมแห่งคติ และปฏิสนธิที่ปราศจากญาณอันทุเหตุกกรรมพึงให้ส�ำเร็จ อิติ ดังนี้ ฯ


238

ปริเฉทที่ ๕

เฉลยว่า อิทํ ติเหตุกกรรมนี้ น เอวํ ไม่เป็นอย่างนัน้ ติเหตุโกมกกมฺเมน สามตฺถยิ านุรปู โต ทุเหตุกปฏิสนฺธยิ าว ทาตพฺพตฺตา เพราะติเหตุกกรรมอย่างเพลา พึงให้ทุเหตุกปฏิสนธิเท่านั้น ตามสมควรแก่ความสามารถ ทุเหตุโกมกกมฺเมน อเหตุกปฏิสนฺธิยา วิย เหมือนทุเหตุกกรรมอย่างเพลา พึงให้อเหตุกปฏิสนธิ ฉะนั้น ฯ ปน ก็ ปาโ ปาฐะ สาวเสโส อันเป็นไปกับด้วยส่วนเหลือ มหาเถเรน พระมหาเถระ กโต กระท�ำไว้ กมฺมสริกฺขกวิปากทสฺสนตฺถํ เพื่อแสดงวิบาก ที่เหมือนกับกรรม ฯ อิตรถา เมือ่ ก�ำหนดเนือ้ ความนอกไปจากนี้ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นสันนิษฐาน ว่า จตุนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยาติ วจนาภาวโต เพราะไม่มีค�ำว่า จตุนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยา (เพราะปัจจัยแห่งเหตุ ๔ ประการ) ทุเหตุกกมฺเมน อเหตุกุปปตฺติยาปิ แม้ความเกิดแห่งอเหตุกวิบากด้วยทุเหตุกกรรม อภาโว อาปชฺชติ ก็ต้องไม่มี ตสฺมา เพราะฉะนั้น อเหตุกุปปตฺตึ วชฺเชตฺวา พระมหาเถระจึงเว้นความเกิด แห่งอเหตุกวิบาก สุคติยํ ชจฺจนฺธพธิราทิวิปตฺติยา ด้วยความวิบัติมีตาบอดและ หูหนวกแต่ก�ำเนิดเป็นต้น ในสุคติเสีย ทุเหตุกกมฺเมน ทุเหตุกุปปตฺติ เอว อุทฺธฏา แล้วยกขึ้นแสดงเฉพาะความเกิดแห่งทุเหตุกวิบากด้วยทุเหตุกกรรม สเหตุกุปปตฺติทสฺสนตฺถํ เพื่อแสดงความเกิดแห่งสเหตุกวิบาก คติสมฺปตฺติยา ในเมื่อมีความพร้อมแห่งคติ น อเหตุกุปปตฺติ ไม่ยกความเกิดแห่งอเหตุกวิบาก ขึ้นแสดง ยถา ฉันใด ติเหตุกกมฺเมน ติเหตุกุปปตฺติ เอว อุทฺธฏา ยกขึ้นแสดง เฉพาะความเกิดแห่งติเหตุกวิบากด้วยติเหตุกกรรม กมฺมสริกฺขกวิปากทสฺสนตฺถํ เพือ่ แสดงวิบากทีเ่ หมือนกับกรรม น ทุเหตุกปุ ปตฺติ ไม่ยกความเกิดแห่งทุเหตุกวิบาก ขึน้ แสดง เอวํ ฉันนัน้ น ปน อลพฺภมานโต แต่ทไี่ ม่ยกขึน้ ไม่ใช่เพราะหาไม่ได้ ฯ ทสฺเสตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ครั้นแสดง วิปากปฺปวตฺตึ ความเป็นไป แห่งวิบากจิต ปวตฺตสฺส ติปิฏกจูฬนาคตฺเถรวาทสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจวาทะของ พระจูฬนาคเถระผู้ทรงพระไตรปิฎก ที่เป็นไปแล้วว่า เอกาย เจตนาย จิตดวงหนึ่ง


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

239

โสฬส วิปากานิ มีวิบากจิต ๑๖ ดวง เอตฺเถว เฉพาะในกรรมที่กุศลจิตดวงหนึ่ง ประมวลมาแล้วนี้ ทฺวาทสกมตฺโต มีวิบากจิตเพียง ๑๒ ดวง หมวดหนึ่ง อเหตุกฏฺกมฺปิ ทั้งมีอเหตุกวิบากจิต ๘ ดวง หมวดหนึ่ง อิติ ดังนี้ เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ อิทานิ บัดนี้ ทสฺเสตุํ หวังจะแสดงความเป็นไปแห่งวิบากจิต อาคตสฺส โมรวาปิวาสิมหาธมฺมรกฺขิตตฺเถรวาทสฺสาปิ วเสน ด้วยอ�ำนาจ แม้แห่งวาทะของพระมหาธรรมรักขิตเถระผู้อยู่ที่โมรวาปีวิหาร ที่มาแล้วว่า เอกาย เจตนาย จิตดวงหนึ่ง ทฺวาทส วิปากานิ มีวิบากจิต ๑๒ ดวง เอตฺเถว เฉพาะใน กรรมที่กุศลจิตดวงหนึ่ง ประมวลมาแล้วนี้ ทสกมตฺโต มีวิบากจิตเพียง ๑๐ ดวง หมวดหนึ่ง อเหตุกฏฺกมฺปิ ทั้งมีอเหตุกวิบากจิต ๘ ดวง หมวดหนึ่ง อิติ ดังนี้ อสงฺขารํ สสงฺขารวิปากานีตอิ าทิ วุตตฺ ํ จึงกล่าวค�ำว่า อสงฺขารํ สสงฺขารวิปากานิ ดังนี้เป็นต้น ฯ อยเมตฺถ อธิปฺปาโย ในคาถานี้ มีอธิบายความดังนี้ว่า มุเข จลิเต เมื่อ ดวงหน้าไหวแล้ว มุขนิมติ ตฺ ํ เงาหน้า อาทาสตเล ทีพ่ นื้ กระจก จลติ ย่อมไหวตาม ยถา ฉั น ใด อสงฺ ข ารกุ ส ลสฺ ส กุ ศ ลกรรมที่ เ ป็ น อสั ง ขาริ ก เอวํ ก็ ฉั น นั้ น อสงฺขาริกวิปาโกว โหติ ย่อมมีวิบากเป็นอสังขาริกเท่านั้น น สงฺขาโร หามีวิบาก เป็นสสังขาริกไม่ อิติ เอวํ รวมความดังกล่าวมาแล้วนี้ สสงฺขารเภโท ความต่างกัน แห่งวิบากจิตที่เป็นสสังขาริก ย่อมมี อาคมนโตว โดยกรรมเป็นเหตุมาเท่านั้น ฯ ปน ก็ ยสฺมา เพราะ สงฺขารเภโท ความต่างกันแห่งสังขาร วิปากสฺส แห่งวิบาก ปจฺจยวเสน อิจฺฉิโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์ปรารถนาแล้วด้วยอ�ำนาจ แห่งปัจจัย น กมฺมวเสน หาปรารถนาด้วยอ�ำนาจแห่งกรรมไม่ ตสฺมา ฉะนั้น เอโส วาทะที่ว่า อสฺขารํ สสงฺขารวิปากานิ ดังนี้เป็นต้นนั้น เกจิวาโท กโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงแต่งไว้ว่า เป็นเกจิวาทะ ฯ เตสนฺติ บทว่า เตสํ ได้แก่ เอเตสํ เอวํวาทีนํ ของอาจารย์ทั้งหลายผู้มี ปกติกล่าวอย่างนั้น เหล่านั้น ฯ


240

ปริเฉทที่ ๕

ยถากฺกมนฺติ บทว่า ยถากฺกมํ ได้แก่ ติเหตุกุกฺกฏฺาทีนํ อนุกฺกเมน โดยล�ำดับกุศลกรรมที่เป็นติเหตุกะอย่างอุกฤษฏ์เป็นต้น ฯ ทฺวาทส วิปากานีติ ข้อว่า ทฺวาทส วิปากานิ เป็นต้น ความว่า อุทฺทิเส บัณฑิตพึงยกขึ้นแสดง ทฺวาทส วิปากานิ วิบากจิต ๑๒ ดวง ติเหตุกุกฺกฏฺ- อสงฺ ข าริ ก สสงฺ ข าริ ก กมฺ ม สฺ ส วเสน ยถากฺ ก มํ สสงฺ ข าริ ก จตุ กฺ ก วชฺ ชิ ต านิ อสงฺขาริกจตุกฺกวชฺชิตานิ จ ซึ่งเว้นวิบากจิตที่เป็นสสังขาริก ๔ ดวง ส�ำหรับกรรม ทีเ่ ป็นติเหตุกะ อย่างอุกฤษฏ์ ซึง่ เป็นฝ่ายอสังขาริก และเว้นวิบากจิตทีเ่ ป็นอสังขาริก ๔ ดวง ส�ำหรับกรรมที่เป็นติเหตุกะอย่างอุกฤษฏ์ ซึ่งเป็นฝ่ายสสังขาริกตามล�ำดับ ตถา อนึง่ พึงยกขึน้ แสดง ทส วิปากานิ วิบากจิต ๑๐ ดวง ติเหตุโกมกสฺส ทฺ วิ เ หตุ กุ กฺ ก ฏฺ  สฺ ส จ กมฺ ม สฺ ส วเสน ทฺ วิ เ หตุ ก สสงฺ ข าริ ก ทฺ ว ยวชฺ ชิ ต านิ ทฺวเิ หตุกาสงฺขาริกทฺวยวชฺชติ านิ จ ทีเ่ ว้นวิบากจิตทีเ่ ป็นทวิเหตุกะ ซึง่ เป็นสสังขาริก ๒ ดวง ส�ำหรับกรรมที่เป็นติเหตุกะอย่างเพลา และเว้นวิบากจิตที่เป็นทวิเหตุกะ ซึ่งเป็น อสังขาริก ๒ ดวง ส�ำหรับกรรมที่เป็นทวิเหตุกะอย่างอุกฤษฏ์ และพึงยกขึ้นแสดง อฏฺ วิปากานิ วิบากจิต ๘ ดวง ทฺวิเหตุโกมกสฺส วเสน ทุเหตุกทฺวยวชฺชิตานิ จ ที่เว้นวิบากจิตที่เป็นทุเหตุกะ ๒ ดวง ส�ำหรับ กรรมทีเ่ ป็นทวิเหตุกะอย่างเพลา อนุสาเรน ตามท�ำนอง อนุสสฺ รเณน คือ ตามแนว ยถาวุตตฺ สฺส แห่งนัยตามทีก่ ล่าวแล้ว ติเหตุกมุกกฺ ฏฺนฺตอิ าทินา วุตตฺ นยสฺส คือ แห่งนัยทีก่ ล่าวไว้ โดยนัยเป็นต้นว่า ติเหตุกมุกกฺ ฏฺํ ดังนี้ ยถาสมฺภวํ ตามก�ำเนิด ตสฺส ตสฺส สมฺภวานุรูปโต คือ โดยสมควรแก่ก�ำเนิด แห่งนัยนั้น ๆ ฯ ปริโต อตฺตํ ขณฺฑิตํ วิย อปฺปานุภาวนฺติ ปริตฺตํ ฌานที่ชื่อว่าปริตตะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีอานุภาพน้อย ดุจถูกตัด คือ ถูกบั่นรอนรอบด้าน ฉะนั้น ฯ ปกฏฺภาวํ นีตนฺติ ปณีตํ ฌานที่ชื่อว่าปณีตะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ถึงความเป็นฌานดีเลิศ ฯ อุภินฺนํ มชฺเฌ ภวํ ฌานที่มีในท่ามกลางแห่งฌาน ทั้ง ๒ มชฺฌิมํ ชื่อว่ามัชฌิมฌาน ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

241

อวิเสสโตว อฏฺกถายํ วุตฺตํ ท่านพระพุทธโฆษาจารย์กล่าวไว้ในอรรถกถา โดยไม่แปลกกันเลยว่า ตตฺถ บรรดาฌาน ๓ นั้น ปฏิลทฺธมตฺตมนาเสวิตํ ฌานที่เพิ่งได้ ยังไม่เสพคุ้น ปริตฺตํ ชื่อว่าปริตตฌาน ฯ ตถา อนึ่ง ท่านกล่าวว่า นาติสุภาวิตํ ฌานที่เจริญยังไม่ดีนัก อปริปุณฺณวสีภาวํ มีวสีภาพยังไม่บริบูรณ์ มชฺฌมิ ํ ชือ่ ว่ามัชฌิมฌาน ปน ส่วน อติวยิ สุภาวิตํ ฌานทีเ่ จริญดีอย่างยิง่ สพฺพโส ปริปุณฺณวสีภาวํ มีวสีภาพบริบูรณ์โดยครบถ้วน ปณีตํ ชื่อว่าปณีตฌาน ฯ ทิสฺสติ มีค�ำชี้แจงว่า ปน ก็ เอตฺถ ในที่นี้ อาจริเยน ท่านอาจารย์ อธิปฺเปตํ ประสงค์ถึง ปริตฺตมฺปิ แม้ปริตตฌาน อีสกํ ลทฺธาเสวนเมว ที่ได้ ความเสพคุ้นนิดหน่อยเท่านั้น ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น นามรูปปริจฺเฉเท ในคัมภีร์นามรูปปริเฉท อเนน ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์นนั้ มหคฺคตธมฺมานํ วิปากทานํ วตฺวา กล่าวถึงการให้วบิ าก แห่งมหัคคตธรรมทั้งหลาย พลวภาวโต เพราะเป็นธรรมมีก�ำลัง อาเสวนลาเภน โดยได้ความเสพคุน้ สมานภูมกิ โต จากธรรมทีม่ ภี มู เิ สมอกัน วุตตฺ ํ แล้วจึงกล่าวถึง อวิปจฺจนํ ความไม่เผล็ดผล อภิฺาย แห่งอภิญญา ตทภาวโต เพราะไม่มี การได้ความเสพคุ้นจากธรรมที่มีภูมิเสมอกันนั้นว่า สมานาเสวเน ลทฺเธ เมือ่ ได้ความเสพคุน้ จากธรรมทีเ่ สมอกัน วิชชฺ มาเน มหพฺพเล เมื่อมหัคคตกุศลมีก�ำลังมาก มีอยู่ (ตํ มหคฺคตกุสลํ วิปจฺจติ) มหัคคตกุศลนั้นจึงเผล็ดผล อภิฺา (ส่วน) อภิญญา อลทฺธา ตาทิสํ เหตุํ ไม่ได้เหตุเช่นนั้น น วิปจฺจติ จึงไม่เผล็ดผล ฯ วา อี ก อย่ า งหนึ่ ง นิ พฺ พ ตฺ ติ ตํ ฌานที่ พ ระโยคาวจรให้ บั ง เกิ ด หี เ นหิ ฉนฺทวิริยจิตฺตวีมํสาหิ ด้วยฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา อย่างต�่ำ ปริตฺตํ ชื่อว่า ปริตตฌาน มชฺฌิเมหิ ฉนฺทาทีหิ ฌานที่พระโยคาวจรให้บังเกิด ด้วยอธิบดีธรรม มีฉันทาธิบดีเป็นต้นอย่างกลาง มชฺฌิมํ ชื่อว่ามัชฌิมฌาน


242

ปริเฉทที่ ๕

ปณีเตหิ ฌานที่พระโยคาวจรให้บังเกิดด้วยอธิบดีธรรมมีฉันทาธิบดีเป็นต้น อย่างประณีต ปณีตํ ชื่อว่าปณีตฌาน อิติ ดังนี้แล ฯ อลํ พอที อติปปฺ เจน ไม่ต้องให้พิสดารมากนัก ฯ ปฺ จมชฺฌานํ ภาเวตฺวาติ ข้อว่า ปญฺจมชฺฌานํ ภาเวตฺวา ได้แก่ ปฺ จมชฺฌานํ ติวิธมฺปิ ภาเวตฺวา เจริญปัญจมฌานทั้ง ๓ อย่าง อภิฺาภาวมสมฺปตฺตํ ที่ยัง ไม่ถึงความเป็นอภิญญา ฯ ปน ก็ อภิฺาภาวปฺปตฺตสฺส อวิปากภาโว ความที่ปัญจมฌานที่ถึง ความเป็นอภิญญาแล้วไม่มีวิบาก อาจริเยน สาธิโต ท่านอาจารย์ให้ส�ำเร็จแล้ว อลทฺธา ตาทิสนฺติอาทินา ด้วยค�ำว่า อลทฺธา ตาทิสํ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ส่วน มูลฏีกาการาทโย อาจารย์ทงั้ หลายมีอาจารย์ผแู้ ต่งมูลฎีกาเป็นต้น ตํ ยังความทีป่ ญ ั จมฌานทีถ่ งึ ความเป็นอภิญญาแล้วไม่มวี บิ ากนัน้ สาเธนฺติ ให้สำ� เร็จ อฺ ถาปิ แม้โดยประการอื่น ฯ ปน ก็ ตํ ค�ำของอาจารย์ผู้แต่งมูลฎีกาเป็นต้นนั้น ทฏฺพฺพํ พึงเห็น วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวไว้ สงฺเขปโต ตตฺถ ตตฺถ โดยย่อในคัมภีร์นั้น ๆ วิตฺถารโต จ อภิธมฺมตฺถวิกาสนิยํ และโดยพิสดารในอภิธรรมมัตถวิกาสนี ฯ สฺ าวิราคํ ภาเวตฺวาติ อธิปฺปาโย ในค�ำว่า สฺ าวิราคํ ภาเวตฺตา นี้ มีอธิบายว่า ติตฺถิยา เอวา เฉพาะพวกเดียรถีย์ กมฺมกิริยวาทิโน ผู้เป็น กรรมกิริยวาที อรูปวิราคภาวนํ ภาเวตฺวา เจริญภาวนาเป็นเครื่องส�ำรอกนาม อรูปสฺส อนิพฺพตฺติสภาวาปาทนวเสน ด้วยอ�ำนาจท�ำนามให้ถึงสภาวะมีการ ไม่บังเกิด ปฏิลภิตพฺพภเว ในภพที่ตนจะพึงได้ เตน ด้วยก�ำลังภาวนานั้นแล้ว อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึ้น อสฺ ี สตฺเตสุ ในพวกอสัญญีสัตว์ได้ ภาวนาพเลน ด้วยก�ำลังภาวนา วาโยกสิเณ ในวาโยกสิณ ปริจฺฉินฺนากาสกสิเณ วา หรือ ในอากาสกสิณที่ก�ำหนดแล้ว เกสฺ จิ มเตน ตามมติของอาจารย์บางพวก อรู ป ปฺ ป วตฺ ติ ย า อาที น วทสฺ ส เนน โดยเห็ น โทษในความเป็ น ไปแห่ ง นาม สฺ าโรโค สฺ าคณฺโฑติอาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า สัญญาเป็นโรค สัญญา


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

243

เป็นฝี ธิ จิตฺตํ ธิ วเตทํ จิตฺตนฺติอาทินา วา นเยน หรือโดยนัยเป็นต้นว่า น่าติเตียนจิต จิตนี้น่าติเตียนแท้ ดังนี้ ตทภาเว จ ปณีตภาวสนฺนิฏฺาเนน และ โดยความตกลงใจในความไม่มีความเป็นไปแห่งนามนั้นว่า เป็นธรรมชาติประณีต ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า ปน แต่ เต สัตว์เหล่านั้น มรนฺติ ตายอยู่ อิธ ในมนุษย์นี้ เยน อิริยาปเถน โดยอิริยาบถใด นิพฺพตฺตนฺติ ย่อมบังเกิด ตตฺถ ในพวกอสัญญีสัตว์นั้น เตเนว โดยอิริยาบถนั้นเหมือนกัน ฯ อนาคามิโน ฯเปฯ อุปฺปชฺชนฺตีติ ข้อว่า อนาคามิโน ฯเปฯ อุปฺปชฺชนฺติ ความว่า อนาคามิโนเยว อริยา พระอริยบุคคลทั้งหลายที่เป็นพระอนาคามี เท่านั้น ปฺ จมชฺฌานํ ติวิธมฺปิ ภาเวตฺวา เจริญปัญจมฌานแม้ทั้ง ๓ อย่าง ปุถุชฺชนาทิกาเล ในกาลที่ยังเป็นปุถุชนเป็นต้น ปจฺฉาปิ วา หรือแม้ในกาล ภายหลังแล้ว ปฺ จสุ สุทฺธาวาเสสุ อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดในชั้นสุทธาวาส ๕ ชั้น สทฺธาทิอินฺทฺริยเวมตฺตตานุกฺกเมน ตามล�ำดับความเป็นใหญ่พิเศษแห่งอินทรีย์ มีสัทธินทรีย์เป็นต้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ภาเวตฺวา พระโยคาวจรทั้งหลาย เจริญ อรูปาวจรกุศลจิต ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ อุปปฺ ชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึน้ ยถากฺกมมารุปเฺ ปสุ ในชั้นอรูปาวจรภูมิ ตามล�ำดับ ฯ จ ก็ ยถากฺกมนฺติ บทว่า ยถากฺกมํ ได้แก่ ปมารูปาทิอนุกฺกเมน โดย ล�ำดับอรูปฌานที่ ๑ เป็นต้น ฯ จ ก็ สพฺพมฺปิ เอตํ ค�ำว่า รูปาวจรกุสลมฺปน ดังนี้เป็นต้นแม้ทั้งหมด วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวแล้ว ตสฺส ตสฺเสว ฌานสฺส อเวนิกภูมิวเสน ด้วยอ�ำนาจฌานนั้น ๆ นั่นแหละ ซึ่งมีภูมิต่างกัน ฯ ปน แต่ นิกนฺติยา สติ เมื่อยังมีความติดใจภพอยู่ ปุถุชฺชนาทโย ปุถุชน เป็นต้น นิพพฺ ตฺตนฺติ ย่อมบังเกิด ยถาลทฺธชฺฌานสฺส ภูมภิ เู ตสุ สุทธฺ าวาสวชฺชเิ ตสุ ยตฺถกตฺถจิ ในที่ใดที่หนึ่ง ซึ่งเป็นภูมิของฌานตามที่ได้แล้ว เว้นชั้นสุทธาวาส ฯ


244

ปริเฉทที่ ๕

ตถา อนึ่ง ย่อมบังเกิด กามภเวปิ แม้ในกามภพ กามาวจรกมฺมวเสน ด้วยอ�ำนาจกามาวจรกรรม ฯ อิชฺฌติ ภิกฺขเว สีลวโต เจโตปณิธิ วิสุทฺธตฺตาติ หิ วุตฺตํ สมจริงดัง พระด�ำรัสทีพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสไว้วา่ ดูกอ่ นภิกษุทงั้ หลาย การตัง้ ความปรารถนา แห่งใจมั่นของผู้มีศีล ย่อมส�ำเร็จ เพราะเป็นผู้บริสุทธิ์ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ส่วน อนาคามิโน พระอนาคามีทั้งหลาย กามภเวสุ นิกนฺตึ น อุปฺปาเทนฺติ ย่อมไม่ยังความติดใจในกามภพให้เกิดขึ้น กามราคสฺส สพฺพโส ปหีนตฺตา เพราะละกามราคะได้สนิ้ เชิง อิติ เพราะเหตุนนั้ นิพพฺ ตฺตนฺติ จึงบังเกิด กามโลกวชฺชิเต ยถาลทฺธชฺฌานภูมิภูเต ยตฺถกตฺถจิ ในที่ใดที่หนึ่ง ซึ่งเป็นภูมิ ของฌานตามที่ได้แล้ว เว้นโลกที่เป็นกามาวจร ฯ หิ ความจริง นิยโม อตฺถิ มีการก�ำหนดแน่นอนว่า อนาคามิโนเยว เฉพาะ อนาคามีบุคคลเท่านั้น นิพฺพตฺตนฺติ ย่อมบังเกิด สุทฺธาวาเสสุ ในพวกพรหมชั้น สุทธาวาส ฯ ปน แต่ นิยโม นตฺถิ ไม่มีการก�ำหนดแน่นอนว่า เต พระอนาคามีน้ัน น นิพฺพตฺตนฺติ ย่อมไม่บังเกิด อฺ ตฺถ ในที่อื่น ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็ เพราะอธิบายความดังกล่าวแล้วอย่างนี้ วุตฺตํ อาจริเยน ท่านอาจารย์จึงกล่าวไว้ว่า อนาคามิปคุ คฺ ลาว เฉพาะอนาคามีบคุ คลทัง้ หลาย อุปปชฺชเร ย่อมเกิด สุทฺธาวาเสสุ ในพวกพรหมชั้นสุทธาวาส อนาคามิวิวชฺชิตา บุคคล ทั้งหลาย เว้นพระอนาคามีบุคคลเสีย ชายนฺติ ย่อมเกิด กามธาตุมฺหิ ในกามธาตุ ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า ปน แต่ เอเต อนาคามีบุคคลเหล่านั้น สุกฺขวิปสฺสกาปิ แม้เป็นสุกขวิปัสสก มรณกาเล ในเวลาใกล้ตาย เอกนฺเตเนว สมาปตฺตึ นิพฺพตฺเตนฺติ ก็ย่อมท�ำสมาบัติให้บังเกิดได้โดยแน่นอนแท้ สมาธิมฺหิ ปริปูรการีภาวโต เพราะเป็นผู้มีปกติท�ำให้บริบูรณ์ในสมาธิ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

245

ปน แต่ พระพุทธโฆษาจารย์ อฏฺกถายํ วุตฺตํ พระพุทธโฆษาจารย์กล่าวไว้ ในอรรถกถาว่า อิตฺถิโยปิ ฝ่ายพวกผู้หญิง อริยา จะเป็นพระอริยะ อนริยา วาปิ หรือไม่ใช่พระอริยะก็ตาม อฏฺสมาปตฺตลิ าภินโิ ย มีปกติได้สมาบัติ ๘ นิพพฺ ตฺตนฺติ ย่อมบังเกิด พฺรหฺมปาริสชฺเชสุเยว เฉพาะในพวกพรหมชั้นพรหมปาริสัชชา ฯ อปิจ อีกอย่างหนึง่ เอตฺถ เวหปฺผลอกนิฏฺ จตุตถฺ ารูปภวานํ เสฏฺภวภาวโต เพราะบรรดาภพมีภพชั้นพรหมปาริสัชชาเป็นต้นนี้ ภพชั้นเวหัปผละ ชั้นอกนิฏฐะ และอรูปภพที่ ๔ เป็นภพประเสริฐที่สุด อริยา พระอริยบุคคลทั้งหลาย นิพฺพตฺตา บังเกิดแล้ว ตตฺถ ในภพทั้ง ๓ นั้น น อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมไม่อุบัติ อฺ ตฺถ ในภพอื่น ฯ ตถา อนึง่ พระอริยบุคคลทัง้ หลาย นิพพฺ ตฺตา บังเกิดแล้ว อุปรูปริพรฺ หฺมโลเกสุ ในพรหมโลกชั้นสูง ๆ ขึ้นไป อวเสเสสุ ที่เหลือ เหฏฺมิ เหฏฺเิ มสุ ย่อมไม่อุบัติ ในพรหมโลกชั้นต�่ำ ๆ ฯ วุตฺตฺ เหตํ อาจริเยน สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ดังนี้ว่า สพฺเพ อริยปุคฺคลา พระอริยบุคคลทั้งหมด ปติฏฺติ า ผู้ด�ำรงอยู่ เวหปฺผเล ในชั้นเวหัปผละ อกนิฏฺเ ชั้นอกนิฏฐะ ภวคฺเค จ และ ชั้นภวัคคพรหมแล้ว น ปุนฺ ตฺถ ชายนฺติ ย่อมไม่เกิดในพรหมโลก ชั้นอื่นอีก อริยา พระอริยบุคคลทั้งหลาย พฺรหฺมโลกคตา ผู้อยู่ ในพรหมโลกแล้ว น อุปปชฺชเร ย่อมไม่เกิด เหฏฺา ในพรหมโลก ชั้นต�่ำ ๆ ฯ อายุกฺขเยนาติอาทีสุ ในค�ำว่า อายุกฺขเยน เป็นต้น พึงทราบวินิจฉัย ดังต่อไปนี้ สติปิ กมฺมานุภาเว ตํตํคตีสุ ยถาปริจฺฉินฺนสฺส อายุโน ปริกฺขเยน มรณํ ความตายเพราะความสิ้นอายุ ตามที่ก�ำหนดไว้ในคตินั้น ๆ ในเมื่ออานุภาพ แห่งกรรมแม้ยังมีอยู่ อายุกฺขยมรณํ ชื่อว่าตายเพราะสิ้นอายุ ฯ สติปิ ตตฺถ ปริจฺฉินฺนายุเสเส คติกาลาทิปจฺจยสามคฺคิยฺ จ ตํตํภวสาธ- กสฺส กมฺมุโน ปรินิฏฺติ วิปากตฺตา มรณํ ความตายเพราะความที่กรรมซึ่งให้


246

ปริเฉทที่ ๕

ส�ำเร็จภพนั้น ๆ มีวิบากหมดสิ้นแล้ว ในเมื่อความเหลือลงแห่งอายุที่ก�ำหนด ในภพนั้น และเมื่อความพร้อมเพรียงแห่งปัจจัยมีคติและกาลเป็นต้นแม้ยังมีอยู่ กมฺมกฺขยมรณํ ชื่อว่าตายเพราะสิ้นกรรม ฯ อายุกมฺมานํ สมกเมว ปริกขฺ ณ ี ตฺตา มรณํ ความตาย เพราะอายุและกรรม สิน้ ไปพร้อมกันทีเดียว อุภยกฺขยมรณํ ชือ่ ว่าตายเพราะสิน้ อายุและกรรมทัง้ สอง ฯ สติปิ ตสฺมึ ทุวิเธ ในเมี่ออายุและกรรมทั้งสองนั้นแม้ยังมีอยู่ ปุริมภเว สิ ทฺ ธ สฺ ส กสฺ ส จิ อุ ป จฺ เ ฉทกกมฺ มุ โ น พเลน สตฺ ถ าหรณาที หิ อุ ป กฺ ก เมหิ อุจฺฉิชฺชมานสนฺตานานํ (ปวตฺตมรณํ) ความตายของเหล่าสัตว์ผู้มีสันดานขาดไป อยู่ด้วยความพยายามทั้งหลาย มีการน�ำศัสตรามาฆ่าตนเป็นต้น ซึ่งเป็นไปด้วย ก�ำลังอุปัจเฉทกกรรมบางอย่างที่ส�ำเร็จแล้วในภพก่อน คุณมหนฺเตสุ วา กเตน เกนจิ อุปกฺกเมน อายูหิตอุปจฺเฉทกกมฺมุนา ปฏิพาหิตสามตฺถิยสฺส กมฺมสฺส ตํตํอตฺตภาวปฺปวตฺตเน อสมตฺถภาวโต ทุสิมารกลาพุราชาทีนํ วิย ตํขเณเยว านา จาวนวเสน ปวตฺตมรณํ หรือว่า ความตายที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจให้เคลื่อน จากฐานในทันที ดุจความตายแห่งพระเจ้าทุสิมาร และพระเจ้ากลาพุเป็นต้น เพราะกรรมซึ่งมีความสามารถถูกอุปัจเฉทกกรรมอันสัตว์สั่งสมแล้ว ด้วยความ พยายามบางอย่างทีต่ นกระท�ำแล้วในพวกท่านผูม้ คี ณ ุ มากห้ามเสียแล้ว เป็นธรรมชาต ไม่สามารถในการยังอัตภาพนั้น ๆ ให้เป็นไปได้ อุปจฺเฉทกมรณํ นาม ชื่อว่าตาย เพราะกรรมเข้าไปบั่นรอน ฯ ปน ก็ อิทํ ความตายเพราะกรรมเข้าไปบั่นรอนนี้ น โหติ ย่อมไม่มี เนรยิกานํ แก่พวกสัตว์นรก อุตฺตรกุรุวาสีนํ พวกชาวอุตตตรกุรุทวีป เกสฺ จิ เทวานฺ จ และพวกเทพบางเหล่า ฯ เตนาหุ เหตุนนั้ อาจารย์ทงั้ หลายจึงกล่าวว่า (มรณํ) ความตาย อุปกฺกเมน วา เพราะความพยายาม อุปจฺเฉทกกมฺมุนา หรืออุปัจเฉทกกรรม พึงมี เกสฺ จิ แก่สัตว์บางเหล่า ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

247

อุปฺปตฺติ ความเกิดขึ้น ปวตฺติ คือ ความเป็นไป มรณสฺส แห่งความตาย มรณุปฺปตฺติ ชื่อว่ามรณุปปัตติ ฯ มรณกาเลติ บทว่า มรณกาเล ได้แก่ มรณาสนฺนกาเล ในเวลาใกล้ตาย ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ได้แก่ ตํตํ คตีสุ อุ ปฺปชฺชนกสตฺ ตานุ รูป เหมาะสมแก่สัตว์ผู้จะเกิดในคตินั้น ๆ ฯ ปน ก็ นามรูปธมฺมาทิกเมว ธรรมชาตมีนามธรรมและรูปธรรมเป็นต้น ยโถปฏฺติ ํ ตามที่ปรากฏ กตฺถจิ อนุปฺปชฺชมานสฺส ขีณาสวสฺส แก่พระขีณาสพ ผู้ไม่เกิดขึ้นในภพไหน ๆ นั้นแหละ คจฺฉติ ถึง โคจรภาวํ ความเป็นอารมณ์ จุติปริโยสานานํ แก่จิตทั้งหลายมีจุติจิตเป็นที่สุด น กมฺมกมฺมนิมิตฺตาทโย กรรมและกรรมนิมิตเป็นต้น หาถึงความเป็นอารมณ์ได้ไม่ ฯ อุปลทฺธปุพฺพนฺติ บทว่า อุปลทฺธปุพฺพํ ได้แก่ เจติยทสฺสนาทิวเสน ปุพฺเพ อุปลทฺธํ ที่ได้มาในปางก่อน ด้วยอ�ำนาจการเห็นพระเจดีย์เป็นต้น ฯ อุปกรณภูตนฺติ บทว่า อุปกรณภูตํ ได้แก่ ปุปฺผาทิวเสน อุปกรณภูตํ ที่เป็นอุปกรณ์ ด้วยอ�ำนาจดอกไม้เป็นต้น ฯ อุปลภิตพฺพนฺติ บทว่า อุปลภิตพฺพํ ได้แก่ อนุภวิตพฺพํ พึงเสวย ฯ อุปโภคภูตนฺติ บทว่า อุปโภคภูตํ ได้แก่ อจฺฉราวิมานกปฺปรุกขฺ นิรยคฺคอิ าทิกํ คตินิมิตมีนางอัปสร วิมาน ต้นกัลปพฤกษ์ และไฟนรกเป็นต้น อุปภุฺชิตพฺพํ ที่ตนพึงเสวย ฯ หิ ความจริง รูปายตนํ รูปายตนะ อจฺฉราวิมานกปฺปรุกฺขมาตุกุจฺฉิอาทิคตํ มีนางอัปสร วิมาน ต้นกัลปพฤกษ์ และท้องมารดาเป็นต้น สุคตินิมิตฺตํ เป็น สุคตินิมิต นิรยคฺคินิรยปาลาทิคตํ รูปายตนะมีไฟนรกและนายนิรยบาลเป็นต้น ทุคฺคตินิมิตฺตํ เป็นทุคตินิมิต ฯ คติยา นิมิตฺตํ นิมิตแห่งคติ คตินิมิตฺตํ ชื่อว่าคตินิมิต ฯ


248

ปริเฉทที่ ๕

กมฺมพเลนาติ บทว่า กมฺมพเลน ได้แก่ ปฏิสนฺธินิพฺพตฺตกสฺส กุสลา- กุสลกมฺมสฺส อานุภาเวน ด้วยอานุภาพแห่งกุศลกรรมและอกุศลกรรมซึ่งให้ ปฏิสนธิจิตบังเกิด ฯ ฉนฺนํ ทฺวารานนฺติ ข้อว่า ฉนฺนํ ทฺวารานํ ได้แก่ ฉนฺนํ อุปปตฺติทฺวารานํ บรรดาทวารที่ปรากฏ ๖ อย่าง ยถาสมฺภวํ ตามก�ำเนิด วกฺขมานนเยน โดยนัยที่ จะกล่าวต่อไป ฯ ยทิ กุสลกมฺมํ วิปจฺจติ ถ้ากุศลกรรมให้ผลไซร้ ตถา ในกาลนั้น กุสลจิตฺตํ กุศลจิต ปริสทุ ธฺ ํ ทีบ่ ริสทุ ธิ์ ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป อถ ถ้า อกุสลกมฺมํ อกุศลกรรม ให้ผลไซร้ ตทา ในกาลนั้น อกุสลจิตฺตํ อกุศลจิต อุปกฺกิลิฏฺ ที่เศร้าหมอง ย่ อ มเป็ น ไป อิ ติ เพราะเหตุ นั้ น อาห วิ ป จฺ จ มานก ฯเปฯ กิ ลิ ฏ ฺ   วาติ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า วิปจฺจมานก ฯเปฯ กิลิฏฺ วา ดังนี้ ฯ เตนาห ภควา ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ภิกฺขเว ภิกษุ ทั้งหลาย วิฺาณํ วิญญาณ นิมิตฺตสฺสาทคธิตํ ที่ก�ำหนัดด้วยอ�ำนาจความพอใจ ในนิมิต อนุพฺยฺ ชนสฺสาทคธิตํ วา หรือที่ก�ำหนัดด้วยอ�ำนาจความพอใจใน อนุพยัญชนะ ติฏฺมานํ เมื่อด�ำรงอยู่ ติฏฺติ ย่อมด�ำรงอยู่ได้ ตสฺมิฺเจ สมเย กาลํ กโรติ หากบุคคลย่อมกระท�ำกาละในสมัยนั้นไซร้ ยํ ทฺวินฺนํ คตีนํ อฺ ตรํ คตึ อุปปชฺเชยฺย นิรยํ วา ติรจฺฉานโยนึ วาติ ข้อที่เขาพึงเข้าถึงบรรดาคติ ๒ อย่าง คติใดคติหนึ่ง คือนรก หรือก�ำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน านเมตํ วิชฺชติ นั่นเป็นฐานะที่จะมีได้ ฯ ตตฺโถนตํวาติ บทว่า ตตฺโถนตํว ได้แก่ ตสฺมึ อุปฺปชฺชิตพฺพภเว โอนตํ วิย ดุจน้อมไปในภพที่จะพึงเกิดขึ้นนั้น ฯ วา อีกอย่างหนึง่ ตตฺโถนตํ อิวาติ ปทจฺเฉโท บทว่า ตตฺโถนตํว ตัดบทเป็น ตตฺโถนตํ อิว ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

249

พาหุลฺเลนาติ เอตฺถ อธิปฺปาโย อธิบายในบทว่า พาหุลฺเลน นี้ ทฏฺพฺโพ พึงเห็น วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวแล้ว เยภุยฺเยน ภวนฺตเรติ เอตฺถ ในข้อว่า เยภุยฺเยน ภวนฺตเร นี้ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ยถารหนฺติ อิมินาว ด้วยบทว่า ยถารหํ นี้แหละ โส สกฺกา สงฺคเหตํุ ใคร ๆ ก็สามารถจะรวบรวมอธิบายนั้นได้ อิติ เพราะเหตุนั้น วิฺายติ บัณฑิตย่อมเข้าใจว่า พาหุลเฺ ลนาติ อิมนิ า ด้วยบทว่า พาหุลเฺ ลน นี้ ทีปติ ํ ท่านอาจารย์แสดงไว้แล้วว่า (จิตตฺ สนฺตานํ) จิตสันดาน สหสา โอจฺฉชิ ชฺ มานชีวติ านํ ของเหล่าสัตว์ผู้มีชีวิตที่ขาดตกลงทันที (ปวตฺตติ) ย่อมเป็นไป อภิกฺขณเมว เนือง ๆ ทีเดียว สณิกํ มรนฺตานํ วิย เหมือนจิตสันดานของเหล่าสัตว์ผู้ค่อย ๆ ตายไป น หามิได้ ฯ อภินวกรณวเสนาติ บทว่า อภินวกรณวเสน ได้แก่ อตฺตานํ อภินวกรณวเสน ด้วยอ�ำนาจปรับปรุงตนเสียใหม่ ตํขเณ กริยมานํ วิย ดุจกระท�ำในขณะนั้น ฯ ปจฺจาสนฺนมรณสฺสาติ บทว่า ปจฺจาสนฺนมรณสฺส ได้แก่ สมาสนฺนมรณสฺส ของสัตว์ผู้มีความตายใกล้เข้ามาแล้ว เอกวีถิปฺปมาณายุกวเสน ด้วยอ�ำนาจสัตว์ ผู้มีอายุประมาณวิถีจิตหนึ่ง ตโต วา กิฺจิอธิกายุกวเสน หรือด้วยอ�ำนาจสัตว์ ผู้มีอายุเกินกว่าวิถีจิตหนึ่งนั้นไปเพียงเล็กน้อย ฯ วีถิจิตฺตาวสาเนติ บทว่า วีถิจิตฺตาวสาเน ได้แก่ อวสาเน ในที่สุด วีถิจิตฺตานํ แห่งวิถีจิตทั้งหลาย ตทาลมฺพนปริโยสานานํ ที่มีตทาลัมพนจิต เป็นที่สุด ชวนปริโยสานานํ วา หรือมีชวนจิตเป็นที่สุด ฯ ธมฺ ม านุ ส ารณิ ยํ วุ ตฺ ตํ ท่ า นอาจารย์ ก ล่ า วไว้ ใ นคั ม ภี ร ์ ธั ม มานุ ส ารณี ว ่ า ตตฺถ ในบรรดาภพเป็นต้นนั้น กามภวโต จวิตฺวา ตตฺเถว อุปฺปชฺชมานานํ ตทาลมฺพนปริโยสานานิ (วิถีจิตฺตานิ) วิถีจิตของเหล่าสัตว์ผู้เคลื่อนจากกามภพ แล้วเกิดขึน้ ในกามภพนัน้ นัน่ เอง มีตทาลัมพนจิตเป็นทีส่ ดุ เสสานํ ชวนปริโยสานานิ วิถีจิตของเหล่าสัตว์ที่เหลือมีชวนจิตเป็นที่สุด ฯ


250

ปริเฉทที่ ๕

ภวงฺคกฺขเยวาติ บทว่า ภวงฺคกฺขเยว ความว่า ยทิ เอกชวนวีถิโต อธิกตรายุเสโส สิยา ถ้าว่า ความเหลือลงแห่งอายุที่กว่าชวนวิถีจิตหนึ่งมีไซร้ ตทา (จุติจิตฺตํ) ภวงฺคาวสาเน วา อุปฺปชฺชิตฺวา นิรุชฺฌติ ในกาลนั้น จุติจิต เกิดขึ้นในที่สุดแห่งภวังคจิตแล้วดับลง อถ เอกจิตฺตกฺขณายุเสโส สิยา ตทา (จุติจิตฺตํ) วีถิจิตฺตาวสาเน วา อุปฺปชฺชิตฺวา นิรุชฺฌติ หรือถ้าความเหลือลงแห่ง อายุเพียงขณะจิตเดียวพึงมีไซร้ ในกาลนั้น จุตจิ ิตเกิดขึ้นในที่สุดวิถีจิตแล้วดับลง ฯ จ ก็ ตํ จุติจิตนั้น อตีตกมฺมาทิวิสยเมว มีอดีตกรรมเป็นต้นเป็นอารมณ์ อย่างเดียว ฯ ตสฺสานนฺตรเมวาติ อิมนิ า ด้วยบทว่า ตสฺสานนฺตรเมว นี้ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ ปฏิกขฺ ปิ ติ ย่อมคัดค้าน อนฺตราภววาทิมตํ มติของผูท้ มี่ กั กล่าวว่า ภพมีในระหว่าง ฯ ยถารหนฺ ติ บทว่ า ยถารหํ ได้ แ ก่ อนุ รู ป วเสน ด้ ว ยอ�ำ นาจเหมาะ กมฺมกรณกาลสฺส แก่เวลาท�ำกรรม วิปากทานกาลสฺส จ และแก่เวลาให้ผล ฯ อถวา อีกอย่างหนึง่ อตฺโถ มีอธิบายว่า วิปจฺจมานกกมฺมานุรปู  เหมาะแก่ กรรมที่จะให้ผล ปวตฺติอนุรูปโต คือ โดยเหมาะแก่ความเป็นไป อนุสยวเสน ด้วย อ�ำนาจอนุสยั ชวนสหชาตวเสน วา หรือด้วยอ�ำนาจธรรมทีเ่ กิดร่วมกันกับชวนจิต ฯ ถามว่า จ ก็ อวิชฺชานุสยปริกฺขิตฺเตนาติอาทิ วุตฺตํ ท่านอาจารย์กล่าวไว้ว่า อวิชชฺ านุสยปริกขฺ ติ เฺ ตน ดังนีเ้ ป็นต้น นนุ มิใช่หรือ จ ส่วน ชวนสหชาตานํ อนุสยภาโว ความที่อวิชชาและตัณหาที่เกิดพร้อมกับชวนจิตเป็นอนุสัย กถ พึงมีได้อย่างไร ฯ ตอบว่า อยํ ความที่อวิชชาและตัณหาที่เกิดพร้อมกับชวนจิตเป็นอนุสัยนี้ น โทโส ชื่อว่าไม่ผิด ตาสมฺปิ อนุสยโวหารโต เพราะแม้อวิชชาและตัณหาที่เกิด พร้อมกับชวนจิตเหล่านั้น เรียกว่าอนุสัย อนุสยสทิสตาย เหตุเหมือนกับอนุสัย ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ น สิยา จะไม่พึงมี สงฺคโห การรวบรวม อกุสลกมฺมสหชาตานํ อวิชชาและตัณหาที่เกิดพร้อมกับอกุศลกรรม ภวปตฺถนาสหชาตานํ วา หรือที่เกิดพร้อมกับความปรารถนาภพ จุติอาสนฺนชวน สหชาตานฺ จ และที่เกิดพร้อมกับชวนจิตใกล้จุติจิต ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

251

อวิชฺชาว เฉพาะอวิชชา อนุสโย ชื่อว่าอนุสัย อนุสยนโต เพราะนอนเนื่อง ปวตฺตนโต คือ เป็นไป อปฺปหีนตฺเถน ด้วยอรรถว่ายังละไม่ได้ ฯ เตน ปริกฺขิตฺเตน สังขารธรรม ซึ่งถูกอนุสัยนั้นแวดล้อมแล้ว ปริวาริเตน คือ ห้อมล้อมแล้ว ฯ ตณฺหานุสโยว ตัณหานุสัยแล มูลํ เป็นมูล ปธานํ คือ เป็นประธาน สหการิการณภูตํ ได้แก่ เป็นเหตุกระท�ำร่วมกัน อิมสฺส แก่สังขารธรรมนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น สังขารธรรมนี้ ตณฺหานุสยมูลโก ชื่อว่ามีตัณหานุสัยเป็นมูล ฯ สงฺขาเรนาติ บทว่า สงฺขาเรน เป็นต้น ความว่า กุสลากุสลกมฺเมน อันกุศลกรรม หรืออกุศลกรรมก็ดี กมฺมสหคตผสฺสาทิธมฺมสมุทาเยน อันหมวด ธรรมมีผัสสเจตสิกเป็นต้นที่เกิดพร้อมด้วยกรรมก็ดี จุติอาสนฺนชวนสหชาเตน วา เตน อันหมวดธรรมมีผสั สเจตสิกเป็นต้นนัน้ ทีเ่ กิดพร้อมด้วยชวนจิตใกล้จตุ จิ ติ ก็ดี ชนิยมานํ ให้เกิดอยู่ ฯ หิ ที่จริง ตณฺหา ตัณหา นเมติ ย่อมน้อมวิญญาณจิตไป อวิชฺชาย ปฏิจฺฉนฺนาทีนเว วิสเย ในอารมณ์มีโทษอันอวิชชาปกปิดแล้ว ยถาวุตฺตสงฺขารา สังขารธรรมตามทีก่ ล่าวแล้ว ขิปนกสงฺขารสมฺมตา อันท่านเรียกว่าสังขารธรรมส่งจิต ขิปนฺติ ย่อมส่งวิญญาณจิตไป ฯ ยถาหุ สมจริงดังที่พระโบราณาจารย์ทั้งหลาย กล่าวไว้ว่า อปายินํ ส�ำหรับเหล่าสัตว์ผู้เกิดในอบายภูมิ อวิชฺชา...สหเชหิ... วิสยาทีนวจฺฉาทนํ มีอวิชชาที่เกิดร่วมกับจิตปกปิดโทษในอารมณ์ ...ตณฺหา...สหเชหิ...นมนํ มีตณ ั หาเกิดร่วมกับจิตน้อมวิญญาณจิตไป ...สงฺขารสหเชหิ...ขิปนมฺปิ จ และมีสังขารธรรมที่เกิดร่วมกับจิต ส่งวิญญาณจิตไป เสสานํ ส�ำหรับเหล่าสัตว์ผู้มีปกติไปสู่สุคติภูมิ ที่เหลือ อปฺปหีเนหิ...ฉาทนํ มีอวิชชานุสัยที่ยังละไม่ได้ปกปิดโทษ ในอารมณ์ อปฺปหีเนหิ...นมนมฺปิ จ และมีตัณหานุสัยที่ยังละไม่ได้ น้อมวิญญาณจิตไป ปน ส่วน สงฺขารา สังขารธรรมทั้งหลาย ขิปกา


252

ปริเฉทที่ ๕

ทีส่ ง่ วิญญาณจิต กุสลาว เฉพาะทีเ่ ป็นกุศลเท่านัน้ ภวนฺติ ย่อมเกิดมี อิธ ในสุคติปฏิสนธินี้ ฯ สมฺปยุตตฺ ธมฺเมหิ ปริคคฺ ยฺหมานนฺติ ค�ำว่า สมฺปยุตตฺ ธมฺเมหิ ปริคคฺ ยฺหมานํ โดยอรรถว่า ผสฺสาทีหิ ธมฺเมหิ อันธรรมมีผสั สเจตสิกเป็นต้น อตฺตนา สมฺปยุตเฺ ตหิ ประกอบกับตน ปริวาเรตฺวา คยฺหมานํ แวดล้อมประคอง สมฺปยุตฺตปจฺจยาทินา โดยเป็นสัมปยุตปัจจัยเป็นต้น ฯ สหชาตา ฯเปฯ ภูตนฺติ ค�ำว่า สหชาตา ฯเปฯ ภูตํ โดยอรรถว่า ปธานภูตํ เป็นประธาน อตฺตนา สหชาตานํ ปติฏฺ านภาเวน โดยเป็นทีป่ ระดิษฐานของธรรม ที่เกิดร่วมกันกับตน ฯ มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมาติ หิ วุตฺตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ว่า ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า ดังนี้เป็นต้น ฯ ภวนฺตรปฏิสนฺธานวเสนาติ บทว่า ภวนฺตรปฏิสนฺธานวเสน โดยอรรถว่า ปฏิสนฺทหนวเสน ด้วยอ�ำนาจสืบต่อ ปุริมภวนฺตรสฺส ภพอื่นข้างหน้า ปจฺฉิม- ภวนฺตรสฺส จ และภพอื่นข้างหลัง อฺ มฺ  เอกาพทฺธํ วิย ดุจเนื่องเป็น อันเดียวซึ่งกันและกัน ฯ อธิปปฺ าโย อธิบายว่า อุปปฺ ชฺชมานเมว จิตก�ำลังเกิดเท่านัน้ ปฏฺาติ ปรากฏ น อิโต คนฺตฺวา ไม่ใช่ไปจากภพนี้แล้วจึงปรากฏ ฯ หิ เพราะว่า โกจิ ธมฺโม ธรรมอะไร ๆ ปุรมิ ภวปริยาปนฺโน อันเนือ่ งในภพก่อน น ภวนฺตรํ สงฺกมติ ย่อมย้ายไปในภพอื่นไม่ได้ ฯ นาปิ ปุริมภวปริยาปนฺนเหตูหิ วินา อุปฺปชฺชติ แม้เว้นเหตุอันเนื่องในภพก่อนเสียแล้ว ก็เกิดขึ้นไม่ได้ ปฏิโฆส- ทีปมุทฺทาทิ วิย ดุจเสียงสะท้อน เปลวประทีป และตราประทับเป็นต้นแล อิติ เพราะเหตุนั้น อลมติปปฺ เจน พอทีไม่ต้องพิสดารมากนัก ฯ ชวนจิตทั้งหลาย มนฺทํ หุตฺวา ปวตฺตานิ เป็นจิตอ่อนแล้วเป็นไป มนฺทปฺปวตฺตานิ ชื่อว่าเป็นไปอ่อน ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

253

อธิปฺปาโย อธิบายว่า ปจฺจุปฺปนฺนาลมฺพเนสฺวาปาถมาคเตสุ เมื่ออารมณ์ที่ เป็นปัจจุบันทั้งหลายนั่นแล มาปรากฏ มโนทฺวาเร ในมโนทวาร คตินิมิตฺตวเสน ด้วยอ�ำนาจคตินิมิต ปฺ จทฺวาเร กมฺมนิมิตฺตวเสน มาปรากฏในปัญจทวาร ด้วย อ�ำนาจกรรมนิมิต (มรณํ โหติ) ความตายย่อมมีได้ ฯ ปฏิสนฺธิ ฯเปฯ ลพฺภตีติ...อยเมตฺถ สงฺเขโป ในค�ำว่า แม้ปฏิสนธิจิตและ ภวังคจิต ก็ย่อมได้ความมีอารมณ์ปัจจุบันนี้ มีอรรถสังเขปดังนี้ว่า ปฏิสนฺธิยา ปฏิสนธิจิต ๑ ดวง จตุนฺนํ ภวงฺคานํ ภวังคจิต ๔ ดวง ปจฺจุปฺปนฺนาลมฺพนภาโว ลพฺภติ ย่อมได้ความมีอารมณ์ปจั จุบนั มโนทฺวาเร ในมโนทวาร ตาว ก่อน ปน แต่ ปฺ จทฺวาเร ในปัญจทวาร ปฏิสนฺธยิ าว ปฏิสนธิจติ อย่างเดียว (ปจฺจปุ ปฺ นฺนาลมฺพนภาโว ลพฺภติ) ย่อมได้ความมีอารมณ์ปัจจุบัน ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น กสฺสจิ มโนทฺวาเร อาปาถมาคตํ ปจฺจุปฺปนฺนํ คตินิมิตฺตมารพฺภ อุปฺปนฺนาย ตทาลมฺพนปริโยสานาย จิตฺตวีถิยา อนนฺตรํ จุติจิตฺเต อุปฺปนฺเน เมื่อจุติจิตเกิดขึ้นในล�ำดับต่อจากวิถีจิต ซึ่งมีตทาลัมพนจิต เป็นทีส่ ดุ ซึง่ เกิดขึน้ ยึดคตินมิ ติ ทีเ่ ป็นปัจจุบนั ซึง่ มาปรากฏแก่สตั ว์บางตนในมโนทวาร ตทนนฺตรํ ปฺ จจิตตฺ กฺขณายุเก อาลมฺพเน ปวตฺตาย ปฏิสนฺธยิ า จตุนนฺ ํ ภวงฺคานํ ปจฺจปุ ปฺ นฺนารมฺมเณ ปวตฺติ อุปลพฺภติ ย่อมได้ความเป็นไปในอารมณ์ทเี่ ป็นปัจจุบนั แห่งปฏิสนธิจิต (๑ ดวง) ภวังคจิต ๔ ซึ่งเป็นไปในอารมณ์ที่มีอายุ ๕ ขณะจิต ในล�ำดับต่อจากจุตจิ ติ นัน้ ปฺ จทฺวาเร จ าตกาทีหิ อุปฏฺาปิเตสุ เทยฺยธมฺเมสุ วณฺณาทิเก อารพฺภ ยถารหํ ปวตฺตาย จิตฺตวีถิยา จุติจิตฺตสฺส จ อนฺตรํ เอกจิตฺตกฺขณายุเก อาลมฺพเน ปวตฺตาย ปฏิสนฺธิยา ปจฺจุปฺปนฺนารมฺมเณ ปวตฺติ อุปลพฺภติ และย่อมได้ความเป็นไปในอารมณ์ที่เป็นปัจจุบันแห่งปฏิสนธิจิต ซึ่งเป็นไปในอารมณ์ ที่มีอายุขณะจิตเดียว ในล�ำดับแห่งวิถีจิตและจุติจิต ซึ่งปรารภ รูปารมณ์เป็นต้น ในไทยธรรมทั้งหลาย ที่พวกญาติเป็นต้นตั้งไว้แล้ว ซึ่งมาปรากฏ ในปัญจทวาร เป็นไปตามสมควร ฯ


254

ปริเฉทที่ ๕

ปน ส่วน วิตฺถาโร ความพิสดาร ทฏฺพฺโพ บัณฑิตพึงค้นดู วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวไว้แล้ว วิสุทฺธิมคฺเค ในวิสุทธิมรรค วิภงฺคฏฺกถาย วา สงฺขาร- ปจฺจยาวิฺาณปทวณฺณนาย หรือในการพรรณนาบทแห่งสังขารปัจจัยและ วิญญาณ ในอรรถกถาวิภังค์ ฯ ฉทฺวารคฺคหิตนฺติ ในค�ำว่า ฉทฺวารคฺคหิตํ นี้ ยถาสมฺภวํ โยเชตพฺพํ บัณฑิต พึงประกอบค�ำตามก�ำเนิดว่า กมฺมนิมติ ตฺ ํ กรรมนิมติ ฉทฺวารคฺคหิตํ อันชวนจิตรับมา ทางทวาร ๖ คตินมิ ติ ตฺ ํ คตินมิ ติ ฉฏฺทฺวารคฺคหิตํ อันชวนจิตรับมาทางทวารที่ ๖ ฯ อปเร ปน อวิเสสโต วณฺเณนฺติ แต่อาจารย์อีกพวกหนึ่ง พรรณนาไว้ โดยไม่แปลกกัน ฯ สจฺจสงฺเขเปปิ แม้ในปกรณ์สัจจสังเขป เตเนว อธิปฺปาเยน โดยอธิบายนั้น นั่นแหละ อิทํ วุตฺตํ ท่านอาจารย์ธรรมปาละกล่าวไว้ดังนี้ว่า วินา กมฺมํ เว้นกรรม ปฺ จทฺวาเร ในปัญจทวารเสีย สนฺธิ ปฏิสนธิจติ สิยา พึงมีได้ ทฺวิโคจเร ในอารมณ์ ๒ อย่าง ฯ ปน แต่ อฏฺกถายํ คตินิมิตฺตํ มโนทฺวาเร อาปาถมาคจฺฉตีติ วุตฺตตฺตา เพราะในอรรถกถาท่านกล่าวไว้ว่า คตินิมิตย่อมมาปรากฏในมโนทวารดังนี้ ตทา รมฺมณาย จ ปฺ จทฺวาริกปฏิสนฺธิยา อทสฺสิตตฺตา และเพราะความที่ปฏิสนธิจิต ที่เกิดทางทวาร ๕ ซึ่งมีคตินิมิตนั้นเป็นอารมณ์ ท่านมิได้แสดงไว้ มูลฏีกาสุ จ กมฺมพเลน อุปฏฺาปิตํ วณฺณายตนํ สุปินํ ปสฺสนฺตสฺส วิย ทิพฺพจกฺขุสฺส วิย จ มโนทฺวาเรเยว โคจรภาวํ คจฺฉตีติ นิยเมตฺวา วุตฺตตฺตา และเพราะในมูลฎีกา ทั้งหลาย ท่านกล่าวไว้แน่นอนว่า รูปายตนะที่ก�ำลังกรรมให้ปรากฏแล้ว ย่อมถึง ความเป็นอารมณ์เฉพาะในมโนทวาร ดุจรูปายตนะมาปรากฏแก่ผู้ฝัน และดุจ รูปายตนะมาปรากฏแก่ทา่ นผูม้ ที พิ ยจักขุญาณ ฉะนัน้ อาจริยา ท่านอาจารย์ทงั้ หลาย น สมฺปฏิจฺฉนฺติ จึงไม่รับรอง วจนํ ค�ำ เตสํ ของอาจารย์อีกพวกหนึ่งเหล่านั้น ฯ ปจฺจปุ ปฺ นฺนฺ จาติ เอตฺถ ในค�ำว่า ปจฺจปุ ปฺ นฺนฺ จ เป็นต้นนี้ พึงมีคำ� ท้วงว่า คตินิมิตฺตํ ตาว ปจฺจุปฺปนฺนาลมฺพนํ ยุชฺชติ คตินิมิตมีอารมณ์เป็นปัจจุบัน


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

255

ย่อมเหมาะสมก่อน ปน ส่วน กมฺมนิมิตฺตํ กรรมนิมิต อธิปฺเปตํ ท่านประสงค์ถึง ปฏิสนฺธชิ นกกมฺมสฺเสว นิมติ ตฺ ภูตํ เฉพาะทีเ่ ป็นนิมติ แห่งกรรมทีใ่ ห้ปฏิสนธิจติ เกิด เท่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส จุติอาสนฺนชวเนหิ คหิตสฺส ปจฺจุปฺปนฺนภาโว สมฺภวติ ความที่กรรมนิมิตนั้น ซึ่งถูกชวนจิตที่ใกล้จุติจิตรับมาแล้วเกิดเป็นปัจจุบัน กถํ ได้อย่างไร ฯ หิ ความจริ ง ตเทว กรรมกล่ า วคื อ ชวนจิ ต ที่ ใ กล้ จุ ติ จิ ต นั้ น นั่ น เอง อารมฺมณูปฏฺาปกํ พึงเป็นตัวให้อารมณ์ตั้งขึ้น ชนกํ ภเวยฺย พึงเป็นตัวให้ ปฏิสนธิจิตเกิด น หามิได้ อุปจิตภาวาภาวโต เพราะไม่มีความเป็นกรรมอันสัตว์ สัง่ สมแล้ว อนสฺสาทิตตฺตา จ และเพราะความเป็นกรรมอันตัณหาไม่ให้ยนิ ดีแล้ว ฯ หิ ความจริง กตตฺตา อุปจิตตฺตาติ วจนโต เพราะพระบาลีว่า กตตฺตา อุปจิตตฺตา ดังนี้ ปุนปฺปุนํ ลทฺธาเสวนเมว กมฺมํ กรรมเฉพาะที่ได้อาเสวนปัจจัย บ่อย ๆ ปฏิสนฺธึ อากฑฺฒติ ย่อมชักปฏิสนธิจิตมาได้ ฯ จ ส่วน ปฏิสมฺภิทามคฺเค ในคัมภีร์ปฏิสัมภิทามรรค นิกฺกนฺติขเณ ทฺวินฺนํ เหตูนํ ปจฺจยาปิ สเหตุกปฏิสนฺธิยา วุตฺตตฺตา เพราะพระสารีบุตรเถระกล่าวถึง ปฏิสนธิจิตฝ่ายสเหตุกะซึ่งเป็นไปแล้ว แม้เพราะปัจจัยแห่งเหตุ ๒ ประการ ในขณะก้าวลงสู่ภพ กตูปจิตมฺปิ กมฺมํ กรรมแม้ที่สัตว์กระท�ำแล้วและสั่งสมแล้ว ตณฺหาย อสฺสาทิตเมว เฉพาะที่ตัณหาให้ยินดีแล้วเท่านั้น วิปากํ อภินิปฺผาเทติ ย่อมให้วิบากส�ำเร็จได้ ฯ จ ก็ จุติอาสนฺนชวนานิ ชวนจิตที่ใกล้จุติจิต ปวตฺตมานานิ ซึ่งเป็นไป ตทา ในกาลนัน้ ปฏิสนฺธยิ า สมานวีถยิ ํ วิย ดุจเป็นไปในวิถจี ติ ทีเ่ สมอกับปฏิสนธิจติ ปุนปฺปุนํ ลทฺธาเสวนานิ สิยุ จะพึงได้อาเสวนปัจจัยบ่อย ๆ กถ ได้อย่างไร กถฺ จ ตานิ ตทา ตณฺหาย ปรามฏฺานิ และชวนจิตที่ใกล้ต่อจุติจิตเหล่านั้น จะพึงเป็นกรรมถูกตัณหายึดไว้ในกาลนั้น ได้อย่างไร ฯ อปิจ อีกอย่างหนึง่ อฏฺกถายํ วุตตฺ ํ ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาว่า ปจฺจปุ ปฺ นฺนํ กมฺมนิมิตฺตํ กรรมนิมิตที่เป็นปัจจุบัน จุติอาสนฺนปฺปวตฺตานํ ปฺ จทฺวาริกชวนานํ


256

ปริเฉทที่ ๕

อารมฺมณํ โหติ ย่อมเป็นอารมณ์แห่งชวนจิตที่เกิดทางทวาร ๕ ซึ่งเป็นไปใกล้ต่อ จุตจิ ติ จ แต่ ปฺ จทฺวาริกกมฺมํ กรรมทีเ่ กิดทางทวาร ๕ ปฏิสนฺธนิ พิ พฺ ตฺตกํ น โหติ จะให้ปฏิสนธิจติ บังเกิดย่อมไม่ได้ ปริทพุ พฺ ลภาวโต เพราะมีกำ� ลังอ่อนโดยรอบด้าน ฯ พึงมีค�ำตอบว่า เอตํ ค�ำที่ท่านกล่าวแล้วนี้ สจฺจํ เป็นความจริง ปน แต่ ตตฺถ วณฺณาทิกํ อารพฺภ จุตอิ าสนฺนวีถโิ ต ปุรมิ ภาคปฺปวตฺตานํ ปฏิสนฺธชิ นนสมตฺถานํ มโนทฺวาริกชวนานมารมฺมณภูเตน สห สมานตฺตา เพราะความที่กรรมนิมิตนั้น เป็นธรรมชาตเหมือนกับกรรมนิมิต ที่เป็นอารมณ์แก่ชวนจิตที่เกิดทางมโนทวาร ที่สามารถให้ปฏิสนธิจิตเกิดได้ ที่ยึดรูปารมณ์เป็นต้น ในดอกไม้เป็นต้นเหล่านั้น เป็นไปในกาลเบื้องต้น แต่วิถีจิตที่ใกล้จุติจิต าตกาทีหิ อุปฏฺาปิเตสุ ปุปฺผาทีสุ สนฺนิหิเตเสฺวว มรณสมฺภวโต โดยความตายเกิดมีได้ ในเมื่อดอกไม้เป็นต้น ทีพ่ วกญาติเป็นต้นช่วยกันจัดแจงไว้ ด�ำรงอยูพ่ ร้อมแล้วนัน่ แล วณฺณาทิกํ รูปายตนะ เป็นต้น จุติอาสนฺนชวนคฺคหิตมฺปิ แม้ที่ชวนจิตที่ใกล้จุติจิตรับมา ปจฺจุปฺปนฺนํ ทีเ่ ป็นปัจจุบนั ตเทกสนฺตติยํ ปติตํ ซึง่ ตกไปในความสืบต่อเดียวกันกับกรรมนิมติ นัน้ กมฺมนิมติ ตฺ ภาเวน วุตตฺ ํ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์กล่าวไว้ โดยความเป็นกรรมนิมติ ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวแล้วอย่างนี้ วุตตฺ ํ อานนฺทาจริเยน ท่านพระอานันทาจารย์จึงกล่าวว่า จ ก็ ปจฺจุปฺปนฺนํ กมฺมนิมิตฺตํ กรรมนิมิตที่เป็น ปัจจุบัน ปฺ จทฺวาเร อาปาถมาคจฺฉนฺตํ ซึ่งมาปรากฏในปัญจทวาร ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงทราบว่า อาสนฺนกตกมฺมารมฺมณสนฺตติยํ อุปฺปนฺนํ อิติ เกิดขึ้นแล้ว ในความสืบต่อแห่งอารมณ์ของกรรม ทีส่ ตั ว์ทำ� ในเวลาใกล้ตาย ตํสทิสนฺติ และว่า เหมือนกับอารมณ์ของกรรมตามที่กล่าวแล้วนั้น ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ได้แก่ ทุตยิ จตุตถฺ ปมตติยานํ ปฏิสนฺธนี ํ อนุรปู โต โดยเหมาะสมแก่ปฏิสนธิจติ ดวงที่ ๒ กับดวงที่ ๑ และดวงที่ ๔ กับดวงที่ ๓ ฯ อารุปฺปปฏิสนฺธิโย อรูปาวจรปฏิสนธิจิต เหฏฺมิ ารุปฺปวชฺชิตา เว้นอรูปาวจร ปฏิสนธิจิตเบื้องต�่ำ โหนฺติ ย่อมมี อารุปฺปจุติยา ปรํ ต่อจากอรูปาวจรจุติจิต อุปรูปริอรูปีนํ เหฏฺมิ เหฏฺมิ กมฺมสฺส อนายูหนโต เพราะอรูปาวจรสัตว์ชั้นสูง ๆ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

257

ไม่สั่งสมกรรมชั้นต�่ำ ๆ ปน แต่ อุปจารชฺฌานสฺส พลวภาวโต เพราะอุปจารฌาน มีก�ำลังแรง กาเม ติเหตุกา ปฏิสนฺธิโย ติเหตุกปฏิสนธิจิตในกามภพ ตสฺส วิปากภูตา ซึ่งเป็นวิบากแห่งอุปจารฌานนั้น โหนฺติ ย่อมมีได้ ฯ ทุ เ หตุ ก ติ เ หตุ ก ปฏิ ส นฺ ธิ โ ย ทุ เ หตุ ก ปฏิ ส นธิ จิ ต และติ เ หตุ ก ปฏิ ส นธิ จิ ต อเหตุกรหิตา ที่เว้นจากอเหตุกปฏิสนธิจิต สิยุํ พึงมี รูปาวจรจุติยา ปรํ ต่อจาก รูปาวจรจุติจิต อุปจารชฺฌานานุภาเวเนว ด้วยอานุภาพแห่งอุปจารฌานนั่นเอง ฯ อเหตุกาทิปฏิสนฺธโิ ย อเหตุกปฏิสนธิจติ เป็นต้น สพฺพา เอว ทัง้ หมดทีเดียว กามรูปารูปภวปริยาปนฺนา คือ ที่นับเนื่องในกามภพ รูปภพ และอรูปภพ สิยุํ พึงมี จุติจิตฺตโต ปรํ ต่อจากจุติจิต กามติเหตุกมฺหา ที่เป็นติเหตุกะในกามภพ ยถารหํ ตามสมควร ฯ ติเหตุกาทิปฏิสนฺธิโย ติเหตุกปฏิสนธิจิตเป็นต้น อิตรา นอกนี้ สิยุ พึงมี กาเมเสฺวว ภเวสุ เฉพาะในกามภพ ทุเหตุกาเหตุกจิตฺตโต ปรํ ต่อจากทุเหตุกจิต และอเหตุกจิต ฯ ปฏิ ส นฺ ธิ ย า นิ โ รธสฺ ส อนนฺ ต รโต แต่ ล� ำ ดั บ ต่ อ จากปฏิ ส นธิ จิ ต ดั บ ลง ปฏิสนฺธินิโรธานนฺตรโต ชื่อว่าแต่ ล�ำดับต่อจากปฏิสนธิจิตดับลง ฯ ตเทว จิตฺตนฺติ ข้อว่า ตเทว จิตฺตํ ความว่า ตเทว จิตนั้นนั่นเอง จิตฺตํ ชือ่ ว่าจิต ตโํ วหารมฺปตฺตตฺตา เพราะถึงโวหารว่าจิตนัน้ ตํสทิสตาย เหตุเหมือนกับ ปฏิสนธิจิตนั้น ยถา ตานิเยว โอสถานิ เหมือนโอสถเหล่านั้นนั่นแล ฉะนั้น ฯ อสติ วีถจิ ติ ตฺ ปุ ปฺ าเทติ...สมฺพนฺโธ ข้อว่า อสติ วีถจิ ติ ตฺ ปุ ปฺ าเท เชือ่ มความว่า อนฺตรนฺตรา วีถิจิตฺตานํ อุปฺปาเท อสติ เมื่อไม่มีความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิตทั้งหลาย ในระหว่าง ๆ ตเทว จิตฺตํ จิตดวงนั้นนั่นเอง จุติจิตฺตํ หุตฺวา นิรุชฺฌติ จึงเป็น จุติจิตดับลง ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ปฏิสนธิจิตเป็นต้น ปริวตฺตนฺตา ปวตฺตนฺติ ย่อม หมุนเวียนเปลี่ยนไป ยาว วฏฺฏมูลสมุจฺเฉทา จนกว่ามูลแห่งวัฏฏะจะขาด ฯ


258

ปริเฉทที่ ๕

โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ปฏิสนฺธิ เจว ภวงฺคฺ จ วีถิโย จ จุติ จ ปฏิสนธิจติ ภวังคจิต วิถจี ติ และจุตจิ ติ ย่อมหมุนเวียนเปลีย่ นไป อิห ภเว ในภพนี้ ยถา ฉันใด อยํ จิตฺตสนฺตติ ความสืบต่อแห่งจิตนี้ ปฏิสนฺธิภวงฺคมิติเอวมาทิกา มีอาทิอย่างนี้ คือ ปฏิสนธิจิต และภวังคจิต ปริวตฺตติ ก็หมุนเวียนเปลี่ยนไป ภวนฺตเร ในภพอื่น ปุน ใหม่ ตถา ฉันนั้น ฯ ปน แต่ เกจิ อาจารย์บางพวก อตฺถ วทนฺติ กล่าวเนื้อความ ปฏิสนฺธิ- ภวงฺควีถิโยติ อิมสฺส แห่งบทว่า ปฏิสนฺธิภวงฺควีถิโย นี้ ปฏิสนฺธิภวงฺคปฺปวาโหติ ว่า กระแสแห่งปฏิสนธิจิตและภวังคจิต อธิปฺปาเยน โดยอธิบายว่า อิมสฺมึ ปริจฺเฉเท วีถิมุตฺตสงฺคหสฺเสว ทสฺสิตตฺตา เพราะท่านพระอนุรุทธาจารย์แสดง เฉพาะการรวบรวมจิตที่พ้นจากวิถีไว้ในปริเฉทนี้ ปฏิสนฺธิภวงฺคจุตีนเมว อิธ สงฺคหณํ การรวบรวมเฉพาะปฏิสนธิจติ ภวังคจิต และจุตจิ ติ เข้าไว้ในปริเฉทที่ ๕ นี้ ยุตฺตํ จึงเหมาะสมแล้ว ฯ ตํ ค�ำนัน้ มติมตฺตํ เป็นเพียงมติ เตสํ ของอาจารย์พวกนัน้ ตตฺถ สงฺคหิตานํ สพฺเพสเมว นิคมนสฺส อธิปเฺ ปตตฺตา เพราะท่านประสงค์ถงึ การกล่าวย�ำ้ ปฏิสนธิจติ ภวังคจิต วิถีจิต และจุติจิตทั้งหมดนั่นเอง ที่ท่านรวบรวมไว้ในปวัตติสังคหะ (ปริเฉทที่ ๔) นัน้ ปวตฺตสิ งฺคหทสฺสนาวสาเน ในทีส่ ดุ แห่งการแสดงปวัตติสงั คหะ ฯ หิ ความจริง เอวํ สติ เมือ่ เป็นเช่นนัน้ ปรามสนํ อุปปฺ นฺนํ โหติ ย่อมเกิด มีการรวบรวม สพฺเพสเมว ปฏิสนธิจิตเป็นต้นทั้งหมดนั่นแล เอตํสทฺเทน ด้วย เอตํ ศัพท์ ปฏิสงฺขาย ปเนตมทฺธุวนฺติ เอตฺถ ในค�ำว่า ปฏิสงฺขาย ปเนตมทฺธุวํ นี้ สุฏฺุ ด้วยดี ฯ พุธา ท่านผูร้ ทู้ งั้ หลาย ปณฺฑติ า คือ บัณฑิตทัง้ หลาย ปฏิสงฺขาย พิจารณา ปจฺจเวกฺขิตฺวา ได้แก่ เห็นเฉพาะ อธุวํ ซึ่งความไม่ยั่งยืน อนิจฺจ คือ ความไม่เที่ยง ปโลกธมฺมํ ได้แก่ สิ่งที่มีความแตกสลายเป็นธรรมดา เอตํ นี้ วฏฺฏปฺปวตฺตํ คือ ซึง่ เป็นไปในวัฏฏะ ยถาวุตตฺ ํ ตามทีก่ ล่าวแล้ว สุพพฺ ตา หุตวฺ า เป็นผูม้ วี ตั รงาม จิราย โดยกาลนาน จิรํ กาลํ คือ ตลอดกาลนาน อธิคนฺตฺวา บรรลุแล้ว สจฺฉิกตฺวา


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล

259

คือ ท�ำให้แจ้งแล้ว ปทํ ซึ่งทาง อจฺจุตํ อันไม่จุติ ธุวํ คือ ยั่งยืน อจวนธมฺมํ ได้แก่ ความไม่เคลือ่ นไปเป็นธรรมดา นิพพฺ านปทํ คือ ทางพระนิพพาน มคฺคผลาเณน ด้วยมรรคญาณและผลญาณ ตโตเยว ต่อแต่นั้นเอง สมุจฺฉินฺนสิเนหพนฺธนา เป็นผู้ตัดกิเลสเครื่องผูกคือความเยื่อใยได้เด็ดขาด สุฏฺุ ด้วยดี เอสฺสนฺติ จักลุถึง ปาปุณิสฺสนฺติ คือ จักบรรลุถึง สมํ ความสงบ นิรุปธิเสสนิพฺพานธาตุํ คือ นิพพานธาตุอันปราศจากอุปธิกิเลสที่เหลือ ฯ ปฺ จมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๕ อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธัมมัตถสังหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺติ า จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ


260

ปริเฉทที่ ๖

ฉฏฐปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๖ (อนุรุทฺธาจริโย) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ทสฺเสตฺวา ครั้นแสดง ทุวิธํ อภิธมฺมตฺถํ อรรถแห่งพระอภิธรรม ๒ ประการ จิตฺตเจตสิกวเสน คือจิต ๑ เจตสิก ๑ เอวํ ตาว ดังพรรณนามาฉะนี้ก่อนแล้ว อิทานิ บัดนี้ ทสฺเสตุมารภนฺโต เมื่อจะเริ่มแสดง รูปํ รูป ตทนนฺตรญฺจ นิพฺพานํ และพระนิพพาน ในล�ำดับต่อ จากรูปนั้น อาห จึงกล่าว เอตฺตาวตาติอาทิ ว่าเอตฺตาวตา ดังนี้เป็นต้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า หิ เพราะ ยสฺมา คือ เพราะว่า ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย จิ ตฺ ต เจตสิ ก า คื อ จิ ต และเจตสิ ก สปฺ ป เภทปฺ ป วตฺ ติ ก า ซึ่ ง มี ป ระเภทและ ปวัตติกาล วุตฺตปฺปเภทวนฺโต คือที่มีประเภทดังกล่าวไว้แล้ว ตีหิ ปริจฺเฉเทหิ โดย ๓ ปริเฉท นิทเฺ ทสปฏินทิ เฺ ทสาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจนิเทศ และปฏินเิ ทศเป็นต้น วุตฺตปฺปวตฺติวนฺโต จ และที่มีปวัตติกาลดังกล่าวไว้แล้ว ทฺวีหิ ปริจฺเฉเทหิ โดย ๒ ปริเฉท ปวตฺติปฏิสนฺธิวเสน ด้วยอ�ำนาจปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล วิภตฺตา ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) ได้จ�ำแนกไว้เสร็จแล้ว เอตฺตาวตา ด้วยค�ำ มีประมาณเท่านี้ ปญฺจหิ ปริจฺเฉเทหิ คือ โดย ๕ ปริเฉท ตสฺมา ฉะนั้น อิทานิ บัดนี้ ปวุจฺจตีติ ข้าพเจ้าจะกล่าว รูปํ รูป ยถานุปฺปตฺตํ ซึ่งมาถึงเข้า ตามล�ำดับ ฯ อิทานิ บัดนี้ ฐเปตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์หวังจะตั้ง มาติกํ มาติกา ยถาปฏิญฺญาตรูปวิภาคตฺถํ เพื่อจ�ำแนกรูป ตามที่ปฏิญญาไว้แล้ว วุตฺตํ จึงกล่าวว่า สมุทฺเทสาติอาทิ สมุทฺเทสา ดังนี้เป็นต้น ฯ อุทฺทิสนํ การยกรูป ขึน้ แสดง สงฺเขปโต โดยย่อ สมุทเฺ ทโส ชือ่ ว่า สมุทเทสนัย ฯ วิภชนํ การจ�ำแนกรูป เอกวิธาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจรูปอย่างเดียวเป็นต้น วิภาโค ชื่อว่าวิภาคนัย ฯ สมุฏฺฐานํ ที่ชื่อว่าสมุฏฐาน เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า สมุฏฺฐาติ เอตสฺมา ผลนฺติ เป็นแดนตั้งขึ้นแห่งผล รูปชนกปจฺจยา ได้แก่ปัจจัยที่ให้รูปเกิด กมฺมาทโย


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

261

มีกรรมปัจจัยเป็นต้น ฯ จกฺขุทสกาทโย หมวดแห่งรูปมีจักขุทสกกลาปเป็นต้น กลาปา ชือ่ ว่ากลาป ฯ ปวตฺตกิ กฺ มโต เจติ บทว่า ปวตฺตกิ กฺ มโต จ อุปปฺ ตฺตกิ กฺ มโต ได้แก่ โดยล�ำดับความเกิดขึ้น รูปานํ แห่งรูปทั้งหลาย ภวกาลสตฺตเภเทน โดยความต่างกันแห่งภพ กาล และสัตว์ ฯ มหาภูตา สภาวธรรมที่ชื่อว่ามหาภูต เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ภูตา เกิดมี ปาตุภูตาติ คือปรากฏ มหนฺตา หุตฺวา เป็นสภาวะใหญ่ สสมฺภารธาตุวเสน ด้วยอ�ำนาจธาตุพร้อมทั้งเครื่องประกอบ อุปฺปาทินฺนานุปฺปาทินฺนสนฺตาเนสุ ในความสืบต่อ แห่งอุปาทินนกสังขาร และ อนุปาทินนกสังขาร ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง มหาภูตา สภาวธรรมที่ชื่อว่ามหาภูต เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เอเตสูติ เป็นที่ อพฺภูตานิ ปรากฏแห่งความมหัศจรรย์ อภูตานิ วา หรือความมีไม่จริง มหนฺตานิ มากมาย อเนกวิธพฺภูตวิเสสทสฺสเนน โดยแสดงความแปลกประหลาดน่าอัศจรรย์หลากหลาย อเนกาภูตทสฺสเนน วา หรือโดยแสดงความมีไม่จริงเป็นเอนกประการ มายาการาทโย ได้แก่นักเล่นกล เป็ น ต้ น ฯ มหาภู ต า สภาวธรรมที่ ชื่ อ ว่ า มหาภู ต เพราะอรรถวิ เ คราะห์ ว ่ า เตหิ สมานา เสมอเหมือนกับความมหัศจรรย์หรือความมีไม่จริงมากมายเหล่านั้น สยํ อนีลาทิสภาวาเนว หุตฺวา นีลาทิอุปาทายรูปทสฺสนาทิโตติ เพราะตนเองมี สภาวะไม่เป็นสีเขียวเป็นต้นเลย ก็แสดงอุปาทายรูปเป็นสีเขียวเป็นต้นเป็นอาทิได้ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง มหาภูตา สภาวธรรมที่ชื่อว่ามหาภูต มหนฺตานิ อภูตานิ เอเตสูติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่มีแห่งความไม่จริงมากมาย วญฺจกตฺตา เพราะเป็นสภาวะหลอกลวง สตฺตานํ เหล่าสัตว์ มนาปอิตฺถีปุริสรูปทสฺสนาทินา โดยแสดงรูปหญิงและรูปชายอันน่าชอบใจเป็นต้น ยกฺขนิ อี าทโย วิย ดุจนางยักษิณี เป็นต้น วญฺจกา ซึง่ เป็นผูห้ ลอกลวง สตฺตานํ เหล่าสัตว์ มนาปวณฺณสณฺฐานาทีหิ ด้วยรูปและทรวดทรงอันน่าชอบใจเป็นต้น ฉะนั้น ฯ วุตฺตมฺปิ เจตํ สมจริงดังค�ำที่ ท่านอาจารย์พุทธัตตเถระกล่าวไว้ในคัมภีร์อภิธรรมาวตารดังนี้ ว่า มหาภูตาติ สมฺมตาติ สภาวธรรมทีเ่ รียกว่า มหาภูตมหนฺตา ปาตุภตู าติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีปรากฏเป็นสภาวะใหญ่ มหาภูตสมาติ วา


262

ปริเฉทที่ ๖

หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีเสมอเหมือนกับความมหัศจรรย์ หรือ ความมีไม่จริงมากมาย วญฺจกตฺตา อภูเตน หรือเพราะเป็นสภาวะ หลอกลวงเหล่าสัตว์ โดยความที่มีไม่เป็นจริง ฯ อถวา อีกอย่างหนึง่ ภูตานิ จาติ ธรรมชาตเหล่าใดชือ่ ว่าภูต ภวนฺติ เอเตสุ อุปาทารูปานีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่าเป็นที่เกิดมีแห่งอุปาทายรูปทั้งหลายด้วย มหนฺตานิ ชื่อว่าใหญ่ มหนฺตปาตุภาวโต เพราะมีปรากฏเป็นของใหญ่ด้วย เพราะเหตุนน้ั มหาภูตานิ ธรรมชาตเหล่านัน้ จึงชือ่ ว่ามหาภูต ฯ รูปํ รูป มหาภูเต อุปาทาย ปวตฺตํ ที่อาศัยมหาภูตเป็นไป อุปาทายรูปํ ชื่อว่าอุปาทายรูป ฯ ยทิ ถามว่า ถ้า เอวํ เมื่อเป็นเช่นนั้น อาทิวจนโต เพราะพระบาลี ว่า เอกํ มหาภูตํ ปฏิจฺจ ตโย มหาภูตาติ มหาภูต ๓ อาศัยมหาภูต ๑ ดังนี้เป็นต้น เอเกกมหาภูตา มหาภูตแต่ละอย่าง นิสฺสยา โหนฺตีติ ย่อมเป็นที่อยู่อาศัย เสสมหาภูตานํ ของมหาภูตรูปที่เหลือได้ เพราะเหตุนั้น เตสมฺปิ มหาภูตรูป แม้เหล่านั้น อุปาทายรูปตาปสงฺโค สิยาติ จะพึงพ้องกันกับอุปาทายรูปหละสิ ฯ น ตอบว่า จะพึงพ้องกันหามิได้ ยิทเมว อุปาทาเยว ปวตฺตรูปานํ ตํสมญฺญาสิทฺธิโต เพราะรูปที่ต้องอาศัยเฉพาะมหาภูตรูปนี้เท่านั้น จึงเป็นไปได้ จึงจะเรียกว่าอุปาทายรูปนัน้ ได้ ฯ หิ ความจริง ยํ รูปใด อุปาทิยติ อาศัย มหาภูเตว มหาภูตรูปนั่นแล จ และ อญฺเญหิ รูปเหล่าอื่น สยํ อุปาทิยติ ก็อาศัยตนเองได้ น ตํ อุ ป าทายรู ป ํ รู ป นั้ น หาชื่ อ ว่ า อุ ป าทายรู ป ไม่ ฯ ยมฺ ป น ส่ ว น รู ป ใด อุปาทิยเตว อาศัยมหาภูตรูปฝ่ายเดียว เกนจิ รูปอะไร ๆ น อุปาทิยติ อาศัยตน ไม่ได้ ตเทว รูปนั้นแล อุปาทายรูปนฺติ ชื่อว่าอุปาทายรูป เพราะเหตุนั้น ภูตานํ ภูตรูปทั้งหลาย นตฺถิ ตพฺโพหารปฺปสงฺโค จึงไม่มีความพ้องกันกับชื่อว่า อุปาทายรูปนั้น ฯ อปิจ อีกอย่างหนึ่ง จตุนฺนํ มหาภูตานํ อุปาทายรูปนฺติ ค�ำว่า จตุนฺนํ มหาภูตานํ อุปาทายรูปํ ดังนี้ อุปาทายลกฺขณนฺติ เป็นเครื่องก�ำหนดให้ ทราบถึงอุปาทายรูป เพราะเหตุนนั้ นตฺถิ ตโย อุปาทาย ปวตฺตานํ อุปาทายรูปตาติ ภูตรูปทั้งหลายซึ่งอาศัยมหาภูตรูป ๓ ประการเป็นไป จึงไม่จัดเป็นอุปาทายรูป ฯ


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

263

[๒๕๐๔] ปฐวี ธาตุชื่อว่าปฐวี ปตฺถนตฺเถน เพราะอรรถว่า เป็นที่รองรับ ฯ วุตฺตํ โหติ มีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ปกฺขายติ ย่อมปรากฏ อุปฏฺฐาตีติ คือเข้าไปตัง้ อยู่ ปติฏฐฺ าภาเวน โดยเป็นทีอ่ าศัย สหชาตรูปานํ ของรูปทีเ่ กิดร่วมกัน ปกติปฐวี วิย เหมือนปฐพีปกติ ตรุปพฺพตาทีนํ เป็นทีอ่ าศัยของต้นไม้และภูเขาเป็นต้น ฉะนัน้ ฯ ปฐวีเอว ปฐวีนนั่ เอง ปฐวีธาตุ ชือ่ ว่าปฐวีธาตุ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ธาตุ เป็นธาตุ สลกฺขณธารณาทิโต เพราะทรงลักษณะของตนไว้เป็นต้น นิสสฺ ตฺตนิชชฺ วี ตฺเถน เพราะอรรถว่า ไม่ใช่สตั ว์ ไม่ใช่ชวี ะ สรีรเสลาวยวธาตุ สทิสตฺตา จาติ และเพราะเป็นเช่นกับธาตุอนั เป็นส่วนประกอบแห่งสรีระ (ร่างกาย) และภูเขาคือปฐวี ฯ อาโป ชื่อว่าอาโป เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อาเปติ เอิบอาบ ปตฺถรติ คือซึมซาบ สหชาตรูปานิ รูปที่เกิดร่วม วา หรือ อปฺปายติ เพิ่มพูน พรูเหติ คือพอกพูน วฑฺเฒตีติ ได้แก่ ยังสหชาตรูปให้เจริญ ฯ เตโช ชื่อว่าเตโช เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เตเชติ ให้รุ่มร้อน ปริปาเจติ คือให้อบอุ่น วา หรือ นิเสติ ให้ย่อย เสสภูตตฺตยํ อุสฺมาเปตีติ คือให้ภูตรูปทั้ง ๓ ที่เหลือเป็นไออุ่น ติกฺขภาเวน ด้วยภาวะแรงกล้า ฯ วาโย ชื่อว่าวาโย เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า วายติ เคลื่อนไหว ปาเปตีติ คือให้ถึง ภูตสงฺฆาตํ การประชุมแห่งภูตรูป เทสนฺตรุปปฺ ตฺตเิ หตุภาเวน โดยเป็นเหตุอบุ ตั ขิ องส่วนอืน่ ๆ ฯ ทฏฺฐพฺพํ พึงเข้าใจว่า จตสฺโส ปเนตา ก็ธาตุทั้ง ๔ นี้ กถินตฺตทฺรวตฺตอุณฺหตฺตวิตฺถมฺภนตฺตลกฺขณาติ มีลกั ษณะเป็นของแข้นแข็ง เป็นของเหลว เป็นความอบอุน่ และเป็นอาการเคลือ่ นไหว ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ วจนตฺโถ อรรถวิเคราะห์ จกฺขวฺ าทีนํ แห่งค�ำว่าจักขุเป็นต้น กถิโตว ข้าพเจ้ากล่าวแล้ว เหฏฺฐา ในหนหลังแล ฯ ปสาทรูปนฺนาม ชือ่ ว่าประสาทรูป ปสนฺนภาวเหตุลกฺขณตฺตา เพราะมีลกั ษณะเป็นเหตุแห่งความผ่องใส จตุมหาภูตานํ ของมหาภูตรูปทัง้ ๔ ฯ ปน ก็ ตํ ประสาทรูปนัน้ ทฏฺฐกุ ามตาโสตุกามตาฆายิตกุ า- มตาสายิตกุ ามตาผุสติ กุ ามตานิทานกมฺมสมุฏฺฐานภูตปฺปสาทลกฺขณํ มีลักษณะ ท�ำภูตรูปที่มีกรรมเป็นแดนเกิดเป็นสมุฏฐาน อันมีความประสงค์จะดู จะฟัง จะดม จะลิ้มรส และจะสัมผัสเป็นเหตุให้ผ่องใส ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ [จบ ๒๕๐๔]


264

ปริเฉทที่ ๖

[๒๔๘๐, ๒๔๙๗, ๒๕๐๑] ตตฺถ บรรดาประสาททั้ง ๕ เหล่านั้น จกฺขุ จะกล่าวถึงจักขุปสาทรูป ตาว ก่อน ฯ (ตํ) จักขุปสาทรูปนั้น พฺยาเปตฺวา ซึมซาบ สตฺตกฺขิปฏลานิ ตลอดเยื่อตา ๗ ชั้น เตลมิว ประดุจน�้ำมัน ปิจุปฏลานิ ซึมซาบปุยนุน่ ทุกชัน้ ฉะนัน้ สรีรสณฺฐานุปปฺ ตฺตปิ เทเส ในประเทศทีเ่ กิดสรีรสัณฐาน ฐิตานํ แห่งพวกคนผูอ้ ยู่ อภิมเุ ข ตรงหน้า โอกาสิรปริมาเณ ประมาณเท่าศีรษะเล็น มชฺเฌ ในท่ามกลาง กณฺหมณฺฑลสฺส แห่งแววตาด�ำ จตูหิ ธาตูหิ อันธาตุทั้ง ๔ สนฺธารณพนฺธนปริปาจนสมุทีรณกิจฺจาหิ มีหน้าที่ทรงไว้ สมานให้อบอุ่นและให้ เคลื่อนไหว กตูปการํ กระท�ำอุปการะแล้ว วิย ขตฺติยกุมาโร ประดุจขัตติยกุมาร จตูหิ ธาตีหิ อันพี่เลี้ยงทั้ง ๔ ธารณนหาปนมณฺฑนวีชนกิจฺจาหิ จ มีหน้าที่อุ้ม ให้สรงสนาน แต่งพระองค์และถวายงานพัด กระท�ำอุปการะ ฉะนัน้ อุตจุ ติ ตฺ าหาเรหิ อันอุตุ จิต และอาหาร อุปตฺถมฺภยิ มานํ คอยอุปถัมภ์ อายุนา อันอายุ ปริปาลิยมานํ เฝ้าบริบาล วณฺณาทีหิ อันโคจรรูปมีรปู เป็นต้น ปริวาริตํ คอยแวดล้อม สาเธนฺตํ ให้สำ� เร็จ วตฺถทุ วฺ ารภาวํ ความเป็นวัตถุและทวาร จกฺขวุ ญ ิ ญ ฺ าณาทีนํ แก่วถิ จี ติ มีจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น ปวตฺตติ เป็นไป ยถาโยคํ ตามที่ประกอบ ฯ อิตรํ (ส่วน) จักขุปสาทรูปนอกนี้ วุจฺจติ เรียก สสมฺภารจกฺขูติ ว่าสสัมภารจักขุ ฯ โสตาทโยปิ แม้โสตปสาทรูปเป็นต้น ปเทสมภิพยฺ าเปตฺวา ก็ซมึ ซาบตลอดประเทศ องฺคลุ เิ วธกาการํ มีอาการดังวงแหวน อุปจิตตนุตมฺพโลมํ มีขนแดง เล็กงอกขึน้ แล้ว โสตพิลพฺภนฺตเร ภายในช่องโสตะเป็นไป อชปทสณฺฐานํ ซึมซาบตลอดประเทศ มีสณ ั ฐานดังกีบแพะ นาสิกพฺภนฺตเร ภายในช่องนาสิกเป็นไป อุปปฺ ลทลคฺคสณฺฐานํ ซึมซาบตลอดประเทศมีสันฐานดังปลายกลีบดอกอุบล ชิวฺหามชฺเฌ ในท่ามกลาง ชิวหาเป็นไป ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ เอวํ ด้วยประการฉะนี้ ฯ ปน ส่วน อิตรํ กายปสาทรูปนอกนี้ ผริตวฺ า ปวตฺตติ แผ่ไป สกลสรีรํ ตลอดสรีระร่างกายทุกส่วน อวเสสํ ที่เหลือลง ฐเปตฺวา เว้น กมฺมชเตชสฺส ปติฏฺฐานฏฺฐานํ ที่ตั้งเตโชธาตุ อันเกิดแต่กรรม เกสคฺคโลมคฺคนขคฺคสุกฺขจมฺมานิ จ และปลายผม ปลายขน ปลายเล็บ และหนังอันแห้ง ฯ เอวํ สนฺเตปิ แม้เมือ่ เป็นเช่นนี้ ตสฺส กายปสาทรูปนัน้


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

265

สงฺกโร น โหติ ก็ไม่ปะปนกัน อิตเรหิ กับจักขุปสาทรูปเป็นต้นนอกนี้ ภินนฺ ลกฺขณตฺตา เพราะมีลักษณะต่างกัน ฯ หิ จริงอยู่ ตาว อันดับแรก รูปรสาทีนิ โคจรรูปมีรูป และรสเป็นต้น เอกนิสสฺ ยานิปิ แม้ทมี่ ที อี่ าศัยร่วมกัน อสงฺกณ ิ ณ ฺ านิ ก็ไม่ปะปนกัน ลกฺขณเภทโต เพราะมีความต่างกันแห่งลักษณะ ฯ (จบ ๒๔๙๗, ๒๕๐๑) ปน แต่ ปสาทา ไฉนปสาทรูป ภินฺนนิสฺสยา ที่มีที่อาศัยต่างกัน กึ จึงปะปนกันเล่า ฯ อาโปธาตุยา สุขุมภาเวน ผุสิตุํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา เพราะความที่อาโปธาตุอัน ชาวโลกไม่อาจสัมผัสได้ เพราะเป็นธาตุละเอียด วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวว่า อาโป ฯเปฯ สงฺขาตนฺติ อาโป ฯเปฯ สงฺขาตํ ฯ (๒๕๑๖) สีตตา ความเย็น ผุสิตฺวา คยฺหติ อันชาวโลกย่อมสัมผัสจับต้องได้ กิญฺจาปิ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น สา ความเย็นนั้น เตโชธาตุเยว ก็คือเตโชธาตุนั่นเอง ฯ หิ ความจริง อุณหฺ ตฺเต เมือ่ ความร้อน มนฺเท ลดลง สีตพุทธฺ ิ ชาวโลกก็รสู้ กึ ว่าเย็น สีตตาสงฺขาตสฺส กสฺสจิ คุณสฺส อภาวโต เพราะคุณอะไร ๆ กล่าวคือความเย็น ไม่มี ฯ ตยิทํ ความร้อนนี้นั้น วิญฺญายติ อันชาวโลกย่อมรู้สึกได้ สีตพุทฺธิยา อนุวฏฺฐิตภาวโต เพราะความรู้สึกว่าเย็นไม่แน่นอน ปาราปาเร วิย ประดุจความ ไม่แน่นอนในฝั่งน�้ำฝั่งโน้นและฝั่งน�้ำฝั่งนี้ ฉะนั้น ฯ ตถาหิ เป็นความจริง อย่างนั้น ฆมฺมกาเล ในหน้าร้อน อาตเป ฐตฺวา ฉายํ ปวิฏฺฐานํ พวกคนที่อยู่กลางแดด เข้าร่มแล้ว สีตพุทธฺ ิ โหติ ก็มคี วามรูส้ กึ ว่าเย็น ตตฺเถว จิรกาลํ ฐิตานํ (แต่) เมือ่ อยู่ ที่ร่มนั้นแหละนานเข้า อุณฺหพุทฺธิ ก็จะมีความรู้สึกว่าร้อน ฯ จ ก็ ยทิ ถ้า อาโปธาตุ อาโปธาตุ สีตตา สิยา พึงเป็นความเย็นไซร้ อุปลพฺเภยฺย ก็จะพึงค้นหา อาโปธาตุได้แน่ เอกสฺมึ กลาเป ในหมวดเดียวกัน อุณหฺ ภาเวน สห กับความร้อน น เจวํ อุปลพฺภติ แต่ก็ค้นหาไม่ได้อย่างนั้น ตสฺมา เพราะฉะนั้น วิญฺญายติ ใคร ๆ จะเข้าใจ อาโปธาตุ อาโปธาตุ สีตตาติ ว่าเป็นความเย็น น ไม่ได้ ฯ ปน แต่ วทนฺติ พวกอาจารย์ทพี่ ดู ว่า เย ทฺรวตา ความเหลว อาโปธาตุ ชือ่ ว่า อาโปธาตุ จ และ สา อาโปธาตุนั้น ผุสิตฺวา คยฺหตีติ อันบุคคลย่อมสัมผัส ถูกต้องได้ ดังนี้ เต วตฺตพฺพา พึงถูกท่านผู้รู้คัดค้านว่า ทฺรวตา นาม ผุสิตฺวา


266

ปริเฉทที่ ๖

คยฺหตีติ อิทํ ค�ำพูดที่ว่า ธรรมดาว่า ความเหลวอันบุคคลย่อมสัมผัสจับต้องได้นี้ อภิมานมตฺตํ เป็นเพียงความเข้าใจ อายสฺมนฺตานํ ของพวกท่าน สณฺฐาเน วิยาติ ประดุจความเข้าใจในสัณฐาน ฉะนั้น ฯ วุตฺตญฺเหตํ โปราเณหิ สมจริงดังค�ำที่ ท่านโบราณจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า อยํ โลโก ชาวโลกนี้ สมฺผุสํ สัมผัส ตีณิ ภูตานิ ภูตรูป ๓ ทฺ ร วตาลหวุ ตฺ ตี นิ ซึ่ ง มี ป กติ อ ยู ่ ร ่ ว มกั บ ความเหลว อภิ ม ญฺ ญ ติ ย่อมเข้าใจแน่วแน่ว่า สมฺผุสามีติ เราสัมผัส ทฺรวตํ ของเหลว ภูเต ผุสิตฺวา บุคคลสัมผัสภูตรูปทั้งหลายแล้ว คยฺหเต ย่อมยึดถือ สณฺฐานํ สัณฐาน มนสา ด้วยความเข้าใจว่า ผุสามีติ เราสัมผัสได้ ปจฺจกฺขโต โดยประจักษ์ ยถา ฉันใด วิญฺเญยฺยา บัณฑิตพึงทราบ ทฺรวตา ความเป็นของเหลว ตถา ติ ฉันนั้น ฯ (จบ ๒๔๘๐, ๒๕๑๖) โคจรรูปนฺนาม ทีช่ อื่ ว่าโคจรรูป ปญฺจวิญญ ฺ าณวิสยภาวโต เพราะเป็นอารมณ์ ของปัญจวิญญาณจิต ฯ โคจรํ ที่ชื่อว่าโคจร คาโว อินฺทฺริยานิ จรนฺติ เอตฺถาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่เที่ยวไปแห่งโคทั้งหลาย คือแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ฯ หิ ความจริง เอตํ โคจรนฺติ ค�ำว่า โคจรนี้ อาลมฺพนสฺส นามํ เป็นชือ่ ของอารมณ์ ฯ ตมฺปเนตํ ปญฺจวิธมฺปิ ก็โคจรรูปแม้ทั้ง ๕ ประการนี้นั้น โคจรภาวลกฺขณํ มีลักษณะเป็นอารมณ์ จกฺขุวิญฺญาณาทีนํ ของวิญญาณจิต ๕ มีจักขุวิญญาณจิต เป็นต้น จกฺขฺวาทิปฏิหนนลกฺขณํ วา หรือมีลักษณะกระทบปสาทรูปทั้ง ๕ มีจักขุปสาทรูปเป็นต้น ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ ภาโว ภาวะ อิตฺถิยา แห่งหญิง อิตฺถตฺตํ ชื่อว่าอิตถีภาวรูป ฯ ภาโว ภาวะ ปุริสสฺส แห่งชาย ปุริสตฺตํ ชื่อว่า ปุริสภาวรูป ฯ ตตฺถ ในบรรดาภาวรูปนั้น อิตฺถตฺตํ อิตถีภาวรูป อิตฺถีลิงฺคนิมิตฺตกุตฺตากปฺปเหตุภาวลกฺขณํ มีลักษณะเป็นเหตุแห่งเพศหญิง นิมิตหญิง ลีลาหญิง และทรวดทรงหญิง ฯ ปุรสิ ตฺตํ ปุรสิ ภาวรูป ปุรสิ ลิงคฺ าทิเหตุภาวลกฺขณํ มีลกั ษณะ เป็นเหตุแห่งเพศชายเป็นต้น ฯ ตตฺถ บรรดาลักษณะหญิง ๔ ประการนั้น องฺคชาตํ เครื่องหมายเพศ อิตฺถีนํ ของหญิง อิตฺถีลิงฺคํ ชื่อว่าอิตถีลิงคะ ฯ


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

267

สราธิปฺปายา เสียงและความต้องการ อิตฺถีนิมิตฺตํ ชื่อว่าอิตถีนิมิต สญฺชานน- ปจฺจยภาวโต เพราะความเป็นปัจจัยแห่งการจ�ำได้หมายรู้ อิตฺถีติ ว่าเป็นหญิง ฯ อวิสทฐานคมนนิสชฺชาทิ อิริยาบถมีการยืน การเดิน และการนั่ง ที่ไม่องอาจ ผึ่งผายเป็นต้น อิตฺถีกุตฺตํ ชื่อว่าอิตถีกุตตะ ฯ อิตฺถีสณฺฐานํ รูปทรงหญิง อิตฺถากปฺโป ชื่อว่าอิตถีกัปปะ ฯ ปุริสลิงฺคาทีนิปิ ถึงเพศชายเป็นต้น ทฏฺฐพฺพานิ ก็พึงเห็น วุตฺตนเยน โดยนัยดังกล่าวแล้ว ฯ อฏฺฐกถายมฺปน ส่วน ในอรรถกถา วณฺณิตานิ พระอรรถกถาจารย์ได้พรรณานา อิตฺถีลิงฺคาทีนิ เพศหญิงเป็นต้นไว้ อญฺญถา โดยประการอื่น ฯ ตมฺปน สงฺคเหตฺวา ก็ ท่านอาจารย์ทั้งหลายรวบรวม ข้อความนั้น วทนฺติ กล่าวไว้ เอวํ อย่างนี้ว่า หตฺถาทิสณฺฐานํ สัณฐานแห่งอวัยวะมีมือเป็นต้น ลิงฺคํ ชื่อว่าลิงคะ มิหิตาทิกํ กิริยามีการยิ้มแย้มเป็นต้น นิมิตฺตํ ชื่อว่านิมิต กีฬา การเล่น สุปปฺ าทินา ด้วยกระด้งเป็นต้น กุตตฺ ํ ชือ่ ว่าลีลา คมนาทิกนฺติ อิริยาบถมีการเดินเป็นต้น อากปฺโป ชื่อว่าอากัปปะ ฯ ภาวรูปนฺนาม ที่ชื่อว่าภาวรูป กตฺวา เพราะกระท�ำอธิบาย ภวติ เอเตน อิตฺถาทิอภิธานํ พุทฺธิ จาติ ว่าเป็นเครื่องมีปรากฏแห่งการบอกถึงความเป็นหญิง เป็นต้น และแห่งการรู้ว่าเป็นหญิงเป็นต้น ฯ ตมฺปเนตํ ก็ภาวรูปทั้ง ๒ นี้นั้น สกลสรีรํ ผริตฺวา ติฏฺฐติ แผ่ไปอยู่ทั่วร่างกายทุกส่วน กายินฺทฺริยํ วิย เหมือน กายินทรีย์ ฉะนัน้ ฯ (๒๕๐๘) หทยวตฺถุ ทีช่ อื่ ว่าหทัยวัตถุ วตฺถุ จาติ เพราะอรรถ วิเคราะห์วา่ เป็นวัตถุ นิสสฺ ยตฺตา เพราะเป็นทีอ่ าศัย มโนธาตุมโนวิญญ ฺ าณธาตูนํ ของมโนธาตุจติ และมโนวิญญาณธาตุจติ หทยเมว คือ หทัย ฯ ตถาหิ จริงอย่างนัน้ ตํ หทัยวัตถุนั้น ธาตุทฺวยนิสฺสยภาวลกฺขณํ มีลักษณะเป็นที่อาศัยของธาตุจิต ทัง้ ๒ ฯ จ ด้วยว่า ตํ หทัยวัตถุนนั้ นิสสฺ าย อาศัย โลหิตํ โลหิต อฑฺฒปสตมตฺตํ ประมาณกึ่งฟายมือ หทยโกสพฺภนฺตเร ภายในซองหัวใจ ปวตฺตติ เป็นไป ฯ ปเนตสฺส อันหทัยวัตถุนี้ อวุตฺตสฺสาปิ แม้พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ตรัส รูปกณฺเฑ ไว้ในรูปกัณฑ์ ทฏฺฐพฺโพ ก็พงึ เห็น อตฺถภิ าโว ว่ามี อาคมโต ทัง้ โดยทีม่ า ยุตตฺ โิ ต จ


268

ปริเฉทที่ ๖

และโดยเหตุอันควร ฯ ตตฺถ ในสองอย่างนั้น ปฏฺฐานวจนํ พระบาลีปัฏฐาน เอวมาคตํ อันมาแล้วอย่างนี้ว่า มโนธาตุ มโนธาตุจิต มโนวิญฺญาณธาตุ จ และมโนวิญญาณธาตุจิต นิสฺสาย อาศัย ยํ รูปํ รูปใด ปวตฺตนฺติ เป็นไป ตํ รูปํ รูปนั้น ปจฺจโยติ เป็นปัจจัย นิสฺสยปจฺจเยน โดยนิสัยปัจจัย มโนธาตุยา ของมโนธาตุจิต มโนวิญฺญาณธาตุยา มโนวิญญาณธาตุจิต ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ และธรรมทีส่ มั ปยุตด้วยธาตุจติ ทัง้ สองนัน้ ดังนี้ อาคโม ชือ่ ว่าปกรณ์ทมี่ า ฯ ปน ส่วน ยุตฺติ เหตุที่เหมาะสม ทฏฺฐพฺพา บัณฑิตพึงเห็น เอวํ อย่างนี้ว่า เทฺว ธาตู ธาตุจติ ทัง้ สอง กามรูปนิ ํ ของกามาวจรสัตว์และรูปาวจรสัตว์ นิปฺผนฺนภูติกาธารา มีอุปาทายรูปที่อยู่ในหมวดนิปผันนรูปเป็น เครื่องรองรับ รูปานุพนฺธวุตฺติตฺตา เพราะมีความเป็นไปเนื่องด้วยรูป จกฺขุญาณาทโย วิย เหมือนธาตุจิตทั้งหลายมีจักขุวิญญาณธาตุจิต เป็นต้น มีจักขุปสาทรูปเป็นต้น เป็นเครื่องรองรับ ฉะนั้น ฯ เอตา ธาตุจติ ทัง้ สองนี้ น จกฺขวฺ าทินสิ สฺ ติ า ไม่ใช่อาศัยปสาทรูปมีจกั ขุปสาทรูป เป็นต้น ตสฺสญฺญาธารภาวโต เพราะจักขุปสาทรูปเป็นต้นนั้น เป็นที่ รองรับธาตุจติ อืน่ นาปิ รูปาทิเก แม้จะอาศัยโคจรรูปมีรปู ารมณ์เป็นต้น ก็ไม่ใช่ เตสํ พหิทธฺ าปิ ปวตฺตโิ ต เพราะโคจรรูปมีรปู ารมณ์เป็นต้นนัน้ มีความเป็นไปแม้ในภายนอก น จาปิ ชีวิตํ และแม้จะอาศัยชีวิตรูป ก็ไม่ใช่ ตสฺส กิจฺจนฺตรนิยุตฺติโต เพราะชีวิตรูปนั้นมีการประกอบ ในกิจอื่น น จ ภาวทฺวยํ ทั้งจะอาศัยภาวรูปทั้งสอง ก็ไม่ใช่ ตสฺมึ อสนฺเตปิ ปวตฺตโิ ต เพราะแม้เมือ่ ไม่มภี าวรูปทัง้ สองนัน้ ก็ยงั เป็นไปได้ ตสฺมา ฉะนั้น ตทญฺญวตฺถุ ตํ หทัยวัตถุอันอื่นจากรูปทั้งหลายมีจักขุ ปสาทรูปเป็นต้นนั้น วิชานิยํ พึงทราบ ภูติกนฺติ ว่าเป็นอุปาทายรูป ตุ แต่ อิทํ หทัยวัตถุนี้ มเหสินาติ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าผูแ้ สวงหาคุณ อันยิ่งใหญ่ น อกฺขาตํ มิได้ตรัสไว้ ธมฺมสงฺคณิปาฐสฺมึ ในพระบาลี


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

269

ธัมมสังคณี เทสนาเภทโต โดยความต่างกันแห่งแสดง วตฺถาลมฺพทุกานํ วัตถุทุกะและอาลัมพนทุกะ ฯ [จบ ๒๕๐๘] ชีวิตํ รูปที่ชื่อว่าชีวิต ชีวนฺติ เตนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเหตุเป็น อยู่แห่งเหล่าสหชาตธรรม ฯ ตเทว ชีวิตรูปนั้นแล อินฺทฺริยนฺติ ชื่อว่าเป็นอินทรีย์ อธิปจฺจโยคโต เพราะประกอบด้วยความเป็นใหญ่ กมฺมชรูปปริปาลเน ในการ หล่อเลี้ยงกัมมชรูป เพราะเหตุนั้น ชีวิตินฺทฺริยํ จึงชื่อว่าชีวิตินทรีย์ ฯ ตถาเหตํ จริงอย่างนั้น ชีวิตินทรีย์นั้น กมฺมชรูปปริปาลนลกฺขณํ มีลักษณะหล่อเลี้ยง กัมมชรูป ฯ หิ ก็ อนุปาลกํ ชีวิตินทรีย์นี้ ชื่อว่าเป็นตัวหล่อเลี้ยง สหชาตานํ สหชาตธรรมทั้งหลาย ขณมตฺตฏฺฐายีนมฺปิ แม้ที่มีปกติตั้งอยู่ชั่วขณะจิต ยถาสกํ ตามปัจจัยของตน สหชาตานํ ปวตฺติเหตุภาเวเนว เพราะเป็นเหตุให้สหชาตธรรม ทั้งหลายเป็นไปได้นั่นเอง ฯ หิ เพราะ กมฺมํเยว กรรมเพียงอย่างเดียว ฐิติการณํ โหติ จะชื่อว่าเป็นเหตุตั้งอยู่ เตสํ แห่งสหชาตธรรมเหล่านั้น อาหารชาทีนํ อาหาราทิ วิย เหมือนอาหารเป็นต้นเป็นเหตุตั้งอยู่แห่งอาหารชรูปเป็นต้น ฉะนั้น น หาได้ไม่ กมฺมสฺส ตํขณาภาวโต เพราะขณะนั้นกรรมยังไม่มี ฯ อิทมฺปน อนึ่ง ชีวิตินทรีย์นี้ พฺยาเปตฺวา ปวตฺตติ ย่อมซึมซาบ เป็นไป อุปาทินฺนกายํ ตลอดร่างกายที่มีใจครอง อนวเสสํ ทุกส่วน สห ปาจนคฺคินา พร้อมกับไฟ ที่ย่อยอาหาร ฯ กวฬีกาโร อาหาโร ที่ชื่อว่ากวฬิงการาหาร กวฬํ กตฺวา อชฺโฌหริยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันบุคคลท�ำให้เป็นค�ำแล้วกลืนกิน ฯ อิทญฺจ ก็ ค�ำว่า กวฬิงการาหารนี้ วุตฺตํ ท่านอาจารย์กล่าวไว้ ทสฺเสตุํ เพื่อจะ แสดงถึง สวตฺถุกํ กตฺวา อาหารํ อาหารกระท�ำให้เป็นไปพร้อมทั้งที่ตั้งที่เกิด ฯ ปน แต่ โอชา โอชา อชฺโฌหริตพฺพาหารสิเนหภูตา ซึง่ เป็นยางเหนียวแห่งอาหาร ที่พึงกลืนกิน องฺคมงฺคานุสารีรสสารสงฺขาตา กล่าวคือความซึมซาบแห่งรสที่ซึม ไปตามอวัยวะน้อยใหญ่ เสนฺทรฺ ยิ กาโยปตฺถมฺภนเหตุภตู า อันเป็นเหตุคำ�้ จุนร่างกาย พร้อมทั้งอินทรีย์ อาหารรูปํ นาม ชื่อว่าอาหารรูป อิธ ในรูปสมุทเทสนัยนี้ ฯ ตถาเหตํ จริงอย่างนัน้ อาหารนี้ เสนฺทรฺ ยิ กาโยปตฺถมฺภนเหตุภาวลกฺขณํ มีลกั ษณะ


270

ปริเฉทที่ ๖

เป็นเหตุเครื่องค�้ำจุนร่างกายพร้อมทั้งอินทรีย์ โอชฏฺฐมกรูปาหรณลกฺขณํ วา หรือมีลักษณะน�ำรูปมีโอชาเป็นที่ ๘ มา ฯ สภาวรูปํ นาม รูป ๑๘ ประการชื่อว่า สภาวรู ป อุ ป ลพฺ ภ นโต เพราะเป็ น ธรรมชาตจะค้ น หาได้ แ น่ น อน สภาเวน ตามสภาวะ อตฺตโน อตฺตโน ของตน ๆ กกฺขลตาทินา มีความแข็งกระด้าง เป็นต้น ฯ สลกฺขณํ ที่ชื่อว่าสลักขณรูป อุปฺปาทาทีหิ อนิจฺจาทีหิ วา ลกฺขเณหิ สหิตนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นไปร่วมกับลักษณะทั้งหลายมีอุปปาทขณะ เป็นต้น หรือกับลักษณะทั้งหลายมีอนิจจลักษณะเป็นต้น ฯ นิปฺผนฺนรูปํ ที่ชื่อว่า นิปผันนรูป ปริจฺเฉทาทิภาวํ วินา อตฺตโน สภาเวเนว กมฺมาทีหิ ปจฺจเยหิ นิปผฺ นฺนตฺตา เพราะภาวะแห่งรูป ๑๘ ประการ เว้นภาวะแห่งปริเฉทรูปเป็นต้นส�ำเร็จ ได้ดว้ ยปัจจัยทัง้ หลายมีกรรมเป็นต้น ตามสภาวะของตนนัน่ เอง ฯ รุปปฺ นสภาโว สภาวะที่มีความเปลี่ยนแปร รูปํ ชื่อว่ารูป ฯ ยุตฺตมฺปิ แม้ธรรมชาตที่ประกอบ เตน ด้วยสภาวะทีม่ คี วามเปลีย่ นแปรนัน้ รูปํ ก็ชอื่ ว่ารูป ยถา อริสโส นีลปุ ปฺ ลนฺติ เหมือนค�ำว่า คนเป็นโรคริดสีดวง ดอกอุบลเขียว ฉะนั้น ฯ สฺวายํ รูปสทฺโท ศัพท์ว่า รูปนี้นั้น ปวตฺตตีติ ย่อมเป็นไปได้ อตํสภาเวปิ แม้ในสภาวะที่มิใช่ มีความเปลี่ยนแปรนั้น รุฬฺหิยา เพราะภาษาเจริญขึ้น เพราะเหตุนั้น วิเสเสตฺวา วุ ตฺ ตํ ท่ า นพระอนุ รุ ท ธาจารย์ จึ ง กล่ า วให้ แ ปลกออกไป อปเรน รู ป สทฺ เ ทน ด้วยศัพท์วา่ รูป อีกศัพท์หนึง่ รูปรูปนฺติ ว่า รูปรูปํ ยถา ทุกขฺ ทุกขฺ นฺติ เหมือนค�ำว่า ทุกฺขทุกขํ ฉะนั้น ฯ สมฺมสนรูปํ ที่ชื่อว่าสัมมสนรูป อรหตฺตา เพราะความเป็น ธรรมชาตที่ควร สมฺมสิตุํ เพื่อพระโยคาวจรจะพิจารณา ลกฺขณตฺตยาโรปเนน โดยยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์ ปริจฺเฉทาทิภาวํ อติกฺกมิตฺวา สภาเวเนว อุปลพฺภนโต เหตุภาวะแห่งรูป ๑๘ ประการนั้น ยกเว้นภาวะแห่งปริเฉทรูปเป็นต้นเสีย จะค้นหา ได้แน่นอน ตามภาวะของตนนั่นเอง ฯ อกาโส ที่ชื่อว่าอกาส น กสฺสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ท�ำให้เป็นรอยไม่ได้ ฯ อกาโสเยว อกาสนั่นเอง อากาโส เป็นอากาศ ฯ ธาตุ จาติ อากาศนั้นชื่อว่าเป็นธาตุ นิชฺชีวตฺเถน เพราะอรรถว่า ไม่ใช่ชีวะ เพราะเหตุนั้น อากาสธาตุ จึงชื่อว่าอากาสธาตุ ฯ รูปํ รูป ปริจฺเฉทกํ


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

271

อันเป็นเขตแดนเครื่องก�ำหนด จกฺขุทสกาทิเอเกกกลาปคตรูปานํ อสงฺกิณฺณ- ภาวาปาทนวเสน ด้วยอ�ำนาจท�ำรูปทีอ่ ยูใ่ นกลาปแต่ละอย่างมีจกั ขุทสกกลาปเป็นต้น ให้ถึงความไม่ปะปนกัน กลาปนฺตเรหิ วา กับกลาปอื่น ๆ เตหิ ปริจฺฉิชฺชมานํ หรือที่กลาปเหล่านั้นก�ำหนดหมาย เตสํ ปริจฺเฉทมตฺตํ วา หรือเพียงเป็น เครือ่ งก�ำหนดหมายกลาปเหล่านัน้ ปริจเฺ ฉทรูปํ ชือ่ ว่าปริเฉทรูป ฯ ตญฺหิ ความจริง ปริเฉทรูปนั้น ตํตํรูปกลาปํ ปริจฺฉินฺทนฺตํ วิย โหติ ย่อมเป็นดุจตัดรูปกลาปนั้น ๆ ให้ขาดจากกันได้ ฯ จ ก็ วิชฺชมาเนปิ กลาปนฺตรภูเตหิ กลาปนฺตรภูตานํ สมฺผุฏฺฐภาเว เมื่อความที่ภูตรูปที่อยู่ในกลาปอื่น เป็นธรรมชาตอันภูตรูปซึ่งอยู่ใน กลาปอืน่ อีกถูกต้องได้ แม้มอี ยู่ ตํตรํ ปู วิวติ ตฺ ตา ความเป็นธรรมชาตว่างจากรูปนัน้ ๆ รูปปริยนฺโต คือ ที่สุดแห่งรูป อากาโส ชื่อว่าอากาศ ฯ จ ก็ โส อากาศนั้น ปริจฺเฉโท เป็นแดนก�ำหนดเขต เยสํ รูปกลาปเหล่าใด สยํ ตนเอง เตหิ อันรูปกลาปเหล่านัน้ อสมฺผฏุ โฺ ฐเยว หาถูกต้องได้ไม่เลย ฯ อญฺญถา เมือ่ ก�ำหนด เนื้อความนอกไปจากนี้ ปริจฺฉินฺนตา ความเป็นปริเฉทรูป น สิยา จะไม่พึงมี เตสํ รูปานํ พฺยาปิตภาวาปตฺตโิ ต เพราะรูปทัง้ หลายเหล่านัน้ ถึงความเป็นธรรมชาต เจือปนกัน ฯ หิ ความจริง อพฺยาปิตตา ความที่รูปเป็นธรรมชาตไม่เจือปนกัน อสมฺผฏุ ฐฺ ตา ก็คอื ความทีภ่ ตู รูปทีอ่ ยูใ่ นกลาปอืน่ อันภูตรูปซึง่ อยูใ่ นกลาปอืน่ ถูกต้อง ไม่ได้ ฯ เตนาห ภควา เหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า อสมฺผุฏฺฐํ จตูหิ มหาภูเตหีติ อันมหาภูตรูป ๔ ถูกต้องไม่ได้ เป็นต้น ฯ [๒๔๙๙] กายวิญฺญตฺติ ธรรมชาติที่ชื่อว่ากายวิญญัตติ จลมานกาเยน อธิปฺปายํ วิญฺญาเปติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังคนอื่นให้รู้ความประสงค์ ด้วยกายที่เคลื่อนไหวอยู่ สยญฺจ เตน วิญฺญายตีติ และตนเองก็รู้ความประสงค์ ได้ด้วยกายที่เคลื่อนไหวอยู่นั้น ฯ วจีวิญฺญตฺติ ที่ชื่อว่าวจีวิญญัตติ สวิญฺญาณ กสทฺทสงฺขาตวาจาย อธิปฺปายํ วิญฺญาเปติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังคนอื่นให้ รู้ความประสงค์ด้วยวาจา กล่าวคือเสียงที่มีจิตสั่งให้พูด สยญฺจ ตาย วิญฺญายตีติ และตนเองก็รู้ความประสงค์ได้ด้วยวาจากล่าวคือเสียงที่สั่งให้พูดนั้น ฯ ตตฺถ


272

ปริเฉทที่ ๖

ในวิญญัตติรปู ๒ นัน้ วิกาโร ความเปลีย่ นแปร อภิกกฺ มาทิชนกจิตตฺ สมุฏฐฺ านวาโย ธาตุยา แห่งวาโยธาตุ ซึ่งมีจิตอันเป็นธรรมชาตยังความคิดจะก้าวไปข้างหน้า เป็นต้นให้เกิดเป็นสมุฏฐาน สหการิการณภูโต อันเป็นเหตุท�ำร่วมกัน สหชรูป สนฺถมฺภนสนฺธารณจลิเตสุ ในการค�้ำจุน ทรงอยู่ และการเคลื่อนไหว แห่งรูป ที่ เ กิ ด ร่ ว มกั น ผนฺ ท มานกายผนฺ ท นเหตุ ก วาโยธาตุ วิ นิ มุ ตฺ โ ต ที่ พ ้ น จากกาย ทีเ่ คลือ่ นไหวอยู่ (เอง) และวาโยธาตุทเี่ ป็นเหตุให้กายไหว อุปลพฺภมาโน อันบุคคล ได้อยู่ ปริปฺผนฺทนปฺปจฺจยภาเวน โดยความเป็นปัจจัยแห่งความเคลื่อนไหว รูปกายสฺส แห่งรูปกาย อุสสฺ าหนวิกาโร วิย ดุจความเปลีย่ นแปรแห่งความอุตสาหะ มหนฺตํ ปาสาณํ อุกฺขิปนฺตสฺส สพฺพถาเมน คหณกาเล ในเวลาที่คนยกหิน แผ่นใหญ่ถือด้วยก�ำลังทั้งหมด กายวิญฺญตฺติ ชื่อว่ากายวิญญัตติ ฯ หิ ความจริง สา กายวิญญัตตินั้น วิญฺญาเปติ ยังคนอื่นให้รู้ อธิปฺปายํ ความประสงค์ ผนฺทมานกาเยน ด้วยกายที่เคลื่อนไหวอยู่ ฯ หิ ก็ รุกฺขจลนาทีสุ ในความ เคลื่อนไหวแห่งต้นไม้เป็นต้น วิญฺญตฺติวิการรหิเตสุ ที่เว้นจากความเปลี่ยนแปร คือวิญญัตติ น ทิฏฐฺ นฺติ บัณฑิตไม่เห็น อธิปปฺ ายคฺคหณํ การก�ำหนดรูค้ วามประสงค์ อิทเมส กาเรตีติ ว่า ต้นไม้นั้นให้ท�ำการนี้ ดังนี้แล ฯ สยญฺจกาเยน วิญฺญายติ และตนเองก็รู้ความประสงค์ได้ด้วยกาย อวิญฺญายมานนฺตเรหิ มโนทฺวารชวเนหิ คยฺ ห มานตฺ ต า เพราะชวนจิ ต ที่ เ กิ ด ทางมโนทวาร อั น มี ใ นล� ำ ดั บ ไม่ ป รากฏ ก�ำหนดรู้อยู่ ผนฺทมานกายาธิปฺปายคฺคหณานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากการก�ำหนดรู้ ความประสงค์แห่งกายทีเ่ คลือ่ นไหวอยู่ หตฺถจลนาทีสุ จ ในการคลือ่ นไหวแห่งมือ เป็นต้น ฯ (ถามว่า) ปน ก็ หตฺถจลนาทโย การเคลื่อนไหวแห่งมือเป็นต้น โหนฺตีติ มีได้ วิญฺญตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจวิญญัตติ กถํ อย่างไร ฯ วุจฺจเต ข้าพเจ้าจะกล่าวเฉลย ฯ สตฺตสุ ชวเนสุ บรรดาชวนะทั้ง ๗ เอกาวชฺชนวีถิยํ ในวิถีจิตที่มีอาวัชชนจิตหนึ่ง วาโยธาตุ วาโยธาตุ สตฺตมชวนสมุฏฺฐานา อันมี ชวนจิตดวงที่ ๗ เป็นสมุฏฐาน วิญญ ฺ ตฺตวิ กิ ารสหิตา ประกอบด้วยความเปลีย่ นแปร คือวิญญัตติ ลทฺโธปตฺถมฺภา ได้รบั ความอุปถัมภ์แล้ว วาโยธาตูหิ จากเหล่าวาโยธาตุ


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

273

ปฐมชวนาทิสมุฏฐฺ านาหิ อันมีปฐมชวนจิต (ชวนจิตดวงที่ ๑) เป็นต้นเป็นสมุฏฐาน จลยติ จิตตฺ ชํ ย่อมยังจิตตชรูปให้เคลือ่ นไหว เทสนฺตรุปปฺ ตฺตเิ หตุภาเวน เพราะ เป็นเหตุแห่งการเกิดขึ้นในส่วนอื่น ฯ ปน ส่วน ปุริมชวนาทิสมุฏฺฐิตา วาโยธาตุที่ เกิดแต่ชวนจิตดวงที่มีก่อนเป็นต้น สนฺถมฺภนสนฺธารณมตฺตกรา ท�ำหน้าที่เพียง ค�้ำจุนและทรงไว้ โหนฺติ ย่อมมี อุปการาย เพื่ออุปการะ ตสฺสา แก่วาโยธาตุที่มี ชวนจิตดวงที่ ๗ เป็นสมุฏฐานนั้น ฯ สตฺตหิ ยุเคหิ อากฑฺฒิตพฺพสกเฏ เปรี ย บเหมื อ นในเกวี ย นที่ จ ะต้ อ งลากไปด้ ว ยแอก ๗ แอก โคณา คู ่ โ ค สตฺตมยุคยุตฺตา เอว ที่เขาเทียมไว้ในแอกที่ ๗ เท่านั้น ลทฺธูปตฺถมฺภา ได้รับ ความช่วยเหลือ ยุตฺตโคเณหิ จากคู่โคที่เขาเทียมไว้ ฉสุ ยุเคสุ ในแอก ๖ แอก เหฏฺฐา เบื้องหลัง สกฏํ จาเลนฺติ จึงยังเกวียนให้เคลื่อนที่ได้ ปน ส่วน ปฐมยุคาทิยุตฺตา คู่โคที่เขาเทียมไว้ในแอกที่ ๑ เป็นต้น สาเธนฺตา ให้ส�ำเร็จกิจ อุปตฺถมฺภนสนฺธารณาทิมตฺตเมว เพียงช่วยเหลือและทรงไว้เป็นต้นเท่านัน้ โหนฺติ มี อุปการาย เพื่ออุปการะ เตสํ แก่คู่โคที่เขาเทียมไว้ในแอกที่ ๗ เหล่านั้น ยถา หิ ฉันใด สมฺปทมิทํ ข้ออุปไมยนี้ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงเห็น เอวํ ฉันนั้น ฯ เจตฺถ ก็ ในอธิการว่าด้วยกายวิญญัตตินี้ จลนํ ความเคลือ่ นไหว เทสนฺตรุปปฺ ตฺตเิ ยว คือการเกิดขึน้ ในส่วนอืน่ อุปปฺ นฺนเทสโต เกสคฺคมตฺตมฺปิ ธมฺมานํ สงฺกมนาภาวโต เพราะธรรมทัง้ หลายจะย้ายไปจากส่วนทีเ่ กิดขึน้ แล้ว แม้เพียงปลายเส้นผมเส้นเดียว ก็ไม่ได้ ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ น สิยา จะไม่พึง เนสํ อพฺยาปารตา มีความที่ธรรมทั้งหลายเหล่านั้น ไม่มีความพยายาม ขณิกตา จ และความเป็นไปได้ชวั่ ขณะ ฯ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความตกลงใจว่า จ ก็ ตตฺถ อุปปฺ ตฺตเิ ยวาติ ความเกิดขึน้ ของตนในทีน่ นั้ เตหิ สห พร้อมกับสหชาตรูปเหล่านัน้ นั่นเอง ยถา อตฺตนา สหชรูปานิ เหฏฺฐิมชวนสมุฏฺฐิตรูเปหิ ปติฏฺฐิตฏฺฐานโต อญฺญตฺถ อุปฺปชฺชนฺติ เอวํ เปรียบเสมือนรูปที่เกิดร่วมกับตน ย่อมเกิดขึ้นในที่อื่น จากที่อันรูปซึ่งตั้งขึ้นจากชวนจิตดวงก่อนตั้งอยู่ ฉะนั้น เทสนฺตรุปฺปตฺติเหตุภาโวติ ชื่อว่าภาวะเป็นเหตุเกิดขึ้นในส่วนอื่น ฯ ปน ก็ เอตฺถ ในบรรดารูปนี้ จิตฺตเช


274

ปริเฉทที่ ๖

เมือ่ จิตตชรูป จลิเต ไหวแล้ว อิตรมฺปิ แม้รปู นอกนี้ จลติ ก็ไหวตาม ตํสมฺพนฺเธน เพราะเนื่องกับจิตตชรูปนั้น นทีโสเต ปกฺขิตฺตสุกฺขโคมยปิณฺฑํ วิย เปรียบเหมือน ก้อนโคมัยแห้งที่บุคคลทิ้งลงในกระแสแม่น�้ำ เมื่อน�้ำกระเพื่อมก็กระเพื่อมตาม ฉะนัน้ ฯ ปฐมชวนาทิสมุฏฐฺ านวาโยธาตุโย วาโยธาตุซงึ่ มีชวนจิตดวงที่ ๑ เป็นต้น เป็นสมุฏฐาน จลยิตมุ สกฺโกนฺตโิ ยปิ แม้เมือ่ ไม่สามารถจะให้ไหวได้ ตถา อย่างนัน้ วิญญ ฺ ตฺตวิ กิ ารสหิตาเยว ก็ชอื่ ว่าเป็นไปพร้อมกับความเปลีย่ นแปรคือวิญญัตตินนั่ เอง เยน ทิสาภาเคนายํ อภิกฺกมาทีนิ ปวตฺเตตุกาโม ตทภิมุขภาววิการสมฺภวโต เพราะเกิดมีความเปลี่ยนแปร คือความมุ่งหน้าตรงต่อทิสาภาคที่บุรุษนี้ต้องการ ให้กิจมีการก้าวไปข้างหน้าเป็นต้นเป็นไป ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็ เพราะอธิบาย ความดังว่ามา นี้ วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าว มโนทฺวาราวชฺชนสฺสาปิ วิญฺญตฺติสมุฏฺฐาปกตฺตํ ว่า แม้มโนทวาราวัชชนจิต ก็ให้วิญญัตติรูปตั้งขึ้นได้ ฯ (บ.ศ. ๙ ๒๕๓๗, ป.ธ. ๙ ๒๕๔๒) เอโก วิกาโร การเปลี่ยนแปรครั้งหนึ่ง วจีเภทกจิตตฺ สมุฏฐฺ านปฐวีธาตุยา แห่งปฐวีธาตุ ซึง่ มีจติ คิดจะเปล่งค�ำพูดเป็นสมุฏฐาน ฆฏฺฏนปจฺจยภูโต เป็นปัจจัยกระทบ อกฺขรุปฺปตฺติฏฺฐานคตอุปาทินฺนรูเปหิ สห กับอุปาทินนรูป (รูปที่มีใจครอง) ซึ่งอยู่ในที่เกิดขึ้นแห่งอักษร วจีวิญฺญตฺติ ชื่อว่า วจีวิญญัตติ ฯ ยํ ปเนตฺถ วตฺตพฺพํ ก็ ค�ำที่ข้าพเจ้าจะพึงกล่าวในวจีวิญญัตติรูปนี้ ตํ กายวิญฺญตฺติยํ วุตฺตนเยน ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงค้นดูได้ตามนัยที่ข้าพเจ้า กล่าวไว้แล้วในกายวิญญัตติรปู ฯ อยมฺปน วิเสโส ส่วน ความต่างกัน มีดงั ต่อไปนี้ ตตฺถ ในกายวิญญัตตินเิ ทศนัน้ วุตตฺ ํ ข้าพเจ้ากล่าวไว้ ผนฺทมานกายคฺคหณานนฺตรนฺติ ว่า ในล�ำดับต่อจากการก�ำหนดรู้ร่างกายที่เคลื่อนไหวอยู่ ยถา ฉันใด อิธ ใน วจีวญ ิ ญัตตินเิ ทศนี้ โยเชตพฺพํ บัณฑิตพึงประกอบค�ำ สุยยฺ มานสทฺทสวนานนฺตรนฺติ ว่า ในล�ำดับต่อจากการฟังเสียงที่ได้ยินอยู่ เอวํ ฉันนั้น ฯ จ ก็ อิธ ใน วจีวิญญัตตินิเทศนี้ น ลพฺภติ ย่อมไม่ ไ ด้ สตฺ ตมชวนสมุ ฏ ฺ ฐิ ตาติ อาทิ น โย นัยเป็นต้นว่า เกิดขึ้นจากชวนจิตดวงที่ ๗ สนฺถมฺภนาทิอภาวโต เพราะไม่มีกิจ มีการช่วยค�้ำจุนเป็นต้น ฯ หิ ความจริง สทฺโท เสียง อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

275

ฆฏฺฏเนน สทฺธึเยว พร้อมกับการกระทบทันที ฯ ฆฏฺฏนญฺจ และการกระทบ ลพฺภเตว ก็หาได้แน่แท้ ปฐมชวนาทีสุปิ แม้ในชวนจิตดวงที่ ๑ เป็นต้นไป ฯ (จบ ๒๔๙๙) จ ก็ เอตฺถ ในวจีวิญญัตตินิเทศนี้ อยํ ทฺวินฺนํ สาธารณูปมา มีข้ออุปมาที่ทั่วไปแก่วิญญัตติรูปทั้งสองดังนี้ว่า อุสฺสาเปตฺวา พนฺธโคสีสตาล ปณฺณาทิรูปานิ ทิสฺวา เปรียบเหมือน เพราะเห็นรูปศีรษะโคและใบตาลเป็นต้น ที่บุคคลช่วยกันยกขึ้นผูกไว้ มโนทฺวารชวนวีถิยา วิถีชวนจิตที่เกิดทางมโนทวาร อวิญฺญายมานนฺตราย ซึ่งมีล�ำดับไม่ปรากฏ ตทนนฺตรปฺปวตฺตาย เป็นไปในล�ำดับ ต่อจากการเห็นรูปศีรษะโคเป็นต้นนั้น โคสีสาทีนํ อุทกสหจาริตปฺปการสญฺญาณํ คเหตฺวา อุทกคฺคหณํ โหติ ก�ำหนดรู้เครื่องหมายแห่งศีรษะโคเป็นต้นว่า มีปกติ ไปร่วมกับน�้ำ แล้วย่อมก�ำหนดรู้ว่ามีน�้ำ ยถา ฉันใด วิปฺผนฺทมานสมุจฺจาริยมา นกายสทฺเท คเหตฺวา เพราะก�ำหนดรู้ร่างกายที่เคลื่อนไหวอยู่ และเสียงที่บุคคล เปล่งอยู่ มโนทฺวารวีถิยา วิถีจิตที่เกิดทางมโนทวาร อวิญฺญายมานนฺตราย ซึ่งมี ล�ำดับไม่ปรากฏ ปุริมสิทฺธสมฺพนฺธูปนิสฺสยาย ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับความ ตกลงกันไว้ก่อนเป็นที่อิงอาศัย ตทนนฺตรปฺปวตฺตาย เป็นไปในล�ำดับต่อจาก การก�ำหนดรู้ร่างกายที่เคลื่อนไหวอยู่เป็นต้นนั้น สาธิปฺปายวิการคฺคหณํ โหตีติ ย่อมก�ำหนดรูค้ วามเปลีย่ นแปรพร้อมทัง้ ความหมาย (ความต้องการ) ได้ เอวํ ฉันนัน้ ฯ (จบ บ.ศ. ๙ ๒๕๓๗) ลหุภาโว ความเบาแห่งรูป ลหุตา ชื่อว่ารูปลหุตา ฯ มุทุภาโว ความ อ่อนโยนแห่งรูป มุทุตา ชื่อว่ารูปมุทุตา ฯ กมฺมญฺญภาโว ความควรแก่การงาน แห่งรูป กมฺมญฺญตา ชื่อว่ารูปกัมมัญญตา ฯ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมาย ว่า เจตา ก็ ความเป็นไปแห่งรูปเหล่านี้ รูปานํ อครุตา คือความที่รูปไม่หนัก อโรคิโน วิย ดุจรูปของคนไม่มีโรค ฉะนั้น ลหุตา ชื่อว่ารูปลหุตา อกถินตา ความที่รูปไม่แข็งกระด้าง สุปริมทฺทิตจมฺมสฺส วิย ดุจแผ่นหนังที่ฟอกดีแล้ว ฉะนั้น มุทุตา ชื่อว่ารูปมุทุตา อนุกูลภาโวติ ความที่รูปคล้อยตาม สรีรกิริยานํ กิริยาแห่งร่างกาย สุธนฺตสุวณฺณสฺส วิย ดุจทองค�ำที่ห ลอมดีแล้ว ฉะนั้น


276

ปริเฉทที่ ๖

กมฺมญฺญตา ชื่อว่ารูปกัมมัญญตา ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ วุจฺจติ บัณฑิตกล่าว อญฺญมญฺญํ อวิชหนฺตสฺสาปิ ลหุตาทิตฺตยสฺส ตํตํวิการาธิกรูเปหิ นานตฺตํ วิการรูป ๓ ประการมีรูปลหุตาเป็นต้น แม้จะไม่พรากจากกันและกัน ว่าต่างกัน โดยเป็นรูปที่ยิ่งด้วยความเปลี่ยนแปรนั้น ๆ ฯ หิ ความจริง รูปวิกาโร ความ เปลี่ยนแปรแห่งรูป ทนฺธตฺตกรธาตุกฺโขภปฏิปกฺขปจฺจยสมุฏฺฐาโน ซึ่งมีปัจจัย อันเป็นข้าศึก ต่อความก�ำเริบแห่งธาตุ ที่กระท�ำความเฉื่อยชาเป็นสมุฏฐาน ลหุตา ชื่อรูปลหุตา ฯ รูปวิกาโร ความเปลี่ยนแปรแห่งรูป ถทฺธตฺตกรธาตุกฺโขภปฏิปกฺขปจฺจยสมุฏฐฺ าโน ซึง่ มีปจั จัยอันเป็นข้าศึกต่อความก�ำเริบแห่งธาตุ ทีก่ ระท�ำ ความแข็งกระด้างเป็นสมุฏฐาน มุทตุ า ชือ่ ว่ารูปมุทตุ า ฯ รูปวิกาโร ความเปลีย่ นแปร แห่งรูป สรีรกิรยิ านํ อนนุกลู ภาวกรธาตุกโฺ ขภปฏิปกฺขปจฺจยสมุฏฐฺ าโน ซึง่ มีปจั จัย อันเป็นข้าศึกต่อความก�ำเริบแห่งธาตุ ทีก่ ระท�ำความไม่คล้อยตามกิรยิ าแห่งร่างกาย เป็นสมุฏฐาน กมฺมญฺญตาติ ชื่อว่ารูปกัมมัญญตา แล ฯ (จบ ๒๕๔๒) อุปจยนํ ความก่อเกิดเริ่มแรก อุปจโย ชื่ออุปจยรูป ฯ อตฺโถ อธิบาย ปฐมจโยติ ว่า ความก่อเกิดครั้งแรก อุปสทฺทสฺส ปฐมตฺถโชตนโต เพราะศัพท์ว่า อุป ส่องอรรถว่า ครั้งแรก อุปญาตนฺติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคมีอาทิว่า อุปาตํ ดังนี้ ฯ สนฺตาโน ความสืบต่อ สนฺตติ ชื่อว่าสันตติรูป ฯ อตฺโถ อธิบาย ปพนฺโธติ ว่า ความสืบเนื่องกัน ฯ ตตฺถ บรรดาอุปจยรูปและสันตติรูป ทั้ง ๒ ประการนั้น รูปุปฺปาโท ความเกิดขึ้นแห่งรูป ปฏิสนฺธิโต ปฏฺฐาย เริ่มต้น ตั้งแต่ปฏิสนธิกาล ยาว จกฺขฺวาทีนํ ทสกานํ อุปฺปตฺติ จนถึงจักขุทสกกลาป เป็นต้นเกิด เอตฺถนฺตเร ในระหว่างนี้ อุปจโย นาม ชื่อว่าอุปจยรูป ฯ ตโต ปรํ ต่อแต่นั้นไป สนฺตติ นาม ชื่อว่าสันตติรูป ฯ ชีรณํ ความแก่คร�่ำคร่า รูปานํ แห่งรูป ขณมตฺตฏฺฐายีนํ ที่ตั้งอยู่เพียงชั่วขณะ ยถาสกํ ตามปัจจัยของตน นิโรธาภิมุขภาววเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็นธรรมชาตมุ่งตรงต่อความดับ ชรา ชื่อว่าชรา ฯ สาเยว ชรานั่นเอง ชรตา เป็นชรตา ฯ อนิจฺจํ ที่ชื่อว่าอนิจจะ นิจฺจธุวสภาเวน น อิจฺจํ อนุปคนฺตพฺพนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่พึงไป


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

277

คือไม่พงึ เข้าถึง โดยสภาวะทีเ่ ทีย่ งและยัง่ ยืน ฯ ภาโว ภาวะ ตสฺส แห่งอนิจจะนัน้ อนิ จฺ จ ตา ชื่ อ ว่ า อนิ จ จตา รู ป ปริ เ ภโท ได้ แ ก่ ความแตกสลายแห่ ง รู ป ฯ ลกฺขณรูปนฺนาม ที่ชื่อว่าลักขณรูป ลกฺขณเหตุตฺตา เพราะเป็นเหตุก�ำหนด ธมฺมานํ ธรรมทั้งหลาย ตํตํอวตฺถานวเสน ด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดนั้น ๆ ฯ ชาติรปู เมวาติ บทว่า ชาติรปู เมว ความว่า ชาติรปู เมว รูปเกิดนัน่ เอง ชาติสงฺขาตํ กล่าวคือชื่อว่าชาติ อุปฺปตฺติภาวโต เพราะความเป็นที่เกิดขึ้น รูปานํ แห่งรูป ทั้งหลาย ขเณ ขเณ ทุก ๆ ขณะ ปฏิสนฺธิโต ปฏฺฐาย เริ่มต้นแต่ปฏิสนธิจิตไป รูปสมฺมตญฺจ และสมมติชื่อว่ารูป รูปปฏิพนฺธวุตฺติตฺตา เพราะมีความเป็นไป เนือ่ งกับความเปลีย่ นแปร รูปปุ ปฺ ตฺตภิ าเวน จ โดยความเกิดขึน้ แห่งความเปลีย่ นแปร วุจจฺ ติ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์กล่าว อุปจยสนฺตติภาเวน โดยเป็นภาวะแห่งอุปจยรูป และสันตติรูป วิภชิตฺวา วุตฺตตฺตา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสจ�ำแนกไว้ อุปจโย สนฺตตีติ ว่า อุปจยรูป สันตติรปู ดังนี้ เวเนยฺยวเสน ด้วยอ�ำนาจเวไนยสัตว์ ปฐมปรินิพฺพตฺติสงฺขาตปวตฺติอาการเภทโต โดยความต่างอาการเป็นไป กล่าวคือ ความบังเกิดครั้งแรก ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวแล้วอย่างนี้ นิทฺเทเส ในนิเทศ ตาสํ แห่งลักขณรูปทั้ง ๒ ประการนั้น ทสฺเสตุํ เพื่อจะแสดง อเภทํ ความไม่ตา่ งกัน อตฺถโต โดยความหมาย วุตตฺ ํ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าจึงตรัสว่า โย อายตนานํ อาจโย ความก่อเกิดแห่งอายตนะทัง้ หลายใด โส ความก่อเกิดอันนัน้ รูปสฺส อุปจโย ชื่อว่าความก่อเกิดเริ่มแรกแห่งรูป โย รูปสฺส อุปจโย ความ ก่อเกิดเริ่มแรกแห่งรูปใด โส ความก่อเกิดเริ่มแรกแห่งรูปนั้น รูปสฺส สนฺตตีติ ชื่อว่าความสืบต่อแห่งรูป ฯ เอกาทสวิธมฺปีติ บทว่า เอกาทสปการมฺปิ ได้แก่ แม้มี ๑๑ ประการ สภาคสงฺคหวเสน ด้วยอ�ำนาจรวบรวมรูปที่มีส่วนเสมอกัน ฯ อฏฺฐวีสติวิธมฺภเว รูปพึงมี ๒๘ ประการ จตฺตาโร ภูตา คือ ภูตรูป ๔ ปญฺจ ปสาทา ปสาทรูป ๕ จตฺตาโร วิสยา โคจรรูป ๔ ทุวิโธ ภาโว ภาวรูป ๒ หทยรูปมิจฺจปีติ หทยรูป ๑ ชีวิตาหารรูเปหิ ทฺวีหิ สห รวมกับรูป ๒ คือ ชีวิตรูป ๑ อาหารรูป ๑ อิทํ อฏฺฐารสวิธํ ชื่อว่า นิปผันนรูปเป็น ๑๘ อย่าง


278

ปริเฉทที่ ๖

ตถา อนึ่ง อิเม ทส เจติ และรูปธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ ปริจฺเฉโท จ คือ ปริเฉทรูป ๑ ทุวิธา วิญฺญตฺติ วิญญัตติรูป ๒ ติวิโธ วิกาโร วิการรูป ๓ จตุพฺพิธํ ลกฺขณนฺติ ลักขณรูป ๔ อนิปฺผนฺนา ชื่อว่าอนิปผันนรูป รูปานํ ปริจฺเฉทวิการาทิภาวํ วินา วิสุ ปจฺจเยหิ อนิพฺพตฺตตฺตา เพราะรูปทั้งหลาย เว้นภาวะแห่งปริเฉทรูปและวิการรูปเป็นต้นเสีย ไม่บังเกิดด้วยปัจจัยทั้งหลาย แผนกหนึ่ง ฯ อิทานิ บัดนี้ ยถาอุทฺทิฏฺฐานํ รูปานํ เอกวิธาทินยทสฺสนตฺถํ เพื่อจะแสดงนัยแห่งรูปทั้งหลายมีรูปอย่างเดียวเป็นต้น ตามที่ยกขึ้นแสดงไว้แล้ว วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำ สพฺพญฺจ ปเนตนฺติอาทิ ว่า สพฺพญฺจ ปเนตํ ดังนี้เป็นต้น ฯ อเหตุกํ รูปทั้งหมดนั้นชื่อว่าอเหตุกะ อภาวา เพราะไม่มี สมฺปยุตฺตสฺส อโลภาทิเหตุโน สัมปยุตเหตุมีอโลภเหตุเป็นต้น ฯ สปจฺจยํ ชื่อว่า สปัจจยะ ยถาสกปจฺจยวนฺตตาย เพราะมีปจั จัยตามทีเ่ ป็นของตน ฯ สาสวํ ชือ่ ว่า สาสวะ สหิตตฺตา เพราะเกิดพร้อม อตฺตานํ อารพฺภ ปวตฺเตหิ กามาสวาทีหิ กับกามาสวะเป็นต้น ที่ปรารภตนเป็นไป ฯ สงฺขตํ ที่ชื่อว่าสังขตรูป ปจฺจเยหิ อภิสงฺขตตฺตา เพราะถูกปัจจัยทัง้ หลายปรุงแต่ง ฯ โลกิยํ ชือ่ ว่าโลกิยะ นิยตุ ตฺ ตาย เพราะประกอบ อุปาทานกฺขนฺธสงฺขาตโลเก ในโลก กล่าวคืออุปาทานขันธ์ ฯ กามาวจรํ ชื่อว่ากามาวจร อวจริตตฺตา เพราะเป็นที่ท่องเที่ยวไป กามตณฺหาย แห่งกามตัณหา ฯ อนารมฺมณํ ชื่อว่าอนารัมมณรูป อรูปธมฺมานํ วิย กสฺสจิ อารมฺมณสฺส อคฺคหณโต นาสฺส อารมฺมณนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ไม่มอี ารมณ์ เหตุรับอารมณ์อะไร ๆ ดุจอรูปธรรมทั้งหลายไม่ได้ ฯ อปฺปหาตพฺพํ ชื่อว่า อัปปหาตัพพรูป ปหาตพฺพตาภาวโต เพราะไม่มคี วามเป็นธรรมชาตอันพระโยคาวจร จะต้องละ ตทงฺคาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจตทังคปหานเป็นต้น ฯ อิตสิ ทฺโท อิติ ศัพท์ ปการตฺโถ เป็นปการัตถะ ฯ เตน ด้วย อิติ ศัพท์เป็นปการัตถะนั้น สงฺคณฺหาติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ย่อมรวบรวม เอกวิธนยํ นัยแห่งรูปมีอย่างเดียว สพฺพํ ทั้งหมด อพฺยากตนฺติอาทิกํ มีอัพยากตรูปเป็นต้น ฯ อชฺฌตฺติกรูปํ ปสาทรูป ๕ อย่าง ชื่อว่าอัชฌัตติกรูป อตฺตภาวสงฺขาตํ อตฺตานํ อธิกิจฺจ อุทฺทิสฺส


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

279

ปวตฺตตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตมุง่ เฉพาะ คือเจาะจงตน กล่าวคืออัตภาพ เป็นไป ฯ อญฺเญปิ อชฺฌตฺตสมฺภูตา ธรรมที่เกิดมีภายในแม้เหล่าอื่น อตฺถิ มีอยู่ กามํ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น จกฺขฺวาทิกํเยว ปสาทรูป ๕ มีจักขุปสาท รูปเป็นต้น เท่านัน้ อชฺฌตฺติกํ ชือ่ ว่าอัชฌัตติกรูป รุฬหฺ วิ เสน ด้วยอ�ำนาจศัพท์ทดี่ าษดืน่ ทัว่ ไป ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง จกฺขฺวาทีเนว ปสาทรูป ๕ มีจักขุปสาทรูปเป็นต้นเท่านั้น อชฺฌตฺติกานิ นาม ชื่อว่าอัชฌัตติกรูป วิเสสโต โดยพิเศษ สาติสยอุปการตฺตา เพราะความเป็นธรรมชาตท�ำความเกื้อกูลอย่างดียิ่ง อตฺตภาวสฺส แก่อัตภาพ วทนฺตา วิย คล้ายจะพูดว่า ยทิ ถ้าหาก มยํ พวกเรา น โหม ไม่มี ตฺวํ ท่าน ภวิสฺสสีติ ก็จักเป็น กฏฺฐกลิงฺครูปโม ดุจท่อนไม้ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง อชฺฌตฺตํ ชื่อว่าอัชฌัตตะ อตฺตสงฺขาตํ จิตฺตํ อธิกิจฺจ ตสฺส ทฺวารภาเวน ปวตฺตตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มุ่งเฉพาะจิตกล่าวคือตน เป็นไป โดยความเป็นทวารของ จิตนั้น ฯ ตเทว อัชฌัตตะนั่นเอง อชฺฌตฺติกํ เป็นอัชฌัตติกะ ฯ อิตรํ รูปนอกนี้ เตวีสติวิธํ คือ รูป ๒๓ อย่าง พาหิรรูปํ ชื่อว่าพาหิรรูป พหิภูตตฺตา เพราะเป็น ธรรมชาตเกิดในภายนอก ตโต แต่รปู ทีเ่ กิดในภายในนัน้ ฯ จกฺขวฺ าทิเนว รูป ๖ อย่าง กล่าวคือ ปสาทรูป ๕ อย่าง มีจักขุปสาทรูปเป็นต้นนั่นเอง และหทยรูป วตฺถุรูปํ ชื่อว่าเป็นวัตถุรูป อิตรํ รูปนอกนี้ พาวีสติวิธํ คือ รูป ๒๒ อย่าง น วตฺถุรูปํ ไม่ชอื่ ว่าเป็นวัตถุรปู ฯ อฏฺฐวิธมฺปิ รูปแม้ทงั้ ๘ อย่าง อินทฺ รฺ ยิ รูปํ ชือ่ ว่าอินทรียรูป อาธิปจฺจโยคโต เพราะประกอบด้วยความเป็นใหญ่ ปญฺจวิญฺญาเณสุ ลิงฺคาทีสุ ในปัญจวิญญาณจิตในเพศเป็นต้น สหชรูปปริปาลเน จ และในการหล่อเลี้ยงรูป ที่เกิดร่วมกัน ฯ หิ ความจริง ปสาทรูปสฺส ปญฺจวิธสฺส ปสาทรูป ๕ อย่าง อาธิปจฺจํ ชื่อว่ามีความเป็นใหญ่ จกฺขุวิญฺญาณาทีสุ ในจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น เตสมฺปิ ปฏุมนฺทาทิภาวาปาทนโต เพราะยังจักขุวิญญาณจิตเป็นต้นแม้เหล่านั้น ให้ถึงความกล้าแข็งและอ่อนแอ อตฺตโน ปฏุมนฺทาทิภาเว ในเมื่อตนกล้าแข็ง และอ่อนแอเป็นต้นเป็นอาทิ ฯ ภาวทฺวยสฺสาปิ แม้ภาวรูปทั้ง ๒ อย่าง อาธิปจฺจํ ก็ชื่อว่ามีความเป็นใหญ่ อิตฺถีลิงฺคาทีสุ ในเพศหญิงเป็นต้น ยถาสกํ ปจฺจเยหิ


280

ปริเฉทที่ ๖

อุปปฺ ชฺชมานานมฺปิ เตสํ เยภุยเฺ ยน สภาวสนฺตาเนเยว ตํตทากาเรน อุปปฺ ชฺชนโต เพราะเพศหญิงเป็นต้นเหล่านัน้ แม้เกิดขึน้ อยูด่ ว้ ยปัจจัยตามทีเ่ ป็นของตน ก็เกิดขึน้ โดยอาการนัน้ ๆ ในสันดานทีเ่ ป็นเองนัน่ แล โดยมาก ปน แต่ น อินทฺ รฺ ยิ ปจฺจยภาวโต หาชื่อว่ามีความเป็นใหญ่ เพราะความเป็นอินทรียปัจจัยไม่ ฯ จ อนึ่ง ชีวิตสฺส ชีวิตรูป อาธิปจฺจํ ชื่อว่ามีความเป็นใหญ่ กมฺมชรูปปริปาลเน ในการหล่อเลี้ยง กัมมชรูป เตสํ ยถาสกํ ขณฏฺฐานสฺส ชีวิตินฺทฺริยปฏิพทฺธตฺตา เพราะการตั้งอยู่ ได้ชั่วขณะจิต ตามปัจจัยของตน แห่งกัมมชรูปเหล่านั้น เนื่องด้วยชีวิตินทรีย์ ฯ สยญฺจ และตนเอง ปวตฺตติ ก็เป็นไปได้ อตฺตนา ฐปิตธมฺมสมฺพนฺเธเนว โดยความเกี่ยวเนื่องกับธรรมที่ตนตั้งไว้นั่นเอง นาวิโก วิย นาวาสมฺพนฺเธน เปรียบเหมือนชาวเรือ เป็นไปได้โดยความเกี่ยวเนื่องกับเรือ ฉะนั้น ฯ (๒๕๓๕) รูปทั้ง ๑๒ อย่าง กล่าวคือ ปสาทรูป ๕ และโคจรรูป ๗ โอฬาริกรูปํ ชื่อว่าโอฬาริกรูป ถุลฺลตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตหยาบ วิสยวิสยีภาวาปตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจถึงภาวะเป็นอารมณ์ และภาวะรับอารมณ์ได้ ฯ สนฺติเกรูปํ สันติเกรูป อาสนฺนรูปํ นาม ชื่อว่ารูปใกล้ ตโตเยว คหณสฺส สุกรตฺตา เพราะก�ำหนดรู้ ท�ำได้งา่ ยกว่ารูปไกลนัน้ นัน่ แล ฯ โย สยํ นิสสฺ ยวเสน สมฺปตฺตานํ อสมฺปตฺตานญฺจ ปฏิมุขภาโว อญฺญมญฺญปตนํ ภาวะที่ปสาทรูป ทั้งหลายมีจักขุปสาทรูปเป็นต้นถึงพร้อมแล้ว ด้วยอ�ำนาจตนเองเป็นที่อยู่อาศัย และทีโ่ คจรรูปทัง้ หลายมีรปู ารมณ์เป็นต้นไม่ถงึ พร้อมแล้ว ประจวบกัน ตกลงร่วมกัน และกัน โส ปฏิโฆ วิยาติ เป็นดุจกระทบกัน เพราะเหตุนนั้ ปฏิโฆ จึงชือ่ ว่าปฏิฆะ ฯ ปฏิฆาเต สติ เปรียบเสมือน เมื่อคนแข็งแรง ๒ คน ปะทะกัน ทุพฺพลสฺส จลนํ โหติ คนอืน่ ทีอ่ อ่ นแอ ย่อมพลอยกระทบกระเทือนไปด้วย ยถา หิ ฉันใด อญฺ ญ มญฺ ญ ปฏิ มุ ข ภาเว สติ เมื่ อ ปสาทรู ป กั บ โคจรรู ป ประจวบกั น และกั น อรูปสภาวตฺตา ทุพฺพลสฺส ภวงฺคสฺส จลนํ โหติ ภวังคจิตซึ่งมีพลังอ่อน เพราะมี สภาวะเป็นอรูปธรรม ย่อมพลอยไหวไปด้วย เอวํ ฉันนั้น ฯ ปฏิโฆ ปฏิฆะ อตฺถิ ย่อมมี ยสฺส แก่รูปใด ตํ รูปนั้น ชื่อว่า สปฺปฏิฆํ สัปปฏิฆรูปฯ ทฏฺฐพฺพํ


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

281

บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า ตตฺถ บรรดาโคจรัคคาหิกรูป (บรรดารูปทีร่ บั อารมณ์ได้) นัน้ สยํ สมฺปตฺติ โผฏฺฐพฺพสฺส นิสสฺ ยสฺส วเสน สมฺปตฺติ ฆานชิวหฺ ากายคนฺธรสานํ กายปสาทรูปกับโผฏฐัพพารมณ์ ย่อมกระทบกันได้ด้วยตนเอง ฆานปสาทรูปกับ คันธารมณ์ และชิวหาปสาทรูปกับรสารมณ์ ย่อมกระทบกันได้ ด้วยอ�ำนาจภูตรูป เป็นที่อยู่อาศัย ฯ จกฺขุโสตรูปสทฺทานนฺติ จักขุปสาทรูปกับรูปารมณ์ และ โสตปสาทรูปกับสัททารมณ์ อสมฺปตฺติ ย่อมไม่ถึงพร้อมกัน อุภยถาปิ แม้ทั้งสอง ฝ่าย ฯ อิตรํ รูปนอกนี้ โสฬสวิธมฺปิ คือ รูปทั้ง ๑๖ อย่าง สุขุมรูปาทิกํ ชื่อว่าสุขุมรูปเป็นต้น โอฬาริกตาทิสภาวาภาวโต เพราะไม่มีสภาวะมีความเป็น ธรรมชาตหยาบเป็นต้น ฯ อฏฺฐารสวิธํ รูป ๑๘ อย่าง กมฺมโต ชาตํ ทีเ่ กิดแต่กรรม อุปาทินฺนกรูปํ ชื่อว่าอุปาทินนกรูป ตณฺหาทิฏฺฐีหิ อุเปเตน กมฺมุนา อตฺตโน ผลภาเวน อาทินฺนตฺตา คหิตตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตถูกกรรมที่ประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดแล้ว คือถือแล้ว โดยความเป็นผลของตน ฯ อิตรํ รูปนอกนี้ ทสวิธํ คือ รูป ๑๐ อย่าง อคฺคหิตคฺคหเณน โดยระบุถึงรูปที่ยังมิได้ระบุถึง อนุปาทินฺนกรูปํ ชื่อว่าอนุปาทินนกรูป ฯ (ยํ รูปํ) รูปายตนะใด วตฺตตีติ ย่อมเป็นไป ทฏฺฐพฺพภาวสงฺขาเตน นิทสฺสเนน สห พร้อมกับด้วยนิทัสสนะ กล่าวคือภาวะที่บุคคลจะพึงยลได้ เพราะเหตุนน้ั (ตํ รูป)ํ รูปายตนะนัน้ สนิทสฺสนํ ชือ่ ว่าสนิทสั สนะ ฯ หิ ความจริง จกฺขวุ ญ ิ ญ ฺ าณโคจรภาโว ภาวะทีเ่ ป็นอารมณ์แห่งจักขุวญ ิ ญาณจิต วุจจฺ ติ ท่านเรียก นิทสฺสนนฺติ ว่า นิทัสสนะ ฯ จ ก็ ตสฺส รูปายตนโต อนญฺญตฺเตปิ เมื่อ นิทัสสนะนั้น แม้จะไม่เป็นอย่างอื่นจาก รูปายตนะ อญฺเญหิ ธมฺเมหิ ตํ วิเสเสตุํ เพื่อจะให้นิทัสสนะนั้นต่างจากธรรมเหล่าอื่น อญฺญํ วิย กตฺวา วตฺตุํ วฏฺฏติ สมควรกล่าวให้เป็นดุจธรรมอื่น สห นิทสฺสเนน สนิทสฺสนนฺติ ว่าธรรมชาต ทีเ่ ป็นไปพร้อมกับด้วยนิทสั สนะ ชือ่ ว่าสนิทสั สนะ ดังนี้ ฯ หิ ความจริง โย วิเสโส ความแปลกกัน นานตฺตกโร ซึง่ ท�ำความต่างกัน ธมฺมสภาวสามญฺเญน เอกีภเู ตสุ ธมฺเมสุ ในธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นอย่างเดียวกัน โดยเป็นสภาวธรรมเหมือนกัน ยุตโฺ ต


282

ปริเฉทที่ ๖

สมควรแล้ว อุปจริตํุ ทีจ่ ะอ้อมค้อม โส อญฺโญ วิย กตฺวา ท�ำให้เป็นดุจธรรมอืน่ ฯ หิ ความจริง อตฺถวิเสสาวโพโธ ความเข้าใจความต่างกันแห่งความหมาย โหติ ย่อมมีได้ เอวํ ด้วยวิธีการอย่างนี้ ฯ (จบ ๒๕๓๕) (๒๕๔๘) อสมฺปตฺตวเสนาติ บทว่า อสมฺปตฺตวเสน เป็นต้น ความว่า อตฺตานํ อสมฺปตฺตสฺส โคจรสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจอารมณ์ (รูปารมณ์และ สัททารมณ์) ที่ยังไม่ถึงตน (จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูป) อตฺตโน วิสยเทสํ วา อสมฺปตฺตวเสน หรือด้วยอ�ำนาจตน (จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูป) ยังไม่ถึง ส่วนแห่งอารมณ์ ฯ หิ ความจริง จกฺขุโสตานิ จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูป รูปสทฺเทหิ อสมฺปตฺตานิ อันรูปารมณ์และสัททารมณ์ ยังไม่ถึงตน ก็รับอารมณ์ได้ สยํ วา ตานิ อสมฺปตฺตาเนว หรือว่าตนเอง (จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูป) ยังไม่ถงึ รูปารมณ์และสัททารมณ์เหล่านัน้ เลย อารมฺมณํ คณฺหนฺติ ก็รบั อารมณ์ได้ ฯ เตเนตํ วุจจฺ ติ เพราะเหตุนน้ั พระโบราณาจารย์ทงั้ หลายจึงกล่าวถ้อยค�ำไว้ ดังนีว้ า่ ปเนเตสุ ก็ บรรดาปสาทรูป ๕ ประการเหล่านี้ จกฺขุโสตํ จักขุปสาทรูป และโสตปสาทรู ป โหตาสมฺ ป ตฺ ต คาหกํ ย่ อ มรั บ อารมณ์ ที่ ยั ง ไม่ ถึ ง ตนได้ วิญฺญาณุปฺปตฺติเหตุตฺตา เพราะเป็นเหตุให้วิญญาณจิต (จักขุวิญญาณจิตและ โสตวิญญาณจิต) เกิดขึ้น สนฺตราธิกโคจเร ในอารมณ์ที่มีสิ่งอื่นคั่นในระหว่าง และไกล ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น จกฺขุ จักขุปสาทรูป อุทิกฺขติ ย่อมมองเห็น วณฺณํ รูปารมณ์ ทูรเทสฏฺฐํ ซึ่งอยู่ในที่ไกลก็ได้ ผลิกาทิติโรหิตํ รูปารมณ์ที่อยู่ ภายในแห่งวัตถุโปร่งแสงมีแก้วผลึกเป็นต้นก็ได้ มหนฺตญฺจ และรูปารมณ์ที่ใหญ่ นคาทีนํ มีภูเขาเป็นต้นก็ได้ ฯ สทฺโท สัททารมณ์ อากาสาทิคโต ที่อยู่ในอากาศ ธาตุเป็นต้น กุจฺฉิจมฺมานนฺตริโตปิ จ แม้ที่อยู่ในภายในหนังท้อง มหนฺโต จ ฆณฺฑาทีนํ และที่ดังมีเสียงระฆังเป็นต้น โคจโร ย่อมเป็นอารมณ์ โสตสฺส ของโสตปสาทรูปได้ ฯ เจ หากบุคคลผู้ท้วงบางคน พึงกล่าวท้วงว่า คนฺตฺวา วิสยเทสนฺตํ ผริตฺวา คณฺหตีติ จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูปนั้น แผ่ไปถึง ส่วนแห่งอารมณ์แล้ว จึงรับรูปารมณ์และสัททารมณ์นั้นได้ ดังนี้ โยชนา มีการ


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

283

ประกอบความว่า อธิฏฐฺ านวิธาเนปิ แม้ในเวลาทีท่ า่ นผูบ้ ำ� เพ็ญเพียรท�ำการอธิษฐาน อภิญญา (ทิพจักขุญาณและทิพโสตญาณ) โส รูปารมณ์และสัททารมณ์นั้น โคจโร สิยา ก็พึงเป็นอารมณ์ ตสฺส ฃองจักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูปนั้นได้ ฯ เจ หาก โส รูปารมณ์และสัททารมณ์นั้น ยาติ ย่อมไปถึง อินฺทฺริยสนฺนิธึ ทีด่ ำ� รงอยูแ่ ห่งอินทรีย์ (จักขุนทรียแ์ ละโสตินทรีย)์ ภูตปฺปพนฺธโต เพราะเกีย่ วเนือ่ งกัน แห่งภูตรูป วณฺโณ รูปารมณ์ กมฺมจิตฺโตชสมฺภูโต ที่เกิดแต่กรรม จิต และอาหาร สทฺโท จ และสัททารมณ์ที่ จิตตฺ โช เกิดแต่จติ โคจรา โหนฺติ ย่อมเป็นอารมณ์ เตสํ ของจักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูปเหล่านัน้ น ไม่ได้ หิ เพราะ เต รูปารมณ์ และสัททารมณ์เหล่านั้น น สมฺโภนฺติ ย่อมไม่เกิดมี พหิ ในภายนอก (ร่างกาย) จ อนึง่ ปาเฐ ในพระบาลี (พระบาลีคมั ภีรป์ ฏั ฐาน) วุตตฺ า พระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัส เตสํ รูปารมณ์และสัททารมณ์เหล่านั้นว่า ตํวิสยาว เป็นอารมณ์ของจักขุปสาทรูป และโสตปสาทรูปนั้นแหละไว้ อวิเสเสน โดยไม่ต่างกัน ฯ ยทิ เจตํ ทฺวยํ ก็ ถ้าว่า จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูปทั้ง ๒ นี้ คณฺหติ รับได้ อตฺตสมีปํเยว เฉพาะรู ป ารมณ์ แ ละสั ท ทารมณ์ ที่ ใ กล้ ต นเท่ า นั้ น ไซร้ ตถา อนึ่ ง ปสฺ เ สยฺ ย จักขุปสาทรูปก็จะพึงมองเห็น อกฺขวิ ณฺณํ ดวงตา มูลํ ปขุมสฺส จ และโคนขนตา ได้ ฯ ทิสาเทสววตฺถานํ การก�ำหนดทิศและสถานที่ สทฺทสฺส แห่งสัททารมณ์ น ภเวยฺย จ ก็จะไม่พึงมี สิยา จ สรปาตนนฺติ และลูกศรก็จะพึงตกไป สกณฺเณ ในหูของตน สทฺทเวธิสฺส ของนายขมังธนูผู้ยิงตามเสียง ฯ (จบ ๒๕๔๘) โคจรคฺคาหิกรูปํ รูป ๕ อย่าง ชื่อว่าโคจรัคคาหิกรูป วิญฺญาณาธิฏฺฐิตํ หุตฺวา ตํตํโคจรคฺคหณสภาวตฺตา เพราะมีภาวะเป็นธรรมชาตอันวิญญาณจิต อยู่อาศัย รับอารมณ์นั้น ๆ ได้ ฯ อิตรํ รูปนอกนี้ เตวีสติวิธํ คือ รูป ๒๓ อย่าง อโคจรคฺคาหิกรูปํ ชื่อว่าอโคจรัคคาหิกรูป โคจรคฺคหณาภาวโต เพราะรับอารมณ์ ไม่ได้ฯ วณฺโณ สภาวะที่ชื่อว่าวัณณะ วณฺณิตพฺโพ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันบุคคลพึงยล ทฏฺฐพฺโพติ คือพึงดู ฯ โอชา ธรรมชาติที่ชื่อว่าโอชา อตฺตโน อุทยานนฺตรํ รูปํ ชเนตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ให้รูปเกิดในล�ำดับต่อจากตน


284

ปริเฉทที่ ๖

เกิดขึ้น ฯ อวินิพฺโภครูปํ รูป ๘ ประการ ชื่อว่า อวินิพโภครูป อญฺญมญฺญ- วินิพฺภุชนสฺส วิสุํ วิสุํ ปวตฺติยา อภาวโต เพราะไม่มีความพลัดพรากกันและกัน คือความเป็นไปแยก ๆ กัน กตฺถจิปิ แม้ในอารมณ์ไหน ๆ ฯ หิ ก็ คนฺธาทีนํ อภาววาทิมตมฺปิ แม้มติของท่านผู้มักกล่าวว่า คันธารมณ์เป็นต้นไม่มี รูปโลเก ในโลกที่เป็นรูปาวจร อาจริเยหิ ปฏิกฺขิตฺตเมว ถูกอาจารย์ทั้งหลายคัดค้าน เสียแล้ว ตตฺถ ตตฺถ ในที่นั้น ๆ นั่นเอง ฯ อิติสทฺโท อิติ ศัพท์ อิจฺเจวนฺติ เอตฺถาปิ แม้ในค�ำว่า อิจฺเจวํ นี้ ปการตฺโถ เป็นปการัตถะ ฯ เตน ด้วย อิติ ศัพท์ ทีเ่ ป็นปการัตถะนัน้ สงฺคณฺหาติ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ยอ่ มประมวล ทุกติกาทิเภทํ ประเภทแห่งรูปมีรปู ๒ อย่าง และรูป ๓ อย่างเป็นต้น สพฺพํ ทัง้ หมด อนาคตมฺปิ แม้ที่ยังมิได้มา อิธ ในรูปวิภาคนัยนี้ ฯ (๒๕๒๗) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงค�ำถามว่า ปน ก็ รูปสมุฏฺฐานานีติ สมุฏฐานแห่งรูป กมฺมาทีนิ มีกรรมเป็นต้น ตานิ เหล่านั้น กานิ คือ อะไร เป็นสมุฏฐานแห่งรูป กถํ ได้อย่างไร กตฺถ ที่ไหน กทา จ และเมื่อไร อาห จึงกล่าวค�ำ ตตฺถาติอาทึ ว่า ตตฺถ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปฏิสนฺธิมุปาทายาติ ข้อว่า ปฏิสนฺธิมุปาทาย นั้น ได้แก่ อุปฺปาทกฺขณํ อุปาทาย เริ่มต้นแต่อุปปาทขณะ ปฏิสนฺธิจิตฺตสฺส แห่งปฏิสนธิจิต ฯ ขเณ ขเณติ สองบทว่า ขเณ ขเณ ความว่า เอเกกสฺส จิตฺตสฺส ตีสุ ตีสุ ขเณสุ ทุกขณะจิตดวงละ ๓ ขณะ ฯ วุตฺตํ โหติ มีคำ� ทีท่ า่ นกล่าวอธิบายไว้ นิรนฺตรเมวาติ ว่าติดต่อกันเรือ่ ยไปทีเดียว ฯ ปน ส่วน อปเร อาจารย์อีกพวกหนึ่ง ปฏิเสเธนฺติ คัดค้าน จิตฺตสฺส ฐิติกฺขเณ ฐิติขณะ แห่งจิต รูปุปฺปาทํ จ และความเกิดขึ้นแห่งรูป ภงฺคกฺขเณ ในภังคขณะแห่งจิต ฯ ตตฺถ บรรดาความไม่มฐี ติ ขิ ณะแห่งจิตและความไม่มคี วามเกิดขึน้ แห่งรูปในภังคขณะ แห่งจิตนั้น อุปฺปตฺติ เจว เหตุเกิดขึ้น (แห่งการกล่าว) ฐิติกฺขณาภาเว ในความ ไม่มีฐิติขณะแห่งจิต เตสํ ของอาจารย์อีกพวกหนึ่งเหล่านั้น วตฺตพฺพญฺจ และ ค�ำเฉลยที่จะพึงกล่าว ตตฺถ ในการกล่าวคัดค้านฐิติขณะแห่งจิตนั้น กถิตเมว ข้าพเจ้า (พระสุมังคลาจารย์) กล่าวไว้เสร็จแล้ว เหฏฺฐา ข้างต้น กิญฺจาปิ


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

285

แม้ โ ดยแท้ ปน ถึ ง อย่ า งนั้ น สุ ข คฺ ค หณตฺ ถํ เพื่ อ นั ก ศึ ก ษาจะเข้ า ใจใด้ ง ่ า ย สงฺคเหตฺวา วุจฺจติ ข้าพเจ้าจึงรวบรวมกล่าวข้อความ อุปฺปตฺติยา สห พร้อมทั้ง เหตุเกิดขึ้น (แห่งการกล่าว) รูปุปฺปาทาภาเว ในความไม่มีความเกิดขึ้นแห่งรูป ภงฺคกฺขเณ ในภังคขณะแห่งจิต วตฺตพฺเพน จ และค�ำเฉลยที่จะพึงกล่าว ตตฺถ ในการกล่าวคัดค้านความเกิดขึ้นแห่งรูปในภังคขณะแห่งจิตนั้นไว้ อิธาปิ แม้ใน การกล่าวพรรณนาความปริจเฉทที่ ๖ นี้ ฯ อาจารย์ บ างท่ า นคั ด ค้ า น ความเกิ ด ขึ้ น แห่ ง รู ป ในภั ง คขณะแห่ ง จิ ต ว่ า วิภงฺเค ในการจ�ำแนก เอวมาทินํ (ปญฺหานํ) ปัญหาทั้งหลายเป็นต้นอย่างนี้ อุปฺปนฺนุปฺปชฺชมานนฺติ ว่า จิตเกิดขึ้นแล้ว ชื่อว่าเกิดขึ้นอยู่หรือ ดังนี้ อกฺขาตา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส ภงฺคุปฺปาทาว เฉพาะภังคขณะแห่งจิตและอุปปาทขณะ แห่งจิตเท่านั้น น จิตฺตสฺส ฐิติกฺขโณ มิได้ ตรัสฐิติขณะแห่งจิตไว้ ภงฺคกฺขณสฺมึ อุปฺปนฺนํ โน จ อุปฺปชฺชมานกํ อุปฺปชฺชมานมุปฺปาเท อุปฺปนฺนญฺจาติอาทินา ตามปัญหาพยากรณ์ โดยนัยเป็นต้นว่า ในภังคขณะ จิตเกิดขึ้นแล้ว และมิใช่ เกิดขึ้นอยู่ในอุปปาทขณะ จิตเกิดขึ้นอยู่ด้วย เกิดขึ้นแล้วด้วย ดังนี้ เจ หาก มตํ อาจารย์เหล่าอื่นจะพึงเข้าใจว่า ฐิติ อตฺถีติ ฐิติขณะแห่งจิตมีอยู่ วุตฺตตฺตา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสฐิติขณะแห่งจิตไว้ในพระสูตรว่า อุปฺปาโท จ วโย เจว อญฺญถตฺตํ ฐิตสฺส จ ปญฺญายตีติ ความเกิดขึ้นปรากฏอยู่ ความดับไป ปรากฏอยู่ และภาวะแห่งธรรม ซึ่งด�ำรงอยู่แปรไปเป็นอย่างอื่น ปรากฏอยู่ ดังนี้ ตตฺ ถ ปิ แม้ ใ นพระสู ต รนั้ น วุ ตฺ ต า พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ก็ ต รั ส ปพนฺ ธ ฏฺ ฐิ ติ ความด�ำรงอยู่แห่งธรรม โดยความสืบเนื่องกัน อญฺญถตฺตสฺส เอกสฺมึ ธมฺเม อนูปลทฺธโิ ต เพราะภาวะทีแ่ ปรไปเป็นอย่างอืน่ หาไม่ได้แน่แท้ในธรรมอย่างเดียวกัน ปญฺญาณวจนา เจว และเพราะตรัสว่า ปรากฏอยู่ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ฐิต ิ จิตฺตสฺส ฐิติขณะแห่งจิต น ทิสฺสติ จึงไม่ปรากฏ ปาลิยํ ในพระบาลี อภิธมฺเม อภาโวปิ แม้ความที่ฐิติขณะไม่มีอยู่ในพระอภิธรรม นิเสโธเยว ก็ย่อมเป็น การปฏิเสธเด็ดขาด สพฺพถา โดยสิ้นเชิง ฯ ปญฺเห เพราะในปัญหาที่ว่า ยทา


286

ปริเฉทที่ ๖

ในกาลใด สมุทโย ยสฺส สมุทัยสัจของบุคคลใด นิรุชฺฌติ ดับลง ตทา ในกาลนั้น ทุกฺขํ ทุกขสัจ อสฺส ของบุคคลนั้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น กึ หรือ ดังนี้ นิเสธโต พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปฏิเสธความเกิดขึ้นแห่งทุกขสัจ ตตฺถ ในขณะ สมุทัยสัจดับลง ด้วยพระพุทธพจน์ โนติ ว่า โน (แปลว่า ไม่ใช่) รูปุปฺปาโท น รูปจึงไม่เกิดขึ้น ภงฺคสฺมึ ในภังคขณะแห่งจิต ตสฺมา เพราะฉะนั้น สพฺเพปิ ปจฺ จ ยา ปั จ จั ย ทั้ ง หลายแม้ ทั้ ง หมด รู ป เหตู ติ จึ ง เป็ น เหตุ ใ ห้ รู ป เกิ ด ขึ้ น ได้ อุปฺปาเทเยว จิตฺตสฺส เฉพาะในอุปปาทขณะแห่งจิตเท่านั้น ฯ เกนจิ ตตฺถ ในการกล่ า วคั ด ค้ า นตามที่ อ าจารย์ บ างท่ า นกล่ า วแล้ ว นั้ น วุ จฺ จ เต ข้ า พเจ้ า (พระสุมังคลาจารย์) จะกล่าวเฉลย (ดังต่อไปนี้) ฯ ภงฺคาวตฺถา ข้อที่ควรก�ำหนดภังคขณะ ภินฺนา ซึ่งต่าง อุปฺปาทาวตฺถโต จากข้อที่ควรก�ำหนดอุปปาทขณะ มตา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ เอกสฺมึ ธมฺเมเยว ในธรรมอย่างเดียวกันนั่นเอง ยถา ฉันใด ตุ ก็ อิจฺฉิตพฺพา บัณฑิต พึงปรารถนา ภงฺคสฺสาภิมุขาวตฺถา ข้อที่ควรก�ำหนดมุ่งถึงภังคขณะ ตเถว ฉันนั้นเหมือนกัน ฯ อยํ ข้อที่ควรก�ำหนดมุ่งถึงภังคขณะนี้ ฐิติ ชื่อว่าฐิติขณะ ตุ ก็ เอสา ฐิติ ขณะนี้ น เทสิตา พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ทรงแสดงไว้ วิภงฺเค ในคัมภีร์ พระวิภงั ค์ นยทสฺสนโต เพราะทรงแสดงนัยไว้ (เพราะทรงแสดงฐิตขิ ณะไว้โดยย่อ) ฯ อุปฺปาทอาทินํ เทสิตตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงขณะ ๓ ประการ มีอุปปาทขณะเป็นต้น วตฺตุํ ไว้เพื่อจะตรัสเฉพาะ ลกฺขณํ ลักษณะ สงฺขตสฺเสว แห่งสังขตธรรมเท่านั้น น ฐิตีริตา พระองค์จึงไม่ตรัสฐิติขณะ ปพนฺธสฺส แห่ง สังขตธรรมที่สืบเนื่องกันไว้ ตตฺถาปิ แม้ในพระสูตรนั้น ฯ จ ก็ อุปสคฺคสฺส ธาตูนมตฺเถเยว ปวตฺติโต เพราะ (ป) อุปสัค คล้อยตามความหมายแห่งธาตุ นั่นเอง ปญฺญายตีติ เอตสฺส บทว่า ปญฺายติ นี้ อตฺโถ วิญฺญายเต อิติ บัณฑิตพึงก�ำหนดความหมายว่า วิฺายเต (แปลว่า อันบุคคลย่อมรู้แจ้งได้) ฯ นุ ปฺ ป าโท ความไม่ เ กิ ด ขึ้ น รู ป สฺ ส แห่ ง รู ป ภงฺ เ ค ในภั ง คขณะ ภาสิ โ ต


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

287

พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ วเสน ด้วยอ�ำนาจ จิตฺตชานํ วา จิตตชรูปทั้งหลาย วาภิสนฺธาย หรือตรัสหมายถึง อารุปฺปํ อรูปภพ หิ เพราะว่า ยถาลาภโยชนาติ การประกอบความตามที่จะเข้าใจได้นี้ สภาโวยํ เป็นสภาวะ ยมกสฺส แห่งคัมภีร์ พระยมก หิ ก็ ตโต เพราะเหตุดังนี้นั้น น น จิตฺตฏฺฐิติ ฐิติขณะแห่งจิต ไม่ใช่ว่าจะไม่มี ภงฺเค จ และในภังคขณะแห่งจิต น รูปสฺส อสมฺภโวติ ไม่ใช่ว่า รูปจะไม่เกิด แล ฯ (๒๕๒๗) (๒๕๑๓) จุทฺทส จิตฺตานิ จิต ๑๔ ดวง คือ อรูปวิปากา อรูปวิบากจิต ทั้ง ๔ ดวง รูปํ น สมุฏฺฐาเปนฺติ ย่อมให้รูปตั้งขึ้นไม่ได้ เหตุโน ตํวิธูรตาย จ เพราะเหตุ (ของวิบากเหล่านั้น) มีการขัดแย้งต่อรูปนั้น ๑ อโนกาสตาย จ เพราะรูปไม่มีโอกาส ๑ รูปวิราคภาวนานิพฺพตฺตตฺตา เพราะเป็นสภาวะเกิด แต่การเจริญกัมมัฏฐานที่มีการส�ำรอกรูปเป็นอารมณ์ ทฺวิปญฺจวิญฺญาณานิ จาติ และวิญญาณจิตทัง้ สองฝ่าย (๑๐ ดวง) ก็ รูปํ น สมุฏฐฺ าเปนฺติ ย่อมให้รปู ตัง้ ขึน้ ไม่ได้ สมฺปโยคาภาวโต เพราะไม่มีการประกอบ ฌานงฺเคหิ ด้วยองค์ฌาน วิ เ สสปฺ ป จฺ จ เยหิ อั น เป็ น ปั จ จั ย พิ เ ศษ รู ป ชนเน ในอั น ให้ รู ป เกิ ด เหตุ นั้ น จุทฺทส จิตฺตานิ จิตทั้ง ๑๔ ดวง รูปํ น สมุฏฺฐาเปนฺตีติ จึงให้รูปตั้งขึ้นไม่ได้ ดังนั้น วุตฺตํ ท่านอาจารย์จึงกล่าวไว้ว่า อรูป ฯเปฯ วชฺชิตนฺติ (จิตแม้ ๗๕ ดวง) เว้นอรูปวิบากจิต ๔ และวิญญาณจิตทั้งสองฝ่าย (๑๐ ดวง) ดังนี้ ฯ ปน ก็ ปฏิสนฺธจิ ติ ตฺ ํ ปฏิสนธิจติ จุตจิ ติ ตฺ ญฺจ และจุตจิ ติ น โหตีติ ย่อมไม่เป็น จิตตฺ นฺตรํ จิตอื่น (จากภวังคจิต) อนฺโตคธตฺตา เพราะรวมลงภายใน เอกูนวีสติวิภงฺคสฺเสว ภวังคจิต ๑๙ ดวงนัน่ แหละ เหตุนนั้ น กตํ ท่านอาจารย์จงึ มิได้ทำ� การ ตสฺสาวชฺชนํ เว้นปฏิสนธิจิตและจุติจิตไว้ ฯ น กตํ ถึงแม้มิได้ท�ำการเว้นไว้ กิญฺจาปิ ก็จริง ปน กระนั้น ปฏิสนฺธิจิตฺตํ ปฏิสนธิจิต รูปสมุฏฺฐาปกํ น โหติ ก็ย่อมไม่เป็นจิต ให้รูปตั้งขึ้นได้ ปวตฺตตฺตา เพราะเป็นจิตที่เป็นไป นิสฺสาย อาศัย ทุพฺพลวตฺถํุ วัตถุ (คือหทัย) อันทุรพล ปจฺฉาชาตปจฺจยรหิตํ ซึง่ ขาดปัจฉาชาตปัจจัย อาหาราทีหิ จ อนุปตฺถมฺภํ และอันอาหารเป็นต้นยังไม่อุปถัมภ์ ๑ อตฺตโน จ อาคนฺตุกตาย


288

ปริเฉทที่ ๖

เพราะตนเป็นจิตที่จรมา ๑ จิตฺตสมุฏฺฐานรูปานํ ฐานํ คเหตฺวา ฐิตตฺตา จ เพราะตนยึดฐานของรูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ด�ำรงอยู่ได้ กมฺมชรูเปหิ ด้วยรูป อันเกิดแต่กรรมทั้งหลาย ๑ ฯ ปน ส่ ว น จุ ติ จิ ตฺ เ ต ในจุ ติ จิ ต พึ ง ทราบวิ นิ จ ฉั ย ดั ง ต่ อ ไปนี้ วุ ตฺ ตํ พระอรรถกถาจารย์กล่าว อฏฺฐกถายนฺตาว ไว้ในอรรถกถาก่อนว่า จุติจิตฺตํ จุติจิต ขีณาสวสฺเสว ของพระขีณาสพเท่านั้น รูปํ น สมุฏฺฐาเปตีติ ย่อมให้รูป ตั้ ง ขึ้ น ไม่ ไ ด้ สาติ ส ยสนฺ ต วุ ตฺ ติ ต าย เพราะมี ค วามเป็ น ไปอั น สงบอย่ า งดี ยิ่ ง สนฺตาเน ในสันดาน วูปสนฺตวฏฺฏมูลสฺมึ ที่มีมูลแห่งวัฏฏะอันสงบระงับแล้ว ดังนี้ ฯ ปน แต่ อานนฺทาจริยาทโย อาจารย์ทงั้ หลายมีทา่ นอานันทาจารย์เป็นต้น วทนฺติ กล่าวว่า จุติจิตฺตํ จุติจิต สพฺเพสมฺปิ แม้ของสัตว์ทั้งหมด รูปํ น สมุฏฺฐาเปตีติ ย่อมให้รูปตั้งขึ้นไม่ได้ ดังนี้ ฯ (จบ ๒๕๑๓) ปน ก็ วิ นิ จฺ ฉ โย การวิ นิ จ ฉั ย เตสํ ปฏิ ส นธิ จิ ต และจุ ติ จิ ต เหล่ า นั้ น ทฏฺฐพฺโพ บัณฑิตพึงเห็น วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวไว้ สงฺเขปโต โดยย่อ มูลฏีกาทีสุ ในมูลฎีกาเป็นต้น วิตฺถารโต และโดยพิสดาร อภิธมฺมตฺถปกาสินิยํ ในอภิธัมมัตถปกาสินี ฯ ปฐมภวงฺคมุปาทายาติ ข้อว่า ปมภวงฺคมุปาทาย ความว่า จิตทั้ง ๗๕ ดวง ชายนฺตเมว ที่เกิดอยู่ นิพฺพตฺตปฐมภวงฺคโต ปฏฺฐาย จ�ำเดิมแต่ภวังคจิตดวงแรก ทีบ่ งั เกิด ปฏิสนฺธยิ า อนนฺตรํ ต่อจากปฏิสนธิจติ เท่านัน้ สมุฏฺฐาเปติ ย่อมยังรูปให้ตั้งขึ้นได้ ฯ ปน แต่ ฐิตํ ที่ด�ำรงอยู่ ภิชฺชมานํ วา หรือที่ดับอยู่ น สมุฏฺฐาเปติ หายังรูปให้ตั้งขึ้นได้ไม่ ชนกสามตฺถิยโยคโต เพราะ เป็นธรรมชาตประกอบด้วยความสามารถ เป็นตัวให้เกิดรูปได้ อุปฺปาทกฺขเณเยว เฉพาะในอุปปาทขณะ อนนฺตราทิปจฺจยลาเภน โดยการได้อนันตรปัจจัยเป็นต้น ฯ อิริยาปโถ ที่ชื่อว่าอิริยาบถ ปวตฺติปถภาวโต เพราะเป็นทางเป็นไป อิริยาย แห่งการสับเปลี่ยน กายิกกิริยาย คือกิริยาทางกาย คมนาทิ ได้แก่ การเดิน เป็นต้น ฯ อตฺถโต ว่าโดยเนื้อความ รูปปฺปวตฺติ ได้แก่ ความเป็นไปแห่งรูป ตทวตฺถา ซึ่งก�ำหนดถึงอิริยาบถนั้น ฯ สนฺธาเรติ อัปปนาชวนจิตย่อมทรง


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

289

ตมฺปิ แม้ซึ่งอิริยาบถนั้นไว้ อุปตฺถมฺเภติ คือ อุปถัมภ์อิริยาบถ ยถาปวตฺตํ ตามทีเ่ ป็นไปไว้ ฯ หิ เปรียบเสมือน ภวงฺเค เมือ่ ภวังคจิต อพฺโพกิณเฺ ณ ไม่ระคน วีถิจิตฺเตหิ ด้วยวิถีจิตทั้งหลาย ปวตฺตมาเน เป็นไปอยู่ องฺคานิ อวัยวะทั้งหลาย โอสีทนฺติ ย่อมหยุดนิ่ง ยถา ฉันใด เอเตสุ ทฺวตฺตึสวิเธสุ เมื่อจิต ๓๒ ดวง เหล่านี้ วกฺขมาเนสุ จ ฉพฺพีสติยา ชาครณจิตฺเตสุ และเมื่อจิตที่เป็นเครื่องตื่น ๒๖ ดวง ที่จะกล่าวอยู่ ปวตฺตมาเนสุ ก�ำลังเป็นไป องฺคานิ อวัยวะทั้งหลาย โอสีทนฺติ ย่อมหยุดนิ่ง เอวํ ฉันนั้น น หามิได้ ฯ ปน ก็ ตทา ในกาลนั้น องฺคานิ อวัยวะทัง้ หลาย อุทธฺ ฏุทธฺ ฏานิ อันจิตอุปถัมภ์แล้ว ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป ยถาปวตฺตอิริยาปถภาเวเนว โดยความเป็นอิริยาบถ ตามที่เป็นไปแล้วนั่นแล วิ ญฺ ญ ตฺ ตึ ย่ อ มยั ง วิ ญ ญั ต ติ รู ป ให้ ตั้ ง ขึ้ น ฯ รู ป ิ ริ ย าปถาเนว สมุ ฏ ฺ ฐ าเปนฺ ติ อวั ย วะทั้ ง หลายย่ อ มยั ง เฉพาะอิ ริ ย าบถแห่ ง รู ป ให้ ตั้ ง ขึ้ น เกวลํ อย่ า งเดี ย ว น หามิได้ ฯ ปเนตฺถ ในอธิการว่าด้วยรูปสมุฏฐานนี้ ทฏฺฐพฺพํ พึงเห็นความหมาย อวิเสสวจเนนปิ แม้ด้วยถ้อยค�ำที่ไม่แปลกกันว่า โวฏฺฐวนชวนานิ โวฏฐัพพนจิต และชวนจิตทั้งหลาย มโนทฺวารปฺปวตฺตาเนว เฉพาะที่เป็นไปทางมโนทวาร วิญฺญตฺติสมุฏฺฐาปกานิ ย่อมให้วิญญัตติรูปตั้งขึ้น ตถา หาสชนกานิ จ และให้ ความยิ้มแย้มเกิดขึ้นได้เหมือนกัน ปญฺจทฺวารปฺปวตฺตานํ ปริทุพฺพลภาวโตติ เพราะความที่โวฏฐวนจิตและชวนจิตทั้งหลายที่เป็นไปทางทวาร ๕ เป็นธรรมชาต มีก�ำลังอ่อนแอรอบด้าน ฯ เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยรูปสมุฏฐานนี้ อิริยาปโถ อิรยิ าบถก็ดี วิญญ ฺ ตฺติ วา วิญญัตติกด็ ี รูปวินมิ ตุ โฺ ต ทีพ่ น้ จากรูป นตฺถิ ย่อมไม่มี กามํ แม้ก็จริง ตถาปิ ถึงอย่างนั้น จิตฺตํ จิต รูปสมุฏฺฐาปกํ อันให้รูปตั้งขึ้น อิริยาปถูปตฺถมฺภกํ จะอุปถัมภ์อิริยาบถ วิญฺญตฺติชนกญฺจ และให้วิญญัตติเกิดได้ สพฺพํ ทุกดวง น โหติ หามีไม่ ฯ ปน ก็ ยํ จิตฺตํ จิตดวงใด วิญฺญตฺติชนกํ ให้วิญญัตติรูปเกิด ตํ จิตดวงนั้น อิริยาปถูปตฺถมฺภกํ ชื่อว่าอุปถัมภ์อิริยาบถ เอกํสโต โดยส่วนเดียว อิรยิ าปถสฺส วิญญ ฺ ตฺตยิ า สห อวินาภาวโต เพราะความ ที่อิริยาบถไม่แยกจากกันกับวิญญัตติฯ วิเสสทสฺสนตฺถํ เพื่อจะแสดงความต่างกัน


290

ปริเฉทที่ ๖

อิริยาปถูปตฺถมฺภกญฺจ รูปชนกนฺติ อิมสฺส แห่งค�ำว่า อิริยาปถูปตฺถมฺภกญฺจ รูปชนกํ นี้ อิริยาปถวิญฺญตฺตีนํ คหณํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงท�ำการระบุถึง อิริยาบถและวิญญัตติ วิสุํ เป็นแผนกหนึ่ง รูปโต จากรูป ฯ เตรสาติ บทว่า เตรส ความว่า เตรส โสมนัสชวนจิต ๑๓ ดวง คือ กุสลโต จตฺตาริ ฝ่ายกุศลจิต ๔ ดวง อกุสลโต จตฺตาริ ฝ่ายอกุศลจิต ๔ ดวง กิรยิ าโต ปญฺจาติ ฝ่ายกิรยิ าจิต ๕ ดวง ฯ ปุถชุ ชฺ นา ปุถชุ นทัง้ หลาย หสนฺติ ย่อมหัวเราะ อฏฺฐหิ กุสลากุสเลหิ ด้วยโสมนัสชวนจิตฝ่ายกุศลและฝ่ายอกุศล ๘ ดวง ฯ เสกฺขา พระเสกขะทัง้ หลาย หสนฺติ ย่อมหัวเราะ ทิฏฺฐิสหคตวชฺเชหิ ฉหิ ด้วยโสมนัสชวนจิต ๖ ดวง เว้นจิตที่สหรคตด้วยทิฏฐิ ฯ ปน ส่วน อเสกฺขา พระอเสกขะทั้งหลาย หสนฺติ ย่อมยิ้มแย้ม ปญฺจหิ กฺริยาจิตฺเตหิ ด้วยกิริยาจิต ๕ ดวง ฯ ตตฺถาปิ แม้ในบรรดา พระอเสกขะเหล่านั้น พุทฺธา พุทธเจ้าทั้งหลาย หสนฺติ ย่อมยิ้มแย้ม จตูหิ สเหตุกกฺริยาจิตฺเตเหว ด้วยกิริยาจิตฝ่ายสเหตุกะ ๔ ดวงเท่านั้น น อเหตุเกน หสนฺติ หายิ้มแย้มด้วยกิริยาจิตฝ่ายอเหตุกะไม่ ฯ วจนโต เพราะพระบาลีว่า สพฺพํ กายกมฺมํ กายกรรมทุกอย่าง อตีตํสาทีสุ อปฺปฏิหตญาณํ ปตฺวา อิเมหิ ตีหิ ธมฺเมหิ สมนฺนาคตสฺส พุทฺธสฺส ภควโต ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพุทธเจ้า ผู้ทรงบรรลุพระญาณอันอะไร ๆ ขัดขวางไม่ได้ ในบรรดาอดีตังสญาณเป็นต้น แล้วประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้ ญาณปุพฺพงฺคมํ เป็นกรรมมีญาณ เป็นประธาน ญาณานุปริวตฺติกนฺติ เปลี่ยนไปตามพระญาณ ดังนี้ วทนฺติ ท่านอาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวว่า หิ ก็ ปวตฺติ ความเป็นไป หสิตุปฺปาทสฺส แห่ง หสิตุปปาทจิต วิจารณปญฺญารหิตสฺส ที่เว้นจากวิจารณปัญญา น พุทฺธานํ ยุตฺตาติ หาสมควรแก่พระพุทธเจ้าทั้งหลายไม่ เอวญฺจ กตฺวา ก็ เพราะอธิบาย ความดั ง กล่ า วแล้ ว อย่ า งนี้ ว ่ า ปน ก็ สิ ต การณํ เหตุ แ ห่ ง การแย้ ม เตสํ ของพระพุ ท ธเจ้ า ทั้ ง หลายเหล่ า นั้ น หสิ ตุ ปฺ ป าทจิ ตฺ เ ตน ปวตฺ ติ ย มานานมฺ ปิ แม้ ผู ้ อั น หสิ ตุ ป ปาทจิ ต ให้ เ ป็ น ไปอยู ่ ญาณานุ ป ริ ว ตฺ ติ เ ยวาติ ก็ ชื่ อ ว่ า เป็ น ไป ตามญาณนั่นเอง ปุพฺเพนิวาสอนาคตํสสพฺพญฺญุตญาณานํ อนุปฺปวตฺตกตฺตา


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

291

เพราะเป็นไปตามปุพเพนิวาสญาณ อนาคตตังสญาณ และสัพพัญญุตญาณ ดังนี้ วุตฺตํ พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวไว้ อฏฺฐกถายํ ในอรรถกถาว่า อิทํ จิตฺตํ หสิตุปปาทจิตดวงนี้ อุปฺปชฺชตีติ ย่อมเกิดขึ้น เตสํ แก่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย เหล่านั้น ญาณานํ จิณฺณปริยนฺเต ในที่สุดแห่งพระญาณทั้งหลาย อันพระองค์ ทรงบ�ำเพ็ญแล้ว ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น น สกฺกา ใคร ๆ จึงไม่สามารถ นิวาเรตุํ จะห้ามความ ตสฺส ปวตฺติ เป็นไปแห่งหสิตุปปาทจิตนั้น พุทฺธานํ แห่งพระพุทธเจ้า ทัง้ หลายได้ ฯ อุตโุ อชานํ พลวภาโวติ ภาวะทีอ่ ตุ แุ ละโอชา เป็นของเหมาะสม (โหติ) ย่อมมี ฐิติกฺขเณเยว เฉพาะในฐิติขณะเท่านั้น ปจฺฉาชาตาทิปจฺจยุปตฺถมฺภลาเภน เพราะได้การอุปถัมภ์จากปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำว่า เตโชธาตุฐิติปฺปตฺตาติอาทิ เตโชธาตุติ ิปฺปตฺตา ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ หทยินทฺ รฺ ยิ รูปานิ หทัยรูป (๑) และอินทรียรูป (๘) นว ๙ ประการ กมฺมชาเนว ชื่อว่าเป็นกัมมชรูปล้วน กมฺมโตเยว ชาตตฺตา เพราะเกิดแต่กรรม อย่างเดียว ฯ หิ ความจริง ยํ รูปใด ชาตํ เกิดแล้ว ชายติ ก�ำลังเกิด ชายิสสฺ ติ จ และจักเกิด ตํ รูปนั้น กมฺมชนฺติ วุจฺจติ ท่านเรียกว่า กัมมชรูป ยถา ทุฏฺฐนฺติ เหมือนเรียก กรรมว่า ทุฏกรรม ฉะนั้น ฯ ลหุตาทิตฺตยํ วิการรูป ๓ ประการ มีลหุตารูปเป็นต้น กมฺมชํ น โหติ ไม่ชอื่ ว่ากัมมชรูป ปจฺจปุ ปฺ นฺนปจฺจยาเปกฺขตฺตา เพราะเพ่ ง ถึ ง ปั จ จั ย ที่ เ ป็ น ปั จ จุ บั น ฯ อิ ต รถา เมื่ อ ก� ำหนดเนื้ อ นอกไปจากนี้ ภาเวหิ ภวิตพฺพํ รูปทั้งหลายพึงเป็นภาวรูป สพฺพทา ทุกเมื่อ อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำ ลหุตา ฯเปฯ สมฺโภตีติ ว่า ลหุตา ฯเปฯ สมฺโภติ ดังนี้ ฯ อฏฺฐารส รูป ๑๘ ประการ เอกนฺตกมฺมชานิ นว คือรูปที่เกิด แต่กรรมอย่างเดียวมี ๙ ประการ จตุชเฺ ชสุ และในบรรดารูปทีเ่ กิดแต่สมุฏฐาน ๔ กมฺมชานิ นว จาติ รูปที่เกิดแต่กรรมนี้มี ๙ ประการ กมฺมชานิ ชื่อว่ากัมมชรูป ฯ ปณฺณรส รูป ๑๕ ประการ ปญฺจวิการรูปสทฺทอวินิพฺโภครูปอากาสวเสน คือ วิการรูป ๕ สัททรูป (๑) อวินิพโภครูป (๘) และปริเฉทรูป (๑) จิตฺตชานิ ชื่อว่าจิตตชรูป ฯ เตรส รูป ๑๓ ประการ คือ สทฺโท สัททรูป (๑) ลหุตาทิตฺตยํ


292

ปริเฉทที่ ๖

วิการรูป ๓ มีลหุตารูปเป็นต้น อวินิพฺโภคากาสรูปานิ จาติ อวินิพโภครูป (๘) และปริเฉทรูป (๑) อุตุชานิ ชื่อว่าอุตุชรูป ฯ ทฺวาทส รูป ๑๒ ประการ ลหุตาทิตตฺ ยอวินพิ โฺ ภคากาสวเสน คือ วิการรูป ๓ มีลหุตารูปเป็นต้น อวินพิ โภครูป และปริเฉทรูป อาหารชานิ ชื่อว่าอาหารชรูป ฯ (๒๕๐๙) ปกาสิตํ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประกาศไว้แล้วว่า ลกฺขณานิ ลักขณรูปทั้ง ๔ น ชายนฺตีติ ย่อมไม่เกิด เกหิจิ ปจฺจเยหิ แต่ปัจจัยอะไร ๆ ชายมานาทิรูปานํ ชายมานปริปจฺจมานภิชฺชมานรูปานํ สภาวตฺตา เพราะเป็น สภาวะของรูปทีก่ ำ� ลังเกิดเป็นต้น คือ ทีก่ ำ� ลังเกิด ก�ำลังแปรไป และก�ำลังแตกสลาย สภาวมตฺตํ วินา อตฺตโน ชาติอาทิลกฺขณาภาวโต ได้แก่ เพราะเว้นเหตุสักว่า สภาวะเสียแล้ว จะไม่มลี กั ขณรูปมีชาติรปู เป็นต้นของตน เกวลํ อย่างเดียว ดังนี้ ฯ หิ จริงอยู่ จกฺขฺวาทีนํ จักขุเป็นต้น อุปฺปาทาทิยุตฺตานํ ประกอบด้วยสังขตลักษณะ มีเกิดขึ้นเป็นต้น วิชฺชนฺติ ย่อมมี ลกฺขณานิ ลักขณรูป ชาติอาทีนิ มีชาติรูป เป็นต้นได้ (ยถา) ฉันใด ฯ ชาติอาทีนิ ลักขณรูปมีชาติรูปเป็นต้น น เอวํ ไม่เป็นฉันนั้น ฯ ยทิ หาก เตสมฺปิ ชาติรูปเป็นต้นแม้นั้น สิยุํ พึงมี ชาติอาทีนิ ลักขณรูปมีชาติรูปเป็นต้นไซร้ เตสมฺปิ แม้ลักขณรูปทั้ง ๓ นั้น สิยุนฺติ ก็ต้องมี ชาติอาทีนิ ลักขณรูปมีชาติรปู เป็นต้นด้วยแล ฯ เอวํ เมือ่ เป็นเช่นนัน้ อนวตฺถานเมว อาปชฺเชยฺย ก็ต้องถึงความไม่มีท่ีก�ำหนดเลย ฯ ยมฺปน ส่วน ชาติยา กุโตจิ ชาตตฺตํ ภาวะที่ชาติรูปเกิดแต่ปัจจัยไหน ๆ อนุญฺญาตํ ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงอนุ ญ าตไว้ รู ป ายตนํ ฯเปฯ กวฬี ก าโร อาหาโร อิ เ ม ธมฺ ม า จิตตฺ สมุฏฐฺ านาติอาทีสุ ในพระด�ำรัสเป็นอาทิวา่ รูปายตนะ ฯลฯ กวฬีการาหารธรรม เหล่านี้ มีจติ เป็นสมุฏฐาน ดังนีแ้ ม้นนั้ ทฏฺฐพฺพํ ก็พงึ เห็นว่า ตมฺปิ รูปชนกปจฺจยานํ รูปปุ ปฺ าทนมฺปฏิจจฺ อนุปรตพฺยาปารานํ อุปลพฺภมานตํ สนฺธายาติ ทรงอนุญาต แล้วหมายเอาภาวะที่ปัจจัยอันให้รูปเกิด ยังไม่หมดความพยายาม เพราะอาศัย การให้รปู เกิด เป็นปัจจัยอันจะเข้าไปก�ำหนดได้ ชายมานธมฺมวิการภาเวน โดยอาการ ผันแปรของธรรมทีก่ ำ� ลังเกิด ปจฺจยภาวูปคมนกฺขเณ ในขณะเข้าถึงความเป็นปัจจัย ฯ


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

293

ยมฺปิ วจนํ ตตฺถาปิ แม้ในพระพุทธพจน์ที่ตรัสว่า ภิกฺขเว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ชาติ ชาติ สงฺขตา ถูกปัจจัยปรุงแต่ง ปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺนา อาศัยกันและกัน เกิดขึน้ ร่วมกัน ชรามรณํ ชราและมรณะ สงฺขตํ ถูกปัจจัยปรุงแต่ง ปฏิจฺจ สมุปฺปนฺนนฺติ อาศัยกันและกัน เกิดขึ้นร่วมกัน ดังนี้เป็นต้น อยมภิสนฺธิ ก็มีความต่อเนื่องกัน ดังนี้ว่า ปฏิจฺจ สมุปฺปนฺนานํ ลกฺขณภาวโตติ สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ลักขณรูปมีชาติรูปเป็นต้นเหล่านั้น ถูกปัจจัยปรุงแต่ง และว่า อาศัยกันและกัน เกิดขึ้นร่วมกัน โดยเป็นลักษณะของสภาวธรรมที่อาศัยกันและกัน เกิดขึ้นร่วมกัน ดังนี้ ฯ เตน เหตุนั้น โปราณา พระโบราณาจารย์ทั้งหลาย อาหุ จึงได้กล่าวไว้ว่า ปาเฐ ในพระบาลี (ในพระอภิธรรม) (พระผูม้ พี ระภาคเจ้าทรงอนุญาติ ว่า) กุโตจิ ชาติยา ชาตตฺตํ ชาติรปู เกิดแต่ปจั จัยไหน ๆ ไว้ ปริยายโต โดยอ้อม (และในพระสูตร) ตีสุ สงฺขตโตทิตาติ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสว่า (ในบรรดาลักขณรูปมีชาติรูปเป็นต้น) ๓ ประการ (ลักขณรูป มีชาติรปู เป็นต้น) ถูกปัจจัยปรุงแต่ง (และว่า อาศัยกันและกัน เกิดขึน้ ร่วมกัน) ไว้ สงฺขตานํ สภาวตฺตา (เพราะลักษณะรูปทัง้ หลายมีชาติรปู เป็นต้น) เป็นสภาวะแห่งสังขตธรรมทั้งหลาย ฯ (จบ ๒๕๐๙) ปน ก็ ยสฺมา เพราะ เอตานิ รูปานิ รูปเหล่านี้ อุปฺปชฺชมานานิ เมื่อ เกิดขึ้น กมฺมาทิโต แต่กรรมเป็นต้น น เอเกกํ สมุฏฺฐหนฺติ หาตั้งขึ้นทีละอย่างไม่ อถโข โดยที่แท้ สมุฏฺฐหนฺติ ย่อมตั้งขึ้น ปิณฺฑโตว เป็นหมวดทีเดียว ตสฺมา ฉะนั้น ทสฺเสตุํ เพื่อจะแสดง ปิณฺฑานํ คณนปริจฺเฉทํ การก�ำหนดจ�ำนวนหมวด สรูปญฺจ และสภาวะตามที่มีปรากฏ วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำ เอกุปฺปาทาติอาทิ ว่า เอกุปฺปาท ดังนี้เป็นต้น ฯ สหวุตฺติโนติ บทว่า สหวุตฺติโน ความว่า สหวุตฺติโน อันมีความเป็นไปร่วมกัน วิสุํ วิสุํ กลาปคตรูปวเสน ด้วย อ�ำนาจรูปทีอ่ ยูใ่ นกลาปแต่ละอย่าง ๆ น สพฺพกลาปานํ อญฺญมญฺญสหปฺปวุตตฺ วิ เสน หามีความเป็นไปร่วมกัน ด้วยอ�ำนาจความเป็นไปร่วมกันและกันแห่งกลาปทัง้ ปวงไม่ ฯ ทสกํ ทีช่ อื่ ว่าทสกะ ทส ปริมาณํ อสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ มีประมาณ ๑๐ ฯ


294

ปริเฉทที่ ๖

เอตํ ค�ำว่า ทสกะ นี้ นามํ เป็นชื่อ สมุทายสฺส ของรูปที่เกิดร่วมกัน ฯ ทสกํ หมวด ๑๐ แห่งรูป จกฺขุนา อุปลกฺขิตํ ที่ท่านก�ำหนดด้วยจักขุปสาทรูป ตปฺปธานํ วา หรือมีจักขุปสาทรูปนั้นเป็นประธาน (ชื่อว่าจักขุทสกกลาป) ฯ เสเสสุปิ แม้ในกลาปที่เหลือ เอวํ ก็มีนัยนี้ ฯ สทฺโทปิ ถึงสัททรูป สงฺคหิโต โหติ ก็เป็น อันท่านรวบรวมเข้า วจีวิญฺญตฺติคฺคหเณน ด้วยศัพท์ว่า วจีวิญญัติ ตสฺสา ตทวิ น าภาวโต เพราะวจี วิ ญ ญั ติ น้ั น เว้ น สั ท ทรู ป นั้ น เสี ย หามี ไ ด้ ไ ม่ อิ ติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำ วจีวิญฺญตฺติทสกนฺติ ว่า วจีวิญฺญตฺติทสกํ ดังนี้ ฯ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ใส่ใจถึงปัญหาว่า ปน ก็ เอเต เอกวีสติ กลาปา รูปกลาป ๒๑ เหล่านี้ สพฺเพปิ แม้ทั้งหมด โหนฺติ ย่อมมี สพฺพตฺถ ในที่ทุกสถาน กึ หรือ อุทาหุ หรือว่า เกจิ บางอย่าง โหนฺติ ย่อมมี กตฺถจีติ ในที่บางแห่ง อาห จึงกล่าว ตตฺถาติอาทิ ว่า ตตฺถ ดังนี้เป็นต้น ฯ อิทานิ บัดนี้ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ ทสฺเสตุํ หวังจะแสดง ปวตฺตึ ความเป็นไป เนสํ แห่งรูปเหล่านั้น สมฺภววเสน ด้วยอ�ำนาจภพที่เกิด ๑ ปวตฺติปฏิสนฺธิวเสน ด้วยอ�ำนาจปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล ๑ โยนิวเสน จ ด้วยอ�ำนาจก�ำเนิด ๑ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำ สพฺพานิปิ ปเนตานีติอาทิ ว่า สพฺพานิปิ ปเนตานิ ดังนี้ เป็ น ต้ น ฯ ยถารหนฺ ติ บทว่ า ยถารหํ ได้ แ ก่ อนุ รู ป โต โดยสมควร สภาวกปริปุณฺณายตนานํ แก่เหล่าสัตว์ผู้มีภาวรูป (๒) และมีอายตนะบริบูรณ์ ฯ กมลกุมารคพฺภมลาทิสํเสทฏฺฐาเนสุชาตา เหล่าสัตว์ผู้เกิดในที่เป็นเถ้าไคล มีกลีบดอกบัวและมลทินครรภ์เป็นต้น สํเสทชา ชือ่ ว่าสังเสทชสัตว์ ฯ อุปปาติกา เหล่าสัตว์ชื่อว่าอุปปาติกะ อุปปาโต เนสํ อตฺถีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีการเกิดผุดขึ้น ฯ เจตฺถ ก็ในค�ำว่า โอปฺปาติกานญฺจ นี้ วิสิฏฺฐอุปปาโต คหิโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์ระบุถึงการเกิดผุดขึ้นอย่างพิเศษ อุกฺกํสคติปริจฺเฉทวเสน ด้วยอ�ำนาจก�ำหนดคติอย่างสูงสุด ยถา กญฺญา ดุจในประโยคว่า หญิงแรกรุ่น ทาตพฺ พ าติ ควรให้ อภิ รู ป สฺ ส แก่ ช ายรู ป งาม ฉะนั้ น ฯ สตฺ ต ทสกานิ ปาตุภวนฺตีติ ข้อว่า สตฺต ทสกานิ ปาตุภวนฺติ ความว่า ทสกะ ๗ หมวด


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

295

ย่อมมีปรากฏ อุปลพฺภนโต เพราะหาได้ ปริปุณฺณายตนภาเวน โดยความที่ สังเสทชสัตว์และอุปปาติกสัตว์มีอายตนะบริบูรณ์ ฯ กทาจิ น ลพฺภนฺติปีติ ข้ อ ว่ า กทาจิ น ลพฺ ภ นฺ ติ ได้ แ ก่ ในกาลบางคราว ย่ อ มหาไม่ ไ ด้ บ ้ า ง ชจฺจนฺธชจฺจพธิรชจฺจาฆานนปปสกาทิกปฺปิกานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจคนพิการ มีผู้บอดแต่ก�ำเนิด หนวกแต่ก�ำเนิด ไม่มีฆานปสาทรูปแต่ก�ำเนิด และกะเทย เป็นต้น ฯ ทฏฺฐพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า ตตฺถ ในบรรดาสุคติและทุคติทงั้ ๒ นัน้ สุคติยํ ในสุคติ อุปปาติกานํ ส�ำหรับเหล่า อุปปาติกสัตว์ นิพฺพตฺตมานานํ ที่บังเกิด กมฺมุนา ด้วยกรรม มหานุภาเวน ที่มีอานุภาพมาก จกฺขุโสตฆานาลาโภ ไม่ได้จักขุปสาทรูป โสตปสาทรูป และฆานปสาทรูป อินฺทฺริยเวกลฺลโยคโต เพราะประกอบด้วยความบกพร่องแห่งอินทรีย์ ฯ สํเสทชานํ ส�ำหรับเหล่าสังเสทชสัตว์ ภาวาลาโภ ไม่ได้ภาวรูป ปฐมกปฺปกิ อุปปาติกานํ วเสนาติ ด้วยอ�ำนาจมนุษย์ตน้ กัปป์ และอุปปาติกสัตว์ แล ฯ ปน ส่วน ทุคฺคติยํ ในทุคติภูมิ จกฺขุโสตภาวาลาโภ ไม่ได้จกั ขุปสาทรูป โสตปสาทรูป และภาวรูป ทฺวนิ นฺ มฺปิ วเสน ด้วยอ�ำนาจเหล่าสัตว์ แม้ทงั้ ๒ พวก ฆานาลาโภ ไม่ได้ฆานปสาทรูป สํเสทชานเมว วเสน ด้วยอ�ำนาจ เหล่าสังเสทชสัตว์เท่านัน้ น อุปปาติกสฺส วเสนาติ มิใช่ดว้ ยอ�ำนาจอุปปาติกสัตว์ ฯ (บ.ศ. ๙ ๒๕๔๑) ตถาหิ จริ ง ตามนั้ น ธมฺ ม หทยวิ ภ งฺ เ ค ในคั ม ภี ร ์ ธัมมหทยวิภังค์ วจนโต โดยพระพุทธพจน์ว่า กามธาตุยา อุปปตฺติกฺขเณ ในขณะที่สัตว์เกิดขึ้นในกามธาตุ (คือในกามภพ) กสฺสจิ อุปปาติกสัตว์บางตน เอกาทสายตนานิ ปาตุภวนฺติ มีอายตนะปรากฏ ๑๑ ประการ (บางตนมีอายตนะ ปรากฏ ๑๐ ประการ) กสฺสจิ บางตน ทส มีอายตนะปรากฏ ๑๐ ประการ อปรานิปิ แม้อื่นอีก กสฺสจิ บางตนมีอายตนะ นว ปรากฏ ๙ ประการ กสฺสจิ บางตน สตฺตาติ มีอายตนะปรากฏ ๗ ประการ ดังนี้เป็นต้น อุปปาติกสฺส ส�ำหรับ อุปปาติกสัตว์ ปริปณ ุ ณ ฺ นิ ทฺ รฺ ยิ สฺส ผูม้ อี นิ ทรียบ์ ริบรู ณ์ วุตตฺ านิ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัส เอกาทสายตนานิ อายตนะ ๑๑ ประการ สทฺทายตนวชฺชิตานิ เว้นสัททายตนะ อนฺ ธ สฺ ส ส� ำ หรั บ อุ ป ปาติ ก สั ต ว์ ผู ้ บ อด ทส ตรั ส อายตนะ ๑๐ ประการ


296

ปริเฉทที่ ๖

จกฺขฺวายตนวชฺชิตานิ เว้นจักขวายตนะ พธิรสฺส ส�ำหรับอุปปาติกสัตว์ผู้หนวก ตถา ก็เหมือนกัน ทส คือตรัสอายตนะ ๑๐ ประการ โสตายตนวชฺชิตานิ เว้นโสตายตนะ อนฺธพธิรสฺส ส�ำหรับอุปปาติกสัตว์ผู้ทั้งบอดทั้งหนวก นว ตรัสอายตนะ ๙ ประการ ตทุภยวชฺชติ านิ เว้นจักขวายตนะและโสตายนะทัง้ ๒ นัน้ คพฺภเสยฺยกสฺส ส�ำหรับคัพภเสยยกสัตว์ สตฺตายตนานิ วุตฺตานิ ตรัสอายตนะ ๗ ประการ จกฺขุโสตฆานชิวฺหาสทฺทายตนวชฺชิตานิ เว้นจักขวายตนะ โสตายนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ และสัททายตนะ ฯ ปน ก็ ยทิ ถ้า อุปปาติโก อุปปาติกสัตว์ อฆานิโกปิ แม้ผู้ไม่มีฆานายตนะ สิยา พึงมีไซร้ วตฺตพฺพานิ สิยุํ พระผู้มีพระภาคเจ้าพึงต้องตรัส ติกฺขตฺตุํ ทส อายตนะ ๑๐ ประการไว้ ๓ ครั้ง อนฺธพธิราฆานานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจอุปปาติกสัตว์ผู้บอด ๑ ผู้หนวก ๑ ผู้ไม่มี ฆานายตนะ ๑ วตฺตพฺพานิ สิยุํ พึงต้องตรัส ติกฺขตฺตุํ นว อายตนะ ๙ ประการ ไว้ ๓ ครั้ง อนฺธพธิรอนฺธาฆานพธิราฆานกานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจอุปปาติกสัตว์ ผูท้ งั้ บอดทัง้ หนวก ๑ ผูท้ งั้ บอดทัง้ ไม่มฆี านายตนะ ๑ ผูท้ งั้ หนวกทัง้ ไม่มฆี านายตนะ ๑ และ วตฺตพฺพานิ สิยุํ พึงต้องตรัส อฏฺฐ อายตนานิ อายตนะ ๘ ประการไว้ อนฺธพธิราฆานกสฺส จ วเสน ด้วยอ�ำนาจอุปปาติกะผู้ทั้งบอดทั้งหนวกทั้งไม่มี ฆานายตนะ ฯ น ปเนวํ วุตฺตานิ แต่พระองค์ก็มิได้ตรัสไว้อย่างนั้น ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้ น อุ ป ปาติ ก สฺ ส อุ ป ปาติ ก สั ต ว์ นตฺ ถิ จึ ง ไม่ มี ฆานเวกลฺ ล นฺ ติ ความบกพร่ อ งด้ ว ย ฆานายตนะ แล ฯ ตถา จ วุ ตฺ ตํ สมจริ ง ดั ง ค� ำ ที่ ท่านพระอรรถกถาจารย์กล่าวไว้ ยมกฏฺฐกถายํ ในอรรถกถาคัมภีร์ยมกปกรณ์ว่า อุปปาติโก อุปปาติกสัตว์ อฆานิโก ผู้ไม่มีฆานายตนะ นตฺถิ ไม่มี ยทิ ถ้า ภเวยฺย พึงมีไซร้ วเทยฺยาติ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าพึงตรัสว่า กสฺสจิ อฏฺฐายตนานีติ อุปปาติกสัตว์บางตนมีอายตนะ ๘ ประการปรากฏ ดังนี้ ฯ (จบ บ.ศ. ๙ ๒๕๔๑) (บ.ศ. ๙ ๒๕๔๘) ปน ก็ สํเสทชานํ ฆานาภาโว ภาวะทีเ่ หล่าสังเสทชสัตว์ ไม่มฆี านายตนะ น สกฺกา อันใคร ๆ ไม่สามารถ นิวาเรตุํ จะห้ามได้ กามธาตุยา อุปปตฺติกฺขเณติอาทิปาลิยา อุปปาติกโยนิเมว สนฺธาย สตฺตายตนคฺคหณสฺส จ


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

297

อญฺเญสํ อสมฺภวโต คพฺภเสยฺยกเมว สนฺธาย วุตฺตตฺตา เพราะพระบาลีว่า ในขณะที่เหล่าสัตว์เกิดในกามธาตุ ดังนี้เป็ต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสหมายถึง เฉพาะอุปปาติกก�ำเนิดและเพราะตรัสหมายถึงเฉพาะคัพภเสยยกสัตว์ เหตุศพั ท์วา่ อายตนะ ๗ ประการ ไม่เกิดมีแก่สัตว์เหล่าอื่น ฯ ยมฺปน อฏฺฐกถาวจนํ ส่วน แม้คำ� ในอรรถกถาทีว่ า่ สํเสทชโยนิยา อุปปาติกสงฺคหํ กตฺวา พระผูม้ พี ระภาคเจ้า ทรงท�ำการรวมสังเสทชก�ำเนิดเข้าในอุปปาติกก�ำเนิด ปริปุณฺณายตนภาเวน โดย เป็นก�ำเนิดที่มีอายตนะบริบูรณ์ วุตฺตานีติ จึงตรัสอายตนะไว้ ๑๑ ประการ ดังนี้ ตมฺปิ วุตฺตํ พระอรรถกถาจารย์กล่าวไว้ ปริปุณฺณายตนานํเยว สํเสทชานํ สงฺคหวเสน ด้วยอ�ำนาจรวมเหล่าสังเสทชสัตว์ เฉพาะที่มีอายตนะบริบูรณ์เข้าไว้ อุปปาติเกสุ ในพวกอุปปาติกสัตว์ ฯ ปน ส่วน อปเร อาจารย์อีกพวกหนึ่ง ท�ำการตกลงใจว่า ยมเก ในคัมภีร์ยมกปกรณ์ ฆานชิวฺหานํ สหจาริตา วุตฺตาติ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ฆานายตนะและชิวหายตนะมีปกติไปร่วมกัน ดังนี้ วณฺเณนฺติ จึงพรรณนา อฆานิกสฺสาปิ อภาวเมว ว่า สัตว์แม้ไม่มีฆานายตนะ ไม่มีเลย อชิวฺหสฺส อสมฺภวโต เพราะสัตว์ไม่มีชิวหายตนะไม่เกิดมี ฯ ตตฺถาปิ แม้ในยมกปกรณ์นั้น วุตฺตาติ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัส เตสํ สหจาริตา ว่า ฆานายตนะและชิวหายตนะเหล่านั้นมีปกติไปร่วมกัน อปฺปวตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจ ไม่เป็นไป วิสุํ วิสุํ ภเว ในกามภพแยก ๆ กัน เอวํ อย่างนี้ว่า จกฺขุโสตานิ จักขวายตนะกับโสตายตนะ ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป ฆานชิวฺหาหิ วินา แยกจาก ฆานายตนะและชิวหายตนะ รูปภเว ในรูปภพ ยถา ฉันใด ฆานชิวหฺ า ฆานายตนะ กับชิวหายตนะ ปวตฺตนฺติ จะเป็นไป อญฺญมญฺญํ วินา แยกกันและกัน เอวํ ฉันนั้น น ก็หามิได้ ทฺวินฺนมฺปิ อนุปฺปชฺชนโต เพราะฆานายตนะกับชิวหายตนะ แม้ทั้งสอง ไม่เกิดขึ้น รูปภเว ในรูปภพ ดังนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น น น สกฺกา วตฺตุนฺติ ใคร ๆ ไม่สามารถจะกล่าวว่า เหล่าสังเสทชสัตว์ไม่มีฆานายตนะ ก็หามิได้ ฯ (จบ บ.ศ. ๙ ๒๕๔๘)


298

ปริเฉทที่ ๖

คพฺภเสยฺยกา เหล่าสัตว์ชื่อว่าคัพภเสยยกะ คพฺเภ มาตุกุจฺฉิยํ เสนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ นอนในครรภ์ คือในท้องของมารดา ฯ คพฺภเสยฺยกสตฺตา ชือ่ ว่าคัพภเสยยกสัตว์ เตเยว รูปาทีสุ สตฺตตาย สตฺตาติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ชื่อว่าสัตว์ เพราะเป็นผู้ข้องในอารมณ์ทั้งหลายมีรูปารมณ์เป็นต้น คือ ผู้นอน ในครรภ์นั้น ฯ ตีณิ ทสกานิ ทสกะ ๓ ประการ ปาตุภวนฺติ ที่มีปรากฏ อณฺฑชชลาพุชานํ แก่เหล่าอัณฑชสัตว์และชลาพุชสัตว์ ยานิ กลลรูปนฺติ วุจฺจนฺติ ซึ่งท่านเรียกว่า กลลรูป ปริปิณฺฑิตานิ เป็นหมวดเดียวกัน ปคฺฆริตฺวา อคฺเค ฐิตวินฺทุมตฺตานิ มีขนาดเท่าหยาดน�้ำมันที่หยดลงแล้ว ติดอยู่ที่ปลาย อํสุโน ตานิ ชาติอุณฺณาย ขนแกะแรกเกิด เอกสฺส เส้นหนึ่ง ปสนฺนติลเตเล ปกฺขปิ ติ วฺ า อุทธฺ ฏสฺส ทีบ่ คุ คลจุม่ ในน�ำ้ มันงาใสแล้วยกขึน้ อจฺฉานิ วิปปฺ สนฺนานิ เป็นธรรมชาตผ่องใสแจ๋ว เอวํ ด้วยประการฉะนี้ ฯ กทาจิ ในกาลบางคราว น ลพฺภติ ย่อมไม่ได้ ภาวทสกกลาป อภาวกสตฺตานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจเหล่าสัตว์ ที่เป็นกะเทย ฯ ตโต ปรนฺติ ข้อว่า ตโต ปรํ ได้แก่ ปฏิสนฺธิโต ปรํ ต่อจาก ปฏิสนธิกาล ฯ ปวตฺติกาเลติ บทว่า ปวตฺติกาเล ความว่า สตฺตเมว สตฺตาเห ในสัปดาห์ที่ ๗ เอกาทสเม สตฺตาเห วา หรือในสัปดาห์ที่ ๑๑ ฏีกาการมเตน ตามมติของพระฎีกาจารย์ ฯ กเมนาติ บทว่า กเมน ความว่า เอวํ อนุกฺกเมน ตามล�ำดับอย่างนีค้ อื สตฺตาหาติกกฺ เมน โดยล่วงไป ๑ สัปดาห์ จกฺขทุ สกปาตุภาวโต ต่ อ จากจั ก ขุ ท สกกลาปมี ป รากฏ โสตทสกํ โสตทสกกลาปจึ ง มี ป รากฏ สตฺตาหาติกฺกเมน โดยล่วงไปอีก ๑ สัปดาห์ ตโต ต่อจากนั้น ๗ วันนับแต่วันที่ โสตทสกะปรากฏนั้น ฆานทสกํ ฆานทสกกลาปจึงมีปรากฏ สตฺตาหาติกฺกเมน โดยล่วงไปอีก ๑ สัปดาห์ ตโต ต่อจากนั้นไป ชิวฺหาทสกนฺติ ชิวหาทสกกลาป จึงมีปรากฏ ฯ หิ ความจริง อฏฺฐกถายมฺปิ แม้ในอรรถกถา อยมตฺโถ ทสฺสิโตว พระอรรถกถาจารย์ก็ได้แสดงเนื้อความนี้ไว้เสร็จแล้ว ฯ ฐิติกาลนฺติ บทว่า ิติ ก าลํ ได้ แ ก่ ฐิ ติ ก าลํ ซึ่ ง ฐิ ติ ข ณะ ปฏิ ส นฺ ธิ จิ ตฺ ต สฺ ส แห่ ง ปฏิ ส นธิ จิ ต ฯ หิ ความจริง ปฏิสนฺธิจิตฺตสหชาตา ความสืบต่อแห่งรูปกลาปที่เกิดพร้อมกับ


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

299

ปฏิสนธิจิต อุตุชรูปํ ชเนติ ย่อมให้อุตุชรูปเกิด อนุกฺกเมน ตามล�ำดับ อาทินา เป็นต้น คือ อุตุฏฺฐานปฺปตฺตา ความสืบต่อแห่งรูปกลาปที่ถึงฐานะแห่งอุตุ สุทฺธฏฺฐกํ สมุฏฺฐาเปนฺตี ย่อมยังสุทธัฏฐกกลาปให้ตั้งขึ้น ฐิติกฺขเณ ในฐิติขณะ ตสฺส แห่งปฏิสนธิจิตนั้น อุตุฏฺฐานปฺปตฺตา ความสืบต่อแห่งรูปกลาปที่ถึงฐานะ แห่งอุตุ อุปฺปนฺนา ซึ่งเกิดขึ้น ตถา (ตทา) ในกาลนั้น สุทฺธฏฺฐกํ สมุฏฺฐาเปนฺตี ย่อมให้สทุ ธัฏฐกกลาปตัง้ ขึน้ ภงฺคกฺขเณติ ในภังคขณะ ตสฺส แห่งปฏิสนธิจติ นัน้ ฯ โอชาผรณมุปาทายาติ ข้อว่า โอชาผรณมุปาทาย ความว่า คพฺภเสยฺยกสฺส ส�ำหรับคัพภเสยยกสัตว์ มาตุอชฺโฌหริตาหารโต ปฏฺฐาย จ�ำเดิมแต่โอชาที่มารดา กลืนกินแล้ว สํเสทโชปปาติกานญฺจ และส�ำหรับสังเสทชสัตว์และอุปปาติกสัตว์ มุขคตเสมฺหาทิโต โอชาย สรีเร ผรณกาลโต ปฏฺฐาย จ�ำเดิมแต่กาลที่โอชา แต่เสมหะที่อยู่ในปากเป็นต้น แผ่ซาบซ่านไปในร่างกาย รสหรณิอนุสาเรน ตามเส้น เอ็น อันเป็นเครื่อ งรับรส ฯ จุ ติ จิ ตฺ ตํ จุ ติจิต อุ ป ริ มํ มี ใ นเบื้ องบน เอตสฺสาติ ของจิตดวงที่ ๑๗ นั้น เพราะเหตุนั้น จิตดวงที่ ๑๗ นั้น จุติจิตฺโตปริ จึงชื่อว่ามีจุติจิตในเบื้องบน ฯ กมฺมชรูปานิ กัมมชรูปทั้งหลาย น อุปฺปชฺชนฺติ ชื่อว่าย่อมไม่เกิดขึ้น ตทุปปตฺติยํ มรณาภาวโต เพราะในเมื่อจิตดวงที่ ๑๗ นั้น เกิดขึ้น มรณะก็มีไม่ได้ ฯ กมฺมชรูปวิจฺเฉเทหิ เพราะเมื่อกัมมชรูปขาดลง มโตติ วุจฺจติ สัตว์ท่านจึงเรียกว่า ตายแล้ว ฯ ยถาห เหมือนอย่างที่ท่านโบราณาจารย์ กล่าวไว้ว่า อายุ อายุ (ชีวิตินทรีย์) อุสฺมา ไออุ่น (เตโชธาตุที่เกิดแต่กรรม) วิญฺญาณํ จ และวิญญาณ (วิปากวิญญาณ) กายํ ชหนฺติมํ ย่อม ละร่างกายนี้ ยทา ในกาลใด ตทา ในกาลนั้น อปวิทฺโธ กายนี้ ถูกทอดทิ้ง เสติ นอนอยู่ นิรตฺถํว กลิงฺครนฺติ คล้ายท่อนไม้ที่ ไร้ประโยชน์ ฉะนั้น ฯ ปุเรตรนฺติ บทว่า ปุเรตรํ ได้แก่ อุปปฺ าทกฺขเณ ในอุปปาทขณะ สตฺตรสมสฺส แห่งจิตดวงที่ ๑๗ ฯ ตโต ฯเปฯ โวจฺฉิชฺชตีติ ข้อว่า ตโต ฯเปฯ โวจฺฉิชฺชติ


300

ปริเฉทที่ ๖

ความว่า จิตฺตชมาหารชญฺจ จิตตชรูป และอาหารชรูป ยถานิพฺพตฺตํ ชื่อว่า ตามทีเ่ กิดแล้ว อุปปฺ ตฺตยิ า อภาวโต เพราะไม่มคี วามเกิดขึน้ เตสํ แห่งรูปเหล่านัน้ อชีวกสนฺตาเน ในสันดานของสัตว์ที่ไม่มีชีวิต ตโต ปรํ ต่อแต่นั้น กิญฺจิ กาลํ ปวตฺติตฺวา เป็นไปได้ชั่วเพียงเล็กน้อย นิรุชฺฌติ แล้วดับลง ฯ ปน ส่วน อปเร อาจริยา อาจารย์อีกพวกหนึ่ง วณฺเณนฺติ พรรณนาว่า จิตฺตชรูปํ จิตตชรูป โวจฺฉิชฺชตีติ ขาดลง จุติจิตฺตโต ปุเรตรเมว ก่อนจุติจิตทีเดียว ฯ การณํ เหตุ อภาเว ในความไม่มี ฆานชิวฺหากายานํ ฆานปสาทรูป ชิวหาปสาทรูป และ กายปสาทรูป รูปโลเก ในโลกทีเ่ ป็นรูปาวจร วุตตฺ เมว ข้าพเจ้ากล่าวไว้เสร็จแล้ว ฯ ปน อนึ่ง ภาวทฺวยํ ภาวรูปทั้ง ๒ นปฺปวตฺตติ ชื่อว่า ไม่เป็นไป ตตฺถ ในโลก ทีเ่ ป็นรูปาวจรนัน้ พหลกามราคูปนิสสฺ ยตฺตา เพราะภาวรูปทัง้ ๒ นัน้ เป็นอุปนิสยั แห่งสัตว์ผู้มีกามราคะหนาแน่น พฺรหฺมานญฺจ ตทภาวโต และพวกพรหมไม่มี กามราคะที่หนาแน่นนั้น ฯ อาหารชกลาปา จ และอาหารชกลาปทั้งหลาย น ลพฺภนฺติ ชื่อว่าย่อมหาไม่ได้ อชฺโฌหริตาหาเรน สรีรคตสฺสาปิ อาหารสฺส รูปสมุฏฺฐาปนาภาวโต เพราะความที่อาหารแม้ที่มีอยู่ในร่างกาย โดยความเป็น อาหารที่สัตว์กลืนกินแล้ว ไม่มีการให้รูปตั้งขึ้น ฯ หิ ความจริง อุตุมาหารญฺจ อุตุและอาหารภายใน พาหิรํ อุปนิสฺสยํ ลภิตฺวา ได้อุตุและอาหาร ภายนอก เป็นอุปนิสยั ปัจจัยแล้ว อุตอุ าหารรูปํ สมุฏฐฺ าเปนฺติ ย่อมให้อตุ ชุ รูปและอาหารชรูป ตั้งขึ้นได้ ฯ ชีวิตนวกนฺติ ที่ชื่อว่า ชีวิตนวกะ ได้แก่ ชีวิตนวกํ หมวดแห่งรูป มี ชี วิ ต รู ป เป็ น ที่ ๙ กายทสกฏฺ ฐ านิ ยํ ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ใ นฐานเป็ น กายทสกกลาป กายาภาวโต เพราะความไม่มีกายปสาทรูป ฯ อติริจฺฉตีติ บทว่า อติริจฺฉติ ความว่า รูปที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน อวสิฏฺฐํ โหติ ชื่อว่ายังเหลืออยู่ เสสพฺรหฺมานํ ปฏิสนฺธิยํ ปวตฺเต จ อุปลภิตพฺพรูปโต เพราะรูปแห่งเหล่าพรหมที่เหลือ พึงหาได้ในปฏิสนธิกาลและปวัตติกาล ฯ ปน แต่ มรณกาเล ในเวลาตาย พฺรหฺมานํ สรีรนิกฺเขปาภาวโต เพราะพวกพรหมไม่มีการทอดทิ้งร่างกายไว้ ติสมุฏฺฐานานิ จ รูปที่มีสมุฏฐาน ๓ ทฺวิสมุฏฺฐานานิ จ และรูปที่มีสมุฏฐาน ๒


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

301

สพฺเพสมฺปิ ของพวกพรหมแม้ทั้งหมด สเหว นิรุชฺฌนฺติ จึงดับไปพร้อมกัน ทีเดียว ฯ รูเปสุ ในรูปภพ เตวีส ชื่อว่ามีรูป ๒๓ อย่าง ปญฺจนฺนํ อภาวโต เพราะไม่มรี ปู ๕ อย่าง ฆานชิวหฺ ากายภาวทฺวยวเสน คือ ปสาทรูป ชิวหาปสาทรูป กายปสาทรูป และภาวรูป ๒ ฯ ปน ส่วน เกจิ อาจารย์บางพวก วทนฺติ กล่าวว่า ลหุตาทิตฺตยมฺปิ แม้วิการรูป ๓ อย่างมีลหุตารูปเป็นต้น นตฺถิ ก็ชื่อว่าไม่มี เตสุ ในรูปภพนัน้ ทนฺธตฺตกราทิธาตุกโฺ ขภาภาวโตติ เพราะความไม่มคี วามก�ำเริบ แห่งธาตุ ซึ่งเป็นตัวท�ำความเฉื่อยชาเป็นต้น ฯ ตํ ค�ำของเกจิอาจารย์นั้น อการณํ ไม่มีเหตุผล ฯ หิ เพราะว่า ตพฺพิโรธิธมฺมปฺปวตฺติ ความเป็นไปแห่งธรรมที่เป็น ข้าศึกต่อวิการรูป ๓ มีลหุตารูปเป็นต้นนั้น น วูปสเมตพฺพาเปกฺขา หาเพ่งถึงรูป ที่จะพึงเข้าไปสงบระงับไม่ ตถา สติ ลหุตาทีนมภาวปฺปสงฺคโต เพราะเมื่อมี ประการเช่นนั้น วิการรูป ๓ ประการ มีลหุตารูปเป็นต้น ก็จะเกี่ยวข้องกับ ความไม่มี สเหตุกกฺริยาจิตฺเตสุ ในกิริยาจิตที่เป็นสเหตุกะ ฯ สทฺโท วิกาโรติอาทิ ค� ำ ว่ า สทฺ โ ท วิ ก าโร ดั ง นี้ เ ป็ น ต้ น วุ ตฺ ตํ ท่ า นพระอนุ รุ ท ธาจารย์ ก ล่ า วไว้ สาธารณวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นรูปที่ทั่วไป สพฺเพสมฺปิ แก่สัตว์แม้ทุกจ�ำพวก ฯ นิทฺทิสิตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ครั้นชี้แจง จิตฺตเจตสิกรูปานิ ถึงจิตเจตสิก และรูป วิภาคโส โดยการจ�ำแนก เอตฺตาวตา ด้วยค�ำมีประมาณเท่านี้แล้ว อิทานิ บัดนี้ นิทฺทิสนฺโต เมื่อจะชี้แจง นิพฺพานํ ถึงพระนิพพาน อาห จึงกล่าว นิพฺพานํ ปนาติอาทิ ว่า นิพฺพานํ ปน ดั ง นี้ เป็ นต้ น ฯ จตุมคฺคญาเณน สจฺฉิกาตพฺพนฺติ ด้วยค�ำว่า พึงกระท�ำให้แจ้งด้วยมรรคญาณ ๔ นี้ ทสฺเสติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ย่อมแสดง นิพฺพานสฺส ปจฺจกฺขสิทฺธิตํ ความที่พระนิพพาน ส� ำ เร็ จ ได้ โ ดยชั ด แจ้ ง ตํ ตํ อ ริ ย ปุ คฺ ค ลานํ แก่ เ หล่ า พระอริ ย บุ ค คลนั้ น ๆ ฯ มคฺคผลานมาลมฺพนภูตนฺติ อิมินา ด้วยค�ำว่า มคฺคผลานมาลมฺพนภูตํ นี้ ทสฺเสติ ย่อมแสดง นิพฺพานสฺส อนุมานสิทฺธิตํ ความที่พระนิพพานส�ำเร็จได้ โดยความคาดคะเน กลฺยาณปุถุชฺชนานํ แก่เหล่ากัลยาณปุถุชน ฯ หิ เพราะ ญาณํ ญาณ สงฺขตธมฺมารมฺมณํ ที่มีสังขตธรรมเป็นอารมณ์ ปญฺญตฺตารมฺมณํ วา


302

ปริเฉทที่ ๖

หรือที่มีบัญญัติธรรมเป็นอารมณ์ อสมตฺถํ ไม่สามารถ กิเลสานํ สมุจฺเฉท- ปฏิปฺปสฺสมฺภเน ในการตัดกิเลสได้เด็ดขาด และการสงบระงับกิเลสได้ จ ส่วน กิเลสสมุจฺเฉทาทิ ญาณเป็นเครื่องตัดกิเลสได้เด็ดขาดเป็นต้น อตฺถิ มีอยู่ โลเก ในโลก ตสฺมา ฉะนัน้ สิทธฺ ิ จึงส�ำเร็จความว่า เอโก ธมฺโมติ ธรรมอย่างหนึง่ สงฺขตสมฺมติธมฺมวิปรีโต ที่ตรงกันข้ามจากสังขตธรรมและสมมติธรรม กิเลสานํ สมุจฺเฉทปฏิปฺปสฺสทฺธิกรานํ มคฺคผลานมาลมฺพนภูโต ซึ่งเป็นอารมณ์ของมรรค และผล ที่ตัดกิเลสได้เด็ดขาดและท�ำความสงบระงับกิเลสได้ นิพฺพานํ นาม ชื่อว่านิพพาน อตฺถิ มีอยู่ ฯ จ ก็ ปจฺจกฺขานุมานสิทฺธิตานํ สนฺทสฺสเนน เพราะชี้แจงถึงความที่พระนิพพานส�ำเร็จได้โดยแจ้งชัดและโดยความคาดคะเน นิเสเธตีติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงคัดค้าน วาทํ วาทะ ปฏิปนฺนานํ ของท่าน ผู้ปฏิบัติโดยส�ำคัญว่า อภาวมตฺตํ เพียงความไม่มี นิพฺพานํ ชื่อพระนิพพาน อิติ เพราะเหตุนั้น อลมติปปญฺเจน พอทีไม่ต้องพิสดารมากนัก ฯ คุ ณ ชาตอั น เป็ น อารมณ์ ข องมรรคและผล ท่ า นเรี ย กว่ า พระนิ พ พาน นิกฺขนฺตตฺตา เพราะออกไป อตีตตฺตา คือเป็นไปล่วง วิสยาติกฺกมวเสน ด้วย อ� ำ นาจล่ ว งเลยอารมณ์ ตณฺ ห าย จากตั ณ หา วานสงฺ ข าตาย ชื่ อ ว่ า วานะ วินนโต เพราะร้อยรัด สํสิพฺพนโต คือรวบรัด เตภูมิกธมฺเม ธรรมที่เป็นไป ในภูมิ ๓ ขนฺธาทิเภเท ต่างด้วยขันธ์เป็นต้น เหฏฺฐุปริยวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นไป ในเบื้องต�่ำและเบื้องสูง ฯ สภาวโตติ บทว่า สภาวโต ได้แก่ สนฺติลกฺขเณน โดยลั ก ษณะสงบ อตฺ ต โน แห่ ง ตน ฯ อุ ป าทิ ชื่ อ ว่ า อุ ป าทิ อุ ป าทิ ย ติ กามูปาทานาทีหีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ถูกอุปาทานทั้งหลายมีกามุปาทาน เป็นต้นยึดถือมั่น ฯ เอตํ ค�ำว่า อุปาทิ นี้ อธิวจนํ เป็นชื่อ ปญฺจกฺขนฺธสฺส ขันธ์ ๕ ฯ อุปาทิเสโส ชื่อว่าอุปาทิเสส อุปาทิเยว เสโส กิเลเสหีติ เพราะ อรรถวิเคราะห์วา่ สภาวะทีเ่ หลือจากกิเลสทัง้ หลาย คือ อุปาทิ ฯ สอุปาทิเสโส ชื่อว่าสอุปาทิเสส เตน สห ปวตฺตตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นไปกับด้วย อุปาทิเสสนัน้ ฯ สอุปาทิเสสนิพพฺ านธาตุ ชือ่ ว่าสอุปาทิเสสนิพพานธาตุ สา เอว


พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

303

นิพฺพานธาตูติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า นิพพานธาตุ คือ สอุปาทิเสสนั้น ฯ การณปริยาเยนาติ บทว่า การณปริยาเยน ความว่า เลเสน โดยอ้างถึง อุ ป าทิ เ สสภาวาภาวสฺ ส ความมี แ ละความไม่ มี อุ ป าทิ เ สส การณภู ต สฺ ส อันเป็นเหตุ ปญฺญาปเน ในการบัญญัติ สอุปาทิเสสาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจ สอุปาทิเสสนิพพานธาตุเป็นต้น ฯ สุญฺญเมว นิพพานชื่อว่าสุญญะ สุญฺญตํ คือ ชื่อว่าสุญญตะ สุญฺญตฺตา เพราะว่าง ราคโทสโมเหหิ จากราคะ โทสะ และ โมหะ อารมฺมณโต โดยเป็นอารมณ์ สมฺปโยคโต จ และโดยเป็นสัมปโยค ตถา อนึ่ง อนิมิตฺตํ ชื่อว่าอนิมิตตะ ราคาทินิมิตฺตรหิตตฺตา เพราะเว้นจากนิมิต มีราคนิมิตเป็นต้น อปฺปณิหิตํ ชื่อว่าอัปปณิหิตะ ราคาทิปณิธิรหิตตฺตา เพราะ เว้นจากกิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่นมีราคะเป็นต้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง สุญฺญตํ นิพพานชื่อว่าสุญญตะ สุญฺญตฺตา เพราะว่าง สพฺพสงฺขาเรหิ จากสังขารทั้งปวง อนิ มิตฺ ตํ ชื่อว่าอนิมิตตะ สพฺพ สงฺข ารนิ มิตฺตาภาวโต เพราะไม่ มี นิ มิ ต แห่ ง สังขารทั้งปวง อปฺปณิหิตํ ชื่อว่าอัปปณิหิตะ สพฺพสงฺขารปณิธิยา อภาวโต เพราะไม่มีกิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่นแห่งสังขารทั้งปวง อจฺจุตํ นิพพานชื่อว่าอัจจุตะ จวนาภาวโต เพราะไม่มีการจุติ อจฺจนฺตํ ชื่อว่าอัจจันตะ อติกฺกนฺตตฺตา เพราะ ก้าวล่วง อนฺตสฺส ที่สุด ปริโยสานสฺส คือ ที่สุดรอบ อสงฺขตํ ชื่อว่าอสังขตะ ปจฺจเยหิ อนภิสงฺขตตฺตา เพราะไม่ถูกปัจจัยทั้งหลายปรุงแต่ง อนุตฺตรํ ชื่อว่า อนุ ต ตระ อตฺ ต โน อุ ตฺ ต ริ ต รสฺ ส าภาวโต เพราะไม่ มี ธ รรมที่ ย วดยิ่ ง กว่ า ตน อุตฺตรสฺส วา อภาวโต หรือเพราะไม่มีสภาวะที่ยวดยิ่ง สห ธมฺเมน วตฺตพฺพสฺส อันจะพึงกล่าวรวมกันกับธรรม ฯ วานมุตตฺ า พระพุทธเจ้าทัง้ หลาย ทรงพระนามว่า วานมุตตะ มุตฺตตฺตา เพราะเป็นผู้หลุดพ้นแล้ว อปคตตฺตา คือ ไปปราศแล้ว สพฺพโส โดยประการทั้งปวง วานโต จากธรรมชาติเป็นเครื่องร้อยรัด ตณฺหาโต คือ จากตัณหา ฯ มเหสโย พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ทรงพระนามว่ามเหสี เอสนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า แสวงหา คเวสนฺตีติ คือค้นหา มหนฺเต ธรรมที่มี คุณใหญ่ สีลกฺขนฺธาทิเก ได้แก่ ธรรมมีสีลขันธ์เป็นต้น ฯ อิติ จิตฺตนฺติอาทิ


304

ปริเฉทที่ ๖

ค�ำว่า อิติ จิตฺตํ ดังนี้เป็นต้น นิคมนํ เป็นค�ำกล่าวย�้ำ จิตฺตาทีนํ ถึงอรรถ แห่งพระอภิธรรมมีจิตเป็นต้น วิภตฺตานํ ที่ได้จ�ำแนกไว้แล้ว ฉหิ ปริจฺเฉเทหิ โดยปริเฉททั้ง ๖ ฯ ฉฏฺฐปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๖ อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธัมมัตถสังหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺฐิตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

305

สตฺตมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริจเฉทที่ ๗ {อธิบายคาถาสังคหะ} สลกฺขณา ฯเปฯ ปวกฺขามีติ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า วตฺถุธมฺมา วัตถุธรรมทั้งหลาย สภาวธมฺมา คือ สภาวธรรมทั้งหลาย สลกฺขณา พร้อมทั้ง ลักษณะ จินฺตนาทิลกฺขณา คือ มีลักษณะคิดอารมณ์เป็นต้น ทฺวาสตฺตติปฺปเภทา มี ๗๒ ประเภท จิตฺตเจตสิกนิปฺผนฺนรูปนิพฺพานวเสน คือ จิต (๑) เจตสิก (๕๒) นิปผันนรูป (๑๘) และพระนิพพาน (๑) วุตฺตา ข้าพเจ้าได้กล่าวไว้แล้ว อิทานิ บัดนี้ ปวกฺขามิ ข้าพเจ้าจะกล่าว สมุจฺจยํ สมุจจยสังคหะ สมุจฺจยราสึ คือ หมวดสมุจจยธรรม อกุสลสงฺคหาทิเภทํ ซึ่งแยกประเภทเป็นอกุศลสังคหะ เป็นต้น เตสํ แห่งวัตถุธรรมเหล่านั้น สภาวธมฺมานํ คือ แห่งสภาวธรรมทั้งหลาย ยถาโยคํ ตามที่ ป ระกอบ โยคานุ รู ป โต คื อ ตามสมควรแก่ ก ารประกอบ เอเกกสมุจจยวเสน ด้วยอ�ำนาจสมุจจยสังคหะแต่ละหมวด ฯ

{อธิบายสมุจจยสังคหะ ๔} สงฺคโห การรวบรวม อกุสลานเมว เฉพาะอกุศลธรรม สภาคธมฺมวเสน ด้วยอ�ำนาจธรรมที่มีส่วนเสมอกัน อกุสลสงฺคโห ชื่อว่า อกุศลสังคหะ ฯ สงฺคโห การรวบรวม มิสฺสกานํ ธรรมที่เจือปนกัน กุสลาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกุศลธรรม เป็นต้น มิสฺสกสงฺคโห ชื่อว่า มิสสกสังคหะ ฯ สงฺคโห การรวบรวม ธมฺมานํ ธรรมทั้งหลาย สติปฏานาทิเภทานํ ซึ่งแยกประเภทเป็นสติปัฏฐานเป็นต้น ภวานํ อันมี ปกฺเข ในฝักฝ่าย อริยมคฺคสฺส อริยมรรค สจฺจาภิสมฺโพธิสงฺขาตสฺส กล่าวคือตรัสรู้สัจจะ โพธิปกฺขิยานํ คือ อันเป็นไปในฝักฝ่ายปัญญาเครื่องตรัสรู้ สภาคตฺถวเสน ด้วยอ�ำนาจธรรมที่มีอรรถเสมอกัน โพธิปกฺขิยสงฺคโห ชื่อว่า


306

ปริเฉทที่ ๗

โพธิปักขิยสังคหะ ฯ สงฺคโห การรวบรวม สพฺเพสํ ธรรมทั้งหมด ขนฺธาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจขันธ์เป็นต้น สพฺพสงฺคโห ชื่อว่า สัพพสังคหะ ฯ

{อธิบายอกุศลสังคหะ} อธิบายอาสวะ ๔ (๒๕๑๖) (โลภาทโย ตโย ธมฺมา) ธรรม ๓ ประการมีโลภะเป็นต้น (โลภะ ทิฏฐิ และอวิชชา) อาสวา ชือ่ ว่า อาสวะ จิรปาริวาสิยตฺเถน เพราะมีความหมายว่า มีความหมักดองอยู่นาน ปุพฺพโกฏิยา อปญฺายนโต เหตุที่สุดเบื้องต้นไม่ปรากฏ วณโต วา วิสนฺทมานปูติยา วิย จกฺขฺวาทิโต วิสเยสุ วิสนฺทนโต หรือเพราะ ซึมซ่านไปในอารมณ์ทงั้ หลาย ทางทวาร ๖ มีจกั ขุทวารเป็นต้น ประดุจน�ำ้ เหลืองเสีย ที่ไหลซึมออกทางแผล ฉะนั้น ฯ อถวา อีกนัยหนึ่ง (โลภาทโย ตโย ธมฺมา) ธรรม ๓ ประการมีโลภะเป็นต้น อาสวา ชื่อว่า อาสวะ ภวโต อาภวคฺคํ ธมฺมโต อาโคตฺรภุํ สวนฺติ ปวตฺตนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เมื่อกล่าวทางภพ ย่อมซึมซ่านไป คือ เป็นไปจนถึงภวัคคพรหม (คือ อรูปาวจรภูมิที่ ๔ ได้แก่ เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ) เมื่อกล่าวทางธรรม ย่อมซึมซ่านไป คือ เป็นไป จนถึงโคตรภูธรรม ฯ จ ก็ อากาโร อา อักษร เอตฺถ ในบทว่า อาสวา นี้ อวธฺยตฺโถ มีความหมายว่าเขตแดน ฯ จ ก็ อวธิ เขตแดน ทุวิโธ มี ๒ อย่าง มริยาทาภิวิธิวเสน คือ เขตคัน ๑ เขตก�ำหนด ๑ ฯ ตตฺถ ใน ๒ อย่างนั้น กิริยํ พหิ กตฺวา ปวตฺโต เขตแดนที่กันกิริยาไว้ภายนอกเป็นไป อาปาฏลิปุตฺตํ วุฏฺโ เทโวติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า อาปาฏลิปุตฺตํ วุฏฺโ เทโว (ฝนตกถึงเขตคันเมืองปาฏลีบุตร) ดังนี้ มริยาโท ชื่อว่า เขตคัน ฯ กิริยํ พฺยาเปตฺวา ปวตฺโต เขตแดนที่เป็นไปครอบคลุมกิริยาตลอดหมด อาภวคฺคํ สทฺโท อพฺภุคฺคโตติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า อาภวคฺคํ สทฺโท อพฺภุคฺคโต (เสียงได้ระบือขึ้นไปตลอดถึงภวัคคพรหม) ดังนี้ อภิวิธิ ชื่อว่า เขตก�ำหนด ฯ ปน ส่วน อากาโร อา อักษร อิธ ในบทว่า อาสวา นี้ อภิวิธิมฺหิ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

307

ทฏพฺโพ พึงเห็นว่า ใช้ในความหมายว่าเขตก�ำหนด ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอเต ธรรม ๓ ประการมี โ ลภะเป็ น ต้ น เหล่ า นี้ ปวตฺ ต นฺ ติ ย่ อ มเป็ น ไป นิพฺพตฺติฏานภูเต อารมฺมณภูเต จ ภวคฺเค ในภวัคคพรหม อันเป็นทั้งสถานที่ เกิด ทัง้ เป็นอารมณ์ โคตฺรภุมหฺ ิ จ อารมฺมณภูเต และในโคตรภูธรรมอันเป็นอารมณ์ อิติ แล ฯ วิชฺชมาเนสุ ฯเปฯ นิรุทฺธาติ ทฏพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นรูปความหมายว่า อญฺเสุ เมื่อธรรมอื่น ๆ มานาทีสุ มีมานเจตสิกเป็นต้น สวนฺเตสุ ซึ่งซึบซาบไป อาภวคฺคํ ถึงภวัคคพรหม อาโคตฺรภุญฺจ และถึงโคตรภู วิชฺชมาเนสุ แม้มีอยู่ เอเตเยว ธรรม ๓ ประการ คือ โลภะ ทิฏฐิ และอวิชชาเหล่านี้เท่านั้น อาสวภาเวนนิรุทฺธา ที่จ�ำกัดไว้แล้วว่าเป็นอาสวะ อาสวสทิสตาย เพราะเป็น เช่นกับของหมักดอง มทกรณตฺเถน ด้วยความหมายว่าเป็นเครื่องกระท�ำความเมา อภิพฺยาปนโต เหตุให้ซึบซาบไป อตฺตตฺตนิยคฺคหณวเสน ด้วยอ�ำนาจความยึดถือ ว่าเป็นตนและว่าเป็นของเนื่องกับตน ฯ (จบ ๒๕๑๖) กาโมเยว อาสโว อาสวะ คือกาม กามาสโว ชื่อว่า กามาสวะ กามราโค ได้แก่ กามราคะ ฯ ฉนฺทราโค ความก�ำหนัดด้วยอ�ำนาจความพอใจ รูปารูปภเวสุ ในรูปภพและอรูปภพ ภวาสโว ชื่อว่า ภวาสวะ ฌานนิกนฺติ ได้แก่ ความติดใจ ในฌาน ฯ ราโค ราคะ สสฺสตทิฏสหคโตว เฉพาะที่สหรคตด้วยสัสสตทิฏฐิ สงฺคยฺหนฺติ ท่านรวมเข้าไว้ เอตฺเถว ในภวาสวะนี้นั่นเอง ฯ ตตฺถ บรรดาอาสวะ ทั้ง ๓ นั้น ปโม อาสวะที่ ๑ อุปปตฺติภเวสุ ราโค ได้แก่ ราคะในอุปปัตติภพ ทุติโย อาสวะที่ ๒ กมฺมภเว (ราโค) ได้แก่ ราคะในกัมมภพ ตติโย อาสวะที่ ๓ ภวทิฏสหคโต ได้แก่ ราคะที่เกิดพร้อมด้วยภวทิฏฐิ ฯ ทฺวาสฏวิธา ทิฏ ทิฏฐิ ๖๒ ประการ ทิฏาสโว ชื่อว่า ทิฏฐาสวะ ฯ อาณํ ความไม่รู้ อฏสุ าเนสุ ในฐานะ ๘ ทุกขฺ าทีสุ จตูสุ สจฺเจสุ ปุพพฺ นฺเต อปรนฺเต ปุพพฺ นฺตาปรนฺเต ปฏิจฺจสมุปฺปาเท จาติ คือ ในสัจจะ ๔ มีทุกขสัจเป็นต้น ในที่สุดเบื้องต้น ๑ ในทีส่ ดุ เบือ้ งปลาย ๑ ในทีส่ ดุ เบือ้ งต้นและทีส่ ดุ เบือ้ งปลาย ๑ ในปฏิจจสมุปบาท ๑ อวิชฺชาสโว ชื่อว่า อวิชชาสวะ ฯ


308

ปริเฉทที่ ๗

อธิบายโอฆะ ๔ ชลปฺปวาโห ห้วงน�้ำ โอโฆติ วุจฺจติ ท่านเรียกว่า โอฆะ โอตฺถริตฺวา หรณโต เพราะไหลท่วมท้นไป โอหนนโต วา หรือเพราะท่วมทับไปให้จมลง เหฏา กตฺวา หรณโต คือ พัดพาไปเบือ้ งล่าง โอสีทาปนโต ได้แก่ พัดให้จมลง ฯ เอเตว กิเลสเหล่านี้แหละ สตฺเต โอตฺถริตฺวา หนนฺตา (วิย) ย่อมเป็นเหมือน ไหลท่วมทับเหล่าสัตว์ไป วฏฏสฺมึ สตฺเต โอสีทาเปนฺตา วิย โหนฺติ คือ เป็นเหมือนกดเหล่าสัตว์ให้จมลงในวัฏฏะ อิติ เพราะเหตุนั้น (เต กิเลสเหล่านั้น) โอฆา จึงชื่อว่า โอฆะ โอฆสทิสตาย เพราะเป็นเหมือนห้วงน�้ำ ฯ ปน แต่ เอตฺ ถ ในอกุ ศ ลสั ง คหะนี้ อาสวาเยว อาสวะนั่ น เอง โอฆาติ ปวุ จฺ จ นฺ ติ ท่านเรียกว่า โอฆะ ยถาวุตฺตตฺเถน เพราะอรรถตามที่กล่าวแล้ว ฯ

อธิบายโยคะ ๔ โยคา กิ เ ลสทั้ ง หลายชื่ อ ว่ า โยคะ วฏ  ฏ สฺ มึ ภวยนฺ ต เก วา สตฺ เ ต กมฺมวิปาเกน ภวนฺตราทีหิ ทุกฺเขน วา สตตํ โยเชนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ประกอบเหล่าสัตว์ไว้ในวัฏฏะ หรือในยนต์คือภพด้วยกรรมวิบาก ด้วยภพอื่น เป็นต้น หรือด้วยทุกข์ติดต่อกัน เหฏาวุตฺตธมฺมาว ได้แก่ ธรรมที่กล่าวแล้ว ในเบื้องต้นนั่นเอง ฯ

อธิบายคันถะ ๔ กายคนฺ ถ า กิ เ ลสทั้ ง หลายชื่ อ ว่ า กายคั น ถะ นามกาเยน รู ป กายํ ปจฺจุปฺปนฺนกาเยน วา อาคามิกายํ (อนาคตกายํ) คนฺเถนฺติ ทุปฺปมุญฺจํ เวเนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ร้อยรัด คือ ผูกไว้ ซึ่งรูปกายด้วยนามกาย หรือซึ่งอนาคตกายด้วยปัจจุบันกายให้แก้ได้โดยยาก ฯ อามสนํ ความยึดถือ ปรโต โดยประการอื่น อสภาวโต คือ โดยไม่จริง โคสีลาทินา สีเลน วตฺเตน ตทุภเยน จ สุทฺธีติ เอวํ อย่างนี้ว่า ความหมดจด ย่อมมีได้ด้วยศีลมีโคศีลเป็นต้น


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

309

ด้วยพรต และด้วยศีลและพรตทั้ง ๒ นั้น ปรามาโส ชื่อว่า ปรามาส ฯ อิทเมว สจฺจํ โมฆมญฺนฺติ อภินิวิสนํ ทฬฺหคฺคาโห ความยึดมั่น คือ ความถือมั่นว่า นี้ เท่านั้นจริง สิ่งอื่นเปล่า อิทํสจฺจาภินิเวโส ชื่อว่า อิทังสัจจาภินิเวส ฯ

อธิบายอุปาทาน ๔ อุปาทานานิ ที่ชื่อว่าอุปาทาน มณฺฑูกํ ปนฺนโค วิย ภุสํ ทฬฺหํ อารมฺมณํ อาทิยนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยึดถืออารมณ์อย่างหนาแน่น คือ อย่างมั่งคง เหมือนงูรัดกบ ฉะนั้น ฯ กาโม เอว อุปาทานํ อุปาทาน คือกาม (กามูปาทานํ) ชื่อว่า กามุปาทาน วา อีกอย่างหนึ่ง กามูปาทานํ ที่ชื่อว่ากามุปาทาน กาเม อุปาทิยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยึดกามมั่น ฯ คหณํ ความยึดถือ สีลวตาทีนํ ศีลและพรตเป็นต้น อิมินา เม สีลวตาทินา สํสารสุทฺธีติ เอวํ อย่างนี้ว่า ความหมดจดจากสงสาร ย่อมมีได้ดว้ ยศีลและพรตเป็นต้นของเรานี้ สีลพฺพตูปาทานํ ชือ่ ว่า สีลพั พตุปาทาน ฯ วาโท ทีช่ อื่ ว่าวาทะ วทนฺติ เอเตนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องกล่าวแห่งเหล่าชน ฯ วาโท วาทะ วีสติปริกปฺปิตสฺส อตฺตโน ของตนที่ท่านก�ำหนดไว้ ๒๐ ประการ ขนฺ เ ธหิ พฺ ยติ ริตฺตาพฺ ยติ ริตฺตวเสน ด้วยอ�ำนาจถ้อยค�ำที่แยกจากขันธ์และถ้อยค�ำที่ไม่แยกจากขันธ์ อตฺตวาโท ชื่อว่า อัตตวาทะ ฯ โสเยว อุปาทานํ อุปาทาน คืออัตตวาทะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น อตฺตวาทูปาทานํ จึงชื่อว่า อัตตวาทุปาทาน ฯ

อธิบายนีวรณ์ ๖ นีวรณา ที่ชื่อว่านีวรณ์ ฌานาทิวเสน อุปฺปชฺชนกํ กุสลจิตฺตํ นิเสเธนฺติ ตถา ตสฺส อุปฺปชฺชิตํุ น เทนฺตีติ เพราะอรรถวิ เคราะห์ ว ่ า ห้ ามกุ ศลจิ ต ที่จะเกิดขึ้นด้วยอ�ำนาจฌานเป็นต้น คือ ไม่ยอมให้กุศลจิตนั้นเกิดขึ้นได้อย่างนั้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง นีวรณา ที่ชื่อว่า นีวรณ์ ปญฺาจกฺขุโน อาวรณตฺเถน เพราะอรรถว่าเป็นเครื่องกั้นปัญญาจักษุ ฯ กามฉนฺโท ที่ชื่อว่ากามฉันทะ ปญฺจสุ


310

ปริเฉทที่ ๗

กามคุเณสุ อธิมตฺตราคสงฺขาโต กาโมเยว ฉนฺทตฺเถน ฉนฺโท จาติ เพราะ อรรถวิเคราะห์วา่ ชือ่ ว่าฉันทะ เพราะอรรถว่าพอใจ คือ กาม กล่าวคือความก�ำหนัด อย่างยิ่งในกามคุณ ๕ ฯ โสเยว นีวรณํ นีวรณ์คือกามฉันทะนั้น อิติ เหตุนั้น กามฉนฺ ท นี ว รณํ จึ ง ชื่ อ ว่ า กามฉั น ทนี ว รณ์ ฯ พฺ ย าปาโท ที่ ชื่ อ ว่ า พยาบาท พฺยาปชฺชติ วินสฺสติ เอเตน จิตฺตนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเหตุถึง ความวอดวาย คือ ความพินาศแห่งจิต นววิโธ (โทโส) โทสะมี ๙ อย่าง อนตฺถํ เม อจรีติอาทินยปฺปวตฺตนววิธอาฆาตวตฺถุปทฏานตาย เพราะเป็น ปทัฏฐานแห่งอาฆาตวัตถุ ๙ ประการที่เป็นไปโดยนัยเป็นต้นว่า ผู้นี้ได้ประพฤติ สิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เรา อฏานโกเปน สห ทสวิโธ วา โทโส หรือรวมกับ ความโกรธในฐานะอันไม่สมควร โทสะจึงมี ๑๐ ประการ ฯ โสเยว นีวรณํ นี ว รณ์ คื อ พยาบาทนั้ น อิ ติ เพราะเหตุ นั้ น พฺ ย าปาทนี ว รณํ จึ ง ชื่ อ ว่ า พยาบาทนีวรณ์ ฯ ถีนมิทธฺ เมว นีวรณํ นีวรณ์คอื ถีนะและมิทธะ ถีนมิทธฺ นีวรณํ ชื่อว่า ถีนมิทธนีวรณ์ ฯ ตถา อุทฺธจฺจกุกฺกุจจนีวรณํ อุทธัจจกุกกุจจนีวรณ์ ก็เหมือนกัน ฯ (๒๕๓๓) กสฺมา ฯเปฯ วุตตฺ าติ (ปุจฉฺ า) ถามว่า ปน ก็ กสฺมา เพราะเหตุไร เอเต ภินฺนธมฺมา ธรรมที่ต่างกันเหล่านี้ วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสไว้ เทฺว เทฺว เป็นคู่ ๆ เอเกกนีวรณภาเวน โดยความเป็นนิวรณธรรมแต่ละข้อ ฯ กิจฺจา ฯเปฯ สมานภาวโต (อิติ วิสชฺชนา) ตอบว่า กิจฺจาหารปฏิปกฺขานํ สมานภาวโต เพราะนิวรณธรรมเหล่านั้นมีหน้าที่ อาหาร และธรรมที่เป็นข้าศึก เหมือนกัน ฯ หิ ความจริง ถีนมิทฺธานํ จิตฺตุปฺปาทสฺส ลยาปาทนกิจฺจํ สมานํ ถี น นี ว รณ์ กั บ มิ ท ธนี ว รณ์ มี ห น้ า ที่ ท� ำ จิ ต ตุ ป บาทให้ ถึ ง ความหดหู ่ เ หมื อ นกั น อุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจานํ อวูปสนฺตภาวกรณํ อุทธัจจนีวรณ์กับกุกกุจจนีวรณ์ มีหน้าที่ ท�ำจิตตุปบาทให้ไม่สงบเหมือนกัน ฯ ตถา อนึ่ง ปุริมานํ ทฺวินฺนํ ถีนนีวรณ์กบั มิทธนีวรณ์ ๒ ประการเบื้องต้น ตนฺทิวิชมฺภิกา อาหาโร มีความเกียจคร้านและ ความบิดกายเป็นอาหาร ฯ เหตูติ อตฺโถ อธิบายว่า เป็นเหตุ (เหมือนกัน) ฯ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

311

ปจฺฉมิ านํ อุทธัจจนีวรณ์กบั กุกกุจจนีวรณ์ ๒ ประการเบือ้ งหลัง าติพยฺ สนาทิวติ กฺกนํ มีความตรึกถึงความพินาศแห่งญาติเป็นต้นเป็นอาหาร (เหมือนกัน) ฯ จ อนึ่ง ปุริมานํ ทฺวินฺนํ ถีนนีวรณ์กับมิทธนีวรณ์ ๒ ประการเบื้องต้น วิริยํ ปฏิปกฺขภูตํ มีวริ ยิ ะเป็นข้าศึก (เหมือนกัน) ปจฺฉมิ านํ อุทธัจจนีวรณ์กบั กุกกุจจนีวรณ์ ๒ ประการ เบื้องหลัง สมโถ มีสมถะเป็นข้าศึก (เหมือนกัน) อิติ แล ฯ เตนาหุ โปราณา เพราะเหตุนั้น พระโบราณาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวไว้ว่า หิ ก็ เอตฺถ บรรดานิวรณธรรมเหล่านี้ ตาทินา พระผูม้ พี ระภาคเจ้า ผู้คงที่ เอกํ กตมุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจํ ถีนมิทฺธญฺจ ทรงจัดถีนนีวรณ์กับ มิทธนีวรณ์ไว้เป็นข้อเดียวกัน และทรงจัดอุทธัจจนิวรณ์กบั กุกกุจจนิวรณ์ ไว้เป็นข้อเดียวกัน กิจฺจาหารวิปกฺขานํ เอกตฺตา เพราะนิวรณธรรม เหล่านั้น มีหน้าที่ อาหาร และธรรมที่เป็นข้าศึกอย่างเดียวกัน ฯ ลีนตาสนฺตตา กิจฺจํ ภาวะที่จิตตุปบาทหดหู่ เป็นหน้าที่ของ ถีนนีวรณ์กับมิทธนีวรณ์ (อย่างเดียวกัน) ภาวะที่จิตตุปบาทไม่สงบ เป็นหน้าที่ของอุทธัจจนีวรณ์กับกุกกุจจนีวรณ์ (อย่างเดียวกัน) ตนฺทิ าติวิตกฺกนํ เหตุ ความเกียจคร้าน เป็นเหตุแห่งถีนนีวรณ์กับ มิ ท ธนี ว รณ์ (อย่ า งเดี ย วกั น ) ความตรึ ก ถึ ง ญาติ เป็ น เหตุ แ ห่ ง อุทธัจจนีวรณ์ กับกุกกุจจนีวรณ์ (อย่างเดียวกัน) อิเม วิรยิ สมถาวิรยิ ะ และสมถะเหล่านี้ เตสํ วิโรธิโน เป็นข้าศึกต่อนิวรณธรรมเหล่านั้น ฯ

อธิบายอนุสัย ๗ อปฺปหีนตฺเถน อนุอนุ สนฺตาเน เสนฺตีติ อนุสยา อนุรูปํ การณํ ลภิตฺวา อุปฺปชฺชนฺตีติ อตฺโถ (สภาวธรรมเหล่าใด) ย่อมนอนแนบสนิทอยู่ในสันดาน เพราะอรรถว่ายังละไม่ได้ อธิบายว่า ได้เหตุที่เหมาะสมแล้ว ย่อมเกิดขึ้นได้ เพราะเหตุนั้น (สภาวธรรมเหล่านั้น) จึงชื่อว่า อนุสัย ฯ หิ ความจริง อปฺปหีนา กิเลสา กิเลสทั้งหลาย ที่ยังละไม่ได้ การณลาเภ สติ อุปฺปชฺชนารหา เหมาะที่จะ


312

ปริเฉทที่ ๗

เกิดขึ้นได้ ในเมื่อมีการได้เหตุ สนฺตาเน อนุสยิตา วิย โหนฺติ จึงเป็นประดุจ นอนแนบสนิทอยู่ในสันดาน อิติ เพราะเหตุนั้น ตทวตฺถา กิเลสทั้งหลายที่ก�ำหนด ว่าจะเกิดขึ้นได้ ในเมื่อมีการได้เหตุนั้น อนุสยาติ วุจฺจนฺติ พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสเรียกว่า อนุสัย ฯ ปน ก็ เต กิเลสา กิเลสเหล่านั้น นิปฺปริยายโต ว่าโดยตรง อนาคตา ทั้งที่เป็นอนาคต อตีตปจฺจุปฺปนฺนาปิ ทั้งที่เป็นอดีต ทั้งที่ เป็น ปัจ จุบัน ตถา วุจฺจ นฺติ บัณฑิตก็ เ รี ย กว่ า อนุ สั ย อย่ างนั้ นเหมื อนกั น ตสํ ภาวตฺตา เพราะมีสภาวะทีจ่ ะเกิดขึน้ ได้นนั้ ฯ หิ ก็ กาลเภเทน ว่าโดยประเภท แห่งกาล น ธมฺมานํ สภาวเภโท อตฺถิ ธรรมทั้งหลาย หามีความต่างกัน โดยสภาวะไม่ ฯ ยทิ ฯเปฯ ภเวยฺยุนฺติ (โจทนา) มีค�ำท้วงว่า ยทิ ถ้า (กิเลสา) กิเลสทั้งหลาย อนุสยา ชื่อว่าอนุสัย อปฺปหีนตฺเถน เพราะอรรถว่ายังละไม่ได้ไซร้ สพฺเพปิ กิเลสา อปฺปหีนา อนุสยา ภเวยฺยํุ กิเลสทั้งหลายที่ยังละไม่ได้ ก็พึงเป็นอนุสัยไปแม้ทั้งหมด นนุ มิใช่หรือ ฯ น มยํ ฯเปฯ อนุสยาติ (วทามาติ วิสชฺชนา) มีค�ำเฉลยว่า มยํ วทาม ข้าพเจ้ากล่าวว่า (กิเลสา) กิเลสทั้งหลาย อนุสยา ชื่อว่าอนุสัย อปฺปหีนตามตฺเตน เพราะเหตุเพียงภาวะที่ยังละไม่ได้ ดังนี้ น ก็หามิได้ อถโข โดยที่แท้ (ข้าพเจ้ากล่าวว่า) ถามคตา กิเลสา กิเลสทั้งหลาย ทีถ่ งึ ความรุนแรง อนุสยา ชือ่ ว่าอนุสยั อปฺปหีนตฺเถน เพราะอรรถว่ายังละไม่ได้ ฯ จ ก็ ถามคมนํ การถึงความรุนแรง อาเวนิโก สภาโว ได้แก่ สภาวะแผนกหนึ่ง กามราคาทีนเมว แห่งกิเลสทั้งหลายมีกามราคะเป็นต้นนั่นเอง อนญฺสาธารโณ ซึ่งมีไม่ทั่วไปกับกิเลสประการอื่น อิติ เพราะเหตุนั้น อลํ วิวาเทน พอที ด้วยการกล่าวโต้แย้ง ฯ (จบ ๒๕๓๓) (๒๕๐๗) กามราโคเยว อนุสโย อนุสัยคือกามราคะ กามราคานุสโย ชื่อว่า กามราคานุสัย ฯ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

313

อธิบายสัญโญชน์ ๑๐ สญฺโชนา ที่ชื่อว่าสัญโญชน์ สํโยเชนฺติ พนฺธนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า ประกอบสัตว์ไว้ คือ ผูกพันสัตว์ไว้ ฯ

อธิบายกิเลส ๑๐ กิเลสา สภาวธรรมที่ชื่อว่ากิเลส จิตฺตํ กิลิสฺสติ อุปตปฺปติ พาธิยติ วา เอเตหีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเหตุเศร้าหมอง คือ เข้าไปเดือดร้อน หรือ ล�ำบากแห่งจิต ฯ

อธิบายค�ำที่เหลือ กามภวนาเมนาติ บทว่า กามภวนาเมน (โดยชื่อของกามและภพ) ได้แก่ กามภวสงฺขาตานมาลมฺพนานํ นาเมน โดยชื่อของอารมณ์กล่าวคือกามและภพ ฯ ตถาปวตฺตนฺติ บทว่า ตถาปวตฺตํ (ที่เป็นไปแล้วโดยประการนั้น) โดยอรรถว่า ปวตฺตํ ที่เป็นไปแล้ว สีลพฺพตาทีนํ อามสนาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจอาการมีอาทิเช่น เชื่อมั่นศีลพรตเป็นต้น ปรโต โดยประการอื่น ฯ

อธิบายคาถาสังคหะ (บ.ศ. ๙ ๒๕๓๖, ป.ธ. ๙ ๒๕๔๐) ปาปานํ อกุสลานํ สงฺคโห นวธา วุตโฺ ต ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวการรวบรวมบาปธรรมทั้งหลาย ที่ชื่อว่าอกุศลธรรม ทั้งหลายไว้ ๙ หมวด อาสโวฆา ฯเปฯ ทส อิติ เอวํ อย่างนี้ คือ วตฺถุโต ว่าโดยวัตถุ ธมฺมโต วุตฺตนเยน คือ ว่าตามนัยที่กล่าวโดยธรรม อาสโวฆา จ อาสวะหมวด ๑ โอฆะหมวด ๑ โยคา จ โยคะหมวด ๑ คนฺถา จ คันถะหมวด ๑ ตโย วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้หมวดละ ๓ ประการ ตถา อุปาทานา ทุเว วุตฺตา ตณฺหาทิฏวเสน อุปาทานก็เหมือนกัน คือ ตรัสไว้ ๒ ประการ ได้แก่ โลภ เจตสิกกับทิฏฐิเจตสิกหมวด ๑ นีวรณา อฏ สิยุํ นิวรณธรรมพึงมี ๘ ประการ


314

ปริเฉทที่ ๗

หมวด ๑ ถีนมิทฺธอุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจานํ วิสุํ คหณโต เพราะจัดถีนเจตสิก มิทธเจตสิก อุทธัจจเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก แยกจากกัน ฯ อนุสยา ฉเฬว โหนฺติ อนุสัย ย่อมมี ๖ ประการเท่านั้นหมวด ๑ กามราคภวราคานุสยานํ ตณฺหาสภาเวน เอกโต คหิตตฺตา เพราะรวมกามราคานุสยั กับภวราคานุสยั เป็นข้อเดียวกัน โดยเป็น โลภเจตสิกเหมือนกัน ฯ นว สญฺโชนา มตา สังโยชน์บณ ั ฑิตกล่าวไว้ ๙ ประการ หมวด ๑ อุภยตฺถ วุตฺตานํ ตณฺหาสภาวานํ ทิฏสภาวานญฺจ เอเกกสงฺคหิตตฺตา เพราะรวมอกุศลธรรมทั้งหลาย ซึ่งเป็นโลภเจตสิกเหมือนกัน และรวมอกุศลธรรม ทั้งหลาย ซึ่งเป็นทิฏฐิเจตสิกเหมือนกัน ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระสูตร และในพระอภิธรรมทั้งสอง เป็นอย่างละข้อ ฯ ปน ส่วน กิเลสา สุตฺตนฺตวเสน อภิธมฺมวเสนปิ ทส กิเลส ว่าทัง้ ด้วยอ�ำนาจพระสูตร ว่าทัง้ ด้วยอ�ำนาจพระอภิธรรม ย่อมมี ๑๐ ประการหมวด ๑ ฯ จ ก็ เอตฺถ ในอกุศลสังคหะนี้ นว สงฺ ค หา มี ก ารรวบรวมอกุ ศ ลธรรมทั้ ง หลายไว้ ๙ หมวด นวฏฺ ฯเปฯ ปาปา อิจฺเจวํ อย่างนี้ คือ นวฏสงฺคหา โลภทิฏโย โลภเจตสิ ก มี ใ นสั ง คหะ ๙ หมวด ๑ ทิ ฏ ฐิ เ จตสิ ก มี ใ นสั ง คหะ ๘ หมวด ๑ สตฺตสงฺคหา อวิชฺชา โมหเจตสิกมีในสังคหะ ๗ หมวด ๑ ปฏิโฆ ปญฺจสงฺคโห โทสเจตสิกมีในสังคหะ ๕ หมวด ๑ จตุ ส งฺ ค หา กงฺ ข า วิ จิ กิ จ ฉาเจตสิ ก มี ใ นสั ง คหะ ๔ หมวด ๑ ติสงฺคหา มานุทฺธจฺจา มานเจตสิก ๑ อุทธัจจเจตสิก ๑ มีในสังคหะ อย่างละ ๓ หมวด ถีนํ ทฺวสิ งฺคหํ ถีนเจตสิกมีในสังคหะ ๒ หมวด ๑ กุกฺกุจฺจมิทฺธาหิริกาโนตฺตปฺปิสฺสานิคูหนา เอกสงฺคหิตา ปาปา บาปธรรมทั้งหลาย คือ กุกกุจจเจตสิก มิทธเจตสิก อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก อิสสาเจตสิก และมัจฉริยเจตสิก มีในสังคหะ อย่างละ ๑ หมวด ๑ ฯ (จบ บ.ศ. ๙ ๒๕๓๖, ป.ธ. ๙ ๒๕๐๗, ๒๕๔๐) จบอกุศลสังคหะ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

315

{อธิบายมิสสกสังคหะ} อธิบายเหตุธรรม ๖ เหตูสุ วตฺตพฺพํ ค�ำที่จะพึงกล่าวในเหตุธรรมทั้งหลาย เหฏาวุตฺตเมว ข้าพเจ้ากล่าวไว้เสร็จแล้วข้างต้น ฯ

อธิบายองค์ฌาน ๗ ฌานงฺคานิ ธรรมชาตทีช่ อื่ ว่าองค์ฌาน อาลมฺพนํ อุปคนฺตวฺ า จินตฺ นสงฺขาเตน อุปนิชฺฌานตฺเถน ยถารหํ ปจฺจนิกธมฺมชฺฌาปนตฺเถน จ ฌานานิ จ ตานิ องฺคานิ จ สมุทิตานํ อวยวภาเวน อติยนฺติ ายนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ชื่อว่าองค์ เพราะอรรถว่า อันท่านก�ำหนดไว้ คือ รู้ได้ โดยความเป็นส่วนย่อย แห่งธรรมทั้งหลายที่ผุดขึ้น ดังนี้ เหล่านั้นด้วย ชื่อว่าเป็นฌาน เพราะอรรถว่า เพ่งอารมณ์อย่างแน่วแน่ กล่าวคือคิดเข้าไปถึงอารมณ์ และเพราะอรรถว่าแผดเผา ธรรมทีเ่ ป็นข้าศึกตามสมควรด้วย ฯ จ ก็ อวยววินมิ ตุ ตฺ สฺส สมุทายสฺส อภาเวปิ แม้เมือ่ ไม่มหี มวดธรรมทีพ่ น้ จากองค์ประกอบ (วิตกฺกาทโย ฌานงฺคานีต)ิ วุจจฺ นฺติ สภาวธรรมมีวิตกเป็นต้น บัณฑิตทั้งหลายก็เรียกว่า องค์ฌาน เอกโต หุตฺวา ฌานภาเวน โดยภาวะที่รวมกันเข้าเป็นฌาน เสนางฺครถงฺคาทโย วิย วิสุํ วิสุํ องฺคภาเวน เปรียบเหมือนเรียกว่า กองทหารและตัวรถเป็นต้น โดยภาวะ แห่งองค์ประกอบแต่ละอย่างมารวมกัน ฉะนั้น ฯ จ ก็ เอตฺถ ในบรรดา องค์ฌาน ๗ นี้ โทมนสฺสํ อกุสลชฺฌานงฺคํ โทมนัสเป็นองค์ฌานที่เป็นอกุศล เสสานิ กุสลากุสลพฺยากตชฺฌานงฺคานิ องค์ฌานที่เหลือเป็นองค์ที่เป็นกุศล อกุศล และอัพยากฤต ฯ


316

ปริเฉทที่ ๗

อธิบายองค์มรรค ๑๒ มคฺคา เตสํ ปถภูตานิ องฺคานิ องค์ทั้งหลาย อันเป็นทางแห่งสภาวธรรม ทั้งหลาย ที่ชื่อว่ามรรค สุคติทุคฺคตีนํ นิพฺพานสฺส จ อภิมุขํ ปาปนโต เพราะเป็น เครื่องยังเหล่าสัตว์ให้มุ่งหน้าไปถึงสุคติ ทุคคติ และพระนิพพาน มคฺคสฺส วา อฏงฺคิกสฺส องฺคานิ หรือองค์ทั้งหลายแห่งมรรคมีองค์ ๘ ประการ มคฺคงฺคานิ ชื่อว่า องค์มรรค ฯ สมฺมาทิฏ ิ ที่ชื่อว่าสัมมาทิฏฐิ สมฺมา อวิปรีตโต ปสฺสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เห็นโดยชอบ คือ โดยไม่ผิด ฯ ปน ก็ สา สัมมาทิฏฐินั้น อตฺถิ ทินนฺ นฺตอิ าทิวเสน ทสวิธา มี ๑๐ อย่าง ด้วยอ�ำนาจความเห็นชอบเป็นต้นว่า ทานทีบ่ คุ คลให้แล้ว ย่อมมีผลจริง ดังนี้ ปริญ ฺ าทิกจิ จฺ วเสน จตุพพฺ ธิ า วา หรือมี ๔ อย่างด้วยอ�ำนาจกิจมีปริญญากิจเป็นต้น ฯ สมฺมาสงฺกปฺโป ทีช่ อื่ ว่า สัมมาสังกัปปะ สมฺมา สงฺกปฺเปนฺติ เอเตนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องด�ำริโดยชอบ แห่งเหล่าชน ฯ โส สัมมาสังกัปปะนั้น เนกฺขมฺมสงฺกปฺปอพฺยาปาทสงฺกปฺปอวิหสึ าสงฺกปฺปวเสน ติวโิ ธ มี ๓ อย่าง คือ เนกขัมมสังกัปปะ อัพยาปาทสังกัปปะ และอวิหิงสาสังกัปปะ ฯ สมฺมาวาจาทโย องค์มรรคมีสัมมาวาจาเป็นต้น เหฏา วิภาวิตาว ข้าพเจ้าได้อธิบายไว้แจ่มแจ้งแล้วข้างต้น ฯ สมฺมาวายาโม สภาวธรรม ที่ชื่อว่าสัมมาวายามะ สมฺมา วายมนฺติ เอเตนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องพยายามโดยชอบแห่งเหล่าชน ฯ สมฺมาสติ ธรรมชาติที่ชื่อว่าสัมมาสติ สมฺมา สรนฺติ เอตายาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องระลึกโดยชอบ แห่งเหล่าชน ฯ ปน ก็ อิเมสํ ปเภทํ ประเภทแห่งสัมมาวายามะและสัมมาสติ เหล่านี้ อุปริ วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าวไว้ข้างหน้า ฯ สมฺมาสมาธิ สภาวธรรมที่ชื่อว่าสัมมาสมาธิ สมฺมา สมญฺจ อาธิยติ เอเตน จิตฺตนฺติ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องตั้งมั่นโดยชอบและสม�่ำเสมอแห่งจิต ฯ ปญฺจวิธา เอกคฺคตา เอกัคคตามี ๕ อย่าง ปมชฺฌานาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจปฐมฌาน เป็นต้น ฯ มิจฺฉาทิฏอาทโย สภาวธรรมมีมิจฉาทิฏฐิเป็นต้น มคฺคงฺคานิ ชื่อว่า เป็นองค์มรรค ทุคฺคติมคฺคงฺคตฺตา เพราะเป็นองค์แห่งทางไปสู่ทุคคติ ฯ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

317

อธิบายอินทรีย์ ๒๒ ทสฺสนาทีสุ ฯเปฯ นามาติ (มนสิกตฺวา) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงว่า ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย ทสฺสนาทีสุ จกฺขุวิญฺาณาทีหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ที่ยังจักขุวิญญาณจิตเป็นต้นให้เป็นไปตามตน ในทัสสนกิจเป็นต้น เยภุยฺเยน ตํสหิตสนฺตานปฺปวตฺติยํ ลิงฺคาทีหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ยังเพศเป็นต้น ให้เป็นไปตามตน ในกาลเป็นไปในสันดานที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยจักขุวิญญาณจิต เป็นต้นนั้น โดยมาก ชีวเน ชีวนฺเตหิ กมฺมชรูปสมฺปยุตฺตธมฺเมหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ยังธรรมที่สัมปยุตด้วยกัมมชรูปที่เป็นอยู่ให้เป็นไปตามตน ในกาลที่ เ ป็ น อยู ่ มนเนว สมฺ ป ยุ ตฺ ต ธมฺ เ มหิ (อตฺ ต านํ อนุ ว ตฺ ต าเปนฺ ต า) ยั ง สั ม ปยุ ต ธรรมทั้ ง หลายให้ เ ป็ น ไปตามตน เฉพาะในกาลที่ รู ้ สุ ขิ ต าทิ ภ าเว สุขิตาทีหิ สหเชหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ยังธรรมทั้งหลายที่เกิดพร้อม ด้วยโสมนัสเป็นต้นให้เป็นไปตามตน ในความที่ธรรมเกิดพร้อมด้วยโสมนัสเป็นต้น สทฺทหนาทีสุ สทฺทหนาทิวสปฺปวตฺเตหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ยังธรรม ทัง้ หลายทีเ่ ป็นไปด้วยอ�ำนาจความเชือ่ เป็นต้นให้เป็นไปตามตน ในความเชือ่ เป็นต้น เตเหว อนญฺตญฺสฺสามีติ ปวตฺติยํ ตถาปวตฺเตหิ สหชาเตหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ยังสหชาตธรรมทัง้ หลายซึง่ เป็นไปแล้วอย่างนัน้ ให้เป็นไปตามตน ในกาลที่เป็นไปว่า เราจักรู้ส่ิงที่ยังไม่รู้ให้ได้ ด้วยธรรมเหล่านั้นแล อาชานเน อญฺาตาวิภาเว จ อาชานนาทิวสปฺปวตฺเตหิ อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา (และ) ยังธรรมทั้งหลายที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจความรู้ทั่วเป็นต้นให้เป็นไปตามตน ในความรู้ ทั่วและในความเป็นผู้รู้ทั่ว อินฺทฺริยานิ นาม ชื่อว่า อินทรีย์ อิสฺสรตฺเถน เพราะอรรถว่าเป็นใหญ่ ดังนี้ อาห จกฺขุนฺทฺริยนฺติอาทิ จึงกล่าวว่า จกฺขุนฺทฺริยํ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ส่วน อฏกถายํ ในอรรถกถา อปเรปิ อินฺทฺริยลิงฺคตฺถาทโย อิ นฺ ทฺ ริ ย ตฺ ถ า วุ ตฺ ต า พระพุ ท ธโฆษาจารย์ ก ล่ า วอรรถแห่ ง อิ น ทรี ย ์ ทั้ ง หลาย มีอรรถว่าเชิดชูกรรมที่เป็นใหญ่เป็นต้น แม้อื่นอีก ฯ


318

ปริเฉทที่ ๗

(๒๕๒๕) ชีวิตินฺทฺริยนฺติ ที่ชื่อว่าชีวิตินทรีย์ ได้แก่ รูปารูปวเสน ทุวิธํ ชีวิตินฺทฺริยํ ชีวิตินทรีย์ ๒ อย่าง คือ รูปชีวิตินทรีย์ (ชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูป) ๑ อรูปชีวิตินทรีย์ (ชีวิตินทรีย์ที่เป็นนาม) ๑ ฯ ปฏิปนฺนสฺส อินฺทฺริยํ อินทรีย์ของ ท่านผู้ปฏิบัติ อนมตคฺเค ฯเปฯ สฺสามีติ เอวมชฺฌาสเยน โดยอัธยาศัย อย่างนี้ว่า อนมตคฺเค สํสาเร อนญฺาตํ อมตปทํ จตุสจฺจธมฺมเมว วา สฺสามิ เราจักรู้สิ่งที่ยังไม่รู้ในสงสารที่มีเบื้องต้นและที่สุด อันบุคคลรู้ตามไม่ได้แล้ว คือ อมตบท หรือสัจจธรรม ๔ ประการนั่นเอง อนญฺตญฺสฺสามีตินฺทฺริยํ ชื่อว่า อนัญญตัญญัสสามีตินทรีย์ ฯ (ญาณใด) อาชานาติ ย่อมรู้ทั่วถึง ปมมคฺเคน ทิฏมริยาทํ อนติกฺกมิตฺวา ชานาติ คือ รู้ไม่เลยเขตแดนอันโสดาปัตติมรรค เห็นแล้วด้วย อินฺทฺริยญฺจ เป็นอินทรีย์ด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น (ญาณนั้น) อญฺนฺทฺริยํ ชื่อว่า อัญญินทรีย์ ฯ อินฺทฺริยํ อินทรีย์ อญฺาตาวิโน ของท่าน ผูร้ ทู้ วั่ ถึงแล้ว จตฺตาริ สจฺจานิ ปฏิวชิ ฌ ฺ ติ วฺ า ตสฺส อรหโต คือ ของพระอรหันต์ ผู้รู้แจ้งสัจจะ ๔ ประการ แล้วด�ำรง (ชีพ) อยู่ อญฺาตาวินฺทฺริยํ ชื่อว่า อัญญาตาวินทรีย์ ฯ จ ก็ เอตฺถ ในที่นี้ ธมฺมสรูปวิภาวนตฺถํ เพื่อทรงอธิบาย สภาวธรรม ปญฺนฺทฺริยคฺคหณํ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสศัพท์ว่า ปัญญินทรีย์ ไว้ ฯ ปุคฺคลชฺฌาสยกิจฺจวิเสสวิภาวนตฺถํ เพื่อทรงอธิบายหน้าที่พิเศษแห่ง อัธยาศัยแห่งบุคคล อนญฺตญฺสฺสามีตินฺทฺริยาทีนํ คหณํ จึงตรัสศัพท์ว่า อนัญญตัญญัสสามีตินทรีย์ เป็นต้นไว้ ฯ จ ก็ เอตฺถ ในที่นี้ อชฺฌตฺติกายตนานิ อาทิโต วุตตฺ านิ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสอินทรียท์ เี่ ป็นอายตนะภายใน (๕ ประการ) ไว้เบื้องต้น สตฺตปญฺตฺติยา วิเสสนิสฺสยตฺตา เพราะเป็นที่อยู่อาศัยพิเศษแห่ง การบัญญัติว่าสัตว์ ฯ ปน ส่วน มนินฺทฺริยํ มนินทรีย์ เอตฺเถว วตฺตพฺพมฺปิ แม้ควร ตรัสไว้ในอินทรียท์ เี่ ป็นอายตนะภายในนีเ้ หมือนกัน อชฺฌตฺตกิ ายตนภาวสามญฺเน โดยเป็นอินทรีย์ท่ีเป็นอายตนะภายในเหมือนกัน ชีวิตินฺทฺริยานนฺตรํ วุตฺตํ (แต่) ตรัสไว้ในล�ำดับต่อจากชีวิตินทรีย์ อรูปินฺทฺริเยหิ สห เอกโต ทสฺสนตฺถํ เพื่อ ทรงแสดงไว้รวมกับอินทรีย์ที่เป็นอรูป (เป็นนาม) ฯ ตทนนฺตรํ ภาวทฺวยํ วุตฺตํ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

319

ตรัสอินทรีย์ที่เป็นภาวรูป ๒ ประการไว้ ในล�ำดับต่อจากอินทรีย์ที่เป็นอายตนะ ภายในนั้น สายํ ฯเปฯ คจฺฉตีติ ทสฺสนตฺถํ เพื่อทรงแสดงว่า สายํ ปญฺตฺติ บัญญัตินี้นั้น อิตฺถี ปุริโสติ วิภาคํ คจฺฉติ ย่อมถึงการจ�ำแนกได้ว่า เป็นหญิง เป็นชาย อิเมสํ วเสน ด้วยอ�ำนาจอินทรีย์ที่เป็นภาวรูป ๒ ประการเหล่านี้ ฯ ตโต ต่อแต่นั้น ชีวิตินฺทฺริยํ (วุตฺตํ) ตรัสชีวิตินทรีย์ไว้ ตยิเม ฯเปฯ ติฏนฺตีติ ทสฺสนตฺถํ เพื่อทรงแสดงว่า ตยิเม อุปาทินฺนธมฺมา อุปาทินนธรรมเหล่านี้นั้น อิมสฺส วเสน ติฏนฺติ ย่อมด�ำรงอยู่ได้ด้วยอ�ำนาจชีวิตินทรีย์นี้ ฯ ตโต ต่อแต่นั้น เวทนาปญฺจกํ (วุตตฺ )ํ ตรัสอินทรียท์ เี่ ป็นเวทนา ๕ ประการไว้ สตฺตสญฺโ ต ฯเปฯ สงฺกิลิสฺสตีติ ทสฺสนตฺถํ เพื่อทรงแสดงว่า สตฺตสญฺโต ธมฺมปุญฺโช กองธรรม ทีเ่ ข้าใจกันว่าสัตว์ ปพนฺธวเสน ปวตฺตมาโน เป็นไปอยูไ่ ด้ดว้ ยอ�ำนาจความต่อเนือ่ งกัน อิมาหิ เวทนาหิ สงฺกิลสิ ฺสติ ย่อมเศร้าหมองด้วยอินทรีย์ที่เป็นเวทนา (๕ ประการ) เหล่านี้ ฯ ปน ก็ ตโต ต่อแต่นนั้ สทฺธาทิปญฺจกํ (วุตตฺ )ํ ตรัสอินทรีย์ ๕ ประการ มีสทั ธินทรียเ์ ป็นต้นไว้ โวทานสมฺภารทสฺสนตฺถํ เพือ่ ทรงแสดงธรรมอันเป็นเหตุผอ่ งแผ้ว ที่ควรบ�ำเพ็ญ ตาหิ วิสุทฺธิกามานํ (สตฺตานํ) แก่เหล่าสัตว์ผู้ต้องการความบริสุทธิ์ จากอินทรีย์ที่เป็นเวทนา ๕ ประการเหล่านั้น ฯ อนฺเต ในที่สุด ตีณิ วุตฺตานิ ตรัสอินทรีย์ ๓ ประการไว้ สมฺภต- ฯเปฯ โหนฺตีติ ทสฺสนตฺถํ เพื่อทรงแสดงว่า จ ก็ สมฺภตโวทานสมฺภารา (สตฺตา) เหล่าสัตว์ผู้มีธรรมอันเป็นเหตุผ่องแผ้วที่ควร บ�ำเพ็ญได้บ�ำเพ็ญเพียบพร้อมแล้ว อิเมหิ วิสุชฺฌนฺติ ย่อมบริสุทธิ์ได้ด้วยอินทรีย์ ๓ ประการเหล่านี้ อิติ เพราะเหตุนนั้ (เต) สัตว์เหล่านัน้ วิสทุ ธฺ ปิ ปฺ ตฺตา นิฏ ต กิจจฺ า จ โหนฺติ จึงเป็นผูบ้ รรลุถงึ ความบริสทุ ธิแ์ ล้ว และเป็นผูเ้ สร็จกิจแล้ว ฯ เอตฺตาวตา ด้วยการทรงแสดงอินทรียธรรมเพียงเท่านี้ อธิปฺเปตตฺถสิทฺธิ ย่อมส�ำเร็จความ ที่ทรงพระประสงค์แล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น อญฺเสํ อคฺคหณํ จึงไม่ทรงระบุ ธรรมเหล่าอื่นไว้(อีก) อิติ อิทํ รวมความดังกล่าวมานี้ เอเตสํ อนุกฺกเมน เทสนาย การณํ คือ เหตุแห่งการทรงแสดงอินทรียธรรมเหล่านั้นตามล�ำดับ อิติ เพราะเหตุนนั้ อลมติปปญฺเจน พอทีไม่ตอ้ งให้พสิ ดารมากนัก ฯ (จบ ๒๕๒๕)


320

ปริเฉทที่ ๗

อธิบายพละ ๙ สทฺธาทีนิ สตฺต ธรรม ๗ ประการมีสัทธาเป็นต้น พลานิ ชื่อว่า พละ อกมฺปิยตฺเถน เพราะอรรถว่าไม่หวั่นไหว อสทฺธิยโกสชฺชปมาทอุทฺธจฺจอวิชฺชาอหิริกอโนตฺตปฺปสงฺขาเตหิ ปฏิปกฺขธมฺเมหิ ด้วยธรรมที่เป็นข้าศึก กล่าวคือ อสัทธิยะ โกสัชชะ ปมาทะ อุทธัจจะ อวิชชา อหิริกะ และอโนตตัปปะ สมฺปยุตฺตธมฺเมสุ ถิรภาเวน จ และเพราะความมั่นคงในสัมปยุตธรรมทั้งหลาย ฯ ปน ส่วน อหิริกาโนตฺตปฺปทฺวยํ อหิริกะและอโนตตัปปะทั้ง ๒ ประการ (พลํ) ชื่อว่า พละ สมฺปยุตฺตธมฺเมสุ ถิรภาเวเนว เพราะมั่นคงในสัมปยุตธรรมทั้งหลาย เท่านั้น ฯ

อธิบายอธิปติธรรม ๔ ธมฺ ม า ธรรมทั้ ง หลาย อตฺ ต าธี น ปวตฺ ตี นํ ปติ ภู ต า ซึ่ ง เป็ น ใหญ่ ก ว่ า สัมปยุตธรรมที่มีความเป็นไปเนื่องกับตน อธิปตี ชื่อว่า อธิบดี ฯ หิ ความจริง ฉนฺทวโต กินนฺ าม น สิชฌ ฺ ตีตอิ าทิกํ ปุพพฺ าภิสงฺขารูปนิสสฺ ยํ ลภิตวฺ า อุปปฺ ชฺชมาเน จิตฺเต เมื่อจิตได้การปรุงแต่งเบื้องต้นเป็นต้นว่า ชื่อว่าอะไรเล่า จะไม่ส�ำเร็จแก่ผู้มี ความพอใจ ดังนี้ เป็นทีอ่ งิ อาศัย เกิดขึน้ อยู่ ฉนฺทาทโย อธิบดีธรรม ๔ มีฉนั ทาธิบดี เป็นต้น ธูรภูตา ก็รับหน้าที่ สยํ สมฺปยุตฺตธมฺเม สาธยมานา หุตฺวา ปวตฺตนฺติ ยังสัมปยุตธรรมให้ส�ำเร็จไปเสียเอง ฯ จ ก็ เต สัมปยุตธรรมเหล่านั้น เตสํ วเสน ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไปด้วยอ�ำนาจอธิบดีธรรม ๔ เหล่านั้น เตน เหตุนั้น เต อธิบดีธรรม ๔ เหล่านัน้ ปวตฺตนฺติ จึงเป็นไป อตฺตาธีนานํ ปติภาเวน โดยความ เป็นใหญ่กว่าสัมปยุตธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับตน ฯ อญฺเสํ ฯเปฯ อินฺทฺริยตาติ อยํ อธิปตินฺทฺริยานํ วิเสโส อธิปติธรรมและอินทรียธรรมมีความต่างกันดังนี้ คือ อิสฺสริยํ ความเป็นใหญ่ อญฺเสํ อธิปติธมฺมานํ อธิปติภาวนิวารณวเสน ด้วยอ�ำนาจห้ามความเป็นอธิบดีแห่งธรรมที่เป็นใหญ่เหล่าอื่น อธิปติตา ชื่อว่า ความเป็นอธิปติธรรม ฯ เกวลํ ทสฺสนาทีสุ จกฺขุวิญฺาณาทีหิ อนุวตฺตาปนมตฺตํ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

321

เพียงการท�ำจักขุวญ ิ ญาณจิตเป็นต้นให้เป็นไปตามตน ในทัสสนกิจเป็นต้น อย่างเดียว สนฺเตสุปิ อินฺทฺริยนฺตเรสุ ในเมื่ออินทรียธรรมเหล่าอื่น แม้ยังมีอยู่ อินฺทฺริยตา ชื่อว่า ความเป็นอินทรียธรรม ฯ

อธิบายอาหาร ๔ อาหารา สภาวธรรมที่ชื่อว่าอาหาร โอชฏมกรูปาทโย อาหรนฺตีติ เพราะ อรรถวิเคราะห์วา่ น�ำรูปมีโอชาเป็นที่ ๘ เป็นต้นมา ฯ หิ ความจริง กวฬีการาหาโร กวฬีการาหาร โอชฏมกรูปํ อาหรติ ย่อมน�ำรูปที่มีโอชาเป็นที่ ๘ มา ฯ ผสฺสาหาโร ผัสสาหาร ติสฺโส เวทนา (อาหรติ) ย่อมน�ำเวทนา ๓ มา ฯ กุ ส ลากุ ส ลกมฺ มํ กุ ศ ลกรรมและอกุ ศ ลกรรม มโนสญฺ เ จตนาหารสงฺ ข าตํ กล่าวคือมโนสัญเจตนาหาร ตีสุ ภเวสุ ปฏิสนฺธึ (อาหรติ) ย่อมน�ำปฏิสนธิ ในภพทั้ง ๓ มา ฯ ปฏิสนฺธิวิญฺาณํ ปฏิสนธิวิญญาณ วิญฺาณาหารสงฺขาตํ กล่าวคือวิญญาณาหาร สหชาตนามรูเป อาหรติ ย่อมน�ำนามและรูปซึ่งเกิด ร่วมกันมา ฯ อญฺเปิ ธรรมแม้เหล่าอื่น สกสกปจฺจยุปฺปนฺเน อาหรนฺตา ซึ่งน�ำธรรมที่อาศัยปัจจัยของตน ๆ เกิดขึ้นมา อตฺถิ มีอยู่ กิญฺจาปิ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น อิเมเยว ธรรม ๔ อย่างนี้เท่านั้น จตฺตาโร อาหาราติ วุตฺตา พระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า อาหาร ๔ อชฺฌตฺตกิ สนฺตติยา วิเสสปฺปจฺจยตฺตา เพราะเป็นปัจจัยพิเศษแก่ความสืบต่อทีเ่ ป็นไปภายใน ฯ หิ ความจริง กวฬีการาหาโร กวฬีการาหาร วิเสสปฺปจฺจโย ชื่อว่า เป็นปัจจัยพิเศษ รูปกายสฺส แก่รูปกาย กวฬี ก าราหารภกฺ ข านํ สตฺ ต านํ ของเหล่ า สั ต ว์ ผู ้ มี ก วฬี ก าราหารเป็ น ภั ก ษา กมฺมาทิชนิตสฺสาปิ ตสฺส กวฬีการาหารุปตฺถมฺภพเลเนว ทสวสฺสาทิปวตฺตสิ มฺภวโต เพราะรูปกายนัน้ แม้อนั ปัจจัยมีกรรมเป็นต้นให้เกิดแล้ว ก็มคี วามเป็นไปตลอด ๑๐ ปี เป็นต้นได้ ด้วยก�ำลังกวฬีการาหารคอยช่วยอุปถัมภ์นนั่ เอง ฯ ตถาหิ จริงอย่างนัน้ เอโส กวฬีการาหารนี้ ธาตี วิย ฯเปฯ เคหสฺสาติ วุตฺโต ท่านอาจารย์กล่าวว่า ธาตี วิย กุมารสฺส คล้ายกับแม่นมคอยอุปถัมภ์กุมาร อุปตฺถมฺภนกยนฺตํ วิย


322

ปริเฉทที่ ๗

เคหสฺส คล้ายกับแม่แรงช่วยค�ำ้ เรือน ฉะนัน้ ฯ ผสฺโสปิ แม้ผสั สาหาร สุขาทิวตฺถภุ ตู ํ อารมฺมณํ ผุสนฺโตเยว ซึ่งถูกต้องอารมณ์อันเป็นที่ตั้งอาศัยแห่งสุขเวทนาเป็นต้น นั่นเอง สตฺตานํ ิติยา ปจฺจโย โหติ ก็เป็นปัจจัยแก่การด�ำรงอยู่แห่งเหล่าสัตว์ สุขาทิเวทนาปฺปวตฺตเนน โดยความเป็นไปแห่งสุขเวทนาเป็นต้น ฯ มโนสญฺเจตนา มโนสัญเจตนาหาร กุสลากุสลกมฺมวเสน อายูหมานาเยว ประมวลมาด้วยอ�ำนาจ กุศลกรรมและอกุศลกรรมนั่นแล สตฺตานํ ติยา ปจฺจโย โหติ เป็นปัจจัยแก่ ความด�ำรงอยูแ่ ห่งเหล่าสัตว์ ภวมูลนิปผฺ าทนโต โดยให้สำ� เร็จมูลแห่งภพ (ปฏิสนธิ วิญญาณ) ฯ วิญฺาณํ วิญญาณาหาร วิชานนฺตเมว ซึ่งรู้แจ้งอารมณ์อยู่เท่านั้น สตฺตานํ ติยา ปจฺจโย โหติ ย่อมเป็นปัจจัยแก่ความด�ำรงอยู่แห่งเหล่าสัตว์ นามรูปปฺปวตฺตเนน โดยความเป็นไปแห่งนามและรูป อิติ รวมความดังกล่าวมานี้ เอเตเยว ธรรม ๔ อย่างเหล่านี้เท่านั้น อาหาราติ วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเรียกว่า อาหาร อชฺฌตฺตสนฺตานสฺส วิเสสปฺปจฺจยตฺตา เพราะเป็นปัจจัยพิเศษ แก่ความสืบต่อภายใน เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ ฯ ผสฺสาทีนํ ทุติยาทิภาโว ความที่ผัสสาหารเป็นต้นเป็นที่ ๒ เป็นอาทิ เทสนากฺกมโต (วุตฺโต) ตรัสไว้แล้ว โดยล�ำดับเทศนา น อุปปฺ ตฺตกิ กฺ มโต (วุตโฺ ต) หาตรัสไว้โดยล�ำดับความเกิดขึน้ ไม่ ฯ

อธิบายค�ำที่เหลือ (บ.ศ. ๙ ๒๕๔๓, ๒๕๔๙, ป.ธ. ๙ ๒๕๔๗) ปญฺจวิญฺาณานํ ฯเปฯ วุตฺตนฺติ อิมมตฺถํ มนสิ นิธาย ท่านพระอนุรุทธาจารย์ตั้งใจถึงอธิบายความนี้ว่า ปญฺจวิญฺาณานํ วิตกฺก วิรเหน อารมฺ ม เณสุ อภิ นิ ปาตมตฺ ตตฺ ตา เพราะ ปัญจวิญญาณจิตทัง้ หลาย (๑๐ ดวง) เป็นเพียงตกลงในอารมณ์ทงั้ หลาย (๕ ประการ มีรูปารมณ์เป็นต้น) โดยเว้นจากวิตกเจตสิก อุเปกฺขาสุขทุกฺขานิ อุเบกขาเวทนา สุขเวทนา และทุกขเวทนา เตสุ วิชฺชมานานิปิ แม้จะมีอยู่ในปัญจวิญญาณจิต เหล่านั้น น อุทฺธฏานิ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็มิได้ทรงยกขึ้นแสดง ฌานงฺคภาเวน โดยความเป็นองค์ฌาน อุปนิชฌ ฺ านาการสฺส อภาวโต เพราะไม่มอี าการเพ่งอารมณ์


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

323

ทีแ่ นวแน่ ฯ หิ ความจริง ฌานงฺคํ องค์ฌาน วิตกฺกปจฺฉมิ กํ วุตตฺ ํ พระผูม้ พี ระภาคเจ้า ตรัสว่า มีภายหลังวิตกเจตสิก ฯ โสฬสจิตฺเตสุ วิริยาภาวโต เพราะวิริยเจตสิก ไม่เกิดมีในจิต ๑๖ ดวง ทฺวิปญฺจวิญฺาณมโนธาตุตฺติกสนฺตีรณตฺติกวเสน คือ ปัญจวิญญาณจิตทั้ง ๒ ฝ่าย (๑๐ ดวง) มโนธาตุจิต ๓ ดวง และสันตีรณจิต ๓ ดวง สมาธิ เอกัคคตาเจตสิก ตตฺถ วิชฺชมาโนปิ แม้จะมีอยู่ในจิต ๑๖ ดวงนั้น พลวภาวํ (พลภาวํ) น คจฺฉติ ก็ไม่ถึงภาวะเป็นพลธรรม ฯ วิริย- ฯเปฯ พลนฺติ หิ วุตฺตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า วิริยปจฺฉิมกํ พลํ พลธรรม มีภายหลังวิริยเจตสิก ฯ ตถา อนึ่ง อฏารสเหตุเกสุ ในอเหตุกจิต ๑๘ ดวง มคฺคงฺคานิ น ลพฺภนฺติ ก็หาองค์มรรคทั้งหลายไม่ได้ เหตุกวิรหโต เพราะเว้นจากเหตุธรรม (๖ ประการ) ฯ เหตุ- ฯเปฯ มคฺคงฺคนฺติ หิ วุตฺตํ สมจริ ง ดั ง พระด� ำ รั ส ที่ พ ระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ตรั ส ไว้ ว ่ า เหตุ ป จฺ ฉิ ม กํ มคฺ ค งฺ คํ องค์มรรค มีภายหลังเหตุธรรม ดังนี้ อาห ปญฺจวิญฺาเณสูติอาทิ จึงกล่าวว่า ปญฺจวิญฺาเณสุ ดังนี้เป็นต้น ฯ ฌานงฺคานิ น ลพฺภนฺตีติ สมฺพนฺโธ เชื่อม ความว่ า (ปญฺ จ วิ ญฺ  าเณสุ ในปั ญ จวิ ญ ญาณจิ ต ทั้ ง หลาย) ฌานงฺ ค านิ น ลพฺภนฺติ ย่อมหาองค์ฌานทั้งหลายไม่ได้ ฯ อธิโมกฺขวิรหโต เพราะเว้นจาก อธิโมกข์เจตสิก เอกคฺคตา เอกัคคตาเจตสิก วิจิกิจฺฉาจิตฺเต ในจิตที่สัมปยุตด้วย วิจิกิจฉาเจตสิก (โมหมูลจิตดวงที่ ๑) จิตฺตฏติมตฺตํ เป็นเพียงความด�ำรงอยู่ แห่งจิต ปน แต่ น มิจฺฉาสมาธิสมาธินฺทฺริยสมาธิพลโวหารํ คจฺฉติ ไม่ถึง จะเรียกว่า มิจฉาสมาธิ สมาธินทรีย์ และสมาธิพละ อิติ เพราะเหตุนั้น อาห ตถา วิจิกิจฺฉาจิตฺเตติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า ตถา วิจิกิจฺฉาจิตเต ดังนี้เป็นต้น ฯ ทฺวิเหตุกติเหตุกคฺคหเณน ด้วยศัพท์ว่า ทวิเหตุกะ และติเหตุกะ เอกเหตุเกสุ อธิปตีนํ อภาวํ ทสฺเสติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์แสดงว่า อธิปติธรรม (๔ ประการ) ไม่เกิดมีในเอกเหตุกจิตทั้งหลาย (โมหมูลจิต ๒ ดวง) ฯ อวธารณํ บทอวธารณะ ชวเนเสฺววาติ (เอตฺถ) ในบทว่า ชวเนเสฺวว นี้ โลกิยวิปาเกสุ อธิ ป ตี นํ อสมฺ ภ วทสฺ ส นตฺ ถํ มี ไ ว้ เ พื่ อ แสดงว่ า อธิ ป ติ ธ รรมทั้ ง หลายไม่ เ กิ ด มี


324

ปริเฉทที่ ๗

ในโลกิยวิบากจิตทัง้ หลาย (๓๒ ดวง) ฯ หิ ความจริง เต โลกิยวิบากจิตเหล่านัน้ น ฉนฺทาทีนิ ปุรกฺขิตฺวา ปวตฺตนฺติ ย่อมไม่เชิดชูอธิปติธรรม ๔ ประการ มี ฉันทาธิปติเป็นต้นเป็นไป ฯ วีมํสาธิปติโน ทฺวิเหตุกชวเนสุ อสมฺภวโต เพราะ วีมังสาธิปติธรรมไม่เกิดมี ในชวนจิตที่เป็นทวิเหตุกะ จิตฺตาภิสงฺขารูปนิสฺสยสฺส จ สมฺภวานุรปู โต และเพราะเหมาะสมแก่ความเกิดมีแห่งอุปนิสยั คือความปรุงแต่งจิต ลพฺภมานตํ สนฺธายาห ยถาสมฺภวนฺติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หมายถึงภาวะแห่ง อธิปติธรรมที่จะหาได้อยู่ จึงกล่าวว่า ยถาสมฺภวํ ดังนี้ ฯ (ทฺวิเหตุกติเหตุกชวเนสุ ในชวนจิตที่เป็นทวิเหตุกะและชวนจิตที่เป็นติเหตุกะทั้งหลาย) เอโกว ลพฺภติ ชือ่ ว่า ย่อมหาอธิปติธรรมได้เพียงประการเดียวเท่านัน้ (ยถาสมฺภวํ ตามทีเ่ กิดมีได้) อิตรถา อธิปติภาวาโยคโต เพราะนอกจากนี้ ไม่ประกอบด้วยภาวะเป็นอธิปติธรรม ฯ (จบ บ.ศ. ๙ ปี ๒๕๔๓) หิ ก็ เตเนว เพราะเหตุนั้นนั่นแหละ ภควตา พระผู้มีพระภาคเจ้า อธิปติ อธิปติสมฺปยุตฺตานนฺติอาทินา (นเยน) อวตฺวา จึงไม่ตรัสไว้โดยนัยเป็นต้นว่า อธิปติธรรม เป็นปัจจัยโดยอธิปติปัจจัย แก่ธรรม ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอธิปติธรรม ดังนี้ เหตุปจฺจยนิทฺเทเส วิย เหมือนตรัสไว้ใน นิเทศแห่งเหตุปจั จัย เหตุ เหตุสมฺปยุตตฺ กานํ ธมฺมานํ เหตุปจฺจเยน ปจฺจโยติอาทินา (นเยน) โดยนัยเป็นต้นว่า เหตุธรรม เป็นปัจจัยโดยเหตุปัจจัย แก่ธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยเหตุธรรม ดังนี้ อธิปติปจฺจโย อุทฺธโฏ แล้วทรงยกอธิปติปัจจัยขึ้น แสดง เอเกกาธิปติวเสเนว ด้วยอ�ำนาจอธิปติธรรมแต่ละอย่างเท่านั้น ฉนฺทาธิปติ ฉนฺทสมฺปยุตฺตกานนฺติอาทินา (นเยน) โดยนัยเป็นต้นว่า ฉันทาธิปติธรรม เป็นปัจจัยโดยอธิปติปัจจัย แก่ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยฉันทาธิปติธรรม ดั้งนี้ ฯ (จบ ๒๕๔๗)


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

325

อธิบายคาถาสังคหะ (บ.ศ.๙ ปี ๒๕๔๐ และ ป.ธ. ๙ ปี ๒๕๓๑) สงฺคโห สังคหะ กุสลาทีหิ ตีหิ สมากิณโฺ ณ ซึง่ ระคนด้วยธรรม ๓ ประการมีกศุ ลธรรมเป็นต้น มิสสฺ กสงฺคโห ชื่อว่ามิสสกสังคหะ เอวํนามโก คือ มีชื่ออย่างนั้น ตโตเยว เพราะระคนด้วย ธรรม ๓ ประการมีกุศลธรรมเป็นต้นนั้นนั่นเอง วตฺถุโต ฯเปฯ วุตฺตาติ สตฺตธา วุตฺโต ท่านอาจารย์กล่าวไว้ ๗ หมวด คือ วตฺถุโต กล่าวโดยวัตถุ ธมฺมวเสน ได้แก่ กล่าวตามอ�ำนาจธรรม เหตุธมฺมา ฉ เหตุธรรม พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ๖ ประการหมวด ๑ ฌานงฺคานิ ปญฺจ องค์ฌานตรัสไว้ ๕ ประการหมวด ๑ โสมนสฺสโทมนสฺสุเปกฺขานํ เวทนาวเสน เอกโต คหิตตฺตา เพราะทรงรวม โสมนัสเวทนา โทมนัสเวทนา และอุเบกขาเวทนา เป็นข้อเดียวกัน คือเป็น เวทนาเจตสิก ฯ มคฺคงฺคานิ นว องค์มรรคตรัสไว้ ๙ ประการหมวด ๑ มิจฉฺ าสงฺกปฺปวายามสมาธีนํ วิตกฺกวิรยิ จิตเฺ ตกคฺคตาสภาเคน สมฺมาสงฺกปฺปาทีหิ สห เอกโต คหิตตฺตา เพราะทรงรวมมิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ และมิจฉาสมาธิ เป็นข้อเดียวกันกับสัมมาสังกัปปะเป็นต้น โดยมีส่วนเป็นวิตกเจตสิก วิริยเจตสิก และจิตเตกัคคตาเจตสิกเหมือนกัน ฯ อินฺทฺริยธมฺมา โสฬส อินทรียธรรมตรัสไว้ ๑๖ ประการหมวด ๑ ปญฺจนฺนํ เวทนินฺทฺริยานํ เวทนาสามญฺเน (เอกโต คหิตตฺตา) เพราะทรงรวมอินทรียธรรมที่เป็นเวทนา ๕ ประการ เป็นข้อเดียวกัน โดยเป็นเวทนาเจตสิกเหมือนกัน ติณฺณํ โลกุตฺตรินฺทฺริยานํ ปญฺนฺทฺริยสฺส จ าณสามญฺเน จ เอกโต คหิตตฺตา ทรงรวมอินทรียธรรมที่เป็นฝ่ายโลกุตตระ ๓ ประการ และปัญญินทรีย์เป็นข้อเดียวกัน โดยเป็นปัญญาเจตสิกเหมือนกัน รูปารูปชีวิตินฺทฺริยานญฺจ วิสุํ วิสุํ คหิตตฺตา และทรงแยกรูปชีวิตตินทรีย์กับ อรูปชีวิตินทรีย์ออกจากกัน ฯ ปน ส่วน พลธมฺมา นว อีริตา พลธรรมตรัสไว้ ๙ ประการหมวด ๑ ยถาวุตฺตนเยเนว โดยนัยตามที่กล่าวไว้แล้วนั่นแหละ ฯ อธิปติธมฺมา จตฺตาโร วุตฺตา อธิปติธรรมตรัสไว้ ๔ ประการหมวด ๑ ฯ อาหารา


326

ปริเฉทที่ ๗

ตถา จตฺตาโร วุตตฺ า อาหารธรรม ก็เหมือนกัน คือ ตรัสไว้ ๔ ประการหมวด ๑ ฯ จ ก็ เอตฺถ บรรดาธรรม (๕๓ ประการ) มีเหตุธรรมเป็นต้นเหล่านี้ ปญฺจสงฺคหิตา ปญฺา ปัญญาเจตสิก มีในสังคหะ ๕ หมวด (มีการรวมไว้ใน ๕ ฐานะ) ปน ส่วน วายาเมกคฺคตา จตุสงฺคหิตา วิริยเจตสิกกับเอกัคคตาเจตสิกมีในสังคหะอย่างละ ๔ หมวด จิตฺตํ สติ เจว ติสงฺคหา เจตนาเจตสิกกับสติเจตสิก มีในสังคหะอย่างละ ๓ หมวด ฯ สงฺกปฺปเวทนาสทฺธา วิตกเจตสิก เวทนาเจตสิก และ สัทธาเจตสิก ทุกสงฺคหิตา มตา บัณฑิตกล่าวว่า มีในสังคหะอย่างละ ๒ หมวด เสสา อฏวีสติ (ธมฺมา) ธรรม ๒๘ ประการที่เหลือ เอเกกสงฺคหา ภาสิตา ท่าอาจารย์กล่าวว่า มีในสังคหะอย่างละ ๑ หมวด ฯ (จบ บ.ศ.๙ ปี ๒๕๔๐ และ ป.ธ.๙ ปี ๒๕๓๑) จบมิสสกสังคหะ

{อธิบายโพธิปักขิยสังคหะ} อธิบายสติปัฏฐาน ๔ ปฏ  านํ ที่ ชื่ อ ว่ า ปั ฎ ฐาน ปฏ   าตี ติ เพราะอรรถวิ เ คราะห์ ว ่ า ตั้ ง มั่ น อสุภคฺคหณาทิวเสน อนุปวิสิตฺวา กายาทิอาลมฺพเน ปวตฺตีติ อตฺโถ อธิบายว่า ความเป็นไปในอารมณ์มีกายเป็นต้น เข้าไปถึงตามล�ำดับด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดรู้ว่า ไม่งามเป็นต้น ฯ สติเยว ปฏานํ ปัฎฐานคือสติ สติปฏานํ ชื่อว่า สติปัฎฐาน ฯ ปน ก็ ตํ สติปัฎฐานนั้น จตุพฺพิธํ มี ๔ ประการ กายเวทนาจิตฺตธมฺเมสุ อสุ ภ ทุ กฺ ข านิ จฺ จ านตฺ ต าการคฺ ค หณวเสน ด้ ว ยอ� ำ นาจก� ำ หนดรู ้ อ าการในกาย ว่าไม่งาม ในเวทนาว่าเป็นทุกข์ ในจิตว่าไม่เที่ยง และในธรรมว่าไม่ใช่ตัวตน (กายเวทนาจิตฺตธมฺเมสุ) สุภสุขนิจฺจอตฺตสญฺาวิปลฺลาสปฺปหานวเสน จ และ ด้วยอ�ำนาจละสัญญาวิปัลลาสในกายว่างาม ในเวทนาว่าเป็นสุข ในจิตว่าเที่ยง และในธรรมว่าเป็นตัวตน อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ จตฺตาโร สติปฏานาติ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

327

พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า สติปัฎฐานมี ๔ ประการ ฯ กาโย ที่ชื่อว่ากาย กุจฺฉิตานํ เกสาทีนํ อาโยติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นบ่อเกิดแห่งอาการ ๓๒ มีผมเป็นต้นทีน่ า่ เกลียด สรีรํ ได้แก่ ร่างกาย ฯ วา อีกนัยหนึง่ อสฺสาสปสฺสาสานํ สมูโห กองลมอัสสาสะและลมปัสสาสะ กาโย ชือ่ ว่า กาย ฯ ตสฺส อนุปสฺสนา ปริกมฺมวเสน วิปสฺสนาวเสน จ สรณํ ความเห็นเนือง ๆ คือ ความระลึกถึงกายนัน้ ด้วยอ�ำนาจบริกรรมและด้วยอ�ำนาจวิปสั สนา กายานุปสฺสนา ชือ่ ว่า กายานุปสั สนา ฯ ทุกขฺ ทุกขฺ วิปริณามทุกขฺ สงฺขารทุกขฺ ภูตานํ เวทนานํ วเสน อนุปสฺสนา ความเห็น เนือง ๆ ด้วยอ�ำนาจเวทนาซึง่ เป็นทุกข์เพราะทนได้ยาก เป็นทุกข์เพราะเปลีย่ นแปรไป และเป็นทุกข์ประจ�ำสังขาร เวทนานุปสฺสนา ชื่อว่า เวทนานุปัสสนา ฯ ตถา อนึ่ง สราคมหคฺคตาทิวเสน สมฺปโยคภูมิเภเทน ภินฺนสฺเสว จิตฺตสฺส อนุปสฺสนา ปริกมฺมวเสน วิปสฺสนา ความเห็นเนืองๆ คือ ความเห็นแจ้งซึ่งจิตที่ต่างกัน โดย ประเภทแห่งสัมปโยคและภูมิ ด้วยอ�ำนาจสราคจิตและมหัคคตจิตเป็นต้นนั่นแล ด้วยอ�ำนาจบริกรรม จิตฺตานุปสฺสนา ชื่อว่า จิตตานุปัสสนา ฯ สญฺาสงฺขารานํ ธมฺมานํ ภินฺนลกฺขณานเมว อนุปสฺสนา ความเห็นเนืองๆ ซึ่งธรรม คือ สัญญา และสังขาร ที่มีลักษณะต่างกันนั่นแล ธมฺมานุปสฺสนา ชื่อว่า ธัมมานุปัสสนา ฯ

อธิบายสัมมัปปธาน ๔ สมฺมปฺปธานํ ที่ชื่อว่าสัมมัปปธาน สมฺมา ปทหนฺติ เอเตนาติ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องตั้งความเพียรโดยชอบแห่งเหล่าชน วายาโม ได้แก่ วายามะ ฯ จ ก็ โส วายามะนั้น จตุพฺพิโธ มี ๔ ประการ กิจฺจเภเทน โดย ประเภทแห่งหน้าที่ อิติ เพราะเหตุนั้น อาห จตฺตาโร สมฺมปฺปธานาติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า สัมมัปปธานมี ๔ ประการ ดังนี้เป็นต้น ฯ อสุภมนสิการกมฺมฏานานุยุญฺชนาทิวเสน วายมนํ ความพยายามด้วยอ�ำนาจ ความใส่ใจถึงว่าไม่งามและเพียรประกอบกัมมัฎฐานเป็นต้น วายาโม ชือ่ ว่า วายามะ ฯ ภิยฺโยภาวายาติ บทว่า ภิยฺโยภาวาย ได้แก่ อภิวุทฺธิยา เพื่อความเจริญยิ่งขึ้น ฯ


328

ปริเฉทที่ ๗

อธิบายอิทธิบาท ๔ อิทธฺ ิ ทีช่ อื่ ว่าอิทธิ อิชฌ ฺ ติ อธิฏ านาทิกเมตายาติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เป็นเครือ่ งส�ำเร็จแห่งกิจมีการอธิษฐานเป็นต้น อิทธฺ วิ ธิ าณํ ได้แก่ อิทธิวธิ ญาณ ฯ อิทฺธิยา ปาทา ธรรมเป็นเครื่องถึงความส�ำเร็จ อิทฺธิปาทา ชื่อว่า อิทธิบาท ฯ ฉนฺโทเยว อิทฺธิปาโท อิทธิบาทคือฉันทะ ฉนฺทิทฺธิปาโท ชื่อว่า ฉันทิทธิบาท ฯ

อธิบายโพชฌงค์ ๗ โพธิ ที่ชื่อว่าโพธิ พุชฺฌตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ตรัสรู้ ฯ โยคาวจโร พระโยคาวจร อารทฺธวิปสฺสกโต ปฏาย เริ่มตั้งแต่ท่านผู้ปรารภวิปัสสนา พุชฺฌติ วา ย่อมรู้ได้ สจฺจานิ วา ปฏิวิชฺฌติ ย่อมรู้แจ้งสัจจะทั้งหลายได้ กิเลสนิทฺทาโต วา วุฏาติ ย่อมออกจากความหลับคือกิเลสได้ กิเลสสงฺโกปาภาวโต วา มคฺคผลปฺปตฺติยา วิกสติ หรือย่อมเบิกบานในการบรรลุมรรคและผล เพราะไม่มี ความคดงอคือกิเลสได้ ยาย สติอาทิกาย ธมฺมสามคฺคยิ า ด้วยความพร้อมเพรียง แห่งธรรมมีสติเป็นต้นใด สา ธมฺมสามคฺคี ความพร้อมเพรียงแห่งธรรมนั้น โพธิ ชื่อว่า โพธิ ฯ โพชฺฌงฺคา ที่ชื่อว่าโพชฌงค์ ตสฺส โพธิสฺส ตสฺสา วา โพธิยา องฺคภูตา การณภูตาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นองค์ คือ เป็นเหตุ แห่งความตรัสรู้นั้น หรือแห่งความพร้อมเพรียงแห่งธรรมคือโพธินั้น ฯ ปน ก็ เต โพชฌงค์เหล่านั้น ธมฺมวเสน สตฺตวิธา มี ๗ ประการด้วยอ�ำนาจแห่งธรรม อิติ เพราะเหตุนน้ั อาห สติสมฺโพชฺฌงฺโคติอาทิ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์จงึ กล่าวว่า สติสัมโพชฌงค์ ดังนี้เป็นต้น ฯ สติสมฺโพชฺฌงฺโค ที่ชื่อว่าสติสัมโพชฌงค์ สติเยว สุนฺทโร โพชฺฌงฺโค สุนฺทรสฺส วา โพธิสฺส สุนฺทราย วา โพธิยา องฺโคติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นองค์แห่งความตรัสรู้อันงาม คือ เป็นองค์แห่งความ ตรัสรู้อันงาม หรือแห่งความพร้อมเพรียงแห่งธรรมที่ชื่อว่าโพธิอันงาม คือสติ ฯ ธมฺมวิจโย ทีช่ อื่ ว่าธัมมวิจยะ ธมฺเม วิจนิ าติ อุปปริกขฺ ตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เลือกเฟ้น คือ พิจารณาธรรมทั้งหลาย วิปสฺสนาปญฺา ได้แก่ วิปัสสนาปัญญา ฯ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

329

อุเปกฺข าติ อิธ ในบทว่า อุเปกฺขา นี้ ตตฺ ร มชฺ ฌ ตฺ ตุเ ปกฺ ขา (อธิ ปฺ เ ปตา) พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประสงค์ถึงตัตรมัชฌัตตุเปกขา ฯ

อธิบายคาถาสังคหะ (บ.ศ.๙ ปี ๒๕๓๗ และ ป.ธ.๙ ปี ๒๕๔๑) สตฺตธา ตตฺถ สงฺคโหติ วตฺวา ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์กล่าวว่า ในโพธิปกั ขิยสังคหะนัน้ มีการรวบรวมสภาวธรรมไว้ ๗ หมวด ดังนีแ้ ล้ว ปุน ตํ ทสฺเสตุํ หวังจะแสดงการรวบรวมสภาวธรรมนัน้ ซ�ำ้ อีก สงฺกปฺปปสฺสทฺธิ จาติอาทิ วุตตฺ ํ จึงกล่าวค�ำว่า สงฺกปฺปปสฺสทฺธิ จ ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ ตตฺถ บรรดาสภาวธรรม ๑๔ ประการนัน้ วิรยิ ํ วิรยิ เจตสิก นวฏานํ ชือ่ ว่า มีฐานะ ๙ ประการ สมฺมปฺปธานจตุกฺกวิริยิทฺธิปาทวิริยินฺทฺริยวิริยพลวิริยสมฺโพชฺฌงฺค- สมฺมาวายามวเสน นวกิจฺจตฺตา เพราะท�ำหน้าที่ ๙ อย่าง คือ สัมมัปปธาน ๔ วิริยิทธิบาท (๑) วิริยินทรีย์ (๑) วิริยพละ (๑) วิริยสัมโพชฌงค์ (๑) สัมมาวายามะ (๑) ฯ สติ สติเจตสิก อฏฏานา ชื่อว่า มีฐานะ ๘ ประการ สติปฏานจตุกฺกสตินฺทฺริยสติพลสติสมฺโพชฺฌงฺคสมฺมาสติวเสน อฏกิจฺจตฺตา เพราะท�ำหน้าที่ ๘ อย่าง คือ สติปัฎฐาน ๔ สตินทรีย์ (๑) สติพละ (๑) สติสัมโพชฌงค์ (๑) สัมมาสติ (๑) ฯ สมาธิ เอกัคคตาเจตสิก จตุฏาโน ชื่อว่า มีฐานะ ๔ ประการ สมาธินฺทฺริยสมาธิพลสมาธิสมฺโพชฺฌงฺคสมฺมาสมาธิวเสน จตุกิจฺจตฺตา เพราะท�ำ หน้าที่ ๔ อย่าง คือ สมาธินทรีย์ (๑) สมาธิพละ (๑) สมาธิสัมโพชฌงค์ (๑) สัมมาสมาธิ (๑) ฯ ปญฺา ปัญญาเจตสิก ปญฺจฏานา ชือ่ ว่า มีฐานะ ๕ ประการ วี มํ สิ ทฺ ธิ ป าทปญฺ   นฺ ทฺ ริ ย ปญฺ  าพลธมฺ ม วิ จ ยสมฺ โ พชฺ ฌ งฺ ค สมฺ ม าทิ ฏ    ว เสน ปญฺจกิจฺจตฺตา เพราะท�ำหน้าที่ ๕ อย่าง คือ วีมังสิทธิบาท (๑) ปัญญินทรีย์ (๑) ปัญญาพละ (๑) ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ (๑) สัมมาทิฎฐิ (๑) ฯ สทฺธา สัทธาเจตสิก ทุฏานา ชื่อว่า มีฐานะ ๒ ประการ สทฺธินฺทฺริยสทฺธาพลวเสน ทฺวิกิจฺจตฺตา เพราะท�ำหน้าที่ ๒ อย่าง คือ สัทธินทรีย์ (๑) สัทธาพละ (๑) ฯ เอโส อุตฺตมานํ โพธิปกฺขิยภาเวน วิสิฏานํ สตฺตตฺตึสธมฺมานํ ปวโร อุตฺตโม วิภาโค นี้เป็น


330

ปริเฉทที่ ๗

การจ�ำแนกสภาวธรรม ๓๗ ประการ อันยอดเยีย่ ม คือ พิเศษสุด โดยความเป็นธรรม ซึ่งเป็นไปในฝักฝ่ายปัญญาเครื่องตรัสรู้ อย่างประเสริฐ คือ อย่างยอดเยี่ยม ฯ โลกุตตฺ เร อฏ วิเธปิ ในโลกุตตรจิตแม้ทงั้ ๘ ดวง สพฺเพ สตฺตตฺตสึ ธมฺมา โหนฺติ ย่อมมีธรรมครบทัง้ ๓๗ ประการ ฯ สงฺกปฺปปีตโิ ย น วา โหนฺติ หรือว่า วิตกเจตสิก กับปีตเิ จตสิกไม่มี ทุตยิ าทิชฌ ฺ านิเก สงฺกปฺปสฺส (อสมฺภวโต) จตุตถฺ ปญฺจมชฺฌานิเก ปีตยิ า จ อสมฺภวโต น โหนฺติ วา คือ หรือว่า ชือ่ ว่ามีอยูก่ ห็ ามิได้ เพราะวิตกเจตสิก ไม่เกิดมีในทุติยฌานิกจิตเป็นต้น และเพราะปีติเจตสิกไม่เกิดมีในจตุตถฌานิกจิต และปัญจมฌานิกจิต ฯ โลกิเยปิ จิตเฺ ต แม้ในโลกิยจิต (๘๑ ดวง) เกจิ สภาวธรรม บางเหล่า กตฺถจิ วิสํ ุ วิสํ ุ โหนฺติ ก็เกิดแยกๆ กันในจิตบางดวง ยถาโยคํ ตามทีป่ ระกอบได้ ตํตกํ จิ จฺ สฺส อนุรปู วเสน คือ ด้วยอ�ำนาจทีเ่ หมาะสมแก่หน้าทีน่ นั้ ๆ สีลวิสุทฺธาทิฉพฺพิสุทฺธิปฺปวตฺติยํ ในความเป็นไปแห่งวิสุทธิ ๖ ประการมีสีลวิสุทธิ เป็นต้น กตฺถจิ น วา โหนฺติ หรือว่า ไม่เกิดมีในจิตบางดวง ฯ (จบ บ.ศ. ๙ ปี ๒๕๓๗ และป.ธ.๙ ปี ๒๕๔๑) จบโพธิปักขิยสังคหะ

{อธิบายสัพพสังคหะ} อธิบายขันธ์ ๕ เต เต สภาคธมฺมา ธรรมที่มีส่วนเสมอกันทั้งหลายเหล่านั้นๆ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนาทิเภทภินฺนา ที่ต่างกันโดยแยกเป็นอดีตธรรม อนาคตธรรม และ ปัจจุปันนธรรมเป็นต้น ขนฺธา ชื่อว่า ขันธ์ เอกชฺฌํ ราสฏเน เพราะอรรถว่า รวมเป็นหมวดเดียวกัน ฯ เตนาห ภควา ตเทกชฺฌํ ฯเปฯ รูปกฺขนฺโธติอาทิ เพราะเหตุ นั้ น พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า จึ ง ตรั ส ว่ า ตเทกชฺ ฌํ อภิ ส ญฺ ญู หิ ตฺ ว า อภิสงฺขิปิตฺวา เพราะประมวลย่นรูปนั้นเข้าเป็นอันเดียวกัน อยํ วุจฺจติ รูปกฺขนฺโธ นี้เรียกว่า รูปขันธ์ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ก็ เต เอเต ขนฺธา ขันธ์เหล่านี้นั้น ปญฺเจว วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ๕ ประการเท่านั้น ภาชนโภชน-


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

331

พฺยญฺชนภตฺตการกภุญฺชกวิกปฺปวเสน ด้วยอ�ำนาจความก�ำหนดว่าเป็นภาชนะ ว่าเป็นโภชนะ ว่าเป็นกับข้าว ว่าเป็นผู้ปรุงอาหาร และว่าเป็นผู้บริโภค (อาหาร) อิติ เพราะเหตุนั้น อาห รูปกฺขนฺโธติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า รูปกฺขนฺโธ ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ หิ ความจริง รูปํ รูปขันธ์ เวทนานิสสฺ ยตฺตา ภาชนฏานิยํ ชื่อว่า ด�ำรงอยู่ในฐานะเป็นดุจภาชนะ เพราะเป็นที่อยู่อาศัยแห่งเวทนาเจตสิก ฯ เวทนา เวทนาขันธ์ ภุญฺชิตพฺพตฺตา โภชนฏานิยา ชื่อว่า ด�ำรงอยู่ในฐานะ เป็นดุจโภชนะ เพราะเป็นธรรมชาติอันวิญญาณพึงบริโภค ฯ สญฺา สัญญาขันธ์ เวทนาสฺสาทลาภเหตุตตฺ า พฺยญฺชนฏานิยา ชือ่ ว่า ด�ำรงอยูใ่ นฐานะเป็นดุจกับข้าว เพราะเป็นเหตุได้ความพอใจในเวทนาเจตสิก ฯ สงฺขารา สังขารขันธ์ อภิสงฺขรณโต อธิรญฺชโต ภตฺตการกฏานิยา ชื่อว่า ด�ำรงอยู่ในฐานะเป็นดุจผู้ปรุงอาหาร เพราะเป็นตัวปรุงแต่งอารมณ์ คือ เพราะท�ำให้วิญญาณได้ความยินดี ฯ วิญฺาณํ วิญญาณขันธ์ อุปภุญฺชกตฺตา ภุญฺชกฏานิยํ ชื่อว่า ด�ำรงอยู่ในฐานะเป็นดุจ ผูบ้ ริโภค เพราะเป็นตัวบริโภคอารมณ์ได้เต็มที่ ฯ จ ก็ เอตฺตาวตา ด้วยค�ำอธิบาย เพียงเท่านี้ อธิปฺเปตตฺถสิทฺธิ เป็นอันส�ำเร็จเนื้อความตามพระประสงค์แล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น ปญฺเจว วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสขันธ์ไว้ ๕ ประการ เท่านั้น ฯ เทสนากฺกเมปิ แม้ในล�ำดับแห่งเทศนา อิทเมว การณํ ก็ชื่อว่ามีเหตุนี้ เหมือนกัน ยตฺถ ภุญฺชติ ยญฺจ ภุญฺชติ เยน จ ภุญฺชติ โย จ ภุญฺชโก โย จ ภุญฺชิตา เตสํ อนุกฺกเมน ทสฺเสตุกามตฺตา เพราะทรงพระประสงค์จะแสดง ตามล�ำดับแห่งสถานทีบ่ ริโภค สิง่ ของบริโภค เครือ่ งบริโภค ผูป้ รุง และผูบ้ ริโภค ฯ

อธิบายอุปาทานขันธ์ ๕ อุปาทานานํ โคจรกฺขนฺธา หมู่แห่งอารมณ์ของอุปาทานทั้งหลาย อุปาทานกฺขนฺธา ชื่อว่า อุปาทานขันธ์ ฯ ปน ก็ เต รูปาทโย อุปาทานขันธ์มีรูปเป็นต้น เหล่ า นั้ น อุ ป าทานวิ ส ยภาเวน คหิ ต า ที่ สั ต ว์ ยึ ด ถื อ โดยความเป็ น อารมณ์ ของอุปาทาน ปญฺเจว มี ๕ ประการเหมือนกัน อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ


332

ปริเฉทที่ ๗

รูปูปาทานกฺขนฺโธติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า รูปูปาทานกฺขนฺโธ ดังนี้เป็นต้น ฯ หิ ความจริง สพฺพสภาคธมฺมสงฺคหตฺถํ เพื่อรวบรวมธรรมที่มี ส่วนเสมอกันทั้งหมด สาสวา อนาสวาปิ ธมฺมา อวิเสสโต ปญฺจกฺขนฺธาติ เทสิตา พระผูม้ พี ระภาคเจ้าจึงทรงแสดงธรรมทัง้ หลาย ทัง้ ทีม่ อี าสวะ ทัง้ ทีห่ าอาสวะ มิได้วา่ ขันธ์ ๕ ดังนี้ โดยไม่แปลกกัน ฯ ปน แต่ วิปสฺสนาภูมสิ นฺทสฺสนตฺถํ เพือ่ จะ ทรงแสดงภูมวิ ปิ สั สนา สาสวาว อุปาทานกฺขนฺธาติ (เทสิตา) พระผูม้ พี ระภาคเจ้า จึงทรงแสดงเฉพาะธรรมที่มีอาสวะเท่านั้นว่า อุปาทานขันธ์ ฯ ยถา ฯเปฯ อุปาทานกฺขนฺเธสูติ ทฏพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า ปน ก็ เอตฺถ ในขันธ์ ๕ มี รูป ขัน ธ์เ ป็น ต้นนี้ เวทนาทโย นามขั นธ์ ทั้ ง หลายมี เ วทนาเป็ นต้ น สาสวา อนาสวา จ เป็นทั้งที่มีอาสวะ และหาอาสวะมิได้ ยถา ฉันใด น เอวํ รูปํ รูปขันธ์หาเป็นฉันนัน้ ไม่ เอกนฺตกามาวจรตฺตา เพราะรูปเป็นกามาวจรอย่างเดียว ฯ ปน อนึง่ ตํ รูปนัน้ ขนฺเธสุ เทสิตํ ทรงแสดงไว้ในขันธ์ทงั้ หลาย สภาคราสิวเสน ด้วยอ�ำนาจหมวดสภาคธรรม ปน แต่ อุปาทานกฺขนฺเธสุ (เทสิตํ) ทรงแสดงไว้ ในอุปาทานขันธ์ทง้ั หลาย อุปาทานิยภาเวน ราสิวเสน จ โดยความเป็นธรรมชาต อันเหล่าสัตว์พึงยึดมั่นถือมั่น และด้วยอ�ำนาจเป็นหมวดธรรม ฯ

อธิบายอายตนะ ๑๒ ตตํ ทํ วฺ ารารมฺมณา จิตตฺ เจตสิกา จิตและเจตสิก ซึง่ มีทวารนัน้ ๆ เป็นอารมณ์ อายตนนฺติ ย่อมสืบต่อ ฆเฏนฺติ คือ พากเพียร วายมนฺติ ได้แก่ พยายาม เตน เตน กิจฺเจน โดยหน้าที่นั้นๆ เอตฺถ (จกฺขุรูปาทีสุ) ในจักขุและรูปเป็นต้นนี้ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (จักขุและรูปเป็นต้นเหล่านั้น) อายตนานิ จึงชื่อว่า อายตนะ อายภูเต วา เต ธมฺเม เอตานิ ตเนนฺติ วิตฺถาเรนฺติ หรือว่าจักขุและรูปเป็นต้น เหล่านี้ ย่อมยังธรรมเหล่านั้นอันเป็นบ่อเกิดใหัแผ่ขยาย คือ ให้กว้างขวาง (อิติ) เพราะเหตุนั้น (จักขุและรูปเป็นต้นเหล่านั้น) อายตนานิ จึงชื่อว่าอายตนะ อายตํ วา สํสารทุกฺขํ นยนฺติ ปวตฺเตนฺติ หรือว่าจักขุและรูปเป็นต้นเหล่านี้


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

333

ย่อมน�ำไป คือ ยังสังสารทุกข์ให้เป็นไปยึดยาว (อิติ) เพราะเหตุนั้น (จักขุและรูป เป็นต้นเหล่านั้น) อายตนานิ จึงชื่อว่า อายตนะ จกฺขุวิญฺาณาทีนํ การณภูตานิ วา หรือว่าจักขุและและรูปเป็นต้นเหล่านี้ เป็นเหตุแห่งจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น (จักขุและรูปเป็นต้นเหล่านั้น) อายตนานิ จึงชื่อว่าอายตนะ ฯ อปิจ อีกอย่างหนึ่ง โลเก นิวาสอากรสโมสรณสญฺชาติฏานํ สถานที่อยู่อาศัย สถานที่เป็นบ่อเกิด สถานที่ประชุม และสถานที่เกิดของตน ในโลก อายตนนฺติ วุจฺจติ เขาก็เรียกกันว่า อายตนะ ฯ ตสฺมา เพราะเหตุนั้น เอเตปิ (จกฺขาทโย) จักขุปสาทรูปเป็นต้นแม้เหล่านี้ อายตนานิ ชื่อว่า อายตนะ ตํตํทฺวาริกานํ ตํตทารมฺมณานญฺจ จกฺขุวิญฺาณาทีนํ นิวาสฏานตาย เพราะเป็นที่อยู่อาศัย แห่งจักขุวญ ิ ญาณจิตเป็นต้น ซึง่ เป็นไปทางทวารนัน้ ๆ และมีทวารนัน้ ๆ เป็นอารมณ์ เตสเมว อากิณฺณภาเวน ปวตฺตนฺตานํ อากรฏานตาย เพราะเป็นสถานที่เป็น บ่อเกิดแห่งจักขุวญ ิ ญาณจิตเป็นต้นเหล่านัน้ นัน่ เอง ทีเ่ ป็นไปโดยความเป็นธรรมชาต เจือปนกันอยู่ทั่วไป ทฺวาราลมฺพนโต สโมสรนฺตานํ สโมสรณฏานตาย เพราะ เป็นสถานที่ประชุมแห่งจักขุวิญญาณจิตเป็นต้นเหล่านั้น ซึ่งมาประชุมกันทางทวาร และอารมณ์ ตตฺเถว อุปปฺ ชฺชนฺตานํ สญฺชาติฏ านตาย จ และเพราะเป็นสถานที่ เกิดของตนแห่งจักขุวิญญาณจิตเป็นต้นเหล่านั้น ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในทวารและอารมณ์ เหล่านัน้ นัน่ เอง ฯ ตานิ ฯเปฯ ทฺวาทสวิธานีติ (มนสิกตฺวา) ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ ค�ำนึงถึงว่า ปน ก็ ตานิ อายตนะเหล่านัน้ ทฺวาทสวิธานิ มี ๑๒ อย่าง ทฺวารภูตานิ ฯเปฯ ฉาติ คือ ทฺวารภูตานิ อชฺฌตฺติกายตนานิ ฉ ที่เป็นทวาร ชื่อว่า อายตนะ ภายในมี ๖ ประการ อาลมฺพนภูตานิ จ พาหิรายตนานิ ฉ และที่เป็นอารมณ์ ชือ่ ว่า อายตนะภายนอกมี ๖ ประการ ดังนี้ อาห จกฺขวฺ ายตนนฺตอิ าทิ จึงกล่าวว่า จกฺขฺวายตนํ ดังนี้เป็นต้น ฯ จกฺขุ จ ตํ อายตนญฺจาติ จกฺขฺวายตนํ จักขุนั้นด้วย เป็นอายตนะด้วย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า จักขวายตนะ ฯ เอวํ เสเสสุปิ แม้ใน อายตนะทั้งหลายที่เหลือ ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน ฯ ตตฺถ อชฺฌตฺติกายตเนสุ ในอายตนะภายใน (๖ ประการ) บรรดาอายตนะ ๑๒ ประการนั้น จกฺขฺวายตนํ


334

ปริเฉทที่ ๗

จั กขวายตนะ วิภูตํ ชื่อว่า ปรากฎชั ดเจน สนิ ทสฺ สนสปฺ ปฏิฆาลมฺ พนตฺ ตา เพราะมีอารมณ์ที่เห็นได้และกระทบได้ อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ ปมํ นิกฺขิตฺตํ (วุ ตฺ ตํ ) พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า จึ ง ตรั ส จั ก ขวายตนะนั้ น ไว้ เ ป็ น ประการแรก ฯ อนิทสฺสนสปฺปฏิฆารมฺมณานิ อิตรานิ (วุตฺตานิ) ตรัสอายตนะนอกนี้ ซึ่งมี อารมณ์เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ไว้ ตทนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากจักขวายตนะนั้น ฯ ตตฺถาปิ แม้ในบรรดาอายตนะ ๕ ประการนัน้ จกฺขวฺ ายตนานนฺตรํ โสตายตนํ วุตตฺ ํ ก็ตรัสโสตายตนะไว้ในล�ำดับต่อจากจักขวายตนะ อสมฺปตฺตคฺคาหกสามญฺเน เพราะเป็นธรรมชาตรับอารมณ์ที่ยังไม่มาถึงตนได้เหมือนกัน ฯ อิตเรสุ ในบรรดา อายตนะนอกนี้ ฆานายตนํ ปมํ วุ ตฺ ตํ ตรั ส ฆานายตนะไว้ ก ่ อ น สี ฆ ตรํ อารมฺ ม ณคฺ ค หณสมตฺ ถ ตฺ ต า เพราะมี ค วามสามารถรั บ อารมณ์ ไ ด้ เ ร็ ว กว่ า ฯ หิ ความจริง ปุรโต ปิตมตฺตสฺส โภชาทิกสฺส คนฺโธ กลิ่นของโภชนะเป็นต้น เพียงวางไว้ข้างหน้า วาตานุสาเรน ฆาเน ปฏิหญฺติ ก็กระทบฆานปสาทรูปได้ ตามกระแสลม ฯ ปน ก็ ตทนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากฆานายตนะนั้น ชิวฺหายตนํ วุตฺตํ ตรัสชิวหายตนะไว้ ปเทสวุตฺติสามญฺเน โดยมีความเป็นไปในเฉพาะส่วน เสมอกัน ฯ ตโต ต่อแต่นั้น สพฺพฏานิกํ กายายตนํ (วุตฺตํ) จึงตรัสกายายตนะ อันเป็นทีร่ องรับอายตนะทัง้ หมด ฯ ตโต ต่อแต่นนั้ ไป ปญฺจนฺนมฺปิ โคจรคฺคหณสมตฺถํ มนายตนํ (วุตฺตํ) จึงตรัสมนายตนะ ซึ่งมีความสามารถรับอารมณ์แม้ของอายตนะ ทั้ง ๕ ได้ ฯ ปน ส่วน รูปายตนาทีนิ อายตนะภายนอก ๖ ประการ มีรูปายตนะ เป็นต้น เตสํ เตสํ อารมฺมณานิ ซึ่งเป็นอารมณ์ของอายตนะภายใน ๖ ประการ มีจักขวายตนะเป็นต้นนั้น ๆ ยถาวุตฺตานํ อนุกฺกเมน วุตฺตานิ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ตามล�ำดับอายตนะตามที่ได้กล่าวไว้แล้ว ฯ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

335

อธิบายธาตุ ๑๘ (ธรรมชาติเหล่าใด) อตฺตโน สภาวํ ธาเรนฺติ ย่อมทรงไว้ซึ่งสภาวะแห่งตน อิติ เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง (ธรรมชาติเหล่าใด) ยถาสมฺภวมเนกปฺปการํ สํสารทุกฺขํ วิทหนฺติ ย่อมทรงไว้ซึ่ง สังสารทุกข์มเี อนกประการ ตามทีเ่ กิดมีได้ (อิต)ิ เพราะเหตุนนั้ (ธรรมชาติเหล่านัน้ ) ธาตุโย ชือ่ ว่า ธาตุ จ อนึง่ (ธรรมชาติเล่าใด) สตฺเตหิ ธิยนฺติ ธริยนฺติ อันเหล่าสัตว์ ทรงไว้ คือ ธารไว้ ภารหาเรหิ วิย ภาโร คล้ายของหนัก อันบุคคลผูแ้ บกของหนัก แบกไว้ ฉะนั้น (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ จ อนึง่ อวสวตฺตนโต ทุกขฺ วิธานมตฺตเมว เอตา ธรรมชาติเหล่านี้ เป็นเพียงความ ทรงไว้ซึ่งทุกข์เท่านั้น เพราะไม่เป็นไปในอ�ำนาจ (ของตน) (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ จ อนึ่ง สตฺเตหิ สํสารทุกฺขํ อนุวิธิยติ เอตาหิ สังสารทุกข์ อันเหล่าสัตว์ย่อมเสวยด้วยธรรมชาติเหล่านี้ (อิติ) เพราะ เหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ จ อนึ่ง ตถาวิหิตํ เอตาเสฺวว ธิยติ ปิยติ ทุกข์มีประการดังกล่าวแล้วเช่นนั้น ตั้งอยู่ คือ ด�ำรงอยู่ในธรรมชาติ เหล่านี้นั่นแหละ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ จ อนึ่ง (ธรรมชาติเหล่าใด) เยฺยาวยวภูตา เป็นองค์ประกอบแห่งธรรมที่ควรรู้ รสโสณิตาทิสรีราวยวธาตุโย วิย หริตาลมโนสิลาทิเสลาวยวธาตุโย วิย จ ดุจธาตุอันเป็นส่วนประกอบแห่งร่างกายมีรสและโลหิตเป็นต้น และดุจธาตุอันเป็น องค์ประกอบแห่งภูเขามีหรดาลและมโนสิลาเป็นต้น ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ ฯ ยถาหุ สมจริงดังที่พระโบราณาจารย์ ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า (ธรรมชาติใด) วิทหติ ย่อมทรงสังสารทุกข์เอนกประการไว้ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น) ธาตุ ชื่อว่า ธาตุ (ธรรมชาติใด) ธิยติ อันเหล่าสัตว์ทรงไว้ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น)


336

ปริเฉทที่ ๗

ธาตุ ชื่อว่า ธาตุ (ธรรมชาติใด) วิธานํ อันเป็นเพียงความทรงทุกข์ไว้ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น) ธาตุ ชื่อว่า ธาตุ วิธยเต เอตาย สังสารทุกข์ อันเหล่าสัตว์ย่อมเสวยด้วยธรรมชาตินี้ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น) ธาตุ ชื่อว่า ธาตุ ธิยเต เอตฺถ ทุกข์มีประการดังกล่าว ด�ำรงอยู่ในธรรมชาตินี้ อิติ เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น) ธาตุสมฺมตา ชื่อว่า ธาตุ (ธาตุสมฺมตา เรียกว่าธาตุ) (ธรรมชาติเหล่าใด) เยฺยาวยวภูตา เป็นองค์ประกอบแห่งธรรม ที่ควรรู้ สรีรเสลาวยวธาตุโย วิย ดุจธาตุอันเป็นองค์ประกอบแห่ง ร่างกายและภูเขา ฉะนั้น (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ ฯ (จ ศัพท์ กับ วา ศัพท์ ในคาถานี้ไม่แปล) ฯ ตา ฯเปฯ วุตฺตาติ (มนสิกตฺวา) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงว่า ปน ก็ ตา มนายตนํ สตฺตวิญฺาณธาตุวเสน สตฺตธา ภินฺทิตฺวา อวเสเสหิ เอกาทสายตเนหิ สห อฏารสธา วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจ�ำแนก มนายตนะเป็น ๗ ประการ คือ วิญญาณธาตุจิต ๗ ประการ แล้วตรัสธาตุ เหล่านั้น รวมกับอายตนะ ๑๑ ประการที่เหลือ เป็น ๑๘ ประการ ดังนี้ อาห จกฺขุธาตูติอาทิ จึงกล่าวว่า จกฺขุธาตุ ดังนี้เป็นต้น ฯ กมการณํ เหตุแห่ง การจัดล�ำดับ วุตฺตนเยน ทฏพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นตามนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้ว ฯ

อธิบายอริยสัจ ๔ (บ.ศ.๙ ปี ๒๕๓๙ และป.ธ.๙ ปี ๒๕๔๗) (ธมฺมชาตานิ ธรรมชาตทัง้ หลาย) สจฺจานิ ชื่อว่า สัจจะ ตจฺฉภาวโต เพราะเป็นธรรมชาตแท้ อริยานิ ชื่อว่า อริยะ อริยกรตฺตา เพราะท�ำความเป็นพระอริยะ อิติ เพราะเหตุนนั้ อริยสจฺจานิ จึงชือ่ ว่า อริยสัจจ์ ฯ หิ ความจริง อิมานิ อริยสัจจ์เหล่านี้ อฏ อริยปุคฺคเล สาเธนฺติ ย่อมให้ส�ำเร็จพระอริยบุคคล ๘ ประเภท จตฺตาโร ฯเปฯ ผลฏเติ คือ จตฺตาโร ปฏิปนฺนเก ท่านผู้ด�ำรงอยู่ในมรรคผู้ปฎิบัติอยู่ ๔ ประเภท จตฺตาโร จ ผลฏเ


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

337

และท่านผูด้ ำ� รงอยูใ่ นผล ๔ ประเภท อสติ สจฺจปฏิเวเธ เตสํ อริยภาวานุปคมนโต จ เพราะเมือ่ ไม่มคี วามรูแ้ จ้งสัจจะพระอริยบุคคลเหล่านัน้ ก็เข้าถึงความเป็นพระอริยะ ไม่ได้ สติ ตสฺมึ เอกนฺเตน ตพฺภาวูปคมนโต จ และเพราะเมือ่ มีความรูแ้ จ้งสัจจะนัน้ พระอริยบุคคลเหล่านัน้ ก็เข้าถึงความเป็นพระอริยะนัน้ ได้ โดยส่วนเดียว ฯ ปน อนึง่ ทุกขฺ สมุทยนิโรธมคฺคานเมว ยถากฺกมํ พาธกตฺตปภวตฺตนิสสฺ รณตฺตนิยยฺ านิกตฺตํ (โหติ) ภาวะที่ทุกขอริยสัจจ์เป็นธรรมชาตเบียดเบียน สมุทัยอริยสัจจ์เป็นแดน เกิดก่อน นิโรธอริยสัจจ์เป็นสภาวะสลัดออก และมรรคอริยสัจจ์เป็นสภาวะน�ำออกไป จากทุกข์นั่นแหละ ย่อมมีตามล�ำดับ น อญฺเสํ พาธกาทิภาโวเยว (โหติ) จ ภาวะที่ธรรมเหล่าอื่นเป็นธรรมชาตเบียดเบียนเป็นต้นนั่นแหละ มีอยู่ก็หามิได้ น ทุกขฺ าทีนํ อพาธกาทิภาโว (โหติ ) จ และภาวะทีท่ กุ ขอริยสัจจ์เป็นต้นเป็นธรรมชาต ไม่เบียดเบียนเป็นต้น มีอยูก่ ห็ ามิได้ ตสฺมา เพราะฉะนัน้ เอตานิ อริยสัจจ์ ๔ ประการ เหล่านี้ ตจฺฉานิ จึงเป็นธรรมชาตแท้ อญฺตฺถาภาวตตฺถพฺยาปิตาสงฺขาเตน ลกฺขเณน โดยลักษณะ กล่าวคือภาวะเป็นธรรมชาตเบียดเบียนเป็นต้นไม่มีใน ธรรมเหล่าอืน่ และภาวะเป็นธรรมชาตเบียดเบียนเป็นต้นซึมซาบอยูใ่ นทุกขอริยสัจจ์ เป็นต้นเหล่านั้น ฯ เตนาหุ โปราณา เพราะเหตุนั้น พระโบราณาจารย์ทั้งหลายจึง กล่าวไว้ว่า จตฺตาโร (ธมฺมา) ธรรม ๔ ประการ ฉินฺทนฺเต จตุโร มลํ ขีณโทเส จ จตฺตาโร สาเธนฺตีริยปุคฺคเล ย่อมยังพระอริยบุคคล ๔ ประเภท ผู้ก�ำลังตัดมลทิน และพระอริยบุคคล ๔ ประเภทผู้สิ้นโทษแล้วให้ ส�ำเร็จได้ โพธานุรปู ํ ตามสมควรแก่ปญ ั ญาตรัสรู้ หิ เพราะ อญฺตฺถ พาธกตฺตาทิ น เอเตหิ (ทุกฺขาทีหิ) ลพฺภติ ความเป็นธรรมชาต เบียดเบียนเป็นต้น บัณฑิตหาไม่ได้ ในธรรมเหล่าอืน่ จากทุกขอริยสัจจ์ เป็นต้นเหล่านี้ นาพาธกตฺตเมเตสํ (ทุกฺขาทีนํ โหติ) ภาวะที่ ทุกขอริยสัจจ์เป็นต้นเหล่านี้ เป็นธรรมชาตไม่เบียดเบียน (เป็นต้น)


338

ปริเฉทที่ ๗

มีอยู่ก็หามิได้ ตโต เพราะเหตุนั้น ตจฺฉาเนตานิ เว อริยสัจจ์เหล่านี้ จึงเป็นธรรมชาตแท้แล ฯ (จบ บ.ศ.๙ ปี ๒๕๓๙) วา หรือว่า อริยานํ สจฺจานิ สัจจะทั้งหลายของพระอริยบุคคลทั้งหลาย อริยสจฺจานิ ชื่อว่า อริยสัจจ์ เตหิ ปฏิวิชฺฌิตพฺพตฺตา เพราะเป็นสภาวะที่ พระอริยบุคคลเหล่านั้นพึงรู้แจ้งได้ ฯ วา หรือว่า อริยสฺส สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส สจฺจานิ สัจจะทั้งหลายของพระอริยเจ้า คือ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เตน เทสิตตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตอันพระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น อริยสจฺจานิ จึงชื่อว่า อริยสัจจ์ ฯ ปน ก็ ตานิ อริยสัจจ์เหล่านั้น จตุพฺพิธานิ มี ๔ อย่าง สงฺกลิ ฏิ  าสงฺกลิ ฏิ  ผลเหตุวเสน คือ ผลทีเ่ ศร้าหมอง (ทุกขอริยสัจจ์) ผลที่ไม่เศร้าหมอง (นิโรธอริยสัจจ์) เหตุที่เศร้าหมอง (สมุทัยอริยสัจจ์) เหตุที่ไม่ เศร้าหมอง (มรรคอริยสัจจ์) อิติ เพราะเหตุนั้น อาห จตฺตาริ อริยสจฺจานีติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า จตฺตาริ อริยสจฺจานิ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ พึงทราบวินิจฉัยในค�ำว่า จตฺตาริ อริยสจฺจานิ นั้น ดังต่อไปนี้ ทุกขํ ธรรมชาต ที่ชื่อว่าทุกข์ กุจฺฉิตตฺตา ตุจฺฉตฺตา จ เพราะเป็นธรรมชาตที่น่าเกลียด และเพราะ เป็นธรรมชาตว่างเปล่า ฯ สมุทโย สภาวธรรมที่ชื่อว่าสมุทัย ทุกฺขุปฺปตฺตินิมิตฺเตน โดยเป็นนิมติ หมายแห่งความเกิดขึน้ แห่งทุกข์ กมฺมาทิปจฺจยสนฺนธิ าเน ในการสัง่ สม ปัจจัยมีกรรมปัจจัยเป็นต้น สมุเทติ เอตสฺมา ทุกขฺ นฺติ กตฺวา เพราะอธิบายความว่า เป็นแดนเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ฯ ทุกฺขสฺส สมุทโย แดนเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ทุกฺขสมุทโย ชื่ อ ว่ า ทุ ก ขสมุ ทั ย ฯ ทุ กฺ ข นิ โ รโธ สภาวธรรมที่ ชื่ อ ว่ า ทุ ก ขนิ โ รธ ทุ กฺ ข สฺ ส อนุปฺปาทนิโรโธ เอตฺถ เอเตน วาติ เพราะอธิบายความว่า เป็นที่ หรือเป็น เครื่องดับลงโดยไม่เกิดขึ้นแห่งทุกข์ ฯ ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา ข้อปฎิบัติที่ชื่อว่า ทุกขนิโรธคามินีปฎิปทา ทุกฺขนิโรธํ คจฺฉติ ปฏิปชฺชนฺติ จ ตํ เอตายาติ เพราะ อธิบายความว่า ไปถึงความดับทุกข์ และเป็นเครื่องด�ำเนินถึงความดับทุกข์นั้น แห่งท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียรทั้งหลาย ฯ (จบ ๒๕๔๗)


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

339

อธิบายค�ำที่เหลือ อเกนูนสตฺตติ ธมฺมา ธรรม ๖๙ ประการ เจตสิกานํ โสฬสสุขุมรูปานํ นิพฺพานสฺส จ วเสน คือ เจตสิก (๕๒) สุขุมรูป ๑๖ และนิพพาน (๑) อายตเนสุ ธมฺมายตนํ ธาตูสุ ธมฺมธาตูติ จ สงฺขฺยํ คจฺฉนฺติ ย่อมถึงการนับว่า ธัมมายตนะ ในบรรดาอายตนะทั้งหลาย (๑๒) และว่า ธัมมธาตุ ในบรรดาธาตุ ทั้งหลาย (๑๘) ฯ

อธิบายคาถาสังคหะ เสสา เจตสิกาติ ข้อว่า เสสา เจตสิกา ได้แก่ เวทนาสญฺาหิ เสสา ปญฺาส เจตสิกา เจตสิกธรรม ๕๐ ประการ ซึ่งเหลือจากเวทนาเจตสิกและ สัญญาเจตสิก ฯ กสฺมา ฯเปฯ กตาติ (ปุจฉฺ า) ถามว่า ปน ก็ กสฺมา เพราะเหตุไร เวทนาสญฺา วิสุํ กตา (วุตฺตา) พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสเวทนาขันธ์และ สัญญาขันธ์แยกไว้ตา่ งหาก ฯ วฏฏธมฺเมสุ ฯเปฯ ภาวโต (อิติ วิสชฺชนา) ตอบว่า วฏฏธมฺเมสุ อสฺสาทตทุปกรณภาวโต เพราะเวทนาขันธ์เป็นธรรมชาติพอใจใน วัฏฏธรรมทั้งหลาย และสัญญาขันธ์เป็นอุปกรณ์แก่ความพอใจในวัฏฏธรรมนั้น ฯ หิ ความจริง เตภูมิกธมฺเมสุ อสฺสาทวสปฺปวตฺตา ธรรมชาติที่เป็นไปด้วย อ�ำนาจพอใจ ในธรรมที่เป็นไปในไตรภูมิ เวทนา ชื่อว่า เวทนา ฯ จ ก็ ตสฺสา ตทาการปฺปวตฺติ เวทนาเจตสิกนั้นมีความเป็นไปโดยอาการอย่างนั้น อสุเภ สุภาทิสญฺาวิปลฺลาสวเสน ด้วยอ�ำนาจความส�ำคัญผิดในสิง่ ทีไ่ ม่งามว่างามเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น ตทุปกรณภูตา ธรรมชาติอันเป็นอุปกรณ์แก่เวทนาเจตสิกนั้น สญฺา จึงชื่อว่า สัญญา ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น เอตา วินิพฺภุชิตฺวา เทสิตา พระผูม้ พี ระภาคเจ้าจึงทรงแยกแสดงเวทนาขันธ์และสัญญาขันธ์เหล่านัน้ ไว้ สํสารสฺส ปธานเหตุตาย เพราะเป็นเหตุซึ่งเป็นประธานแห่งสงสาร อิติ แล ฯ วุตฺตญฺเหตํ อาจริเยน สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ดังนี้ว่า


340

ปริเฉทที่ ๗

วฏฏธมฺเมสุ อสฺสาทํ ตทสฺสาทูปเสจนํ (จ) วินิพฺภุชฺช นิทสฺเสตุํ เพื่อทรงแยกแสดงความพอใจ ในวัฏฏธรรม และความเข้าไปติด ความพอใจในวัฏฏธรรมนั้น ขนฺธทฺวยมุทาหฏํ พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงยกขันธ์ ๒ ขึ้นแสดง ฯ นนุ จ ฯเปฯ สงฺคหิตนฺติ (มนสิกตฺวา) ท่านพระอนรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงว่า จ ก็ นิพพฺ านํ พระนิพพาน อายตนธาตูสุ สงฺคหิตํ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าทรงรวมไว้ ในอายตนะ (๑๒) และธาตุ (๑๘) นนุ มิใช่หรือ กสฺมา เพราะเหตุไร ขนฺเธสุ น สงฺคหิตํ จึงไม่ทรงรวมไว้ในขันธ์ทงั้ หลาย (๕) เล่า ดังนี้ อาห เภทาภาเวนาติอาทิ จึงกล่าวว่า เภทาภาเวน ดังนี้เป็นต้น ฯ อตีตาทิ ฯเปฯ วินิมุตฺตนฺติ อตฺโถ อธิบายว่า หิ ความจริง อตีตาทิเภทภินฺนานํ ราสตฺเถน ขนฺธโวหาโร การบัญญัติ ธรรมทัง้ หลาย ซึง่ ต่างกันโดยแยกเป็นอดีตธรรมเป็นต้น ว่าเป็นขันธ์ เพราะอรรถว่า เป็นหมวดธรรม อิติ เพราะเหตุนั้น นิพฺพานํ พระนิพพาน นิสฺสฏํ จึงชื่อว่า ออกแล้ว วินิมุตฺตํ คือ พ้นแล้ว ขนฺธสงฺคหโต จากการสงเคราะห์ว่าขันธ์ เภทาภาวโต เพราะไม่มีความต่างกัน ฯ อายตนานิ ทฺวาทส ภวนฺติ อายตนะมี ๑๒ ประการ ทฺ ว ารานํ ฉนฺ นํ อาลมฺ พ นานญฺ จ ตตฺ ต กานเมว เภเทน โดยความต่างกันแห่งทวาร ๖ และอารมณ์ ก็มีจ�ำนวนเท่านั้นเหมือนกัน ฯ ธาตุโย อฏารส ภวนฺติ ธาตุมี ๑๘ ประการ ปริยาเยน โดยปริยาย กเมน คือ โดยล�ำดับ ฉนฺนํ ทฺวารานํ ฉนฺนํ อาลมฺพนานํ ตทุภยํ นิสฺสาย อุปฺปนฺนานํ ตตฺตกานเมว วิญฺาณานํ แห่งทวาร ๖ อารมณ์ ๖ และวิญญาณที่อาศัยทวาร และอารมณ์ทั้ง ๒ นั้น ต ศัพท์เกิดขึ้น ก็มีจ�ำนวนเท่านั้นเหมือนกัน ฯ ติสฺโส ภูมิโย อิมสฺส ภูมิของวัฏฏะนี้มี ๓ อิติ เพราะเหตุนั้น (วัฏฏะนี้) ติภูมํ ชื่อว่ามีภูมิ ๓ ฯ ติภูมํเยว เตภูมิกํ ติภูมะนั่นเอง เป็นเตภูมิกะ ฯ วฏฏํ ที่ชื่อว่าวัฏฏะ วตฺตติ เอตฺถ กมฺมํ ตพฺพิปาโก วาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่เป็นไปแห่งกรรม หรือผลของกรรมนั้น ฯ ตณฺหาติ ที่ชื่อว่าตัณหา ได้แก่ กามตณฺหาทิวเสน ติวิธา ตณฺหา ตัณหา มี ๓ อย่าง คือ กามตัณหาเป็นต้น


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

341

ฉฬารมฺมณวเสน อฏารสวิธา มี ๑๘ อย่าง คือ อารมณ์ ๖ อตีตานาคต- ปจฺจุปฺปนฺนวเสน จตุปญฺาสวิธา มี ๕๔ อย่าง คือ อตีตารมณ์ อนาคตารมณ์ และปัจจุปันนารมณ์ อชฺฌตฺติกพาหิรวเสน อฏสตเภทา จ และแยกเป็น ๑๐๘ อย่าง คือ ตัณหาภายในและตัณหาภายนอก ปุน อีก ฯ กสฺมา ฯเปฯ วุตฺตาติ (ปุจฺฉา) ถามว่า ปน ก็ กสฺมา เพราะเหตุไร อญฺเสุปิ ทุกฺขเหตูสุ สนฺเตสุ เมื่อเหตุแห่งทุกข์แม้เหล่าอื่นก็ยังมีอยู่ ตณฺหาเยว สมุทโยติ วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสเฉพาะตัณหาว่า สมุทัย ฯ ปธานการณตฺตา (อิติ วิสชฺชนา) ตอบว่า ปธานการณตฺตา เพราะเป็นเหตุทเี่ ป็นประธาน ฯ หิ ความจริง ตณฺหา ตัณหา ทุกขฺ สฺส วิเสสการณํ ชือ่ ว่า เป็นเหตุพเิ ศษแห่งทุกข์ ทุกขฺ วิจติ ตฺ การณตฺตา เพราะเป็นเหตุตระการไปด้วยทุกข์ กมฺมวิจติ ตฺ ตาเหตุภาเวน โดยเป็นเหตุ แห่งความเป็นธรรมชาติอันตระการไปด้วยกรรม กมฺมสฺส สหายภาวูปคมเนน จ และโดยเข้าถึงความเป็นสหายของกรรม ฯ มคฺโคติ ทีช่ อื่ ว่ามรรค นิโรธคามินปี ฏิปทา- นาเมน วุตฺโต มคฺโค คือ มรรคที่ตรัสไว้โดยชื่อว่านิโรธคามินีปฏิปทา โลกุตฺตโร มคฺโคติ มโต บัณฑิตเรียกว่า โลกุตตรมรรค อิติ เพราะเหตุนั้น ปุน มคฺคคฺคหณํ โยเชตพฺพํ พึงประกอบศัพท์ว่า มรรค เพิ่มเข้าไปอีก ฯ (บ.ศ.๙ ปี ๒๕๓๓ และ ป.ธ.๙ ปี ๒๕๓๔) นิปฺปริยายโต ว่าโดยตรง มคฺคยุตฺตา ฯเปฯ สสมฺปยุตฺตนฺติ เอเต (ธมฺมา) ธรรมทั้งหลายเหล่านี้ คือ มคฺคยุตฺตา ธรรมทั้งหลายที่ประกอบกับมรรคจิต อฏงฺคิกวินิมุตฺตา เสสา มคฺคสมฺปยุตฺตา ผสฺสาทโย ได้แก่ สัมปยุตธรรมทั้งหลายมีผัสสเจตสิกเป็นต้น ที่ประกอบกับมรรคจิต ซึ่งพ้นจากมรรคมีองค์ ๘ ได้แก่ ที่เหลือ ผลญฺเจว สสมฺปยุตฺตํ และผลจิตพร้อมทั้งสัมปยุตธรรม วินิสฺสฏา ออกแล้ว วินิคฺคตา คือ พ้นแล้ว จตูหิ สจฺเจหิ จากสัจจะ ๔ ประการ ฯ ปน แต่ ปริยายโต ว่าโดยอ้อม อญฺาตาวินฺทฺริยนิทฺเทเสปิ มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺนนฺติ วุตฺตตฺตา เพราะ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสไว้แม้ในนิเทศแห่งอัญญาตาวินทรียว์ า่ องค์มรรค นับเนือ่ งกับ มรรคจิต ดังนี้เป็นต้น ผลธมฺเมสุ ในบรรดาผลธรรมทั้งหลาย สมฺมาทิฏอาทีนํ


342

ปริเฉทที่ ๗

มคฺคสจฺเจ อิตเรสญฺจ มคฺคผลสมฺปยุตฺตานํ (ผสฺสาทีนํ) สงฺขารทุกฺขสามญฺเน ทุกขฺ สจฺเจ สงฺคโห สกฺกา กาตุํ บัณฑิตจึงจะสามารถท�ำการรวมองค์มรรคทัง้ หลาย มีสัมมาทิฏฐิเป็นต้นลงในมรรคสัจ และรวมสัมปยุตธรรมทั้งหลายมีผัสสเจตสิก เป็นต้นนอกนี้ ที่ประกอบกับมรรคจิตและผลจิตลงในทุกขสัจ โดยเป็นทุกข์ประจ�ำ สังขารเหมือนกัน ฯ หิ ความจริง เอวํ สติ เมื่อมีการรวมธรรมไว้อย่างนั้น สจฺจเทสนายปิ สพฺพสงฺคาหิกตา อุปฺปนฺนา โหติ แม้สัจจเทศนา ก็ย่อมเกิด มีการรวมธรรมไว้ได้ทั้งหมด ฯ กสฺมา ฯเปฯ วุตฺตา (อิติ ปุจฺฉา) ถามว่า ปน ก็ กสฺมา เพราะเหตุไร เอเต ขนฺธาทโย พหู ธมฺมา วุตฺตา ท่านอาจารย์จึงกล่าว ธรรมทั้งหลายมีขันธ์เป็นต้นเหล่านี้ไว้มากมาย ฯ ภควตาปิ ฯเปฯ เทสิตตฺตา (อิติ วิสชฺชนา) ตอบว่า ภควตาปิ ตเถว เทสิตตฺตา เพราะแม้พระผูม้ พี ระภาคเจ้า ก็ทรงแสดงไว้อย่างนั้นเหมือนกัน ฯ ภควตาปิ ฯเปฯ เทสิตาติ (ปุจฺฉา) ถามว่า กสฺมา เพราะเหตุไร ภควตาปิ ตถา เทสิตา แม้พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงแสดงไว้ อย่างนัน้ ฯ ติวธิ - ฯเปฯ อธิปเฺ ปตตฺตา (อิติ วิสชฺชนา) ตอบว่า ติวธิ สตฺตานุคหสฺส อธิปเฺ ปตตฺตา เพราะทรงพระประสงค์จะอนุเคราะห์สตั ว์ ๓ จ�ำพวก ฯ หิ ความจริง ติวิธา สตฺตา เหล่าสัตว์มี ๓ จ�ำพวก นามรูปตทุภยสมฺมุฬฺหวเสน ติกฺขนาติ- ติกฺขมุทินฺทฺริยวเสน สงฺขิตฺตมชฺฌิมวิตฺถารรุจิวเสน จ คือ เหล่าสัตว์ผู้ลุ่มหลง ในนาม มีอินทรีย์แก่กล้า และพอใจความย่อจ�ำพวก ๑ เหล่าสัตว์ผู้ลุ่มหลงในรูป มีอินทรีย์ยังไม่แก่กล้านัก และพอใจความปานกลางจ�ำพวก ๑ เหล่าสัตว์ผู้ลุ่มหลง ในนามและรูปทั้งสองนั้น มีอินทรีย์อ่อน และพอใจความพิสดารจ�ำพวก ๑ ฯ เตสุ บรรดาเหล่าสัตว์ ๓ จ�ำพวกนั้น นามสมฺมุฬฺหานํ ขนฺธคฺคหณํ เหล่าสัตว์ ผู้ลุ่มหลงในนามจะก�ำหนดรู้ถึงขันธ์ได้ นามสฺส ตตฺถ จตุธา วิภตฺตตฺตา เพราะใน ขันธ์ทั้งหลายเหล่านั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจ�ำแนกนามเป็น ๔ ประการ (คือ เวทนาขันธ์ ๑ สัญญาขันธ์ ๑ สังขารขันธ์ ๑ วิญญาณขันธ์ ๑) ฯ รูปสมฺมุฬฺหานํ อายตนคฺคหณํ เหล่าสัตว์ผู้ลุ่มหลงในรูปจะก�ำหนดรู้ถึงอายตนะได้ รูปสฺส (ตตฺถ) อฑฺเฒกาทสธา วิภตฺตตฺตา เพราะในอายตนะทัง้ หลายเหล่านัน้ พระผูม้ พี ระภาคเจ้า


พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล

343

ทรงจ�ำแนกรูปเป็น ๑๑ ส่วนทั้งกึ่ง (คือ ๑๐ ส่วนครึ่ง) ฯ อุภยสมฺมุฬฺหานํ ธาตุ คฺ ค หณํ เหล่ า สั ต ว์ ผู ้ ลุ ่ ม หลงในนามและรู ป ทั้ ง สองจะก� ำหนดรู ้ ถึ ง ธาตุ ไ ด้ อุ ภ เยสมฺ ป ิ ตตฺ ถ วิ ตฺ ถ ารโต วิ ภ ตฺ ต ตฺ ต า เพราะในธาตุ ทั้ ง หลายเหล่ า นั้ น พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ทรงจ� ำ แนกนามและรู ป แม้ ทั้ ง สองโดยพิ ส ดาร ฯ ตถา ติกฺขินฺทฺริยานํ สงฺขิตฺตรุจิกานญฺจ ขนฺธคฺคหณนฺติอาทิ โยเชตพฺพํ บัณฑิตพึง ประกอบค�ำว่า เหล่าสัตว์จ�ำพวกมีอินทรีย์แก่กล้า และเหล่าสัตว์จ�ำพวกพอใจ ในความย่อ จะก�ำหนดรู้ถึงขันธ์ได้ ก็เหมือนกัน ดังนี้เป็นต้น ฯ ตมฺปเนตํ ฯเปฯ สจฺจคฺคหณนฺติ ทฏพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า ปน ก็ ตํ เอตํ ติวิธมฺปิ ศัพท์แม้ทั้ง ๓ นี้นั้น ทิฏเมว อุปการาวหํ ย่อมน�ำอุปการะมาให้ทันตาเห็นทีเดียว ปวตฺตินิวตฺติตทุภยเหตุวเสน ด้วยอ�ำนาจทุกขสัจที่เป็นไปอยู่ นิโรธสัจที่ให้กลับ และเหตุแห่งทุกขสัจที่เป็นไปอยู่ (คือ สมุทัยสัจ) เหตุแห่งนิโรธสัจที่ไห้กลับ (คือ มรรคสัจ) ทัง้ สองนัน้ โน อญฺถา (อุปการาวห)ํ ย่อมน�ำอุปการะมาให้โดยประการ อื่นหาได้ไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น สจฺจคฺคหณํ เหล่าสัตว์จึงก�ำหนดรู้ถึงสัจจะ (คือ อริยสัจ ๔ ประการ)ได้ ฯ (จบ บ.ศ.๙ ปี ๒๕๓๓ และ ป.ธ.๙ ปี ๒๕๓๔) จบสัพพสังคหะ อิติ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย สตฺตมปริจฺเฉทวณฺณนา นิฏตา พรรณนาความปริจเฉทที่ ๗ ในฏีกาอภิธัมมัตถสังหะ ชื่อว่าอภิธัมมัตถวิภาวินี จบแล้ว ด้วยประการฉะนี้


344

ปริเฉทที่ ๘

อฏฺฐมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๘ (๒๕๐๘) อิทานิ บัดนี้ (อาจริเยน) ท่านอาจารย์ ทสฺเสตุํ เพื่อจะแสดง ปจฺจเย ปัจจัย ยถาวุตฺตนามรูปธมฺมานํ ของธรรมคือรูปธรรมและนามธรรม ตามที่กล่าวแล้ว ปฏิจฺจสมุปฺปาทปฏฺฐานนยวเสน ด้วยอ�ำนาจปฏิจจสมุปปาทนัย และปัฏฐานนัย เยสนฺติอาทิมารทฺธํ จึงเริ่มค�ำว่า เยสํ ดังนี้เป็นต้น ฯ โยชนา ประกอบความว่า ปจฺจยธมฺมา ธรรมคือปัจจัย เย เหล่าใด ปจฺจยา เป็นปัจจัย อุปการกา คือเป็นสภาวะท�ำอุปการะ ฐิติยา แก่ความด�ำรงอยู่ อุปฺปตฺติยา จ และ ความอุบัติ สงฺขตานํ แห่งธรรมที่ชื่อว่าสังขตะ (ทั้งที่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง) ปจฺจเยหิ สงฺขตตฺตา เพราะอันปัจจัยทั้งหลายปรุงแต่ง ได้แก่ ปจฺจยุปฺปนฺนธมฺมานํ ธรรม อันเกิดขึ้นด้วยปัจจัย เยสํ เหล่าใด ยถา โดยประการใด คือ เยนากาเรน โดยอาการใด ปวกฺขามิ ข้าพเจ้าจักกล่าว ตํวิภาคํ วิภาคนั้น ๆ คือ ปเภทํ ประเภท ปจฺจยุปฺปนฺนานํ ของธรรมที่เกิดขึ้นจากปัจจัย เตสํ นั้น ๑ ปจฺจยานํ ประเภท ของปัจจัย เตสํ เหล่านั้น ๑ ปจฺจยาการสฺส ประเภทของอาการที่เป็นปัจจัย ตสฺส นั้น ๑ อิห ฐาเน ในที่นี้ คือ อิมสฺมึ สมุจฺจยสงฺคหานนฺตเร ในฐานะ อันเป็นล�ำดับแห่งสมุจจยสังคหะนี้ ยถารหํ ตามสมควร คือ ตํตํปจฺจยานํ ตํตํปจฺจยภาวาการานุรูปํ สมควรแก่อาการคือภาวะที่ปัจจัยนั้น ๆ เป็นปัจจัยนั้น ๆ ตํตปํ จฺจยุปปฺ นฺนธมฺเม ปติ เฉพาะธรรมอันเกิดขึน้ ด้วยปัจจัยนัน้ ๆ อิทานิ ในบัดนี้ ฯ ตตฺถ ปฏิจจฺ สมุปปฺ าทนยาทีสุ วินจิ ฉฺ โย วินจิ ฉัยในค�ำว่า ปฏิจจสมุปปาทนัยเป็นต้น นั้น ดังต่อไปนี้ ปจฺจยสามคฺคึ ปฏิจฺจ สมํ คนฺตฺวา ผลานมุปฺปาโท เอตสฺมาติ ปฏิจจฺ สมุปปฺ าโท ปจฺจโย ธรรมทีช่ อ่ื ว่าปฏิจจสมุปบาท ด้วยอรรถว่า เป็นแดนอาศัย ความพรั่งพร้อมแห่งปัจจัย ถึงพร้อมแล้ว เกิดผลทั้งหลายขึ้น ได้แก่ ปัจจัย (ปฏิจจฺ สมุปปฺ าโท ธรรมทีช่ อื่ ว่าปฏิจจสมุปบาท อิติ ด้วยอรรถว่า เอตสฺมา เป็นแดน


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

345

ปฏิจจฺ อาศัย ปจฺจยสามคฺคึ ความพรัง่ พร้อมแห่งปัจจัย สมํ คนฺตวฺ า ถึงพร้อมแล้ว ผลานมุปฺปาโท เกิดผลทั้งหลายขึ้น ปจฺจโย ได้แก่ ปัจจัย) ฯ ปฏฺฐานํ ปกรณ์อัน ชือ่ ว่าปัฏฐาน เอตฺถาติอาทินา ด้วยอรรถเป็นต้นว่า ฐานานิ เป็นทีม่ ฐี าน คือ ปจฺจยา ปัจจัย นานปฺปการานิ ประการต่าง ๆ ได้แก่ อนนฺตนยสมนฺตปฏฺฐานมหาปกรณํ มหาปกรณ์สมันตปัฏฐาน ซึง่ มีนยั ไม่มที สี่ ดุ ฯ เทสิตนโย นัยอันพระผูม้ พี ระภาคเจ้า ทรงแสดงไว้ ตตฺถ อนนฺตนยสมนฺตปฏฺฐานมหาปกรเณ ในมหาปกรณ์สมันตปัฏฐาน ซึ่งมีนัยไม่มีที่สุดนั้น ปฏฺฐานนโย ชื่อว่าปัฏฐานนัย ฯ (จบ ๒๕๐๘) บทว่า ตตฺถ ได้แก่ เตสุ ทฺวีสุ นเยสุ บรรดานัยทั้ง ๒ นั้น ฯ ภาโว ความเกิดมี ภวนสีลสฺส แห่งปัจจยุปันนธรรมซึ่งมีปกติ ภาเวน โดยความเกิดมี ปจฺจยธมฺมสฺส แห่งปัจจยธรรม ตสฺส นัน้ ตพฺภาวภาวิภาโว ชือ่ ว่า ตัพภาวภาวิภาพ ฯ โสเยว อาการมตฺตํ ฯ เตน อุปลกฺขิโต นัยที่ท่านก�ำหนดแน่นอน โดยเพียง อาการ คือ ความเกิดมีแห่งปัจจยุปันนธรรม ซึ่งมีเป็นปกติ โดยความเกิดมีแห่ง ปัจจยธรรมนั้น ตพฺภาว ฯเปฯ ลกฺขิโต ชื่อว่าตัพภาวะ ฯ ล ฯ ลักขิตะ ฯ เอเตเนว (ตพฺภาวภาวิภาวาการมตฺโตปลกฺขิตฺโต อิติอาทินา ปเทน) ด้วยบทว่า ตพฺภาวภาวิภาวาการมตฺโตปลกฺขิตฺโต นี้นั่นแล ตทภาวาภาวิภาวาการมตฺโตปลกฺขิตตาปิ อตฺถโต ทสฺสิตา โหติ โดยใจความ ย่อมเป็นอันท่านแสดงแม้ความที่ นัยที่ท่านก�ำหนดแน่นอน โดยเพียงอาการ คือ ความเกิดมีแห่งปัจจยุปันนธรรม ซึ่งมีเป็นปกติ โดยความเกิดมีแห่งปัจจยธรรมนั้น ฯ หิ ความจริง ปจฺจยลกฺขณํ ลักษณะแห่งปัจจยธรรม ทสฺสิตพฺพํ พึงแสดง อนฺวยพฺยติเรกวเสน ด้วยอ�ำนาจ นัยทีค่ ล้อยตามและนัยทีข่ ดั แย้งกัน ฯ เตนาห ภควา เหตุนนั้ พระผูม้ พี ระภาคเจ้า จึงตรัสว่า อิมสฺมึ สติ เมือ่ เหตุนมี้ ี อิทํ โหติ ผลนีจ้ งึ มี อิมสฺสปุ ปฺ าทา เพราะเหตุนี้ เกิดขึ้น อิทมุปฺปชฺชติ ผลนี้จึงเกิดขึ้น อิมสฺมึ อสติ เมื่อเหตุนี้ไม่มี อิทํ น โหติ ผลนี้ก็ไม่มี อิมสฺส นิโรธา เพราะเหตุนี้ดับ อิทํ นิรุชฺฌตีติ ผลนี้จึงดับ ฯ ปฏิจฺจ ผลํ เอตสฺมา เอตีติ ปจฺจโย ที่ชื่อว่าปัจจัย เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นแดนอาศัยเป็นไปแห่งผล (ปจฺจโย ที่ชื่อว่าปัจจัย ปฏิจฺจ ผลํ เอตสฺมา เพราะ


346

ปริเฉทที่ ๘

อรรถวิเคราะห์ว่า เป็นแดนอาศัย เอตีติ เป็นไปแห่งผล) ฯ ติฏฺฐติ ผลํ เอตฺถ ตทายตฺตวุตตฺ ติ ายาติ ฐิติ ทีช่ อื่ ว่าฐิติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เป็นทีต่ งั้ อยูแ่ ห่งผล เพราะมีความเป็นไปเนือ่ งกับปัจจยธรรมนัน้ (ฐิติ ทีช่ อื่ ว่าฐิติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ติฏฺฐติ ผลํ เอตฺถ เป็นที่ตั้งอยู่แห่งผล ตทายตฺตวุตฺติตาย เพราะมีความเป็นไป เนื่องกับปัจจยธรรมนั้น) ฯ ฐิติ ที่ตั้งอยู่แห่งผล ปจฺจยสงฺขาตา กล่าวคือปัจจัย อาหจฺจ วิเสเสตฺวา ปวตฺตา ที่เป็นไปตลอด ได้แก่ ไม่เหลือ อาหจฺจปจฺจยฏฺฐิติ ชื่อว่า อาหัจจปัจจยฐิติ ฯ หิ ความจริง ปฏิจฺจสมุปฺปาทนโย ปฏิจจสมุปปาทนัย เหตาทิปจฺจยนิยมวิเสสํ อนเปกฺขิตฺวา ไม่ค�ำนึงถึงความต่างกันแห่งการก�ำหนด ปัจจัยมีเหตุปัจจัยเป็นต้น อวิเสสโตว ปวตฺตติ ย่อมเป็นไปโดยไม่แปลกกันเลย ตพฺภาวภาวิภาวาการมตฺตํ อปุ าทาย ปวตฺตตฺตา เพราะอาศัยเพียงอาการ คือความ เกิดมีแห่งปัจจยุปันนธรรมซึ่งมีปกติ โดยความเกิดมีแห่งปัจจยธรรมนั้น เป็นไป ปน ส่วน อยํ (ปฏฺฐานนโย) ปัฏฐานนัยนี้ ตํตํปจฺจยภาวสามตฺถิยาการวิเสสํ อุปาทาย อาศัยความต่างกันแห่งอาการ คือความสามารถในความทีแ่ ห่งปัจจัยนัน้ ๆ มีเหตุปัจจัยเป็นต้นเป็นปัจจัยนั้น ๆ ตสฺส ตสฺส ธมฺมนฺตรสฺส แก่ธรรมอื่นนั้น ๆ วิเสเสตฺวา ปวตฺโต เป็นไปต่างกัน (อิต)ิ อาห เพราะเหตุนนั้ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ จึงกล่าวว่า อาหจฺจปจฺจยฏฺฐิตึ อารพฺภ ปวุจฺจตีติ ทรงปรารภที่ตั้งอยู่แห่งผลกล่าว คือปัจจัยที่เป็นไปตลอด ตรัสเรียกว่า ปัฏฐานนัย ฯ ปน ส่วน เกจิ (อาจริยา) อาจารย์บางพวก วณฺเณนฺติ พรรณนาไว้วา่ อาหจฺจ กณฺฐตาลุอาทีสุ ปหริตวฺ า วุตตฺ า ที่ตั้งอันบุคคลพูดถึง คือกระทบ ที่คอและเพดานเป็นต้น อาหจฺจปจฺจยฏฺฐิติ ชื่อว่า อาหัจจปัจจยฐิติ ฯ ปน ก็ ตํ (วจนํ) ค�ำนั้น ปกาเสติ ย่อมประกาศ เตสํ อวหสิตพฺพวจนตํ ความที่ถ้อยค�ำของเกจิอาจารย์พวกนั้น เป็นธรรมชาตอันบุคคล พึงหัวเราะเยาะได้ สวนมตฺเตเนว ด้วยเหตุเพียงได้ยินเท่านั้น หิ เพราะว่า ปฏิจฺจสมุปฺปาทนโย ปฏิจจสมุปปาทนัย อญฺโญ วา โกจิ นโย หรือนัยอย่างอื่น อะไร ๆ ก็ตาม กณฺฐตาลุอาทีสุ อนาหจฺจ เทสิตุํ สกฺกา พระผู้มีพระภาคเจ้า ไม่สามารถจะทรงแสดงไม่ให้กระทบที่คอและที่เพดานเป็นต้นได้ อิติ ดังนี้แล ฯ


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

347

อธิปฺปาโย อธิบายว่า อาจริยา อาจารย์ทั้งหลาย สงฺคหการาทโย คือท่านอาจารย์ ผู้แต่งสังคหะเป็นต้น โวมิสฺเสตฺวา ผสม ปกฺขิปิตฺวา ได้แก่ ใส่ ปฏฺฐานนยมฺปิ ปฏิจจฺ สมุปปฺ าเทเยว ปัฏฐานนัยเข้าในปฏิจจสมุปปาทนัยนัน่ เอง มิสเฺ สตฺวา แล้วผสม ตพฺภาวภาวิภาเวน ด้วยความเกิดมีแห่งปัจจยุปันนธรรมซึ่งมีปกติโดยความเกิดมี แห่งปัจจยธรรมนั้น ตาทิเหตาทิปจฺจยวเสน จ และด้วยอ�ำนาจเหตุปัจจัยเป็นต้น ปปญฺเจนฺติ พรรณนาไว้อย่างพิสดาร วิตถฺ าเรนฺติ คือ ขยายออกอย่างกว้างขวาง ฯ ปน แต่ มยํ พวกข้าพเจ้า วิสุ วิสุเยว ทสฺสยิสฺสาม จักแสดงแยกกัน ฯ น วิชานาตีติ อวิชฺชา ธรรมชาติที่ชื่อว่า อวิชชา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่รู้แจ้ง (อวิชฺชา ธรรมชาติที่ชื่อว่า อวิชชา น วิชานาตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่ รู ้ แ จ้ ง ) ฯ อวิ นฺ ทิ ยํ วา กายทุ จฺ จ ริ ต าทึ วิ นฺ ท ติ ปฏิ ล ภติ วิ นฺ ทิ ยํ วา กายสุจริตาทิกํ น วินฺทติ เวทิตพฺพํ วา จตุสจฺจาทิกํ น วิทิตํ กโรติ อวิชฺชมาเน วา ชวาเปติ วิชฺชมาเน วา น ชวาเปตีติ อวิชฺชา อีกอย่างหนึ่ง ที่ชื่อว่า อวิชชา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ประสบ คือได้เฉพาะ ซึ่งกายทุจริตเป็นต้นที่ตน ไม่พึงประสบ ย่อมไม่ประสบกายสุจริตเป็นต้นที่ตนพึงประสบ ไม่กระท�ำสัจจะ ๔ เป็นต้นทีต่ นพึงทราบให้ทราบชัด ย่อมให้สตั ว์เป็นไปในอวิชชมานบัญญัติ หรือไม่ให้ เหล่าสัตว์เป็นไปในวิชชมานบัญญัติ (วา อีกอย่างหนึ่ง อวิชฺชา ที่ชื่อว่าอวิชชา วินฺทติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ประสบ ปฏิลภติ คือได้เฉพาะ อวินฺทิยํ กายทุจฺจริตาทึ ซึ่งกายทุจริตเป็นต้นที่ตนไม่พึงประสบ น วินฺทติ ย่อมไม่ประสบ วินฺทิยํ วา กายสุจริตาทิกํ กายสุจริตเป็นต้นที่ตนพึงประสบ เวทิตพฺพํ วา จตุสจฺจาทิกํ น วิทิตํ กโรติ ไม่กระท�ำสัจจะ ๔ เป็นต้นที่ตนพึงทราบให้ทราบชัด อวิชฺชมาเน วา ชวาเปติ ย่อมให้สัตว์เป็นไปในอวิชชมานบัญญัติ) วิชฺชมาเน วา น ชวาเปติ หรือไม่ให้เหล่าสัตว์เป็นไปในวิชชมานบัญญัติ ฯ เอตํ (อวิชฺชาติ) ค�ำว่า อวิชชา นี้ อญาณสฺส นามํ เป็นชื่อว่าของความไม่รู้ จตูสุ อริยสจฺเจสุ ในอริยสัจ ๔ ปุพพฺ นฺตาทีสุ จ จตูสุ และในสภาวธรรม ๔ มีทสี่ ดุ เบือ้ งต้นเป็นอาทิ ฯ อวิชชานั่นเอง เป็นปัจจัย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าอวิชชาปัจจัย (อวิชฺชาว อวิชชา


348

ปริเฉทที่ ๘

นัน่ เอง ปจฺจโย เป็นปัจจัย อิติ เพราะเหตุนนั้ อวิชชฺ าปจฺจโย จึงชือ่ ว่าอวิชชาปัจจัย) ฯ ตโต อวิชฺชาปจฺจยา เพราะอวิชชาปัจจัยนั้น จึงเกิดมี สังขารทั้งหลาย ฯ สงฺขตมภิสงฺขโรนฺตีติ สงฺขารา กุสลากุสลกมฺมานิ ที่ชื่อว่าสังขาร เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า ปรุงแต่งสังขตธรรม ได้แก่ กุศลกรรมและอกุศลกรรม (สงฺขารา ที่ชื่อว่าสังขาร สงฺขตมภิสงฺขโรนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ปรุงแต่งสังขตธรรม กุสลากุสลกมฺมานิ ได้แก่ กุศลกรรมและอกุศลกรรม) ฯ เต ติวิธา สังขาร เหล่านั้นมี ๓ อย่าง ปุญฺญาภิสงฺขาโร อปุญฺญาภิสงฺขาโร อเนญฺชาภิสงฺขาโรติ คือ ปุญญาภิสังขาร ๑ อปุญญาภิสังขาร ๑ อเนญชาภิสังขาร ๑ ฯ ตตฺถ (ติวิเธสุ สงฺขาเรสุ) บรรดาสังขาร ๓ อย่างนั้น เตรส กุสลเจตนา กุศลจิต ๑๓ ดวง กามรู ป าวจรา ทั้ ง ฝ่ า ยกามาวจรและฝ่ า ยรู ป าวจร ปุ ญฺ ญ าภิ ส งฺ ข าโร ชื่ อ ว่ า ปุญญาภิสงั ขาร ทฺวาทส อกุสลเจตนา อกุศลจิต ๑๒ ดวง อปุญญ ฺ าภิสงฺขาโร ชือ่ ว่า อปุญญาภิสังขาร จตสฺโส อรูปเจตนา อรูปาวจรจิต ๔ ดวง อเนญฺชาภิสงฺขาโร ชื่อว่า อเนญชาภิสังขาร อิติ เอวํ รวมความดังกล่าวมานี้ เอกูนตฺตึส เจตนา จิต ๒๙ ดวงเหล่านี้ สงฺขารา นาม ชื่อว่า สังขาร ฯ วิปากจิตฺตํ วิบากจิต ปฏิสนฺธิวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจปฏิสนธิกาล เอกูนวีสติวิธํ มี ๑๙ ดวง ปวตฺติวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจปวัตติกาล ทฺวตฺตสึ วิธํ มี ๓๒ ดวง วิญญ ฺ าณํ นาม ชือ่ ว่า วิญญาณ ฯ นามญฺจ รูปญฺจ นามและรูป นามรูปํ ชือ่ ว่านามรูป ฯ ทฏฺฐพฺพํ พึงเห็นความหมาย ว่า ตตฺถ บรรดานามและรูปทั้ง ๒ นั้น นามํ อิธ นามในที่นี้ เวทนาทิกฺขนฺธตฺตยํ ได้แก่ ขันธ์ ๓ มีเวทนาขันธ์เป็นต้น ฯ ปน ส่วน รูปํ รูป ได้แก่ กมฺมสมุฏฐฺ านรูปํ รูปทีม่ กี รรมเป็นสมุฏฐาน ทุวธิ ํ มี ๒ อย่าง ภูโตปาทายเภทโต โดยแยกเป็นภูตรูป และอุปาทายรูป ฯ ตทุภยมฺปิ (นามรูปํ) นามและรูปทั้ง ๒ นั้น อิธ ในที่นี้ ปฏิสนฺธิวิญฺญาณสหคตํ สหรคตด้วยปฏิสนธิวิญญาณจิต ฯ นามรูปปจฺจยาติ เอตฺถ ในค�ำว่า นามรูปปจฺจยา นี้ สรูเปกเสโส เวทิตพฺโพ บัณฑิตพึงทราบ สรูเปกเสสสมาสว่า นามญฺจ นามด้วย รูปญฺจ รูปด้วย นามรูปญฺจ นามและรูปด้วย นามรูปํ ชื่อว่านามรูป ฯ


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

349

ฉ อชฺฌตฺตกิ ายตนานิ อายตนะภายใน ๖ จกฺขวฺ าทีนิ มีจกั ขวายตนะเป็นต้น ฉ พาหิรายตนานิปิ วา หรือแม้อายตนะภายนอก ๖ รูปาทีนิ มีรูปายตนะเป็นต้น เกสญฺจิ (อาจริยานํ) มเตน ตามมติของอาจารย์บางพวก อายตนํ นาม ชื่อว่า อายตนะ ฯ ฉ อายตนานิ จ อายตนะ ๖ ฉฏฺฐายตนญฺจ และอายตนะที่ ๖ สฬายตนํ ชื่อว่าสฬายตนะ ฯ ผสฺโส ผัสสะ ฉทฺวาริโก อันเกิดทางทวาร ๖ จกฺขุสมฺผสฺสาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจจักขุสัมผัสเป็นต้น ผสฺโส นาม ชื่อว่าผัสสะ ฯ ติวธิ า เวทนา เวทนามี ๓ อย่าง สุขทุกขฺ เุ ปกฺขาวเสน คือ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ อทุกขมสุขเวทนา ๑ ฯ ติติวิธาตณฺหา ตัณหามี ๓ อย่าง กามตณฺหา คือ กามตัณหา ๑ ภวตณฺหา ภวตัณหา ๑ วิภวตณฺหา วิภวตัณหา ๑ ฯ ปน แต่ ฉฬารมฺมณาทิวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจอารมณ์ ๖ เป็นต้น อฏฺฐสตปฺปเภทา โหนฺติ ตัณหาก็มี ๑๐๘ ประเภท ฯ อุปาทานา อุปาทาน จตฺตาโร มี ๔ อย่าง กามูปาทานาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกามุปาทานขันธ์เป็นต้น ฯ อยเมเตสํ วิเสโส ตัณหา และอุปาทานทั้ง ๒ นั้น มีความต่างกันดังนี้ คือ ปน ก็ เอตฺถ (ตณฺหุปาทาเนสุ) บรรดาตัณหาและอุปทานทั้ง ๒ นี้ ตณฺหา ความทะยานอยาก ทุพฺพลา ที่ไม่รุนแรง ตณฺหา นาม ชื่อว่าตัณหา พลวตี ความทะยานอยากที่รุนแรง อุปาทานํ ชื่อว่า อุปาทาน อสมฺปตฺตวิสยปตฺถนา วา อีกอย่างหนึ่ง ความปรารถนาถึงอารมณ์ที่ ยังมาไม่ถึง ตณฺหา ชื่อว่าตัณหา ตมสิ โจรานํ หตฺถปฺปสารณํ วิย เปรียบเสมือน พวกโจรเหยียดมือออกไปในที่มืด ฉะนั้น สมฺปตฺตวิสยคฺคหณมุปาทานํ การยึด อารมณ์ที่มาถึงแล้ว ชื่อว่าอุปาทาน โจรานํ หตฺถปฺปตฺตสฺส คหณํ วิย เปรียบ เสมือนพวกโจรถือของที่อยู่ในมือ ฉะนั้น อปฺปิจฺฉตาปฏิปกฺขา ธรรมชาติอันเป็น ข้าศึกต่อความปรารถนาน้อย ตณฺหา ชื่อว่า ตัณหา สนฺโตสปฏิปกฺโข สภาวะ ทีเ่ ป็นข้าศึกต่อความสันโดษ อุปาทานํ ชือ่ ว่าอุปาทาน ปริเยสนาทุกขฺ มูลํ ธรรมชาติ ที่มีทุกข์ในการแสวงหาเป็นมูล ตณฺหา ชื่อว่าตัณหา อารกฺขาทุกฺขมูลํ ธรรมชาติ ที่มีทุกข์ในการรักษาเป็นมูล อุปาทานํ ชื่อว่าอุปาทาน ฯ


350

ปริเฉทที่ ๘

ทุวิโธ ภโว ภพมี ๒ อย่าง กมฺมภโว คือ กรรมภพ (๑) อุปปตฺติภโว อุปปัตติภพ (๑) ฯ ตตฺถ ในบรรดาภพทั้ง ๒ อย่างนั้น ปฐโม ภพที่ ๑ ภวติ เอตสฺมา ผลนฺติ ภโว ชื่อว่าภพ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นแดนเกิดแห่งผล ฯ โส (ภโว) ภพนั้น เอกูนตฺตึสวิโธ มี ๒๙ อย่าง กามาวจรกุสลากุสลาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกามาวจรกุศลและกามาวจรอกุศลเป็นต้น ฯ ปน ส่วน ทุติโย ภพที่ ๒ ภวตีติ ภโว ชื่อว่าภพ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เกิดมี ฯ โส (ภโว) ภาพนั้น นววิโธ มี ๙ อย่าง กามภวาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกามภพเป็นต้น ฯ เจตฺถ ก็ ในค�ำนี้ว่า อุปาทานปจฺจยา ภโวติ เพราะอุปาทานเป็นปัจจัยจึงเกิดมีภพ ดังนี้ อุปปตฺติภโวปิ อธิปฺเปโต ท่านประสงค์เอาแม้อุปปัตติภพ ฯ ภวปจฺจยา ชาตีติ ในค�ำว่า เพราะภพเป็นปัจจัยจึงเกิดมีชาติ กมฺมภโว ว ท่านประสงค์เอาเฉพาะ กรรมภพ ฯ หิ ความจริง โส (กมฺมภโว) กรรมภพนั้น ปจฺจโย โหติ ย่อมเป็น ปัจจัย ชาติยา แก่ชาติ อิตโร (อุปปตฺตภิ โว) อุปปัตติภพนอกนี้ น หาเป็นได้ไม่ ฯ หิ ความจริง โส (อุปปตฺติภโว) ปฐมาภินิพฺพตฺตกฺขนฺธสภาโว อุปปัตติภพ ซึ่งมีขันธ์ที่บังเกิดครั้งแรกเป็นสภาวะนั้น ชาติเยว ก็คือชาติ ฯ จ ก็ ตเทว (อุปปตฺติสงฺขาตํ ธมฺมชาตํ) ธรรมชาติกล่าวคืออุปปัตติภพนั้นนั่นแหละ ตสฺส (อุปปตฺติภวสฺส) การณํ เป็นเหตุของ อุปปัตติภพนั้น น ยุตฺตํ หาควรไม่ ฯ อตฺตภาวปฏิลาโภ การได้อัตภาพ ตํตํคติอาทีสุ ในคตินั้น ๆ เป็นต้น เตสํ เตสํ สตฺตานํ แห่งเหล่าสัตว์นั้น ๆ ชาติ ชื่อว่าชาติ ฯ จ อนึ่ง ตถานิพฺพตฺตสฺส อตฺตภาวสฺส โปราณภาโว ภาวะแห่งอัตภาพที่บังเกิดแล้วอย่างนั้น คร�่ำคร่าไป ชรา ชื่อว่าชรา ฯ เอตสฺเสว เอกภวปริจฺฉินฺนสฺส ปริโยสานํ ที่สุดแห่งอัตภาพนั้น นั่นแหละ ที่ก�ำหนดด้วยภพ ๑ มรณํ ชื่อว่า มรณะ ฯ ญาติพฺยสนาทีหิ ผุฏฺฐสฺส จิตฺตสนฺตาโป ความเร่าร้อนแห่งจิตของบุคคลผู้ถูกความพินาศแห่งญาติเป็นต้น ถูกต้อง โสโก ชื่อว่า โสกะ ฯ ตสฺเสว (ญาติพฺยสนาทีหิ ผุฏฺฐสฺส) วจีปลาโป ความบ่นเพ้อทางวาจาแห่งบุคคลผู้ถูกความพินาศแห่งญาติเป็นต้นนั้นถูกต้องแล้ว นั่นแล ปริเทโว ชื่อว่าปริเทวะ ฯ กายิกทุกฺขเวทนา ทุกขเวทนาที่เกิดทางกาย


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

351

ทุกฺขํ ชื่อว่าทุกข์ ฯ มานสิกทุกฺขเวทนา ทุกขเวทนาที่เกิดทางใจ โทมนสฺสํ ชื่อว่าโทมนัส ฯ ญาติพฺยสนาทีหิ ผุฏฺฐสฺส อธิมตฺตเจโตทุกฺขปฺปภาวิโต ภุโส อายาโส ความคับแค้นใจอย่างยิง่ ทีถ่ กู ทุกข์ทางใจเหลือประมาณท่วมทับ แห่งบุคคล ผูถ้ กู ความพินาศแห่งญาติเป็นต้นถูกต้องแล้ว อุปายาโส ชือ่ ว่า อุปายาส ฯ (๒๕๕๐) จ ก็ เอตฺถ (ปฏิจฺจสมุปฺปาทนเย) ในปฏิจจสมุปปาทนัยนี้ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิต พึงเห็นความหมายว่า อวิชชฺ าทิเอเกกปฺปจฺจยคฺคหณํ ท่านระบุถงึ ปัจจัยแต่ละอย่าง มีอวิชชาเป็นต้น สติปิ วตฺถารมฺมณาทิเก ปจฺจยนฺตเร แม้เมือ่ ปัจจัยอย่างอืน่ มีวตั ถุ และอารมณ์เป็นต้น ยังมีอยู่ ปธานภาวโต เพราะความเป็นปัจจัยที่เป็นประธาน ปากฏสภาวโต จ และเพราะเป็นปัจจัยทีป่ รากฏชัด ฯ เอวเมเตสํ ตพฺภาวภาวิภาโว ทฏฺฐพฺโพ บัณฑิตพึงเห็นความเกิดมีแห่งปัจจยุปนั นธรรมซึง่ เกิดมีปกติ ด้วยความเกิดมี แห่งปัจจยธรรมนัน้ แห่งปัจจยาการทัง้ หลายมีอวิชชาเป็นต้นเหล่านี้ อย่างนีว้ า่ จ ก็ เอตฺถ (อวชฺชาทีส)ุ บรรดาอวิชชาเป็นต้นเหล่านี้ สงฺขารา สังขารทัง้ หลาย สมฺภวนฺติ ย่อมเกิดมี อวิชฺชาปจฺจยา เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สงฺขารานํ วิปากธมฺมภาเวน ปวตฺตนโต เหตุสงั ขารทัง้ หลายเป็นไปโดยความเป็นวิบากธรรม อวิชชฺ านุสยิเตเยว สนฺตาเน ในสันดานที่อวิชชานอนแนบสนิทนั่นแล ฯ จ อนึ่ง วิญฺญาณํ วิญญาณ สงฺขารชนิตํ หุตฺวา เป็นธรรมชาตอันสังขารให้เกิดแล้ว ปติฏฺฐาติ ย่อมด�ำรงอยู่ ภวนฺตเร ในภพอื่น หิ เพราะ ชนกาภาเว เมื่อไม่มีสังขาร อันเป็นสภาวะให้เกิด น ตสฺสปุ ปฺ ตฺติ สิยา วิญญาณนัน้ จะพึงเกิดขึน้ ไม่ได้ ตสฺมา เพราะฉะนัน้ วิญญ ฺ าณํ วิญญาณจึงเกิดมี สงฺขารปจฺจยา เพราะสังขารเป็นปัจจัย ฯ จ อนึ่ง นามรูปํ นามและรูป ปุพพฺ งฺคมาธิฏฐฺ านภูตวิญญ ฺ าณูปตฺถทฺธํ อันวิญญาณ ซึง่ เป็นธรรมชาต น�ำหน้าและเป็นทีต่ งั้ อาศัยแห่งสหชาตธรรมทัง้ หลายค�ำ้ จุนแล้ว ปติฏฐฺ าติ ย่อมด�ำรง อยูไ่ ด้ ปฏิสนฺธปิ วตฺตสี ุ ในปฏิสนธิกาล และปวัตติกาล อิติ เพราะเหตุนนั้ นามรูปํ นามรูป วิญฺญาณปจฺจยา จึงเกิดมีเพราะวิญญาณเป็นปัจจัย ฯ จ อนึ่ง สฬายตนํ สฬายตนะ นามรูปูปนิสฺสยเมว อันมีนามรูปเป็นที่อิงอาศัยนั่นแล ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ยถารหํ ตามความสมควร ฉพฺพิธผสฺสสฺส ทฺวารภาเวน โดยความ


352

ปริเฉทที่ ๘

เป็นทวารแห่งผัสสะ ๖ อย่าง โน อญฺญถา หาเป็นไปโดยประการอื่นไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น สฬายตนํ สฬายตนะ นามรูปปจฺจยา จึงเกิดมีเพราะนามรูป เป็นปัจจัย ฯ จ อนึ่ง ผสฺโส ผัสสะ อารมฺมณํ ผุสติ ย่อมถูกต้องอารมณ์ สฬายตนสมฺภเวเยว ในเพราะสฬายตนนะเกิดมีเท่านั้น หิ เพราะ ทฺวาราภาเว เมือ่ ทวารไม่มี น ตสฺสปุ ปฺ ตฺติ สิยา ผัสสะนัน้ จะพึงเกิดขึน้ ไม่ได้ อิติ เพราะเหตุนนั้ ผสฺ โ ส ผั ส สะ สฬายตนปจฺ จ ยา จึ ง เกิ ด มี เ พราะสฬายตนะเป็ น ปั จ จั ย ฯ อิฏฺฐานิฏฺฐมชฺฌตฺตญฺจ อารมฺมณํ ผุสนฺตา (สตฺตา) สัตว์ทั้งหลายเมื่อถูกต้อง อิ ฏ ฐารมณ์ อนิ ฏ ฐารมณ์ และมั ช ฌั ต ตารมณ์ นั่ น แหละ เวทนา เวทิ ย นฺ ติ ย่อมเสวยเวทนา โน อญฺญถา หาเสวยเวทนาโดยประการอืน่ ไม่ อิติ เพราะเหตุนนั้ เวทนา เวทนาจึงเกิดมี ผสฺสปจฺจยา เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ฯ จ อนึ่ง ตณฺหา ตัณหา เวทนาเหตุกา อันมีเวทนาเป็นเหตุ สมุฏฺฐาติ ย่อมตั้งขึ้น เวทนิเยสุ ธมฺเมสุ อสฺสาทานุปสฺสิโน แก่สัตว์ผู้มักตามเห็นความพอใจในธรรมเป็นที่ตั้ง แห่งเวทนา อิติ เพราะเหตุนนั้ ตณฺหา ตัณหาจึงเกิดมี เวทนาปจฺจยา เพราะเวทนา เป็นปัจจัย ฯ จ อนึ่ง สิเนหปิปาสิตาเยว เฉพาะเหล่าสัตว์ผู้กระหายเพราะกิเลส เป็นยางเหนียว ตณฺหา คือตัณหา สํวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป อุปาทานาย เพื่อ ความยึดมัน่ ทฬฺหภาเวน คือ ความถือมัน่ ธมฺเมสุ ในธรรมทัง้ หลาย อุปาทานิเยสุ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น ฯ หิ ความจริง ตณฺหาย รูปาทีนิ อสฺสาเทตฺวา เหล่าสัตว์ชอบใจรูปารมณ์เป็นต้นด้วยตัณหาแล้ว กาเมสุ ปาตพฺยตํ อาปชฺชนฺติ ย่อมถึงความเป็นผู้ตกไปในกามทั้งหลาย อิติ เพราะเหตุนั้น ตณฺหา ตัณหา กามูปาทานสฺส ปจฺจโย จึงเป็นปัจจัยแก่กามุปาทาน ฯ ตถา อนึ่ง รูปาทิเภเท คธิโต (สตฺโต) สัตว์ผู้ก�ำหนัดในประเภทแห่งอารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้น คณฺหาติ นตฺถิ ทินฺนนฺติอาทินา มิจฺฉาทสฺสนํ ย่อมยึดถือมิจฉาทิฏฐิโดยนัยเป็นต้นว่า ทานทีบ่ คุ คลให้แล้วย่อมไม่มผี ล ดังนี้ สสํ ารโต มุญจฺ ติ กุ าโม (สตฺโต) สัตว์ผตู้ อ้ งการ จะพ้นจากสังสารวัฏฏ์ (คณฺหาติ) ย่อมยึด อสุทฺธิมคฺเค สุทฺธิมคฺคปรามสนํ ความถือในหนทางแห่งความไม่บริสุทธิ์ว่าเป็นหนทางแห่งความบริสุทธิ์ ขนฺเธสุ


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

353

อตฺตตฺตนิยคฺคาหภูตํ อตฺตวาททสฺสนทฺวยญฺจ และยึดถือวาทะและทิฏฐิทั้งสอง ของตน อันเป็นเครื่องยึดถือในขันธ์ทั้งหลายว่าเป็นตน และเนื่องด้วยตน ตสฺมา เพราะฉะนั้น ทิฏฺฐูปาทานาทีนมฺปิ ปจฺจโย ตัณหาจึงเป็นปัจจัยแม้แก่ทิฏฐุปาทาน เป็นต้น อิติ เพราะเหตุนนั้ อุปาทานํ อุปาทานจึงเกิดมี ตณฺหาปจฺจยา เพราะตัณหา เป็นปัจจัย ฯ สตฺตา สัตว์ทั้งหลาย สมฺปโยคานุสยวเสน อุปาทานปติฏฺฐิตาเยว ผูด้ ำ� รงมัน่ อยูใ่ นอุปาทาน ด้วยอ�ำนาจสัมปโยคและอนุสยั นัน่ แล สํวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป กมฺมายูหนาย เพื่อความสั่งสมกรรม ยถารหํ ตามสมควร อิติ เพราะเหตุนั้น อุปาทานํ ภวสุ ปจฺจโย อุปาทานจึงเป็นปัจจัยแก่ภพ ฯ จ อนึ่ง ชาติ ชาติ อุปปตฺตภิ วสงฺขาตา กล่าวคืออุปปัตติภพ กมฺมภวเหตุกาเยว มีกรรมภพเป็นเหตุ นั่นแล ตตฺถ ตตฺถ สมุปลพฺภติ ย่อมหาได้แน่นอนในภพนั้น ๆ วีชโต องฺกุโร วิย เหมือนหน่อหาได้จากพืช ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ภโว ชาติปจฺจโย นาม ภพจึงชื่อว่าเป็นปัจจัยแก่ชาติ ฯ จ อนึ่ง สติ ชาติยา เอว เมื่อมีชาตินั่นเอง ชรามรณสมฺภโว ชราและมรณะจึงเกิดมี ฯ หิ เพราะว่า อชาตานํ เมื่อสัตว์ ทั้งหลายไม่เกิดแล้ว น ชรา วา มรณํ วา โหติ จะมีชราหรือมรณะไม่ได้ อิติ เพราะเหตุนั้น ชาติ ชรามรณานํ ปจฺจโย ชาติจึงเป็นปัจจัยแก่ชราและมรณะ ฯ (จบ ๒๕๕๐) เอว ฯเปฯ โหตีติ ข้อว่า เอว ฯเปฯ โหติ ความว่า ทุกขฺ กฺขนฺธสฺส กองทุกข์ ทุกฺขราสิสฺส คือ หมวดทุกข์ เกวลสฺส ทั้งหมด สุขาทีหิ อมิสฺสสฺส ได้แก่ ไม่เจือด้วยสุขเป็นต้น สกลสฺส วา หรือทั้งสิ้น เอตสฺส นี้ วฏฺฏสงฺขาตสฺส คือ ที่เรียกว่าวัฏฏะ (สมุทโย) ย่อมมีความเกิดขึ้น (นิพฺพตฺติ โหติ) คือความบังเกิด ยถาวุตเฺ ตน โดยนัยตามทีก่ ล่าวแล้ว ปจฺจยปรมฺปราวิธนิ า คือ โดยวิธสี บื ต่อกันมา แห่งปัจจัย น ปน อิสฺสรนิมฺมานาทีหิ แต่หามีความเกิดขึ้น คือความบังเกิด เพราะอิสรชนเนรมิตเป็นต้นไม่ จ ส่วน น จ สุขสุภาทีนํ สมุทโย นิพฺพตฺติ โหติ ความสุขและอารมณ์ที่สวยงามเป็นต้น หามีความเกิดขึ้น คือความบังเกิดไม่ ฯ เอตฺถ อิมสฺมึ ปจฺจยสงฺคหาธิกาเร ในที่นี้ คือ ในอธิการว่าด้วยปัจจยสังคหะนี้ ฯ


354

ปริเฉทที่ ๘

อตติ สตตํ คจฺฉติ ปวตฺตตีติ อทฺธา กาโล ที่ชื่อว่าอัทธา เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า ไป คือ ไปติดต่อ ได้แก่ เป็นไปเนือง ๆ ได้แก่กาล (อทฺธา ที่ชื่อว่า อัทธา อตติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไป สตตํ คจฺฉติ คือไปติดต่อ ได้แก่ เป็นไป เนือง ๆ ปวตฺตตีติ กาโล ได้แก่ กาล) ฯ อวิชฺชาสงฺขารา อวิชชาและสังขาร อตีโต อทฺธา ชื่อว่าอตีตัทธา อตีตภวปริยาปนฺนเหตูนเมเวตฺถ อธิปฺเปตตฺตา เพราะความที่เหตุซึ่งนับเนื่องในอดีตภพนั่นเอง ท่านประสงค์เอาในอธิการว่าด้วย ปฏิจจสมุปปาทนัยนี้ ฯ จ ก็ อทฺธาคหเณน ด้วยศัพท์วา่ อัทธา อวิชชฺ าทีนํ ธมฺมานเมว คหณํ ท่านระบุถึงเฉพาะธรรมมีอวิชชาเป็นต้นเท่านั้น ตพฺพินิมุตฺตสฺส กสฺสจิ กาลสฺส อนุปลพฺภนโต เพราะกาลอะไร ๆ ทีจ่ ะพ้นไปจากอวิชชานัน้ หาไม่ได้เลย ฯ หิ ความจริง (ปณฺฑิเตน) โวหริยนฺติ บัณฑิตย่อมบัญญัติ ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย นิรทุ ธฺ านุปปฺ นฺนาเอว เฉพาะทีด่ บั ไปแล้ว และทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ อตีตานาคตกาลวเสน ด้ ว ยอ� ำ นาจอดี ต กาลและอนาคตกาล อุ ปฺ ป าทาทิ กฺ ข ณตฺ ต ยปริ ย าปนฺ น า จ และย่ อ มบั ญ ญั ติ ธ รรมทั้ ง หลายที่ นั บ เนื่ อ งในขณะ ๓ มี อุ ป าทขณะเป็ น ต้ น ปจฺจปุ ปฺ นฺนกาลวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจุบนั กาล ฯ ชาติชรามรณํ ชาติชราและมรณะ อนาคโต อทฺธา ชื่อว่าอนาคตัทธา อนาคเต นิพฺพตฺตนโต เพราะบังเกิดในอนาคต ปจฺจุปฺปนฺนเหตุโต จากเหตุที่เป็นปัจจุบัน ฯ มชฺเฌ อฏฺฐ ปจฺจุปฺปนฺโน อทฺธาติ ข้อว่า มชฺเฌ อฏฺ ปจฺจปุ นฺโน อทฺธา ความว่า อฏฺฐงฺคานิ องค์ ๘ วิญญ ฺ าณาทีน ิ มีวิญญาณเป็นต้น มชฺเฌ ในท่ามกลาง ปจฺจุปฺปนฺโน อทฺธา ชื่อว่าปัจจุปันนัทธา อิธ นิพฺพตฺตกผลภาวตฺตา เพราะความที่องค์เหล่านั้นเป็นผลที่บังเกิดในภพนี้ อตีตเหตุโต จากอดีตเหตุ อนาคตผลสฺส อิธ เหตุสภาวตฺตา จ และเพราะอนาคตผล มีเหตุในภพนี้เป็นสภาวะ ฯ นนุ โสกปริเทวาทโยปิ องฺคภาเวน วตฺตพฺพาติ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์คำ� นึงถึงค�ำท้วงว่า แม้โสกะและปริเทวะเป็นต้น พระผูม้ พี ระภาค ก็พงึ ตรัสไว้ โดยความเป็นองค์ มิใช่หรือ ดังนี้ อาห โสกาทิวจนนฺตอิ าทิ จึงกล่าวว่า โสกาทิวจนํ ดังนี้เป็นต้น ฯ อตฺโถ อธิบายว่า โสกาทิวจนํ ค�ำว่า โสกะ เป็นต้น ชาติยา นิสฺสนฺทสฺส อมุขฺยผลมตฺตสฺส นิทสฺสนํ เป็นการชี้ถึงเพียงผลที่ไม่ใช่


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

355

ผลโดยตรง ต่อผลแห่งชาติ ฯ น ปน วิสุํ องฺคทสฺสนํ แต่หาเป็นการแสดงถึง องค์แผนกหนึ่งไม่ ฯ ตณฺหปู าทานภวาปิ คหิตา โหนฺตตี ิ ค�ำว่า ตณฺหปู าทานภวาปิ คหิตา โหนฺติ ความว่า ตณฺหูปาทานา ท่านระบุถึงตัณหาและอุปาทาน อวิชฺชาคหเณน ด้วย อวิชชาศัพท์ กิเลสสภาวสามญฺญโต เพราะมีสภาวะเป็นกิเลสเหมือนกัน กมฺมภโว คหิโต ระบุถึงกรรมภพ สงฺขารคฺคหเณน ด้วยสังขารศัพท์ กมฺมภวสามญฺญโต เพราะเป็นกรรมภพเหมือนกัน ฯ สมฺพนฺโธ เชือ่ มความว่า จ อนึง่ อวิชชฺ าสงฺขารา คหิตา ท่านระบุถงึ อวิชชาและสังขาร ตถา ตณฺหปู าทานภวคฺคหเณน ด้วยศัพท์วา่ ตัณหาอุปาทานและภพเหมือนกัน ฯ เอตฺถาปิ (ตถาตฺยาทิวจเน) แม้ในค�ำว่า ตถา เป็นต้นนี้ เตสํ (อวิชฺชาสงฺขารานํ) สงฺคโห ทฏฺฐพฺโพ ก็พึงเห็นการรวบรวมอวิชชา และสังขารเหล่านั้น วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวแล้ว เตสํ (ตณฺหูปาทานภวานํ) คหเณน คือ โดยการระบุถึงตัณหาอุปาทานและภพเหล่านั้น ฯ (อนุรุทฺธาจริโย มนสิกตฺวา) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงว่า จ ก็ ชาติชราภงฺคาว เฉพาะ ความเกิด ความแก่ และความแตกสลาย วิญญ ฺ าณนามรูปสฬายตนผสฺสเวทนานํ แห่งวิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ และเวทนา (ภควตา) วุตฺตา พระผู้มี พระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า ชาติชรามรณนฺติ ชาติ ชรา และมรณะ ดังนี้ อาห ชาติชรามรณคฺคหเณนาติอาทิ จึงกล่าวว่า ชาติชรามรณคฺคหเณน ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ อตีเต เหตโว ปญฺจาติ บาทคาถาว่า อตีเต เหตโว ปญฺจ ความว่า อตีตภเว นิพฺพตฺตา เหตโว เหตุที่บังเกิดในอดีตภพ ปจฺจุปฺปนฺนผลสฺส ปจฺจยา อันเป็น ปัจจัยแก่ปัจจุบันผล สรูปโต วุตฺตานํ ทฺวินฺนํ อวิชฺชาสงฺขารานํ วเสน คือ อวิชชา และสังขารทั้ง ๒ ที่ท่านกล่าวไว้แล้วโดยสรูป ติณฺณํ ตณฺหูปาทานภวานญฺจ และตัณหา อุปาทาน และภพทั้ง ๓ สงฺคหวเสน คหิตานํ ที่ท่านก�ำหนดด้วย อ�ำนาจสังคหนัย ปญฺจ มี ๕ อย่าง ฯ อิทานิ ผลปญฺจกนฺติ บาทคาถาว่า อิทานิ ผลปญฺจกํ ความว่า วิญฺญาณาทิผลปญฺจกํ ผล ๕ อย่างมีวิญญาณเป็นต้น อิธ ปจฺจปุ ปฺ นฺเน นิพพฺ ตฺตํ ทีบ่ งั เกิดในปัจจุบนั นี้ อตีตเหตุปจฺจยา เพราะมีอดีตเหตุ


356

ปริเฉทที่ ๘

เป็นปัจจัย ฯ อิทานิ เหตโว ปญฺจาติ บาทคาถาว่า อิทานิ เหตโว ปญฺจ ความว่า อิทานิ เหตโว ปัจจุบันนเหตุ อายตึ ผลสฺส ปจฺจยา ซึ่งเป็นปัจจัยแก่อนาคตผล สรูปโต วุตฺตานํ ตณฺหาทีนํ ติณฺณํ วเสน คือ เหตุทั้ง ๓ มีตัณหาเป็นต้น ที่กล่าวแล้วโดยสรูป สงฺคหโต ลทฺธานํ อวิชฺชาสงฺขารานํ ทฺวินฺนญฺจ และอวิชชา กับสังขารทั้ง ๒ ที่ได้โดยสังคหนัย ปญฺจ มี ๕ อย่าง ฯ อายตึ ผลปญฺจกนฺติ บาทคาถาว่า อายตึ ผลปญฺจกํ ความว่า วิญฺญาณาทิผลปญฺจกํ ผล ๕ อย่างมี วิญญาณเป็นต้น วุตตฺ ํ ทีก่ ล่าวแล้ว ชาติชรามรณคฺคหเณน ด้วยศัพท์วา่ ชาติ ชรา และมรณะ อนาคเต นิพพฺ ตฺตนกํ ซึง่ จะบังเกิดในอนาคต ปจฺจปุ ปฺ นฺนเหตุปจฺจยา เพราะมีปัจจุบันนเหตุเป็นปัจจัย ฯ วีสติ อาการย่อมมี ๒๐ อย่าง อิติ ด้วยประการฉะนี้ เอวํ คือ ด้วยอาการ อย่างนี้ ฯ อตีตาทีสุ ตตฺถ ตตฺถ อากีริยนฺตีติ อาการา ที่ชื่อว่าอาการ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า ถูกเรี่ยรายอยู่ในภพนั้น ๆ มีอดีตภพเป็นต้น (อาการา ที่ชื่อว่า อาการ อตีตาทีสุ ตตฺถ ตตฺถ อากีริยนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ถูกเรี่ยราย อยู่ในภพนั้น ๆ มีอดีตภพเป็นต้น) ฯ เอวํ ติสนฺธี สนธิมี ๓ อย่างนี้ อตีตเหตูนํ อิทานิ ผลปญฺจกสฺส จ อนฺตรา คือ ระหว่างอดีตเหตุกับปัจจุบันผล ๕ อย่าง เอโก สนฺธิ จัดเป็นสนธิอัน ๑ อิทานิ ผลปญฺจกสฺส อิทานิ เหตูนญฺจ อนฺตรา ระหว่างปัจจุบันผล ๕ อย่างกับปัจจุบันนเหตุ เอโก จัดเป็นสนธิอัน ๑ อิทานิ เหตูนญฺจ อายตึ ผลสฺส จ อนฺตรา ระหว่างปัจจุบันนเหตุกับอนาคตผล เอโก จัดเป็นสนธิอัน ๑ ฯ วุตฺตญฺเหตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ดังนี้ว่า สงฺขารวิญฺญาณานมนฺตรา ระหว่างสังขารกับวิญญาณ เอโก จัดเป็น สนธิอนั ๑ เวทนาตณฺหานมนฺตรา ระหว่างเวทนากับตัณหา เอโก จัดเป็นสนธิอนั ๑ ภวชาตีนมนฺตรา ระหว่างภพกับชาติ เอโก สนฺธีติ จัดเป็นสนธิอัน ๑ ฯ หิ ความจริง เอตฺถ (ตีสุ สนฺธีสุ) ในบรรดาสนธิทั้ง ๓ นี้ ปฐโม สนฺธิ สนธิที่ ๑ เหตุผลสมฺพนฺธภูโต เป็นสภาวะที่เชื่อมเหตุกับผลให้เนื่องถึงกัน เหตุโต ผลสฺส อวิจฺเฉทปฺปวตฺติภาวโต โดยความที่ผลมีความเป็นไปไม่ขาดสายจากเหตุ ฯ


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

357

ตถา ตติโย สนธิที่ ๓ ก็เหมือนกัน ฯ ปน ส่วน ทุตโิ ย สนธิที่ ๒ ผลเหตุสมฺพนฺธภูโต เป็นสภาวะที่เชื่อมผลกับเหตุให้เนื่องถึงกัน ผลโต เหตุโน อวิจฺเฉทปฺปวตฺติ ภาวโต โดยความที่เหตุมีความเป็นไปไม่ขาดสายจากผล ฯ หิ ความจริง ผลภูโตปิ ธมฺโม ธรรมแม้ทเี่ ป็นตัวผล อญฺญสฺส เหตุสภาวสฺส ธมฺมสฺส ปจฺจโยติ ก็เป็น ปัจจัยแก่ธรรมอย่างอื่น ที่มีสภาวะเป็นเหตุ แล ฯ สงฺขปิ ยิ นฺติ เอตฺถ อวิชชฺ าทโย วิญญ ฺ าณาทโย จาติ สงฺเขปา ทีช่ อื่ ว่าสังเขป เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงย่อเหตุ ๕ อย่าง มีอวิชชาเป็นต้น และผล ๕ อย่างมีวิญญาณเป็นต้น (สงฺเขปา ที่ชื่อว่า สังเขป สงฺขปิ ยิ นฺติ เอตฺถ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เป็นทีอ่ นั พระผูม้ พี ระภาคเจ้าทรงแสดงย่อ อวิชฺชาทโย วิญฺญาณาทโย จาติ เหตุ ๕ อย่างมีอวิชชาเป็นต้น และผล ๕ อย่าง มีวิญญาณเป็นต้น) ฯ จตฺตาโร สงฺเขปา สังเขป ๔ อย่าง อตีเต เหตุ คือ อดีตเหตุ ๑ เอตรหิ วิปาโก ปัจจุบันนผล ๑ เอตรหิ เหตุ ปัจจุบันนเหตุ ๑ อายตึ วิปาโก อนาคตผล ๑ อิติ จตุสงฺเขปา เพราะเหตุนนั้ จึงชือ่ ว่าสังเขป ๔ ฯ กมฺมภวสงฺขาโต ภเวกเทโสติ เอตฺถ (วจเน) ในค�ำว่า กมฺมภวสงฺขาโต ภเวกเทโส นี้ อายตึ ปฏิสนฺธิยา ปจฺจยเจตนา เจตนาที่เป็นปัจจัยแก่ปฏิสนธิจิต ในอนาคต ภโว นาม ชื่อว่าภพ ฯ ปุริมกมฺมภวสฺมึ อิธ (ภเว) ปฏิสนฺธิยา ปจฺจยเจตนา เจตนาในกรรมภพก่อน ทีเ่ ป็นปัจจัยแก่ปฏิสนธิจติ ในภพนี้ เวทิตพฺพา พึงทราบว่า สงฺขาราติ เป็นสังขาร ฯ อวเสสาติ บทว่า อวเสสา ความว่า วุตตฺ ธมฺมา ธรรมทีต่ รัสไว้ ปจฺจปุ ปฺ นฺนผลวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจุบนั นผล สตฺตวิธา มี ๗ อย่าง วิญฺญาณาทิปญฺจกชาติชรามรณวเสน คือ ผล ๕ อย่างมีวิญญาณเป็นต้น ๑ ชาติ ๑ ชราและมรณะ ๑ ฯ ปน ส่วน อนาคตปริยาปนฺนา ธรรมที่นับเนื่อง ในอนาคต เวทิตพฺพา พึงทราบว่า ภวาติ ภพ อุปปตฺติภวสงฺขาโต ภเวกเทโสติ ในค�ำว่า อุปปตฺติภวสงฺขาโต ภเวกเทโส ฯ ภวสทฺเทน ด้วยศัพท์ว่า ภพ ภเวกเทสสทฺโท วุตโฺ ต ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์กล่าวศัพท์วา่ ภเวกเทส กมฺมภวสฺสาปิ วุจฺจมานตฺตา เพราะจะกล่าวถึงแม้กรรมภพ ฯ ปุพฺพนฺตสฺส อวิชฺชา มูลํ อวิชชา


358

ปริเฉทที่ ๘

เป็นมูลของที่สุดเบื้องต้น อปรนฺตสฺส ตณฺหา มูลนฺติ ตัณหาเป็นมูลของที่สุด เบื้องปลาย เพราะเหตุนั้น อาห อวิชฺชาตณฺหาวเสน เทฺว มูลานีติ ท่าน พระอนุรทุ ธาจารย์จงึ กล่าวว่า พึงทราบมูล ๒ อย่าง คือ อวิชชาและตัณหา ดังนี้ ฯ เตสเมว อวิชฺชาตณฺหาสงฺขาตานํ วฏฺฏมูลานํ นิโรเธน เพราะธรรมที่ เป็นมูลแห่งวัฏฏะเหล่านั้นนั่นแล ได้แก่ กล่าวคืออวิชชาและตัณหา ดับไป อนุปฺปาทธมฺมตาปตฺติยา คือ ถึงความไม่เกิดขึ้นเป็นธรรมดา สจฺจปฏิเวธโต สิทฺธาย อปฺปวตฺติยา ได้แก่ ความไม่เป็นไป ซึ่งส�ำเร็จมาจากความรู้แจ้งสัจจะ วฏฺฏํ นิรุชฺฌติ วัฏฏะจึงดับลง ฯ จ และ กามาสวาทิอาสวสมุปฺปาทโต เพราะ ความเกิดขึ้นแห่งอาสวะมีกามาสวะเป็นต้น ปุน อวิชฺชา ปวฑฺฒติ อวิชชา จึงเจริญขึ้นอีก อภิณฺหโส อภิกฺขณํ ชรามรณสงฺขาตาย มุจฺฉาย ปีฬิตานํ สตฺตานํ แก่เหล่าสัตว์ผู้ถูกความสยบ กล่าวคือชราและมรณะบีบคั้นเนือง ๆ คือ ร�่ำไป โสกาทิสมปฺปิตานํ ได้แก่ ผู้เพียบพร้อมด้วยความโศกเป็นต้น ฯ หิ วุตฺตํ สมจริงดังพระด�ำรัสทีพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสไว้วา่ อาสวสมุทยา อวิชชฺ าสมุทโยติ เพราะอาสวะเกิดขึน้ อวิชชาจึงเกิดขึน้ ดังนี้ ฯ เอเตน (อาสวสมุทยา อวิชชฺ าสมุทโยติ วจเนน) ด้วยพระด�ำรัสว่า อาสวสมุทยา อวิชฺชาสมุทโย นี้ อวิชฺชายปิ ปจฺจโย ทสฺสโิ ต โหติ ย่อมเป็นอันทรงแสดงถึงปัจจัยแม้แห่งอวิชชา ฯ อิตรถา เมือ่ ก�ำหนด เนื้อความนอกไปจากนี้ ปฏิจฺจสมุปฺปาทจกฺกํ จักรคือปฏิจจสมุปบาท อพนฺธํ สิยาติ จะไม่พึงเนื่องถึงกันแล ฯ มหามุนิ พระมหามุนี สมฺมาสมฺพุทฺโธ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ปตฺถเปสิ ทรงบัญญัติ ปญฺญาเปสิ คือทรงแต่งตั้ง วฏฺฏํ ติวฏฺฏภูตํ ซึ่งวัฏฏะ อันเป็นไตรวัฏฏ์ กิเลสกมฺมวิปากวเสน คือกิเลส ๑ กรรม ๑ วิบาก ๑ อาวทฺธํ อันเกี่ยวเนื่องกัน อวิจฺฉินฺนํ คือ อันไม่ขาดสาย อนาทิกํ อันหาเบื้องต้นมิได้ อาทิรหิตํ คือเว้นจากเบื้องต้น เตภูมิกํ ชื่อว่าเป็นไปในภูมิ ๓ ติภมู กิ ปริยาปนฺนตฺตา เพราะนับเนือ่ งในธรรมทีเ่ ป็นไปในไตรภูมวิ า่ ปฏิจจฺ สมุปปฺ าโทติ ปฏิจจสมุปบาท อิจเฺ จวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ วุตตฺ นเยน คือ โดยนัยดังทีก่ ล่าวแล้ว ฯ [๒๕๑๑] เอวํ ปฏิจจฺ สมุปปฺ าทนยํ วิภาคโส ทสฺสติ วฺ า ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

359

ครั้นแสดงปฏิจจสมุปปาทนัย โดยวิภาคอย่างนี้แล้ว อิทานิ ปฏฐานนยํ ทสฺเสตุํ บัดนี้ เพื่อจะแสดงปัฏฐานนัย เหตุปจฺจโยติอาทิ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำเป็นอาทิว่า เหตุปัจจัย ดังนี้ ฯ ตตฺถ (เหตุปจฺจโยติอาทิวจเน วินิจฺฉโย) วินิจฉัยในค�ำว่า เหตุปจั จัย เป็นต้นนัน้ ดังต่อไปนี้ หิโนติ ปติฏฐฺ าติ เอเตนาติ เหตุ ปัจจัยชือ่ ว่าเหตุ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องก่อ คือ ตั้ง แห่งสภาวธรรม ฯ อเนกตฺถตฺตา ธาตุสทฺทานํ เพราะศัพท์คือธาตุมีอรรถเป็นเอนก หิสทฺโท ศัพท์ว่าหิ อิธ (ฐาเน) ในที่นี้ ปติฏฺฐตฺโถติ ทฏฺฐพฺโพ จึงพึงเห็นว่า มีอรรถว่า ตั้ง ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง ตปฺปจฺจยํ ผลํ ผลอันมีเหตุคือกรรมนั้นเป็นปัจจัย หิโนติ ย่อมด�ำเนิน คจฺฉติ คือ ไป ปวตฺตติ ได้แก่ เป็นไป วุฑฺฒึ วิรุฬฺหึ อาปชฺชติ ถึงความเจริญงอกงาม เอเตน กมฺมนิทานภูเตน ด้วยปัจจัยอันเป็นเหตุคอื กรรมนี้ อุทธฺ ํ โอชํ อภิหรนฺเตน มูเลน วิย ปาทโป ดุจต้นไม้เจริญขึ้นไปได้ด้วยรากอันดื่มโอชะขึ้นไปข้างบน ฉะนัน้ อิติ เพราะเหตุนนั้ เหตุ ปัจจัยอันเป็นเหตุคอื กรรมนี้ จึงชือ่ ว่าเหตุ (เป็นเหตุ ด�ำเนินแห่งผล) ฯ โส ปจฺจโย จ ปัจจัยนัน้ ด้วย เหตุ จ เป็นเครือ่ งก่อสภาวธรรม หรือเป็นเหตุด�ำเนินแห่งผลด้วย วุตฺตํ โหติ ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า เหตุ หุตฺวา ปจฺจโย เหตุภาเวน ปจฺจโย ปัจจัย คือธรรมเป็นเครื่องอาศัยเป็นไป โดยเป็นเหตุ เป็นตัวเหตุ (อิติ) เหตุปจฺจโย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า เหตุปัจจัย ฯ มูลฏฺเฐน เหตุ สภาวธรรมชื่อว่า เหตุ เพราะอรรถว่า เป็นรากเหง้า อุปการฏฺเฐน ปจฺจโย ชื่อว่าปัจจัย เพราะอรรถว่า เป็นอุปการะ (อิติ) สงฺเขปโต มูลฏฺเฐน อุปการโก ธมฺโม เพราะเหตุนั้น โดยสังเขป ธรรมอันท�ำอุปการะ ด้วยอรรถว่า เป็นรากเหง้า เหตุปจฺจโย ชือ่ ว่า เป็นเหตุปจั จัย ฯ ทฏฺฐพฺพํ พึงเห็นรูปความว่า โส (เหตุปจฺจโย) ปน อันเหตุปัจจัยนั้น ฉ ธมฺมา ได้แก่ ธรรม ๖ ประการ (คือเหตุ ๖ มีโลภเหตุ เป็นต้น) สุปติฏฐฺ ติ ภาวสาธนสงฺขาตมูลฏฺเฐน อุปการกา ทีท่ ำ� อุปการะ ด้วยอรรถว่า เป็ น รากเหง้ า กล่ า วคื อ เป็ น เหตุ ใ ห้ ส� ำ เร็ จ ความตั้ ง มั่ น ด้ ว ยดี รู ป านํ แก่ รู ป จิตฺตสมุฏฺฐานานํ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ปวตฺเต ในปวัตติขณะ กมฺมสมุฏฐานานํ (รูปานํ) แก่รูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐาน ปฏิสนฺธิยํ ในปฏิสนธิขณะ อุภยตฺถ


360

ปริเฉทที่ ๘

สมฺปยุตฺตานํ นามธมฺมานญฺจ และแก่นามธรรมที่สัมปยุต ในขณะทั้ง ๒ รุกฺขสฺส มูลา วิย ดุจรากไม้ท�ำอุปการะแก่ต้นไม้ฉะนั้น ดังนี้ ฯ (๒๕๑๘, ๒๕๓๑) อาลมฺพิยติ ทุพฺพเลน วิย ทณฺฑาทิกํ จิตฺตเจตสิเกหิ คณฺหิยตีติ อาลมฺพนํ ธรรมชาตที่ชื่อว่าอาลัมพนะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันจิต และเจตสิกหน่วงเหนีย่ ว คือยึดถือ ดุจคนทุพพลภาพยึดถือไม้เท้าเป็นต้น ฉะนัน้ ฯ หิ ความจริง จิตฺตเจตสิกา จิตและเจตสิก ยํ ยํ ธมฺมํ อารพฺภ ปวตฺตนฺติ ย่อมปรารภธรรมใด ๆ เป็นไป เต เต ธมฺมา ธรรมนั้น ๆ เตสํ เตสํ ธมฺมานํ อารมฺมณปจฺจยา นาม ชื่อว่าเป็นอารัมมณปัจจัยแก่ธรรมนั้น ๆ ฯ (จบ ๒๕๑๑) น หิ โส ธมฺโม อตฺถิ โย จิตฺตเจตสิกานํ อารมฺมณปจฺจยภาวํ น คจฺเฉยฺย เพราะธรรมที่ไม่พึงถึงความเป็นอารัมมณปัจจัยแก่จิตและเจตสิก ไม่มีเลย ฯ ปจฺจโย ธรรมอันเป็นปัจจัย ปติภโู ต ซึง่ เป็นใหญ่ อตฺตาธีนปฺปวตฺตนี ํ กว่าเหล่าธรรม ที่มีความเป็นไปเนื่องกับตน อธิปติปจฺจโย ชื่อว่าอธิปติปัจจัย ฯ น วิชฺชติ ปจฺจยุปฺปนฺเนน สห อนฺตรํ เอตสฺส ปจฺจยสฺสาติ อนนฺตรปจฺจโย ธรรมที่ชื่อว่า อนันตรปัจจัย เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ไม่มรี ะหว่างคัน่ ปัจจัยนีก้ บั ปัจจยุปปันนธรรม (คือ ไม่มีปัจจยธรรมอื่นเกิดแทรกในระหว่าง) ฯ สํ สุฏฐฺ ุ อนนฺตรปจฺจโย ธรรมอันเป็นปัจจัยไม่มรี ะหว่างคัน่ พร้อม คือด้วยดี สณฺฐานาภาเวน เพราะไม่มีสัณฐาน สมนนฺตรปจฺจโย ชื่อว่าสมนันตรปัจจัย ฯ ปุรมิ ปุรมิ นิรทุ โฺ ธ ธมฺโม ธรรมทีเ่ กิดขึน้ แล้วดับไปก่อน ๆ อนุรปู จิตตฺ ปุ ปฺ าทชนนสมตฺโถ สามารถให้จติ ตุปบาททีเ่ หมาะสมเกิด อตฺตโน อนนฺตรํ ในล�ำดับตน อนนฺตรปจฺจโย สมนนฺตรปจฺจโยติ จ วุจจฺ ติ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า อนันตรปัจจัย และว่า สมนันตรปัจจัย ฯ หิ ความจริง พฺยญฺชนมตฺเตเนว หิ เนสํ (ปจฺจยานํ) วิเสโส ปัจจยธรรมทัง้ สองนัน้ ต่างกันเพียงพยัญชนะเท่านัน้ ฯ ปน แต่ อตฺถโต อุภยมฺปิ สมนนฺตรนิรทุ ธฺ สฺเสวาธิวจนํ ว่าโดยความหมาย ค�ำแม้ทงั้ สองเป็นชือ่ ของปัจจยธรรม ทีด่ บั ไปโดยไม่มธี รรมอืน่ คัน่ ในระหว่างด้วยดี อย่างเดียวกันนัน่ เอง ฯ หิ ความจริง น เนสํ (ปจฺจยานํ) อตฺถโต เภโท ความต่างกันโดยความหมายของปัจจยธรรม


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

361

ทัง้ สองนัน้ หาไม่พบแน่แท้ ฯ ยมฺปน เกจิ วทนฺต อตฺถานนฺตรตาย อนนฺตรปจฺจโย กาลานนฺตรตาย สมนนฺตรปจฺจโยติ ตํ ส่วน ค�ำที่ท่านอาจารย์บางพวกกล่าวว่า ธรรมที่ชื่อว่าอนันตรปัจจัย เพราะไม่มีระหว่างโดยอรรถ (และ) ธรรมที่ชื่อว่า สมนั น ตรปั จ จั ย เพราะไม่ มี ร ะหว่ า งโดยกาล ดั ง นี้ นิ โ รธา วุ ฏ ฺ ฐ หนฺ ต สฺ ส เนวสญฺญานาสญฺญายตนํ ผลสมาปตฺติยา สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโยติอาทีหิ วิรุชฺฌติ ย่อมผิดกับพระบาลีว่า เนวสัญญานาสัญญายตนฌานแห่งพระอริยบุคคล ผู้ออกจากนิโรธสมาบัติ ย่อมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยสมนันตรปัจจัย ดังนี้ เป็นต้น ฯ (จบ ๒๕๑๘, ๒๕๓๑) (๒๕๑๙) เนวสญฺญานาสญฺญายตนญฺหิ เพราะเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน สตฺตาหาทิกาลนิรุทฺธํ ซึ่งดับไปแล้วในกาลมี ๗ วันเป็นต้น ผลสมาปตฺติยา สมนนฺ ต รปจฺ จ โย ก็ ยั ง เป็ น สมนั น ตรปั จ จั ย แก่ ผ ลสมาบั ติ ไ ด้ ตสฺ ม า ฉะนั้ น อภินิเวสํ อกตฺวา บัณฑิตอย่าท�ำความยึดมั่น พฺยญฺชนมตฺตโต เจตฺถ นานากรณํ ปจฺเจตพฺพํ พึงเชื่อความต่างกันในปัจจัยทั้งสองนี้ แต่โดยเพียงพยัญชนะเท่านั้น น อตฺถโต ไม่พึงเชื่อโดยอรรถ ฯ หิ ความจริง เอวํ พฺยญฺชนมตฺตโตว เภโท มีความต่างกันโดยเพียงพยัญชนะเท่านั้นอย่างนี้ว่า อุปฺปาทสมตฺถตาย นิโรโธ ความดั บ แห่ ง ธรรมโดยสามารถให้ ธ รรมอื่ น เกิ ด ขึ้ น ได้ ปุ พฺ พ ธมฺ ม นิ โ รธสฺ ส ปจฺฉาชาตธมฺมุปฺปาทสฺส จ อนฺตราภาเวน โดยไม่มีธรรมอะไรคั่นในระหว่างธรรม ที่เกิดก่อนดับไป และธรรมที่เกิดภายหลังเกิดขึ้น อนนฺตรปจฺจยตา ชื่อว่า ความเป็นอนันตรปัจจัย สุฏฺฐุ อนนฺตรภาเวน อุปฺปาเทตุํ สมตฺถํ หุตฺวา นิโรโธ ความดับแห่งธรรมที่สามารถเพื่อจะให้ธรรมอื่นเกิดขึ้นได้ โดยไม่มีธรรมอะไรคั่น ในระหว่างด้วยดี อตฺตนา เอกตฺตํ อุปเนตฺวา วิย คล้ายกับน�ำเข้าไปรวมกันกับตน วิภาคาภาเวน โดยไม่มีการแบ่งแยกว่า อิทมิโต อุทฺธํ อิทํ เหฏฺฐา อิทํ สมนฺตโต ธรรมนี้ อ ยู ่ ข ้ า งบนแต่ ธ รรมนี้ ธรรมนี้ อ ยู ่ ข ้ า งล่ า ง ธรรมนี้ อ ยู ่ โ ดยรอบ ดั ง นี้ สมนนฺตรปจฺจยตาติ ชื่อว่าความเป็นสมนันตรปัจจัย ฯ หิ ก็ นิโรธปจฺจยสฺสาปิ หิ เนวสญฺ ญ านาสญฺ ญ ายตนสฺ ส อสญฺ ญุ ปฺ ป ตฺ ติ ย า ปุ ริ ม สฺ ส จ จุ ติ จิ ตฺ ต สฺ ส


362

ปริเฉทที่ ๘

กาลนฺตเรปิ อุปฺปชฺชนฺตานํ ผลปฏิสนฺธีนํ (อุปฺปาทเน) สมตฺถตา ภาวะที่ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน แม้ทเี่ ป็นปัจจัยแก่นโิ รธสมาบัติ และจุตจิ ติ ซึง่ เกิดขึน้ ก่อนแต่การเกิดขึน้ ในอสัญญีภพ มีความสามารถในการยังผลจิต (คือ อนาคามีผลจิต หรืออรหัตตผลจิต) และปฏิสนธิจิต ซึ่งแม้จะเกิดขึ้นในกาลอื่น ก็ให้เกิดขึ้นได้ โดยติ ด ต่ อ กั น อนนฺ ต รา สมานชาติ เ ยน อรู ป ธมฺ เ มน พฺ ย วธานาภาวโต ภินฺนชาติกานญฺจ รูปธมฺมานํ พฺยวธานกรเณ อสมตฺถตาย นิรนฺตรุปฺปาทเน เอกตฺตํ อุปเนตฺวา วิย อุปฺปาทเน จ สมตฺถตา อตฺถิ และในการให้เกิดขึ้น คล้ายกับน�ำเข้าไปรวมเป็นอันเดียวกัน ย่อมมีได้ เพราะไม่มีอรูปธรรมที่มีชาติ เสมอกันเข้าแทรกแซงในระหว่าง และเพราะรูปธรรมทั้งหลายที่มีชาติต่างกัน ไม่สามารถจะแทรกแซงในระหว่างได้ อิติ เตสมฺปิ อนนฺตรสมนนฺตรปจฺจยตา ลพฺภติ เพราะเหตุนั้น แม้เนวสัญญานาสัญญายตนฌานและจุติจิตทั้งสองนั้น จึงเป็นอนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัยได้ ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น อวิเสเสปิ ถึงแม้จะไม่มีความแตกต่างกัน ธมฺมโต โดยธรรม ปเภโท ปจฺเจตพฺโพติ บัณฑิต ก็พงึ เชือ่ ว่าความแตกต่างกัน อุปสคฺคตฺถวิเสสมตฺตโต โดยเพียงอรรถแห่งอุปสรรค ที่ต่างกัน ตถา ตถา พุชฺฌนกานํ วิเนยฺยานํ วเสน ด้วยสามารถเวไนยสัตว์ ทั้งหลาย ผู้จะรู้ได้โดยประการนั้น ๆ แล ฯ (จบ ๒๕๑๙) (บ.ศ. ๙ ๒๕๓๓, ๒๕๓๘ และ ป.ธ. ๙ ๒๕๔๔) สหุปฺปนฺนานํ สหุปฺปาทภาเวน ปจฺจโย สภาวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นร่วมกัน โดยภาวะที่เกิดขึ้นร่วมกัน ปกาสสฺส ปทีโป วิย เปรียบเสมือนดวงประทีปเป็นปัจจัยแก่แสงสว่าง ฉะนั้น อตฺตโน อนุปฺปตฺติยา สหุปฺปนฺนานมฺปิ อนุปฺปตฺติโต เพราะเมื่อตนไม่เกิดขึ้น แม้ธรรม ทัง้ หลายทีเ่ กิดขึน้ ร่วมกันก็เกิดขึน้ ไม่ได้ สหชาตปจฺจโย ชือ่ ว่าสหชาตปัจจัย อรูปโิ น จตุกฺขนฺธา จตฺตาโร มหาภูตา ปฏิสนฺธิกฺขเณ วตฺถุวิปากา จ ธมฺมา ได้แก่ ธรรมทั้งหลาย คือ นามขันธ์ ๔ ประการ มหาภูตรูป ๔ หทัยวัตถุและวิบากจิต ทัง้ หลายในขณะปฏิสนธิ ฯ อตฺตโน อุปการกธมฺมานํ อุปตฺถมฺภกภาเวน ปจฺจโย สภาวธรรมทีเ่ ป็นปัจจัยแก่เหล่าธรรมทีก่ ระท�ำอุปการะแก่ตน โดยภาวะทีช่ ว่ ยอุดหนุน


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

363

กันและกัน อญฺญมญฺญํ อุปตฺถมฺภิยมานํ ติทณฺฑํ วิย เปรียบเสมือนไม้ ๓ อัน ช่วยค�้ำยันกันและกันไว้ ฉะนั้น อญฺญมญฺญปจฺจโย ชื่อว่าอัญญมัญญปัจจัย ฯ อยเมเตสํ ทฺวินฺนํ วิเสโส สหชาตปัจจัยกับอัญญมัญญปัจจัย ๒ ประการเหล่านี้ มีความต่างกันดังนี้ จ ก็ อญฺญมญฺญภาววเสเนว อุปการกตา ภาวะที่ธรรม ท�ำอุปการะ ด้วยอ�ำนาจความมีอปุ การะแก่กนั และกันนัน่ แหละ อญฺญมญฺญปจฺจยตา ชือ่ ว่าความเป็นอัญญมัญญปัจจัย (ส่วน) น สหชาตมตฺเตน ภาวะทีธ่ รรมท�ำอุปการะ แก่กันและกัน ด้วยเหตุเพียงเกิดร่วมกัน ไม่ชื่อว่าความเป็นอัญญมัญญปัจจัย ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น สหชาตปจฺจยภาวีเยว โกจิ ปัจจยธรรมบางอย่างซึ่งมีปกติ เป็ น สหชาตปั จ จั ย นั่ น แหละ อญฺ ญ มญฺ ญ ปจฺ จ โย น โหติ ก็ ไ ม่ ชื่ อ ว่ า เป็ น อัญญมัญญปัจจัย จิตฺตชรูปานํ สหชาติปจฺจยภาวิโน นามสฺส อุปาทารูปานํ สหชาตปจฺจยภาวีนํ มหาภูตานญฺจ อญฺญมญฺญปจฺจยภาวสฺส อนุทธฺ ฏตฺตา เพราะ พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า มิ ไ ด้ ท รงยกนามธรรมซึ่ ง มี ป กติ เ ป็ น สหชาตปั จ จั ย แก่ จิตตชรูปทั้งหลาย ขึ้นแสดงว่าเป็นอัญญมัญญปัจจัยแก่จิตตชรูปทั้งหลาย และ เพราะมิได้ทรงยกมหาภูตรูปทั้งหลาย (๔ ประการ) ซึ่งมีปกติเป็นสหชาตปัจจัย แก่อปุ าทายรูปทัง้ หลายขึน้ แสดงว่าเป็นอัญญมัญญปัจจัยแก่อปุ าทายรูปทัง้ หลาย ฯ ยทิ หิ ก็ ถ้าว่า สหชาตภาเวเนว อตฺตโน อุปการกานํ อุปการกตา ภาวะ ที่ธรรมท�ำอุป การะแก่เ หล่าธรรมที่ท�ำอุ ปการะแก่ ต น โดยภาวะที่ เกิ ดร่ ว มกั น เท่านั้น อญฺญมญฺญปจฺจยตา สิยา พึงเป็นอัญญมัญญปัจจัยไซร้ ฯ ตทา สหชาตอญฺญมญฺญปจฺจเยหิ สมาเนหิ ภวิตพฺพนฺติ ในกาลนั้น สหาชาตปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัยก็ต้องเหมือนกัน แล ฯ [๒๕๒๖] อิเม (ธมฺมา) ธรรมเหล่านี้ คือ จตุกฺขนฺธา ขันธ์ ๔ ประการ สหชาตนามรูปานํ นิสฺสยภูตา เป็นที่อาศัยแก่นามธรรมและรูปธรรมที่เกิดร่วมกัน จิตตฺ กมฺมสฺส ปโฏ วิย ดุจผืนผ้าเป็นทีอ่ าศัยแก่จติ รกรรม ฉะนัน้ อาธาราการโตเยว สหชาตรูปสตฺตวิญฺญาณธาตูนํ ยถากฺกมํ นิสฺสยา ภูตรูปํ วตฺถุ จ มหาภูตรูป (๔ ประการ) เป็นที่อาศัยแก่รูปธรรมที่เกิดร่วมกัน และวัตถุ (๖ ประการ) เป็นที่


364

ปริเฉทที่ ๘

อาศัยแก่วิญญาณธาตุจิตทั้ง ๗ ประการตามล�ำดับ โดยอาการเป็นที่รองรับนั่นเอง ตรุปพฺพตาทีนํ ปฐวี วิย ดุจพื้นดินเป็นที่อาศัยรองรับต้นไม้และภูเขาเป็นต้น ฉะนั้น นิสฺสยปจฺจยา นาม ชื่อว่า นิสสยปัจจัย กตฺวา เพราะอธิบายว่า นิสฺสยติ นิสฺสิตเกหิ อันธรรมทั้งหลายที่อาศัย อาศัยอยู่ ฯ พลวภาเวน นิสฺสโย ปจฺจโย สภาวธรรมเป็นปัจจัยเป็นที่อาศัย โดยภาวะที่มั่นคง อุปนิสฺสยปจฺจโย ชื่อว่า อุปนิสสยปัจจัย อุปสทฺทสฺส อติสยโชตกตฺตา เพราะอุป ศัพท์ ส่องถึงความหมาย ว่าดียงิ่ ฯ ปน ก็ ตสฺส (อุปนิสสฺ ยปจฺจยสฺส) เภทํ (อาจริโย) วกฺขติ ท่านอาจารย์ จักกล่าวประเภทแห่งอุปนิสสยปัจจัยนั้น(เอง) ฯ อิเม (ธมฺมา) ธรรมทั้งหลายเหล่านี้ ฉ วตฺถูนิ ฉาลมฺพนานิ จาติ คือ วัตถุ ๖ ประการ และอารมณ์ ๖ ประการ ปจฺจุปฺปนฺนโต ปฐมํ อุปฺปชฺชิตฺวา ปวตฺตมานภาเวน อุปการกา ท�ำอุปการะโดยภาวะที่เกิดขึ้นเป็นไปอยู่ ก่อนจิต และเจตสิกทีเ่ ป็นปัจจุบนั นธรรม ปุเรชาตปจฺจโย ชือ่ ว่าปุเรชาตปัจจัย ฯ ปจฺฉาชาตา จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา ธรรมทั้งหลายคือจิตและเจตสิก ที่เกิดภายหลัง กายสฺส อุปตฺถมฺภนภาเวน อุปการกา ช่วยท�ำอุปการะ โดยภาวะทีช่ ว่ ยเป็นอุปถัมภ์รา่ งกาย ปจฺฉาชาตปจฺจเย อสติ ซึ่งเมื่อไม่มีปัจฉาชาตปัจจัย สนฺตานฏฺฐิติเหตุภาวํ อคจฺฉนฺตสฺส ก็ไปไม่ถงึ ความเป็นเหตุดำ� รงอยูข่ องความสืบต่อกัน ปจฺฉาชาตปจฺจโย ชือ่ ว่าปัจฉาชาตปัจจัย ฯ โส (ปจฺฉาชาตปจฺจโย) ปัจฉาชาตปัจจัยนัน้ คิชฌ ฺ โปตกสรีรานํ อาหาราสา เจตนา วิย ทฏฺฐพฺโพ บัณฑิตพึงเห็น ดุจเจตนาที่มุ่งหวังอาหาร เป็นปัจจัยแก่รา่ งกายของลูกแร้ง ฉะนัน้ ฯ [จบ บ.ศ. ๒๕๓๓, ๒๕๓๘ และ ป.ธ. ๙ ๒๕๔๔] อุตตฺ รุตตฺ รสฺส คนฺถสฺส กุสลาทิภาเวน อตฺตสทิสสฺส ปคุณพลวภาววิสฏิ ฐฺ - อตฺตสชาติยตาคหณํ ความยอมรับธรรมที่เหมือนกับตน โดยภาวะเป็นกุศลธรรม เป็นต้น ว่าเป็นธรรมที่มีชาติเสมอกับตน อันพิเศษ โดยภาวะเป็นธรรมที่มีพลัง คล่องแคล่ว อาเสวนํ ชือ่ ว่าอาเสวนะ ปุรมิ ปริจติ คนฺโถ วิย ดุจศาสตร์ทสี่ ะสมไว้กอ่ น เป็นปัจจัยแก่ศาสตร์ทสี่ งู ๆ ขึน้ ไป ฉะนัน้ ฯ สชาติยธมฺมาว เฉพาะเหล่าธรรมทีม่ ี


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

365

ชาติเสมอกัน เตน (อาเสวเนน) ปจฺจยา เป็นปัจจัยโดยอาเสวนะนัน้ สชาติยธมฺมานํ แก่เหล่าธรรมทีม่ ชี าติเสมอกัน อาเสวนปจฺจโย ชือ่ ว่าอาเสวนปัจจัย ฯ หิ ความจริง ภินฺนชาติกา ธรรมทั้งหลายที่มีชาติต่างกัน ภินฺนชาติกาหิ อตฺตโน คตึ คาหาเปตุํ น สกฺโกนฺติ ย่อมไม่สามารถจะยังธรรมทัง้ หลายทีม่ ชี าติตา่ งกันให้ยอมรับคติของตน ปคุณพลวภาววิสิฏฺฐํ กุสลาทิภาวสงฺขาตํ กล่าวคือภาวะที่เป็นกุศลธรรมเป็นต้น อันพิเศษ โดยภาวะเป็นธรรมที่มีพลังคล่องแคล่วได้ อาเสวนคุเณน ด้วยคุณคือ อาเสวนะ น จ สยํ ตโต คณฺหนฺติ และตนเองก็ไม่ยอมรับคติจากธรรมที่มีชาติ ต่างกันนั้น ด้วยคุณคืออาเสวนะนั้น ฯ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า เต (ภินนฺ ชาติกา) ปน ก็ธรรมทีม่ ชี าติตา่ งกันเหล่านัน้ โลกิยกุสลากุสลานิ เจว คือ กุศลจิตฝ่ายโลกิยะ (๑๗ ดวง) อกุศลจิต (๑๒ ดวง) อนาวชฺชนกฺรยิ าชวนานิ จาติ และกิริยาชวนจิตที่ไม่ใช่อาวัชนจิต (๑๘ ดวง) อนนฺตราตีตานิ ที่ล่วงเลยล�ำดับ ไปแล้ว ฯ อุปการิกา เจตนา เจตนาทีช่ ว่ ยอุปการะ จิตตฺ ปฺปโยคสงฺขาตกฺรยิ าภาเวน สหชาตานํ แก่ปัจจยุปปันนธรรม ที่เกิดร่วมกัน โดยภาวะที่เป็นกิริยากล่าวคือ ความพยายามแห่งจิต นานากฺขณิกานญฺจ และแก่ปัจจยุปปันนธรรมที่เกิดในขณะ ต่าง ๆ กัน กมฺมปจฺจโย ชือ่ ว่ากัมมปัจจัยฯ วิปากจิตตฺ เจตสิกา วิบากจิตและเจตสิก ธรรมทัง้ หลาย อุปการกา ช่วยอุปการะ นิรสุ สฺ าหสนฺตภาวาย โดยภาวะเป็นธรรม ที่สงบปราศจากความพยายาม สหชาตนามรูปานํ แก่นามธรรมและรูปธรรมที่เกิด ร่วมกัน อตฺตโน นิรุสฺสาหสนฺตภาเวน โดยภาวะที่ตนสงบปราศจากความพยายาม วิปากปจฺจโย ชื่อว่าวิปากปัจจัย ฯ หิ ความจริง ภวงฺคาทโย วิบากจิตทั้งหลาย มีภวังคจิตเป็นต้น ทุวญ ิ เฺ ญยฺยา ชือ่ ว่า พึงรูไ้ ด้ยาก นิรสุ สฺ าหสนฺตานสนฺตภาวโตเยว เพราะเป็นภาวะที่มีความสืบเนื่องกัน สงบปราศจากความพยายาม เตหิ ปโยเคน อสาเธตพฺพตาย กมฺมสฺส กตตฺตา นิปฺปชฺชนมตฺตโต เหตุเป็นเพียงสภาวธรรม ที่ส�ำเร็จมาจากกรรมที่สัตว์กระท�ำแล้ว เพราะวิบากจิตเหล่านั้น อันบุคคลไม่พึงให้ ส�ำเร็จได้ด้วยความพยายาม ฯ ปน ส่วน วิปากา วิบากจิตทั้งหลาย อภินิปาตสมฺปฏิจฉฺ นฺนสนฺตรี ณมตฺตา ซึง่ เป็นเพียงกิรยิ าทีป่ ญ ั จวิญญาณจิตตกไปในรูปารมณ์


366

ปริเฉทที่ ๘

เป็นต้น สัมปฏิจฉันนจิตรับรู้รูปารมณ์เป็นต้น และสันตีรณจิตพิจารณารูปารมณ์ เป็นต้น ทุวิญฺเญยฺยาว เป็นสภาวะที่จะพึงรู้ได้ยากแท้ ฯ เนสํ รูปาทิคหิตตา ภาวะที่ปัญจวิญญาณจิต สัมปฏิจฉันนจิต และสันตีรณจิตเหล่านั้น รับรูปารมณ์ เป็นต้น วิญญ ฺ ายตีติ บัณฑิตย่อมรูไ้ ด้ ชวนปฺปวตฺตยิ าว โดยความเป็นไปแห่งชวนจิต เท่านั้น แล ฯ จตฺ ต าโร อาหารา อาหาร ๔ อย่ า ง รู ป ารู ป านํ อุ ป ตฺ ถ มฺ ภ กตฺ เ ตน อุปการกา ช่วยอุปการะ โดยภาวะทีช่ ว่ ยอุปถัมภ์แก่รปู ธรรมและอรูปธรรมทัง้ หลาย อาหารปจฺจโย ชื่อว่าอาหารปัจจัย ฯ หิ ความจริง สติปิ กมฺมชนกภาเว เมื่อภาวะ แห่งกรรมที่ให้รูปธรรมและอรูปธรรมเกิด แม้มีอยู่ อุปตฺถมฺภกตฺตเมว เฉพาะ ภาวะทีช่ ว่ ยอุปถัมภ์รปู ธรรมและอรูปธรรมเท่านัน้ อาหารสฺส ปธานกิจจฺ ํ เป็นหน้าทีห่ ลัก ของอาหาร ฯ ชนยนฺโตปิ อาหาโร อาหารแม้เมื่อจะให้รูปธรรมและอรูปธรรมเกิด อวิจเฺ ฉทวเสน อุปตฺถมฺเภนฺโตว ชเนตีติ ก็ให้รปู ธรรมและอรูปธรรมเกิด คอยช่วย อุปถัมภ์ไว้ดว้ ยอ�ำนาจไม่ขาดสายนัน่ เอง เพราะเหตุนนั้ อุปตฺถมฺภกภาโวว ภาวะที่ ช่วยอุปถัมภ์รูปธรรมและอรูปธรรมนั่นแหละ อาหารภาโว เป็นภาวะแห่งอาหารฯ เตสุ เตสุ กิจฺเจสุ ปจฺจยุปฺปนฺนธมฺเมหิ อตฺตานํ อนุวตฺตาปนสงฺขาตอธิปจฺจตฺเถน ปจฺจโย ธรรมทีเ่ ป็นปัจจัย โดยอรรถว่า เป็นใหญ่ กล่าวคือการยังปัจจยุปปันนธรรม ทั้งหลาย ให้เป็นไปตามตนในหน้าที่นั้น ๆ อินฺทฺริยปจฺจโย ชื่อว่าอินทรียปัจจัย ฯ อาลมฺพนูปนิชฺฌานลกฺขณูปนิชฺฌานวเสน อุปคนฺตฺวา อาลมฺพนํ นิชฺฌานกา วิตกฺกาทโย ธรรมที่เป็นองค์ฌานทั้งหลายมีวิตกเป็นต้น เพ่งอารมณ์อย่างแน่วแน่ คือเพ่งแน่วแน่ซึ่งอารมณ์ และเพ่งแน่วแน่ซึ่งลักษณะ (ไตรลักษณ์) ฌานปจฺจโย ชื่อว่าฌานปัจจัย ฯ สุคติโต ทุคฺคติโต ปุญฺญโต ปาปโต วา นิยฺยานตฺเถน อุปการกา สมฺมาทิฏฺฐาทโย ธรรมที่เป็นองค์มรรคทั้งหลายมีสัมมาทิฏฐิเป็นต้น ช่วยอุปการะโดยอรรถว่า น�ำเหล่าสัตว์ออกจากสุคติ จากทุคคติ จากบุญ หรือจากบาป มคฺคปจฺจโย ชือ่ ว่ามัคคปัจจัย ฯ นามธมฺมาว เฉพาะนามธรรมทัง้ หลาย ปรมตฺถโต ภินนฺ าปิ แม้จะต่างกันโดยปรมัตถ์ เอกีภาวํ คตา วิย ก็เป็นดุจถึงความเป็นอันเดียวกัน


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

367

เอกุปฺปาทาทิสงฺขาตสมฺปโยคลกฺขเณน อุปการกา ช่วยอุปการะโดยลักษณะ แห่งสัมปโยค กล่าวคืออาการ ๔ อย่างมีเกิดขึน้ พร้อมกันเป็นต้น สมฺปยุตตฺ ปจฺจโย ชื่อว่าสัมปยุตตปัจจัย ฯ (จบ ๒๕๒๖) วตฺถุจิตฺตเจตสิกา วัตถุ (หทัย) รูป จิต เจตสิก ยุตฺตาปิ สมานา แม้เป็นสภาวะที่ประกอบ อญฺญมญฺญสมฺพนฺธตาย ด้วยความเกีย่ วเนือ่ งกันและกัน อุปการกา ก็ทำ� อุปการะ นานตฺตปู คมเนน โดยเข้าถึง ความต่างกัน วิปฺปยุตฺตภาเวน วิสํสฏฺฐตาย เพราะไม่เกี่ยวข้องกันโดยความเป็น สภาวะพรากจากกัน วิปฺปยุตฺตปจฺจโย ชื่อว่า วิปปยุตตปัจจัย ฯ วกฺขมานธมฺมา ธรรมที่จะกล่าวอยู่ สหชาตํ ปุเรชาตนฺติอาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า สหชาตํ ปุเรชาตํ ดังนี้ อุปการกา ที่ท�ำอุปการะ ตาทิสสฺเสว ธมฺมสฺสุปตฺถมฺภกตฺเตน แก่ ธ รรมเช่ น นั้ น นั่ น แล โดยภาวะที่ ค�้ ำจุ น ไว้ อตฺ ถิ ภ าเวน โดยภาวะที่ มี อ ยู ่ ปจฺจุปฺปนฺนสภาเวน ซึ่งมีสภาวะเป็นปัจจุบัน อตฺถิปจฺจโย ชื่อว่าอัตถิปัจจัย ฯ สติปิ ชนกตฺเต เมือ่ ความทีก่ รรมเป็นธรรมชาตให้เกิดแม้มอี ยู่ ฐิตยิ เํ ยว สาติสโย อตฺถิปจฺจยานํ พฺยาปาโรติ อัตถิปัจจัยทั้งหลายย่อมมีความพยายามดียิ่ง เฉพาะ ในฐิตขิ ณะเท่านัน้ เพราะเหตุนนั้ อุปตฺถมฺภกตาว เตสํ คหิตา ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ จึงระบุเฉพาะความที่อัตถิปัจจัยเหล่านั้น เป็นสภาวะที่ค�้ำจุนเท่านั้น ฯ จิตฺตเจตสิกา จิตและเจตสิก อนนฺตรนิรุทฺธา ซึ่งดับไปไม่มีธรรมอื่นคั่น อุ ป การกา ที่ ท� ำ อุ ป การะ อุ ปฺ ป ชฺ ช มานกจิ ตฺ ต เจตสิ ก านํ โอกาสทานวเสน ด้วยอ�ำนาจให้โอกาสแก่จิตและเจตสิก ซึ่งจะเกิดขึ้น อนนฺตรํ ในล�ำดับติดต่อกัน โอกาสมลภนฺตานํ ที่ไม่ได้โอกาส อตฺตโน ฐิติยา เพื่อความตั้งมั่นอยู่แห่งตน เอกสฺมึ ผสฺสาทิสมุทาเย ปวตฺตมาเน ทุติยสฺส อภาวโต เพราะเมื่อหมวดธรรม มีผัสสเจตสิกเป็นต้น หมวดหนึ่ง ก�ำลังเป็นไปอยู่ หมวดธรรมมีผัสสเจตสิก เป็นต้นที่สอง ก็มีไม่ได้ นตฺถิปจฺจโย ชื่อว่านัตถิปัจจัย ฯ อุปการกาเยว ธมฺมา ธรรมทั้งหลายเฉพาะที่ท�ำอุปการะ อปฺปวตฺตมานานํ วิคตภาเวน โดยภาวะที่ไป ปราศแก่ธรรมทัง้ หลายทีเ่ ป็นไปไม่ได้ อตฺตโน สภาวาวิคเมน เพราะสภาวะของตน ยังไม่ไปปราศ วิคตปจฺจโย ชื่อว่าวิคตปัจจัย ฯ อตฺถิปจฺจยาว อัตถิปัจจัยนั่นเอง


368

ปริเฉทที่ ๘

นิโรธานุปคมนวเสน อุปการกา ที่ท�ำอุปการะ ด้วยอ�ำนาจไม่เข้าถึงความดับ อวิคตปจฺจโย ชื่อว่าอวิคตปัจจัย ฯ ธมฺมานวิเสเสปิ แม้เมื่อความไม่แปลกกัน แห่งธรรมทั้งหลายมีอยู่ ทฏฺฐพฺโพ บัณฑิตก็พึงเห็น เนสํ ปจฺจยตาวิเสโส ความแปลกกั น แห่ ง ความที่ ธ รรมเหล่ า นั้ น เป็ น ปั จ จั ย ว่ า สสฺ ส ภาวตามตฺ เ ตน อุ ป การกตา ความที่ ธ รรมทั้ ง หลายท� ำ อุ ป การะด้ ว ยเหตุ เ พี ย งความมี ส ภาวะ อตฺถิปจฺจยตา ชื่อว่าความเป็นอัตถิปัจจัย นิโรธานุปคมนวเสน อุปการกตา ภาวะที่ธรรมทั้งหลายท�ำอุปการะ ด้วยอ�ำนาจไม่เข้าถึงความดับ อวิคตปจฺจยตา (อิติ) ชื่อว่าความเป็นอวิคตปัจจัย ฯ สุตมยญาณํ อุปฺปาเทตฺวา บัณฑิตพึงยังสุตมยปัญญาให้เกิดขึ้นว่า ภควติ สทฺธาย เอวํวเิ สสา เอเต ธมฺมาติ ธรรมเหล่านีม้ คี วามแปลกกันอย่างนี้ ด้วยศรัทธา ในพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ธมฺมานญฺหิ สมตฺถภาววิเสสํ สพฺพากาเรน ญตฺวา ภควตา จตุวีสติ ปจฺจยา เทสิตาติ ความจริง พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบ ความแปลกกันแห่งความที่ธรรมทั้งหลายมีความสามารถ โดยอาการทั้งปวงแล้ว จึงทรงแสดงปัจจัย ๒๔ อย่างไว้ ดังนี้ จินฺตาภาวนามยญาเณหิ ตทภิสมยาย โยโค กรณีโย พึงท�ำความเพียรเพื่อความรู้ความต่างกันแห่งปัจจยธรรมนั้น ด้วยจินตามยปัญญา และภาวนามยปัญญา ฯ ทฏฺฐพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า อวิเสเสปิ ธมฺมสามตฺถยิ สฺส แม้เมือ่ มีความไม่แปลกกันแห่งธรรมทีม่ คี วามสามารถ เหฏฺฐา วุตฺโตปิ ปจฺจโย ปัจจัยแม้ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ข้างต้น ตถา ตถา วิเนตพฺพปุคฺคลานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจบุคคลที่จะพึงแนะน�ำ โดยประการนั้น ๆ ปุ น ปการนฺ ต เรน วุ จฺ จ ติ ก็ ต รั ส โดยประการอื่ น อี ก อเหตุ ก ทุ กํ วตฺ ว าปิ เหตุวิปฺปยุตฺตทุกํ วิยาติ เปรียบเสมือนแม้ตรัสถึงทุกะที่ก�ำหนดด้วยเหตุกจิตแล้ว ก็ตรัสถึงทุกะที่ท่านก�ำหนดด้วยจิตที่ปราศจากเหตุไว้อีก ฉะนั้น ฯ นามํ นาม จตุกฺขนฺธสงฺขาตํ นามํ นาม ได้แก่นาม กล่าวคือขันธ์ ๔ ตาทิสสฺเสว นามสฺส ฉธา ฉหากาเรหิ ปจฺจโย โหติ เป็นปัจจัยแก่นามเช่นนัน้ นัน่ แล โดยประการ ๖ คือ อาการ ๖ ฯ ตเทว (นามํ) นามนั่นแล นามรูปีนํ สมุทิตานํ ปญฺจธา ปจฺจโย


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

369

โหติ เป็นปัจจัยแก่นามและรูปที่เกิดขึ้นร่วมกัน โดยประการ ๕ ฯ รูปสฺส ปุน ภูตุปาทายเภทสฺส เอกธา ปจฺจโย โหติ นามนั่นแล เป็นปัจจัยแก่รูป ที่แยกเป็น ภูตรูปและอุปาทายรูป โดยประการหนึ่งซ�้ำอีก ฯ รูปญฺจ นามสฺส เอกธาว ปจฺจโย อนึ่ง รูปเป็นปัจจัยแก่นามโดยประการหนึ่งเท่านั้น ฯ ปญฺญตฺตินามรูปานิ บัญญัติธรรม นามและรูป นามสฺส ทฺวิธา ทฺวิปการา ปจฺจยา โหนฺติ เป็นปัจจัย แก่นามโดยอาการ ๒ คือโดยประการ ๒ ฯ ปน อนึ่ง ทฺวยํ นามและรูปทั้ง ๒ นามรูปทฺวยํ คือ หมวด ๒ แห่งนามและรูป สมุทิตํ ที่เกิดขึ้นร่วมกัน ทฺวยสฺส ตาทิสสฺเสว นามรูปทฺวยสฺส นวธา ปจฺจโย เจ เป็นปัจจัยแก่นามและรูป ๒ คือ แก่หมวด ๒ แห่งนามและรูปเช่นนั้นแล โดยประการ ๙ (อิติ) เอวํ รวมความ ดังกล่าวมานี้ ปจฺจยา ฉพฺพิธา ฐิตา ปัจจัยทั้งหลายด�ำรงอยู่แล้วโดย ๖ หมวด ฯ (๒๔๙๑, ๒๕๑๗) (อาจริโย กตฺวา) ท่านอาจารย์คำ� นึงถึงว่า วิปากาพฺยากตํ วิบากจิตฝ่ายอัพยากฤต (คือ อกุสลวิบากจิต ๗ ดวง และกุสลวิบากอเหตุกจิต ๘ ดวง) วิปากภาวปฺปตฺตํ ถึงความเป็นวิบาก กมฺมวเสน ด้วยอ�ำนาจกรรม กมฺมเวคุกฺขิตฺตํ ถูกก�ำลังกรรมซัดไป ปติตํ วิย หุตฺวา ปวตฺตมานํ เป็นไปประดุจ ตกลง อตฺตโน สภาวํ คเหตฺวา ปริภาเวตฺวา รับสภาพของตนให้เกิดมีเต็มทีแ่ ล้ว เนว อญฺญํ ปวตฺเตติ ย่อมไม่ให้วบิ ากอืน่ เป็นไป น จ ปุรมิ วิปากานุภาวํ คเหตฺวา อุปฺปชฺชติ และย่อมไม่รับอานุภาพวิบากเดิมเกิด วจนโต จ ก็เพราะพระบาลีว่า น มคฺคปจฺจยา อาเสวเน เอกนฺติ เพราะธรรมที่ไม่ใช่มรรคเป็นปัจจัย ใน อาเสวนปัจจัย จึงได้ปัญหาพยากรณ์ข้อหนึ่ง ดังนี้เป็นต้น อเหตุกฺริยาสุ บรรดา กิรยิ าจิตฝ่ายอเหตุกะทัง้ หลาย (๓ ดวง) หสิตปุ ปฺ าทสฺเสว อาเสวนตาอุทธฺ รเณน เพราะยกเฉพาะหสิตปุ ปาทจิตดวงเดียวเท่านัน้ ขึน้ เป็นอาเสวนปัจจัยได้ อาวชฺชนทฺวยํ อาวัชชนจิต ๒ ดวง (คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง มโนทวาราวัชชนจิต ทัง้ ๑ ดวง) อาเสวนปจฺจโย น โหติ จึงเป็นอาเสวนปัจจัยไม่ได้ ตสฺมา เพราะฉะนัน้ ชวนาเนว เฉพาะชวนจิตทั้งหลายเท่านั้น อาเสวนปจฺจยภาวํ คจฺฉนฺตีติ จึงถึง ความเป็นอาเสวนปัจจัยได้ ดังนี้ อาห ปุรมิ านิ ชวนานีตอิ าทิ จึงกล่าวค�ำว่า ปุรมิ านิ


370

ปริเฉทที่ ๘

ชวนานิ ดังนี้เป็นต้น ฯ จ ก็ อวิเสสวจเน เมื่อมีถ้อยค�ำที่ไม่ต่างกัน เอตฺถ (ปุริมานิ ชวนานีติ วจเน) ในค�ำว่า ปุริมานิ ชวนานิ นี้ โลกุตฺตรชวนานํ อาเสวนภาวสฺส อนุทฺธฏตฺตา เพราะมิได้ทรงยกโลกุตตรชวนจิตทั้งหลายขึ้นเป็น อาเสวนปั จ จั ย โลกิ ย กุ ส ลากุ ส ลาพฺ ย ากตชวนาเนว ทฏฺ ฐ พฺ พ านิ บั ณ ฑิ ต พึงเห็นเฉพาะกุศลชวนจิตฝ่ายโลกิยะ (๑๗ ดวง) อกุศลชวนจิต (๑๒ ดวง) และ อัพยากตชวนจิต (๑๘ ดวง) เท่านั้น (ว่าเป็นอาเสวนปัจจัยได้) ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็ เพราะแต่งอธิบายความไว้อย่างนี้ วุตฺตํ ปฏฺฐานฏฺฐกถายํ ในอรรถกถา คัมภีรป์ ฏั ฐานพระอรรถกถาจารย์จงึ กล่าวไว้วา่ ปน ส่วน โลกุตตฺ โร โลกุตตรธรรม (ชวนจิต) อาเสวนปจฺจโย นาม ทีช่ อื่ ว่าเป็นอาเสวนปัจจัยได้ นตฺถตี ิ ย่อมไม่มี ฯ หิ ความจริ ง ตตฺ ถ (โลกตฺ ต เรสุ ) บรรดาโลกุ ต ตรกุ ศ ลชวนจิ ต นั้ น กุ ส ลํ โลกุตตรชวนจิต (๔ ดวง) น เตน (ผเลน) อาเสวนคุณํ คณฺหาเปติ ย่อมไม่ ยั ง โลกุ ต ตรผลจิ ต นั้ น ให้ รั บ เอาคุ ณ คื อ อาเสวนะ ภิ นฺ น ชาติ ก สฺ ส ปุ เ รจรตฺ ต า เพราะภาวะที่โลกุตตรกุศลชวนจิตนั้น เป็นไปก่อนโลกุตตรผลจิตที่ต่างชาติกัน ฯ จ ส่วน ผลจิตฺตานิ ผลจิตทั้งหลาย (คือโลกุตตรวิบากจิต ๔ ดวง) ชวนวเสน อุปฺปชฺชมานานิปิ แม้จะเกิดขึ้นด้วยอ�ำนาจเป็นชวนจิต อาเสวนํ น คณฺหนฺต ิ ก็ไม่รบั อาเสวนะ น จ อญฺญํ คาหาเปนฺติ และไม่ยงั วิบากจิตอืน่ ให้รบั เอาอาเสวนะ วิปากาพฺยากเต วุตฺตนเยเนว โดยนัยที่กล่าวแล้ว ในวิบากจิตฝ่ายอัพยากฤตนั่น แหละ ฯ ยมฺปิ อาเสวนวินิมุตฺตํ ชวนํ นตฺถีติ อาจริยธมฺมปาลตฺเถเรน วุตฺตํ ตมฺปิ แม้ค�ำที่ท่านอาจารย์ธรรมปาลเถระกล่าวไว้ว่า ชวนจิตที่พ้นไปจากอาเสวนะ ย่อมไม่มี ดังนี้นั้น เยภุยฺยวเสน วุตฺตนฺติ วิญฺญายติ บัณฑิตย่อมเข้าใจว่า ท่านกล่าวไว้แล้วด้วยอ�ำนาจโวหารที่เป็นส่วนมาก ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความ นอกไปจากนี้ อาจริยสฺส อสมเปกฺขิตาภิธายกตฺตปฺปสงฺโค สิยา ท่านอาจารย์ จะพึงเกี่ยวเนื่องถึงความเป็นผู้พูด โดยไม่พิจารณาให้รอบคอบ ฯ ภูมิอาทิวเสน นานาชาติตาย อนธิปฺเปตตฺตา เพราะไม่ทรงหมายถึงภาวะแห่งธรรมที่ต่างชาติกัน ด้วยอ�ำนาจภูมเิ ป็นต้น นตฺถิ จึงไม่มถี อ้ ยค�ำว่า ปน แต่ มคฺโค มรรคจิต น คณฺหาติ


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

371

ย่อมไม่รับเอา อาเสวนํ อาเสวนะ โคตฺรภูโต จากโคตรภูจิต อิติ ดังนี้ ฯ ตถาหิ วุตฺตํ ปฏฺฐาเน สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในคัมภีร์ปัฏฐานว่า โคตฺรภู มคฺคสฺส อาเสวนปจฺจเยน ปจฺจโย โวทานํ มคฺคสฺส อาเสวนปจฺจเยน ปจฺจโยติ โคตรภูจิตย่อมเป็นปัจจัยแก่มรรคจิต (คือ โสดาปัตติมรรคจิต) โดย อาเสวนปัจจัย โวทานจิตย่อมเป็นปัจจัยแก่มรรคจิต (คือสกทาคามิมรรคจิตเป็นต้น) โดยอาเสวนปัจจัย ดังนี้ (จบ ๒๔๙๑, ๒๕๑๗)ฯ (อาจริเยน มนสิกตฺวา) ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์คำ� นึงถึงว่า สหุปปฺ นฺนานมฺปิ รูปธมฺมานํ สมฺปยุตฺตปจฺจยตา ความที่รูปธรรมทั้งหลายแม้ที่เกิดขึ้นร่วมกัน เป็น สัมปยุตตปัจจัย นตฺถิ ชือ่ ว่าย่อมไม่มี เอกุปปฺ าทาทิจตุพพฺ ธิ สมฺปโยคลกฺขณาภาวโต เพราะไม่มลี กั ษณะแห่งสัมปโยค ๔ ประการ มีความเกิดขึน้ ร่วมกันเป็นต้น อิติ ดังนี้ วุตตฺ ํ จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา อญฺญมญฺญนฺติ จึงกล่าวค�ำว่า จิตตฺ เจตสิกา ธมฺมา อญฺมฺ  ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ เหตุ ฯเปฯ นามรูปานนฺติ ข้อว่า เหตุ ฯเปฯ นามรูปานํ ความว่า ตโยเปเต (เหตุชฺฌานมคฺคา) เหตุธรรม องค์ฌาน และองค์มรรค ทั้ง ๓ ประการนี้ เหตาทิปจฺจเยน ปจฺจยา โหนฺติ เป็นปัจจัยโดยเป็นเหตุปัจจัย เป็นต้น ปฏิสนฺธยิ ํ กมฺมสมุฏฐฺ านานํ ปวตฺตยิ ํ จิตตฺ สมุฏฐฺ านานญฺจ รูปานํ แก่รปู ทั้งหลายที่มีกรรมเป็นสมุฏฐานในปฏิสนธิกาล ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานในปวัตติกาล อุภยตฺถ สหชาตานํ นามานญฺจ และแก่นามทัง้ หลายทีเ่ กิดร่วมกันในกาลทัง้ ๒ ฯ หิ ความจริง สหชาตรูปนฺติ ในค�ำว่า สหชาตรูป ดังนี้ สพฺพตฺถ (วจเน) ทั้งหมด วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าวว่า ปฏิสนฺธิยํ กมฺมสมุฏฺฐานํ ปวตฺติยํ จิตฺตสมุฏฺฐานํ (รูปํ เวทิตพฺพํ) อิติ รูป บัณฑิตพึงทราบว่า รูปมีกรรมเป็นสมุฏฐาน ในปฏิสนธิกาล มีจิตเป็นสมุฏฐานในปวัตติกาล ฯ สหชาตา เจตนาติ ข้อว่า สหชาตา เจตนา ได้แก่ เจตนาที่เกิดร่วมกัน อนฺตมโส จกฺขุวิญฺญาณาทีหิปิ โดยที่สุดแม้ร่วมกับจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น ฯ สหชาตานํ นามรูปานนฺติ ข้อว่า สหชาตานํ นามรูปานํ ความว่า สพฺพาปิ เจตนา เจตนาแม้ทั้งหมด นามานํ ย่อมเป็นปัจจัยแก่นาม ปฏิสนฺธสิ หคตา เจตนา เจตนาทีเ่ กิดพร้อมในปฏิสนธิกาล


372

ปริเฉทที่ ๘

กมฺ ม สมุ ฏ ฺ ฐ านรู ป านํ ย่ อ มเป็ น ปั จ จั ย แก่ รู ป ที่ มี ก รรมเป็ น สมุ ฏ ฐาน ปวตฺ ติ ยํ รูปสมุฏฺฐาปกจิตฺตสหคตา เจตนา และเจตนาที่เกิดพร้อมด้วยจิตซึ่งเป็นตัวให้ รูปตั้งขึ้นในปวัตติกาล จิตฺตสมุฏฺฐานรูปานญฺจ ย่อมเป็นปัจจัยแก่รูปที่มีจิตเป็น สมุฏฐาน ฯ นานากฺขณิกา เจตนาติ ข้อว่า นานากฺขณิกา เจตนา ความว่า กุสลากุสลเจตนา กุศลเจตนาและอกุศลเจตนา วิปากกฺขณโต นานากฺขเณ อตีตภวาทีสุ นิพฺพตฺตา ที่บังเกิดในขณะต่าง ๆ กัน จากขณะแห่งวิบาก คือ ในอดีตภพเป็นต้น ฯ นามรูปานนฺติ ข้อว่า นามรูปานํ คือ นามรูปานํ แก่นาม และรูป อุภยตฺถาปิ (ปฏิสนฺธิปวตฺตีสุ) ในปฏิสนธิกาลและ ปวัติกาลแม้ทั้ง ๒ ฯ วิปากกฺขนฺธาติ ที่ชื่อว่าวิบากขันธ์ ได้แก่ ปฏิสนฺธิวิญฺญาณาทิกา วิปากา อรูปกฺขนฺธา อรูปขันธ์ที่เป็นตัววิบากมีปฏิสนธิวิญญาณเป็นต้น ฯ หิ ความจริง ฯ กมฺมสมุฏฺฐานมฺปิ รูปํ แม้รูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐาน วิปากโวหารํ น ลภติ ย่อมไม่ได้การบัญญัติว่าวิบาก อรูปธมฺมภาเวน สาลมฺพนภาเวน จ กมฺมสทิเสสุ อรูปธมฺเมเสฺวว วิปากสทฺทสฺส นิรทุ ธฺ ตฺตา เพราะความทีศ่ พั ท์วา่ วิบาก จ�ำกัดความ ในอรูปธรรมที่เหมือนกับกรรมนั่นเอง โดยความเป็นอรูปธรรม และโดยความเป็น สภาวธรรมที่มีอารมณ์ ฯ ปุเรชาตสฺส อิมสฺส กายสฺสาติ ข้อว่า ปุเรชาตสฺส อิมสฺส กายสฺส ความว่า อิมสฺส รูปกายสฺส แก่รูปกายนี้ ปจฺจยธมฺมโต ปุเร อุปฺปนฺนสฺส ที่เกิดขึ้นก่อนแต่ปัจจยธรรม ฯ (ปุจฉฺ า) ถามว่า ปน ก็ กถํ ปจฺจปุ ปฺ นฺนสฺส ปุเร นิพพฺ ตฺตยิ ํ ปจฺฉาชาตสฺส ปจฺจยตาติ ความที่ปัจจุปปันนธรรมเป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เกิดในภายหลัง ในเมื่อตน เกิดก่อน จะมีได้อย่างไร ฯ (วิสชฺชนํ) ตอบว่า นนุ (วจนํ มยา) วุตฺตํ ข้าพเจ้า ได้กล่าวไว้แล้วมิใช่หรือว่า (กายสฺส อุปตฺถมฺภนภาเวน อุปการกา ปจฺฉาชาตา จิ ตฺ ต เจตสิ ก า ธมฺ ม า) ธรรมคื อ จิ ต และเจตสิ ก ที่ เ กิ ด ในภายหลั ง ท� ำ อุ ป การะ โดยภาวะที่ ค�้ ำ จุ น ร่ า งกาย อสติ ปจฺ ฉ าชาเต ซึ่ ง เมื่ อ ไม่ มี ป ั จ ฉาชาตปั จ จั ย สนฺตานฏฺฐิติเหตุภาวํ อคจฺฉนฺตสฺสาติ ก็ไปไม่ถึงความเป็นเหตุแห่งความด�ำรงอยู่ แห่งความสืบต่อ ปจฺฉาชาตปจฺจโย ชือ่ ว่าปัจฉาชาตปัจจัย ดังนี้ ตสฺมา เพราะฉะนัน้


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

373

สนฺ ต านปฺ ป วตฺ ต นสฺ ส เหตุ ภ าวู ป ตฺ ถ มฺ ภ เน อิ ม สฺ ส (ปจฺ ฉ าชาตปจฺ จ ยสฺ ส ) พฺยาปาโรติ ปัจฉาชาตปัจจัยนี้ จึงมีความพยายามในการค�้ำจุน ความเป็นเหตุแห่ง ความเป็นไปแห่งความสืบต่อ เพราะเหตุนนั้ น โกจิ วิโรโธ จึงไม่มคี วามผิดอะไร ฯ ปฏิสนฺธิยํ จกฺขฺวาทิวตฺถูนํ อสมฺภวโต เพราะวัตถุมีจักขุวัตถุเป็นต้น ไม่เกิดมี ในปฏิสนธิกาล สติ จ สมฺภเว ตํตํวิญฺญาณานํ ปจฺจยภาวานุปคมนโต เพราะ เมื่อวัตถุมีจักขุวัตถุเป็นต้นเกิดมี ก็ไม่เข้าถึงความเป็นปัจจัยแก่วิญญาณจิตนั้น ๆ หทยวตฺถุโน จ ปฏิสนฺธวิญฺญาเณน สหุปฺปนฺนสฺส ปุเรชาตกตาภาวโต และ เพราะหทัยวัตถุซงึ่ เกิดขึน้ ร่วมกันกับปฏิสนธิวญ ิ ญาณจิต ไม่มคี วามเป็นปุเรชาตปัจจัย วุตฺตํ ฉ วตฺถูนิ ปวตฺติยนฺติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า ฉ วตฺถูนิ ปวตฺติยํ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปญฺจาลมฺพนานิ ปญฺจวิญฺญาณวีถิยาติ จ อิทํ ก็ค�ำว่า ปญฺจาลมฺ พนานิ ปญฺจวิญฺาณวีถิยา นี้ อารมฺมณปุเรชาตนิทฺเทเส อาคตํ สนฺธาย วุตฺตํ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์กล่าวหมายถึงนัยทีม่ าแล้วในนิเทศว่าด้วยอารมณ์ทเี่ กิดก่อน ฯ ปน แต่ ปญฺหาวาเร ในปัญหาวาระ ปจฺจุปฺปนฺนจกฺขฺวาทีนมฺปิ คหิตตฺตา เพราะแม้ความที่จักขุปสาทรูปที่เป็นปัจจุบันเป็นต้น ท่านระบุ เสกฺโข วา ปุถุชฺชโน วา จกฺขุ อนิจฺจโต ทุกฺขโต อนตฺตโต วิปสฺสตีติอาทินา อวิเสเสน โดยความไม่ แปลกกันโดยนัยเป็นต้นว่า เสขบุคคล หรือปุถุชน ย่อมเห็นแจ้งจักขุปสาทรูป โดย ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ดังนี้ ธมฺมารมฺมณมฺปิ อารมฺมณปุเรชาตํ แม้ ธรรมารมณ์ซึ่งเป็นอารมณ์ที่เกิดก่อน มโนวิญฺญาณวีถิยา ลพฺภติ ย่อมได้แก่วิถีจิต ทีเ่ กิดทางมโนทวาร ฯ หิ ความจริง อตฺถโตปิ แม้โดยใจความ เอตํ (วจนํ) สิทธฺ ํ ย่อมเป็นอันส�ำเร็จค�ำนีว้ า่ ยํ ปจฺจปุ ปฺ นฺนํ อารมฺมณํ คเหตฺวา มโนทฺวาริกวีถิ ปวตฺ ตติ ตํ ตสฺสา อารมฺมณปุเรชาตํ โหตีติ วิถีจิตที่เกิดทางมโนทวาร ยึดธรรมารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันใด เป็นไป ธรรมารมณ์ที่เป็นปัจจุบันนั้น ย่อมเป็นอารมณ์ที่เกิดก่อน เพื่อวิถีจิตที่เกิดทางมโนทวารนั้น ฯ ปกติยา เอว ปจฺจยนฺตรรหิเตน อตฺตโน สภาเวเนว อุปนิสฺสโย ธรรมซึ่ง เป็นทีเ่ ข้าไปอาศัยตามปกตินนั่ แล คือ ตามสภาวะของตน ทีเ่ ว้นจากปัจจัยอืน่ นัน่ เอง


374

ปริเฉทที่ ๘

ปกตูปนิสฺสโย ชื่อว่าปกตูปนิสสยปัจจัย ฯ วุตฺตํ โหติ มีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบาย ไว้ว่า อารมฺมณนฺตเรหิ อมิสฺโส ปุถเคว โกจิ (ธมฺโม) ธรรมบางอย่างซึ่งเป็นที่ อิงอาศัยแผนกหนึ่งนั่นเอง ไม่เจือปนกับอารมณ์อย่างอื่น อุปนิสฺสโยติ ชื่อว่า ปกตูปนิสสยปัจจัย ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ปกโต อุปนิสฺสโย ธรรมซึ่งเป็น ที่อิงอาศัยซึ่งเป็นปกติ ปกตูปนิสฺสโย ชื่อว่าปกตูปนิสสยปัจจัย ฯ ปกโตติ เจตฺถ (วจเน) ปกาโร ก็ ป อักษร ในค�ำว่า ปกโต นี้ อุปสคฺโค เป็นอุปสัค ฯ โส (อุปสคฺโค) อุปสัคนัน้ สนฺตาเน นิปผฺ าทิตภาวํ อาเสวิตภาวญฺจ ทีเปติ ย่อมแสดงถึง ความเป็นภาวะที่สัตว์ให้ส�ำเร็จในสันดาน และความเป็นสภาวะที่สัตว์ส้องเสพแล้ว อตฺตโน ผลสฺส อุปฺปาทนสมตฺถภาเวน โดยความเป็นสภาวะที่มีความสามารถให้ ผลของตนเกิดขึน้ ได้ ฯ ตสฺมา เพราะฉะนัน้ ราคาทิสทฺธาทิ กิเลสมีราคะเป็นต้น และคุณธรรมมีศรัทธาเป็นต้น อตฺตโน สนฺตาเน นิปผฺ นฺโน ทีส่ ำ� เร็จแล้วในสันดาน ของตน วา อุตุโภชนาทิ หรือปัจจัยมีอุตุและโภชนะเป็นต้น อุปเสวิโต ที่สัตว์ ส้องเสพแล้ว ปกตูปนิสฺสโย ชื่อว่าปกตูปนิสสยปัจจัย ฯ ตถา เจว นิทฺทิสติ ก็ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ได้ชี้แจงไว้แล้ว อย่างนั้นเหมือนกัน ฯ ครุกตนฺติ บทว่า ครุกตํ ได้แก่ ครุ กตฺวา ปจฺจเวกฺขิตํ อารมณ์ที่ พระโยคาวจรพิจารณาท�ำให้หนักแน่น ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น นิทฺเทโส นิเทศ ปวตฺโต เป็นไปแล้ว ปจฺจเวกฺขณวเสน ด้วยอ�ำนาจการพิจารณา ทานสีลอุโปสถกมฺมปุพฺเพกตสุจิณฺณชฺฌานโคตฺรภูโวทานมคฺคาทีนิ ครุ กตฺวา ถึงทาน ศีล อุโบสถกรรม ฌานที่ตนบ�ำเพ็ญและประพฤติมาดีในกาลก่อน โคตรภูญาณ โวทานธรรม และมรรคเป็นต้น ท�ำให้หนักแน่น ทานํ ทตฺวา สีลํ สมาทยิตฺวา อุโปสถกมฺมํ กริตวฺ า ตํ ครุ กตฺวา ปจฺจเวกฺขตีตอิ าทินา นเยน โดยนัยเป็นต้นว่า บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระท�ำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมพิจารณาถึงทานเป็นต้น นั้น ท�ำให้หนักแน่น ดังนี้ ฯ อนนฺตรปจฺจเยน สทฺธึ นานตฺตํ อกตฺวา อนนฺตรู ปนิสสฺ ยสฺส อาคตตฺตา เพราะความทีอ่ นันตรูปนิสสยปัจจัย ไม่ทำ� ความต่างกันกับ อนันตรปัจจัย มาแล้ว ปุริมา ปุริมา กุสลา ขนฺธา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ กุสลานํ


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

375

ขนฺธานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโยติอาทินา นเยน โดยนัยเป็นต้นว่า กุศลขันธ์ ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่กุศลขันธ์หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวว่า อนนฺตรนิรุทฺธา ดังนี้เป็นต้น ฯ เอวํ สนฺเตปิ แม้เมื่อเป็นอย่างนั้น อยเมเตสํ (ทฺวินฺนํ ปจฺจยานํ) วิเสโส ปัจจัยทั้ง ๒ อย่างนี้ มีความต่างกัน ดั ง นี้ อนนฺ ต รปจฺ จ โย คื อ ธรรมที่ เ ป็ น อนั น ตรปั จ จั ย อตฺ ต โน อนนฺ ต รา อนุรปู จิตตฺ ปุ ปฺ าทวเสน ก็ดว้ ยอ�ำนาจยังจิตทีเ่ หมาะสมให้เกิดขึน้ ในล�ำดับต่อจากตน อนนฺตรูปนิสฺสยปจฺจโยติ ธรรมที่เป็นอนันตรูปนิสสยปัจจัย พลวการณวเสน ก็ด้วยอ�ำนาจเหตุที่มีก�ำลังรุนแรง ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ยถารหํ อชฺฌตฺตญฺจ พหิทฺธา จ ราคาทโย ฯเปฯ เสนาสนญฺจาติ ธรรมทั้งหลายมีราคะ เป็นต้น (และมีศรัทธาเป็นต้น สุขเวทนา ทุกขเวทนา บุคคล โภชนะ อุตุ) และ เสนาสนะทั้งที่มีภายในและภายนอก ย่อมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมเป็นต้น และ แก่วิบากแห่งกรรมตามสมควร ฯ หิ ความจริง ราคาทโย ธรรมมีราคะเป็นต้น อชฺฌตฺตํ นิปผฺ าทิตา อันบุคคลให้สำ� เร็จแล้วในภายใน ปุคคฺ ลาทโย บุคคลเป็นต้น พหิทฺธา เสวิตา อันบุคคลส้องเสพแล้วในภายนอก ฯ ตถาหิ วุตฺตํ อาจริเยน สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ว่า ราคสทฺธาทโย ธมฺมา ธรรมทั้งหลายมีราคะและศรัทธาเป็นต้น อชฺฌตฺตมนุวาสิตา อันบุคคลให้นอนแนบสนิทแล้ว ในภายใน จ ส่วน สตฺตสงฺขารธมฺมา สัตว์และสังขารธรรม ปฏิเสวิตาติ อันบุคคล ส้องเสพ อาศัยแล้ว พหิทฺธา ในภายนอก ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ยถาฏฺฐิติวเสเนว โยชนา มีวาจาประกอบความด้วย อ�ำนาจแห่งข้อความตามที่ตั้งอยู่นั่นแลว่า ปน ก็ ธมฺมา ราคาทโย สทฺธาทโย ธรรมทั้งหลายมีราคะเป็นต้นและศรัทธาเป็นต้น สุขทุกฺขํ ปุคฺคโล โภชนํ อุต ุ เสนาสนํ สุขเวทนา และทุกขเวทนา บุคคล โภชนะ อุตุ เสนาสนะ อชฺฌตฺตญฺจ พหิทฺธา จ กุสลาทิธมฺมานนฺติ เป็นที่อยู่อาศัยแห่งธรรมมีกุศลธรรมเป็นต้น ทั้งภายในทั้งภายนอก ฯ อตฺตโน ราคาทโย สทฺธาทโย จ ธรรมทั้งหลายมีราคะ


376

ปริเฉทที่ ๘

เป็นต้นและมีศรัทธาเป็นต้นของตน อตฺตโน กุสลาทิธมฺมานํ กลฺยาณมิตฺตสฺส สทฺธาทิเก นิสฺสาย กุสลํ กโรนฺตานํ ปเรสญฺจ นิสฺสยา โหนฺติ ย่อมเป็นที่อาศัย แห่งกุศลธรรมเป็นต้นของตน และของชนเหล่าอืน่ ผูอ้ าศัยคุณธรรมมีศรัทธาเป็นต้น ของกัลยาณมิตรแล้วจึงท�ำกุศล ฯ ยถารหํ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมาย ตามสมควรว่า ตตฺถ กามราคาทโย นิสฺสาย กามภวาทีสุ นิพฺพตฺตนตฺถํ ราคาทิ วู ป สมนตฺ ถ ญฺ จ ทานสี ล อุ โ ปสถชฺ ฌ านาภิ ญฺ ญ าวิ ป สฺ ส นามคฺ ค ภาวนา ราคาทิเหตุกา จ อุปรูปริราคาทโย โหนฺตีติ ทาน ศีล อุโบสถ ฌาน อภิญญา วิปสั สนาภาวนา มรรคภาวนา และกิเลสมีราคะเป็นต้นทีส่ งู ๆ ขึน้ ไป อันมีราคะเป็นต้น เป็นมูลเหตุ ย่อมมี เพือ่ บุคคลอาศัยกามราคะเป็นต้น ในบรรดาราคะเป็นต้นเหล่านัน้ แล้วบังเกิดในกามภพเป็นต้น และเพือ่ ให้กเิ ลสมีราคะเป็นต้นสงบระงับ ฯ ยํ ยญฺหิ (ธมฺมชาตํ) นิสฺสาย ยสฺส ยสฺส (ธมฺมชาตสฺส) สมฺภโว ความจริง ธรรมใด ๆ อาศัยธรรมใด ๆ เกิดมี ตํ (ธมฺมชาตํ) ตสฺส (ธมฺมชาตสฺส) ปกตูปนิสฺสโย โหติ ธรรมนัน้ ๆ ย่อมเป็นปกตูนสิ สยปัจจัยแก่ธรรมนัน้ ๆ ฯ หิ (วจนํ อาจริเยน) วุตตฺ ํ สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ว่า ปจฺจยมหาปเทโส เหส (ปจฺจโย) ยทิทํ อุปนิสฺสยปจฺจโยติ ความจริง ปัจจยธรรมนี้ คืออุปนิสสยปัจจัย เป็นข้ออ้างใหญ่ แห่งปัจจัย ฯ ตถา จาห จริงอย่างนั้น ท่านพระอนุรุทธาจารย์ได้กล่าวไว้ว่า พหุธา โหติ ปกตูปนิสสฺ โยติ ปกตูปนิสสยปัจจัย มีมากอย่าง ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ สทฺธาทโยติ บทว่า สทฺธาทโย ได้แก่ สีลจาคปญฺญา ศีล จาคะ และปัญญา ฯ อตฺตโน สทฺ ธ าทิ ก ญฺ หิ อุ ป นิ สฺ ส าย อตฺ ต โน ทานสี ล าทโย ตถา กลฺ ย าณมิ ตฺ ต านํ สทฺธาสีลาทโย นิสฺสาย ปเรสญฺจ ทานสีลาทโย โหนฺตีติ ปากฏเมตํ (วจนํ) ค�ำนีว้ า่ ก็ คุณธรรมทัง้ หลายมีทานและศีลเป็นต้นของตน อิงอาศัยคุณธรรมมีศรัทธา เป็นต้นของตน ย่อมมีได้ และคุณธรรมทัง้ หลายมีทานและศีลเป็นต้นของชนเหล่าอืน่ อาศัยคุณธรรมมีศรัทธาและศีลเป็นต้นของเหล่ากัลยาณมิตร ย่อมมีได้เหมือนกัน ดังนี้ ปรากฏชัดแล้ว ฯ สุขทุกฺขนฺติ ที่ชื่อว่าสุขเวทนาและทุกขเวทนา ได้แก่ กายิกสุขทุกฺขํ สุขทางกายและทุกข์ทางกาย ฯ ปุคฺคโลติ ที่ชื่อว่าบุคคล ได้แก่


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

377

กลฺยาณมิตฺตาทิปุคฺคโล บุคคลมีกัลยาณมิตรเป็นต้น ฯ โภชนนฺติ ที่ชื่อว่าโภชนะ ได้แก่ สปฺปายาทิโภชนํ โภชนะที่เหมาะสมเป็นต้น ฯ อุตุปิ ตาทิโสเยว แม้อุตุ ก็เช่นนั้นเหมือนกัน ฯ ฯ อธิปติ ฯเปฯ ปจฺจยา โหนฺตีติ สงฺเขเปน วุตฺตมตฺถํ วิตฺถาเรตุํ เพื่อจะขยายเนื้อความที่กล่าวไว้โดยย่อว่า อธิปติ ฯเปฯ ปจฺจยา โหนฺติ ดังนี้ ตตฺถ ครุกตมาลมฺพนนฺตอิ าทิ วุตตฺ ํ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์จงึ กล่าวว่า ตตฺถ ครุกตมาลมฺพนํ ดังนี้เป็นต้น ฯ ครุกตมาลมฺพนนฺติ บทว่า ครุกตมาลมฺพนํ ได้แก่ ครุกตมาลมฺพนํ อารมณ์ที่พระโยคาวจรพิจารณาท�ำให้หนักแน่น ปจฺจเวกฺขณอสฺสาทาทินา ด้วยกิจ มีความคล่องใจในการพิจารณาเป็นต้น ฯ ตญฺหิ (อาลมฺพนํ) ความจริง อารมณ์นั้น ฌานมคฺคผลวิปสฺสนานิพฺพานาทิเภทํ แยกออกเป็นฌาน มรรค ผล วิปัสสนา และพระนิพพานเป็นต้น อาลมฺพนาธิปติ นาม ชื่อว่าอาลัมพนาธิปติปัจจัย ปจฺจเวกฺขณอสฺสาทมคฺคผลาทิธมฺเม อตฺตาธิเน กโรตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า กระท�ำธรรมมีมรรคและผลเป็นต้น อันเป็นความคล่องใจในการพิจารณาให้เนื่อง กับตน ฯ อยเมเตสํ (ทฺวินฺนํ ปจฺจยานํ) วิเสโส ปัจจัย ๒ นี้ มีความต่างกันดังนี้ ครุกาตพฺพตามตฺเตน อาลมฺพนาธิปติ ครุกโตปิ พลวกรณตฺเถน อาลมฺพนูปนิสสฺ โยติ คือ อาลัมพนาธิปติปจั จัย ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงความเป็นอารมณ์ อันพระโยคาวจร พึงท�ำให้หนักแน่น อาลัมพนูปนิสสยปัจจัย ย่อมมีได้ ด้วยอรรถว่า กระท�ำให้มกี ำ� ลังแรง แม้กว่าอาลัมพนาธิปติปัจจัย ที่พระโยคาวจรท�ำให้หนักแน่น ฯ สหชาตา ฯเปฯ นามรูปานนฺติ ข้อว่า สหชาตา ฯเปฯ นามรูปานํ ความว่า สหชาตาธิปติ สหชาตาธิปติปัจจัย จตุพฺพิโธปิ แม้มี ๔ อย่าง ฉนฺทวิริยจิตฺตวีมํสาวเสน คือ ฉันทาธิบดี วิริยาธิบดี จิตตาธิบดี และวีมังสาธิบดี ยถารหํ สหชาตนามรูปานํ ปวตฺติยํเยว สหชาตาธิปติวเสน ปจฺจโย ย่อมเป็นปัจจัยแก่นามและรูปที่เกิด ร่วมกันด้วยอ�ำนาจสหชาตาธิปติปัจจัย เฉพาะในปวัตติกาล ตามสมควร ฯ รูปธมฺมสฺส อรูปธมฺมํ ปติ สหชาตปจฺจยตา ความที่รูปธรรมอาศัยอรูปธรรมเป็น สหชาตปัจจัย ปฏิสนฺธิยํ วตฺถุวเสเนว วุตฺตาติ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้


378

ปริเฉทที่ ๘

ด้วยอ�ำนาจหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิกาลเท่านั้น เพราะเหตุนั้น อาห วตฺถุวิปากา อญฺญมญฺญนฺติ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์จงึ กล่าวว่า วตฺถวุ ปิ ากา อญฺมญฺํ ดังนี้ ฯ [๒๕๕๒] ยสฺมา ปน ก็เพราะ อญฺญมญฺญปจฺจยตา จิตกับเจตสิกมีภาวะ เป็นอัญญมัญญปัจจัย อญฺญมญฺญูปตฺถมฺภนวเสเนว คือ ช่วยอุปถัมภ์กันและกัน ทีเดียว น สหชาตมตฺตโตติ ไม่ใช่มีภาวะเป็นอัญญมัญญปัจจัย โดยเหตุเพียงเกิด ร่วมกัน เพราะเหตุนั้น ปวตฺติยํ รูปํ นามานํ อญฺญมญฺญปจฺจโย น โหติ รูปจึงไม่เป็นอัญญมัญญปัจจัยแก่นามทั้งหลาย ในปวัตติกาล ตสฺมา ฉะนั้น วุตฺตํ จิตฺตเจตสิกา อญฺญมญฺญนฺติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำว่า จิตฺตเจตสิกา อญฺมฺ  ดังนี้เป็นต้น ฯ จ และ อุปาทายรูปานิ อุปาทายรูปทั้งหลาย ตถา ก็เหมือนกัน ภูตรูปานํ อญฺญมญฺญปจฺจยา น โหนฺตีติ คือ ไม่เป็น อัญญมัญญปัจจัยแก่ภตู รูปทัง้ หลาย เพราะเหตุนน้ั วุตตฺ ํ มหาภูตา อญฺญมญฺญนฺติ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์จงึ กล่าวค�ำว่า มหาภูตา อฺ มฺ  ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ (ปจฺฉา) ถามว่า จ ก็ นนุ อรูปิโน อาหารา สหชาตานํ นามรูปานนฺติ วุตฺตํ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์ได้กล่าวไว้ว่า อาหารที่เป็นอรูป (เป็นนาม) เป็นปัจจัยแก่นาม และรูปที่เกิดร่วมกัน ดังนี้ มิใช่หรือ เอวญฺจ สติ ก็เมื่อเป็นอย่างนั้น สพฺเพ สตฺตา อาหารฏฺฐิติกาติ กถมิทํ (วจนํ) นิยตีติ พระพุทธพจน์นี้ว่า สัตว์ทั้งหลาย ทัง้ ปวงด�ำรงอยูไ่ ด้ดว้ ยอาหาร ดังนี้ พวกเราจะรูไ้ ด้อย่างไร อสญฺญนี ํ สหชาตาหารสฺส อสมฺภวโต เพราะอาหารทีเ่ กิดร่วมกันไม่เกิดมีแก่พวกอสัญญีสตั ว์ ฯ (ปริหาโรมยา) วุจฺจเต ข้าพเจ้าจะกล่าวเฉลย มโนสญฺเจตนาหารวสปฺปวตฺตสฺส กมฺมสฺส ตํสหคตานมฺปิ วา เสสาหารานํ กมฺมูปนิสฺสยปจฺจเยหิ ปจฺจยตฺตปริยายํ คเหตฺวา (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงก�ำหนดถึงความหมายว่า กรรมที่เป็น ไปตามอ�ำนาจมโนสัญเจตนาหาร เป็นปัจจัยโดยกรรมปัจจัย หรือว่าอาหารทั้งหลาย ที่เหลือ แม้ที่เกิดร่วมกับกรรมนั้น เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย สพฺพสตฺตานํ อาหารฏฺฐติ กิ ตา วุตตฺ า แล้วตรัสว่า สัตว์ทงั้ ปวงด�ำรงอยูไ่ ด้ดว้ ยอาหาร น อาหารปจฺจยภาวโตติ มิใช่ตรัสไว้โดยความเป็นอาหารปัจจัย ฯ (ปุจฺฉา) ถามว่า ปญฺจ


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

379

ปสาทาติอาทีสุ ในค�ำว่า ปญฺจ ปสาทา ดังนี้เป็นต้น นนุ อิตฺถินฺทฺริยปุริสินฺทฺริยา น คหิตาติ ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์มไิ ด้ระบุถงึ อิตถินทรีย์ และปุรสิ นิ ทรียไ์ ว้มใิ ช่หรือ ฯ (วิสชฺชนํ) ตอบว่า สจฺจํ จริง น คหิตา ท่านมิได้ระบุไว้ ฯ ยทิปิ แม้ถ้าว่า เตสํ (อิ ตฺ ถิ นฺ ทฺ ริ ย ปุ ริ สิ นฺ ทฺ ริ ย านํ ) อิ ต ถิ น ทรี ย ์ แ ละปุ ริ สิ น ทรี ย ์ เ หล่ า นั้ น ลิ งฺ ค าที ห ิ อนุวตฺตนิยตา อตฺถิ จะมีภาวะให้อาการมีเพศเป็นต้นเป็นไปตามตนได้ ปน แต่ สา (ลิงฺคาทีหิ อนุวตฺตนิยตา) การให้อาการมีเพศเป็นต้นเป็นไปตามตนได้นั้น ปจฺจยภาวโต ก็มิใช่มีโดยความเป็นปัจจัย ฯ หิ เปรียบเหมือนอย่าง ชีวิตาหารา ชีวิต และอาหาร (ชีวิตรูปและอาหารรู ป) เยสํ (ธมฺ ม านํ ) ปจฺ จยา โหนฺ ติ ย่อมเป็นปัจจัยแก่ธรรมเหล่าใด เตสํ (ธมฺมาน)ํ อนุปาลกา ก็ยอ่ มคอยเลีย้ งอุปถัมภ์ ธรรมเหล่านั้น (เตสํ ธมฺมานํ) อตฺถิอวิคตปจฺจยภูตา จ เป็นอัตถิปัจจัยและ วิคตปัจจัยแก่ธรรมเหล่านั้นด้วย ยถา ฉันใด อิตฺถีปุริสภาวา ความเป็นหญิงและ ความเป็นชาย (อิตถีภาวรูปและปุริสภาวรูป) น เอวํ ลิงฺคาทีนํ เกนจิ อุปกาเรน อุปการกา โหนฺติ จะช่วยอุปการะแก่อาการมีเพศเป็นต้น โดยอุปการะอะไร ๆ ฉันนั้น ก็หามิได้ ฯ เกวลมฺปน ยถาสเกเหว กมฺมาทิปจฺจเยหิ ปวตฺตมานานํ ลิงฺคาทีนํ ยถิตฺถิคฺคหณสฺส ปจฺจยภาโว โหติ แต่ว่า อาการมีเพศเป็นต้น ซึ่งเป็น ไปได้ เพราะปัจจัยมีกรรมปัจจัยเป็นต้น ตามที่เหมาะแก่ตนนั่นเองฝ่ายเดียว ย่อมเป็นปัจจัยแก่การก�ำหนดรู้ได้ว่า เป็นหญิง เป็นชาย โดยอาการใด ตโต (อิตฺถิคฺคหณาการโต) อญฺเญนากาเรน ตํสหิตสนฺตาเน อปฺปวตฺติโต เพราะ อาการมีเพศเป็นต้นนั้นไม่เป็นไปในสันดานที่เป็นไปร่วมกับความเป็นหญิงและ ความเป็นชายนั้น โดยอาการอื่นจากอาการที่ก�ำหนดรู้ได้ว่าเป็นหญิงเป็นชายนั้น ลิงฺคาทีหิ อนุวตฺตนิยตา อินฺทฺริยตา จ เนสํ วุจฺจติ บัณฑิตจึงกล่าวความ เป็นหญิงและความเป็นชายนั้นว่า มีหน้าที่ให้อาการมีเพศเป็นต้นเป็นไปตามตน และว่าเป็นอินทรีย์ ตสฺมา เพราะฉะนั้น น เตสํ อินฺทฺริยปจฺจยภาโว วุตฺโต พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ตรัสความเป็นหญิงและความเป็นชายนั้นว่าเป็นอินทรียปัจจัย ฯ (จบ ๒๕๒๒)


380

ปริเฉทที่ ๘

(มนสิกตฺวา อาจริโย) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงว่า เยสํ นามานํ นามเหล่าใด วตฺถาทีนํ อพฺภนฺตรโต นิกฺขมนฺตานํ วิย ปวตฺติ มีความเป็นไป คล้ายจะออกไปจากภายในวัตถุรูปมีหทัยวัตถุเป็นต้น เยสญฺจ รูปานํ และรูป เหล่าใด นามสนฺนิสฺสเยเนว อุปฺปชฺชมานานํ ซงึ่ เกิดขึ้นได้โดยอิงอาศัยนามนั่นเอง สมฺปโยคาสงฺกา โหติ มีความเกีย่ วเนือ่ งในสัมปโยค (มีเอกุปปฺ าทเกิดขึน้ พร้อมกัน เป็นต้น) เตสเมว (นามรูปานํ) นามและรูปเหล่านั้นนั่นแหละ วิปฺปยุตฺตปจฺจยตา เป็นวิปปยุตตปัจจัย (แก่กันและกัน) ปน ส่วน รูปานํ รูปทั้งหลาย รูเปหิ สาสงฺกา นตฺถิ ไม่มคี วามเกีย่ วเนือ่ งในสัมปโยคกับรูปทัง้ หลาย วตฺถสุ นฺนสิ สฺ เยเนว ชายนฺตานํ วิสยภาวมตฺตํ อาลมฺพนนฺติ รูปเพียงเป็นอารมณ์แก่นามซึ่งเกิดได้ เพราะอิงอาศัยวัตถุรูปนั่นเอง ชื่อว่าเป็นอาลัมพนะ เพราะเหตุนั้น เตนาปิ (อาลมฺพเนน) เตสํ (นามานํ) สมฺปโยคาสงฺกา นตฺถีติ นาม ทั้งหลายเหล่านั้น จึงไม่มีความเกี่ยวเนื่องในสัมปโยคกับรูปอันเป็นอาลัมพนะแม้นั้น เพราะเหตุนั้น เยสํ (ธมฺมานํ) ธรรมเหล่าใด สมฺปโยคาสงฺกา อตฺถิ มีความเกีย่ วเนือ่ งในสัมปโยค เตสเมว (ธมฺมาน)ํ ธรรมเหล่านัน้ นัน่ แหละ วิปปฺ ยุตตฺ ปจฺจยตาปิ (ภควตา) วุตตฺ าติ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เป็นวิปปยุตตปัจจัย ดังนี้ อาห โอกฺกนฺติกฺขเณ วตฺถูติอาทิ จึงกล่าวค�ำว่า โอกฺกนฺติกฺขเณ วตฺถุ ดังนี้เป็นต้น ฯ อยํ ปญฺ จ วิ โ ธปิ อตฺ ถิ ป จฺ จ โย อวิ ค ตปจฺ จ โย จ โหติ อั ต ถิ ป ั จ จั ย และอวิคตปัจจัยนี้ มีอย่างละ ๕ ประเภท คือ ติวิธํ สหชาตํ สหชาตปัจจัย ๓ ประการ ๑ ทุวธิ ํ ปุเรชาตํ ปุเรชาตปัจจัย ๒ ประการ ๑ เอกวิธํ ปจฺฉาชาตญฺจ ปัจฉาชาตปัจจัย ๑ ประการ ๑ สพฺพถา สพฺพากาเรน ยถารหํ นามรูปวเสน วุตตฺ ํ ที่ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวไว้ด้วยอ�ำนาจนามและรูปตามสมควร โดยประการ ทั้งปวง คือ โดยอาการทั้งปวง อาหาเรสุ ในบรรดาอาหารทั้งหลาย กวฬีกาโร กวฬีการาหาร ๑ รูปชีวิตินฺทฺริยนฺติ รูปชีวิตินทรีย์ ๑ ฯ (จบ ๒๕๒๑) จ ก็ อุปการกตา ความทีธ่ รรมท�ำอุปการะ อตฺถภิ าเวน โดยภาวะทีม่ อี ยู่ อนุปการกานเมว เฉพาะแก่เหล่าธรรมที่ไม่ท�ำอุปการะ อตฺถิภาวาภาเวน โดยความไม่มีภาวะที่มีอยู่


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

381

อุปตฺถมฺภกตฺตา เพราะความทีธ่ รรมเหล่านัน้ เป็นสภาวะค�ำ้ จุน ตาทิสสฺเสว ธมฺมสฺส ธรรมเช่นนั้นนั่นแล อตฺถิสภาเวน โดยภาวะแห่งตนที่มีอยู่ ปจฺจุปฺปนฺนสภาเวน ซึง่ มีสภาวะเป็นปัจจุบนั อตฺถปิ จฺจยภาโวติ ชือ่ ว่าความเป็นอัตถิปจั จัย เพราะเหตุนนั้ นตฺถิ นิพพฺ านสฺส สพฺพทา ภาวิโน อตฺถปิ จฺจยตา อวิคตปจฺจยตา จ พระนิพพาน ซึ่งมีได้ทุกกาล จึงไม่มีความเป็นอัตถิปัจจัยและอวิคตปัจจัย ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง อุปฺปาทาทิยุตฺตานํ นตฺถิภาโวปการกตาวิรุทฺโธ วิคตภาโวปการกตาวิรุทฺโธ จ อุปการกภาโว ความทีธ่ รรมทัง้ หลายซึง่ ประกอบด้วยอุปาทขณะเป็นต้น เป็นสภาวะ กระท�ำอุปการะซึง่ ผิดจากความทีธ่ รรมซึง่ ท�ำอุปการะโดยภาวะทีไ่ ม่มี และซึง่ ผิดจาก ความทีธ่ รรมซึง่ กระท�ำอุปการะโดยภาวะทีไ่ ปปราศ อตฺถปิ จฺจยาทิตาติ ชือ่ ว่า ความเป็น อัตถิปัจจัยเป็นต้น เพราะเหตุนั้น น ตสฺส (นิพฺพานสฺส) ตปฺปจฺจยตฺตปฺปสงฺโค พระนิพพานนัน้ จึงไม่มคี วามเกีย่ วเนือ่ งกับความเป็นอัตถิปจั จัยและอวิคตปัจจัยนัน้ ฯ จ ก็ เอตฺถ (ปยฺจวิเธ อตฺถิปจฺจเย) บรรดาอัตถิปัจจัย ๕ อย่างนี้ รูปชีวิตินฺทฺริยํ รูปชีวิตินทรีย์ (ภควตา) สหชาตปจฺจเยสุ น คยฺหติ พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ทรง ถือเอาในสหชาตปัจจัย ฐิติกฺขเณเยว อุปการกตฺตา เพราะความเป็นธรรมชาต กระท�ำอุปการะเฉพาะในฐิติขณะ โอชา วิย เปรียบเหมือนโอชา ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น วิสุ (อาจริเยน) วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวรูปชีวิตินทรีย์ นั้นไว้แผนกหนึ่ง ฯ อิทานิ บัดนี้ สพฺเพปิ ปจฺจยา สงฺเขปโต จตุพฺพิธาเยวาติ ทสฺเสตุํ (อาจริเยน) ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์หวังจะแสดงว่า ปัจจยธรรมแม้ทงั้ หมด ว่าโดยย่อ มี ๔ อย่างเท่านั้น อาลมฺพนูป ฯเปฯ คจฺฉนฺตีติ (วจนํ) วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า อาลมฺพนูป ฯเปฯ คจฺฉติ ดังนี้ ฯ หิ ความจริง น โส โกจิ ปจฺจโย อตฺถิ โย จิตตฺ เจตสิกานํ อารมฺมณภาวํ น คจฺเฉยฺย สกสกปจฺจยุปปฺ นฺนสฺส จ อุปนิสสฺ ยภาวํ น คจฺฉติ ปัจจัยอะไร ๆ ที่ไม่ถึงความเป็นอารมณ์แก่จิตและเจตสิกทั้งหลาย และ ไม่ถงึ ความเป็นอุปนิสสยปัจจัยแก่ธรรมทีอ่ าศัยปัจจัยของตน ๆ เกิดขึน้ มีอยู่ หามิได้ ฯ จ ก็ กมฺมเหตุกตฺตา โลกปฺปวตฺตยิ า เพราะความเป็นไปแห่งโลกมีกรรมเป็นมูลเหตุ


382

ปริเฉทที่ ๘

สพฺเพปิ ปจฺจยา ปัจจยธรรมทั้งหมด กมฺมสภาวํ นาติวตฺตนฺติ จึงไม่พ้นสภาวะ แห่งกรรม ผลเหตูปจารวเสน ด้วยอ�ำนาจผลเป็นไปในเหตุ ฯ จ ก็ เต (ปจฺจยา) ปัจจยธรรมเหล่านั้น วิชฺชมานาเยว มีอยู่แน่แท้ ปรมตฺถโต โลกสมฺมติวเสน จ ทั้งโดยปรมัตถ์และด้วยอ�ำนาจโลกสมมติ อิติ เพราะเหตุนั้น สพฺเพปิ (ปจฺจยา) ปัจจยธรรมแม้ทงั้ หมด จตูสุ สโมธานํ คจฺฉนฺติ ย่อมถึงการประมวลลงในปัจจยธรรม ๔ ประการ ฯ อิทานิ บัดนี้ อิทานิ ยํ วุตฺตํ ตตฺถ ตตฺถ สหชาตรูปนฺติ ตํ สพฺพํ อวิเสสโต ทฏฺฐพฺพนฺติ ทสฺเสตุํ (อาจริเยน) ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์หวังจะแสดงว่า ค�ำที่อาจารย์กล่าวไว้ในฐานะแห่งปัจจัยนั้น ๆ ว่า สหชาตรูปํ ทั้งหมด บัณฑิตพึง เห็นโดยความไม่แปลกกัน สหชาตรูปนฺติอาทิ (วจนํ) วุตฺตํ จึงได้กล่าวค�ำมีค�ำว่า สหชาตรูป ดังนี้เป็นต้น ฯ หิ ความจริง สหชาตรูปนฺติ รูปที่ชื่อว่าสหชาตรูป สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง ทุวิธํ โหติ ย่อมมี ๒ อย่าง วเสน คือ ปวตฺเต จิตฺตสมุฏฺฐานานํ รูปานํ รูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐานในปวัตติกาล ปฏิสนฺธิยํ กตตฺตา รูปสงฺขาตกมฺมชรูปานญฺจ และกัมมชรูปกล่าวคือกตัตตารูปในปฏิสนธิกาล ปฏิสนฺธยิ ํ จิตตฺ สมุฏฐฺ านรูปาภาวโต เพราะความทีร่ ปู มีจติ เป็นสมุฏฐานไม่เกิดมีในปฏิสนธิกาล ปวตฺตยิ ํ กมฺมสมุฏฐฺ านานญฺจ จิตตฺ เจตสิเกหิ สหุปปฺ ตฺตนิ ยิ มาภาวโต และเพราะ รูปมีกรรมเป็นสมุฏฐานในปวัตติกาล ไม่มีการก�ำหนดแน่นอนว่าเกิดขึ้นร่วมกันกับ จิตและเจตสิกฯ นิพฺพตฺตมานานิ รูปานิ รูปทั้งหลายที่บังเกิดอยู่ กมฺมสฺส กตตฺตา เพราะความที่กรรมอันสัตว์ท�ำแล้ว กตตฺตารูปานิ ชื่อว่ากตัตตารูป ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย เตกาลิกา อันเป็น ไปในกาล ๓ กาลตฺตยวนฺโต คือ มีกาล ๓ วเสน ด้วยอ�ำนาจ ปญฺจนฺนํ อตีตกาลิกานํ ปัจจยธรรมที่เป็นไปในอดีตกาล ๕ อย่าง อนนฺตรสมนนฺตราเส วนนตฺถิวิคตวเสน คือ อนันตรปัจจัย ๑ สมนันตรปัจจัย ๑ อาเสวนปัจจัย ๑ นัตถิปัจจัย ๑ วิคตปัจจัย ๑ ทฺวิกาลิกสฺส แห่งกรรมปัจจัยที่เปันไปในกาล ๒ อตีตวตฺตมานวเสน คือ อดีตกาล ๑ ปัจจุบนั กาล ๑ อารมฺมณาธิปติอปุ นิสสฺ ยปจฺจยานํ


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

383

ติกาลิกานํ แห่งอารัมมณปัจจัย อธิปติปจั จัย และอุปนิสสยปัจจัยทีเ่ ป็นไปในกาล ๓ อิตเรสํ ปณฺณรสนฺนํ ปจฺจุปฺปนฺนกาลิกานญฺจ และแห่งปัจจยธรรม ๑๕ ประการ นอกนี้ ทีเ่ ป็นไปในปัจจุบนั นกาล กาลวินมิ ตุ ตฺ า จ ทีพ่ น้ จากกาล นิพพฺ านปญฺญตฺตวิ เสน ด้วยอ�ำนาจพระนิพพานและบัญญัตธิ รรม จกฺขวฺ าทิราคสทฺธาทิวเสน อชฺฌตฺตกิ า จ ทัง้ ทีเ่ ป็นภายใน ด้วยอ�ำนาจจักขุปสาทรูปเป็นต้น และธรรมมีราคะและศรัทธาเป็นต้น ปุคฺคลอุตุโภชนาทิวเสน ตโต (อชฺฌตฺตโต) พหิทฺธา จ ทั้งที่มีในภายนอกจากที่ เป็นภายในนัน้ คือ บุคคล อุตุ และโภชนะเป็นต้น ปจฺจยุปปฺ นฺนภาเวน สงฺขตา จ ทั้งที่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง โดยความเป็นปัจจยุปปันนธรรม ตถา ตปฺปฏิปกฺขภาเวน อสงฺขตา จ ทัง้ ทีไ่ ม่ถกู ปัจจัยปรุงแต่ง โดยภาวะทีต่ รงข้ามจากสังขตธรรมนัน้ เหมือนกัน สมฺภวา ตามก�ำเนิด ยถาสมฺภวํ คือ ตามความเหมาะสมแก่ก�ำเนิด สงฺเขปโต ว่าโดยสังเขป ติวธิ า ฐิตา ด�ำรงอยูแ่ ล้วโดย ๓ ประการ ปญฺญตฺตนิ ามรูปานํ วเสน คือ บัญญัตธิ รรม นามธรรมและรูปธรรม ปจฺจยา นามาติ ชือ่ ว่าปัจจัย จตุวสี ติสงฺขาตา กล่าวคือปัจจัย ๒๔ อย่าง ปฏฺฐาเน ในคัมภีร์ปัฏฐาน อนนฺตนยสมนฺตปฏฺฐาเน ปกรเณ คือ ในปกรณ์ชื่อว่าสมันตปัฏฐาน อันมีนัยไม่มีที่สุด สพฺพถา โดยประการ ทัง้ ปวง อิติ ดังพรรณนามาฉะนี้ เอวํ วุตตฺ นเยน คือ โดยนัยดังกล่าวแล้วอย่างนี้ ฯ ตตฺถาติ บทว่า ตตฺถ ได้แก่ เตสุ ปญฺญตฺตนิ ามรูเปสุ ในบรรดาบัญญัตธิ รรม นามและรูปเหล่านั้น ฯ วจนียวาจกเภทา ทุวิธา ปญฺญตฺตีติ บัญญัติธรรมมี ๒ อย่าง แยกเป็นวจีบัญญัติ ๑ วาจกบัญญัติ ๑ เพราะเหตุนั้น (อาจริเยน วจนํ) วุตฺตํ ปญฺญาปิยตฺตาติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำว่า ปญฺาปิยตฺตา ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ ปญฺญาปิยตฺตาติ บทว่า ปญฺาปิยตฺตา ความว่า ญาเปตพฺพตฺตา เพราะความทีบ่ ญ ั ญัตทิ จี่ ะพึงให้ทราบได้ เตน เตน ปกาเรน โดยประการนัน้ ๆ ฯ อิมนิ า (กมฺมสาธนวจเนน) ด้วยค�ำทีเ่ ป็นกัมมสาธนะนี้ อตฺถปญฺญตฺติ (อาจริเยน) วุตฺตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวถึงอรรถบัญญัติ อุปาทาปญฺญตฺติสงฺขาตา กล่าวคือการอาศัยความเปลีย่ นแปลงบัญญัตไิ ว้ สมฺมติสจฺจภูตา ซึง่ เป็นสมมติสจั จะ สมูหสนฺตานาทิอวตฺถาวิเสสาทิเภทา ต่างโดยการก�ำหนดพิเศษเป็นต้น คือ


384

ปริเฉทที่ ๘

ความประชุม และความสืบต่อ รูปาทิธมฺมานํ แห่งรูปธรรมเป็นต้นเป็นอาทิ ฯ หิ ความจริง สา (อตฺถปญฺญตฺต)ิ อรรถบัญญัตนิ นั้ นามปญฺญตฺตยิ า ปญฺญาปิยติ บัณฑิตย่อมรู้ได้ด้วยนามบัญญัติ ฯ ปญฺญาปนโตติ บทว่า ปญฺาปนโต ความว่า อตฺถปญฺญตฺติยา ญาปนโต เพราะเป็นเหตุให้บุคคลรู้ถึงอรรถบัญญัติได้ ปกาเรหิ โดยประการทั้งหลาย ฯ หิ ความจริง อิมินา (กตฺตุสาธนวจเนน) ด้วยค�ำที่เป็น กัตตุสาธนะนี้ นามปญฺญตฺติ (อาจริเยน) วุตฺตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ได้ กล่าวถึงนามบัญญัติ ปญฺญตฺตีติ ลทฺธนามานํ อตฺถานํ อภิธานสงฺขาตา กล่าวคือ ชื่อของอรรถทั้งหลายอันได้ชื่อว่าบัญญัติ ปญฺญาเปตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ให้ทราบความหมาย ฯ ภูตปริณามาการมุปาทายาติ ข้อว่า ภูตปริณามาการมุปาทาย ความว่า ปริณามาการํ ปริณามสภาวสงฺขาตํ อาการมุปาทาย อาศัยการเปลีย่ นแปลง ได้แก่อาการกล่าวคือสภาวะที่แปรผัน ปตฺถฏสงฺคตาทิอากาเรน โดยอาการมี ความเกีย่ วเนือ่ งด้วยความแข้นแข็งเป็นต้น ปฐวาทิกานํ มหาภูตานํ แห่งมหาภูตรูป ทั้งหลายมีปฐวีธาตุเป็นต้น ปวตฺตมานานํ ซึ่งเป็นไปอยู่ ปพนฺธวเสน ด้วยอ�ำนาจ ความเกี่ยวเนื่องกัน นิสฺสยํ กตฺวา คือท�ำให้เป็นที่อิงอาศัย ฯ ตถา ตถาติ ข้อว่า ตถา ตถา ได้แก่ ภุมฺมาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจภาคพื้นเป็นต้น ฯ ภูมิปพฺพตาทิกาติ บทว่า ภูมิปพฺพตาทิกา ได้แก่ ภูมิปพฺพตรุกฺขาทิกา บัญญัติว่า แผ่นดิน ภูเขาและ ต้นไม้เป็นต้น สนฺตานปญฺญตฺติ ชือ่ ว่าสันตานบัญญัติ ฯ สมฺภารสนฺนเิ วสาการนฺติ บทว่า สมฺภารสนฺนเิ วสาการํ ความว่า สนฺนเิ วสาการํ อาศัยการประชุม สมฺภารานํ แห่งเครื่องประกอบ อุปกรณานํ คือ เครื่องอุปกรณ์ ทารุมตฺติกาตนฺตุอาทีนํ มีไม้ ดินเหนียว และเส้นด้ายเป็นต้น ตํตํสณฺฐานาทิอาการํ ได้แก่อาการมีความ ตั้งอยู่ร่วมกันเป็นต้นนั้นๆ รจนาวิสิฏฺฐํ อันพิเศษกว่ารูปเขียน ฯ รถสกฏาทิกาติ บทว่า รถสกฏาทิกา ได้แก่ รถสกฏคามฆฏปฏาทิกา บัญญัติว่า รถ เกวียน บ้าน หม้อ และผืนผ้าเป็นต้น สมูหปญฺญตฺติ ชือ่ ว่าสมูหบัญญัติ ฯ จนฺทาวฏฺฏนาทิกนฺติ บทว่า จนฺทาวฏฺฏนาทิกํ ความว่า อุทยาทิอาวฏฺฏนาการํ ซึง่ อาการคือความหมุนเวียน มีความขึ้นไปเป็นต้น จนฺทิมสุริยนกฺขตฺตานํ แห่งดวงจันทร์ พระอาทิตย์ และ


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

385

ดาวนักขัตตฤกษ์ทงั้ หลาย สิเนรุปทกฺขณ ิ วเสน ด้วยอ�ำนาจ เวียนรอบภูเขาสิเนรุ ฯ ทิสากาลาทิกาติ บทว่า ทิสากาลาทิกา ความว่า ปุรตฺถิมทิสาทิกา บัญญัติว่า ทิศตะวันออกเป็นต้น ทิสาปญฺญตฺติ ชื่อว่าทิสาบัญญัติ ปุพฺพณฺหาทิกา บัญญัติว่า เวลาเช้าเป็นต้น กาลปญฺญตฺติ ชื่อว่ากาลบัญญัติ มาโสตุวิสาขมาสาทิกา และ บัญญัตวิ า่ เดือน ฤดู และเดือนวิสาขะเป็นต้น ตํตนํ ามวิสฏิ ฐฺ า มาสาทิปญฺญตฺติ จ ชื่อว่ามาสบัญญัติเป็นต้น ซึ่งเป็นบัญญัติพิเศษกว่าชื่อนั้น ๆ ฯ อสมฺผุฏฺฐาการนฺติ บทว่า อสมฺผฏุ ฺ าการํ ได้แก่ สุสริ าทิอาการํ ซึง่ อาการมีโพรงเป็นต้น ตตํ รํ ปู กลาเปหิ อสมฺผุฏฺฐํ ที่รูปกลาปนั้น ๆ ถูกต้องไม่ได้ ฯ กูปคุหาทิกาติ บทว่า กูปคุหาทิกา ได้แก่ กูปคุหาฉิททฺ าทิกา บัญญัตวิ า่ หลุม ถ�ำ้ และช่องว่างเป็นต้น อากาสปญฺญตฺติ ชือ่ ว่าอากาสบัญญัติ ฯ ตํตภํ ตู นิมติ ตฺ นฺติ บทว่า ตํตภํ ตู นิมติ ตฺ ํ ได้แก่ ตํตภํ ตู นิมติ ตฺ ํ ซึ่งนิมิตแห่งภูตรูปนั้น ๆ ปฐวีกสิณาทิ มีปฐวีกสิณเป็นต้น ฯ ภาวนาวิเสสนฺติ บทว่า ภาวนาวิเสสํ ได้แก่ ภาวนาย ปพนฺธวิเสสํ ความสืบเนื่องอันพิเศษแห่ง ภาวนา ปริกมฺมาทิเภทํ ต่างโดยบริกรรมเป็นต้น ฯ กสิณนิมิตฺตาทิกาติ บทว่า กสิณนิมติ ตฺ าทิกา ความว่า กสิณาสุภนิมติ ตฺ าทิเภทา บัญญัตทิ แี่ ยกเป็นกสิณนิมติ และอสุภนิมิต เป็นต้น โยคีนมุปฏฺฐิตา อุคฺคหปฏิภาคเภทา แยกเป็นอุคคหนิมิต และปฏิภาคนิมิตซึ่งปรากฏแก่พระโยคาวจรทั้งหลาย นิมิตฺตปญฺญตฺติ ชื่อว่า นิมติ บัญญัติ ฯ เอวมาทิเภทาติ บทว่า เอวมาทิเภทา ได้แก่ กสิณคุ ฆฺ าฏิมากาสนิโรธกสิณาทิเภทา จ และบัญญัติที่แยกเป็นอากาศที่เพิกกสิณ และกสิณดับเป็นต้น ฯ อตฺถจฺฉายากาเรนาติ บทว่า อตฺถจฺฉายาการเรน ความว่า ฉายากาเรน โดยอาการ คือเงา ปฏิภาคากาเรน ได้แก่ โดยอาการคือส่วนเปรียบเทียบ ปรมตฺถธมฺมสฺส แห่งปรมัตถธรรม ฯ นามนามกมฺมาทินาเมนาติ บทว่า นามนามกมฺมาทินาเมน ความว่า อิเมหิ ฉหิ นาเมหิ โดยนามทั้ง ๖ เหล่านี้ นามํ นามกมฺมํ นามเธยฺยํ นิรุตฺติ พฺยญฺชนมภิลาโปติ คือ นาม นามกรรม นามเธยยะ นิรตุ ติ พยัญชนะ อภิลาปะ ฯ ตตฺถ (นามาทีส)ุ ในบรรดานามเป็นต้นเหล่านัน้ นามํ สัททรูปทีช่ อื่ ว่านาม อตฺเถสุ


386

ปริเฉทที่ ๘

นมตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า น้อมไปในอรรถทั้งหลาย ฯ ตํ (นามํ) นามนั้น ทุวิธํ มี ๒ อย่าง อนฺวตฺถรุฬฺหิวเสน คือ นามที่ตั้งตามความหมาย ๑ นามที่ เรียกกันดาษดื่น ๑ จตุพฺพิธํ มี ๔ อย่าง สามญฺญคุณกฺริยายถิจฺฉาวเสน คือ สามัญญนาม ๑ คุณนาม ๑ กิรยิ านาม ๑ นามทีต่ งั้ ตามความปรารถนา ๑ ฯ นามเมว กมฺมํ กรรมคือนาม นามกมฺมํ ชื่อว่านามกรรม ฯ ตถา นามเธยฺยํ นามเธยยะ ก็เหมือนกัน ฯ อุตตฺ ิ การเปล่ง กถนํ คือการกล่าว อกฺขรทฺวาเรน อตฺถํ นีหริตวฺ า ความประสงค์ออกทางทวารของอักขระ นิรตุ ตฺ ิ ชือ่ ว่า นิรตุ ติ ฯ พฺยญฺชนํ ทีช่ อื่ ว่า พยัญชนะ อตฺถํ พฺยญฺชยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ท�ำเนื้อความให้ปรากฏ ฯ อภิลาโป เสียงชื่อว่าอภิลาปะ อภิลปิยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันชนเจรจา สทฺทคตกฺขรสนฺนิเวสกฺกโม ได้แก่ ล�ำดับที่ตั้งอยู่แห่งอักขระที่ไปตามเสียง ฯ สา ปนายํ นามปญฺญตฺติวิชฺชมานาวิชฺชมานตทุภยสํโยควเสน ฉพฺพิธา โหตีติ ทสฺเสตุ เพือ่ แสดงว่า ก็ นามบัญญัตนิ นี้ นั้ มีอยู่ ๖ อย่าง ด้วยอ�ำนาจ วิชชมานบัญญัติ อวิชชมานบัญญัติ และบัญญัติทั้ง ๒ อย่างนั้นระคนกัน วิชฺชมานปญฺญตฺตีติอาทิ (อาจริเยน วจนํ) วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำว่า วิชฺชมานปญฺตฺติ ดังนี้เป็นต้น ฯ เอตาย ปญฺญาเปนฺตีติ ข้อว่า เอตาย ปฺ าเปนฺติ ความว่า (ปณฺฑิตา) ปกาเสนฺติ บัณฑิตทั้งหลายย่อมประกาศ รูปเวทนาติอาทินา ด้วยค�ำ ว่า รูป และเวทนา ดังนี้เป็นต้น ฯ อุภินฺนนฺติ บทว่า อุภินฺนํ ได้แก่ ทฺวินฺนํ (ปญฺญตฺตีนํ) แห่งบัญญัติทั้ง ๒ วิชฺชมานาวิชฺชมานานํ คือ วิชชมานบัญญัติและ อวิชชามานบัญญัติ ฯ ฉ อภิญฺญา อภิญญา ๖ ปญฺจาภิญฺญา อาสวกฺขยญาณนฺ ติ คือ อภิญญา ๕ อาสวักขยญาณ ๑ อสฺสาติ ของบุคคลนั้น มีอยู่ เพราะเหตุ นั้น ฉฬภิญฺโญ บุคคลนั้นจึงชื่อว่าผู้มีอภิญญา ๖ ฯ จ ก็ เอตฺถ (วิชฺชมาเนนอวิชฺชมานปญฺญตฺติอาทีสุ) ในบรรดาวิชชมาเนนอวิชชมานบัญญัตเิ ป็นต้นนี้ (อยํ ฉฬภิญโฺ ญติ ปญฺญตฺต)ิ บัญญัตวิ า่ ผูม้ อี ภิญญา ๖ นี้ วิชฺชมาเนนาวิชฺชมานปญฺญตฺติ นาม ชื่อว่า วิชชามาเนนอวิชชมานบัญญัติ อภิญญ ฺ านํ วิชชฺ มานตฺตา เพราะอภิญญาทัง้ หลาย มีอยู่ ตปฺปฏิลาภิโน ปุคคฺ ลสฺส


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

387

อวิชฺชมานตฺตา จ และเพราะบุคคลผู้มีปกติได้อภิญญานั้น ไม่มี ฯ ตถา อนึ่ง อิตฺถีสทฺโทติ (ปญฺญตฺติ) บัญญัติว่า เสียงหญิง อวิชฺชมาเนนวิชฺชมานปญฺญตฺติ ชื่อว่าอวิชชามาเนนวิชชมานบัญญัติ อิตฺถิยา อวิชฺชมานตฺตา เพราะหญิงไม่มี สทฺทสฺส จ วิชฺชมานตฺตา และเพราะเสียงมีอยู่ฯ จกฺขุวิญฺญาณนฺติ (ปญฺญตฺติ) บัญญัตวิ า่ จักขุวญ ิ ญาณ วิชชฺ มาเนนวิชชฺ มานปญฺญตฺติ ชือ่ ว่าวิชชมาเนนวิชชมานบัญญัติ ปสาทจกฺขโุ น ตนฺนสิ สฺ ติ วิญญ ฺ าณสฺส จ วิชชฺ มานตฺตา เพราะจักขุปสาทรูป และวิญญาณที่อาศัยจักขุปสาทรูปนั้น มีอยู่ ฯ ราชปุตฺโตติ (ปญฺญตฺติ) บัญญัติว่า ราชโอรส อวิชชฺ มาเนนาวิชชฺ มานปญฺญตฺติ ชือ่ ว่า อวิชชามาเนนอวิชชมานบัญญัติ รญฺโญ จ ปุตฺตสฺส จ สมฺมติธมฺมภูตตฺตา เพราะพระราชาและพระราชโอรสเป็น สมมติธรรม ฯ (๒๕๒๔) วจีโฆสานุสาเรนาติ บาทคาถาว่า วจีโฆสานุสาเรน เป็นต้น ความว่า อตฺถา อรรถทั้งหลาย สมฺมติปรมตฺถเภทา ที่แยกเป็นสมมติและปรมัตถ์ โคจรา อันเป็นโคจร อารมฺมณภูตา คือ เป็นอารมณ์ มโนทฺวารสฺส แก่มโนทวาร มโนทฺวาริกวิญฺญาณสนฺตานสฺส คือแก่ความสืบต่อแห่งวิญญาณจิต ที่เกิดทาง มโนทวาร นามจินฺตนาการปฺปวตฺตสฺส ซึ่งเป็นไปตามอาการ คือ ความคิดถึงชื่อ ปุพฺเพเยว คหิตสงฺเกโตปนิสฺสยสฺส อันมีความสังเกตที่บุคคลก�ำหนดรู้กันไว้ก่อน แล้วทีเดียวว่า อิทมีทิสตฺถสฺส นามนฺติ ถ้อยค�ำนี้เป็นชื่อของความหมายเช่นนี้ ดังนี้ โสตวิญฺญาณวีถิยา ปวตฺติโต อนนฺตรํ อุปฺปนฺนสฺส เป็นเครื่องอิงอาศัย ซึง่ เกิดขึน้ ในล�ำดับต่อจากความเป็นไปแห่งโสตวิญญาณวิถี ภูมปิ พฺพตรูปเวทนาทิวจีมยสทฺทสฺส อนุสาเรน อนุคมเนน อันเป็นไปตามความหวนระลึกถึง คือ ไปตามเสียงซึงส�ำเร็จมาจากค�ำพูดว่า แผ่นดิน ภูเขา รูป และเวทนาเป็นต้น อาลมฺพนกรเณน ได้แก่ โดยการท�ำให้เป็นอารมณ์ (ปณฺฑิเตน) วิญฺญายนฺติ อันบัณฑิตย่อมรู้ได้ ตโต นามคหณโต ปรํ ต่อจากการก�ำหนดรู้ชื่อนั้น ยสฺสา สมฺมติปรมตฺถวิสยาย นามปญฺญตฺติยา อนุสาเรน อนุคมเนน โดยความหวน ระลึกถึงคือโดยความไปตามนามบัญญัติซึ่งมีสมมติและปรมัตถ์เป็นอารมณ์ใดฯ


388

ปริเฉทที่ ๘

สายํ นามปญฺญตฺติ นามบัญญัตินี้นั้น ปญฺญาเปตพฺพตฺถทีปิกา คือบัญญัติที่ แสดงถึงอรรถที่จะพึงบัญญัติ ภูมิปพฺพตรูปเวทนาทิกา มีแผ่นดิน ภูเขา รูป และ เวทนาเป็นต้น นิมมฺ ติ า อันบัณฑิตก�ำหนดหมายรู้ โลกสงฺเกเตน ตามความสังเกต ของชาวโลก โลกโวหารสิทฺธา คือ อันส�ำเร็จความหมายตามโวหารของชาวโลก มโนทฺวารคฺคหิตกฺขราวลีภูตา อันเป็นระเบียบแห่งอักษรที่บุคคลก�ำหนดรู้ได้ทาง มโนทวาร ปญฺญตฺติวิญฺเญยฺยา อันบัณฑิตพึงรู้ว่า เป็นบัญญัติ นามปญฺญตฺตีติ วิญเฺ ญยฺยา คือพึงรูว้ า่ เป็นนามบัญญัติ ปญฺญาปนโต ปญฺญตฺตสิ งฺขาตา กล่าวคือ ปัญญาปนโตบัญญัติ ฯ (จบ ๒๕๒๔) จ ก็ เอตฺถ (คาถายํ) ในคาถานี้ (อาจริเยน) สงฺคเหตฺวา ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์ รวบรวม มโนทฺวาริกวีถิมฺปิ แม้ซึ่งวิถีจิตที่เกิดทางมโนทวาร โสตวิญฺญาณวีถิยา อนนฺตรภาวินึ ซึง่ เกิดมีในล�ำดับต่อจากโสตวิญญาณวิถี โสตวิญญ ฺ าณวีถคิ คฺ หเณเนว ด้วยศัพท์ว่า โสตวิญญาณวิถี นั่นเอง โสตวิญฺญาณวีถิยาติ (วจนํ) วุตฺตํ แล้ว กล่าวค�ำว่า โสตวิฺาณวีถิยา ฯ อาจริยา (วทนฺติ) อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า ฆฏาทิสทฺทญฺหิ สุณนฺตสฺส (ปุคฺคลสฺส) ความจริง เมื่อบุคคลได้ยินเสียงว่า ฆฏะ เป็นต้น ชวนวารา ชวนจิต เอกเมกํ สทฺทํ อารพฺภ ปรารภเสียงแต่ละอักษร (โหนฺติ) เทฺว เทฺว เกิดมีอักษรละ ๒ วาระ ปจฺจุปฺปนฺนาตีตารมฺมณวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจุบันนารมณ์ วาระหนึ่ง และอตีตารมณ์วาระหนึ่ง ปณฺณตฺติภูตํ อกฺขราวลิมารพฺภ ชวนจิต ปรารภระเบียบอักษรที่เป็นนามบัญญัติ พุทฺธิยา คหิตํ นาม ซึ่งจ�ำได้ด้วยปัญญา เอโกติ เกิ ด มี อี ก วาระหนึ่ ง รวมความดั ง กล่ า วมานี้ อตี ต สทฺ ท ารมฺ ม ณาย ชวนวีถิยา อนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากชวนวิถี อันมีเสียงที่เป็นอดีตเป็นอารมณ์ โสตวิญญ ฺ าณวีถยิ า อนนฺตราย ซึง่ เป็นล�ำดับต่อจากโสตวิญญาณวิถี นามปญฺญตฺตยิ า คหณํ จึงก�ำหนดรู้ถึงนามบัญญัติได้ ตโต ปรํ ต่อแต่นั้นไป อตฺถาวโพโธติ จึงทราบความหมายได้ เอวํ ด้วยประการฉะนี้ ฯ


พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล

อฏฺฐมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๘ อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธัมมัตถสังหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม ชื่อว่าอภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺฐิตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ

389


390

ปริเฉทที่ ๙

นวมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๙ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า อิโต ปรํ เบื้องหน้าแต่นี้ ปจฺจยนิทฺเทสโต คือ แต่การแสดงไขปัจจัยไป อหํ ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) วกฺขามิ จักกล่าว กมมฏฺานํ กัมมัฏฐาน กมฺมฏฺานภูตมาลมพนํ คือ อารมณ์ที่ชื่อว่าเป็นกัมมัฏฐาน ทุวิธภาวนากมฺมสฺส ปวตฺติฏฺานตาย เพราะเป็นเหตุประพฤติกรรมในภาวนา ๒ อย่าง จ และ ภาวนาวิธึ ภาวนาวิธี กมมฏฺานภูตํ ที่ชื่อว่าเป็นกัมมัฏฐาน อุตฺตรุตฺตรโยคกมฺมสฺส เพราะเป็นปทัฏฐานแห่งการท�ำความเพียงยิ่ง ๆ ขึ้นไป ทุวิธมฺปิ แม้ทั้ง ๒ อย่าง ทฺวินฺนํ ภาวนานํ แห่งภาวนา ๒ สมถสงฺขาตานํ อันท่านเรียกว่า สมถะ สมนตฺเถน โดยอรรถว่าสงบ นีวรณานํ นีวรณ์ทั้งหลายได้ จ และ วิปสฺสนาสงฺขาตานํ อันท่านเรียก วิปัสสนา ทสฺสนตฺเถน โดยอรรถว่า เห็น (สังขาร) อนิจฺจาทิวิวิธาการโต โดยอาการต่างชนิดมีอาการไม่เที่ยงเป็นต้น ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ สมถวิปสฺสนานุกฺกเมน คือโดยล�ำดับแห่งสมถภาวนาและ วิปัสสนาภาวนา ฯ ราคจริตา ที่ชื่อว่า ราคจริต ราโค ว จริตา จริยา ปกตีติ เพราะอรรถว่า เป็นจริต ได้แก่ ความประพฤติกิริยาทั่วไป คือ อาการก�ำหนัด ฯ เอวํ โทสจริตาทโยปิ แม้โทสจริต เป็นต้น ก็มีนัยอย่างนี้ ฯ จริตสงฺคโหติ ที่ชื่อว่า จริตสงฺคโห ปุคฺคลสงฺคโห ได้แก่ การจัดรวมบุคคล มูลจริตวเสน ด้วยอ�ำนาจจริตที่เป็นมูล ฯ ปน แต่ จริยา ความประพฤติ (ของ บุคคล) เตสฏฺ โหนฺติ มีได้ ๖๓ ประการ สสํ คฺควเสน ด้วยอ�ำนาจจริต ทีร่ ะคนกัน อิติ แล ฯ วุตตฺ ฺ หิ สมจริงดังค�ำทีท่ า่ นอาจารย์กล่าวไว้ (ในคัมภีรน์ ามรูปปริจเฉท) ว่า ติเก ในหมวดจริต ๓ ราคาทิเก มีราคจริต เป็นต้น สตฺต มีจริต ๗ ประการ หมวดหนึ่ง ติเก ในหมวดจริต ๓ สทฺธาทิเก มีสัทธาจริต เป็นต้น สตฺต มีจริต


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

391

๗ ประการหมวดหนึ่ง มิสฺสโต ว่าโดยเจือปนกัน เอกทฺวิตฺติกมูลมฺหิ ทั้งในจริต ทีม่ มี ลู เดียวสองมูล และสามมูล สตฺตสตฺตภํ จึงมีหมวด ๗ แห่งจริต ๗ หมวด ฯ หิ ความจริง เอตฺถ ในหมวดจริต ๓ มีราคจริต เป็นต้นเป็นอาทินี้ จริยา จริต โหนฺติ มี จุทฺทส ๑๔ ประการ เทฺว ติเก อมิสฺเสตฺวา เพราะไม่เอา หมวดจริต สาม ๒ หมวดคละกัน เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ ติเก ในหมวดจริต ๓ ราคาทิเก ที่มีราคจริตเป็นต้น สตฺตกํ มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึ่ง เอวํ อย่างนี้ อิติ ได้แก่ ราคจริตา ราคจริต โทสจริตา โทสจริต โมหจริตา โมหจริต ราคโทสจริตา ราคโทสจริต ราคโมหจริตา ราคโมหจริต โทสโมหจริตา โทสโมหจริต ราคโทสโมหจริตา ราคโทสโมหจริต จ และ ติเก แม้ในหมวดจริต ๓ สทฺธาทิเกปิ ที่มีสัทธาจริต เป็นต้น สตฺตกํ ก็มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึ่ง อิติ ได้แก่ สทฺธาจริตา สัทธาจริต พุทฺธิจริตา พุทธิจริต วิตกฺกจริตา วิตกจริต สทฺธาพุทธฺ จิ ริตา สัทธาพุทธิจริต สทฺธาวิตกฺกจริยา สัทธาวิตกจริต พุทธฺ วิ ติ กฺกจริตา พุทธิวิตกจริต สทฺธาพุทฺธิวิตกฺกจริตา สัทธาพุทธิวิตกจริต ฯ ปน แต่ โยชิเต เมื่อประกอบ ราคาทิตฺติเก หมวดจริต ๓ ที่มีราคจริต เป็นต้น สห กับ สทฺธาทิตฺติเกน หมวดจริต ๓ ที่มีสัทธาจริต เป็นต้น เอกทฺวิตฺติกมูลวเสน ด้วยอ�ำนาจมูลเดียว ๒ มูล และ ๓ มูลแล้ว เอกมูลนเย ในนัยแห่งจริต มูลเดียว โหติ ย่อมมี สตฺตกตฺตยํ หมวด ๗ แห่งจริต ๓ หมวด เอวํ อย่างนี้ อิติ ได้แก่ ราคมูลนเย ในนัยแห่งจริตที่มีราคะเป็นมูล สตฺตกํ มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึง่ อิติ คือ ราคสทฺธาจริตา ราคสัทธาจริต ราคพุทธฺ จิ ริตา ราคพุทธิจริต ราควิตกฺกจรตา ราควิตกจริต ราคสทฺธาพุทฺธิจริตา ราคสัทธาพุทธิจริต ราคสทฺธา วิตกฺกจริตา ราคสัทธาวิตกจริต ราคพุทฺธิวิตกฺกจริตา ราคพุทธิวิตกจริต ราคสทฺธา พุทฺธิวิตกฺกจริตา ราคสัทธาพุทธิวิตกจริต ตถา และ โทสมูลนเยปิ แม้ในนัย แห่งจริตที่มีโทสะเป็นมูล สตฺตกํ ก็มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึ่ง (นเยน) อาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า โทสสทฺธาจริตา โทสสัทธาจริต โทสพุทฺธิจริตา โทสพุทธิจริต โทสวิตกฺกจริตา โทสวิตกจริต โมหมูลนเยปิ แม้ในนัยแห่งจริต


392

ปริเฉทที่ ๙

ที่มีโมหะเป็นมูล สตฺตกํ ก็มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึ่ง (นเยน) โดยนัย อาทินา เป็นต้นว่า โมหสทฺธาจริตา โมหสัทธาจริต ฯ (จบ ๒๕๐๖) จ อนึ่ง ทฺวมิ ลู กนเยปิ แม้ในนัยแห่งจริต ๒ มูล สตฺตกตฺตยํ ก็มหี มวด ๗ แห่งจริต ๓ หมวด (นเยน) อาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า ราคโทสสทฺธาจริตา ราคโทสสัทธาจริต ราคโทสพุทฺธิจริตา ราคโทสพุทธิจริต ราคโทสวิตกฺกจริตา ราคโทสวิตกจริต ยถา เอตฺถ เหมือนในนัยแห่งจริตมูลเดียว ฉะนั้น ฯ ปน ส่วน ติมูลกนเย ในนัยแห่งจริตที่มี ๓ มูล สตฺตกํ มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึ่ง (นเยน) อาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า ราคโทสโมหสทฺธาจริตา ราคโทสโมหสัทธาจริต อิติ เอวํ รวมความดังกล่าวมานี้ มิสสฺ โต โดยนัยทีเ่ จือปนกัน จริยา โหนฺติ มีจริต เอกูนปญฺาส ๔๙ ประการ สตฺตสตฺตกวเสน ด้วยอ�ำนาจหมวด ๗ แห่งจริต ๗ หมวด ฯ จริตา จริต เอกูนปญฺาส ๔๙ ประการ อิมา เหล่านี้ จ และ จริยา จริต จุทฺทส ๑๔ ประการ ปุริมา ข้างต้น อิติ รวมความว่า ทฏฺพฺพา บัณฑิตพึงเห็น จริยา จริต เตสฏฺ ๖๓ ประการ อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ ปน ส่วน เกจิ อาจารย์บางพวก วณฺเณนฺติ พรรณนาไว้ว่า จริยา จริตทั้งหลาย สทฺธึ รวมกับ ทิฏฺยา ทิฏฐิ จตุสฏฺ จึงมี ๖๔ ประการ ฯ ภาวนา ภาวนา อาทิกมฺมภูตา อันเป็นส่วนเบื้องต้น ภาวนาย ปฏิสงฺขารกมฺมภูตา ซึง่ ท�ำการปรุงแต่งภาวนา วา หรือ ปุพพฺ ภาคภาวนา เป็นการริเริม่ ท�ำภาวนา ปริกมฺมภาวนา นาม ชื่อว่าบริกรรมภาวนา ฯ กามาวจรภาวนา กามาวจรภาวนา นีวรณวิกฺขมฺภนโต ปฏฺาย ซึ่งเริ่มต้นแต่ข่มนีวรณ์ได้ โคตฺรภูปริโยสานา จนถึง มีโคตรภูญาณเป็นที่สุด อุปจารภาวนา นาม ชื่อว่า อุปจารภาวนา สมีปจาริตตฺตา เพราะเป็นไปใกล้อัปปนา คามูปจาราทโย วิย ดุจชานบ้านเป็นต้น ฉะนั้น ฯ มหคฺคตภาวปฺปตฺตา (ภาวนา) ภาวนาที่ถึงความเป็นมหัคคตะ อปฺปนาภาวนา นาม ชื่อว่า อัปปนาภาวนา อปฺปนาสงฺขาตวิตกฺกปมุขตฺตา เพราะมีวิตกที่เรียกว่า อัปปนาเป็นประธาน ฯ วิตกฺโก ที่ชื่อว่าวิตก สมฺปยุตฺตธมฺเม อารมฺมเณ อปฺเปนฺโต วิย ปวตฺตตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นไปดุจยังสัมปยุตธรรม


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

393

ทั้งหลายให้แนบแน่นในอารมณ์ อปฺปนา ได้แก่ อัปปนา ฯ ตถา หิ จริงอย่างนั้น โส วิตกฺโก วิตกนั้น นิทฺทิฏฺโ ท่านชี้แจงไว้ ว่า พฺยปฺปนา อัปปนาที่แน่วแน่ โดยพิเศษ ฯ มหคฺคตานุตฺตรชฺฌานธมฺมา ฌานธรรมฝ่ายมหัคคตะและโลกุตตระ สพฺเพปิ แม้ทั้งหมด วุจฺจนฺติ ท่านเรียกว่า อปฺปนา อัปปนา ตปฺปมุขตาวเสน ด้วยอ�ำนาจความมีวิตกนั้นเป็นประธาน ฯ ปริกมฺมนิมิตฺตํ ที่ชื่อว่า บริกรรมนิมิต ปริกมฺมสฺส นิมิตฺตํ อารมฺมณตฺตาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ชื่อว่า นิมิตแห่ง บริกรรม เพราะเป็นอารมณ์ กสิณมณฺฑลาทิ ได้แก่ ดวงกสิณเป็นต้น ฯ อุคฺคหนิมิตฺตํ ที่ชื่อว่าอุคคหนิมิต ตเทว จกฺขุนา ทิฏฺฐํ วิย มนสา อุคฺคเหตพฺพํ นิมิตฺตํ อุคฺคหนฺตสฺส วา นิมิตฺตนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันพระโยคาวจร พึงเพ่งบริกรรมนิมิตนั้นนั่นเองด้วยใจ คล้ายเห็นด้วยตา หรือเป็นนิมิตของ พระโยคาวจรผู้เพ่งนิมิต ฯ นิมิตฺตํ นิมิต ตปฺปฏิภาควณฺณาทิกสิณโทสรหิตํ เว้นจากโทษแห่งกสิณมีรูปที่คล้ายกับอุคคหนิมิตนั้นเป็นต้น ปฏิภาคนิมิตฺตํ ชื่อว่า ปฏิภาคนิมิต อุปจารปฺปนานมารมฺมณตฺตา เพราะเป็นอารมณ์ของอุปจารภาวนา และอัปปนาภาวนา ฯ ปวีกสิณํ ที่ชื่อว่าปฐวีกสิณ ปวีเยว กสิณํ เอกเทเส อตฺวา อนนฺตรสฺส ผริตพฺพตาย สกลฏฺเนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ชื่อว่า ปฐวีกสิณ เพราะอรรถว่า ทัว่ ไป โดยภาวะทีไ่ ม่ดำ� รงอยูใ่ นส่วนหนึง่ แล้วพึงแผ่ไปได้ ไม่มที สี่ นิ้ สุด คือ ปฐวี ฯ กสิณมณฺฑลํ ดวงกสิณ ๑ ปฏิภาคนิมติ ตฺ ํ ปฏิภาคนิมติ ๑ ตทาลมฺพนฺ จ ฌานที่มีปฏิภาคนิมิตนั้นเป็นอารมณ์ ๑ วุจฺจติ ท่านเรียกว่า ปวีกสิณนฺติ ปฐวีกสิณ ฯ ตถา อาโปกสิณาทีสุปิ แม้ในอาโปกสิณเป็นต้น ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า ตตฺถ (ทสสุ กสิเณสุ) ในบรรดากสิณ ทั้ง ๑๐ เหล่านั้น ปวาทีนิ จตฺตาริ กสิณ ๔ มีปฐวีกสิณเป็นต้น ภูตกสิณานิ ชื่อว่าภูตกสิณ นีลาทีนิ จตฺตาริ กสิณ ๔ มีนีลกสิณเป็นต้น วณฺณกสิณานิ ชือ่ ว่า วรรณกสิณ ปริจฉฺ นิ นฺ ากาโส อากาศทีก่ ำ� หนด อากาสกสิณํ ชือ่ ว่าอากาสกสิณ จนฺทาทิอาโลโก แสงสว่างมีแสงพระจันทร์เป็นต้น อาโลกกสิณํ ชือ่ ว่าอาโลกกสิณ ฯ


394

ปริเฉทที่ ๙

ฉวสรีรํ ซากศพ อุทธฺ ํ ทีพ่ อง ธุมาตํ สูนํ คือ อืดขึน้ อุทธฺ มุ าตํ ชือ่ ว่าอุทธุมาตะ ฯ ตเทว อุทธุมาตะนั้นนั่นเอง อุทฺธุมาตกํ ชื่อว่า อุทธุมาตกอสุภะ กุจฺฉิตฏฺเน เพราะอรรถว่าน่าเกลียด ฯ เอวํ เสเสสุปิ แม้ในอสุภะทีเ่ หลือทัง้ หลายก็มนี ยั อย่างนี้ ฯ เสตรตฺตาทิวิมิสฺสกํ ฉวสรีรํ ซากศพที่เจือด้วยสีขาวและสีแดงเป็นต้น เยภุยฺเยน โดยมาก นีลวณฺณํ มีสีเขียว วินีลกํ ชื่อว่าวินีลกอสุภะ วิเสสโต นีลกนฺติ กตฺวา เพราะกระท�ำอธิบายว่า มีสเี ขียวโดยพิเศษ ฯ วิสสฺ วนฺตํ ปุพพฺ กํ ซากศพทีห่ นองไหล ออกอยู่ วิปุพฺพกํ ชื่อว่าวิปุพพกอสุภะ ฯ ฉวสรีรํ ซากศพ ฉินฺนํ ที่ถูกตัด มชฺเฌ ท่ามกลาง ทฺวิธา ออกเป็น ๒ ท่อน วิจฺฉิทฺทกํ ชื่อว่าวิจฉิททกอสุภะ ฯ ฉวสรีรํ ซากศพ โสณสิงฺคาลาทีหิ ที่ถูกสุนัขบ้านและสุนัขจิ้งจอกเป็นต้น ขาทิตํ กัดกิน วิวิเธนากาเรน โดยอาการต่าง ๆ วิกฺขายิตกํ ชื่อว่าวิกขายิตกอสุภะ ฯ ฉวสรีรํ ซากศพ โสณสิงคฺ าลาทีหิ ทีถ่ กู สุนขั บ้านและสุนขั จิง้ จอกเป็นต้น ขณฺฑติ วฺ า กัดกิน วิวิเธนากาเรน โดยอาการต่าง ๆ ขิตฺตํ แล้วทิ้งไว้ ตตฺถ ตตฺถ ฐาเน ในที่นั้น ๆ วิกฺขิตฺตกํ ชื่อว่าวิกขิตตกอสุภะ ฯ ฉวสรีรํ ซากศพ สตฺเถน หนิตฺวา ที่เขาเอา ศัสตราตัด กากปทาทิอากาเรน โดยอาการอย่างกับตีนกาเป็นต้น ขิตฺตํ ทิ้ง วิวธํ กระจัดกระจายไป หตวิกขฺ ติ ตฺ กํ ชือ่ ว่าหตวิกขิตตกอสุภะ ฯ ฉวสรีรํ ซากศพ โลหิตปคฺฆรนกํ ทีม่ โี ลหิตไหลออก โลหิตกํ ชือ่ ว่า โลหิตกอสุภะ ฯ ฉวสรีรํ ซากศพ กิมิกุลปคฺฆรนกํ ที่มีหมู่หนอนไหลออก ปุฬุวกํ ชื่อว่าปุฬุวกอสุภะ ฯ อฏฺ กระดูก อนฺตมโส โดยทีส่ ดุ เอโกปิ แม้เพียงท่อนเดียว อฏฺก ํ นาม ก็ชอื่ ว่าอัฏฐิกอสุภะ ฯ อนุอนุสฺสรณํ การระลึกเนือง ๆ อนุสฺสติ ชื่อว่า อนุสสติ ฯ อนุสฺสติ อนุสสติ อรหตฺตาทิพุทฺธคุณารมฺมณา อันมีพุทธคุณมีความที่พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์เป็นต้นเป็นอารมณ์ พุทฺธานุสฺสติ ชื่อว่า พุทธานุสสติ ฯ อนุสฺสติ อนุสสติ สฺวากฺขาตตาทิธมฺมคุณารมฺมณา อันมีธรรมคุณมีความที่พระธรรม เป็นธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้วเป็นต้นเป็นอารมณ์ ธมฺมานุสฺสติ ชื่อว่า ธัมมานุสสติ ฯ อนุสฺสติ อนุสสติ สุปฏิปนฺนตาทิสงฺฆคุณารมฺมณา อันมีสังฆคุณมีความที่พระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้วเป็นต้นเป็นอารมณ์ สงฺฆานุสฺสติ


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

395

ชื่อว่า สังฆานุสสติ ฯ อนุสฺสรณํ การระลึกถึงเนือง ๆ สีลคุณสฺส ถึงคุณแห่งศีล อตฺตโน ของตน สุปริสทุ ธฺ สฺส อันบริสทุ ธิด์ ว้ ยดี อขณฺฑตาทินา โดยความเป็นศีล ไม่ขาดเป็นต้น สีลานุสสฺ ติ ชือ่ ว่า สีลานุสสติ ฯ จาคานุสสฺ รณํ การระลึกถึงเนือง ๆ ถึงการบริจาค อตฺตโน ของตน วิคตมลมจฺเฉรตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็น ผู้ปราศจากความตระหนี่อันเป็นมลทินเป็นต้น จาคานุสฺสติ ชื่อว่า จาคานุสสติ ฯ สทฺธาทิคุณานุสฺสรณํ การระลึกถึงเนือง ๆ ถึงคุณมีศรัทธาเป็นต้นของตน เปตฺวา โดยยก เทวตา เทวดา สกฺขฏิ ฺ าเน ไว้ในฐานะเป็นพยาน เอวํ อย่างนีว้ า่ เทวา เทพทัง้ หลาย สมนฺนาคตา ผูป้ ระกอบ สทฺธาทีหิ (คุเณหิ) ด้วยคุณมีศรัทธา เป็นต้น เยหิ เหล่าใด คตา ถึง เทวตฺตํ ความเป็นเทพได้ คุณา คุณทั้งหลาย ตาทิสา เช่นนัน้ สนฺติ มีอยู่ มยิ ในเรา ดังนี้ เทวตานุสสฺ ติ ชือ่ ว่า เทวตานุสสติ ฯ คุณานุสฺสรณํ การระลึกถึงเนือง ๆ ถึงคุณ นิพฺพานสฺส แห่งพระนิพพาน สพฺพทุกฺขูปสมภูตสฺส อันเป็นที่เข้าไปสงบระงับทุกข์ทั้งปวง อุปสมานุสฺสติ ชื่อว่า อุปสมานุสสติ ฯ อนุสฺสรณํ การระลึกถึงเนือง ๆ มรณสฺส ถึงความตาย ชี วิ ติ นฺ ทฺ ริ ยุ ป จฺ เ ฉทภู ต สฺ ส อั น เป็ น เครื่ อ งเข้ า ไปตั ด ชี วิ ติ น ทรี ย ์ มรณานุ สฺ ส ติ ชื่อว่า มรณานุสสติ ฯ สติ สติ คตา อันไปแล้ว ปวตฺตา คือ เป็นไปแล้ว เกสาทิกายโกฏฺาเส ในส่วนแห่งกายมีผมเป็นต้น กายคตาสติ ชือ่ ว่า กายคตาสติ ฯ อานฺ จ การหายใจเข้า อปานฺ จ และการหายใจออก อานาปานํ ชือ่ ว่า อานาปานะ อสฺสาสปสฺสาสา ได้แก่ ลมอัสสาสปัสสาสะ ฯ สติ สติ ตทารมฺมณา อันมีลมหายใจ เข้าและลมหายใจออกนั้นเป็นอารมณ์ อานาปานสฺสติ ชื่อว่า อานาปานัสสติ ฯ เมตฺตา ที่ชื่อว่า เมตตา มิชฺชติ สินิยฺหตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า รักใคร่ คือเยื่อใย วา หรือ เมตฺตา ที่ชื่อว่า เมตตา มิตฺเตสุ ภวาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า มีในมิตรทั้งหลาย ฯ เมตฺตา เมตตา สา นั้น หิตสุขูปสํหรณลกฺขณา มีลักษณะน�ำประโยชน์สุขเข้าไปให้ สตฺตานํ แก่สัตว์ทั้งหลาย ฯ กรุณา กรุณา ปรทุกฺขาปนยนกามตาลกฺขณา มีลักษณะประสงค์จะบ�ำบัดทุกข์ของผู้อื่น ฯ มุทติ า มุทติ า ปรสมฺปตฺตสิ มฺโมทลกฺขณา มีลกั ษณะพลอยชืน่ ชมสมบัตขิ องผูอ้ น่ื ฯ


396

ปริเฉทที่ ๙

อุเปกฺขา อุเบกขา อิฏฺานิฏฺมชฺฌตฺตาการปฺปวตฺติลกฺขณา มีลักษณะเป็นไป โดยอาการวางตนเป็นกลางในอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ ฯ อปฺปมฺ า ที่ชื่อว่า อัปปมัญญา อปฺปมาณสตฺตารมฺมณตฺตา เพราะมีสัตว์อันหาประมาณมิได้เป็น อารมณ์ ฯ พฺรหฺมวิหาโร ทีช่ อื่ ว่า พรหมวิหาร อุตตฺ มวิหารภาวโต เพราะเป็นธรรม เครื่องอยู่อย่างสูงสุด วา หรือ วิหารภาวโต เพราะเป็นธรรมเครื่องอยู่ อุตฺตมานํ ของท่านผูส้ งู สุด ฯ สฺ า สัญญา ปวตฺตา ทีเ่ ป็นไป กวฬีการาหาเร ในกวฬีการาหาร อิติ ว่า ปฏิกฺกูลนฺติ เป็นของปฏิกูล คมนปริเยสนปริโภคาทิปจฺจเวกฺขณวเสน ด้วยอ�ำนาจการพิจารณาถึงการไป การแสวงหา และการบริโภค เป็นต้น อาหาเร ปฏิกูลสฺ า ชื่อว่า อาหาเรปฏิกูลสัญญา ฯ ววตฺถานํ การก�ำหนด จตุนฺนํ ธาตูนํ ธาตุ ๔ ปวีธาตุอาทีนํ มีปฐวีธาตุเป็นต้น สลกฺขณโต โดยลักษณะของตน จ และ เกสาทิสมฺภาราทิโต โดยเครือ่ งประกอบมีผมเป็นต้นเป็นอาทิ จตุธาตุววตฺถานํ ชื่อว่าจตุธาตุววัฏฐาน ฯ ภาวนา ภาวนา ปวตฺตา อันเป็นไปแล้ว อรูเป ในอารมณ์ นามธมฺเม อันเป็นนามธรรม อารุปฺปา ชื่อว่า อารุปปภาวนา ฯ อิทานิ บัดนี้ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) ทสฺเสตํุ หวังจะแสดง กมฺมฏฺานํ กัมมัฏฐาน จริตานุกูลํ อันเหมาะแก่จริต ตสฺส ตสฺส ปุคฺคลสฺส ของบุคคลนั้น ๆ อาห จึงกล่าวบาลีมวี า่ จริตาสุ ปน ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ จ ก็ ปุคคฺ โล บุคคล ราคจริโต ที่ชื่อว่าเป็นราคจริต ราโค จ จริตํ ปกติ เอตสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีราคะเป็นจริต คือเป็นปกติ ราคพหุโล ปุคคฺ โล ได้แก่ บุคคลผูม้ ากไปด้วยราคะ ฯ อสุภกมฺมฏฺานํ อสุภกัมมัฏฐาน สปฺปายํ ชือ่ ว่าเหมาะ ตสฺส แก่เขา อุชวุ ปิ จฺจนีกภาวโต เพราะเป็นข้าศึกโดยตรง ราคสฺส ต่อราคะ ฯ อานาปานํ อานาปานกัมมัฏฐาน สปฺปายํ ชื่อว่าเหมาะ โมหจริตสฺส แก่คนโมหจริต จ และ วิตกฺกจริตสฺส แก่คน วิ ต กจริ ต โมหปฏิ ป กฺ ข ตฺ ต า เพราะเป็ น ปฏิ ป ั ก ษ์ ต ่ อ โมหะ พุ ทฺ ธิ วิ ส ยภาเวน ด้วยความเป็นวิสยั แห่งปัญญา จ และ วิตกฺกสนฺธาวนนิวารกตฺตา เพราะเป็นเครือ่ ง ห้ามความแล่นไปของวิตก ฯ ฉ พุทฺธานุสฺสติอาทโย อนุสสติ ๖ มีพุทธานุสสติ เป็นต้น สปฺปายา ชือ่ ว่าเหมาะ สทฺธาจริตสฺส แก่คนสัทธาจริต สทฺธาพุทธฺ เิ หตุภาวโต


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

397

เพราะเป็นเหตุแห่งความเจริญศรัทธา ฯ มรณสฺสติ มรณสติ อุปสมานุสฺสติ อุปสมานุสสติ อาหาเรปกิกลู สฺ า อาหาเรปฏิกลู สัญญา จ และ จตุธาตุววตฺถานํ จตุธาตุววัฏฐาน สปฺปายา ชื่อว่าเหมาะ พุทฺธิจริตสฺส แก่คนพุทธิจริต วิสยตฺตา เพราะเป็นวิสยั พุทธฺ ยิ า เอว แห่งปัญญาอย่างเดียว คมฺภรี ภาวโต โดยความเป็นของ ลึกซึง้ ฯ เสสานีติ บทว่า เสสานิ จตุพพฺ ธิ ภูตกสิณากาสาโลกกสิณารุปปฺ จตุกกฺ วเสน ทสวิธานิ ได้แก่ กัมมัฏฐาน ๑๐ อย่าง คือ ภูตกสิณ ๔ อากาสกสิณ ๑ อาโลกกสิณ ๑ และอรูปฌาน ๔ ฯ ตตฺถาปีติ บทว่า ตตฺถาปิ เตสุ ททสุ กมฺมฏฺาเนสุ ได้แก่ บรรดากัมมัฏฐาน ๑๐ เหล่านัน้ ฯ กมฺมฏฺานํ กัมมัฏฐาน ปุถลุ ํ ทีม่ อี ารมณ์กว้างขวาง สปฺปายํ ชื่อว่าเหมาะ โมหจริตสฺส แก่คนโมหจริต สมฺพาเธ โอกาเส จิตฺตสฺส ภิยโฺ ยโส มตฺตาย เพราะในโอกาสคับแคบจิตมัวมลมากมาย ฯ กมฺมฏฺานํ กัมมัฏฐาน ขุทฺทกํ มีอารมณ์เล็กน้อย สปฺปายํ ชื่อว่าเหมาะ วิตกฺกจริตสฺส แก่คนวิตกจริต มหนฺตารมฺมณสฺส วิตกฺกสนฺธาวนปจฺจยตฺตา เพราะความที่อารมณ์กว้างใหญ่ เป็นปัจจัยแก่ความแล่นไปของวิตก ฯ จ ก็ เอตํ (วุตฺตวจนํ) ข้อความที่กล่าวมานี้ (ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์) วุตตฺ ํ กล่าวไว้ อุชวุ ปิ จฺจนีกโตเจว เพราะเป็นข้าศึกโดยตรง นั่นเอง จ อติสปฺปายตาย และเพราะเป็นกัมมัฏฐานที่เหมาะยิ่ง ฯ ปน แต่ กสิณาทิภาวนา นาม ชื่อว่ากสิณภาวนาเป็นต้น อวิกฺขมฺภิกา ที่ไม่ข่ม ราคาทีนํ กิเลสมีราคะเป็นต้น วา หรือ อนุปการิกา ที่ไม่ท�ำอุปการะ สทฺธาทีนํ แก่อินทรีย์ มีสัทธินทรีย์เป็นต้น นตฺถิ ย่อมไม่มี ฯ สพฺพตฺถาปีติ บทว่า สพฺพตฺถาปิ จตฺตาฬีสกมมฏฺาเนสุปิ แม้ในกัมมัฏฐาน ทั้ง ๔๐ ประการ ฯ อปฺปนา อัปปนา นตฺถิ ชื่อว่าไม่มี พุทฺธานุสฺสติอาทีสุ ททสุ กมฺมฏฺาเนสุ ในกัมมัฏฐาน ๑๐ มีพุทธานุสสติเป็นต้น สมาธิสฺส ปติฏฺฐาตุม- สกฺกเุ ณยฺยตฺตา เพราะสมาธิไม่สามารถตัง้ มัน่ ได้ อปฺปนาวเสน ด้วยอ�ำนาจอัปปนา พุทฺธคุณาทีนํ ปรมตฺถภาวโต เหตุพุทธคุณเป็นต้นเป็นสภาวะมีอรรถยอดเยี่ยม อเนกวิธตตฺตา เหตุมหี ลายประการ จ และ เอกสฺสาปิ คมฺภรี ภาวโต เหตุพทุ ธคุณ แม้บทเดียว ก็เป็นสภาวะลึกซึ้ง ฯ สมาธิ สมาธิ อปฺปนาภาวํ อปฺปตฺวา ที่ไม่ถึง


398

ปริเฉทที่ ๙

ความเป็นอัปปนา ปติฏฺ าติ ย่อมตัง้ มัน่ อุปจารภาเวเนว โดยความเป็นอุปจารเท่านัน้ ฯ ปน ส่วน โลกุตตฺ รสมาธิ โลกุตตรสมาธิ จ และ ทุตยิ จตุตถฺ ารูปสมาธิ อรูปาวจร สมาธิที่ ๒ และที่ ๔ ปาปุณาติ ย่อมถึง อปฺปนํ อัปปนาได้ ภาวนาวิเสสวเสน ด้วยอ�ำนาจภาวนาพิเศษ สภาวธมฺเมปิ แม้ในสภาวธรรม ฯ หิ ความจริง โลกุตตฺ โร โลกุตตรสมาธิ ปาปุณาติ ย่อมถึง อปฺปนํ อัปปนาได้ วิสทุ ธฺ ภิ าวนานุกกฺ มภาวนาวเสน ด้วยอ�ำนาจก�ำลังตามล�ำดับแห่งวิสุทธิภาวนา ฯ อารุปฺปสมาธิ อรูปาวจรสมาธิ ปาปุณาติ ย่อมถึงอัปปนาได้ อารมฺมณสมติกฺกมภาวนาวเสน ด้วยอ�ำนาจภาวนา ที่ก้าวล่วงอารมณ์ ฯ หิ ความจริง อารมฺมณมตฺตสมติกฺกมนมตฺตํ เพียงความ ก้าวล่วงได้เพียงอารมณ์ โหติ ย่อมมี จตุตฺถชฺฌานสมาธิโน แก่จตุตถฌานสมาธิ อปฺปนาปฺปตฺตสฺเสว เฉพาะที่ถึงอัปปนาแล้ว ฯ ปฺ จกชฺฌานานิ ฌาน ๕ อตฺถิ มีอยู่ เอเตสํ แก่กสิณ ๑๐ และอานาปานัสสติเหล่านี้ (เพราะเหตุนั้น กสิณ ๑๐ และอานาปานัสสติเหล่านี้ จึงชื่อว่า ปัญจกฌานิกะ) วา อีกอย่างหนึ่ง (กสิณ ๑๐ และอานาปานัสสติ) นิยุตฺตานิ ประกอบ ตตฺถ ในฌาน ๕ เหล่านี้ อิติ เพราะเหตุ นั้น กสิณ ๑๐ และอานาปานัสสติ ปฺ จกชฺฌานิกานิ จึงชื่อว่า ปัญจกฌานิกะ ฯ อสุภภาวนาย ปฏิกฺกูลารมฺมณตฺตา เพราะอสุภภาวนามีสิ่งปฏิกูลเป็นอารมณ์ จิตฺตํ จิต ปวตฺตติ จึงเป็นไป ตตฺถ ในอสุภกัมมัฏฐานนั้นได้ วิตกฺกพเลเนว ด้วยก�ำลังวิตกเท่านั้น จณฺฑโสตาย นทิยา อริตฺตพเลน นาวา วิย เปรียบเสมือน เรือที่แล่นไปในแม่น�้ำที่มีกระแสเชี่ยวได้ด้วยก�ำลังถ่อ ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า (ทส อสุภา) อสุภะ ๑๐ (จ) และ กายคตาสติ กายคตาสติ (๑) ปมชฺฌานิกา ชื่อว่า มีเพียงปฐมฌาน อวิตกฺกชฺฌานาสมฺภวโต เพราะฌานที่ไม่มีวิตก (ทุติยฌานเป็นต้น) ไม่เกิดมี อสุภกมฺมฏฺาเน ในอสุภกัมมัฏฐาน ฯ เมตฺตากรุณามุทิตานํ สหคตตา ความที่เมตตา กรุณา และมุทิตา ที่ สหรคตโสมนสฺเสน สหรคตโสมนัส โทมนสฺสปฏิปกฺเขน อันชื่อว่าเป็นข้าศึกต่อ โทมนัสนั่นเอง โทมนสฺสสหคตพฺยาปาทวิหึสานภิรตีนํ ปหายกตฺตา เพราะเป็น


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

399

ธรรมชาติละพยาบาท วิหิงสา และอนภิรติที่สหรคตด้วยโทมนัส ยุตฺตา ควรแล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น เมตฺตาทโย ตโย พรหมวิหารธรรมทั้ง ๓ ประการ มีเมตตา เป็นต้น (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) จึงกล่าวว่า จตุกฺกชฺฌานิกา มีได้ถึงฌาน ๔ ฯ อุเปกฺขา อุเบกขา (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตฺตา กล่าวว่า ปฺ จกชฺฌานิกา มีเฉพาะฌานที่ ๕ อุเปกฺขาพฺรหฺมวิหารสฺส สุขสหคตตาสมฺภวโต เพราะอุเบกขา พรหมวิหาร ไม่มีการสหรคตด้วยโสมนัส สพฺเพ สตฺตา สุขิตา โหนฺตุ ทุกฺขา มุจฺจนฺตุ ลทฺธสมฺปตฺติโต มา วิคจฺฉนฺตูติ เมตฺตาทิวสปฺปวตฺตํ พฺยาปารตฺตยํ ปหาย กมฺ ม สฺ ส กตาทสฺ ส เนน สตฺ เ ตสุ มชฺ ฌ ตฺ ต าการปฺ ป วตฺ ต ภาวนาย นิพพฺ ตฺตาย ตตฺรมชฺฌตฺตเุ ปกฺขาย พลวตรตฺตา เหตุตตั ตรมัชฌัตตุเปกขา ทีบ่ งั เกิด ด้วยภาวนา อันละความพยายาม ๓ อย่าง ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจเมตตาเป็นต้นว่า ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้ถึงความสุข จงพ้นจากทุกข์ จงอย่าแคล้วคลาด จากสุขสมบัตทิ ไี่ ด้แล้ว ดังนี้ แล้วเป็นไปโดยอาการวางตนเป็นกลางในสัตว์ทงั้ หลาย โดยเห็นความที่สัตว์เป็นผู้มีกรรมเป็นของตน มีก�ำลังกว่า ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ตํตทารมฺมณานุรูปโต ได้แก่ โดยเหมาะแก่ อารมณ์นั้น ๆ ฯ (ท่านอาจารย์) วุตฺตํ กล่าวว่า ปริยาเยน ย่อมได้โดยปริยาย กสฺสจิ อารมฺมณสฺส อปริพฺยตฺตตาย เพราะอารมณ์บางอย่างไม่แจ่มแจ้งพอ ฯ หิ ความจริง ปริพฺยตฺตนิมิตฺตสมฺภโว นิมิตที่แจ่มแจ้งพอย่อมเกิดมีเฉพาะ กสิณาสุภโกฏฺาสานาปานสฺสตีเสฺวว ในกสิณ (๑๐) อสุภะ (๑) กายคตาสติ (๑) และอานาปานัสสติ (๑) เท่านัน้ อิติ แล ฯ ปวีมณฺฑลาทีสุ นิมติ ตฺ ํ อุคคฺ ณฺหนฺตสฺส ข้อว่า ปวีมณฺฑลาทีสุ นิมิตฺตํ อุคฺคณฺหนฺตสฺส ความว่า อาทิมฺหิ ในเบื้องต้น (โยคาวจรสฺส) เมือ่ พระโยคาวจรผูเ้ ริม่ บ�ำเพ็ญเพียร วิโสเธตฺวา ช�ำระ จตุปาริสทุ ธฺ สิ ลี ํ ปาริสุทธิศีล ๔ ให้หมดจด ตาว ก่อนแล้ว อุปจฺฉินฺทิตฺวา ตัด ปลิโพธํ ปลิโพธ ทสวิธํ ๑๐ ประการแล้ว อุปสงฺกมิตฺวา เข้าไปหา กลฺยาณมิตฺตํ กัลยาณมิตร ปิ ย ครุ ภ าวนี ย าทิ คุ ณ สมนฺ น าคตํ ผู ้ ป ระกอบด้ ว ยคุ ณ มี ค วามเป็ น ผู ้ เ ป็ น ที่ รั ก น่าเคารพ และน่ายกย่องเป็นต้นแล้ว คเหตฺวา เรียน กมฺมฏฺานํ กัมมัฏฐาน


400

ปริเฉทที่ ๙

ปกติจริยานุกูลํ อันเหมาะแก่ปกติจริต อตฺตโน ของตน ปหาย ละ วิหารํ วิหาร อนนุรูปํ อันไม่เหมาะสม อฏฺารสวิธํ ๑๘ แห่งเสียแล้ว วิหรนฺตสฺส อยู่ อนุรูปวิหาเร ในวิหารอันเหมาะสม ปญฺจงฺคสมนฺนาคเต ซึ่งประกอบด้วยองค์ ๕ กตฺวา กระท�ำ ขุทฺทกปลิโพธุปจฺเฉทํ การตัดปลิโพธิที่หยุมหยิม เกสนขหรณาทึ มีโกนผมและตัดเล็บเป็นต้นเสีย กตฺวา วาง กสิณมณฺฑลาทึ ดวงกสิณเป็นต้นไว้ ปุรโต ข้างหน้า นิสีทิตฺวา แล้วนั่ง เปตฺวา ตั้ง จิตฺตํ จิต อานาปานโกฏฺาทีสุ ไว้ในอานาปานัสสติและกายคตาสติเป็นต้น อุคฺคณฺหนฺตสฺส ก�ำหนด นิมิตฺตํ นิมิต ตํตทารมฺมเณสุ ในอารมณ์นั้น ๆ ปวีกสิณาทีสุ มีปฐวีกสิณเป็นต้น ตํตภํ าวนานุกกฺ เมน ตามล�ำดับภาวนานัน้ ๆ ปวี ปวี ว่า ปฐวี ปฐวี ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ สงฺเขโป ความสังเขป เอตฺถ ในที่นี้ อยํ เพียงเท่านี้ ฯ ปน ส่วน ภาวนา การเจริญภาวนา วิตฺถารโต โดยพิสดาร คเหตพฺพา พึงค้นดู วิสุทฺธิมคฺคโต จากปกรณ์วิเสสชื่อว่าวิสุทธิมรรค ฯ หิ ความจริง ภาวนาวิธานํ วิธีเจริญภาวนา ทุวิธมฺปิ แม้ทั้ง ๒ อย่าง (ท่านอาจารย์) วุตฺตํ กล่าวไว้ อติสงฺเขปโต โดยย่อ เกินไป ฯ จ ก็ อาหริยมาเน เมื่อท่านจะน�ำ วิตฺถารนเย นัยอันพิสดารมา ตทตฺถทสฺสนตฺถํ เพื่อแสดงเนื้อความแห่งภาวนาวิธีทั้ง ๒ นั้น อติปปฺ โจ สิยา ก็จะพึงเยิน่ เย้อเกินไป อิติ เพราะเหตุนนั้ มยมฺปิ แม้ขา้ พเจ้า ตํ น วิตถฺ าเรสฺสาม ก็จักไม่ท�ำภาวนาวิธีนั้นให้พิสดาร ฯ ยทา ฯเปฯ สมุคฺคหิตนฺติ ข้อว่า ยทา ฯเปฯ สมุคฺคหิตํ ความว่า ยทา ในกาลใด ปริกมฺมนิมิตฺตํ บริกรรมนิมิต ตํ นั้น จิตฺเตน อุคฺคหิตํ เป็นอันจิต ก�ำหนดได้ สมฺมา ดีแล้ว ปวตฺตานุปุพฺพภาวนาวเสน ด้วยอ�ำนาจภาวนาตามล�ำดับ ทีเ่ ป็นไปแล้ว เอวํ อย่างนัน้ ฯ มโนทฺวารสฺส อาปาถมาคตนฺติ ข้อว่า มโนทฺวารสฺส อาปาถมาคตํ ความว่า (โยคาวจรสฺส) เมือ่ พระโยคาวจร จกฺขํ นิมมฺ เิ ลตฺวา หลับตา วา หรือ คนฺตวฺ า ไป อฺ ตฺถ ในทีอ่ นื่ มนสิกโรนฺตสฺส มนสิการอยู่ นิมติ ตฺ ํ นิมติ ตํ นั้น กสิณมณฺฑลสทิสเมว เป็นเช่นดวงกสิณนั่นเอง อาปาถมาคตํ โหติ ย่อมมาปรากฏ มโนทฺวาริกชวนานํ แก่ชวนจิตที่เกิดทางมโนทวาร ฯ สมาธิยตีติ


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

401

บทว่า สมาธิยติ ความว่า ภาวนา ภาวนา สา นั้น สมาหิตา โหติ ย่อมตั้งมั่น จิตฺเตกคฺคตาปตฺติยา โดยถึงความที่จิตมีอารมณ์แน่วแน่ วิเสสโต โดยพิเศษ ฯ จิตฺตสมาธานวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจจิตตั้งมั่น ปุคฺคโลปิ แม้บุคคล สมาหิโตเยว ก็ย่อมเป็นผู้ตั้งมั่นเหมือนกัน อิติ เพราะเหตุนั้น (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า ตถา สมาหิตสฺส ผู้มีจิตตั้งมั่นแล้วอย่างนั้น ฯ ตปฺปฏิภาคนฺติ บทว่า ตปฺปฏิภาค อุคฺคหนิมิตฺตสทิสํ ได้แก่ เหมือนกันกับอุคคหนิมิต ฯ หิ ความจริง ตโต เพราะเหตุที่เหมือนกันกับอุคคหนิมิตนั้นนั่นเอง (ตํ อารมฺมณํ) อารมณ์นั้น วุจฺจติ บัณฑิตจึงเรียกว่า ปฏิภาคนิมิตฺตนฺติ ปฏิภาคนิมิต ฯ ปน แต่ ตํ ปฏิภาคนิมติ นัน้ อติปริสทุ ธฺ ํ โหติ ย่อมเป็นธรรมชาตบริสทุ ธิย์ งิ่ อุคคฺ หนิมติ ตฺ โต กว่าอุคหนิมติ ฯ วตฺถธุ มฺมวิมจุ จฺ ติ นฺติ บทว่า วตฺถธุ มฺมวิมจุ จฺ ติ ํ ความว่า ตํ อารมฺมณํ อารมณ์นนั้ วินมิ ตุ ตฺ ํ พ้นแล้ว ปรมตฺถธมฺมโต จากปรมัตถธรรม วา หรือ วินมิ ตุ ตฺ ํ พ้นแล้ว วตฺถุธมฺมโต จากวัตถุธรรม กสิณมณฺฑลคตกสิณโต คือ จากกสิณที่อยู่ ในดวงกสิณ ภาวนามยํ ชื่อว่า ส�ำเร็จแต่ภาวนา นิพฺพตฺตตฺตา เพราะบังเกิด ภาวนาย ด้วยภาวนา ฯ สมปฺปิตนฺติ บทว่า สมปฺปิตํ อปฺปิตํ ได้แก่ แน่วแน่ สุฏฺุ สนิทดี ฯ ตโต ปฏฺายาติ ข้อว่า ตโต ปฏฺาย ปฏฺาย ได้แก่ ตั้งแต่ ปฏิภาคนิมิตฺตุปฺปตฺติโต ปฏิภาคนิมิตเกิดขึ้น ฯ ฌานงฺคาวชฺชนตา ความทีพ่ ระโยคาวจรเป็นผูส้ ามารถในการน้อมนึกถึงองค์ฌาน อปราปรํ กลับไปกลับมา ปรํ อคนฺตฺวา ไม่เลยไป จตุปฺ จชวนกติปยภวงฺคโต จากชวนจิต ๔ ดวง หรือ ๕ ดวง และภวังคจิต ๒ ดวง หรือ ๓ ดวง อุปฺปนฺนาว ชฺชนานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากอาวัชชนจิตทีเ่ กิดขึน้ เอเกการมฺมเณ ในอารมณ์แต่ละ อย่าง ฌานงฺเคสุ ในองค์ฌาน ปญฺจสุ ทั้ง ๕ อาวชฺชนวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการนึก ฯ สมตฺถตา ความที่พระโยคาวจรเป็นผู้สามารถ สมาปชฺชิตํ จะเข้าฌานได้ อุปฺปนฺนาวชฺชนานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากอาวัชชนจิต ที่เกิดขึ้นแล้ว ปรํ อคนฺตฺวา ไม่เลยไป กติปยภวงฺคโต จากภวังคจิต ๒-๓ ดวง สมาปชฺ ชิ ตุ ก ามตานนฺ ต รํ ในล� ำ ดั บ ต่ อ จากความเป็ น ผู ้ ป ระสงค์ จ ะเข้ า ฌาน


402

ปริเฉทที่ ๙

สมาปชฺชนวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการเข้าฌาน ฯ สมตฺถตา ความที่พระโยคาวจรเป็นผู้สามารถ อุปจฺฉินฺทิตฺวา จะตัด ภวงฺคเวคํ ก�ำลังแห่ง ภวังคจิต เปตํุ แล้วหยุด ฌานํ ฌานไว้ได้ ยถาปริจฺฉินฺนกาลํ ตามเวลาที่ก�ำหนด เสตุ วิย สีฆโสตาย นทิยา โอฆํ ดุจเขื่อนกั้นกระแสน�้ำในแม่น�้ำซึ่งมีกระแสน�้ำ เชี่ยว ฉะนั้น รกฺขณโยคฺยตา ความเป็นผู้พากเพียรรักษาชวนจิต ภวงฺคปาตโต จากการตกเป็นภวังคจิต อธิฏฺานวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการ อธิษฐาน ฯ วุฏฺานสมตฺถตา ความที่พระโยคาวจรเป็นผู้สามารถออก ฌานโต จากฌาน อนติกฺกมิตฺวา ไม่เลย ยถาปริจฺฉินฺนกาลํ เวลาตามที่ก�ำหนดไว้ วุฏฺานวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการออก ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ปนสมตฺถตา ความที่พระโยคาวจรเป็นผู้สามารถหยุดฌานไว้ อทตฺวา ไม่ให้ อุทธฺ ํ คนฺตุํ เลยไป ยถาปริจฉฺ นิ นฺ กาลโต จากเวลาตามทีก่ ำ� หนดไว้ อธิฏฺ านวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการอธิษฐาน ฯ วุฏฺานสมตฺถตา ความที่ พระโยคาวจรเป็นผู้สามารถออกจากฌานได้ ยถากาลวเสน ด้วยอ�ำนาจเวลา ตามที่ก�ำหนดไว้ อวุฏฺหิตฺวา ไม่ออกจากฌาน อนฺโต ภายใน ปริจฺฉินฺนกาลโต เวลาที่ก�ำหนดไว้ วุฏฺานวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการออก อิติ เพราะเหตุนนั้ อลํ พอที อติปปญฺเจน ไม่ตอ้ งให้พศิ ดารมากนัก ฯ ปน ส่วน ปจฺ จ เวกฺ ข ณวสิ ต า ความเป็ น ผู ้ ช� ำ นาญในการพิ จ ารณา สิ ทฺ ธ า ส� ำ เร็ จ แล้ ว อาวชฺชนวสิตาย เอว ด้วยความเป็นผูช้ ำ� นาญในการน้อมนึกนัน่ เอง ฯ หิ ความจริง ชวนาเนว ชวนจิตทั้งหลาย อาวชฺชนานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากอาวัชชนจิตนั่นแหละ ปจฺจเวกฺขณชวนานิ นาม ชื่อว่า ชวนจิตเป็นเครื่องพิจารณา ฯ วิตกฺกาทิโอฬาริกงฺค ปหานายาติ ข้อว่า วิตกฺกาทิโอฬาริกงฺค ปหานาย ความว่า ทุติยชฺฌานาทีหิ วิตกฺกาทิโอฬาริกงฺคานํ ฌานกฺขเน อนุปฺปาทาย เพือ่ องค์ฌานทีห่ ยาบกว่าทุตยิ ฌานเป็นต้นมีวติ กเป็นอาทิไม่เกิดขึน้ ในขณะแห่งฌาน ฯ ปทหนฺโตติ บทว่า ปทหนฺโต กโรนฺโต ได้แก่ ท�ำ ปริกมฺมํ บริกรรมอยู่ ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า ปน ก็ อุปจารภาวนา อุปจารภาวนา ตสฺส แห่ง


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

403

พระโยคาวจรนั้น (สิทฺธา) ชื่อว่าส�ำเร็จแล้ว ปฏฺาย จ�ำเดิม นิกนฺติวิกฺขมฺภนโต แต่การข่มความติดใจ วิตกฺกาทีสุ ในวิตกเป็นต้น ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ตํตฌ ํ านิกกสิณาทิอารมฺมณานุรปู ํ ได้แก่ เหมาะแก่อารมณ์มกี สิณเป็นต้น ทีป่ ระกอบ ในฌานนั้น ๆ ฯ อุคฺฆาเตตุมสกฺกุเณยฺยตฺตา ก็เพราะพระโยคาวจรไม่สามารถ จะเพิก อากาสกสิณสฺส อากาศกสิณได้ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) จึงกล่าวค�ำว่า อากาสวชฺชิเตสุ ฯ บทว่า กสิณํ กสิณปฏิภาค นิมิตฺตํ ได้แก่ ปฏิภาคนิมิตแห่ง กสิณ ฯ บทว่า อุคฆฺ าเฏตฺวา อุทธฺ ริตวฺ า ได้แก่ ยกขึน้ อมนสิการวเสน ด้วยอ�ำนาจ ไม่ใส่ใจถึง ฯ อนนฺตวเสน ปริกมฺมํ กโรนฺตสฺสาติ ข้อว่า อนนฺตวเสน ปริกมฺมํ กโรนฺตสฺส ความว่า (เมื่อพระโยคาวจร) กโรนฺตสฺส กระท�ำ ปริกมฺมํ บริกรรม อารพฺภ ปรารภถึง อากาสํ อากาศ ว่า อากาสํ อนนฺตํ อากาศไม่มีที่สุด อากาสํ อนนฺตํ อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ ปน แต่ (จะท�ำบริกรรม) ว่า อนนฺตํ ไม่มีที่สุด อนนฺตํ ไม่มีที่สุด ดังนี้ เกวลํ อย่างเดียว น หามิได้ ฯ วิฺาณฺ จายตเนปิ แม้ในวิญญาณัญจายตนฌาน เอวํ ก็มีนัยอย่างนี้ ฯ อาจริยา ท่านอาจารย์ทั้งหลาย (วทนฺติ) กล่าวว่า อวตฺวาปิ การที่พระโยคาวจรแม้ไม่กล่าวว่า อนนฺตนฺติ ไม่มีที่สุด ดังนี้แล้ว กาตุํ กระท�ำ มนสิ ในใจว่า อากาโส อากาโส อากาศ อากาศ วิฺาณํ วิฺาณํ วิญญาณ วิญญาณ ดังนี้ วฎฺฏติ ก็ควร ฯ สนฺตเมตํ ปณีตเมตนฺติ ปริกมฺมํ กโรนฺตสฺสาติ ข้อว่า สนฺตเมตํ ปณีตเมตนฺติ ปริกมฺมํ กโรนฺตสฺส ความว่า (โยคาวจรสฺส) เมื่อพระโยคาวจร ภาเวนฺตสฺส เจริญบริกรรมอยู่ว่า เอตํ อรูปฌานที่ ๓ นี้ สนฺตํ สงบ เอตํ อรูปฌานที่ ๓ นี้ ปณีตํ ประณีต อิติ ดังนี้ อภาวมตฺตารมฺมณตาย เพราะอรูปฌานที่ ๓ มีเพียง ความไม่มเี ป็นอารมณ์ ฯ อวเสเสสุ จาติ บทว่า อวเสเสสุ จ ความว่า กมฺมฏฺาเนสุ ในบรรดากัมมัฏฐาน ทสสุ ๑๐ อิติ คือ อฏฺสุ ในกัมมัฏฐาน ๘ พุทธฺ านุสสฺ ติอาทีสุ มีพุทธานุสสติเป็นต้น จ และ สฺ าววตฺถาเนสุ ในอาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ จตุธาตุววัฏฐาน ๑ อวเสเสสุ ที่เหลือ กสิณาทิตึสปฺปนาวหกมฺมฏฺานโต จาก กัมมัฏฐานอันน�ำมาซึ่งอัปปนา ๓๐ มีกสิณเป็นต้น ฯ ปริกมฺมํ กตฺวาติ ข้อว่า


404

ปริเฉทที่ ๙

ปริกมฺมํ กตฺวา ความว่า กตฺวา ท�ำ ปริกมฺมํ บริกรรม วุตตฺ วิธาเนน โดยวิธดี งั กล่าว แล้วเป็นต้นว่า โส ภควา พระผูม้ พี ระภาคเจ้าพระองค์นนั้ อรหํ เป็นพระอรหันต์ อิตปิ ิ แม้เพราะเหตุน้ี สมฺมาสมฺพทุ โธ เป็นผูต้ รัสรูเ้ องโดยชอบ อิตปิ ิ แม้เพราะเหตุนี้ ฯ สาธุกมุคฺคหิเตติ ข้อว่า สาธุกมุคฺคหิเต ความว่า (เมื่อพระโยคาวจร) อุคฺคหิเต ก�ำหนด (ตสฺมึ นิมิตฺเต) นิมิตนั้น สุฏฺฐุ ด้วยดี นินฺนโปณปพฺภารจิตฺตตาวเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็นผู้มีจิตน้อมไป โน้มไป และโอนไป พุทฺธาทิคุเณ ในพุทธคุณ เป็นต้น ฯ ปริกมฺมญฺจ สมาธิยตีติ ข้อว่า ปริกมฺมญฺจ สมาธิยติ ความว่า ปริกมฺมภาวนา บริกรรมภาวนา สมาหิตา ตั้งมั่นดีแล้ว นิปฺผชฺชติ ย่อมส�ำเร็จ ฯ อุปจาโร จ อุปฺปชฺชตีติ ข้อว่า อุปจาโร จ อุปฺปชฺชติ ความว่า จ และ อุปจารสมาธิ อุปจารสมาธิ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น วิกฺขมฺเภนฺโต ข่ม นีวรณาทีนิ นิวรณ์เป็นต้นได้ ฯ จตฺตาฬีสกมฺมฏฺานนโย นัยแห่งกัมมัฏฐาน ๔๐ ประการ นิฏฺโต จบแล้ว ฯ อภิฺาวเสน ปวตฺตมานนฺติ ข้อว่า อภิฺาวเสน ปวตฺตมานํ ความว่า ปวตฺตมานํ เป็นไปอยู่ อภิญฺาสงฺขาตอิทฺธิวิธาทิปญฺจโลกิยาภิญฺ าวเสน ด้วยอ�ำนาจโลกิยอภิญญา ๕ มีอทิ ธิวธิ ญาณทีเ่ รียกว่า อภิญญา เป็นต้น ชานนตฺเถน โดยอรรถว่า เป็นเครือ่ งรู้ อภิ ยิง่ วิเสสโต คือ โดยพิเศษ ฯ อภิฺาปาทก ฯเปฯ วุฏฺหิตฺวาติ ข้อว่า อภิฺาปาทก ฯเปฯ วุฏฺหิตฺวา ความว่า เมื่อพระโยคาวจร ฝึกจิตโดยอาการ ๑๔ อย่าง มีกสิณานุโลมเป็นต้น ท�ำให้ควรแก่อภินิหารเข้า รูปาวจรปัญจมฌานนั่นแล เพราะประกอบด้วยอุเบกขาและเอกัคคตา และเพราะ เหมาะสม คือฌานที่ ๕ นั้น อันมีปฐวีกสิณเป็นต้นเป็นอารมณ์ซึ่งเป็นบท คือเป็น ทีต่ งั้ มัน่ แห่งอภิญญา แล้วออกจากฌานที่ ๕ นัน้ ฯ ข้อว่า อธิฏเฺ ยฺยาทิกมาวชฺชติ วฺ าติ ข้อว่า อธิฏฺเยฺยาทิกมาวชฺชิตฺวา ความว่า อาวชฺชิตฺวา น้อมนึก รูปาทิกํ ถึงรูป เป็นต้น สตาทิกํ ซึ่งมีจ�ำนวนตั้ง ๑๐๐ เป็นอาทิ อธิฏฺาตพฺพํ ที่ตนพึงอธิษฐาน


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

405

วิกพุ พฺ นียํ คือ พึงกระท�ำให้พเิ ศษ ปริกมฺมกาเล ในคราวบริกรรม อิทธฺ วิ ธิ าณสฺส อิทธิวิธญาณ อาวชฺชิตฺวา น้อมนึก สทฺทํ ถึงเสียง ถูลสุขุมเภทํ ซึ่งแยกเป็น เสียงดังและเสียงค่อย ปริกมฺมกาเล ในคราวบริกรรม ทิพพฺ โสตสฺส ทิพโสตญาณ อาวชฺชิตฺวา น้อมนึก จิตฺตํ ถึงจิต สราคาทิเภทํ แยกเป็นจิตที่มีราคะเป็นต้น ปรสฺส ของผูอ้ นื่ หทยคตวณฺณทสฺสเนน ด้วยการเห็นรูปซึง่ อยูใ่ นหทัย ปริกมฺมกาเล ในคราวบริกรรม เจโตปริยาณสฺส เจโตปริยญาณ อาวชฺชิตฺวา น้อมนึก ปุ พฺ เ พนิ วุ ฏ ฺ  กฺ ข นฺ ธํ ถึ ง ขั น ธ์ ที่ ต นเคยอยู ่ อ าศั ย ในกาลก่ อ น จุ ติ จิ ตฺ ต าทิ เ ภทํ แยกเป็นจุติจิตเป็นต้น ปุริมภเว ในภพก่อน ปริกมฺมสมเย ในคราวบริกรรม ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติาณสฺส ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ วา หรือ อาวชฺชิตฺวา น้อมนึกถึง รูปํ รูป โอภาสผริตฏฺานคตํ ทีอ่ ยูใ่ นทีแ่ สงสว่างแผ่ไปถึง ปริกมฺมสมเย ในคราวบริกรรม ทิพฺพจกฺขุสฺส ทิพพจักขุญาณ ฯ ปริกมฺมํ กโรนฺตสฺสาติ ข้อว่า ปริกมฺมํ กโรนฺตสฺส ความว่า กโรนฺตสฺส เมื่อท�ำ ปริกมฺมํ บริกรรมอยู่ อาทินา (นเยน) โดยนัยเป็นต้นว่า อหํ เรา สตํ โหมิ จงเป็น ๑๐๐ คน สหสฺสํ โหมิ เราจงเป็น ๑,๐๐๐ คน อิติ ดังนี้ ฯ รูปาทีสูติ บทว่า รูปาทีสุ อารมฺมเณสุ ได้แก่ ในอารมณ์ทั้งหลาย รูปปาทกชฺฌานสทฺทปรจิตฺตปุพฺเพนิวุฏฺกฺขนฺธาทิเภเทสุ แยกเป็นรูปฌานที่เป็นบาท เสียง จิตของผู้อื่น และขันธ์ที่ตนเคยอยู่อาศัยในกาล ก่อนเป็นต้น ปริกมฺมวิสยภูเตสุ อันเป็นอารมณ์แห่งบริกรรม ฯ หิ ความจริง เอตฺถ ในบรรดาอารมณ์มรี ปู ารมณ์เป็นต้นเหล่านี้ ตาว อันดับแรก อิทฺธิวิธาณสฺส อิทธิวิธญาณ อาลมฺพนานิ มีอารมณ์ ฉ ๖ ประการ อิติ คือ ปาทกชฺฌานํ ฌานที่เป็นบาท ๑ กาโย กาย ๑ รูปาทีนิ อารมณ์ (จตฺตาริ) ๔ รูปาทีนิ มีรปู ารมณ์เป็นต้น รูปาทิอธิฏฺ าเน ในทีเ่ ป็นทีอ่ ธิษฐานรูปารมณ์เป็นอาทิ ฯ ตตฺถ ในบรรดาอารมณ์ ๖ นั้น ปาทกชฺฌานํ ฌานที่เป็นบาท อตีตเมว เป็นอดีต อย่างเดียว กาโย กาย ปจฺจุปฺปนฺโน เป็นปัจจุบัน อิตรํ อารมณ์ ๔ มีรูปารมณ์ เป็นต้นนอกนี้ ปจฺจุปฺปนฺนํ อนาคตํ เป็นปัจจุบัน วา ก็มี อนาคตํ เป็นอนาคต วา ก็มี ฯ ปน ส่วน ทิพฺพโสตสฺส ทิพพโสตญาณ สทฺโทเยว มีเสียงอย่างเดียว


406

ปริเฉทที่ ๙

เป็นอารมณ์ ฯ จ ก็ โส โข เสียงนั้นแล ปจฺจุปฺปนฺโน เป็นปัจจุบัน ฯ มหาอฏฺกถาจริยา อาจารย์ผู้แต่งมหาอรรถกถาทั้งหลาย อาหํสุ กล่าวว่า ปน แต่ ปรจิตฺตวิชานนาย ปรจิตตวิชาญาณ โหติ ย่อมมี จิตฺตเมว เฉพาะจิต ติกาลิกํ ที่เป็นไปใน ๓ กาล ยงฺกิญฺจิ ดวงใดดวงหนึ่ง ปริตฺตาทีสุ บรรดา กามาวจรจิตเป็นต้น ปวตฺตํ ที่เป็นไป อตีเต ในอดีต สตฺตทิวเสสุ ๗ วัน จ และ อนาคเต ในอนาคต สตฺตทิวเสสุ ๗ วัน อารมฺมณํ เป็นอารมณ์ ฯ (๒๕๓๒) ปน ส่วน สงฺคหการา พระอาจารย์ทั้งหลายผู้รจนาสังคหะ วทนฺติ กล่าวว่า (ปรจิตตวิชาญาณนั้น) ขนฺธา มีขันธ์ จตฺตาโร ๔ (เป็นอารมณ์) อิติปิ ดังนี้ก็มี ฯ (ถามว่า) ปน ก็ อสฺสา (ปรจิตฺตวิชานนาย) ปรจิตต-วิชาญาณนั้น สิยา จะพึงมี ปจฺจุปฺปนฺนจิตฺตาลมฺพนตา จิตปัจจุบันเป็นอารมณ์ กถํ ได้อย่างไร จิตฺตํ จิต อาวชฺชนาย ที่อาวัชชนจิต คหิตเมว รับมาแล้วนั่นแหละ อารมฺมณํ โหติ ย่อมเป็นอารมณ์ อิทฺธิจิตฺตสฺส ของจิตที่ประกอบด้วยฤทธิ์ได้ สตฺตทิวเส ๗ วัน (จ) ก็ (อาวชฺชนาย) เมื่ออาวัชชนจิต กตฺวา ท�ำ ปจฺจุปฺปนฺนจิตฺตาลมฺพนํ จิตปัจจุบันให้เป็นอารมณ์แล้ว นิรุชฺฌมานาย ดับลง จิตฺตมฺปิ แม้จิต ปรสฺส ของผู้อ่ืน นิรุชฺฌติ ก็ดับลง ตํสมกาลเมว มีเวลาเท่ากับอาวัชชนจิตนั้นนั่นเอง นนุ มิใช่หรือ อิติ เพราะเหตุนั้น อาวชฺชนชวนานํ อาวัชชนจิตกับชวนจิต น สิยา ไม่พงึ มี เอการมฺมณตา อารมณ์อย่างเดียวกัน กาลวเสน ด้วยอ�ำนาจกาล กถญฺจิ ก็ไฉนเล่า (พระผู้มีพระภาคเจ้า) น อธิปฺเปตา จะไม่ทรงพระประสงค์ ชวนาวชฺชนานํ ชวนจิตกับอาวัชชนจิต อญฺตฺถ ในวิถอี นื่ มคฺคผลวีถโิ ต จากวิถี แห่งมรรคจิตและผลจิต นานารมฺมณตา ว่ามีอารมณ์ต่างกันเล่า อิติ ดังนี้ ฯ ตอบว่า ตาว อันดับแรก อฏฺกถายํ ในอรรถกถา (พระอรรถกถาจารย์) โยชิตา ประกอบความว่า สนฺตติอทฺธานปจฺจุปฺปนฺนาลมฺพนตา (ปรจิตตวิชาญาณนั้น) มีจิตปัจจุบันคือสันตติและอัทธานะเป็นอารมณ์ ฯ ปน ส่วน อานนฺทาจริโย ท่านพระอานันทาจารย์ ภณติ กล่าวว่า (ท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียร) วุฏฺาย ออก ปาทกชฺฌานโต จากฌานที่เป็นบาทแล้ว อกตฺวา ไม่ท�ำ ปจฺจุปฺปนฺนาทิวิภาคํ


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

407

การจ�ำแนกจิตปัจจุบันเป็นต้น กตฺวา ท�ำ ปริกมฺมํ บริกรรม เกวลํ ล้วน ๆ ว่า อหํ เรา ชานามิ จะรู้ จิตฺตํ จิต อิมสฺส ของผู้นี้ อิติ ดังนี้เท่านั้น สมาปชฺชิตฺวา เข้า ปาทกชฺฌานํ ฌานที่เป็นบาท ปุนปิ ซ�้ำอีก วุฏฺาย ออกจากฌานที่เป็น บาทนั้น อาวชฺเชตฺวา แล้วค�ำนึง จิตฺตํ ถึงจิต อวิเสเสน โดยไม่แปลกกันเลย ปฏิวิชฺฌเติ ย่อมรู้แจ้ง จิตฺตํ จิต ปรสฺส ของผู้อื่นได้ เจโตปริยาเณน ด้วย เจโตปริยญาณ ปริกมฺมานมนนฺตรํ ในล�ำดับบริกรรม ติณฺณํ ๓ วา หรือ จตุนฺนํ ๔ ครั้ง รูปํ วิย ทิพฺพจกฺขุนา คล้ายกับผู้ที่เห็นรูปได้ด้วยทิพจักษุ ฉะนั้น ปจฺฉา ภายหลัง กโรติ จึงท�ำ สราคาทิววตฺถานํ การก�ำหนดรู้ถึงจิตที่มีราคะเป็นต้นได้ กามาวจรจิตเฺ ตน ด้วยกามาวจรจิต นีลาทิววตฺถานํ วิย คล้ายกับผูท้ ำ� การก�ำหนดรู้ ถึงสีเขียวเป็นต้นได้ ฉะนั้น จ ก็ ตานิ สพฺพานิ จิตทั้งหลายมีบริกรรมจิตเป็นต้น เหล่านัน้ ทั้งหมด อภิมขุ ีภูตจิตฺตาลมฺพนาเนว มีจติ ที่ปรากฏเฉพาะหน้าเป็นอารมณ์ เท่านั้น จ อนึ่ง าเน ในที่ อนิฏฺเว ไม่ประสงค์นั่นแหละ นตฺถิ ย่อมไม่มี นานาลมฺพตาโทโส ความผิดคือความที่ชวนจิตกับอาวัชชนจิตมีอารมณ์ต่างกัน อภินฺนาการปฺปวตฺติโต เพราะจิตทั้งหลายมีบริกรรมจิตเป็นต้นเป็นไปโดยอาการ ไม่ต่างกัน อิติ ดังนี้ ฯ (จบ ๒๕๓๒) ปุพเฺ พนิวาสานุสสฺ ติาณสฺส ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ปุพเฺ พนิวฏุ ฺ กฺขนฺธา มีขนั ธ์ทตี่ นเคยอยูอ่ าศัยในกาลก่อน นามโคตฺตานิ นามและโคตร ขนฺธปฏิพทฺธานิ ที่เนื่องกับขันธ์ จ และ นิพฺพานํ พระนิพพาน อารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ ปน ส่วน ทิพพฺ จกฺขสุ สฺ ทิพพจักขุญาณ รูปเมว มีรปู ปจฺจปุ ปฺ นฺนํ ซึง่ เป็นปัจจุบนั อย่างเดียว (เป็นอารมณ์) อิติ แล ฯ อยํ นี้ อารมฺมณวิภาโค เป็นการจ�ำแนก อารมณ์ เอเตสํ ของอภิญญาจิตเหล่านี้ ฯ ยถารหมปฺเปตีติ ข้อว่า ยถารหมปฺเปติ อปฺเปติ ได้แก่ ย่อมแน่วแน่ ตํตํปริกมฺมานุรูปโต โดยสมควรแก่บริกรรมนั้น ๆ ฯ อิทานิ บัดนี้ (ท่านพระอนุรทุ ธาจารย์) ทสฺเสตุํ หวังจะแสดง เภทํ ความต่าง อภิฺานํ แห่งอภิญญาทัง้ หลาย เภเทเนว โดยประเภท อารมฺมณานํ แห่งอารมณ์ ทัง้ หลายนัน่ แล อาห จึงกล่าวว่า อิทธฺ วิ ธิ าติอาทึ อิทธฺ วิ ธิ า ดังนีเ้ ป็นต้น ฯ (อภิญญา)


408

ปริเฉทที่ ๙

อิทธฺ วิ ธิ า ชือ่ ว่าอิทธิวธิ า อิทธฺ ปิ เภโท เอติสสฺ าติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ มีประเภท แห่งฤทธิม์ กี ารอธิษฐานเป็นต้น ฯ ทิพพฺ โสตํ ชือ่ ว่า ทิพพโสตะ ทิพพฺ านํ โสตสทิสตาย ทิพฺพวิหารสนฺนิสฺสยตาย ทิพฺพญฺจ ตํ โสตญฺจาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า โสตนั้นด้วย ชื่อว่าเป็นทิพย์ เพราะเป็นเช่นกับโสตะของพวกเทวดาผู้เป็นทิพย์ และเพราะเป็นที่อยู่อาศัยของทิพพวิหารธรรมด้วย ฯ ปรจิตฺตวิชานนา ชื่อว่า ปรจิตตวิชาญาณ ปเรสํ จิตฺตํ วิญฺายติ เอตายาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องอันพระโยคาวจรรู้แจ้งจิตของผู้อื่น ฯ อนุสฺสรณํ การระลึกถึงเนือง ๆ ขนฺธาทีนํ ถึง ขันธ์เ ป็นต้น ปุพฺเพ ในปางก่ อน อตี ตภเวสุ คื อในอดี ตภพ วุฏฺวเสน ด้วยอ�ำนาจขันธ์ที่อยู่ สนฺตาเน ในสันดาน อตฺตโน ของตน จ และ โคจรนิวาสนวเสน ด้วยอ�ำนาจขันธ์อันเป็นที่อยู่อาศัยด้วยอ�ำนาจอารมณ์ ปุ พฺ เ พนิ ว าสานุ สฺ ส ติ ชื่ อ ว่ า ปุ พ เพนิ ว าสานุ ส สติ ญ าณ ฯ ทิ พฺ พ จกฺ ขุ ชื่ อ ว่ า ทิพยจักษุ ทิพฺพญฺจ ตํ จกฺขุญฺจาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า จักษุนั้นด้วย ชื่อว่า เป็นทิพย์ วุตฺตนเยน โดยนัยดังกล่าวแล้วด้วย ฯ ปน แต่ ทิพฺพจกฺขุเมว เฉพาะทิพพจักขุญาณ วุจฺจติ ท่านเรียกว่า จุตูปปาตานนฺติ จุตูปปาตญาณ ฯ ยถากมฺโมปคาณอนาคตํสาณานิปิ แม้ยถากัมโมปคญาณและอนาคตังสญาณ อิชฺฌนฺติ ก็ย่อมส�ำเร็จได้ ทิพฺพจกฺขุวเสเนว ด้วยอ�ำนาจทิพพจักขุญาณนั่นเอง ฯ หิ ความจริง เตสํ ( าณานํ)ญาณเหล่านั้น นตฺถิ ไม่มี ปริกมฺมํ บริกรรม วิสุํ เป็นแผนกหนึ่ง ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า ตตฺถ (ทฺวีสุ าเณสุ) บรรดาญาณทัง้ ๒ นัน้ ตาว อันดับแรก อนาคตํสาณสฺส ส�ำหรับอนาคตังสญาณ ปวตฺตนจิตฺตเจตสิกํ มีจิตและเจตสิกที่เป็นไป อนาคเต ในอนาคต ปรํ ต่อ สตฺตทิวสโต จาก ๗ วันไป จ และ ยงฺกิญฺจิ มีจิตและเจตสิกอย่างใดอย่างหนึ่ง ปวตฺตนกํ ซึ่งเป็นไป ปฏฺาย ตั้งแต่ ทิตุยทิวสโต วันที่ ๒ อารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ ฯ หิ ความจริง ตํ อนาคตังสญาณนั้น วุตฺตํ (ท่านอาจารย์ทั้งหลาย) กล่าวว่า สพฺพฺ ุ ตาณคติกํ มีคติเหมือนสัพพัญญุตญาณ สวิสเย ในอารมณ์ ของตน ฯ ปน ส่วน ยถากมฺโมปคาณสฺส ยถากัมโมปคญาณ เจตนา มีเจตนา


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

409

(จิต) กุสลากุสลสงฺขาตา คือกุศลจิตและอกุศลจิต วา หรือ ขนฺธา ขันธ์ จตฺตาโร ทั้ง ๔ อารมฺมณํ เป็นอารมณ์ ฯ เภโท ความต่างกัน โคจรวเสน ด้วยอ�ำนาจอารมณ์ โคจรเภโท ชื่อว่า โคจรเภท ฯ สมถกมฺมฏฺานนโย นัยแห่งสมถกัมมัฏฐาน นิฏฺโต จบแล้ว ฯ วิปสฺสนา ธรรมชาติทชี่ อื่ ว่าวิปสั สนา อนิจจฺ าทิวเสน วิวธิ ากาเรน ปสฺสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ เห็นสังขารธรรมโดยอาการต่าง ๆ ด้วยอ�ำนาจอนิจจลักษณะ เป็นต้น ภาวนาปญฺา ได้แก่ ภาวนาปัญญา อนิจจฺ านุปสฺสนาทิกา มีอนิจจานุปสั สนา เป็นต้น ฯ กมฺมฏฺฐานํ ฐานะเป็นที่ตั้งแห่งการบ�ำเพ็ญ ตสฺสา วิปัสสนานั้น วา หรือ กมฺมฏฺานํ ฐานะเป็นที่ตั้งแห่งการบ�ำเพ็ญ สาเยว คือวิปัสสนานั้น อิติ เพราะเหตุนั้น วิปสฺสนากมฺมฏฺานํ จึงชื่อว่า วิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ ตสฺมึ ในปัสสนากัมมัฏฐานนั้น ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า วิสุทฺธิสงฺคโห พึงทราบ วิสุทธิสังคหะ สตฺตวิเธน โดยธรรม ๗ อย่าง ในวิปัสสนากัมมัฏฐานนั้น ฯ อนิจฺจลกฺขณํ ที่ช่ือว่าอนิจจลักษณะ อนิจฺจตาเยว ลกฺขณํ ลกฺขิตพฺพํ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ลักษณะคือความเป็นสภาวะไม่เที่ยง อันพระโยคาวจร พึงก�ำหนด วา หรือ ลกฺขิยติ อเนนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องอัน พระโยคาวจรก�ำหนดธรรม ฯ ทุกฺขลกฺขณํ ที่ชื่อว่า ทุกขลักษณะ อุทยวยปฏิ- ปีฬนสงฺขาตทุกฺขภาโวเยว ลกฺขณนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ลักษณะคือความ เป็นทุกข์ กล่าวคือความบีบคั้น คือความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ฯ อภาโว ความไม่มี ปรปริกปฺปิตสฺส แห่งสภาวะที่ผู้อื่นก�ำหนดแล้ว จ และ อตฺตโน แห่งตน อนตฺตตา ชื่อว่าความเป็นอนัตตา ฯ อนตฺตลกฺขณํ ชื่อว่า อนัตตลักษณะ ตเทว ลกฺขณนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ลักษณะคือความเป็นอนัตตานั้น ฯ อนุปสฺสนา การพิจารณาเห็นเนือง ๆ ติณฺณํ ลกฺขณานํ ถึงไตรลักษณ์ อนิจฺจานุปสฺสนาทิกา ชื่อว่า อนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ฯ


410

ปริเฉทที่ ๙

าณํ ญาณ สมฺมสนวสปฺปวตฺตํ ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจพิจารณา ขนฺธาทีนํ ธรรมมีขนั ธ์เป็นต้น กลาปโต โดยความเป็นกลาป สมฺมสนาณํ ชือ่ ว่า สัมมสนญาณ ฯ าณํ ญาณ อุปปฺ าทภงฺคานุปสฺสนาวสปฺปวตฺตํ ทีเ่ ป็นไปด้วยอ�ำนาจพิจารณาเนือง ๆ ถึงความเกิดขึ้นและความดับไป แห่งสังขารทั้งหลาย อุทยพฺพยาณํ ชื่อว่า อุทยัพพยญาณ ฯ าณํ ญาณ มุญฺจิตฺวา ที่ปล่อยวาง อุทยํ ความเกิดขึ้นแล้ว ปวตฺตํ เป็นไป วเย ในความดับ ภงฺคาณํ ชื่อว่า ภังคญาณ ฯ าณํ ญาณ ปวตฺตํ เป็น ที่เป็นไป อนุปสฺสนาวเสน ด้วยอ�ำนาจการพิจารณาเห็นเนือง ๆ สงฺขารานํ ถึงสังขารทั้งหลาย ภยโต โดยความเป็นของน่ากลัว ภยาณํ ชื่อว่า ภยญาณ ฯ าณํ ญาณ ปวตฺตํ ที่เป็นไป เปกฺขนวเสน ด้วยอ�ำนาจเพ่งถึง ทิฏฺ ภยานํ สังขารทัง้ หลายทีเ่ ป็นของน่ากลัว ซึง่ ตนเห็นแล้ว อาทีนวโต โดยความ เป็นโทษ อาทีนวาณํ ชื่อว่า อาทีนวญาณ ฯ าณํ ญาณ นิพฺพินฺทนวสปฺปวตฺตํ ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจความเบื่อหน่าย ทิฏฺาทีนเวสุ ในสังขารทั้งหลาย ที่มีโทษ อันตนเห็นแล้ว นิพพฺ ทิ าาณํ ชือ่ ว่า นิพพิทาญาณ ฯ าณํ ญาณ ปวตฺตํ ทีเ่ ป็นไป นิพพฺ นิ ทฺ ติ วฺ า สงฺขาเรหิ มุญจฺ ติ กุ มฺยตาวเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็นผูเ้ บือ่ หน่ายแล้ว ต้ อ งการจะหลุดพ้น จากสังขารธรรมทั้ ง หลาย มุ ฺ จิ ตุก มฺ ยตาาณํ ชื่ อ ว่ า มุญจิตกุ มั ยตาญาณ ฯ าณํ ญาณ ปริคคฺ หวสปฺปวตฺตํ ทีเ่ ป็นไปด้วยอ�ำนาจก�ำหนด สงฺขารานํ สังขารทั้งหลาย ปุน ซ�้ำอีก อุปายสมฺปฏิปาทนตฺถํ เพื่อจะให้ถึงอุบาย มุญจฺ นสฺส แห่งการหลุดพ้น ปฏิสงฺขาราณํ ชือ่ ว่า ปฏิสงั ขาญาณ ฯ าณํ ญาณ อชฺฌุเปกฺขิตฺวา ที่เพ่งเฉย ภยนนฺทิวิวชฺชนวเสน ด้วยอ�ำนาจเว้นความกลัว และ ความเพลิดเพลิน ปฏิสงฺขาตธมฺเมสุ ในธรรมทีต่ นพิจารณาแล้วทัง้ หลายได้เด็ดขาด ปวตฺตํ เป็นไป สงฺขารุเปกฺขาาณํ ชื่อว่า สังขารุเปกขาญาณ ฯ าณํ ญาณ อนุกลู ํ ทีค่ ล้อยตาม กิจจฺ นิปผฺ ตฺตยิ า ความส�ำเร็จกิจ นวนฺนํ แห่งวิปสั สนาญาณ ๙ ปุริมานํ ข้างต้น จ และ โพธิปกฺขิยธมฺมานํ โพธิปักขิยธรรม สตฺตตฺตึสาย ๓๗ ประการ อุปริ สูงขึ้นไป อนุโลมาณํ ชื่อว่า อนุโลมญาณ ฯ


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

411

สุฺโต สภาวธรรม ชื่อว่าสุญญตะ อตฺตสุฺตาย เพราะว่างจากตน วิ โ มกฺ โ ข สภาวะที่ ชื่ อ ว่ า วิ โ มกข์ วิ มุ ญฺ จ นตฺ เ ถน เพราะอรรถว่ า หลุ ด พ้ น สญฺโ ชนาทีหิ จากสังโยชน์เป็นต้น ฯ อนิมิตฺตโต สภาวะที่ชื่อว่า อนิมิตตะ อภาวโต เพราะไม่มี นิจฺจนิมิตฺตาทิโน นิจจนิมิตเป็นต้น ฯ อปฺปณิหิโต สภาวะ ที่ชื่อว่า อัปปณิหิตะ อภาวโต เพราะไม่มี ปณิหิตสฺส สิ่งที่สัตว์ปรารถนา ตณฺหา ปณิธิสฺส คือ กิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่นคือตัณหา ฯ ปาฏิโมกฺโข ธรรมชาตที่ชื่อว่า ปาฏิโมกข์ โย นํ ปาติ ตํ ปาตึ โมกฺเขติ อปายาทีหิ ทุกฺเขหีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังผู้รักษาให้พ้นจากทุกข์มีอบาย เป็นต้น ฯ สีลํ ชื่อว่า ศีล สโมธาโนปธานตฺเถน เพราะอรรถว่าเป็นที่ประชุมและ เป็นเครื่องรองรับ จ และ สํวโร ชื่อว่า สังวร สํวรณโต เพราะเป็นเครื่องส�ำรวม กายทุจฺจริตาทีหิ จากทุจจริตมีกายทุจจริตเป็นต้น ตเทว คือปาฏิโมกข์นั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ปาฏิโมกฺขสํวรสีลํ จึงชื่อว่า ปาฏิโมกขสังวรศีล ฯ สีลํ ศีล ปวตฺตํ ที่เป็นไป สํวรณวเสน ด้วยอ�ำนาจความส�ำรวม อินฺทฺริยานํ อินทรีย์ทั้งหลาย มนจฺฉฏฺานํ มีมนินทรีย์เป็นที่ ๖ รูปาทีสุ ในรูปารมณ์เป็นต้น อินฺทฺริยสํวรสีลํ ชื่อว่า อินทรียสังวรศีล ฯ สีลํ ศีล ปริสุทฺธิวสปฺปวตฺตํ ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจ ความบริสุทธิ์ อาชีวสฺส แห่งอาชีวะ มิจฺฉาชีววิวชฺชเนน โดยเว้นจากมิจฉาชีพ ได้เด็ดขาด อาชีวปาริสุทฺธิสีลํ ชื่อว่า อาชีวปาริสุทธิศีล ฯ สีลํ ศีล สนฺนิสฺสิตํ ที่อาศัย ปจฺจเย ปัจจัยทั้งหลาย ปจฺจเวกฺขณสีลํ คือ ศีลเป็นเครื่องพิจารณา เตสํ ปั จ จั ย ทั้ ง หลายเหล่ า นั้ น อิ ท มตฺ ถิ ก ตาย โดยความที่ ป ั จ จั ย เหล่ า นั้ น มี อาชีวปาริสุทธิศีลเป็นประโยชน์ ปจฺจยสนฺนิสฺสิตสีลํ ชื่อว่า ปัจจยสันนิสสิตศีล ฯ จตุปาริสุทฺธิสีลํ ชื่อว่าปาริสุทธิศีล ๔ จตุพฺพิธตฺตา เพราะมี ๔ ประการ จ และ ปริสุทฺธตฺตา เพราะบริสุทธิ์ได้ เทสนาสํวรปริเยฏฺปจฺจเวกฺขณวเสน ด้วยอ�ำนาจ การแสดง ความส�ำรวม การแสวงหา และการพิจารณา ฯ สมาธิ สมาธิ จิตฺตวิสุทฺธิ นาม ชื่อว่าจิตตวิสุทธิ จิตฺตสฺส วิโสธนโต เพราะเป็นเครือ่ งช�ำระจิตให้หมดจด วินวี รณภาวาปาทนวเสน ด้วยอ�ำนาจการยังจิต


412

ปริเฉทที่ ๙

ให้ถึงความเป็นธรรมชาตปราศจากนิวรณ์ วา หรือ กตฺวา เพราะท�ำอธิบายว่า นิทฺทิฏฺตฺตา เพราะทรงแสดง จิตฺตสีเสน โดยยกจิตขึ้นเป็นประธาน จ และ วิสทุ ธฺ ตฺตา เพราะเป็นธรรมชาติบริสทุ ธิ์ ฯ ปริคคฺ โห การก�ำหนด ปริจฉฺ ชิ ชฺ คหณํ คือ การก�ำหนดถือเอา ปจฺจตฺตลกฺขณาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจลักษณะเฉพาะตน เป็นต้น ลกฺขณาทีนํ ถึงลักษณะเป็นอาทิ วุตฺตานํ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ เอวํ อย่างนี้ว่า สามฺ สภาโว สภาวะที่เสมอกัน ธมฺมานํ แห่งธรรมทั้งหลาย ลกฺขณํ ชื่อว่าลักษณะ กิจฺจสมฺปตฺติโย หน้าที่ และสมบัติ รโส ชื่อว่ากิจ อุปฏฺานากาโร อาการทีป่ รากฏ ผลฺ จ และผล ปจฺจปุ ฏฺานํ ชือ่ ว่าปัจจุปฏั ฐาน วิตฺถารโต โดยพิสดาร อาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า ผสฺโส ผัสสะ ผุสนลกฺขโณ มีลักษณะถูกต้องอารมณ์ ปวี ปฐวีธาตุ กกฺขลลกฺขณา มีลักษณะแข้นแข็ง จ และ สงฺเขปโต โดยย่อ (นเยน) โดยนัย อาทินา เป็นต้นว่า นามํ นาม นมนลกฺขณํ มีลักษณะน้อมไป รูปํ รูป รุปฺปนลกฺขณํ มีลักษณะเปลี่ยนแปร อิติ ดังนี้ ทุกฺขสจฺจววตฺถานํ ได้แก่ การก�ำหนดทุกขสัจ ทิฏฺวิ ิสุทฺธิ นาม ชื่อว่า ทิฏฐิวิสุทธิ กตฺวา เพราะท�ำอธิบายว่า ทิฏฺ ิ ชื่อว่าทิฏฐิ ทสฺสนโต เพราะเห็นว่า อตฺตา นาม ชื่อว่าตน อฺ โ อื่น นามรูปโต จากนามและรูป นตฺถิ ย่อมไม่มี อิติ ดังนี้ จ และ วิสุทฺธิ ชื่อว่าวิสุทธิ อตฺตทิฏฺมลวิโสธนโต เพราะช�ำระมลทิน คือความเห็นว่าเป็นตนได้ ฯ ปจฺจยปริคฺคโหติ บทว่า ปจฺจยปริคฺคโห เป็นต้น ความว่า ปริคฺคหณํ การก�ำหนด กมฺมาทิปจฺจยสฺส ปัจจัยมีกรรมปัจจัยเป็นต้น ปจฺจกฺขาทิสิทฺธสฺส ที่ส�ำเร็จโดยประจักษ์เป็นอาทิ นามรูปปฺปวตฺติยา แห่งความเป็นไปแห่งนามรูป อทฺธาสุ ในอัทธา ตีสุ ๓ สาธารณาสาธารณวเสน ด้วยอ�ำนาจทีท่ วั่ ไป และไม่ทวั่ ไป เอวํ อย่างนี้ว่า ตาว อันดับแรก นามรูปํ นามรูป นิพฺพตฺตติ ย่อมบังเกิด ปฏิสนฺธยิ ํ ในปฏิสนธิกาล อวิชชฺ าตณฺหาอุปาทานกมฺมเหตุวเสน ด้วยอ�ำนาจเหตุ คืออวิชชา ตัณหา อุปทาน กรรม รูปํ รูป (ย่อมบังเกิด) ปวตฺติยํ ในปวัตติกาล กมฺมจิตฺตอุตุอาหารปจฺจยวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจัยคือกรรม จิต อุตุ และอาหาร


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

413

จ อนึ่ง นามํ นาม (ย่อมบังเกิด) จกฺขุรูปาทินิสฺสยารมฺมณาทิปจฺจยวเสน ด้วยอ�ำนาจจักขุปสาทรูปและรูปารมณ์เป็นต้น และปัจจัยมีนิสสยปัจจัยและ อารัมมณปัจจัยเป็นอาทิ จ แต่ วิเสสโต เมื่อว่าโดยพิเศษ กุสลํ กุศลจิต (ย่อมเกิดขึ้น) โยนิโสมนสการาทิจตุกฺกสมฺปตฺติยา ด้วยความถึงพร้อมแห่งเหตุ ๔ ประการมีโยนิโสมนสิการเป็นต้น อกุสลํ อกุศลจิต (ย่อมเกิดขึน้ ) ตพฺพปิ ริยาเยน โดยปริยายอันตรงกันข้ามจากกุศลจิตนั้น วิปากโก วิบากจิต (ย่อมเกิดขึ้น) กุ ส ลากุ ส ลวเสน ด้ ว ยอ� ำ นาจกุ ศ ลจิ ต และอกุ ศ ลจิ ต อาวชฺ ช นํ อาวั ช ชนจิ ต (ย่อมเกิดขึ้น) ภวงฺคาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจภวังคจิตเป็นต้น จ และ กฺริยาชวนํ กิริยาชวนจิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ขีณาสวสนฺตานวเสน ด้วยอ�ำนาจสันดาน ของพระขีณาสพ อิติ ดังนี้ สมุทยสจฺจววตฺถานํ ได้แก่ การก�ำหนด สมุทยสัจ กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ นาม ชื่อว่า กังขาวิตรณวิสุทธิ กตฺวา เพราะท�ำอธิบายว่า วิสุทฺธิ นาม ชื่อว่าวิสุทธิ อเหตุกวิสมเหตุทิฏฺมลวิโสธนโต เพราะเป็นเครื่อง ช�ำระมลทินคือทิฏฐิอันหาเหตุมิได้และมีเหตุไม่สม�่ำเสมอกัน และ กงฺขาวิตรณา ชือ่ ว่า กังขาวิตรณะ วิตรณโต เพราะข้ามพ้น อติกกฺ มนโต คือก้าวล่วง กงฺขาย ความสงสัย โสฬสวิธาย ๑๖ อย่าง อาทิกาย มีอาทิวา่ อตีตมทฺธานํ ในอดีตกาล นานมาแล้ว อหํ เรา อโหสึ ได้มีแล้ว นุ โข หรือหนอแล อิติ ดังนี้ จ และ กงฺขาย ความสงสัย อฏฺวิธาย ๘ อย่าง อาทิกาย มีอาทิว่า กงฺขา ความสงสัย สตฺถริ ในพระศาสดา อิติ ดังนี้ ฯ ตโต ปรํ ต่อจากนั้น ปจฺจยปริคฺคหโต คือ ต่อจากการก�ำหนดปัจจัยไป โยคิโน การที่พระโยคาวจร อารพฺภ ผู้ปรารภ ขนฺธาทินยํ นัยมีขันธ์เป็นต้น อารพฺภ คือ ปรารภ ขนฺธาทินยํ นัยมีขันธ์เป็นต้น อาคตํ ซึ่งมาแล้ว ปญฺจกฺ- ขนฺ ธ ฉทฺ ว ารฉฬารมฺ ม ณฉทฺ ว ารปฺ ป วตฺ ต ธมฺ ม าทิ ว เสน ด้ ว ยอ� ำ นาจขั น ธ์ ๕ ทวาร ๖ อารมณ์ ๖ และธรรมที่เป็นไปในทวาร ๖ เป็นต้น นามรูเปสุ ในนาม และรูป อตีตาทิเภทภินฺเนสุ อันต่างด้วยประเภทแห่งนามรูปที่เป็นอดีตเป็นต้น ติภูมิปริยาปนฺเนสุ ซึ่งนับเนื่องในภูมิ ๓ โลกุตฺตรวชฺเชสุ เว้นโลกุตตระเสีย


414

ปริเฉทที่ ๙

ปริคคฺ หิเตสุ ทีต่ นก�ำหนดแล้ว ตถา อย่างนัน้ ปริคคฺ หิเตสุ คือ ทีต่ นก�ำหนดแล้ว ปจฺจตฺตลกฺขณาทิววตฺถานวเสน ด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดลักษณะเฉพาะตนเป็นต้น จ และ ปจฺจยววตฺถานวเสน ด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดปัจจัย สงฺขิปิตฺวา ย่อเข้า กลาปวเสน ด้วยอ�ำนาจกลาป ปิณฑฺ วเสน คือ ด้วยอ�ำนาจหมวด สมฺมสนฺตสฺส แล้วจึงพิจารณา ปริมชฺชนฺตสฺส คือ ใคร่ครวญ ลกฺขณตฺตยํ ถึงไตรลักษณ์ สมฺมสนาเณน ด้วย สัมมสนญาน กลาปสมฺมสนาเณน คือ ด้วยญาณเป็นเครื่องพิจารณากลาป หุตวฺ าอภาวอุทยพฺพยปฏิปฬี นอวสวตฺตนาการสงฺขาตลกฺขณตฺตยสมฺมสนวสปฺปวตฺเตน อันเป็นไปด้วยอ�ำนาจการพิจารณาไตรลักษณ์ กล่าวคืออาการที่มีแล้วไม่มี อาการ ที่บีบคั้น คือความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป และอาการที่ไม่เป็นไปในอ�ำนาจ อตีตาทิอทฺธานวเสน ด้วยอ�ำนาจอัทธานะทีเ่ ป็นอดีตเป็นต้น อตีตาทิสนฺตานวเสน ด้วยอ�ำนาจความสืบต่อที่เป็นอดีตเป็นต้น จ และ อตีตาทิกฺขณวเสน ด้วยอ�ำนาจ ขณะที่เป็นอดีตเป็นต้น อาทินา โดยนัยว่า ยํ รูปํ รูปใด ชาตํ ที่เกิด อตีเต ในอดีต ตํ รูปนั้น นิรุทฺธํ ดับไปแล้ว อตีเตเยว ในอดีตนั่นเอง ยํ รูปใด ภวิสฺสติ จักมี อนาคเต ในอนาคต รูปํ แม้รูป ตมฺปิ นั้น นิรุชฺฌิสฺสติ ก็จักดับ ตตฺเถว ไปในอนาคตนั่นเอง ยํ รูปใด ปจฺจุปฺปนฺนํ เป็นปัจจุบัน ตํ รูปนั้น อปฺปตฺวา ยังไม่ถึงอนาคต นิรุชฺฌิสฺสติ จักดับ เอตฺเถว ในปัจจุบันนี้เอง อชฺฌตฺตพหิทฺธาสุขุมโอฬาริกหีนปณีตาทโย รูปภายใน รูปภายนอก รูปละเอียด รูปหยาบ รูปเลว และรูปประณีตเป็นต้น ตถา ก็เหมือนกัน ตสฺมา เพราะฉะนั้น (รูปํ) รูป อนิจฺจํ ชื่อว่าไม่เที่ยง น อิจฺฉิตพฺพํ คือ ใคร ๆ ไม่พึงปรารถนา อนุปคนฺตพฺพํ ได้แก่ ไม่พึงยึดมั่น อตฺตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นอัตตาเป็นต้น ขยตฺเถน เพราะอรรถว่า สิ้นไป ขยคมนโต คือเพราะถึงความสิ้นไป ทุกฺขํ ชื่อว่าเป็นทุกข์ ภยตฺเถน เพราะอรรถว่าเป็นสิ่งน่ากลัว ภยกรณโต คือเพราะกระท�ำความน่ากลัว อนตฺตา ชื่อว่าเป็นอนัตตา อสารกตฺเถน เพราะอรรถว่าไม่มีแก่นสาร อตฺตสาราทิอภาเวน คือ เพราะไม่มีสาระในตนเป็นอาทิ อิติ ดังนี้ จ และ (นเยน) โดยนัย อาทินา เป็นต้นว่า จกฺขุํ จักษุ อนิจฺจํ ไม่เที่ยง ทุกฺขํ เป็นทุกข์ อนตฺตา เป็นอนัตตา ฯลฯ


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

415

มโน รูปํ ฯเปฯ ธมฺมา จกฺขุวิญฺ าณํ ฯเปฯ มโนวิญฺาณํ อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตาติ มนะ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ รูปไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ ธรรมทัง้ หลายไม่เทีย่ ง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ จักขุวญ ิ ญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ มโนวิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ดั ง นี้ ปน ก็ สมฺ ม สนาเณ เมื่ อ สั ม มสนญาณ อุ ปฺ ป นฺ เ น เกิ ด ขึ้ น แล้ ว สมนุปสฺสนฺตสฺส พิจารณาเนือง ๆ อุทยพฺพยยํ ถึงความเกิดขึ้นและความดับไป สงฺขาเรสุ ในสังขาร เตเสฺวว เหล่านั้นนั่นแล ปุน ซ�้ำอีก อุทยพฺพยาเณน ด้วยอุทยัพยญาณ สมปฺ าสากาเรหิ โดยอาการ ๕๐ ถ้วน ทสทสอุทยพฺพยทสฺ ส นวเสน ด้ ว ยอ� ำ นาจเห็ น ความเกิ ด ขึ้ น และความเสื่ อ มไปขั น ธ์ ล ะ ๑๐ อิติ คือ อุทยํ ความเกิดขึ้น ปฺ จธา โดยอาการ ๕ อย่าง วยํ ความเสื่อมไป ปฺ จธา โดยอาการ ๕ อย่าง อิติ คือ ปจฺจยวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจัย จตุธา ๔ อย่าง ขณวเสน ด้วยอ�ำนาจขณะ เอกธา ๑ อย่าง ขนฺเธ ในขันธ์ เอเกกสฺมึ แต่ละขันธ์ อิติ คือ รูปกฺขนฺเธ ในรูปขันธ์ (เห็นความเกิดขึ้นและความดับไป) ทสฺสเนน โดยเห็น นิพฺพตฺติลกฺขณมตฺตสฺส เพียงลักษณะการบังเกิด จ และ วิ ป ริ ณ ามลกฺ ข ณมตฺ ต สฺ ส เพี ย งลั ก ษณะที่ เ ปลี่ ย นแปร ปจฺ จุ ปฺ ป นฺ น กฺ ข เณสุ ในขณะปัจจุบนั อนามสิตวฺ า ไม่คำ� นึงถึง ปจฺจเย ปัจจัยทัง้ หลาย ปจฺจยสมุทยวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจัยเกิด จ และ ปจฺจยนิโรธวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจัยดับ จ และ ขณวเสน ด้วยอ�ำนาจขณะ เอวํ อย่างนี้ว่า อวิชฺชาสมุทยา เพราะอวิชชาเกิด รูปสมุทโย รูปจึงเกิด ตณฺหากมฺมอาหารสมุทยา เพราะตัณหา กรรม และอาหารเกิด รูปสมุทโย รูปจึงเกิด จ อนึง่ อวิชชฺ านิโรธา เพราะอวิชชาดับ รูปนิโรโธ รูปจึงดับ ตณฺหากมฺมอาหารนิโรธา เพราะตัณหา กรรม และอาหารดับ รูปนิโรโธ รูปจึงดับ อิติ ดังนี้ เวทนาสญฺาสงฺขารกฺขนฺเธสุปิ แม้ในเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และ สังขารขันธ์ อปเนตฺวา ก็น�ำ อาหารํ อาหารออก ปกฺขิปิตฺวา ผสฺสํ แล้วใส่ผัสสะ เข้าไป เอวํ อย่างนีว้ า่ ผสฺสสมุทยา เพราะผัสสะเกิด ผสฺสนิโรธา เพราะผัสสะดับ อิติ ดังนี้ (เห็นความเกิดขึ้นและความดับไป โดยเห็นเพียงลักษณะการบังเกิด


416

ปริเฉทที่ ๙

และเพียงลักษณะที่เปลี่ยนแปรในขณะปัจจุบัน ไม่ค�ำนึงถึงปัจจัยทั้งหลาย ด้วย อ�ำนาจปัจจัยเกิด และด้วยอ�ำนาจปัจจัยดับ และด้วยอ�ำนาจขณะ) วิฺานกฺขนฺเธ ในวิญญาณขันธ์ นามรูปํ ปกฺขปิ ติ วฺ า ใส่นามรูปเข้าไป เอวํ อย่างนีว้ า่ นามรูปสมุทยา เพราะนามรูปเกิด นามรูปนิโรธา เพราะนามรูปดับ อิติ ดังนี้ (เห็นความเกิดขึ้น และความดับไป โดยเห็นเพียงลักษณะการบังเกิด และเพียงลักษณะที่เปลี่ยนแปร ในขณะปัจจุบนั ไม่คำ� นึงถึงปัจจัยทัง้ หลาย ด้วยอ�ำนาจปัจจัยเกิด และด้วยอ�ำนาจปัจจัยดับ และด้วยอ�ำนาจขณะ) อารทฺธวิปสฺสกสฺส ปรารภวิปสั สนาแล้ว (๒๕๑๐ การทีท่ า่ น ผูบ้ ำ� เพ็ญเพียรปรารภวิปสั สนาแล้ว) วิปสฺสนูปกิเลเสสุ เมือ่ วิปสั สนูปกิเลส ทสสุ ๑๐ โอภาสาทีสุ มีโอภาสเป็นต้น อิติ คือ โอภาโส โอภาส นิจฺฉรณาโลกสงฺขาโต กล่าวคือแสงสว่างที่เปล่งออก สรีรโต จากสรีระ วิปสฺสนาจิตฺตสมุฏฺาโน มี วิปัสสนาจิตเป็นสมุฏฐาน ๑ ปีติ ปีติ ขุทฺทกาทิปญฺจวิธา ๕ อย่าง มีขุททกาปีติ เป็นต้น วิปสฺสนาจิตฺตสหชาตา อันเกิดร่วมกับวิปัสสนาจิต ๑ ปสฺสทฺธิ ปัสสัทธิ ทุวิธา ๒ อย่าง กายจิตฺตวเสน ด้วยสามารถแห่งกายปัสสัทธิและจิตตปัสสัทธิ กายจิตตฺ ทรถวูปสมนลกฺขณา อันมีลกั ษณะสงบระงับความกระวนกระวาย ทางกาย และทางจิต ตถา ซึ่งเป็นอย่างนั้น ๑ อธิโมกฺโข อธิโมกข์ พลวสทฺธินฺทฺริยสงฺขาโต กล่าวคือสัทธินทรีย์ ทีม่ กี ำ� ลัง ๑ ปคฺคโห ปัคคหะ วิรยิ สมฺโพชฺฌงฺคสงฺขาโต กล่าวคือ วิริยสัมโพชฌงค์ สมฺมปฺปธานกิจฺจสาธโก อันยังกิจแห่งสัมมัปปธานให้ส�ำเร็จ ๑ สุขํ สุข อติปณีตํ อันประณีตยิ่งนัก ๑ าณํ ญาณ ติลกฺขณวิปสฺสนาภูตํ ที่ เ ป็ น วิ ป ั ส สนาในพระไตรลั ก ษณ์ อิ นฺ ท วิ ส ฏฺ  วชิ ร สทิ สํ เช่ น กั บ ด้ ว ยวชิ ร ะที่ พระอินทร์ กวัดแกว่งไป ๑ สติ สติ อุปฏฺานสงฺขาตา อันท่านเรียกว่าอุปัฏฐาน จิรกตาทิอนุสสฺ รณสมตฺถา สามารถระลึกถึงกิจทีต่ นท�ำไว้นานเป็นต้นได้ สติปฏฺานภูตา อันเป็นสติปัฏฐาน ๑ อุเปกฺขา อุเบกขา ทุวิธาปิ ทั้ง ๒ คือ ตตฺรมชฺฌตฺตุเปกขา ตัตรมัชฌัตตุเบกขา อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคภูตา อันเป็นอุเบกขาสัมโพชฌงค์ สมฺมปฺปวตฺตวิปสฺสนาสหชาตา ทีเ่ กิดร่วมกันกับวิปสั สนาอันเป็นไปโดยชอบ จ และ อาวชฺชนุเปกฺขา อาวัชชนุเปกขา มโนทฺวาเร ในมโนทวาร ๑ วิปสฺสนูปกิเลเสสุ


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

417

เมื่อวิปัสสนูปกิเลสทั้ง นวสุ ๙ โอภาสาทีสุ มีโอภาสเป็นต้น อิติ ดังกล่าวนี้ อุปปฺ นฺเนสุ บังเกิดขึน้ แล้ว รูปนิกนฺติ ความติดใจในรูป สุขมุ ตณฺหา อันเป็นตัณหา อย่างละเอียด กุรมุ านา กระท�ำ อาลยํ ความอาลัย ตตฺถ ในโอภาสเป็นต้นเหล่านัน้ นเยน โดยนัย อาทินา มีอาทิวา่ โอภาโส โอภาส เอวรูโป เช่นนี้ น อุปปฺ นฺนปุพโฺ พ ไม่เคยบังเกิด เม แก่เรา ปุพฺเพ ในกาลก่อน อิโต แต่กาลนี้เลย อิติ ดังนี้ ๑ อุปฺปนฺเนสุ เกิดขึ้นแล้ว อคฺคเหตฺวา ไม่ถือเอาว่า โอภาสาทโย โอภาสเป็นต้น เอวรูปา เช่นนี้ น อุปฺปนฺนปุพฺพา ไม่เคยบังเกิดแล้ว เม แก่เราเลย วต หนอ อหํ เรา มคฺคปฺปตฺโตสฺมิ เป็นผูบ้ รรลุมรรค ผลปฺปตฺโตสฺมิ เป็นผูบ้ รรลุผล อทฺธา แน่นอนแล้ว อิติ ดังนีแ้ ล้ว ววตฺถานํ ก�ำหนด นิจฉฺ ยนํ คือ ตัดสิน มคฺคลกฺขณสฺส ลักษะทางได้ เอวํ อย่างนีว้ า่ โอภาสาทโย โอภาสเป็นต้น อิเม เหล่านี้ น มคฺโค ไม่ใช่ทาง ตณฺหามานวตฺถุตาย เพราะเป็นที่ตั้งแห่งตัณหาและมานะ อถโข ที่แท้ วิปสฺสนาอุปกิเลสา เอว เป็นอุปกิเลสแห่งวิปสั สนาเท่านัน้ ปน ส่วน วิปสฺสนาาณํ วิปสั สนาญาณ วีถปิ ฏิปนฺนํ อันด�ำเนินไปสูว่ ถิ ี ตพฺพนิ มิ ตุ ตฺ ํ อันพ้นขาดจากอุปกิเลส แห่งวิปสั สนานัน้ มคฺโค เป็นทาง อิติ ดังนี้ นาม ชือ่ ว่า มคฺคามคฺคาณทสฺสนวิสทุ ธฺ ิ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธิ ชานนโต เพราะรู้ ทสฺสนโต เพราะเห็น มคฺคามคฺคสฺส ทางและมิใช่ทาง จ และ อมคฺเค มคฺคสญฺาวิโสธนโต เพราะยังความส�ำคัญว่า ทางในสิ่งที่มิใช่ทางให้บริสุทธิ์ได้ ฯ (จบ ๒๕๑๐) ยาวานุโลมาติ บทว่า ยาวานุโลมา ยาว ได้แก่ จนถึง สจฺจานุโลมาณา สัจจานุโลมญาณ ฯ นว วิปสฺสนาาณานีติ ข้อว่า นว วิปสฺสนาาณานิ าณานิ ได้แก่ ญาณ นว ๙ อิมานิ เหล่านี้ อิติ คือ าณํ ญาณ ชานนกํ ที่รู้ อุทยํ ความเกิดขึ้น จ และ วยํ ความดับไป ขนฺธานํ แห่งขันธ์ทั้งหลาย อุทยพฺพยาณํ ชื่อว่า อุทยัพพยญาณ าณํ ญาณ มุฺจิตฺวา ที่ปล่อย อุทยํ ความเกิดขึ้น ภงฺคมตฺตานุเปกฺขํ แล้วเพ่งถึงเพียงความดับอย่างเดียว ภงฺคาณํ ชือ่ ว่า ภังคญาณ าณํ ญาณ ภงฺควเสน ภายิตพฺพาการานุเปกฺขกํ ทีเ่ พ่งถึงขันธ์ทงั้ หลายทีป่ รากฏ ด้วยอ�ำนาจความแตกสลายโดยอาการน่าสะพึงกลัว อุปฏฺตานํ สีหาทีนํ วิย


418

ปริเฉทที่ ๙

ดุจคนผู้มองดูสัตว์ร้ายมีราชสีห์เป็นต้น โดยอาการน่าสะพึงกลัว ฉะนั้น ภยาณํ ชื่อว่า ภยญาณ ตถานุเปกฺขิตานํ อาทีนวาการานุเปกฺขกํ ญาณที่เพ่งถึงขันธ์ ทัง้ หลาย ทีเ่ ล็งเห็นแล้วเช่นนัน้ ว่ามีอาการเป็นโทษ อาทิตตฺ ฆรสฺส วิย ดุจชนผูม้ องดู เรือนทีถ่ กู ไฟไหม้แล้วว่า มีอาการเป็นโทษ ฉะนัน้ อาทีนวญาณํ ชือ่ ว่า อาทีนวญาณ าณํ ญาณ ปวตฺตํ ที่เป็นไป นิพฺพินฺทนวเสน ด้วยอ�ำนาจ ความเบื่อหน่าย ทิฏฺ าทีนเวสุ ในสังขารทัง้ หลายทีม่ โี ทษอันตนเห็นแล้ว นิพเฺ พทาณํ นิพเพทญาณ ปวตฺตํ ญาณที่เป็นไป มุญฺจิตุกมฺยตาวเสน ด้วยอ�ำนาจความต้องการจะพ้น เตภูมิกธมฺเมหิ จากธรรมอันเป็นไปในภูมิ ๓ เตหิ เตหิ เหล่านั้น ๆ ชาลาทิโต มจฺฉาทิโก วิย ดุจปลาเป็นต้นต้องการจะพ้นจากข่ายเป็นต้น ฉะนั้น มุญฺจิตุก- มฺยตาาณํ ชื่อว่า มุญจิตุกัมมยตาญาณ าณ ญาณ สมฺมสนวสปวตฺตํ ทีเ่ ป็นไปด้วยอ�ำนาจการพิจารณา ปุนปฺปนุ ํ บ่อย ๆ ทิฏฺ าทีนเวสุ แม้ในสังขารธรรม ทั้งหลายที่มีโทษอันตนเห็นแล้ว มุ จนุปายสมฺปาทนตฺถํ เพื่อจะได้ลุถึงอุบาย แห่ ง ความหลุ ด พ้ น สมุ ทฺ ท สกุ ณี วิ ย เปรี ย บเหมื อ นนกทะเล ฉะนั้ น ปฏิ ส งฺ ข านุ ป สฺ ส นาาณํ ชื่ อ ว่ า ปฏิ สั ง ขานุ ป ั ส สนาญาณ าณ ญาณ อุเปกฺขนาการปฺปวตฺตํ ที่เป็นไปโดยอาการวางเฉย สงฺขาเรสุ ในสังขารธรรม เตสุ เหล่านั้น ทิฏฺาทีนเวสุ มีโทษอันตนเห็นแล้ว จตฺตภริโย ปุริโส วิย ดุจบุรษุ ผูห้ ย่าขาดจากภรรยา ฉะนัน้ สงฺขารุเปกฺขาาณํ ชือ่ ว่า สังขารุเปกขาญาณ าณํ ญาณ นวมํ ที่ ๙ สจฺจานุโลมิกาณสงฺขาตํ กล่าวคือสัจจานุโลมิกญาณ ปวตฺตํ ซึ่งเป็นไป ปุพฺเพ ในกาลก่อน โคตฺรภูโต แต่โคตรภูญาณ มคฺควีถิยํ ในมรรควิถี อนุโลมโต โดยอนุโลม วิปสฺสนาาณานํ แก่วิปัสสนาญาณ อฏฺนฺนํ ๘ ปวตฺตานํ ที่เป็นไปแล้ว เหฏฺา ข้างต้น อนิจฺจาทิลกฺขณวิสยตาย โดยมีลกั ษณะอนิจจลักษณะเป็นต้นเป็นอารมณ์ จ และ สตฺตตึสโพธิปกฺขยิ ธมฺมานํ แก่โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ อธิคนฺตพฺพานํ อันพระโยคาวจรจะพึงบรรลุ มคฺคกฺขเณ ในขณะแห่งมรรคจิต อุทธฺ ํ เบือ้ งสูง อนุโลมาณํ ชือ่ ว่า อนุโลมญาณ ดั ง นี้ ปฏิ ป ทาาณทสฺ ส นวิ สุ ทฺ ธิ นาม ชื่ อ ว่ า ปฏิ ป ทาญาณทั ส สนวิ สุ ท ธิ


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

419

ปฏิปทาภาวโต เพราะเป็นปฏิปทา ญาณทสฺสนวิสุทฺธิยา แห่งญาณทัสสนวิสุทธิ ติลกฺขณชานนตฺเถน เพราะอรรถว่าเป็นเครื่องรู้ไตรลักษณ์ ทสฺสนตฺเถน เพราะ อรรถว่าเป็นเครื่องเห็นไตรลักษณ์ ปจฺจกฺขโต โดยประจักษ์ จ และ วิสุทฺธตฺตา เพราะหมดจด ปฏิปกฺขโต จากธรรมอันเป็นข้าศึก ฯ ฉวิสุทฺธินโย นัยแห่งวิสุทธิ ๖ ประการ นิฏฺโต จบแล้ว ปริปาโก ความแก่กล้า วิปสฺสนาย แห่งวิปสั สนา สงฺขารุเปกฺขาาณํ ได้แก่ สังขารุเปกขาญาณ (วิปัสสนาจิต ๒-๓ ดวง) อาคมฺม มาถึง ปฏิจฺจ คืออาศัย ตํ สังขารุเปกขาญาณนั้น ฯ อิทานิ อปฺปนา อุปฺปชฺชิสฺสตีติ ข้อว่า อิทานิ อปฺ ป นา อุ ปฺ ป ชฺ ชิ สฺ ส ติ ความว่ า วตฺ ต พฺ พ กฺ ข เณ ในขณะที่ ค วรจะกล่ า วว่ า โลกุตฺตรมคฺโค โลกุตตรมรรค อปฺปนาสงฺขาโต กล่าวคืออัปปนา อุปฺปชฺชิสฺสติ จักเกิดขึน้ อิทานิ ในบัดนี้ ฯ ยงฺกญ ิ จฺ ตี ิ บทว่า ยงฺกญ ิ จฺ ิ ความว่า เอกํ ซึง่ ลักษณะ อย่างหนึ่ง ตีสุ ในบรรดาลักษณะทั้ง ๓ สงฺขารุเปกฺขาย อันสังขารุเปกขาญาณ คหิเตสุ ก�ำหนดไว้แล้ว ยงฺกิญฺจิ ชื่อว่าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ฯ (วิปัสสนา) สิขปฺปตฺตา ที่ถึงความเป็นยอด มตฺถกปฺปตฺติยา โดยถึงที่สุด วิปสฺสนาย แห่ง วิปัสสนา สานุโลมา ชื่อว่าเป็นไปกับด้วยอนุโลม อนุโลมาณสหิตาย เพราะ เป็นไปกับด้วยอนุโลมญาณ ฯ สา เอว วิปัสสนานั้นนั่นแล สงฺขารุเปกฺขา ชื่อว่า สังขารานุเปกขา อุทาสีนตฺตา เพราะวางเฉย สงฺขาเรสุ ในสังขารทั้งหลาย วุฏฺานคามินี ชื่อว่าวุฏฐานคามินี ยถานุรูปํ อปายาทิโต สงฺขารนิมิตฺตโต จ วุฏฺ หนโต วุฏฺ านสงฺขาตํ มคฺคํ คจฺฉตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ ถึงทางทีเ่ รียกว่า วุฏฐาน เพราะออกจากอบายภูมิเป็นต้น และจากนิมิตคือสังขาร ตามสมควร ฯ อภิสมฺโภนฺตนฺติ บทว่า อภิสมฺโภนฺตํ ปาปุณนฺตํ ได้แก่ บรรลุอยู่ ฯ ปริชานนฺโตติ บทว่า ปริชานนฺโต ปริจฺฉิชฺช ชานนฺโต ได้แก่ ก�ำหนดรู้ว่า ทุกฺขํ ทุกข์ เอตฺตกํ มีประมาณเท่านี้ น อิโต อูนาธิกํ หาหย่อนหรือยิ่งไปกว่านี้ไม่ ฯ สจฺฉิกโรนฺโตติ บทว่ า สจฺ ฉิ ก โรนฺ โ ต กโรฺ น โต ได้ แ ก่ กระท� ำ ปจฺ จ กฺ ขํ ให้ เ ห็ น ประจั ก ษ์ อารมฺมณกรณวเสน ด้วยอ�ำนาจกระท�ำให้เป็นอารมณ์ ฯ มคฺคสจฺจภาวนาวเสนาติ


420

ปริเฉทที่ ๙

บทว่า มคฺคสจฺจภาวนาวเสน ความว่า มคฺคสจฺจสงฺขาตสฺส สมฺปยุตตฺ มคฺคงฺคสงฺขาตสฺส จตุตฺถสจฺจสฺส าณสฺส สหชาตาทิปจฺจโย หุตฺวา วฑฺฒนวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็น สหชาตปัจจัยเป็นต้น ยังสัจจะที่ ๔ กล่าวคือมัคคสัจ ได้แก่ กล่าวคือองค์มรรค ที่ประกอบร่วมให้เจริญ ฯ าณสฺส ญาณ เอเกสฺส แต่ละอย่าง จตุกิจฺจสาธนํ ให้ส�ำเร็จหน้าที่ได้ ๔ ประการ สมฺปฏิจฺฉิตพฺพํ อันบัณฑิตพึงรับรอง วฏฺฏิฑาหาทิจตุกิจฺจทสฺสนโต เพราะแสดงถึงหน้าที่ ๔ อย่าง มีการไหม้ไส้เป็นต้น ปทีปาทีนํ แห่งประทีปเป็นอาทิ จ และ อาทิอาคมโต เพราะพระด�ำรัสที่มาเป็นต้นว่า ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย โย ผู้ใด ปสฺสติ เห็น ทุกฺขํ ทุกข์ อิติ ดังนี้ ฯ เทฺ ว ตี ณิ ผลจิ ตฺ ต านิ ปวตฺ ติ ตฺ ว า ข้ อ ว่ า เทฺ ว ตี ณิ ผลจิ ตฺ ต านิ ปวตฺติตฺวา ความว่า ผลจิตฺตานิ ผลจิต เทฺว ๒ ดวง วา หรือ ตีณิ ๓ ดวง ทรถปฏิปฺปสฺสมฺภกานิ หุตฺวา เป็นธรรมชาตสงบระงับความกระวนกระวายภาย สนฺตาเน ในสันดานแล้ว ปวตฺตติ วฺ า เป็นไป อนุรปู โต โดยเหมาะสม มคฺคปุ ปฺ ตฺตยิ า แก่ความเกิดขึ้นแห่งมรรคจิต (ในเมื่อพระโยคาวจร) สมุจฺฉินฺเน กิเลเสปิ ตัดแม้ กิเลสได้เด็ดขาดแล้ว อปนีตคฺคิมหิ าเน อุณฺหตฺตนิพฺพาปนตฺถาย ฆเฏหิ อภิสญฺจยิ มานุมทุ กํ วิย ดุจบุคคลเอาหม้อตักรดในทีซ่ ง่ึ น�ำไฟออกแล้ว เพือ่ ต้องการ ให้ความร้อนดับไป ฉะนั้น ฯ วุตฺตํ โหติ มีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ปวตฺติยา เพราะความเป็นไป เตสํ แห่งผลจิตเหล่านั้น ฯ ปจฺจเวกฺขณาณานีติ บทว่า ปจฺจเวกฺขณ าณานิ ความว่า กามาวจราณานิ ญาณฝ่ายกามาวจร มคฺคผลาทิวสิ ยานิ อันมีมรรคจิตและผลจิตเป็นต้นเป็นอารมณ์ ยานิ สนฺธาย ที่พระผู้มีกระภาคเจ้า ทรงหมายถึง วุตตฺ ํ ตรัสไว้วา่ วิมตุ ตฺ สฺมึ วิมตุ ตฺ มิติ าณํ โหตีติ เมือ่ จิตหลุดพ้น แล้ว ย่อมรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว ดังนี้ ฯ อิทานิ บัดนี้ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) ทสฺเสตํุ หวังจะแสดง ภูมึ ภูมิ ปจฺจเวกฺขณาย แห่งปัจจเวกขณญาณ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า จึงกล่าวค�ำว่า มคฺคํ ผลญฺจาติอาทิ มคฺคํ ผลญฺจ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ ในบรรดามรรคเป็นต้นนั้น (พระอริยบุคคลผู้เป็นบัณฑิต) ปจฺจเวกฺขติ ย่อมพิจารณา มคฺคํ ถึงมรรคว่า


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

421

อิมินาหํ มคฺเคนาคโต เรามาแล้วด้วยมรรคนี้ ฯ ตโต ต่อแต่นั้น (ปจฺจเวกฺขติ) ย่อมพิจารณาถึง ผลํ ผล ตสฺส แห่งมรรคนั้นว่า อยํ นาม เม อานิสํโส ลทฺโธติ เราได้อานิสงส์ชื่อนี้แล้ว ฯ จ และ ตโต ต่อแต่นั้น ปณฺฑิโต พระอริยบุคคล ผู้เป็นบัณฑิต ปจฺจเวกฺขติ ย่อมพิจารณา นิพฺพานํ ถึงพระนิพพานว่า อยํ นาม เม ธมฺโม อารมฺมณโต สจฺฉิกโต ธรรมชื่อนี้ เราท�ำให้แจ้งแล้ว โดยความเป็น อารมณ์ ฯ ตโต ต่อแต่นั้น (ปจฺจเวกฺขติ) ย่อมพิจารณา ปหีนกิเลเส ถึงกิเลส ที่ละได้แล้วว่า อิเม นาม เม กิเลสา ปหีนา กิเลสชื่อเหล่านี้ เราละได้แล้ว ฯ (ปจฺจเวกฺขติ) พิจารณา อวสิฏฺกิเลเส กิเลสที่ยังเหลืออยู่ว่า อิเม นาม กิเลสา ชื่อเหล่านี้ อวสิฏฺา ยังเหลืออยู่ ฯ ปจฺจเวกฺขติ วา น วาติ ข้อว่า ปจฺจเวกฺขติ วา น วา ความว่า โกจิ เสกฺโข พระอริยบุคคลผู้เสขะบางท่าน ปจฺจเวกฺขติ ย่อมพิจารณา โกจิ น ปจฺจเวกฺขติ บางท่านย่อมไม่พจิ ารณา ฯ อธิปปฺ าโย อธิบายว่า ตตฺ ถ กามาวจโร ในบรรดาพระเสขบุ ค คลทั้ ง หลายบุ ค คลทั้ ง ๒ พวกนั้ น พระเสขบุคคลยังท่องเทีย่ วอยูใ่ นกามภพ (ย่อมไม่พจิ ารณาถึงกิเลสทีล่ ะได้แล้ว และ กิเลสที่ยังเหลืออยู่) ฯ ตถาหิ จริงอย่างนัน้ มหานามสกฺโย เจ้าศากยะพระนามว่า มหานามะ ปุจฉฺ ิ ทูลถาม กิเลเส ถึงกิเลสทั้งหลาย อปฺปหีเน ที่ละไม่ได้ว่า ภนฺเต ข้าแต่พระองค์ ผู้เจริญ ธมฺโม ธรรมชาติ โก สุ นาม เม ไหนแล อชฺฌตฺตํ ที่เป็นไปภายใน เม ที่ข้าพระองค์ อปฺปหีโน ยังละไม่ได้ ฯ ปน ส่วน อวสิฏฺกิเลสปจฺจเวกฺขณํ การพิจารณากิเลสที่ยังเหลือ นตฺถิ ชื่อว่าย่อมไม่มี อรหโต แก่พระอรหันต์ สพฺพกิเลสานํ ปหีนตฺตา เพราะกิเลสทัง้ หมดท่านละได้แล้ว ฯ ตสฺมา เพราะฉะนัน้ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า เอกูนวีสติปจฺจเวกฺขณาณานิ ปัจจเวกขณญาณ มี ๑๙ อย่าง อิติ คือ เสกฺขานํ ของพระเสขบุคคลคือ ติณณ ฺ ํ ๓ จ�ำพวก ปณฺณรส ๑๕ อย่าง อรหโต ของพระอรหันต์ จตฺตาริ ๔ อย่าง ฯ ฉพฺพิสุทฺธิกฺกเมนาติ บทว่า ฉพฺพสิ ทุ ธฺ กิ กฺ เมน ความว่า กเมน ตามล�ำดับ วิสทุ ธฺ นี ํ แห่งวิสทุ ธิ ฉนฺนํ ๖ เอตาสํ เหล่านี้ อิติ คือ มูลภูตานํ วิสทุ ธิทเี่ ป็นมูล สีลจิตตฺ วิสทุ ธฺ วิ เสน ๒ ประการ


422

ปริเฉทที่ ๙

คือ สีลวิสุทธิ ๑ จิตตวิสุทธิ ๑ สรีรภูตานํ วิสุทธิที่เป็นตัว จตุนฺนํ ๔ ประการ วเสน ด้วยอ�ำนาจ ทิฏฺวิ ิสุทฺธิอาทีนํ ทิฏฐิวิสุทธิเป็นต้น ฯ (มคฺโค) มรรค าณทสฺสนวิสทุ ธฺ ิ นาม ชือ่ ว่าญาณทัสสนวิสทุ ธิ ชานนโต เพราะรู้ ปจฺจเวกฺขณกรณโต เพราะกระท�ำการพิจารณา สจฺจานํ จตุนฺนํ สัจจะ ๔ จ และ วิสุทฺธตฺตา เพราะหมดจด กิเลสมเลหิ จากมลทินคือกิเลสทั้งหลาย ฯ เอตฺถาติ บทว่า เอตฺถ วิปสฺสนากมฺมฏฺาเน ได้แก่ ในวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ สตฺตวิสุทฺธินิทฺเทโส นิเทศแห่งวิสุทธิ ๗ ประการ นิฏฺโต จบแล้ว ฯ ตตฺถาติ บทว่า ตตฺถ ได้แก่ อุทเฺ ทเส ในอุทเทส ตสฺมึ นัน้ ฯ อนุปสฺสนาเอว เฉพาะอนุปัสสนา มุญฺจนฺตี อันละอยู่ โย อตฺตาภินิเวโส ซึ่งความยึดถือว่า เป็นตน อภินิเวโส คือ ความยึดมั่น ทฬฺหคฺคาโค ได้แก่ ความถือมั่น สงฺขาเรสุ ในสังขารทั้งหลาย เอวํ อย่างนี้ว่า อตฺตา ตน เม ของเรา เอโส นี้ การโก เป็นผู้กระท�ำ กมฺมสฺส กรรม จ และ เวทโก เสวย ผลสฺส ผลแห่งกรรม อิติ ดังนี้ ปวตฺตา เป็นไปว่า อนตฺตา อนัตตา สุญฺตานุปสฺสนา ชื่อว่า สุญญตานุปัสสนา อตฺตสุญฺตาการานุปสฺสนโต เพราะพิจารณาเห็นเนือง ๆ ถึงอาการคือความว่างจากตน วิโมกฺขมุขํ เป็นทางแห่งวิโมกข์ ทฺวารํ โหติ คือ เป็นประตู โลกุตตฺ รมคฺคผลสฺส แห่งโลกุตตรมรรคและโลกุตตรผล วิโมกฺขสงฺขาตสฺส กล่าวคือวิโมกข์ วิมุตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจความหลุดพ้น ปฏิปกฺขโต จากธรรม อันเป็นข้าศึก ฯ สมฺพนฺโธ เชือ่ มความว่า อนุปสฺสนา อนุปสั สนา ปวตฺตา ทีเ่ ป็นไป สงฺขาเรสุ ในสังขารทั้งหลายว่า อนิจฺจํ ไม่เที่ยง มุญฺจนฺตี ปล่อยวาง ปชหนฺตี คือ ละอยู่ วิปลฺลาสนิมติ ตฺ ํ ซึง่ นิมติ คือวิปลั ลาส สฺ าจิตตฺ ทิฏฺ วิปลฺลาสสงฺขาตํ กล่าวคือสัญญาวิปัลลาส จิตตวิปัลลาส และทิฏฐิวิปัลลาส ปวตฺตํ อันเป็นไป อนิ จฺ เ จ ในสิ่ ง ที่ ไ ม่ เ ที่ ย ง นิ จฺ จํ ว่ า เที่ ย ง อนิ มิ ตฺ ต านุ ป สฺ ส นา นาม ชื่ อ ว่ า อนิมิตตานุปัสสนา วิปลฺลาสนิมิตฺตรหิตาการานุปสฺสนโต เพราะพิจารณาเห็น


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

423

เนือง ๆ ถึงอาการอันเว้นจากนิมิตวิปัลลาส วิโมกฺขมุขํ โหติ ย่อมเป็นทางแห่ง วิโมกข์ ฯ อนุปสฺสนา อนุปัสสนา ปวตฺตา อันเป็นไปว่า ทุกฺขํ เป็นทุกข์ อิติ ดังนี้ มุญฺจนฺตี ปล่อยวางอยู่ ปริจฺจชนฺตี คือ สละอยู่ ทุกฺขาการทสฺสเนน โดยเห็น อาการว่าเป็นทุกข์ ตณฺหาปณิธึ ซึ่งกิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่น คือตัณหา ตณฺหาปตฺถนํ ได้แก่ความปรารถนา คือตัวตัณหา กามภวตณฺหาสงฺขาตํ กล่าวคือกามตัณหา และภวตัณหา ปวตฺตํ ที่เป็นไป สงฺขาเรสุ ในสังขารทั้งหลาย นเยน โดยนัย อาทินา เป็นต้นว่า เอตํ นี้ มม เป็นของเรา เอตํ นี้ สุขํ เป็นสุข อิติ ดังนี้ อปฺปณิหติ านุปสฺสนา นาม ชือ่ ว่าอัปปณิหติ านุปสั สนา ปณิธริ หิตาการานุปสฺสนโต เพราะพิจารณาเห็นเนือง ๆ ถึงอาการอันเว้นจากกิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่น ฯ ตสฺมาติ บทว่า ตสฺมา ความว่า ยสฺมา เพราะ ติสฺสนฺนํ อนุปัสสนาทั้ง ๓ เอตาสํ เหล่านี้ นามานิ มีชื่อ ตีณิ ๓ อย่าง เอตานิ เหล่านี้ ตสฺมา ฉะนั้น ยทิ ถ้า วุฏฺานคามินีวิปสฺสนา วุฏฐานคามินีวิปัสสนา วิปสฺสติ ย่อมเห็นแจ้ง อนตฺตโต โดยความเป็นอนัตตาไชร้ ฯ มคฺโค มรรค สุญฺโต นาม วิโมกฺโข โหติ ย่อมชื่อว่าสุญญตวิโมกข์ ลทฺธนามตฺตา เพราะได้ชื่อ อาคมนวเสน ด้วยอ�ำนาจธรรมที่เป็นเครื่องมาแห่งมรรค ฯ วิปสฺสนาคมนวเสนาติ บทว่า วิปสฺสนาคมนวเสน วิปสฺสนาสงฺขาตาคมนวเสน ได้แก่ ด้วยอ�ำนาจธรรมเป็นเครือ่ ง มาแห่งมรรคและผล กล่าวคือวิปัสสนา ฯ อิธ ในค�ำว่า วิปสฺสนาคมนวเสน นี้ วิปสฺสนามคฺโค วิปัสสนาและมรรค อาคมนํ นาม ชื่อว่า อาคมนะ อาคจฺฉติ เอเตน มคฺโค ผลํ จ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องมาแห่งมรรคและผล ฯ ยถาวุตฺตนเยนาติ บทว่า ยถาวุตฺตนเยน วุตฺตานตฺตานุปสฺสนาทิวเสน ได้แก่ ด้วยอ�ำนาจอนัตตานุปัสสนาเป็นต้นที่กล่าวแล้ว ปุพฺเพ ในกาลก่อน ฯ ยถาสกํ ผลมุปฺปชฺชมานมฺปีติ ข้อว่า ยถาสกํ ผลมุปฺปชฺชมานมฺปิ ความว่า ผลํ ผล อตฺตโน อตฺตโน ของตนๆ ผลภูตํ อันเป็นผล ยถาลทฺธสฺส แห่งมรรคตามที่ได้ แล้ว อุปฺปชฺชมานมฺปิ แม้เกิดขึ้นอยู่ อลภิตฺวา ก็ไม่ได้(ชื่อ) มคฺคาคมนวเสน ด้วยอ�ำนาจธรรมเป็นเครื่องมาคือมรรค ลภติ ย่อมได้ นามานิ ชื่อ ตีณิ ๓ อย่าง


424

ปริเฉทที่ ๙

วิปสฺสนาคมนวเสเนว ด้วยอ�ำนาจธรรมเป็นเครือ่ งมาแห่งมรรคและผลคือวิปสั สนา เท่านั้น ตสฺส ทฺวารภาวาโยคโต เพราะมรรคนั้นไม่ประกอบด้วยความเป็นทวาร มคฺคปฺปวตฺติอภาเวน โดยไม่มีความเป็นไปแห่งมรรค ตทา ในกาลนั้น ฯ อาลมฺพนวเสนาติ บทว่า อาลมฺพนวเสน ความว่า วเสน ด้วยอ�ำนาจ ตสฺส อารมณ์นนั้ อารพฺภ ปวตฺตตฺตา เพราะปรารภ นิพพฺ านํ พระนิพพาน สุญ ฺ ญตนามวนฺตํ อันมีชอื่ ว่า สุญญตะ สพฺพสงฺขารสุญญ ฺ ตฺตา เพราะว่างจากสังขารทัง้ ปวง อนิมติ ตฺ นามวนฺตํ ชื่อว่า อนิมิตตะ สงฺขารนิมิตฺตรหิตตฺตา เพราะว่างจากสังขารนิมิต จ และ อปฺปณิหิตนามวนฺตํ ชื่อว่าอัปปณิหิตะ ตณฺหาปณิธิรหิตฺตา เพราะเว้นจากกิเลส เป็นเครื่องตั้งมั่นคือตัณหา เป็นไป (ตรงนี้เป็นการแปลฉีกศัพท์เพื่อจับคู่) ฯ บทว่า สรสวเสน ความว่า คุณวเสน ด้วยอ�ำนาจคุณ อตฺตโน ของตน ราคาทิสญ ุ  ฺ ตฺตา เพราะว่างจากราคะเป็นต้น รูปนิมิตฺตาทิอารมฺมณรหิตตฺตา เพราะเว้นจากอารมณ์ มีรูปนิมิตเป็นต้น กิเลสปณิธิรหิตตฺตา เพราะเว้นจากกิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่น ฯ สพฺพตฺถาปีติ บทว่า สพฺพตฺถาปิ มคฺควีถิยํ ได้แก่ ในบรรดามรรควิถี จ และ ผลสมาปตฺติวีถิยํ ในผลสมาบัติวิถี ฯ สพฺเพสมฺปีติ บทว่า สพฺเพสมฺปิ ได้แก่ มคฺคสฺส ทั้งมรรค ผลสฺสปิ ทั้งผล ฯ (พระโสดาบัน) สตฺตกฺขตฺตุปรโม ที่ชื่อว่า สัตตักขัตตุปรมะ สตฺตกฺขตฺตุํ สตฺต วาเร กามสุคติยํ ปฏิสนฺธิคหณํ ปรมํ เอตสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีการถือปฏิสนธิในสุคติภพอันเป็นกามาวจร ๗ ครั้ง คือ ๗ วาระเป็นอย่างยิ่ง ฯ อธิปปฺ าโย อธิบายว่า ปน แต่ อฏฺมาทิกามภวงฺคามีติ ท่านหาไปสูก่ ามภพมีภพที่ ๘ เป็นต้น น ไม่ ฯ ยํ สนฺธาย วุตตฺ ํ มีคำ� ทีพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้า ทรงหมายถึงตรัสไว้วา่ เต พระโสดาบันเหล่านัน้ น อาทิยนฺติ ย่อมไม่ถอื เอา ภวํ อฏฺํ ภพที่ ๘ ฯ อาจริยา ท่านอาจารย์ทั้งหลาย อาหํสุ กล่าวว่า ปน แต่ (พระโสดาบันสัตตักขัตตุปรมะ) คจฺฉติ ยังไป รูปารูปสุคติภวํ สู่สุคติภพที่เป็นรูปาวจร และอรูปาวจร ปรมฺปิ ยิ่ง สตฺตวารโต กว่า ๗ วาระได้บ้าง ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า ราคโทส- โมหานนฺติ ในค�ำว่า ราคโทสโมหานํ ท่านระบุถึง โมหคฺคหณํ โมหะ สนฺธาย


พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล

425

หมายเอา ราคโทเสกฏฺโมหํ โมหะที่ตั้งอยู่ในฐานะเดียวกับราคะและโทสะ ฯ (พระอริยบุคคล) ขีณาสโว ที่ชื่อว่าขีณาสพ ขีณา จตฺตาโร อาสวา เอตสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์วา่ มีอาสวะ ๔ หมดสิน้ แล้ว ฯ (พระขีณาสพ) อคฺคทกฺขเิ ณยฺโย ชื่อว่าเป็นอัครทักขิไนยยะ อคฺคตฺตา เพราะความที่ท่านเป็นผู้เลิศ ทกฺขิณารเหสุ ในบรรดาท่านผู้ควรทักษิณาทั้งหลาย ฯ สพฺเพสมฺปีติ บทว่า สพฺเพสมฺปิ อริยปุคฺคลานํ คือ แก่พระอริยบุคคล จตุนนฺ มฺปิ แม้ทงั้ ๔ จ�ำพวก ฯ สมาปตฺติ การเข้า นิโรธสฺส นิโรธ อปฺปวตฺตสิ งฺขาตสฺส กล่าวคือความไม่เป็นไป จิตตฺ เจตสิกานํ แห่งจิตและเจตสิก นิโรธสมาปตฺติ ชือ่ ว่า นิโรธสมาบัติ ทิฏเฺ ว ธมฺเม จิตตฺ นิโรธํ ปตฺวา วิหรณํ คือ การถึงความดับแห่งจิต แล้วอยู่ในปัจจุบันนั่นเอง ฯ อนาคามีนญฺจาติ บทว่า อนาคามีนญฺจ อนาคามีนํ คือ แก่พระอนาคามีทงั้ หลาย อฏฺฐสมาปตฺตลิ าภีนเมว เฉพาะผูม้ ปี กติได้สมาบัติ ๘ กามรูปภวฏฺานํ ซึง่ ยังด�ำรงอยูใ่ นกามภพและรูปภพ ฯ จ และ ขีณาสวานํ ส�ำหรับ พระขีณาสพทั้งหลายก็เหมือนกัน ฯ ตตฺถ บทว่า ตตฺถ นิโรธสมาปตฺติยํ ได้แก่ ในนิโรธสมาบัติ ฯ ยาวากิญฺจญฺายตนํ คนฺตฺวาติ ข้อว่า ยาวากิญฺจญฺายตนํ คนฺตฺวา ความว่า ยาวากิญฺจญฺ ายตนํ ตาว คนฺตฺวา ไปจนถึงอากิญจัญญาตน สมาบัติ สมถวิปสฺสนานํ ยุคนทฺธภาวาปาทนวเสน ด้วยอ�ำนาจยังสมถะและ วิปัสสนาให้ถึงความเป็นธรรมชาติเนื่องกันเป็นคู่ เอวํ อย่างนี้ ฯ อทิฏฺเยฺยาทิกํ บทว่า อทิฏฺเยฺยาทิกํ ความว่า กตฺวา ท�ำ ปุพฺพกิจฺจํ บุพพกิจ จตุพฺพิธํ ๔ อย่ า ง อธิ ฏ ฺ  านาทิ กํ มี ก ารอธิ ษ ฐาน เป็ น ต้ น อิ ติ คื อ กายปฏิ พ ทฺ ธํ เปตฺวา วิสํุ วิสํุ ิติจีวราทิปริกฺขารเคหาทีนํ อคฺคิอาทินา อวินาสนาธิฏฺานํ การอธิษฐานบริขาร มีจีวรเป็นต้นที่อยู่แผนกหนึ่ง เว้นบริขารที่เนื่องด้วยกาย และ เรือนเป็นต้น เพื่อไม่ให้พินาศไปด้วยไฟเป็นต้น วุฏฺานํ การออก ปุเรตรํ ก่อนกว่า สงฺฆปฏิมานนสตฺถุปกฺโกสนานํ สงฆ์รอคอย และพระศาสดารับสั่งหา อายุสงฺขารปฺปวตฺตโิ อโลกนํ การตรวจดูความเป็นไปแห่งอายุสงั ขาร สตฺตาหพฺภนฺตเร ในภายใน ๗ วัน ฯ ปฏิปตฺตริ สสฺสาทนฺติ บทว่า ปฏิปตฺตริ สสฺสาทํ สมถวิปสฺสนา-


426

ปริเฉทที่ ๙

ปฏิปตฺติรสฺสาทํ ได้แก่ ซึ่งความพอใจในรสแห่งการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนา ฌานสุขผลสุขาทิเภทํ อันต่างด้วยสุขอันสัมปยุตด้วยฌานและสุขอันสัมปยุต ด้วยผลเป็นต้น ฯ นวมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๙ อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฏีกาอภิธัมมัตถสังคหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม ชื่อว่าอภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

427

ปกรณาวสานวณฺณนา พรรณนาความสุดท้ายปกรณ์ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ปกรณํ ปกรณ์ ยํ ใด อุปาสเกน อันอุบาสก นมฺพวฺหเยน ผู้ชื่อว่านัมพะ นมฺพนามเกน คือ มีนามว่านัมพะ จาริตฺเตน กุลาจาเรน โสภิเต วิสาลกุเล อุทโย นิพฺพตฺติ ยสฺส, กมฺมาทิวิสยาย สทฺธาย อภิวุทฺโธ ปริสุทฺโธ จ ทานสีลาทิคุณานํ อุทโย ยสฺส, เตน ผู้มีก�ำเนิด คือมีความบังเกิดในตระกูลทีไ่ พศาล ซึง่ งดงามด้วยจารีต คือมารยาทประจ�ำตระกูล ผู้มีความเกิดขึ้นแห่งคุณมีทานและศีลเป็นต้น อันเจริญยิ่งและบริสุทธิ์ด้วยศรัทธา ซึ่งมีกรรมเป็นต้นเป็นอารมณ์ ปณิธาย ตั้งไว้แล้ว ปตฺเถตฺวา คือปรารถนาแล้ว ปรานุกมฺปํ ซึ่งความเอ็นดูผู้อื่น ปรานุคฺคหํ ได้แก่ ความอนุเคราะห์ผู้อื่น สาสเน สุโขตรณปริปาจนลกฺขณํ ซึง่ มีความหยัง่ รูไ้ ด้งา่ ยและการอบรมปัญญาในพระศาสนา เป็นลักษณะ ปตฺถิตํ ปรารถนาแล้ว อภิยาจิตํ คือ เชื้อเชิญแล้ว ตํ ปกรณํ ปกรณ์นนั้ ปรินฏิ ฺ ต ํ จบบริบรู ณ์แล้ว เอตฺตาวตา ด้วยเนือ้ ความมีประมาณเท่านี้ ฯ ตุ ก็ ปุญฺเน ด้วยบุญ วิปุเลน อันไพบูลย์ เตน นั้น คือ ปกรณปฺปสุเตน ที่ ข วนขวายในการแต่ ง ปกรณ์ ภิ กฺ ขู ขอภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย โสภิ ต า ผู ้ ง าม สี ล าทิ คุ เ ณน ด้ ว ยคุ ณ มี ศี ล เป็ น ต้ น ปญฺ  าวทาเตน ผ่ อ งแผ้ ว ด้ ว ยปั ญ ญา อริยมคฺคปญฺาปริสุทฺเธน คือ บริสุทธิ์ด้วยปัญญาในอริยมรรค ลชฺชิโน ผู้ชื่อว่า เป็นลัชชี (สีลาทิคุณโต) เพราะคุณมีศีลเป็นต้น ตโตเยว นั้นนั่นเอง มฺ นฺตุ จงส�ำคัญ มูลโสมํ นาม วิหารํ มูลโสมวิหาร อธิวาสภูตํ อันเป็นที่อยู่ประจ�ำ (สมณานํ) ของพระสมณะทั้งหลาย ธฺ านํ ผู้มีบุญ อุทิโตทิตํ อันมีชื่อเสียง ขจรขจายไป อจฺจนฺตปฺปสิทฺธํ คือ เป็นที่ประสิทธิ์ประสาท ความรู้อย่างดียิ่ง มงฺคลตฺถาย เพื่อประโยชน์ แก่ความเป็นมงคล อุทยสงฺขาตาย กล่าวคือ ความเกิดขึ้น ปุญฺวิภวสฺส แห่งบุญสมบัติ อายุคนฺตํ ตลอดกาลก�ำหนดสิ้นสุด


428

ปกรณาวสานวัณณนา

แห่งอายุ (ของพระศาสนา) เทอญ ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ภิกฺขู ขอภิกษุ ทั้งหลาย นิวาสิโน ผู้อยู่ประจ�ำ (วิหาเร) ในวิหาร ตตฺถ นั้น อีทสิ า โหนฺตตู ิ จงเป็นผู้เช่นนี้เทอญ ฯ อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา ฏีกาอภิธัมมัตถสังคหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี อยํ นี้ นิฏฺตา จบแล้ว ฯ สารีปุตฺตตฺเถโร พระสารีบุตรเถระ โย รูปใด วสิคเณหิ ผู้อันคณะสงฆ์ ผูม้ คี วามเชีย่ วชาญ สมฺปนฺนสีลทมสยํ มโตสิเตหิ ผูม้ ศี ลี ทมะ สังยมะ และสันโดษ สมบูรณ์แล้ว คุณากเรหิ ผู้เป็นบ่อเกิดแห่งคุณ สมฺมานิโต นับถือพร้อมแล้ว โดยชอบ ปตฺโต ถึง อาจริยตํ ความเป็นอาจารย์ (คณฺเสุ) ในคัมภีร์ทั้งหลาย มุนินฺทวจนาทิสุ มีพระพุทธพจน์เป็นต้น จ และ อเนกคณฺเสุ ในคัมภีร์ เอนกประการ วิทูหิ อันวิญญูชนทั้งหลาย มหิตํ บูชาแล้ว วสติ อยู่ เชตวเน วิหาเร ในพระเชตวันวิหาร รมฺมหมฺมิยวรูปวนาภิราเม ซึ่งมีปราสาทอันสวยงาม น่ารื่นรมย์ และมีป่าที่น่ารื่นรมย์อย่างยิ่งอยู่ใกล้เคียง รญฺา ปรกฺกมภุเชน มหาภุเชน อันพระเจ้าปรักกมภุชมหานาค การาปิเต ทรงรับสั่งให้สร้างถวาย นคราธิราเช ในพระนครหลวง ปุลตฺถินคเร ชื่อปุลัตถินคร รมฺเม อันน่ารื่นรมย์ จ ก็ สํวณฺณนา ฏีกา วินยฏฺกถาทิกานํ แห่งอรรถกถาทั้งหลายมีอรรถกถา พระวินัยเป็นต้น สารตฺถทีปนิมุขา ซึ่งมีคัมภีร์สารัตถทีปนีเป็นประธาน สูจยนฺตี อั น ส่ อ งอยู ่ าณานุ ภ าวํ ซึ่ ง อานุ ภ าพแห่ ง ญาณ สารี ปุ ตฺ ต ตฺ เ ถรสฺ ส ของ พระสารีบุตรเถระ ยสฺส รูปใด (สาสเน) ในพระศาสนา อิห นี้ จ และ สุชนํ ยังสุภาพชน ปริโตสยนฺตี ให้ยินดีรอบด้าน สนฺทีปเนน โดยการแสดงด้วยดี มธุรตฺถสารํ ถึงอรรถที่เป็นสาระอันไพเราะ (อหํ) ข้าพเจ้า โย ใด อวลมฺพิย อาศัย อนุกมฺปํ ความเอ็นดู สาริปุตฺตเถรสฺส ของพระสารีบุตรเถระ ตสฺส รูปนั้น ถามคตสารคุณากรสฺส ผู้เป็นบ่อเกิดแห่งคุณอันเป็นสาระซึ่งถึงความมั่นคง


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล

429

อลตฺถํ ได้แล้ว ปฏุตํ ซึง่ ความแตกฉาน อเนกคณฺวิสยํ อันมีคมั ภีรเ์ อนกประการ เป็นวิสยั าณวิภโว ญาณสมบัติ (มม) ของข้าพเจ้า เอส นี้ วิภเวกเหตุ เป็นเหตุ อย่างหนึ่งแห่งสมบัติคือพระนิพพาน (สาริปุตฺตเถรสฺส) ของพระสารีบุตรเถระ ตสฺส รูปนั้น (อหํ) ข้าพเจ้า โส นั้น สาสนทายาโท เหสฺสํ จักเป็นศาสนทายาท เมตฺเตยฺยสตฺถโุ น ของพระเมตไตยศาสดา อทฺธา แน่แท้ สํสทุ ธฺ วายามสฺสานุภาวโต เพราะอานุภาพแห่งความพยายามอันบริสุทธิ์ เอตสฺส นี้ ตทา ในกาลนั้น (อหํ) ขอข้าพเจ้า ปสฺเสยฺยํ พึงพบ จ และ สกฺกเรยฺยํ พึงสักการะ สาสนํ พระศาสนา (เมตฺเตยฺยสตฺถุโน) ของพระเมตไตยศาสดา ตสฺส นั้น โชตยนฺตํ ซึ่งก�ำลัง รุ่งเรืองอยู่ (ปสฺเสยฺยํ พึงพบ จ และ สกฺกเรยฺยํ พึงสักการะ) สาริสมฺภวํ พระสารีบุตรเถระ สุทฺธมานสํ ผู้มีใจหมดจด ครุํ ผู้เป็นครู เม ของข้าพเจ้า ฏีกา ฏีกา อยํ นี้ นิฏฺตา จบแล้ว ทิเนหิ จตุวีเสหิ โดย ๒๔ วัน ยถา ฉันใด กลฺยาณสงฺกปฺปา ขอความด�ำริอันดีงามทั้งหลาย ปาณินํ ของเหล่าสัตว์ อิชฺฌตุ จงส�ำเร็จ สีฆํ พลัน ตถา ฉันนั้นเทอญ ฯ ปกรณาวสานวณฺณนา พรรณนาความสุดท้ายปกรณ์ นิฏฺตา จบแล้ว ฯ อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา อภิธัมมัตถสังคหะฏีกา อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม ชื่ออภิธัมมัตถสังคหวิภาวินี สมตฺตา จบบริบูรณ์แล้ว ฯ หากพบเห็น ข้อบกพร่อง ต้องแก้ไข โปรดบอกได้ หรือให้ ใครไปหา พระราชปริยัติสุธี หรือโทรมา ตามหมายเลข ข้างหน้า โทรได้เลย โทร. ๐๘๑-๒๕๑-๘๔๔๐


430

รายชื่อคณะท�ำงานแปลยกศัพท์ อภิธัมมัตถวิภาวินี ปริเฉทที่ ปริเฉทที่ ปริเฉทที่ ปริเฉทที่ ปริเฉทที่ ปริเฉทที่ ปริเฉทที่ ปริเฉทที่ ปริเฉทที่

๑ พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร) วัดธรรมามูล วรวิหาร จ.ชัยนาท ๐๘๑-๒๕๑-๘๔๔๐ ครูสอนบาลีชั้นประโยค ป.ธ.๘ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ของคณะสงฆ์ ๒ พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ วัดเทพลีลา ๐๘๗-๐๓๑-๐๒๐๓ ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ วัดเทพลีลา ๓ พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ ผจล.วัดพระงาม ๐๘๙-๑๕๐-๒๒๙๖ ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ ส�ำนักเรียนสหศึกษาบาลี จ.นครปฐม ๔ พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ ผจล.วัดชนะสงคราม ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ วัดหัวล�ำโพง ๐๘๔-๖๘๐-๐๔๙๖ ๕ พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ ผจล.วัดปากน�้ำ ๐๘๙-๒๑๒-๖๖๗๘ ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ วัดปากน�้ำ ๖ พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ ผจล.วัดโมลีโลกยาราม ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ วัดโมลีโลกยาราม ๐๘๙-๑๗๓-๗๒๐๕ ๗ พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ ผจล.วัดสร้อยทอง ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ วัดสร้อยทอง ๐๒-๙๑๒-๖๖๓๕ ๘ พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ วัดชนะสงคราม วิทยากรพิเศษ วิชาแปลมคธเป็นไทย ในการอบรมก่อนเรียน ป.ธ.๙ วัดปากน�้ำ ๐๘๑-๒๕๒-๙๖๐๑ ๙ พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ วัดชนะสงคราม ๐๘๑-๐๗๖-๔๒๔๙ ครูสอนวิชาแปลไทยเป็นมคธ ชั้น ป.ธ.๙ วัดชนะสงคราม ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองชัยนาท เจ้าอาวาสวัดท่าช้าง อ�ำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.